๔๖ คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานมีขนาดที่ใหญ่กว่าอีก ๔ องค์กรอย่างมาก ท้ังในเร่ืองกาลังคนงบประมาณ แตก่ ารทางานยังไม่ตอบโจทยก์ ารพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาเทา่ ท่ีควร พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้นาทบวงมหาวิทยาลัย เข้าไปรวมกับ กระทรวงศึกษาธิการ ด้วยมุ่งหวังว่าจะมีการประสานงานของการอุดมศึกษากับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานได้มาก ย่ิงข้ึนเพราะอุดมศึกษาต้องรับผู้ที่เรียนจบการศึกษาขั้นพ้ืนฐานเข้าไปศึกษาต่อ และการศึกษาข้ันพื้นฐานต้อง พัฒนาคุณภาพและปรับการเรียนการสอนให้ก้าวหน้าข้ึน โดยเฉพาะอย่างยิ่งความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมท้ังการอุดมศกึ ษาต้องทาหน้าที่สรา้ งครูใหก้ ารศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน ดว้ ยการสรา้ งบณั ฑติ ทางครุ ศาสตร์และอักษรศาสตร์ แต่ในความเป็นจริงการประสานงานและสร้างความร่วมมือกันยังไม่เกิดขึ้นเท่าที่ควร การจดั การสอบคัดเลือกเพ่อื เขา้ ศึกษาต่อในระดับอดุ มศึกษาก็ยงั ต้องพฒั นาและปรบั แก้กนั อยู่ การศึกษาระดับอุดมศึกษาเพื่อประกาศนียบัตรและปริญญามีกระทาอยู่ในสถาบันที่สังกัด กระทรวงอื่น ๆ อยู่ไม่น้อย เช่น กระทรวงสาธารณสุข มีอยู่ถึง ๘๓ หลักสูตร กระทรวงกลาโหม ๕๙ หลักสูตร กระทรวงวัฒนธรรม 36 หลักสูตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ๑๗ หลักสูตร กระทรวงคมนาคม ๑๔ หลักสูตร กระทรวงมหาดไทย ๑๑ หลักสูตร กระทรวงการคลัง ๒ หลักสูตร กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและ ส่ิงแวดล้อม ๒ หลักสูตร และหน่วยงานอื่นๆ อีกจานวนมาก โดยหน่วยงานเหล่านี้ได้จัดการเรียนการสอนตาม ความเชี่ยวชาญของตนเอง ถึงแม้ในระดับปริญญาอาจอ้างอิงกาหนดมาตรฐานจากสานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา แต่สถานศึกษาเหล่าน้ีจะอยู่ภายใต้นโยบายการจัดการศึกษาตามกระทรวงต้นสังกัดเป็นหลัก แผนพัฒนาอุดมศึกษาแห่งชาติในลักษณะมหภาคจึงยังขาดการประสานงาน ทั้งยังมีองค์กรวิชาชีพอีกจานวนมาก ที่มีบทบาทเกี่ยวกับนโยบายและการกากับดูแลบุคลากรชั้นนาทางวิชาการ สภาพนี้มีผลให้ทิศทางการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ของประเทศโดยรวมไม่สามารถตอบสนองการพัฒนาประเทศในภาพรวม และสร้าง ความสามารถในการแข่งขนั ของชาติในอนาคตไดอ้ ยา่ งเต็มท่ี ปัญหาโครงสร้างของระบบการศึกษาอีกด้านหน่ึง คือ ความไม่มั่นคงของนโยบายการศึกษา เป็นที่ทราบกันดีว่าประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองบ่อยคร้ัง และรัฐบาลในแต่ละยุค แต่ละสมัยก็กาหนดนโยบายในการบริหารประเทศท่ีแตกต่างกัน รวมถึงนโยบายทางการศึกษาที่ไม่ใช่แค่ เ ป ล่ี ย น ไ ป ต า ม รั ฐ บ า ล แ ต่ เ ป ลี่ ย น ไ ป ต า ม รั ฐ ม น ต รี ที่ เ ข้ า ม า รั บ ผิ ด ช อ บ ง า น ด้ า น ก า ร ศึ ก ษ า ในขณะนั้น ซ่ึงในระยะเวลา ๘๖ ปี ตั้งแต่มีตาแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในปี ๒๔๗๕ จนถึง ปัจจุบันมีจานวนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการทั้งหมด ๕๓ คน จากคณะรัฐมนตรี ๖๑ คณะ ในระยะ ๒๐ ปีทแ่ี ล้ว มีรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธิการ ๒๑ คน การเปลีย่ นรัฐบาลและปรับคณะรัฐมนตรบี ่อยครั้ง รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการกต็ ้องปรับ ตามไปด้วย ทาให้นโยบายด้านการศึกษาขาดความต่อเนื่อง เพราะแต่ละรัฐบาล แต่ละรัฐมนตรี แม้จะเป็น พรรคเดียวกันก็มีโครงการและแผนงานใหม่ ๆ เป็นของตนเอง ทาให้ระบบการศึกษาไทยขาดความม่ันคงและ ย่ังยืนเชิงนโยบาย เป็นเหตุให้การแก้ปัญหาเป็นการแก้ระยะสั้นตามสภาพโจทย์เฉพาะหน้า นาไปสู่ปัญหา
๔๗ คุณภาพการศึกษาและความเหลื่อมล้าท่ีไม่ได้รับการแก้ไขท่ีเป็นผลจริง ท้ังที่กระทรวงศึกษาธิการมีอายุกว่า 100 ปแี ลว้ และได้รับงบประมาณมากเปน็ อนั ดบั หนึง่ ระหว่างกระทรวงต่างๆ มาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ผู้บริหารสูงสุดของแต่ละองค์กรก็มีการเปลี่ยนและการย้ายบ่อย อันเป็นผลจากอิทธิพลทาง การเมือง ความเป็นนักบริหารวิชาการทางการศึกษาถดถอยลง เหตุผลทางวิชาการถูกแทนท่ีด้วยเหตุผล ทางการเมือง ในการสอบถามผู้ท่ีเก่ียวข้องในวงการการศึกษาและ ในการศึกษาวิจัย ตลอดจนมีบทความจานวนไม่น้อยท่ีกล่าวถึง การเปลี่ ยนรั ฐ มนตรี ว่ าการและรั ฐ มนตรี ช่ ว ยว่ า ก าร ี ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร แ ล ะ ผู้ บ ริ ห า ร ร ะ ดั บ สู ง ข อ ง กระทรวงศึกษาธิการท่ีเกิดขึ้นบ่อย จนนโยบายทางการศึกษามี การเปลี่ยนแปลงบ่อยตามความคิดเห็นของผู้รับผิดชอบ ซ่ึงมักมีแนวทางของตนเอง การพัฒนาและการแก้ปัญหา ทางการศึกษาจึงขาดตอนเป็นช่วงๆ ไม่สามารถดาเนินการให้เป็นผลดีท่ีย่ังยืนได้ ปัญหาต่างๆ ก็ทับถมและโยงใย เป็นปมแน่นหนาและยากที่จะแก้ในหลายกรณีผู้ปฏิบัติการขาดความรับผิดชอบในระบบการศึกษาของชาติ ขาด ความมุ่งม่ันและต่อเน่ืองในการแก้ปัญหาและการพัฒนา ตัวอย่างเช่น การผลิตครูที่ขาดความต่อเนื่องในหลายๆ โครงการ ซึ่งส่งผลให้ไม่สามารถจูงใจให้คนเก่งมาเรียนครูได้ ผู้บริหารบางคนกลับไปอาศัยการเอาตัวรอด และการ คาดคะเนถึงการเปลย่ี นแปลงของการเมือง ซง่ึ เข้าไปครอบงาการศึกษาอยู่ งานการบรหิ ารระบบการศึกษาจึงชะงัก คงทางานเป็นการเฉพาะหน้าเทา่ นนั้ รอเวลาเปล่ยี นผบู้ ริหาร ปัญหาธรรมาภิบาลในระบบท่ีย่อหย่อนจงึ เกดิ ขึ้น พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๓๙ กาหนดไว้ว่า “ให้กระทรวงกระจาย อานาจการบริหารและการจัดการศึกษาท้ังด้านวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารท่ัวไป ไปยังคณะกรรมการสถานศึกษาและสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาและสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา โดยตรงหลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอานาจดังกล่าวให้เป็นไปตามท่ีกาหนดในกฎกระทรวง” ข้อกาหนดใน พระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ดงั กล่าวน้ี มีเจตนารมณท์ ี่จะกระจายอานาจจากสว่ นกลางไปที่ ส่วนภูมิภาคและโรงเรียนให้มากท่ีสุด ดังปรากฏในหมวด ๕ ว่าด้วยระบบการบริหารจัดการแนวคิดหลัก คือ “การสร้างเอกภาพขององค์กรกาหนดนโยบายและมาตรฐานการศึกษาโดยกระจายบทบาทหน้าที่ในการ ดาเนินงานไปสู่สถานศึกษาและเขตพ้ืนท่ีการศึกษาให้มากที่สุดเท่าท่ีจะทาได้” การกระจายอ่านาจการจัด การศึกษาไปสู่ส่วนภูมิภาค และในที่สุดสู่โรงเรียนไม่เป็นผลในการปฏิบัติ การกระจายอานาจทางการศึกษา นั้นนับเป็นปัจจัยท่ีสาคัญท่ีสุดประการหนึง่ โดยกระทรวงศึกษาธิการมีหน้าท่ีกากับดูแลเฉพาะด้านการกาหนด นโยบายแผนและมาตรฐานการศึกษา เจตนารมณ์ของการกระจายอานาจและความรับผิดชอบไปสู่เขตพ้ืนที่ การศึกษาสถานศึกษา และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน มุ่งจะช่วยให้เกิดการเข้ามามีส่วนร่วมในการสร้าง หลักสูตรอันเหมาะสมของทอ้ งถิน่ ท่ีทนั สมัยและทนั โลกอย่างผสมผสานกับภมู ปิ ัญญาดงั้ เดิมของท้องถิ่นและตรง กับความต้องการของชุมชนผู้เรียนเกิดการประหยัดการใช้ทรัพยากร เพิ่มการเข้ามามีส่วนร่วมรวมท้ังจะช่วย
๔๘ ยกระดับคุณภาพการจัดการศกึ ษาจากการเข้ามาร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการจัดการศึกษาในท้องถ่ินของตนโดยชุมชน โรงเรยี นในสงั กดั องคก์ รปกครอง เองอีกดว้ ย แต่ในความเป็นจริงที่ผ่านมา การกระจายอานาจ สว่ นทอ้ งถน่ิ ขณะนมี อี ยถู่ งึ ๑,๗๐๑ และการให้ความเป็นอิสระในการจัดการศึกษายังไม่ลงไปถึง โรงเรยี น มนี กั เรียนทงั หมด สถานศึกษา โดยอานาจไปอยู่ท่ีเขตพื้นท่ีการศึกษาเป็นหลัก ๗๕๐,๑๗๐ คน เปน็ โรงเรยี นทมี่ ี และเขตพ้ืนท่ีการศึกษาเป็นผู้ส่งต่อนโยบายจากส่วนกลางไป ผลสมั ฤทธทิ์ างการศกึ ษาตา่ ยงั สถานศกึ ษาเพ่ือใหป้ ฏิบัติตาม สว่ นทก่ี ระจายไปที่โรงเรียน จาเปน็ ตอ้ งไดร้ บั การแกไ้ ข กถ็ ูกกากบั ดว้ ยกรอบท่ีแข็งตัว ทาใหไ้ มม่ คี วามเป็นอสิ ระ และ ความคล่องตัวในการดาเนินงานที่จะทาให้เกิดประสิทธิภาพ สภาพดังกล่าวนี้เป็นสาเหตุให้การพัฒนาคุณภาพ การศึกษาในส่วนภูมิภาคเป็นไปได้ยาก ผู้ปฏิบัติไม่สามารถมีการริเร่ิมสร้างสรรค์ของตนเองได้ เพราะต้องทา ตามคาส่ังจานวนมากจากส่วนบนท่ีเป็นแบบเดียวกันท่ัวประเทศ โดยไม่ได้คานึงถึงความแตกต่างหลากหลาย ของบริบทในแต่ละพน้ื ที่ ขอ้ กาหนดให้กระจายอานาจไปยงั โรงเรยี นทจ่ี ะต้องออกเปน็ กฎกระทรวงไมเ่ กิดขึน้ โรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ขณะนี้มีอยู่ถึง ๑,๗๐๑ แห่ง มีนักเรียนท้ังหมด ๗๕๐,๑๗๐คนเป็นโรงเรียนท่ีมีผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาต่า จาเป็นต้องได้รับการแก้ไข เพ่ือแก้ปัญหาคุณภาพ การศึกษาของชาติ และความเหล่ือมล้าทางการศึกษา เด็กในท้องถิ่นเหล่าน้ี มีคนที่มีสมองดีท่ีสามารถรับ การศึกษาในระดับสูงขึ้นได้ แต่โดยท่ีการศึกษาท่ีได้รับอยู่ในปัจจุบันไม่เอื้อให้สามารถยกระดับตนเองขึ้นได้ ทา ให้ประเทศขาดกาลังคนท่ีควรจะมี องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นซ่ึงรับผิดชอบดูแลโรงเรียนเหล่าน้ีอยู่ในสังกัด ของกระทรวงมหาดไทย จึงยังมีปัญหาการได้รับการสนับสนุน และการแก้ไขข้อขัดข้องต่าง ๆ รวมทั้งการ ประสานงานข้ามสังกัด และข้ามกระทรวง การจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีผลมาจาก พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และฉบับท่ี 2 (แก้ไขเพิ่มเติม) พ.ศ. 2545 พระราชบัญญัติ กาหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 และ รัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 จึงมีหน้าท่ีในการจัดการศึกษา โดยอาศัยรูปแบบ กฎเกณฑ์ หลักสูตร เน้ือหาสาระวิธีจัดการเรียนการสอน และการวัดผลประเมินผล ตามอย่างของกระทรวงศึกษาธิการ ซ่ึงกาหนดไปจากส่วนกลาง ทาให้มีความแข็งตัว และไม่หลากหลาย จนไม่สอดคล้องกับความแตกต่างทาง บรบิ ทสงั คมวฒั นธรรมของทอ้ งถ่นิ มผี ลให้การศึกษาทาให้ผูเ้ รยี นขาดความเช่อื ม่นั ในความเป็นท้องถ่นิ ของตน จากเหตุการณ์ท่ีผ่าน สะท้อนให้เห็นการไม่ประสานงานกันระหว่างหน่วยงานการจัดการศึกษา เช่น จัดการศึกษาปฐมวัยในเด็กอายุต่ากว่า 5 ปี โดยเฉพาะเด็ก 3 ขวบ ท่ีมีอยู่ประมาณ 7 แสนกว่าคน ซ่ึงอธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นได้แจ้งเวียนซักซ้อมแนวทางการจัดการศึกษาให้องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น โดยศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (ศพด.) สามารถจัดการเรียนการสอนเด็กปฐมวัยอายุ 2-5 ปี ต่อมาใน พ.ศ. ๒๕๖๐ มีนโยบายของสานักงานการศึกษาข้ันพื้นฐานให้โรงเรียนในสังกัดเปิดให้การศึกษาชั้นอนุบาลสาหรับเด็ก อายุ ๕ ขวบ หรอื อนุบาล ๑ โดยมีเงินงบประมาณอดุ หนุนรายหัวด้วย ซงึ่ มีองค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น และภาคเอกชน หลายแห่งจัดการอยู่แล้ว และเกดิ ปัญหาการย้ายของเด็ก แสดงถงึ ปัญหาการประสานงานข้ามสังกัด และหลกั คดิ ท่ีมอง เฉพาะในสงั กัดของตนไม่ได้มีหลักคดิ การรว่ มมือกัน และการกระจายอานาจสทู่ ้องถ่ิน
๔๙ แม้ว่าในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ การบรหิ ารในลกั ษณะ กาหนดให้มโี รงเรยี นขั้นพ้นื ฐานของรฐั ปรับเปน็ นิติบุคคลได้ และมี เหมอื นกนั ทวั่ ทงั ประเทศ รายงานของธนาคารโลกทีแ่ สดงว่าความเป็นอสิ ระของโรงเรยี นช่วย ให้เกิดคุณภาพของการศึกษาได้ แต่ในความเป็นจริงไม่เกิดขึ้นเลย อนั ทาใหง้ า่ ยในการสง่ั การ นอกจากโรงเรียนมหดิ ลวทิ ยานสุ รณ์ ซ่งึ จดั ต้งั ข้นึ เปน็ พเิ ศษเท่านัน้ การบริหารงานในระบบการศึกษาเป็น ระบบราชการที่ยังบริหารในลักษณะดั้งเดิมใช้การสั่ง ก า ร ใ น รู ป แ บ บ อ่ า น า จ จ า ก บ น ล ง ล่ า ง ผู้รับคาส่ังต้องปฏิบัติตาม พร้อมทั้งรายงานผลการปฏิบัติเป็น ลายลักษณ์อักษร ทาให้มีงานเอกสารจานวนมาก เป็นภาระที่ ทาให้โรงเรียนต้องใช้งานครูไปในกิจการท่ีไม่ใช่การสอนไป มาก การประเมินผลก็มักดูจากรายงานที่ส่งจากหน่วยล่างขึ้นไป จึงมักไม่ได้ความจริง และไม่นาไปสู่การแก้ไข ในสว่ นทจ่ี าเป็น ท้งั โครงการตา่ ง ๆ มักไม่มีการประเมินโครงการอยา่ งแท้จริง เมอื่ เปลีย่ นนโยบาย หรือเสร็จส้ิน โครงการ งานกห็ ยดุ หรือระงับไป โดยไมเ่ กดิ บทเรยี นที่จะชว่ ยในการบรหิ ารจัดการตอ่ ไป การดาเนินงานของระบบการศึกษาโดยเฉพาะอยา่ งยิ่งการศึกษาในระบบมีการส่ังการโดยละเอียด รวมท้ังวิธีปฏิบัติท่ีกาหนดไปจากส่วนกลางให้หน่วยปฏิบัติซึ่งกระจายอยู่ทั่วประเทศต้องทาตาม ตัวอย่างเช่น การกาหนดหลักสูตรที่อยู่บนฐานเน้ือหาสาระซ่ึงปรากฏในตาราเรียนสาหรับแต่ละช้ันปีการศึกษา ทั้งมีคาแนะนาสาหรับครูผู้สอนที่กาหนดเวลาจานวนชั่วโมงในการสอนแต่ละตอน การกาหนดเกณฑ์คุณภาพ อาหารกลางวัน โดยให้มีการตั้งคณะกรรมการข้ึนดูแลเป็นการเฉพาะ รวมท้ังกรณีท่ีมีคาส่ังให้เพ่ิมรายวิชาขึ้น หรือการเพม่ิ เวลาเรยี นจานวนช่วั โมงตอ่ สปั ดาหใ์ นบางวชิ า เปน็ ต้น ระบบการบริหารการศึกษาเป็นการบริหารในลักษณะเหมือนกันท่ัวทั้งประเทศ อันทาให้ง่ายในการสั่งการแต่โดยที่สภาพการศึกษาในที่ต่างๆ มีความแตกต่างหลากหลายมีสภาพพื้นที่ ที่แตกต่าง มีสภาพประชาชนท่ีแตกต่าง มีสภาพเป้าหมายของการศึกษาท่ีแตกต่าง แต่วิธีการที่จะจัดการเป็น วิธีการอันเดียวเหมือนกันทั้งประเทศ วิธีการนี้เป็นผลให้เกิดการปฏิบัติที่ไม่เหมาะสมกับสภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากร และบริบทของพื้นที่ท่ีแตกต่างกัน ท้ังอาจไม่ตรงกับความประสงค์หรือความถนัดในแต่ละพื้นท่ี ส า ห รั บ ห น่ ว ย งา น ขน า ด ใ ห ญ่ ที่มี คว า มส า มา ร ถสู งที่ จ ะป รั บ ตั ว อา จ ส า มา ร ถ ป รั บ ตั ว แ ล ะก ร ะท า ต า ม ไ ด้ แต่หน่วยงานหรือโรงเรียนขนาดเล็กที่มีความสามารถจากัดก็ไม่สามารถทาให้บรรลุผลได้ อาจต้องละท้ิงงานเดิมที่ กระทาและได้ผลอยู่ เพื่อสนองการสั่งการที่ต้องส่งรายงานการปฏิบัติ หรือมีการตรวจตราตามหลัง สภาพ ดังกล่าวน้ีมีผลให้การศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็กด้อยคุณภาพลง เจตนารมณ์ที่จะให้เกิดความคล่องตัวใน การจัดการศึกษาท่ีแตกต่างกันได้ตามความหลากหลายแตกต่างของพื้นท่ี โดยกาหนดให้แต่ละโรงเรียนจัดทา หลักสตู รสถานศกึ ษาของตนเองจึงเกิดขึ้นไม่ได้จริง ตอ้ งอาศยั ขอ้ กาหนดแกนกลางอย่างเคร่งครัด การวเิ คราะห์ และสังเคราะห์งานวิจัยด้านการศึกษากว่า 7,410 เรื่อง ในระยะเวลา 23 ปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2535 ถึง
๕๐ พ.ศ. 2558 บง่ ชี้ว่า ปญั หาใหญข่ องระบบการศึกษาไทย คือ ปญั หาการบริหารการศึกษา ซงึ่ ได้แก่ การกระจาย อานาจการบริหารการศึกษาไปยังสถานศึกษาตามพื้นที่ต่างๆ ไมเ่ พียงพอ ซง่ึ การบริหารหลกั สตู รของสถานศึกษา ยังอิงส่วนกลางที่ถูกควบคุมจากส่วนกลางเป็นหลัก และไม่มีความยืดหยุ่นสาหรับปรับให้เหมาะสมกับท้องถ่ิน เช่น หลักสูตรแกนกลางบังคับให้โรงเรียนเน้นสอนภาษาไทยภาคกลาง แต่ในบางพ้ืนที่ที่มีผู้ใช้ภาษาอื่นเป็น ภาษาแมท่ ใ่ี ชใ้ นชีวิตประจาวนั การแกป้ ญั หาเฉพาะหน้าหรือการตง้ั หน่วยงานขึน้ ใหมเ่ พื่อจัดการปัญหาเฉพาะท่ี ส่งผลกระทบอย่างมากในระยะยาว เช่น การขยายตัวและตั้งหน่วยงานใหม่ในส่วนกลาง การขยายตัวของ หน่วยงานภายใต้การดูแลของเขตพื้นท่ีการศึกษา การแบ่งส่วนราชการแยกการกากับดูแลระหว่างระดับ ประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษาออกจากกันอย่างเด็ดขาด เป็นต้น ภาระงาน อานาจ และงบประมาณของ สว่ นกลางและเขตพื้นทก่ี ารศึกษาจงึ มากข้ึน สภาพการบรหิ ารท่เี นน้ ความเหมอื นจึงมากข้นึ การกระจายอานาจ ไปส่สู ถานศึกษาจงึ ไมเ่ กดิ ข้นึ อยา่ งจรงิ จัง การท่ีการศึกษาของไทยมีปัญหาด้านต่าง ๆ อยู่มากและรุนแรง ยังหาผู้รับผิดชอบไม่ได้ นักการเมืองผู้กาหนดนโยบายไม่ต้องรับผิดชอบเพราะมีการเปล่ียนรัฐมนตรีบ่อย และมีการปรับนโยบายบ่อย จนไม่เห็นผลของนโยบายเดิม ทั้งในด้านความสาเร็จและความล้มเหลว ทั้งยังไม่สามารถกากับให้กระทรวง ศึกษาธิการทาตามนโยบายที่วางไว้ได้ทั้งหมด โดยเฉพาะอย่างย่ิงการแปล งนโยบายสู่การปฏิบัติส่วน กระทรวงศึกษาธิการเองก็ไม่สามารถกากับการดาเนินงานได้เน่ืองจากการขาดระบบข้อมูลที่ดีเพียงพอที่จะ ติดตามผลงานท่ีเกิดขึ้นจริง ข้ันตอนในระบบการสั่งการยาวจนการแปลงนโยบายสู่การปฏิบัติผันแปรไป และ การรายงานผลการปฏิบัติมักไม่สะท้อนความเป็นจริงทั้งหมด ระบบงานในด้านต่าง ๆ มีความสลับซับซ้อน จน เกิดการหาผู้ที่รับผิดชอบจริงได้ยาก และไม่มีการประเมินผลโครงการที่เช่ือถือได้ การบริหารงานมีกฎเกณฑ์ท่ี วางไว้ แต่มีช่องโหว่ให้การดาเนินงานไม่เป็นไปตามเป้าประสงค์เดิมได้ง่าย สาหรับโรงเรียนเองก็ไม่สามารถ กากับการสอนของครูทุกคนได้อย่างมีประสิทธิภาพ เนือ่ งจากระบบบริหารงานบุคคลไม่เอ้ือให้จัดการได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ความรับผิดชอบต่อนักเรียนและผู้ปกครอง กับความรับผิดชอบต่อนโยบายและการสั่งการจาก หน่วยเหนือ อาจไม่ตรงกัน แนวทางการพัฒนาโรงเรียนให้เป็นโรงเรียนที่ดีมีคุณภาพอาจเกิดความขัดแย้ง กันเองได้ง่าย ข้อจากัดต่าง ๆ ของโรงเรียนทาให้ไม่สามารถ รบั ผดิ ชอบตอ่ ผลสัมฤทธ์ิได้ แมจ้ ะพยายามภายใต้ข้อกาหนดกฎเกณฑ์ การศกึ ษาของไทย ท่ีกากับอยู่ ความไม่เพียงพอของทรัพยากร เป็นปัจจัยท่ีโรงเรียนใช้ เปน็ คาอธิบายสาเหตุได้ มีปัญหาด้านต่าง ๆ อยมู่ าก และรุนแรง ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ร ะ บ บ ก า ร ศึ ก ษ า จึ ง ข า ด ผู้รับผิดชอบในผลสัมฤทธ์ิ จากการศึกษาของ ดร. สมเกยี รติ ต้ังกจิ วานชิ ย์ ประธาน ยงั หาผู้รับผดิ ชอบไมไ่ ด้ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทยระบุว่า ปัญหาการศึกษาของ ไทยอยู่ที่หาผู้รับผิดชอบไม่ได้ และให้ความเห็นว่าการแก้ปัญหาที่ตรงจุดมากที่สุดคือ ทาให้โรงเรียนและครูมี ความรับผิดชอบต่อผู้ปกครองโดยตรงและต่อบทบาทหน้าที่ในการให้บริการของโรงเรียน ซึ่งมีหลักการ คือ 1)
๕๑ จะต้องมีการปฏิรูปข้อมูลโดยเปิดเผยข้อมูลต่าง ๆ ทั้งกิจกรรมการเรียน การสอนผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา ทรัพยากรของโรงเรียน ซ่ึงจะทาให้ สงั คมไทยยงั มกี รอบคดิ ที่ ผู้ปกครองและนักเรียนมีข้อมูลเพียงพอท่ีจะเลือกเข้าศึกษาในโรงเรียนท่ี ไมถ่ กู ตอ้ งตาม มีคุณภาพ 2) การปฏิรูปการบริหารโรงเรียนโดยกระจายอานาจการ ตัดสินใจให้โรงเรียนมีอิสระทั้งในการจัดการศึกษาเนื้อหาและในการ หลกั วชิ าการในปจั จบุ นั ดาเนินการ และ ๓) การปฏิรูปแรงจูงใจของครูให้เกิดการสอนอย่างมี ในการพฒั นา เดก็ ปฐมวยั คุณภาพ เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการสอน และสร้าง ความสามารถ รวมทั้งความเอาใจใส่ของครูเพื่อให้เกิดความรับผิดชอบ ต่อผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของนักเรียน การวางนโยบายการปฏิบัติเพื่อขับเคลื่อนนโยบาย ตลอดจนการ ดาเนินงาน และการประเมินผลด้านการศึกษายังเป็นปญั หา เน่ืองจากการขาดข้อมูลที่ดีในการบรหิ ารจดั การ การศึกษาและการไม่ใช้ข้อมูลที่มี นโยบายและแผนงานมักเกิดจากความคิดเห็นและรายงานบนฐานความเหน็ มากกวา่ ฐานข้อมูลเชิงประจักษ์ การบรหิ ารจัดการข้อมูลในแต่ละสังกัดของกระทรวงศึกษาธิการเอง และอีก ๘ กระทรวงมีรูปแบบท่ีหลากหลายแตกต่างกัน กระทรวงศึกษาธิการได้รับความร่วมมือไม่เต็มที่ ทาให้มีข้อมูลไม่ ครบถ้วน และไม่สามารถวิเคราะห์ให้ได้สภาพมหภาคของการศึกษาของชาติได้ ถึงแม้จะทาบันทึกความเข้าใจ เพื่อร่วมมือกันแล้วก็ยังไม่เกิดบูรณาการของข้อมูลการศึกษาได้จริง การเปิดเผยข้อมูลรายบุคคลมีข้อมูล บางส่วนที่ต้องคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคล จึงจาเป็นต้องมีพัฒนาการของระบบข้อมูล รวมท้ังระบบความมั่นคงของ ข้อมูลด้วย ความไม่ถูกต้องครบถ้วนและความซ้าซ้อนของข้อมูลตัวเลขเด็กนักเรียนที่รัฐจ่ายเงินอุดหนุนรายหวั ทาให้สูญเสยี งบประมาณของรัฐจานวนไมน่ ้อยโดยไมจ่ าเป็น พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๖๒ กาหนดใหม้ กี ฎกระทรวงเกี่ยวกบั หลักเกณฑ์ และวธิ ีการในการตรวจสอบ ตดิ ตาม และการประเมิน ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการใช้จ่ายงบประมาณการจัดการศึกษา แต่ในขณะนี้ยังไม่มีการประกาศใช้ กฎกระทรวงดังกล่าว โดยสรุป จะเหน็ ได้ว่าทั้งโครงสรา้ ง กระบวนการและวธิ ีการในการด่าเนินงานระบบ การศึกษา เปน็ สาเหตุใหญ่ของปญั หาทางการศกึ ษาของไทย ๒. ปญั หาคณุ ภาพการศึกษาเปน็ ผลที่เริ่มจากคุณภาพของการศึกษา ต้ังแต่ช่วงอายุเริ่มต้น และส่งผลต่อเนื่องไปสู่การศึกษาระดับสูงข้ึนไปทั้งระบบ จากการ ศึกษาวิจัยในโลกในระยะ ๒๐ ปีท่ีผ่านมาเกี่ยวกับพัฒนาการของเด็กเล็ก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนาสมอง อนั เป็นฐานของสติปญั ญา พฤติกรรม บคุ ลิกภาพและความสามารถในการเรียนรู้ ยนื ยันถงึ ความสาคัญของการ พฒั นาเดก็ ในระยะปฐมวัย พัฒนาการด้านประสาทสัมผัส การมองเห็น การไดย้ ิน การใชภ้ าษา และการส่ือสาร ต้องตั้งตน้ ในอายุนอ้ ยนี้ พัฒนาการของสมองเด็กในชว่ งปีแรกมีความสาคัญตอ่ การเรยี นภาษาท่สี อง จนองค์การ ระหว่างประเทศ เช่น ยนู ิเซฟและยูเนสโกได้แนะนารฐั บาลประเทศตา่ งๆ ให้ลงทนุ ในดา้ นนี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
๕๒ ศาสตราจารย์ James Heckman ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์ เม่ือปี ค.ศ. ๒๐๐๐ ที่ได้แสดงว่า ผลตอบแทนทางเศรษฐศาสตร์จากการลงทุนในช่วงปฐมวัยจะสูงกว่าการลงทุนทางการศึกษาในระดับสูงขึ้นถงึ ๗ เท่า โดยเพ่ิมสุขภาพกายและใจ เพ่ิมสมรรถนะในการเรียนรู้และการทางาน สร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ ท้ังในระดับบุคคลและสังคม เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ตลอดจนลดปัญหาสังคมและ อาชญากรรม รายงานของกรมอนามัย สถานการณ์อนามัยแม่และเด็กของประเทศไทย เมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๗ และ พ.ศ. ๒๕๕๙ แจง้ วา่ หญงิ ตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกเม่ืออายุครรภ์น้อยกวา่ หรือเท่ากับ ๑๒ สปั ดาห์ มเี พียงร้อยละ ๕๗.๑ หมายความว่า มีเด็กทารกในครรภ์มารดาประมาณร้อยละ ๔๓ ยังไม่ได้รับการดูแล ซ่ึงเป็นระยะท่ี สมองและระบบประสาทมีการเจรญิ เตบิ โตอยา่ งมาก เด็กร้อยละ ๙.๔ มนี า้ หนกั แรกเกิดต่ากวา่ เกณฑม์ าตรฐาน (คือ ๒,๕oo กรัม) ซึ่งเป็นเด็กกลุ่มท่ีมีความเสี่ยงต่ออาการเกิดโรคเร้ือรังเม่ือโตข้ึน มีเด็กท่ีกินนมแม่อย่างเดียว ตลอด ๖ เดือน เพียงร้อยละ ๒๓ เท่านั้น เด็กในช่วงอายุ o ถึง ๕ ปี มีภาวะทุโภชนาการ คือ มีภาวะเตี้ย ซึ่งมักสะท้อนถึงภาวะขาดอาหารเรื้อรังถึงร้อยละ ๑o.๕ และมีปัญหาทางโภชนาการ คือ อ้วน ร้อยละ ๘.๒ และผอม ร้อยละ ๕.๔ นอกจากน้ันร้อยละ ๓๐ หรือ ๑ ใน ๓ มีพัฒนาการสติปัญญา และอารมณ์ล่าช้า โดยเฉพาะพฒั นาการด้านภาษามีความล่าชา้ อยา่ งมาก รายงานวิจัยเม่ือ พ.ศ. ๒๕๕๙ สารวจพัฒนาการด้านทักษะสมองส่วนหน้าหรือ Executive Functions ซ่ึงเป็นสมองส่วนคิดและจัดการชีวิตในเด็กปฐมวัยไทย พบว่า พัฒนาการด้านน้ีล่าช้า โดยต่ากว่า เกณฑ์อย่างชัดเจน ร้อยละ ๑๔ และต่ากว่าเกณฑ์เล็กน้อย ร้อยละ ๑๕ ทักษะท่ีมีความล่าช้ามากที่สุด คือ ยั้งคิด ไตร่ตรอง ทักษะด้านความจาขณะทางาน และทักษะการ ควบคุมอารมณ์ ตามลาดับ ซ่ึงส่งผลต่อความพร้อมและ พฒั นาการของเดก็ เลก็ โดยเฉพาะ ความสาเร็จทางการเรียนในระดบั ที่สงู ขน้ึ ไป อยา่ งยง่ิ การพฒั นาสมอง อนั เปน็ สังคมไทยยังมีกรอบคิดที่ไม่ถูกต้องตามหลัก ฐานของสตปิ ญั ญา พฤตกิ รรม วิชาการในปัจจุบันในการพัฒนาเด็กปฐมวัยในเร่ืองน้ี บคุ ลกิ ภาพ และความสามารถในการ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยได้ให้ความสาคัญกับ เรยี นรู้ เกดิ ขนึ ใน ๘ ปแี รกของเดก็ การพัฒนาเด็กปฐมวัยไว้ โดยกาหนดให้รัฐต้องดาเนินการ จะเปน็ รากฐานของความฉลาด และ ให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาต้ังแต่ก่อนวัยเรียน แต่สภาพ พฤตกิ รรมของคนนนั ที่มีกระทรวงท่ีเก่ียวข้องกับการพัฒนาเด็กปฐมวัยอย่าง น้อย ๔ กระทรวง คือ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงมหาดไทยจึงมีปญั หาการขาดเอกภาพและประสิทธภิ าพในการบูรณาการงาน จนมีการจัดต้ังคณะกรรมการพัฒนาเด็กปฐมวยั แห่งชาติข้ึนตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๕๑ เพ่ือกาหนดนโยบายการพัฒนา ดูแลเด็กปฐมวยั แต่ก็ยงั ขาดกลไกเชื่อมประสานสู่การปฏบิ ตั ิ และการขับเคล่อื นการพัฒนา พ.ศ. ๒๕๕๕ มศี นู ย์ เด็กเล็ก ๑๙,๘๒๐ แห่งท่ัวประเทศ แต่คุณภาพยังอยู่ในเกณฑ์ต้องปรับปรุง บุคลากรดูแลเด็กปฐมวัยยังต้อง เพิ่มทัง้ ปริมาณและคุณภาพ
๕๓ ชว่ งรอยตอ่ ระหวา่ งการศึกษาอนุบาลกบั ประถมศึกษาเป็นระยะทเี่ ป็นวกิ ฤติ เพราะแนวคิดที่เนน้ การแข่งขนั ได้นาไปสู่การสอบเข้าช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ สาหรบั โรงเรยี นทม่ี ีช่อื เสยี ง นาไปสกู่ ารเน้นการเรยี น ทางหนังสอื และวิชาการ จนเกิดการกวดวิชาสาหรับเดก็ อายุ ๓ หรือ ๔ ขวบขึ้น โดยไม่ตระหนกั ถึงผลเสียทีจ่ ะ เกิดขน้ึ กับพฒั นาการของเด็ก และเปน็ การสรา้ งอุปนสิ ยั หลายอย่างท่ีไม่พงึ ประสงค์ ๓. การบริหารจัดการเพื่อลดความเหลื่อมล้่าทางการศึกษา รวมทั้ง การจดั สรรทรัพยากรเพ่ือแก้ปัญหาการเข้าถึงและการด้อยคุณภาพการศึกษา ความเหล่ือมล้าทางการศึกษานอกจากจะทาให้เกิดความไม่ยุติธรรมในสังคม และการเสียโอกาส ของเด็กและเยาวชนของชาติ ตลอดจนแรงงาน ในการท่ีจะพัฒนาให้ได้เต็มความสามารถของตนแล้ว ยังทาให้ เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจของชาติที่ไม่สามารถประเมินมูลค่าเป็นตัวเงินได้แล้ว มูลค่าความเสียหายทาง สังคมท่ีเกิดข้ึนจากปัญหาเด็กเยาวชนนอกระบบการศึกษายังมีอีกมากมาย เช่น ด้านสุขภาพ และปัญหาสังคม ในด้านต่าง ๆ ผลงานวิจัยจานวนมากในระดับนานาชาติ แสดงว่า ประชากรท่ีด้อยการศึกษาขั้นพื้นฐานมี อายุขยั ทีส่ น้ั และคณุ ภาพชวี ติ ต่ากว่าผู้ไดร้ บั การศกึ ษาดีอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ และมีโอกาสสร้างปญั หาสังคม ปญั หาการเสพติด และพฤตกิ รรมไดม้ ากกวา่ ดว้ ย ดังน้ันการลดความเหลื่อมล้าในโอกาสทางการศึกษาของประชาชนไทยผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ ย่อมส่งผลต่ออายุขัยและคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของประชาชนผู้ด้อยโอกาสและขาดแคลนทุนทรัพย์กลุ่มนี้ ใหเ้ ปน็ ทรัพยากรมนษุ ยท์ ม่ี คี ุณภาพและเป็นกาลังสาคญั ในการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมไทยอย่างยัง่ ยนื ในระยะยาว แม้ว่าปัจจุบันภาครัฐจะมีการลงทุนงบประมาณจานวนมากทุกปีเพื่อลดความเหลื่อมล้าทาง การศึกษา และแม้การลงทุนดังกล่าวจะช่วยลดความเหลื่อมล้าทางการศึกษาได้บ้าง เช่น โครงการเรียนฟรี ๑๕ ปี เงนิ อดุ หนุนนักเรียนยากจน และกองทนุ อาหารกลางวัน แตม่ าตรการดังกล่าวยังคงไม่สามารถสร้างความเสมอภาค ทางการทางการศึกษาได้อย่างแท้จริง เนื่องจากการบริหารจัดการการศึกษา รวมท้ังการบริหารจัดการ ทรพั ยากรทีใ่ ช้ในการศึกษา ดังขอ้ เทจ็ จรงิ เชิงประจักษต์ ่างๆ การจัดสรรงบประมาณด้านการศึกษาทางฝั่งอุปทาน (Supply-side Financing) ไปยังหน่วยงาน ผู้จัดการศึกษา ย่อมไม่สามารถสร้างความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษาให้แก่เด็กเยาวชนไทยอายุ ๓ - ๑๘ ปี มากกว่า ๖๗๐,๐๐๐ คน ที่ยังอยู่นอกระบบการศึกษาในปัจจุบันได้ เน่ืองจากระบบงบประมาณไม่สามารถ จดั สรรงบประมาณผา่ นระบบการศกึ ษาไปส่เู ดก็ เยาวชนทอ่ี ยนู่ อกระบบการศึกษาได้ บริการพ้ืนฐานท่ีโรงเรียนสาหรับนักเรียนผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์มีปัญหาในหลายด้าน จาเป็นต้อง ได้รับการดูแลเป็นพิเศษเหนือไปกว่าการจัดสรรเงินอุดหนุนรายหัวให้แก่นักเรียน การให้เงินอุดหนุนรายหัว เท่ากับนักเรียนท่ัวไปซ่ึงมีเศรษฐสถานะท่ีดีกว่า ย่อมไม่สามารถสร้างความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษาท่ี มคี ณุ ภาพให้แก่ประชาชนไดท้ กุ คนตามหนา้ ท่ีของรฐั ท่บี ญั ญัตเิ อาไวใ้ นรัฐธรรมนูญ
๕๔ การสนับสนุนงบประมาณด้านการศึกษาแต่เพียงต้นทุนของผู้ให้บริการทางการศึกษา ย่อมสร้าง ความเหล่ือมล้าในโอกาสทางการศึกษาให้แก่ประชาชนผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ซ่ึงไม่สามารถแบกรับต้นทุน การเข้ารับการศึกษาได้ด้วยตนเอง เช่น ค่าเดินทางและค่าใช้จ่ายที่เก่ียวข้องกับการศึกษาที่รัฐไม่อุดหนุนให้ หรืออุดหนุนให้ไม่เพียงพอ และเงินอุดหนุนท่ีรัฐจดั สรรให้เพ่ิมแก่นักเรียนยากจนในปัจจบุ ันเพียงวันละ ๕ บาท ย่อมไมเ่ พยี งพอกับค่าใชจ้ ่ายเหลา่ นี้ในปจั จบุ ัน ทาให้มีนกั เรยี นยากจนจานวนมากไม่สามารถมาโรงเรยี นได้ หรือ ต้องออกจากระบบการศึกษา ท้ังท่ีเป็นสิทธิตามกฎหมายรัฐธรรมนูญของประชาชนทุกคนที่รัฐพึงจัดให้อย่างมี คณุ ภาพโดยไม่เกบ็ ค่าใช้จ่าย กองทุนเพ่ือความเสมอภาคทางการศกึ ษา เป็นกลไกใหม่ท่ีจะใช้ในการลดปัญหาการเขา้ ถงึ การศึกษา ปัญหาการต้องออกจากการศึกษากลางคัน และปัญหาความเหลื่อมล้าในคุณภาพของการศึกษา โดยวัตถุประสงค์ของกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา ตามมาตรา ๕๔ ของรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กองทุนมีวัตถุประสงค์สาคัญ ๓ ประการ คือ ๑) ช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุน ทรัพย์ให้มีความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษาตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนสาเร็จการศึกษาข้ันพ้ืนฐานอย่างมี คุณภาพ ๒) ลดความเหลื่อมลา้่ ในการศึกษาเพื่อพฒั นาทรัพยากรมนษุ ยข์ องชาตใิ ห้มีความรู้ความสามารถ และคุณธรรม รวมทงั้ มศี ักยภาพที่จะดารงชีวิตโดยพ่ึงพาตนเองได้อยา่ งม่ันคง และ ๓) เสริมสร้างและพฒั นา คุณภาพและประสิทธิภาพครู ให้มีความเสมอภาคในการได้รับการ การจดั สรรงบประมาณดา้ นการศกึ ษา เสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพและ ทางฝงั่ อปุ ทาน (Supply-side Financing) ไปยงั ประสิทธิภาพ ให้มีความสามารถใน หนว่ ยงานผจู้ ดั การศกึ ษา ไมส่ ามารถสรา้ ง การจัดการเรียนการสอน และการ พัฒนาเด็กเยาวชนที่ขาดแคลนทุน ความเสมอภาคในโอกาสทางการศกึ ษา ทรัพย์ และด้อยโอกาสทง้ั ในและนอก ตอ้ งอาศยั กองทนุ ทมี่ บี ทบาทชว่ ยเหลอื ผขู้ าดแคลน ระบบการศึกษาไดเ้ ตม็ ศกั ยภาพ ทนุ ทรพั ยโ์ ดยเฉพาะ ลดความเหลอื่ มลาในการจดั การศกึ ษา และ เสรมิ สรา้ งและพฒั นาคณุ ภาพและประสทิ ธภิ าพครู
๕๕ ๔. การบริหารจัดการโรงเรียนขาดความคล่องตัว และประสิทธิภาพ จนเป็นเหตุให้เกิดการด้อยคุณภาพ และผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา ตลอดจน ความสามารถในการแข่งขัน สาเหตุของสภาพปัญหาการจดั การเรยี นการสอนหรือหอ้ งเรียนของไทยในปจั จบุ นั ได้แก่ ๔.๑ หลกั สูตรในปัจจุบันเป็นหลักสูตรอิงมาตรฐาน (Standard-based Curriculum) ได้กาหนดมาตรฐานการ โรงเรยี นทผี่ บู้ รหิ ารดี เรียนรแู้ ละตัวชว้ี ัดไวจ้ านวนมากท้งั ๘ กล่มุ สาระในทุกระดับชั้น มคี วามสามารถ และความเปน็ ผนู้ า แต่ยังไม่ได้ให้ความสาคัญกับสมรรถนะอย่างเพียงพอ ซึ่งแม้จะ อาจหาชอ่ งทางในการปรบั ปรงุ ได้ มีการกาหนดสมรรถนะหลักไว้ ๕ สมรรถนะ แต่ก็ยังขาดแนว และชว่ ยใหม้ กี ารพฒั นาคณุ ภาพได้ ทางการพัฒนาสมรรถนะท่ีเช่ือมโยงกับการจัดการเรียนการ สอนในสาระวิชาต่าง ๆ ประกอบกับครูยังมีความเข้าใจไม่ เพยี งพอ จึงทาให้ผู้เรียนยงั ไม่เกดิ สมรรถนะท่พี ึงประสงคด์ ังกล่าว ๔.๒ เน้ือหาที่สอนมีมากในขณะท่ีเวลาการสอนถูกเบียดบังด้วยภารกิจอ่ืน ครูจึงเร่งการสอน ด้วยวิธีง่ายท่ีสุด คือ บอกความรู้แก่ผู้เรียน รวมท้ังไม่มีเวลาดูแลผู้เรียนอย่างใกล้ชิด เพ่ือพัฒนาคุณลักษณะ (Character) และความสัมพันธ์ที่ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ นอกจากน้ีครูยังขาดทักษะการจัดกระบวนการ เรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ท่ีส่งเสริมทักษะการคิดขั้นสูง รวมทั้งสภาพการณ์ในโรงเรียนท่ีไม่ส่งเสริมให้ ครูสอนเป็นทีม (Team Teaching) ในสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ ทาให้การสอนและการเรียนรู้บูรณาการไม่ สมั ฤทธผิ์ ล ๔.๓ ครูขาดความรู้ความเข้าใจและทักษะการวัดและประเมินผลด้วยวิธีการที่หลากหลาย และ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ ท้ังการประเมินเพ่ือการเรียนรู้ (Formative Assessment) และ การประเมินเพือ่ ตดั สนิ ผลการเรยี นรู้ (Summative Assessment) ๔.๔ ครูมีประสบการณ์หรือมีความเชี่ยวชาญในการสอนแตกต่างกัน รวมท้ังแหล่งทรัพยากร การเรียนรู้ท่ีให้ครสู ามารถค้นคว้าและนาไปใช้ได้ยังมีน้อย นอกจากน้ีไม่มีระบบการคัดกรองผู้ที่มีความต้องการ จาเป็นพิเศษ ทาให้มีความเหลื่อมล้าระหว่างผู้เรียนท่ีมีฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม หรือร่างกายและ สตปิ ัญญาแตกต่างกนั เม่ือศึกษาถึงสาเหตุของสภาพปัญหาแล้ว การปฏิรูปการจัดการเรียนการสอนหรือการปฏิรูป ห้องเรียน (Classroom Reform) จึงเป็นหัวใจสาคัญของการปฏิรูปการศึกษา เน่ืองจากมีผลถึงผู้เรียนโดยตรง ในการเปลี่ยนแปลงผู้เรียนให้เกิดสมรรถนะและคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์สาหรับอนาคตของประเทศไทย จาเป็นต้องมีการออกแบบข้อเสนอแนะท่ีจะนาไปสู่นโยบายและมาตรการท่ีตอบโจทย์ปัญหาของการจัด การเรยี นการสอนหรือหอ้ งเรียนในปจั จุบันของไทย
๕๖ โรงเรียนหรือสถานจัดการการศึกษาเป็นส่วนท่ีสาคัญท่ีสุดในกระบวนการทางการศึกษา กล่าวได้ว่า เป็นหน่วยผลิตในห่วงโซ่การศึกษา มีปัญหาประสิทธิผลและผลิตภาพ จนเป็นปัจจัยหลักในปัญหาคุณภาพ การศึกษาและความเหลอ่ื มล้าของการศกึ ษา ตลอดจนความสามารถในการแขง่ ขนั ของชาติ อาจกล่าวได้ว่าปัญหาการศึกษาในปัจจุบัน เกิดข้ึนเพราะการด้อยประสิทธิภาพของโรงเรียน และ การขาดศรัทธาต่อครูและนักเรยี น ซ่ึงเป็นองค์ประกอบหลัก า ของการเรียนรู้ การบรหิ ารจัดการการศึกษาของไทยได้เน้นที่ ปญั หาการศกึ ษาในปจั จบุ นั การบริ หารจั ดการระบบมากกว่ าการให้ ความส า คั ญ กั บ เกดิ ขนึ เพราะการดอ้ ยประสทิ ธภิ าพ โรงเรียน ทาให้โรงเรียนต้องปฏิบัติตามนโยบาย คาสั่งและ ของโรงเรยี น และการขาดศรทั ธา ข้อกาหนดต่างๆ ที่ลงไปจากระบบบริหาร รวมท้ังระบบการ ตอ่ ครู และนกั เรยี น พิจารณาผลความสาเร็จและระบบความดีความชอบก็อาศัย กฎเกณฑ์ท่ีกาหนดโดยระบบ และสร้างแรงผลักดัน รวมท้ัง แรงจูงใจให้การบริหารมุ่งไปสู่การตอบสนองคาสั่งมากกว่าคุณภาพท่ีแท้จริง แม้ว่าในกฎหมายจะได้กาหนดให้มี การกระจายอานาจใหโ้ รงเรียน เพือ่ ให้เกดิ ความคล่องตัวและความเป็นอิสระในการปรับกระบวนการและวิธีการ ให้เหมาะสมกับสภาพภูมิสังคม ความสามารถ และความถนัดของผู้เรียนแต่ละคน รวมทั้งเปิดโอกาสให้มี โรงเรียนของรัฐท่ีเป็นนิติบุคคล แตใ่ นความเป็นจริงการกระจายอานาจไม่เกิดขน้ึ จริง คงเป็นเพียงในลายลักษณ์ อักษรเท่านั้น โรงเรียนยังอยู่ใต้ข้อกาหนดท่ีเข้มงวด และคาสั่งท่ีลงไปยังโรงเรียนเป็นจานวนมาก ท้ังยังต้องทา รายงานถึงการทาตามข้อกาหนดและคาสั่งเหล่าน้ันด้วย การบริหารจัดการจึงใช้เวลาและกาลังของโรงเรียนไป มากในระบบการจัดการโรงเรียนท่ีเป็นนติ ิบุคคลเกิดขึ้นเพียงแห่งเดียวที่มีเป้าหมายพิเศษ โดยโรงเรียนช้นั แนว หน้าและมีขนาดใหญ่ เช่น โรงเรียนหลายแห่งในกรุงเทพมหานคร และโรงเรียนประจาจังหวัดต่าง ๆ น่าจะมี สัมฤทธิผลมากข้ึนได้ หากได้ความคล่องตัวมากขึ้น และสามารถใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่และหาได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพย่งิ ขนึ้ ระบบบริหารภายในโรงเรียนถูกกระทบด้วยสภาพการบริหารระบบอย่างที่กล่าวมา ทาให้ระบบ บริหารภายในโรงเรียนมีความอ่อนแอ โรงเรียนท่ีผู้บริหารดีและมีความสามารถอาจหาช่องทางในการปรับปรงุ ได้ และชว่ ยใหม้ กี ารพัฒนาคุณภาพได้ แต่หลายคนกก็ ลา่ วถึงความยากลาบากในการดาเนนิ การ หากผู้บรหิ ารเป็นผู้ที่ เคร่งครัดในการทาตามกฎ หรือขาดความเป็นผู้นา โรงเรียนก็พัฒนาได้อย่างยากลาบาก กระบวนการได้มาซ่ึง ผ้บู รหิ ารโรงเรียนกเ็ ป็นปัญหาทสี่ าคัญ ตามระเบียบราชการต้องมีการสอบ ๓ ขั้น โดยขนั้ แรกเป็นการสอบรวมและ เน้นระเบียบกฎเกณฑ์ของทางราชการ สว่ นข้นั ท่ี ๒ และ ๓ เน้นคณุ ลักษณะอื่นทจี่ าเป็น ซึ่งขึน้ กับผทู้ ีร่ ับผิดชอบใน การคดั เลือก อนั ประกอบดว้ ยการบริหารในระบบที่เหนือกว่าโรงเรียน จึงมคี วามเห็นอยู่มากว่าผู้บริหารโรงเรียนมี คุณลักษณะไม่ตรงกับความจาเป็นของโรงเรียนแต่ละแห่งน้ัน ทั้งการตัดสินใจจากส่วนกลาง และการอาศัย กฎเกณฑ์ท่ีรัดรงึ ได้ทาให้เกิดความลา่ ช้าในการตัดสนิ ในการเลือก และเกดิ ปัญหารอ้ งเรียนอยู่ไมน่ ้อย คณะกรรมการสถานศึกษาจานวนมากไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่ตามท่ีควร ซงึ่ อาจเกดิ จากกลไกการได้มา การปฏิบัติหน้าท่ี และความสัมพันธ์กับผู้บริหารและครูในโรงเรียน น่าจะเป็นท่ีคาดหวังได้ว่าคณะกรรมการ
๕๗ สถานศึกษาซ่ึงประกอบด้วย คนจากชุมชน และผู้มีส่วนได้เสียในผลการศึกษา เช่น พ่อแม่ผู้ปกครองของ นักเรียน น่าจะเป็นผู้ที่จะช่วยในการบริหารจัดการโรงเรียนได้มาก จึงจาเป็นต้องพิจารณาจัดการเก่ียวกับ คณะกรรมการสถานศกึ ษาใหเ้ หมาะสม ตามสภาพที่แตกต่างของโรงเรียน ครูและบุคลากรสนับสนุนการศึกษาเป็น ปัจจัยท่ีสาคัญอย่างมากในการพัฒนาคุณภาพของ โรงเรยี นจานวนไมน่ อ้ ยไดร้ บั โรงเรยี น โดยจะได้ยกไปกล่าวถงึ ในหัวข้อการปฏิรูปครู การดแู ลไมท่ ว่ั ถงึ โรงเรียนของรัฐส่วนใหญ่ต้องอาศัยความ ชว่ ยเหลือสนับสนนุ จากระบบบริหารท่ีอยู่เหนือโรงเรยี น ในการแกป้ ัญหาและในการพัฒนา โดยเฉพาะอย่างย่ิง โรงเรียนขนาดเล็กและโรงเรียนท่ีอยู่ห่างไกล หรือมีปัญหาในลักษณะพิเศษ ความช่วยเหลือเหล่านี้บางแห่งก็ ได้รับอย่างดีและสามารถแก้ปัญหาได้ แต่มีโรงเรียนจานวนไม่น้อยท่ีการดูแลไม่ทั่วถึง เช่น โรงเรียนท่ีอยู่ท่ี ห่างไกล และต้องอาศัยพลังงานแสงอาทิตย์ในการรับการเรียนการสอนทางโทรทัศน์ทางไกล แต่เกิดปัญหา ระบบพลังงานเสียเป็นเวลานับภาคการศึกษา จนไม่สามารถจัดการเรียนการสอนได้ หรือโรงเรียนท่ีได้รับ อุบตั ิภัยที่ไมไ่ ดร้ ับการชว่ ยเหลอื อยา่ งทันทว่ งที เป็นต้น หลักสูตร คู่มือครู และตัวชี้วัดผลการศึกษาเป็น ปัญหาสาหรับโรงเรียนขนาดเล็กเป็นอันมาก ซึ่งได้ให้ \"หลกั สตู รสถานศกึ ษา\" จงึ มอี ยู่ ความเห็นว่า หลักสูตรแกนกลางท่ีกาหนดเป็น ๘ กลุ่มสาระ ไมน่ อ้ ยทเ่ี ปน็ เพยี งวาทกรรม ในทุกช้ันเรียน ตั้งแต่ระดับประถมศึกษาตอนต้น ไปจนถึง มัธยมศึกษาตอนปลาย ท่ีมีข้อกาหนดโดยละเอียด นาไป ปฏิบัติได้ยากสาหรับช้ันต้น ๆ แม้จะมีบางส่วนของหลักสูตรท่ีให้โรงเรียนจัดเองได้ ร้อยละ ๒๐ สาหรับช้ัน ประถมศึกษา และมากกว่าน้ันในช้ันมัธยมศึกษา ตลอดจนให้โรงเรียนจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาท่ีวางให้ เหมาะสมกับสภาพภูมิสังคม และในระยะหลังมีคาสั่งใหส้ ามารถยืดหยุ่นได้ในความเป็นจริง โรงเรียนมีช่องทาง ในการสร้างความแตกต่างได้น้อย ซึ่งอาจเกิดจากข้อจากัดของโรงเรียนเอง หลักสูตรสถานศึกษาจึงมีอยู่ไม่น้อย เป็นเพียงวาทกรรม โรงเรียนอาศัยคัดลอกตามกัน จึงไม่สร้างความเหมาะสมของหลักสูตร ดังนั้นการเรียนการ สอนจงึ เน้นเนอื้ หาสาระและอาศัยการท่องจาตามท่ีมีในหนงั สือตารา ตั้งแต่ก่อน พ.ศ. ๒๕๔๓ หรือ ค.ศ. ๒๐๐๐ โลก ได้มีความเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนรู้ ที่ต้องปรับเป็นเชิงรุก คณะกรรมการสถานศกึ ษา (Active Learning) ทส่ี ร้างสมรรถนะและทกั ษะตา่ ง ๆ สาหรับ จานวนมากไมไ่ ดป้ ฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี คนในโลก ความต่ืนตัวในเรื่องน้ีในวงการการศึกษาไทยก็มีอยู่ ตามทคี่ วร ไม่น้อย และมีบางโรงเรียนท่ีได้ปรับไป แต่ข้อกาหนดการศึกษา ไทยยังเน้นหลักสูตรอย่างเดิมท่ีอยู่บนฐานเนื้อหาสาระ การสร้างสมรรถนะสาหรับศตวรรษท่ี ๒๑ เกิดข้ึนน้อย โรงเรียนส่วนใหญ่ยังอาศัยหนังสือตาราเรียนท่ีได้รับเงินอุดหนุนเพ่ือซ้ือให้นักเรียนใช้อยู่ การเรียนด้วยการ ท่องจาไม่กระตุ้นให้เกิดความอยากรู้ของนักเรียน การสอบที่กาหนดให้อยู่ภายในกรอบของหนังสือตารา เป็น
๕๘ เครอื่ งจากัดการเรยี นและปิดกั้นการสรา้ งความคิดและสตปิ ัญญา จึงมีผลสมั ฤทธ์ิทางการศึกษาต่า แม้ด้วยการสอบ ของไทยเอง และย่ิงต่ามากเม่ือเทียบกับมาตรฐานการศึกษาสากล โรงเรียนท่ีมีขนาดเลก็ หรืออยู่ห่างไกล และมี ศกั ยภาพจากัดจงึ ปรับตวั ไดย้ าก อันเปน็ ต้นเหตสุ าคญั ของความเหลือ่ มล้าในคุณภาพการศึกษา ในการปฏิรูปการศึกษาจงึ ต้องอาศัยการปรับกระบวนการการศึกษาให้ทันการเปล่ียนแปลงในโลก โดยปรับตามแนวโน้มในโลกท่ีการศึกษาในศตวรรษที่ ๒๑ ต้องปรับการเน้นเน้ือหาสาระ ซึ่งจะหาได้ง่ายใน ปัจจุบันและอนาคต ไปเป็นการศึกษาเพ่ือสร้างสมรรถนะที่จาเป็น ร่วมไปกับการใช้ความก้าวหน้าของ เทคโนโลยดี ิจทิ ลั เข้าไปชว่ ยในการศกึ ษา ให้สามารถสร้างสมรรถนะท่จี าเป็นได้ทั้งของนกั เรยี นเอง และของครู โรงเรียนขนาดเล็กเป็นปัญหาหนักของระบบประถมศึกษาในปัจจุบัน และจะเป็นปัญหามากขึ้น เพราะจานวนเด็กเกิดลดน้อยลง ทาให้โรงเรียนกลายเป็นขนาดเล็กเพ่ิมจานวนขึ้น ใน พ.ศ. ๒๕๖๑ มีโรงเรียน ขนาดเล็ก ซึ่งหมายถึง การมีนักเรียนน้อยกว่า ๑๒๐ คน อยู่ถึง ๑๕,๐๘๙ โรง หรือ ร้อยละ ๕๐.๑๑ ของ โรงเรียนทงั้ หมด ๓๐,๑๒๒ โรง มีเดก็ อยู่ในโรงเรียนขนาดเลก็ ประมาณ ๗ ลา้ นคน ผลสัมฤทธทิ์ างการศึกษาจาก โรงเรียนขนาดเลก็ ต่ากว่าโรงเรยี นขนาดท่ีใหญก่ ว่า ในการสอบโอเน็ตสาหรับชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ พบวา่ เดก็ จากโรงเรียนขนาดเล็กได้คะแนนต่ามากที่สุด โดยได้คะแนน ๓๘.๐๙, ๒๑.๔๗. ๒๓.๓๘, ๒๐.๖๙ และ ๒๖.๑๕ สาหรับวิช าภ าษาไทย สังคมศึกษา ภ าษาอังกฤ ษ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ตามลาดับ (คะแนนเฉล่ีย ระดับชาติ เท่ากับ ๔๗.๓๑, ๓๕.๑๖, ๓๑.๔๑, ๓๐.๗๒ และ การเรยี นดว้ ยการทอ่ งจาไมก่ ระตนุ้ ๓๐.๕๑ ในวิชาดังกล่าวตามลาดับ) ได้มีความพยายาม ใหเ้ กดิ ความอยากรขู้ องนกั เรยี น แก้ปัญหานี้มาเป็นเวลาหลายปี แต่กล่าวได้ว่ายังไม่ประสบ ความสาเร็จ ต้องมีมาตรการที่เหมาะสมกับสภาพที่แตกตา่ ง และเป็นมาตรการท่เี ป็นท่ยี อมรับของชมุ ชนและผ้ทู ี่เกยี่ วข้อง ๕. การบริหารจัดการเก่ียวกับครู มีกลไกที่ไม่เอ้ือให้ครูท่าการสอนได้ อย่างมคี ณุ ภาพ อาจกล่าวได้ว่า ครูเป็นปัจจัยท่ีจาเป็นในการสร้างคุณภาพการศึกษา จิตวิญญาณความเป็นครู เป็นคุณลักษณะท่ีสาคัญท่ีสุดของครู วัฒนธรรมไทยถือว่าครูเป็นผู้ที่ควรบูชาด้วยเปนบุพการี คือ เป็นผู้ให้การ อุปการะก่อนโดยไม่ยึดติดกบั ผลตอบแทน ครเู กดิ ปิติเมื่อศิษย์ได้เรยี นรู้และออกไปประสบความสาเร็จในการงาน และชีวิต ครูไทยโดยธรรมชาติยังมีคติอย่างน้ีอยู่ แต่สภาพแวดล้อมในสังคมโดยรอบท่ีเน้นวัตถุนิยม บริโภคนิยม การแข่งขันกัน และการยึดประโยชน์ส่วนตน ได้เข้าไปมีอิทธิพลต่อครู อย่างมิอาจหลีกเลี่ยงได้ กลไกทาง การเมืองท่ีขาดธรรมาภิบาลได้ผลกั ดันให้ระบบขยับไปในทิศตรงกันข้ามกับจติ วิญญาณความเป็นครูท่ีเป็นหลัก อยู่เดิม เปรียบได้กบั มีพายุแรกทมี่ ากระทบกระแทกครู การผลติ ครูเป็นส่วนทถ่ี กู กระทบอย่างแรง ผู้ทอ่ี ยากเปน็ ครดู ้วยความมุ่งมั่นที่จะเป็นครูท่ีดี ประสงค์ ท่จี ะทาประโยชน์มีอยู่มาก แต่กระบวนการคัดเลือกผ้เู ขา้ มาเรียนได้เนน้ ความสามารถและทักษะทางวชิ าการตาม
๕๙ แนวโน้มความสาคัญของเทคโนโลยีสมัยใหม่ และเมื่อเข้ารับ การศึกษาฝึกอบรมเป็นบัณฑิตครุศาสตร์ศึกษาศาสตร์ ใน ๑ ปกี ารศกึ ษา ทมี่ ีจา่ นวนวนั การศึกษาก็ให้ความสาคัญกับการสรา้ งความรแู้ ละสมรรถนะ เปิดเรียน ๒๐๐ วันนั้น ครตู อ้ งใช้ ของครู โดยเฉพาะอย่างยิ่งสมรรถนะในการสอนในวิชา เวลาทา่ กจิ กรรมภายนอกชั้นเรยี น เฉพาะต่าง ๆ ซึ่งได้ก้าวหน้าไปเป็นอันมาก แม้ว่าจะมีการ สอน และฝึกอบรมเก่ียวกับจรรยาบรรณและจิตวิญญาณ ที่ไม่ใช่การเรียนการสอนถงึ ๘๔ วัน ความเป็นครู แต่ก็ถูกเบียดบังด้วยเทคโนโลยีก้าวหน้าท่ีอาจ น่าสนใจกว่า การคัดเลือกนิสิตนักศึกษาโดยเน้นอุปนิสัยและเจตคติ พร้อมกับข้อตกลงท่ีจะทางานเป็นครูตาม ความจาเป็นของชาติ เป็นเวลานานพอสมควรอาจมีส่วนช่วย ปรับการรับผจู้ ะเรียนเป็นครไู ด้ แผนการผลิตครูของชาติก็มีปัญหา เพราะการ ผลิตไม่ตรงกับความจาเป็นในระบบการศึกษา ทาให้มีบัณฑิต ท่ีจบการศึกษาแล้วหางานไม่ได้ กลายเป็นคนว่างงานจานวน ีี มาก หรอื ตอ้ งทางานทีต่ ่ากวา่ ความสามารถของตน ในบรรดา สาขาวิชาที่เข้าเรียนส่วนใหญ่ก็เป็นสาขาเฉพาะทางย่อยของ การศึกษา ท่ีมีงานในระดับมัธยมศึกษา ที่อยู่ในเมืองมากกว่า ในท้องถิ่นห่างไกล ในขณะที่ปัญหาขาดแคลนครูในปัจจุบันมี ความรุนแรงสงู ในระดับประถมศึกษา โดยเฉพาะตามโรงเรียน ขนาดเล็กในท้องท่ีห่างไกล จึงปรากฏเป็นปัญหามีครูไม่ตรงกับสาขาวิชาท่ีครูได้รับการฝึกอบรมมา มหาวิทยาลัยที่ทาการผลิตครูมีเสรีภาพ และข้อจากัดทางการเงิน ที่ทาให้ต้องผลิตตามแผนงานของตน ซึ่งไม่ ตรงกบั ความจาเป็นของประเทศ การคัดกรองและบรรจุครู รวมท้ังการให้ การผลติ ครไู มต่ รงกบั ใบอนญุ าตประกอบวิชาชีพครูได้มีการปรับแกเ้ ป็นระยะ ๆ ท่ี ความจาเปน็ ในระบบการศกึ ษา มีการปรับเปล่ียนหลักสูตรด้วย จนเป็นปัญหาการใช้ครู และ มีครูจานวนหน่ึงต้องทาหน้าท่ีครู ในตาแหน่งครูอัตราจ้าง และครูจ้างเหมา ซง่ึ ไมม่ คี วามมนั่ คงและสวสั ดกิ ารของวิชาชพี การจัดระบบงานในโรงเรียนให้ครูได้ทาหน้าที่ของตนมีความสาคัญมาก ใน พ.ศ. ๒๕๕๗ สานักงาน ส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ได้ทาการสารวจการทางานของครู ๔๒๗ คน พบว่า ใน ๑ ปีการศึกษาท่ีมีจานวนวันเปิดเรียน ๒๐๐ วันนั้น ครูต้องใช้เวลาทากิจกรรมภายนอกชั้นเรียนท่ีไม่ใช่ การเรียนการสอนถึง ๘๔ วัน คิดเป็นร้อยละ ๔๒ ของเวลาท้ังหมด โดยกิจกรรมนอกชั้นเรียนที่ไม่ใช่การเรียน การสอนท่ีครูต้องใชเ้ วลามากที่สุด ได้แก่ การประเมินของหน่วยงานภายนอก (๔๓ วนั ) การแขง่ ขนั ทางวชิ าการ
๖๐ (๒๙ วัน) และการอบรมจากหน่วยงานภายนอก (๒๐ วัน) ทาให้ครูมีเวลาในการสอนจริงน้อยลงไปมาก ครจู านวนมากมีความเหน็ อยากให้คนื ครูใหก้ ับห้องเรียนและนักเรียน ผู้บริหารโรงเรียนก็ถูกดึงออกไปจากโรงเรียนเช่นเดียวกัน ด้วยการไปประชุมและการรับทราบ นโยบายและการส่ังการต่าง ๆ รวมท้ังการจัดทาเอกสารรายงานผลการดาเนินงาน ตลอดจนเอกสารเพ่ือ การเพิม่ วทิ ยฐานะของตน ทาให้กระทบต่องานในหนา้ ทใี่ นการบรหิ ารจัดการโรงเรยี นเพอ่ื เพิ่มคณุ ภาพ การพัฒนาครูและการสร้างความก้าวหน้าในวิชาชีพครูถูกกระทบจากพายุอย่างแรง วิทยฐานะ ของครูเป็นเคร่ืองมือสาคัญในการเป็นแรงขับเคล่ือนให้ครูได้มีความก้าวหน้า แต่กฎเกณฑ์และวิธีการไม่เอ้ือให้ การได้วิทยฐานะสูงขึ้นนั้น นาไปสู่การสร้างความสามารถที่พึงประสงค์ในงานระดับที่สูงขึ้น ตลอดจนการทา หน้าท่ีภายหลังการได้วิทยฐานะไปช่วยเหลือครูในโรงเรียน กฎเกณฑ์ และวธิ กี ารไมเ่ ออื้ ให้ แ ล ะ ท า ห น้ า ท่ี ส ร้ า ง น วั ต ก ร ร ม เ พ่ื อ ใ ห้ เ กิ ด คุ ณ ภ า พ ข อ ง การไดว้ ทิ ยฐานะสงู ขนึ้ นน้ั การศึกษา หากประสบการณ์และความรู้ความสามารถที่ พัฒนาขึ้นได้เข้าไปช่วยยกระดับหลักสูตรและการเรียนรู้ใน นาไปสกู่ ารสรา้ งความสามารถ โรงเรียนกจ็ ะเป็นประโยชน์ไดม้ าก ทพี่ งึ ประสงคใ์ นงานระดบั ท่ี ระบบการบริหารงานบุคคลของโรงเรียนจึงควร สงู ขนึ้ ได้รับการปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพและผลิตผลมากขึ้น การ สรา้ งคา่ นยิ มจิตวิญญาณความเป็นครู และปทสั ถานสงั คมทาง การศึกษาท่ีเน้นด้านนี้ ไม่น้อยกว่าความรู้ความสามารถทางวิชาการด้วยระบบและกลไกท่ีเหมาะสม จะช่วย ปรบั ระบบงานครูได้ ๖. การเรียนการสอน หลักสูตร และการประเมินผลสัมฤทธิ์ทาง การศกึ ษา ลา้ สมยั ไม่ทันโลก หลักสูตรการศึกษาฉบับแรกของไทย ที่เรียกว่า พิกัดสาหรับการศึกษา เกิดขึ้นเม่ือ พ.ศ. ๒๔๓๕ ประกอบด้วย ชั้นมูลศึกษาขั้นตา่ ช้ันมูลศึกษาขั้นสูง มัธยมศึกษา ช้ันกลางสามัญ และช้ันกลางสูง มุ่งให้ราษฎร ได้รบั ประโยชนเ์ ต็มท่ใี นการประกอบอาชีพ จน พ.ศ. ๒๔๕๖ จึงไดจ้ ัดเปน็ ประถมศึกษา สามญั และ วสิ ามัญ กบั มัธยมศึกษาตอนต้น ตอนกลาง และตอนปลาย มุ่งให้เห็นความสาคัญในความรู้ความสามารถในวิชาสามัญ จนถึงภายหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ จึงเกิดการศึกษาภาคบังคับ และมีแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๐๓ ขยายการศึกษาท้ังด้านปริมาณและคุณภาพ มีการปรับปรุงหลักสูตร จัดเป็นระบบ ๔, ๓, ๓, ๒ แล้วใน พ.ศ. ๒๕๒๑ ปรับเป็นระบบ ๖, ๓, ๓ มกี ารปรบั ปรงุ หลักสูตรวิชาตา่ งๆ เปน็ หลกั สูตรกลางทใ่ี ชท้ ั้งประเทศ ในการปฏิรูปหลักสูตรการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๔ เกิดข้ึนตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๓๒ กาหนดแนวทางในการจัดการศึกษาไว้ว่า การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคน มีความสามารถเรียนรูแ้ ละพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญท่ีสุด ฉะน้ัน ครู ผู้สอน และผู้จัดการ ศึกษาจะต้องเปล่ียนแปลงบทบาทจากการเป็นผู้ชี้นา ผู้ถ่ายทอดความรู้ ไปเป็นผู้ช่วยเหลือ ส่งเสริม และ
๖๑ สนับสนุนผู้เรียนในการแสวงหาความรู้จากสื่อและแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ และให้ข้อมูลท่ีถูกต้องแก่ผู้เรียน เพื่อนาข้อมูลเหล่านนั้ ไปใชส้ รา้ งสรรคค์ วามรู้ของตน มีการวางหลักสตู รการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานข้ึนใหม่ด้วยเหตุผล ท่ีว่าหลักสูตรเดิมมีจุดอ่อนในเร่ืองสาคัญ คือ การกาหนดหลักสูตรจากส่วนกลางไม่สามารถสะท้อนสภาพ ความต้องการที่แท้จริงของสถานศึกษาและท้องถิ่น การจัดหลักสูตรและการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยียังไม่สามารถผลักดันให้ประเทศไทยเป็นผู้นาด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโล ยี ในภูมิภาค จึงจาเป็นต้องปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนให้ คนไทยมีทักษะกระบวนการและเจตคติที่ดี ทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มีความคิดสร้างสรรค์ การนาหลักสูตรไปใช้ยังไม่สามารถสร้าง พื้นฐานในการคิดสร้างวิธีการเรียนรู้ให้คนไทยมีทักษะในการจัดการ และทักษะในการดาเนินชีวิต สามารถเผชิญ ปัญหาสังคมและเศรษฐกิจท่ีเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ การเรียนรภู้ าษาต่างประเทศยังไม่ สามารถท่ีจะทาให้ผู้เรียนใช้ภาษาต่างประเทศโดยเฉพาะภาษาอังกฤษในการติดต่อส่ือสารและการค้นคว้าหา ความรจู้ ากแหลง่ การเรยี นรู้ทมี่ ีอย่หู ลากหลายในยุคสารสนเทศ น อ ก จ า ก นี้ พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ก า ร ศึ ก ษ า แ ห่ ง ช า ติ ดังกล่าวได้กาหนดให้มีการจัดทาหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การจดั การศกึ ษาตอ้ งยดึ เพ่ือความเป็นไทย ความเป็นพลเมืองที่ดีของชาติ การดารงชีวิต หลกั วา่ ผเู้ รยี นทกุ คนมี และการประกอบอาชีพ ตลอดจนเพ่ือการศึกษาต่อและให้ ความสามารถเรยี นรแู้ ละ สถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานจัดทาสาระของหลักสูตร ในส่วนท่ี พฒั นาตนเองได้ และถอื วา่ เก่ียวข้องกับสภาพปัญหาในชุมชน และสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ผเู้ รยี นมคี วามสาคญั ทสี่ ดุ คุณลักษณะอันพึงประสงค์เพื่อเป็นสมาชิกท่ีดีของครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติและพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติดังกล่าวกาหนดให้มีการศึกษาภาคบังคับ จานวน 9 ปี จึงได้มีการประกาศใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๔๔ ข้ึน โดยได้กาหนดเป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระ และให้มีกลุ่มสาระเพ่ิมเติมได้ตามความเหมาะสมเป็นกลุ่มสาระท่ี ๙ ได้ กลุ่มสาระท่ีกาหนดน้ี จะตอ้ งเรียนตงั้ แตช่ ้ันประถมศึกษาปที ่ี ๑ ถงึ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๖ โดยกาหนดมาตรฐานการเรยี นร้ใู นแตล่ ะช่วง ช้ันให้เหมาะสม ซ่ึงกลุ่มสาระการเรียนรู้ท้ัง ๘ กลุ่มสาระ มีดังน้ี ๑) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยแบ่งเป็น ๕ สาระ ๕ มาตรฐานการเรียนรู้ ๒) กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ แบง่ เปน็ ๖ สาระ ๒๐ มาตรฐานการเรียนรู้ ๓) กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ แบ่งเป็น ๘ สาระ ๑๓ มาตรฐานการเรยี นรู้ ๔) กลมุ่ สาระการเรียนร้สู งั คม ศาสนาและวัฒนธรรม แบ่งเป็น ๕ สาระ ๑๑ มาตรฐานการเรียนรู้ ๕) กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพล ศึกษาแบ่งเป็น ๕ สาระ ๖ มาตรฐานการเรียนรู้ ๖) กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะแบ่งเป็น ๓ สาระ ๖ มาตรฐาน การเรียนรู้ ๗) การงานอาชีพและเทคโนโลยี แบ่งเป็น ๕ สาระ ๖ มาตรฐานการเรียนรู้ และ ๘) กลุ่มสาระการ เรียนรู้ภาษาต่างประเทศ แบ่งเป็น ๔ สาระ ๘ มาตรฐานการเรียนรู้ ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ซ่ึงแบ่งเป็น สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ตามที่หลักสูตรกาหนด และมีหลักสูตรแกนกลางกาหนดเนื้อหาให้ร้อยละ ๗๐ และให้สถานศกึ ษานาไปปรับใชต้ ามความเหมาะสมอีกร้อยละ ๓๐
๖๒ พ.ศ. ๒๕๕๑ ได้มีการปรับปรุงหลักสูตรใหม่อีกคร้ังหน่ึง โดยสาระสาคัญยังคงใกล้เคียงกับ หลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๔๔ ยังคงมีหลักสูตรแกนกลางและให้โรงเรียนจัดทาสาระของหลักสูตรเอง โดยมีกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเช่นเดิม แต่ได้เพ่ิมตัวช้ีวัดข้ึนมาเพ่ือการ จดั การเรยี นการสอนให้สนองตวั ช้วี ดั ท่กี าหนดครบทกุ ตวั ชว้ี ดั จากการวิจัยและติดตามประเมินผล หลกั การทกี่ าหนดไวส้ าหรบั หลกั สตู ร การใช้หลักสูตรในช่วงระยะ ๖ ปีที่ผ่านมา พบว่า การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน หลักสูตรดังกล่าวมีข้อดีหลายประการ เช่น ส่งเสริม การกระจายอานาจทางการศึกษา ทาให้ท้องถ่ินและ ไดค้ รอบคลมุ เจตนารมณ์ สถานศึกษามีส่วนร่วมและมีบทบาทพัฒนาหลักสูตร ตามความจาเปน็ ไวเ้ ปน็ อยา่ งดี ให้สอดคล้องกับความต้องการของท้องถ่ิน มีแนวคิด และหลักการส่งเสริมพัฒนาผู้เรียนแบบองค์รวม อย่างแท้จริง สาหรับสื่อการเรียนรู้ได้มีข้อกาหนดให้ ส่ือที่ผู้เรียนและผู้สอนใช้ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง ผู้เรียน ผู้สอนสามารถจัดทาและพัฒนาส่ือการ เรยี นร้ขู ึน้ เองหรอื นาสื่อตา่ ง ๆ ทมี่ อี ยูร่ อบตัว และในระบบสารสนเทศมาใช้ในการเรียนรู้ โดยใช้วิจารณญาณใน การเลือกใชส้ ่อื และแหลง่ ความรู้ โดยเฉพาะหนังสือเรยี น ควรมเี นื้อหาสาระครอบคลุมตลอดชว่ งช้นั สอื่ ส่ิงพิมพ์ ควรจัดให้มีอย่างเพียงพอ ท้ังนี้ ควรให้ผู้เรียนสามารถยืมได้จากศูนย์ส่ือหรือห้องสมุดของสถานศึกษา จากน้ัน จึงมีการแต่ง ปรับปรุง และจัดพิมพ์ หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พ้ืนฐานข้ึน บนฐานของหลักสูตรแกนกลาง เช่น กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย มีหนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน ช้ันประถมศึกษา ๑๒ เล่ม และช้ัน มธั ยมศึกษา ๑๒ เล่ม แตล่ ะเล่มกาหนดสาหรบั ชว่ งชัน้ ภาคเรยี น และชน้ั เรียน เปน็ ตน้ จะเห็นได้ว่า หลักการที่กาหนดไว้สาหรับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๔๔ และแก้ไข เพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๕๑ ได้ครอบคลุมเจตนารมณ์ตามความจาเป็นไว้เป็นอย่างดี อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติ มี โรงเรยี นขนาดใหญ่บางแห่งทีม่ ีบุคลากรเพียงพอ สามารถสรา้ งหลกั สตู รสถานศึกษาของตนเอง ตามทกี่ ฏเกณฑ์ ไดเ้ ปิดช่องใหไ้ ว้ แตส่ าหรับโรงเรยี นขนาดเลก็ และขนาดกลางทม่ี ีคนจากดั ไมม่ ีความสามารถท่ีจะจัดทาหลักสูตร ของตนเองได้ คงอาศัยการลอกตามกัน และไม่เกิดสภาพความเหมาะสมกับท้องถ่ิน ย่ิงสาหรับช้ันประถมศึกษา ตอนต้นดว้ ยแลว้ การจัดการเรียนการสอนตามโครงสร้าง ๘ กลุม่ สาระ ทีม่ ขี ้อกาหนดโดยละเอียด และมหี นงั สือ เรียนกากับอยู่ ความคล่องตัวจึงหายไป ทาให้ต้องจัดการเรียนการสอนตามที่ปรากฏในหนังสือเรียน และต้อง ใชก้ ารท่องจาเน้อื หาสาระเปน็ หลกั
๖๓ สาหรับวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ เทคโนโลยีนั้น ประเทศไทยได้เห็นความสาคัญและจัดต้ัง พฒั นาการทางการศกึ ษา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในโลกทเ่ี นน้ การเรยี นรบู้ นฐาน (สสวท.) ขึ้นต้ังแต่ พ.ศ. ๒๕๑๕ แต่ต้องอยู่ในกรอบของ สมรรถนะ และใชว้ ธิ กี ารเรยี นรู้ หลักสตู รแกนกลาง เชงิ รกุ หรอื การเรยี นรู้ แม้จะมีการปรับปรุงหนังสือเรียนเป็นระยะ ๆ ด้วยตนเอง เรยี นรู้วธิ กี ารเรยี นรู้ แต่ส่วนใหญ่จะไม่ได้ปรับให้ก้าวหน้าตามการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนการสรา้ ง ขององค์ความร้ใู นโลก หลักสูตรการศึกษาของไทยจึงล้าสมัย วจิ ารณญาณ และความคดิ ในการส่งนักเรียนไทยไปแข่งขันโอลิมปิควิชาการระหว่าง ประเทศ จึงปรากฏว่านักรียนไทยในระยะแรกไม่สามารถ รเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ แข่งขนั ได้ จนมกี ารจัดหลักสูตรและตาราเฉพาะเรื่องขึ้นใหม่ ตามมาตรฐานสากล และมีการจดั ค่ายอบรม นักเรยี นไทยจึง สามารถแข่งขันชนะได้ ในการสอบโอเน็ต ท่ีเป็นการสอบวัดความรู้ตามหลกั สูตรของไทย ผลการสอบก็ปรากฏ ว่าค่าเฉลี่ยท้ังประเทศอยู่ในเกณฑ์ต่า ย่ิงเมื่อเข้าร่วมสอบกับโครงการต่าง ๆ ท่ีจัดในระดับนานาชาติ ปรากฏวา่ เด็กไทยจานวนมากมีผลการสอบต่าอย่างมาก คงมีนักเรียนจากบางโรงเรียนเท่าน้ันท่ีสามารถทาคะแนนดีได้ การทีเ่ ป็นดังน้ี สว่ นหนึง่ เกดิ จากการเรียนรู้ของเด็กไทยอาศัยการท่องจาตามหลักสูตรที่แคบ แต่การศึกษาท่ัวโลกใน ปจั จุบนั จะเนน้ การมีสมรรถนะต่าง ๆ ทจี่ าเปน็ ตอ้ งเกิดขึ้นในการศึกษา เพ่ือเตรียมกาลงั คนสาหรับโลกอนาคต ทักษะของคนในศตวรรษที่ ๒๑ จึงเป็นส่ิงทีจ่ าเปน็ สาหรับผทู้ ีจ่ ะมชี วี ิตในโลกปัจจุบันและอนาคต พัฒนาการทางการศึกษาในโลกท่ีเน้นการเรียนรู้บนฐานสมรรถนะ และใช้วิธีการเรียนรู้เชิงรุก หรือการเรียนรู้ด้วยตนเอง เรียนรู้วิธีการเรียนรู้ ตลอดจนการสร้างวิจารณญาณ และความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มากกว่าการท่องจา ท้ังยังต้องมีความหลากหลายปรับให้ตรงกับความถนัด และความประสงค์ของผู้เรียน จึงจาเป็นต้องปรับหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ และการประเมินผลของการศึกษาของไทยอย่างเร่งด่วน ให้ทนั การเปล่ียนแปลงในโลก และมกี ารพัฒนาครแู ละผู้ทเ่ี ก่ยี วข้องให้สามารถปรับเปลี่ยนด้วย เป้าหมายของการศึกษาไทยตามท่ีกาหนดไว้ในรัฐธรรมณูญ ครอบคลุมกว้างขวาง ทั้งคุณธรรม จริยธรรม ความเป็นพลเมืองดีที่ภูมิใจในชาติ สามารถสร้างความเชี่ยวชาญได้ตามความถนัดของตน และ มีความรับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ รวมทั้งมีคุณภาพและได้มาตรฐานสากล ความสามารถทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีดิจิทัล ทักษะการใช้ข้อมูล การส่ือสาร และการออกแบบนวัตกรรม รวมทั้งการนาความรู้และทักษะไปใช้ประโยชน์ จึงต้องพัฒนาให้ทัน การเปลี่ยนแปลงในโลก ขณะเดียวกันต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และความดี งามของความเปน็ ไทย
๖๔ ๗. การศึกษาของไทยยังไม่ได้ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลอย่าง เต็มที่ พัฒนาการด้านดิจิทัลได้มีอิทธิพลท่ีรุนแรงต่อระบบงานต่างๆ ของโลก กิจการและแรงงานของ ทรัพยากรบุคคลหลายอย่างจะถูกแทนท่ีด้วยความก้าวหน้าทางดิจิทัลเทคโนโลยี ในขณะเดียวกันเทคโนโลยี ดิจิทัลได้เป็นโอกาสในการพัฒนาและแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างดี สามารถเอาชนะข้อจากัดด้านระยะทางและ เวลาได้ การศึกษาของไทยยงั ปรบั ใชโ้ อกาสจากการเปล่ียนแปลงดงั กลา่ วไดน้ ้อย โ อ ก า ส ท่ี เ กิ ด ข้ึ น จ า ก เ ท ค โ น โ ล ยี ดิ จิ ทั ล จ ะ เ ป็ น ประโยชน์ในการปฏิรูปการศึกษาของไทยได้หลายอย่างคุณภาพ คณุ ภาพการศกึ ษาและ การศกึ ษาและความเหล่ือมล้าทางการศึกษามีสาเหตสุ ่วนหนึ่งจาก ความเหลอ่ื มลาทาง การจากัดความรู้อยู่ท่ีหนังสือตาราเรียน โดยการขาดสื่อที่มี การศกึ ษามสี าเหตสุ ว่ นหนงึ่ คุณภาพและต้องใช้ประกอบเพื่อขยายความรู้ความคิด ท้ังด้วย จากการจากัดความรอู้ ยทู่ ่ี ตนเอง ศึกษาเป็นกลุ่ม หรือศึกษาร่วมกับครู เทคโนโลยีดิจิทัล หนงั สอื ตาราเรยี น ช่วยให้สามารถข้ามข้อจากัดด้านระยะทางและเวลา อันเป็น โดยการขาดสอื่ ทมี่ คี ณุ ภาพ การสร้างพลังและโอกาสสาหรับนักเรียนในการยกระดับ และตอ้ งใชป้ ระกอบเพอ่ื ขยาย คุณภาพการศึกษา เทคโนโลยีดิจิทัลยังช่วยในการพัฒนาครู การฝกึ อบรมและเพิ่มสมรรถนะของครูกระทาได้ โดยไมต่ ้องให้ ความรคู้ วามคิด ครูต้องท้ิงนักเรียนและโรงเรยี น นอกจากน้ันอาจเกิดชุมชนเพอื่ การเรยี นรรู้ ะหว่างครูในโรงเรยี น หรือข้ามโรงเรยี นด้วยแพลตฟอร์มดิจทิ ลั แม้แต่แพลตฟอร์มระหว่างนกั เรียนก็ เกิดข้ึนได้ การใช้ปัญญาประดิษฐ์ก็จะพลิกโฉมการจัดการศึกษา ในการยกระดับคุณภาพ ลดความเหลื่อมล้า และสร้างความสามารถในการเพ่ือเร่งรัดพัฒนาการศึกษาให้ได้มาตรฐานสากลและสามารถแข่งขันได้ อันจะ เสริมความสามารถในการแข่งขันของชาติตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ ในการศึกษาทุกระดับ ทุกรูปแบบ ตลอด ชีวิต ประชาชนก็เกิดสมรรถนะท่ีจาเป็นสาหรับการงานและชีวิตในอนาคตได้ พ่อแม่ ผู้ปกครอง ตลอดจนปู่ย่า ตายายท่ดี ูแลเด็ก อาจไดร้ บั ข้อมลู และการศกึ ษาใหส้ ามารถรว่ มในการดแู ล และแกป้ ัญหาให้เกิดได้ ในการนจี้ าเปน็ ต้องอาศัยโครงสรา้ งพืน้ ฐานด้านดจิ ิทัล ท้ังท่สี ่งผา่ นทางอากาศ ทผี่ า่ นสายพลังสูงท่ี กระจายไปทัว่ ทุกท้องถ่นิ และด้วยเครอ่ื งมอื ท่ีมสี มรรถนะในการเก็บ คน้ หาและนาความรู้ไปใช้ได้ดว้ ยในการนา สอื่ และกจิ กรรมไปยงั ผ้เู รียนและสถานศึกษา เด็กและเยาวชนที่อยู่ในระบบการศึกษาในปัจจุบัน นับได้ว่าเป็นผู้อยู่ใน Generation Z ซ่ึงมี ความสามารถ ความถนัด และวิธีคิดที่แตกต่างไปจากคนรุ่นเก่า ที่กา ลังเป็นผู้สอนและผู้บริหารอยู่ ความพยายามท่ีจะปรับทัศนคติและสมรรถนะของผู้ที่รับผิดชอบเหล่านี้ให้สามารถใช้ประโยชน์และปรับตนสู่ การเปลย่ี นแปลงยงั เกดิ ข้ึนน้อย
๖๕ ๘. การอาชีวศึกษาของไทยไม่ตรงกับความต้องการของ ตลาดแรงงานทัง้ ในด้านทักษะ และสาขาวชิ า การอาชีวศกึ ษาของไทยเป็นปัญหาท่ีค้างคามาเปน็ เวลาหลายสิบปี และไดม้ ีความพยายามปรับแก้ อยู่หลายระยะ แต่ยังไม่เป็นผล ค่านิยมและภาพลักษณ์ของอาชีวศึกษาในสายตาสังคมค่อนไปทางลบ ในขณะที่ โลกกาลังเปล่ียนไป และการศึกษาก็ผันแปรไปเป็นอันมาก การศึกษาเพ่ือสะสมทฤษฎีความรู้ท่ีเป็นฐานของ การศึกษาอยู่เดิม ได้เป็นที่ตระหนักว่าไม่เพียงพอ จาเป็นต้องมีการศึกษาในทางปฏิบัติท่ีสาคัญพอๆ กัน ประกอบด้วย ทรพั ยากรบคุ คลทีเ่ ปน็ กาลงั ของชาติตอ้ งมีผู้ท่มี ีทักษะและฝีมือในการงานต่างๆ การศกึ ษาท่ไี ด้ผล ผลติ ท่ีไม่สามารถทางานในหน้าท่ีของตนไดน้ ้นั นับเป็นการศกึ ษาทีไ่ มต่ รงเปา้ และไม่บรรลผุ ล การศึกษาในสมยั ใหม่จงึ ตอ้ งมกี ารฝึกภาคปฏบิ ัติในทุกระดับ ต้ังแต่ระดบั ตน้ ๆ ไปจนถึงอุดมศึกษา ตลอดจนการศึกษาตลอดชีวิต การจัดการศึกษาบางส่วนในสถานประกอบการสาหรับงานท่ีเตรียมไปทาจึงเป็น สงิ่ ที่หลกี เลย่ี งไมไ่ ด้ ความจริงข้อนี้ มีความสาคัญมากเป็นพิเศษสาหรับ อาชีวศึกษาซึ่งเป็นการเตรียมผู้เรียนสาหรับการประกอบอาชีพ การศกึ ษาเพอื่ สะสมทฤษฎี และโดยที่อาชีพมีหลากหลายและต้องปรับเปลี่ยนตามความ ความรู้ ทเ่ี ปน็ ฐานของ เจริญอยู่เป็นนิจ การศึกษาด้านอาชีวศึกษาจึงจาเป็นต้องมีทั้ง ทักษะและฝีมือในการทางานได้เลย และสมรรถนะในการ การศกึ ษาอยเู่ ดิม ไดเ้ ปน็ ที่ ปรับเปลี่ยน ในโลกปัจจุบันนี้งานบางอย่างจะถูกทดแทนด้วย ตระหนกั วา่ ไมเ่ พยี งพอ ปัญญาประดิษฐ์ และจะมีงานใหม่เกิดข้ึนเสมอ สถาน จาเปน็ ตอ้ งมกี ารศกึ ษา ประกอบการจาเป็นต้องปรับตัวให้ทันการเพ่ือความอยู่รอด แต่ ในทางปฏบิ ตั ิ ทส่ี าคญั พอๆ สถานศึกษาอยู่ในสภาพที่ปรับเปล่ียนได้ช้ากว่า ความร่วมมือกับ ของทั้งสองฝ่ายจึงเป็นส่ิงที่จาเป็น ขณะน้ีมีสถานประกอบการ กนั ประกอบดว้ ย หลายแหง่ ตอ้ งให้การฝึกอบรมเพ่ิมเตมิ เพื่อให้ทางานได้ หรือต้อง การศกึ ษาดา้ นอาชวี ศกึ ษา เ ปิ ด ส ถ า น ศึ ก ษ า ข อ ง ต น เ อ ง เ พ่ื อ ส ร้ า ง ก า ลั ง ค น ที่ ต้ อ ง ก า ร จงึ จาเปน็ ตอ้ งมที งั ทกั ษะและ ฝมี อื ในการทางานไดเ้ ลย อุตสาหกรรมจากต่างประเทศท่ีเข้ามาประกอบธุรกิจในประเทศ ไทยมกั มีปัญหาการขาดแคลนกาลังคนในระดบั ทีต่ ้องการ ระบบการกากับดูแลและสนับสนุนการอาชีวศึกษา ซ่ึงอยู่ในภาครัฐมีการปรับเปล่ียนช้า และใน บางส่วนใช้ระบบอานาจตามแนวของราชการเดิม ทา ให้เป็นปัญหาของการจัดการอาชีวศึ กษา การสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศให้เป็นประเทศไทย ๔.๐ จาเป็นต้องแก้ปัญหา การอาชีวศึกษาให้ได้
๖๖ ๙. การอุดมศึกษาของไทยจ่าเป็นตอ้ งได้รับการปฏิรูป พัฒนาการของอุดมศึกษาไทยในระยะ ผลผลติ ทกุ ดา้ นของมหาวทิ ยาลยั ๑๐๐ ปี ท่ี ผ่ านมาได้ เกิ ดผลสั มฤ ทธ์ิ ไ ม่ น้ อ ย ยงั สนองความจาเปน็ ของประเทศได้ มหาวิทยาลัยไทยได้รับการยอมรับนับถือในวงการ นานาชาติ และได้สนองความจาเป็นของประเทศ ไมเ่ ตม็ ท่ี รวมท้ังมีการปรับเปล่ียนเป็นระยะๆ ระบบอุดมศึกษา ในการประเมนิ จดั อนั ดับ ไทยได้ขยายเต็มท่ี ได้เพ่ิมจานวนสถาบันอุดมศึกษา มหาวทิ ยาลยั ในระดบั โลก และระดบั และท่ีเรียนมากเพียงพอ จนถือได้ว่า การครอบคลุม ภมู ภิ าค มหาวทิ ยาลยั ไทยไมส่ ามารถ ประชากร (Massification of Higher Education) ไ ด้ ส า เ ร็ จ ลุ ล่ ว ง แ ล้ ว มี ก า ร ก ร ะ จ า ย ข อ ง แขง่ ขนั ไดใ้ นโลก สถาบันอุดมศึกษาไปครอบคลุมทั่วประเทศและมี ทางเลือกที่หลากหลาย ทั้งในเชิงสาขาวิชา ระดับการศึกษา สถาบันภาครัฐและเอกชน และกระบวนวิธี การศึกษา ส่วนการวิจัยได้เป็นบทบาทหน้าที่มหาวิทยาลัย และเป็นตัวช้ีวัดผลงานทางวิชาการ สถาบันอุดมศึกษายังมีบทบาทให้บริการทางวิชาการแก่สังคม และทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ระบบ บริหารมหาวิทยาลัยก็ได้รับการพัฒนา มีผู้บริหารมหาวทิ ยาลัย ซึ่งได้แก่ อธิการบดี และผู้บริหารระดับรองลง ไปเป็นผู้รับผิดชอบ และมีสภามหาวิทยาลัยเป็นองค์คณะบุคคล รับผิดชอบในระดับนโยบายของสถาบัน และ กากับดแู ลกจิ การ เพือ่ ใหม้ ีเสรภี าพทางวิชาการและความเป็นอสิ ระในการบรหิ ารงาน อย่างไรก็ตามอุดมศึกษาไทยก็ยังมีปัญหาอยู่มาก ความเป็นอิสระของมหาวิทยาลัยช่วยให้เกิด ความก้าวหน้าทางวิชาการ แต่ยังด้อยในด้านความรับผิดชอบต่อสังคม ผลผลิตทุกด้านของมหาวิทยาลัย ยังสนองความจาเป็นของประเทศได้ไม่เต็มที่ ในการประเมินจัดอันดับมหาวิทยาลัยในระดับโลก และระดับ ภูมภิ าค มหาวิทยาลัยไทยไมส่ ามารถแข่งขนั ได้ในโลก ตามตวั ชี้วดั ของการจัดอันดบั ส้มู หาวทิ ยาลยั ของสงิ คโปร์ ญ่ีปุ่น จีน และเกาหลีไม่ได้ และในระยะหลังมีแนวโน้มที่มหาวิทยาลัยจะถดถอยลงด้วย โดยถูกแซงจาก มหาวทิ ยาลยั ใหม่ ๆ ในหลายประเทศ เช่น มาเลเซยี ฮ่องกง และไตห้ วนั นโยบายอุดมศึกษาของไทยไม่ชัดเจน ไม่มั่นคง และปรับไม่ทันกับการเปลี่ยนแปลงในโลก ทาให้ ความสามารถในการแข่งขันของชาติด้อยลงไปดว้ ย การขบั เคลอื่ นประเทศไทยไปสู่ประเทศ ๔.๐ ยงั ตดิ กับดักท่ี อดุ มศกึ ษา มหาวิทยาลัยจานวนหน่ึงมีหน้าที่ทาการวิจัยท่ีควรเป็นชั้นแนวหน้าของศาสตร์ของโลก เพ่ือยกระดับประเทศให้อยู่ในกล่มุ ท่ีก้าวหนา้ แขง่ ขนั ได้ในอนาคต แตผ่ ลงานวิจยั ของไทย และการจดสิทธิบัตร ยังอยู่ในระดับต่า นวัตกรรมที่ลึกซ้ึงและก้าวกระโดด จาเป็นต้องอาศัยวิชาการขั้นลึกซ้ึงและพื้นฐาน ประกอบ กับวิสัยทัศน์ท่ีครบวงจรของการวิจัย และบุกเบิกเพื่อให้เป็นผลใช้ประโยชน์ได้จริง การปรับนวัตกรรมไปสู่ ผลผลิตท้ังที่เป็นกายภาพ หรือเป็นกระบวนการ ที่มีการจัดการเชิงธุรกิจยังมีอยู่น้อยมาก มหาวิทยาลัยจานวน หนงึ่ อาจมุง่ ทาการวจิ ัยเพ่ือแก้ปัญหาของประเทศ และเพือ่ การพัฒนาท้องถ่ินท่มี ีความหลากหลายและลักษณะ
๖๗ จาเพาะยังมีอย่างจากัด บทบาทการให้บริการทางวิชาการแก่สังคมที่มักเป็นแนวตั้งรบั อยู่แต่เดิม ต้องปรับเป็น เชิงรุก ที่นาความรู้และศักยภาพท่ีมีอยู่ออกไปช่วยขับเคลื่อนการปฏิรูปเศรษฐกิจและสังคมในการศึกษา ตลอดชวี ิต โดยเป็นห้นุ ส่วนในการพัฒนาประเทศ และชุมชน สังคมไทยมีปญั หาความเหล่ือมล้าอยู่มาก ขาดความเสมอภาคในด้านต่าง ๆ ทาให้เกิดความไมย่ ตุ ิธรรม ในสังคม อันเป็นผลรบกวนความสุขสงบสันติ และความมั่นคง ในฐานะที่เป็นสมองของชาติ มหาวิทยาลัยต้อง ใช้ศักยภาพของตนช่วยในการแก้ปญั หามากกว่าในปัจจุบัน การบริหารกลางของระบบอุดมศึกษาขาดประสิทธิภาพ ขาดแผนทรัพยากรมนุษย์ท่ีใช้การได้ แม้ว่าจะมีการปรับการบริหารระบบมาเป็นระยะ ๆ ระบบอุดมศึกษาโดยรวมยังต้องได้รับการแก้ไข ย่ิงในกรณี ของอดุ มศกึ ษา ๔.๐ แล้ว ต้องมีการปรบั แก้ระบบในหลายดา้ น จะเห็นได้ว่าการศึกษาของไทยทุกด้าน มีต้นตอของปัญหาที่รุนแรง ลึกซึงหลาก หลาย ซับซ้อนและฝังลึกอย่างมากจนอาจกล่าวได้ว่า มาตรการในการแก้ไขหรือปฏิรูปเกือบจะ เปน็ ไปไมไ่ ด้ (Mission Impossible) จากการศกึ ษาข้อมูลขอ้ คดิ เหน็ ข้อเสนอแนะและสภาพความเป็นจริงในท่ีต่างๆ แล้ว คงจะเหน็ แสงสว่างทป่ี ลายอโุ มงคอ์ ยู่บ้าง หากทุกภาคสว่ นของสังคมตนื่ ขนึ และตระหนักใน ปญั หาและร่วมกันแกไ้ ขตลอดจนเห็นประโยชนส์ ่วนรวมเปน็ ทีต่ ังก็จะเปน็ ไปได้
๖๘ ตอนที่ ๓ แนวทางในการปฏริ ปู การศกึ ษาไทย
๖๙ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยแสดงถึงเจตนารมณ์และหลักการ อย่างแจ่มชัดท่ีจะให้เกิด การแกไ้ ขขนานใหญ่หรือการปฏิรปู การศึกษาไทย รฐั บาลก็มีความมงุ่ มน่ั ในการปฏิรปู การศึกษา ประชาชนท่ีให้ ความเห็นในช่องทางต่างๆ ได้ตั้งความหวังไว้กับการปฏิรูปการศึกษา ดังนั้นขณะนี้มีความมุ่งม่ันทางการเมือง (Political Will) อยา่ งชดั เจน Political Will รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย นโยบายของรฐั บาล ความคาดหวงั ของสงั คม า ในการศึกษาจากสภาพความเป็นจริงในท่ีต่างๆ ท่ัวประเทศ พบโรงเรียนและนักเรียนที่สามารถ ปรับตัวและสร้างกิจกรรมใหเ้ กิดคุณภาพได้ ตลอดจนมโี รงเรยี นและบคุ ลากรทางการศกึ ษาและจิตอาสาจานวน ไม่น้อยที่มุ่งมั่นต่อสู้กับข้อจากัดและความยากลาบากจนเป็นผลสาเร็จ และมีชุมชนและภาคเอกชนเข้าไป ช่วยเหลือ โดยมีตัวอย่างโรงเรียนจานวนไม่น้อยท่ีมีนวัตกรรมจนสามารถบรรลุผล สร้างนักเรียนที่มีความรู้ ความสามารถและแข่งขนั ได้ ประกอบกับในโลกขณะนีเ้ ปน็ ระยะของการเปล่ยี นแปลงขนานใหญ่อันจาเป็นต้อง ปรับระบบการศึกษา เม่ือเข้าสู่ศตวรรษใหม่ ค.ศ. ๒๐๐๐ องค์การสหประชาชาติได้กาหนดให้ประเทศต่างๆ ท่ัวโลกร่วมกันพัฒนาโดยมีเป้าหมาย Millennium Development Goals (MDG) ซ่ึงการยกระดับการศึกษา เป็นเป้าหมายหน่ึง เม่ือครบกาหนด ๑๕ ปีที่ตั้งไว้เดิมคือ ค.ศ. ๒๐๑๕ ปรากฏว่ายังไม่บรรลุผลตามท่ีตั้งไว้ได้ อย่างเต็มท่ีและมีปัญหาใหม่เกิดขึ้น จึงจัดทา Sustainable Development Goals (SDG) ที่ขยายเพิ่มเป้าข้ึน การปฏริ ูปการศกึ ษาปรากฏเดน่ ชดั ขนึ้ อกี โลกได้เข้าสู่ยุคปฏิวัติดิจิทัลเป็น S Curve ท่ีสองหลังจาก Knowledge Explosion เมื่อ ๖๐ ปี กอ่ นการศึกษาจึงต้องปรับเปลยี่ นอยา่ งมาก เน้อื หาสาระทางวชิ าการได้รวมกันอยู่และหาได้ง่าย ถา้ สามารถเข้า ไปหาและรู้วิธีที่ใช้สืบค้นโดยที่เน้ือหาทางวิชาการจะอยู่ในภาษาอังกฤษเป็นหลัก ความสามารถทาง ภาษาอังกฤษจึงเป็นสมรรถนะท่ีจาเป็น ยิ่งต้องการเข้าไปสืบค้นให้ลึกกว่าที่ได้มีผู้จัดทาไว้เป็นภาษาไทย ความสามารถทางภาษาอังกฤษก็ย่ิงจาเป็นมากขึ้น เป้าหมายของการศึกษาจึงปรับจากการสะสมเนื้อหาสาระ ไปเปน็ การสร้างสมรรถนะ ทง้ั สมรรถนะทางภาษาในการส่ือสาร ในการสืบค้นและการมีวิจารณญาณท่จี ะเลือก เชอ่ื และสมรรถนะในการใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เนต็
๗๐ โลกไดเ้ ขา้ สยู่ คุ ปฏวิ ตั ดิ จิ ทิ ลั เปน็ S Curve ทสี่ อง หลงั จาก Knowledge Explosion เมอ่ื ๖๐ ปกี อ่ น ี ี Digital revolution Tacit knowledge Technologies 1960 Knowledge explosion อีกด้านหน่ึงของการเปล่ียนแปลงในปัจจุบันคือ การปฏิวัติดิจิทัล (digital revolution) ซ่ึงเป็น การเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์จนมีคนเรียกว่าเป็นการปฏิวัติอีกครั้งหนึ่งของ มนษุ ยชาติ กระบวนการดิจทิ ัลไดท้ าใหเ้ กิดความสามารถทจี่ ะข้ามระยะทางและเวลาได้ ความรแู้ ละขอ้ มลู ตา่ งๆ
๗๑ Digital revolution Tacit knowledge Technologies 1960 Knowledge explosion สามารถไปถึงท่ีต่างๆ ได้โดยเร็ว ส่ิงที่เกิดในส่วนหน่ึงของโลกสามารถรับรู้ได้ท่ัวโลกในเวลาเดียวกัน ความรู้ สามารถนาไปสู่ท้องถิ่นห่างไกล ได้ทาให้เป็นโอกาสใหม่ของผู้คนทุกภูมิศาสตร์ท่ีหลากหลาย ยุคดิจิทัลยังทาให้ วิธคี ดิ และพฤติกรรมของมนุษย์เปลย่ี นไปดว้ ย ผ้ทู เี่ กิดหลงั จากปี ค.ศ. ๑๙๙๕ ซงึ่ เป็นปที ่คี อมพวิ เตอรส์ ่วนบุคคล ได้กระจายออกไปกว้างขวางจึงได้รับการขนานช่ือว่าเป็นรุ่น Z หรือรุ่น i (Generation Z, Generation i) คนรุ่นน้ีจะถนัดที่จะเรียนรู้จากสื่อผสมที่มีทั้งตัวอักษรภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว แสง เสียง และการแสดง อารมณ์ไปพร้อมกัน แทนท่ีจะเป็นการเรียนรู้จากหนังสือตารา หรือบทเรียน คนรุ่นก่อนนั้นเรียนรู้จากหนังสอื ซึ่งสามารถเลือกบทท่ีต้องการหรือค้นต่อไปได้แตด่ ้วยความยากลาบาก ต่างจากคนรุ่น Z ที่มีทางเลือกมากมาย บนจอท่ีเลอื กค้นต่อไปไดโ้ ดยสะดวก สภาพดังกล่าวนี้มผี ลอย่างมากสาหรับการเตรียมคนสาหรับการมชี ีวิตและ งานอาชพี ในโลกอนาคต คนในรนุ่ กอ่ นๆ ซึ่งกาลงั ทางานอยูห่ รือเปน็ ผู้บริหาร หรือแมแ้ ต่ผู้สูงอายุก็ไดร้ ับผลจาก การเปล่ียนแปลงนี้ด้วย หากสามารถปรับและสร้างสมรรถนะและวิธีคิดได้ทันก็จะได้ประโยชน์ ดิจิทัล แพลตฟอรม์ เพ่ือการเรียนรูจ้ ึงเปน็ กลไกท่สี าคญั ในการจดั การศึกษาทั้งท่ีอยู่ในโรงเรียนและการศึกษาในรูปแบบอน่ื โดยสรุปจะเห็นว่าประเทศไทยได้ทาการปฏิรูปการศึกษาคร้ังหน่ึงเม่ือปี พ.ศ. ๒๕๔๒ นาไปสู่การ เปลี่ยนแปลงเป็นอันมาก การศึกษาของชาติได้ก้าวหน้าไป แต่หลายอย่างที่ต้ังใจไว้ทาให้เกิดผลสัมฤทธ์ิไม่ได้ ต้องยอมรับว่าการปฏิรูปยังไม่สาเร็จ การเปล่ียนแปลงของการศึกษาไทยไม่สามารถตามการเปล่ียนแปลงในโลก ได้ทนั เมอื่ มาถึงปัจจบุ ันนีม้ ีความตงั้ ใจท่ีจะปฏริ ูปการศึกษาอกี คร้งั หน่งึ ส่ิงทีค่ วรกังวลขณะน้คี อื อีก ๔ - ๕ ปีหรือ ๑๐ ปขี า้ งหน้า หากมองยอ้ นกลบั มาแลว้ การปฏริ ูปการศึกษาไมส่ าเรจ็ ประเทศไทยจะเป็นอย่างไร น่คี ือปัญหา ทใี่ หญ่มาก คงตอ้ งตัง้ ความหวังไว้ว่าการปฏิรปู ครั้งนจี้ ะสาเรจ็ ได้
๗๒ โดยทกี่ ารเปลย่ี นแปลงในโลกเกิดขนึ้ อยา่ งรวดเร็ว และสภาพการศกึ ษาของไทยยงั ล้าหลังประเทศ อ่ืนอยู่ จึงจาเป็นต้องเร่งรัดการปฏิรูปการศึกษาด้วยอัตราเร่งสูงเป็นพิเศษ จึงจะสามารถก้าวทัน ประเทศอื่นๆ ได้ บางประเด็นต้องทาเป็นการเร่งด่วน ท่ีจะทาให้สาเร็จได้โดยเร็ว บางประเด็นต้องเสร็จไดใ้ น เวลา ๓ ถงึ ๕ ปี แต่การปฏริ ูปโดยรวมตอ้ งจดั ทาให้เสร็จในเวลาไม่เกนิ ๑๐ ปี จึงจะมโี อกาสก้าวทนั โลก ในการท่ีจะปฏิรูปให้เกิดความสาเร็จนั้น จาเป็นต้องวางเป้าหมายท่ีเป็นไปได้ และจัดลาดับ ความสาคัญก่อนหลัง ท้ังในด้านความร้ายแรงของปัญหาที่ต้องรีบแก้ไข กับด้านความยากง่ายของการปรับแก้ มีหลายปัญหาท่ีตอ้ งใชเ้ วลา จงึ จะคล่คี ลายปัญหาได้ คณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา ไดน้ าข้อสรุปจากปัญหาและความท้าทายของระบบ การศึกษาของไทยที่ได้วิเคราะห์ไว้ ข้อเสนอเพื่อการปฏิรูปการศึกษาจากหน่วยงานต่างๆ ข้อเสนอจากการ รับฟังความคิดเห็นสาธารณะในภูมิภาคต่างๆ เวทีทางวิชาการ และเว็บไซต์ของ กอปศ. แล้วได้ยกร่าง พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ ฉบับใหม่ เพอ่ื ใช้แทนฉบับปจั จบุ ัน โดยจะเปน็ กฎหมายแมบ่ ทด้านการศึกษา นาเสนอให้รัฐบาลพิจารณา ตลอดจนได้เสนอร่างพระราชบัญญัติระดับรอง ท่ีได้รับพระราชโองการประกาศใช้ เป็นกฎหมายแลว้ คอื พระราชบญั ญัติกองทนุ เพ่ือความเสมอภาคทางการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑ พระราชบัญญัติ การพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๒ และพระราชบัญญัติพ้ืนท่ีนวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๒ พร้อมท้ังได้ เสนอร่างพระราชบัญญัติการอุดมศึกษา พ.ศ. .... ซ่ึงได้ไปประกอบในพระราชบัญญัติการอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๒ ท่ีได้ประกาศ พร้อมไปกับได้ประสานงานกับกระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดาเนินการ ปรับเปล่ียน และบุกเบิกการปฏิรูปในส่วนที่เป็นไปได้อย่างเร่งด่วนแล้ว คณะกรรมการอิสระเพ่ือการปฏิรูป การศึกษา ไดย้ กรา่ งแผนปฏริ ูปประเทศด้านการศึกษาขนึ้ เพ่ือใหส้ อดคล้องกับยุทธศาสตรช์ าติ และแผนปฏิรูป ประเทศด้านอื่นๆ โดยมีเป้าหมายใหเ้ กิดการปฏริ ูปท่ีจะสาเร็จได้ในเวลา ๑๐ ปี แล้วได้รับข้อเสนอเพ่ิมเติมจาก การรับฟังความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับร่างแผนปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา มาประกอบการพิจารณา ปรับปรุงแผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษาอีกครั้งหนึ่ง ทาให้แผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษาน้ี ประกอบด้วยวัตถุประสงค์ของการปฏริ ูป ๔ ด้าน มีแผนงานเพื่อการปฏิรปู ๗ เรื่อง จาแนกในรายละเอียดเปน็ ประเด็นปฏริ ูป รวม ๒๙ ประเดน็
๗๓ ในการปฏริ ปู การศกึ ษาใหส้ าเรจ็ นนั ตอ้ งอาศยั ความรว่ มมอื รว่ มใจของ ทุกภาคสว่ นในสงั คม ทงั พอ่ แมผ่ ปู้ กครอง ชมุ ชน เอกชน ประชาสงั คม สอ่ื มวลชน และ องคก์ รของรฐั ทกุ ระดบั โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ผทู้ ร่ี บั ผดิ ชอบ และมบี ทบาทอยใู่ นระบบการศกึ ษา ในปจั จบุ นั และอนาคต ในการปฏิรูปการศึกษาให้สาเร็จน้ันต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใ จของทุกภาคส่วนในสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ท่ีรับผิดชอบ และมีบทบาทอยู่ในระบบการศึกษาในปัจจุบัน การปรับค่านิยมต้องมี กุศโลบายและมาตรการที่เป็นท่ียอมรับได้ การปรับแก้หลายอย่างอาจกระทาได้อย่างเร่งด่วน ให้เกิด ความก้าวหน้าและแก้ปญั หาได้ทันที เป็นประโยชน์กับทุกส่วนที่เก่ียวข้อง แต่มีหลายอย่างที่มีข้อจากัดเก่ียวกับ ผลกระทบท่ีต้องใช้เวลาในการดาเนินการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการบริหารงานบุคคล อาจต้องปรับเป็นส่วนๆ และเป็นระยะๆ โดยปรบั ให้เหมาะสมกับสภาพและผลกระทบทีเ่ กิดขึ้น ท้ังน้ีอาจต้องใชเ้ วลา ๕ ถึง ๑๐ ปจี งึ จะ ได้ผล เป็นท่ีน่ายินดีที่ผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องได้ให้ความร่วมมืออย่างดี ส่ือมวลชนได้ช่วยเสนอข่าว และให้ ข้อเท็จจริงแก่สังคม นักวิชาการและผู้ท่ีสนใจในทุกภาคส่วนของสังคมได้เข้าร่วมในการรับฟังความคิดเห็น ให้ข้อมลู และข้อเสนอแนะจานวนมาก หนว่ ยงานตา่ งๆ ของกระทรวงศึกษาธกิ ารได้ให้ข้อมูล ความรว่ มมอื และ ร่วมในการพิจารณาหาแนวทางการปฏิรูป โดยเฉพาะอย่างยิ่งสานักงานเลขาธิการสภาการศึกษาซึ่งทาหน้าที่ เลขานกุ ารของคณะกรรมการอสิ ระเพื่อการปฏริ ปู การศึกษา ได้ให้ความอนุเคราะหใ์ นทกุ ด้านจนคณะกรรมการ อิสระฯ สามารถดาเนินการได้ลุล่วงในเวลาท่ีจากัด จึงเป็นที่หวังได้ว่าการปฏิรูปการศึกษาครั้งนี้น่าจะประสบ ความสาเร็จได้ การปฏริ ปู ครงั นไี มส่ าเรจ็ ไมไ่ ด้
๗๔ ตอนท่ี ๔ แผนการปฏริ ปู การศกึ ษาไทย
๗๕ ดว้ ยรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๒๕๘ จ ไดบ้ ัญญัติให้มีการดาเนินการ ปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ครอบคลุมให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษา เพ่ือให้เด็ก เล็กได้รับการพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาให้สมกับวัยโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ให้ ดาเนินการตรากฎหมายเพื่อจัดตั้งกองทุนเพื่อลดความเหลื่อมล้าทางการศึกษา ให้มีกลไกและระบบการผลิต คัดกรองและพัฒนาผู้ประกอบวิชาชีพครูและอาจารย์ให้ได้ผู้มีจิตวิญญาณของ คว ามเป็นครู มีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริง ได้รับค่าตอบแทนที่เหมาะสมกับความสามารถและ ประสิทธิภาพ ในการสอน รวมท้ังมีกลไกสร้างระบบคุณธรรมในการบริหารงานบุคคลของผู้ประกอบวิชาชีพครู ให้มีการ ปรับปรงุ การจดั การเรยี นการสอนทุกระดับเพื่อใหผ้ ู้เรยี นสามารถเรียนได้ตามความถนัดและปรับปรงุ โครงสร้าง ของหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องเพื่อบรรลุเป้าหมายดังกล่าว โดยสอดคล้องกันท้ังในระดับชาติและระดับพ้ืนท่ี ทั้งน้ี บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๒๖๑ กาหนดให้การปฏิรูปตามมาตรา ๒๕๘ จ. ด้านการศึกษา แผนปฏริ ปู ประเทศดา้ นการศกึ ษา มีคณะกรรมการที่มีความเป็นอิสระคณะหน่ึงที่ จึงเปน็ องคป์ ระกอบสาคญั ทจี่ ะ คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งดาเนินการศึกษาและจัดทา สนบั สนนุ การดาเนนิ การตาม ข้อเสนอแนะและร่างกฎหมายที่เกี่ยวข้องใน ก า ร ด า เ นิ น ก า ร ใ ห้ บ ร ร ลุ เ ป้ า ห ม า ย เ พ่ื อ เ ส น อ ยทุ ธศาสตรช์ าตทิ กุ ดา้ น คณะรัฐมนตรีดาเนนิ การต่อไป นอกจากน้ี การปฏิรูปการศึกษายังเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิรูปประเทศเพ่ือสนับสนุนการบรรลุ ตามยุทธศาสตร์ชาติที่กาหนดไว้ในด้านต่างๆ เน่ืองด้วยการศึกษาเป็นพื้นฐานท่ีสาคัญของการพัฒนาประเทศ ดังนั้นแผนปฏิรูปประเทศด้านการศึกษาจึงเป็นองค์ประกอบสาคัญท่ีจะสนับสนุนการดาเนินการตาม ยุทธศาสตร์ชาติทุกด้าน โดยเฉพาะอย่างย่ิงด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ ด้านความเท่าเทียม และความเสมอภาคของสังคม และดา้ นขีดความสามารถในการแขง่ ขัน การพฒั นาคณะกรรมการอสิ ระเพ่ือการ ปฏิรูปการศึกษา (กอปศ.) ได้ดาเนินการศกึ ษาและทบทวนผลการเศรษฐกิจและการกระจายรายได้ ศึกษาวิจัย ข้อเสนอเพ่ือการปฏิรูปการศึกษาของหน่วยงานต่างๆ ของสภาการปฏิรูปแห่งชาติ สภาขับเคล่ือนการปฏิรูปประเทศ และคณะกรรมาธิการการศึกษาและการกีฬา ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ตลอดจนทบทวนผลลัพธ์และผลสัมฤทธ์ิของการจัดการศึกษาของประเทศที่มีการทดสอบและสารวจไว้ จากแหล่งอ้างอิงทั้งภายในและภายนอกประเทศ รวมถึงสรปุ ขอ้ คดิ เห็นจากการเย่ียมพื้นท่ีและการจัดเวทีรับฟัง ความคิดเห็นสาธารณะที่ กอปศ.จัดข้ึนกว่า ๒๐ คร้ัง ร่วมกับข้อคิดเห็นท่ีได้รับผ่านทางเว็บไซต์ของ กอปศ. (www.thaiedreform.org) และสอ่ื สงั คมออนไลนต์ า่ งๆ บริบทของประเทศและของโลกกาลังเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งการพัฒนาเศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงทางสังคมตลอดจนนวัตกรรมของเทคโนโลยีต่างๆ การพัฒนาและขยายตัวของเทคโนโลยี
๗๖ ดจิ ิทลั ในการส่ือสาร และการศึกษา มีแหล่งความรู้ใหม่ๆ เกิดขน้ึ อย่างหลากหลาย ซึง่ เหมือนเป็นโอกาสในทาง หน่ึง แต่ในอีกทางหนึ่งการเปล่ียนแปลงข้างต้นส่งผลให้ประชาชนต้องมีความสามารถและสมรรถนะใน การเลือกเรียนรู้ส่ิงใหม่และการปรับตัวเพื่อการดารงชีวิตและการประกอบอาชีพ ระบบการศึกษาจึงต้องมุ่ง พัฒนาสมรรถนะของผู้เรียน เปิดทางเลือกให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตนเองได้เต็มศักยภาพ เช่ียวชาญในเรื่องท่ี ถนัด และสามารถเรียนร้ตู ลอดชีวิต สามารถดูแลสุขภาวะของตนเองและครอบครวั ในขณะเดียวกบั ทีย่ ังคงต้อง มุ่งเน้นการให้มีคุณธรรมและจริยธรรมเพื่อให้บุคคลเหล่าน้ันเป็นคนดี รับผิดชอบต่อสังคมและสามารถอยู่ ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข นอกจากนี้ทิศทางของการพัฒนาประเทศจากการกาหนดยุทธศาสตร์ชาติด้าน การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ยังกาหนดประเด็นสาคัญที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาให้ต้องมีการปรับเปล่ียนค่านิยม และวัฒนธรรมเพื่อสร้างคนดี มีความรับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชนและสังคม มีการพัฒนาศักยภาพของคน ตลอดช่วงชีวิต ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลงในศตวรรษท่ี ๒๑ ตระหนักถึงพหุ ป ัญ ญ า ข อ ง ม น ุษ ย ์ที ่ห ล า ก ห ล า ย ต ล อ ด จ น ส ร ้า ง ส ภ า พ แ ว ด ล ้อ ม ที ่เ อื ้อ ต ่อ การพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ดว้ ย ปัญหาทางการศึกษาไทยมีความสลับซับซ้อน และฝังลึกในระบบ จนไม่สามารถแก้ไขให้สาเร็จได้ ท้ังหมดในเวลาอันส้ัน จาเป็นต้องใช้เวลาในการปรับแก้ แต่ผลของสภาพปัญหาในปัจจุบันต่อสภาพทาง เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ตลอดจนความสามารถในการแข่งขันของชาติ ซึ่งอยู่ในสภาพท่ีเกิดความ เสียหายอย่างมาก ดังปรากฏอยู่ในปัจจุบัน ความจาเป็นเร่งด่วนที่จะต้องทาการปฏิรูปให้สาเร็จภายในเวลา อย่างมาก ๑๐ ปี จึงเป็นเป้าหมายหลักของการปฏิรูปครั้งน้ี บางประเด็นอาจทาได้สาเร็จในเวลาก่อนนั้น เช่น ใน ๓ หรือ ๕ ปี ทั้งน้ีมีสงิ่ ที่จาเป็นต้องตงั้ ตน้ และดาเนินการโดยเรว็ ในปัจจุบัน
๗๗ เป้าหมายของการปฏริ ูปการศึกษาไทยเมื่อครบ ๑๐ ปี คือ ๑. คณุ ภาพของการศึกษาทุกระดบั ไดม้ าตรฐานสากล และทนั สมยั ๒. ความเหล่ือมล้าทางการศึกษาหายไป คงมีความหลากหลายในโอกาส ท่ีทุกคนสามารถ เชีย่ วชาญไดต้ ามความถนัด และความประสงคข์ องตน ๓. การศึกษาของไทยสามารถแข่งขันได้ในโลก และเป็นพลังขับเคลื่อนความสามารถ ในการแข่งขนั ของชาติ ๔. ระบบการบริหารจดั การการศกึ ษามีประสทิ ธิภาพ ประสิทธผิ ล ผลิตภาพ และธรรมาภิบาล วตั ถปุ ระสงคข์ องการปฏริ ูปการศึกษา มดี งั นี้ วตั ถปุ ระสงค์โดยรวม สามารถแก้ปัญหาการศกึ ษาของชาติในปจั จุบันได้ทุกดา้ น ให้บรรลผุ ลสาเร็จ ในเวลาทส่ี ้นั ทส่ี ุด โดยมวี ัตถปุ ระสงค์จาเพาะ ดังน้ี ๑. ยกระดบั คุณภาพของการจัดการศกึ ษา (Enhancing Quality of Education) โดยครอบคลมุ ดา้ นตอ่ ไปน้ี ๑.๑ ผลลัพธ์ทางการศึกษาและการเรียนรู้ (Learning Outcomes) ทั้งด้านความรู้ ทักษะ เจตคติท่ีถูกต้อง และรู้จักดูแลสุขภาพ เพื่อการจัดการในเรื่องการดารงชีวิตของตนเองและการใช้ชีวิตร่วมกับ ผอู้ น่ื ตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญมาตรา ๕๔ วรรค ๔ ๑.๒ ครู อาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา ท่ีต้องเป็นผู้มีความรู้ความเช่ียวชาญ ครูมี จิตวญิ ญาณของความเป็นครู ๑.๓ หลกั สูตรและกระบวนการจัดการศึกษาและการเรยี นรู้ (Educational Core Processes) ทย่ี ดื หยุ่น หลากหลาย ถกู ต้อง ทนั สมัย ทันเวลา และมงุ่ เนน้ การสร้างเสริมคุณธรรม จริยธรรมและคา่ นิยมทาง สงั คมทถ่ี กู ตอ้ ง ๑.๔ สถานศึกษาและระบบสนับสนุน (Educational Institutions and Support Systems) ที่ตอบสนองต่อความต้องการของการจัดการศึกษา ตลอดจนทรัพยากรด้านการศึกษาที่มีคุณภาพ ได้แก่ งบประมาณและเทคโนโลยี ๒. ลดความเหล่ือมล้่าทางการศึกษา (Reducing Disparity in Education) เป็นส่วนหนึ่งของ การสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา (Equity in Education) ประกอบดว้ ย ๒.๑ โอกาสในการเข้าถึงการศกึ ษาและเทคโนโลยที ่สี นับสนนุ การเรียนรู้ (Equity in Access) ๒.๒ โอกาสในการได้รับทางเลือกในการศึกษาและการเรียนรู้พัฒนาท่ีเหมาะสมกับศักยภาพ ของผูเ้ รียน (Equity in Choosing appropriate process in Education) ๒.๓ โอกาสในการได้รบั ประโยชน์จากการเรยี นรู้และการพัฒนาทักษะในการประกอบอาชพี ที่ เหมาะสมกับศักยภาพตามความถนัดของผู้เรียน (Equity in Benefiting from Aptitude-based Quality of Education) ทั้งในและนอกระบบการศกึ ษา รวมถงึ การเรียนรูต้ ลอดชวี ิตอยา่ งมคี ุณภาพ
๗๘ ๓. มุ่งความเป็นเลิศและสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (Leverage Excellence and Competitiveness) หมายถึง การสร้างสมรรถนะและคุณลักษณะของผู้เรียนที่มีศักยภาพสูง มีความเป็นผู้นา ริเร่ิมสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ๆ และการผลิตนักวิจัยและนักเทคโนโลยีช้ันแนวหน้าให้สามารถ ต่อยอดงานวิจัยท่ีสามารถตอบโจทย์การพัฒนาประเทศ การสร้างความร่วมมือและเช่ือมต่อกับสถาบันวิจัยอ่ืนๆ ทั่วโลก สอดคล้องกับทิศทางการขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมของประเทศ อีกท้ัง สถาบนั การศกึ ษาของไทยและระบบการศึกษาไทยต้องไดร้ บั การยอมรับว่าเทยี บเคียงได้กับประเทศชนั้ นาอ่ืนๆ ๔. ปรับปรุงระบบการศึกษาให้มีประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากร เพิ่มความคล่องตัวใน การรองรับความหลากหลายของการจัดการศึกษา และสร้างเสริมธรรมาภิบาล (Improving Efficiency, Agility and Good Governance) โดยเฉพาะการส่งเสริมและสร้างสมดุลของความคุ้มค่า ความโปร่งใส ความรบั ผดิ ชอบ คุณธรรมและจริยธรรม ทง้ั น้ี ระบบการศึกษาของประเทศท่ีมธี รรมาภิบาลจะเอ้ือต่อการบรรลุ ตอ่ วตั ถปุ ระสงค์ขอ้ ๑-๓ ข้างต้นอยา่ งครอบคลมุ และสมดลุ (Balanced and Inclusive Achievement) ทง้ั น้ี การศึกษาทีจ่ ะไดร้ บั การปฏริ ูปตามวัตถปุ ระสงคท์ ี่กล่าวถงึ ข้างต้นน้ี จะครอบคลมุ ถึง การเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต มไิ ด้จ่ากัดเฉพาะการจดั การศกึ ษาเพ่ือคุณวฒุ ติ ามระดับเท่าน้ัน
๗๙ คณะกรรมการอิสระเพ่ือการปฏิรูปการศึกษา ปรญิ ญา หรอื การรบั รองไมเ่ ปน็ ได้นาข้อสรุปจากปัญหาและความท้าทายของระบบ เครอ่ื งชว้ี ดั ทเ่ี ชอื่ ถอื ได้ สง่ิ ทจี่ าเปน็ การศึกษาของไทยที่ได้วิเคราะห์ไว้ ข้อเสนอเพ่ือการปฏิรูป การศึกษาจากหน่ว ยงานต่างๆ ข้อเสนอจากการ อยา่ งแทจ้ รงิ จงึ เปน็ ผลสมั ฤทธ์ิ รับฟังความคิดเห็นสาธารณะในภูมิภาคต่างๆ เวทีทาง คณุ ภาพทแ่ี ทจ้ รงิ ของการศกึ ษา วิชาการ และเว็บไซต์ของ กอปศ. ตลอดจนขอ้ เสนอเพ่ิมเติม จากการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับร่างแผน ปฏิรูปประเทศด้านการศึกษาระหว่างวันที่ ๑๕-๓๑ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๖๑ มาประกอบการพิจารณาปรับปรุง แผนการปฏิรปู ประเทศด้านการศึกษา ทาใหแ้ ผนการปฏิรปู ประเทศดา้ นการศึกษาน้ปี ระกอบดว้ ยวัตถุประสงค์ ของการปฏริ ูป ๔ ดา้ น แผนการปฏริ ปู การศึกษาได้จัดทาเป็น ๗ เรอื่ ง ทีจ่ าแนกในรายละเอยี ดเปน็ ๒๙ เรอ่ื ง เรื่องท่ี ๑ : การปฏิรูประบบการศึกษาและการเรียนรู้โดยรวมของประเทศ โดยพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติฉบบั ใหม่และกฎหมายลาดับรอง พระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และฉบบั แกไ้ ขเพิ่มเตมิ พ.ศ. ๒๕๔๕ และ ๒๕๕๓ เปน็ ผลจากความพยายามท่จี ะแกป้ ัญหาการศึกษาของชาติในขณะนน้ั ไดม้ ีขอ้ บญั ญตั ิที่ดีหลายประการ ทีท่ าให้ เกดิ การเปลยี่ นแปลง และมีข้อบัญญัตทิ ่ีดีอีกหลายประการท่ไี ม่ได้ดาเนินการใหเ้ ปน็ ผลท่เี ปน็ รูปธรรม จึงไมเ่ ป็น ผลในทางปฏิบัติ ประกอบกบั ในระยะยส่ี ิบปีทผ่ี ่านมา ไดม้ กี ารเปลี่ยนแปลงด้านการศึกษาเกิดขึ้นในโลกเป็นอันมาก ท่ีประเทศไทยจาเป็นต้องปรับให้ทันสมัยด้วย โ ด ย เ ฉ พ า ะ อ ย่ า ง ยิ่ ง รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ แ ห่ ง พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาตฉิ บบั ใหม่ ราชอาณาจักรไทย ฉบบั ใหม่ ได้มีหลกั การและ เจคนารมณ์ใหม่ทางการศึกษา และในหลาย เปน็ กฎหมายหลกั ทานองธรรมนญู ทาง ประการท่ีมีผลต่อการศึกษาของชาติด้วย จึงมี ค ว า ม จ า เ ป็ น ต้ อ ง ย ก ร่ า ง พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ออกมา แลว้ ก็มคี วามจาเปน็ ตอ้ งมกี ารตรา การศึกษาแห่งชาติขึ้นใหม่ เป็นกฎหมายหลัก กฎหมายลาดบั รองในรายละเอยี ดตอ่ ไป ทานองธรรมนูญทางการศึกษา โดยกาหนด ขยายความหลักการและเจตนารมณ์ของ รัฐธรรมนูญออกมา แล้วก็มีความจาเป็นต้องมี การตรากฎหมายลาดับรองในรายละเอยี ดตอ่ ไป โดยที่ปัญหาการศึกษาของไทยมีฐานมาจากค่านิยมท่ีไม่ถูกต้องเหมาะสมในสังคมไทยหลาย ประการ ที่จาเป็นต้องปรับเปลี่ยนเพื่อเป็นรากฐานของการจัดการศึกษาทั้งระบบ การเห็นความสาคัญของ การศึกษาเปน็ ฐานรากสาคัญของการพัฒนาการศึกษา ในระยะแรกๆ อาจจาเป็นต้องวางเป้าท่เี ห็นและจับต้อง
๘๐ ได้ นั่นคือผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษาท่ีมีการรับรอง ในรูปของใบปริญญา หรือประกาศนียบัตรท่ีผู้รับรองเป็นท่ี เช่ือถือได้ และผู้ที่ได้รับการรับรองก็ได้การตอบแทนที่สมควร นับเป็นเครื่องมือท่ีดี แต่เมื่อระบบขยายขึ้นมาก และมีการปรับเปล่ียนไปโดยรวดเร็ว การรับรองไม่เป็นเครื่องช้ีวัดที่เช่ือถือได้ ส่ิงท่ีจาเป็นอย่างแท้จริงจึงเป็น ผลสัมฤทธิ์ที่แท้จริงของการศึกษา ซึ่งได้แก่ระดับความรู้ ความสามารถ ทักษะ และคุณลักษณะของผู้ที่จบ การศึกษาไป ยิ่งเมื่อกระบวนการทางการศึกษาได้ขยายตัว และมีรูปแบบท่ีหลากหลาย คุณภาพท่ีแท้จริงจึงมี ความหมายมากกว่าใบรับรอง ได้มีสัญญาณของการปรับเปลี่ยนเกิดข่ึนแล้ว ผู้ประกอบการเริ่มมองหา ความสามารถที่แทจ้ ริง มากกวา่ ใบรับรอง แตส่ ังคมโดยทัว่ ไปยังปรับคา่ นิยมและความคิดไม่ทนั พระราชบัญญตั ิ การศึกษาแห่งชาติจึงได้กาหนดเป้าหมายเชิงสมรรถนะ ศักยภาพ คุณลักษณะและคุณสมบัติของผู้สาเร็จ การศึกษาในแต่ละระดับไว้ ซึ่งสถาบันการศึกษาต้องมุ่งสรา้ งให้เกิด และผู้เรียนมีเป้าหมายข้ันต่าที่ชดั เจน และ มีโอกาสท่แี ตกตา่ งกนั ไดต้ ามความถนดั และความประสงค์ การให้รัฐมีหน้าที่รับผิดชอบอย่างเอกเทศกับการศึกษาและการเรียนรู้ ตลอดจนพัฒนาการของ เด็กและเยาวชนของชาติ ตลอดจนแรงงานและประชาชนท้ังหมด ประสบกับข้อจากัดอย่างมาก หลักการนี้ ใช้ได้ในสังคมที่การศึกษายังมีอยู่ในลักษณะจากัด และประชาชนยังไม่มีความสามารถที่จะรับผิดชอบเองได้ สภาพการณ์ดังกล่าวไดป้ รบั เปลี่ยนไป การศกึ ษาไดข้ ยายขน้ึ และปรบั เปลย่ี นไปอย่างรวดเร็วมาก ในหลากหลาย รปู แบบและช่องทาง จนต้องมคี วามคล่องตัวในการจัดการท่ีปรับเปลี่ยนได้เร็ว และตลอดจนมคี วามจาเป็นต้อง อาศัยบทบาทของพ่อแม่ผู้ปกครอง ชุมชน และภาคส่วนต่างๆ ของสังคม การบริหารจัดการท่ีดีต้องเกิดขึ้นใน ระบบราชการ บทบาทของศาสนาและกลไกสังคมด้านคุณธรรมจริยธรรมต้องเข้ามามีบทบาทจึงจะเป็น การศกึ ษาที่ได้คุณลักษณะท่ีพึงประสงคต์ ามท่ีกาหนดไวใ้ นรัฐธรรมนญู คา่ นยิ มสังคมที่ถือว่าเป็นบทบาทของรัฐ โดยส้ินเชิงนั้นไม่ใช่คาตอบอีกต่อไป พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติจึงต้องกาหนดช่องทางรองรับการร่วม รับผิดชอบของภาคส่วนต่างๆ และปรับบทบาทของรัฐให้เอื้อที่จะสนองความจาเป็นในปัจจุบันและอนาคต โดยต้องมีการบริหารจัดการแบบใหม่ที่ทันสมัย คา่ นยิ มสงั คมทถ่ี อื วา่ การศกึ ษาเปน็ หนา้ ที่ และใช้ข้อดีของวัฒนธรรมความเช่ือของไทยที่ดี ของรฐั โดยสนิ เชงิ นนั ไมใ่ ชค่ าตอบอกี ตอ่ ไป เก่ียวกับการศึกษา เช่น จิตวิญญาณของความเป็น ี้ โดยตอ้ งกาหนดชอ่ งทางรองรบั การรว่ ม ครู การเอ้ืออาทรต่อกัน และการเห็นประโยชน์ รบั ผดิ ชอบของภาคสว่ นตา่ งๆ และปรบั สว่ นรวมกอ่ นประโยชน์ส่วนตนเป็นตน้ บทบาทของรฐั ใหเ้ ออื ทจี่ ะสนองความ พระราชบัญญัติฉบับใหม่จึงเน้นการมี จาเปน็ ในปจั จบุ นั และอนาคต ส่วนรว่ มของทกุ ภาคสว่ นในสงั คมในการรับผิดชอบ การศึกษา และการเรียนรู้บทบาทของรัฐใน ส่วนกลางในการวางนโยบายมหภาค และ ในการสนับสนุนส่งเสริม และกากับดุแล พร้อมไป กั บ บ ท บ า ท ข อ ง ก า ร ป ก ค ร อ ง ส่ ว น ท้ อ ง ถิ่ น ใ น การดูแลประชาชนในพื้นท่ีของตน และบทบาทของภาคเอกชนในการจัดการศึกษาทั้งท่ีเป็นการกุศล และ การมุ่งหากาไร และยงั ไดเ้ น้นบทบาทของภาคประชาสังคมทบี่ ุคคล และกล่มุ บคุ คลในท้องถ่นิ มีความรับผิดชอบ
๘๑ ด้วย จุดสาคัญอยู่ท่ีการแบ่งภาระหน้าท่ี และความสมดุลของบทบาทหน้าที่ ท่ีอาจหลากหลายตามสภาพของ แตล่ ะเร่ือง แตล่ ะทอ้ งท่ี และตามสภาพทเ่ี ปลี่ยนแปลงไป แม้ว่าวัฒนธรรมด้ังเดิมของไทย จะเน้นการเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ช่วยเหลือกัน มีจิตสาธารณะ และ ซ่ือสัตย์สจุ ริต การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจสังคมได้สร้างปทสั ถานสังคมใหม่ ที่การแข่งขันกัน การถือโอกาส เอารัดเอาเปรียบกัน และการถือประโยชน์ส่วนตนเหนือประโยชน์ส่วนรวมเข้ามามีบทบาท เกิดคอรัปชั่น ในวงการต่างๆ สภาพนี้ได้ส่งอิทธิพลเช้าไปในระบบการศึกษาด้วย การปฏิรูปการศึกษาต้องสร้างคุณลักษณะ ที่ดีของคนไทยให้กับเยาวชนและประชาชน จึงจะเป็นการศึกษาที่ดีอย่างสมบูรณ์ พระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ ได้จัดระบบการศึกษาที่มีโครงสร้างและกระบวนการที่เอื้อให้เกิดคุณลักษณะท่ีดีดังกล่าว ซ่ึงจะต้อง กาหนดรายละเอยี ดในกฎหมายลาดับรองต่อไป ประเด็นท่ี ๑.๑ การมีพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. .... และมีการทบทวน จัดทา่ แก้ไข และปรับปรุงกฎหมายทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ต้นตอของปัญหาการศึกษาไทยท่ีส่งผลใหเ้ กดิ การด้อยคุณภาพของผลสมั ฤทธิ์ ความเหล่ือมลา้ และ ความด้อยความสามรถในการแข่งขัน อยู่ท่ี โครงสร้างและการจัดการของระบบบริหารการศึกษา ในหลาย ประเด็น เช่น ความไม่ม่ันคงในนโยบายการศึกษา การขาดความเป็นเอกภาพ การด้อยประสิทธิภาพ ในการประสานงานในระบบการศึกษา และการปรับเปลีย่ นท่ีไม่ทนั ความจาเป็น สภาพปัญหามคี วามสลบั ซับซ้อน และเกยี่ วโยงกนั จนตอ้ งทาการปฏิรปู ในส่วนท่เี ป็นจดุ วิกฤติทสี่ ามารถส่งผลไปในระบบในวงกวา้ งต่อไป เม่ือวันที่ ๑๗ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ คณะรัฐมนตรีมีมติแต่งตั้งคณะกรรมการนโยบายและ พัฒนาการศึกษา เป็นคณะกรรมการระดับสูงท่ีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน เพ่ือสร้างเอกภาพ และ การประสานงานระหว่างหลายกระทรวงที่มีบทบาทหน้าที่ด้านการศึกษา โดยเฉพาะอย่างย่ิง กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงแรงงาน กระทรวงพัฒนาสังคมและทรัพยากรมนุษย์ และกระทรวงมหาดไทย ทาหน้าท่ีระดับนโยบาย ขับเคล่ือนการพัฒนาการศึกษาเชิงรุก และการยกระดับคุณภาพการศึกษาและ การเรียนรู้ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติฉบับใหม่ จึงกาหนดให้มีคณะกรรมการนโยบายการศึกษา แห่งชาติขึ้น ทาหน้าที่วางนโยบายและแผนการศึกษาของชาติ รวมทั้งการติดตามประเมินผลการบริหาร จัดการการศึกษา โดยมีอานาจวางกรอบงบประมาณเพ่ือการศึกษาด้วย มีคณะกรรมการวิชาการ และ คณะกรรมการขบั เคล่อื นการปฏริ ปู การศึกษาชว่ ยงาน ในการปฏิรูปการศึกษา ด้วยการปรับโครงสร้างของระบบการบรหิ ารจัดการการศึกษา จะกระทา ได้ยากเป็นอย่างมาก เพราะเป็นรูปแบบที่ปรับแก้กันมาเป็นส่วนๆ ที่ทับซ้อนกัน มีงานที่ซ้าซ้อนกัน และ ระเบียบที่กระทบกันจนการแก้ไขที่ส่วนหนึ่งจะไปกระทบกับส่วนอื่น และกลายเป็นปัญหาเพ่ิมเติมข้ึนอีก เช่น กลไกการบริหารงานบุคคล ทมี่ คี รุ สุ ภาเปน็ กลไกกากบั การใหใ้ บอนุญาตวชิ าชีพ ซึ่งนอกจากวิชาชีพครู ยงั จดั ให้ ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษา รวมท้ังศึกษานิเทศก์ ต่างก็เป็นวิชาชีพ ในขณะท่ีสานักงาน คณะกรรมการครูและบุคลากรทางการศึกษา เป็นผู้วางกฎเกณฑ์ ในการคัดเลือก บรรจุ แต่งตั้ง และโยกย้าย
๘๒ ข้าราชการในกระทรวงศึกษาธิการ แต่การบริหาร ระบบงาน ซึ่งรับผิดชอบต่อผลสัมฤทธ์ิของการศึกษา ทาหน้าท่ีดาเนินการและออกคาส่ังเกี่ยวกับบุคลากร การขบั เคลอ่ื นการปฏริ ปู การศกึ ษา ตามที่คณะอนุกรรมการข้าราชการครูและบุคลากร ... คอื การทบทวน จดั ทา แกไ้ ข ทางการศึกษาในพ้ืนท่ีเป็นผู้อนุมัติ หรือการบริหาร และปรบั ปรงุ กฎหมายทเ่ี กยี่ วขอ้ ง วิชาการท่ีมีหลักสูตรแกนกลางเป็นข้อกาหนดหลัก ตามท่ี กบั การศกึ ษาใหเ้ ปน็ กลไกสาคญั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานเป็นผู้วาง และให้การรับรองหนังสือตาราเรียน ที่องค์การค้าคุรุสภา เป็นผู้ดูแลจัดการประมูลโควต้าการจัดพิมพ์ หรือการสอบ เพ่ือวัดระดับผลการเรียนของผู้จบการศึกษาในชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๖ มัธยมศึกษาปีท่ี ๓ และปีท่ี ๖ จัดทาโดย สถาบันทดสอบทางการศึกษา ซึ่งเป็นองค์กรมหาชนท่ีเป็นอิสระ แต่จัดการสอบภายใต้เนื้อหาสาระของ หลกั สูตรท่สี านักงานการศึกษาขั้นพนื้ ฐานเป็นผู้กาหนด และปรากฏในตาราเรียนตามระดับข้ัน หากจะจัดการ สอบเพื่อวัดสมรรถนะ และเป็นการสอบนอกตาราเรียนก็เป็นปัญหาได้ ขณะเดียวกันสานักงานการศึกษาขั้น พื้นฐาน โดยสานักทดสอบการศึกษาก็จัดการสอบทั่ว การปฏิรูปการศกึ ษา ตอ้ งเริม่ ท่ี ประเทศสาหรับช้ันประถมศึกษาปีที่ ๓ เป็นต้น ความ ระบบ โดยตัง้ ตน้ ท่สี ว่ นบนท่ีสุด จาเป็นที่จะต้องจัดวางระบบที่กาหนดบทบาทหน้าท่ีให้ ชัดเจนและเหมาะสม ตลอดจนประสานเชอื่ มโยงกันจึงเป็น คอื ระดบั เหนือกระทรวงข้ึนไป ปัจจัยสาดัญในการเพม่ิ ประสิทธภิ าพการศกึ ษา คณะกรรมการอิสระเพ่ือการปฏิรปู การศึกษาได้พจิ ารณาแนวทางในการปฏริ ปู ระบบงานในการจัด การศึกษา แล้วเห็นว่า การปฏิรูปการศึกษา ต้องเริ่มท่ีระบบ โดยตั้งต้นท่ีส่วนบนที่สุด คือระดับเหนือกระทรวง ขน้ึ ไป เพราะการศกึ ษามีการดาเนินงานในหลายกระทรวง ความจาเป็นตอ้ งมเี อกภาพของระบบ โดยมีแผนการ ศึกษาแห่งชาติ เป็นแผนกลาง พร้อมไปกับการมีการประสานงานและร่วมมือกันข้ามกระทรวง และระหว่าง หน่วยงานต่างๆ ภายในกระทรวงที่เกี่ยวข้องตลอดไปถึง กรอบการจัดสรรงบประมาณของรัฐให้ตรงตามแผน ท้ังยัง ... ต้องมีความสามารถที่จะปรับแผนให้ทันการเปลี่ยนแปลงใน Disruptive Technology โลก ตลอดจนมีการขับเคล่ือนการปฏิรูปให้เป็นพลังใน ทศิ ทางเดียวกนั ในอีกดา้ นหนง่ึ ควรตัง้ เปา้ การปฏิรปู โดยให้ใช้โรงเรียนเปน็ ศนู ย์กลางของการปฏิรปู เนอื่ งจาก โรงเรียนหรือสถานศึกษาเป็นหน่วยผลิตหลักของระบบการศึกษา ท่ีเป็นจุดกาหนดคุณภาพของผลสัมฤทธ์ิ กล่าวได้ว่า เป็นการปรับเปล่ียนจากด้านล่าง แบบ Disruptive Technology พระราชบัญญัติการศึกษาฉบับ ใหม่ จึงมีบทบญั ญตั ิหลายประการที่จะปฏริ ูปโรงเรียนใหส้ ามารถบรรลวุ ัตถุประสงค์ได้ การขับเคล่ือนการปฏิรูปการศึกษาภายหลังการประกาศใช้พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ฉบับใหม่ คือการทบทวน จัดทา แก้ไข และปรับปรุงกฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับการศึกษาให้เป็นกลไกสาคัญ
๘๓ ต่อการบริหารและจัดการศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพอย่างเหมาะสม โดยต้องจัดลาดับความสาคัญของกฎหมาย ลาดับรอง กฎหมายลาดับรองท่ีมีความจาเป็นเร่งด่วน ซ่ึงคณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษาได้ ยกร่าง และนาเสนอรัฐบาลเพื่อดาเนินงานจนออกประกาศใช้เป็นกฎหมายแล้ว ได้แก่ พระราชบัญญัติกองทุน เพ่ือความเสมอภาคทางการศึกษา พระราชบัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวัย พระราชบัญญัติพ้ืนที่นวัตกรรมทาง การศกึ ษา และพระราชบัญญตั ิการอุดมศกึ ษา ในระยะต่อไป จะมีพระราชบัญญัติ พระราช กฤษฎีและกฎกระทรวง ทต่ี ้องบญั ญัติข้ึนต่อไป ประเด็นการปฏิรูปท่ี ๑.๒ : การ สร้างความร่วมมือระหว่างรัฐ องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นและเอกชน เพ่ือการจัด การศึกษา โดยท่ีการศึกษาเป็นภารกิจของหลายกระทรวง นอกจากกระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวง อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม ซ่ึงมีหน้าท่ีหลักด้านการศึกษา ยังมีกระทรวงมหาดไทย ซึ่งดูแล การปกครองส่วนท้องถ่ินท่ัวประเทศ กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ซ่ึงมีส่วนรับผิดชอบ ด้านการศึกษาของประชาชน และกระทรวงแรงงาน ซ่ึง องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ รับผิดชอบด้านการพัฒนาฝีมือแรงงาน นอกจากนี้ยังมี มหี นา้ ทใ่ี นการดูแลประชาชน ก ร ะ ท ร ว ง อ่ื น ๆ ท่ี ต้ อ ง ใ ช้ ก า ลั ง ค น ในทอ้ งถนิ่ ของตน รวมทงั การ ซึ่งต้องมกี ารผลิตและพฒั นาทรัพยากรมนษุ ย์ในด้านของตน ดแู ลเดก็ ปฐมวยั และรว่ มจดั ในระดับการจัดการศึกษา มีกิจกรรมหลาย การศกึ ษาทจ่ี าเปน็ อย่างที่ต้องมีการประสานงานระหว่างกัน การใช้กฎเกณฑ์ ร่วมกัน และการช่วยเหลือร่วมมือส่งเสริมกัน หากมีงาน ซ้ า ซ้ อ น กั น ห รื อ ขั ด แ ย้ ง กั น อ า จ เ ป็ น ปั ญ ห า การใช้ทรัพยากรงบประมาณ กาลังคน และสิ่งสนับสนุนที่ไม่ประหยัด ตลอดจนปัญหาความยุ่งยาก ในการจัดการ การกาหนดบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ท่ีเก่ียวข้องให้ชัดเจน และการมีกลไก ตลอดจนเจตคติท่ดี ีต่อกัน จะช่วยขจัดปญั หาได้ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน มีหน้าท่ีในการดูแลประชาชนในท้องถ่ินของตน รวมทั้ง การดูแลเด็กปฐมวัย การศึกษาระดับอนุบาล ระดับประถมศึกษา และระดับมัธยมศึกษา บางแห่งสามารถมี สถาบันอุดมศึกษาในความรับผิดชอบได้ด้วย ในการดาเนินงานต้องอาศัยระเบียบ กฎเกณฑ์ และวิธีปฏิบัติท่ี กาหนดโดยหน่วยงานที่ทาหน้าท่ีน้ัน ซึ่งตั้งอยู่ในกระทรวงศึกษาธิการ หรือกระทรวงอ่ืนด้วย เช่น คุรุสภ า
๘๔ หน่วยงานกาหนดมาตรฐานการศึกษา และหน่วยงานประเมินผลการศึกษา เป็นต้น ในการท่ีองค์การปกครอง สว่ นท้องถน่ิ จะทาบทบาทหน้าท่ีดังกล่าวได้ดี ต้องมีกฎหมายท่ีเหมาะสมรองรับ โดยทีก่ ารดแู ลเด็กเล็ก อายรุ าว ๓ ขวบ ต้องอาศัยศูนย์เด็กเล็กที่ตั้งอยู่ในชุมชน และมีปัญหาการเดินทาง และการมีส่วนของพ่อแม่และ ผู้ปกครองในการร่วมดูแลด้วย การดูแลต้องอาศัยคุณภาพทางวิชาการตามมาตรฐานการดูแลเด็กเล็ก ซ่ึงต้องมี การพฒั นาผูด้ ูแลด้วย ส่วนการศกึ ษาระดับอนบุ าล และการศึกษาระดบั สงู ข้ึนไป จะมีข้อกาหนดกฎเกณฑ์กากับ อยู่ด้วย งบประมาณเพ่ือการดาเนินงานอย่างมีคุณภาพจาเป็นต้องมีรายได้ขององค์การปกครองส่วนท้องถ่ิน ห รื อ ค่ า ใ ช้ จ่ า ย ร า ย หั ว ที่ จั ด ส ร ร จ า ก ก ร ะ ท ร ว ง ก า ร ค ลั ง ผ่านกระทรวงมหาดไทย โดยต้องมีข้อมูลเด็กท่ีมีสิทธิ และการใช้เงินตามข้อกาหนดด้วย องค์การปกครองส่วน ทอ้ งถิ่นยังมหี นา้ ท่ีจา่ ยคา่ อาหารกลางวันใหแ้ กน่ ักเรียนในโรงเรยี นสังกดั กระทรวงศึกษาธิการดว้ ย ในเรอ่ื งนอ้ี าจ ต้องมกี ารปรับปรงุ กฎหมายขององคก์ ารปกครองสว่ นท้องถน่ิ ดว้ ย ภาคเอกชน มีบทบาทในการจัดการศึกษามาเป็นเวลานาน นับหลายร้อยปี โดยมักเป็น กิจการเชิงการกุศล ต่อมาจึงมีภาคเอกชนท่ีดาเนินการเป็นธุรกิจท่ีมุ่งหากาไร มีกฎหมายและกฎเกณฑ์ของรัฐ มาให้อนุญาตและกากับดูแลตามระดับของการศึกษา การเปลี่ยนแปลงในการศึกษา ระดับประเทศ และระดับ โลกเกดิ ขึน้ และเปลีย่ นแปลงไปอยา่ งรวดเร็ว เกิดความหลากหลายแตกต่างได้มาก มีผลทาให้ต้องมกี ารปรับปรุง กฎเกณฑ์ ระเบียบและวิธีการต่างๆ เช่น การแบ่งกลุ่มสถานศึกษาเอกชน เป็นสถานศึกษาท่ีเป็นการกุศลและ รับการช่วยเหลือทางการเงิน หรือเงินอุดหนุนรายหัวจากรัฐอย่างเต็มที่ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่ายจากผู้ปกครองเด็ก สถานศึกษาที่รับความช่วยเหลือเพียงร้อยละ ๗๐ และเรียกเก็บที่เหลือ ร้อยละ ๓๐ จากผู้ปกครอง และ สถานศึกษาที่ไม่รับความช่วยเหลือทางการเงินจากรัฐ และมีสิทธิในการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายจากผู้ปกครอง เป็นต้น ในปัจจุบันมีการขยายตัวของการศึกษาข้ามแดนจากต่างประเทศเข้ามาด้วย มีผลต่อการจัด กระบวนการดูแลและสนับสนุน สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน เป็นหน่วยงานในสังกัด สานกั ปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการเป็นผรู้ ับผดิ ชอบดูแล ในปี พ.ศ. ๒๕๖๑ สถานศึกษาที่เป็นการกุศลและรับการช่วยเหลือทางการเงิน หรือเงิน อดุ หนุนรายหวั จากรฐั อยา่ งเต็มท่ี มี ๕๖๐ โรง เปน็ โรงเรยี นในพระราชปู ถัมภ์ ๓ โรง โรงเรียนการกุศลของวัดใน พระพุทธศาสนา ๑๖๘ โรง โรงเรียนการศึกษาสงเคราะห์ ๒๒๑ โรง โรงเรียนสอนศาสนาอิสลามควบคู่วิชา สามัญ ๑๕๖ โรง และ โรงเรียนการศึกษาพิเศษ ๒๐ โรง มีนักเรียนรวมท้ังสิ้น ๒๓๗,๐๗๒ คน เป็นนักเรียน ช้ันอนุบาล ๗๘,๘๕๒ คน และชั้นประถมศึกษา ๑๕๘,๒๒๐ คน ได้รับค่าใช้จ่ายรายหัวและค่าอาหารกลางวัน เท่ากับโรงเรยี นของรัฐ สถานศกึ ษาท่รี บั ความชว่ ยเหลอื เพยี งร้อยละ ๗๐ มี ๓,๐๓๐ โรง รับนักเรียน ๑,๔๓๘,๖๓๗ คน โดย มีข้อกาหนดว่าให้เก็บค่าใช้จ่ายจากผู้ปกครองนักเรียนได้ไม่เกินอัตราร้อยละ ๓๐ ท่ีขาดไป ในโรงเรียนเหล่าน้ี เดก็ ที่มีภาวะทพุ โภชนาการ และเด็กยากจน ไดร้ บั เงนิ ค่าอาหารกลางวนั ด้วย เป็นจานวน ๒๒๐,๙๒๔ คน
๘๕ ระบบงบประมาณให้การอุดหนุนแก่สถานศึกษาเอกชนน้ีนับเป็นการจ่ายง บประมาณอุดหนุน การศกึ ษาตามจานวนนกั เรียน ทานองการอดุ หนุนตามอุปสงค์ สถานศึกษาเอกชนท่ีไม่รับเงินสนับสนุนจากรัฐ สามารถเก็บค่าใช้จ่ายจากผู้ปกครองในอัตรา ไม่จากัด โดยมีกลไกตลาดเป็นเคร่ืองกาหนด เป็นโอกาสให้เกิดการแข่งขันกัน ในระยะหลังน้ี โรงเรียนสามัญ ศึกษานานาชาติที่ทาการสอนด้วยหลักสูตรต่างประเทศ และทาการสอนในหลายภาษาได้เกิดข้ึนเป็นอันมาก บางโรงเรียนเก็บอัตราค่าใช้จ่ายสงู มาก เช่น เป็นค่าแรกเข้า หลายแสนบาท และค่าใชจ่ายประจาภาคเรียนอกี ภาคละหลายแสนบาทดว้ ย นบั เปน็ โอกาสสาหรบั ผทู้ ่มี ีฐานะดี แตก่ ท็ าให้ความเหลื่อมลา้ เพิ่มขน้ึ การศึกษาเอกชนจึงมีหลายลักษณะ และหลายบทบาท ด้วยสภาพเศรษฐกิจสังคม และ ความเหลื่อมล้าท่ีมีในสังคม ประกอบกับการเปลยี่ นแปลง ในโครงสร้างประชากร ที่จานวนเด็กน้อยลง ทาให้เกิด หลกั การสาคญั ใหเ้ อกชนเขา้ มาชว่ ย ปัญหาสาหรับโรงเรียนท่ีเป็นการกุศล และโรงเรียนที่รับ บรหิ ารจดั การโรงเรยี นของรฐั เงินอุดหนุนบางส่วน นาไปสู่ปัญหาที่ไม่สามารถยกระดับ โดยมคี วามเปน็ อสิ ระใน คุณภาพการศึกษาได้ และบางโรงเรียนต้องปิดลง การออกแบบหลกั สตู ร และอสิ ระใน โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรงเรียนการศึกษาพิเศษ เช่นโรงเรียน การบรหิ ารงานบคุ คล สาหรบั คนพิการทางกาย หรอื ทางสมอง ท่ตี ้องมคี ่าใช้จ่าย สูง ซึ่งทาหน้าท่ีช่วยงานของรัฐ การพิจารณาแนวทางการ ให้ความช่วยเหลือ เช่น การยกเว้นภาษีโรงเรือนและท่ีดิน หรือการให้งบประมาณลงทุนท่ีจาเป็น การให้เงิน อุดหนนุ คา่ อาหารกลางวนั เป็นต้น อาจเปน็ มาตรการทไี่ ดป้ ระโยชน์โดยรวม ข้อดีของการศึกษาที่จัดโดยภาคเอกชน คือ ความคล่องตัวในการปรับเปลี่ยน และการพัฒนาให้ ทันกับการเปลี่ยนแปลง และสนองความต้องการของผู้เรียน เช่น การให้การศึกษาภาษาอังกฤษ ซึ่งโรงเรียน เอกชนหลายแห่งเริ่มให้เรียนตั้งแต่ช้ันประถมต้นมาเป็นเวลานานหลายปีแล้ว ก่อนท่ีโรงเรียนของรัฐจะมี นโยบายในเร่ืองน้ี หลักสูตรและการเรียนรู้ก็สามารถปรับได้รวดเร็ว นับเป็นการให้โอกาสแก่ประชาชนใน การรับการศึกษาที่แตกต่างได้ การส่งเสริมให้สถานศึกษาเอกชนมีอิสระ สามารถพัฒนานวัตกรรม และ จดั บริการให้แกผ่ ทู้ ่มี ีความต้องการในลกั ษณะพิเศษ หรอื ความต้องการเฉพาะ อยา่ งหลากหลาย จะเปน็ การเพิ่ม ทางเลือกในการศึกษา แต่ในทางปฏิบัติ องค์กรของรัฐอาจมีความรู้สึกท่ีเห็นการศึกษาเอกชนเป็นคู่แข่ง และ วางกฎระเบียบทเี่ ปน็ ปัญหากับสถานศึกษาเอกชน ในหลายกรณีมกี ารดาเนินการทม่ี ผี ลกระทบทาให้เป็นปัญหา ร้ายแรงสาหรับเอกชนได้ด้วย ข้อกาหนดบทบาทของรฐั กบั เอกชนในการจัดการศึกษาควรไดร้ บั การพจิ ารณาให้ ถ่องแท้ และจัดให้เหมาะสม จะเป็นประโยชน์ต่อทั้งสองส่วน และเป็นประโยชน์ต่อสังคมโดยรวม การกากับ ดูแลทเ่ี หมาะสม และร่างกฎหมายทีเ่ ก่ยี วข้อง
๘๖ สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ต้ังขึ้นเม่ือ พ.ศ. ๒๕๔๕ เป็นหน่วยงานใน สังกัดสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการและมีคณะกรรมการประสานและส่งเสริมการศึกษาเอกชนในระดับ จังหวัด (ปสกช.) เป็นเครือข่ายในทุกจังหวัด รับผิดชอบงานการศึกษาในภาคเอกชนท้ังการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาพิเศษ โดยที่นโยบาย รฐั มหี นา้ ทต่ี ามรฐั ธรรมนญู ให้ และกระบวนการบริหารจัดการ ตลอดจนการแก้ปัญหาของ รบั ผดิ ชอบใหป้ ระชาชนทกุ คนไดร้ บั สถานศึกษาเอกชนมีความสลับซับซ้อน และผันแปรได้เร็ว การศกึ ษาภาคบงั คบั และ ประสิทธิภาพของหน่วยงานน้ีจึงมีความสาคัญสาหรับระบบ การศกึ ษาของชาติ รัฐมีหน้าท่ีตามรัฐธรรมนญู ให้รับผดิ ชอบให้ ประชาชนทุกคนได้รับการศึกษาภาคบังคับ และการศึกษา อ่ืนๆ โดยเฉพาะอย่างยง่ิ เด็กเยาวชนและบุคคลท่ีด้อยโอกาส และบุคคลท่ีมีความต้องการจาเป้นพิเศษที่ไม่สามารถชว่ ยตนเองได้ จะต้องได้รับการศึกษาโดยไม่เก็บคา่ ใชจ้ า่ ย แต่การจัดให้มีการศึกษาไม่จาเป็นต้องจัดโดยรัฐท้ังหมด หลักคิดดังกล่าวน้ีเป็นฐานของการจัดการศึกษาใน ปัจจุบนั แตม่ หี ลายกรณีที่ยังไม่ใช่วธิ ีการทดี่ ีท่ีสุด ควรได้มีการทบทวน และปรบั ปรุงระบบ ตลอดจนกฎหมายที เก่ยี วขอ้ งให้เป็นประโยชนส์ งู สดุ ต่อไป ในพัฒนาการของรูปแบบการศึกษาทั้งการศึกษาเพื่อคุณวุฒิตามระดับ การศึกษาเพื่อการ ดารงชีวิต และการศึกษาตามอัธยาศัย ด้วยเทคนิคการศึกษาหลากหลายนั้น ความร่วมมือในการจดั การศึกษา อย่างสมดุลระหว่างบริการภาครัฐส่วนกลางรวมท้ังส่วนภูมิภาคบริการขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่น กับบรกิ ารภาคเอกชนให้มสี ่วนรว่ มกนั ในการจดั การศกึ ษาในรปู แบบต่างๆ จะสนองความจาเปน็ ได้เพ่ิมขึ้น เปา้ หมายเร่งดว่ น ๑) ไดม้ ีตัวอยา่ งของความรว่ มมือในบทบาทของรัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ กบั ภาคเอกชน ในรูปแบบต่างๆ ของการจัดการศึกษาการใช้ประสบการณ์ และบทเรียนจากโครงการเหล่าน้ีในการพัฒนา การบรหิ ารจดั การการศึกษาของชาติ จะเป็นช่องทางทส่ี าคัญ ตวั อยา่ งเชน่ โครงการโรงเรียนประชารัฐเป็นส่วนหน่ึงของโครงการสานพลังประชารัฐในการขับเคลื่อน เศรษฐกิจของประเทศ เป็นการทางานร่วมกันของภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม มุ่งเน้นการพัฒนา ศักยภาพของคนไทยในอนาคตผ่านการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานในทุกมิติ ให้เป็นทั้งคนดีและคนเก่ง โรงเรียน ประชารัฐเป็นโรงเรียนขนาดเล็กและขนาดกลาง ในสังกัดสานักงานการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จานวน ๔,๖๐๘ โรง จากทั่วประเทศ ธุรกิจเอกชนช้ันนาขนาดใหญ่ ๑๒ กลุ่มบริษัทได้ให้ความร่วมมือก่อต้ังโครงการผู้นาเพ่ือพัฒนา การศึกษาท่ียั่งยืน (CONNEXT ED) ใช้ยุทธศาสตร์ ๑๐ ด้านในการดาเนินการขับเคลื่อน มีการให้การสนับสนุน สิ่งท่จี าเป็น โดยเฉพาะอย่างยิ่งเทคโนโลยดี ิจทิ ัล ปรับปรงุ หลักสูตรท่เี นน้ ผู้เรยี นเป็นศูนย์กลางจัดการพัฒนาการ บริหารให้ทันสมัยด้วยการพัฒนาผู้นารุ่นใหม่ โดยใช้บุคลากรระดับกลางเป็นอาสาสมัครลงไปช่วยโรงเรียน
๘๗ มีความโปร่งใสของข้อมูลด้วยการจัดทาตัวช้ีวัดคุณภาพ และใช้กลไกตลาดเข้าช่วย เพ่ือสร้างความร่วมมือของ ชมุ ชน ตลอดจนมแี ผนพฒั นาโรงเรียนและการประเมนิ เป็นระยะๆ โรงเรียนร่วมพัฒนา เริ่มขึ้นใน พ.ศ. ๒๕๖๐ เป็นโครงการใหม่ที่มีหลักการสาคัญให้เอกชน เข้ามาช่วยบริหารจัดการโรงเรียนของรัฐ เพ่ือให้โรงเรียนมีความคล่องตัวและสามารถบริหารจัดการโรงเรียน ให้ได้คุณภาพ และยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน โดยมีความเป็นอิสระในการออกแบบหลักสตู ร และอิสระ ในการบรหิ ารงานบุคคล ดว้ ยการให้มีคณะอนุกรรมการครูและบุคลากรการศึกษา (อกคศ.) วสิ ามัญเฉพาะกิจฯ ปัจจุบันมีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการรุ่นที่ ๑ จานวน ๕๐ โรงเรียนมีผู้สนับสนุนภาคเอกชนจาก ๑๑ หน่วยงาน และรุ่นท่ี ๒ จานวน ๘๔ โรงเรียนใน ๒๗ จังหวัด ท้ังท่ีสังกัด สถานศึกษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน (สพฐ.) สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) สานกั งานคณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน (สช.) สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สพฐ. กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น และ กรุงเทพมหานคร โดยมีผู้สนับสนุนโครงการฯ จากบริษัท มูลนิธิ สถาบัน สมาคม ตลอดจนสภาอุตสาหกรรม และโรงเรียนนานาชาติ รวม ๒๗ แหง่ ตลอดจนมีแผนทจี่ ะขยายให้ครอบคลุมทง้ั ๗๖ จงั หวดั ๒) ประสบการณ์ขององค์การปกครองส่วนท้องถ่ินในการจัดบริการ \"ศูนย์เด็กเล็ก\" ก่อนอนุบาล และการจัดการศึกษาช้ันอนุบาล จะช่วยให้การจัดการศึกษาส่วนน้ีในท้องถิ่นต่างๆ ท่ีกระจายไปทั่วประเทศ มี โอกาสพัฒนาให้ดีย่ิงขึ้น และเป็นไปตามมาตรฐานของชาติ และมาตรฐานสากล อันจะเป็นการลดปัญหาความ เหลือ่ มล้าที่จดุ เริม่ ต้น การพัฒนาผู้ดแู ล และครใู นชั้นเดก็ เลก็ น้ีต้องได้รับการสนับสนนุ อย่างเร่งด่วน การจัดการ สถานเล้ียงเด็ก และโรงเรียนอนุบาลให้เอื้อต่อการมีคุณภาพ จาเป็นต้องมีการลงทุน ซึ่งอาจเกินกาลังและ ความสามารถขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่น และต้องอาศัยการจัดเป็นโครงการพิเศษของรัฐ ข้อเสนอว่า ด้ ว ย แ ผ น ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ใ น ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ ป ฐ ม วั ย ครอบคลุมการจัดการทางการคลัง การสนับสนุนงบประมาณ ดา้ นอปุ สงค์ เกณฑ์คุณภาพ และการพัฒนาผจู้ ัดการสถานศกึ ษา เปา้ หมายระยะสัน้ ๑) มีการปรับปรุงกฎหมายที่เก่ียวข้องกับบทบาท หน้าที่และอานาจขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่เก่ียวข้องกับ กา ร ศึ กษา เ พื่ อเ พ่ิ มบ ทบ า ทอง ค์ กร ป กคร อง ส่ ว น ท้ อง ถ่ิ น และ เอกชนในการจัดการศึกษาในระดับก่อนวัยเรียน การจัดการ ศึกษาร่วมกับภาคเอกชนในรูปแบบต่าง ๆการสนับสนุนและกากับดูแลสถานศึกษาสาหรับการจัดการศึกษาขั้น พื้นฐานให้สอดคล้องกับหลักการและสาระสาคัญตามที่ระบุไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติที่ได้รับการ ปรับปรุงแกไ้ ขใหมต่ ามหลักการและแนวทางการปฏิรูปปการศึกษา ๒) มีการเพิ่มจานวนสถานศึกษารวมถึงศูนย์เด็กเล็กท่ีองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินดาเนินการหรือ มีส่วนร่วมสนบั สนุนทรัพยากรเพิ่มข้นึ อย่างน้อยรอ้ ยละ ๑๐ภายในปี ๒๕๖๕เปรียบเทียบกบั ปี ๒๕๖๒
๘๘ ๓) มีการออกกฎหมายหรือแก้ไขปรับปรุงกฎหมายท่ีเก่ียวข้องเพ่ือลดอุปสรรค ตลอดจนส่งเสริม และสนับสนุนการให้ภาคเอกชนเข้ามาสนบั สนนุ หรอื มสี ่วนร่วมในการจดั การศึกษาในสถานศึกษาของรัฐสาหรับ การศึกษาขน้ั พื้นฐานตามแนวทางของกลมุ่ โรงเรียนที่มีความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน ๔) มีการกาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และกลไกสนับสนุนเครือข่ายความร่วมมือของภาครัฐ ภาคเอกชนและองคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น ทม่ี อี ยู่ เพ่ือธารงรักษาหรือขยายขอบเขต และรูปแบบความรว่ มมือ ให้มาก และมีประสิทธิภาพย่งิ ข้ึน ๕) ลดความแตกต่างของงบประมาณต่อผู้เรียนเพื่ออุดหนุนการจัดการศึกษาภาคบังคับระหว่าง สถานศึกษาภาครฐั และสถานศกึ ษาภาคเอกชน ๖) มกี ารออกกฎหมายหรือแก้ไขปรับปรงุ กฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต ท่ีมีสาระสาคัญท่ีสนับสนุนบทบาทการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคเอกชน ให้เข้ามามี สว่ นรว่ มอยา่ งสาคัญในการส่งเสริม หรือจัดการศึกษาเพื่อการเรียนรู้ตลอดชวี ิต รวมถึงใหม้ มี าตรการของรฐั ในการ อานวยความสะดวก ส่งเสริม สนับสนุน สร้างความร่วมมือและกากับดูแลการดาเนินการต่างๆ ที่เหมาะสม มี การจดั ต้งั สมชั ชาการศกึ ษาระดบั จงั หวดั ตามความพร้อมและความสมัครใจ โดยความรว่ มมือของภาคส่วนตา่ งๆ ในระดบั จังหวัด ประเด็นการปฏิรูปที่ ๑.๓ : การ ะ ขั บ เ ค ลื่ อ น ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ตนเองและการศึกษาเพ่ือการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อรองรับการพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วง ชวี ติ รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทยกาหนดไวว้ า่ การศึกษาของไทยครอบคลุมการศกึ ษาทกุ ช่วงวัย ตลอดชีวิต มิใช่เพียงการศึกษาของเด็กนักเรียนและเยาวชน โดยตระหนักถึงการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้นในโลก ท่ที าให้คนทกุ วัยมคี วามจาเป็นต้องไดร้ ับการศึกษา การงานอาชีพที่ทาอยใู่ นปัจจบุ นั ไม่น้อยจะหายไปในอนาคต เน่ืองจากการใช้ปัญญาประดิษฐ์ หุ่นยนต์ และเทคโนโลยีต่างๆ ทาให้ทุกคนต้องรับการศึกษาเพื่อให้สามารถ ทางานอาชีพใหม่ในการยงั ชีพ การใช้ชวี ิตก็เปลีย่ นแปลงไป ต้องมคี วามรู้ความสามารถใหม่ เพื่อใช้ประโยชน์ใน การเพมิ่ คณุ ภาพชีวิตของตน โลกกาลังเข้าสู่ยุคใหม่ท่ีเทคโนโลยดี ิจิทัลเข้ามามีบทบาทเพิ่มข้ึนเปน็ อันมาก ท้ังการส่ือสารระหว่างกัน และในการทากิจกรรมต่างๆ การศึกษาก็ปรับเปล่ียนไปด้วย สามารถข้มระยะทางและเวลาได้ จึงเกิดการศึกษาได้ ทุกแห่งหน ในหลากหลายรูปแบบ สถาบนั การศึกษาก็เปลี่ยนรูปโฉมไป เพมิ่ โอกาสในการศกึ ษาขึ้นเป็นอนั มาก การศึกษาตลอดชีวิต เร่ิมต้ังแต่ยังเป็นทารกในครรภ์ แม่และครอบครัวต้องได้รับการเรียนรู้เพ่ือ ดแู ลตนเอง ทม่ี ุ่งใหท้ ารกในครรภ์มีการเจริญเติบโตได้ดที ่สี ุด ภายหลังจากคลอดออกมาเปน็ ทารกก็ต้องได้รับส่ิง ที่อาจเรียกได้ว่าเป็นการศึกษา เพราะสมองจะเจริญข้ึนด้วยสิ่งที่อยู่รอบตัว การได้รับอาหารท่ีเหมาะสมจะเป็น
๘๙ ปจั จยั พ้ืนฐานใหร้ า่ งกายและสมองไดพ้ ัฒนาข้นึ เตม็ ศกั ยภาพ แมแ้ ตก่ ารพฒั นาความสามารถทางภาษาก็เกิดข้ึน ก่อนทเี่ ดก็ จะพูดได้เสียอกี การศกึ ษาของแม่และผู้ดูแลเด็กจึงจาเปน็ อย่างย่ิงในการสรา้ งพฤติกรรม และอุปนสิ ยั ของเด็ก เมื่อเข้าโรงเรียน การศึกษาในยุคปัจจุบันต้องสร้างทักษะสาหรับการมีชีวิตในโลกอนาคต การปฏิรูปการศึกษาในระบบโรงเรยี นจึงต้องได้รับการจัดการให้เกิดคุณภาพ ท้ังในการจัดหลักสูตร การเรียนรู้ และการประเมินผล ตลอดจนการปรับให้ตรงกับความถนัดของแต่ละคน การศึกษาในรูปแบบเดิมท่ีเน้นความ เหมือนกันของนักเรียนทุกคน และการท่องจาเน้ือหาสาระ ต้องได้รับการปรับเปลี่ยน ความแปรผันของการศึกษา การศกึ ษาทางเลอื กเปน็ รปู แบบ (education transformation) จงึ เปน็ สิง่ ท่ีต้องเกิดขึ้นให้ทัน การศกึ ษาทจี่ ะชว่ ยเสรมิ การศกึ ษาใน กับพัฒนาการในโลก และสร้างความพร้อมสาหรับการศึกษา ในระดับสูงขึ้น และการใช้ชีวิตต่อไป เด็ก เยาวชน และนิสิต ระบบหลกั ไดม้ าก นักศึกษาในปัจจุบัน เป็นผู้ที่เกิดในโลกดิจิทัล มีโอกาสและ ความเคยชินกบั โลกดิจทิ ัล จงึ ถือได้ว่ามคี วามเคยชนิ กบั โลกอนาคตมากกวา่ ผู้สอนดว้ ยซ้า อุดมศึกษา และอาชีวศึกษา ท่ีเน้นการเรียนรู้ทฤษฎี และความรู้ท่ีมีอยู่ในโลกมาแต่เดิม ต้องปรับเปลี่ยนไปสู่ความรู้ ทักษะ สมรรถนะและพฤติกรรมที่ครบทุกด้าน ตลอดจนสรา้ งพัฒนาการของสมอง ทุกด้าน ท้ัง IQ EQ และ EF หรือสติ สมาธิ อารมณ์และปัญญา การสร้างทักษะต้องอาศัยการทาในสภาพจริง หรือสภาพจาลอง และต้องทาซ้าๆ หลายๆครั้ง กระบวนการท่ีซับซ้อนและเข้าใจยาก สามารถทาให้เข้าใจได้ ด้วยการใช้ augmented reality และ virtual reality โอกาสในการศึกษาเปลี่ยนไปอย่างมาก ข้ามชาติได้ อย่างง่ายดาย และสนองความต้องการของผู้เรียนมากกว่าจัดตามผู้สอน มีผลให้ต้องเปล่ียนระบบ และ โครงสร้างของอุดมศึกษาและอาชีวศึกษา การศึกษาจึงไม่ได้จบลงท่ีการได้รับปริญญาหรือประกาศนียบัตร แตต่ อ้ งศกึ ษาไปตลอดชวี ิต แรงงานต้องมีการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะและฝีมอื อยู่เสมอ อาจตอ้ งไดร้ ับการศึกษาใหม่ เพื่อเข้า ทางานใหม่ ผู้สูงวัย แม้จะเกินกาหนดอายุที่เรียกว่าเกษียณอายุ ก็ไม่จาเป็นต้องไปอยู่ในภาวะพ่ึงพา อาจรับ การศกึ ษาเพือ่ พฒั นาดา้ นการงานอาชพี สร้างความเป็นอสิ ระของตน และชว่ ยการดาเนนิ ชวี ิตท่มี คี ณุ ภาพตอ่ ไป ประเทศไทยได้เห็นความสาคัญของการศึกษานอกระบบโรงเรียนมามากกว่า ๗๐ ปี เมื่อมี การศึกษาผู้ใหญ่ข้ึน จนเป็นกองการศึกษาผู้ใหญ่ และเป็นกรมการศึกษานอกโรงเรียน จนในการปฏิรูป การศึกษา พ.ศ. 2545 จึงเกิดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (ก.ศ.น.) ข้ึน เป็นหน่วยงานอยู่ในสังกัดสานักปลัดกระทรวงศึกษาธิการ งานด้านน้ีในระยะต้นเน้นการให้การศึกษา สาหรับผู้ท่ีพลาดโอกาสจากการศึกษาในโรงเรียน ต่อมาจึงได้ขยายออกไปครอบคลุมอย่างกว้างขวาง และ หลากหลายรูปแบบ มีเครือข่ายออกไปส่สู ่วนภูมภิ าค ทัว่ ท้ังประเทศ รวมท้งั ผดู้ อ้ ยโอกาสในท้องถ่ินหา่ งไกลด้วย อย่างไรก็ตาม ด้วยความจากัดในด้านงบประมาณ และด้านอื่นๆ สามารถมีโครงการเตม็ ที่ครอบคลุมประชากร
๙๐ ได้ราว ๓ ล้านคน และให้บริการบางส่วนสาหรับคน ๒๒ ล้านคน ความจาเป็นต้องวางนโยบาย ระบบการ บริหารจัดการ รวมท้ังการกากับดูแล การประเมินผล การคุ้มครองผู้บริโภค และการเทียบเคียงและเทียบโอน คณุ วฒุ กิ ารศกึ ษาให้ครอบคลุมประชากรทุกช่วงวัย โดยทาหนา้ ทผ่ี ู้ให้บรกิ าร พระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้กา่ หนดให้มีการศึกษาทางเลือกไวแ้ ลว้ และได้ มีการด่าเนินงานในภาคเอกชนอยู่ส่วนหนึง แต่ยังมีปัญหาเชิงข้อจ่ากัดอยู่ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ฉบับใหม่ได้ก่าหนดให้มีการศึกษาทางเลือกเป็นรูปแบบการศึกษาทีจะช่วยเสริมการศึกษาในระบบหลักได้มาก พรอ้ มทงั ไดก้ า่ หนดใหม้ ีการเทยี บเคยี งและเทยี บโอนผลการศึกษาด้วย ประเด็นการปฏริ ปู ที่ ๑.๔ : การทบทวนและปรับปรุงแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ ประเทศไทยได้มีแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติมาต้ังแต่ พ.ศ.๒๕๐๔ เป็นแผน ๕ ปี จนถึง พ.ศ. ๒๕๐๙ เน้นเศรษฐกิจเป็นหลัก มุ่งให้ประเทศอุดมสมบูรณ์มีรายได้ดี ด้วยการเร่งรัดพัฒนาการศึกษาในทุกๆ ด้าน ท้ังด้านอาชีวศึกษา และอุดมศึกษาซ่ึงประเทศไทยยังขาดผู้มีความรู้ระดับกลาง และขาดกาลังคนใน สาขาวิชาต่างๆ เช่น วิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์แพทยศาสตร์ และสถาปัตยกรรมศาสตร์ พร้อมไปกับการ พัฒนาการศึกษาภาคบังคับ และการผลิตครูอาจารย์ ต่อมาในแผนฉบับท่ี ๒ มุ่งปรับปรุงคุณภาพการศึกษา ท้ัง ในเรื่องหลักสูตรแบบเรียน อาคารเรียน คุณวุฒิครู ส่งเสริมการศึกษาในโรงเรียนราษฎร์ แผนพัฒนาการศึกษา แห่งชาติฉบับที่ ๓ เน้นการปรับปรุงคุณภาพและการขยายปริมาณการศึกษา ด้วยจัดการศึกษาอย่างประหยัด และเกิดประโยชน์มากทส่ี ุด สาหรับแผนฉบับท่ี ๔ ถึง ๖ เป็นระยะที่มีการเปล่ียนแปลงทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมของประเทศอย่างมาก จึงมุ่งสร้างความเป็นธรรมในสังคม ลดความเหลื่อมล้าของบุคคลในทางเศรษฐกิจ ทั้งยึดถือเอาความมั่นคงปลอดภัยของชาติเป็น หลักดว้ ย แผนพฒั นาการศึกษาแห่งชาติฉบบั ท่ี ๗ ประเทศไทยไดเ้ หน็ ความสาคญั ของการศกึ ษา ถึง ๙ เน้นการพัฒนาคนให้เป็นพลเมืองมี นอกระบบโรงเรยี นมามากกวา่ ๗๐ ปี คุณธรรม จริยธรรม ปัญญา และมีสุขภาพ กศน. มโี ครงการเตม็ ทค่ี รอบคลมุ ประชากร พลานามัยสมบูรณ์ มีความรู้และทักษะในการ ไดถ้ งึ ๓ ลา้ นคน และบรกิ ารบางสว่ นสาหรับคน ประกอบอาชีพ สามารถพ่ึงตนเองและดารงชีวิต ได้อย่างเป็นสุข ภายใต้การปกครองตามระบอบ ๒๒ ลา้ นคน ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ความจาเปน็ ของการศกึ ษาตลอดชวี ติ ทาให้ ตอ้ งปรบั ขยายองคก์ รและบทบาท แผนฉบับท่ี ๑๐ (พ.ศ. ๒๕๕๐ - ๒๕๕๔) และ แผนการศึกษาแห่งชาติฉบับปรับปรุง (พ.ศ. ๒๕๕๒ – ๒๕๕๙) มุง่ ใหค้ นเป็นศูนย์กลางการพฒั นา ตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง การขบั เคล่ือนต้องใช้ “ความรู้” ในการพัฒนาด้านต่างๆ สอดคล้องกับวีิถีสังคมไทย ตลอดจนสร้างศีลธรรมและจิตสานึกใน “คณุ ธรรม” ดารงตนอยา่ งมนั่ คงในกระแสโลกาภวิ ัตน์ กระทรวงศึกษาธิการ โดยสานักงานเลขาธิการสภาการศึกษาจึงได้จัดทาแผนการศึกษาแห่งชาติ ระยะยาว ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙) เพ่ือวางกรอบเป้าหมายและทิศทางการจัดการศึกษาของประเทศ
๙๑ โดยมุ่งจัดการศึกษาให้คนไทยทุกคนสามารถเข้าถึงโอกาสและ ความเสมอภาคในการศึกษาท่ีมีคุณภาพ พัฒนาระบบการบริหาร แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ เปน็ จัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ พัฒนากาลังคนให้มีสมรรถนะใน แผนระยะยาว ๒๐ ปี การทางานท่ีสอดคล้องกับความต้องการของตลาดงานและการ ะ พัฒนา ด้วยคานึงถึงความสาเร็จในหลายด้าน และอีกหลายด้านที่ ี ยังเป็นปัญหาท่ีต้องได้รับการพัฒนาอย่างเร่งด่วนในระยะต่อไป ได้แก่ ด้านโอกาสทางการศึกษา ด้านคุณภาพการศึกษา ด้านประสิทธิภาพของการจัดการเรียนการสอน การ บริหารจัดการ และการใช้จ่ายงบประมาณทางการศึกษา ตลอดจนได้พิจารณาสภาวการณ์และบรบิ ทแวดล้อม ท่ีมผี ลกระทบต่อการพัฒนาการศกึ ษาของประเทศ ทัง้ ด้านความก้าวหนา้ ของเทคโนโลยดี ิจิทัลแบบก้าวกระโดด ที่ส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ภูมิภาค และโลก การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรไปสู่ สังคมสูงวัย และทักษะของประชากรในศตวรรษท่ี ๒๑ ที่ท่ัวโลกต่างต้องเผชิญกับความท้าทายและมุ่งพัฒนา ประเทศไปสกู่ ารพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมยุค ๔.๐ แผนการศึกษาแห่งชาติ ระยะยาว ๒๐ ปีน้ีมีเป้าหมายของการจัดการศึกษา ๕ ประการ ๖ ยุทธศาสตร์ ซึ่งมี ๕๓ ตวั ช้ีวัด ยุทธศาสตร์ที่ ๑ : การจัดการศึกษาเพ่ือความม่ันคงของสังคมและประเทศชาติ มเี ป้าหมาย ดงั น้ี ๑.๑ คนทุกช่วงวยั มคี วามรักในสถาบันหลกั ของชาติ และยึดมัน่ การปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมขุ ๑.๒ คนทกุ ช่วงวัยในเขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกิจจงั หวดั ชายแดนภาคใต้และพ้นื ที่พเิ ศษได้รับ การศึกษาและเรยี นร้อู ยา่ งมคี ุณภาพ ๑.๓ คนทุกช่วงวยั ไดร้ ับการศึกษา การดูแลและป้องกันจากภัยคุกคามในชวี ติ รูปแบบใหม่ ยุทธศาสตรท์ ่ี ๒ : การผลติ และพัฒนากาลังคน การวจิ ัย และนวัตกรรรม เพ่ือสรา้ งขีด ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ มเี ป้าหมาย ดงั นี้ ๒.๑ ก่าลังคนมีทักษะท่ีส่าคัญจ่าเป็นและมีสมรรถนะตรงตามความต้องการของตลาดงาน และการพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมของประเทศ ๒.๒ สถาบันการศึกษาและหน่วยงานที่จัดการศึกษาผลิตบัณฑิตท่ีมีความเชี่ยวชาญและ เปน็ เลิศเฉพาะ ๒.๓ การวิจยั และพัฒนาเพื่อสร้างองค์ความรู้ และนวตั กรรมที่สร้างผลผลติ และมลู ค่าเพ่ิม ทางเศรษฐกจิ ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๓ : การพัฒนาศกั ยภาพคนทุกชว่ งวัย และการสร้างสังคมแหง่ การเรยี นรู้ มเี ป้าหมาย ดังนี้ ๓.๑ ผู้เรียนมีทักษะและคุณลักษณะพื้นฐานของพลเมืองไทย และทักษะและคุณลักษณะที่ จ่าเป็นในศตวรรษที่ ๒๑
๙๒ ๓.๒ คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษา และมาตรฐานวิชาชีพ และพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ไดต้ ามศักยภาพ ๓.๓ สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้ตามหลกั สูตร อย่างมคี ุณภาพและมาตรฐาน ๓.๔ แหล่งเรียนรู้ สอื่ ต่าราเรยี น นวัตกรรม และส่อื การเรียนรูม้ ีคุณภาพและมาตรฐาน และ ประชาชนสามารถเข้าถึงไดโ้ ดยไม่จ่ากดั เวลาและสถานท่ี ๓.๕ ระบบและกลไกการวัด การตดิ ตาม และประเมนิ ผลมปี ระสทิ ธิภาพ ๓.๖ ระบบการผลิตครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ได้มาตรฐานระดบั สากล ๓.๗ ครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ได้รับการพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐาน ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๔ : การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเทา่ เทียมทางการศกึ ษา มีเปา้ หมาย ดงั น้ี ๔.๑ ผูเ้ รยี นทกุ คนไดร้ ับโอกาสและความเสมอภาคในการเขา้ ถึงการศึกษาทม่ี ีคุณภาพ ๔.๒ การเพมิ่ โอกาสทางการศึกษาผา่ นเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เพอื่ การศึกษาส่าหรบั คนทุกช่วงวัย ๔.๓ ระบบข้อมูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาท่ีครอบคลุม ถูกต้องเป็นปัจจบุ นั เพ่ือการวางแผนการบริหารจดั การศึกษา การตดิ ตามประเมิน และรายงานผล ยุทธศาสตร์ที่ ๕ : การจัดการศึกษาเพ่ือสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับ สิง่ แวดล้อม มีเป้าหมาย ดังน้ี ๕.๑ คนทุกช่วงวัย มีจิตส่านึกรักษ์สิ่งแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรม และน่าแนวคิดตาม หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งส่กู ารปฏิบัติ ๕.๒ หลักสูตร แหล่งเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ท่ีส่งเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับ ส่ิงแวดล้อม คุณธรรม จริยธรรม และการน่าแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ การปฏิบตั ิ ๕.๓ การวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็น มติ รกบั ส่ิงแวดลอ้ ม ยุทธศาสตรท์ ี่ ๖ : การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศกึ ษา มเี ป้าหมาย ดงั นี้ ๖.๑ โครงสร้าง บทบาท และระบบการบริหารจัดการการศึกษามีความคล่องตัวชัดเจน และสามารถตรวจสอบได้ ๖.๒ ระบบการบริหารจัดการศึกษามีประสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ลสง่ ผลต่อคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษา ๖.๓ ทุกภาคสว่ นของสังคมมสี ่วนร่วมในการจดั การศึกษาทีต่ อบสนองความต้องการของ ประชาชนและพ้นื ที่
๙๓ ๖.๔ กฎหมายและรูปแบบการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรทางการศกึ ษารองรับลกั ษณะที่ แตกต่างกนั ของผ้เู รยี น สถานศึกษา และความตอ้ งการก่าลังแรงงานของประเทศ ๖.๕ ระบบบริหารงานบคุ คลของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษามคี วามเป็นธรรม สร้างขวัญกา่ ลังใจ และสง่ เสริมให้ปฏิบัติงานได้อยา่ งเต็มตามศักยภาพ บทบาทหนา้ ทข่ี องสานกั งาน โดยท่ีได้มีการวางยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี พร้อม คณะกรรมการนโยบายการศกึ ษา ท้ังแผนแม่บทยุทธศาสตร์ชาติ แผนปฏิรูปประเทศด้าน แหง่ ชาตจิ งึ มคี วามสาคญั อยา่ ง การศึกษา และพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ และ มาก และตอ้ งมปี ระสทิ ธภิ าพสงู กฎ หมายล่า ดับรองอีกหลายฉบับ จึงไ ด้ก่าหนดให้ คณะกรรมการนโยบายการศึกษาแห่งชาติเป็นผู้พิจารณา ปรับปรุงแผนการศึกษาแห่งชาติให้สอดคล้องกับข้อก่าหนด ใหมต่ า่ งๆ เปา้ หมายรวม การศึกษาไทยมีทิศทางและการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพและเป็นเอกภาพ ตามแผนการ ศกึ ษาแหง่ ชาติ เพ่ือใหส้ ามารถยกระดบั คุณภาพ ลดความเหลอ่ื มล้า และสามารถแข่งขันได้ เปา้ หมายเร่งด่วน ภายในเดอื นพฤษภาคม ๒๕๖๒ มีข้อเสนอการปรับปรุงแผนการศึกษาแห่งชาติ และร่างหลักเกณฑ์ วิธีการในการจัดทาและ ระยะเวลาบงั คับใช้ เป้าหมายระยะสั้น มีการปรับปรุงแผนการศึกษาแห่งชาติ และการจัดทาแผนระดับต่างๆ ให้สอดคล้องกับแผน การศึกษาแหง่ ชาติ ประเด็นการปฏิรูปที่ ๑.๕ : การจัดตังสานักงานคณะกรรมการนโยบาย การศึกษาแห่งชาติ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๕๔ กาหนดเป้าหมายของการศึกษาไทย และบทบาท หน้าที่ของรัฐ และมาตรา ๒๕๘ จ. กาหนดให้มีการปฏิรูปการศึกษา และมคณะกรรมการอิสระเพ่ือการปฏิรูป การศึกษาข้ึน คณะกรรมการดังกล่าวได้ทาการศึกษา และยกร่างกฎหมายที่จาเป็นข้ึน และเสนอคณะรัฐมนตรี เพื่อตราเปน็ กฎหมาย เพ่ือให้มีการปฏิรูปโครงสร้างและกระบวนการด้านการศึกษาที่มุ่งให้เกิดเอกภาพ และ ประสิทธิภาพ ตลอดจนสัมฤทธิผล แก้ปัญหาคุณภาพการศึกษา ความเหล่ือมล้าทางการศึกษา และ ความสามารถในการแข่งขัน ร่างพระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแห่งชาตฉิ บบั ใหม่ จงึ กาหนดให้มี คณะกรรมการนโย บายการศึกษาแห่งชาติ โดยให้เป็นกลไกระดับสูงสุดครอบคลุมหลายกระทรวงท่ีมีหน้าท่ีด้านการศึกษา และมี นายกรัฐมนตรีเป็นประธานคณะกรรมการดังกล่าว และเพ่ือให้การดาเนินการเกิดผลสมั ฤทธ์ิ จึงได้กาหนดให้มี
๙๔ สานักงานคณะกรรมการนโยบายการศึกษาแห่งชาติรับหน้าที่เลขานุการกิจ ตลอดจนมีคณะกรรมการวิชาการ และคณะกรรมการขับเคล่ือนการปฏิรูปการศึกษา ขึ้นเป็นคณะกรรมการประจา บทบาทหน้าท่ีของสานักงาน คณะกรรมการนโยบายการศึกษาแห่งชาตจิ ึงมีความสาคัญอย่างมาก และตอ้ งมปี ระสทิ ธภิ าพสูง ร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. .... ได้กาหนดอานาจและหน้าที่ของ คณะกรรมการนโยบายการศกึ ษาแห่งชาติไว้ ๙ ข้อ ไดแ้ ก่ (๑) เสนอแนะนโยบายเก่ยี วกับการศึกษาต่อคณะรัฐมนตรี (๒) พจิ ารณาใหค้ วามเหน็ ชอบรา่ งแผนการศึกษาแหง่ ชาติของสานักงานเพื่อเสนอต่อคณะรัฐมนตรี ตามมาตรา ๖๐ (๓) เสนอแนะเก่ียวกับการจัดสรรงบประมาณด้านการศึกษาเพื่อประกอบการพิจารณาของ คณะรัฐมนตรี (๔) เสนอแนะเก่ียวกับแผนอัตรากาลังคนด้านการศึกษาท่ีต่ากว่าระดับอุดมศึกษาเพ่ือให้เป็นไป ตามแผนการศึกษาแหง่ ชาติ (๕) จดั ใหม้ กี ลไกให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาอยา่ งทัว่ ถึงและกาหนดมาตรการที่จะ ให้หน่วยงานของรัฐท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาและจังหวัดช้ีชวน ส่งเสริม และสนับสนุนให้เกิดการมี สว่ นรว่ มของประชาชนดงั กล่าว (๖) ติดตามดูแลการจัดการศึกษาให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติน้ีและแผนการศึกษาแห่งชาติ ในกรณีความปรากฏวา่ มีการปฏิบัติหรอื ดาเนินการไม่เปน็ ไปตามพระราชบัญญัตนิ ้ีหรอื แผนการศึกษาแหง่ ชาติ ให้รายงานต่อคณะรัฐมนตรีและเปิดเผยให้ประชาชนทราบ แต่ในกรณีท่ีเห็นว่ามีการไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๕ ให้แจ้งให้หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องเพื่อดาเนินการปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้องภายในเวลาที่คณะกรรมการนโยบาย กาหนดกอ่ น หากมไิ ด้มีการปรับปรงุ แกไ้ ขใหถ้ กู ต้อง ให้รายงานคณะรฐั มนตรีและเปดิ เผยใหป้ ระชาชนทราบ (๗) พิจารณาเสนอแนะให้มี หรือ ปรับปรุง หรือยกเลิก กฎหมายเก่ียวกับการศึกษาต่อ คณะรัฐมนตรี รวมทั้งให้ความเห็นหรือข้อสังเกตเก่ียวกับร่างกฎหมายท่ีมีผลกระทบต่อการศึกษาเพื่อ ประกอบการพิจารณาของคณะรัฐมนตรีหรือรัฐสภา (๘) แต่งต้ังคณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการเพื่อปฏิบัติงานตามท่ีคณะกรรมการนโยบาย มอบหมาย (๙) ปฏบิ ตั หิ น้าที่อื่นตามทบี่ ัญญตั ิไว้ในพระราชบัญญัตนิ ีห้ รือกฎหมายอื่น พระราชบัญญัติดังกล่าวยังกาหนดไว้ในบทเฉพาะกาลให้สานักงานเลขาธิการสภ าการศึกษา แห่งชาติไปรับหน้าทเี่ ป็นสานักงานคณะกรรมการนโยบายการศึกษาแห่งชาติ นอกจากน้ันยังมีพระราชบัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวัย ซ่ึงกาหนดให้มีการปฏิรูปกิจการด้าน การดแู ลและการศึกษาของเดก็ ปฐมวัย ซง่ึ เป็นระยะตน้ ของการพัฒนาร่างกาย และสมองของเด็ก อนั มผี ลอย่าง สาคัญต่อการเจริญเติบโต และการศึกษาในระยะต่อไป พระราชบัญญัติฉบับน้ีได้ประกาศใช้เป็นกฎหมายแล้ว โดยมีข้อกาหนดให้มีคณะกรรมการนโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย ซ่ึงมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน และให้
๙๕ เลขาธิการสภาการศึกษาเป็นกรรมการและเลขานุการ โดยให้คณะกรรมการนโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย มี หนา้ ท่แี ละอานาจดงั น้ี (๑) จัดทานโยบาย ยุทธศาสตร์และแผนพัฒนาเด็กปฐมวัยเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพ่ือให้ความ เห็นชอบ โดยนโยบาย และแผนดังกล่าวต้องสอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ชาติ แผนและข้ันตอนการปฏิรูปประเทศ ขอ้ มลู การศกึ ษาของชาติ ตอ้ ง แผนพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนการศึกษา สามารถนามาใชใ้ นการกาหนด นโยบายบนฐานประจกั ษ์ ถูกตอ้ ง แห่งชาติ และแผนอนื่ ทีเ่ กย่ี วข้อง ครบถว้ น และทนั การณ์ (๒) ประสานงาน กากับ ติดตาม และ ประเมินผล การดาเนินการให้เป็นไปตามแผนพัฒนาเด็ก ปฐมวยั ทีค่ ณะรฐั มนตรใี ห้ความเห็นชอบ (๓) กาหนดนโยบายการดาเนินงานของสานักงาน และให้ความเห็นชอบแผนงาน โครงการและ งบประมาณของสานักงาน (๔) กาหนดมาตรฐานและแนวปฏบิ ัตทิ ่ดี ีเกี่ยวกับการพัฒนาเด็กปฐมวยั (๕) อนุมตั ิหลักสตู รแกนกลางเพ่ือการพัฒนาเด็กปฐมวัย (๖) เสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรีให้ดาเนินการเสนอหรือแก้ไขกฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับการพัฒนา เดก็ ปฐมวยั (๗) ออกระเบียบ ประกาศ หรือคาสั่งที่เก่ียวข้องกับการพัฒนาเด็กปฐมวัยเพ่ือปฏิบัติให้เป็นไป ตามพระราชบัญญตั นิ ้ี (๘) จัดใหม้ แี ละพัฒนาฐานข้อมูลเด็กปฐมวัยและวเิ คราะห์ข้อมลู ดังกล่าวเพื่อพัฒนามาตรการและ แนวปฏิบัติท่ดี ีเพื่อการพัฒนาเด็กปฐมวัยในแต่ละช่วงวัยใหบ้ รรลวุ ัตถุประสงคต์ ามมาตรา ๗ และการดาเนินการ ตามมาตรา ๘ และมาตรา ๙ กับเชื่อมโยงฐานข้อมูลดังกล่าวกับฐานข้อมูลของหน่วยงานอ่ืนของรัฐเพ่ือ ประโยชนใ์ นการพัฒนาเดก็ ปฐมวัยและเพ่ือการจัดการศึกษาตามกฎหมายว่าดว้ ยการศึกษาแหง่ ชาตริ วมทั้งเพ่ือ ประโยชน์ในการจดั ทาหรือใหบ้ รกิ ารสาธารณะ (๙) เสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการจัดทางบประมาณแบบบูรณาการของหน่วยงาน ของรฐั ทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั การพัฒนาเดก็ ปฐมวยั (๑๐) บูรณาการการทางานร่วมกันระหว่างหน่วยงานของรัฐหรือองค์กรอ่ืนใดที่เก่ียวข้องทั้งใน ระดับชาติ ระดบั จังหวัด ระดบั ทอ้ งถนิ่ และระดับชุมชน (๑๑) แต่งตง้ั คณะกรรมการเฉพาะกจิ หรือคณะอนุกรรมการหรือคณะทางานเพื่อดาเนนิ การตามท่ี คณะกรรมการมอบหมาย (๑๒) ปฏิบัติการอ่ืนใดที่เกี่ยวข้องเพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามพระราชบัญญัตินี้หรือตามที่ คณะรฐั มนตรีมอบหมาย เม่ือร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติมีผลบังคับใช้ สานักงานคณะกรรมการนโยบายการศึกษา แห่งชาตจิ ึงคงมหี น้าทด่ี า้ นการศกึ ษาปฐมวยั ตามพระราชบัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวยั พ.ศ. ๒๕๖๒ ดว้ ย
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169