Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียน

รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียน

Description: รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียน

Search

Read the Text Version

95 ตารงที่ 4.6 แสดงค่าเฉลย่ี (  ) สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) การพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผ้เู รยี น ดว้ ยความรว่ มมือกบั ภาคีเครือขา่ ย วทิ ยาลยั เทคนิคเกษตรวิสยั ดา้ นความร่วมมือภาคี เครอื ข่าย การพฒั นาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรยี น ระดับความคดิ เหน็ ด้านความรว่ มมอื ภาคเี ครือข่าย (n243) 1.เครือขา่ ยและชมุ ชนมีส่วนร่วมในการปฏิบตั ิงานรว่ มกันตาม  S.D แปลผล อนั ดับ แผนทกี่ าหนดไว้โดยชุมชนเปน็ ผตู้ ดั สินใจ 2.76 0.97 ปานกลาง 1 2.เมอ่ื พบปัญหาเครือข่ายรว่ มกนั แก้ไขปรับปรุงข้อบกพร่อง เพอ่ื พัฒนาหรอื ดาเนนิ งานต่อไป 2.62 0.88 ปานกลาง 4 3.เครือขา่ ย และชมุ ชนร่วมประชมุ สรปุ ผล และประเมนิ ผล หลังปฏิบตั ิกิจกรรมเสรจ็ ส้ิน 2.68 0.95 ปานกลาง 3 4.เครือขา่ ยส่งเสริมใหช้ มุ ชนจะร่วมเปน็ ผใู้ ห้ และผรู้ บั การ เรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆ ตามความเหมาะสม 2.69 0.90 ปานกลาง 2 5.เครอื ขา่ ยมกี ารเรียนรู้ เพ่ือการประเมินผลร่วมกัน 2.56 0.80 ปานกลาง 5 รวม 2.66 0.56 ปานกลาง จากตารางท่ี 4.6 พบว่า การพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย ด้านความร่วมมือภาคีเครือข่าย โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เม่ือพิจารณา เปน็ รายขอ้ อยู่ในระดบั ปานกลางห้าข้อ โดยข้อที่มีค่าเฉลี่ยมากท่ีสุด คือ เครือข่ายและชุมชนมีส่วนร่วมใน การปฏิบัติงานร่วมกันตามแผนที่กาหนดไว้โดยชุมชนเป็นผู้ตัดสินใจ รองลงมา คือ เครือข่ายส่งเสริมให้ ชุมชนจะร่วมเป็นผู้ให้ และผู้รับการเรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆ ตามความเหมาะสม ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยน้อย ท่สี ดุ คือ เครือข่ายมกี ารเรยี นรู้ เพ่ือการประเมินผลรว่ มกัน


96 ระยะท่ี 2 สร้างรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคี เครือขา่ ย วิทยาลยั เทคนิคเกษตรวสิ ัย จากการวิเคราะหก์ ารวิจัยในระยะที่ 1 พบว่า มี 1 ตัวแปรท่ีส่งผลต่อการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ ผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย และเพื่อให้ได้รูปแบบการพัฒนา สมรรถนะวิชาชพี ผเู้ รยี นด้วยความร่วมมือกับภาคเี ครอื ขา่ ย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย ผู้วิจัยมีการดาเนิน ขั้นตอน ดงั นี้ 1. นาผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากค่าเฉล่ียน้อยท่ีสุดในการวิจัยระยะท่ี 1 นามาสร้างเป็น รปู แบบ 2. จัดการประชุมปฏิบัติการ (Workshop) ผู้วิจัยนารูปแบบการวิจัยท่ีผู้วิจัยทาข้ึน มานาเสนอใน ทีป่ ระชมุ ปฏิบัตกิ าร ซึง่ ในที่ประชุมประกอบด้วยกลุ่มที่มีส่วนเกี่ยวข้องท่ีเป็นกลุ่มเป้าหมาย ใช้เวลาในการ ประชุมปฏิบัติ 1 วัน ในการประชุมเชิงปฏิบัติการได้มีการร่วมกันวิพากษ์รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะ วชิ าชพี ผ้เู รียนด้วยความรว่ มมอื กับภาคีเครือขา่ ย วทิ ยาลัยเทคนคิ เกษตรวิสัย ที่ผู้วจิ ัยได้สรา้ งข้ึน และมีการ นาเสนอข้อวิพากษ์และข้อเสนอแนะในการประชุมย่อย (Focus Group) ของตัวเองมาสรุปและอภิปราย ผลทั้งหมดในท่ีประชุมใหญ่เพื่อร่วมกันวิพากษ์ (Brain Storming) และนาผลจากการเสนอแนะมา ปรับปรุงเป็นรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเ ครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัยให้สมบูรณข์ น้ึ 3. การนาเสนอรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัยท่ีได้จากการประชุมปฏิบัติการ (Workshop) ที่ได้ปรับปรุงแล้ว นาเสนอให้ ผเู้ ชี่ยวชาญประเมนิ รปู แบบและเลือกกจิ กรรม ด้วยการให้คะแนนความเหมาะสม 5 ระดับ เหมาะสมน้อย ท่สี ุด เหมาะสมน้อย เหมาะสมปานกลาง เหมาะสมมาก เหมาะสมอย่างย่ิง และเลือกรูปแบบกิจกรรมที่ได้ คะแนนตั้งแต่ 3.51-5 มาพัฒนาปรับปรุงรปู แบบตามขอ้ เสนอแนะของผเู้ ชยี่ วชาญให้สมบูรณ์ ก่อนจะนาไป ทดลองในระยะท่ี 3 ต่อไป 2.1 การสร้างรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสยั โดยผูว้ ิจยั ผู้วิจัยได้นาผลการวิเคราะห์ข้อมูลในระยะท่ี 1 เพ่ือนามาสร้างเป็นรูปแบบการพัฒนา สมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย ซึ่งจากการวิจัย พบว่า มี 1 ตัวแปรท่ีมีผลต่อการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วทิ ยาลัยเทคนคิ เกษตรวิสัย ไดแ้ ก่ ด้านความร่วมมอื ภาคีเครอื ขา่ ย 2.1.1 รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วทิ ยาลัยเทคนิคเกษตรวิสยั ผลการวิเคราะห์ดา้ นความรว่ มมือภาคีเครือขา่ ยมีค่าเฉลีย่ 2.66 ซ่ึงอยใู่ นระดบั ปานกลาง มคี า่ เฉลยี่ น้อยท่ีสดุ ใน 4 ดา้ น


97 จากน้นั ผู้วจิ ยั จึงได้จดั ทารปู แบบโดยได้กาหนดกิจกรรมขึน้ 5 กจิ กรรมคอื กจิ กรรมท่ี 1 ปฐมนิเทศและ Pretest กิจกรรมที่ 1 การปฐมนเิ ทศ และ Pretest ใช้ การ Online โดยโปรแกรม Google meet ช่อื กิจกรรม การปฐมนิเทศ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างความคุ้นเคยระหว่างผู้บริหาร ครู ผู้ประกอบการ ผู้นาชุมชน นักเรียน และนักศึกษา เพ่ือให้เกิดบรรยากาศที่อบอุ่น ไว้วางใจซึ่งกันและกัน พร้อมที่จะร่วมทากิจกรรม เพอ่ื การพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย ไป ด้วย 2. เพื่อให้ผู้บริหาร ครู ผู้ประกอบการ ผู้นาชุมชน นักเรียน และนักศึกษาทราบ วิธีการของการใช้ชุดกิจกรรมด้านความร่วมมือภาคีเครือข่าย รวมท้ังเวลา และสถานท่ีท่ีใช้ในการทา กจิ กรรม สื่ออุปกรณ์ แบบสอบถามดา้ นความร่วมมอื ภาคีเครือข่าย (Pretest) เวลา 45 นาที การดาเนนิ การ 1. ขนั้ นา 1. ผู้บริหาร ครู ผู้ประกอบการ ผู้นาชุมชน นักเรียน และนักศึกษาทักทาย และชี้แจง จดุ ประสงค์ของการจัดกจิ กรรม แนวทางการปฏิบตั ิเร่อื งวัน สถานท่ี ระยะเวลาในการเข้าร่วมกิจกรรม 2. ให้ผู้บริหาร ครู ผู้ประกอบการ ผู้นาชุมชน นักเรียน และนักศึกษา ทาแบบสอบถาม (Pretest) โดยส่งเป็น Google from 2. ข้นั ดาเนนิ การ 1. ใหผ้ ู้บริหาร ครู ผู้ประกอบการ ผ้นู าชมุ ชน นักเรียน และนักศกึ ษาเขา้ Google meet 2. สร้างความคุ้นเคยระหว่างผู้บริหาร ครู ผู้ประกอบการ ผู้นาชุมชน นักเรียน และ นกั ศึกษา ดว้ ยกจิ กรรมแนะนาตวั ในชอ่ งแซท Google meet แนะนาตวั เองก่อนโดยการแนะนาตนเองจะ มีอยู่ 2 ข้อ คือ1. ช่ือ 2. ลักษณะเด่นหรือนิสัยของตนเอง (ซึ่งต้องเป็นลักษณะท่ีดีหรือนิสัยของตนเองเพ่ือ สรา้ งความภมู ใิ จให้กับตนเอง) 3. ข้ันสรปุ ร่วมกนั สรุปแนวทางการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม เพ่ือความเข้าใจทตี่ รงกัน การประเมนิ ผล 1. สังเกตจากการซกั ถาม และร่วมแสดงความคิดเห็นของผบู้ ริหาร ครู ผู้ประกอบการ ผนู้ าชมุ ชน นักเรียน และนกั ศึกษา


98 2. ผลการทาแบบประเมิน (Pretest) 3. การให้ความร่วมมือในการทากิจกรรม กิจกรรมท่ี 2 การพฒั นาศกั ยภาพการทางานเปน็ ทีม ช่อื กิจกรรม การทางานเป็นทมี วัตถุประสงค์ 1. ให้ผู้เข้าอบรมสัมมนาได้รับความรู้ ความเข้าใจในการทางานร่วมกัน การ ทางานเป็นทีม และเสริมสร้างมนษุ ยสัมพนั ธท์ ีด่ ีตอ่ กัน 2. ให้ผู้เข้าร่วมอบรมสัมมนาเรียนรู้บทบาทของการทางานเป็นทีม และ ประโยชนใ์ นการทางานเป็นทมี เกดิ ความสมั พนั ธ์ท่ดี ีต่อกนั เพอื่ นาไปส่คู วามสาเร็จของตนเองและทีมงาน 3. พัฒนาทักษะต่าง ๆ ในการสร้างทีมที่มีประสิทธิภาพ และเพ่ือสามารถ วางแผนบรหิ ารทีม ภายใต้เงอ่ื นไขหรือกตกิ าที่กาหนด และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานของ ตน สอ่ื อุปกรณ์ ทมี วิทยากร เวลา 1 วนั การดาเนินการ 1. ขัน้ นา 1) ผบู้ รหิ ารวทิ ยาลยั เทคนิคเกษตรวสิ ัย กลา่ วเปดิ โครงการ 2) ผู้วิจยั ชี้แจง วัตถุประสงคก์ ารอบรม แนะนาทมี วิทยากร และหัวขอ้ ทอ่ี บรม 2. ขน้ั ดาเนนิ การ ผูบ้ ริหาร ครู ผูป้ ระกอบการ ผู้นาชมุ ชน นกั เรยี น และนักศึกษา เขา้ รว่ มอบรมสัมมนา


99 เวลา 08.00- 08.30 น. 0.9.00-10.30 10.30-12.00 12.00 – 14.00-16.30 น. 08.30 น. น. น. 13.00 น. วัน เดือน ปี ลงทะเบียน พธิ ีเปดิ โครงการพฒั นา ทศั นคติเชงิ การสร้าง พกั กิจกรรม 11 กันยายน ศักยภาพการทางาน บวกในการ ทมี งานให้เป็น รับประทาน เสริมสรา้ งความ 2563 เปน็ ทีม ทางานเปน็ ทมี หนึง่ อาหาร สามัคคสี กู่ าร กลางวนั เสริมสรา้ ง โดย โดยวทิ ยากร โดยวทิ ยากร นายสทิ ธิศักดิ์ เพิม่ พูล ดร.ธปิ ดิ์ ภา ดร.อรทุ ธ์ จนั ทีมงาน ผ้อู านวยการ สวา่ ง ทมลู โดย วทิ ยาลยั เทคนิคเกษตร นายสุชาติ วสิ ยั ชาตวิ รรณ 3. ขน้ั สรุป ร่วมกนั สรปุ แนวทางการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม การประเมินผล 1. สงั เกตจากการซกั ถาม และรว่ มแสดงความคดิ เหน็ ของผูบ้ รหิ าร ครู ผู้ประกอบการ ผนู้ าชมุ ชน นักศึกษา และนักเรยี น ในการเข้าร่วมอบรมสัมมนา 2. การใหค้ วามร่วมมือในการทากิจกรรม การพฒั นาทกั ษะดา้ นดิจทิ ัลในยคุ วิถใี หม่ ชอื่ กจิ กรรม 3 การพัฒนาทกั ษะดา้ นดจิ ิทัลในยคุ วิถีใหม่ วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพอื่ การใชเ้ ทคโนโลยใี นการบรหิ ารงานใน สถานศึกษายคุ วถิ ีใหม่ 2. เพ่ือการใช้เทคโนโลยใี นการตดิ ต่อ ส่อื สาร เพือ่ การทางานรว่ มกนั 3. เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรในการนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการ ปฏิบัตงิ านในสถานการณป์ จั จุบนั ส่ืออุปกรณ์ วทิ ยากร, โทรศพั ทม์ ือถอื , คอมพวิ เตอร์ เวลา 1 วัน การดาเนินการ 1. ข้นั นา


100 1) ผู้บรหิ ารวิทยาลัยเทคนคิ เกษตรวิสยั กลา่ วเปดิ โครงการ 2) ผู้วจิ ยั ช้ีแจง วตั ถปุ ระสงคก์ ารอบรม แนะนาวิทยากร และหวั ข้อทอ่ี บรม 2. ขน้ั ดาเนนิ การ ผ้บู รหิ าร ครู ผปู้ ระกอบการ ผู้นาชมุ ชน นกั เรยี น และนกั ศกึ ษาเขา้ ร่วมอบรมสัมมนา เวลา 08.00- 08.30 น. 0.9.00-10.30 10.30-12.00 12.00 – 14.00-16.30 น. 08.30 น. วนั เดอื น ปี น. น. 13.00 น. 18 กนั ยายน ลงทะเบยี น พธิ เี ปิดโครงการพัฒนา การใช้ การฝกึ พัก -การปฏิสัมพนั ธ์ 2563 ทักษะดา้ นดจิ ทิ ัลในยุค โปรแกรม ปฏบิ ตั ิการใช้ รบั ประทาน ระหว่างการ วถิ ใี หม่ Zoom โปรแกรม อาหาร ประชุมด้วย Zoom กลางวนั Mobile App โดย โดยวทิ ยากร -การใชง้ าน นายสิทธิศกั ดิ์ เพม่ิ พูล ดร.กมล ลอด โดยวิทยากร Google ผอู้ านวยการ คลา้ ย ดร.กมล ลอด Meeting App วทิ ยาลัยเทคนิคเกษตร นายกิตติ สี คลา้ ย วสิ ัย ทะ นายกติ ติ สีทะ ยอดนยิ ม การฝึกปฏิบตั ิ 3. ข้ันสรุป รว่ มกันสรปุ แนวทางการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม การประเมินผล ผู้บริหาร ครู ผ้ปู ระกอบการ ผู้นาชมุ ชน นักเรยี นและนกั ศกึ ษาทเ่ี ข้าร่วมอบรม สามารถใช้โปรแกรม Zoom ประชุมด้วย Mobile App ใชง้ าน Google Meeting App ได้ การเสริมสร้างภาคเี ครือข่ายความร่วมมือในระดบั พ้นื ท่ี ช่ือกจิ กรรม 4 การเสริมสรา้ งภาคีเครือข่ายความรว่ มมือในระดับพ้นื ที่ วัตถปุ ระสงค์ 1. เพื่อให้ภาคีเครือเครือข่ายชุมชน สถานประกอบการ ประสานความร่วมมือให้เกิด ประโยชนก์ บั นักเรียน นกั ศึกษา 2. เพ่อื ประสานความรว่ มมอื ระหว่างวทิ ยาลยั เทคนคิ เกษตรวสิ ัยและหน่วยงานทั้งภาครัฐ และเอกชนในทอ้ งถน่ิ สอ่ื อุปกรณ์ วทิ ยากร บรรยาย เวลา 1 วัน


101 การดาเนนิ การ 1. ขัน้ นา 1. ผูบ้ ริหารวทิ ยาลัยเทคนิคเกษตรวสิ ัย กลา่ วเปดิ โครงการ 2. ผู้วจิ ัยช้ีแจง วตั ถุประสงค์การอบรม แนะนาวทิ ยากร และหวั ขอ้ ท่อี บรมเชิง ปฏบิ ตั ิการ 2. ขัน้ ดาเนนิ การ เวลา 08.00- 08.30 น. 0.9.00-10.30 น. 10.30-12.00 12.00 – 14.00-16.30 08.30 น. น. 13.00 น. น. วัน เดอื น ปี ลงทะเบยี น พิธีเปดิ โครงการ การอภปิ รายกล่มุ กิจกรรมสร้าง พัก -กิจกรรม 25 กนั ยายน โครงการเสรมิ สรา้ ง เชงิ สรา้ งสรรค์ ความสมั พันธ์ รับประทาน Workshop 2563 ภาคีเครอื ขา่ ยความ และความเป็น อาหาร รว่ มมอื ในระดับพ้ืนท่ี โดยวิทยากร เครือข่าย กลางวนั โดยวทิ ยากร นายบรรจง พล นายบรรจง โดย ขนั ธ์ โดยวิทยากร พลขนั ธ์ นายสทิ ธศิ ักด์ิ นายฐฐวรรธน์ นายกุล อักษรนู นายฐฐวรรธน์ เพิ่มพลู สุวรรณศรี สวุ รรณศรี ผอู้ านวยการ นายกลุ วทิ ยาลัยเทคนิค อกั ษรนู เกษตรวสิ ัย 3. ขนั้ สรปุ ร่วมกันสรุปแนวทางเสริมสร้างภาคีเครือขา่ ยความร่วมมือ การประเมนิ ผล 1. สังเกตจากการซักถาม และร่วมแสดงความคิดเห็นของผู้บรหิ าร ครู ผู้ประกอบการ ผู้นาชุมชน นักเรยี น และนกั ศึกษา ในการเข้ารว่ มอบรมสัมมนา 2. การให้ความร่วมมือในการทากจิ กรรม 3. ได้ระบบการเสริมสร้างภาคเี ครือข่ายความร่วมมือ


102 การปจั ฉิมนิเทศ ชอ่ื กิจกรรม 5 การปัจฉมิ นิเทศ วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผูบ้ ริหาร ครู ผปู้ ระกอบการ ผู้นาชุมชน นักศึกษา และนักเรียนได้สรุปทบทวน สิ่งทีร่ ว่ มกิจกรรม 1-5 และการนาไปใชใ้ ห้เกิดประโยชนใ์ นชวี ิตประจาวนั 2. เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้แสดงความรู้สกึ ในการเขา้ รว่ มกจิ กรรมนี้ สอื่ อุปกรณ์ แบบสอบถามด้านความร่วมมือภาคีเครือข่าย (Posttest) เวลา 1 วัน การดาเนินการ 1. ขั้นนา 1) ผบู้ รหิ ารวทิ ยาลัยเทคนคิ เกษตรวิสัย กลา่ วเปดิ โครงการ 2) เปิดใจ พูดคุยถงึ ประสบการณก์ ารเรียนรูจ้ ากกิจกรรมท่ีผ่านมาทัง้ 1-5กจิ กรรม 2. ขั้นดาเนินการ ทาแบบสอบถามดา้ นความรว่ มมือภาคีเครอื ขา่ ย (Posttest) 3. ข้นั สรุป การนาหลกั เกณฑ์ความร่วมมือภาคีเครือข่ายไปใช้ได้อย่างเหมาะสม การประเมนิ ผล ผลการตอบแบบสอบถาม (Posttest)


103 2.2 การพิจารณารูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคี เครอื ข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวสิ ัย เมื่อผู้วิจัยได้ผลจากการประชุมปฏิบัติการและข้อเสนอแนะจากท่ีประชุมแล้ว ผู้วิจัยได้นามา ป รั บ ป รุ ง ใ ห้ เ ป็ น รู ป แ บ บ ก า ร พั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ วิ ช า ชี พ ผู้ เ รี ย น ด้ ว ย ค ว า ม ร่ ว ม มื อ กั บ ภ า คี เ ค รื อ ข่ า ย วทิ ยาลัยเทคนิคเกษตรวสิ ัยท่สี มบูรณ์มากขึ้น เพ่ือเสนอให้ผู้เช่ียวชาญอีก 1 ชุด ได้แสดงความคิดเห็นและ ส่งกลับคืนให้ผู้วิจัยเพ่ือทาการทดลองในขั้นต่อไป การคัดเลือกจะทาจาก 5 กิจกรรม วิธีการคัดเลือก คือ ให้ผู้เชี่ยวชาญแสดงความคิดเห็นโดยการผ่านการให้ความคิดเห็นแบบ Scaling โดย ผู้เช่ียวชาญ ประกอบดว้ ย 1. รองศาสตราจารย์ สุพรรณ สดุ สนธิ์ รองอธิการบดี มหาวทิ ยาลัยกาฬสนิ ธ์ุ 2. ดร.วานิช ประเสริฐพร คณบดีคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยภาค ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 3. ดร.พัชรี ศิลารัตน์ อาจารย์ประจาหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 4. ดร.ธิปด์ิ พาสว่าง รองผู้อานวยการเชี่ยวชาญ วิทยาลัยการอาชีพพยัคฆ ภมู สิ ยั จังหวดั มหาสารคาม 5. ดร.อดุลย์ พมิ พ์ทอง ผู้อานวยการเช่ยี วชาญ วทิ ยาลยั การอาชพี ขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น โดยมีเกณฑ์ในการวิเคราะห์และแปรผลขอ้ มลู ดงั นี้ คะแนนเฉล่ีย 4.51 - 5.00 กาหนดให้อยู่ในเกณฑ์ เหมาะสมมากท่ีสุด คะแนนเฉล่ยี 3.51 - 4.50 กาหนดใหอ้ ยู่ในเกณฑ์ เหมาะสมมาก คะแนนเฉลี่ย 2.51 - 3.50 กาหนดให้อยู่ในเกณฑ์ เหมาะสมปานกลาง คะแนนเฉลีย่ 1.51 - 2.50 กาหนดให้อยู่ในเกณฑ์ เหมาะสมน้อย คะแนนเฉลย่ี 1.00 - 1.50 กาหนดให้อยู่ในเกณฑ์ เหมาะสมนอ้ ยทส่ี ดุ เกณฑใ์ นการคดั เลอื กกิจกรรมท่ีนามาใช้เป็นรปู แบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความ ร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย ผู้วิจัยคัดเลือกกิจกรรมที่จะนาไปใช้ในการพัฒนา จานวน 5 กิจกรรม นาเสนอให้ผู้เช่ียวชาญพิจารณาโดยเลือกกิจกรรมท่ีมีค่าคะแนนความเห็นชอบต้ังแต่ 3.51-5.00 เพื่อนามาใช้เขียนโครงการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วทิ ยาลยั เทคนคิ เกษตรวิสัย ต่อไป ดังปรากฏผลการวิเคราะห์ข้อมลู ความเห็นชอบของผู้เกีย่ วข้อง ในตาราง ที่ 4.7


104 ตาราง ที่ 4.7 ระดับความคดิ เห็นของผเู้ ชี่ยวชาญตอ่ กิจกรรมและเนื้อหาในรูปแบบการพฒั นา สมรรถนะวิชาชพี ผ้เู รยี นดว้ ยความร่วมมือกบั ภาคีเครอื ขา่ ย วทิ ยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย ผู้เชย่ี วชาญคนท่ี รายการกิจกรรม 1 2 3 4 5  แปลผล กจิ กรรมการปฐมนิเทศ 4 3 4 5 4 3.60 มาก กิจกรรมการพฒั นาศักยภาพการทางานเป็นทีม 5 4 3 4 4 4.40 มากที่สดุ กจิ กรรมการพัฒนาทักษะดา้ นดจิ ทิ ลั ในยคุ วิถี 3 5 5 5 4 4.20 มาก ใหม่ กจิ กรรมการเสรมิ สรา้ งภาคเี ครอื ขา่ ยความ 4 4 5 4 3 4.40 มากท่ีสุด รว่ มมอื ในระดบั พ้นื ที่ กจิ กรรมการปัจฉมิ นิเทศ 4 4 4 4 4 3.80 มาก จากการเสนอร่างรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วทิ ยาลัยเทคนคิ เกษตรวิสัย เพือ่ ให้ผูเ้ ช่ยี วชาญท้งั 5 ทา่ นได้พิจารณาว่ากจิ กรรมใดเหมาะสมที่นาไปทดลอง ใช้ในลาดับต่อไป พบว่ารูปแบบที่ผ่านการประเมินความเห็นชอบจากผู้เชี่ยวชาญ ครอบคลุมปัจจัยท้ัง 1 ดา้ น กจิ กรรมท่ีมีคา่ เฉลีย่ อยรู่ ะหวา่ ง 3.51-5.00 ประกอบดว้ ย 5 กิจกรรม และผู้เชี่ยวชาญได้ให้คาแนะนา เพมิ่ เติม เพื่อนาไปใช้ในการวจิ ัยระยะที่ 3 1. กจิ กรรมการปฐมนิเทศ 2. กิจกรรมการพัฒนาศักยภาพการทางานเปน็ ทีม 3. กจิ กรรมการพัฒนาทักษะด้านดิจทิ ัลในยุควถิ ีใหม่ 4. กจิ กรรมการเสรมิ สร้างภาคีเครอื ข่ายความรว่ มมอื ในระดับพ้นื ท่ี 5. กจิ กรรมการปจั ฉมิ นิเทศ


105 ระยะท่ี 3 การทดลองใช้ และประเมินผลรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวชิ าชีพผเู้ รียนดว้ ย ความร่วมมือกบั ภาคเี ครือขา่ ย วิทยาลยั เทคนคิ เกษตรวิสยั 3.1 ผลการทดลอง และประเมินผลรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือ กับภาคีเครอื ข่าย วิทยาลยั เทคนิคเกษตรวสิ ัย เม่ือผู้วิจัยได้รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วทิ ยาลยั เทคนคิ เกษตรวสิ ัย ท่ไี ดผ้ ่านกระบวนการวจิ ัย กระบวนการประชมุ เชงิ ปฏิบัตกิ ารและกระบวนการ พิจารณาของผู้เช่ียวชาญ ทาให้ได้กิจกรรมท้ังหมด 5 กิจกรรม เป็นรูปแบบพัฒนาปัจจัยท้ัง 1 ด้าน ได้แก่ ด้านความร่วมมือภาคีเครอื ขา่ ย เพ่อื ให้การดาเนินการรปู แบบการพฒั นาที่ได้ดาเนินไปอย่างเป็นระบบและ มีความสอดคล้องและตอ่ เนอ่ื ง ผู้วิจัยจงึ ได้มีการเรียบเรยี งการดาเนินการตามขน้ั ตอนดังต่อไปน้ี กจิ กรรมการปฐมนเิ ทศ กจิ กรรมการพฒั นาศักยภาพการทางานเป็นทีม กจิ กรรมการพฒั นาทกั ษะดา้ นดิจิทัลในยุควิถีใหม่ กจิ กรรมการเสรมิ สร้างภาคเี ครือข่ายความรว่ มมือในระดับพื้นที่ กจิ กรรมการปัจฉมิ นิเทศ ซง่ึ ผลการดาเนินการแตล่ ะกจิ กรรมเปน็ ดังน้ี กิจกรรมท่ี 1 การปฐมนเิ ทศ และ Pretest ใช้ การ Online โดยโปรแกรม Google meet ผลดำเนินกำร 1. เพื่อสร้างความคุ้นเคยระหว่างระหว่างผู้บริหาร ครู ผู้ประกอบการ ผู้นาชุมชน นักเรียน และ นักศึกษา เพื่อให้เกิดบรรยากาศที่อบอุ่น ไว้วางใจซึ่งกันและกัน พร้อมที่จะร่วมทากิจกรรมเพื่อการ พัฒนาสมรรถนะวิชาชพี ผู้เรยี นด้วยความร่วมมือกบั ภาคเี ครือขา่ ย วทิ ยาลยั เทคนคิ เกษตรวสิ ัย ไปด้วย 2. เพอ่ื ให้นักศึกษาทราบวธิ กี ารของการใช้ชดุ กจิ กรรมด้านความร่วมมอื ภาคีเครือข่าย รวมท้ังเวลา และสถานที่ที่ใช้ในการทากิจกรรม กจิ กรรมที่ 2 การพัฒนาศักยภาพการทางานเปน็ ทีม ผลดำเนินกำร 1. ผู้เข้าอบรมสัมมนาได้รับความรู้ ความเข้าใจในการทางานร่วมกัน การทางานเป็นทีม และ เสรมิ สรา้ งมนุษยสัมพนั ธท์ ่ดี ีตอ่ กนั 2. ผู้เข้าร่วมอบรมสัมมนาเรียนรู้บทบาทของการทางานเป็นทีม และประโยชน์ในการทางานเป็น ทีม เกดิ ความสัมพนั ธท์ ี่ดตี ่อกัน เพื่อนาไปสคู่ วามสาเร็จของตนเองและทมี งาน


106 3. พัฒนาทักษะต่าง ๆ ในการสร้างทีมที่มีประสิทธิภาพ และเพื่อสามารถวางแผนบริหารทีม ภายใตเ้ ง่ือนไขหรอื กตกิ าทก่ี าหนด และสามารถนาไปประยุกต์ใชใ้ นการปฏิบัติงานของตน จากผลการทดลอง พบว่า นักเรียน และนักศึกษาโดยส่วนใหญ่เกิดความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน และ สามารถวางแผนการทางานรว่ มกนั เปน็ ทีมได้ดี กิจกรรม 3 การพัฒนาทักษะดา้ นดจิ ิทัลในยคุ วถิ ใี หม่ ผลดำเนินกำร 1. เพื่อการใชเ้ ทคโนโลยใี นการบรหิ ารงานใน สถานศกึ ษายคุ วถิ ใี หม่ 2. เพือ่ การใชเ้ ทคโนโลยใี นการติดต่อ สอ่ื สาร เพ่อื การทางานรว่ มกนั 3. เพ่ือพัฒนาศักยภาพบุคลากรในการนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการ ปฏิบัติงานใน สถานการณป์ จั จบุ ัน ผลการทดลองใช้ พบว่า โดยส่วนใหญ่ ผู้บริหาร ครู สถานประกอบการ ผู้นาชุมชน นักเรียน และ นกั ศกึ ษามคี วามร่วมมอื ในการใชเ้ ทคโนโลยใี นการติดต่อ สื่อสาร เพือ่ การทางานรว่ มกนั กิจกรรม 4 การเสรมิ สรา้ งภาคีเครือขา่ ยความร่วมมอื ในระดบั พ้นื ที่ ผลดำเนินกำร 1. เพ่ือให้ภาคีเครือข่ายชุมชน สถานประกอบการ ประสานความร่วมมือให้เกิดประโยชน์กับ นักเรยี น นกั ศกึ ษา 2. เพ่ือประสานความร่วมมือระหว่างวิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัยและหน่วยงานท้ังภาครัฐและ เอกชนในท้องถ่นิ ผลการทดลองใช้ พบว่า เครือข่ายชมุ ชน สถานประกอบการ และหน่วยงานท้ังภาครัฐและเอกชน ในทอ้ งถน่ิ ไดท้ าความเขา้ ใจ และประสานความรว่ มมือให้กับนกั เรยี น นกั ศกึ ษา เปน็ อย่างดี


107 ชอื่ กิจกรรม 5 การปัจฉิมนิเทศ ผลดำเนินกำร 1. เพื่อให้ผบู้ ริหาร ครู ผู้ประกอบการ ผู้นาชุมชน นักเรียน และนักศึกษาได้สรุปทบทวนส่ิงท่ีร่วม กิจกรรม 1-5 และการนาไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ในชีวติ ประจาวัน 2. เปดิ โอกาสให้นักศึกษาได้แสดงความร้สู ึกในการเขา้ ร่วมกจิ กรรมน้ี 3.3 ผลการประเมนิ ผลรปู แบบการพฒั นาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนดว้ ยความรว่ มมือกับภาคี เครือข่าย วิทยาลัยเทคนคิ เกษตรวสิ ัย จากวัตถุประสงค์การวิจัยข้อท่ี 3 ผู้วิจัยต้องการศึกษาเพื่อทดลองใช้และประเมินผลรูปแบบการ พัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย โดยใช้การ เปรียบเทียบผลก่อนและหลังการทดลองรูปแบบ กลุ่มทดลองคือ นักเรียนปวช.ที่ออกฝึกประสบการณ์ วิชาชีพ 1 จานวน 20 คน และนักศึกษาปวส.ท่ีออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 1 ภาคการศึกษา จานวน 20 คน รวมจานวน 40 คน โดยผ้วู ิจยั ได้ดาเนนิ การทดลองตามรปู แบบการพฒั นาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วย ความร่วมมือกับภาคีเครอื ขา่ ย วทิ ยาลัยเทคนคิ เกษตรวิสัยดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ผวู้ ิจัยดาเนินการรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัยโดยเร่ิมเก็บข้อมูลก่อนการทดลองในครั้งแรกการอบรมตามกิจกรรม การ ดาเนินการเริ่มในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2563 ถึงเดือนกันยายน 2563 ในระดับปวช. ส่วนในปวส. ดาเนินการเร่ิมในเดอื นตุลาคม 2563 ถึงเดอื นตลุ าคม 2564 2. ในการทดลองรูปแบบ ผู้วิจัยได้ออกแบบสอบถามและแบบทดสอบ ท่ีครอบคลุมปัจจัยด้าน ความร่วมมือภาคีเครือข่ายนามาทดสอบกับนักเรียน นักศึกษากลุ่มตัวอย่าง และนาคะแนนท่ีได้ก่อนและ หลงั การทดสอบ มาทาการวเิ คราะหเ์ ปรยี บเทียบข้อมูล ตามค่าเฉลย่ี


108 ตารางที่ 4.8 เปรียบเทียบค่าเฉลย่ี ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวแปรก่อนและหลังการดาเนินการ รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผูเ้ รียนดว้ ยความรว่ มมือกบั ภาคีเครอื ขา่ ย วิทยาลัยเทคนคิ เกษตรวสิ ัย การพฒั นาสมรรถนะวิชาชพี ก่อนการพัฒนา หลังการพัฒนา 95%CI P-Value ดา้ นลกั ษณะที่พงึ ประสงค์  S.D.  S.D. Lower Upper <0.001 ดา้ นสมรรถนะแกนกลาง 4.48 0.52 4.54 0.52 <0.001 ดา้ นสมรรถนะวิชาชพี 3.56 0.58 4.50 0.50 1.50 2.22 <0.001 ดา้ นความร่วมมือภาคีเครือข่าย 3.37 0.56 3.75 0.67 1.58 2.21 <0.001 2.66 0.55 3.60 0.97 1.62 2.30 <0.001 รวม 1.68 2.34 3.51 0.29 4.10 0.35 1.68 2.19 จากตารางท่ี 4.8 พบว่า รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคี เครอื ข่าย โดยรวม และรายดา้ นเพิ่มขึ้นจากก่อนการพฒั นาอย่างมนี ยั สาคญั ทางสถติ ิ (P-Value <0.001) จากการเปรียบเทียบค่าเฉล่ีย พบความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ผู้วิจัยได้เปรียบเทียบ ความแตกต่างตัวแปร พบว่า ดา้ นความร่วมมือภาคีเครือข่ายมีค่าเฉลี่ยเพิ่มข้ึน ซึ่งแสดงว่า นักเรียน และ นักศึกษามีการพัฒนาความร่วมมือภาคีเครือข่าย ก่อนและหลังการดาเนินงานรูปแบบการพัฒนา สมรรถนะวิชาชีพผเู้ รียนด้วยความร่วมมือกบั ภาคเี ครอื ขา่ ย วทิ ยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย แตกต่างกันอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยหลังการทดลองมีการการพัฒนา สมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความ ร่วมมือกบั ภาคเี ครือข่าย ดีขนึ้ กวา่ กอ่ นทดลอง ดังนั้นสามารถสรุปได้ว่า ในการวิจัยระยะท่ี 1 ตัวแปรท่ีมีผลต่อการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ ผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย ที่เป็นตัวแปรพยากรณ์ ท่ีได้จาก การศึกษาเอกสารและการวิจยั พบวา่ มี 4 ตัวแปร ไดว้ เิ คราะห์ข้อมูลพบว่า มีตัวแปรด้านความร่วมมือภาคี เครือขา่ ยแบบสดุ ทา้ ย ท่ีมีคา่ เฉลยี่ นอ้ ยทส่ี ุด ระยะท่ี 2 ผู้วิจัยได้นาผลจากระยะที่ 1 มาสร้างรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วย ความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย โดยผู้วิจัยและการประชุมเชิงปฏิบัติของผู้ท่ี เก่ียวข้องโดยได้รับคาปรึกษาจากผู้เช่ียวชาญ ผลทาให้ได้รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วย ความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย จานวน 5 กิจกรรมได้แก่ 1) กิจกรรมการ ปฐมนิเทศ 2) กิจกรรมการพัฒนาศักยภาพการทางานเป็นทีม 3) กิจกรรมการพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลใน ยคุ วิถีใหม่ 4) กจิ กรรมการเสริมสร้างภาคเี ครือขา่ ยความร่วมมือในระดับพื้นท่ี 5) กิจกรรมการปัจฉิมนิเทศ ต่อจากนั้นผู้วิจัยได้นารูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย ท้ัง 1 ตัวแปร 5 กิจกรรม ไปทดลองดาเนินการตามรูปแบบท่ีได้ในระยะท่ี 2 และกาหนดให้มีการประเมินผลก่อนและหลังการดาเนินงานรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ ผู้เรียน


109 ด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย กับนักเรียน และนักศึกษา พบว่าหลังการ ทดลองมีรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิค เกษตรวิสัย กับนักเรียน และนักศึกษา ได้ดีขึ้น อันนามาซ่ึงผลการวิจัยระยะที่ 3 ซ่ึงสามารถแสดงเป็น แผนภาพได้ดงั น้ี ปัจจยั ทม่ี ผี ลตอ่ การพัฒนาสมรรถนะวชิ าชพี ผ้เู รยี นดว้ ยความรว่ มมอื กับภาคีที่ไดจ้ ากการศกึ ษางานเอกสารและงานวจิ ัย 1) ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพปจั จุบนั 2) ดา้ นคณุ ลักษณะท่พี งึ ประสงค์ 3) ดา้ นสมรรถนะแกนกลาง 4 ด้านสมรรถนะวชิ าชีพ 5) ด้านความร่วมมือภาคีเครอื ขา่ ย ปัจจัยที่มผี ลต่อการพฒั นาสมรรถนะวิชาชพี ผู้เรยี นดว้ ยความร่วมมอื กับภาคีทีไ่ ดจ้ ากการวเิ คราะหข์ อ้ มลู 1) ปจั จัยส่วนบุคคล ไดแ้ ก่ เพศ อายุ สถานภาพปจั จุบนั 2) ดา้ นคุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์ 3) ดา้ นสมรรถนะแกนกลาง 4) ด้านสมรรถนะวชิ าชีพ 5) ดา้ นความรว่ มมือภาคีเครอื ขา่ ย การพัฒนาการรูปแบบ โดยวิธีการ 1 ยกร่างดว้ ยผู้วจิ ยั 2 การประชุมปฏิบัติการ 3 การปรึกษาผ้เู ชยี่ วชาญ รูปแบบการพฒั นาสมรรถนะวิชาชีพผเู้ รียนดว้ ยความรว่ มมอื กบั ภาคี วิทยาลยั เทคนคิ เกษตรวิสัย กิจกรรมท่ี 1 การปฐมนิเทศ กิจกรรมที่ 2 การพฒั นาศกั ยภาพการทางานเปน็ ทีม กจิ กรรมท่ี 3 การพัฒนาทักษะด้านดิจิทลั ในยุควถิ ใี หม่ กจิ กรรมท่ี 4 การเสรมิ สร้างภาคีเครือขา่ ยความรว่ มมือในระดับพ้นื ที่ กิจกรรมท่ี 5 การปจั ฉมิ นิเทศ ทดลองรปู แบบกับนกั เรียน และนกั ศึกษา เป็นระยะเวลา 4 เดอื น ประเมนิ ผลโดยเปรียบเทียบการพัฒนาสมรรถนะวชิ าชพี ผ้เู รยี นของนักเรยี น นกั ศกึ ษาก่อนและหลังทดลอง รปู แบบการพฒั นาสมรรถนะวิชาชีพผูเ้ รยี นดว้ ยความร่วมมอื กบั ภาคี วทิ ยาลยั เทคนคิ เกษตรวิสยั กระบวนการดาเนนิ การวจิ ยั รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวชิ าชพี ผู้เรยี นดว้ ยความร่วมมือกับภาคี วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวสิ ัย


บทที่ 5 สรปุ อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ การวิจัยเรื่องรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วทิ ยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย ครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา ดาเนินการวิจัยโดยใช้วิธีการวิจัยในเชิงปริมาณ การวิจยั เชิงคุณภาพและการวจิ ัยเชิงทดลอง โดยมีรายละเอยี ดการดาเนนิ การวิจยั ดงั นี้ วัตถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั 1. เพ่ือศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสยั 2. เพ่ือสร้างรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนคิ เกษตรวิสัย 3. เพอ่ื ทดลองใช้และประเมินผลรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับ ภาคเี ครอื ข่าย วทิ ยาลัยเทคนคิ เกษตรวสิ ัย สมมตฐิ านการวจิ ัย จากการศกึ ษาแนวคดิ ทฤษฎี เอกสาร และงานวจิ ยั ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง ผู้วิจัยนามากาหนดเป็นสมมติฐาน ดังน้ี 1. ปัจจัยด้านส่วนบุคคล ด้านคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ด้านสมรรถนะแกนกลาง ด้านสมรรถนะ วิชาชีพ ด้านความร่วมมือภาคีเครือข่าย ส่งผลต่อการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับ ภาคเี ครือข่าย วิทยาลยั เทคนิคเกษตรวสิ ยั 2. หลังจากทดลองใช้รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคี เครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวสิ ัย ท่ผี ูว้ ิจัยสรา้ งข้นึ สงู กวา่ กอ่ นการทดลองใช้รูปแบบการพัฒนาท่ีผู้วิจัย สรา้ งขน้ึ วิธกี ารดาเนนิ การวิจัย ระยะที่ 1 ศึกษาปัจจัยท่ีมีผลต่อสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสยั ประชากร กลุ่มตัวอยา่ งและตัวแปรทใ่ี ชใ้ นการวจิ ัย ระยะท่ี1 1.1 ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ งทีใ่ ช้ในการวิจัย 1.1.1 ประชากร ไดแ้ ก่ ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ครู และพนักงานราชการ/ลกู จา้ ง ผู้ประกอบการ ผู้นาชุมชน นักเรียน นักศึกษา รวมทัง้ หมด จานวน 618 คน


111 1.1.2 กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และพนักงานราชการ/ลูกจ้าง ผู้ประกอบการ ผู้นาชุมชน นักเรียน นักศึกษา จานวน 243 คน โดยใช้วิธีการกาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง ตามสตู รของ ทาโร ยามาเน่ (Taro Yamane. 1973: 727) 1.2 ตวั แปรท่ใี ชใ้ นการวจิ ยั ไดแ้ ก่ 1.2.1 ตัวแปรอิสระ เป็นปัจจัยท่ีส่งมีผลต่อการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนคือปัจจัยส่วน บุคคลได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพปัจจุบัน ด้านคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ด้านสมรรถนะแกนกลาง ด้าน สมรรถนะวชิ าชีพ ดา้ นความรว่ มมือภาคีเครอื ขา่ ย 1.2.2 ตวั แปรตาม ซ่งึ เปน็ ผลลพั ธ์ คือ การพฒั นาสมรรถนะวิชาชพี ผู้เรยี น 2. เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม (Questionnaire) ท่ีสร้างข้ึนมาตามแนวทาง ของวัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อรวบรวมข้อมูลต่างๆ ของนักเรียน นักศึกษา ซึ่งแบบสอบถามได้แบ่ง ออกตามตัวแปรต่าง ๆ คือ ปัจจัยส่วนบุคคลได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพปัจจุบัน ด้านคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ ดา้ นสมรรถนะแกนกลาง ดา้ นสมรรถนะวิชาชีพ ด้านความรว่ มมอื ภาคเี ครือขา่ ย 3. การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์เชิงพรรณนา (Descriptive Method) เพื่ออธิบายข้อมูล ทัว่ ไป สถติ ทิ ใ่ี ช้ ได้แก่ ร้อยละ คา่ เฉล่ยี และสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ระยะท่ี 2 เปน็ การวจิ ัยเชงิ คุณภาพ เพ่ือสรา้ งรปู แบบการพฒั นาสมรรถนะวชิ าชพี ผู้เรยี นดว้ ย ความรว่ มมือกับภาคเี ครือข่าย วทิ ยาลยั เทคนคิ เกษตรวิสัย 1.กลมุ่ เปา้ หมาย คือ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับ ภาคีเครอื ขา่ ย วทิ ยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย ได้แก่ นักเรียน จานวน 5 คน นักศึกษา จานวน5 คน ผู้บริหาร จานวน 5 คน ครู จานวน 5 คน ผู้นาชุมชน จานวน 5 คน และผู้ประกอบการ 5 คน ใช้เลือกแบบ เจาะจง (Purposive Sampling) 2. เคร่ืองมือในการวิจัย การวิจัยในระยะที่ 2 เป็นการสร้างรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ ผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย โดยการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ (Workshop) เพอ่ื ให้ผเู้ ช่ียวชาญ ผบู้ รหิ าร ผู้นาชมุ ชน ผูป้ ระกอบการ นักเรียน นักศึกษา และผู้ที่เกี่ยวข้อง ในการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย เพ่ือ ร่วมกระบวนการระดมสมอง (Brain Storming) ของกลุ่มเป้าหมาย จานวน 30 คน เพื่อวิพากษ์ให้ ข้อเสนอแนะและแนวทางการปรับปรุงรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับ ภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย การเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัยในระยะที่ 2 นี้ผู้วิจัยเก็บ รวบรวมข้อมูลจากแบบรวบรวมการวิจารณ์และข้อเสนอแนะ โดยการจดบันทึกลงในแบบวิจารณ์และ ข้อเสนอแนะ และการทาบันทึกภาพ ทุกเนื้อหา และทาการสังเคราะห์ข้อมูลจากาการวิจารณ์และ ข้อเสนอแนะจากการถอดข้อความ เพื่อนามาเทียบเคียงกับบริบทของการวิจัย และการปรับปรุงรูปแบบ ตามการวจิ ารณ์และขอ้ เสนอแนะ


112 3. นารูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย ท่ีได้จากการและประชุมปฏิบัติการ (Workshop) ที่ได้ปรับปรุงแล้ว ปรึกษา กับผู้เช่ียวชาญที่ได้รับการแต่งตั้งอีกคร้ัง และพัฒนาปรับปรุงรูปแบบตามข้อเสนอแนะของผู้เช่ียวชาญให้ สมบูรณ์ก่อนท่ีจะนาไปทดลองใช้ในการศึกษาระยะที่ 3 ต่อไป ระยะท่ี 3 การทดลองใช้ และประเมินผลรูปแบบการพฒั นาสมรรถนะวชิ าชีพผเู้ รยี นด้วยความ ร่วมมอื กับภาคีเครือข่าย วทิ ยาลัยเทคนิคเกษตรวสิ ัย 1. กลมุ่ ทดลอง กลุ่มทดลองในการวจิ ัยในระยะท่ี 3 คือ นกั เรยี น นกั ศกึ ษาวิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย จานวน 40 คน การวิจยั ในระยะนี้ เปน็ ข้ันตอนการทดลองการใช้รปู แบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความ รว่ มมอื กับภาคเี ครอื ข่าย วิทยาลัยเทคนคิ เกษตรวสิ ยั 2. ตวั แปรทีใ่ ชท้ ดลอง 2.1 ตวั แปรอิสระ คอื การพฒั นาสมรรถนะวชิ าชีพผู้เรยี น 2.2 ตัวแปรตาม คือ รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคี เครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย และตัวแปรในระยะที่ 1 ที่มีค่าเฉลี่ยน้อยท่ีสุด ได้แก่ ด้านความ ร่วมมือภาคีเครอื ขา่ ย 3. เครอื่ งมอื ท่ีใชใ้ นการวิจยั 3.1 แบบวัดกอ่ นการทดลองและหลังทดลอง ได้แก่ แบบสอบถาม 3.2 แบบวัดตวั แปรอสิ ระในระยะที่ 1 ที่มีคา่ เฉลย่ี น้อยท่สี ดุ 4. วิธีการดาเนินการ การดาเนินการในข้ันตอนนี้ ใช้วิธีการวิจัยแบบกึ่งการทดลองโดยมีข้ันตอน ดงั ต่อไปนี้ 4.1 ทาการเก็บข้อมลู ก่อนทดลองกบั กลมุ่ ทดลอง เป็น Pretest 4.2 ดาเนินการทดลองใช้รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคี เครือข่าย วิทยาลัยเทคนคิ เกษตรวสิ ยั 4.3 ทาการเกบ็ ขอ้ มูลหลงั ทดลองกบั กลมุ่ ทดลอง เปน็ Posttest 4.4 นาผลทไ่ี ด้จากการทดลองมาวเิ คราะห์ข้อมูลแล้วสรปุ ผลการดาเนินการ 5. การประเมินผลรูปแบบ การวิจัยในระยะท่ี 3 ซ่ึงเป็นการนารูปแบบการพัฒนาสมรรถนะ วิชาชีพผู้เรียนดว้ ยความร่วมมอื กบั ภาคเี ครือขา่ ย วิทยาลยั เทคนิคเกษตรวิสัย มาปรับปรุงแล้วมาทดลองใช้ กับกลุ่มทดลองเป็นเวลา 4 เดือน จากน้ันนาผลการทดลองที่ได้ไปทาการวิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือตอบ วตั ถุประสงคก์ ารวิจัย ระยะท่ี 3 โดยเปรยี บเทยี บขอ้ มูลกอ่ น และหลังทดลองด้วยคา่ เฉล่ีย


113 5.1 สรปุ ผลการวิจยั 1. ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู คณุ ลกั ษณะทวั่ ไปของกลุม่ ตัวอยา่ ง คุณลักษณะทวั่ ไปของกลุ่มตัวอย่าง จากจานวนตัวอย่างทั้งหมด 243 คน พบว่า ส่วนมากเป็น เพศชายโดยมีจานวน 135 คน คิดเป็นร้อยละ 55.60 และเป็นเพศหญิงจานวน 108 คนคิดเป็นร้อยละ 44.40 มีอายุต่ากว่า 30 ปี ร้อยละ 88.50 และสถานภาพปัจจุบัน/หน้าที่ความรับผิดชอบ เป็นนักเรียน ร้อยละ 35.80 2. ผลการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความ รว่ มมอื กับภาคเี ครอื ขา่ ย วิทยาลยั เทคนิคเกษตรวสิ ัย ผลการวิเคราะห์ปจั จยั ท่มี ีอิทธิพลต่อรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชพี ผู้เรียนดว้ ยความ ร่วมมอื กับภาคเี ครือขา่ ย วิทยาลยั เทคนคิ เกษตรวสิ ยั โดยใช้คา่ เฉล่ยี (  ) 3. ผลการสร้างรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วทิ ยาลัยเทคนิคเกษตรวสิ ยั 1) ผวู้ จิ ยั ไดน้ าผลการวิเคราะห์ข้อมูล และขอ้ เสนอแนะทีไ่ ดจ้ ากการถอดข้อความในการศึกษาวิจัย ในระยะที่ 1 นามา สร้างเป็นร่างในรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคี เครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย ผู้วิจัยได้กาหนดแนวทางในการสร้างรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะ วิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย โดยใช้ ชุดกิจกรรม เป็น เคร่ืองมือที่สร้างขึ้นเพ่ือพัฒนาด้านความร่วมมือภาคีเครือข่าย ประกอบด้วยแผนการจัดกิจกรรม 5 กิจกรรม ท่ีใช้วิธีการต่าง ๆ ได้แก่ การอบรม การสัมมนาเรียนรู้บทบาทการทางานเป็นทีม การใช้ เทคโนโลยีในการติดต่อสื่อสาร และปฏิบัติจริง มาบูรณาการกับการจัดกิจกรรม การดาเนินการ ประกอบด้วย กิจกรรมการปฐมนิเทศ กิจกรรมการพัฒนาศักยภาพการทางานเป็นทีม กิจกรรมการพัฒนา ทักษะด้านดิจิทัลในยุควิถีใหม่ กิจกรรมการเสริมสร้างภาคีเครือข่ายความร่วมมือในระดับพื้นท่ี กิจกรรม ปัจฉิมนเิ ทศ 2) ผู้วิจัยได้จัดการประชุมปฏิบัติการ (workshop) โดยการนาร่างรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะ วิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย ที่ผู้วิจัยได้จัดทาข้ึน มา นาเสนอที่ประชุมเชิงปฏิบัติการโดยเน้นกับกลุ่มที่มีส่วนเก่ียวข้องและผู้เชี่ยวชาญ เป็นกลุ่มเป้าหมาย ซ่ึง ประกอบด้วย ผู้บริหาร ครู สถานประกอบการ ผู้นาชุมชน นักศึกษา และนักเรียนมี และผู้เก่ียวข้องใน พฒั นาสมรรถนะวิชาชพี ผู้เรยี นดว้ ยความรว่ มมือกบั ภาคีเครือข่าย โดยใช้เวลาในการประชุมเชิงปฏิบัติการ 1 วันในการประชุมเชิงปฏิบัติการร่วมกันวิพากษ์รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความ ร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย ท่ีผู้วิจัยสร้างขึ้น และนาเสนอข้อวิพากษ์และ ขอ้ เสนอแนะในการประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group) ของกลุ่มตัวเองมาสรุปและอภิปรายผลท้ังหมดในที่


114 ประชุมใหญ่เพ่ือร่วมกันวิพากษ์ (Brain Storming) และนาผลการเสนอแนะมาปรับปรุงเป็นรูปแบบการ พัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย ให้สมบูรณ์ ขึ้น ซึ่งพบวา่ ได้มขี ้อเสนอแนะเพม่ิ เตมิ จากรปู แบบการพฒั นาสมรรถนะวชิ าชพี ผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับ ภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย ที่ผู้วิจัยได้ทาการเสนอไว้ ดังน้ีคือ ประกอบด้วย กิจกรรมการ ปฐมนิเทศ กิจกรรมการพัฒนาศักยภาพการทางานเป็นทีม กิจกรรมการพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลในยุควิถี ใหม่ กจิ กรรมการเสริมสร้างภาคีเครือข่ายความร่วมมือในระดับพ้ืนท่ี กิจกรรมปัจฉิมนิเทศ โดยสรุปจาก กา ร น า เ ส น อร่ า ง รู ป แ บ บ กา ร พั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะวิ ช า ชี พผู้ เ รี ย น ด้ ว ย ค ว า ม ร่ ว ม มื อกับ ภ า คี เ ค รื อข่ า ย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย โดยผู้วิจัย มีจานวน 5 กิจกรรม และผลจากการประชุมปฏิบัติการเพ่ือ พิ จ า ร ณ า ร่ า ง รู ป แ บ บ ก า ร พั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ วิ ช า ชี พ ผู้ เ รี ย น ด้ ว ย ค ว า ม ร่ ว ม มื อ กั บ ภ า คี เ ค รื อ ข่ า ย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย ได้มีข้อเสนอแนะให้ใช้โปรแกรม Zoom หรือ Google meet การออนไลน์ เพอ่ื ความสะดวกในการติดต่อประสานงานในดา้ นต่าง ๆ 3 ผู้วิจัยได้นารูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย ท่ีได้จากการประชุมปฏิบัติการ (workshop) ท่ีได้ปรับปรุงแล้ว ปรึกษากับ ผู้เช่ียวชาญท่ีได้รับการแต่งตั้งอีกคร้ัง และพัฒนาปรับปรุงตามคาแนะนาของผู้เช่ียวชาญให้สมบูรณ์ก่อนท่ี จะนาไปทดลองใช้ในการวิจัยระยะท่ี 3 โดยใช้ผลการพิจารณาจากค่าเฉลี่ยผู้เช่ียวชาญ จานวน 5ท่าน ได้ ให้คะแนนโดยวิธี Rating Scale 5 อันดับและคัดเลือกกิจกรรมท่ีมีค่าเฉลี่ยตั้งแต่ 3.51-5 เป็นกิจกรรมท่ี ไดร้ ับการคัดเลอื ก ซึ่ง จานวน 5 กจิ กรรม ดงั นี้ กจิ กรรมท่ี 1 การปฐมนเิ ทศ กิจกรรมท่ี 2 การพฒั นาศกั ยภาพการทางานเป็นทีม กจิ กรรมท่ี 3 การพฒั นาทกั ษะดา้ นดจิ ทิ ัลในยุควิถใี หม่ กจิ กรรมท่ี 4 การเสรมิ สรา้ งภาคีเครือข่ายความรว่ มมือในระดับพ้ืนที่ กิจกรรมที่ 5 การปัจฉิมนิเทศ 4. ผลการประเมินรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคี เครือขา่ ย วทิ ยาลัยเทคนิคเกษตรวสิ ยั การวเิ คราะห์ค่าสถิติ ค่าเฉล่ีย (  ) การเปรียบเทียบโดยการทดสอบ ก่อนและหลังการดาเนิน ตามรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตร วิสัยพบวา่ มคี า่ (P-Value <0.001) แสดงว่าคะแนนการทดสอบก่อนและหลังการดาเนินงานตามรูปแบบ การพฒั นาสมรรถนะวชิ าชีพผ้เู รยี นดว้ ยความร่วมมอื กบั ภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัยแตกต่าง อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P-Value <0.001)โดยมีค่าคะแนนหลังการดาเนินงานสูงกว่าก่อนการ ดาเนินงาน ซึ่งสรุปตามสมมติฐานได้ว่าการการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคี เครอื ขา่ ย วิทยาลยั เทคนิคเกษตรวสิ ัย ดีขึน้ หลังจากได้ดาเนินงานตามรปู แบบที่ผู้วิจัยสร้างข้ึน และผู้วิจัยได้


115 ทาการทดสอบมีผลต่างของคะแนนเฉล่ียการปฏิบัติงานโดยรวม เพ่ิมข้ึนมากกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมี นัยสาคญั ทางสถิติ (P - Value < 0.001) 5.2 อภิปรายผล จากผลการวจิ ัย ผวู้ จิ ัย ได้อภปิ รายผลตามวัตถปุ ระสงคก์ ารวิจัย ดงั น้ี 5.2.1 ตัวแปรปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคี เครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย มีตัวแปรท่ีถูกเลือกเข้าในสมการตามลาดับ คือ ปัจจัยส่วนบุคคล ด้านคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ด้านสมรรถนะแกนกลาง ด้านสมรรถนะวิชาชีพ ด้านความร่วมมือภาคี เครือข่าย กล่าวได้ว่าตัวแปรอิสระท้ัง 5 ตัวแปร เป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียน ด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย โดยตัวแปรเหล่าน้ัน สามารถร่วมกัน ทานายการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย สอดคล้องกับผลการศึกษาของวศินี รุ่งเรือง (2558 : 123) ได้ศึกษาการประเมินสมรรถนะผู้เรียนตาม หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพพุทธศักราช 2556 สาขาวิชาธุรกิจค้าปลีก ระบบทวิภาคีของวิทยาลัย อาชีวศึกษาพิษณุโลก โดยใช้รูปแบบการประเมินแบบ 360 องศา ผลการวิจัย พบว่า สมรรถนะผู้เรียน โดยรวม อยใู่ นระดบั มาก เม่อื พิจารณาสมรรถนะผู้เรียนในแต่ละด้านโดยรวม พบว่า ด้านคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ และด้านสมรรถนะวิชาชีพ อยู่ในระดับมาก สาหรับด้านสมรรถนะหลัก และสมรรถนะท่ัวไปอยู่ ในระดับมาก ในทานองเดียวกับงานวิจัยของมงคล แสงอรุณ และคณะ (2558 : 212) ได้ศึกษารูปแบบ การเสรมิ สมรรถนะของผ้เู รียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชพี (ปวช.) สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัย อาชีวศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ผลการวิจัยพบว่า 1) รูปแบบการเสริมสมรรถนะของผู้เรียน ประกอบไปด้วยส่วนประกอบ 9 ส่วน ได้แก่ กรอบมาตรฐานหลักสูตรอาชีวศึกษา กรอบคุณวุฒิการศึกษา วิชาชีพ ความต้องการของสถานประกอบการของผู้เรียน การวิเคราะห์งานการทดสอบสมรรถนะ การ เสริมสมรรถนะ Social Media และตัวช้ีวัดสมรรถนะผู้เรียน 2) การเสริมสมรรถนะของผู้เรียน ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ได้แก่ ข้ันตอนการแนะนาช้ินงาน ข้ันตอนการสาธิตปฏิบัติตามข้ันตอน ขั้นตอน ประยุกตส์ ร้างชน้ิ งาน และขน้ั ประเมินผลช้ินงาน และ 3) ผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นต่อรูปแบบโดยรวมอยู่ ในระดับมากท่ีสุด ขั้นตอนโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และสอดคล้องกับกรอบแนวทางในการกาหนด มาตรฐานการศกึ ษาวิชาชีพในหลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชพี พทุ ธศกั ราช 2562 และมาตรฐานการศึกษา วิชาชีพในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง พุทธศักราช 2563 (2563 : 23-25) มีแนวทางในการ เขียนดังนี้ 1. การเขียนรายการคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ในทุกระดับคุณวุฒิ อาชีวศึกษาต้องมุ่งเน้นการสร้างจิตสานึกและพฤติกรรมที่ดีเพ่ือการดาเนินชีวิตท้ังชีวิตประจาวันและการ ประกอบอาชีพ สอดคล้องกับรายการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของ ผู้สาเร็จการอาชีวศึกษา ซ่ึงกาหนดให้สถานศึกษาและครูผู้สอนต้องสอดแทรกบูรณาการในการเรียนการ สอนและให้มีการประเมินผลในสัดส่วนร้อยละยี่สิบในทุกรายวิชา รวมทั้งให้สอดแทรกบูรณาการใน กจิ กรรมเสริมหลกั สตู รและกจิ กรรมตา่ ง ๆ ของสถานศกึ ษาด้วย


116 2. การเขยี นรายการคณุ ภาพดา้ นความรู้ ดา้ นทกั ษะและดา้ นความสามารถในการประยุกต์ใช้และ ความรับผิดชอบ เพ่อื นาไปสกู่ ารกาหนดรายวิชาตามโครงสร้างหลกั สตู ร แบ่งเป็น 2.1 ด้านสมรรถนะแกนกลาง ได้แก่ ความรู้ ทักษะและความสามารถในการประยุกต์ใช้ในด้าน ภาษาและการสื่อสาร ด้านการคิดและการแก้ปัญหา และด้านสังคมและการดารงชีวิต เพื่อนาไปสู่การ กาหนดรายวชิ าในหมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง สาหรับสถานศึกษานาไปจัดและเลอื กจัดตามเงื่อนไขของ กลุ่มวิชาตา่ ง ๆ 2.2 ด้านสมรรถนะวิชาชีพ ได้แก่ ความรู้ ทักษะและความสามารถในการประยุกต์ใช้ในด้าน งานอาชีพ เพอ่ื นาไปสกู่ ารกาหนดรายวชิ าในกล่มุ วชิ าตา่ ง ๆ ในหมวดวิชาสมรรถนะวชิ าชีพ แบ่งเป็น 2.2.1 กลุ่มสมรรถนะวชิ าชีพบังคับ 2.2.2 กลมุ่ สมรรถนะวิชาชพี เลอื ก ทัง้ นี้ ความรู้ ทักษะและความสามารถในการประยุกตใ์ ช้จะต้องมีการทวนสอบกับมาตรฐานอาชีพ และผู้เชี่ยวชาญในงานอาชพี ตามระดบั คุณวุฒิ โดยสมรรถนะบังคับถือเป็นแก่นของสาขาวิชาซ่ึงสะท้อนถึง รายวิชาบังคับท่ีผู้เรียนต้องเรียน วัตถุประสงค์เพื่อกาหนดเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับ สาหรับใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรหรือปรับปรุงหลักสูตรฐานสมรรถนะตามกรอบคุณวุฒิ แห่งชาติมาตรฐานอาชีพหรือตามความต้องการของสถานประกอบการและตลาดแรงงานการพัฒนาการ จัดการเรียนการสอนการพัฒนาคุณภาพการจัดการอาชีวศึกษาและเพื่อประโยชน์ต่อการรับรองหลักสูตร และคณุ วุฒิการศกึ ษาของผู้สาเรจ็ การศึกษา การทีผ่ ลการวิจัยปรากฏเช่นน้ี อาจเน่ืองมาจากการท่ีจะพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความ รว่ มมอื กับภาคีเครือข่าย วทิ ยาลยั เทคนิคเกษตรวิสยั ใหไ้ ด้ผลนั้น สมาชิกเครอื ข่ายตอ้ งรูจ้ ุดเด่น จุดด้อย ใน การปฏิบัติงานรวมถึงความสามารถพัฒนาตนเองให้สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบการ และเครือข่าย จากสถานการณ์การพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายใน ปัจจุบัน พบว่า เป็นการพัฒนาที่ไม่ท่ัวถึง เพราะเป็นช่วงของการระบาดของโรคติดต่อโควิด-19 ซึ่งสถาน ประกอบการกต็ อ้ งปดิ ทาการ ทาใหน้ ักเรยี น นักศึกษาที่ฝึกวิชาชีพมีเวลาได้ปฏิบัติงานน้อยลง และอีกท้ังมี การติดเช่ือโควิด-19 ต้องพักรักษา ทั้งน้ีการเรียนรู้ของเครือข่าย และการพัฒนาเครือข่ายจะมีความหมาย และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นหากกระบวนการพัฒนานั้น ๆ เป็นส่วนหน่ึงในการทางานประจาวันของ เครอื ขา่ ยหรือของเพื่อนรว่ มงาน ซ่ึงการพัฒนาทางวิชาชีพมีรูปแบบวิธีการและแนวคิดท่ีหลากหลาย ไม่ว่า จะเป็นการฝึกอบรม ปฏิบัติจริง ซึ่งการวิจัยคร้ังน้ีผู้วิจัยได้เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง และ วิเคราะห์ด้วยสถิติ เพื่อให้ได้ปัจจัยท่ีมีผลต่อการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคี เครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย ผลการวิเคราะห์ดังกล่าว ส่งให้ผู้วิจัยได้จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการ พัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนต้องมีเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมของ ผเู้ รยี นเพ่อื ตอบสนองความสนใจความพึงพอใจ และเป็นตวั เลอื กในการตัดสนิ ใจซึง่ วถิ ีการดาเนินชีวติ และ ประสบการณ์ของแต่ละบุคคลมีผลต่อความสนใจความพึงพอใจและแรงจูงในการเรียนรู้หลังจากจบ การศกึ ษา


117 5.2.2 รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนคิ เกษตรวสิ ยั ผวู้ จิ ัยมีการดาเนินขัน้ ตอน ดังน้ี นาผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ทไี่ ด้จากคา่ เฉล่ยี น้อยทีส่ ุดในการวิจัยระยะท่ี 1 นามาสรา้ งเปน็ รปู แบบ โดยจดั การประชุมปฏิบัติการ (Workshop) ผวู้ จิ ยั นารูปแบบการวิจัยทีผ่ ้วู จิ ยั ทาข้นึ มานาเสนอในที่ประชุม ปฏิบัติการ ซึ่งในท่ีประชุมประกอบด้วยกลุ่มที่มีส่วนเก่ียวข้องที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย ใช้เวลาในการประชุม ปฏิบัติ 1 วัน ในการประชุมเชิงปฏิบัติการได้มีการร่วมกันวิพากษ์รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ ผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย ท่ีผู้วิจัยได้สร้างขึ้น และมีการ นาเสนอข้อวิพากษ์ และข้อเสนอแนะในการประชุมย่อย (Focus Group) มาสรุปและอภิปรายผลท้ังหมด ในท่ีประชุมใหญ่เพื่อร่วมกันวิพากษ์ (Brain Storming) และนาผลจากการเสนอแนะมาปรับปรุงเป็น รปู แบบการพฒั นาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย ใหส้ มบูรณ์ข้ึน นาเสนอใหผ้ ูเ้ ชยี่ วชาญประเมินรูปแบบและเลอื กกจิ กรรม ผู้เช่ียวชาญท้ัง 5 ท่าน ให้คะแนน อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด สอดคล้องกับผลการศึกษาของประโยชน์ คล้ายลักษณ์ (2556 : 136 - 145) ได้ศึกษา รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะด้านการทางานเป็นทีมของบุคลากรทางการศึกษาผู้ปฏิบัติงานใน สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา การวิจัยขั้นที่ 1 เป็นการวิจัยเชิงสารวจโดยแบบสอบถาม เพื่อ ทราบความต้องการองค์ประกอบ และวิธีการพัฒนาสมรรถนะการทางานเป็นทีม จากบุคลากรทาง การศกึ ษาทป่ี ฏิบตั ิหนา้ ทีใ่ นสานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษา จานวน 350 คน ข้ันตอนที่ 2 เป็น การพัฒนารูปแบบการพัฒนาสมรรถนะด้านการทางานเป็นทีม จากข้อมูลการวิจัยข้ันตอนที่ 1 โดยผู้วิจัย แล้วตรวจสอบรับรองรูปแบบท่ีพัฒนาขึ้นถึงความเหมาะสมของรูปแบบ โดยผู้เชี่ยวชาญการพัฒนา หลักสูตร นักวิชาการด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา หรือผู้แทน จานวน 7 คน และข้ันตอนท่ี 3 เป็นการตรวจสอบประเมินรูปแบบการพัฒนา สมรรถนะด้านการทางานเป็นทีมของบุคลากรทางการศึกษาผู้ปฏิบัติงานในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศกึ ษา ในประเดน็ ความเหมาะสมความสอดคลอ้ ง ความเปน็ ไปได้ และความถูกต้องครอบคลุม โดย การสนทนากลุ่มอิงผู้เช่ียวชาญจานวน 10 คน ได้รับการพิจารณาจากผู้เชี่ยวชาญผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้ ปฏิบัติในลักษณะเห็นชอบถึงความเหมาะสมความสอดคล้อง ความเป็นไปได้และความถูกต้องครอบคลุม ในระดับมากสอดคล้องกับงานวิจัยของมงคล แสงอรุณ และคณะ (2558 : 212) ได้ศึกษารูปแบบการ เสริมสมรรถนะของผู้เรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัย อาชีวศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ผลการวิจัยพบว่า 1) รูปแบบการเสริมสมรรถนะของผู้เรียน ประกอบไปด้วยส่วนประกอบ 9 ส่วน ได้แก่ กรอบมาตรฐานหลักสูตรอาชีวศึกษา กรอบคุณวุฒิการศึกษา วิชาชีพ ความต้องการของสถานประกอบการของผู้เรียน การวิเคราะห์งานการทดสอบสมรรถนะ การ เสริมสมรรถนะ Social Media และตัวชี้วัดสมรรถนะผู้เรียน 2) การเสริมสมรรถนะของผู้เรียน ประกอบด้วย 4 ข้ันตอน ได้แก่ ขั้นตอนการแนะนาช้ินงาน ขั้นตอนการสาธิตปฏิบัติตามขั้นตอน ขั้นตอน ประยุกตส์ ร้างชิ้นงาน และขนั้ ประเมนิ ผลช้ินงาน และ 3) ผู้เช่ียวชาญมีความคิดเห็นต่อรูปแบบโดยรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด ขั้นตอนโดยรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุดดังผลการศึกษาของวัชราภรณ์ ประภาสะโนบล


118 (2564 : 247-249) ไดศ้ ึกษารูปแบบการพัฒนาสมรรถนะการจดั การเรยี นร้ขู องนกั ศกึ ษาครูโดยใช้โครงงาน เป็นฐานร่วมกับการสอนแบบสร้างสรรค์เพ่ือเสริมสร้างความสามารถในการสร้างสรรค์นวัตกรรมของ นักเรียน ผลการรับรองรูปแบบ พบว่า รูปแบบมีความเหมาะสมสอดคล้องของแนวคิดพ้ืนฐานและ องค์ประกอบในระดับมากท่สี ุด การท่ีผลการวิจัยปรากฏเช่นนี้ อาจเนื่องมาจากรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วย ความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัยผู้วิจัย ได้ให้ความสาคัญกับการพัฒนาจุดแข็ง ของภาคเี ครอื ข่ายหลายแนวทาง เชน่ 1) ลกั ษณะแบบไมเ่ ปน็ ทางการมีความยืดหยุ่น สมาชิกของเครือข่าย รวมตัวเป็นกลุ่ม แต่เปิดโอกาสให้สมาชิกในเครือข่ายทางานแบบกระจายงานไปอย่างทั่วถึง โดยเน้น ความคดิ สร้างสรรคเ์ ปน็ กล่มุ 2) การพัฒนาศกั ยภาพการทางานเป็นทมี และการพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลใน ยุควิถีใหม่ มีการประชุมออนไลน์ สามารถติดตามงานในกลุ่ม โดยตระหนักถึงประสบการณ์ของแต่ละคน ในเครอื ขา่ ย รวมท้ังมีการจงู ใจและกระตนุ้ ให้สมาชิกแบบขับเคล่ือนการทางานไปสู่เป้าหมาย 3) สนับสนุน เสริมสร้างภาคีเครือข่ายความร่วมมือในระดับพื้นท่ีให้ทุกคนมีหน้าที่รับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าท่ีที่ได้รับ มอบหมายเต็มกาลังความสามารถ 4) ทุกคนในเครือข่ายมีความร่วมมือกัน ประสานงาน แบ่งปันความรู้ ประสบการณ์ ชว่ ยเหลือเก้ือกูลกันให้เครือข่ายสามารถพึ่งตนเองได้ และ 5) มีการสนับสนุนให้ทางานเป็น ระบบ โดยมีการกากับติดตาม และประเมินผลการทางาน การบริหารจัดการให้สามารถปฏบิ ตั ิได้ 5.2.3 ภายหลังการพัฒนา พบว่า รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือ กบั ภาคีเครือขา่ ย วทิ ยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย โดยรวมทุกด้านเพ่ิมขึ้นจากก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติ (P - Value < 0.001) โดยท่ีรูปแบบสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย มีความเหมาะสมโดยรวมอยู่ในระดับมาก (  = 4.03, S.D. = 0.35) สอดคล้องกับผลการศึกษาของ วศินี รุ่งเรือง (2558 : 123) ได้ศึกษาการประเมินสมรรถนะผู้เรียนตาม หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพพุทธศักราช 2556 สาขาวิชาธุรกิจค้าปลีก ระบบทวิภาคีของวิทยาลัย อาชีวศึกษาพิษณุโลก โดยใช้รูปแบบการประเมินแบบ 360 องศา ผลการวิจัย พบว่า สมรรถนะผู้เรียน โดยรวม อยใู่ นระดับมาก เม่อื พิจารณาสมรรถนะผู้เรียนในแต่ละด้านโดยรวม พบว่า ด้านคุณลักษณะท่ีพึง ประสงค์ และด้านสมรรถนะวิชาชีพ อยู่ในระดับมาก สาหรับด้านสมรรถนะหลัก และสมรรถนะทั่วไปอยู่ ในระดับมาก ทานองเดียวกับผลการวิจัยของธนิต เหงี่ยมสมบัติ (2560 : 181-192) ได้ศึกษารูปแบบการ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของพนักงานเทศบาลตาบลในจังหวัดมหาสารคาม พบว่า ก่อน และหลัง การ ทดลองใช้รูปแบบการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ กลุ่มทดลองมีความรู้สึกเป็นเจ้าขององค์การ และมีการ ทางานแบบเปิดเผย โปร่งใส สุจริต ไว้วางใจกัน ยอมรับซึ่งและกัน มีความภูมิใจในหน้าที่ของตนเองได้รับ การสนับสนุนให้ได้พัฒนาตนเองในการศึกษาต่อและการอบรม มีการประเมินผลสาเร็จของการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ และมีการพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ของพนักงานเทศบาลตาบลแตกต่างกันอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 โดยหลังการทดลองมีผลการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ดีข้ึน สอดคล้องกับ ผลการวิจัยของมานิตย์ นาคเมือง (2561 : 13) ได้ศึกษาเรื่อง รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะประจาสาย งานครผู สู้ อนในสถานศึกษาขั้นพนื้ ฐาน จดุ มุ่งหมายของการวิจัยน้ี เพ่ือพัฒนารูปแบบการพัฒนาสมรรถนะ


119 ประจาสายงานครูผู้สอนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผลการวิจัยพบว่าผลการทดลองใช้รูปแบบการพัฒนา สมรรถนะประจาสายงานครูสอนในสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พบว่า คณะครูผู้เข้าร่วมการทดลองให้ความ สนใจใช้รูปแบบมาก และผลการประเมินสมรรถนะประจาสายงานครูผู้สอนหลังการทดลองใช้ รูปแบบฯ สูงกว่าผลการประเมินก่อนการใช้รูปแบบฯ 4) ผลการประเมินรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะครูผู้สอนใน สถานศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พบว่า ดา้ นความเปน็ ประโยชนอยู่ในระดับเป็นประโยชน์มาก การท่ีผลการวิจัยปรากฏเช่นนี้ อาจเนื่องมาจากการเรียนรู้ของนักเรียน นักศึกษาเกิดจากการ ปฏิบัติจริง และการประกอบอาชีพท่ีสามารถนาไปสู่ความเช่ียวชาญ และประสบการณ์การเรียนรู้ใหม่ ๆ การเรียนรู้ตามสภาพจริงในชุมชน สถานประกอบการ สนับสนุนให้นักเรียน นักศึกษามีการการพัฒนา สมรรถนะวิชาชพี และคณุ ภาพชีวิตทดี่ ขี ้นึ และนกั เรียน นักศึกษาส่วนหน่ึงสามารถพัฒนานวัตกรรมได้จาก การแลกเปลย่ี นเรียนรู้ประสบการณ์จากภมู ิปัญญาท้องถ่นิ และสภาพที่เปน็ จรงิ 5.3 ข้อเสนอแนะ 5.3.1 ข้อเสนอแนะเกย่ี วกับการนาผลการวิจยั ไปใช้ 5.3.1.1 จากผลการศึกษา พบว่า ดา้ นความร่วมมือภาคีเครือขา่ ยมคี า่ เฉลย่ี อยู่ในระดับต่า กว่าทุกด้านดังนั้น หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรส่งเสริม สื่อสาร และประชาสัมพันธ์ในการสร้างความร่วมมือ กับภาคเี ครือข่ายซงึ่ เปน็ ยุทธศาสตรส์ าคญั ในการสร้างแนวร่วมในระดับผู้ประกอบการ และผู้ปฏิบัติงานใน กลุ่มอาชีพให้ได้รับความรู้ ความเข้าใจในการนาไปสู่ความต้องการมีคุณวุฒิวิชาชีพ โดยเฉพาะในกลุ่ม อาชีพท่ีใช้ทักษะสูงในการปฏิบัติงาน ภาคีเครือข่ายจะเป็นแนวร่วมในการพัฒนามาตรฐานอาชีพ และ ระบบคุณวุฒิวิชาชีพให้ประสบความสาเร็จได้เป็นอย่างดี นอกเหนือจากหน่วยงานหรือผู้ท่ีมีหน้าท่ี รับผิดชอบโดยตรงในอนาคต 5.3.1.2 จากผลการศึกษา พบว่า ปัจจัยทีส่งผลต่อการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียน ด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัยมีตัวแปรมากท่ีสุด คือ ด้านลักษณะท่ีพึง ประสงค์ รองลงมา คอื ด้านสมรรถนะแกนกลาง ดา้ นสมรรถนะวิชาชพี ด้านความรว่ มมอื ภาคีเครอื ขา่ ย ตามลาดับ ดังน้ันการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิค เกษตรวสิ ยั ควรนาปจั จยั เหลา่ นีไ้ ปใช้ 5.3.1.3 การประเมินผลการปฏิบัติงาน สาหรับการวิจัยครั้งน้ี เป็นการประเมิน โดย เครือข่ายประเมินตนเอง ซึ่งอาจจะมีอคติในการประเมิน ดังน้ัน ควรมีการประเมินแบบ รอบด้าน เพ่ือ ใหผ้ ลการประเมินน่าเชือ่ ถอื ย่ิงขนึ้


120 5.3.2 ข้อเสนอแนะ สาหรบั การวิจัยครง้ั ต่อไป 5.3.2.1 ควรมกี ารวิจยั เพือ่ ศึกษารูปแบบการพัฒนาสมรรถนะการคดิ เชิงวเิ คราะหข์ อง เครือขา่ ยวทิ ยาลยั เทคนิคเกษตรวิสัย หรือสมรรถนะดา้ นอ่ืนทส่ี อดคล้องกบั ความต้องการของเครือขา่ ย 5.3.2.2 ควรมกี ารวจิ ัย เพื่อศึกษาการนารูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วย ความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย ไปใช้ในการส่งเสริมสมรรถนะท่ีจาเป็นของ นักเรียน และนักศกึ ษา 5.3.2.3 ควรพฒั นาการสรา้ งเครอื ขา่ ยผา่ นระบบคอมพิวเตอร์ หรือผ่านระบบการสื่อสาร หรือพัฒนา โดยการอาศัยเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในการเรียนรู้ร่วมกัน เป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซึ่ง สามารถจัดทาได้ทัง้ ภายในองค์กรและภายนอกองค์กรท่ีอยู่ในเครือข่ายเดียวกัน และทาการวิจัยเพ่ือศึกษา ประสิทธิผลท่เี กดิ ขน้ึ ภายหลัง การสรา้ งเครือขา่ ยในการจัดการเรยี นรรู้ ว่ มกัน


210 ประวัติผ้ปู ระเมิน ชื่อ – ชอ่ื สกุล นายสทิ ธิศักดิ์ เพ่มิ พลู วัน เดอื น ปี เกิด 8 กันยายน 2516 ทอ่ี ยู่ปจั จบุ นั บา้ นเลขท่ี 152 หมู่ 1 ตาบลนาโพธ์ิ อาเภอเมืองเมือง จังหวดั ร้อยเอ็ด 45000 ทที่ ำงำนปจั จบุ ัน วทิ ยาลัยเทคนคิ เกษตรวิสัย เลขที่ 231 หมู่ 3 ตาบลเมอื งบวั อาเภอเกษตรวิสัย จงั หวัด รอ้ ยเอ็ด 45150 ตำแหน่งหน้ำทป่ี จั จบุ นั ผอู้ านวยการวทิ ยาลยั เทคนิคเกษตรวสิ ยั ประสบกำรณก์ ำรทำงำน พ.ศ. 2539-2541 ตาแหน่ง อาจารย์ 1 ระดับ 3 วิทยาลัยเทคนคิ รอ้ ยเอ็ด พ.ศ. 2542-2545 ตาแหน่ง อาจารย์ 1 ระดบั 4 วทิ ยาลยั เทคนคิ รอ้ ยเอด็ พ.ศ. 2545-2547 ตาแหน่ง อาจารย์ 1 ระดับ 5 วทิ ยาลัยเทคนคิ รอ้ ยเอ็ด พ.ศ. 2547 ตาแหน่ง อาจารย์ 1 ระดับ 6 วิทยาลัยเทคนคิ ร้อยเอ็ด พ.ศ. 2548-2551 พ.ศ. 2551-2555 ตาแหน่ง ครู ชานาญการ วทิ ยาลัยเทคนิคร้อยเอ็ด พ.ศ. 2556-2560 ตาแหน่ง รองผู้อานวยการ ชานาญการ วิทยาลยั การ อาชีพศีขรภูมิ พ.ศ. 2561-2562 ตาแหน่ง รองผู้อานวยการ ชานาญการพิเศษ วทิ ยาลยั เทคนิคร้อยเอ็ด ตาแหนง่ ผ้อู านวยการ ชานาญ การพเิ ศษ วิทยาลัยการอาชีพพระสมุทร เจดีย์ ตาแหน่ง ผูอ้ านวยการชานาญการพเิ ศษวทิ ยาลัยเทคนิค พ.ศ. 2561-ปจั จบุ นั เกษตรวิสยั ประวตั ิกำรศึกษำ พ.ศ. 2535-2537 ระดบั การศกึ ษาอนปุ รญิ ญา ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชน้ั สงู เคร่อื งกล สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตขอนแกน่ พ.ศ. 2537-2539 ระดับการศกึ ษาปริญญาตรี ครุศาสตรอุตสาหกรรมบัณฑิต วศิ วกรรมอตุ สาหการเครอื่ งมอื กล สถาบันเทคโนโลยรี าชมงคล วิทยาเขตขอนแก่น พ.ศ. 2546-2548 พ.ศ. 2550-2551 ระดบั การศึกษาปรญิ ญาโท ประกาศนยี บัตร ระดับการศกึ ษาปรญิ ญาโท ครุศาสตร บณั ฑติ บริหารการศกึ ษา มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุตสาหกรรมมหาบัณฑติ เคร่ืองกล เลย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ พระนครเหนือ รำงวลั ทไี่ ดร้ ับ พ.ศ. 2556 รางวัลเชิดชเู กยี รติ เปน็ ผทู้ าคุณประโยชนท์ างด้านการศึกษา เป็นแบบอยา่ งท่ีดใี นดา้ นการปฏบิ ตั ิตน การปฏบิ ัติงาน และพัฒนา คุณภาพชวี ิตใหด้ ีขน้ึ เป็นทีป่ ระจักษต์ ่อสาธารณชน หนว่ ยงาน (สกสค.) พ.ศ. 2560 รางวลั ผู้บงั คบั บัญชาลูกเสือดเี ดน่ ประเภทผบู้ ริหาร ระดบั ชาติ ประจาปี 2559 พ.ศ. 2560 รางวลั ขา้ ราชการพลเรอื นดีเด่น ระดบั จังหวดั ตาก ประจาปี 2560


บรรณานกุ รม กาญจนา วัธนสุนทร และคณะ. (2550). “การออกแบบวิจัยเพ่ือพัฒนาโมเดล” ในแนวการศกึ ษาชุดวิชา ระเบยี บ วธิ วี จิ ัยข้ันสูง. นนทบุรี มหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ กวิน ชุตมิ า. (2551). การพัฒนาเครือข่ายความรว่ มมือและการประสารงาน. นิตยสารการ ประชาสงเคราะห์. 35(5), 63 - 70. กิตตศิ ักดิ์ ปรกติ. (2550). สิทธิของบคุ คลซ่งึ รวมกันเปน็ ชมุ ชน. กรงุ เทพฯ : มิสเตอรก์ ๊อปป้ี. กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2551). การประชุมช้แี จงแนวทางการปฏบิ ัติงานของสานักงาน กศน. กรุงเทพมหานคร วนั ศกุ ร์ท่ี 7 มีนาคม 2551 ณ ศูนย์การศึกษานอก โรงเรยี นกรุงเทพมหานคร. กองพัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น. (2535). สรุปการประชุมการสง่ เสริมและการพฒั นาเครือข่ายการ เรียนรู้. กรงุ เทพฯ : กองพฒั นาการศึกษา. กรมการศกึ ษานอกโรงเรยี น. (2536). มติ ิใหมใ่ นการจดั การศึกษานอกโรงเรียนสรุปสาระสาคญั ใน การปรับปรุงระบบบรหิ ารและเครือขา่ ยการศึกษานอกโรงเรียน. กรุงเทพฯ : เล่ียงเชยี ง. กรมพัฒนาสังคมและสวสั ดกิ าร. (2547). รายงานการศกึ ษา เรื่อง โครงการศกึ ษารปู แบบการเสริมสร้าง เครอื ข่ายพัฒนาสังคมและสวัสดกิ าร. กรงุ เทพฯ : เทพเพ็ญว่านิสย์. เกรยี งศักดิ์ เจริญวงศ์ศักด์ิ (2555, 1 มกราคม - เมษายน ). “การจดั การเครือขา่ ย:กลยุทธส์ าคัญสู่ ความสาเร็จของการปฏริ ปู การศึกษา”. การบรหิ ารและพัฒนา มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม. ปที ี่ 4 (ฉบับท่ี 1) : 196 โกวิท วรพิพฒั น์ (2544). การจัดการศึกษาตามแนวทางการศึกษาตลอดชีวติ ในประเทศไทย ใน 22 ปี กศน. สูก่ ารศึกษาตลอดชีวติ . กรงุ เทพฯ : องค์การรับสง่ สินค้า และพสั ดุภัณฑ์. ขนิฏฐา กาญจนรงั สนี นท์. (2542). การสร้างความแข็งแรงของชมุ ชนโดยองค์การเครอื ข่าย. วารสาร พัฒนาชุมชน, 38(9), 26 - 30. คัมภีร์ สดุ แท้. (2553). การพฒั นารปู แบบการบริหารงานวิชาการสาหรับโรงเรียนขนาดเล็ก. ปริญญา นพิ นธค์ รุศาสตรดุษฎบี ณั ฑิต, สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา. บณั ฑิตวิทยาลยั . มหาวิทยาลัย มหาสารคาม. คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั . (2553). การสร้างเครอื ข่ายและการมีสว่ นร่วม. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์แหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. จนิ ตนา รวมชมรัตน์. (2558). รปู แบบการจดั การอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคใี นวิทยาลัยอาชวี ศึกษา สังกัดสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา. ปรชั ญาดษุ ฎีนพิ นธ์บณั ฑติ . สาขาวิชาการ บรหิ ารเพอ่ื การพัฒนาการศึกษา. มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏกาญจนบรุ ี. จริ ประภา อคั รบวร. (2549). สรา้ งคนสรา้ งผลงาน. กรุงเทพมหานคร : ก.พลพิมพ์. จรวยพร ธรณินทร์. (2550). เอกสารการประชุม ชุดที่ 2 แนวโนม้ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอธั ยาศยั ยคุ ใหม่. กรงุ เทพฯ : สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั .


122 จนิ ตวีร์ เกษมสขุ . (2554). การส่อื สารกบั การเปลี่ยนแปลงของสังคม. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย จีระวทิ ย์ ม่นั คงวัฒนะ. (2557). เครือข่ายจดั การศกึ ษานอกโรงเรยี นการพฒั นาระบบภาคเี ครอื ข่าย สถานศึกษา องั คารท่ี 14 เดอื นมกราคม พ.ศ. 2557. ชัยภูมิ : ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอจตั ุรัส. จอมพงศ์ มงคลวนชิ . (2554). การศึกษาส่กู ารพัฒนาท่ยี ่ังยืน : การบริหารองค์การและบุคลากรทางการ ศกึ ษา. กรงุ เทพฯ : สถาบันเทคโนโลยสี ยาม. ณรงค์วิทย์ แสนทอง. (2548). เทคนิคการจดั ทา Job description บนพ้ืนฐานของ Competency และKPI (พมิ พ์คร้ังท่ี 2). กรุงเทพฯ: เอช อาร์ เซ็นเตอร์. ณรงคว์ ทิ ย์ แสนทอง. (2551). มารู้จัก Competency กนั เถอะ (พิมพ์คร้งั ท่ี 3). กรงุ เทพฯ : เอช อาร์ เซ็นเตอร์. ทองอยู่ แกว้ ไทรฮะ. (2544). ประมวลสาระชดุ วิชา ปรัชญาและหลักการศึกษานอกระบบหน่วยที่ 1 - 5. นนทบรุ ี : มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช. ทพิ ยว์ รรณ เตมยี กุล. (2552). รปู แบบการพัฒนาคณุ ธรรมพน้ื ฐานนักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปี ที่ 5 โรงเรียนวดั พรหมสาคร. สงิ ห์บุรี : โรงเรยี นวัดพรหมสาคร. ทิศนา แขมมณี. (2550). รูปแบบการเรยี นการสอนทางเลือกทีห่ ลากหลาย. กรุงเทพฯ: จฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั . ทิศนา แขมมณี. (2551). ศาสตรก์ ารสอน : องคค์ วามรูเพ่ือการจดั กระบวนการเรียนรูทีม่ ีประสิทธภิ าพ. กรงุ เทพฯ : สานักพมิ พ์จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . เทื้อน ทองแก้ว, อานนท์ ศกั ดิ์วรวิชญ์ และสุกัญญา รัศมธี รรมโชติ. (2556). การกาหนดสมรรถนะ. กรงุ เทพฯ : มหาวิทยาลยั ราชภฎั สวนดุสติ . ธนสาร บัลลังกป์ ัทมา. (2561). บทบาทประชาชนในการมสี ่วนรว่ มการจัดการศึกษานิตยสาร Thecity Journal. 4(85) : 30 เขา้ ถึงจากเวปไซต์ https://www/.gotoknow.org/posts/288818. ธนา ประมุขกุล. (2544). เครือขา่ ย. วารสารการส่งเสริมสขุ ภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม. 6(3), 104 – 112. ธนิต เหงี่ยมสมบตั ิ. (2560). รูปแบบการพัฒนาทรพั ยากรมนุษย์ของพนักงานเทศบาลตาบลในจังหวดั มหาสารคาม. วารสารช่อพะยอม, 28(1), 181 - 192. ธรี ะ รุญเจริญ. (2550). ความเปน็ มืออาชพี ในการจัดและบริหารการศึกษายุคปฏริ ูปการศึกษา (ฉบบั ปรับปรุง) เพื่อปฏิรูปรอบสองและประเมินภายนอกรอบสาม. กรงุ เทพฯ : ข้าวฟ่าง. ธรี ะพงษ์ แกว้ หาวงษ์. (2552). กระบวนการเสริมสร้างชุมชนเขม้ แขง็ ประชาคม ประชาสังคม. ขอนแกน่ : คลงั นานาวิทยา. ธารงศักด์ิ คงคาสวสั ดิ์. (2548). Competency ภาคปฏบิ ตั ิ-เขาทากันอยา่ งไร?. กรุงเทพฯ: ส.ส.ท. นฤมล นริ าทร. (2543). การสร้างเครือขา่ ยการทางาน : ขอ้ ควรพจิ ารณาบางประการ. กรงุ เทพฯ : มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์.


123 นิสดารก์ เวชยานนท์. (2548). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ : เอกสารประกอบการสอนวิชา รศ.620=Human resource management. กรุงเทพฯ : คณะรัฐประศาสนศาสตร์. สถาบนั พฒั นบรหิ ารศาสตร์. นันทนา ชวศริ กิ ุลฑล และคณะ. รปู แบบการพัฒนาสมรรถนะการบรหิ ารสาหรบั ผู้บริหารสถานศึกษา เอกชนนอกระบบเพ่ือเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. วารสารวิชาการ ครศุ าสตรอ์ ตุ สาหกรรม พระจอมเกล้าพระนครเหนือ.ปที ่ี 8 ฉบบั ที่ 1 มกราคม-มิถนุ ายน 2560. หนา้ 88-96. บญุ ชม ศรสี ะอาด. (2545). การวิจัยเบ้ืองตน้ . (พมิ พค์ รั้งที่ 9). กรุงเทพฯ : สวุ ีริยาสาส์น. ปาริชาติ วลัยเสถยี ร. (2555).ทฤษฎีและหลักการพัฒนาชุมชน. กรงุ เทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ประเวศ วะสี. (2553). มีปัญญารักษาทุก (ข์) โรคระบบการศึกษาทีแ่ กค้ วามทกุ ข์ยากของทกุ คนทัง้ แผน่ ดิน.กรงุ เทพฯ : กรีน - ปญั ญาญาน. ประโยชน์ คลา้ ยลักษณ์. (2556). รปู แบบการพัฒนาสมรรถนะดา้ นการทางานเปน็ ทมี ของบุคลากร ทางการศึกษาสังกัดสานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษา. วทิ ยานพิ นธ์ปรญิ ญาปรัชญา ดุษฎีบณั ฑติ . พิษณโุ ลก : มหาวทิ ยาลัยนเรศวร. ปิยะชัย จันทรวงศไ์ พศาล. (2549). การคน้ หาและวิเคราะหเ์ จาะลกึ Competency ภาคปฏบิ ัติ. กรุงเทพฯ : เอช อาร์ เซ็นเตอร์. ปรชั ญา เวสารชั ช.์ (2561). การส่งเสริมชุมชนและท้องถ่ินในการปฏริ ปู การศึกษา. เขา้ ถึงไดจ้ ากเวปไซต์ http://www.google.com/Search?=cache:D.SaXoZZWLDMJ.area.bed.go.th พระมหาสทุ ิตย์ อาภากโร (อบอุน่ ). (2547). เครือข่าย : ธรรมชาตคิ วามร้แู ละการจัดการ. กรงุ เทพฯ : โครงการเสริมสร้างการเรยี นรูเ้ พือ่ ชมุ ชนเปน็ สุข. พรศกั ด์ิ สจุ ริตรกั ษแ์ ละชนดิ า พิลาไชย. (2563). รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะครรู องรับการศึกษายคุ 4.0. มหาวิทยาลัยราชภฏั หมู่บา้ นจอมบงึ . พรรณี ไพศาลทักษนิ . (2553). การดาเนนิ งานของระบบการประเมนิ คุณภาพภายในวทิ ยาลัยเครอื ขา่ ย ภาคเหนอื สังกดั สถาบันพระบรมราชชนก. มหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช. เพชรนิ สงคป์ ระเสรฐิ . (2550). การพัฒนารูปแบบการบรหิ ารงานวชิ าการโดยยดึ หลกั การทางานเป็น ทมี ในสถานศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน. พษิ ณุโลก : มหาวทิ ยาลยั นเรศวร. พิสณุ ฟองศรี. (2554). นวัตกรรมการบรหิ ารงานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีในสถานศึกษาอาชีวศึกษา. วิทยานิพนธป์ รชั ญาดุษฎบี ณั ฑิต สาขาวชิ าการบรหิ ารการศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร. โพธ์ิตะวนั ปินทโี ย. (2543). การออกกลางคนั ของนักเรยี นระบบทวิภาคีในวทิ ยาลยั อาชีวศึกษา เชียงราย. วทิ ยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวชิ าการบรหิ ารการศึกษา.บัณฑิตวทิ ยาลยั , มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่. ไพบูลย์ วฒั นาศริ ิธรรม. (2553). ประชาคมตาบล หมายเหตุจากนักคิด สถาบันชมุ ชนท้องถ่นิ พัฒนา. กรงุ เทพฯ : โอเดียนสโตร์.


124 ไพฑรู ย์ สงั ข์สวัสด์ิ. (2560). การพัฒนารูปแบบการจัดการอาชวี ิศึกษาระบบทวิภาคที ีเ่ หมาะสมกับ ประเภทวิชาชา่ งอุตสาหกรรมโดยใชก้ ารวิจัยเชงิ ปฏิบตั กิ ารแบบมีสว่ นร่วม.ปรชั ญาดษุ ฎี บณั ฑิต.คณะศึกษาศาสตร์. มหาวิทยาลยั บรู พา. มงคล แสงอรุณ และคณะ. (2558). รูปแบบการเสริมสมรรถนะของผเู้ รยี นระดับประกาศนียบัตร วชิ าชพี (ปวช.) สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธรุ กจิ วิทยาลัยอาชีวศึกษาภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ. การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมครัง้ ท่ี 1 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั มหาสารคาม.จังหวัดมหาสารคาม. วันที่ 12-13 พฤษภาคม 2558.น.212. มานติ ย์ นาคเมือง. (2561). การพัฒนาสมรรถนะประจาสายงานครูผูส้ อนในสถานศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน. วารสารวิชาการบัณฑติ ศึกษา มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครสวรรค์, 3(8). มะลิ วมิ าโน. (2547). การวิจัยปฏบิ ัติการแบบมีส่วนรว่ มในการพัฒนาศักยภาพเครอื ข่ายการปฏิบตั งิ าน ปฏิรูประบบสุขภาพของเจา้ หน้าทส่ี าธารณสขุ ตาบล จังหวดั สระบรุ ี. วิทยานพิ นธป์ ริญญา วทิ ยาศาสตร์ดุษฎบี ณั ทิต. กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ราชบัณฑติ ยสถาน. (2547). พจนานุกรมฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ : นานมีบุค๊ ส์ พบั ลิเคช่ันส์ จากัด. ลดาวัลย์ บวั เอี่ยม. (2548). การบรหิ ารจัดการท่อี ิงสมรรถนะ. วารสารประชาสมั พนั ธ์ปที ี่ 10 ฉบับที่ 117 (เดือนกนั ยายน). น.13-14. วศนิ ี ร่งุ เรือง. (2558). การประเมนิ สมรรถนะผู้เรยี นตามหลกั สตู รประกาศนยบัตรวชิ าชีพพุทธศักราช 2556 สาขาวชิ าธุรกิจค้าปลีก ระบบทวภิ าคีของวทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษาพิษณโุ ลก โดยใช้รปู แบบ การประเมินแบบ 360 องศา. วทิ ยานพิ นธห์ ลกั สตู รการศึกษามหาบัณฑิต. พิษณุโลก : มหาวิทยาลยั นเรศวร. วาโร เพง็ สวัสด.์ิ (2553). การวจิ ยั พัฒนารปู แบบ. วารสารมหาวิทยาลยั ราชภฏั สกลนคร; ปีท่ี 2 ฉบับที่ 4 : กรกฎาคม –ธนั วาคม 2553. วทิ ยาลยั เทคนคิ เกษตรวสิ ัย. (2564).ทะเบยี นระบบทวิภาคี.สบื ค้นเมอื่ วนั ท่ี 25 มถิ ุนายน 2564. www.kaset.ac.th. วิทยาลยั เทคนิคเกษตรวสิ ยั . (2559). รายงานการประเมินคุณภาพภายใน วิทยาลยั เทคนิคเกษตรวิสัย. เขา้ ถึงไดจ้ าก www.Kaset.ac.th วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล. (2564). รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของนักศึกษาครู โดยใช้โครงงานเปน็ ฐานร่วมกบั การสอนแบบสรา้ งสรรค์เพ่ือเสรมิ สร้างความสามารถในการ สร้างสรรคน์ วัตกรรมของนกั เรยี น. วิทยานพิ นธป์ รัชญาดษุ ฎบี ณั ฑิต.มหาวทิ ยาลัยศิลปากร. วนั ชยั โกลละสตุ . (2561). ความหมายและความสาคัญของการบริหารมีส่วนร่วม. เข้าถึงไดจ้ าก เวปไซด์ http://www.opens.dpt.go.th/dpt.


125 ศุภชยั เยาวะประภาษ. (2548). นานาทรรศนะว่าด้วยรฐั ประศาสนศาสตร์ : รวมบทความวิชาการดา้ น การบริหารงานคลังสาธารณะ และการเมอื งการปกครองท้องถ่ิน. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์แหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . ศริ ชิ ัย กาญจนวาสี. (2550). ทฤษฎีการทดสอบแบบแนวใหม่ (Modern test theory). (พมิ พ์ครง้ั ที่ 3). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. ศิรวิ รรณ เสรรี ตั น์. (2538). ศพั ท์การบรหิ าร. กรงุ เทพฯ : พัฒนาศึกษา. ศริ วิ รรณ วณชิ วัฒนวรชยั . (2552). วิธสี อนทวั่ ไป. นครปฐม: ศนู ยว์ จิ ยั และพัฒนาทางการศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร. ศนู ย์นิเทศอาชีวศกึ ษาภาคเหนือ. (2545). แนวทางการดาเนินงานและมาตรการจูงใจใหก้ ารอาชวี ศกึ ษา ระบบทวภิ าคีประสบผลสาเรจ็ . เชยี งใหม่ : ศนู ย์นิเทศภาคเหนอื . สมาน อศั วภมู ิ (2551). การบรหิ ารการศกึ ษาสมยั ใหม่ : แนวคดิ ทฤษฎแี ละการปฏิบัติ. (พมิ พ์ครั้งท่ี 4). อบุ ลราชธานี: อุบลกิจออฟเซทการพิมพ์. สมพล ขาจิตร์. (2550). การพัฒนารูปแบบการจัดอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคีเพื่อเพิ่มคุณภาพนักศกึ ษา ตามความต้องการกาลงั คนระดับอาชีพเทคนคิ . กรุงเทพฯ : สานักงานคณะกรรมการการ อาชวี ศกึ ษา สมยงค์ แกว้ สพุ รรณ. (2552). รปู แบบการบริหารสถานศึกษาข้ันพ้ืน ฐานท่ีมีประสิทธิผลเพื่อการ ประกันคุณภาพการศกึ ษา. มหาสารคาม : สานกั พมิ พ์มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม. สุราษฎร์ พรมจันทร์. (2539). การพฒั นารปู แบบความรว่ มมอื ระหว่างสถานประกอบการกับ สถานศึกษาในการพัฒนาบุคลากรของสถานศึกษาในการพัฒนาบุคลากรของ สถานประกอบการประเภทอุตสาหกรรมบรกิ ารตามหลกั สูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ ช้ันสงู . กรงุ เทพฯ: สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนอื . สุกัญญา รัศมธี รรมโชติ. (2553). ค่มู ือประเมินผลงานสู่ความสาเร็จในการพัฒนาคน. กรงุ เทพฯ : สถาบันเพิ่มผลผลิตแหง่ ชาติ. สบุ รรณ เอ่ียมวิจารณ์. (2548). การจัดการขีดความสามารถ (Competency). ของบุคลากร : หวั ใจ สาคัญในการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษาไทย. วารสารบัณฑติ ศึกษา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สกลนคร, 2(6), 52 สุพิทย์ กาญจนพันธ์. (2541). รวมศพั ทเ์ ทคโนดลยแี ละสอ่ื สารเพอื่ การศกึ ษา. กรงุ เทพฯ : ซีเอด็ ยูเคช่ัน. สมุ าลี สงั ข์ศรี. (2544). รายงานการวจิ ยั การศกึ ษาตลอดชีวติ เพอื่ สังคมไทยในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : องค์การคา้ ครุ ุสภา. เสรมิ ศกั ดิ์ วิศาลาภรณ์. (2545). รูปแบบเครือขา่ ยพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาตาม พระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542. กรงุ เทพฯ : สานกั งานข้าราชการครู. เสรี พงศพ์ ิศ. (2548). วฒั นธรรมองคก์ รของโลกยุคใหม่ เครือข่าย ยทุ ธวธิ ีเพือ่ ประชาคมเข้มแข็งชุมชน เข้มแขง็ . กรุงเทพฯ : เจรญิ วทิ ย์การพิมพ์.


126 สาธิต จีนขจร. (2563). แนวทางการสง่ เสรมิ สมรรถนะวิชาชพี ของนกั เรียนระดบั ประกาศนียบัตร วิชาชีพ สาขาวชิ าชา่ งไฟฟา้ กาลงั จังหวัดลพบุรี. วิทยานิพนธศ์ กึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี. สานักงานโครงการอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคี. (2543). การจดั อาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคี. กรุงเทพฯ : กรมอาชวี ศึกษา สานกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา. (2550).รายงานการวิจัยเร่ือง การจัดการศกึ ษาระบบทวิภาคี หรอื ระบบฝกึ หัด-กรณศี กึ ษา ประเทศสหพันธส์ าธารณรฐั เยอรมนั สหรัฐอเมรกิ า องั กฤษ และออสเตรเลยี . กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธกิ าร. สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2551). กรอบทิศทางการพฒั นาการศกึ ษาในชว่ ง แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่10 (พ.ศ. 2550-2554) ทส่ี อดคล้องกับ แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2554-2559). กรงุ เทพฯ : สานกั พมิ พ์แหง่ จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั . สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา. (2554). หลกั การ ทฤษฎีและนโยบายการปฏิรปู อาชวี ศึกษา. กรงุ เทพฯ: สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา. สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา. (2558). เกย่ี วกับ สอศ. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http://www.vec.go.th สานักมาตรฐานการอาชวี ศกึ ษาและวชิ าชีพ สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา (2562). หลกั เกณฑ์ และแนวปฏบิ ตั ิการจัดการอาชวี ศกึ ษาระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชพี และระดับ ประกาศนียบตั รวิชาชพี ช้นั สูง. การพฒั นาหลักสูตรฐานสมรรถนะ. กระทรวงศกึ ษาธกิ าร : กรุงเทพฯ. สานกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย. (2551). ก้าวย่างต่อไปของ กศน. กรุงเทพฯ : ชมุ พร พรน้ิ ท์ แอนด์ ดีไซน์. สานักงานคณะกรรมการพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ. (2554).แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติฉบบั ทส่ี ิบเอ็ด พ.ศ. 2554 – 2559. กรุงเทพฯ : สหมิตรพร้ินติ้งแอนด์ พับลชิ ช่ิง. สานกั งานคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ. (2552). การบรหิ ารราชการแบบมีส่วนร่วม.พิมพ์ครง้ั ท่ี 2. กรงุ เทพฯ : สานักพมิ พ์คณะรัฐมนตรแี ละราชกิจจานเุ บกษา. อดศิ ร ภกู งลี. (2561). รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะการบรหิ ารจดั การเครอื ข่ายการศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศัยในจงั หวัดกาฬสนิ ธุ์. รฐั ประศาสนศาสตรดษุ ฎีบัณฑิต. มหาวิทยาลยั ราชภัฏมหาสารคาม. อดิศักดิ์ ชัชเวช. (2562). รปู แบบการจดั การการฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพในสถานประกอบการ. วารสารพฒั นาเทคนิคศกึ ษา. ปที ่ี 31 ฉบบั ท่ี 111 กรกฎาคม-กนั ยายน 2562. หนา้ 31. อภญิ ญา เวชยชยั . (2544). รายงานการวจิ ยั การมีส่วนรว่ มของพ่อแม่ผ้ปู กครองในการพัฒนา การศกึ ษา. กรุงเทพฯ : วัฒนาพานิช.


127 อาภรณ์ ภูว่ ทิ ยาพนั ธ์. (2550). Competency dictionary. กรงุ เทพฯ : เอช อาร์ เซ็นเตอร์. Alter and Hage. (1993). Organizations Working Together. California : Sage. Alkin, M.C. and F.S. Ellett Jr. (1990). Development of Evaluation Model. In internet The National Encyclopedia of Educational Evaluation (pp.15-20). Retrieved from http://www.academia.edu/31088098/DEVELOPMENT. Barbara, A. and Dina, L. 2006. Virtual learning communities as a vehicle for Workforce development: a case study. Journal of Workplace Learning, 18(6), 367-383. Blancero, Donna, John Boroski, and Lee Dyer. (1996). Key Competencies for a Transformed Human Resource Organization: Results of a Field Study. Human Resource Management no.35. Carter V. Good. (1973). Dictionary of Education. New York : McGraw - Hill book company. Cavalier, Don R. and others. (2005).. Employer Surveys of Core Competencies and Employer Focus Groups Responses. The University of Minnesota Crookston Baccalaureate Level Graduates. Cohen, J. M. & Uphoff, N. T. (1981). Rural Development Participation : Concept and Measures for Project Design Implementation and Evaluation. Rural Development Committee Center for International Studies : Cornell University . Dubios, D., & Rothwell, M. (2004). Competency-based human resource management. Palo Alto, CA: Davies-Black. Erwin, W. (1976). Participation Management. Concept Theory and Implementation. Atlanta : Georgia State University Press. Eisner, E. (1976). “Education Connoisseurship and Criticism: Their Form and Functions in Educational Evaluation.” Journal of Aesthetic Education. : 192-193. Keeves, John. (1997). Educational Research, Methodology, and Measurement : An International Handbook. Oxford, England : pergamon Press plc. McClelland, D. (1993). Testing for competence rather than for intelligence. American Psychologist, 28, 1-14. Ollin, R., & Tucker, J. (2004). The NVQ assessor and verifier handbook (3rd ed.). London : Kogan Page. Perry, R., & Lewis, C. (2003).Teacher-Initiated lesson study in a Northern California. Retrieved from http://eric.ed.gov/ ERICDocs/data/ericdocs2sql/ content_storage_01/0000019b/80/1 b/35/9f.pdf


128 Peregoy, R. and Kroder, (2000). Developing Strategies for Networked Education. Search from www.vonweb.hwwilsonweb.com. Willer, D. (1986). Scientific Sociology : Theory and Method. Englewood Cliff, N. J. : Prentice-Hall. Write, T. (2001). HR Competencies : Getting Them Right. Canada HR Reporter. Toronto : November 5: 20. Stavenhagen, R. (1971). “Marginality, Participation Agarian Stureture in Latin America,” in Bulletion of The International Institute of Labour Studies. New York : McGraw-Hell Book. Steiner Roggenbuck, S. M. (1998). Negotiating relief: The development of social welfare program in depression-era Michigan, 1930-1940. Tennessee : University of Memphis. Taro Yamane. (1967). Statistics : An Introductory Analysis (2nd ed). New York : Harper & Row. Trotter, Alan. And Linda Ellison. (1997). “Understanding competence and competency In School Leadership for the 21.” Century : A competency and Knowledge Approach. 36-53. Edited by Brent Davies and Linda Ellison. London : Routledqe, Weller. United Nation. (1981). Department of International Economic and Social Affair. Popular Participation as a Strategy for Promoting Community Level Action and National Development Report of the Meeting for the Ad hoc Group of Expert. New York : UnitedNation. Vissee, P.S. and Mirabile, R.R. (2004). Attitudes in the Social Context : The Impact of social Network Composition on Individual - Lever Attitude Strength. Retrieved from unwed. Hwwilsonweb.com.