๑๔๖ (๓) เป็นเวทีที่มีการเข้ามาแลกเปล่ียนเรียนรู้ในลักษณะชุมชน นาไปสู่การเปิดโอกาสให้ทุกคน เข้ามาเรียนซึ่งจะลดความเหล่ือมล้า และนาแหล่งข้อมูลสื่อการเรียนรู้ใหม่เข้ามาได้ และมีการแลกเปล่ียน เรียนรกู้ ัน ตลอดจนเป็นเวทที ม่ี กี ารใหบ้ รกิ ารเพื่อการเรยี นรู้ (Service) ต่างๆ (๔) เพ่ือเร่งรัดแก้ปัญหาความเหลื่อมล้าและสร้างเสริมคุณภาพการศึกษา ทั้งระบบการศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งสาหรับผู้ท่ีอยู่ในท้องถิ่นห่างไกล หรือผู้ด้อยโอกาส หรือผู้ที่มีความจาเป็นพิเศษ อันเป็น การสร้างพลงั ให้กับผู้เรียน ครู และโรงเรยี น (๕) เพื่อพัฒนาคุณภาพครู และบุคลากรทางการศึกษา ให้สามารถปรับ บทบาทให้เป็น ผู้อานวยการเรียนรู้ (Facilitator) โดยเน้นให้ผู้เรียนมีวิธีหาความรู้ในโลกแห่งความรู้อันมากมายมหาศาล ใหเ้ ท่าทนั กบั ความเปลีย่ นแปลงของยคุ ดจิ ิทัลในศตวรรษที่ ๒๑ เป้าหมายเร่งด่วน ภายในเดอื นพฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๒ ๑) จัดตั้งโครงการดิจิทัลแพลตฟอร์มเพื่อการเรียนรู้แห่งชาติ โดยมีคณะกรรมการอานวยการ คณะกรรมการดาเนินงาน และมีผรู้ ับผิดชอบโครงการ ๒) วางนโยบายเก่ียวกับขอบเขต แนวทางและการดาเนินงานของดิจิทัลแพลตฟอร์มเพ่ือ การเรียนรู้แห่งชาติทาการศึกษา วางหลักเกณฑ์ และวิธีการดาเนินงานในการจัดต้ังดิจิทัลแพลตฟอร์มเพ่ือการ เรียนรู้แห่งชาติทาการรวบรวมข้อมูลสื่อทางการศึกษาที่อยู่ในรูปดิจิทัล เพื่อคัดเลือกสื่อที่เหมาะสม และหา ช่องว่างท่ีมีอยู่จัดทาส่ือเพ่ือการศึกษาระดับประถมศึกษาตอนต้น เพ่ือเป็นต้นแบบสาหรับสื่อ การเรียน และการประเมินผลเพ่ือพัฒนาการเรียน สาหรับวิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ตลอดจนทดลองและวจิ ยั การนาไปใช้ในพ้นื ทนี่ วตั กรรมการศกึ ษา เปา้ หมายระยะสนั้ ๑) จัดทาแผนปฏิบัติการดิจิทัลแพลตฟอร์มเพื่อการเรียนรู้แห่งชาติและจัดตั้งดิจิทัลแพลตฟอร์ม เพอ่ื การเรียนรแู้ หง่ ชาติ ๒) เป็นวิสาหกิจเพ่ือสังคม แล้วขยายผลการใช้ดิจิทัลแพลตฟอร์มเพื่อการเรียนรู้แห่งชาติไปใช้ทงั้ ระบบการศึกษา เป้าหมายระยะกลาง- ระยะยาว มีแพลตฟอร์มการเรียนรู้ด้วยดิจิทัลที่เกิดจากการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในลักษณะ Social Enterprise และคนทุกช่วงวัยนาไปใช้อย่างแพร่หลาย เกิดเครือข่ายทั่วประเทศและนาไปสู่การเรยี นรูต้ ลอด ชวี ิตและการยกระดับคุณภาพชวี ติ ของคนไทยไปสู่สากล
๑๔๗ ประเด็นการปฏิรูปท่ี ๗.๒ : ระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการศึกษา (Big Data for Education) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติมฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๔๕ ในหมวด ๕ การบริหารและจัดการศึกษา ได้กาหนดให้มีเป้าหมายท่ีจะเร่งรัดดาเนินการให้ทุกหน่วยงานมี การออกแบบ การพฒั นาระบบฐานข้อมูลกลางและระบบสารสนเทศ เพื่อการศึกษารวมท้ังการจดั เกบ็ รวบรวม ข้อมูลในการบริหารจดั การ เพ่ือรองรับการตัดสนิ ใจวางแผนและการดาเนินงานด้านการปฏิรูปการศึกษาในทุก ระดับ ตั้งแต่ระดับสถานศึกษาเขตพื้นท่ีการศึกษาจนถึงระดับกระทรวง รวมทั้งให้มีการพัฒนาระบบข้อมูล สารสนเทศท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานข้อมูลตามนโยบายที่มุ่งเน้นปรับระบบบริหารจัดการหน่ วยงานของรัฐ (กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๔๖ : ๖๖) ซึ่งปัจจุบันรัฐบาลได้มีการบูรณาการ Big Data ภาครัฐ ที่ทุกกระทรวง ต้องมีการบริหารจัดการข้อมูลในกระทรวงของตนเองร่วมกับกระทรวงอื่นๆ ในการแก้ปัญหาและการวางแผน ทรพั ยากรของประเทศ ที่ผ่านมา การพัฒนาด้านข้อมูลสารสนเทศเพื่อใช้ประโยชน์ในการจัดการศึกษามีความก้าวหน้า และความสาเรจ็ อยหู่ ลายประการ โดยในระยะท่ผี า่ นมาน้ี ได้แก่ ๑) รายงานประเมินผลการดาเนินการตามแผนการศึกษาแห่งชาติฉบับปรับปรุง (พ.ศ.๒๕๕๒- ๒๕๕๙) ระบุว่ามีการดาเนินการตามแนวนโยบายในแผนการศึกษาแห่งชาติให้พัฒนาและนาเทคโนโลยี สารสนเทศมาใช้เพ่ือการพัฒนาคุณภาพ เพ่ิมโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต ส่งผลให้มีการ ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศสนบั สนุนการบริหารจัดการในสถานศกึ ษาระดับต่างๆ มากขน้ึ ๒) มกี ารขยายและปรบั ปรงุ โครงสร้างพื้นฐานของระบบเครือข่ายสารสนเทศของสถานศึกษา เช่น การเข้าถึงอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง เพ่ือปรับปรุงการเช่ือมต่อข้อมูลเพื่อสนับสนุนการเข้าถึงสื่อการศึกษา และ การส่งต่อขอ้ มลู ระหวา่ งหนว่ ยงานให้มปี ระสทิ ธภิ าพสงู ข้ึน ลดความซ้าซ้อนและสว่ นที่ไมไ่ ด้ใช้ประโยชน์ ๓) มีความพยายามในการพัฒนาการจัดเก็บข้อมูลของสถานศึกษาเพื่อลดความซา้ ซ้อนของขอ้ มูล อบรมและพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรจานวนหนึ่ง รวมถึงจัดทาแผนปฏิบัติการดิจิทัลเพ่ือการศึกษาของ สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ ในการปฏิรูปการศึกษา ต้องมีการดาเนินการบูรณาการข้อมูลจากฐานข้อมูลของ กระทรวงศึกษาธิการร่วมกับแหล่งข้อมูลต่างๆ เพื่อสนับสนุนการดาเนินการของกองทุนเพ่ือเสมอภาคทาง การศึกษาในระดับข้อมูลรายบุคคลเพื่อจดั สรรความชว่ ยเหลือแก่กลุ่มเปา้ หมายทด่ี ้อยโอกาส รวมถงึ การพัฒนา ต่อยอดระบบสารสนเทศเช่ือมโยงแหล่งข้อมูลเพื่อตรวจสอบความถูกต้อง ให้การดาเนินการเป็นไปอย่าง โปร่งใส ตรวจสอบได้การปฏิรปู ระบบข้อมูลสารสนเทศเพ่ือการจดั การศึกษาต้องดาเนินการทั้งระบบอย่างเปน็ ระบบ โดยใช้ประโยชน์จากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีดิจทิ ัล ซ่ึงจะทาให้การปฏิรูปการศึกษาดว้ ยดิจิทัลเป็น รากฐานสาคัญในการสนับสนุนและขับเคล่ือนการปฏิรูปการศึกษาในส่วนอ่ืนๆ ทั้งน้ีข้อมูลและสารสนเทศ จะต้องมีความเพียงพอ ถูกต้อง เชื่อถือได้ และพร้อมใช้ เพื่อให้เอ้ือต่อการติดตามผลระยะยาว การวิเคราะห์ การตดั สินใจและการวางแผนการศึกษาระดับต่างๆการดาเนินการและการติดตามประเมนิ ผล
๑๔๘ ระบบข้อมูลและสารสนเทศเพ่ือการจัดการศึกษา (Big Data for Education) จะต้องได้รับ การพัฒนาอย่างเร่งด่วน จริงจัง เป็นรูปธรรม โดยมีการวางแผน ดาเนินการและติดตามผลเพื่อทบทวนและ ปรับปรุงอย่างเป็นระบบ มีผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน ตอบสนองความต้องการใช้ประโยชน์ของหน่วยปฏิบัติการ ต่างๆ เพื่อให้เกิดการบริหารจัดการผลการปฏิบัติงานด้วยข้อมูลในเรื่องต่างๆ และระดับต่างๆ ของระบบ การศึกษา ที่สนับสนุนและบูรณาการกับการปฏิรูปการศึกษาในส่วนอ่ืนๆ ตามแนวทางพัฒนาเชิงดิจิทัล ๖ แนวทาง เพอ่ื แกป้ ญั หาและเรง่ พฒั นาระบบการศึกษาของประเทศไทย เปา้ หมายรวม มีระบบข้อมูลและสารสนเทศเพ่ือการบริหารจัดการระบบการศึกษา ครอบคลุมการจัดทาข้อมูล รายบุคคลของผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา สถานศึกษา หน่วยงาน และกระบวนการที่เก่ียวข้องใน ทกุ ระดบั การศกึ ษาและทกุ ระบบการศึกษา เปา้ หมายเร่งด่วน ๑) มีข้อเสนอของการบูรณาการข้อมูลและสารสนเทศเพ่ือการศึกษา โดยปรับย้าย ถ่ายโอน ควบรวมและปรบั ปรุงหน่วยงานท่มี หี นา้ ทีอ่ ยู่เดิม ๒) มขี อ้ เสนอและแผนปฏบิ ัตกิ ารระบบบรู ณาการข้อมูลและสารสนเทศเพอ่ื การศึกษา เปา้ หมายระยะสน้ั ๑) มีการดาเนินการเพ่ือให้เกิดศูนย์สารสนเทศเพื่อการศึกษา (ภายใน ๑ ปี นับแต่วันท่ีแต่งตั้ง คณะกรรมการนโยบายการศึกษาแหง่ ชาติ และสามารถดาเนินการได้ภายใน ๒ ปี) ๒) มีระบบบูรณาการข้อมูลรายบุคคล ๔ องค์ประกอบ ได้แก่ ๑) ผู้เรียน ๒) ครูและบุคลากร ทางการศึกษา ๓) สถานศึกษา ๔) หน่วยงานที่เก่ียวข้องในทุกระดับการศึกษาและทุกระบบการศึกษา (อาทิ สทศ., สมศ.) ๓) มีระบบข้อมูลรายบุคคลของผู้เรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา สถานศึกษา หน่วยงาน และกระบวนการท่ีเก่ียวข้องในทุกระดับการศึกษา ทุกระบบการศึกษา สามารถใช้ประกอบการจัดสรร งบประมาณด้านการศกึ ษาไดอ้ ยา่ งครอบคลมุ การจดั การศึกษาเพื่อคุณวฒุ ิตามระบบ ประเด็นการปฏิรูปท่ี ๗.๓ : การพัฒนาความเป็นพลเมืองดิจิทัล (Digital citizenship) ในด้านความฉลาดรู้ดิจิทัล (Digital literacy) ความฉลาดรู้ สารสนเทศ (Information literacy)ความฉลาดรู้สื่อ (Media literacy) เพื่อการรู้วิธีการเรียนรู้ (Learning how to learn) ในการเรียนรู้ตลอดชีวิต ตลอดจนการมีพฤติกรรมท่ีสะท้อนการรู้กติกา มารยาท จริยธรรมเก่ียวกับ การใชส้ อื่ และการสื่อสารบนอนิ เทอร์เน็ต การเปล่ียนแปลงด้านเทคโนโลยีสื่อสารสารสนเทศในโลกได้มีผลต่อชีวิตมนุษย์ การงานอาชีพ และการศึกษาเพ่ือสร้างทรัพยากรมนุษย์เป็นอันมาก โดยเฉพาะผู้ที่เกิดหลังปี พ.ศ. ๒๕๓๘ ซ่ึงเป็นปีท่ีการใช้ โทรศัพท์มือถือและคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลได้ขยายตัวอย่างกวา้ งขวางนนั้ ถือว่าเป็นคนยุค Z อันเกิดมาในโลก ทีต่ ่างจากเดิม มโี อกาสใช้เทคโนโลยกี ้าวหน้าได้เต็มที่
๑๔๙ ในปัจจุบัน ข้อมูลและข้อความรู้หาได้ง่ายจากแหล่งต่างๆ ทั้งท่ีเป็นของสาธารณะและท่ีต้องซื้อ สมรรถนะอย่างหน่ึงของคนในปัจจุบนั และอนาคต คือความสามารถในการเข้าถึงความรู้ ดว้ ยการค้นจากแหล่ง ที่เหมาะสม ความรู้ยังซ้อนกันอยู่เป็นระดับ จึงต้องมีความสามารถท่ีจะค้นหาลงลึกไปยังส่ิงที่ต้องการ ซึ่งอาจ ไปถึงต้นตอของความรู้ แต่โดยที่ข้อมูลและความรู้มีมาก ด้วยความเชื่อถือได้ที่ต่างกัน ความสามารถในการ เลือกและพิจารณาข้อมูลท่ีจะนามาใช้จึงเพ่ิมความสาคัญข้ึน จะได้ไม่ถูกหลอกหรือชักจูงไปให้เช่ืออย่างไม่ ถูกต้อง การวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลจึงมีบทบาทมากข้ึน การศึกษาจึงต้องสร้างสมรรถนะเหล่านี้เป็น เบื้องต้น ข้อมูลในปัจจุบันไม่ได้มาในรูปตัวอักษรอย่างเดียว แต่มาในสื่อผสม ดังจะเห็นได้ว่า YouTube เป็น แหล่งความรู้ที่มีผู้ใช้มากท่ีสุด ข้อมูลในรูปความเห็นและประสบการณ์มักมาในรูปของ Social media ซ่ึงมี ความหลากหลายอย่างมาก การแลกเปลี่ยนกันของผู้ท่ีมีความสนใจในเรื่องเดียวกันกลายเป็นแหล่งความรู้ท่ีมี ความหมายมากข้ึน ชุมชนเพ่ือการเรียนรู้จึงเป็นกลไกสาคัญในการพัฒนาครู และผู้บริหารสถานศึกษา ตลอดจนการเรยี นรขู้ องผู้เรียนระหวา่ งผู้เรียนกันเอง การแสดงออกของบุคคล หรือการส่ือสารไปยังผู้อ่ืนก็เปล่ียนไปจากเดิม เน่ืองจากการส่ือสารด้วย มีเดียหลายอย่างผสมกัน มีสมรรถนะมากกว่าดว้ ยตัวอักษรอย่างเดยี ว พฒั นาการดา้ นนี้ทาให้หนงั สือพิมพ์และ นติ ยสารหลายแหง่ ตอ้ งปิดตวั ลง Meme วิดโี อสน้ั เกม และรูปแบบอื่นๆตลอดจนปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) และ Machine learning ได้ขยายการส่ือสารออกไปในมิติใหม่ แม้แตก่ ารเสนอศลิ ปะได้เข้ามามี บทบาทในสังคมเพ่ิมขนึ้ Virtual reality และ Augmented reality ทาใหส้ ามารถส่ือและสร้างความเข้าใจใน ส่ิงที่สลับซับซ้อนได้ดีกว่าเดิมมาก คนในอนาคตจึงต้องสามารถส่ือสารได้อย่างมีประสิทธิภาพด้วยเทคโนโลยที ่ี หลากหลาย และต้องรจู้ ักและใชเ้ กณฑค์ ุณธรรม และจริยธรรมสาหรบั การส่ือสารในลักษณะใหมด่ ้วย การบริหารจัดการท้ังข้อมูล ความรู้และองค์กร ก็เปลี่ยนแปลงไป โดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศ นโยบาย การปฏิบัติ และการประเมินผลสามารถต้ังอยู่บนฐานข้อมูลท่ีครบถ้วนและถูกต้องเช่ือถือได้ การผัน แปรดิจิทัลจึงเป็นเคร่ืองมือสาคัญในการบริหารจัดการทั้งองค์กร การงานและชีวิตของบุคคล สมรรถนะด้าน ข้อมูลท่ีมีขนาดเหมาะสมจึงเป็นส่ิงท่ีไม่อาจหลีกเลี่ยงได้แล้ว ข้อมูลบัญชีครัวเรือนมีบทบาทในการรักษาความ ม่นั คงทางการเงินของบคุ คล ยิ่งเป็นระดับทีส่ งู ขน้ึ และสลับซบั ซ้อนมากขึน้ ความสามารถในการจดั การข้อมูลจะ ยิ่งสาคัญมากขึ้น องค์กรหรือประเทศชาติท่ีบริหารข้อมูลไม่ดี จะไม่สามารถแข่งขันได้ ในโลกธุรกิจ ความสามารถน้ี รวมทั้งความสามารถด้านน้ีของบุคลากรในองค์กรหมายถึงการความดารงอยู่ของธุรกิจน้ันๆ อาชีพใหม่ๆ จึงเกิดข้ึน แทนอาชีพเดิมที่ถูกทดแทนด้วยหุ่นยนต์ ความท้าทายนี้มีผลต่อระบบการศึกษาอย่าง มาก เป้าหมายและวิสัยทัศน์ของการศึกษาท่ีปรับตัวไม่ทันโลก จะท้ังตัวถ่วงการพัฒนาและความสามารถใน การแข่งขัน แผนยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติ แผนบุคลากร และแผนการเงินจึงต้องอยู่ในบริบทใหม่ สาหรับการ ปฏิรูปการศึกษาต้องสร้างระบบการศึกษาที่พร้อมจะตอบการท้าทายของยุคใหม่หลักสูตรการศึกษาต้องเป็น หลักสูตรฐานสมรรถนะที่เน้นพัฒนาทักษะและสมรรถนะในศตวรรษที่ 21 โดยเน้นเนื้อหา วิชาความรู้ที่ สอดคล้องกับบริบทท่ีเปลี่ยนแปลงไปและความต้องการของสังคมพหุวัฒนธรรมวิถีการดาเนินชีวิต และ ตลาดแรงงานในยุคเทคโนโลยี 4.0 วิธีการเรียนการสอนต้องปรับให้ส่งเสริมการเรียนการสอนแบบมี ปฏิสัมพันธ์ (Interactive Learning) ซึ่งผู้เรียนเป็นผู้ควบคุมการเรยี นรู้ของตนเอง แสวงหาและสร้างความรู้ ได้ด้วยตนเอง (Active Learning) รวมท้ังเป็นผู้สร้างสรรค์นวัตกรรมด้วย โดยอาศัยสื่อเทคโนโลยีดิจิทัลต่างๆ ทัง้ นี้ บทบาทของครูก็จะเปลย่ี นไปด้วย กล่าวคือ ตอ้ งเป็น Facilitator คอยแนะนา และให้ข้อเสนอแนะเพ่ือให้ ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม รวมท้ังต้องพัฒนาศักยภาพของตนเองให้สามารถใช้ส่ือดิจิทัลเพ่ือ กระตุ้นการเรียนรู้ของผู้เรียน และออกแบบการสอนท่ีเหมาะสมสอดคล้องกับพฤติกรรมและศักยภาพของ
๑๕๐ ผู้เรียน ซ่ึงเป็นคนรุ่นใหม่ที่เกิดมาในยุคใหม่ กระบวนการบริหารจัดการการศึกษาจะต้องมีความยืดหยุ่นและมี ความหลากหลายมากขึ้น ผู้บริหารซึ่งเกิดและเติบโตมาในสมัยก่อนยุคดิจิทัลต้องใจกว้างและเข้าใจ ตลอดจน ปรับความสามารถให้ทันกาลด้วย การพลิกโฉมการศึกษาด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Transformation for Education) จงึ ไม่ใช่แคก่ ารนาเทคโนโลยีมาใชใ้ นการเรียนการสอนเท่านั้น แตต่ ้องเปน็ การปรับหลักคิด วธิ กี าร และพฤติกรรมดว้ ย การบริหารระบบการศึกษาของรัฐ และการกากับดูแลการศึกษาโดยรวม จึงต้องมีการปฏิรูปการ บริหารราชการแผ่นดิน ให้เกิดการบริหารท่ีมีประสิทธิภาพ สัมฤทธิผล ผลิตภาพ และโปร่งใส มีธรรมาภิบาล โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทลั เปน็ เครื่องมอื (รายละเอียดข้อมูล และแหล่งอ้างอิง ปรากฏในรายงานคณะกรรมการอิสระเพ่ือ การปฏิรูปการศกึ ษา เฉพาะเร่อื งที่ ๙ Digital Transdformation in Education) เปา้ หมายรวม คนไทยมีความฉลาดรู้ มคี วามเข้าใจ สามารถตดั สินใจและตอบสนองต่อการใช้ส่ือและระบบดิจิทัลได้ อย่างเหมาะสมในแตล่ ะช่วงวยั เปา้ หมายเรง่ ดว่ น มีการจัดทาข้อเสนอวา่ ดว้ ยการเสริมสรา้ งสมรรถนะด้านดิจทิ ัลและการร้เู ท่าทันสื่อของประชาชน เปา้ หมายระยะสัน้ ประชาชนในวัยเรียนและผู้สูงอายุมีระดับสมรรถนะด้านดิจิทัลและการรู้เท่าทันสื่ออยู่ในระดับดีมาก อย่างน้อยร้อยละ ๖๐ ครอบคลุมการเข้าถึง ความเข้าใจ การวิเคราะห์ การตีความ การประเมินคุณค่า ความ น่าเช่ือถอื ของสื่อ สารสนเทศ และเทคโนโลยีดิจทิ ัล เพ่อื เลือกรับและใช้ประโยชน์ รวมทง้ั สรา้ งสรรค์สื่อ ขา่ วสาร และส่ือสารอย่างเป็นผู้รู้เท่าทันตนเอง โดยคาถึงผลกระทบต่อผู้อ่ืนและสังคมโดยรวม รวมท้ังสามารถใช้ ประโยชน์จากสื่อ สารสนเทศและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคม โดยคานึงถึงคุณ โทษ และผลกระทบท่จี ะเกิดต่อผู้อื่นและสังคม เปา้ หมายระยะกลาง-ยาว คนไทยทุกช่วงวัยมรี ะดบั สมรรถนะด้านดจิ ิทลั และการรเู้ ทา่ ทันส่อื อยู่ในระดับดีมาก
๑๕๑ ตอนที่ ๕ ขอ้ เสนอแนะ
๑๕๒ ข้อเสนอแนะต่อรัฐบาล ๑. สร้างความตระหนักให้สังคมทุกภาคส่วนเห็นความจาเป็นต้องมีการปฏิรูปการศึกษาของชาติ และการมีส่วนร่วมในการปฏริ ูป โดยตระหนกั ถึงความรุนแรงและหนกั หนว่ งของปัญหา ที่รัฐบาลตอ้ งดาเนนิ การ แก้ไขอย่างจริงจังและต่อเน่ือง ตลอดจนเห็นผลเสียที่จะเกิ ดข้ึนกับประชาชนและประเทศชาติ ในอนาคต หากการปฏริ ูปไมส่ มั ฤทธิผ์ ล ๒. ผลักดันให้เกิดคณะกรรมการนโยบายการศึกษาแห่งชาติ สานักงานคณะกรรมการนโยบาย การศกึ ษาแห่งชาติ คณะกรรมการวิชาการ และคณะกรรมการขบั เคล่ือนการปฏริ ูป โดยเร็ว รวมทั้งใหส้ ามารถ ดาเนินงานได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ ๓. ปรับปรุงงานการศึกษาของชาติตามแนวทางและเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติฉบับใหม่ และแผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา รวมทั้งเน้นการประสานงาน และการสร้าง เครือข่ายเพ่ือความความร่วมมือกัน โดยการดาเนินการอย่างมีประสิทธภิ าพ และมีเป้าหมายของการปฏิรูปอยู่ ท่ีผลสัมฤทธิ์สุดท้ายที่เกิดข้ึนในสมรรถนะของผู้เรียน อันจะเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียน และต่อสังคมโดยรวม ตลอดจนปรับการจัดสรรงบประมาณของชาติ และการเงินเพ่ือการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความเปน็ ธรรมและธรรมาภบิ าล ๔. จัดการกองทุนเพ่ือความเสมอภาคทางการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ และเกิดผลสามารถลด และแก้ไขความเหล่ือมล้าทางการศึกษา โดยมีการจัดสรรงบประมาณให้อย่างเพียงพอ มีการบริหารจัดการ อยา่ งเป็นอสิ ระ ทมี่ ปี ระสทิ ธิภาพและธรรมาภบิ าล ตามเจตนารมณ์ของรฐั ธรรมนญู ๕. ผลักดันให้เกิดการปรับเปลย่ี นโรงเรียนในระบบการศึกษา เพื่อให้เกิดสัมฤทธิผลของผู้เรียนทม่ี ี คุณภาพระดับสากลและสามารถสร้างความเช่ียวชาญได้ตามความถนัด โดยบุกเบิกจากพ้ืนท่ีนวัตกรรม การศึกษา ตามพระราชบญั ญตั ิพ้นื ที่นวัตกรรมการศึกษา และขยายผลออกไปยงั โรงเรยี นต่างๆ ท่วั ประเทศ ๖. เรง่ รดั การพฒั นาเด็กปฐมวยั ตามพระราชบัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๒ ๗. จัดทาแผนการผลิตครู สภาพการทางาน การพัฒนา และการสร้างความก้าวหน้าในวิชาชีพครู ทั้งระยะส้ันและระยะยาว รวมท้ังดาเนินการส่งเสริมสนับสนุนครูให้เป็นปัจจัยหลักในการปฏิรูปการศึกษา จนสามารถสร้างคณุ ภาพ ขจัดความเหลอ่ื มลา้ และสร้างความสามารถในการแขง่ ขนั ทางการศกึ ษาของชาติได้ ๘. ส่งเสรมิ การบรหิ ารจัดการโรงเรยี น โดยมีผ้บู รหิ ารทมี่ ภี าวะผูน้ า ความเปน็ ครู และสมรรถนะที่ จาเปน็ ในการสรา้ งคณุ ภาพการศึกษาได้ ๙. เร่งรัดการจัดการศึกษาสาหรับผู้พิการ และผู้ท่ีมีความต้องการจาเป็นพิเศษ ด้วยการจัดให้มี ผูร้ ับผิดชอบเปน็ การเฉพาะ ทาหนา้ ท่ีวางแผนบริหารจดั การด้านการศึกษาพิเศษท่ีมปี ระสิทธภิ าพ ท้ังขบั เคลื่อน ให้มีการจัดการศึกษาเรียนรวมในชั้นเรียน และมีการพัฒนาครูให้มีสมรรถนะด้านนี้ ตลอดจนมีทีมสหวิชาชีพ เพอื่ ชว่ ยดแู ล ๑๐. จัดการบริหารงานตลอดจนการสนับสนุนการศึกษาในลักษณะรูปแบบพิเศษที่เหมาะสม สาหรับเดก็ เยาวชน และประชาชนในทอ้ งถนิ่ หา่ งไกล และท้องถิ่นทมี่ ีภูมสิ งั คมจาเพาะและภาษาเฉพาะถนิ่
๑๕๓ ๑๑. จัดโครงสร้างและการบริหารงานกระทรวงศึกษาธิการ ให้สอดรับกับพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติฉบบั ใหม่ และแผนการปฏิรปู ประเทศดา้ นการศกึ ษา ๑๒. จัดการปรับแก้กฎหมายขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินให้มีสิทธิในการจัดการศึกษาได้ตาม ความพรอ้ ม สามารถสนบั สนนุ การจัดการศึกษาทุกสังกดั ไดต้ ามความจาเป็น เหมาะสม แต่ไมซ่ ้าซ้อนกบั โครงการ ของต้นสังกัดอื่นที่ได้จัดสรรงบประมาณแล้ว รวมถึงจัดการด้านงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินให้มี เพียงพอ ที่จะรับภาระหนา้ ท่ดี า้ นการศึกษาท้งั ในบทบาทการศึกษาตลอดชวี ิต และการดูแลเด็กปฐมวยั ๑๓. สนับสนุนให้เกิดความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชนในการจัดการอาชีวศึกษาเพื่อให้ การอาชีวศึกษาสามารถรองรับความก้าวหน้าในการใช้เทคโนโลยีท่ีทันสมัย สามารถผลิตกาลังแรงงานท่ีมีทักษะ ความเชยี่ วชาญสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานและส่งเสริมการพัฒนาสมรรถนะในเชงิ ปฏบิ ัติแก่ครู และผู้เรียนอย่างเป็นรูปธรรมโดยมุ่งใช้มาตรฐานสมรรถนะเป็นตัวตั้ง เน้นการฝึกปฏิบัติและทักษะพ้ืนฐานของ การเป็นผู้ประกอบการ รวมทั้งให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้จากการปฏิบัติทั้งนี้ จาเป็นต้องมีการพิจารณามาตรการ สร้างแรงจูงใจในการสร้างความร่วมมือในการจัดการอาชีวศึกษาโดยอาจใช้มาตรการสิทธิประโยชน์ทางภาษีให้ มากข้ึน เพ่อื เปน็ กลไกสาคัญในการขับเคลอื่ นความรว่ มมือให้ไปสู่การดาเนนิ การในทางปฏิบัตติ ่อไป
๑๕๔ ข้อเสนอแนะต่อสงั คม ๑. ทุกภาคส่วนของสังคม ท้ังรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคธุรกิจเอกชน ภาคประชาสังคม ชุมชน และปัจเจกชน สร้างความตระหนักให้เห็นความจาเป็นต้องมีการปฏิรูปการศึกษาของชาติ และสร้าง บทบาทหน้าที่และการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายในการปฏิรูปการศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หน้าท่ีของพ่อแม่ ผู้ปกครอง และชมุ ชนในการดแู ลอบรมเด็กและเยาวชน ๒. ทุกภาคส่วนของสังคมสร้างเสริมเจตคติและค่านิยมที่ดีในสังคม ได้แก่ การให้ความสาคัญกับ คุณภาพที่แท้จริงของการศึกษา มากกว่าปริญญาบัตรและการรับรอง การมีส่วนร่วมรับผิดชอบและส่งเสริม สนับสนุนการศึกษาในส่วนต่างๆ แทนท่ีการยกให้เป็นหน้าที่ของรัฐท้ังหมด การเห็นประโยชน์ของส่วนรวม เหนอื ประโยชนส์ ว่ นตน และการมีจิตสาธารณะ ไม่ดดู าย และชว่ ยเหลอื เมอ่ื สามารถชว่ ยได้ ๓. สังคมตระหนักถึงความจาเป็นต้องสร้างการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของชาติ ในทุกภาคส่วน ของสงั คมและลดความเหลื่อมล้าทางการศึกษา เพ่อื สร้างความยตุ ธิ รรมในสังคม และพลังรว่ มกนั ในการพัฒนา ประเทศใหเ้ จริญก้าวหนา้ ๔. ทุกภาคส่วนของสังคมเข้าไปมีบทบาทในการส่งเสริมการศึกษาในลักษณะและรูปแบบต่างๆ ตามความเหมาะสม เพือ่ ให้เกิดคณุ ภาพทด่ี ี และเพ่มิ โอกาสการศกึ ษา ๕. ภาคส่วนต่างๆ ในสังคมสรา้ งการรวมตวั กันในรปู แบบทเ่ี หมาะสม เพื่อร่วมพัฒนาการศึกษา ๖. สังคมต้องมีความเข้าใจถึงความสลับซับซ้อนของปัญหาการศึกษา และสภาพที่การปฏิรูป ในหลายด้านต้องอาศัยเวลา และความละมุนละม่อมในการแก้ไข รวมท้ังความกล้าหาญอดทนในการ ดาเนนิ การ
๑๕๕ ข้อเสนอแนะตอ่ ส่ือมวลชน ๑. สือมวลชนทุกส่วนสรา้ งความตระหนักและความรับผิดชอบในการมีบทบาททางการศึกษาของชาติ ๒. สือมวลชนทุกส่วนใช้การเสนอของสือให้มีผลในการเพิมความรู้ ความเข้าใจ เจตคติทีดี และ สติปัญญาให้สงั คม พรอ้ มกับดแู ลไมใ่ ห้เกดิ ผลทางลบตอ่ สังคมอยา่ งสม่าเสมอ ๓. สือมวลชนด้านการศึกษาทุกแขนงช่วยกันน่าเสนอข้อมูลวิชาการและข้อมูลเชิงประจักษ์ ทีจ่าเป็นต้องรู้และเข้าใจ รวมถึงการสร้างเจตคติทีเหมาะสมต่อการปฏิรูปการศึกษาในประเด็นทีส่าคัญและมี ความสลับซับซ้อน เพือให้สังคมไทยสามารถขับเคลือนวาระการปฏิรูปการศึกษาทีส่าคัญได้ ด้วยการสนับสนุน จากสังคมทุกภาคสว่ น อยา่ งเป็นอิสระ และปลอดจากผลประโยชนแ์ ละวาระทางการเมืองตา่ งๆ ๔. สือมวลชนทุกแขนงเพิมพืนทีสือสารให้แก่กลุ่มเป้าหมายผู้ด้อยโอกาส และหน่วยงาน ด้านการศึกษาทีท่างานเพือผู้ด้อยโอกาส และผู้ทีอยู่ในพืนทีห่างไกลและทุรกันดารให้สามารถสือสารถึงแหล่ง ทรัพยากรและนโยบายทีจา่ เป็นในการสนับสนุนงานเพอื ความเสมอภาคทางการศกึ ษา
๑๕๖ รายช่ือคณะกรรมการอสิ ระเพอ่ื การปฏริ ปู การศึกษา ๑. ศาสตราจารย์กติ ติคณุ นายแพทย์จรัส สวุ รรณเวลา ประธานกรรมการ ๒. รองศาสตราจารย์ดารณี อุทยั รตั นกจิ กรรมการ ๓. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์นายแพทย์เฉลิมชยั บุญยะลีพรรณ กรรมการ กรรมการ (ลาออกวนั ที ๑๑ กันยายน ๒๕๖๑) กรรมการ ๔. นางกอบกุล อาภากร ณ อยธุ ยา กรรมการ กรรมการ (ลาออกวันที ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๒) กรรมการ ๕. นายไกรยส ภัทราวาท กรรมการ ๖. รองศาสตราจารย์นายแพทย์จริ ตุ ม์ ศรรี ตั นบลั ล์ กรรมการ ๗. รองศาสตราจารยช์ ัยยุทธ ปญั ญสวสั ดส์ิ ุทธิ์ กรรมการ ๘. นางชตุ นิ าฏ วงศ์สุบรรณ กรรมการ ๙. นายตวง อันทะไชย กรรมการ กรรมการ (ลาออกวนั ที ๒๘ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๐) กรรมการ ๑๐. รองศาสตราจารย์ธติ พิ ันธ์ุ เชอื บญุ ชยั กรรมการ ๑๑. รองศาสตราจารย์ทศิ นา แขมมณี กรรมการ ๑๒. รองศาสตราจารย์นิชรา เรืองดารกานนท์ กรรมการ ๑๓. นายนพดล เภรีฤกษ์ กรรมการ ๑๔. รองศาสตราจารย์นภดล รม่ โพธ์ิ กรรมการ ๑๕. นายปกรณ์ นิลประพนั ธ์ กรรมการ ๑๖. นายประสาร ไตรรัตน์วรกลุ กรรมการ ๑๗. ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารยป์ ารีณา ศรีวนิชย์ กรรมการ ๑๘. นางเพชรชดุ า เกษประยรู กรรมการ ๑๙. นายไพรินทร์ ชูโชติถาวร กรรมการ กรรมการ (ลาออกวนั ที ๑๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๐) กรรมการ ๒๐. นางภทั รียา สุมะโน ๒๑. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ยวุ ดี นาคะผดงุ รตั น์ ๒๒. นางเรยี ม สงิ ห์ทร ๒๓. นายววิ ัฒน์ ศัลยกา่ ธร (ลาออกวนั ที ๑๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๐) ๒๔. ศาสตราจารย์วริ ิยะ นามศริ พิ งศ์พนั ธุ์ (ลาออกวนั ที ๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒) ๒๕. รองศาสตราจารยศ์ ิริเดช สุชวี ะ ๒๖. นายศภุ ชยั เจยี รวนนท์ ๒๗. นายอนสุ รณ์ แสงนิมนวล
๑๕๗ รายนามคณะอนุกรรมการต่างๆ ๑. คณะอนกุ รรมการปฏริ ูปโครงสร้างหน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้องกบั การศกึ ษา ๑. นายไพรนิ ทร์ ชโู ชติถาวร ประธานอนกุ รรมการ (ลาออกวนั ที ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๐) ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์เฉลิมชัย บุญยะลพี รรณ (ลาออกวนั ที ๑๑ กนั ยายน ๒๕๖๑) รองศาสตราจารยช์ ัยยทุ ธ ปัญญสวัสดสิ์ ทุ ธิ์ ๒. นายตวง อันทะไชย รองประธานอนุกรรมการ (ลาออกวันที ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๐) ๓. นางกอบกุล อาภากร ณ อยธุ ยา อนกุ รรมการ (ลาออกวนั ที ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๒) ๔. นายไกรยส ภทั ราวาท อนุกรรมการ ๕. รองศาสตราจารย์ นายแพทย์จริ ุตม์ ศรรี ตั นบัลล์ อนุกรรมการ ๖. นายนนทกิ ร กาญจนะจติ รา อนกุ รรมการ ๗. นางเบญจวรรณ สรา่ งนิทร อนุกรรมการ ๘. นางเพชรชดุ า เกษประยูร อนกุ รรมการ ๙. นางภัทรยี า สุมะโน อนกุ รรมการ ๑๐.ผู้ช่วยศาสตราจารยย์ ุวดี นาคะผดงุ รตั น์ อนกุ รรมการ ๑๑.นายศภุ ชัย เจียรวนนท์ อนกุ รรมการ (ลาออกวนั ที ๑ มกราคม ๒๕๖๑) ๑๒.นายสวัสด์ิ ภูท่ อง อนุกรรมการ ๑๓.ศาสตราจารย์สุรพล นิตไิ กรพจน์ อนกุ รรมการ ๒. คณะอนกุ รรมการเฉพาะกจิ เพ่ือพิจารณารา่ งพระราชบัญญตั กิ ารอดุ มศึกษา พ.ศ. .... ๑. ศาสตราจารยก์ ิตตคิ ณุ นายแพทยจ์ รสั สุวรรณเวลา ประธานอนุกรรมการ ๒. รองศาสตราจารย์ นายแพทย์จริ ุตม์ ศรีรัตนบัลล์ อนกุ รรมการ ๓. ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์เฉลมิ ชยั บุญยะลพี รรณ อนุกรรมการ (ลาออกวันที ๑๑ กันยายน ๒๕๖๑) ๔. รองศาสตราจารยช์ ัยยทุ ธ ปญั ญสวสั ดิ์สทุ ธิ์ อนุกรรมการ ๕. นางชุตินาฏ วงศส์ ุบรรณ อนกุ รรมการ ๖. นายตวง อนั ทะไชย อนุกรรมการ (ลาออกวันที ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๐) ๗. รองศาสตราจารย์ธติ ิพนั ธุ์ เชอื บญุ ชยั อนกุ รรมการ ๘. นายปกรณ์ นลิ ประพนั ธ์ อนุกรรมการ ๙. รองศาสตราจารยโ์ ศภณ นภาธร อนุกรรมการ ๑๐.ศาสตราจารย์อุดม คชินทร อนุกรรมการ ๑๑.ศาสตราจารย์สมคดิ เลิศไพฑรู ย์ อนกุ รรมการ
๑๕๘ ๑๒.ศาสตราจารย์บวรศกั ดิ์ อวุ รรณโณ อนุกรรมการ ๑๓.ศาสตราจารยก์ ติ ตคิ ณุ สุทธิพร จิตต์มติ รภาพ อนกุ รรมการ ๑๔.นายพรชยั มงคลวนชิ อนกุ รรมการ ๑๕.นางสาววิลาวลั ย์ ตานอ้ ย อนุกรรมการ ๑๖.นายสมศกั ด์ิ ดลประสิทธ์ิ อนกุ รรมการ ๓. คณะอนกุ รรมการเฉพาะกิจศึกษาแนวทางการจัดทาพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ ๑. ศาสตราจารย์กติ ตคิ ุณ นายแพทย์จรัส สุวรรณเวลา ทปี รึกษา ๒. นายวิวฒั น์ ศลั ยกา่ ธร ประธานอนุกรรมการ (ลาออกวนั ที ๑๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๒) รองศาสตราจารย์ นายแพทย์จิรตุ ม์ ศรีรตั นบัลล์ ประธานอนุกรรมการ ๔. นางกอบกลุ อาภากร ณ อยุธยา อนกุ รรมการ ๕. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์นายแพทยเ์ ฉลิมชยั บุญยะลีพรรณ อนุกรรมการ (ลาออกวนั ที ๑๑ กนั ยายน ๒๕๖๑) ๖. รองศาสตราจารยด์ ารณี อุทยั รัตนกจิ อนุกรรมการ ๗. นายตวง อนั ทะไชย อนกุ รรมการ (ลาออกวันที ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๐) ๘. รองศาสตราจารย์ประวติ เอราวรรณ์ อนกุ รรมการ ๙. นางเพชรชดุ า เกษประยูร อนุกรรมการ ๑๐. นางภัทรยี า สุมะโน อนกุ รรมการ ๑๑. นางสาวภาระวี สวุ รรณดิษฐากุล อนกุ รรมการ ๑๒. ผู้ชว่ ยศาสตราจารยย์ วุ ดี นาคะผดงุ รตั น์ อนุกรรมการ ๑๓. นางเรียม สิงหท์ ร อนุกรรมการ ๑๔. นางวรรธนม์ น บญุ ญาธกิ าร อนุกรรมการ ๑๕. นางสาววชิ ชกุ าญจน์ พัฒนพนั ธช์ ัย อนกุ รรมการ ๑๖. ศาสตราจารย์วิรยิ ะ นามศริ ิพงศ์พนั ธุ์ อนกุ รรมการ (ลาออกวันที ๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒) ๑๗. เลขาธกิ ารสภาการศึกษา อนุกรรมการ ๔. คณะอนุกรรมการเด็กเล็ก ทปี รึกษา ๑. ศาสตราจารยช์ นติ า รกั ษพ์ ลเมอื ง ประธานกรรมการ ๒. ศาสตราจารยว์ ริ ิยะ นามศริ ิพงศ์พนั ธ์ุ (ลาออกวันที ๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒) อนกุ รรมการ ๓. รองศาสตราจารยจ์ ีระพนั ธุ์ พลู พัฒน์ อนกุ รรมการ ๔. นางชุตนิ าฏ วงศส์ บุ รรณ อนกุ รรมการ ๕. รองศาสตราจารยด์ ารณี อทุ ัยรตั นกิจ อนกุ รรมการ ๕. นางธดิ า พิทกั ษ์สนิ สุข อนกุ รรมการ ๖. รองศาสตราจารยน์ ชิ รา เรืองดารกานนท์ อนกุ รรมการ ๗. นายนุชากร มาศฉมาดล
๑๕๙ ๘. นางสาวพรชลุ ี ลังกา อนกุ รรมการ ๙. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์พเิ ชฐ โสวิทยสกลุ อนกุ รรมการ (ลาออกวนั ที ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๐) อนุกรรมการ ๑๐. นายยงยุทธ วงศภ์ ริ มยศ์ านต์ิ อนุกรรมการ ๑๒. นางเรียม สิงห์ทร อนุกรรมการ ๑๓. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์เลขา ปิยะอัจฉริยะ อนกุ รรมการ ๑๔. นางสาววรนาท รักสกลุ ไทย อนกุ รรมการ ๑๕. นายวิวัฒน์ ศลั ยกา่ ธร อนกุ รรมการ (ลาออกวนั ที ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๒) อนุกรรมการ ๑๖.นางสมพร หวานเสรจ็ อนุกรรมการ ๑๗. นางสิริกร มณีรนิ ทร์ อนกุ รรมการ ๑๘. นางสุภาวดี หาญเมธี ๑๙. รองศาสตราจารยส์ ุรยิ เดว ทรีปาตี ประธานอนุกรรมการ ๕. คณะอนกุ รรมการครูและอาจารย์ รองประธานอนกุ รรมการ ๑. นายวิวฒั น์ ศัลยกา่ ธร (ลาออกวนั ที ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๒) อนกุ รรรมการ รองศาสตราจารยศ์ ริ เิ ดช สชุ ีวะ อนุกรรมการ ๒. นางกอบกุล อาภากร ณ อยธุ ยา อนุกรรมการ (ลาออกวนั ที ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๒) อนุกรรมการ ๓. รองศาสตราจารย์กิติพงค์ มะโน ๔. นางเกศทิพย์ ศภุ วานิช อนกุ รรมการ ๔. รองศาสตราจารย์ใจทิพย์ ณ สงขลา อนกุ รรมการ ๕. ผ้ชู ่วยศาสตราจารยเ์ ฉลมิ ชยั บุญยะลพี รรณ อนุกรรมการ (ลาออกวนั ที ๑๑ กนั ยายน ๒๕๖๑) อนุกรรมการ ๖. รองศาสตราจารย์เฉลยี วศรี พิบูลชล อนกุ รรมการ ๗. รองศาสตราจารย์ดารณี อุทยั รัตนกจิ อนกุ รรมการ ๘. รองศาสตราจารยท์ ิศนา แขมมณี ๙. นายนพปฎล เดชอุดม อนกุ รรมการ ๑๐. รองศาสตราจารย์บังอร เสรรี ตั น์ ๑๑. รองศาสตราจารยป์ ระภาภัทร นยิ ม อนกุ รรมการ (ลาออกวันที ๑๘ ธนั วาคม ๒๕๖๐) อนกุ รรมการ ๑๒. นางสาวพรรณราย พหลโยธิน อนกุ รรมการ (ลาออกวนั ที ๑๒ ธนั วาคม ๒๕๖๐) ๑๓. นางเพชรชุดา เกษประยูร ๑๔. นางเรยี ม สิงหท์ ร ๑๕. รองศาสตราจารยล์ ดั ดา ภ่เู กียรติ
๑๖๐ ๑๖. นายศุภชัย เจียรวนนท์ อนุกรรมการ (ลาออกวนั ที ๑ มกราคม ๒๕๖๑) อนกุ รรมการ อนุกรรมการและเลขานุการ ๑๗. นางเอือมพร ลอยประดิษฐ์ (ลาออกวันที ๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๐) ประธานอนกุ รรมการ อนุกรรมการ ๑๘. นางสาวสมรัชนกี ร ออ่ งเอิบ อนุกรรมการ อนุกรรมการ ๖. คณะอนกุ รรมการกองทนุ ๑. นายประสาร ไตรรัตน์วรกลุ อนุกรรมการ ๒. นายขจร ธนะแพสย์ อนกุ รรมการ ๓. รองศาสตราจารย์จริ ุตม์ ศรรี ัตนบัลล์ อนกุ รรมการ ๔. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์เฉลิมชัย บุญยะลพี รรณ อนกุ รรมการ (ลาออกวนั ที ๑๑ กนั ยายน ๒๕๖๑) ๕. รองศาสตราจารยช์ ยั ยุทธ ปญั ญสวัสดสิ์ ุทธิ์ อนกุ รรมการ ๖. นายปกรณ์ นลิ ประพันธ์ ๗. นางสาววลัยรตั น์ ศรอี รุณ อนุกรรมการ ๘. ศาสตราจารย์วิรยิ ะ นามศริ ิพงศ์พนั ธ์ุ อนุกรรมการ (ลาออกวันที ๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒) อนุกรรมการ ๙. นายววิ ฒั น์ ศัลยก่าธร อนุกรรมการ (ลาออกวันที ๑๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๒) ๑๐. นายสมเกยี รติ ตงั กจิ วานชิ ย์ อนกุ รรมการและเลขานุการ ๑๑. นายอนสุ รณ์ แสงนิมนวล ๑๒. อธบิ ดกี รมบญั ชีกลาง ประธานอนุกรรมการ ๑๓. ผอู้ า่ นวยการส่านักงานเศรษฐกิจการคลัง รองประธานอนุกรรมการ (นายมยรู บญุ ยะรตั น์) ผ้แู ทน รองประธานอนุกรรมการ ๑๔. นายไกรยส ภทั ราวาท อนกุ รรมการ ๗. คณะอนุกรรมการการเรียนการสอน อนกุ รรมการ ๑. ผู้ชว่ ยศาสตราจารยย์ ุวดี นาคะผดุงรัตน์ อนุกรรมการ ๒. รองศาสตราจารย์ดารณี อทุ ยั รตั นกจิ อนกุ รรมการ ๓. รองศาสตราจารย์ศิริเดช สุชีวะ ๔. นางกอบกุล อาภากร ณ อยธุ ยา อนกุ รรมการ (ลาออกวันที ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๒) อนุกรรมการ ๕. รองศาสตราจารยใ์ จทิพย์ ณ สงขลา ๖. รองศาสตราจารย์ทิศนา แขมมณี ๗. นายตวง อนั ทะไชย (ลาออกวันที ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๐) ๘. รองศาสตราจารย์นภดล รม่ โพธิ์ ๙. นายประดษิ ฐ นวลจันทร (ลาออกวนั ที ๑๐ กันยายน ๒๕๖๑)
๑๖๑ ๑๐. รองศาสตราจารยพ์ มิ พนั ธ์ เดชะคปุ ต์ อนกุ รรมการ ๑๑. นายวริ ิยะ ฤๅชัยพาณิชย์ อนกุ รรมการ ๑๒. นายวีระศกั ดิ์ วงษ์สมบตั ิ อนกุ รรมการ ๑๓. รองศาสตราจารยส์ ธุ รี ะ ประเสรฐิ สรรพ์ อนกุ รรมการ ๘. คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจด้านอาชีวศึกษา ประธานอนุกรรมการ ๑. นายอนสุ รณ์ แสงนิมนวล รองประธานอนกุ รรมการ ๒. นายตวง อนั ทะไชย (ลาออกวันที ๒๘ พศจิกายน ๒๕๖๐) อนกุ รรมการ ๓. รองศาสตราจารยว์ ฒุ ิชัย กปิลกาญจน์ อนกุ รรมการ ๔. นายชัยพฤกษ์ เสรรี กั ษ์ อนุกรรมการ ๕. นายไกรยส ภัทราวาท อนกุ รรมการ ๖. นายถาวร ชลัษเฐียร อนุกรรมการ ๗. นายอรรถการ ตฤษณารังสี อนุกรรมการ ๘. นายวีระศกั ดิ์ วงษส์ มบัติ อนุกรรมการ ๙. นายวิรยิ ะ ฤาชัยพาณชิ ย์ อนุกรรมการ ๑๐. นายประดษิ ฐ์ ระสติ านนท์ อนุกรรมการ ๑๑. นายโพธวิ ฒั น์ เผา่ พงศ์ช่วง อนุกรรมการ ๑๒. นายสมศกั ด์ิ ดลประสทิ ธิ์ อนกุ รรมการ ๑๓. นายอดิศร สนิ ประสงค์ อนกุ รรมการและเลขานกุ าร ๑๔. นางสาวสมรัชนกี ร ออ่ งเอบิ อนุกรรมการและเลขานกุ าร ๑๕. นางพรพิมล เมธริ านนั ท์ อนุกรรมการและเลขานกุ าร ๑๖. นางสาวดวงทิพย์ วิบลู ยศ์ กั ดิ์ชัย อนกุ รรมการและเลขานุการ ๑๗. นางสาวทตายา รชั ตาธวิ ัฒน์ อนุกรรมการและเลขานกุ าร ๑๘. นายภัทร์ธนชาติ อาษากิจ ประธานอนกุ รรมการ ๙. คณะอนกุ รรมการเฉพาะกจิ การมีส่วนร่วมของเอกชน อนกุ รรมการ ๑. รองศาสตราจารย์ดารณี อทุ ัยรตั นกิจ ๒. นางกอบกลุ อาภากร ณ อยธุ ยา อนุกรรมการ (ลาออกวนั ที ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๒) อนุกรรมการ ๓. รองศาสตราจารยช์ ัยยทุ ธ ปัญญสวสั ด์ิสุทธิ์ อนุกรรมการ ๔. นางเพชรชุดา เกษประยูร ๕. ศาสตราจารย์วิรยิ ะ นามศิริพงศ์พันธ์ุ (ลาออกวันที ๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒)
๑๖๒ ๑๐. คณะอนุกรรมการรบั ฟงั ความคดิ เห็น ประธานอนุกรรมการ ๑. นายตวง อันทะไชย (ลาออกวันที ๒๘ พศจกิ ายน ๒๕๖๐) รองประธานอนุกรรมการ นางกอบกลุ อาภากร ณ อยธุ ยา อนกุ รรมการ (ลาออกวันที ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๒) นางเรียม สิงหท์ ร อนุกรรมการ ๒. รองศาสตราจารยธ์ ติ ิพนั ธ์ุ เชอื บุญชยั อนุกรรมการ ๓. นายปรีชา บวั วริ ัตน์เลิศ อนุกรรมการ (ลาออกวนั ที ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๑) อนกุ รรมการ ๔. นายสมศักดิ์ ดลประสิทธิ์ ๕. นายบรู พาทศิ พลอยสวุ รรณ์ อนุกรรมการ ๖. นายภทั ระ ค่าพิทักษ์ อนกุ รรมการ ๗. นายองค์กร อมรสิรินันท์ (ลาออกวนั ที ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๑) อนกุ รรมการ ๘. นายประสทิ ธ์ิ จันทร์ดา อนุกรรมการ ๙. นายศกั ด์ิสิน โรจน์สราญรมย์ อนกรรมการ (ลาออกวันที ๑๘ กันยายน ๒๕๖๑) อนกุ รรมการ ๑๐. นายอธิปปรชั ญ์ ภคั วัฒนภ์ ักดี อนกุ รรมการ ๑๑. นายกลนิ สระทองเนยี ม อนุกรรมการ ๑๒. นายพสิ ฐิ นาครา่ ไพ อนุกรรมการ ๑๓. นายอัครเดช สุพรรณฝ่าย อนุกรรมการ ๑๔. นางศริ พิ ร ศริพนั ธ์ุ อนุกรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร ๑๕. นายสมพงษ์ ผุยสาธรรม อนกุ รรมการและผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร ๑๖. นายอ่านาจ จ่าปาทอง อนกุ รรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ๑๗. นายพเิ ชษฐ์ นนทพ์ ละ อนุกรรมการและผชู้ ่วยเลขานกุ าร ๑๘. นายชาญชัย มาณจักร์ อนุกรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร ๑๙. นายเฉลิมพล เอยี ดพลู อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ๒๐. นายวรพจน์ หาญใจ ๒๑. นายอรรถพล ไชยนรุ กั ษ์ ประธานอนุกรรมการ ๒๒. นายสราวธุ ส่งศรี รองประธานอนุกรรมการ ๒๓. นางสาวสรุ รี ัตน์ ขจรศกั ด์ิ ๑๑. คณะอนุกรรมการส่ือสารสังคม ๑. นางภัทรยี า สมุ ะโน ๒. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยเ์ ฉลมิ ชยั บญุ ยะลีพรรณ (ลาออกวนั ที ๑๑ กันยายน ๒๕๖๑) พลเอกจริ ะ โกมุทพงศ์ นายชยั พฤกษ์ เสรีรกั ษ์
๑๖๓ ๓. นายวิวัฒน์ ศัลยกาธร อนุกรรมการ (ลาออกวนั ที ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๒) อนกุ รรมการ ๔. ศาสตราจารยว์ ิริยะ นามศริ ิพงศ์พนั ธุ์ (ลาออกวนั ที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒) อนุกรรมการ อนกุ รรมการ ๕. รองศาสตราจารย์ศิรเิ ดช สุชวี ะ อนุกรรมการ ๖. นายนิมิต สทิ ธไิ ตรย์ อนกุ รรมการ ๗. รองศาสตราจารย์ วา่ ทรี่ ้อยโท พชิ ยั สดภบิ าล อนกุ รรมการ ๘. นายบุญเลิศ คชายทุ ธเดช อนกุ รรมการ ๙. นายจอมพจน์ ภรู่ ักศกั ด์ิศรี อนุกรรมการ ๑๐. นางฐาณิญา พงษศ์ ริ ิ อนกุ รรมการ ๑๑. นายธนติ ย์ ธรรมจรสั อนกุ รรมการ ๑๒. พลเรอื ตรีหญิง สรุ ชั ฎา ชลออยู่ อนกุ รรมการ ๑๓. นายพฤทธิยา รมุ าคม อนุกรรมการ ๑๔. นายฤทธณิ รงค์ กลุ ประสูตร อนุกรรมการและเลขานุการ ๑๕. นางสาววชิ ชลุ าวณั ย์ พิทักษ์ผล อนกุ รรมการและผู้ช่วยเลขานกุ าร ๑๖. นางสาวชนัญญา อุ่นจนั ทร์ อนุกรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานกุ าร ๑๗. นางฐติ ิวรดา แห้วเพ็ชร อนุกรรมการและผชู้ ่วยเลขานกุ าร ๑๘. นายธนพงศ์ ภักดีเจริญ ๑๙. นางสาวมณฑลี ทมิ า อนกุ รรมการและผูช้ ว่ ยเลขานกุ าร อนกุ รรมการและผชู้ ่วยเลขานุการ (ลาออกวันที่ ๓ ธันวาคม ๒๕๖๑) ๒๐. นายเอกกพล เลิศไกร เลขาธิการสภาการศึกษา ๒๑. นายบุรีชาติ ทิมพิทักษ์ เลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา ๑๒. ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการอสิ ระเพ่ือการปฏิรูปการศึกษา ๑. นายกมล รอดคล้าย เลขาธกิ ารสภาการศึกษา (ตังแตว่ นั ที ๓๐ พ.ค. ๒๕๖๐ ถงึ วันที ๒๖ ส.ค. ๒๕๖๐ ) ๒. นายชัยพฤกษ์ เสรรี ักษ์ รองเลขาธิการสภาการศึกษา (ตงั แต่วนั ที ๒๒ ก.ย. ๒๕๖๐ ถึง วันที ๑๗ พ.ย. ๒๕๖๑ ) ๓. นายสุภทั ร จา่ ปาทอง รองเลขาธิการสภาการศึกษา (ตังแตว่ ันที ๒๕ ธ.ค. ๒๕๖๑ ถึง วันที ๒๙ พ.ค. ๒๕๖๒) รองเลขาธิการสภาการศึกษา ๒. นายชยั ยศ อมิ สุวรรณ์ ผตู้ รวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ (ตังแต่วนั ที ๑๘ พ.ย. ๒๕๖๑– ๓๐ ก.ย. ๒๕๖๑) ผ้ชู ว่ ยเลขาธกิ ารสภาการศึกษา ๓. นายสมศกั ดิ์ ดลประสิทธิ์ ผอ.ส่านักพัฒนากฎหมายการศึกษา ๔. นางวัฒนาพร ระงับทุกข์ นักวิชาการศกึ ษาช่านาญการพเิ ศษ ๕. นายเฉลิมชนม์ แน่นหนา ๖. นางสาวสมรัชนีกร อ่องเอบิ ๗. นายสวสั ด์ิ ภทู่ อง ๘. นายสมพงษ์ ผยุ สาธรรม
๑๖๔ ๙. นายอิศรฎั ฐ์ รินไธสง อ า จ า ร ย์ ป ร ะ จ่ า ค ณ ะ วิ ท ย า ก า ร จัดการ (มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์) ๑๐. นายเนติ รัตนากร นิตกิ รช่านาญการพเิ ศษ ๑๓. คณะบุคคลผ้ตู รวจรายงาน เจ้าหน้าทสี ่านกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา ๑. นางสาวณัฐิกา นิตยาพร เจา้ หนา้ ทีสา่ นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ๒. นางสาวอไุ รวรรณ พันธส์ ุจรติ เจ้าหนา้ ทสี า่ นักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา ๓. นางสาววภิ าดา วานิช เจา้ หน้าทสี ่านกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา ๔. นางสาวจอมหทยาสนทิ พงษ์เสฐียร เจ้าหนา้ ทสี ่านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ๕. นางสาวนวพร กาญจนศรี เจา้ หน้าทสี า่ นกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา ๖. นางสาวศนิชา ภาวโน เจ้าหน้าทสี า่ นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ๔. นางสาวรงุ่ ทิพย์ มานะกิจ เจ้าหนา้ ทสี ่านกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา ๕. นายชษิ ณุ วิญญพุ นั ธ์ ผู้ช่วยนกั วชิ าการ สา่ นักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา ๖. นายเธียรพัฒน์ ชุปวา ผชู้ ่วยนกั วิชาการ สา่ นกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา ๗. นายดษุ ฎี ศริ ิราช
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169