๙๖ โดยท่ีคณะกรรมการนโยบายการศึกษาแห่งชาติมีบทบาทหน้าท่ีอันสาคัญในการวางนโยบาย มหภาคด้านการศึกษา การปรับปรุงแผนการศึกษาแห่งชาติ การกากับดูแลให้เกิดเอกภาพ และการ ประสานงานการศึกษาให้ไปในทิศทางเดียวกัน รวมท้ังสนองเป้าหมายการพัฒนาประเทศ ตลอดจนการวาง กรอบงบประมาณของรัฐในการดาเนินการและพัฒนาการศึกษา จึงจาเป็นต้องมีสานักงาน คณะกรรมการนโยบายการศกึ ษาแห่งชาติทมี่ สี มรรถนะ และประสิทธภิ าพสูง ในร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. .... ได้กาหนดให้มีระบบข้อมูลด้านการศึกษาเป็น ส่วนหนึ่งของระบบข้อมูลของชาติ และให้สามารถนามาใช้ในการกาหนดนโยบายบนฐานประจักษ์ ถูกต้อง ครบถ้วน และทันการณ์ ตลอดจนรับฟังความคิดเห็นและปัญหาจากทุกภาคสว่ นของสังคม โดยเฉพาะอย่างย่ิง จากองค์กรภาคประชาสังคมระดับจังหวัด สานักงานคณะกรรมการนโยบายการศึกษาแห่งชาติจึงต้องทา หนา้ ที่ข่าวกรองดา้ นการศึกษา (Education Intelligence) ในการวางนโยบายการศึกษานั้น ต้องอาศัยความรู้ที่ทันโลก และประสบการณ์ในทางวิชาการ เทคโนโลยีทางการศึกษา และการบริหารวิชาการ ซึ่งมีความกว้างขวาง หลากหลาย และปรับเปล่ียนอยู่เสมอ คณะกรรมการนโยบายการศกึ ษาแห่งชาติจึงมีคณะกรรมการวิชาการเปน็ ส่วนช่วยในการดาเนนิ การ คณะกรรมการนโยบายการศึกษาแห่งชาติยังมีหน้าท่ีขับเคลือ่ นการปฏิรูปการศึกษา โดยการปรับ หลกั คดิ ไปสู่การปฏิบตั ิ ทเ่ี ป็นรปู ธรรม ทาการตดิ ตามประเมินผล และปรับแกป้ ญั หาขอ้ ขัดขอ้ งตา่ งๆ สานักงานคณะกรรมการนโยบายการศึกษาแห่งชาติ ซึ่งเป็นส่วนราชการคงต้องมีการปฏิรูป ระบบงานใหเ้ ป็นสานักงานท่มี สี มรรถนะสูง ซง่ึ ต้องมีทรัพยากรบุคคลทมี่ ีความสามารถเป็นพิเศษด้วย เรอ่ื งท่ี ๒ : การปฏริ ปู การพฒั นาเด็กเล็กและเดก็ ก่อนวยั เรยี น วิทยาการด้านพัฒนาการของสมอง สติปัญญาและการเรียนรู้ ได้ก้าวหน้าไปอย่างมากในระยะสิบ หรือ ย่ีสิบปีหลังนี้ จนเป็นที่เชื่อกันว่า การดูแลเอาใจใส่กับเด็กเล็กตั้งแต่ก่อนเกิด จนถึงการเข้าสู่ระบบ การประถมศึกษา มีความสาคัญอย่างมากต่อความสามารถในการศึกษา การงานอาชีพ และคุณภาพชีวิต เมื่ออายุเพ่ิมข้ึน คณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษาจึงได้เร่งจัดร่างพระราชบัญญัติการพัฒนาเด็ก ปฐมวัย ตามที่กาหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ จนได้รับการตราเป็นกฎหมาย พร้อมไปกับการดาเนินงานร่วมกับ ส่วนงานตา่ งๆทีเ่ กย่ี วขอ้ งเพอื่ เรม่ิ งานดา้ นน้โี ดยเร่งด่วนตอ่ ไป ประเด็นการปฏิรูปท่ี ๒.๑ : การพัฒนาระบบการดูแล พัฒนา และจัด การเรียนรู้เพ่ือให้เด็กปฐมวัยได้รับการพัฒนา ร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสตปิ ญั ญาให้สมกับวัย หลักฐานทางวิชาการยืนยันว่าการพัฒนาเด็กปฐมวัยเป็นกุญแจดอกสาคัญที่นาสู่ชีวิตที่สมบูรณ์ และมีพลังผลิตภาพ ช่วงปฐมวัยเป็นช่วงเวลาของการพัฒนาที่สาคัญย่ิงยวด ด้วยเป็นช่วงของการก่อฐานรากที่ แข็งแกรง่ เพื่อชีวติ ท่ีอยู่ดีมีสุขและการเรยี นรู้ในอนาคตของเด็ก การส่งเสริมการพัฒนาเด็กปฐมวยั ท่ีมคี ุณภาพจะ
๙๗ ส่งผลยาวนานต่อความสามารถทางสติปัญญา บุคลิกภาพ และพฤติกรรมทางสังคมของบุคคล ทาให้มีความ พร้อมต่อการเรียนในโรงเรียนในระดับสูงข้ึนไป ท้ังจะเป็นกาลังคนท่ีดีของสังคม และมีโอกาสเป็นปัญหาต่อ สงั คมน้อยลง โดยที่เด็กในช่วงปฐมวัย ประกอบด้วยเด็กเกิดใหม่ปีละประมาณ ๖ ถึง ๗ แสนคน จึงเป็นเด็กท่ี ต้องได้รับการดูแลทั้งส้ินหลายล้านคน และจานวนมากอยู่ในท้องท่ีต่างๆ ทั่วประเทศ รวมทั้งท้องที่ห่างไกล และจากครอบครัวท่ียากจน ซ้ายังมีปัญหาสังคมด้านครอบครัวท่ีเด็กต้องอยู่ในความดูแลของปู่ย่าตายาย ในขณะท่ีพ่อแม่ไปทางานในท้องท่ีห่างไกล หรือครอบครวั ที่ไม่มีท่ีอยู่เป็นหลักแหลง่ ปัญหาการดแู ลเด็กปฐมวัย จึงมคี วามสลบั ซับซ้อน และหลากหลาย จาเป็นต้องมมี าตรการทแ่ี ตกต่างกัน และมคี วามคล่องตวั ท่ีปรับได้ตาม สภาพความจาเป็น ผู้ท่ีมีบทบาทหน้าท่ีสาคัญในการพัฒนาเด็กปฐมวัยจึงได้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ร่วมกบั ชมุ ชน และพ่อแมผ่ ปู้ กครองและเครือญาติ การให้ความร้ทู ่ีถูกตอ้ ง ทกั ษะทจี่ าเป็น และความเขา้ ใจแก่ผู้ ท่ีเก่ยี วข้องจึงมีความสาคญั อย่างมาก ตลอดถึงการมีผู้ดูแลเด็กและนักวชิ าชีพในเร่ืองน้ีใหเ้ พียงพอ รวมทั้งมกี าร สนับสนุนและการลงทุนเพ่ือให้เกิดส่ิงแวดล้อม และปัจจัยต่างๆ ที่เอ้ือต่อได้พัฒนาการที่ดีของเด็กได้มีการ กาหนดมาตรฐานการดูแลเดก็ เลก็ ทดี่ ไี ว้แลว้ และตอ้ งแปลให้เกิดการนาไปใช้จริง สาหรับโรงเรียนอนุบาล ก็มีข้อกาหนดที่ควรจะเป็นไว้ ดังน้ี (๑) โรงเรียนจะต้องเปิดโอกาสให้ พ่อแม่ผู้ปกครองได้เข้าเย่ียมชมโรงเรียน (๒) โรงเรียนต้องมีข้อมูลสาคัญเก่ียวกับหลักสูตร ปรัชญา วิสัยทัศน์ ของโรงเรียนท่ีชัดเจน (๓) สภาพแวดล้อมมีปลอดภัย มีการดูแลความปลอดภัยให้กับเด็กๆ อย่างเคร่งครัด (๔) มีสดั ส่วนท่ีเหมาะสมของครูต่อนักเรียน สาหรบั เด็ก อายุ ๓ ถึง ๕ ปีควรมีครู ๒ คนต่อนักเรียนไม่เกิน ๒๕ ผู้ทม่ี บี ทบาทหนา้ ทสี่ าคญั ในการพฒั นาเดก็ คน (๕) มกี ารจัดสิง่ แวดลอ้ มในโรงเรียนให้มีสขุ นิสยั ใน ปฐมวยั จงึ ไดแ้ กอ่ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ เรื่องการกิน การนอน การรักษาความสะอาด การ รว่ มกบั ชมุ ชน และพอ่ แมผ่ ปู้ กครองและเครอื ขับถ่ายเป็นอย่างดี (๖) มีกิจกรรมการเรียนการสอนที่ ญาติ การใหค้ วามรทู้ ถี่ กู ตอ้ ง ทกั ษะทจี่ าเปน็ เป็นการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กทุกๆ ด้าน ทั้ง ร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม คุณธรรมและ และความเขา้ ใจแก่ผทู้ เี่ ก่ยี วขอ้ งจงึ มี ความสาคญั อยา่ งมาก จริยธรรม ส่งเสริมความคิดสร้ างสรรค์ (๗) มี สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ท่ีเน้นเด็กๆ เป็นสาคัญ ทา ให้เด็กนักเรียนมีแรงจูงใจและเกิดความใฝ่รู้จากตัว เด็กเอง ไม่ใช่การบังคับจากภายนอก (๘) ครูต้องรับ ฟังและใหค้ วามสาคัญกับความคิดเหน็ ของเด็กๆ และ (๙) มีมาตรการในการเฝา้ ระวังและปอ้ งกนั โรคตดิ ต่อดว้ ย เป้าหมายรวม ๑. เด็กปฐมวัย สามารถเข้าถึง และได้รับการดูแลและการศึกษาระดับปฐมวัยอย่างเหมาะสม มีคุณภาพ ท่ัวถึง และเท่าเทียมกัน โดยมีมาตรฐานการดูแลท่ีถูกต้อง ครบถ้วนตามมาตรฐานสากล ซึ่งในการนี้ ต้องมีกิจกรรมหลายประการ เช่น การพัฒนาบุคลากรสาหรับดูแลเด็กเล็ก การจัดสถานที่และส่ิงแวดล้อมท่ี เหมาะสม ตลอดจนผู้รบั ผิดชอบสาหรบั งานดา้ นตา่ งๆ
๙๘ ระบบคดั เลือกเด็กเข้าเรยี นระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ในปัจจบุ นั ยังมปี ัญหา ที่เนน้ การเรียน ดา้ นวชิ าการ และแข่งขันกนั เขา้ สถานศกึ ษาท่มี ีช่ือเสยี ง จนมีการกวดวชิ าสาหรับเด็กเลก็ ด้วย ซงึ่ การดาเนนิ การ ดงั กลา่ วจะเปน็ ผลเสียตอ่ พฒั นาการของสมอง และพฤตกิ รรม การจัดการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับเด็กวัยน้ี ต้องเอ้ือให้เด็กแต่ละคนได้พัฒนาเต็มตาม ความสามารถและความถนดั ของแต่ละคน ท่ีอาจแตกต่างกัน ผู้ท่ีมีความรู้และทักษะด้านจิตวิทยาเด็กเลก็ และ การจัดให้มีมาตรการท่ีเหมาะสมจึงมีความสาคัญอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กจานวนมากถึง ๖ หรือ ๗ แสนคน ที่เกิดขึ้นใหม่ทุกปี ในท้องถิ่นต่างๆ ทั่วประเทศ เป็นภาระหน้าท่ี และบทบาทของพ่อแม่ผู้ปกครอง และชุมชน และโดยที่การเปลี่ยนแปลงของระบบสังคมในชนบทที่พ่อแม่มักต้องไปทางานในเมือง การดูแลเด็ก เป็นภาระของปู่ย่าตายาย ทั้งยังมีครอบครัวท่ีเป็นปัญหา ลูกท่ีเกิดจากแม่อายุน้อย และการหย่าร้าง ทาให้เป็น ภาระขององค์การปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ เด็กเล็กที่มีความพิการทางกาย หรือทางการเรียนรู้ เป็นปัญหาที่ต้องได้รับการดูแลเป็นพิเศษ ตั้งแต่การวินิจฉัยท่ีแม่นยา การมีมาตรการที่เหมาะสม การให้การดูแลร่วมไปกับเด็กปกติ นอกจากกรณีที่ จาเป็นจรงิ ๆ ในการน้ีต้องมกี ารเตรียมการ เตรียมผดู้ แู ล และการลงทนุ ที่เพมิ่ ขนึ้ เป็นพเิ ศษดว้ ย เด็กที่มีความสามารถพิเศษ ท้ังความสามารถทางวิชาการ หรือความสามารถเฉพาะทาง เช่น ทางดนตรี ทางศิลปะ และทางการกีฬา อาจถูกระบบการดูแลศึกษาตามปกติทาให้ขาดโอกาสในการพัฒนา ตนเองให้เต็มความสามารถ จงึ ตอ้ งมีการแนะนาและดแู ลเป็นพเิ ศษด้วย ระบบฐานข้อมูลท่ีเอ้ือต่อการดูแลท่ีเชื่อมโยงกันได้ ระหว่างหน่วยงาน และมีการพัฒนา บุคลากรท่ีเก่ียวข้อง มีกลไกขับเคล่ือนและบูรณาการการทางานระหว่างกระทรวงและหน่วยงานที่เก่ียวข้องให้ สอดคล้อง เป็นเอกภาพท้ังเด็กกลุ่มท่ัวไป และกลุ่มท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ จึงต้องมีการจัดตั้ง และ การลงทุนเป็นการเฉพาะ ๒. พ่อ แม่ ผู้ปกครองและบุคลากรที่เกี่ยวข้องได้รับปรับเปลี่ยนกรอบคิด (Mindset) เกี่ยวกับ ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการเตรียมความพร้อมก่อนการต้ังครรภ์ การเล้ียงดู ดูแล และพัฒนาเด็กปฐมวัย อาสาสมัครในชุมชน ทไี่ ดร้ ับการฝกึ ฝนอบรมทถี่ กู ตอ้ งเหมาะสม จะมีสว่ นชว่ ยไดม้ าก ประเด็นการปฏิรูปที่ ๒.๒ :การส่ือสารสังคมเพ่ือสร้างความเข้าใจใน การพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ความเข้าใจเก่ียวกับเด็กปฐมวัย และการพัฒนาที่เหมาะสม ยังเป็นปัญหาในประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งความสาคัญของปัญหา ที่มีผลในระยะยาว ทั้งสาหรับผู้รับผิดชอบด้านนโยบายระดับต่างๆ และสังคมทุกภาคส่วน การสื่อสารสังคมเพ่ือสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องจึงต้องดาเนินการอย่างเต็มที่และ เรง่ ดว่ น ดิจิทัลแพลตฟอร์มเพื่อการเรียนรู้ และส่ือสารมวลชนในช่องทางต่างๆ ทั้งทางอากาศ ทางสาย และทางวัสดุความรูต้ ่างๆ อาจชว่ ยให้สามารถพัฒนากาลงั คนในท้องที่ห่างไกลไดผ้ ลดยี ิง่ ขึน้ แพลตฟอรม์ ยังช่วย ให้เกดิ การสอื่ สารระหว่างกนั แลกเปลยี่ นความรแู้ ละประสบการณก์ ันได้ดว้ ย
๙๙ เป้าหมายรวม พ่อ แม่ ผู้ปกครองและบุคลากรที่เก่ียวข้องปรับเปลี่ยนกรอบคิด (Mindset) เก่ียวกับความรู้ ความเข้าใจทถี่ ูกตอ้ งในการเตรียมความพร้อมก่อนการต้ังครรภ์ การเลย้ี งดู ดแู ล และพฒั นาเดก็ ปฐมวัย เป้าหมายเรง่ ด่วน ภายในเดือนพฤษภาคม ๒๕๖๒ มีข้อเสนอแผนในการประชาสัมพันธ์และผลิตสื่อเพ่ือสร้างความรู้ ความเข้าใจกับหน่วยงาน และ สงั คมเกีย่ วกับการดูแล พฒั นา และเตรียมความพร้อมเดก็ ปฐมวยั ทีถ่ กู ต้อง และเหมาะสมตามวยั เป้าหมายระยะสนั้ ภายในปี ๒๕๖๔ ๑) พ่อแม่ ผู้ปกครอง และบุคลากรที่เก่ียวข้องกับเด็กปฐมวัยทั่วไปได้รับความรู้และปรับทัศนคติ ตามแผน ๒) พ่อแม่ ผู้ปกครอง และบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับเด็กท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษได้รับความรู้ และปรับทศั นคตติ ามแผน เรอ่ื งท่ี ๓ การปฏริ ปู เพื่อลดความเหลอื่ มลาทางการศึกษา ความเหลื่อมล้าทางการศึกษา นอกจากจะทาให้เกิดความไม่ยุติธรรมในสังคม และการเสียโอกาสของ เด็กและเยาวชนของชาติ ตลอดจนแรงงาน ในการท่ีจะพัฒนาให้ได้เต็มความสามารถของตนแล้ว ยังทาให้เกิด ความเสียหายทางเศรษฐกิจและสังคมของชาติ ดังน้ันการลดความเหลื่อมล้าในโอกาสทางการศึกษาของ ประชาชนไทยผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ย่อมส่งผลต่ออายุขัยและคุณภาพชีวิต ท่ีดีขึ้นของประชาชนีผู้ด้อยโอกาส และขาดแคลนทุนทรัพย์ แม้ว่าปัจจุบันภาครัฐจะมีการลงทุนงบประมาณจานวนมากทุกปีเพ่ือลดความ เหลื่อมล้าทางการศึกษา แต่ก็ยังไม่สามารถสร้าง ความเสมอภาคทางการทางการศึกษาได้อย่างแท้จริง เนอ่ื งจากปัญหาดา้ นการบริหารจัดการการศึกษา รวมทง้ั การบริหารจัดการทรัพยากรทใี่ ช้ในการศกึ ษา ประเด็นการปฏริ ูปที่ ๓.๑ : การด่าเนินการเพ่อื ลดความเหลื่อมล่า้ ทางการศกึ ษา กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา เป็นกลไกใหม่ที่จะใชใ้ นการลดปัญหาการเข้าถึง การศึกษา ปัญหาการต้องออกจากการศึกษากลางคัน และปัญหาความเหลื่อมล้าในคุณภาพของการศึกษา โดยวัตถุประสงค์ของกองทุนเพ่ือความเสมอภาคทางการศึกษา ตามมาตรา ๕๔ ของรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กองทุนมีวัตถุประสงค์สาคัญ ๓ ประการ คือ (๑) ช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุน ทรัพย์ ให้มีความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษาต้ังแต่ก่อนวัยเรียนจนสาเร็จการศึกษาข้ันพื้นฐานอย่างมี คุณภาพ (๒) ลดความเหลื่อมล้่าในการศึกษา เพ่ือพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของชาติให้มีความรู้ ความสามารถ และคุณธรรม รวมทั้งมีศักยภาพท่ีจะดารงชีวิตโดยพึ่งพาตนเองได้อย่างม่ันคง และ (๓) เสรมิ สรา้ งและพฒั นาคุณภาพและประสิทธภิ าพครู ใหม้ คี วามเสมอภาคในการไดร้ ับการ เสรมิ สรา้ ง
๑๐๐ และพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพให้มีความสามารถในการจัดการเรียนการสอน และการพัฒนาเด็ก เยาวชน ทีข่ าดแคลนทุนทรัพย์ และ ดอ้ ยโอกาสทั้งในและนอกระบบการศึกษาไดเ้ ตม็ ศักยภาพ การเพิ่มความเสมอภาคทางการศึกษายังครอบคลุมไปถึงการปรับคุณภาพการศึกษาในโรงเรียน และส่วนการศึกษาต่างๆ เพ่ือให้ผู้เรียนมีโอกาสได้รับการศึกษาท่ีมีคุณภาพทัดเทียมกัน ด้วยการปรับปรุง คุณภาพของครูและปัจจัยท่ีจาเป็นในการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ เพ่ือให้สามารถสร้างคุณภาพการศึกษาใน ท้องถิ่นต่างๆ ท้ังท่ีอยู่ห่างไกล และมีข้อจากัดต่างๆ การปรับหลักสูตรและกระบวนการเรยี นรู้ ให้สามารถสรา้ ง คุณภาพทจ่ี าเป็นตามสมรรถนะของศตวรรษท่ี ๒๑ และการใชด้ จิ ทิ ลั แพลตฟอรม์ เพ่ือการศึกษาจะเปน็ โอกาสใน การลดความเหลอ่ื มล้าในคณุ ภาพการศกึ ษาได้ การประเมินผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษาท่ีมีความเหมาะสม ตลอดจนกลไกการเทียบโอนและ การเทยี บเคียงผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษาจะชว่ ยให้ผู้ด้อยโอกาสสามารถไดร้ ับการรับรองคุณภาพ และสามารถรับ การศกึ ษาในระดบั สูงขึ้นได้ และสามารถใช้ในการเขา้ ทางาน อันเปน็ การสร้างความเสมอภาคทางการศึกษาด้วย เป้าหมายรวม เด็ก เยาวชน และประชาชน ที่ขาดแคลนทุนทรัพย์หรือด้อยโอกาส ทุกคนมีความเสมอภาค ในโอกาสพัฒนาตนเองตามศักยภาพและเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ รวมถึงเสริมสร้างพัฒนาครูและ สถานศึกษาให้มีประสิทธิภาพและคุณภาพ ตลอดจนวิจัยพัฒนาองค์ความรู้ท่ีนาไปใช้ได้จริงเพ่ือยกระดับ ความสามารถของคนไทยไดอ้ ยา่ งยั่งยนื เป้าหมายเร่งด่วน ภายในเดอื นพฤษภาคม ๒๕๖๒ ๑) นักเรียนยากจนและยากจนพิเศษในสถานศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกสังกัดได้รับ การจัดสรรเงินอุดหนุนอย่างมีเงื่อนไขให้เพียงพอต่อภาระค่าใช้จ่ายด้านการศึกษาของครอบครัวผู้ขาดแคลนทุน ทรพั ย์และสอดคล้องกบั คา่ ครองชีพในปัจจบุ นั มากกว่ารอ้ ยละ ๗๕ ๒) ครูและสถานศึกษาที่มีนักเรียนยากจนและยากจนพิเศษมากกว่าร้อยละ ๕๐ จานวนไม่น้อย กว่า ๕๐๐ แหง่ ได้รบั การสนับสนุนการจัดการเรยี นการสอนให้แกน่ ักเรยี นผ้ขู าดแคลนทนุ ทรพั ย์ ๓) มีระบบสารสนเทศและฐานข้อมูลระดบั ชาติ ก า ร สื่อ ส า ร สัง ค ม เ พื่อ ส ร้า ง เพ่ือบูรณาการข้อมูลเลข ๑๓ หลักจากหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ที่ ถู ก ต้ อ ง จึ ง ต้ อ ง ๖ กระทรวงเพ่ือสรา้ งความเสมอภาคทางการศึกษาให้แก่เด็ก ดาเนินการอยา่ งเต็มท่ีและเรง่ ดว่ น เ ย า ว ช น ผู้ ข า ด แ ค ล น ทุ น ท รั พ ย์ แ ล ะ ดอ้ ยโอกาส ๔) สนับสนุนทุนการศึกษาให้แก่นักเรียนที่ยุติการศึกษาท้ังก่อนและหลังสาเร็จการศึกษา ภาคบังคับเน่ืองจากความยากจนและด้อยโอกาส เพ่ือให้สามารถศึกษาต่อจนสาเร็จการศึกษาขั้นพื้นฐานปีละ ๑๒,๐๐๐ ทนุ เปา้ หมายระยะสน้ั ภายในปี ๒๕๖๔
๑๐๑ ๑) นักเรียนยากจนและยากจนพิเศษในสถานศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานทุกสังกัดได้รับ การจัดสรรเงินอุดหนุนอย่างมีเงื่อนไขให้เพียงพอต่อภาระค่าใช้จ่ายด้านการศึกษาของครอบครัวผู้ขาดแคลนทุน ทรัพย์และสอดคล้องกบั ค่าครองชีพในปัจจุบันมากกว่ารอ้ ยละ ๙๕ ๒) ครูและสถานศึกษาที่มีนักเรียนยากจนและยากจนพิเศษมากกว่าร้อยละ ๕๐ จานวนไมน่ อ้ ย กวา่ ร้อยละ ๕๐ ไดร้ บั การสนับสนนุ การจดั การเรียนการสอนให้แกน่ กั เรียนผขู้ าดแคลนทนุ ทรัพย์ ๓) จานวนเดก็ เยาวชนนอกระบบการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐานลดลงมากกวา่ รอ้ ยละ ๒๕ ๔) อตั ราการหลดุ ออกจากระบบการศึกษาภาคบงั คบั ลดลงมากกวา่ ร้อยละ ๒๕ ๕) อัตราการศึกษาต่อระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือ ปวช.ของนักเรียนยากจนด้อยโอกาส เพ่ิมสงู ขึน้ มากกวา่ ๒ เทา่ ๖) อัตราส่วนครูต่อนักเรียนในสถานศึกษาที่มีมีนักเรียนยากจนและด้อยโอกาสมากกว่าร้อยละ ๕๐ มีแนวโน้มเพ่ิมสูงข้ึนมากกว่าร้อยละ ๑๐ เกิดสถาบันต้นแบบการผลิตและพัฒนาครูผู้ดูแลเด็กเยาวชนผู้ขาดแคลน ทนุ ทรัพยแ์ ละด้อยโอกาสเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา ๗) สัดส่วนเด็กปฐมวัยในครอบครัวผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์มากกว่าร้อยละ ๕๐ มีความพร้อม ในการเข้าสูร่ ะบบการศึกษา (School Readiness) ๘) การจัดสรรงบประมาณด้านศึกษาของประเทศเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (Equity- based Budgeting) มสี ดั สว่ นไม่ตา่ กวา่ รอ้ ยละ ๕ เป้าหมายระยะกลาง- ระยะยาว ภายใน ๕ - ๑๐ ปี ๑) นักเรียนยากจนและยากจนพิเศษในสถานศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานทุกสังกัดได้รับ การจัดสรรเงินอุดหนุนอย่างมีเง่ือนไขให้เพียงพอต่อภาระค่าใช้จ่ายด้านการศึกษาของครอบครัวผู้ขาดแคลนทุน ทรพั ยแ์ ละสอดคลอ้ งกบั ค่าครองชีพในปจั จบุ ันมากกวา่ ร้อยละ ๙๙ ๒) ครูและสถานศึกษาที่มีนักเรียนยากจนและยากจนพิเศษมากกว่าร้อยละ ๕๐ จานวนไม่น้อยกว่า รอ้ ยละ ๗๕ ได้รับการสนับสนนุ การจัดการเรยี นการสอนใหแ้ กน่ กั เรียนผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ ๓) จานวนเด็กเยาวชนนอกระบบการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานลดลงมากกว่ารอ้ ยละ ๕๐ ๔) อตั ราการหลุดออกจากระบบการศึกษาภาคบังคับลดลงมากกว่าร้อยละ ๕๐ ๕) อัตราการศึกษาต่อระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือ ปวช.ของนักเรียนยากจนด้อยโอกาส เพมิ่ สูงข้นึ มากกว่า ๓ เท่า ๖) อัตราส่วนครูต่อนักเรียนในสถานศึกษาที่มีมีนักเรียนยากจนและด้อยโอกาสมากกว่าร้อยละ ๕๐ มแี นวโนม้ เพมิ่ สูงขึ้นมากกวา่ ร้อยละ ๒๕ ๗) เกิดสถาบันต้นแบบในการผลิตพัฒนาครูผู้ดูแลเด็กเยาวชนผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์และ ดอ้ ยโอกาสเพื่อความเสมอภาคทางการศกึ ษาใน ๕ ภูมิภาคของประเทศ ๘) ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ได้โอกาสที่เสมอภาคในการศึกษาและการพัฒนาทักษะอาชีพไม่น้อยกว่า ปีละ ๕๐,๐๐๐ คน
๑๐๒ ๙) สัดส่วนเด็กปฐมวัยในครอบครัวผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์มากกว่าร้อยละ ๘๐ มีความพร้อม ในการเขา้ สู่ระบบการศกึ ษา (School Readiness) ๑๐) การจัดสรรงบประมาณด้านศึกษาของประเทศเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (Equity-based Budgeting) มีสัดส่วนไมต่ ่ากวา่ ร้อยละ ๕ ประเด็นการปฏิรูปที่ ๓.๒ : การจัดการศึกษาส่าหรับบุคคลพิการ บุคคลท่ีมี ความสามารถพเิ ศษ และบุคคลทีต่ ้องการการดูแลเปน็ พิเศษ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยกาหนดให้บุคคลทุกสถานะได้รับการศึกษาอย่างถ้วนหน้า รวมท้ังบุคคลพิการท้ังการพิการทางกาย และทางสมอง ตลอดจนบุคคลท่ีมีความสามารถพิเศษ และบุคคลที่ ต้องการการดูแลเป็นพิเศษ ซ่ึงการศึกษาที่จัดสาหรับบุคคลโดยทั่วไปไม่สามารถสร้างให้บุคคลเหล่านี้สามารถ พัฒนาตนเองได้ตามความถนัดของตน จาเป็นต้องมีการจัดการเป็นการเฉพาะ อันอาจต้องมีการลงทุน และการใช้จ่ายเพิม่ ขน้ึ แนวทางในการปฏริ ปู การจัดการเรยี นการสอนสาหรับบคุ คลที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ มีดังน้ี (๑) รูปแบบการจัดการศึกษาส่าหรับบุคคลที่มีความต้องการจ่าเป็นพิเศษ ให้ยึดหลัก การบูรณาการ การประสานงานและการดูแลชว่ ยเหลือ ระหว่างสถานศึกษา สหวิชาชีพ ครอบครัว และองค์กร ต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้อง จัดหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ท่ีเปิดกว้าง ยืดหยุ่น หลากหลาย ทั้งการศึกษาในระบบ นอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย และการศึกษาทางเลือกในรูปแบบอื่นๆครอบคลุมการศึกษาตั้งแต่ระดับ ปฐมวัย การศึกษาภาคบังคับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน อาชีวศึกษา จนถึงระดับอุดมศึกษา และจัดการเรียนการ สอนแบบเรียนรวม โดยมีหลักสูตรกลุ่มเป้าหมายเฉพาะที่ชัดเจน มุ่งเน้นพัฒนาตามธรรมชาติ ความสามารถ ของบุคคลที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษเป็นรายบุคคล รวมท้ังใช้ครูผู้สอน นักวิชาชีพที่เกี่ยวข้องและบุคลากร ท่ีได้รับการอบรมให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบุคคลท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ สร้างโอกาสและความ เสมอภาค เพ่ือให้บุคคลท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพ่ือการมีคุณภาพชีวิต ท่ีดีขน้ึ และการมีสัมมาอาชีพตามความถนดั และความสนใจของแตล่ ะบคุ คล (๒) หลักสูตรและกระบวนการจัดการ มีการสารวจ ค้นหา คัดกรองหรือคัดสรรบุคคลที่มี ความต้องการจาเป็นพิเศษโดยชุมชน สถานศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง จัดทาเป็นข้อมูลสารสนเทศเพ่ือช่วยเหลือพัฒนาเป็นรายบุคคลให้ตรงกับความต้องการและความสามารถของ แต่ละบุคคล มีกระบวนการและเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพในการสารวจหรือคัดกรองบุคคลที่มีความต้องการ จาเป็นพิเศษต้องหลากหลาย เฉพาะเจาะจงตามความสามารถและกลุ่มที่ต้องการวัด เริ่มดาเนินการ คัดกรอง และคัดสรรนักเรียนต้ังแตช่ ั้น ป.๑ - ป.๓ ทว่ั ประเทศ เพ่อื ใหไ้ ด้รับการคัดกรอง และคดั สรรท่เี หมาะสม (ไม่เน้น การวินิจฉัยความบกพร่อง ๙ ประเภท) สาหรับบุคคลที่มีความสามารถพิเศษ จะต้องดาเนินการวัดและคัดสรร ตามหลกั วชิ าการโดยผูเ้ ชี่ยวชาญและศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ ารพิเศษด้านการคัดสรรผทู้ ีม่ ีความสามารถพิเศษ
๑๐๓ การจัดทาหรือพัฒนาหลักสูตรสาหรับผู้เรียนที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ เปิดโอกาสให้ ภาคเอกชน สถาบันทางสังคม และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน โดยมีการจัดทาหลักสูตรเฉพาะและ แนวทางการปรับปรุงต้นแบบหลักสูตรให้ตอบสนองความต้องการจาเปน็ เฉพาะของผู้เรียนแต่ละกลุ่มโดยการมี ส่วนร่วมของทุกภาคส่วนจัดการศึกษาสาหรับบุคคลที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ ให้มีหลักสูตร กระบวนการ จัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล การส่งต่อ การเทียบโอน ท่ีเปิดกว้าง ยืดหยุ่น หลากหลาย มุ่งเน้นพัฒนา ตามธรรมชาติ ความสามารถของบุคคลท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษเป็นรายบุคคลให้ปรับปรุง/พัฒนา หลักสูตรและเกณฑ์การสาเร็จการศึกษาทุกระดับ ท่ีมีความยืดหยุ่นและเป็นธรรม เพื่อให้บุคคลท่ีมี ความต้องการจาเป็นพิเศษสามารถเข้าถึง มีส่วนร่วมและได้รับการพัฒนา เพ่ือเอื้ออานวยให้บุคคลที่มี ความต้องการจาเปน็ พิเศษได้เรยี นร้ตู ามความต้องการและความสนใจอยา่ งเตม็ ตามศักยภาพ (๓) การผลิต การสรรหา และการพัฒนาบุคลากร มีการสารวจสภาพปัญหาและ วางแผนการผลิตครู นักวิชาชีพท่ีเกี่ยวข้อง และบุคลากร ส นั บ ส นุ น ท่ี ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ จ า น ว น ข อ ง บุ ค ค ล ท่ี มี บคุ คลพกิ ารทงั การพกิ ารทางกาย ความต้องการจาเป็นพิเศษ สถาบันผลิตครูต้องบรรจุวิชา และทางสมอง ตลอดจนบคุ คลทมี่ ี การศึกษาสาหรับบุคคลที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ ไม่ ความสามารถพเิ ศษ และบคุ คลท่ี น้อยกว่า 9 หน่วยกิต ในทุกสาขาวิชา หรือจัดการเรียนการ ตอ้ งการการดแู ลเปน็ พเิ ศษ ซงึ่ สอนระดับประกาศนยี บตั รบณั ฑติ วิชาชีพครกู ารศกึ ษาพิเศษ การศกึ ษาทจี่ ดั สาหรบั บคุ คล รฐั หรอื หน่วยงานทีเ่ ก่ียวข้องต้องจัดอัตรากาลัง โดยทวั่ ไปไมส่ ามารถสรา้ งใหบ้ คุ คล เตรียม และพัฒนา ครู นักวิชาชีพ ที่เกี่ยวข้อง และบุคลากร เหลา่ นสี ามารถพฒั นาตนเองได้ สนับสนุนดูแลบุคคลที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ อย่าง เตม็ ทต่ี ามความถนดั ของตน เ พี ย ง พ อ ท่ี จ ะ พั ฒ น า ผู้ เ รี ย น อย่างรอบด้านเต็มตามศักยภาพ เช่น นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์ นักกายภาพบาบัด นักกิจกรรมบาบัด นกั แก้ไขการพดู เจา้ หนา้ ที่อนามยั /พยาบาล ครูปกครองหอนอน กาหนดให้มีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาที่จั ดการศึกษาสาหรับบุคคลท่ีมี ความต้องการจาเป็นพิเศษโดยสถาบันพัฒนาครูและบุคลากรการศึกษาพิเศษแห่งชาติ ก่อนบรรจุแต่งตั้งและ หรือระหว่างปฏิบัติการสอนภายในระยะเวลาที่เหมาะสม รวมถึงการสร้างแรงจูงใจ ค่าตอบแทน ค่าตอบแทน พิเศษ และความก้าวหน้าทางวิชาชีพ และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานให้สอดคล้องเหมาะสมกับลักษณะ งานและภาระงานที่รับผดิ ชอบ (๔) การจัดระบบข้อมูลสารสนเทศ พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศของบุคคลท่ีมีความ ต้องการจาเป็นพิเศษ เพ่ือเป็นฐานข้อมูลในการบริหารจัดการด้านการศึกษาให้เป็นปัจจุบันและทันสมัย มีการ เช่ือมโยงฐานข้อมูลของทุกหน่วยงานให้เป็นเอกภาพ โดยกาหนดให้มีหน่วยงานกลางที่รับผิดชอบข้อมูล สารสนเทศในการจัดการศึกษาสาหรบั บุคคลท่มี คี วามต้องการจาเป็นพิเศษ
๑๐๔ (๕) การจัดสรรทรัพยากรและงบประมาณ ให้รัฐจัดสรรทรัพยากรทางการศึกษา งบประมาณ อาคารสถานที่ สื่อ เทคโนโลยีบริการ ส่ิงอานวยความสะดวก และความช่วยเหลืออื่นใดทาง การศึกษาแก่สถานศึกษาที่จัดการศึกษาสาหรับบุคคลที่มีความ เทคโลยกี า้ วหนา้ เชน่ ดจิ ทิ ลั ต้องการจาเป็นพิเศษให้เหมาะสม และสอดคล้องกับความ แพลตฟอรม์ เพอ่ื การศกึ ษา และ จาเป็นในการจัดการศึกษาสาหรับผู้เรียนแต่ละกลุ่ม โดย เทคโนโลยกี ารสอื่ สารจะชว่ ยเพม่ิ คานึงถึงความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษาและความเป็น โอกาสขนึ ไดม้ าก ธรรม อีกทั้งการสร้างแรงจูงใจ เงินเดือน ค่าตอบแทนและ ค่าตอบแทนพิเศษให้แก่ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการ ศกึ ษาที่สอดคล้องกับภาระงาน และมีวิธกี ารประเมินผลการปฏบิ ัติงานท่ีเหมาะสม จัดสรรคา่ ใชจ้ ่ายรายหัวและ งบประมาณอ่ืนๆ ให้เหมาะสมสอดคล้องกับความต้องการจาเป็นของผู้เรียน ตลอดจนสามารถใช้งบประมาณ จาก “กองทุนเพ่ือความเสมอภาคทางการศึกษา พ.ศ. 2561” และกองทุนอ่ืนๆ มาช่วยส่งเสริม สนับสนุน การจดั การศึกษาและการพฒั นาคุณภาพชีวิตสาหรบั บคุ คลท่มี ีความต้องการจาเปน็ พิเศษได้ ผู้พิการทางสายตา การได้ยิน และการเคลื่อนไหว จาเป็นต้องมีอุปกรณ์ และสภาพแวดล้อมท่ีเออื้ ให้สามารถทาการศึกษาได้ มีหลักฐานไม่น้อยที่แสดงว่าบุคคลเหล่านี้สามารถที่จะเรียนรู้จนถึงระดับสูงได้ หากใช้ เทคโนโลยที เี่ หมาะสมกับความพิการนนั้ ๆ ในหลักการควรให้ผู้พิการได้เรยี นรว่ มกบั ผู้ท่ไี ม่พกิ าร นอกจากกรณีที่มี ความจาเป็นเปน็ พเิ ศษ ผู้ท่ีมีความพิการทางสมอง และทาให้การเรียนในรูปแบบปกติกระทาได้ช้า จึงจาเป็นต้องมี มาตรการและการเอาใจใส่เป็นพิเศษ การอยู่ร่วมกับผู้อื่นเป็นปัจจัยสาคัญในการกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาของ สมอง บางคนมีความสามารถในบางด้านสูงกว่าคนท่ัวไปด้วยซ้า การวินิจฉัยสภาพความพิการและ ความสามารถจึงต้องกระทาอย่างถูกต้องตามหลักวชิ าการ บุคคลท่ีมีความสามารถทางวิชาการเป็นพิเศษ อาจเรียนได้เร็วกว่าบุคคลทั่วไป การบังคับให้ต้อง เรียนตามระยะเวลา หรือจานวนปีตามท่ีกาหนด จะเป็นการจากัดพัฒนาการและความสามารถที่มีเป็นพิเศษ นั้น ระบบการศกึ ษาในปจั จุบนั ยงั ไม่เอื้อให้มคี วามยดื หยุ่น และโอกาสสาหรับคนเหลา่ น้ี ระบบการสอบข้ามชั้น และระบบการสอบเทียบ ซึ่งมีอยู่แต่เดิมก็ได้ยกเลิกไปแล้ว ประเทศโดยส่วนรวมจึงขาดประโยชน์ที่พึงจะได้ จากความเป็นพิเศษนี้ บุคคลท่ตี ้องการการดูแลเปน็ พิเศษ เนอื่ งจากการมีข้อจากดั ต่างๆ จาเป็นตอ้ งมีความยืดหยุ่น หรือ การสนับสนุนเป็นพิเศษ จึงจะสามารถรับการศึกษาได้ ตัวอย่างเช่น เด็กท่ีมีความเจ็บป่วยเร่ือรังท่ีต้องอยู่ใน สถานพยาบาลเป็นเวลานาน ต้องสามารถเรียนและรับการสอนไดโ้ ดยไม่ขาดตอน บคุ คลทค่ี รอบครัวมีอาชีพที่ ต้องเคล่ือนย้ายสถานที่ทางานเป็นระยะๆ จาเป็นต้องมีระบบท่ีเอื้อให้สามารถย้ายสถานศึกษาได้ บุคคลท่ีไม่มี สัญชาตไิ ทยแตม่ ีถ่นิ พานกั อยู่ในประเทศมีสิ่งติดขัดเกย่ี วกับการเขา้ ศกึ ษา และการไดร้ บั เงนิ อดุ หนุน เป็นตน้ ประชาชนจานวนไม่น้อยท่ีอยูใ่ นกลุ่มเหล่าน้ี จงึ จาเป็นต้องมีกฎหมายเพื่อรองรับการจัดการศึกษา เป็นการเฉพาะ ตลอดจนมีกระบวนการและข้อกาหนดต่างๆที่เหมาะสม ทั้งต้องมีการลงทุนและค่าใช้จ่าย
๑๐๕ เปน็ พเิ ศษ การใช้เทคโลยกี ้าวหน้า เช่น ดิจทิ ัลแพลตฟอร์มเพ่ือการศึกษา และเทคโนโลยีการสื่อสารจะชว่ ยเพ่ิม โอกาสข้ึนไดม้ าก การพัฒนาบคุ คลท่ีมคี วามรคู้ วามสามารถและเจตคตทิ ่ีดีเพื่อจัดการศึกษาด้านนี้ ยังต้องเรง่ รัด พฒั นาเปน็ การเฉพาะ เปา้ หมายรวม บุคคลพิการ บุคคลทีมีความสามารถพิเศษ และบุคคลทีต้องการการดูแลเป็นพิเศษ ได้รับ การพฒั นาอย่างทัวถงึ เต็มศกั ยภาพ และสามารถดา่ รงชวี ติ อยู่ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสุขและมีศักดิศ์ รี เป้าหมายเร่งด่วน ภายในเดอื นพฤษภาคม ๒๕๖๒ ๑) คัดกรองบุคคลทีมีความบกพร่องตา่ งๆ เช่น บุคคลเรียนรู้ช้า บุคคลออทิสติกแล้วเสรจ็ และมี ระบบข้อมูลสารสนเทศบุคคลพิการ บุคคลทีมีความสามารถพิเศษ และบุคคลทีต้องการการดูแลเป็นพิเศษ เพอื เป็นฐานขอ้ มลู ในการบรหิ ารจดั การทีเชือมโยงฐานข้อมูลให้เป็นเอกภาพ ๒) บุคลากรทีเกียวข้องทัวประเทศมีความเข้าใจเกียวกับการจัดการศึกษาส่าหรับบุคคลพิการ บุคคลทมี คี วามสามารถพเิ ศษ และบคุ คลทีตอ้ งการการดูแลเปน็ พเิ ศษ กลุม่ เปา้ หมายบุคคลพกิ าร - มีนวัตกรรมในการส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ส่าหรับบุคคลพิการทังด้าน การเรยี นรแู้ ละการด่ารงชวี ติ กลุม่ เปา้ หมายบคุ คลทีม่ ีความสามารถพิเศษ - มีระเบียบหรือข้อบังคับให้มีกลไกการคัดกรองเด็กทีมีความสามารถพิเศษ ในสถานศกึ ษาทุกสังกดั ทังของรัฐและภาคเอกชน - มีข้อเสนอแนะต่อรัฐบาลว่าด้วยยุทธศาสตร์การพัฒนาผู้มีความสามารถพิเศษและ สร้างเสริมศักยภาพให้สามารถต่อยอดการประกอบอาชพี ไดอ้ ย่างมนั คง กลุ่มเป้าหมายบุคคลท่ีมคี วามตอ้ งการการดูแลเปน็ พิเศษ - มีนวัตกรรมในการส่งเสรมิ สนับสนนุ การจัดการเรยี นรู้โดยเฉพาะด้านการอ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น และทักษะการด่ารงชีวิต - มีข้อเสนอแนะต่อรัฐบาลว่าด้วยยุทธศาสตร์การพัฒนาผู้ทีต้องการการดูแล เป็นพเิ ศษและสรา้ งเสรมิ ศกั ยภาพให้สามารถต่อยอดการประกอบอาชพี ได้อยา่ งมันคง เป้าหมายระยะสัน้ ภายในปี ๒๕๖๔ ๑) มีนักจิตวิทยาโรงเรียน ครู และผู้เกียวข้องในการวินิจฉัยผู้เรียนกลุ่มทีมีความบกพร่อง ออทิสตกิ กลมุ่ ทีมคี วามสามารถพเิ ศษ อยา่ งถูกตอ้ ง ให้การสนบั สนุนโรงเรียนครอบคลุมทุกพนื ที ๒) พฒั นานักจิตวิทยาในโรงเรียน ครู และผเู้ กยี วข้องในการดูแล ช่วยเหลือ ใหค้ ่าปรกึ ษาอยา่ งถูกตอ้ ง ๓) มรี ะบบคัดกรองและวินิจฉยั ทนี ักจติ วิทยาโรงเรียน ครู และผเู้ กียวขอ้ ง สามารถดา่ เนนิ การได้
๑๐๖ ๔) เด็กทุกคนตังแต่เด็กปฐมวัยได้รับการส่ารวจและวัดแววความสามารถ เพือคัดกรองเด็กทีมี ความสามารถพเิ ศษ เป้าหมายระยะกลาง ถงึ ระยะยาว ภายใน ๕ – ๑๐ ปี ผู้เรียนพิการ ผู้เรียนทีมีความสามารถพิเศษ และผู้เรียนทีมีความต้องการการดูแลเป็นพิเศษ ได้รบั การพัฒนาอยา่ งทวั ถึงเต็มศกั ยภาพ และสามารถดา่ รงชีวติ อย่ใู นสงั คมได้อย่างมีความสขุ และมีศักด์ิศรี ประเด็นการปฏิรูปที่ ๓.๓ :การยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาใน พืนทห่ี า่ งไกล หรือในสถานศกึ ษาที่ต้องมกี ารยกระดบั คุณภาพอย่างเรง่ ด่วน ใน ป ร ะเ ทศ ไ ท ย มีโ ร ง เ รี ย น ขน า ด เ ล็ ก ใ น พื้ น ที่ สู ง โรงเรยี นขนาดเลก็ ในพนื ทสี่ งู ๕๕๗ โรง โรงเรยี นบนเกาะ ๕๗ โรง โรงเรียนในทอ้ งถ่ินห่างไกล ๕๕๗ โรง โรงเรยี นบนเกาะ ๕๗ ทก่ี ารคมนาคมไมส่ ะดวก (อาจเป็นตามฤดูกาล) อีกหลายแห่ง ที่ โรง...ไม่สามารถยบุ เลกิ ได้ เพราะ เป็นปัญหาคุณภาพการศึกษา และความเหลื่อมล้าทางการ ความจาเป็น และไมส่ ามารถใช้ ศึกษา ส่วนใหญ่เป็นประชากรท่ีมีฐานะยากจน โรงเรียนเหล่านี้ ไม่สามารถยุบเลิกได้ เพราะความจาเป็น และไม่สามารถใช้ ทางเลอื กอนื่ ได้ ทางเลือกอ่ืนได้ เช่น การให้นักเรียนไปเรียนในโรงเรียนอื่นท่ีมี หอพักนอน หรือมีการให้ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง บางโรงเรียนมีปัญหาอย่างอ่ืนทับซ้อนด้วย เช่น การที่ภาษา แม่ท่ีใช้ท่ีบ้านไม่ใช่ภาษาไทย เด็กท่ีไม่มีทะเบียนเป็นคนมีสัญชาติไทย เด็กท่ีเข้ามาเรียนผ่านทางชายแดน คุณภาพผลสัมฤทธ์ิของการศึกษามักจะอยู่ในระดับต่า สาเหตุอาจมาจากการขาดแคลนครู การขาดแคลน อปุ กรณก์ ารศึกษา สถานทไ่ี มเ่ หมาะสม และการท่ีเด็กต้องเดินทางไกลไปโรงเรียน เป็นตน้ ได้มีมาตรการท่ีจัดขึน้ โดยกระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงมหาดไทย และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตลอดจนภาคเอกชน อยู่บ้างแล้ว และบางโรงเรียนสามารถข้ามอุปสรรคไปได้ หลายแห่งอาศัยการเรียน ทางไกลผ่านดาวเทียม แต่บางแห่งยังมีปัญหาขาดพลังงานไฟฟ้าที่เสถียรเพียงพอ บางท้องที่มีการรวมเข้าเป็น กลุ่มโรงเรียนเพื่อการเรียนการสอนและการบริหาร แต่ส่วนใหญ่ยังไม่เพียงพอ จาเป็นต้องได้รับการแก้ไข อยา่ งเร่งด่วน ขณะน้ีได้มีโครงการพิเศษในบางพื้นท่ี เพ่ือบุกเบิกทดลองหาวิธีการที่จะแก้ไขปัญหาอยู่ รวมทั้ง เป็นพนื้ ทน่ี วตั กรรมการศึกษา โรงเรียนขนาดเล็กท่ีไม่สามารถยุบรวมได้ จากสภาพที่ต้ัง เป็นท่ีห่างไกล หรืออยู่บนเกาะ และ โรงเรยี นหรอื กลุ่มโรงเรยี นขนาดเล็กท่ีมีศกั ยภาพทจี่ ะพัฒนาให้เปน็ โรงเรียนขนาดเล็กที่มคี ุณภาพสูงได้ สามารถ พฒั นาใหม้ สี มั ฤทธ์ิผลทางการศึกษาท่ีดมี ีคุณภาพได้หากได้รบั การดูแลและช่วยเหลอื ดาเนินการให้มีมาตรการ หรือความช่วยเหลือท่ีจาเป็น ตามความเหมาะสมของแต่ละสภาพ อัน ไดแ้ ก่
๑๐๗ (๑) จัดสรรงบประมาณ ด้านการลงทุนและด้านการดาเนินการให้เหมาะสม ในการน้ีต้อง พจิ ารณาบนฐานข้อเทจ็ จรงิ ของแตล่ ะโรงเรยี นในแตล่ ะพื้นท่ี เหนือไปจากเกณฑท์ ใี่ ช้สาหรับโรงเรียนโดยทว่ั ไป (๒) จัดการพัฒนาครู ให้มีสมรรถนะในความเปน็ ครู ท่ีสามารถสอนคละช้ัน และข้ามสาขาวิชาได้ โดยอาศัยสภาพที่มีนักเรียนน้อย และครูมีความใกล้ชิดกับนักเรียนได้มาก อันเอ้ือต่อการสร้างคุณภาพการ เรียนรู้ โดยสร้างความเช่ียวชาญที่หลากหลายตามความถนัดของแต่ละคนได้ และมีสมรรถนะต่างๆท่ีจาเป็น สาหรับการอาชีพและการมีชีวิตในอนาคต ซ่ึงเป็นไปได้ด้วยอาศัยความใกล้ชิดของครูกับนักเรียน และความ คล่องตัวในการจัดการศึกษาตามช่วงวัย มากกว่าการเรียนการสอนแบบท่องจาเนื้อหาสาระท่ีกาหนดตายตัว ตามปีการศึกษา (๓) ปรับหลักสูตรท่ีเน้นเน้ือหาสาระตามชั้นปี เป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะในมาตรฐานสากล อันเกิดข้ึนได้จากความคล่องตัวในการสร้างการเรียนรู้ตามช่วงวัย (ตามท่ีเป็นหลักการในพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ และได้เร่ิมใช้ในพ้ืนที่นวัตกรรมการศึกษาแล้ว) โดยต้องมีการฝึกอบรมพัฒนาครู ซ่ึงมี ตวั อยา่ งการดาเนินการทไี่ ดผ้ ลแล้วที่โครงการอ่างขาง จังหวดั เชียงใหม่ (๔) จัดสถานท่ีและสภาพแวดล้อมในโรงเรียนและในชุมชนให้เอื้อต่อการเรียนรู้ โดยเฉพาะ อย่างย่ิงการเรียนรู้จากประสบการณ์ และจากสภาพจริง เพิ่มขึ้นจากการเรียนในห้องเรียน ตลอดจนมี สิง่ จาเป็นพนื้ ฐานตามสภาพพน้ื ที่ เชน่ ศนู ยพ์ กั นอนท่ีโรงเรยี น (๕) จัดดิจิทัลแพลตฟอรม์ เพื่อการเรยี นรู้ เพื่อให้นักเรยี นและครูสามารถเขา้ ถงึ แหล่งความรไู้ ด้ตาม ความสนใจ ผา่ นทางโทรทัศนท์ างไกล ทางสายอินเตอรเนต และการใช้โทรศพั ท์มือถอื ทั้งยังต้องใหโ้ อกาสเกิด ชุมชนการเรียนรู้ ระหว่างครูกันเอง ครูกับนักเรียน และระหว่างนักเรียนกันเอง อันจะเป็นช่องทาง ในการพัฒนาและสร้างสมรรถนะด้านดิจิทัล หรือทักษะสาหรับศตวรรษที่ ๒๑ โดยไม่ต้องดึงครูออกจาก ห้องเรยี น ในการน้ีต้องพิจารณาสภาพอุปกรณ์ และโครงสร้างพ้ืนฐานในท้องถ่ิน ตลอดจนสมรรถนะ ในการดแู ลแกไ้ ขทางเทคโนโลยีการสื่อสาร ซึ่งมีตวั อย่างในโรงเรียนประชารฐั และพนื้ ทนี่ วตั กรรมจังหวัดสตูลแลว้ (๖) สร้างความรับผิดชอบร่วมของชุมชน โดยมีบทบาท ทั้งในการให้ความช่วยเหลือเก้ือกูล ดา้ นอปุ กรณ์ การเงิน และผู้ชว่ ยสอน ซงึ่ มตี วั อยา่ งได้ผลอยู่แลว้ ในหลายพื้นท่ี สาหรบั โรงเรียนในพ้นื ที่ทชี่ ุมชนมี ศักยภาพและทรพั ยากร อาจตอ้ งกาหนดพันธะของชุมชนท่ีชัดเจนดว้ ย (๗) ระดมการช่วยเหลือของสถาบันอุดมศึกษาในพ้ืนท่ีใกล้เคียง ทั้งด้านวิชาการและการพัฒนา เช่น การจัดทาหลักสตู รสถานศึกษาเป็นกรณเี ฉพาะของแต่ละโรงเรยี นให้ไดค้ ุณภาพ และการจัดวิธีการเรยี นรู้ท่ี เหมาะสม การพฒั นาครู ความชว่ ยเหลอื ด้านเทคโนโลยีการศึกษา เป็นตน้ ในระยะยาวอาจมีสว่ นในการผลติ ครู ท่ีมีความสามารถ สมรรถนะและเจตคตเิ หมาะสมกับงานได้ (๘) พฒั นาบทบาทและการมสี ่วนร่วมของภาคธุรกิจ ผูป้ ระกอบการ และภาคประชาสังคม ทัง้ ใน พื้นท่ีและจากระดับชาติ เช่น การสนับสนุนด้านการเงิน เทคโนโลยี การบริหารจัดการ เป็นต้น ดังที่ได้มี การดาเนินงานอย่างได้ผลอยู่แล้วในหลายพน้ื ท่ี
๑๐๘ (๙) กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา ให้ความช่วยเหลือสาหรับนักเรียนท่ีขัดสน ตามความจาเป็น ตลอดจนในการผลิตครูเพ่ือลดความเหลื่อมล้าทางการศกึ ษา เปา้ หมายรวม ๑) โรงเรียนขนาดเล็กในพ้นื ท่หี ่างไกลและโรงเรยี นขนาดกลางท่ีต้องการการยกระดับคุณภาพของ การจัดการศกึ ษาอยา่ งเร่งดว่ น ได้รับการแกป้ ัญหาอย่างเปน็ ระบบ ๒) ครู บุคลากรทางการศึกษา ได้รับเงินเดือน ค่าตอบแทน สวัสดิการ และสิทธิประโยชน์เกื้อกูล อื่นที่เหมาะสม โดยให้คานึงถึงการปฏิบัติงานท่ีมีความยากลาบาก หรือการปฏิบัติงานในพ้ืนที่ท่ีเส่ียงภัยหรือ หา่ งไกล ๓) ครูและผู้เรียนในโรงเรียนขนาดเล็กในพื้นท่ีห่างไกลและโรงเรียนขนาดกลางท่ีต้องการ การยกระดับคุณภาพของการจัดการศึกษาอย่างเร่งดว่ นสามารถเข้าถึงการสนับสนุนทางวิชาการได้อยา่ งเพียงพอ เปา้ หมายเรง่ ด่วน ภายในเดอื นพฤษภาคม ๒๕๖๒ ๑) มขี ้อเสนอเพื่อแก้ปัญหาโรงเรยี นขนาดเลก็ ในพน้ื ท่หี ่างไกลอย่างเป็นระบบ ๒) มีข้อเสนอเพ่ือแก้ปัญหาโรงเรียนขนาดกลางที่ต้องการการยกระดับคุณภาพของการจัด การศึกษาอย่างเร่งดว่ นอยา่ งเปน็ ระบบ เปา้ หมายระยะสนั้ ภายในปี ๒๕๖๔ ๑) ข้อเสนอเพ่ือการแก้ปัญหาโรงเรียนขนาดเล็กในพ้ืนที่ห่างไกล และโรงเรียนขนาดกลาง ที่ต้องการการยกระดับคุณภาพของการจัดการศึกษาอย่างเร่งด่วนได้รับการดาเนินการและมีความก้าวหน้า อยา่ งเปน็ รูปธรรม ๒) มีระบบในการสอบบรรจแุ ละแตง่ ตงั้ ครู ใหก้ ระจายตัวออกไปในพื้นท่ี ทมี่ คี วามขาดแคลนครู ๓) มรี ะบบจูงใจใหค้ รูกระจายตวั ไปยังโรงเรยี นท่ีมีความขาดแคลน เรอ่ื งท่ี ๔ : การปฏริ ปู กลไกและระบบการผลติ คัดกรอง และพัฒนาผู้ ประกอบวชิ าชพี ครแู ละอาจารย์ ประเด็นการปฏิรูปที่ ๔.๑ : การผลิตครู และการคัดกรองครู เพ่ือให้ได้ครูท่ีมี คุณภาพตรงกับความตอ้ งการของประเทศ และมีจติ วญิ ญาณของความเปน็ ครู สภาพปญั หา จากสภาวการณ์ของการผลิต และการคัดกรองครูในปัจจุบันจะพบว่านักศึกษาครูไม่มี ความสามารถโดดเด่นหรือความถนัดบัณฑิตครูไม่มีความลึกซึ้งและแม่นยาในเน้ือหาวิชาท่ีสอนและสนใจใน วิชาชีพครูอย่างแท้จริง ภาครัฐไม่มีเอกภาพเชิงนโยบายในการผลิตครูบัณฑิตครูบางสาขาเกินความต้องการ และบางสาขาขาดแคลน นอกจากนี้ ครูไม่สามารถจูงใจผู้เรียนหรือสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ได้ การบริหาร จัดการชั้นเรียนไม่มีประสิทธิภาพนักศึกษาครูก็ไม่สามารถแสดงให้เห็นสมรรถนะท่ีสาคัญของการเป็นครูได้
๑๐๙ อย่างชัดเจนรวมทั้งอาจารย์ผู้สอนในสถาบันผลิตครูส่วนใหญ่สอนได้เฉพาะหลักการทางการศึกษาทั่วไป ในสถานการณ์สมมติไม่สามารถเปน็ ตวั แบบทด่ี ีและสร้างแรงบันดาลใจให้กับนักศกึ ษาครไู ด้ สาเหตขุ องปญั หา จากสภาพปญั หาดังกลา่ วมสี าเหตสุ ืบเนือ่ งมาจากระบบการคัดเลือกบุคคลเขา้ เรยี นครเู น้นปริมาณ มากกว่าคุณภาพไม่มีเอกภาพในระบบการคัดเลือกอีกท้ังบางสถาบันมิได้มีการคัดเลือกผู้เข้าเรียนครูไม่มี หน่วยงานรับผิดชอบในการดูแลกากับติดตามวางระบบการผลิตครูในภาพรวม ประกอบกับสถาบันผลิตครู จานวนมากและมีกาลังผลิตครแู ต่ละปีเกินความต้องการโดยไม่มีการวางแผนการผลิตครูของประเทศและไม่ได้ มีการพิจารณาความพร้อมและคุณภาพในการผลิตครูของแต่ละสถาบันหลักสูตรผลิตครูเป็นหลักสูตรที่เน้น รายวิชามากกว่าท่ีจะเน้นการสร้างสมรรถนะหลักของครูโดยมีรายวิชาย่อยจานวนมากเน้นหลักการทฤษฎี มากกว่าการฝึกปฏิบัติส่งผลให้บัณฑิตครูไม่บรรลุสมรรถนะหลักของการเป็นครูหลักสูตรครูมีความอ่อนแอ ในด้านเนื้อหาวิชาเอกหลายสถาบนั เปิดสอนวิชาเอกด้านเนอื้ หาเฉพาะทางโดยไม่มีคณะวิชาที่เช่ียวชาญรองรบั เช่น คณะวิทยาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์หรือคณะสังคมศาสตร์ เป็นต้นอาจารย์ผู้สอน ในสถาบันผลิตครูส่วนใหญ่ไม่มีความเช่ียวชาญในเนื้อหาวิชาเอกและประสบการณ์ในการสอนนักเรียน ในโรงเรียนมาก่อนและการฝึกประสบการณ์วิชาชพี ของนักศึกษาครูไม่มีความเข้มข้นแยกขาดจากรายวิชาและ ไม่มีรูปแบบของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพที่ชัดเจนและม่ันใจได้ในประสิทธิผลแม้ว่าจะมีการกาหนดการฝึก ประสบการณ์วิชาชีพไว้มากกว่าหนึ่งชั้นปีแต่นักศึกษามิได้เรียนรู้และพัฒนาสมรรถนะทางวิชาชีพในการฝึก ประสบการณว์ ิชาชีพอยา่ งเตม็ ที่ เปา้ หมายรวม เพ่ือให้การผลิต การคัดกรองครู และเพื่อให้ได้ครูที่มีคุณภาพตรงกับความต้องการของประเทศ และมีจิตวิญาณของความเป็นครู จึงเห็นควรกาหนดให้มีกองทุนผลิตและแผนการผลิตและพัฒนาครู โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อคัดกรองผู้ท่ีมีคุณสมบัติเหมาะสม สนับสนุนทุนการศึกษา คัดเลือกสถาบันการศึกษาที่มี คุณภาพในการผลิตครูเพื่อให้ผู้รับทุนเข้าศึกษา ได้ครูท่ีมีสมรรถนะสูงและตรงกับความต้องการของประเทศ ที่จบการศึกษาจากสถาบันท่ีใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะที่ทาให้นิสิตนักศึกษาครูมีความศรัทธาต่อวิชาชีพครู มีจิตวิญญาณของความเป็นครู มีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริง ได้รับประสบการณ์ด้านวิชาชีพครูและ การนิเทศที่มีประสิทธิภาพอย่างต่อเน่ืองตลอดหลักสูตรรวมท้ังมีครูอาชีวศึกษาท่ีมีความเชี่ยวชาญในการจัด การเรียนการสอน ท้งั ภาคทฤษฎี และภาคปฏบิ ตั ิ ๑) มีแผนการผลิตและพฒั นาครูตามความต้องการของประเทศ (Demand-side Financing) โดย มีวัตถุประสงค์เพื่อคัดกรองผู้ท่ีมีคุณสมบัติเหมาะสม สนับสนุนทุนการศึกษา คัดเลือกสถาบันการศึกษาท่ีมี คุณภาพในการผลิตครูเพื่อให้ผู้รับทุนเข้าศึกษา เพ่ือให้ได้ครูท่ีมีสมรรถนะตรงกับความต้องการของประเทศ ดาเนนิ การโดยสานกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา ในระยะเวลาอย่างน้อย ๑๐ ปี รวมถึงให้มกี ารจัดอัตรากาลัง เพ่มิ เติมเพ่อื บรรจใุ นพน้ื ท่ีทีข่ าดแคลนครู
๑๑๐ ๒) ได้ครูสมรรถนะสูงและตรงตามความต้องการของประเทศ ท่ีจบการศึกษาจากสถาบันท่ีใช้ หลักสูตรฐานสมรรถนะท่ีทาให้นิสิตนักศึกษาครูมีความศรัทธาต่อวิชาชีพครู มีจิตวิญญาณของความเป็นครู มีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริง ได้รับประสบการณ์ด้านวิชาชีพครูและการนิเทศที่มีประสิทธิภาพ อย่างตอ่ เนอื่ งตลอดหลักสตู ร ๓) ไดค้ รอู าชวี ศึกษาทมี่ ีจิตวิญญาณความเป็นครู มีสมรรถนะสูง มคี วามเชี่ยวชาญในการจัดการเรียน การสอน ท้ังภาคทฤษฎี และภาคปฏบิ ตั ิ เป้าหมายเร่งด่วน ภายในเดือนพฤษภาคม ๒๕๖๒ ๑) มีแผนการผลิตและพัฒนาครูทุกระดับ โดยให้มีการประเมินและทบทวนโครงการผลิตครู เพอื่ พฒั นาทอ้ งถิ่น นาผลการประเมินมาบูรณาการร่วมกับแนวทางปฏริ ูปครู และบรรจุแผนไวเ้ ป็นสว่ นหนึง่ ของ แผนการศึกษาแห่งชาติ รวมถึงกาหนดเป็นแผนการผลิตและพัฒนาครูระยะ ๑๐ ปี ดาเนินการโดยสานักงาน เลขาธิการสภาการศกึ ษา ๒) มีระบบข้อมูลครู (Teacher Data System) เพื่อรวบรวมข้อมูลการผลิต การใช้ และการคาดการณอ์ ัตรากาลังครูในสาขาท่ีขาดแคลน ๓) ได้กรอบมาตรฐานสมรรถนะของวิชาชีพครูและกรอบมาตรฐานสมรรถนะวิชาชีพครู อาชวี ศึกษา ๔) มีการปรับปรุงหลักสูตรการผลิตครูเป็นหลักสูตรที่เน้นสมรรถนะของวิชาชีพครู ซึ่งใช้ ระยะเวลาในการศึกษาส่ีปีโดยเน้นการฝึกปฏิบัติในสถานการณ์จริงต้ังแต่ปีแรกจนถึงปีสุดท้าย และนิสิตหรือ นักศกึ ษาครตู อ้ งได้รบั การฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชพี กับครูประจาการท่มี ปี ระสบการณ์หรอื ความเช่ยี วชาญ ๕) อาจารย์ที่สอนในสถาบันผลิตครูมีประสบการณ์สอนในสถานศึกษา และมีกิจกรรมทาง วิชาการทเ่ี ชอ่ื มโยงกบั สถานศึกษา เป้าหมายระยะส้ัน ภายในปี ๒๕๖๔ ๑) นสิ ิตนกั ศกึ ษาครใู นหลักสูตรปัจจบุ ันได้รับการเสริมสมรรถนะทางวิชาชพี ครู ๒) การผลติ ครเู ฉพาะทางให้เป็นการรว่ มผลติ กบั คณะที่มคี วามเชีย่ วชาญด้านเนอ้ื หา ๓) ให้มีการจัดทาแผนอัตรากาลังครูและบุคลากรการศึกษาระดับชาติ และระดับพื้นท่ีตลอดจนวาง ระบบคัดเลือกและจัดสรรอตั รากาลังครู โดยเฉพาะในพ้นื ทีท่ ม่ี ีความขาดแคลน ๔) มีระบบและมาตรฐานกลางในการคดั เลือกบุคคลที่มใี บอนญุ าตประกอบวิชาชีพครูเข้าเป็นครู ๕) มีครูและอาจารย์ผู้สอนในระดับอาชวี ศึกษาทม่ี ีมาตรฐานวิชาชีพครูอาชีวซึกษาและใบประกอบ วิชาชพี ครูอาชวี ศกึ ษาเป็นการเฉพาะ เพอื่ ใหม้ คี วามสัมพันธ์และสอดคล้องกบั การจัดการเรียนการสอนอาชีวศกึ ษา ๖) มีผู้เช่ียวชาญหรือผู้มีประสบการณ์ด้านการปฏิบัติมาเป็นครูฝึกอาชีวศึกษาในสถานศึกษาหรือ สถานประกอบกจิ การ ๗) มีหลักสูตรผลิตครูอาชีวศึกษาที่เน้นการปฏิบัติในสถานประกอบการให้มีความเชี่ยวชาญ ในทกั ษะวชิ าชีพ
๑๑๑ เป้าหมายระยะกลาง- ระยะยาว ภายใน ๕ – ๑๐ ปี ๑) ครูรุ่นใหม่ท่ีได้รับการบรรจุไม่น้อยกว่ากึ่งหน่ึงจบการศึกษาโดยผ่านระบบกองทุนผลิตและ พฒั นาครู ๒) มีอัตรากาลังครูอาชีวศึกษาและบุคลากรสายสนับสนุนเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานอัตรากาลัง ในสถานศึกษา สังกัดสานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ประเดน็ การปฏริ ปู ที่ ๔.๒ : การพัฒนาวิชาชีพครู สภาพปัญหา จากแนวทางในการพัฒนาวิชาชีพครูของประเทศไทยในปัจจุบันจะพบว่าสมรรถนะของครูแต่ละ บุ ค ค ล ยั ง ไ ม่ มี ม า ต ร ฐ า น ข อ ง รู ป แ บ บ ก า ร พั ฒ น า ค รู ป ร ะ จ่ า ก า ร ที มี ป ร ะ สิ ท ธิ ผ ล แ ล ะ ยั ง ไ ม่ เ กิ ด ชุ ม ช น การเรียนรู้ทางวิชาชีพ (professional learning community) อย่างแท้จริงครูส่วนใหญ่ยังปรับตัวไม่ทันกับ รูปแบบการเรียนรู้ของผู้เรียนทีเปลียนแปลงไปตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและการสื อสารและครูไม่มี เวลาและสมาธทิ จี ะเอาใจใส่ และทา่ ความเข้าใจเพือพัฒนาผูเ้ รยี นเป็นรายบุคคลได้ สาเหตขุ องปัญหา จากสภาพปญั หาดังกลา่ ว มีสาเหตุสบื เนืองมาจากการพัฒนาครปู ระจา่ การไม่ได้อยู่บนพนื ฐานของ การวิเคราะห์ความต้องการจา่ เปน็ (need assessment) ครูยังผูกขาดบทบาทในการจดั การเรียนรู้ ในรูปแบบ ของการถ่ายทอดความรู้ (knowledge transmission) มากกว่าทจี ะใหผ้ เู้ รียนมีสว่ นรว่ มในการสร้างการเรียนรู้ ของตนโดยอาศัยสือเทคโนโลยีและแหล่งความรู้ (resource) ทีเหมาะสมครูยังคงใช้การวัดและประเมินผลด้วย ข้อสอบมากกว่าการประเมินสมรรถนะทีแสดงออกได้ในการแก้ปัญหาจริงของผู้เรียน และใช้การวัดและ ประเมินเพือตัดสินผลการเรียนรู้มากกว่าทีจะใช้ในการวินิจฉัยและพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคลและครูมีภาระงาน นอกเหนือการสอนเป็นจ่านวนมาก รวมทังการต้องเข้ารับการอบรมในหลักสูตรต่างๆ ในวันหยุดสุดสัปดาห์ จนไม่มเี วลาพอทจี ะเอาใจใส่และพฒั นาผ้เู รียนเปน็ รายบุคคล เปา้ หมายรวม เพือให้การพัฒนาวิชาชีพครูเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพจึงเห็นควรส่งเสริมให้ครู บุคลากร ทางการศึกษา ได้รับโอกาสในการพัฒนาความรู้และทักษะ มีความก้าวหน้าในการประกอบอาชีพ และมีระบบ และวิธีการทีหลากหลายและเหมาะสมในการพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษา ให้สามารถเรียนรู้ร่วมกัน พัฒนาสมรรถนะ และพัฒนาตนเองได้อย่างต่อเนือง โดยให้ค่านึงถึงการปฏิบัติงานทีมีความยากล่าบาก หรือ การปฏิบตั ิงานในพืนทที ีเสียงภัยหรอื หา่ งไกลดว้ ย นอกจากนี ครูจะได้ลดภาระงานนอกเหนอื จากงานสอน จนมี เวลาพัฒนาผู้เรียนได้เป็นรายบุคคล ครู บุคลากรทางการศึกษา มีการพัฒนาความรู้และทักษะ และสมรรถนะในการปฏบิ ัติหน้าท่ีของ ตนอย่างต่อเนื่อง เพื่อความก้าวหน้าทางวิชาชีพด้วยระบบและวิธีการท่ีหลากหลายและเหมาะสม ในการพัฒนาแต่ละกลุ่ม โดยคานึงถึงการปฏิบัติงานในพื้นที่ห่างไกล เส่ียงภัย ยากลาบาก และทุรกันดาร ใหไ้ ดร้ ับความสะดวกในการพัฒนา
๑๑๒ เปา้ หมายเร่งด่วน ๑) มีหนว่ ยงานกลางภายในกระทรวงศกึ ษาธิการในการบริหารจดั การการพัฒนาทางวิชาชีพให้กับ ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ๒) มกี ารพฒั นาครมู ีการวิเคราะหส์ มรรถนะทเี่ ป็นความต้องการจาเปน็ (Need Analysis) ๓) มกี ารนิเทศ ตดิ ตาม ช่วยเหลือ ครูทสี่ อนไมต่ รงสาขาวชิ าท่จี บ หรอื ครูทยี่ ังไม่มน่ั ใจในการสอน ๔) มีการพัฒนาครูประจาการและผู้บริหาร ที่เน้นสมรรถนะที่จาเป็นของครูแต่ละคนผ่านระบบ Professional Teacher Development Platform ๕) มีระบบและกลไกให้ครมู ีการพฒั นาตนเองทางวชิ าชพี อยา่ งต่อเน่ือง ๖) ให้ครูแนะแนว ครูการศึกษาพิเศษ มีความเช่ียวชาญในสาขาวิชาที่สอน และให้ครูปฐมวัย มีทักษะในการจัดการจัดการเรยี นการสอนได้ทุกวิชา ๗) ใหค้ รอู าชวี ศึกษาได้เรยี นร้ใู นสถานประกอบการ เพือ่ เพมิ่ พูนประสบการณ์ และความเชี่ยวชาญ สาหรับใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอน เป้าหมายระยะสน้ั ภายในปี ๒๕๖๔ ๑) มศี นู ย์ฝกึ อบรมและพัฒนาครอู าชวี ศึกษา เพ่ือพฒั นาครูใหเ้ กง่ ปฏบิ ตั ิ ๒) มีครูพ่ีเลีย้ งท่ีมีคุณภาพใหค้ าแนะนาปรึกษาในการทาหน้าท่คี รปู ระจาช้นั และครูประจาวิชา ๓) มีระบบในการประเมินการปฏิบัตงิ านและสมรรถนะหลักกอ่ นทีจ่ ะบรรจุเป็นครูชานาญการ เป้าหมายระยะกลาง- ระยะยาว มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศขับเคลื่อนเครือข่ายครู National Professional Teacher Platform (NPTP) ประเด็นการปฏิรูปที่ ๔.๓ : เส้นทางวิชาชีพครู เพ่ือให้ครูมีความก้าวหน้า ได้รบั คา่ ตอบแทนและสวสั ดกิ ารที่เหมาะสม สภาพปัญหา จากเส้นทางวิชาชีพครู ค่าตอบแทนและสวัสดิการของครูในปัจจุบัน จะพบว่าหลักเกณฑ์และ วิธีการประเมินเพือให้มีวิทยฐานะยังไม่เหมาะสมกับภาระหน้าทีและไม่สะท้อนคุณภาพของผู้เรียน และการจัด การศกึ ษาไมส่ ามารถสร้างสมรรถนะใหมใ่ ห้ผู้เรยี นได้ สาเหตุของปญั หา จากสภาพปัญหาดังกล่าว มีสาเหตุสืบเนืองมาจากความก้าวหน้าทางวิชาชีพของครู ยังไม่ได้อยู่ บนพืนฐานของความสามารถและความเชียวชาญในการปฏิบัติงานครู รวมทังผลลัพธ์ในการปฏิบัติงานครู โดยเฉพาะผลลัพธ์ทีเกิดแก่ผู้เรียนอย่างเต็มทีโรงเรียนและเขตพืนทีการศึกษาไม่มีบุคลากรวิชาชี พทีมี ความจ่าเป็นต่อการจัดการศึกษา เช่น นักจิตวิทยาโรงเรียน (School Psychologist) นักเทคโนโลยีการศึกษา (Educational Technologist)
๑๑๓ เป้าหมายรวม เพือให้ครูมีความก้าวหน้า มีค่าตอบแทน และสวัสดิการทีเหมาะสม จึงเห็นควรให้ครู บุคลากร ทางการศึกษา มีความก้าวหน้าในการประกอบอาชีพทียังยืนและมันคง สร้างแรงจูงใจโดยให้ค่านึงถึง การปฏิบัติงานทีมีความยากล่าบาก หรือการปฏิบัติงานในพืนทีทีเสียงภัยหรือห่างไกลด้วย นอกจากนีให้ สถานศึกษาได้รับการบริการทางวิชาชีพจากบุคลากรวิชาชีพ เช่น นักจิตวิทยาโรงเรียนและนักเทคโนโลยี การศึกษา เปน็ ต้น ครู บุคลากรทางการศึกษา มีความก้าวหน้าในการประกอบอาชีพ ได้รับค่าตอบแทนที่เหมาะสม กับความสามารถ ประสิทธิภาพในการสอน และผลลัพธ์ในการพัฒนาผู้เรียน โดยคานึงถึงผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ ห่างไกล เสย่ี งภัย ยากลาบาก และทรุ กันดาร เป้าหมายเรง่ ด่วน ๑) มีมาตรฐานวิชาชพี ครู ๒) มีระบบในการพิจารณาค่าตอบแทนที่เหมาะสม รวมท้ังมีกลไกในการเลื่อนวิทยฐานะที่ได้รับ การปรบั ปรงุ ใหม่ และการคงวทิ ยฐานะของครู ประเด็นการปฏิรูปที่ ๔.๔ : การพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาเพ่ือ ยกระดับคุณภาพการจดั การศึกษาในสถานศกึ ษา สภาพปญั หา จากระบบการพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาของประเทศในปัจจุบัน จะพบว่าผู้บริหารไม่สามารถ เป็นผู้น่าทางด้านวิชาการได้ไม่มีกรอบในการคัดเลือก และพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารส่วนหนึง ไม่สามารถวางระบบการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ไม่สามารถช่วยเหลือครูในการพัฒนางาน และพัฒนาผู้เรียน ไดเ้ ตม็ ที สาเหตุของปญั หา จากสภาพปัญหาดังกล่าว มีสาเหตุสืบเน่ืองมาจากแผนการศึกษาชาติ ไม่ชัดเจนในด้านการจัด ระดับการศึกษา เช่นการประถมศึกษาหายไป กลายเป็นการศึกษาภาคบังคับและการศึกษาข้ันพื้นฐาน และ ปัญหาการสร้างผู้บริหารที่มิได้เติบโตมาจากการเป็นครูผู้เช่ียวชาญ/ชานาญการมาก่อนขาดระบบการพัฒนา ผู้บริหารที่เน้นการฝึกให้มีประสบการณ์การบริหารอย่างเข้มข้น และการเรียนรู้จากพี่เล้ียงที่เป็นผู้บริหาร มืออาชีพซ่ึงมีประสบการณ์สูงไม่มีการกาหนดสมรรถนะกลางของผู้บริหารที่ชัด เจนผู้บริหารส่วนหน่ึงขาด ความรู้ด้านหลักสูตร การบรหิ ารวิชาการ และศาสตร์การสอน เนอ่ื งจากระบบการคัดเลือกไม่ไดใ้ ห้ความสาคัญ กับประสบการณ์เก่ียวกับการสอนและด้านการบริหารวิชาการ ไม่มีหลักสูตร และหน่วยงาน/สถาบันท่ีได้ มาตรฐานในการพัฒนาผู้บริหารให้มีสมรรถนะครบถ้วนรวมทั้งในพื้นที่ขาดแคลนยังขาดผู้บริหารโรงเรียนท่ีมี แรงจูงใจในการทางานบริหารโรงเรียนประกอบกับขาดระบบการประเมินผู้บริหารท่ีเน้นการนาผลการพัฒนา
๑๑๔ โรงเรยี นและนักเรยี น ตลอดจนขาดระบบการประเมินผู้บริหารรอบด้านโดยผู้เก่ียวข้องทุกภาคส่วน นอกจากนี้ ผบู้ รหิ ารยังขาดแรงจงู ใจในการพฒั นาโรงเรยี นสคู่ วามเปน็ เลศิ ในระดบั นานาชาติ เปา้ หมายรวม เพื่อให้ระบบการพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาของประเทศ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถ ยกระดับการศึกษาในสถานศึกษาได้ จึงเห็นควรให้ผู้บริหารสถานศึกษามีคุณสมบัติ สมรรถนะ และความรู้ ความเช่ียวชาญ ประสบการณ์ โดยจัดหรือสนับสนุนให้ผู้บรหิ ารสถานศึกษาได้รับการพัฒนาความรู้ สมรรถนะ และประสบการณ์ที่จาเป็นสาหรับการปฏิบัติหน้าที่ รวมไปถึงการพัฒนาผู้ท่ีมีโอกาสจะได้รับการคัดเลือกหรือ สรรหาเป็นผู้บริหารสถานศกึ ษาและผทู้ ี่ไม่ผ่านการประเมิน ผู้บริหารสถานศึกษามีคุณสมบัติ สมรรถนะ และความรู้ความเช่ียวชาญ ประสบการณ์ และจัด หรือสนับสนุนให้ผู้บริหารสถานศึกษาได้รับการพัฒนาความรู้ สมรรถนะ และประสบการณ์ที่จาเป็นสาหรับ การปฏิบตั หิ นา้ ที่ รวมไปถงึ การพฒั นาผู้ท่ีมีโอกาสจะได้รบั การคัดเลอื กหรือสรรหาเปน็ ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาและ ผทู้ ่ไี ม่ผา่ นการประเมิน เป้าหมายเรง่ ดว่ น ๑) มกี ารกาหนดสมรรถนะหลักของผบู้ ริหาร ๒) มีมาตรฐานการปฏบิ ตั ิงานของผู้บรหิ ารในดา้ นต่างๆ ๓) ยกร่างกฎกระทรวงว่าด้วยคุณสมบัติ สมรรถนะ และความรู้ความเช่ียวชาญ ประสบการณ์ตาม มาตรา ๕๑ ของรา่ ง พ.ร.บ.การศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. .... ๔) มีข้อเสนอว่าด้วยระบบและกลไกในการสร้างแรงจูงใจผู้บริหารในการพัฒนาโรงเรียนให้มีผล การดาเนินงานท่ดี ขี ้ึนตามบริบทของพืน้ ทแี่ ละสถานศึกษา เปา้ หมายระยะสั้น ๑) มีการคัดเลือกผู้บริหารสถานศึกษาท่ีมีคุณสมบัติ สมรรถนะ และความรู้ความเช่ียวชาญ ประสบการณ์ตามท่ีกาหนดในกฎกระทรวง โดยคาแนะนาของคณะกรรมการนโยบายฯ ๒) มีระบบการดแู ลผบู้ รหิ ารใหมใ่ หม้ คี วามพรอ้ มในการปฏบิ ตั ิงาน ๓) มรี ะบบและกลไกใหผ้ ู้บริหารพัฒนาตนเองให้มคี วามเปน็ ผ้นู าทางวชิ าการอยตู่ ลอดเวลา ๔) มหี ลักสตู รพัฒนาผบู้ ริหารในแตล่ ะระดบั ทีม่ มี าตรฐาน ๕) มกี ารเปดิ เผยข้อมลู ผลการพัฒนาโรงเรียนในดา้ นต่างๆ ต่อสาธารณะชน ๖) มีหน่วยงานกาหนดนโยบาย การคัดกรอง และพัฒนาผู้บริหาร เพื่อวิเคราะห์อัตรากาลังและ ศกั ยภาพของผบู้ ริหาร ๗) มี National Digital Learning Platform (NDLP) ท่ีเป็นหน่วยงานมาตรฐานท่ีมีหน้าที่พัฒนา หลักสูตรการพฒั นาผู้บริหารในแต่ละระดับท่ีมมี าตรฐาน
๑๑๕ ๘) มีระบบหรือมาตรการสร้างแรงจูงใจให้ผู้บริหารที่มีศักยภาพในการพัฒนาโรงเรียน ไปประจาการในพ้นื ทีข่ าดแคลน ๙) มีระบบการเล่ือนระดับของผู้บริหาร โดยพิจารณาถึงผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากความก้าวหน้า ในการพัฒนาสถานศึกษาและการยกระดับคุณภาพของผู้เรียนเป็นสาคัญ รวมท้ังมีระบบการคงวิทยฐานะ ให้ผบู้ รหิ ารพัฒนาทางวิชาชพี ได้มีการจัดทาเกณฑ์มาตรฐานสมรรถนะผู้บรหิ ารสถานศึกษา และเกณฑ์มาตรฐานสมรรถนะของ ผบู้ รหิ ารการศึกษา ข้ึนเปน็ ต้นแบบแลว้ ประเด็นการปฏิรูปที่ ๔.๕ : องค์กรวิชาชีพครู และปรับปรุงกฎหมาย ท่เี กี่ยวขอ้ ง สภาพปัญหา ด้วยบทบาทหน้าทีและอ่านาจของคุรุสภา องค์การค้าของ สกสค. คณะกรรมการข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา (กคศ.) คณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทาง การศกึ ษา (สกสค.) ไมต่ อบสนองต่อการพัฒนาการศึกษาภายใต้บริบทในปัจจบุ ัน สาเหตขุ องปญั หา จากสภาพปัญหาดังกล่าว มีสาเหตุเนืองมาจากกฎหมายทีเกียวข้องกับครูและบุคลากรทาง การศกึ ษาและองคก์ รดงั กลา่ วทีดา่ เนนิ การในปจั จบุ นั ไม่เออื ต่อการพฒั นาการศึกษาของประเทศ เป้าหมายรวม เพือให้หน่วยงานทีเกียวข้องกับครูและบุคคลากรทางการศึกษาสามารถตอบสนองต่อการพัฒนา การศึกษาภายใต้บริบทในปัจจุบันได้ จึงเห็นควรให้มีระบบการตรวจสอบ ติดตาม และประเมินประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของครู และบุคลากรทางการศึกษา ให้สอดคล้องกับความมุ่งหมายและหลักการของการจัด การศึกษา ข้อก่าหนดดา้ นคณุ ภาพ และแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ ๑) ใหค้ ุรสุ ภาเปน็ องคก์ รวิชาชพี ครูทมี ีหน้าทกี ่าหนดมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ ควบคุมความประพฤติและการด่าเนินงานของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา รวมทังส่งเสริม สนับสนุน ยกย่อง และผดงุ เกียรติผปู้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ๒) ให้ระบบงานในการบริหารครูและบุคลากรทางการศึกษาภาครัฐ เป็นระบบทีมีการด่าเนินการ เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล มีความคล่องตัว มีการกระจายอ่านาจทีเหมาะสมเอือต่อการบริหารสถานศึกษา ทมี ีความเป็นอสิ ระ เป้าหมายเรง่ ดว่ น ๑) มขี อ้ เสนอในการปรับบทบาทหน้าทีและอ่านาจของคุรุสภา และเริมด่าเนนิ การ ๒) มีขอ้ เสนอในการปรับบทบาทหนา้ ทแี ละอ่านาจของสา่ นักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการ และสวสั ดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) รวมถงึ องคก์ ารค้าของ สกสค.
๑๑๖ ๓) มีข้อเสนอในการปรับบทบาทหน้าทีและอ่านาจของส่านักงาน ก.ค.ศ. และยกร่างหรือปรับแก้ กฎหมายทีเกยี วขอ้ งกบั ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา เปา้ หมายระยะสัน ๑) กฎหมายทีเกียวข้องกับคุรุสภา รวมถึงการบริหารข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการปรับปรุงให้สอดคล้องกับบทบัญญัติของกฎหมายการศึกษาแห่งชาติฉบับใหม่ และสนับสนุน แนวทางของการปฏิรปู การศึกษาทีกา่ หนดไว้ในเรืองและประเดน็ การปฏริ ูปดา้ นอนื ๆ ทีเกียวขอ้ ง ๒) กฎหมายทีเกียวข้องกับ สกสค. และองค์การค้าของ สกสค. ได้รับการปรับปรุงให้สอดคล้อง กบั ข้อเสนอฯ ข้างตน้ เรื่องท่ี ๕ : การปฏิรูปการจัดการเรียนการสอนเพ่ือตอบสนอง การเปลี่ยนแปลงในศตวรรษท่ี ๒๑ ประเด็นการปฏิรูปที่ ๕.๑ : การปรับหลักสูตรพร้อมกระบวนการ จัดการเรียนการสอน และการประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้เป็นหลักสูตรฐาน สมรรถนะ เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และนโยบายประเทศไทย ๔.๐ ของรัฐบาล ตลอดจนแผนแม่บทยุทธศาสตร์ชาติ ต้องการปรับการศึกษาของชาติให้มีผลสัมฤทธิ์ที่ได้มาตรฐานสากล เพื่อมุ่งให้การศึกษาเป็นการสร้างทรัพยากรมนุษย์ที่สามารถเป็นกาลังสาคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมของประเทศจนสามารถแข่งขันได้กับนานาอารยประเทศ หลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ และ การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาจึงเป็นหัวใจหลักด้านหนึ่งของการปฏิรูป แนวทางในการปฏิรูปการจัดการเรียนการสอน ต้องปฏิรูปห้องเรียน (Classroom Reform) ซ่ึงเป็นหัวใจสาคัญของการปฏริ ูปการศึกษา การปฏิรูปห้องเรียนให้มีบรรยากาศการเรียนเชิงรุกด้วยเทคโนโลยี ท่ีปรับเหมาะตามสภาพพื้นที่ ผู้เรียนชี้นาตนเองในการเรียนรู้ มีวินัยในการเรียนรู้ มีความใฝ่รู้ใฝ่เรียน และมี การฝึกฝนทกั ษะการคดิ ข้ันสูง จงึ เป็นสงิ่ สาคัญ ปัจจัยสาคัญในการปฏิรูปห้องเรยี นก็คือ การสร้างส่ิงแวดล้อมการเรียนด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ และ การจัดกระบวนการเรียนการสอนที่ให้โอกาสและกระตุ้นให้ผู้เรียนเป็นผู้ดาเนินการเรียนรู้ตามความถนัด และตามความสนใจของตน ด้วยสารสนเทศท่ีหลากหลาย โดยมีครูเป็นผู้อานวยความสะดวก ให้คาปรึกษา และช้แี นะการเรียนรู้ การปฏิรูปห้องเรียนต้องลดความเหล่ือมล้าของห้องเรียนท่ีครูอาจมีประสบการณ์ความชานาญ ในการสอนและสาระความรู้ในบางเรื่องไม่เพียงพอ ช้ันเรียนต้องให้ความสาคัญกับผู้เรียนที่มีความแตกต่างกัน ท้งั ลกั ษณะการเรยี นรู้ ความแตกตา่ งทางกายภาพ และ เศรษฐฐานะ
๑๑๗ การปรับหลักสูตรเป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะ (Competency-based Curriculum) จากสภาพปัญหา สถานการณ์ ความต้องการ และความคิดเห็นดังกล่าวข้างต้น จึงมีข้อเสนอแนะให้มีการปรับ หลกั สูตรการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ใหเ้ ป็นหลักสตู รฐานสมรรถนะเพอื่ (๑) ช่วยให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาสมรรถนะหลักท่ีสาคัญต่อการใช้ชีวิต การทางาน และ การเรียนรู้ ซ่ึงจาเป็นต่อการเรียนดารงชีวิตอย่างมีคุณภาพในโลกแห่งศตวรรษที่ ๒๑ ที่มีการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเรว็ (๒) ช่วยให้การจัดการเรียนรู้มุ่งเป้าหมายท่ีการพัฒนาผู้เรียน ให้เกิดสมรรถนะท่ีต้องการ มิใช่มุ่ง ไปทีเ่ นื้อหาความร้จู านวนมาก ซ่ึงผู้เรียนไม่ไดใ้ ช้ประโยชน์ (๓) ช่วยลดสาระการเรียนรู้ท่ีไม่จาเป็น อันจะส่งผลให้สถานศึกษามีพ้ืนที่ในการจัดการเรียนรู้อื่น ที่เป็นความตอ้ งการท่แี ตกต่างกันของผเู้ รยี น วิถีชวี ติ วฒั นธรรม ชาตพิ นั ธุ์ และบรบิ ทไดม้ ากขึ้น (๔) ช่วยลดภาระและเวลาเรียนในการสอบตามตัวชี้วัดจานวนมาก โดยมีการวัดสมรรถนะผู้เรียน ท่ีช่วยใหเ้ ห็นความสามารถท่เี ปน็ องค์รวมของผู้เรยี น (๕) ชว่ ยเอื้อใหส้ ถานศึกษาสามารถออกแบบหลักสูตรที่เหมาะสมกับความต้องการและบริบทของ ตนได้ โดยยดึ สมรรถนะกลางเปน็ เกณฑเ์ ทยี บเคยี ง เปน็ การสง่ เสริมใหเ้ กิดรปู แบบหลกั สูตรทีห่ ลากหลาย แนวทางในการด่าเนินการปรับหลักสูตร ให้เป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะ (Competency- based Curriculum) มีดงั น้ี (๑) ให้มีการปรับหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้เป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะ ท่ีชี้ให้เห็นถึง สมรรถนะหลกั ที่เป็นจดุ เนน้ อยา่ งชัดเจนในแตล่ ะชว่ งช้นั และระดับชน้ั (๒) ดาเนินการปรับหลักสูตรขั้นพื้นฐานในระดับประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ ให้มุ่งเน้นสมรรถนะ การอ่าน การเขยี นและการคิดคานวณ และจัดโครงสร้างหลักสตู รให้เหมาะสมกบั พัฒนาการของเด็กในช่วงรอย เชื่อมต่อระหว่างปฐมวัยกับประถมศึกษา โดยยังไม่มีการตัดสินผลเป็นเกรดหรือระดับคะแนนในระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๒ แต่ให้ใช้การรายงานพัฒนาการของเด็กเป็นสาคัญ และให้มีระบบคัดกรองและระบบ ช่วยเหลือผู้เรียนในสมรรถนะด้านการอ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น รวมท้ังการคัดกรองเด็กท่ีมีความต้องการ พเิ ศษทกุ ประเภทเพอ่ื ให้ความช่วยเหลือตามความเหมาะสม (๓) ดาเนินการพัฒนากรอบสมรรถนะหลกั ท่ีจาเป็นสาหรับผ้เู รยี นระดับการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน (๔) ดาเนินการพฒั นาหลกั สตู รฐานสมรรถนะให้สมบูรณ์อยา่ งเป็นระบบ (๕) ประชาสัมพันธ์ สร้างความเข้าใจเก่ียวกับหลักสูตรการเรียนการสอนและการวัดประเมินผล ฐานสมรรถนะ ให้แก่ครู ผู้บริหารสถานศึกษา บุคลากร รวมทั้งผู้ท่ีเก่ียวข้องทุกฝ่าย เช่น ผู้บริหารการศึกษา ศึกษานิเทศก์ หน่วยงานผลิตครู อาจารย์ หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องกับการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต ผู้ปกครอง และชมุ ชน การปรับเปล่ียนการจัดการเรียนการสอนและการวัดและประเมินผล แนวทางใน การจัดการเรียนการสอนและการวดั และประเมนิ ผลใหม้ ีประสิทธิภาพและมีคุณภาพ มดี ังนี้
๑๑๘ (๑) จัดสาระการเรียนรู้ให้เช่ือมโยงกับการใช้ประโยชน์ในชีวิตจริงโดยเน้นการบูรณาการเนื้อหา จากศาสตรส์ าขาตา่ งๆ ที่เกี่ยวข้อง (๒) จัดการเรียนการสอนให้มุ่งเน้นการพัฒนาผเู้ รยี นให้เกิดสมรรถนะและคุณลกั ษณะท่ีจาเป็นต่อ การใช้ชีวิตและการทางานในโลกท่ีมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว และสามารถตอบสนองความแตกต่างท่ี หลากหลายของผเู้ รียน บริบทและภมู ิสงั คม (๓) ให้มีการจัดการเรียนรู้เชิงรุกท่ีสง่ เสริมให้ผเู้ รียน สร้างความรู้ความเข้าใจจากการมีส่วนร่วมใน กระบวนการคิด การปฏิบัติ การนาความรู้ไปใช้ การถอดบทเรียน การสะท้อนคิด รวมท้ังการปฏิสัมพันธ์ การทางานและการแลกเปล่ยี นเรียนร้กู ับผูอ้ น่ื (๔) จดั กระบวนการเรยี นรใู้ หผ้ ้เู รยี นได้เรยี นรวู้ ธิ ีการเรียนรู้ วธิ ีคดิ และวธิ ปี ระยุกต์ใช้ความรู้ ทกั ษะ และเจตคติในการปฏิบัติงาน รวมทั้งได้พัฒนาคุณลักษณะและทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ ท่ีจาเป็นต่อชีวิตและ การทางานในยคุ น้ี (๕) จัดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากบริบทรอบตัวโดยใช้หลักการวิจัยในระบบ “ผลเกิดจากเหตุ” มาสรา้ งกระบวนการคน้ หาความรู้ โดยครทู าหนา้ ที่เปน็ ผูช้ ้ีแนะ ต้งั คาถามให้ผู้เรยี นคิดหาคาตอบไดด้ ้วยตนเอง (๖) จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนท่ีมุ่งสร้างอุปนิสัยและคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ อีกท้ังช่วยฝึกฝน สมรรถนะต่างๆทไี่ ด้เรียนรู้ให้เกดิ เปน็ ความชานาญ (๗) มกี ารบริหารจัดการอย่างเปน็ ระบบในการดแู ล ติดตาม และช่วยเหลอื ผเู้ รยี น ในการแก้ปัญหา ต่างๆ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความอบอุ่นใจ ได้รับคาปรึกษาชี้แนะ และความช่วยเหลืออย่างทันการณ์ ทันเวลา รวมทั้งการช่วยดูแล อบรมบ่มนิสัย ส่งเสริมให้ผู้เรียนประสบความสาเร็จในด้านที่มีความถนัด เกิดความภาคภูมใิ จในตนเองและเปน็ คนดี มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม (๘) มีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่ให้ความสาคัญกับการให้และการใช้ข้อมูลย้อนกลับ เพอ่ื การปรับปรุงและพัฒนาการเรียนรูข้ องผู้เรียน และลดการประเมินในลักษณะตดั สินหรือแข่งขันใหน้ ้อยลง (๙) วัดและประเมินผลการเรียนรู้โดยใช้วิธีการหลากหลายให้เป็นไปอย่างเหมาะสมตามหลัก พัฒนาการเด็ก การประเมินเพ่ือตัดสินผลให้กระทาด้วยความรอบคอบโดยคานึงถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นแก่ ผ้เู รยี น (๑๐) ให้มีการทดสอบระดับชาติ โดยมุ่งเน้นการทดสอบสมรรถนะ โดยการสุ่มทดสอบ เพ่ือให้ได้ ข้อมูลเพือ่ ใชใ้ นการบริหารจัดการการศึกษาใหม้ ีคุณภาพสงู ข้ึน (๑๑) ให้ผู้เรียนเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพอย่างท่ัวถึง เท่าเทียมกัน เพ่ือลดความเหลื่อมล้า ทางการศึกษาและเพ่ิมศกั ยภาพในการแข่งขนั (๑๒) ให้มีการพัฒนาทรัพยากรการเรียนรู้ ด้วยแพลตฟอร์มการเรียนรู้ เพื่อรวบรวม พัฒนา ชุดการเรียนการสอน สือ่ การเรยี นรูแ้ ละส่ือการสอน ตัวอยา่ งรายวชิ าเพม่ิ เตมิ และกิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น ท่ีได้รบั การคัดกรองจากผู้เชีย่ วชาญแล้ว เพือ่ ให้บรกิ ารแก่ครูอาจารย์ (๑๓) ให้สถานศึกษามีหน้าที่ในการให้ความรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกับการพัฒนาเด็ก แก่พ่อแม่ ผปู้ กครอง และร่วมมือกันดูแล ชว่ ยเหลอื และพัฒนาเด็กอย่างสอดคลอ้ งกัน
๑๑๙ (๑๔) ให้รัฐสนับสนุนการพัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้เชิงรุก รวมทั้งการพัฒนาความรู้ และ สมรรถนะด้านเนื้อหาสาระทส่ี อน ด้านศาสตรก์ ารสอน ด้านการใชส้ อ่ื และเทคโนโลยีในการเรียนรู้และการสอน ด้านการพัฒนาทกั ษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ และดา้ นบทบาทใหมข่ องครูในยคุ ใหม่ (๑๕) ให้รัฐสนับสนุนสถานศึกษาให้มีการจัดระบบและวิธีการพัฒนาครูในสถานศึกษา ให้มี การเรยี นร้รู ่วมกนั และมกี ารพัฒนาตนเองและวิชาชพี อย่างต่อเนื่อง การประกันคุณภาพการศึกษา เป็นองค์ประกอบสาคัญในการสร้างคุณภาพ และผลสัมฤทธ์ิ ทางการศึกษา แนวทางในการปฏริ ูปการประกนั คุณภาพการศึกษา มีดังน้ี (๑) หน่วยงานต้นสังกัดต้องกาหนดมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับและแต่ละประเภทของ สถานศึกษา โดยให้สถานศึกษาสามารถกาหนดมาตรฐานการศึกษาของตนเองตามความพร้อม ให้สอดคล้อง เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา โดยควรมีทั้งมาตรฐานสาหรับสถานศึกษาแต่ละระดับและแต่ละประเภท โดยเฉพาะ (๒) ให้การประกันคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอกมีความสัมพันธ์กัน เกิดประสิทธภิ าพในการพฒั นาคุณภาพการศึกษา และเอ้อื ตอ่ การดาเนนิ การตามมาตรฐานการศึกษาของแต่ละ ระดับการศึกษา รวมท้ังเป็นเครื่องมือในการสะท้อนความเป็นจริง ไม่เป็นการสร้างภาระแก่สถานศึกษาและ บคุ ลากรในสถานศึกษา (๓) การประเมินคุณภาพภายนอก ให้ประเมินสถานศึกษาท่ีขอรับการประเมินตามความสมัครใจ และสถานศกึ ษาทม่ี ีปญั หาอย่างชัดเจนจนตอ้ งเร่งวนิ ิจฉยั และใหข้ ้อเสนอแนะเพอ่ื การปรบั ปรุงอยา่ งเร่งด่วน (๔) การประเมินคุณภาพภายนอกเป็นการยืนยันผลการประเมินคุณภาพท่ีสถานศึกษาประเมิน ตนเอง และมีวัตถุประสงค์เพื่อการสนับสนุนและพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ผู้ประเมินคุณภาพภายนอกต้อง เป็นผู้เช่ียวชาญอย่างแท้จริงท้ังในด้านการประเมินและความลุ่มลึกในศาสตร์หรือธรรมชาติของสถานศึกษาท่ี เข้าไปประเมนิ ในโลกปัจจุบัน เนอื หาสาระ หลักสูตรการศึกษาที่ใช้ในปัจจุบันนั้น มีการเปล่ยี นแปลงอย่างรวดเร็ว และ ใช้มานานหลายสิบปี แม้จะมีการแก้ไขเป็นระยะๆ ก็ สามารถหาได้ง่ายจากแหล่งต่างๆ ผ่าน ยังไม่ทันการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการของโลก ทางอินเทอร์เน็ต ความสามารถของ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการอิงเนื้อหาเป็นหลัก ในโลก มนุษย์ในปัจจุบันและอนาคตจึงขนึ กับ ปัจจุบัน เนื้อหาสาระมีการเปลี่ยนแปลงอย่าง สมรรถนะต่างๆ ท่จี าเป็นมากกว่า รวดเร็ว และสามารถหาได้ง่ายจากแหล่งต่างๆ ผ่าน การท่องจาเนือหาสาระ ทางอินเทอร์เน็ต ความสามารถของมนุษย์ใน ปัจจุบันและอนาคตจึงขึ้นกับสมรรถนะต่างๆ ท่ี จาเป็นมากกว่าการท่องจาเนื้อหาสาระ ความสามารถในการเข้าถึงความรู้ ความสามารถในการค้นลงลึกใน สิ่งที่ต้องการรู้ วิจารณญาณและความสามารถในการเลือก ตลอดจนความสามารถในการวิเคราะห์และ สังเคราะห์ความรู้ จึงมีความสาคัญ อันไม่สามารถเกิดข้ึนได้ด้วยกระบวนการเรียนรุ้ท่ีใช้การท่องจา ด้วยเหตุ
๑๒๐ นี้จึงจาเป็นต้องทาการเปล่ียนแปลงหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้และการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา ไปจากเดิมเป็นอันมาก ทั้งการเรียนรู้ในอนาคตจะต้องตรงกับสิ่งที่จะต้องนาไปใช้ในสถานการณ์ที่ หลากหลาย หลักสูตรกลางจึงต้องมีความยืดหยุ่น และมีช่องทางที่จะปรับให้เหมาะสมกับสภาพภูมิสังคม และความถนัดของผู้เรียน แนวทางการปรับหลักสูตรกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานให้เป็น หลักสูตรฐาน สมรรถนะ ท่ีให้เน้นทักษะศตวรรษท่ี ๒๑ รวมท้ังต้นแบบของระบบการประเมินผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียน พร้อม ด้วยการให้มีกลไก และองค์กรที่มีความสามารถสูงในการระดมผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่างๆมาร่วมในการ ดาเนินงาน ข้อเสนอให้มีสถาบันหลักสูตรและการเรียนรู้แห่งชาติ ที่เป็นองค์กรสมรรถนะสูงมีความเป็นอิสระ คล่องตัวในการวจิ ัยพัฒนา และผลติ หลกั สตู รและตน้ แบบการเรยี นรู้ ตลอดจนสามารถขับเคล่อื นหลักสูตรสูก่ าร ปฏิบตั ใิ นห้องเรยี น สถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลาย เป้าหมายของหลักสูตรฐานสมรรถนะ มุ่งจะให้คนไทยมีคุณลักษณะ ๔ ด้าน คือ คนไทยฉลาดรู้ คนไทยอยู่ดีมีสุข คนไทยสามารถสูง และ พลเมืองไทยสนใจสังคม โดยสร้างสมรรถนะของผู้เรียน ๑๐ ประการ ได้แก่ (๑) ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร (๒) คณิตศาสตร์ในชีวิตประจาวัน (๓) การสืบ สอบทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ (๔) ภาษาอังกฤษ (และภาษาอื่น) เพื่อการ สื่อสาร (๕) ทักษะชีวิตและความเจริญแห่งตน (๖) ทักษะอาชีพและการเป็นผู้ประกอบการ (๗) ทักษะและการคิดขั้นสูงและนวัตกรรม (๘) การรู้เท่าทันสื่อสารสนเทศและดิจิทัล (๙) การทางานแบบรวมพลังเป็นทีมและภาวะผู้นา และ (๑๐) พลเมืองตื่นรู้ที่มีสานึกสากล
๑๒๑ ในการใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะน้ัน ต้องจัดให้เหมาะสมกับช่วงวัยของผู้เรียน ในพระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแหง่ ชาติ มาตรา ๘ กาหนดให้การศึกษา ตอ้ งดาเนินการให้บรรลเุ ป้าหมายตาม ระดบั ช่วงวยั ดังตอ่ ไปน้ี (๑) ช่วงวัยท่ีหนึ่ง ต้ังแต่แรกเกิดจนมีอายุครบหน่ึงปี ต้องได้รับการเล้ียงดูให้มีสุขภาพที่สมบูรณ์ การพัฒนาทางอารมณ์ การใชห้ ลกั สตู รฐาน และการกระตุ้นการรับรู้ทางประสาทสัมผัส ให้สามารถเรียนรู้ใน สมรรถนะนน้ั ตอ้ งจัดให้ การชว่ ยเหลอื ตนเองและสามารถมีปฏิสมั พันธก์ ับผ้อู ืน่ ไดต้ ามวยั เหมาะสมกบั ชว่ งวัยของ (๒) ช่วงวัยท่ีสอง เม่ือมีอายุเกินหน่ึงปีจนถึงสามปี ผเู้ รยี น นอกจากต้องดาเนินการ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตาม (๑) แล้ว ต้อง ฝึกฝนให้ช่วยเหลือตนเองได้มากขึ้น เรียนรู้ผ่านการเล่น การสังเกตและการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นและ สภาพแวดล้อม เรียนรู้การพูดและการสื่อสารที่ดี เรียนรู้การสร้างวินัย เข้าใจความรู้สึกของผู้อ่ืน เริ่มรู้จัก เผ่ือแผ่ และเร่มิ ซมึ ซับวฒั นธรรมไทยพนื้ ฐาน (๓) ช่วงวัยท่ีสาม เมื่อมีอายุเกินสามปีจนถึงหกปี นอกจากต้องดาเนินการเพื่อให้บรรลุ เป้าหมายตาม (๒) แล้ว ต้องฝึกฝนให้เกิดสมาธิอย่างต่อเนื่อง ควบคุมอารมณ์ได้ สามารถใช้กล้ามเน้ือมัด ใหญ่และมัดเล็ก เร่ิมรู้จักรับผิดชอบต่อตนเอง รู้จักระมัดระวังภยันตราย ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย เคารพกฎ กติกา เห็นคุณค่าและม่ันใจในตนเอง รับรู้ความเห็นต่าง เข้าใจและเห็นใจผู้อื่นช่วยเหลือบิดามารดาหรือ ผู้ปกครองและผู้อ่ืนตามกาลังความสามารถ รู้จักความสาคัญของอาชีพท่ีสุจริต เร่ิมรู้จักริเร่ิมสร้างสรรค์ รบั รู้ถึงความงามทางศิลปะ เข้าใจในสงิ่ รอบตัว มีทกั ษะการคดิ พืน้ ฐาน สามารถสังเกต จัดกลุ่ม เปรียบเทียบ และแยกแยะได้ตามวัย รู้จักใช้เหตุผล เข้าใจการนับจานวนและอักษรภาษาไทย รู้จักสังคมไทย วัฒนธรรม วถิ ีชีวิต และความเปน็ ไทย และเร่ิมเรยี นรเู้ ก่ยี วกับโลกซึ่งรวมถงึ ธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มดว้ ย (๔) ช่วงวัยท่ีส่ี เม่ือมีอายุเกินหกปีจนถึงสิบสองปี นอกจากต้องดาเนินการเพื่อให้บรรลุ เป้าหมายตาม (๓) อย่างต่อเน่ืองและในระดับที่สูงข้ึนแล้ว ต้องฝึกฝนให้มีทักษะบริหารจัดการตนเอง ดูแล สขุ ภาพทั้งกายและจิตของตนเอง เรียนร้กู ารเปลี่ยนแปลงของร่างกาย รู้จกั สิทธแิ ละหน้าที่ของตนเอง มจี ิต อาสา ภาคภูมิใจในความเป็นไทย ซึมซับในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รับรู้ถึงความงามของ ธรรมชาติ มีนิสัยในการสังเกตและใฝ่รู้ มีทักษะในการเรียนรู้ รู้จักและรู้เท่าทันในการใช้เทคโนโลยีหา ความรู้ รู้จักคิดและกล้าแสดงออกอย่างสร้างสรรค์และมีเหตุผล รู้จักการวางแผนล่วงหน้า รู้จักวิเคราะห์ และแก้ไขปัญหารักการทางานเป็นหมู่คณะ มีทักษะในการอ่าน เขียนและใช้ภาษาไทย มีความฉลาดรู้ทาง คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และวิทยาการคานวณ สามารถใช้ภาษาต่างประเทศใน ชีวิตประจาวัน มีความรู้เก่ียวกับประเทศไทย ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ตลอดจนวิถีชีวิตของชนชาติไทย และประเทศเพื่อนบ้าน มีความรู้ในภาพกว้างของโลกและพัฒนาการของเทคโนโลยี รักษาธรรมชาติและ สิง่ แวดลอ้ ม และเริม่ หาลูท่ างในการประกอบอาชพี
๑๒๒ (๕) ช่วงวัยที่ห้า เม่ือมีอายุเกินสิบสองปีจนถึงสิบห้าปี นอกจากต้องดาเนินการ เพื่อให้บรรลุ เป้าหมายตาม (๔) อย่างต่อเน่ืองและในระดับที่สูงขึ้นแล้ว ต้องฝึกฝนให้รู้จักพัฒนาสุขภาพกาย ควบคุม อารมณ์ เข้าใจในพัฒนาการของสมองวัยรุ่น รับผิดชอบท่ีจะเรียนรู้ด้วยตนเอง รู้ความถนัดและเชื่อมั่นใน ความสามารถของตน เรียนรู้ท่ีจะตัดสินใจและวางแผนชีวิต ปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลง ยอมรับ ความคิดเห็นที่แตกต่างหลากหลาย สามารถแก้ไขปัญหาชีวิตท่ีซับซ้อนขึ้น ยึดม่ันในจริยธรรม เช่ือม่ันและ เข้าใจการธารงความเป็นไทย สามารถสือ่ สารภาษาไทยทสี่ มบูรณ์ รู้และเขา้ ใจในหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพียงจนสามารถนาไปใช้ในชีวิตได้ ซาบซ้ึงในความงามของศิลปะและธรรมชาติ เรียนรู้การดารงชีวิตท่ี เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ใฝ่รู้และมีทักษะในการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับพัฒนาการของโลก ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศอย่างสร้างสรรค์ สามารถคิดในเชิงสังเคราะห์ มีความคิดสร้างสรรค์ ส่ือสารได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ใช้ภาษาต่างประเทศเป็นส่ือในการเรียนรู้ เข้าใจในพ้ืนฐานเก่ียวกับเศรษฐกิจและการเงิน มีความร้ใู นศาสตรแ์ ละมสี มรรถนะสามารถเลอื กเส้นทางการศกึ ษาต่อหรือเส้นทางอาชพี และการทางานได้ (๖) ช่วงวัยท่ีหก เม่ือมีอายุเกินสิบห้าปีจนถึงสิบแปดปี นอกจากต้องดาเนินการ เพื่อให้บรรลุ เป้าหมายตาม (๕) อย่างต่อเน่ืองและในระดับที่สูงข้ึนแล้ว ต้องฝึกฝนให้ดูแลตนเองได้อย่างสมบูรณ์ แสวงหาความรู้และข้อมูลให้ทันการณ์ รู้วิธีตรวจสอบข้อมูลและสถานการณ์ที่ถูกต้อง ยึดมั่นในหลัก คุณธรรม ขยัน อดทน และไม่ท้อถอย พร้อมปรับปรุงเปลี่ยนแปลงและแก้ไขปัญหา เข้าใจบทบาทของ ประเทศไทยในสังคมโลก และรู้ภาษาต่างประเทศในระดับที่สามารถเจรจาต่อรองและแสวงหาความรู้ได้ อย่างคล่องแคล่ว โดยใหแ้ ยกเปา้ หมายออกเปน็ สองดา้ น แตล่ ะดา้ นต้องบรรลเุ ป้าหมาย ดังต่อไปน้ี (ก) เป้าหมายด้านการประกอบอาชีพ มีความพร้อม ความรู้ หรือฝีมือในการประกอบ อาชีพหรือวิชาชีพด้านใดด้านหน่ึงหรือหลายดา้ นท่ีตนเองถนัด หรือริเร่ิมประกอบกิจการของตนเอง รู้หลัก ตน้ ทุนและการตลาดเบ้ืองต้น รจู้ กั ใชเ้ ทคโนโลยีเพื่อประโยชน์ในการประกอบอาชีพหรอื วิชาชพี ของตน (ข) เป้าหมายด้านการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา มีทักษะและความรู้ในวิชาพื้นฐานใน สาขาท่ตี นถนัดและประสงคจ์ ะศกึ ษาต่อ (๗) ช่วงวัยที่เจ็ด การศึกษาในระดับอุดมศึกษาหรือทักษะอาชีพชั้นสูง นอกจากต้อง ดาเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายตาม (๖) อย่างต่อเนื่องและในระดับท่ีสูงขึ้นแล้ว ต้องฝึกฝนให้รู้จัก แสวงหาความสุขสงบทางจิตใจ เป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง เคารพกฎกติกาอย่างเคร่งครัด เป็นปฏิปักษ์ต่อ การทุจริตหรือประพฤติมิชอบ มีความกล้าหาญที่จะแสดงออกในสิ่งท่ีถูกต้องชอบธรรม มีส่วนร่วม รับผิดชอบต่อปัญหาของบ้านเมืองและสังคม มีทักษะในการค้นคว้าและแสวงหาความรู้เพ่ิมเติม แก้ไข อุปสรรคหรือสถานการณ์ท่ีเลวร้ายได้ มีความรู้ในภาษาต่างประเทศในระดับท่ีใช้ประกอบอาชีพได้ และ เชี่ยวชาญในสาขาวิชาท่ีตนศึกษา สามารถนาไปใช้ในการปฏิบัติงาน สร้างสรรค์ส่ิงใหม่ๆ หรือสร้างความรู้ ใหม่ขึ้นได้
๑๒๓ การจัดการศึกษาเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายตามวรรคหน่ึง ให้คานึงถึงพัฒนาการของร่างกายและ จิตใจของผู้เรียนตามระดับช่วงวัย โดยเฉพาะในช่วงวัยท่ีสี่ให้เริ่มเน้นความรู้ทางวิชาการหรือทักษะเฉพาะ ทางตามความสนใจในชว่ งหลังจากอายแุ ปดปเี ป็นต้นไป เปา้ หมายรวม การจัดการศึกษาทุกระดับใช้หลักสูตรที่เป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะ และแนวทางการจัด การเรยี นรู้เชงิ รุกและการวดั ประเมนิ ผลเพ่อื พัฒนาผูเ้ รียน เปา้ หมายระยะเร่งด่วน ภายในเดอื นพฤษภาคม ๒๕๖๒ ๑) มีกรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานที่ครอบคลุมการสร้างคนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ เช่ียวชาญได้ตามความถนัด มีความรับผิดชอบ และคุณลักษณะต่างๆ ท่ีจาเป็นต่อ การเรียนรู้ การทางานและการใช้ชวี ิต ๒) มแี นวทางการจัดการเรยี นรเู้ ชงิ รุก และการวดั ประเมนิ ผลเพอื่ พัฒนาผูเ้ รียน ๓) มีกรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑-๓ มีแนวทางการปรับ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๓ ในช่วงเปลี่ยนผ่าน รวมท้ังมี แนวทางการจัดการเรียนรู้เชิงรุก และการวัดประเมินผลเพ่ือพัฒนาผู้เรียน ที่มุ่งเน้นสมรรถนะและมี ความเหมาะสมกับการเรยี นรใู้ นชว่ งรอยเชื่อมต่อระหว่างปฐมวัยและประถมศึกษา เปา้ หมายระยะสั้น ภายในปี ๒๕๖๔ ๑) สถาบันหลักสูตรและการเรียนรู้แห่งชาตินากรอบสมรรถนะหลักไปใช้ในการพัฒนา หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐานใหเ้ ปน็ หลกั สูตรฐานสมรรถนะท่สี มบูรณ์ ๒) นาหลักสูตรฐานสมรรถนะไปใช้ รวมทั้งมีการนิเทศ ติดตามประเมินผล และปรับปรุง หลักสตู รฐานสมรรถนะเป็นระยะ เป้าหมายระยะกลาง- ระยะยาว ผู้เรียนเกดิ สมรรถนะหลักตามเปา้ หมายทีก่ าหนด ประเด็นการปฏิรูปท่ี ๕.๒ :การจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างคุณธรรม และจรยิ ธรรม รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย เนน้ การสรา้ งคุณธรรมและจรยิ ธรรม เป็นเป้าหมายของการจัด การศึกษา ทั้งได้กาหนดเกณฑ์ทางคุณธรรมและจริยธรรมที่พึงประสงค์ไว้ด้วย ได้แก่ การเป็นคนดี มี วินัย ภูมิใจในชาติ และมีความรับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ เพื่อเป็นเคร่ืองมือใน การป้องกนั และแก้ไขปัญหาสังคมทมี่ ีอยู่ แม้ว่าในอดีต ได้มีกิจกรรมหลายอย่างที่มุ่งให้ผู้เรียนเกิดคุณธรรมและจริยธรรมท่ีพึงประสงค์ เช่น การฝึกอบรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด และการปฏิบัติกิจทางศาสนา แต่ผลสัมฤทธ์ิยังเกิดขึ้นอย่างจากัด
๑๒๔ ในบางระยะเวลา จุดเนน้ ทางวชิ าการมีมาก และการสอบเพื่อประเมินผลการศึกษาก็ใช้วิชาการเป็นหลัก ปัญหา การด้อยและถดถอยลงด้านคุณธรรมและจริยธรรมของคนในสังคม จึงยังเป็นสิ่งท่ีต้องดาเนินการแก้ไขอย่าง จริงจัง ในอดีตโรงเรียนมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับวัด และศาสนสถานของศาสนาต่างๆ และสถานภาพน้ีมีส่วน ช่วยในการสรา้ งคณุ ธรรมและจริยธรรม แต่ความสมั พันธ์น้ไี ด้ลดลง จงึ จาเป็นต้องมีกุศโลบายเพ่ือการนเ้ี ป็นพเิ ศษ การส่งเสรมิ การคุณธรรมและจรยิ ธรรมในระบบการศึกษาไทยจากอดีตจนถึงปัจจุบันโดยในปัจจุบันมี รูปแบบในการส่งเสริมคุณจริยธรรมในสถานศึกษาท่ีหลากหลายรูปแบบ เช่น การจัดกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยวุ กาชาด โรงเรียนคุณธรรมมูลนธิ ยิ วุ สถิรคุณ โรงเรียนวถิ พี ทุ ธ โรงเรียนกบั ศาสนาอสิ ลาม โรงเรียนคริสตธรรม ซึง่ หากโรงเรยี นทีจ่ ะประสบความสาเร็จไดค้ วรจะต้องดาเนนิ การใน ๓ ประเด็นดงั น้ี ๑) เน้นทีก่ ารบรู ณาการลงสูก่ ารปฏบิ ตั ิ ไม่ใช่ การสอนเนอื้ หาวชิ าความรู้แต่เพียงอย่างเดียว และ ต้องกระทาอยา่ งต่อเนอื่ ง การจดั สภาพแวดลอ้ มเปน็ สิ่งสาคญั ๒) ครู ผู้ปกครอง สังคม จะต้องเป็นตัวแบบท่ีดีเพื่อคอยหล่อหลอมให้ผู้เรียนเกิดคุณธรรมและ จริยธรรมตามที่มุ่งหวังไว้ จากงานวิจัยของสานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2552) ได้ให้ข้อเสนอแนะว่า การปลูกฝังคุณธรรมให้กับผู้เรียนจะสาเร็จได้ต้องมีการปฏิบัติอย่างจริงจัง ต่อเน่ือง โดยบูรณาการกับการสอน ในวิชาต่างๆ โดยครูในโรงเรียนต้องร่วมมือกันดาเนินการ มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน นอกจากนี้ ครูต้องปฏิบัติตนเป็นแบบอย่าง ซึ่งจะทาให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และซึมซับไปเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมโดยธรรมชาติ ทง้ั นีอ้ าจจดั สภาพแวดล้อมของโรงเรยี นทเี่ อ้ือต่อการสร้างเสรมิ คุณธรรมควบคู่ไปด้วย ๓) ชีวติ กบั การศกึ ษาต้องอยทู่ ่เี ดียวกัน ศาสตราจารย์ นายแพทยป์ ระเวศ วะสี (2550) กล่าววา่ อุปสรรคท่ีทาให้การศึกษาไม่สามารถทาให้เกิดคุณธรรม จริยธรรมได้เน่ืองจาก ระบบการศึกษาเอาวิชาเป็น ตัวต้ัง ไม่ได้เอาชีวิตเป็นตัวต้ัง ซ่ึงการศึกษาแบบน้ีจะทาให้คนไทยขาดจากรากเหง้า พระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรสเคยกล่าวเตือนไว้ต้ังแต่ครั้งรัชกาลท่ี 5 ว่า เร่ืองการศึกษา รากเหง้าคือวัฒนธรรม วัฒนธรรมอยูใ่ นฐานชวี ิต การเอาวิชาเปน็ ตวั ต้ังก็จะขาดรากเหง้าของชีวิต และอันน้จี ะเปน็ ปัญหาใหญ่ที่กระทบ เรอื่ งสงั คม เศรษฐกจิ จติ ใจ และสิง่ แวดล้อมทงั้ หมด สอดคลอ้ งกบั ที่ศาสตราจารยว์ ิจติ ร ศรีสอา้ น กลา่ ววา่ หาก นาจริยธรรมไปทาเป็นวิชา จริยธรรมก็จะไม่เกิด เพราะจริยธรรมไม่ใช่วิชา จริยธรรมคือวิถีชีวิต ท่านพุทธทาส จะย้าไว้เสมอว่า การเรียนรู้ท่ีสาคัญท่ีสุด คือ การปฏิบัติและการได้ผลจากการปฏิบัติ เพราะผลจากการปฏิบัติ จะช่วยบอกว่าการปฏิบัตนิ ั้นถูกหรือไม่ ภาคสว่ นที่ควรมสี ่วนรว่ มในการรับผิดชอบและดาเนินการแบ่งได้เป็น 3 สว่ นหลัก ไดแ้ ก่ 1) นโยบายภาครัฐ หน่วยงานของรัฐที่ทาหน้าที่ออกกฎระเบียบ คาส่ัง และมีสายงานบังคับ บัญชา ควรดาเนินการให้มหาวิทยาลัยและสถาบันการศึกษาต่างๆ สามารถดาเนินการนาศาสนาเข้าสู่ สถาบันการศึกษาได้อยา่ งถูกต้อง มีระเบียบปฏิบัตทิ ชี่ ัดเจน มีกฎหมายรองรบั การปฏบิ ัติงานของผ้ปู ฏิบตั ิงาน 2) การผลักดันภาคสงั คม องค์กรภาคเอกชนและพลังมวลชนในสงั คม ควรรว่ มมือกนั ผลักดันให้สถาบันการศึกษามีการดาเนินการเพ่ือส่งเสริมให้นักเรียน นิสิต นักศึกษาในสถานศึกษา มีสิ่ง
๑๒๕ ยดึ เหนีย่ วจติ ใจใหเ้ หมาะสมกบั ปัจเจกบุคคล และผลักดนั ใหส้ ถาบนั การศึกษาเปน็ ผู้นาทางความคิดให้กับสังคม มากกว่าทีเ่ ปน็ อยู่ 3) การตระหนักแห่งตน สถาบันการศึกษาควรให้ความสาคัญกับการสร้างความเข้มแข็งทาง จติ ใจควบคู่กับการสร้างความเข้มแข็งทางวิชาการและวิชาชีพให้กบั นักเรียน นสิ ติ นกั ศึกษาในสถานศึกษาและ ในส่วนประชาชนแต่ละคนควรตระหนักและเตรียมพร้อมในการใช้ชีวิตกับสังคมท่ีมีความหลากหลายใน ความคิด ความเชื่อ ศรัทธาและศาสนา การเป็น “บุคคลผู้มีศาสนา” ควรเป็นค่านิยมท่ีประชาชนยึดถือและ ยอมรบั ความแตกต่าง อีกทง้ั ใหค้ วามสนใจใฝ่ร้ใู นลทั ธิ ความเช่ือ และศาสนาตา่ งๆ ในสังคม คณุ ธรรมจรยิ ธรรมจงึ มีความสาคญั อย่างมากรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทยจึงกล่าวคาปรารภ ในตอนหนึง่ ว่า “...การปกครองก็มิได้มีเสถียรภาพหรือราบร่ืนเรียบร้อยเพราะยังคงประสบปัญหาและข้อ ขัดแยง้ ตา่ งๆ บางครั้งเป็นวิกฤติทางรัฐธรรมนูญที่หาทางออกไม่ได้ เหตุส่วนหนง่ึ เกิดจากการทม่ี ีผไู้ มน่ าพาหรอื ไม่นับถือ ยาเกรงกฎเกณฑ์การปกครองบ้านเมืองทุจริตฉ้อฉลหรือบิดเบือนอานาจ หรือขาดความตระหนักสานึก ความรับผิดชอบต่อประเทศชาติและประชาชนจนทาให้การบังคับใช้กฎหมายไม่เป็นผล ซ่ึงจาต้องป้องกันและ แกไ้ ขดว้ ยการปฏริ ูปการศึกษา และการบงั คับใชก้ ฎหมาย และเสริมสรา้ งความเข้มแข็งของระบบคุณธรรมและ จริยธรรม..” จึงอาจกล่าวไดว้ า่ สภาพปัญหาของประเทศทีเ่ กิดขนึ้ ในปัจจบุ ันมีความจาเปน็ ตอ้ งปอ้ งกนั และแก้ไข ปัญหาด้วยการปฏิรปู การศึกษา และการบังคับใช้กฎหมาย ตลอดจนเสริมสร้างความเข้มแข็ง โดยเฉพาะระบบ คุณธรรมและจริยธรรม ด้านการศึกษาปรากฏในรัฐธรรมนูญมาตรา ๕๐ กาหนดหน้าที่ของปวงชนชนชาวไทย ในการเข้ารับการศึกษาอบรมในการศึกษาภาคบังคับ และรัฐธรรมนูญมาตรา ๕๔ ได้กาหนดหน้าท่ีของรัฐด้าน การศึกษาโดยวางเป้าหมายหลักในการศึกษาไว้ในวรรคส่ีความว่า “การศึกษาท้ังปวงต้องมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้ เปน็ คนดี มีวินยั ภูมใิ จในชาติ สามารถเชี่ยวชาญได้ตามความถนดั ของตน และมีความรบั ผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน สงั คม และประเทศชาติ” ดังนั้น การเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบคุณธรรมจริยธรรมจึงเป็นกลไกหลักที่มีความสาคัญ อันจะนาไปสู่การบรรลุหน้าท่ีของรัฐด้านการศึกษาตามรัฐธรรมนูญ รวมทั้งสอดคล้องตามคาปรารถข้างต้น จึง ไดก้ าหนดเร่อื งนไี้ วใ้ นแผนการปฏริ ปู ด้านการศึกษา โดยมีเปา้ หมายดังตอ่ ไปนี้ เปา้ หมายรวม ผู้เรยี นได้รบั การพฒั นาคุณธรรมและจริยธรรม เพื่อเปน็ คนดขี องสงั คม มวี ินยั และภมู ิใจในชาติ เป้าหมายเร่งด่วน มขี อ้ เสนอแนวทางการจัดการศึกษาและการจัดกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี นเพ่ือเสริมสร้างคุณธรรมและ จริยธรรมใหก้ ับผูเ้ รียน
๑๒๖ เป้าหมายระยะส้นั ๑) มีการปรับปรุง พัฒนา มีนวัตกรรมและดาเนินการในการสอดแทรกเนื้อหาด้านคุณธรรมและ จริยธรรมใหแ้ ก่ผู้เรยี นในการจัดการศึกษาในสถานศึกษา ผ่านหลักสูตรฐานสมรรถนะการจัดการเรียนการสอน ในชั้นเรียน กิจกรรมเสริมหลักสูตร กิจกรรมนอกหลักสูตร กิจกรรมในวิถีชีวิต ประจาวันในสถานศึกษา และ การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และการประเมนิ ผลผู้เรยี น ๒) ให้การจัดทาจรรยาบรรณ (Code of Conduct) ท่ีมุ่งส่งเสริมการประพฤติปฏิบัติอย่างมี คุณธรรมและจริยธรรมของครูและบุคลากรทางการศึกษาในระดับสถานศึกษา ตลอดจนการจัดสิ่งแวดล้อมใน สถานศึกษาและโดยรอบสถานศึกษา และมีการนาสู่การปฏิบัติ การติดตามประเมินผลและการปรับปรุงใน เรื่องดังกล่าวได้รับการบูรณาการไว้เป็นส่วนหนึ่งของข้อกาหนดคุณภาพการศึกษา เพื่อการประกันคุณภาพ และการประเมินคุณภาพ ตามความเหมาะสมของประเภท ระดับ และบรบิ ทเชงิ พนื้ ทีข่ องสถานศึกษา ๓) หน่วยงานที่เก่ียวข้องตามข้อเสนอว่า ด้วยการจัดการศึกษาเพ่ือบรรลุผลด้านการเสริมสร้าง การปฏริ ปู จงึ ตอ้ งปรบั การวดั ผล คุณธรรมและจริยธรรมให้แก่ผู้เรียนจัดให้มีระบบเพ่ือ สมั ฤทธทิ์ างการศกึ ษา ซงึ่ เปน็ เครอ่ื ง การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เชื่อมโยงกับ National Digital Learning Platform เพ่ือเผยแพร่แนวปฏิบัติท่ีดีและ ผลกั ดนั ความมุง่ มนั่ ในการเรยี น แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศในการจัดการศึกษาเพื่อบรรลุผล ควบคไู่ ปกบั การปรบั เปลยี่ นหลกั สตู ร ด้านการเสริมสร้างคุณภาพและจริยธรรมให้แก่ผู้เรียน เปน็ ฐานสมรรถนะ และการเรยี นรู้ ทั้งในระบบการศึกษาเพื่อคุณวุฒิตามระบบ และ เชงิ รกุ (Active Learning) การศึกษาตามอัธยาศัย ตลอดจนส่งเสริมและสนับสนุน การขยายผลเพื่อนาแนวปฏบิ ตั ิดงั กล่าวในวงกว้างตอ่ ไป ๔) มีรูปแบบและกลไกการบรู ณาการกนั ท้ังระบบ ต้งั แต่ ผปู้ กครอง คนในครอบครัว บ้าน วดั หรือ องค์กรด้านศาสนา โรงเรียนและชุมชน ทุกระดับตั้งแต่ระดับท้องถิ่นจนถึงระดับชาติ มีบูรณาการและแผนงาน รว่ มกนั ระหว่างกระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงวฒั นธรรม เพือ่ ขับเคลื่อนการพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรม ของคนในชมุ ชนและสงั คม เป้าหมายระยะกลาง- ระยะยาว ๑) มีปรับหลักสูตรและวิธกี ารเรียนการสอนของการจัดการศึกษาในระดับต่างๆ ที่มุ่งเน้นการเปน็ คนดี มีวนิ ัย มีจติ อาสา มคี วามรบั ผิดชอบ ๒) มีการปรับปรุงหลักเกณฑ์การประเมินผลเพ่ือการเรียนรู้ในการจัดการศึกษาที่เพิ่มความสาคญั กับประเด็นด้านคุณธรรมและจริยธรรมในทุกระดับช้ัน รวมถึงมีหลักเกณฑ์ท่ีบูรณาการประเด็นสาคัญด้าน คุณธรรมและจริยธรรมในการสอบหรอื คัดเลือกเพ่ือจัดสรรโอกาสเข้าศึกษาตอ่ ในระดับมหาวิทยาลยั ตลอดจน การสมัครเข้าทางาน ๓) มรี ูปแบบของการสร้างแรงเสรมิ ให้เกดิ การพฒั นาคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมของผ้เู รยี นขยายผลไป ในวงกว้างของสังคม เช่น ยกย่องคนดีให้มีท่ียืนในสังคมอย่างสง่างาม มีผลต่อการเรียน มีแนวทางการวัดและ
๑๒๗ ประเมินผลเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการเรียนรู้ในทุกระดับอย่างจริงจัง มีทุนการศึกษาที่สนับสนุนผู้ท่ีมี คุณธรรมและจริยธรรมดีเด่นจนมีงานทา พบเห็นประเด็นคุณธรรมและจริยธรรมส่งผลต่อการรับสมัครเข้า ทางานและมผี ลต่อความกา้ วหน้าในอาชพี เปน็ ตน้ ประเด็นการปฏิรูปที่ ๕.๓ : การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา ระดับชาติและระบบคัดเลือกเข้าศกึ ษาต่อ แต่เดิมประเทศไทยมีการสอบไล่ระดับชาติสาหรับผู้ท่ีจบการศึกษาขั้นพ้ืนฐานช้ันสูงสุด เพื่อ ประกันคุณภาพการศึกษาทั่วประเทศ จนถึง พ.ศ. ๒๕๒๒ จึงได้เลิกการสอบไล่ระดับชาติ และให้โรงเรียนเป็น ผู้รับรองการจบการศึกษา แล้วได้จัดต้ังสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ข้ึนเม่ือ พ.ศ.๒๕๔๘ จัดการสอบระดับปกติ หรอื O-NET กับการสอบระดบั กา้ วหน้า หรือ A-NET เพ่ือใหโ้ รงเรยี นนาผล ประเมินไปปรับปรุงการเรียนการสอน และใช้เป็นองค์ประกอบหนึ่งในการจบการศึกษา ตลอดจนนาคะแนน ของนักเรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๖ มาใชพ้ ิจารณาเป็นองคป์ ระกอบในการรบั เข้าศึกษาในมหาวิทยาลยั ตอ่ มาได้ ขยายการสอบไปใช้กับนักเรียนที่เรียนจบช้ันประถมศึกษาปีที่ ๖ และมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ด้วย โดยประเมินตาม มาตรฐานการเรียนรู้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ.๒๕๕๑ จานวน ๖๗ มาตรฐานการเรียนรู้ ครอบคลุม ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ และจัดสอบสาหรับอาชีวศึกษา หรือ V-NET การสอบวัดความถนัดท่ัวไป หรอื GAT และความถนดั วชิ าชีพ หรอื PAT ๑ ถงึ ๗ ดว้ ย บริการการทดสอบรวม ๒๐ ประเภท มผี ูเ้ ข้าสอบ ปลี ะกว่าสองลา้ นแปดแสนคน โดยมศี นู ยส์ อบ สนามสอบ และสนามห้องสอบ ทวั่ ประเทศ กว่าแสนแห่ง ข้อจากดั ของการดาเนินการคือปริมาณงาน และการตรวจผลซง่ึ ตอ้ งดาเนินการภายใต้เวลาท่จี ากัด ไม่เกนิ ๑ ถึง ๓ เดอื น จงึ ต้องใช้ขอ้ สอบในลักษณะปรนัยท่ีใช้เครื่องมือในการตรวจ ได้มคี วามพยายามทีจ่ ะปรับ ใช้ปัญญาประดิษฐ์ช่วยแต่กระทาได้ในวงจากัด อีกประการหนึ่งการสอบต้องใช้ฐานหลักสูตรแกนกลาง ซึ่งเป็น หลักสูตรบนฐานเนื้อหาสาระ นอกจากน้ันได้นาผลการสอบของนักเรียนไปใช้ในการประเมินโรงเรียนและครู ด้วย ทาให้เกิดการกวดวิชาให้นักเรียนก่อนการสอบ และเม่ือมีข้อกาหนดให้ยกเว้นให้นักเรียนท่ีมีปัญหาการ เรียนไม่ต้องเข้าสอบ ก็มีโรงเรียนจานวนหนึ่งที่วนิ ิจฉัยเด็กนักเรยี นใหเ้ ป็นผู้เรียนชา้ และไม้ต้องเข้าสอบเกินกวา่ ความเป็นจรงิ สภาพดังกล่าวนี้ไปเน้นการเรียนที่มุ่งเน่ือหาสาระ และการท่องจา มีผลให้สมรรถนะและ ผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษาของไทยต่าในมาตรฐานสากล การปฏิรูปจึงต้องปรับการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา ซึ่งเป็นเคร่ืองผลักดันความมุ่งม่ันในการเรียน ควบคู่ไปกับการปรับเปล่ียนหลักสูตรเป็นฐานสมรรถนะ และ การเรียนรู้เชิงรุก (Active learning) โดยในปัจจุบันสามารถใช้ปัญญาประดิษฐ์ ช่วยในการวัดผลสมรรถนะ ต่างๆ เช่นการออกเสียง การฟังเสียง และการเข้าใจความหมายท่ีมีความสลับซับซ้อนมากขึ้น ตลอดจนทักษะ ชีวิต ทักษะอาชีพ และการคิดข้ันสูงและนวัตกรรมได้ การประเมินเพอ่ื ค้ดเลอื กผเู้ ข้าเรยี นในระดับอุดมศึกษา จะได้มีความแมน่ ยาย่งิ ข้ึนดว้ ย
๑๒๘ ได้มีความพยายามที่จะจัดการสอบสมรรถนะด้านภาษาอังกฤษ โดยแยกสมรรภนะด้านการอ่าน การฟัง การเขียนและการพูด ตลอดจนการใช้ภาษาในการสื่อสารตามสภาพต่างๆ โดยสถาบันภาษาของ มหาวิทยาลัยหลายแห่งร่วมกันดาเนินงาน คือ โครงการจัดสอบสมรรถนะภาษาอังกฤษ ระหว่าง มหาวิทยาลยั เป็นโครงการท่ีกลุ่มสถาบันภาษาเพ่ือพัฒนาการสอบสมรรถนะภาษาอังกฤษ จากมหาวิทยาลัย ๑๐ แห่งได้ร่วมมือกันในการจัดประเมินสมรรถนะทางภาษาอังกฤษก่อนเข้ามหาวิทยาลัย ด้วยเหตุผลท่ีว่า สมรรถนะทางภาษาอังกฤษเป็นองค์ประกอบสาคัญในการศึกษาระดับอุดมศึกษาในปัจจุบันและอนาคต เน่ืองจากเป็นเครื่องมือในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้จากแหล่งต่างๆ และในการส่ือสาร แต่การสอบท่ีใช้ใน ปัจจุบันในการคัดเลือกนิสิตนักศึกษาเข้าเรียนในมหาวิทยาลัยน้ัน ยังไม่สามารถวัดระดับสมรรถนะด้านต่างๆ เช่น การอา่ น ฟัง เขียน และพูดได้อย่างถูกตอ้ ง ครบถ้วน และแมน่ ยา จึงมีความจาเปน็ ทจ่ี ะตอ้ งพัฒนากระบวน และวธิ ีการประเมนิ สมรรถนะดังกลา่ วให้ดียิ่งข้นึ ประกอบกบั ในปัจจุบนั ได้มีความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยีดิจิทัล และปัญญาประดิษฐ์ อันสามารถนามาใช้ในการดาเนินการได้ อาศัยกรอบอ้างอิงความสามารถทาง ภาษาองั กฤษของประเทศไทย (Framework of Reference for English Language Education in Thailand - FRELE-TH) ที่ได้พัฒนาข้ึนจากกรอบสมรรถนะกลางนานาชาติ (CEFR) โดยมีความร่วมมือกันพัฒนาวิธีการ ทดสอบ จนสามารถมีความไว้วางใจซ่ึงกันและกัน สามารถทาการสอบท่ีสถาบันภาษาของหลายมหาวิทยาลัย โดยมมี าตรฐานเดยี วกัน และยอมรับผลการสอบของต่างสถาบนั ได้ เปา้ หมายรวม การจัดการศึกษาทุกระดับใช้หลักสูตรท่ีเป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะ และแนวทางการจัด การเรยี นร้เู ชิงรกุ และการวัดประเมนิ ผลเพอ่ื พัฒนาผเู้ รยี น ตลอดจนการคดั เลือกนสิ ติ นกั ศึกษาเขา้ มหาวิทยาลัย เป้าหมายระยะเร่งด่วน ภายในเดือนพฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๒ ๑) มีกรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานที่ครอบคลุมการสร้างคนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ เชี่ยวชาญได้ตามความถนัด มีความรับผิดชอบ และคุณลักษณะต่างๆ ท่ีจาเป็นต่อการเรียนรู้ การทางานและการใช้ชวี ิต ๒) มแี นวทางการจดั การเรยี นร้เู ชงิ รกุ และการวัดประเมินผลเพือ่ พัฒนาผเู้ รียน ๓) มกี รอบสมรรถนะหลกั ของผเู้ รยี นระดบั ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑-๓ มแี นวทางการปรบั หลกั สูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑-๓ ในช่วงเปล่ียนผ่าน รวมท้ังมีแนวทางการจัด การเรียนรู้เชิงรุก และการวัดประเมินผลเพื่อพัฒนาผู้เรียน ที่มุ่งเน้นสมรรถนะและมีความเหมาะสมกับ การเรยี นรใู้ นชว่ งรอยเช่ือมต่อระหว่างปฐมวยั และประถมศกึ ษา ๔) มีการบุกเบกิ ทดลองการประเมินผลสมั ฤทธ์ทิ างการศึกษาบนฐานสมรรถนะ เปา้ หมายระยะส้ัน ๑) ปฏิรูปการดาเนินงานของสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติให้เป็นการประเมินตาม หลกั สูตรฐานสมรรถนะทสี่ มบรู ณ์ และครอบคลุมทกั ษะท่จี าเป็นตามชว่ งวยั ของผู้เรยี น
๑๒๙ ๒) นาผลการประเมินฐานสมรรถนะไปใช้ ในการปรับปรุงการเลื่อนช้ันของนักเรียนข้ามช่วง การศึกษา และในการคดั เลอื กนักศึกษาทมี่ ีความพร้อมทจี่ ะเข้าศึกษาในสาขาวิชาต่างๆ เป้าหมายระยะกลาง- ระยะยาว ผู้เรยี นเกดิ สมรรถนะหลกั ตามเปา้ หมายที่กาหนด ประเดน็ การปฏริ ูปท่ี ๕.๔ : การพัฒนาระบบคุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา หมายถึง ความสามารถในการดาเนินการเพ่ือตอบสนองต่อข้อกาหนด ความตอ้ งการและความคาดหวังของผูม้ สี ่วนได้สว่ นเสยี ที่สาคัญทีม่ ตี ่อการจดั การศึกษาได้อยา่ งเหมาะสม สมดุล และรอบด้าน ท้ังน้ีมิใช่จากัดแต่เฉพาะการผ่านมาตรฐานท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาหรือผลสัมฤทธ์ิทาง การศึกษาเท่านั้น โดยการพัฒนาคุณภาพการศึกษาควรมุ่งเน้นให้เกิดระบบและวัฒนธรรมคุณภาพใน สถานศึกษาเพ่ือการพฒั นาคุณภาพของการจดั การศึกษาและสถานศึกษาอย่างต่อเนื่องและเปน็ ระบบ และอาจ ประกอบด้วยการดาเนนิ การหลายเรอื่ งทม่ี ีความสอดคลอ้ งและหนนุ เสรมิ ไปในทางเดียวกันต่อไปน้ี การประกันคุณภาพ หมายถึง การประเมินผล การติดตามตรวจสอบ การทบทวน การปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาและกระบวนการที่เกี่ยวข้องของสถานศึกษาหรือผู้จัด การศึกษาจากภายใน โดยบุคลากรของสถานศึกษา หรือโดยหน่วยงานต้นสังกัดท่ีมีหน้าท่ีกากับดูแล สถานศกึ ษาหรือหน่วยงานนนั้ สถาบันการศึกษาต้องจัดให้มีการประเมินผลสัมฤทธ์ิของการศึกษาของผู้เรียนเพื่อให้ได้คุณภาพ การศึกษาตามเกณฑ์คุณลักษณะและสมรรถนะตามช่วงวัย เพื่อให้สามารถรับรู้และปรังปรุงคุณภาพตลอด ระยะเวลาการศึกษา การประเมินคุณภาพ หมายถึง การประเมินผล ติดตาม ตรวจสอบ และจัดทาผลการประเมิน และข้อเสนอแนะเพ่ือการทบทวน ปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาหรือผู้จัดการศึกษา โดย หน่วยงานจากภายนอกสถานศกึ ษา การประเมินคุณภาพผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษานั้นต้องจัดทาเพื่อเป็นการยืนยันผลสาเร็จของผู้ท่ี สาเร็จการศึกษาเพื่อใช้ในการพิจารณาปรับปรุงสถาบันการศึกษาและในการคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับที่ สูงข้ึน ในการน้ีเป็นหน้าที่ของสถาบันท่ีดาเนินการเป็นอิสระให้สามารถประเมินได้ถูกต้อง และเท่ียงธรรม ตลอดจนสามารถใช้ความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยีในการประเมินช่วย การรับรองคุณภาพ หมายถึง การประเมินคุณภาพโดยหน่วยงานภายนอกสถานศึกษาเพ่ือให้ การรับรองหลกั สูตร หรือการบริหารหลักสูตร หรอื การจดั การศึกษา หรือสถานศึกษา หรือผูจ้ ัดการศึกษา หรอื หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาเรื่องใดเรื่องหน่ึงหรือหลายเรื่อง ว่าสามารถดาเนินการได้สอดคล้อง กับข้อกาหนดการรับรองคุณภาพ ท้ังนีส้ ถานศกึ ษาอาจขอให้มีการรบั รองคุณภาพได้เมื่อมีความพร้อม การประเมินสถาบันการศึกษาตามกรอบคุณภาพสถาบันน้ี นอกเหนือจากผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียน แล้ว ยังต้องพิจารณาปัจจัยอื่นๆ ที่จาเป็นด้วย เช่น คุณภาพผู้นาองค์กร คุณภาพของการบริหารจัดการ
๑๓๐ คุณภาพของสภาพแวดล้อมที่สร้างคุณลักษณะที่ประสงค์ และเสริมให้เกิดการเรียนรู้ การคุ้มครองความ ปลอดภัยและสวัสดิภาพของผเู้ รยี นและบุคลากร เปน็ ตน้ เปา้ หมายรวม สถานศึกษาสามารถจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพ ประสิทธิภาพ มีธรรมาภิบาลโดยมี การส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเน่ืองและได้รับการสนับสนุนท่ีเหมาะสมกับบริบทเพ่ือพัฒนา คุณภาพการจัดการศึกษาทุกระดับตามปรัชญาและเป้าหมายของสถานศึกษา และมีระบบความรับผิดชอบ ทางการศึกษา (Educational Accountability) บนพนื้ ฐานสมรรถนะหลักของผู้เรียน เปา้ หมายเร่งดว่ น มีข้อเสนอว่าด้วยการพัฒนาคุณภาพของการจัดการศึกษา ตามบทบัญญัติของร่าง พระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. .... เปา้ หมายระยะสนั้ มีการดาเนินการด้านการพัฒนาคุณภาพของการศึกษาตามบทบัญญัติของกฎหมายการศึกษา แห่งชาติท่ีมีการปรับปรุงใหม่ โดยปรับปรุงบทบาทและวิธีดาเนินการของสถาบันทดสอบทางการศึกษา (องค์การมหาชน) และสานกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมนิ คุณภาพการศึกษา (องคก์ ารมหาชน) เป้าหมายระยะกลาง- ระยะยาว มีวัฒนธรรมคุณภาพในการจัดการศึกษาของครู ผู้บริหาร และบุคลากรทางการศึกษาที่สามารถ สรา้ งความเช่ือม่ันใหผ้ ูม้ ีส่วนเก่ยี วข้องและสาธารณชนได้ ประเด็นการปฏิรูปที่ ๕.๕ : ระบบความปลอดภัย และระบบสวัสดิภาพ ของผ้เู รียน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๒๕๘ จ. กาหนดให้มีการปรับปรุงการจัดการเรียน การสอนเพ่อื ใหผ้ ูเ้ รยี นสามารถเรยี นได้ตามความถนัด ซึ่งการทผี่ ู้เรียนจะสามารถเรียนรู้อย่างมคี ุณภาพนน้ั กลไก ที่มีความสาคัญอย่างยิ่งกลไกหน่ึง คือ ความปลอดภัยในสถานศึกษา โดยวางหลักการปรากฏ ใน ร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. .... มาตรา ๒๐ กาหนดให้หน่วยงานของรัฐที่ทาหน้าท่ีในการจัด การศึกษาจัดให้มีสถานศึกษาของรัฐเพ่ือจัดการศึกษาให้เพียงพอ มีสภาพและสิ่งแวดล้อมและสภาวะที่ ปลอดภยั หลกั การของความปลอดภัยในสถานศกึ ษาสามารถพจิ ารณาออกเป็นสองส่วน กลา่ วคือ
๑๓๑ ส่วนท่ี 1 ระบบความปลอดภัยในสถานศึกษาและระบบสวัสติภาพในสถานศึกษาจากผลการวิจัย ความปลอดภัยในสถานศึกษาซ่ึงเกิดได้ท้ังภายในและภายนอกโรงเรียนและต้องได้รับการดูแลควบคู่กันไปแบ่ง ได้เป็น 5 มิติ ดงั น้ี มิติที่ 1 อุบัติเหตุ ได้แก่ การเดินทาง อาคารเรียน สภาพแวดลอ้ มท่ีเป็นปัญหา เครื่องเล่น อุปกรณ์ การเรยี น เครอ่ื งมอื เครอ่ื งใชใ้ นโรงเรียนที่ขาดคุณภาพ มิติที่ 2 ความรุนแรง ได้แก่ ความรุนแรงท่ีเกิดจากผู้ปกครอง จากครูต่อเด็ก และเด็กต่อเด็ก ซ่ึงมี ผลกระทบต่อทางดา้ นรา่ งกาย ทางวาจา และทางใจ ถึงแม้ว่าจะมพี ระราชบัญญตั ิคุม้ ครองเดก็ พ.ศ. 254๖ แต่ ยังพบความรุนแรงท่เี กิดข้ึนกบั เดก็ โดยสถติ ติ ้งั แตป่ ี 2558-2560 พบว่าสถติ คิ วามรนุ แรงสงู สุดและมีแนวโน้ม เพ่มิ ข้ึนเกดิ จากเด็กกับเด็ก รองลงมาคือบุคคลในครอบครวั บุคคลอ่นื ครู และการทาร้ายตวั เอง ท้งั นี้ยงั ไม่รวม ความรนุ แรงแฝง เชน่ Cyber bullying / E-sport การกฬี า และการแขง่ ขนั มวยเดก็ มติ ทิ ี่ 3 มลพษิ ไดแ้ ก่ สงิ่ แวดลอ้ มภายในและภายนอกโรงเรยี น คือ น้า และอากาศ มติ ิที่ 4 สง่ิ ปนเปื้อน ในอาหาร อุปกรณ์ของใชใ้ นการจัดการเรียนการสอน และของเลน่ มิตทิ ่ี 5 ภัยพบิ ัติและโรคตดิ ตอ่ ท่จี าเป็นตอ้ งมมี าตรการและแผนเฝา้ ระวัง การดาเนินการท่ีผ่านมาใน 5 มิติ อาทิ การออกกฎหมายต่างๆ มีมาตรการรักษาความปลอดภัย ของสถานศึกษา และกลไกการติดตามประเมินผลเป็นรูปธรรม แต่ยังไม่ประสบความสาเร็จเนื่องจาก การดาเนนิ การไมเ่ ป็นเชงิ รกุ และเปน็ การป้องกนั ปัญหา ดังน้ัน จึงมีขอ้ เสนอ ดงั ต่อไปนี้ ๑) ยกระดับระบบความปลอดภัยและสวัสดิภาพในโรงเรียน ให้เป็นส่วนหนึ่งของการประกัน คุณภาพ และใชโ้ รงเรยี นเป็นฐานในการสรา้ งองค์ความรใู้ หแ้ กน่ กั เรยี นและชุมชนใหม้ สี ่วนชว่ ยกันแกป้ ัญญา ๒) พัฒนาผู้นาองค์กรให้มีความตระหนักและให้ความสาคัญกับระบบความปลอดภัยและ สวัสดิภาพในสถานศกึ ษา ๓) ใช้ Digital platform เพือ่ สร้างองคค์ วามรู้ จัดทาแผนเฝา้ ระวงั และตดิ ตามประเมินผล ส่วนท่ี ๒ ระบบการดแู ล ตดิ ตาม และช่วยเหลือผูเ้ รยี น และระบบขนสง่ หรือทพ่ี ักของผ้เู รยี น การดูแลช่วยเหลือนักเรียน ให้ความสาคัญกับเด็กที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษจากการได้รับ ผลกระทบจากความรุนแรงทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ ให้ดีข้ึน และป้องกันโดยการปลูกฝังให้เด็กมีคุณธรรม จรยิ ธรรม มีคุณลักษณะ ท่พี ึงประสงค์ และมจี ดิ ใจท่ีเข้มแข็ง ระบบการขนส่งเพ่ืออานวยความสะดวกให้แก่ผู้เรียนในเขตพื้นท่ีที่รับผิดชอบของสถานศึกษาที่อยู่ ห่างไกลท่ีต้ังของสถานศึกษาหรือระหว่างสถานศึกษาที่มีการจัดการศึกษาร่วมกัน (Road Safety) เน้นไปที่ โรงเรียนขนาดเล็ก ที่มีการควบรวม ต้องมีการขนส่งซ่ึงอาจไม่มีความปลอดภัย ขาดระบบการดูแล และไม่มี การกาหนดมาตรฐาน ซึ่งจากขอ้ มลู ของศนู ยว์ ิชาการเพ่ือความปลอดภัยทางถนน (ศวปถ.) พบว่ามสี ถติ กิ ารเสียชีวิต ของนกั เรยี นจากอบุ ัตเิ หตบุ นทอ้ งถนนตอ่ ปสี ูงถึง 2 พันกวา่ ราย และจานวนสูงสดุ คอื อายุ 15-19 ปี ท้ังนี้ ศวปถ. ได้จัดทาโครงการวิจัย มาตรฐานความปลอดภัยรถรับส่งนักเรียน นาร่องพื้นที่จังหวัดจันทบุรี โดยมีกรอบ แนวคิดการลดความเสี่ยงของอุบัติเหตุที่มีองค์ประกอบคือ รถ (ลักษณะของรถ) คนขับ (ความพร้อม) และจุด จัดการ (กระบวนการ) โดยจัดทาข้อเสนอในรูปแบบของโมเดลความสาเร็จในการลดความเส่ียง แบ่งออกเป็น
๑๓๒ 3 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 ศึกษาข้อมูล สภาพปัญหา และจัดทากรอบแนวคิด ระยะที่ 2 จัดตั้งภาคีเครือข่าย ชมรม จัดทาคู่มือและมาตรฐานรถ คนขับ การจัดการของโรงเรียน และระยะที่ 3 ติดตามและตรวจสอบให้ เปน็ ไปตามมาตรฐาน เน่อื งจากประเดน็ น้ีมีความสาคัญ กระทรวงศึกษาธิการ โรงเรยี น และครู ควรมบี ทบาทหน้าท่ีหลัก ในเร่ืองการสร้างองค์ความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนัก โดยการปลูกฝังวินัย คุณธรรม จริยธรรม สร้าง วัฒนธรรมความปลอดภัยในโรงเรียนแก่เด็ก ผู้ปกครอง รวมถึงชุมชน ส่วนการดาเนินการท่ีเป็น การสนับสนนุ อาจเป็นหน่วยงานภายในหรือภายนอกก็ได้ เชน่ งบประมาณ อาคารสถานท่ี วสั ดุอปุ กรณ์ เปน็ ต้น นอกจากน้ัน ควรสร้างระบบกลไกการขับเคล่ือนของกระทรวงศึกษาธิการ เสนอให้ ความปลอดภยั ในโรงเรียนเป็นสว่ นหน่ึงในระบบประกันคุณภาพ และต้องเชื่อมต่อกับระบบจัดสรรงบประมาณ เพ่ือให้โรงเรียนสามารถดาเนินการในส่วนที่ต้องใช้งบประมาณได้ รวมถึงการกาหนดข้อบังคับในกฎกระทรวง เพอ่ื ให้เกดิ ผลบังคบั ในการนาไปปฏบิ ตั ิและมีความยง่ั ยนื ในสว่ นหน่วยงานภายนอกเสนอให้วเิ คราะหข์ อ้ กาหนด กฎหมาย กฎระเบียบท่ีเก่ียวข้องและสาเหตุของความล้มเหลวท่ีไม่สามารถปฏิบัติได้ และจัดทาข้อเสนอแนว ทางการแกไ้ ขเพ่ือใหก้ ารดาเนนิ การเกดิ ผลสาเรจ็ และมปี ระสิทธภิ าพยงิ่ ขน้ึ รวมท้ัง การจัดทาแนวทางการดาเนินงาน ควรเป็นในรูปแบบของกลุ่มโรงเรียนแต่ละประเภท ตามความสาคัญของประเด็นความเสี่ยง หรือรูปแบบของ Roadmap by Risk area โดยแบ่งโซนจัดระดับ ความเส่ียง และดาเนินการขับเคลื่อนในระดับจังหวัด อาเภอ และพื้นที่เพ่ือการจัดการท่ีคล่องตัวแล ะ ทุกหนว่ ยงานเขา้ มามสี ว่ นร่วมได้งา่ ย เปา้ หมายรวม สถานศึกษาระดับตา่ งๆ มรี ะบบคุ้มครองด้านความปลอดภัย สขุ ภาพ และสวัสดภิ าพอยา่ งเหมาะสม เปา้ หมายเรง่ ดว่ น ๑) มมี าตรฐานความปลอดภัยในสถานศกึ ษา ๒) มีขอ้ เสนอวา่ ดว้ ยมาตรการ และแนวทางสนับสนุนระบบความปลอดภยั และระบบสวัสดภิ าพของ ผเู้ รียน เป้าหมายระยะส้ัน ๑) มีการจัดบริการเพื่อคุ้มครองผู้เรียน ครอบคลุมประเด็นด้านความปลอดภัย สุขภาพและ สวัสดิภาพในสถานศึกษา โดยสถานศึกษาหรือหนว่ ยงานท่เี ก่ยี วขอ้ งในทกุ พนื้ ทท่ี ่วั ประเทศ ๒) แนวทางหรือมาตรการเพ่ือการคุ้มครองผู้เรียนในสถานศึกษาตามท่ีระบุในข้อเสนอว่าด้วย การคุ้มครองผู้เรียนในสถานศึกษา ได้รับการบูรณาการไว้เป็นส่วนหน่ึงของข้อกาหนดคุณภาพการศึกษาเพื่อการ ประกันคุณภาพและการประเมินคุณภาพ ตามความเหมาะสมของประเภท ระดับ และบริบทเชิงพ้ืนที่ของ สถานศึกษา ๓) ประเด็นสาคัญเก่ียวกับการคุ้มครองผู้เรียนในสถานศึกษาได้รับการบรรจุไว้เป็นส่วนหน่ึงของ หลักสูตรในการผลิตและพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
๑๓๓ ๔) ใหม้ ีการระบุเป้าหมาย แนวทางการพัฒนาและการตดิ ตามประเมินผลเรื่องการคุ้มครองผู้เรียน ในสถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของแผนการศึกษาแห่งชาติ ตามความเหมาะสม ประเด็นปฏิรูปที่ ๕.๖ : การปฏิรูปอาชีวศึกษา เพ่ือสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของ ประเทศ คุณภาพการศึกษา หมายถึง ความสามารถในการดาเนินการเพ่ือตอบสนองต่อข้อกาหนด ความต้องการและความคาดหวังของผ้มู ีส่วนได้สว่ นเสียท่สี าคัญท่ีมตี ่อการจดั การศึกษาได้อย่างเหมาะสม สมดลุ และรอบด้าน ท้ังน้ีมิใช่จากัดแต่เฉพาะการผ่านมาตรฐานที่เก่ียวข้องกับการจัดการศึกษาหรือผลสัมฤทธิ์ ทางการศึกษาเท่านั้น โดยการพัฒนาคุณภาพการศึกษาควรมุ่งเน้นให้เกิดระบบและวัฒนธรรมคุณภาพใน สถานศกึ ษาเพื่อการพฒั นาคุณภาพของการจดั การศึกษาและสถานศกึ ษาอยา่ งต่อเน่ืองและเปน็ ระบบ และอาจ ประกอบด้วยการดาเนนิ การหลายเรอ่ื งทม่ี คี วามสอดคล้องและหนนุ เสริมไปในทางเดยี วกนั ต่อไปนี้ การประกันคุณภาพ หมายถึง การประเมินผล การติดตามตรวจสอบ การทบทวน การปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาและกระบวนการที่เกี่ยวข้องของสถานศึกษาหรือผู้จัดการ ศึกษาจากภายใน โดยบุคลากรของสถานศึกษา หรือโดยหน่วยงานต้นสังกัดท่ีมีหน้าท่ีกากับดูแลสถานศึกษา หรอื หน่วยงานนั้น การประเมินคุณภาพ หมายถึง การประเมินผล ติดตาม ตรวจสอบ และจัดทาผลการประเมิน และข้อเสนอแนะเพ่ือการทบทวน ปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาหรือผู้จัดการศึกษา โดย หน่วยงานจากภายนอกสถานศึกษา การรับรองคุณภาพ หมายถึง การประเมินคุณภาพโดยหน่วยงานภายนอกสถานศึกษาเพื่อให้ การรับรองหลักสูตร หรือการบริหารหลักสูตร หรอื การจดั การศึกษา หรือสถานศึกษา หรือผู้จัดการศึกษา หรอื หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องกับการจัดการศึกษาเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือหลายเร่ือง ว่าสามารถดาเนินการได้สอดคล้อง กับขอ้ กาหนดการรับรองคุณภาพ ทั้งน้สี ถานศึกษาอาจขอใหม้ ีการรับรองคุณภาพได้เมื่อมีความพร้อม สถานศึกษาสามารถจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพ ประสิทธิภาพ มีธรรมาภิบาลโดยมี การส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องและได้รับการสนับสนุนท่ีเหมาะสมกับบริบทเพ่ือพัฒนา คุณภาพการจัดการศึกษาทุกระดับตามปรัชญาและเป้าหมายของสถานศึกษา และมีระบบความรับผิดชอบ ทางการศึกษา (Educational Accountability) บนพนื้ ฐานสมรรถนะหลกั ของผเู้ รยี น เปา้ หมายรวม ๑) เพ่ิมจานวนผู้เรียนอาชีวศึกษาในสาขาที่สอดคล้องกับความต้องการของภาคเอกชนและ ประเทศและผ้จู บอาชีวศึกษามีงานทา ๒) ผู้เรียนอาชีวศึกษามีความรู้ ทักษะ เก่งปฏิบัติ มีสมรรถนะเป็นท่ียอมรับ หรือผ่านการศึกษา อาชวี ศกึ ษาระบบทวภิ าคี และการฝกึ งานในสถานประกอบการ ๓) ผูเ้ รียนทีจ่ บการศึกษาอาชีวศึกษามีความสามารถทจี่ ะเปน็ ผปู้ ระกอบการได้เอง
๑๓๔ เปา้ หมายเรง่ ด่วน ภายในเดือน พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๒ มีข้อเสนอว่าด้วยการพัฒนาคุณภาพของการจัดการศึกษา ตามบทบญั ญัติของร่างพระราชบัญญัติ การศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. .... เปา้ หมายระยะส้ัน ภายใน ๒ หรือ ๓ ปี มีการดาเนินการด้านการพัฒนาคุณภาพของการศึกษาตามบทบัญญัติของ กฎหมายการศึกษา แหง่ ชาตทิ ่มี กี ารปรบั ปรงุ ใหม่ เป้าหมายระยะกลาง- ระยะยาว มีวัฒนธรรมคุณภาพในการจัดการศึกษาของครู ผู้บริหาร และบุคลากรทางการศึกษาที่สามารถ สร้างความเชอ่ื มั่นใหผ้ ูม้ สี ่วนเก่ียวขอ้ งและสาธารณชนได้ เป้าหมายเรง่ ดว่ น ๑) มีข้อเสนอว่าด้วยระบบค่าตอบแทนตามสมรรถนะให้ผู้จบการศึกษาสายอาชีพ โดยมีการปรับ ฐานเงินเดือนแรกบรรจุของบุคลากรภาครัฐและเพ่ิมค่าตอบแทนพิเศษให้ผู้จบการศกึ ษาสายอาชีพ ทีเ่ ก่งปฏิบัติ หรือมีความเช่ียวชาญพิเศษ เพื่อจูงใจให้ผู้เรียนและผู้ปกครองเห็นความสาคัญในกรณีที่เรียนอาชวี ศึกษาและมี ความสามารถในทางปฏิบัตสิ ามารถได้รับคา่ ตอบแทนเทียบเท่าผู้จบปริญญาตรี ๒) มีระบบเรียนฟรีโดยไม่เก็บค่าใช้จ่ายสาหรับอาชีวศึกษาในสาขาท่ีกาหนด สนับสนุนเด็กด้อย โอกาสทางการศึกษา กลุ่มที่มีผลการเรียนดี กลุ่มท่ีมีภูมิลาเนาอยู่ในพ้ืนที่ห่างไกล กันดาร และโรงเรียนขยาย โอกาส กลมุ่ เดก็ ออกกลางคัน กลมุ่ เด็กผู้หญิง เพ่อื จูงใจให้เด็กสายสามัญมาเรียนสายอาชีพ และใหผ้ ู้เรียนกลับมา เป็นครูอาชีวศึกษา โดยมีการให้ทุนการศึกษาสาหรับผู้เรียนอาชีวศึกษาในสาขาขาดแคลนและสาขาท่ีเป็น ความตอ้ งการของประเทศ ๓) เพมิ่ การจัดอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคี หรือการฝึกงาน และระบบอื่นๆ ทเี่ นน้ การฝกึ ปฏิบตั ิ โดย การใช้มาตรการสร้างแรงจูงใจ เพิ่มการลดหย่อนภาษีจาก ๒๐๐% เป็น ๓๐๐% พัฒนากระบวนการยื่นขอ ลดหย่อนภาษีให้ง่ายข้ึน และสร้างกลไกความร่วมมือจากภาคเอกชนและภาคประชาสังคม และจัด Road Show สรา้ งความรูค้ วามเขา้ ใจทช่ี ดั เจนและถูกต้องเกี่ยวกับการจัดการอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคี ๔) จดั ตั้ง Training Center และมี Mobility Training Center ในลักษณะ PPP (Public Private Partnership) เพื่อใช้เป็นศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาทักษะในการปฏิบัติงานสาหรับนกั เรียน นักศึกษา พนักงาน ในสถานประกอบการ ครอู าชวี ศกึ ษาในสาขาชา่ งพื้นฐาน สาขาเกษตรกรรมและเทคโนโลยีทางการเกษตร และ ระบบเทคโนโลยีพ้ืนฐานเพ่ือการปฏิบัติงาน ในแต่ละภูมิภาคที่สามารถใช้ประโยชน์ร่วมกันได้ และลดความ เหลื่อมล้าทางการศกึ ษา ๕) สนบั สนุนให้สถานศึกษา/นกั ศกึ ษาหารายได้ด้วยตนเอง ๖) ปลกู ฝงั และสรา้ งทกั ษะพ้นื ฐานในการเป็นผู้ประกอบการให้แกผ่ เู้ รยี นอาชีวศึกษา เป้าหมายระยะสั้น
๑๓๕ ๑) ปรับหลักสูตรและรูปแบบการเรียนการสอนอาชีวศึกษาให้มีความหลากหลาย และยืดหยุ่น ภาครัฐสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาแก่อาชีวศึกษาเอกชนและรัฐอย่างเท่าเทียมในฐานะหน่วยผลิต กาลังคนเพ่ือตอบสนองความต้องการด้านแรงงานของประเทศ อย่างมีคุณภาพและเพียงพอต่อความต้องการ ของสถานประกอบการเพื่อให้สถานศึกษาอาชีวศึกษาเอกชนสามารถเปิดหลักสูตรในสาขาที่ผู้เรียนมีความสนใจ และผ้ปู ระกอบการมีความต้องการ ๒) ส่งเสรมิ การจัดอาชีวศึกษานอกระบบ สาหรบั กลุ่มแรงงาน และกลมุ่ คนพกิ าร ๓) จัดหาแหล่งเงนิ ทนุ หรือแหลง่ เงนิ กู้ดอกเบี้ยต่า เพอ่ื สง่ เสรมิ การลงทนุ ใหแ้ ก่ผเู้ รยี นอาชีวศกึ ษา ประเด็นการปฏิรูปท่ี ๕.๗ : การปฏิรูปอุดมศึกษาเพ่ือยกระดับคุณภาพ เพม่ิ ขีดความสามารถในการแข่งขันประสิทธิภาพ และธรรมาภิบาลของระบบ อดุ มศึกษา การปฏิรปู การอุดมศึกษาเป็นดา้ นที่จาเปน็ อยา่ งมากในปจั จุบัน การขยายตวั ของอุดมศกึ ษาได้เน้น ปริมาณ ต้องปรับมาที่การพัฒนาเพื่อคุณภาพ แก้ปัญหาความไม่สมดุลระหว่างสาขาวิชา ด้วยการมีนโยบาย อดุ มศึกษาทเ่ี หมาะสมและปรบั ได้ทันความจาเป็นและการเปลี่ยนแปลงในโลก ในด้านการวิจัยตอ้ งปรบั ให้สนอง ความจาเป็นของประเทศ และปรับให้มุ่งสู่การมีนวัตกรรมและการใช้ประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศ รวมท้ัง การพฒั นาสภามหาวทิ ยาลยั และการบริหารมหาวิทยาลยั ทุกระดับให้มีความเปน็ อิสระ และความรบั ผิดชอบต่อ สังคม ตลอดจนแก้สภาพอนุรักษ์นิยมและความฝืดต่อการเปล่ียนแปลง เพ่ีอปรับสถาบันอุดมศึกษาเข้าสู่ยุค ๔.๐ และ ๕.๐ ๑) แก้ปัญหาคุณภาพการเรียนการสอน และการสร้างบัณฑิต อุดมศึกษาในอนาคต ต้องสร้าง บณั ฑิตทมี่ คี ุณลักษณะตามท่ีพงึ ประสงค์ เป็นผู้มีความสามารถ ทักษะ และคณุ ธรรมจรยิ ธรรม ในระดบั สูง ท่ีจะ เป็นกาลังสาคัญของชาติในการพัฒนาและปฏิรูปประเทศ ทั้งเป็นผู้นา ผู้ปฏิบัติ หรือผู้ประกอบการ ท่ีสามารถ ขบั เคลอื่ นประเทศไทยไปสู่ ประเทศ ๔.๐ ได้ ในการน้ี สถาบนั อุดมศกึ ษาตอ้ งปรับกระบวนการการเรียนการสอน สง่ิ แวดล้อม เครื่องมอื อุปกรณ์ และความร่วมมือกันระหว่างสถาบันอุดมศึกษา สถาบันการศึกษา และหน่วยงานอ่ืนๆ เพ่ือให้เกิดผลสัมฤทธ์ิ ตามที่พึงประสงค์ โดยสามารถปรับตนและมีนวัตกรรมท่ีจาเป็น ตลอดจนมีหลักการพัฒนา ประเมินผล มุ่งสร้าง และแก้ไขให้ดขี ึน้ อยเู่ สมอ อาจารย์ในมหาวิทยาลัยต้องปรับแนวคิดให้มุ่งสู่ความเป็นเลิศ มีจิตวิญญาณของอาจารย์และ นักวิชาการ อทุ ศิ ตนเปน็ บุพการี และผรู้ ว่ มบกุ เบิกทางวชิ าการกบั นิสิตนักศึกษา จุดสาคัญท่ีต้องสร้างคือคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ ที่ต้องเสริมสร้างท้ังในกิจการนิสิต นักศึกษา และบูรณาการเข้าสู่การเรียนทุกส่วนทุกข้ันตอน รวมทั้งจัดสิ่งแวดล้อม และปทัสถานสังคมใน มหาวทิ ยาลัยใหเ้ อือ้ ตอ่ พัฒนาการนี้
๑๓๖ ๒) แกป้ ญั หาความไมเ่ หมาะสม ไมต่ รงเปา้ ตรงปัญหาของการศกึ ษา มหาวิทยาลัยต้องปรับสาขาวิชา หลักสูตร การเรียนการสอน ให้ครอบคลุมและตรงกับการงาน ท้ังในสมรรถนะทจ่ี าเป็น ความสามารถในการทางานอาชพี และการมีชีวติ ท่ีดี ควรจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับความจาเป็นของสังคม ทุกช่วงชีวิต เช่น การผลิตครูอาจารย์ สาหรับสถานศึกษาต่างๆ การศึกษาสาหรับแรงงาน การศึกษาต่อเนื่องสาหรับบัณฑิตเพ่ือเป็นการศึกษา ตลอดชีวิต และการศกึ ษาสาหรับผสู้ ูงวยั ให้คงผลิตภาพ และการมชี ีวิตทด่ี ี ๓) ทาการวจิ ยั สรา้ งนวตั กรรม และการนาความรู้และนวตั กรรมไปใชป้ ระโยชน์ มหาวิทยาลัยต้องเป็นพลังสาคัญในการขับเคล่ือนการปฏิรูปประเทศ ให้เกิดความสามารถใน การแขง่ ขันของชาติ อาจมคี วามจาเป็นต้องแบ่งสถาบนั อดุ มศกึ ษาเป็นกลมุ่ ทมี่ เี ปา้ หมายหลกั ต่างกนั มหาวิทยาลัยจานวนหนึ่งมีหน้าที่ทาการวิจัยท่ีเป็นชั้นแนวหน้าของศาสตร์ของโลก เพื่อยกระดับ ประเทศให้อยู่ในกลุ่มที่ก้าวหน้า แข่งขันได้ในอนาคต นวัตกรรมที่ลึกซ้ึงและก้าวกระโดด จาเป็นต้องอาศัย วิชาการขั้นลึกซ้ึงและพ้ืนฐาน ประกอบกับวิสัยทัศน์ที่ครบวงจรของการวิจัย และบุกเบิกเพื่อให้เป็นผลใช้ ประโยชนไ์ ด้จริง มหาวทิ ยาลัยจานวนหนึ่งอาจมุ่งทาการวิจัยเพ่ือแก้ปัญหาของประเทศ และเพือ่ การพัฒนาท้องถิ่น ท่ีมีความหลากหลาย และลักษณะจาเพาะ การสร้างความรู้ความเข้าใจ และนวัตกรรมเฉพาะกรณี หรือ เฉพาะถ่ิน มีความสาคัญในการพัฒนาและปฏิรูปประเทศ ท้ังในความเจริญทางเศรษฐกิจ ทางสังคม และ ความอยู่ดีกนิ ดี มคี วามสุขของชมุ ชน มหาวทิ ยาลยั หลายแห่งอาจสรา้ งนวัตกรรมที่ก่อประโยชน์ได้ทันที ในการสรา้ งสิ่งผลิต ในการผลิต หรอื ในการใช้ผลผลติ ตลอดจนการปรบั ให้สง่ิ ประดษิ ฐต์ รงกบั สภาพเศรษฐกิจ สังคม และวฒั นธรรมของท้องถิ่น มหาวิทยาลัยที่มุ่งการสอน เพื่อเปิดโอกาสสู่อุดมศึกษา และสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา กส็ ามารถทาการวิจัย สร้างนวัตกรรมในการศึกษา เพือ่ ใหเ้ กิดผลสัมฤทธิ์อย่างดี สาหรับผู้เรียน หรอื ทาการวิจัย เชงิ ประเมินหรอื คัดเลือกความรูแ้ ละเทคโนโลยใี หม่ เพือ่ ประโยชนใ์ นการพฒั นาประเทศ ๔) ปรับการให้บริการทางวิชาการ เป็นเชงิ รุก ให้เป็นหนุ้ ส่วนกับภาคอน่ื ๆ ในสงั คม บทบาทการใหบ้ ริการทางวิชาการแก่สังคมทมี่ ักเป็นแนวต้ังรบั อยู่แต่เดิม ต้องปรับเป็นเชงิ รุก ทนี่ า ความรู้และศักยภาพที่มีอยู่ ออกไปช่วยขับเคลื่อนการปฏริ ูปเศรษฐกิจและสังคม โดยเป็นหุ้นส่วนในการพัฒนา ประเทศ และชมุ ชน การมีสว่ นรว่ มในการรเิ ริ่มงาน เช่น Start-ups นน้ั หากมีสถาบันอดุ มศึกษานาวิชาการเขา้ ไปร่วม เพอื่ ทาใหก้ ิจการมคี วามแปลกใหม่ มกี ารบุกเบกิ รเิ ริ่มสรา้ งสรรค์ ตลอดจนมกี ระบวนการหรอื วิธกี ารท่ีดีกว่าก็จะ สามารถมีความกา้ วหน้า แขง่ ขันได้ และยง่ั ยืนยิง่ ขึน้ ดงั ที่ได้มีการดาเนินการเป็นผลมาแล้วในบางประเทศ เปา้ หมายรวม ๑) บัณฑิตในระดับอุดมศึกษามีสมรรถนะสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานเพื่อเพิ่ม การผลติ ในสาขาทป่ี ระเทศต้องการ และลดการผลติ บัณฑิตในสาขาทีไ่ ม่ตรงกับความต้องการของตลาด
๑๓๗ ๒) สถาบันอุดมศึกษาของไทยสามารถตอบสนองความต้องการของประเทศไปในอนาคต ท้ังใน ดา้ นการพฒั นาคน การวิจยั และสร้างสรรคน์ วตั กรรม ตลอดจนทาให้สถาบันอดุ มศกึ ษาไทยสามารถปรับตัวและ แขง่ ขนั ได้ในโลก หรอื เป็นสถาบนั ที่สามารถสนับสนนุ การพฒั นาชมุ ชนและสังคมได้อยา่ งมปี ระสิทธผิ ล ๓) ลดปัญหาความเหลื่อมล้าทางการศึกษาในระดับอุดมศึกษา โดยเปิดโอกาสให้ผู้ที่มีศักยภาพ ในการเรยี นในระดับอุดมศกึ ษา สามารถเขา้ เรียนในสาขาท่ตี นถนดั ได้อย่างเต็มศกั ยภาพ ๔) เพ่ิมประสิทธิภาพของการใช้งบประมาณของรัฐในการสนับสนุนการจัดการศึกษา ในระดับอุดมศึกษาของประเทศ รวมถึงปรับปรุงธรรมาภิบาลในการจัดการระบบอุดมศึกษาและธรรมาภิบาล ภายในสถาบันอุดมศึกษา ให้การจัดการมีความรับผิดชอบ ความโปร่งใส ตรวจสอบได้และส่งเสริมการมี ส่วนร่วมอยา่ งเหมาะสม เป้าหมายเรง่ ด่วน มีข้อเสนอวา่ ดว้ ยการปฏิรปู การจดั การศกึ ษาระดับอุดมศึกษา เป้าหมายระยะส้ัน ๑) มีการจัดระบบใหม่ในการกากับดูแลสถาบันอุดมศึกษา และระบบอุดมศึกษาของประเทศ ที่ส่งเสริมความเป็นอิสระทางวิชาการ ภายใต้ความรับผิดรับชอบด้านการงบประมาณและการจัดการที่ชัดเจน ตลอดจนสอดคล้องกับหลักธรรมาภิบาลโดยมีจัดบทบาทการกาหนดนโยบาย การกากับดูแล และ การดาเนินการแบง่ แยกจากกนั ใหม้ คี วามชัดเจนเพ่ือให้เกิดความรบั ผิดรับชอบแตบ่ ูรณาการดาเนนิ การร่วมกัน ๒) มีการกาหนดและจัดกลุ่มยุทธศาสตร์ของสถาบันอุดมศึกษาเพื่อกาหนดทิศทางการพัฒนา สถาบันอุดมศึกษาในแต่ละกลุ่มอย่างเหมาะสม ตลอดจนให้มีระบบในกากับดูแลและมาตรการสนับสนุน การพฒั นาสถาบนั อดุ มศกึ ษาทสี่ อดคล้องกับกลุ่มยุทธศาสตร์ ๓) มแี นวทางที่ชดั เจนในการส่งเสริมศกั ยภาพด้านการวจิ ัยและการสรา้ งสรรค์นวัตกรรมท่สี ามารถ นาไปสู่การใช้ประโยชน์ โดยให้มีความเชื่อมโยงกับระบบและกลไกของประเทศในการพัฒนางานด้านวิจยั และ นวัตกรรม ทั้งในระดับนโยบาย การกาหนดแผนการอุดมศึกษา ได้รับการกากับดูแลอย่างเป็นระบบและ คลอ่ งตัว ๔) มีมาตรการส่งเสริมการมีส่วนร่วมและความร่วมมือกับภาคเอกชน และชุมชนในด้านการวิจัย และสร้างสรรค์นวัตกรรมที่เป็นรูปธรรม ซึ่งอาจเกิดข้ึนในฐานะผู้กาหนดโจทย์และผู้ใช้งาน ผู้ให้การสนับสนุน ทรัพยากร การใช้ทรัพยากรร่วมกัน การแลกเปล่ียนและจัดการความรู้ระหว่างกัน ตลอดจนการท่ี สถาบันอุดมศึกษาเข้าไปมีส่วนร่วมในการช่วยสร้างหรือเติมเต็มศักยภาพของบุคลากรในการวิจัยให้แก่องค์กร ภาคเอกชน ๕) ให้มีการใช้แนวทางการสนับสนุนทรัพยากรโดยเฉพาะงบประมาณของรัฐ แบบมุ่งเป้า โดย กาหนดให้ตามความสอดคล้องกับแผนงานด้านวิจัยและนวัตกรรมของชาติ ทั้งน้ีให้พิจารณากลุ่มยุทธศาสตร์ ศักยภาพและผลการดาเนินการท่ีผา่ นมาของสถาบันอุดมศึกษาประกอบ และให้มีการติดตามประเมินผลอย่าง เปน็ ระบบเพื่อสร้างความม่ันใจในระดบั หน่งึ วา่ ทรัพยากรของรัฐจะถูกใช้ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธผิ ลและประสทิ ธิภาพ
๑๓๘ เป้าหมายระยะกลาง- ระยะยาว ตามท่ีจะกาหนดในแผนปฏิรูปประเทศด้านการศึกษาท่ีจะมีการทบทวนปรับปรุงในระยะต่อไป หรอื ตามทจี่ ะกาหนดในแผนการศึกษาแห่งชาตทิ ีจ่ ะมีการทบทวนและปรับปรงุ ในลาดบั ต่อไป การปฏริ ปู หลกั สตู ร การเรยี นรู้ ประเด็นการปฏิรูปที่ ๕.๘ : การจัดต้ัง และการประเมนิ ผลนี ตอ้ ง สถาบันหลักสูตรและการเรียนรู้แห่งชาติ อาศยั นกั วิชาการทม่ี คี วามรู้ ความเชยี่ วชาญ และ ( National Institute of Curriculum and ประสบการณเ์ กยี่ วกบั งาน Learning) พฒั นาหลกั สตู ร ทต่ี อ้ งระดม จากทว่ั ประเทศ จดั เปน็ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แผนแม่บท เครอื ขา่ ย ทสี่ ามารถสรา้ ง ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี และ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ได้ เอกภาพ ความมนั่ คงทาง มีหลักการให้ปรับปรุงหลักสูตร วิธีการเรียนรู้ และการประเมินผล วชิ าการ และความคลอ่ งตวั ใน สัมฤทธิ์ทางการศึกษา เพ่ือให้การศึกษาไทยมีคุณภาพที่พึง การปฏบิ ตั ิงานตามนโยบาย ประสงค์ แกป้ ญั หาความเหล่ือมล้าท่เี กดิ ขน้ึ จากความแตกตา่ งด้าน และเปา้ หมายรว่ ม คุณภาพ และเพ่ิมความสามารถในการแข่งขันของชาติ ต้ังแต่ พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้มีการเปลี่ยนแปลงในกระบวนการกาหนดหลักสูตร และได้ปรับแก้เป็นระยะๆ อาศัยฐาน หลักสูตรแกนกลางที่เน้นเน้ือหาสาระ และแปลหลักสูตรออกเป็นตาราแต่ละช้ันปีการศึกษา รวมท้ังคู่มือการ สอนที่ใช้เต็มเวลา พร้อมกับกาหนดจานวนช่ัวโมงในการสอนแต่ละตอนกากับไว้ด้วย ทาให้การเรียนการสอน เน้นการท่องจา การประเมินผล หรือการสอบที่เน้นเน้ือหาสาระได้นาไปสู่การกวดวิชาและการเก็งข้อสอบ และไม่เป็นที่น่าสนใจของผู้เรียน ประกอบกับพัฒนาการทางการศึกษาในโลกที่เน้นการเรียนรู้บนฐาน สมรรถนะ และใช้วิธีการเรียนรู้เชิงรุกมากกว่าการท่องจา ทั้งยังต้องมีความหลากหลาย ปรับให้ตรงกับความ ถนัด และความประสงคข์ องผ้เู รยี น จงึ จาเป็นตอ้ งปรบั หลักสูตร กระยวนการเรียนรู้ และการประเมนิ ผลให้ทัน การเปลี่ยนแปลงในโลก และมีการพฒั นาครูและผูท้ ่ีเกี่ยวข้องให้สามารถปรับเปลีย่ นด้วย เป้าหมายของการศึกษาไทยตามที่กาหนดไว้ในรัฐธรรมณนูญ ครอบคลุมกว้างขวาง ทั้งคุณธรรม จริยธรรม ความเป็นพลเมืองดีท่ีภูมิใจในชาติ สามารถสร้างความเชี่ยวชาญได้ตามความถนัดของตน และมี ความรับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ รวมท้ังมีคุณภาพและได้มาตรฐานสากล ความสามารถทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีดิจิทัล ทักษะการใช้ข้อมูล การสื่อสาร และการออกแบบ นวัตกรรม รวมท้ังการนาความรู้และทักษะไปใช้ประโยชน์ จึงต้องพัฒนาให้ทันการ เปล่ียนแปลงในโลก ขณะเดียวกันต้องมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และความดีงาม ของความเปน็ ไทย
๑๓๙ ในปัจจุบันมีหน่วยงาน กลุ่มพัฒนาหลักสูตรและมาตรฐานการเรียนรู้ ซ่ึงเป็น ๑ ใน ๑๑ กลุ่มงาน ของสานกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน กาลังคนทีร่ ับผิดชอบ ทาหน้าที่น้ีมีน้อย มีผลให้เกิดข้อจากัดหลายประการในการดาเนินภารกิจสาคัญนี้ให้สาเร็จลุล่วงอย่างมี ประสิทธิภาพ การปฏิรูปหลักสูตร การเรียนรู้ และการประเมินผลนี้ ต้องอาศัยนักวิชาการที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์เก่ียวกับงานพัฒนาหลักสูตร ท่ีต้องระดมจากทั่วประเทศ จัดเป็นเครือข่าย ท่ีสามารถสร้างเอกภาพ ความมั่นคงทางวิชาการ และความคล่องตัวในการปฏิบัติงานตามนโยบายและ เป้าหมายร่วม องค์กรในการนี้จึงต้องเป็นศูนย์รวมของการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน อย่างครบ วงจร ช่วยให้การดาเนินงานมีความเป็นเอกภาพสอดคล้องสัมพันธ์กันทั้งระบบ ต้ังแต่การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับ การจัดทาหลักสูตร การนาไปใช้ในการเรียนการสอน การพัฒนาบุคลากร การวัดและประเมินผล รวมท้ังการ ติดตามประเมินผลการใช้หลักสูตร ท้ังยังแก้ปัญหาความซ้าซ้อนในการดาเนินงานและความส้ินเปลือง งบประมาณด้วย ข้อเสนอการจัดต้ังสถาบันหลักสูตรและการเรียนรู้แห่งชาติ ได้รับการเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี และคณะกรรมาธกิ ารดา้ นการศกึ ษาฯ สภานิติบญั ญตั ิแหง่ ชาตแิ ลว้ (รายละเอยี ดอยูใ่ นเอกสารประกอบ ๘) เปา้ หมายรวม มีสถาบันหลักสูตรและการเรียนรู้แห่งชาติ เป็นหน่วยงานของรัฐท่ีไม่เป็นส่วนราชการหรือ รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณหรือกฎหมายอื่น เป็นหน่วยงานที่ไม่แสวงหาผลกาไร ทาหน้าท่ีเป็นองค์กรกลางในการพัฒนาหลักสูตร วิธีการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล ในระดับ การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน รวมทงั้ การจดั ทา ส่งเสริม สนับสนุนการนาหลักสตู รไปใช้ ตลอดจนตดิ ตามผล เปา้ หมายเร่งดว่ น มีบทบัญญตั ิตามกฎหมายเพ่ือใหส้ ามารถจดั ต้ังสถาบันหลักสูตรและการเรยี นรู้แหง่ ชาติ เป้าหมายระยะสัน้ มีสถาบันหลักสูตรและการเรียนรู้แห่งชาติ ทาหน้าที่วิจัย และพัฒนาหลักสูตรแกนกลาง การจัดการเรียนการสอน ระดับก่อนวัยเรียน ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย สายสามัญ ส่ือและเทคโนโลยีการศึกษา การวัดและประเมินผล ระบบการเทียบเคียงและเทียบโอน รวมท้ัง ระบบนวตั กรรมทางการศกึ ษา เพือ่ ให้เกิดการเผยแพรส่ ่กู ารใช้งานสูงสดุ เปา้ หมายระยะปานกลางและระยะยาว สถาบันหลกั สตู รและการเรียนรู้แห่งชาตดิ าเนินการนเิ ทศ ตดิ ตามประเมินผลการใช้หลักสูตรทั้งใน ดา้ นการจดั การเรยี นการสอนของครู และผลการเรียนรู้ของผู้เรยี น
๑๔๐ เรื่องท่ี ๖ : การปรับโครงสร้างของหน่วยงานในระบบการศึกษา เพ่ือบรรลุเป้าหมายในการปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนและ ยกระดบั คณุ ภาพของการจัดการศึกษา ประเด็นการปฏิรูปท่ี ๖.๑ : สถานศึกษามีความเป็นอิสระใน การบริหารและจัดการศึกษา ประเด็นหลักอย่างหนึ่งในการปฏิรูปการศึกษา คือ การใช้โรงเรียนเป็นศูนย์กลางของการปฏิรูป อันเป็นหัวใจของการปฏิรูปคร้ังนี้ โรงเรียน หรือสถานศึกษาเป็นหน่วยผลิตหลักของระบบการศึกษา ท่ีเป็นจุด กาหนดคุณภาพของผลสัมฤทธิ์ หากโรงเรียนสามารถทา หน้าทีไ่ ดด้ ี ผลการศกึ ษาจงึ จะดีดว้ ย ครูเปน็ องค์ประกอบสาคัญของการเรยี นรู้ของ ผู้เรียน จึงจาเป็นที่จะต้องมีครูท่ีดีและสามารถปฏิบัติ หน้าท่ีได้ดี กฎหมายจึงต้องต้ั งอยู่บนฐานการ ให้ ความสาคัญกับครูอย่างครบวงจร ส่วนน้ีจาเป็นต้องได้รับการแก้ไข และการสนับสนุนท่ีตรงจุด ต้องคืนศรัทธา ไปยังครู และระบบบริหารที่อยู่ในระดับเหนือข้ึนไป ต้องทาหน้าท่ีส่งเสริมสนับสนุน ช่วยเหลือ และกากับดูแล แทนท่กี ารเป็นผู้บงั คบั บญั ชาท่เี ขม้ งวดดว้ ยระเบยี บ ในหลากหลายกรณี มีตัวอย่างของผู้เรียนที่มี ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา จาเปน็ ตอ้ งมี ความมุ่งม่ัน พยายามทาการศึกษาให้ได้ผลสัมฤทธ์ิที่ดี แม้ สมรรถนะพเิ ศษหลายอยา่ ง เชน่ จะมขี ้อจากัด และความยากลาบาก หากไดค้ ืนศรทั ธาให้กับ ความเปน็ ผนู้ า ความสามารถใน นักเรียน ให้สามารถทาการเรียนรู้ได้ตามความถนัด และ การสอื สาร ความสามารถในการ อุปนิสัยของแต่ละคน แล้ว คุณภาพการศึกษาก็มีโอกาสท่ี บรหิ ารวชิ าการ บรหิ ารคน บรหิ าร จะดีข้ึน ยิ่งในโลกปัจจุบันท่ีเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามามี บทบาทมาก เด็กและเยาวชนซึ่งเกิดในยุคดิจิทัล และมี การเงนิ อยา่ งซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ มนษุ ยสมั พนั ธ์ และความสามารถใน การสรา้ งความสมั พนั ธก์ บั ชมุ ชน ความเคยชินการส่ิงแวดลอ้ มทปี่ รบั เปลี่ยนไป พร้อมกบั การ สนับสนนุ ทีเ่ หมาะสม โอกาสทจ่ี ะเกิดการเรยี นรทู้ ่ีดี ยอ่ มเกดิ ขนึ้ ได้ ร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. .... ยังได้ให้ความสาคัญกับผู้บริหารสถานศึกษา ซ่ึงจาเป็นต้องมีสมรรถนะพิเศษหลายอย่าง เช่น ความเป็นผู้นา ความสามารถในการสือสาร ความสามารถใน การบริหารวิชาการ บรหิ ารคน บรหิ ารการเงนิ อยา่ งซอ่ื สัตยส์ ุจรติ มนษุ ยสัมพันธ์ และความสามารถในการสร้าง ความสัมพันธ์กับชุมชน เป็นต้น ท้ังนี้ผู้บริหารโรงเรียนต้องมีความเป็นอิสระในการบริหารจัดการ และ
๑๔๑ การตัดสินใจ การได้มาซ่ึงผู้บริหารโรงเรียน และการพัฒนาความสามารถ ตลอดจนกลไกการสนับสนุน และ ประเมนิ ผล จึงตอ้ งไดร้ ับการดแู ลท่ีดี คณะกรรมการสถานศึกษาเป็นอีกกลไกท่ีจาเป็นเพื่อสร้างความร่วมมือ และบทบาทชองชุมชน แต่ต้องมีกระบวนการในการจัดหา การทางานและการกากับดูแล จึงจะเกิดเป็นผลตามที่พึงประสงค์ ภายใต้ บริบททแี่ ตกตา่ งหลากหลาย โรงเรียนยังต้องได้รับการสนับสนุน ในด้านต่างๆ ทั้งด้านวิชาการ ด้านทรัพยากร และระบบ ระเบยี บ จงึ จะสามารถแก้ปญั หาที่รนุ แรงของคณุ ภาพการศกึ ษาและความเหลื่อมล้าในปัจจบุ นั ร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. .... จึงมีบทบัญญัติหลายประการท่ีจะปฏิรูปโรงเรียน ให้สามารถบรรลุวตั ถปุ ระสงคไ์ ด้ เป้าหมายรวม สถานศกึ ษาของรัฐมีความเปน็ อิสระและมีธรรมาภิบาลในการบริหารและจดั การศึกษา ครอบคลุม ด้านการบริหารวิชาการด้านการบริหารงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคลากรด้านการบริหารงานท่ัวไป และมีความรบั ผิดชอบต่อคณุ ภาพของการจดั การศึกษา เปา้ หมายเร่งด่วน ๑) มีร่างกฎหมายท่ีเก่ียวข้องว่าด้วยหลักเกณฑ์ รูปแบบ หน้าท่ี อานาจ โครงสร้างการกากับดูแล ของสถานศึกษาของรฐั ท่ีมคี วามเป็นอิสระในการบรหิ ารและจัดการศึกษา ๒) มีร่างกฎหมายที่เกี่ยวข้องว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอานาจการบริหารและจัด การศึกษาไปยังสถานศึกษา ท้ังด้านการบริหารวิชาการ การบริหารงบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารงานทว่ั ไป ๓) มรี า่ งแผนปฏบิ ัตกิ ารเพอื่ ขบั เคล่ือนสถานศึกษาของรฐั ทีม่ ีความเป็นอิสระในการบรหิ ารและจัดการศึกษา เปา้ หมายระยะสัน้ ๑) ประกาศใช้กฎหมายที่เก่ียวข้องว่าด้วยหลักเกณฑ์ รูปแบบ หน้าท่ี อานาจ โครงสร้างการกากับ ดูแลของสถานศกึ ษาของรัฐทม่ี ีความเป็นอิสระในการบรหิ ารและจดั การศกึ ษา ๒) ประกาศใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอานาจการบริหารและจดั การศึกษาไปยังสถานศึกษา ทั้งด้านการบริหารวิชาการ การบริหารงบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารงานท่ัวไป ๓) ประกาศใชแ้ ผนปฏิบัติการฯ เป้าหมายระยะกลาง- ระยะยาว ได้สถานศึกษาของรัฐที่ได้รับการพัฒนาให้มีความเป็นอิสระในการบริหารและจัดการศึกษา ครอบคลุมทั้ง ๔ ด้าน ตามแผนปฏบิ ตั ิการเปน็ ระยะ ทุก ๒ ปี
๑๔๒ ประเดน็ การปฏิรปู ที่ ๖.๒ : พื้นท่นี วตั กรรมการศกึ ษา พระราชบัญญัติพืนทีนวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๒ ได้ประกาศใช้แล้ว และมีพืนทีนวัตกรรม ได้รับการประกาศแล้วใน ๖ จังหวัด ในการปฏิรูปทีมุ่งให้เกิดผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษาในท้องถินต่างๆทัวประเทศ ทีมีความแตกต่าง หลากหลาย จ่าเป็นต้องมีการด่าเนินการและกลวิธีทีอาจแตกต่างกันได้ การจัดการในลักษณะพืนทีนวัตกรรม ทีนา่ แนวคิดและหลักการทีได้พิจารณาแล้วว่า นา่ จะเปน็ ผลดีออกไปใช้ในทางปฏิบัตจิ รงิ และมีการทดลองและ ปรับแก้ให้เหมาะสมยิงขึน จะเป็นวิธีการส่าคัญในการปฏิรูปการศึกษาทังประเทศ เมือได้ผลจากการใช้ นวัตกรรมแลว้ จะได้ขยายตวั อย่างไปใชใ้ นทีอืนๆต่อไป เปา้ หมายรวม ๑) ผู้เรียนในพ้ืนท่ีนวัตกรรมการศึกษาได้รับการศึกษาท่ีมีคุณภาพ เหมาะสมสอดคล้องกับ อัตลกั ษณข์ องชมุ ชนและพ้นื ที่ ๒) มีการเรียนรู้และขยายผลของนวัตกรรมท่ีได้จากพื้นท่ีนวัตกรรมการศึกษาสู่การจัดการศึกษา ในพ้ืนทอี่ ืน่ ๆ เป้าหมายเรง่ ด่วน มีข้อเสนอและร่างกฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับพ้ืนท่ีนวัตกรรมการศึกษา เพ่ือผู้เรียนในพ้ืนท่ี มีความเฉพาะด้านในเร่ืองวัฒนธรรมและภาษา ครอบคลุมประเด็นเรื่องครู หลักสูตร สถานศึกษา การพัฒนา คณุ ภาพ และการกากบั ดูแลสถานศกึ ษา เปา้ หมายระยะสั้น ๑) นโยบายและกฎระเบียบที่มีความคล่องตัว และเอื้อการพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน และการบรหิ ารของโรงเรยี น ๒) มีหลักสูตรสถานศึกษาและการจัดการเรียนการสอนให้แก่ผู้เรียนในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา มีความสอดคลอ้ งกบั อตั ลักษณ์ และความต้องการของชุมชนและพนื้ ที่ เป้าหมายระยะกลาง- ระยะยาว ผู้เรียนในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพเหมาะสม สอดคล้องกับ อัตลักษณ์ และความต้องการของชุมชนและพ้ืนท่ี ตลอดจนบรรลุตามความมุ่งหมายของกฎหมายการศึกษา แห่งชาติฉบบั ใหม่
๑๔๓ ประเด็นการปฏิรูปท่ี ๖.๓ : การปรับปรุงโครงสร้างของ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการควรมีโครงสร้างที่มีเอกภาพ ตลอดจนการประสานงานเพื่อประสิทธิภาพของ งาน การแบ่งแยกหน้าท่ีและอานาจเพ่ือรองรับรูปแบบใหม่ท่ีแยกความรับผิดชอบในด้านนโยบาย (Policy) ด้านกากับดูแลส่งเสริม (Regulator) ด้านการสนับสนุนต่างๆ (Supporter) และด้านการดาเนินการหรือ การปฏิบัติการ (Operator) มุ่งเน้นการกระจายอานาจ สร้างธรรมาภิบาลรับผิดชอบต่อการสนับสนุน สถานศึกษา และมีบทบาท หน้าที่และอานาจสอดคล้องกับบทบัญญัติในกฎหมายว่าดว้ ยการศกึ ษาแหง่ ชาติ เปา้ หมายรวม กระทรวงศึกษาธิการมีโครงสร้างท่ีแบ่งแยกหน้าท่ีและอานาจเพ่ือรองรับรูปแบบใหม่ที่แ ยก ความรับผิดชอบในด้านนโยบาย (Policy) ด้านกากับดูแลส่งเสริม(Regulator)ด้านการสนับสนุนต่างๆ (Supporter) และด้านการดาเนินการหรือการปฏิบัติการ (Operator) มุ่งเน้นการกระจายอานาจ ธรรมาภิบาล รับผิดชอบต่อการสนับสนุนสถานศึกษา และมีบทบาท หน้าที่และอานาจสอดคล้องกับบท บัญญัติ ในกฎหมายวา่ ด้วยการศึกษาแห่งชาติ เป้าหมายเร่งด่วน มีข้อเสนอการปรับปรุงบทบาทหน้าที่และอานาจเพื่อให้สอดคล้องกับบทบัญญัติของกฎหมาย การศึกษาแห่งชาติฉบบั ใหม่ และให้สามารถปรับปรงุ การจัดการศึกษาได้อย่างมีประสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ล เปา้ หมายระยะสนั้ มีการปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยการบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ และกฎหมายอื่น ทเ่ี กยี่ วข้องเพอื่ ปรับปรุงของหน่วยงานของกระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานในกากับของกระทรวงฯ เรื่องท่ี ๗ : การปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้โดยการพลิกโฉม ดว้ ยระบบดิจทิ ัล (Digitalization for Educational and Learning Reform) ประเด็นการปฏิรูปที่ ๗.๑ : การปฏิรูปการเรียนรู้ด้วยดิจิทัลผ่าน แพลตฟอร์มการเรียนรู้ด้วยดิจิทัลแห่งชาติ (Digital Learning Reform :National Digital LearningPlatform (NDLP)) ในโลกปัจจุบันเทคโนโลยกี ารสื่อสารสารสนเทศได้ก้าวหนา้ ไปเป็นอันมาก สามารถข้ามข้อจากัดด้าน ระยะทางและเวลาได้ รวมท้ังปรับการส่ือสารจากการใช้ตัวอักษรเป็นหลัก ไปสู่การใช้มัลติมีเดีย ที่สื่อได้ทั้ง ตัวอักษร ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว แสง เสียง และการแสดงอารมณ์ตลอดจนปรับใช้สาหรับผู้พิการด้วย ข้อมูล
๑๔๔ จานวนมากสามารถเก็บและส่ง หรือติดต่อกันได้อย่างรวดเร็ว การแลกเปลี่ยนข้อมูลและความรู้เกิดได้เสมือนอยู่ ใกลชิดกันปัญญาประดิษฐ์ยังช่วยให้สามารถสร้างความเข้าใจในสิ่งที่ซับซ้อนได้ง่ายข้ึน ทั้งยังเพ่ิมประสิทธิภาพใน การประเมินได้ด้วย ความก้าวหน้าน้ีมีผลในการเปลี่ยนโฉมการศึกษา จึงเกิดมีรูปแบบและวิธีการในการสอน และ การเรียนรู้อย่างหลากหลาย คล้ายกับเป็ชานชลาสาหรับใครก็ได้ท่ีประสงค์จะเรียนรู้ แพลตฟอร์มการเรียนรู้ จงึ เกดิ ขึ้นเป็นอนั มากในโลก ทั้งท่ีเป็นสาธารณะ และเป็นธรุ กิจ ประเทศไทยได้มโี ครงสร้างพ้นื ฐานท้งั ระบบส่งทาง อากาศ ระบบสง่ ทางสาย และระบบโทรศัพทอ์ ัจฉริยะ จึงมีความพร้อมท่จี ะใช้ประโยชน์ แพลตฟอรม์ การเรียนร้ดู ้วยดิจิทัลแห่งชาติ (National Digital Learning Platform) หมายถงึ ระบบ การคัดสรร พัฒนา เผยแพร่ ใช้และประเมินคุณภาพส่ือและเทคโนโลยีท้ังในแบบออนไลน์และออฟไลน์เพ่ือ ตอบสนองเป้าหมายการยกระดับคุณภาพการเรียนและการสอน และเป็นศูนย์รวมผู้รู้ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางที่ สามารถเข้าถึงได้ในทุกที่ ทุกเวลา ด้วยกลไกชุมชนการเรียนรู้ออนไลน์ โดยมุ่งเป้าให้เป็นเคร่ืองมือในการ แก้ปญั หาการศกึ ษาของชาติทั้งในดา้ นคุณภาพการศึกษา ความเหลือ่ มล้า และความสามารถในการแข่งขัน การจัดตั้งแพลตฟอร์มการเรียนด้วยดิจิทัลแห่งชาติ (National Digital Learning Platform - NDLP) ที่คัดสรรรวบรวม เชื่อมโยง (Syndicate) และพัฒนาปรับปรุงสื่อและเทคโนโลยีคุณภาพอย่างเป็น ระบบ มุ่งเป้าหมายการนาใช้เพ่ือการเปล่ียนแปลงสู่การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) และกระบวนวิธี การสอนทม่ี ีความเป็นนวตั กรรมและปรบั เหมาะตามความตา่ งของผู้เรยี น การเรียนรู้ด้วยดิจิทัลแห่งชาติมีเป้าหมายเพื่อสร้างมาตรฐานการจัดการหลักสูตรฯ โดยคัดสรร สาระความรเู้ พื่อสง่ เสริมการพัฒนาทกั ษะและสมรรถนะของผ้เู รยี น เชน่ บทเรียน สือ่ การสอน และเทคโนโลยีท่ี หลากหลาย มีคุณภาพสูงและมีกลไกการประกันคุณภาพ และมีการประเมินใช้สารสนเทศ ส่ือ เทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง รัฐจึงต้องจัดให้มีแพลตฟอร์มการเรียนรู้ด้วยดิจิทัลแห่งชาติ (National Digital Learning Platform) ประกอบดว้ ย (๑) เทคโนโลยีระบบการจัดการความรู้ ในลักษณะของท่า (Portal) ทรัพยากรเรียนรู้ ส่ือ และ แอปพลิเคชั่นที่มีคุณภาพสูงและตอบสนองต่อวัตถุประสงค์ความต้องการของผู้เรียน ระบบจะต้อง ประกอบด้วยเทคนิคการคัดกรอง เชื่อมโยง สื่อ เทคโนโลยี แหล่งความรู้ และผู้รู้ท่ีกระจายกันอยู่ด้วยการจัด กลมุ่ ประเภทพฒั นาเพ่ือการนาใชด้ ว้ ยเทคโนโลยีชาญฉลาดอัจฉริยะ ที่เกดิ จากการวิเคราะห์ตรระกะสาคัญของ ลักษณะการเรยี นรู้ ความรู้ เป้าหมายการเรียนรู้ และปฏสิ ัมพันธท์ ่ตี อบสนองต่อผู้เรียนรายบคุ คลได้ (๒) ยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนคุณภาพและการนาใช้สื่อเทคโนโลยีท่ีตอบสนองต่อการเรียน การสอน และชมุ ชนการเรยี นรู้ ดาเนินงานโดยคณะกรรมการเรยี นรู้ด้วยดิจิทลั แห่งชาติ ประกอบดว้ ยกรรมการฝ่ายต่างๆ อย่างเหมาะสม แนวทางการปฏิรูปการเรียนรู้ด้วยดิจิทัล : แพลตฟอร์มการเรียนรู้ด้วยดิจิทัลแห่งชาติ (Digital Learning Reform : National Digital Learning Platform (NDLP)) มดี ังน้ี
๑๔๕ (๑) รัฐตอ้ งใช้กลไกในการรวมพลัง (Synergy) จัดตั้งหนว่ ยงานของสถาบนั หลกั สูตร ประกอบด้วย นักปฏิบัติ นักวิชาการ และหน่วยงานรัฐหน่วยงานท้องถ่ิน หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง หน่วยงานภาคเอกชน หน่วยงานไม่หวังผลกาไร รวมทั้ง หน่วยงานแหล่งทุนวิจัยและผลิตเทคโนโลยีทางการศึกษา โดยจัดสรรทุน ดาเนนิ การจากหน่วยงานทเี่ ข้ารว่ ม (๒) หน่วยงานทาหน้าที่กาหนดนโนบาย วางแผน ยุทธศาสตร์ การคัดกรอง พัฒนาส่ือและ เทคโนโลยกี ารศกึ ษาทใ่ี ชไ้ ด้จรงิ เกดิ ผลและวดั ผลกระทบในเชิงประจกั ษไ์ ด้ (๓) จดั ให้มแี พลตฟอร์มดิจทิ ัลเพือ่ การเรยี นร้แู หง่ ชาติ จัดเกบ็ รวบรวม คดั กรอง จัดประเภท วงจร คุณภาพ ปรับเหมาะและพัฒนาสื่อ แอปพปลิเคช่ัน และเทคโนโลยีท่ีสร้างการปฏิสัมพันธ์เชิงสร้างสรรค์ทาง สังคม และการรวมตัวของผู้เรียน ผู้รู้ และเครือข่ายจิตอาสาเพ่ือบ่งเพาะคุณลักษณะนิสัยที่พึงประสงค์ของ ประชากรไทย (๔) จดั ระบบและกลไก ความร่วมมือและการลงทุนและบริการร่วมระหวา่ งรฐั และเอกชน ท่จี ะจัด ให้มีวสั ดกุ ารเรยี นรู้ ทรัพยากรและแหล่งเรียนรู้ ทงั้ ในวสั ดุท่จี บั ต้องได้และในรปู แบบดิจทิ ัลทมี่ ีคุณภาพ (๕) จัดให้มีระบบกองทุน และการแข่งขัน และนวัตกรรมท่ีได้ใช้ได้ผลจริงในการยกระดับความรู้ เกดิ ผลกระทบทางเศรษฐกิจ และสามารถสรา้ งผลตอบแทนได้จากผลิตภณั ฑ์นวตั กรรม (๖) จัดให้ให้มีการเข้าถึงบุคคลผู้เช่ียวชาญให้การขับเคลื่อนการใช้โดยผู้เชี่ยวชาญและเป็นชุมชน การเรียนรู้เฉพาะทางในแตล่ ะด้านภายใตก้ ารดแู ล ใหก้ ารสนบั สนนุ ตรวจสอบจากหน่วยงาน (๗) จัดให้มีกลไกขยายขอบข่ายการเรียนรู้ด้วยดิจิทัลแห่งชาติ เป็นระบบการเรียนรู้ท่ีตอบสนอง ต่อเป้าหมายในแต่ละช่วงวัยของประชากรไทย การเรียนรู้ร่วมกันระหว่างวัยด้วยเทคโนโลยี ส่งผลกระทบต่อ ผลิตภาพทางสังคมที่เอ้ืออาทร ถ่ายทอด วัฒนธรรมความรู้ บรรทัดฐานของสังคมที่เป็นอัตลักษณ์ของไทย ทแี่ ตกตา่ งและสรา้ งการแขง่ ขันได้ในระดบั นานาชาติ เปา้ หมายรวม เพ่ือพัฒนาระบบดิจิทัลแพลตฟอร์มเพ่ือการเรียนรู้แห่งชาติ (National Digital Learning Platform) ในการปรับเปลี่ยนระบบการศึกษา สร้างคุณภาพ ลดความเหลื่อมล้า และสร้างความสามารถใน การแขง่ ขัน เพ่ือใหก้ ้าวกระโดดทนั กับพฒั นาการในโลก ตามแผนยทุ ธศาสตรช์ าติในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยมีเปา้ หมายจาเพาะ ดงั นี้ (๑) เพือ่ ใชป้ ระโยชนจ์ ากแหล่งขอ้ มูลความรตู้ า่ งๆ ท่มี อี ยู่และจะมีการสรา้ งขน้ึ ตอ่ ไป ท้ังในประเทศ และตา่ งประเทศ ใหส้ ามารถใชป้ ระโยชนไ์ ด้อยา่ งกว้างขวางและท่วั ถงึ ท้งั เป็นท่ีรวบรวมข้อมูลส่ือการเรยี นรู้เดิม ทีม่ อี ยแู่ ล้ว (๒) เปน็ กลไกในการรวบรวม คดั กรอง พัฒนาส่อื การเรียนรทู้ ีม่ ีคณุ ภาพ ให้อยใู่ นรปู แบบท่ีสามารถ ใช้ประโยชน์ไดอ้ ยา่ งกว้างขวาง และท่ัวถึงตลอดจนมีกลไกในการเขา้ ถงึ และคดั เลอื กสงิ่ ทตี่ ้องการไดโ้ ดยงา่ ย
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169