Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียน

รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียน

Description: รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียน

Search

Read the Text Version

รปู แบบการพัฒนาสมรรถนะวชิ าชพี ผ้เู รียนด้วยความร่วมมอื กับภาคี เครือขา่ ย วิทยาลยั เทคนคิ เกษตรวิสัย สทิ ธศิ กั ด์ิ เพม่ิ พูล ผู้อานวยการวิทยฐานะ ผูอ้ านวยการชานาญการพิเศษ วทิ ยาลัยเทคนิคเกษตรวสิ ัย สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

ก ชื่อ รูปแบบการพฒั นาสมรรถนะวชิ าชพี ผู้เรียนด้วยความรว่ มมอื กับภาคเี ครอื ขา่ ย วทิ ยาลัยเทคนคิ เกษตรวสิ ยั ผู้วจิ ยั นายสทิ ธิศกั ด์ิ เพิ่มพูล ตาแหนง่ ผ้อู านวยการวทิ ยฐานะ ผู้อานวยการชานาญการพิเศษ สถานศึกษา วทิ ยาลัยเทคนคิ เกษตรวสิ ัย จังหวัดร้อยเอ็ด ปีทท่ี าวจิ ัย 2563 บทคดั ย่อ การศกึ ษาวจิ ัยคร้ังน้ี มวี ตั ถุประสงค์ เพ่ือศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียน ด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย สร้างรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ ผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย และทดลองใช้และประเมินผล รปู แบบการพฒั นาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บริหารสถานศึกษา ครู และพนักงานราชการ/ลูกจ้าง ผู้ประกอบการ ผู้นาชุมชน นักศึกษา นกั เรยี น เคร่ืองมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียน ด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย แบบสอบถาม และแบบประเมินความ สอดคล้อง สถิตทิ ่ีใช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ไดแ้ ก่ คา่ เฉลีย่ สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ผลการวจิ ัย พบว่า 1) ปจั จัยทมี่ ีผลต่อการพัฒนาสมรรถนะวิชาชพี ผ้เู รียนดว้ ยความร่วมมือกับภาคี เครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย ได้แก่ ด้านลักษณะที่พึงประสงค์ ด้านสมรรถนะแกนกลาง ด้าน สมรรถนะวิชาชีพ ด้านความร่วมมือภาคีเครือข่าย 2) รูปแบบท่ีได้จากผลการวิจัยข้อที่ 1 เอาปัจจัยตัวที่มี ค่าเฉลี่ยน้อยท่ีสุดมาพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายประกอบด้วย กจิ กรรม 5 กจิ กรรม 1) กิจกรรมการปฐมนิเทศ 2) การพัฒนาศักยภาพการทางานเป็นทีม 3) การพัฒนา ทักษะด้านดิจิทัลในยุควิถีใหม่ 4) การเสริมสร้างภาคีเครือข่ายความร่วมมือในระดับพื้นท่ี 5) การปัจฉิม นิเทศ 3) การทดลองใช้และประเมินผลรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับ ภาคเี ครือขา่ ย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย ภายหลังการทดลองใช้รูปแบบ พบว่า โดยรวมทุกด้าน เพิ่มข้ึน จากก่อนรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะผู้เรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P - Value < 0.001) สรุปได้ว่า รูปแบบการพฒั นาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นเป็นรูปแบบท่ีผ่านการตรวจสอบของผู้เช่ียวชาญ และสามารถพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ ผู้เรยี นได้

ค สารบญั หัวเรือ่ ง หน้า บทคดั ย่อ ............................................................................................................................ .... ก กติ ติกรรมประกาศ ................................................................................................................. ข สารบัญ ................................................................................................................................... ค สารบญั ตาราง ......................................................................................................................... จ สารบัญแผนภาพ .................................................................................................................... ฉ บทท่ี 1 บทนา ......................................................................................................................... 1 1.1 ความเปน็ มาและความสาคัญของปัญหา………………………………..….......................... 1 1.2 วัตถุประสงค์ของการวจิ ยั .................................................................................... 4 1.3 สมมติฐานการวิจัย ……………................................................................................. 5 1.4 ขอบเขตการวจิ ยั ................................................................................................... 5 1.5 นิยามศัพท์เฉพาะท่ีใชใ้ นการวจิ ัย ............................................................................ 7 1.6 ประโยชน์ท่ไี ดร้ ับจากงานวิจยั .................................................................................. 8 บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ยั ทเี่ กีย่ วขอ้ ง .................................................................................. 9 2.1 แนวคิดเกีย่ วกบั รปู แบบ ……................................................................................... 11 2.2 แนวคิดเกี่ยวกับการพฒั นารปู แบบ ......................................................................... 17 2.3 หลกั การ แนวคิดเกย่ี วกับสมรรถนะวิชาชพี ผู้เรยี น ................................................. 19 2.4 กรอบคุณวุฒอิ าชวี ศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2562 ....................................................... 34 2.5 แนวคดิ การจดั การอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคี........................................................... 42 2.6 แนวคิดเก่ียวกับความร่วมมือ ภาคเี ครือขา่ ย ……..…………………………………………… 44 2.7 แนวคดิ ทฤษฎีท่เี ก่ียวกบั การมีสว่ นรว่ ม................................................................. 51 2.8 บรบิ ทของวทิ ยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย….............................................................. 61 2.9 งานวจิ ัยทเี่ กีย่ วข้อง ....................................................................................... 63 2.10 กรอบแนวคดิ ในการวจิ ัย .............................................................................. 71 บทท่ี 3 วธิ ีดาเนินการวิจยั ............................................................................................... 73 การวิจยั ระยะที่ 1 ...................................................................................................... 75 1. ประชากรและกล่มุ ตัวอย่างทใ่ี ช้ในการวิจยั ....................................................... 75 2. ตัวแปรทใี่ ช้ในการวจิ ัย ....................................................................................... 76 3. เคร่อื งมอื ที่ใชใ้ นการรวบรวมขอ้ มูล .................................................................. 76 4. การเก็บรวบรวมข้อมูล ....................................................................................... 79 5. การวเิ คราะห์ข้อมลู ........................................................................................... 79 การวิจัยระยะท่ี 2 ……............................................................................................... 80 1. กลมุ่ เป้าหมาย ................................................................................................... 80 2. เครอื่ งมือทีใ่ ช้ในการรวบรวมข้อมลู .................................................................. 83 3. การวเิ คราะห์ข้อมลู และสรา้ งรูปแบบการพัฒนา ................................................ 84

ง การวจิ ยั ระยะท่ี 3 ..................................................................................................... 86 1. กล่มุ ทดลอง ...................................................................................................... 86 2. ตัวแปรทีใ่ ช้ศกึ ษาในการวจิ ยั ............................................................................ 86 3. เคร่อื งมือท่ีใช้ในการวิจัย .................................................................................. 86 4. วธิ ดี าเนนิ การ ...................................................................................................... 86 5. ประเมินผลการพัฒนาสมรรถนะวชิ าชีพผ้เู รยี นดว้ ยความร่วมมือกบั ภาคเี ครอื ข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสยั ………………………………………………………………........... 87 6. พัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผเู้ รยี นด้วยความร่วมมือกับภาคเี ครือข่าย วิทยาลยั เทคนคิ เกษตรวสิ ยั 3 ระยะ ................................................................... 88 บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ................................................................................................ 89 ระยะที่ 1 ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ปจั จัยที่มผี ลต่อผลการพฒั นาสมรรถนะวชิ าชีพผูเ้ รยี น ดว้ ยความรว่ มมือกับภาคีเครือขา่ ย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวสิ ัย ................................... 89 ระยะท่ี 2 ผลการสร้างรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชพี ผู้เรียนด้วยความรว่ มมือกับ ภาคีเครอื ขา่ ย วทิ ยาลยั เทคนคิ เกษตรวิสัย ………………………………………………………… 96 ระยะท่ี 3 การทดลองและประเมนิ ผลรูปแบบการพฒั นาสมรรถนะวชิ าชีพผูเ้ รยี น ดว้ ยความรว่ มมือกับภาคีเครือขา่ ย วิทยาลัยเทคนคิ เกษตรวสิ ัย ........................ 105 บทที่ 5 สรปุ อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ .......................................................................... 110 วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจัย ........................................................................................ 110 สมมตฐิ านการวจิ ยั .................................................................................................. 110 วธิ ีการดาเนนิ การวิจัย ................................................................................................ 110 สรุปผลการวิจัย ......................................................................................................... 113 อภปิ รายผล .............................................................................................................. 115 ขอ้ เสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………. 119 ขอ้ เสนอแนะเกี่ยวกับการนาผลการวจิ ยั ไปใช้ ………………………………………………….. 119 ข้อเสนอแนะสาหรบั การวิจยั คร้ังต่อไป ............................................................. 120 บรรณานุกรม ......................................................................................................................... 121 ภาคผนวก ภาคผนวก ก หนงั สอื ขออนุญาตเกบ็ ข้อมูล และหนังสือขอเชิญเปน็ ผเู้ ชี่ยวชาญ ......... 129 ภาคผนวก ข แบบสอบถาม ...................................................................................... 132 ภาคผนวก ค คา่ ความเช่ือม่ันของแบบสอบถาม และผลการตรวจสอบเคร่อื งมือ ค่าความตรงเชงิ เน้ือหา…………………………………………………………………….................. 138 ภาคผนวก ง ภาพกิจกรรม ....................................................................................... 192 ภาคผนวก จ.เอกสารเผยแพร่ …………………………………………………………………………. 194 ประวตั ผิ ู้วิจยั .......................................................................................................................... 210

จ สารบัญตาราง ตารางท่ี หนา้ 2.1 เกณฑค์ วามสามารถ และตวั ชว้ี ัดพฤติกรรม 30 3.1 กลมุ่ ตัวอย่าง 76 3.2 คา่ สมั ประสิทธ์ิแอลฟ่า (Alpha Coefficient) 79 3.3 กล่มุ ผู้บริหาร 81 3.4 ครู 81 3.5 ผู้นาชุมชน 82 3.6 ผู้ประกอบการ 82 3.7 นกั ศึกษา 83 3.8 นักเรยี น 83 4.1 ร้อยละ ข้อมูลคณุ ลักษณะปจั จยั ส่วนบุคคลของกลมุ่ ตัวอย่าง 90 4.2 แสดงค่าเฉล่ยี (  ) ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.) การพฒั นาสมรรถนะวชิ าชีพผู้เรียน ด้วยความรว่ มมอื กับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสยั โดยรวมและ รายด้าน 91 4.3 แสดงค่าเฉล่ีย (  ) ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) การพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรยี น ดว้ ยความร่วมมือกบั ภาคีเครอื ข่าย วิทยาลยั เทคนิคเกษตรวิสยั ดา้ นคุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ 92 4.4 แสดงคา่ เฉล่ยี (  ) สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.) การพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรยี น ดว้ ยความรว่ มมอื กับภาคีเครอื ข่าย วิทยาลยั เทคนิคเกษตรวสิ ยั ดา้ นสมรรถนะแกนกลาง 93 4.5 แสดงคา่ เฉลย่ี (  ) สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.) การพัฒนาสมรรถนะวิชาชพี ผู้เรียน ดว้ ยความรว่ มมือกับภาคีเครอื ขา่ ย วิทยาลยั เทคนคิ เกษตรวิสยั ดา้ นสมรรถนะวิชาชพี 94 4.6 แสดงค่าเฉล่ยี (  ) สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) การพฒั นาสมรรถนะวิชาชพี ผู้เรยี น ด้วยความรว่ มมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสยั ดา้ นความรว่ มมอื ภาคี เครอื ขา่ ย 95 4.7 ระดับความคิดเห็นของผเู้ ช่ียวชาญตอ่ กจิ กรรมและเนื้อหาในรูปแบบการพฒั นา สมรรถนะวชิ าชพี ผูเ้ รยี นด้วยความร่วมมือกบั ภาคีเครือข่าย วิทยาลยั เทคนคิ เกษตรวิสัย 104 4.8 เปรียบเทยี บค่าเฉลยี่ ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของตัวแปรก่อนและหลังการดาเนนิ การ รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวชิ าชีพผูเ้ รยี นดว้ ยความรว่ มมือกับภาคเี ครือข่าย วทิ ยาลัยเทคนคิ เกษตรวิสัย 108

ฉ แผนภาพ หน้า 24 แผนภาพท่ี 25 2.1 การกาหนดสมรรถนะ 39 2.2 ตวั อยา่ งการวางภาพประกอบการทาบทนิพนธ์ 74 2.3 แสดงบทบาทและภารกิจของหนว่ ยงานท่ีเก่ียวข้องกับกรอบคุณวฒุ แิ ห่งชาติ 3.1 กระบวนการพัฒนาสมรรถนะวชิ าชพี ผเู้ รยี นดว้ ยความรว่ มมือกับภาคเี ครือขา่ ย

บทท่ี 1 บทนา 1.1 ความเปน็ มาและความสาคัญของปัญหา รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และฉบับท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 ตามความในมาตรา 8 และมาตรา 11 กระทรวงศึกษาธิการได้ออกกฎกระทรวง เพ่ือกาหนด หน้าท่ีของสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษามีภารกิจเกี่ยวกับการจัดและส่งเสริมการอาชีวศึกษา และการฝกึ อบรมวิชาชีพ โดยคานึงถึงคุณภาพและความเป็นเลิศทางวิชาชีพให้มีอานาจหน้าท่ีในการจัดทา ข้อเสนอแนวนโยบาย แผนพัฒนามาตรฐานและหลักสูตรการอาชีวศึกษาทุกระดับ ดาเนินการและ ประสานงานเกี่ยวกับมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการจัดงบประมาณ และสนับสนุนทรัพยากร พัฒนาครูและบุคลากรอาชีวศึกษา ส่งเสริมและประสานงานการจัดการ อาชีวศึกษาของรัฐและเอกชน รวมทั้งกาหนดหลักเกณฑ์และรูปแบบความร่วมมือกับหน่วยงานอ่ืนและ สถานประกอบการ ติดตาม ประเมินผลและรายงานผลการจัดการอาชีวศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน จัดระบบ ส่งเสริมและประสานงานเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศและการนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการ ส่ือสาร มาใช้ในการอาชวี ศึกษาและฝึกอบรมวิชาชพี ดาเนนิ การเกีย่ วกับงานเลขานุการของคณะกรรมการ อาชีวศึกษา และดาเนินการตามที่คณะกรรมการอาชีวศึกษามอบหมาย ดังน้ัน สานักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษาจึงเป็นองค์กรหลักในการผลิตและพัฒนากาลังคนโดยมีสถานศึกษาในสังกัด จาแนกตาม ประเภทต่าง ๆ ประกอบด้วย วิทยาลัยเทคนิค วิทยาลัยอาชีวศึกษา วิทยาลัยพณิชยการ วิทยาลัยเกษตร และเทคโนโลยี วิทยาลัยการอาชีพ วิทยาลัยสารพัดช่าง วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการท่องเที่ยว วิทยาลัย เทคโนโลยีและอุตสาหกรรมการต่อเรือ วิทยาลัยศิลปหัตถกรรม วิทยาลัยประมง วิทยาลัยช่างทองหลวง วิทยาลัยเทคโนโลยีและการจดั การวิทยาลัย การอาชวี ศึกษา จานวน 428 แห่ง และสถาบันการอาชีวศึกษา จานวน 23 แห่ง การจัดการศึกษาอาชีวศึกษาได้พัฒนาการศึกษาด้านอาชีพเป็นเวลายาวนานจนกระท่ังปัจจุบัน สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ได้จัดประชุมระดมความเห็นเก่ียวกับวิกฤตคุณภาพการศึกษา พบว่า คุณภาพผู้เรียนและผู้สาเร็จการอาชีวศึกษามีสมรรถนะไม่สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้รวมทั้งขาด ทกั ษะความรพู้ ้นื ฐานทีจ่ าเป็น ไดแ้ ก่ ทักษะการสื่อสารความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ขาดความสามารถ ในการคิด วิเคราะห์ การแก้ปัญหาและการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ผู้เรียนไม่นิยมเรียนอาชีวศึกษาโดยเฉพาะ ผู้เรียนท่ีมีความสามารถสูง ทาให้ขาดแคลนกาลังคนระดับกลาง (ปวช., ปวส.) ที่มีคุณภาพค่อนข้างมาก การจัดอาชีวศกึ ษาไม่เนน้ การฝึกปฏิบัติและสมรรถนะทางวิชาชีพและความเช่ือมโยงกับสถานประกอบการ มากเท่าท่ีควร ทาให้ผู้สาเร็จการศึกษามีสมรรถนะไม่สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ ขาดการจัดการ

2 หลักสูตรที่หลากหลายสอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมายต่างๆ รวมทั้งการเช่ือมโยงกับ การ ทางาน ซ่งึ ทางออกของปญั หาดังกลา่ ว คือ จะตอ้ งใหส้ ถานประกอบการมีสว่ นรว่ มในการร่วมผลิตกาลงั คน ด้านการอาชีวศกึ ษาให้ไดค้ ุณภาพตามความต้องการสถานประกอบการ โดยเรียกการกระบวนการดังกล่าว ว่า ”การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี” สุราษฎร์ พรมจันทร์ (2539 : 252) ได้ศึกษาวิจัยเรื่อง การ พัฒนารูปแบบความร่วมมือระหว่างสถานประกอบการกับสถานศึกษาในการพัฒนาบุคลากรของสถาน ประกอบการ ประเภทอุตสาหกรรมบรกิ าร ได้ใหข้ อ้ เสนอแนะในการจดั การเรียนการสอนวิชาภาคปฏิบัติใน สถานประกอบการ จะใหผ้ ลดกี วา่ การฝกึ จากสถานศกึ ษา เพราะการเรยี นรู้จากการปฏบิ ัตงิ านจริงทาได้ง่าย ทงั้ ยังสอดคลอ้ งกับความต้องการของสถานประกอบการได้มากกว่า อย่างไรก็ดีเพื่อให้การจัดการเรียน การ สอนในสถานประกอบการตา่ ง ๆ เป็นไปในทิศทางเดียวกันจะต้องจัดทารายการงานที่ฝึกจัดสร้างเคร่ืองมือ วดั และประเมินผลใหส้ ถานประกอบการตา่ ง ๆ ใชเ้ ป็นแนวทางในการฝกึ ทักษะและการวดั ประเมินผลดว้ ย ตามพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551 ในส่วนท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาระบบทวิ ภาคี หมวด 1 บททว่ั ไป มาตรา 6 กล่าวถงึ การจดั การอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพต้องเป็นการจัด การศึกษาในด้านวิชาชีพท่ีสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและแผนการศึกษา แหง่ ชาติ เพ่ือผลิตและพัฒนากาลังคนในด้านวิชาชีพระดับฝีมือ ระดับเทคนิคและระดับเทคโนโลยี รวมทั้ง เป็นการยกระดับการศึกษาวิชาชีพให้สูงขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน โดยนา ความรู้ในทางทฤษฎีอันเป็นสากลและภูมิปัญญาไทยมาพัฒนาผู้รับการศึกษาให้มีความรู้ ความสามารถ ในทางปฏิบัติและมีสมรรถนะจนสามารถนาไปประกอบอาชีพในลักษณะผู้ปฏิบัติหรือประกอบอาชีพ โดย อิสระได้ และในส่วนของมาตรา 8 (3) กล่าวถึงการศึกษาระบบทวิภาคี เป็นการจัดการศึกษาวิชาชีพท่ีเกิด จากข้อตกลงระหว่าง สถานศึกษาอาชีวศึกษา หรือสถาบันกับสถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจ หรือ หน่วยงานของรฐั ในเรื่องการจัดหลักสูตรการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล โดยผู้เรียนใช้เวลา ส่วนหน่ึงในสถานศกึ ษาอาชีวศึกษาหรือสถาบัน และเรียนภาคปฏิบัติในสถานประกอบการรัฐวิสาหกิจหรือ หน่วยงานของรัฐ เพื่อประโยชน์ในการผลิตและพัฒนากาลังคน สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบัน สามารถจัดการศึกษาตามวรรคหนึ่งในหลายรูปแบบรวมกันก็ได้ ท้ังน้ีสถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบัน น้ันต้องมุ่งเน้นการจัดการศึกษาระบบทวิภาคีเป็นสาคัญ และมาตรา 51 กล่าวไว้ว่า ในการจัดการศึกษา ระบบทวิภาคีที่เป็นความร่วมมือระหว่างสถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันอาชีวศึกษา และสถาน ประกอบการ ให้เป็นไปตามข้อตกลงระหว่างสถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันอาชีวศึกษา และสถาน ประกอบการปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการ การจัดอาชีวศึกษาของสานักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษาน้ันจะยึดถือนโยบายการกระจายอานาจให้แก่สถานศึกษา โดยมีการจัดการเรียนการสอนที่ ยืดหยนุ่ หลากหลายรูปแบบ สอดคล้องกบั สถานประกอบการและท้องถ่ิน เช่น แบบปกติ แบบทวิภาคี และ แบบสะสมหน่วยกิต สาหรับการจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี (Dual vocational education หรือ DVE) เป็นการจัดอาชีวศึกษาและฝึกอบรมวิชาชีพ โดยความร่วมมือระหว่างสถานศึกษาและสถานประกอบการ กาหนดให้มีการเรียนภาคทฤษฎีหรือภาคปฏิบัติพ้ืนฐานบางส่วนท่ีสถานศึกษา และฝึกอบรมวิชาชีพใน สถานประกอบการ (สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา, 2551 : 6) การจัดการศึกษาในรูปแบบ

3 เครือข่ายซ่ึงเป็นนโยบายท่ีสาคัญของรัฐบาล ยังมีปัญหาค่อนข้างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการขาดความ ร่วมมือในการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของภาคส่วนต่าง ๆ อาจเป็นเพราะปัญหาอุปสรรคด้านระบบ การทางานหรือการส่ือสารต่าง ๆ ของบุคลากร ดังเช่นปัญหาด้านสถานประกอบการ ถึงแม้ว่าสถาน ประกอบการส่วนใหญ่มีความพร้อมท่ีจะให้ความร่วมมือในการเปิดสอนหลักสูตรทวิภาคี และมีเคร่ืองมือ และอุปกรณ์ทม่ี ีความทนั สมยั แต่ยังพบปัญหาจานวนครูฝึกในสถานประกอบการมีไม่เพียงพอ อีกท้ังยังขาด ความเข้าใจเกี่ยวกับการศึกษาทวิภาคี และขาดทักษะในการถ่ายทอดความรู้ ไม่มีเวลาสอนงานเน่ืองจากมี ภาระอ่ืนมาก ปัญหาด้านนักเรียน เน่ืองจากนักเรียนขาดความเข้าใจและวุฒิภาวะในการปรับตัวให้เข้ากับ การศึกษาระบบทวิภาคีที่ต้องเรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ นักเรียนส่วนหน่ึงรู้สึกว่าภาคปฏิบัติมีความ ซ้าซากจาเจ และหลักสูตรมุ่งเน้นการปฏิบัติมากเกินไป ไม่สอดคล้องกับความต้องการของตน ทาให้เกิด ปัญหาการลาออกกลางคัน และสร้างความเบ่ือหน่ายให้กับสถานประกอบการ (สานักงานเลขาธิการสภา การศึกษา, 2550) และสมพล ขาจิตร์ (2550 : 128-130) ได้ทาวิจัยเร่ือง การพัฒนารูปแบบการจัด อาชีวศึกษาระบบทวิภาคีเพ่ือเพิ่มคุณภาพนักศึกษาตามความต้องการกาลังคนระดับอาชีพเทคนิค พบว่า ปญั หาท่ีมตี อ่ การจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ด้านสถานศึกษา มีการเผยแพร่การจัดการศึกษาระบบทวิภาคีให้เข้าถึงชุมชนอย่างแท้จริงน้อย และมีสถานประกอบการไม่ เพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอน ด้านสถานประกอบการ นักศึกษาที่ออกไปฝึกงานไม่อดทนกับการ ทางานในสถานประกอบการ ไม่สามารถปรับตัวให้เข้ากับกฎข้อบังคับของสถานประกอบการและครูฝึกใน สถานประกอบการมีน้อย ครูฝึกไม่มีค่าตอบแทนแต่ก็พบปัญหาและอุปสรรคหลายประการ ปัญหาที่พบ อันดับแรก คือ บุคลากรในสถานศึกษาต้ังแต่ผู้บริหารจนถึงเจ้าหน้าที่ไม่เข้าใจหลักการการจัดอาชีวศึกษา ระบบทวิภาคี ยังยึดติดแบบเดิม คือ แบบระบบปกติ ประการที่สอง สถานประกอบการยังไม่ทราบชัดว่า จะต้องดาเนินการอย่างไรเพื่อการปฏิบัติให้นักเรียน นักศึกษาของอาชีวศึกษามีคุณภาพ เพราะบางสถาน ประกอบการเข้าใจว่าการจัดการศึกษามิใช่เรื่องของสถานประกอบการ ประการท่ีสาม นักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครองยังไม่เข้าใจในการเรียนด้วยระบบทวิภาคี จึงไม่สนใจเรียนในระบบน้ีและไปเลือกเรียนใน ระบบ การท่ีจะแก้ไขปัญหาหรือการที่จะพัฒนาการจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีให้มีคุณภาพ ให้ผู้เรียนมี สมรรถนะตามความต้องการของสถานประกอบการ ชุมชน สังคม และการพัฒนาบุคลากรทั้งใน สถานศึกษาและสถานประกอบการให้มีศักยภาพสูงขึ้นถึงแม้ว่าการจัดการเรียนการสอนระบบทวิภาคี ประสบปัญหามากมาย แต่ปัญหาเหล่านี้สามารถแก้ไขได้หากได้รับความร่วมมือจากผู้ที่เกี่ยวข้อง การ พัฒนาระบบการศึกษาทวิภาคีให้มีคุณภาพ จะนามาซึ่งคุณประโยชน์มากมายท้ังกับตัวผู้เรียน ผปู้ ระกอบการ ตลอดจนสถานศกึ ษา วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย เป็นสถานศึกษาในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ จัดการเรียนการสอนในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ระดับประกาศนียบัตร วชิ าชพี ชนั้ สงู (ปวส.) และหลักสูตรวชิ าชีพระยะสน้ั ในสาขาวิชาตา่ ง ๆ ตามความต้องการของผู้เรียน ชุมชน และสถานประกอบการ จากการศึกษาผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในตามมาตรฐาน การอาชีวศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพและระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พ.ศ. 2559 พบว่า ในส่วนที่เก่ียวข้องกับ

4 การจดั การศึกษาดา้ นวิชาการและวิชาชพี ร่วมกบั ชุมชนและสถานประกอบการ มีปัญหาท่ีต้องปรับปรุงและ พัฒนาหลายด้าน โดยมีข้อเสนอแนะหรือแนวทางการพัฒนา ว่า 1) ควรสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ การเรยี นการสอนในระบบทวิภาคใี ห้กับนักเรยี น นักศึกษา ชุมชน และผู้ปกครองให้มากย่ิงขึ้น 2) พัฒนา รูปแบบการจัดการเรียนการสอนด้านวิชาชีพท่ีเน้นผู้เรียน เป็นสาคัญ เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถในการ คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และแก้ปัญหาสอดคล้องกับ ตลาดแรงงาน 3) นาผลการวิจัย นวัตกรรมและ ส่ิงประดิษฐ์ท่ีมีคุณภาพไปใช้ประโยชน์ เพื่อพัฒนา อาชีพและคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนและ สังคม 4) สนับสนุนให้นักเรียนนักศึกษาได้มี ส่วนร่วมในด้านการบริการวิชาการและวิชาชีพครบทุก สาขาวิชา (วิทยาลยั เทคนิคเกษตรวิสัย, 2559: 31-32) ซึ่งสอดคล้องกับผลการสารวจของงานความร่วมมือ วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย ท่ีได้ศึกษา ความคิดเห็นครูผู้สอน ชุมชน และสถานประกอบการเกี่ยวกับการ สร้างความร่วมมือกับชุมชนและ สถานประกอบการด้านการจัดการเรียนการสอนพบว่า ความคิดเห็นของ ครูผ้สู อน ชุมชนและสถานประกอบการเกี่ยวกับการสร้างความร่วมมือกับชุมชนและสถานประกอบการใน การจัดการเรียนการสอน ของวิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย โดยภาพรวมอยู่ในระดับน้อย เมื่อพิจารณาเป็น รายข้อ ข้อที่มีค่าเฉล่ียต่าสุด ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ในวิชาชีพจากชุมชนและสถาน ประกอบการ เข้ามาร่วมกันพัฒนาคุณภาพผู้เรียน รองลงมา ได้แก่ มีการจัดการประชุมร่วมกันเพ่ือ พัฒนาการจัดการเรียนการสอนระหว่างสถานศึกษากับชุมชนและสถานประกอบการ จึงสรุปได้ว่าปัญหา ด้านความร่วมมือกับชุมชนและสถานประกอบการเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนเป็นปัญหาท่ีสถานศึกษาต้อง เรง่ ปรบั ปรุงแกไ้ ข นอกจากนี้ยังมีปัญหาเก่ียวกับการจัดการเรียนการสอน ปัญหาเก่ียวกับความร่วมมือและ การประสานงานกับชุมชน รวมทั้งด้านคุณภาพของผู้เรียนโดยภาพรวมยังไม่เป็นไปตามเป้าหมายของ สถานศกึ ษา จาเปน็ ตอ้ งแกไ้ ขและพฒั นาอยา่ งเรง่ ด่วน จากความสาคัญและสภาพปัญหาดังกล่าว ผู้วิจัยในฐานะผู้บริหารสถานศึกษาจึงได้ตระหนักถึง ความสาคัญของการสร้างความเข้มแข็งเครือข่ายความร่วมมือชุมชน สถานประกอบการ ด้านวิชาการและ วชิ าชีพ ของวิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัยให้มีคุณภาพ มีความเหมาะสม จะช่วยแก้ปัญหาดังกล่าวข้างต้นได้ ทาให้สง่ ผลทดี่ ีต่อการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน และเพ่ือให้ผู้สาเร็จการศึกษามีความรู้ มีทักษะ และ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สอดคล้องกับจุดเน้นในการพัฒนาของวิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัยรวมท้ัง ปัจจุบันวิทยาลัยยังไม่มีรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย ความร่วมมือชุมชน สถานประกอบการ ด้านวิชาการและวิชาชีพ ที่เป็น รูปธรรมเกิดจากการศกึ ษาวิจัยอย่างเปน็ ระบบ อนั จะเปน็ ประโยชน์ทั้งการบริหาร เพื่อให้เกิดความเข้มแข็ง เครือข่ายความร่วมมือของชุมชนและสถานประกอบการ ของวิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย และสถานศึกษา อ่นื ในสงั กดั สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษาสามารถนาไปประยุกต์ใชไ้ ดต้ ่อไป 1.2 วัตถุประสงคข์ องการวจิ ยั 1.2.1 เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนคิ เกษตรวิสัย

5 1.2.2 เพื่อสร้างรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนคิ เกษตรวสิ ยั 1.2.3 เพ่ือทดลองใช้และประเมินผลรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือ กับภาคีเครือขา่ ย วิทยาลยั เทคนคิ เกษตรวสิ ัย 1.3 สมมตฐิ านการวจิ ัย จากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เอกสาร และงานวิจัยที่เก่ียวข้อง ผู้วิจัยนามากาหนดเป็น สมมติฐาน ดังน้ี 1. ปจั จยั ดา้ นสว่ นบคุ คล ดา้ นคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ ดา้ นสมรรถนะแกนกลาง ด้านสมรรถนะ วิชาชีพ ด้านความร่วมมือภาคีเครือข่าย ส่งผลต่อการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับ ภาคเี ครอื ขา่ ย วิทยาลยั เทคนคิ เกษตรวสิ ัย 2. คะแนนหลังจากทดลองใช้รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคี เครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัยที่ผู้วิจัยสร้างข้ึน สูงกว่าก่อนการทดลองใช้รูปแบบการพัฒนาที่ผู้วิจัย สรา้ งข้ึน 1.4 ขอบเขตการวจิ ยั 1.4.1 ขอบเขตดา้ นพืน้ ที่ ผวู้ ิจยั ไดศ้ กึ ษา อาเภอเกษตรวิสัย จังหวดั รอ้ ยเอด็ 1.4.2 ขอบเขตเนื้อหา การวิจัยรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย 3 ด้าน คือ 1) ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ 2) ด้านสมรรถนะแกนกลาง 3) ด้านสมรรถนะวิชาชพี 4) ด้านความร่วมมอื ภาคีเครอื ข่าย 1.4.3 ขั้นตอนการวจิ ัย การวิจัยครั้งนี้แบ่งการวจิ ยั เปน็ 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) เพื่อศึกษาปัจจัยท่ีมีผลต่อ รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชพี ผเู้ รยี นด้วยความรว่ มมอื กับภาคีเครือข่าย วิทยาลยั เทคนคิ เกษตรวิสยั ระยะท่ี 2 เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Quality Research) เพื่อสร้างรูปแบบการพัฒนา สมรรถนะวชิ าชีพผู้เรียนดว้ ยความร่วมมือกบั ภาคเี ครอื ข่าย วทิ ยาลยั เทคนคิ เกษตรวสิ ัย ระยะที่ 3 เปน็ การวจิ ยั กึ่งทดลอง (Quasi Experimental Research) เพ่ือทดลองใช้รูปแบบ การพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย กับ กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ นกั เรยี น นกั ศึกษาวิทยาลัยเทคนคิ เกษตรวิสัย

6 1.4.4 ขอบเขตดา้ นประชากร และกลมุ่ ตัวอย่าง ระยะท่ี 1 1. ประชากร การวิจยั ครัง้ น้ี เปน็ นักเรียน นักศึกษา ผู้บริหาร ครู ผนู้ าชมุ ชน ผูป้ ระกอบการ รวม ทัง้ หมด จานวน 618 คน 2. กลุ่มตวั อย่าง กลุ่มตัวอย่างท่ใี ช้ในการวิจัยในครั้งน้ี เป็นนักเรียน นักศึกษา ปีการศึกษา 2563 ที่ออกฝึกวิชาชีพ จานวน 437 คน ผู้บริหาร จานวน 4 คน ข้าราชการครู จานวน 12 คน พนักงานราชการทาหน้าท่ีสอน จานวน 28 คน ลูกจ้างชั่วคราวทาหน้าท่ีสอน จานวน 32 คน รวม 76 คน ผู้นาชุมชน 10 คน ผู้ประกอบการ จานวน 95 คน ซ่ึงได้มาจากการกาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง ทาโร ยามาเน่ (Taro Yamane. 1967 : 158) ได้กลุ่มตัวอย่าง 243 คนซ่ึงผู้วิจัยสุ่มกลุ่มตัวอย่างตามระดับช้ันอย่างเป็นสัดส่วน (Proportional Stratified Random Sampling) และการสุ่มแบบง่าย (Simple Random Sampling) 1.4.5 ตัวแปรทใ่ี ชใ้ นการวจิ ัย 1) ตัวแปรอิสระ (Independent Variables) ซ่ึงเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาสมรรถนะ วิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย ได้แก่ เพศ สภาพครอบครัว ตาแหนง่ งาน/หนา้ ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบ 2) ตัวแปรตาม (Dependent Variables) สมรรถนะวิชาชพี ผู้เรียน ระยะท่ี 2 กลุ่มเป้าหมาย คือ ผู้มีส่วนเก่ียวข้องในการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับ ภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย ได้แก่ นักเรียน จานวน 5 คน นักศึกษา จานวน5 คน ผู้บริหาร จานวน 5 คน ครู จานวน 5 คน ผู้นาชุมชน จานวน 5 คน และผู้ประกอบการ 5 คน ใช้เลือกแบบ เจาะจง (Purposive Sampling) ระยะที่ 3 กลุ่มทดลอง ได้แก่ นกั เรยี น นักศกึ ษา จานวน 40 คน ตัวแปรทใี่ ชศ้ กึ ษาในการวิจัย ไดแ้ ก่ 1) ตัวแปรอิสระ คือ รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับ ภาคีเครอื ขา่ ย วทิ ยาลยั เทคนคิ เกษตรวิสยั 2) ตัวแปรตาม คือ ผลลัพธ์ในพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคี เครอื ข่าย วทิ ยาลัยเทคนิคเกษตรวิสยั ไดแ้ ก่ สมรรถนะวิชาชีพผเู้ รยี นในระยะที่ 1 ทมี่ คี า่ เฉล่ียนอ้ ยทีส่ ดุ

7 1.5 นยิ ามศพั ท์เฉพาะทใ่ี ชใ้ นการวิจัย 1.5.1 รูปแบบ หมายถึง แนวความคิดท่ีได้รับการพิสูจน์ และทดสอบว่ามีประสิทธิภาพสามารถ นาไปใช้เป็นตน้ แบบ หรอื แนวทางในการดาเนนิ งานใหบ้ รรลุวตั ถปุ ระสงค์ตามรูปแบบท่ีได้จัดทาข้ึนสามารถ ทน่ี าไปสกู่ ารแกป้ ญั หาหรือการพฒั นาใหเ้ กดิ ประโยชน์ตอ่ การดาเนินงานตามนโยบายและแผนเป็นลักษณะ ที่สะท้อนความคิดท่ีมีความสัมพันธ์และเช่ือมโยงกับองค์ประกอบต่าง ๆ ท้ังปรัชญา และหลักการจัด การศึกษาหลกั สูตร คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ สมรรถนะแกนกลาง สมรรถนะวชิ าชีพ 1.5.2 การพัฒนารูปแบบ หมายถึง การศึกษาองค์ประกอบของรูปแบบ หรือกรอบงานท่ีจะสร้าง และพัฒนารูปแบบ โดยการจัดทาร่างรูปแบบ การตรวจสอบรูปแบบ การปรับปรุงรูปแบบและการ ประเมนิ ผลการดาเนินการตามรปู แบบ 1.5.3 สมรรถนะ (Competency) หมายถึง ความสามารถในการปฏิบัติงานท่ีเกิดจากการ ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ซึ่งแบ่งเป็นสมรรถนะแกนกลาง และสมรรถนะ อาชพี 1.5.4 ดา้ นคณุ ลักษณะทพี่ งึ ประสงค์ หมายถึง ความเสียสละ ความซื่อสัตย์สุจริต มีจิตสานึกและ เจตคติที่ดีต่อวิชาชีพและสังคม ความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความขยัน ประหยัด อดทนพึ่งตนเอง ความ สนใจใฝ่รู้ ความคดิ รเิ ร่ิมสร้างสรรค์ และความสามารถในการคิดวิเคราะห์ 1.5.5 ด้านสมรรถนะแกนกลาง (Core Competency) หมายถึง ความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะ ทั่วไปท่ีใช้ในการปฏิบัติงาน เช่น การสื่อสาร การคานวณ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การคิดวิเคราะห์ การแกป้ ัญหา และการทางานเป็นทมี เป็นตน้ 1.5.6 ด้านสมรรถนะวิชาชีพ (Occupational Competency) หมายถึง ความรู้ ความสามารถ และทกั ษะเฉพาะในการปฏิบัติงานในแต่ละสาขางานหรือสาขาวิชาชพี (Functional Competency) 1.5.7 ความร่วมมือ หมายถึง บุคคลในหน่วยงาน องค์กรเอกชน หรือองค์กรส่วนราชการ ซ่ึง ทางานช่วยเหลือซ่ึงกนั และกัน ด้วยความเตม็ ใจเพ่อื บรรลุวตั ถุประสงค์อย่างเดียวกนั 1.5.8 ภาคีเครือข่าย หมายถึง บุคคล หรือกลุ่มบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กร การปกครองส่วนท้องถ่ิน องค์กรเอกชน สถาบันศาสนา สถานประกอบการและองค์กรอื่น ๆ มี วตั ถุประสงค์ในการดาเนินงานรว่ มกนั 1.5.9 ชุมชน หมายถึง กลุ่มคนภายนอกสถานศึกษา ที่ประกอบด้วยบุคคลในหน่วยงานภาครัฐ และเอกชน ผู้ปกครองนักเรียน นักศึกษา และปราชญ์ชาวบ้าน ที่มาร่วมกันเป็นเครือข่ายเพื่อพัฒนา ด้าน วชิ าการและวิชาชพี ใหแ้ ก่ผ้เู รียน 1.5.10 สถานประกอบการ หมายถึง บริษัท ห้างหุ้นส่วน ร้าน รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานของรัฐและ เอกชนท้งั ในประเทศ และต่างประเทศท่ีร่วมมอื กบั สถานศกึ ษาเพ่ือจัดการอาชีวศึกษา 1.5.11 ผู้บริหารสถานศึกษา หมายถึง ผู้อานวยการและรองผู้อานวยการของวิทยาลัยเทคนิค เกษตรวสิ ยั สังกดั สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

8 1.5.12 ครผู สู้ อน หมายถงึ ข้าราชการครู ลกู จ้างประจาทาหนา้ ท่ีสอน พนกั งานราชการทา หน้าท่ี สอน และลูกจ้างช่ัวคราวทาหน้าท่ีสอน ในวิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย สังกัดสานักงานคณะกรรมการการ อาชีวศกึ ษา 1.5.13 ผู้เรียน หมายถึง ผู้ที่ลงทะเบียนเรียนในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ของวิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัย สังกัดสานักงาน คณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา 1.6 ประโยชนท์ ่ีไดร้ บั จากงานวิจัย 1.6.1 ได้ทราบสถานการณ์ และปัจจัยท่ีมีผลต่อสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคี เครือข่าย วิทยาลยั เทคนิคเกษตรวสิ ยั 1.6.2 ได้รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลยั เทคนคิ เกษตรวิสยั 1.6.3 ได้ผลการประเมินรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคี เครอื ขา่ ย วิทยาลยั เทคนคิ เกษตรวสิ ัย

บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี กี่ยวขอ้ ง ในการวิจัยรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพผู้เรียนด้วยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย วิทยาลัยเทคนิคเกษตรวิสัยผู้วิจัยได้รวบรวมแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องเพื่อเป็นพื้นฐานและ แนวทางในการวิจยั ในการนาเสนอน้นั ได้แบ่งหวั ขอ้ เรยี งลาดบั ดังต่อไปน้ี 2.1 แนวคดิ เกย่ี วกับรูปแบบ 2.2 แนวคดิ เกย่ี วกับการพัฒนารปู แบบ 2.3 หลกั การ แนวคิดเกยี่ วกับสมรรถนะวชิ าชีพผู้เรยี น 2.4 กรอบคุณวุฒิอาชวี ศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2562 2.5 แนวคดิ การจดั การอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคี 2.6 แนวคิดเกย่ี วกับความร่วมมือ ภาคีเครือข่าย 2.7 แนวคดิ ทฤษฎที ่ีเกยี่ วกับการมสี ่วนร่วม 2.8 บรบิ ทของวิทยาลัยเทคนิคเกษตรวสิ ยั 2.9 งานวิจยั ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง 2.10 กรอบแนวคิดในการวจิ ัย 2.1 แนวคิดเกีย่ วกบั รูปแบบ 2.1.1 ความหมายของรูปแบบ คาว่า “รูปแบบ” ตรงกับคาภาษาอังกฤษ “Model” เป็นคาท่ีเข้ามามีบทบาทในการทาวิจัยและ วิทยานิพนธ์ของนิสิต นักศึกษาเพิ่มมากข้ึน โดยใช้คาว่า รูปแบบ ต้นแบบ แบบแผน แบบจาลอง เป็นต้น สาหรบั ในเอกสารฉบับนี้จะใช้คาว่า “รูปแบบ” เน่ืองจากเป็นคาที่ใช้กันอย่างแพรหลายในวงการวิจัยและ การศกึ ษา มผี ใู้ หค้ วามหมายของรปู แบบ (model) ไวดังน้ี ศริ ิชยั กาญจนวาสี (2550 : 54) ไดให้ความหมายของรูปแบบไววาอาจเป็นเพียงการ จาลองความ จรงิ หรอื อาจมีลกั ษณะเปน็ ทฤษฎี หรอื อาจเป็นการเชอื่ มโยงทฤษฎีสูรูปธรรมของการ ปฏบิ ตั ิได ทิศนา แขมมณี (2551 : 28) ไดให้ความหมายรูปแบบ หมายถึง ตัวแทนที่สร้างข้ึนเพ่ือ อธิบาย พฤตกิ รรมของลักษณะบางประการของสิ่งท่ีเป็นจริงอย่างหน่ึง หรือเป็นเครื่องมือทางความคิด ท่ีบุคคลใช้ ในการหาความรู ความเข้าใจปรากฏการณ์

10 วาโร เพ็งสวัสดิ์ (2553 : 36) กล่าวว่า รูปแบบ หมายถึง กรอบความคิดทางด้านหลักการ วิธีการ ดาเนินงาน และเกณฑ์ต่าง ๆ ของระบบ ท่ีสามารถยึดถือเป็นแนวทางในการดาเนินงานเพื่อให้บรรลุตาม วตั ถุประสงค์ได พสิ ณุ ฟองศรี (2554 : 29) กลา่ วว่า รปู แบบ หมายถึง สิ่งท่ีบุคคลสร้างหรือพัฒนาข้ึนจากแนวคิด ทฤษฎี ประสบการณ์ จินตนาการ เพ่ือถ่ายทอดออกมาแทนปรากฏการณ์ด้วยการนาเสนอให้เข้าใจง่าย กระชบั ถูกต้อง สามารถนาไปเป็นแนวทางสู่การปฏิบัติได้ โดยมีองค์ประกอบสาคัญอย่างน้อย 3 ประการ คอื วัตถปุ ระสงค์ ตวั แปรหรอื สาระสาคัญ และความสัมพนั ธเ์ ช่ือมโยงระหว่างตัวแปรอยา่ งเปน็ ระบบ Carter (1973 : 125) ไดให้ความหมายของรูปแบบไว 4 ความหมาย คือ 1) เป็นแบบอย่าง ของ สงิ่ ใดส่งิ หน่งึ เพื่อเป็นแนวทางในการสรา้ งหรือทาซา้ 2) เปน็ แผนภูมิหรือรูปสามมิติ ซ่ึงเป็นตัวแทน ของสิ่ง ใดส่ิงหน่ึงหรือหลักการคิด 3) เป็นตัวอย่างเพ่ือการเลียนแบบ เช่น ตัวอย่างการออกเสียง ภาษาต่างประเทศ เพอ่ื ให้ผ้เู รยี นไดเลียนแบบ เป็นต้น และ 4) เป็นชุดปัจจัยหรือตัวแปรที่มี ความสัมพันธ์ กัน ซ่ึงรวมเป็นตัวประกอบและสัญลักษณ์ทางระบบสังคม อาจเขียนเป็นสูตร คณิตศาสตร์หรืออาจจะ บรรยายเป็นภาษากไ็ ด้ Willer (1986 : 14) กล่าวว่า รูปแบบเป็นการสร้างมโนทัศน์เกี่ยวกับชุดของปรากฏการณ โดย อาศัยหลักการของระบบรูปนัยและมีจุดมุ่งหมาย เพื่อการทาให้เกิดความกระจายชัดของนิยาม ความสัมพันธ์และประพจน์ท่เี กี่ยวขอ้ ง Alkin And Ellett (1990 : 72) กลา่ วว่า รปู แบบการประเมนิ แต่ละรูปแบบเป็นการ อธิบายส่ิงท่ี ผู้ประเมินทาหรือเป็นการกาหนดสิ่งท่ีผู้ประเมินควรทา โดยทั่วไปผู้ประเมินจะมีความ เก่ียวข้องกับการ ตดั สินคุณคา่ หรอื จดุ ประสงค์หรอื เรอ่ื งราวซึง่ คาว่ารูปแบบถูกนาไปใช้ใน 2 ความหมาย คือ 1) เป็นรูปแบบ ทกี่ าหนดงานหรือกิจกรรม (Prescriptive Model) โดยรูปแบบท่ี พัฒนาจะต้องมีความง่ายและสะดวกต่อ การนาไปใช้ โดยมีการต้ังกฎเกณฑ์ข้อห้ามและกรอบแนวทาง ในการดาเนินงานที่มีลักษณะเฉพาะ ผูกาหนดหรอื พัฒนารปู แบบการประเมนิ เห็นว่าเป็นแนวทางของ การปฏิบัติงานการประเมินที่ดีที่สุด และ นาไปสู่ผลสาเร็จของภาระการประเมิน และ 2) รูปแบบเชิง บรรยาย (Descriptive Model) ซ่ึงเป็นการ กาหนดขอ้ ความและข้อสรปุ ท่วั ไปนามาใช้ในกรอบการ บรรยายพยากรณ์หรืออธิบายกิจกรรมการประเมิน ซ่งึ เป็นรูปแบบที่พฒั นาเพ่อื เสนอทฤษฎีเชิงประจักษ์ สรุปไดวา รูปแบบ หมายถึง สิ่งที่สร้างหรือพัฒนาขึ้น แสดงให้เห็นถึงองค์ประกอบสาคัญ ของ เรือ่ งน้นั ๆ ให้เขา้ ใจง่ายขน้ึ เพอ่ื ใช้เปน็ แนวทางในการดาเนนิ งานให้บรรลตุ ามวัตถปุ ระสงค์ 2.1.2 ประเภทของรูปแบบ ประเภทของรูปแบบ ได้มีนักวิชาการให้ความหมายตา่ ง ๆ ดังน้ี กาญจนา วัธนสุนทร และคณะ (2550 : 25) ไดเ้ สนอวา่ “รูปแบบ” (Model) ทีส่ ร้างข้ึน อาจมี รปู แบบใดรปู แบบหนง่ึ เช่น

11 1. โมเดลทางกายภาพ โมเดลประเภทนี้ เป็นการอธิบายระบบจริงด้วยโมเดลที่สร้างใน ลกั ษณะ วตั ถุเหมือนระบบจริงที่สัมผัสได อาจมีขนาดเทาของจรงิ หรือยอ่ สว่ นเทา่ บา้ นตุ๊กตาทีใ่ ช้แทน บ้านจัดสรร จรงิ ทีจ่ ะถูกสร้างข้ึน เป็นต้น 2. โมเดลแผนภาพ โมเดลประเภทนจ้ี ะใช้สัญลกั ษณ์ เช่นแผนภูมิ เสน กลองหรอื รูปภาพ ในการ อธบิ ายเรื่องใดเร่อื งหน่งึ ของระบบงานจรงิ 3. โมเดลทางคณิตศาสตร์ โมเดลประเภทนี้ใช้สัญลักษณ์และฟังก์ชันแทนองค์ประกอบ ใน ระบบงานจริงในการอธิบายเรื่องใดเร่ืองหน่ึงของระบบงานจริง เช่น การอธิบายประมาณการรายได ของ องค์กรด้วยกราฟและสมการทางคณิตศาสตร์ 4. โมเดลเชิงพรรณนา โมเดลประเภทน้ีจะใช้ลักษณะการบรรยายด้วยข้อความหรือ ถ่ายภาพใน การอธิบายเรื่องใดเรื่องหน่ึงของระบบจริง เป็นการนาตัวแปรท้ังหลายที่อยู่ในสมมติฐานมา ย่อย รายละเอยี ด 5. โมเดลผสม เป็นโมเดลที่ประกอบด้วยโมเดลในลักษณะที่กล่าวมาแล้วผสมผสานกัน เช่น โมเดลเชงิ พรรณนาและโมเดลเชิงคณิตศาสตร์ ทศิ นา แขมมณี (2550 : 220-221) แบ่งประเภทของรูปแบบ ออกเป็น 5 ประเภท ได้แก่ รูปแบบ เชงิ เปรียบเทียบ (analogue model) เป็นความคิดที่แสดงออกในลักษณะของการ เปรียบเทียบส่ิงต่าง ๆ อยา่ งน้อย 2 ส่ิงขนึ้ ไป รูปแบบเชิงภาษา (semantic model) เป็นความคิดที่แสดงออกผ่านทางภาษาโดย การพูดและเขียน รูปแบบเชิงคณิตศาสตร์ (mathematic model) เป็นความคิดที่แสดงออกผ่านทางรูป คณิตศาสตร์ รูปแบบเชงิ แผนผัง (schematic model) เป็นความคิดทแี่ สดงออกผ่านทางแผนผัง แผนภาพ ไดอะแกรม กราฟ และรูปแบบเชิงสาเหตุ (causal model) เป็นความคิดท่ีแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ เชิงสาเหตุระหว่างตวั แปรต่าง ๆ ของสภาพการณ์ และ ปัญหา ทิพย์วรรณ เตมียกลุ (2552 : 14) กล่าวว่า รูปแบบเชงิ กายภาพ (physical model) คือ รูปแบบ ของสงิ่ ใดส่งิ หน่งึ เชน่ รูปแบบจาลองเคร่ืองบินที่สร้างเหมือนของจริง ต้องสร้างรูปแบบเท่าของจริงข้ึน มา ก่อน เพอ่ื ผลิตสินค้านั้น ในขณะท่ีรูปแบบเชิงแนวความคิด แบ่งเป็น รูปแบบเชิงความคิดของส่ิงใดส่ิงหน่ึง คือรูปแบบ หรือแบบจาลองท่ีสร้างข้ึน โดยจาลองมาจากทฤษฎีท่ีมีอยู่แล้ว เช่น รูปแบบท่ีสร้างมาจาก ทฤษฎีการคงอยู่ของนกั เรยี นในโรงเรยี น เป็นต้น Keeves (1997: 560) ได้แบง่ ประเภทของรปู แบบเป็น 4 รปู แบบ คือ 1. รูปแบบเชิงเปรียบเทียบ (Analogue Model) เป็นรูปแบบความคิดที่แสดงออกใน ลักษณะ ของการเปรยี บเทยี บส่ิงต่าง ๆ อย่างน้อยสองส่ิงขึ้นไปในลักษณะรูปธรรม เพื่อใช้อธิบาย สร้างความเข้าใจ สิ่งท่ีเป็นนามธรรม รูปแบบลักษณะน้ีใช้กันมากทางด้านวิทยาศาสตร์กายภาพ สังคมศาสตร์ และ พฤตกิ รรมศาสตร์ 2. รปู แบบเชงิ ภาษา (Semantic Model) เป็นรูปแบบความคิดที่แสดงออกผ่านทางการ ใช้ภาษา ด้วยการพูดและการเขียน เพื่อใช้อธิบายโครงสร้างทางความคิดองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของ องค์ประกอบ ของปรากฏการณ์ตา่ ง ๆ รปู แบบลักษณะนใี้ ชก้ นั มากทางดา้ นศึกษาศาสตร์

12 3. รูปแบบเชิงคณิตศาสตร์ (Mathematic Model) เป็นรูปแบบความคิดที่แสดงออก ผ่านทาง สมการ หรือสูตรทางคณิตศาสตร์ เพื่อเป็นสื่อในการแสดงความสัมพันธ์ของตัวแปรต่าง ๆ สวนมากจะ เกิดขน้ึ หลังจากไดรปู แบบเชิงภาษาแลว รูปแบบลักษณะนีน้ ยิ มใช้ในด้านจติ วิทยาและ ทางดา้ นการศกึ ษา 4. รูปแบบเชิงสาเหตุ (Causal Model) เป็นรูปแบบความคิดที่แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ เชิง สาเหตุและผลระหว่างตัวแปรต่าง ๆ ของสถานการณหรือปัญหาใด ๆ โดยใช้ เทคนิคการวิเคราะห์ วิถี เส้นทาง จะช่วยให้เข้าใจและสามารถศึกษารูปแบบเชิงภาษาท่ีมีตัวแปร สลับซับซ้อน ไดดี รูปแบบ ลักษณะนี้นยิ มใชใ้ นด้านการศึกษา Steiner (1998: 156) ไดแบง่ รปู แบบออกเปน็ 2 ประเภท คือ 1. รปู แบบเชิงกายภาพ แบงออกเปน็ 2 ลกั ษณะ 1.1 รูปแบบสงิ่ ใดส่งิ หน่งึ เป็นรูปแบบจาลองของส่ิงของจากของจริง แบบจาลอง เคร่ืองบิน ซึ่ง จาลองจากเครอ่ื งบนิ จรงิ โดยองคป์ ระกอบมไิ ดแสดงความสมั พันธ์กนั อย่างชัดเจน 1.2 รูปแบบเพื่อสิ่งใดสิ่งหน่ึง เป็นการออกแบบหรือสร้างแบบจาลองเพื่อเป็นต้นแบบ ในการ ผลติ หรือพัฒนาใหเ้ ป็นไปตามนั้น บางครั้งเรียกวา่ หุ่นต้นแบบ 2. รปู แบบเชิงแนวคดิ เป็นรูปแบบท่ีมขี อ้ ความอธบิ ายให้เกดิ ความเข้าใจ แบงออกเป็น 2 ลักษณะ คือ 2.1 รูปแบบเชิงแนวคิดของส่ิงใดส่ิงหน่ึงเป็นรูปแบบที่สร้างข้ึนจากแนวคิด ทฤษฎีเพื่ออธิบาย ปรากฏการณบางอย่าง เช่น การคงอยู่ของนกั เรยี นในโรงเรียน 2.2 รูปแบบเชิงแนวคิดเพ่ือส่ิงใดส่ิงหน่ึงเป็นแบบจาลองที่สร้างขึ้นจากทฤษฎี การคัดสรร เพื่อ นาไปอธบิ ายปรากฏการณ เช่น การอธิบายการคงอยู่ของนักเรียนในโรงเรียน สรุปได้ว่ารูปแบบมีหลายประเภท ได้แก่ รูปแบบเชิงเปรียบเทียบ รูปแบบเชิงภาษา รูปแบบ เชิง คณิตศาสตร์ รปู แบบเชงิ แผนผงั รปู แบบเชงิ สาเหตุ และรูปแบบเชงิ กายภาพ 2.1.3 ลักษณะของรูปแบบท่ีดี รูปแบบที่ดีควรมีลกั ษณะดังน้ี (Keeves, 1988) 1. รูปแบบควรประกอบด้วยความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างระหว่างตัวแปรมากกว่าความสัมพันธ์ ระหวา่ งตัวแปรแบบรวม ๆ 2. รูปแบบควรนาไปสู่การทานายผลทตี่ ามมา ซ่ึงสามารถตรวจสอบได้ด้วยข้อมูลเชิงประจักษ์โดย เม่อื ทดสอบรปู แบบแล้ว ถา้ ปรากฏว่าไม่สอดคล้องกบั ข้อมูลเชิงประจักษ์ รปู แบบน้ันตอ้ งถูกยกเลิก 3. รูปแบบควรอธิบายโครงสร้างความสัมพนั ธเ์ ชิงเหตผุ ลของเร่อื งทีศ่ กึ ษาได้อยา่ งชัดเจน นอกจาก จะเปน็ เครอ่ื งมือในการพยากรณ์แล้ว ควรสามารถใช้อธิบายปรากฏการณ์ไดด้ ว้ ย 4. รปู แบบควรนาไปสู่การสร้างแนวคิดใหม่หรือความสัมพันธ์ใหม่ของเร่ืองที่กาลังศึกษา 5. รปู แบบในเรอ่ื งใดจะเป็นเชน่ ไรขน้ึ อยู่กบั กรอบของทฤษฎใี นเร่ืองน้ัน ๆ

13 2.1.4 การพฒั นารูปแบบ จากการศึกษาแนวคิดและกระบวนการวิจัยเก่ียวกับการพัฒนารูปแบบ สามารถสรุปได้ว่าการ พัฒนารปู แบบแบ่งออกเป็น 2 ข้ันตอน ไดแ้ ก่ 1) การสรา้ งหรอื พฒั นารูปแบบ และ 2) การตรวจสอบความ เทย่ี งตรงของรูปแบบ ซง่ึ แตล่ ะขน้ั ตอนมรี ายละเอยี ด ดงั น้ี (วาโร เพ็งสวสั ด์ิ, 2553 : 25) ขั้นตอนท่ี 1 การสร้าง หรือพัฒนารูปแบบ ในขั้นตอนน้ีผู้วิจัยจะสร้างหรือพัฒนารูปแบบข้ึนมาก่อนเป็น รปู แบบตามสมมตฐิ าน (Hypothesis Model) โดยศกึ ษาแนวคดิ ทฤษฎี และผลการวจิ ยั ที่เก่ียวข้อง ซึ่งผล การศึกษาจะนามาใช้กาหนดองค์ประกอบหรือตัวแปรต่างๆ ภายในรูปแบบ รวมทั้งลักษณะความสัมพันธ์ ระหว่างองค์ประกอบหรือตัวแปรเหล่านั้น หรือลาดับก่อนหลังของแต่ละองค์ประกอบในรูปแบบ ดังน้ัน การพัฒนารูปแบบในขั้นตอนน้ีจะตอ้ งอาศยั หลักการของเหตุผลเป็นรากฐานสาคัญ ซึ่งโดยทั่วไปการศึกษา ในขนั้ ตอนน้จี ะมีขั้นตอนย่อย ๆ ดงั น้ี 1.1 การศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่เี กย่ี วข้อง เพอ่ื นาสารสนเทศท่ีได้มาวิเคราะห์ และสังเคราะห์ เป็นรา่ งกรอบความคิดการวจิ ัย 1.2 การศึกษาจากบริบทจริงในขั้นตอนนี้อาจจะดาเนินการได้หลายวิธี ดงั นี้ 1.2.1 การศึกษาสภาพและปัญหาการดาเนินการในปัจจบุ ันของหนว่ ยงาน โดยศกึ ษา ความคิดเห็นจากบุคคลท่ีเก่ียวข้อง (Stakeholder) ซ่ึงวิธีศึกษาอาจจะใช้วิธีการสัมภาษณ์ การสอบถาม การสารวจ การสนทนากลุ่ม เป็นตน้ 1.2.2 การศึกษารายกรณี (Case Study) หรอื พหุกรณี หน่วยงานท่ปี ระสบผลสาเรจ็ หรอื มแี นวปฏิบตั ิท่ีดใี นเรื่องท่ีศึกษา เพ่อื นามาเป็นสารสนเทศที่สาคัญในการพฒั นารูปแบบ 1.2.3 การศึกษาขอ้ มลู จากผู้เช่ยี วชาญหรอื ผทู้ รงคณุ วุฒิ วธิ ศี ึกษาอาจจะใช้วธิ ีการ สมั ภาษณ์ การสนทนากลมุ่ (Focus Group Discussion) เปน็ ต้น 1.3 การจัดทารูปแบบ ในข้ันตอนนี้ผู้วิจัยจะใช้สารสนเทศท่ีได้ในข้อ 1.1 และ1.2 มาวิเคราะห์ และสงั เคราะหเ์ พอื่ กาหนดเป็นกรอบความคดิ การวจิ ัย เพื่อนามาจัดทารปู แบบ อย่างไรก็ตามในงานวิจัยบางเร่ืองนอกจากจะศึกษาตามข้ันตอนที่กล่าวมาแล้ว ผู้วิจัยยังอาจจะ ศึกษาเพิ่มเติมโดยใช้กระบวนการวิจัยแบบเดลฟาย (Delphi Technique) หรือการสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) ในการพัฒนารูปแบบกไ็ ด้ ขั้นตอนที่ 2 การทดสอบความเที่ยงตรงของรูปแบบ ภายหลังที่ได้พัฒนารูปแบบในขั้นตอนแรก แลว้ จาเป็นท่ีจะต้องทดสอบความเท่ียงตรงของรูปแบบดังกล่าว เพราะรูปแบบที่พัฒนาขึ้นถึงแม้จะพัฒนา โดยมีรากฐานจากทฤษฎี แนวความคิดรูปแบบของบุคคลอื่น และผลการวิจัยที่ผ่านมา แต่ก็เป็นเพียง รูปแบบตามสมมติฐาน ซงึ่ จาเปน็ ทจี่ ะตอ้ งตรวจสอบความเท่ียงตรงของรูปแบบว่ามีความเหมาะสมหรือไม่ เป็นรปู แบบทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพตามท่ีมุ่งหวังหรือไม่ การเก็บรวบรวมข้อมูลในสถานการณ์จริงหรือทดลองใช้ รูปแบบในสถานการณจ์ ริงจะช่วยให้ทราบอทิ ธพิ ลหรือความสาคัญขององค์ประกอบย่อยหรือตัวแปรต่างๆ ในรปู แบบผวู้ จิ ยั อาจจะปรบั ปรงุ รปู แบบใหมโ่ ดยการตัดองค์ประกอบหรือตัวแปรที่พบว่าไม่มีอิทธิพลหรือมี

14 ความสาคญั น้อยออกจากรูปแบบ ซึ่งจะทาให้ได้รูปแบบที่มีความเหมาะสมยิ่งข้ึน การทดสอบรูปแบบอาจ กระทาได้ใน 4 ลักษณะ ดงั น้ี 2.1 การทดสอบรูปแบบด้วยการประเมินตามมาตรฐานที่กาหนด การประเมินที่พัฒนาโดย The Joint Committee on Standards of Educational Evaluation ภายใต้การดาเนินงานของ Stufflebeam และคณะ ได้นาเสนอหลักการประเมินเพ่ือเป็นบรรทัดฐานของกิจกรรมการตรวจสอบ รูปแบบ ประกอบดว้ ยมาตรฐาน 4 ดา้ น (สุวมิ ล วอ่ งวานชิ , 2549 อา้ งถงึ ใน วาโร เพ็งสวสั ด์ิ, 2553) ดงั นี้ 2.1.1 มาตรฐานความเป็นไปได้ (Feasibility Standards) เป็นการประเมินความเป็นไป ไดใ้ นการนาไปปฏบิ ตั ิจริง 2.1.2 มาตรฐานดา้ นความเป็นประโยชน์ (Utility Standards) เป็นการประเมินการ สนองตอบตอ่ ความตอ้ งการของผูใ้ ช้รปู แบบ 2.1.3 มาตรฐานดา้ นความเหมาะสม (Propriety Standards) เป็นการประเมนิ ความ เหมาะสมทงั้ ในดา้ นกฎหมายและศลี ธรรมจรรยา 2.1.4 มาตรฐานด้านความถูกต้องครอบคลุม (Accuracy Standards) เป็นการประเมนิ ความนา่ เชือ่ ถือ และได้สาระครอบคลุมครบถ้วนตามความต้องการอยา่ งแท้จรงิ 2.2 การทดสอบรูปแบบด้วยการประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิ การทดสอบรูปแบบในบางเร่ืองไม่ สามารถกระทาไดโ้ ดยข้อมลู เชงิ ประจกั ษ์ ด้วยการประเมินค่าพารามิเตอร์ของรูปแบบ หรือการดาเนินการ ทดสอบรูปแบบด้วยวิธีการทางสถิติ แต่งานวิจัยบางเร่ืองนั้นต้องการความละเอียดอ่อนมากกว่าการได้ ตัวเลขแล้วสรุป ซึ่งไอส์เนอร์ (Eisner. 1976 อ้างถึงใน วาโร เพ็งสวัสด์ิ, 2553) ได้เสนอแนวคิดของการ ทดสอบหรอื ประเมินรปู แบบโดยใช้ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ โดยมแี นวคดิ ดงั น้ี 2.2.1 การประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จะเน้นการวิเคราะห์และวิจารณ์อย่างลึกซ้ึงเฉพาะ ใน ประเด็นท่ีถูกพิจารณา ซ่ึงไม่จาเป็นต้องเก่ียวโยงกับวัตถุประสงค์ หรือผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้องกับการ ตัดสินใจเสมอไปแต่อาจจะผสมผสานกับปัจจัยต่าง ๆ ในการพิจารณาเข้าด้วยกันตามวิจารณญาณของ ผทู้ รงคณุ วุฒิ เพ่ือให้ได้ขอ้ สรุปเกี่ยวกับข้อมูลคณุ ภาพ ประสิทธิภาพและความเหมาะสมของส่ิงที่จะทาการ ประเมิน 2.2.2 รปู แบบการประเมินท่ีเปน็ ความชานาญเฉพาะทาง (Specialization) ในเร่อื งทีจ่ ะ ประเมนิ โดยพฒั นานามาจากแบบการวิจารณ์งานศิลปะ (Art Criticism) ท่ีมีความละเอียดอ่อนลึกซึ้ง และ ต้องอาศยั ผูเ้ ชยี่ วชาญระดบั สงู มาเปน็ ผูว้ นิ ิจฉยั เนอื่ งจากเปน็ การวดั คณุ ค่าทีไ่ มอ่ าจประเมนิ ดว้ ยเคร่ืองวดั ใด ๆ และต้องใช้ความรู้ความสามารถของผู้ประเมินอย่างแท้จริง แนวคิดนี้ได้นามาประยุกต์ใช้ในทาง การศึกษาระดับสูงมากขึ้น ทั้งนี้เพราะเป็นองค์ความรู้เฉพาะสาขา ผู้ที่ศึกษาเรื่องน้ันจริง ๆ จึงจะทราบ และเข้าใจอย่างลึกซึ้ง ดังน้ัน ในวงการศึกษาจึงนิยมนารูปแบบน้ีมาใช้ในเรื่องท่ีต้องการความลึกซึ้งและ ความเช่ยี วชาญเฉพาะ 2.2.3 รปู แบบท่ีใช้ตวั บคุ คล คือผทู้ รงคุณวุฒเิ ปน็ เคร่ืองมือในการประเมินโดยให้ความ

15 เชื่อถือวา่ ผทู้ รงคุณวุฒิน้นั เทีย่ งธรรม และมดี ลุ พนิ ิจท่ดี ี ทัง้ นี้มาตรฐานและเกณฑ์พิจารณาต่าง ๆ นั้น จะ เกิดขน้ึ จากประสบการณ์และความชานาญของผู้ทรงคณุ วุฒินนั้ เอง 2.2.4 รปู แบบทีย่ อมใหม้ คี วามยืดหยนุ่ ในกระบวนการทางานของผทู้ รงคณุ วฒุ ิตาม อัธยาศัยและความถนัดของแต่ละคน นับต้ังแต่การกาหนดประเด็นสาคัญท่จี ะนามาพิจารณา การบ่งชี้ ข้อมูลที่ต้องการการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู การประมวลผล การวินิจฉัยขอ้ มลู ตลอดจนวิธกี ารนาเสนอ 2.3 การทดสอบรูปแบบโดยการสารวจความคิดเห็นของบุคลากรที่เก่ียวข้อง มักจะใช้กับการ พัฒนารูปแบบโดยใช้เทคนิคเดลฟาย เมื่อผู้วิจัยได้พัฒนารูปแบบโดยใช้เทคนิคเดลฟายเสร็จสิ้นเรียบร้อย แล้วผ้วู ิจยั จะนารปู แบบท่พี ฒั นาขึ้นในรอบสดุ ทา้ ยมาจัดทาเปน็ แบบสอบถามท่มี ลี ักษณะเป็นแบบประมาณ ค่า (Rating Scale) เพ่ือนาไปสารวจความคิดเห็นของบุคคลท่ีเกี่ยวข้องเกี่ยวกับความเหมาะสมและความ เปน็ ไปได้ของรปู แบบ 2.4 การทดสอบรูปแบบโดยการทดลองใช้รูปแบบ การทดสอบรูปแบบโดยการทดลองใช้รูปแบบ น้ีผู้วิจัยจะนารูปแบบที่พัฒนาขึ้นไปทดลองใช้จริงกับกลุ่มเปูาหมาย มีการดาเนินการตามกิจกรรมอย่าง ครบถว้ นผู้วิจยั จะนาข้อคน้ พบทีไ่ ด้จากการประเมินไปปรับปรงุ รปู แบบต่อไป สรุปได้ว่า การพัฒนารูปแบบ โดยทั่วไปอาจจะแบ่งออกได้เป็น 2 ขั้นตอนใหญ่ ๆ คือ การสร้าง รปู แบบ และการหาความตรงของรปู แบบ สว่ นรายละเอยี ดในแต่ละขั้นตอนว่ามีการดาเนินการอย่างไรน้ัน ขนึ้ อยู่กบั ลักษณะและกรอบแนวคิดในการพัฒนารูปแบบนนั้ ๆ 2.1.4 องคป์ ระกอบของรูปแบบ จากการศึกษาตวั อยา่ งของรูปแบบจากเอกสารท่ีเก่ียวข้องต่าง ๆ พบว่า ไมปรากฏมี หลักเกณฑ์ที่ เปน็ เกณฑ์ตายตวั ว่ารปู แบบนน้ั ตองมีองคป์ ระกอบอะไรบ้าง อย่างไร สวนใหญ่จะข้ึนอยู่กับลักษณะเฉพาะ ของปรากฏการณทีผ่ สู้ นใจดาเนนิ การศึกษา ซง่ึ มีนกั วชิ าการไดเสนอองค์ประกอบของรปู แบบไว ดังน้ี ธีระ รุญเจริญ (2550 : 13) ไดเสนอองค์ประกอบของรูปแบบไว 6 ประการดังนี้ 1. หลักการของ รปู แบบ 2. วัตถุประสงค์ของรูปแบบ 3. ระบบและกลไกของรูปแบบ 4. วิธีดาเนินงานของรูปแบบ 5 แนว ทางการประเมนิ ผลรูปแบบ และ 6 เงือ่ นไขของรูปแบบ สมาน อัศวภมู ิ (2551 : 26) ไดนาเสนอองค์ประกอบของรูปแบบ ควรมี 7 องคป์ ระกอบ ดังนี้ 1. วัตถุประสงค์ของรูปแบบในการพัฒนารูปแบบใด ๆ ก็ตามผู้ออกแบบรูปแบบต้องรูว่าจะ ออกแบบรปู แบบการดาเนินงานน้ขี นึ้ มาเพ่อื วัตถุประสงค์ใด ซ่ึงโดยท่ัวไปมักจะพัฒนารูปแบบนี้ ข้ึนมาเพื่อ แกไขปญั หาอยา่ งใดอย่างหนง่ึ 2. ทฤษฎีพื้นฐานและหลักการของรูปแบบเพ่ือให้การดาเนินงานของรูปแบบ เป็นไปตาม วัตถุประสงค์ท่ีกาหนดไว ผู้ออกแบบรูปแบบต้องกาหนดว่าจะออกแบบรูปแบบนั้น ๆ บนมาตรฐาน ความคิดของทฤษฎแี ละหลกั การใด

16 3. ระบบงานและกลไกของรูปแบบ เพ่ือให้การดาเนินการเป็นไปตามหลักการและบรรลุ ตาม วัตถุประสงค์ของรูปแบบ ผู้พัฒนารูปแบบต้องออกแบบระบบงานของรูปแบบเพ่ือเป็นกลไกใน การ ดาเนนิ งานของรูปแบบ 4. วิธดี าเนินงานของรปู แบบ โดยการกาหนดภารกจิ หลัก กระบวนการ วิธีการ กิจกรรมและอ่ืน ๆ ที่ตอ้ งดาเนนิ การเพ่ือการบรรลุวตั ถุประสงค์ของรูปแบบ 5. แนวการประเมินรูปแบบ หมายถึง การกาหนดแนวทางและเครื่องมือในการ ประเมินผล รปู แบบตามวตั ถปุ ระสงค์ของรูปแบบ และการประเมินการดาเนินงานตามรูปแบบว่า เป็นไปตามท่ีกาหนด ไวมากน้อยเพียงใด เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบว่ารูปแบบหน้าท่ีตามที่ ออกแบบไวมากน้อยเพียงใด และเปน็ ไปตามวัตถุประสงค์หรอื ไม ตลอดจนการกาหนดแนวทาง ใน การพฒั นารปู แบบต่อเนอื่ งตอ่ ไป 6. คาอธิบายประกอบรูปแบบ หมายถึง การอธิบายคาศัพท์เฉพาะที่นามาใช้ในการ ออกแบบ รูปแบบเพือ่ สอ่ื ความหมายใหต้ รงกนั ในการนารูปแบบไปใช้ 7. ระบุเง่ือนไขการนารูปแบบไปใช้เน่ืองจากรูปแบบทุกรูปแบบมีข้อจากัดของตนเอง ดังนั้น ผู้ออกแบบรูปแบบควรไดระบุเง่ือนไขที่จะทาให้การนารูปแบบไปใช้ประสบผลสาเร็จ และ ข้อควร ระมัดระวังเพื่อปูองกนั ปัญหาท่อี าจจะเกิดขึ้น เป็นต้น ทพิ ย์วรรณ เตมียกุล (2552 : 3-11) กล่าวไว้ว่า ขึน้ อยู่กับปรากฏการณ์ ชุดของผู้วิจัยหรือตัวแปร ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับที่ผู้วิจัยกาลังศึกษา หรือออกแบบแนวคิด ทฤษฎี และ หลักการพ้ืนฐานในการ กาหนดรูปแบบแต่ละรูปแบบ นน้ั ๆ เป็นหลัก ซึ่งเมื่อกาหนดรูปแบบแล้วต้องมีการทบทวน การทดลองใช้ เชิงประจักษ์ มีข้ันตอนในการตรวจสอบความถูกต้องของรูปแบบที่กาหนดด้วยวิธีการท่ีเหมาะสม อาจ ประเมนิ โดยผู้เชี่ยวชาญ การทดลองใช้ ปรบั ปรงุ และนาเสนอโมเดลท่ีปรับปรุงแล้ว สรปุ ไดวาการกาหนดองคป์ ระกอบของรปู แบบวา่ จะตอ้ งมอี งคป์ ระกอบใดบ้าง จานวนเท่าใด และ มลี ักษณะเป็นอยา่ งไรนนั้ ไมมีหลักเกณฑ์ที่แน่นอนขึ้นอยู่กับลักษณะเฉพาะของ ปรากฏการณท่ีศึกษาเป็น สาคัญ แต่ทั้งน้ีรูปแบบจะต้องมีตัวแปรครบ แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ ในลักษณะเป็นเหตุเป็นผลกัน และความสมั พนั ธ์เหลา่ นั้นสามารถตอบวัตถปุ ระสงคข์ องการสร้าง รูปแบบน้ันโดยใช้ข้อมูลต่าง ๆ ที่เช่ือถือ ได พสิ จู น์ไดแ้ ละเป็นทยี่ อมรับกนั ทั่วไป 2.1.4 การประเมนิ รูปแบบ รปู แบบท่ีสร้างข้ึนควรมีการประเมินความเหมาะสม โดยประเมินในลักษณะต่าง ๆ เพ่ือวิเคราะห์ วา่ มีความถูกต้องสอดคล้องตามวัตถุประสงค์ในการนาไปใช้ประเมินหรือไม่ ดงั ที่ ไอส์เนอร์ (Eisner, 1976 : 135-150) ได้เสนอแนวคิดของการทดสอบหรือประเมินโดยใช้ ผู้ทรงคุณวุฒิ โดยให้ความเห็นว่าการวิจัยทางการศึกษาบางเร่ืองต้องการความละเอียดอ่อนมากกว่าได้ ตัวเลขแล้วนามาสรุปผล เขาเชื่อว่า การรับรู้ที่เท่ากันนั้นเป็นคุณสมบัติพื้นฐานของผู้รู้ จึงได้เสนอแนวคิด การประเมินโดยผทู้ รงคณุ วุฒิได้ ดงั นี้

17 1. การประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิ มิได้เป็นการประเมินท่ีเน้นสัมฤทธิ์ผลของเปูาหมาย หรือ วัตถุประสงค์ตามรูปแบบของการประเมินอิงเปูาหมาย (goal-based model) การตอบสนองปัญหาและ ความต้องการของผูเ้ กีย่ วข้องตามรูปแบบของการประเมินแบบสนองตอบ 2. เป็นรูปแบบการประเมินที่เป็นความเช่ียวชาญเฉพาะด้าน (specialization) ในเร่ืองจะ ประเมินโดยพัฒนามาจากรูปแบบการวิจารณ์งานศิลปะ (art criticism) มีความละเอียดอ่อน ลึกซึ้ง และ ต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญระดับสูงมาเป็นผู้วินิจฉัย เนื่องจากเป็นการวัดคุณค่า ไม่อาจประเมินด้วยเคร่ืองวัด ใด ๆ และ ต้องใช้ความรู้ความสามารถของผู้ประเมินอย่างแท้จริงแนวคิดน้ีได้นามาประยุกต์ใช้ในทาง การศึกษาระดับสูงมากขึ้น ท้ังนี้ เพราะองค์ความรู้เฉพาะสาขาวิชาน้ัน ผู้ที่ศึกษาเร่ืองน้ัน ๆ จริง ๆ จึงจะ ทราบ และเข้าใจอย่างลึกซ้ึง ดังน้ันในวงการอุดมศึกษา จึงนิยมนาเอารูปแบบนี้มาใช้ในเร่ืองที่ต้องการ ความลกึ ซึ้ง และความเช่ยี วชาญเฉพาะทางสงู 3. เปน็ รูปแบบทีใ่ ช้ตวั บุคคล คือ ผู้ทรงคุณวุฒิเปน็ เคร่ืองมือในการประเมินโดยให้ความ เช่ือถือว่า ผู้ทรงคุณวุฒินั้นเท่ียงธรรมและมีดุลยพินิจท่ีดี ท้ังนี้ มาตรฐานและเกณฑ์พิจารณาต่าง ๆ นั้น จะขึ้นอยู่กับ ประสบการณแ์ ละความชานาญของผู้ทรงคณุ วฒุ นิ นั้ เอง 4. เปน็ รปู แบบที่ยอมให้ความยืดหยุ่น กระบวนการทางานของผู้ทรงคุณวุฒิ เป็นไปตาม อัธยาศัย และความถนัดของแต่ละคน นับตั้งแต่การกาหนดประเด็นพิจารณา การบ่งช้ีข้อมูลท่ีต้องการ การเก็บ รวบรวม การประมวลผล การวินจิ ฉยั ขอ้ มูล ตลอดจนวิธกี ารนาเสนอ สรุปไดวาการสร้างรูปแบบ (Model) เร่ิมต้นจากการศึกษาองค์ความรู (Intensive Knowledge) เกี่ยวกับเร่ืองท่ีเราจะสร้างรูปแบบให้ ชัดเจน จากน้ันจึงค้นหาสมมติฐานและหลักการของรูปแบบที่จะ พฒั นา แล้วสร้างรปู แบบตามหลกั การ ท่ีกาหนดข้นึ และนารูปแบบที่สร้างขึ้นไปตรวจสอบความเหมาะสม และหาคุณภาพของรูปแบบต่อไป สวนการพฒั นารูปแบบมีการดาเนินการเป็นสองตอนใหญ่ คือ การสร้าง รูปแบบและการประเมินความ เหมาะสมและการหาคุณภาพของรูปแบบ 2.2 แนวคิดเก่ียวกับการพฒั นารูปแบบ การวิจัยที่ใช้รูปแบบเป็นการวิจัยแนวใหม่ เป็นแนวทางทาให้ความรูมีความสมบูรณย่ิงข้ึน เป็น การพัฒนาความรู ให้มีความชัดเจนเป็นระบบ รูปแบบเป็นโครงสร้างที่แสดงถึงความสัมพันธ์ของ องคป์ ระกอบหรอื ตัวแปรตา่ ง ๆ ซึง่ การวิจยั โดยใชร้ ูปแบบมขี น้ั ตอนคือ บุญชม ศรสี ะอาด. (2549 : 45) ได้อธิบายการสร้างรูปแบบไว้ดงั นี้ 1. การสร้างรูปแบบหรือพัฒนารูปแบบผู้วิจัยจะสร้าง พัฒนารูปแบบขึ้นมาก่อนเป็น รูปแบบ สมมติฐาน โดยการศึกษาค้นคว้าทฤษฎีแนวคิดรูปแบบที่มีผู้พัฒนาไวแล้วในเร่ืองเดียวกัน ก็หาความ เ ที่ ย ง ต ร ง ข อ ง รู ป แ บ บ ห รื อ เ รื่ อ ง อื่ น ผ ล ก า ร ศึ ก ษ า ห รื อ วิ จั ย ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง ซึ่ ง จ ะ ช่ ว ย ใ ห้ ส า ม า ร ถ ก า ห น ด องค์ประกอบหรือตัวแปรต่าง ๆ ภายในรูปแบบรวมทั้งลักษณะและความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบ หรือตัวแปรเหล่าน้ันหรือลาดับก่อนหลังของแต่ละองค์ประกอบในรูปแบบ ในการพัฒนารูปแบบน้ัน

18 จะต้องใช้หลักของเหตุผลเป็นรากฐานสาคัญและศึกษาค้นคว้ามากจะเป็นประโยชน ต่อการพัฒนารูป แบบอย่างย่ิง วิจัยอาจคิดรูปแบบโครงสร้างขึ้นมาก่อนแล้วปรับปรุง โดยอาศัยข้อสนเทศจาก การศึกษา ค้นควา้ ทฤษฎแี นวคิดรปู แบบหรือผลการวิจัยท่เี กี่ยวข้อง ในทาการศึกษาองค์ประกอบกนั ขึ้นเป็นโครงสร้าง รปู แบบกไ็ ด 2. การทดสอบความเท่ยี งตรงของรปู แบบหลักจากท่ไี ดพัฒนารปู แบบในข้ันแรกแลว จาเป็นท่ีต้อง ทดสอบความเที่ยงตรงของรูปแบบดังกล่าว เพราะรูปที่พัฒนาขึ้นนั้นถึงแม้จะพัฒนาโดยมี รากฐานจาก ทฤษฎีแนวคิดรูปแบบของคนอื่น และผลการวิจัยท่ีผ่านมาแต่ก็เป็นเพียงรูปแบบตามมาตรฐาน ซึ่ง จาเป็นต้องเก็บรวบรวมข้อมูลในสถานการณจริงหรือทาการทดลองนาไปใช้ใน สถานการณจริง เพ่ือ ทดสอบดวู า่ มีความเหมาะสมหรือเปน็ รปู แบบทมี่ ปี ระสิทธิภาพตามท่ีมุ่งหรือไม่ (ในข้ันนี้บางครั้งจึงใช้คาว่า การทดสอบประสทิ ธภิ าพของรปู แบบ) เพชริน สงค์ประเสริฐ (2550 : 114) ทาการวิจัยเร่ือง การพัฒนารูปแบบการบริหารงานวิชาการ โดยยึดหลักการทางานเป็นทีมในสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน มีขั้นตอนในการพัฒนารูปแบบ 4 ขั้นตอน ประกอบดว้ ย ขนั้ ท่ี 1 การวิเคราะห์องค์ประกอบ ขั้นที่ 2 การสร้างรูปแบบ ข้ันที่ 3 การทดลองใช้รูปแบบ และขน้ั ท่ี 4 การประเมนิ รปู แบบ ศิรวิ รรณ วณชิ วัฒนวรชยั (2552 : 135) ทาการวิจยั เร่ือง การพัฒนารูปแบบการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้แบบผู้ปกครองมีส่วนร่วมเพ่ือพัฒนาทักษะทางสังคม สาหรับนักเรียนปฐมวัย มีขั้นตอนในการ พัฒนารูปแบบ 4 ข้ันตอน ประกอบด้วย ข้ันที่ 1 การศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน ขั้นที่ 2 การพัฒนา รูปแบบ ขน้ั ที่ 3 การทดลองใชร้ ปู แบบ และขั้นท่ี 4 การประเมนิ ผลและปรบั ปรุงรปู แบบ สมยงค์ แกว้ สพุ รรณ (2552 : 45) ทาการวจิ ัยเร่ือง รูปแบบการบรหิ ารสถานศึกษาท่ีมีประสิทธิผล เพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา มีขั้นตอนในการพัฒนารูปแบบ 4 ระยะ ประกอบด้วยระยะที่ 1 วิเคราะห์รูปแบบเพ่ือกาหนดกรอบองค์ประกอบสาคัญ ระยะที่ 2 สร้างรูปแบบระยะที่ 3 ทดลองใช้ รูปแบบ และระยะที่ 4 ประเมินผลการใช้รปู แบบ คัมภีร์ สุดแท้ (2553 : 119) ทาการวิจัยเร่ือง การพัฒนารูปแบบการบริหารงานวิชาการสาหรับ โรงเรียนขนาดเล็ก มีขั้นตอนในการพัฒนารูปแบบ 4 ข้ันตอน ประกอบด้วยข้ันท่ี 1 การศึกษา องค์ประกอบของรูปแบบ ขั้นท่ี 2 การสร้างรูปแบบ ข้ันที่ 3 การทดลองใช้รูปแบบและขั้นตอนที่ 4 การ ประเมินผลการใช้รูปแบบ พรรณี ไพศาลทักษิน (2553 : 13) ไดเสนอขั้นตอนการพัฒนารูปแบบว่ามี 5 ขั้นตอน ดังน้ี 1. ข้นั รวบรวมปัญหา (Problem Formulation) เพอ่ื ให้รวู้ ่าอะไรคือปญั หาท่ีแท้จริง 2. ขั้นพัฒนารูปแบบ (Model Construction) ดาเนินการภายหลังจากที่ไดรวบรวม ปัญหาต่าง ๆ แลว 3. การทดสอบรูปแบบ (Testing the Model) เมื่อสร้างรูปแบบเสร็จแล้วควรทดสอบ โดย พิจารณาถงึ 3.1 มคี วามตรงตามสถานการณจริง (Valid)

19 3.2 มีการนาไปทดลองใช้ เพื่อเปรียบเทียบว่าผลการนาไปใช้ทาให้มีการปรับปรุง คุณภาพใน การปฏิบัติงานอย่างไร การทดลองใช้มี 2 ลักษณะ คือ ทดลองย้อนหลังโดยใช้กับข้อมูล ในอดีตและการ ทดลองใช้ปฏิบตั ิในปัจจบุ นั 4. การทาให้สาเร็จ (Implementation) เมื่อผ่านการทดสอบแลว ควรสามารถท่ีจะ นาไปใช้ให้ เกิดความสาเร็จ เพราะไมมรี ูปแบบใดท่จี ะเรยี กวา่ สาเรจ็ อยา่ งสมบูรณจนกว่าจะไดรับ การสนใจและยอมที่ จะนาไปใช้ 5. การปรับปรุงรูปแบบให้ทันสมัย (Model Updating) แม้ว่าจะมีการนารูปแบบไปใช้ และใช้ได้ เป็นอย่างดีแต่ก็ควรมีการพัฒนาประยุกต์ให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ขององค์กรและ สถานการณที่มา กระทบจากภายนอกและภายในองค์กรดว้ ย จากแนวคดิ ของการพัฒนารูปแบบผู้วิจัยจึงได้สรุปว่าการพัฒนารูปแบบ ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 การศึกษาวิเคราะห์องค์ประกอบ ขั้นที่ 2 พัฒนารูปแบบ ขั้นท่ี 3 ทดลองใช้รูปแบบ และขั้นท่ี 4 ประเมนิ ผลการใชร้ ูปแบบ 2.3 หลกั การ แนวคิดเกี่ยวกบั สมรรถนะวชิ าชีพผู้เรยี น แนวคิดเก่ียวกับสมรรถนะ หรือขีดความสามารถในการทางาน (Competency) เกิดข้ึนในช่วงต้น ของศตวรรษที่ 1970 โดยนักวิชาการช่ือ David McClelland ที่ได้ศึกษาว่าทาไมบุคลากรที่ทางานใน ตาแหน่งเดียวกัน จึงมีผลงานท่ีแตกต่างกัน McClelland จึงทาการศึกษาวิจัยโดยแยกบุคลากรที่มีผลการ ปฏิบัติงานดีออกจากบุคลากรที่มีผลการปฏิบัติงานพอใช้แล้ว จึงศึกษาว่าบุคลากรท้ัง 2 กลุ่ม มีผลการ ทางานท่ีแตกต่างกันอย่างไร ผลการศึกษาทาให้สรุปได้ว่า บุคลากรที่มีผลการปฏิบัติงานดีจะมีส่ิงหนึ่งที่ เรียกว่า สมรรถนะ Competency (จิรประภา อัครบวร, 2549 : 58) และในปี ค.ศ. 1973 McClelland ได้เขียนบทความวิชาการเร่ือง “Testing for Competence Rather Than Intelligence” ซึ่งถือเป็นจุด กาเนดิ ของแนวคดิ เร่อื ง สมรรถนะที่สามารถอธิบายบุคลิกลักษณะของคนว่าเปรียบเสมือนกับภูเขาน้าแข็ง (Iceberg) กล่าวได้ว่า คุณลักษณะของบุคคลน้ันเปรียบเสมือนภูเขาน้าแข็งท่ีลอยอยู่ในน้า โดยมีส่วนหนึ่งที่ เปน็ สว่ นนอ้ ยลอยอย่เู หนือน้า ซึ่งสามารถสังเกต และวัดได้ง่าย ได้แก่ ความรู้สาขาต่าง ๆ ที่ได้เรียนมาและ ส่วนของทกั ษะ ได้แก่ ความเชยี่ วชาญ ความชานาญพิเศษด้านต่าง ๆ สาหรับส่วนของภูเขาน้าแข็งท่ีจมอยู่ ใตน้ า้ ซึ่งเป็นส่วนทม่ี ีปรมิ าณมากกวา่ นัน้ เปน็ สว่ นที่ไม่อาจสังเกตได้ชัดเจนและวัดได้ยากกว่าและเป็นส่วน ท่ีมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของบุคคลมากกว่า ได้แก่ บทบาทท่ีแสดงออกต่อสังคมภาพลักษณ์ของบุคคลที่มี ต่อตนเอง คุณลักษณะส่วนบุคคล และแรงจูงใจ ส่วนท่ีอยู่เหนือน้า เป็นส่วนที่มีความสัมพันธ์กับเชาวน์ ปัญญาของบุคคล ซ่ึงการที่บุคคลมีความฉลาดสามารถเรียนรู้องค์ความรู้ต่าง ๆ และทักษะได้นั้น ยังไม่ เพียงพอที่จะทา ให้มีผลการปฏิบัติงานท่ีโดดเด่น จึงจาเป็นต้องมีแรงผลักดันเบ้ืองลึก คุณลักษณะส่วน

20 บุคคล ภาพลักษณ์ของบุคคลที่มีต่อตนเอง และบทบาทที่แสดงออกต่อสังคมอย่างเหมาะสมด้วย จึงจะทา ให้บคุ คลกลายเป็นผทู้ ีม่ ีผลงานโดดเดน่ ได้ 2.3.1 ความหมายของสมรรถนะ คาวา่ สมรรถนะ (Competency) มีความหมายตามพจนานุกรมว่า ความสามารถ หรือสมรรถนะ ในภาษาอังกฤษมีคาทีมีความหมายคล้ายกันอยู่หลายคา ได้แก่ Capability, Ability, Proficiency, Expertise, Skill, Fitness, Aptitude โดยสานักงาน ก.พ. ใช้ภาษาไทยวา่ “สมรรถนะ”แต่ในบางองค์การ ใช้คาว่า “ความสามารถ”ดังนั้น เพ่ือให้เข้าใจตรงกันในที่นี้จึงขอใช้คาว่า สมรรถนะ หรือ Competency นักการศกึ ษาไดใ้ หค้ วามหมายของคาว่า“สมรรถนะ” ไวห้ ลายทัศนะดงั ต่อไปน้ี สุบรรณ เอ่ียมวิจารณ์ (2548 : 52) กลา่ ววา่ สมรรถนะ เป็นองค์ของความรู้ทักษะและเจตคติของ บคุ คลท่ีมอี ิทธพิ ลอยา่ งมากตอ่ ผลสัมฤทธ์ิของการทางานของบุคคลน้ัน ๆ เป็นบทบาทหรือความรับผิดชอบ ซ่งึ สัมพันธ์กบั ความสามารถ หรอื กับผลงาน สามารถพฒั นาไดโ้ ดยการฝึกอบรม ณรงคว์ ิทย์ แสนทอง (2551 : 37) ไดใ้ ห้ความหมายของสมรรถนะไว้ว่า หมายถึง คุณลักษณะเชิง พฤติกรรมทเี ปน็ ผลมาจากความรู้ทักษะ ความสามารถ และคุณลักษณะอื่น ๆ ที่ทาให้บุคคลสามารถสร้าง ผลงานได้โดดเดน่ กว่าเพื่อนร่วมงานอื่น ๆ ในองคก์ ร สุกัญญา รัศมีธรรมโชติ. (2553 : 36) ได้ให้คาจากัดความของ สมรรถนะ (Competency) ว่า เป็นบุคลิกลักษณะที่ซ่อนอยู่ในปัจเจกบุคคลซ่ึงสามารถผลักดันให้ปัจเจกบุคคลนั้น สร้างผลการการ ปฏิบตั ิงานทดี่ หี รอื ตามเกณฑ์ท่กี าหนดในงานท่ีตนรับผิดชอบ สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2562 : 2) ได้ให้ความหมาย สมรรถนะ (Competency) หมายถึง ความสามารถในการปฏิบัติงานท่ีเกิดจากการประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ และ คณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ ซง่ึ แบ่งเป็นสมรรถนะแกนกลางและสมรรถนะอาชีพ Parry (2003, pp. 58-64) กล่าวว่า สมรรถนะ หมายถึง องค์ประกอบ (Cluster) ของความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skill) และทัศนคติ (Attitudes) ของปัจเจกบุคคลทีมีอิทธิพลอย่างมากต่อ ผลสัมฤทธ์ิของการทางานของบุคคลนั้น ๆ เป็นบทบาทหรือความรับผิดชอบซ่ึงสัมพันธ์กับผลงานและ สามารถวัดค่าเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานและสามารถพฒั นาได้โดยการฝึกอบรมMcClelland (1993, p. 45) กลา่ ววา่ สมรรถนะ หมายถึง ความรทู้ ักษะ และความสามารถหรือสภาพที่บุคคลใด บุคคลหนึ่ง พึง มแี ละสามารถแสดงออกมาให้เห็นเป็นพฤติกรรมทางความรแู้ ละการกระทาท่ีดี Good (1973, p. 121) ให้นิยามไว้ว่า “สมรรถนะ” หมายถึง ความรู้ ความสามารถ ทักษะและ เจตคตทิ จี่ าเป็นในอาชีพอย่างกว้าง ๆ ซ่ึงส่ิงเหลา่ นี้เปน็ ประโยชน์ในการประกอบอาชีพ Trotter and Ellison (1997, p. 39-40) ได้สรุปความแตกต่างระหว่าง competence และ competency ว่า competence หรือความสามารถ เป็นความหมายที่เน้นผลลัพธ์ (output) ของ การ ปฏิบัติงานให้บรรลุมาตรฐานข้ันต่า ให้ความสาคัญกับภารกิจท่ีกาหนดในงาน และมีลักษณะแยก ส่วน

21 ส่วนคาว่า competency หรือ สมรรถนะ เป็นความหมายท่ีเน้นปัจจัยนาเข้า (input) เพื่อให้ ปฏิบัติงาน ไดส้ งู สุด ให้ความสาคญั กบั ส่ิงทีบ่ คุ คลนามาใชใ้ นการทางาน และมลี ักษณะเป็นองค์รวม Dubois and other (2004, p. 16) ใหค้ วามหมายไว้ว่า สมรรถนะ หมายถงึ ลักษณะ เฉพาะท่ีมี อยู่ในตัวบุคคลและนามาใช้ได้อย่างเหมาะสมในแนวทางท่ี ถาวร เพ่ือบรรลุผลการปฏิบัติที่ นาไปสู่ ความสาเร็จ ลักษณะเฉพาะเหล่าน้ี รวมถึงความรู้ความชานาญ ลักษณะของมโนภาพในตัวเอง แรงจูงใจ ทางสงั คม ลกั ษณะเฉพาะของบคุ คล แบบแผนความคดิ ความตั้งใจ แนวทางของความคดิ และความรู้สึก จากข้อความดังกล่าว สรุปได้ว่า สมรรถนะ หมายถึง คุณลักษณะหรือพฤติกรรมของบุคคลใน ตาแหนง่ หนึ่งตาแหนง่ ใดที่เปน็ ผลมาจากความรู้ความสามารถ ทักษะ และคุณลักษณะส่วนบุคคล ที่ จะทา ให้บุคคลนั้นๆ แสดงออกมาเป็นพฤติกรรมที่แสดงถึงความสามารถในการปฏิบัติงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ส่งผลให้การปฏิบัติงานบรรลุผลสาเร็จตามวิสัยทัศน์และวัตถุประสงค์และพันธกิจท่ีองค์กร กาหนดไว้ 2.3.2 ประเภทของสมรรถนะ มีนกั วิชาการหลายท่านกล่าวถึงประเภทของสมรรถนะ ไว้ดังนี้ ณรงคว์ ทิ ย์ แสนทอง (2548 : 35-43) จดั ทาสมรรถนะเพื่อการประเมินผลงานไวเ้ ปน็ 4 ประเภท คือ 1. ดา้ นการพัฒนาตนเอง (Personal Development Competencies) 2. ด้านวชิ าชีพ (Professional Competencies) 3. ด้านการทางานรว่ มกบั ผู้อ่นื (Interpersonal Competencies) 4. ดา้ นการบริหารจัดการทั่วไป (General Management Competencies) ธารงศักดิ์ คงคาสวัสดิ์ (2548 : 31-32) ได้อธิบายถึงประเภทของสมรรถนะในองค์การ ในทุก หนว่ ยงานจะตอ้ งมรี ่วมกนั ดังน้ี 1. สมรรถนะด้านสังคม (Social Competency) หมายถึง คุณสมบัติ (หรือคุณลักษณะ) ท่ี เน้น ในเรื่องของการทางานร่วมกนั เพอื่ การประสานงานกันด้วยดีซ่ึงสมรรถนะตัวนี้ จะมุ่งความสัมพันธ์ ของคน ในองคก์ รใหส้ ามารถทางานด้วยกนั อยา่ งราบร่นื เชน่ การตดิ ต่อส่ือสาร มนุษยสัมพันธเ์ ป็นต้น 2. สมรรถนะส่วนบุคคล (Personal Competency) หมายถึง คุณสมบัติ (หรือคุณลักษณะ) เฉพาะของแต่ละบุคคลท่ีมีความสามารถพิเศษที่จะช่วยเสริมให้การปฏิบัติงานบรรลุผลสาเร็จได้ดีเป็น พิเศษ เช่น คนท่ีเคยทางานด้านส่ือสารมวลชนมาก่อนมีสายสัมพันธ์ท่ีดีมากกับส่ือมวลชนและมีเพื่อน ฝูง ในวงการอยู่มากแล้วเข้ามาทางานเป็นเจ้าหน้าท่ีฝุายการตลาดของเรา เมื่อมีปัญหาเกิดขึ้นกับบริษัท จาเปน็ จะตอ้ งช้ีแจงผ่านการสื่อสารมวลชนโดยด่วน เขาสามารถเชิญสื่อแทบทุกส่ือมาทาข่าวและ เผยแพร่ ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องกับสาธารณะได้ทั้ง ๆ ท่ีเขาไม่ได้มีหน้าท่ีโดยตรงเช่นนั้น ในบางองค์กร ก็อาจจะมี การกาหนดสมรรถนะส่วนบุคคล (Personal Competency) ที่ควรจะมีในตาแหน่งงานไว้ เป็นพื้นฐาน ด้วย เพราะมองว่าจะมสี ว่ นช่วยเหลอื ใหง้ านสาเรจ็ ไดด้ ยี ง่ิ ข้ึน

22 3. สมรรถนะด้านภาวะผู้นา (Leadership Competency) หมายถึง คุณสมบัติหรือ คุณลักษณะ ท่ีพูดถึงการเป็นผู้นาโดยทั่วไปมักเป็นสมรรถนะที่กาหนดสาหรับคนที่จะต้องไปรับ ตาแหน่งเป็นผู้บริหาร หรือหัวหน้างานว่าจะตอ้ งมีคณุ สมบตั ิอย่างไรบ้างในตาแหน่งน้ันๆ เช่น การวางแผน การนาเสนอ เป็นตน้ 4. สมรรถนะในหน้าท่ี (Functional Competency) หมายถึง คุณสมบัติหรือ คุณลักษณะ ของผู้ ดารงตาแหนง่ ท่ีควรจะมใี นตาแหน่งน้ัน ๆ โดยกาหนดว่าผู้ท่ีจะทางานในตาแหน่งนั้นควรมี สมรรถนะใดที่ สาคญั เช่น ความคดิ สร้างสรรค์การเจรจาตอ่ รอง เป็นตน้ ลดาวัลย์ บัวเอี่ยม (2548 : 13) ได้แบ่งสมรรถนะออกเป็น 3 ระดับ โดยพิจารณา สมรรถนะในแง่ ความสามารถดา้ นต่าง ๆ ของบุคคล ดังนี้ 1. ความสามารถหลัก (Core Competency) ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงพฤติกรรมของพนักงานใน องค์กร ซ่ึงจะช่วยสนับสนุนให้องค์กรบรรลุเปูาหมายและภารกิจตามวิสัยทัศน์ท่ีแต่ละองค์กรกาหนด เช่น การเรยี นรู้อย่างต่อเน่ือง การทางานเปน็ ทีม และการมุ่งเนน้ การให้บรกิ าร เป็นตน้ 2. ความสามารถในงานท่ี สะท้อนให้เห็นทักษะในการบริหารจัดการในด้านต่าง ๆ ขององค์กร (Managerial Competency) เช่น ความเปน็ ผนู้ าการตัดสนิ ใจ การสอนงาน การมอบหมายงาน ความคิด เชงิ วิเคราะห์เปน็ ต้น 3. ความสามารถในงานท่ี สะท้อนให้เห็นทักษะ ความรู้และคุณลักษณะเฉพาะของงานต่างๆ (Functional Competency) ซึ่งแตกต่างกันไปตามหน้าที่ การงานท่ีได้รับมอบหมาย เช่น นัก ประชาสัมพันธ์ตอ้ งมคี วามสามารถในการติดตอ่ สื่อสารทกุ รูปแบบ เปน็ ต้น ศภุ ชัย เยาวะประภาษ (2548 : 49) กลา่ ววา่ สมรรถนะแบ่งออกเปน็ 2 ประเภท ดงั นี้ 1. สมรรถนะหลัก (Core Competency) เป็นสมรรถนะท่ีทุกคนในองค์การต้องมีเพ่ือท่ีจะ ทาให้ องค์การสามารถดาเนินงานได้สาเร็จลุล่วงตามวิสัยทัศน์ พันธกิจ เปูาหมาย แผนงานและ โครงการต่างๆ ขององค์การ สมรรถนะหลักนี้ จะผูกโยงเข้ากับสมรรถนะหลักขององค์การเอง องค์การ แต่ละแห่งจะมี บุคลิกลักษณะที่เป็นเสมือนแก่นหรือหลักขององค์การ อาทิเช่น ศาลยุติธรรม อาจมี สมรรถนะหลัก คือ สมรรถนะเร่ืองการสง่ เสริม และรกั ษาความยุติธรรมองคก์ ารของรัฐที่มีประชาชน มาติดต่อทุกวัน อาทิเช่น รัฐวิสาหกิจ ประเภทสาธารณูปโภคต่าง ๆ อาจเน้นสมรรถนะหลักเร่ืองการให้บริการอย่างรวดเร็ว มหาวิทยาลยั อาจมสี มรรถนะหลัก คือ การรักษาและส่งเสริมคุณภาพวิชาการ เป็นต้น สมรรถนะหลักของ องค์การจะถา่ ยทอดลงไปท่บี ุคลากร และกลายเป็นสมรรถนะทบี่ คุ ลากรทุก คนในองค์การต้องมี 2. สมรรถนะเฉพาะลักษณะงาน (Functional Competency) เป็นสมรรถนะทีบ่ ุคคลที่ทางานใน สายงานนั้นต้องมีเพิ่มเติมจากสมรรถนะหลัก อาทิเช่น ฝุายกฎหมายต้องมีสมรรถนะด้าน ความรู้เก่ียวกับ กฎหมายและมีสมรรถนะด้านทักษะในการตีความกฎหมาย ฝุายบัญชีต้องมีสมรรถนะ หลักด้านความรู้ ของการบัญชีและมีทักษะการทาบญั ชี ฝาุ ยการวางแผนตอ้ งมสี มรรถนะหลัก คือ สมรรถนะด้านการคิดเชิง วเิ คราะห์และมีทักษะในการจัดทาแผน เปน็ ตน้

23 อาภรณ์ ภู่วิทยาพันธ์ (2550 : 10-11) แบ่งสมรรถนะเปน็ 3 ประเภท ดงั น้ี1. สมรรถนะหลัก (Core Competencies) เป็นขีดความสามารถหลกั ที่พนกั งานทกุ คนจะต้องมีเหมอื นกนั ไม่จาเป็นตอ้ งมี มาก ควรจะเปน็ สมรรถนะหลัก ๆ ทีก่ าหนดมาจากวสิ ยั ทัศน์ ภารกจิ กลยทุ ธ์และเปาู หมายขององค์การ 2. สมรรถนะด้านการบริหารจัดการ (Managerial Competencies) เป็นขีดความสามารถ ตามลาดับขั้นหรือตามสายการบังคับบัญชา ใครอยู่ในตาแหน่งงานไหนควรจะ มีสมรรถนะด้านการ บริหารจัดการ (Managerial Competencies) ท่ีเหมือนกับตาแหน่งงานน้ันในลักษณะ Cross functional ไม่ว่าจะอยู่ในสายงานใดก็ตาม หากมีตาแหน่งงานท่ีมีสมรรถนะด้านการบริหารจัดการ (Managerial Competencies) ก็จะต้องเหมือนกัน องค์การบางแห่งกาหนดสมรรถนะด้านการบริหาร จัดการ (Managerial Competencies) เป็น 4 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้บริหารระดับสูง กลุ่มผู้บริหารระดับกลาง กล่มุ ผู้บริหารระดบั ต้น และกลุ่มผู้บรหิ ารระดับปฏบิ ตั กิ าร 3. สมรรถนะในหน้าท่ี (Functional Competency) เป็นขดี ความสามารถในงานกาหนดขึ้น จาก ขอบเขตความรับผิดชอบในงาน ถึงแม้จะอยู่ในหน่วยงานเดียวกันแต่ขอบเขตความรับผิดชอบ ต่างกัน สมรรถนะในหน้าที่ (Functional Competency) ก็แตกต่างกันด้วย การกาหนดสมรรถนะใน ด้านนี้ไม่ จาเป็นต้องมีจานวนมาก ควรจะเป็นขอ้ หลกั ๆ ทสี่ ง่ ผลต่อความสาเร็จของงานข้อพึงระวังใน การกาหนดก็ คือ ในการกาหนดสมรรถนะในหน้าท่ี (Functional Competency) คิดว่าตัวนั้นก็ใช่ตัว นี้ก็ใช่ จึงทาให้มี สมรรถนะในหน้าที่ (Functional Competency) ประมาณ 8-10 ตัวต่อหนึ่งตาแหน่งงาน และไม่ จาเป็นต้องมีจานวนมาก พยายามเลือกตัวหลักๆ ท่ีส่งผลถึงเปูาหมายและ ความสาเร็จของหน้าที่งานที่ ได้รับมอบหมาย ณรงคว์ ิทย์ แสนทอง (2547 : 10 - 11) ไดแ้ บง่ สมรรถนะเป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1. สมรรถนะหลัก (Core Competency) หมายถึง บุคลิกลักษณะของคนท่ีสะท้อนให้เห็นถึง ความรู้ ทักษะ ทัศนคติ ความเชื่อ และอุปนิสัยของคนในองค์การโดยรวมท่ีจะช่วยสนับสนุนให้องค์การ บรรลเุ ปาู หมายตามวิสยั ทศั น์ได้ 2. สมรรถนะตามสายงาน (Job Competency) หมายถึง บุคลิกลักษณะของคนที่สะท้อนให้เห็น ถึงความรู้ ทักษะ ทัศนคติ ความเชอื่ และอุปนิสัยที่จะช่วยส่งเสริมให้คนน้ัน ๆ สามารถสร้างผลงานในการ ปฏบิ ตั งิ านตาแหน่งนนั้ ๆ ได้สงู กวา่ มาตรฐาน 3. สมรรถนะส่วนบุคคล (Personal Competency) หมายถึง บุคลิกลักษณะของคนที่สะท้อนให้ เห็นถึงความรู้ ทักษะ ทัศนคติ ความเช่ือ และอุปนิสัยที่ทาให้บุคคลนั้น มีความสามารถในการทาสิ่งใดสิ่ง หน่ึงได้โดดเด่นกว่าคนท่ัวไป เช่น สามารถอาศัยอยู่กับแมงปุอง หรืออสรพิษได้เป็นต้น ซ่ึงเรามักจะเรียก สมรรถนะส่วนบคุ คลว่าความสามารถพเิ ศษสว่ นบุคคล จิรประภา อัครบวร (2549 : 68) กลา่ วว่า สมรรถนะในตาแหน่งหน่ึง ๆ ประกอบด้วย 3 ประเภท ไดแ้ ก่ 1. สมรรถนะหลัก (Core Competency) คือ พฤติกรรมที่ดีท่ีทุกคนในองค์การต้องมี เพ่ือแสดง ถงึ วฒั นธรรม และหลักนิยมขององคก์ าร

24 2. สมรรถนะบริหาร (Professional Competency) คอื คุณสมบัตคิ วามสามารถด้านการบริหาร ท่ีบุคลากรในองค์การทุกคนจาเป็นต้องมีในการทางาน เพ่ือให้งานสาเร็จ และสอดคล้อง กับแผนกลยุทธ์ วิสัยทัศน์ ขององค์การ 3. สมรรถนะเชงิ เทคนคิ (Technical Competency) คือ ทกั ษะด้านวิชาชีพที่จาเป็นในการนาไป ปฏิบตั งิ านใหบ้ รรลุผลสาเรจ็ โดยจะแตกตา่ งกนั ตามลักษณะงาน โดยสามารถจาแนกได้ 2 ส่วนย่อย ได้แก่ สมรรถนะเชิงเทคนิคหลัก (Core Technical Competency) และสมรรถนะเชิงเทคนิคเฉพาะ (Specific Technical Competency) สาหรับการศึกษาคร้ังนี้ ผู้วิจัย ได้แบ่งสมรรถนะเป็น 2 ประเภทหลัก คือ สมรรถนะหลักซ่ึงเป็น คุณลกั ษณะทพ่ี นักงานทุกคนในองค์การจาเป็นต้องมี ทั้งน้ี เพ่ือให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ บรรลุเปูาหมาย ขององค์การ อาทิ ความรอบรู้เกี่ยวกับองค์การ ความซ่ือสัตย์ ความใฝุรู้ และความรับผิดชอบเป็นต้น อีก ประเภทหนงึ่ คือ สมรรถนะตามสายงาน ซ่ึงเปน็ คณุ ลักษณะท่พี นักงานที่ปฏิบัติงานในตาแหน่งต่าง ๆ ควร มี เพอื่ ให้งานสาเร็จ และไดผ้ ลลัพธต์ ามทต่ี อ้ งการ 2.3.2.1 การกาหนดสมรรถนะ การกาหนดสมรรถนะ หรอื การสร้างรูปแบบสมรรถนะสามารถกาหนด ไดด้ ังน้ี (เทื้อน ทองแก้ว, 2556, อานนท์ ศกั ด์ิวรวชิ ญ,์ 2547 : 62, สกุ ัญญา รศั มธี รรมโชติ, 2547 : 50 - 51, 58 -59) ใน การกาหนดสมรรถนะจะเริม่ จากการนาวิสยั ทัศน์ (Vision) พนั ธกจิ (Mission) ค่านิยม (Values) ขององค์การมาเป็นแนวทางในการกาหนดสมรรถนะ ดงั ภาพที่ 2.1 พนั ธกจิ วิสัยทศั น์ คา่ นยิ ม สมรรถนะของงาน ยุทธศาสตร์องคก์ ร (Job Competency) สมรรถนะ (Core Competency) สมรรถนะหนา้ ท(่ี Functional Competency สมรรถนะสว่ นบคุ คล(Personal Competency)

25 ภาพท่ี 2.1 การกาหนดสมรรถนะ, โดยเทอื้ น ทองแกว้ , 2556, อานนท์ ศักดว์ิ รวิชญ์, 2547: 62, สุกญั ญา รัศมีธรรมโชติ, 2547: 50 - 51,58 -59), กรงุ เทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดสุ ิต. จากภาพ จะเห็นความสอดคล้องไปในทิศทางที่ต่อเนื่องกันของสมรรถนะที่จะช่วยให้งานเป็นไป ดว้ ยดี (Alignment) ซงึ่ เรมิ่ จากวิสัยทัศน์ พันธกิจ หรือค่านิยม สู่เปูาหมายขององค์การ มากาหนดเป็นกล ยทุ ธ์ขององค์การ จากนน้ั มาพจิ ารณาถงึ สมรรถนะหลักทจ่ี ะทาให้บรรลุเปาู หมายขององค์การมีอะไรบ้างจะ ใชค้ วามรู้ ทักษะและคณุ ลักษณะอะไรที่จะผลักดันให้บรรลุเปูาหมายขององค์การจากสมรรถนะหลัก ก็มา พิจารณาสมรรถนะของหน้าท่ีของบุคคลในองค์การตามตาแหน่งตาม ๆ ซึ่งจะต้องสอดคล้องกับสมรรถนะ ของบุคคลสมรรถนะของบุคคลกับสมรรถนะหน้าท่ีจะไปในทางเดียวกันงานต่าง ๆ ก็จะไปในทางเดียวกัน ถ้ามองในทิศทางกลับกัน สมรรถนะหลักจะมาจากสมรรถนะของแต่ละคน ดังน้ัน ถ้าจะให้ลึกลงใน รายละเอียดสู่การปฏิบัติสามารถนาหลัก Balance Scorecard และหลักของการกาหนดตัวช้ีวัดผลการ ปฏบิ ตั งิ าน (KPI) มาใชด้ งั ความสมั พนั ธ์ในระบบ บริหารในภาพที่ 2.2 Vision Goal Result Culture Division Competency KPI Individual Behavior Objective BSC Competency ภาพท่ี 2.2 ตัวอยา่ งการวางภาพประกอบการทาบทนิพนธ์. ปรบั ปรุงจาก Performance Management System, โดย สถาบนั เพ่ิมผลผลิตแห่งชาติ, 2545, กรุงเทพฯ : สถาบันเพ่ิมผลผลิตแหง่ ชาติ. การกาหนดสมรรถนะ อาจกาหนดได้ในอีกแนวทางอ่ืน ๆ อีก เช่น การใช้ผลงานวิจัยมากาหนด เป็นสมรรถนะ เช่น การสารวจว่า การเป็นบุคคลมาดารงตาแหน่งหรือทาหน้าท่ีนั้น ๆ มีสมรรถนะหลัก

26 อะไรบ้าง ผลจากการวิจัย ก็จะทาให้ได้สมรรถนะท่ีเรียกว่า “Generic Model” หรือรูปแบบท่ัวไปอีก ประการหนึ่ง อาจกาหนดสมรรถนะจากงานท่ีเรียกว่า “Job / Task Analysis” หมายถึง การกาหนด สมรรถนะ โดยการวเิ คราะหต์ าแหน่งตา่ ง ๆ มาออกแบบสมรรถนะ ซง่ึ เหมาะสาหรับการคัดเลือกคนเข้ามา สู่งาน หรือการปรับปรุงผลผลิตใหม่ ก็กาหนดสมรรถนะของบุคคลท่ีจะทางานให้ได้ผลผลิตตามต้องการ วิธีการกาหนดสมรรถนะในวิธีการหลักนี้ จะรวดเร็ว และสะดวก แต่จะไม่เห็นความเช่ือมโยงต่างกับ รูปแบบแรกท่ีมองเหน็ ความเชอ่ื มโยง แตจ่ ะเสยี เวลามากและอาจหลงทางได้ 2.3.3 การจัดทาสมรรถนะ ความหมายของสมรรถนะ (สานักงาน ก.พ.) (ราวดี ปฏิวัติวงศ์, 2552 : 1-14) หมายถึง คุณลักษณะเชิงพฤติกรรมที่'เป็นผลมาจากความรู้ทักษะ/ ความสามารถและคุณลักษณะ อื่น ๆ ท่ีทาให้ บคุ คลสามารถสร้างผลงานไดโ้ ดดเดน่ กว่าเพื่อนรว่ มงานอื่น ๆ ในองคก์ ร สมรรถนะแบง่ ออกเป็น 2 ประเภท 1. สมรรถนะพื้นฐาน : ความรู้หรือทักษะพื้นฐานท่ีผู้ปฏิบัติงานทุกคนจาเป็นต้องมีเพ่ือให้สามารถ ปฏิบตั ิงานได้ แตไ่ ม่ไดแ้ ยกผูป้ ฏิบัติงานดี ออกจากผปู้ ฏิบัติงานปานกลาง 2. สมรรถนะท่ีแยก ความแตกต่าง : ปัจจัยต่าง ๆ ท่ีผู้ปฏิบัติงานที่ดีมี แต่ผู้ที่ปฏิบัติงานปานกลาง ไม่มีการประเมินผลการปฏบิ ัตงิ าน แบ่งการประเมินเปน็ 2 ส่วน คอื 1. สว่ นของงานท่ีมอบหมาย 2. พฤตกิ รรมในการทางาน หรือ สมรรถนะ (คุณลักษณะเชิงพฤติกรรม) สมรรถนะในระบบจาแนกตาแหน่ง การจัดกล่มุ งานเปน็ วิธกี ารจาแนกประเภทของงาน โดยงานท่ีอยู่ในกลุ่มงานเดียวกันจะมีลักษณะ งาน วัตถุประสงค์ของงาน และผลสัมฤทธิ์ของงานคล้ายคลึงกัน ผู้ท่ีดารงตาแหน่งในกลุ่มงานเดียวกันควร มีสมรรถนะ (คณุ ลักษณะเชงิ พฤติกรรมประจางาน) เหมือนกันเพอื่ ใหไ้ ด้ผลการปฏบิ ัตงิ านท่ีดเี ลิศ สมรรถนะสาหรับขา้ ราชการพลเรือนไทยประกอบดว้ ยสมรรถนะ 2 ส่วน คือ 1. สมรรถนะหลัก 2. สมรรถนะเฉพาะงาน สมรรถนะหลัก คือ คุณลักษณะร่วมของข้าราชการพลเรือนไทยทั้งระบบเพ่ือหล่อหลอม ค่านิยม และพฤติกรรมที่พึงประสงคร์ ว่ มกัน ประกอบดว้ ย 5 สมรรถนะ คือ 1. การม่งุ ผลสมั ฤทธิ์ 2. การบริการทด่ี ี 3. การสั่งสมความเช่ียวชาญในงาน 4. จริยธรรม 5. ความรว่ มแรงรว่ มใจ

27 สมรรถนะประจากลมุ่ งานหรืองานเฉพาะ คือ สมรรถนะท่ีกาหนดเฉพาะสาหรับกลมุ่ งานเพอ่ื สนบั สนนุ ให้ บคุ ลากรแสดงพฤติกรรมที'เหมาะสมแกเ่ จ้าหนา้ ที่งานที'ต้องปฏบิ ตั จิ ัดทาสมรรถนะของหนว่ ยงาน 1. สมรรถนะหลกั 2. สมรรถนะเฉพาะงาน เทคนคิ การจดั ทาสมรรถนะ มี 5 ข้อ ดงั นี้ 1. ศกึ ษาวิสยั ทศั น์ และพันธกิจของหนว่ ยงาน 2. วเิ คราะห์พฤตกิ รรม (สมรรถนะ) ของบุคลากรในองค์กรว่าควรมีพฤตกิ รรมอย่างไร บา้ งท่จี ะส่งผลให้ พนั ธกิจบรรลุเปาู หมายอีกทัง้ สง่ ผลไปสวู่ ิสัยทัศน์ขององค์กร 3. รวบรวมพฤตกิ รรมตา่ ง ๆ เพ่อื นาไปสกู่ ารกาหนดเป็นสมรรถนะดา้ นใดบา้ ง 4. กาหนดนยิ าม หรือคาอธิบาย 5. จาแนกรายละเอยี ดพฤติกรรมในแตล่ ะระดบั สมรรถนะเฉพาะตามลกั ษณะงานที่ปฏบิ ัติ (สมรรถนะรอง) 1. การคดิ วิเคราะห์ (Analytical thinking) คาจากัดความ : การทาความเข้าใจและวิเคราะห์สถานการณ์ ประเด็นปัญหา แนวคิดโดยการ แยกแยะประเด็นออกเป็นส่วนย่อย ๆ หรือทีละข้ันตอน รวมถึงการจัดหมวดหมู่อย่างเป็นระบบระเบียบ เปรียบเทยี บแง่มุมต่าง ๆ สามารถลาดบั ความสาคญั ชว่ งเวลา เหตแุ ละผล ทมี่ าทไ่ี ปของกรณตี ่าง ๆ ได้ 2. การมองภาพองคร์ วม (Conceptual thinking) คาจากัดความ : การคิดในเชิงสังเคราะห์ มองภาพองค์รวม โดยการจับประเด็น สรุปรูปแบบ เชื่อมโยงหรือประยุกต์แนวทางจากสถานการณ์ ข้อมูล หรือทัศนะต่าง ๆ จนได้เป็นกรอบความคิดหรือ แนวคดิ ใหม่ 3. การใส่ใจและพัฒนาผ้อู ื่น (Caring others) คาจากัดความ : ความใส่ใจและตง้ั ใจทจี่ ะส่งเสรมิ ปรับปรุงและพัฒนาให้ผู้อ่ืนมีศักยภาพหรือมีสุข ภาวะทั้งทางปัญญา รา่ งกาย จิตใจ และทศั นคตทิ ่ีดีอย่างยั่งยืนเกินกวา่ กรอบของการปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ี 4. การสั่งการตามอานาจหนา้ ท่ี (Holding people accountable) คาจากัดความ : การกากับดูแลให้ผู้อ่ืนปฏิบัติตามมาตรฐาน กฎ ระเบียบ ข้อบังคับโดยอาศัย อานาจตามกฎหมาย หรือตามตาแหน่งหน้าท่ี การกากับดูแลนี้ หมายรวมถึงการออกคาส่ังโดยปกติทั่วไป จนถึงการใชอ้ านาจตามกฎหมายกับผ้ฝู าุ ฝนื 5. การสบื เสาะหาข้อมลู (Information seeking) คาจากัดความ : ความใฝุรู้เชิงลึกที่จะแสวงหาข้อมูลเก่ียวกับสถานการณ์ ภูมิหลัง ประวัติความ เปน็ มา ประเดน็ ปญั หา หรือเรื่องราวต่าง ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ งหรอื จะเป็นประโยชน์ในการปฏบิ ตั งิ าน 6. ความเข้าใจข้อแตกตา่ งทางวัฒนธรรม (Cultural sensitivity) คาจากัดความ: การรับรู้ถึงข้อแตกต่างทางวัฒนธรรม และสามารถประยุกต์ความเข้าใจเพ่ือสร้าง สัมพนั ธภาพระหวา่ งกันได้

28 7. ความเขา้ ใจผู้อน่ื (Interpersonal understanding) คาจากัดความ : ความสามารถในการรับฟังและเข้าใจความหมายตรง ความหมายแฝงความคิดตลอดจน สภาวะทางอารมณ์ของผู้ที่ติดตอ่ ดว้ ย 8. ความเข้าใจองค์กรและระบบราชการ (Organizational awareness) คาจากดั ความ : ความสามารถในการเข้าใจความสัมพันธ์เชิงอานาจตามกฎหมายและอานาจท่ีไม่ เป็นทางการ ในองค์กรของตนและองค์กรอื่นที่เกี่ยวข้องเพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่ให้บรรลุ เปาู หมาย รวมท้ังความสามารถที่จะคาดการณไ์ ด้ว่านโยบายภาครฐั แนวโนม้ ทางการเมือง เศรษฐกิจสังคม เทคโนโลยี ตลอดจนเหตุการณ์ ทีจ่ ะเกิดขึ้น จะมีผลตอ่ องค์กรอยา่ งไร 9. การดาเนินการเชงิ รกุ (Reactiveness) คาจากดั ความ : การเลง็ เห็นปญั หาหรือโอกาสพรอ้ มทง้ั จดั การเชงิ รุกกบั ปญั หาน้ันโดยอาจไม่มีใคร รอ้ งขอ และอย่างไม่ย่อท้อ หรือใช้โอกาสน้ันให้เกิดประโยชน์ต่องาน ตลอดจนการคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ใหม่ ๆ เกยี่ วกับงานดว้ ย เพอื่ แกป้ ัญหา ปูองกนั ปญั หา หรือสรา้ งโอกาสด้วย 10. การตรวจสอบความถูกต้องตามกระบวนงาน (Concern for order) คาจากัดความ : ความใส่ใจท่ีจะปฏิบัติงานให้ถูกต้อง ครบถ้วน มุ่งเน้นความชัดเจนของบทบาท หน้าที่ และลดข้อบกพร่องที่อาจเกิดจากสภาพแวดล้อม โดยติดตาม ตรวจสอบการทางานหรือข้อมูล ตลอดจนพฒั นาระบบการตรวจสอบเพอ่ื ความถูกต้องของกระบวนงาน 11. ความมนั่ ใจในตนเอง (Self confidence) คาจากัดความ : ความม่ันใจในความสามารถ ศักยภาพ และการตัดสินใจของตนท่ีจะปฏิบัติงาน ใหบ้ รรลุผล หรอื เลือกวิธที ่มี ปี ระสิทธภิ าพในการปฏบิ ัติงาน หรอื แก้ไขปญั หาให้สาเร็จลุลว่ ง 12. ความยืดหยนุ่ ผอ่ นปรน (Flexibility) คาจากัดความ : ความสามารถในการปรับตัว และปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพใน สถานการณ์และกลุ่มคนที่หลากหลาย หมายความรวมถึงการยอมรับความเห็นท่ีแตกต่างและปรับเปล่ียน วิธีการเมือ่ สถานการณ์เปล่ยี นไป 13. ศิลปะการส่อื สารจงู ใจ (Communication and influencing) คาจากัดความ : ความสามารถทจ่ี ะส่อื ความด้วยการเขียน พูด โดยใช้ส่ือต่าง ๆ เพ่ือให้ผู้อ่ืนเข้าใจ ยอมรบั และสนบั สนนุ ความคิดของตน 14. สุนทรยี ภาพทางศลิ ปะ (Aesthetic quality) คาจากดั ความ : ความซาบซง่ึ ในอรรถรสและเห็นคุณค่าของงานศิลปะท่ีเป็นเอกลักษณ์และมรดก ของชาติ รวมถงึ งานศิลปะอน่ื ๆ และนามาประยกุ ต์ในการสรา้ งสรรค์งานศลิ ปะของตนได้ 15. ความผูกพนั ที่มตี อ่ สว่ นราชการ (Organizational commitment) คาจากัดความ : จิตสานึกหรือความตั้งใจที่จะแสดงออกซึ่งพฤติกรรมท่ีสอดคล้องกับความ ต้องการ และเปาู หมายของส่วนราชการ ยึดถอื ประโยชนข์ องสว่ นราชการเป็นทีต่ ง้ั ก่อนประโยชนส์ ่วนตวั 16. การสร้างสัมพนั ธภาพ (Relationship building)

29 คาจากัดความ : สร้างหรือรักษาสัมพันธภาพฉันมิตร เพื่อความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้เกี่ยวข้องกับ งาน 2.3.4 การวัดสมรรถนะ การวัดสมรรถนะทาได้ค่อนข้างลาบาก จึงอาศัยวิธีการ หรือใช้เคร่ืองมือบางชนิด เพื่อวัด สมรรถนะของบุคคล ดังนี้ 2.3.4.1 ประวัติการทางานของบุคคลวา่ ทาอะไรบา้ ง มคี วามรู้ ทักษะ หรอื ความสามารถ อะไร เคยมปี ระสบการณอ์ ะไร มาบ้างจากประวตั ิการทางานทา ให้ได้ข้อมูลส่วนบุคคล 2.3.4.2 ผลประเมินการปฏิบตั งิ าน (Performance Appraisal) ซึ่งจะเป็นขอ้ มลู เก่ยี วกับ การปฏิบตั งิ านใน 5 ลักษณะ คือ 1) ผลการปฏบิ ัติทเี่ ป็นเน้อื งาน (Task Performance) เปน็ การทางานทไ่ี ด้ เน้ืองานแท้ ๆ 2) ผลงานการปฏิบัติ ท่ีไมใ่ ช่เนือ้ งานแต่เป็นบรบิ ทของเนือ้ งาน (Contextual Performance) ได้แก่ ลักษณะพฤติกรรมของคนปฏิบัติงาน เช่น การมีน้าใจเสียสละช่วยเหลือคนอ่ืนเป็น ตน้ 3) ผลการสัมภาษณ์ (Interview) ไดแ้ ก่ ข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ อาจจะ เป็นการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง คือ กาหนดคาสัมภาษณ์ไว้แล้ว สัมภาษณ์ตามที่กาหนดประเด็นไว้กับ การสัมภาษณแ์ บบแบบไม่มโี ครงสร้าง คอื สอบถามตามสถานการณ์ คล้ายกับเป็นการพูดคุยกันธรรมดา ๆ แต่ผสู้ ัมภาษณ์จะตอ้ งเตรียมคาถามไวใ้ นใจ โดยใช้กระบวนการสนทนาใหผ้ ้ถู ูกสัมภาษณ์สบายใจให้ข้อมูลท่ี ตรงกบั สภาพจรงิ มากที่สุด 4) ศนู ยป์ ระเมิน (Assessment Center) จะเป็นศนู ย์รวมเทคนคิ การวัดทาง จติ วิทยาหลาย ๆ อยา่ งเข้าดว้ ยกัน รวมทง้ั การสนทนากลุ่มแบบไมม่ หี วั หน้ากลุ่มรวมอยดู่ ้วยในศูนยน์ ้ี 5) (360 Degree Feedback) หมายถึง การประเมินรอบด้าน ไดแ้ ก่ การประเมิน จากเพื่อนร่วมงาน ผู้บงั คับบญั ชา ผูใ้ ตบ้ งั คับบญั ชาและลูกคา้ เพื่อตรวจสอบความรู้ ทกั ษะ และคุณลกั ษณะ 2.3.5 การตรวจสอบสมรรถนะ การตรวจสอบสมรรถนะ ว่าพฤติกรรมที่เกิดขึ้นน้ัน เป็นสมรรถนะท่ีต้องการหรือไม่มีข้อสังเกต เช่น เป็นพฤติกรรมที่สังเกตได้ อธิบายได้ สามารถลอกเลียนแบบได้ มีผลกระทบต่อความก้าวหน้าของ องค์กรเปน็ พฤตกิ รรมท่ีสามารถนาไปใช้ได้หลายสถานการณ์ และเป็นพฤติกรรมทต่ี อ้ งเกดิ ขึน้ บอ่ ย ๆ 2.3.6 ระดบั ของสมรรถนะ ระดับของสมรรถนะ หมายถึง ระดับความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะ ซึ่งแตกต่างกัน แบ่งเป็น2 ประเภท คือ 2.3.6.1 แบบกาหนดเป็นสเกล (Scale) สมรรถนะแตล่ ะตัวจะกาหนดระดับความรู้ทักษะ และคุณลักษณะแตกต่างกันตามปัจจัยจะกาหนดเป็นตัวชี้บ่งพฤติกรรม (Behavioral Indicator) ท่ี สะท้อนถึงความสามารถในแต่ละระดับ (Proficiency Scale) โดยกาหนดเกณฑ์การจัดระดับ

30 ความสามารถไว้ 5 ระดับ คือ ระดับเริ่มต้น (Beginner) ระดับมีความรู้บ้าง (Novice) ระดับมีความรู้ปาน กลาง (Intermediate) ระดับมคี วามรู้สูง (Advance) และระดับความเช่ียวชาญ (Expect) ในแต่ละเกณฑ์ ความสามารถมตี วั ชีว้ ดั พฤตกิ รรม ดังน้ี ตารางที่ 2.1 เกณฑค์ วามสามารถ และตัวชี้วัดพฤติกรรม เกณฑ์ความสามารถ ตัวช้ีวัดพฤตกิ รรม 1. ระดับเร่ิมต้น มีความรูท้ ่วั ไปเก่ยี วกับแนวคดิ และทฤษฎี 2. ระดบั มีความรบู้ า้ ง สามารถประยุกตแ์ นวคิด และทฤษฎีมาใชใ้ นงาน 3. ระดบั มีความรู้ปานกลาง สามารถนาความรู้ ทักษะ มาใชใ้ ห้เปน็ รูปธรรม 4. ระดับมีความรสู้ ูง สามารถแปลงทฤษฎมี าเปน็ เครือ่ งมือในการปฏิบตั ไิ ดจ้ รงิ 5. ระดบั ผเู้ ช่ียวชาญ สามารถกาหนดทิศทางยุทธศาสตรใ์ นการบรหิ ารจัดการ การแปลความหมายของเกณฑข์ า้ งตน้ เมอื่ เทียบกบั มาตรฐานทก่ี าหนดไวจ้ ะมี ดังนี้ 1. ระดับเริม่ ตน้ = ยงั ไม่สามารถทาได้ตามมาตรฐาน (Not Meet Standard) 2. ระดบั มีความรูบ้ า้ ง = ทาได้ตามมาตรฐานท่ีกาหนดไว้บางสว่ น (Partially Meet Standard) 3. ระดับที่สามารถทาได้ตามมาตรฐานที่กาหนด (Meet Standard) 4. ระดับทส่ี ามารถทาได้สงู กว่ามาตรฐานท่ีกาหนด (Exceeds Standard) 5. ระดับท่ีสามารถทาได้สงู กว่ามาตรฐานทีก่ าหนดมาก (Substantially Exceeds Standard) 2.3.6.2 แบบไมก่ าหนดเปน็ สเกลเป็นสมรรถนะท่เี ปน็ พฤติกรรมเชงิ ความรูส้ ึกหรอื เจตคติ ทไี่ มต่ ้องใชส้ เกล เชน่ ความซ่ือสตั ย์ ความตรงต่อเวลา เป็นตน้ 2.3.6 การนาสมรรถนะไปประยุกตใ์ ช้ การนาสมรรถนะ ไปประยกุ ต์ใชใ้ นการจัดการทรัพยากรมนุษย์ (HR) สามารถทาได้หลายประการ เช่น การวางแผนทรัพยากรมนุษย์จะเป็นการวางแผนทรัพยากรมนุษย์ทั้งความต้องการเก่ียวกับตาแหน่ง ซึ่งจะต้องเก่ียวข้องกับการกาหนดสมรรถนะในแต่ละตาแหน่ง เพ่ือให้ทราบว่าในองค์การมีคนที่เหมาะสม จะต้องมีสมรรถนะใดบ้าง เพ่ือให้สอดคล้องกับการวางกลยุทธ์ขององค์การการตีค่างานและการบริหาร ค่าจา้ ง และเงินเดือน สมรรถนะสามารถนามาใช้ในการกาหนดค่างาน การสรรหาและการคัดเลือก เมื่อมี การสมรรถนะไวแ้ ลว้ การสรรหาพนักงานก็ต้องให้สอดคล้องกับ สมรรถนะตรงกับตาแหน่งงาน การบรรจุ ตาแหน่ง ก็ควรคานึงถึงสมรรถนะของผู้มีคุณสมบัติเหมาะสม หรือมีความสามารถตรงตามตาแหน่งที่ ต้องการการฝึกอบรมและพัฒนา (Training and Development) การฝึกอบรม และพัฒนาก็ดาเนินการ ฝกึ อบรมให้สอดคลอ้ งกบั สมรรถนะของบุคลากรใหเ้ ต็มขดี สุดของแตล่ ะคนการวางแผนสายอาชีพ และการ สืบทอดตาแหน่ง องค์การจะต้องวางแผนเส้นทางอาชีพ (Career Path) ในแต่ละเส้นทางที่แต่ละคนก้าว เดินไปในแต่ละข้ันตอนน้ัน ต้องมีสมรรถนะอะไรบ้างองค์การจะช่วยเหลือให้ก้าวหน้าได้อย่างไร และ

31 ตนเองจะต้องพัฒนาอย่างไร ในองค์การจะต้องมีการสร้างบุคคลข้ึนมาแทนในตาแหน่งบริหารเป็นการสืบ ทอดจะตอ้ งมีการพฒั นาสมรรถนะอย่างไรและต้องมีการวัดสมรรถนะเพื่อนาไปสู่การพัฒนาอย่างไร ซ่ึงจะ นาไปสู่กระบวนการฝึกอบรมต่อไปการโยกย้าย การเลิกจ้าง การเลื่อนตาแหน่ง การทราบสมรรถนะของ แต่ละคนทาให้สามารถบริหารงานบุคคลเก่ียวกับการโยกย้าย การเลิกจ้าง และการเล่ือนตาแหน่งได้ง่าย และเหมาะสม และการจัดการผลการปฏิบัติงาน (Performance Management) เป็นการนาหลักการ จัดการทางคุณภาพที่ เรียกว่าวงจรคุณภาพ (PDCA) มาใช้ในการวางแผนทรัพยากรมนุษย์ ตั้งแต่การ วางแผนที่ต้องคานึงถึงสมรรถนะของแต่ละคน วางคนให้เหมาะกับงาน และความสามารถรวมท้ังการ ติดตามการทางาน และการประเมินผลก็พิจารณาจากสมรรถนะเป็นสาคัญ และนาผลท่ีได้ไปปรับปรุง ต่อไป 2.3.7 ประโยชนข์ องสมรรถนะ มีนักวชิ าการหลายท่านกลา่ วถึงประโยชน์ของสมรรถนะ ไว้ดังนี้ ณรงค์วิทย์ แสนทอง (2547 : 11-16) ได้กล่าวไว้ว่า การนาแนวคิดสมรรถนะ (Competency) มาประยุกตใ์ ช้มปี ระโยชนด์ ังนี้ 1. แนวคิดสมรรถนะ (Competency) ช่วยสนับสนุนในวิสัยทัศน์ ภารกิจ และกลยุทธ์ของ องค์การ และช่วยการสร้างกรอบแนวคิด พฤติกรรม ความเชื่อ ทัศนคติของคนในองค์การให้เป็นไปใน ทิศทางเดียวกันกับวิสัยทัศน์ ภารกิจ และกลยุทธ์ขององค์การและเปรียบเสมือนตัวเร่งปฏิกิริยาให้ บรรลุ เปูาหมายต่างๆ ไดด้ แี ละเรว็ ขน้ึ 2. แนวคิดสมรรถนะ (Competency) ช่วยสรา้ งวฒั นธรรมองคก์ าร ดงั น้ี 2.1 ช่วยสร้างกรอบการแสดงออกทางพฤติกรรมของคนในองค์การโดยรวมให้เป็นไปใน ทิศทางเดียวกนั 2.2 สนบั สนุนการดาเนนิ งานขององคก์ ารใหบ้ รรลุเปูาหมายได้อย่างมีประสทิ ธิภาพมาก ขน้ึ 2.3 ช่วยใหเ้ ห็นแนวทางในการพฒั นาบคุ ลากรในภาพรวมขององค์การไดช้ ดั เจนมากข้ึน 2.4 ชว่ ยปอู งกนั ไม่ใหเ้ กดิ วฒั นธรรมองคก์ ารตามธรรมชาตทิ ่ีไม่พงึ ประสงค์ 3. แนวคิดสมรรถนะ (Competency) เป็นเคร่ืองมอื ในการบรหิ ารงานด้านทรัพยากรมนษุ ย์ ดงั น้ี 3.1 การคัดเลอื กบุคลากร 3.1.1 ช่วยให้การคัดเลอื กคนเขา้ ทางานถูกตอ้ งมากขึ้นเพราะคนบางคนเก่งมี ความรู้ ความสามารถสูงหรือประสบการณ์ดีเด่น แต่อาจจะไม่เหมาะสมกับลักษณะการทางานใน ตาแหน่งนั้นๆ หรอื ไม่เหมาะกบั ลักษณะของวัฒนธรรมองค์การก็ได้ 3.1.2 นาไปใช้ในการออกแบบคาถามหรอื แบบทดสอบ 3.1.3 ลดการเสียเวลาและคา่ ใชจ้ า่ ยในการทดลองงาน 3.1.4 ช่วยลดการสูญเสียเวลาและทรพั ยากรในการพัฒนาฝึกอบรมพนกั งานใหม่ที่ มี ความสามารถไม่สอดคลอ้ งกับความต้องการของตาแหน่งงาน

32 3.1.5 ปูองกันความผิดพลาดในการคัดเลือก เพราะหลายคร้ังผู้ท่ีทาหน้าท่ี การ คัดเลือกมี ประสบการณ์น้อยกว่าผู้สมัครงาน 3.2 การพฒั นาและฝกึ อบรม 3.2.1 ใช้ในการจดั ทาเส้นทางความก้าวหน้าในการพัฒนาและการฝึกอบรม 3.2.2 ช่วยใหท้ ราบวา่ ผู้ดารงตาแหน่งนั้น ต้องมสี มรรถนะในเรอ่ื งอะไรบา้ ง และ ชอ่ งวา่ ง ระหว่างสมรรถนะที่ตาแหน่งต้องการกับสมรรถนะท่ีบุคคลนั้นมีจริงห่างกันมากน้อยเพียงใด เพ่ือนาไปจัด แผนพัฒนาสมรรถนะส่วนบคุ คลตอ่ ไป 3.2.3 ช่วยในการวางแผนพัฒนาผู้ดารงตาแหน่งให้สอดคล้องกับเส้นทาง ความก้าวหน้าใน อาชพี ดว้ ยการนาเอาสมรรถนะของตาแหน่งงานที่สูงข้ึนไปมาพัฒนาบุคลากร ในขณะ ที่บุคคลนั้นยังดารง ตาแหน่งทีต่ ่ากวา่ 3.3 การเล่ือนระดับและปรบั ตาแหนง่ 3.3.1 ใช้ในการพิจารณาความเหมาะสมในการดารงตาแหน่งหรือระดับที่สูงข้ึนไป โดย พิจารณาทงั้ ในเรื่องของสมรรถนะในงานและสมรรถนะทว่ั ไป เช่น ด้านการบริหารจัดการ ด้านการทางาน รว่ มกบั ผู้อนื่ และดา้ นระบบความคิด เปน็ ต้น 3.3.2 ชว่ ยปูองกันความผดิ พลาดในการเลื่อนระดับปรบั ตาแหนง่ 3.4 การโยกยา้ ยตาแหน่งหนา้ ท่ี 3.4.1 ช่วยใหท้ ราบว่าตาแหนง่ ที่จะย้ายไปน้ันจาเปน็ ตอ้ งมสี มรรถนะอะไรบ้าง แลว้ ผู้ทยี่ า้ ย ไปนั้นมหี รือไม่มีสมรรถนะอะไรบ้าง 3.4.2 ช่วยลดความเส่ียงในการปฏิบัติงาน เพราะถ้าย้ายคนท่ีมีสมรรถนะไม่ เหมาะสมไป อาจจะทาให้เสียท้ังงานและทงั้ กาลังใจของผูป้ ฏิบตั ิงาน 3.5 การประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ าน 3.5.1 ช่วยใหท้ ราบว่าสมรรถนะเร่ืองใดท่ี จะชว่ ยใหผ้ ู้ปฏิบัตงิ านสามารถปฏิบัติงาน ได้สูงกว่า ผลงานมาตรฐานท่ัวไป 3.5.2 ชว่ ยในการกาหนดแผนพัฒนาสมรรถนะสว่ นบุคคล 3.6 การบรหิ ารผลตอบแทน 3.6.1 ชว่ ยในการกาหนดอตั ราว่าจา้ งพนักงานใหมว่ า่ ควรจะได้รับผลตอบแทนท่ีเหมาะสมกบั ระดับสมรรถนะ ไม่ใช่กาหนดอตั ราจา้ งเริ่มตน้ ดว้ ยวุฒิการศกึ ษาเหมือนทีผ่ ่านมา 3.6.2 ช่วยในการจา่ ยผลตอบแทนตามระดับสมรรถนะของบคุ คลท่ีเกิดขึ้น ไม่ใช่ จ่ายผลตอบ แทนตามอายงุ านหรอื จานวนปที ท่ี างาน นิสดารก์ เวชยานนท์ (2548 : 32) กล่าวว่า ประโยชน์ที่เห็นได้ชัดเจนเม่ือนาเอาแนวคิด สมรรถนะ (Competency) มาใช้ในการบรหิ ารคน ดงั นี้ 1. ช่วยปรับปรงุ กระบวนการคัดสรรบคุ ลากร 2. ชว่ ยปรับปรงุ การประเมินศกั ยภาพของบุคคล

33 3. ชว่ ยพฒั นากระบวนการปรบั ปรงุ ผลการปฏิบัติงาน 4. ชว่ ยปรับปรุงกระบวนการสื่อสารเพื่อให้เกดิ ผลงานทม่ี ปี ระสิทธิภาพสงู 5. ชว่ ยใหพ้ นักงานมีการประเมินและพฒั นาตนเอง 6. เป็นเคร่ืองมือทสี่ าคญั ในการอบรมและช้ีแนะแก่พนักงาน 7. ช่วยพฒั นาและเสรมิ สรา้ งวัฒนธรรมองคก์ ารใหแ้ ขง็ แกรง่ 8. ชว่ ยสร้างทีมงานทป่ี ระสบความสาเร็จ 9. ช่วยให้การออกแบบงานมีประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น ธารงศักดิ์ คงคาสวัสด์ิ (2549 : 158-159) กล่าวว่า ในการนาแนวคิดสมรรถนะ (Competency) ไปประยุกต์ใช้ในภาคปฏิบัติกับหน่วยงานน้ัน สามารถนาไปใช้เป็นข้อมูลส่วนหน่ึง ไม่ได้ใช้ทั้งหมดร้อย เปอร์เซ็นต์ในกระบวนการบริหารทรัพยากรบคุ คลอ่ืน ๆ เชน่ 1. ใช้เปน็ ขอ้ มลู ในการจดั แนวทางการสรรหาและคดั เลือกบคุ ลากร 2. ใช้เปน็ ข้อมูลประกอบการขึ้นเงินเดอื นประจาปีและเลื่อนข้ันเล่ือนตาแหน่ง ปิยะชัย จันทรวงศ์ไพศาล (2549 : 75) ได้สรุปถึงประโยชน์ของการนาแนวคิดสมรรถนะ (Competency) มาประยุกต์ใชก้ บั การบรหิ ารจัดการทรพั ยากรมนษุ ยใ์ นดา้ นต่าง ๆ ดงั นี้ 1. ด้านการสรรหาและคัดเลอื ก 1.1 ทาใหม้ องเห็นภาพรวมของความต้องการในงานแตล่ ะตาแหนง่ 1.2 คัดสรรคนทีเ่ หมาะสมกับตาแหน่ง 1.3 ลดเวลาและค่าใช้จ่ายขององคก์ ารในการหาพนกั งาน 1.4 ใช้ในการสมั ภาษณร์ บั พนกั งานใหม่ 1.5 ชว่ ยในการเปรยี บเทียบให้เหน็ ถึงความแตกต่างระหว่างคนท่ี จะพัฒนาได้ง่ายและคน ท่ีจะ พัฒนาได้ยาก 2. การฝกึ อบรมและการพัฒนา 2.1 ช่วยทาให้พนักงานต้องหนั มาสนใจการพัฒนาเร่ืองทกั ษะ ความรู้ และคุณสมบัติ ต่าง ๆ ที่ จะทาให้เกดิ ประสทิ ธิภาพในการทางาน 2.2 ช่วยในการจดั ระเบียบพนกั งานให้เป็นไปตามภารกจิ และกลยทุ ธข์ ององค์การ 2.3 กอ่ ให้เกิดประสทิ ธภิ าพของการฝกึ อบรมและพฒั นาให้ค้มุ ค่าใช้จา่ ยและเวลา 2.4 สรา้ งกรอบการทางานสาหรับการสอนงานและการติดตามผล 3. การประเมินผล 3.1 ทาใหเ้ กดิ ความชัดเจนในการตดิ ตามและการวัดผล 3.2 ชว่ ยสนบั สนุนในการประเมินผลการทางาน 3.3 ใชเ้ ป็นการสังเกตพฤตกิ รรมของพนักงาน 4. การจา่ ยผลตอบแทน 4.1 ทาใหเ้ กิดการพฒั นาตนเองเพื่อใหไ้ ด้รับผลตอบแทนทีส่ ูงข้ึน

34 4.2 ชว่ ยสนับสนุนผลของการประเมินความสามารถ 4.3 มคี วามเป็นธรรมตอ่ พนกั งานทม่ี ีความสามารถตามมาตรฐานขององค์การที่กาหนด 5. การบริหารจดั การคนเกง่ 5.1 ชว่ ยทาให้เกดิ ความชดั เจนในความเข้าใจในเร่ืองของทักษะ ความรู้และคุณสมบัติ ของแต่ ละตาแหน่ง 5.2 ใชใ้ นการพิจารณาคดั สรรและประเมินเส้นทางอาชีพของพนกั งาน 5.3 ชว่ ยในการเตมิ ความสามารถทีย่ ังไมม่ ีเพยี งพอของพนักงานด้วยการฝึกอบรมและ พัฒนา อยา่ งเหมาะสม 5.4 ใช้เป็นดชั นีตวั หน่ึงในการบง่ ชถี้ งึ จานวนพนกั งานที่มศี ักยภาพสูงขององค์การ 5.5 ใช้ในการแบ่งประเภทของพนักงานตามศักยภาพการทางานเพ่ือนาไปสู่การวางแผน ฝึกอบรมและพฒั นารวมท้ังการบรหิ ารจัดการบุคลากรขององค์การ สรุปได้ว่าแนวคิดสมรรถนะ (Competency) เป็นเครื่องมือในการบริหารงานด้านทรัพยากร มนุษย์ช่วยปรับปรุงกระบวนการคัดสรรบุคลากร ช่วยการประเมินศักยภาพของบุคคล ช่วยพัฒนา กระบวนการปรับปรุงผลการปฏิบัติงาน ช่วยปรับปรุงกระบวนการสื่อสารเพ่ือให้เกิดผลงานที่มี ประสทิ ธิภาพสงู ชว่ ยให้พนกั งานมีการประเมนิ และพฒั นาตนเอง เปน็ เคร่ืองมือที่สาคัญในการอบรมและ ช้ีแนะแก่พนักงาน. ช่วยพัฒนาและเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์การให้แข็งแกร่ง ช่วยสร้างทีมงานท่ีประสบ ความสาเรจ็ และช่วยให้การออกแบบงานมีประสทิ ธผิ ลมากย่ิงข้ึน 2.4 กรอบคุณวุฒอิ าชีวศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2562 ตามที่มาตรา 17 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 กาหนดให้มีคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มีหน้าท่ีพิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนามาตรฐานและ หลักสูตรการอาชีวศึกษาทุกระดับ ที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและแผนการ ศึกษาแห่งชาติ และโดยท่ีได้มีการประกาศใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 - 2564 แผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 และคณะรัฐมนตรี ในคราวประชุมเม่ือวันท่ี 18 เมษายน 2560 ได้เห็นชอบกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการได้กาหนดให้ใช้ กรอบคุณวุฒิแห่งชาติดังกล่าว พร้อมท้ังมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 แล้วจึงสมควรปรับปรุง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ และมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาในแต่ละระดับการศึกษาให้ สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติแผนการศึกษาแห่งชาติ กรอบคุณวุฒิแห่งชาติ และ มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาในแต่ละระดับการศึกษาให้สอดคล้องกับแผนพั ฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาตแิ ผนการศกึ ษาแห่งชาติกรอบคณุ วฒุ แิ หง่ ชาติและมาตรฐานการศึกษาของชาตดิ งั กล่าว

35 2.4.1 การกาหนดมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพของสาขาวิชาและสาขางาน ตามประกาศกรอบคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2562 มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นกรอบ มาตรฐานในการกาหนดเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับ สาหรับสถานศึกษาหรือสถาบัน การอาชีวศึกษาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตร การจัดการเรียนการสอนและการ พัฒนาคณุ ภาพการจัดการศึกษา และเพอื่ ประโยชน์ตอ่ การรบั รองมาตรฐานคุณวฒุ ผิ ูส้ าเร็จการศึกษาดังนั้น ในการพัฒนาหลักสูตรแต่ละระดับจะต้องพิจารณาให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาท่ี กาหนดไว้สาหรับระดับวุฒิการศึกษาน้ัน เพ่ือกาหนดเป็นหลักการและจุดหมายของหลักสูตรแต่ละระดับ ส่วนลักษณะเฉพาะของการเป็นสาขาวิชาและสาขางาน นอกจากจุดประสงค์สาขาวิชาแล้ว “มาตรฐาน การศึกษาวิชาชีพ” ของสาขาวิชาและสาขางาน ก็ถือเป็นกรอบสาคัญสาหรับการกาหนดเนื้อหาสาระของ หลักสูตรและแนวทางในการพัฒนาผู้เรยี นและผู้สาเร็จการศึกษาใหม้ ีคณุ ภาพมาตรฐานตามระดบั หลกั สูตร สาขาวิชาและสาขางานนั้น ทั้งด้านคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ด้านความรู้ ด้าน ทักษะ และดา้ นความสามารถในการประยกุ ตใ์ ช้และความรบั ผดิ ชอบ การกาหนดมาตรฐานการศกึ ษาวชิ าชพี ของสาขาวิชาและสาขางาน เป็นการแปลงมาตรฐานอาชีพ หรือมาตรฐานสมรรถนะท่ีอาชีพต้องการตามระดับคุณวุฒิ ซึ่งได้จากการวิเคราะห์หน้าที่ของอาชีพแล้ว กาหนดเปน็ รายการสมรรถนะทีบ่ คุ คลในแตล่ ะตาแหน่งหน้าที่ของงานอาชีพต้องรู้ ต้องปฏิบัติได้และต้องมี คณุ ลกั ษณะที่ตอ้ งการ นามากาหนดเป็นคณุ ลกั ษณะและสมรรถนะของผู้เรียนเพื่อพัฒนาเป็นหลักสูตรฐาน สมรรถนะภายใต้เกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาในระดับท่ีเทียบเคียงกับระดับคุณวุฒิวิชาชีพ มาตรฐานการศึกษาวิชาชีพจึงเป็นกรอบทิศทางในการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการศึกษาสาหรับ สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สถาบันการอาชีวศึกษาและหรือสถานศึกษาให้เป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ ส่งผลให้ผู้สาเร็จการศึกษาในสาขาวิชาและสาขางานเดียวกันมีคุณภาพมาตรฐานใกล้เคียง กัน 2.4.2 กรอบแนวทางในการกาหนดมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพในหลักสูตรประกาศนียบัตร วิชาชีพพุทธศักราช 2562 และมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง พุทธศกั ราช 2563 นน้ั มีแนวทางในการเขียนดังน้ี 1. การเขียนรายการคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ในทุกระดับคุณวุฒิ อาชีวศึกษาต้องมุ่งเน้นการสร้างจิตสานึกและพฤติกรรมท่ีดีเพื่อการดาเนินชีวิตท้ังชีวิตประจาวันและการ ประกอบอาชีพ สอดคล้องกับรายการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของ ผู้สาเร็จการอาชีวศึกษา ซึ่งกาหนดให้สถานศึกษาและครูผู้สอนต้องสอดแทรกบูรณาการในการเรียนการ สอนและให้มีการประเมินผลในสัดส่วนร้อยละย่ีสิบในทุกรายวิชา รวมทั้งให้สอดแทรกบูรณาการใน กจิ กรรมเสรมิ หลักสูตรและกิจกรรมตา่ ง ๆ ของสถานศึกษาดว้ ย 2. การเขยี นรายการคณุ ภาพดา้ นความรู้ ดา้ นทกั ษะและด้านความสามารถในการประยุกต์ใช้และ ความรบั ผิดชอบ เพอื่ นาไปส่กู ารกาหนดรายวชิ าตามโครงสร้างหลักสูตร แบง่ เป็น

36 2.1 ด้านสมรรถนะแกนกลาง ได้แก่ ความรู้ ทักษะและความสามารถในการประยุกต์ใช้ในด้าน ภาษาและการสื่อสาร ด้านการคิดและการแก้ปัญหา และด้านสังคมและการดารงชีวิต เพื่อนาไปสู่การ กาหนดรายวิชาในหมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง สาหรบั สถานศึกษานาไปจดั และเลือกจดั ตามเง่ือนไขของ กลมุ่ วิชาตา่ ง ๆ ในหมวดวชิ าสมรรถนะแกนกลาง คือ 2.1.1 กลมุ่ วชิ าภาษาไทย 2.1.2 กลุม่ วชิ าภาษาตา่ งประเทศ 2.1.3 กลุ่มวชิ าวทิ ยาศาสตร์ 2.1.4 กล่มุ วชิ าคณิตศาสตร์ 2.1.5 กลุ่มวิชาสงั คมศึกษา (ระดบั ปวช.) หรอื สังคมศาสตร์ (ระดับ ปวส.) 2.1.6 กลมุ่ วิชาสขุ ศกึ ษาและพลศึกษา (ระดบั ปวช.) หรอื มนุษยศาสตร์ (ระดบั ปวส.) ท้ังนี้ สมรรถนะที่เกิดขึ้นจากการเรียนรู้รายวิชาในหมวดวิชาสมรรถนะแกนกลางน้ี จะ ประกอบด้วยสมรรถนะบังคับเพื่อการนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน และสมรรถนะเลือกท่ีสอดคล้องกับ สาขาวิชาเพ่ือการนาไปประยุกต์ใช้ในงานอาชีพ นอกจากน้ีจะต้องสอดคล้องกับการศึกษาขั้นพื้นฐานและ การอดุ มศกึ ษาตามระดบั ทเ่ี ทยี บเท่ากนั ดว้ ย เพื่อการศึกษาต่อหรอื การเทยี บเคยี งคุณวุฒกิ ารศึกษา 2.2 ด้านสมรรถนะวิชาชีพ ได้แก่ ความรู้ ทักษะและความสามารถในการประยุกต์ใช้ในด้านงาน อาชีพ เพื่อนาไปสกู่ ารกาหนดรายวชิ าในกล่มุ วิชาต่าง ๆ ในหมวดวชิ าสมรรถนะวิชาชพี แบง่ เปน็ 2.2.1 กลุ่มสมรรถนะวชิ าชพี บงั คับ เป็นกลุม่ รายวิชาทีผ่ ้เู รยี นในสาขาวชิ านน้ั ตอ้ งเรยี น เพื่อสะท้อนความเป็นสาขาวิชาท่ี ก.พ. รับรองคุณวุฒิ โดยจัดเป็นกลุ่มวิชาต่าง ๆ คือ กลุ่มสมรรถนะ วชิ าชีพพนื้ ฐาน ไดแ้ ก่ รายวชิ าบงั คับเพ่อื เป็นพ้นื ฐานและหรอื สนับสนุนงานอาชีพ ประกอบด้วยรายวิชาใน กล่มุ การจัดการอาชีพ กลมุ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และกลุ่มพื้นฐานงานอาชีพกลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ ได้แก่ กลุ่มรายวิชาชีพท่ีผู้เรียนในสาขาวิชาน้ันต้องเรียนเพื่อให้มีสมรรถนะหลักหรือสมรรถนะบังคับที่ สะท้อนความเป็นสาขาวิชากลุ่มฝึกประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพ เพื่อเติมเต็มประสบการณ์และความ พร้อมในการทางานในสถานประกอบการที่สอดคล้องกับสาขาวิชา สาขางานท่ีเรียนกลุ่มโครงงานพัฒนา สมรรถนะวชิ าชีพ เพื่อประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะในการประดิษฐ์คิดค้น พัฒนา แก้ปัญหาในงานอาชีพตาม สาขาวิชา สาขางานทเ่ี รยี น 2.2.2 กลมุ่ สมรรถนะวชิ าชพี เลอื ก ไดแ้ ก่ กลุ่มรายวชิ าทเ่ี ปิดโอกาสให้ผเู้ รยี นเลอื กเรยี น ตามความถนัดและความสนใจเพ่ือความเป็นเฉพาะทางในงานอาชีพ และหรือเพื่อเสริมสร้างความรู้ทักษะ และความสามารถในการประยุกต์ใช้ ทงั้ น้ี ความรู้ ทักษะและความสามารถในการประยุกต์ใชจ้ ะต้องมีการทวนสอบกับมาตรฐานอาชีพ และผู้เช่ียวชาญในงานอาชีพตามระดับคุณวฒุ ิ โดยสมรรถนะบังคับถือเป็นแก่นของสาขาวิชาซ่ึงสะท้อนถึง รายวิชาบังคับท่ีผู้เรียนต้องเรียน ส่วนสมรรถนะเลือกถือเป็นส่วนสะท้อนสาขางานที่ผู้เรียนเลือกเรียน อย่างไรก็ตามคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรสามารถพิจารณาเพิ่มเติมได้ตามความเหมาะสมกับระดับ คุณวุฒิและความต้องการของงานอาชีพ มาตรฐานการศึกษาวิชาชีพน้ีนอกจากจะใช้เป็นกรอบในการ

37 กาหนดรายวิชาตามโครงสร้างหลักสูตรสาขาวิชาและสาขางานแล้ว ยังใช้เป็นกรอบในการกาหนดเกณฑ์ และเคร่ืองมือประเมินมาตรฐานวิชาชีพเพื่อรับรองคุณภาพของผู้สาเร็จการศึกษาด้วย (หลักเกณฑ์และ แนวปฏิบัติการจัดการอาชีวศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพและระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง 2562 : 23-25) วัตถุประสงค์เพ่อื กาหนดเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับสาหรับใช้เป็นแนวทางใน การพัฒนาหลักสูตรหรือปรับปรุงหลักสูตรฐานสมรรถนะตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติมาตรฐานอาชีพหรือ ตามความต้องการของสถานประกอบการและตลาดแรงงานการพัฒนาการจดั การเรียนการสอนการพัฒนา คุณภาพการจดั การอาชวี ศึกษาและเพอื่ ประโยชนต์ ่อการรบั รองหลักสูตรและคุณวุฒิการศึกษาของผู้สาเร็จ การศึกษา กรอบคุณวุฒิอาชวี ศึกษาแห่งชาตริ ะดบั คณุ วฒุ ิอาชวี ศกึ ษา ไดแ้ ก่ 1. ระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชพี 2. ระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพชั้นสงู 3. ระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏบิ ตั ิการ คุณภาพของผู้สาเร็จการศึกษาทุกระดับคุณวุฒิอาชีวศึกษาประเภทวิชาและสาขาวิชาต้อง ครอบคลมุ อยา่ งนอ้ ย 4 ดา้ น คอื 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรมและคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ หมายถึง ความเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรมจรรยาบรรณวิชาชีพเจตคติและกิจนิสัยท่ีดีภูมิใจและรั กษาเอกลักษณ์ของชาติไทยเคารพ กฎหมายเคารพสิทธิของผู้อ่ืนมีความรับผิดชอบตามบทบาทหน้าท่ีของตนเองตามระบอบประชาธิปไตย อันมพี ระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมขุ มีจิตสาธารณะและมจี ติ สานึกรักษ์สงิ่ แวดลอ้ ม 2. ด้านความรู้ หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับข้อเท็จจริงหลักการทฤษฎีและแนวปฏิบัติต่าง ๆ ท่ี เกยี่ วขอ้ งกับสาขาวชิ าทีเ่ รยี นหรือทางานโดยเน้นความรู้เชิงทฤษฎีและหรือข้อเทจ็ จริงเปน็ หลัก 3. ด้านทักษะ หมายถึง ความสามารถปฏิบัติงานซ่ึงบุคคลนั้นควรทาได้เม่ือได้รับมอบหมายโดย สามารถเลือกใช้วิธีการจัดการและแก้ปัญหาการทางานด้วยทักษะด้านกระบวนการคิดที่เก่ียวข้องกับการ ใชต้ รรกะทกั ษะการหยง่ั รู้และความคิดสร้างสรรค์ทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตหรือทักษะการปฏิบัติหรือวิธี ปฏิบัติที่มีความคล่องแคล่วและความชานาญในการปฏิบัติตามเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละ ระดับ 4. ด้านความสามารถในการประยุกต์ใช้และความรับผิดชอบหมายถึงความสามารถของบุคคลที่ เกดิ จากกระบวนการเรยี นรกู้ ารใช้ความรู้ทักษะทางสังคมในการทางานหรอื การศึกษาอบรมเพ่ือการพัฒนา วชิ าชพี ของบคุ คลซ่ึงประกอบไปด้วยความสามารถในการส่ือสารภาวะผู้นาความรับผิดชอบและความเป็น อิสระในการดาเนินการต่าง ๆ ได้ด้วยตนเองเช่นความสามารถในการตัดสินใจและความรับผิดชอบต่อ ตนเองและผู้อืน่

38 สรุปได้ว่า กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษา หมายถึง หน่วยงานและสถานประกอบการหรือ บุคคลท่ีจัดต้ังธุรกิจใหม่โดยเผชิญกับความเส่ียงและความไม่แน่นอนทางธุรกิจเพ่ือแสวงหาผล กาไรและ ความเติบโตม่งุ หาความต้องการของตลาดแรงงานเพ่ือสนองการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนการพัฒนา คณุ ภาพการจดั การอาชวี ศกึ ษา 2.4.3 บทบาทและภารกจิ ของหนว่ ยงานท่เี กี่ยวขอ้ งกับกรอบคณุ วฒุ แิ หง่ ชาติ ในการดาเนินงานขับเคล่ือนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติให้ประสบความสาเร็จและบรรลุเปูาหมาย สามารถเป็น เครื่องมือสาคัญในการปฏิรูปการศึกษาและพัฒนากาลังคนของประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงมีการ กาหนดบทบาทและภารกิจของหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ท้ังหน่วยงานทางด้านการศึกษา หน่วยงานด้าน มาตรฐานอาชีพ ตลอดจนสถานศกึ ษา/องคก์ รฝึกอบรม ซ่ึงต้องเช่ือมโยงและประสานการทางานอย่างเป็น ระบบ เพื่อสร้างความเช่ือมั่นว่าผลลัพธ์การเรียนรู้จากระบบการศึกษาทุกระดับเชื่อมโยงหรือเป็นไปตาม สมรรถนะการปฏิบัติงานของผู้ใช้แรงงาน และมีระบบการประกันคุณภาพที่สร้างความเช่ือม่ันท้ัง ภายในประเทศและระดับสากล

39 องค์กรด้านการศึกษา องค์กรกลาง สถานศึกษาและองคก์ ร ฝึกอบรม •พัฒนาหลักสตู รใหม/่ • พัฒนานโยบายและแผนการดาเนินงาน ปรับ เพอ่ื ผลกั ดนั ใหม้ กี ารเชือ่ มโยงระหว่าง • จดั การเรยี นการสอน หลักสตู รเดมิ ใหส้ อดคลอ้ ง คณุ วุฒกิ ารศึกษากับมาตรฐานอาชีพ และการฝกึ อบรมที่ กับกรอบคุณวฒุ ิแหง่ ชาติ • จดั ทาเกณฑม์ าตรฐาน และให้การรบั รอง สอดคล้องกบั มาตรฐาน • ขนึ้ ทะเบยี นหลักสตู ร หลักสตู รท่ีสอดคล้องกับกรอบคณุ วุฒแิ ห่งชาติ อาชพี ตาม • พฒั นาระบบการประกันคณุ ภาพการศึกษา • รว่ มมอื กบั สถาน กรอบคณุ วฒุ แิ ห่งชาติ ทั้งระดับหลกั สูตรและระดับสถาบนั เพ่ือให้ ประกอบการ • สนับสนนุ การพัฒนาครู การจดั การเรยี นการสอนเปน็ ไปตามกรอบ ในการจัดการเรยี นการ และอุปกรณก์ ารเรียนการ คณุ วฒุ ิแห่งชาติ สอน/การฝึกอบรม สอน • พฒั นาระบบการเทยี บเคียง เพ่อื สรา้ ง • วดั และประเมินผล • ติดตามและรายงานผล ความก้าวหนา้ ใหก้ บั ผเู้ รียนและกาลัง ผู้เรยี นตามสภาพจริงเพอ่ื การดาเนนิ งาน แรงงาน โดยเชื่อมโยงระบบคณุ วฒุ ิ ประเมนิ สมรรถนะตามท่ี การศกึ ษากับมาตรฐานอาชีพ กรอบคุณวุฒแิ ห่งชาติ องค์กรด้านมาตรฐาน • จดั ระบบและพฒั นาฐานข้อมลู ระบบคุณวฒุ ิที่ กาหนด อาชพี สอดคล้องกบั กรอบคณุ วฒุ แิ หง่ ชาติ • ติดตาม ประเมินผล และสง่ เสริมการ • จัดทา ปรับปรุง พัฒนา พฒั นาหลักสตู รใหส้ อดคล้องกับการ มาตรฐานอาชพี ให้ เปลย่ี นแปลงท้ังของประเทศและสงั คมโลก สอดคล้องกบั ความต้องการ • พฒั นาระบบการเทียบเคียงกรอบคณุ วุฒิ ของประเทศและสากล แหง่ ชาตกิ ับกรอบคณุ วฒุ อิ ้างองิ อาเซียน • สนับสนุนใหอ้ งคก์ รดา้ น และสากล การศกึ ษานามาตรฐาน • ประชาสมั พันธ์ สร้างความรคู้ วามเขา้ ใจ อาชีพไปพฒั นาหลักสตู ร ให้กับทุกภาคสว่ นในสงั คม และสรา้ ง ฐานสมรรถนะท่ีสอดคล้อง เครือข่ายความร่วมมอื ระหวา่ งหนว่ ยงานที่ กบั ความต้องการของ เก่ยี วขอ้ ง ตลาดแรงงาน • พฒั นาระบบทดสอบเพ่ือ พัฒนาทักษะ ความรู้ และ ยกระดับมาตรฐานอาชพี ภาพที่ 2.3 แสดงบทบาทและภารกิจของหน่วยงานท่เี กย่ี วข้องกบั กรอบคุณวฒุ ิแห่งชาติ ท่มี า : กรอบคุณวฒุ แิ ห่งชาติ (ฉบบั ปรบั ปรุง) (2562 : 17)

40 2.4.4 มาตรฐานการศึกษาวิชาชีพ หลังจากกาหนดจุดประสงค์สาขาวิชาซ่ึงเป็นการกาหนดถึงคุณลักษณะและสมรรถนะวิชาชีพที่ ต้องการอย่างกว้าง ๆ แล้ว ขั้นต่อมาจะเป็นการกาหนดมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพของสาขาวิชา และ สาขางานซง่ึ เป็นการกาหนดผลสัมฤทธ์ิของผเู้ รียนในด้านคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ด้านความรู้ ด้านทักษะ และด้านความสามารถในการประยุกต์ใช้และความรับผิดชอบ จาแนกตาม สมรรถนะแกนกลางและสมรรถนะวิชาชีพท่ีสอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาและ มาตรฐานอาชีพตามระดับคุณวุฒิวิชาชีพ ซ่ึงเป็นการระบุคุณลักษณะและสมรรถนะที่ต้องการที่ละเอียด และชัดเจนมากขึ้นทั้งสมรรถนะบังคับและสมรรถนะเลือก เพ่ือนาไปสู่การกาหนดรายวิชาในหมวดวิชา กลุ่มและกลุ่มวิชาต่าง ๆ ในหลักสูตรฐานสมรรถนะท่ีมีความสอดคล้องกับมาตรฐานอาชีพและความ ต้องการของสถานประกอบการ และจะต้องมกี ารวเิ คราะหท์ วนสอบดว้ ยวา่ รายวิชาท่ีพัฒนาข้ึนน้ันสามารถ ทาให้เกิดมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพจริงหรือไม่ รายการใดบ้าง เป็นสมรรถนะบังคับหรือสมรรถนะเลือก และสมรรถนะเหล่าน้ันตรงกับระดับคุณวุฒิอาชีวศึกษาและคุณวุฒิวิชาชีพหรือไม่กล่าวคือ ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพเทียบเคียงกับคุณวุฒิวิชาชีพระดับ 2-3 และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง เทียบเคียงกับคณุ วุฒิวชิ าชพี ระดบั 4-5 มาตรฐานการศกึ ษาวชิ าชีพนยี้ ังใช้เป็นกรอบในการกาหนดเกณฑ์และเคร่ืองมือประเมินมาตรฐาน ฐานวชิ าชีพ เพ่อื การรบั รองคุณภาพมาตรฐานของผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาแต่ละระดับสาขาวิชาและ สาขางานด้วย การเขียนมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพแต่ละสาขาวิชาและสาขางานจึงต้องเขียนให้ชัดเจน สามารถวัดและประเมนิ ผลไดจ้ ริง ประกอบดว้ ย 1. ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและคณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ มาตรฐานการศึกษาวชิ าชพี ด้านน้ี จะกาหนดไวเ้ หมือนกนั ทกุ ระดับคณุ วุฒิอาชีวศึกษา และจะไม่มี รายวิชาที่กาหนดให้เรียนรู้และปฏิบัติโดยตรง แต่ให้ครูผู้สอนนาไปบูรณาการสอดแทรกควบคู่กับ กระบวนการจัดการเรียนการสอนแต่ละรายวิชา โดยให้กาหนดสัดส่วนการประเมินด้านจิตพิสัยไว้ร้อยละ ยี่สิบในทุกรายวิชา รวมท้ังการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร กิจกรรมของสถานศึกษา และหรือกิจกรรมของ สถานประกอบการสาหรับผเู้ รยี นทวิภาคี ประกอบด้วย 1.1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม ประกอบด้วยรายการคุณธรรม จริยธรรมที่ผู้เรียนและผู้สาเร็จ การอาชีวศึกษาทกุ ระดับ ทกุ สาขาวชิ า พึงมีเพอื่ ความเป็นพลเมืองและพลโลกท่ดี ี 1.2 ด้านคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ประกอบด้วยรายการพฤติกรรมลักษณะนิสัยของผู้เรียน และผู้สาเร็จการอาชีวศึกษาทุกระดับ ทุกสาขาวิชา ที่ต้องพัฒนาให้เกิดเป็นกิจนิสัยที่ดีในการดาเนินชีวิต และการประกอบอาชพี

41 2. ดา้ นสมรรถนะแกนกลาง สมรรถนะแกนกลาง ได้แก่ ความรู้ ทักษะ และความสามารถในการประยุกต์ใช้และความ รับผิดชอบ ในด้านภาษาและการส่ือสาร ด้านการคิดและการแก้ปัญหา และด้านสังคมและการดารงชีวิต ซึ่งเกิดจากการเรียนรู้และปฏิบัติรายวิชาในหมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง เพ่ือนาไปใช้และหรือ ประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจาวนั การเรียนรายวชิ าชีพและการประกอบอาชีพ ตลอดจนเพื่อการศึกษาต่อ ดังที่ กลา่ วไว้ในหนา้ 24 คอื 2.1 ด้านภาษาและการสื่อสาร ได้แก่ รายวิชาในกลุ่มวิชาภาษาไทย และกลุ่มวิชา ภาษาต่างประเทศ 2.2 ด้านการคิดและการแก้ปัญหา ได้แก่ รายวิชาในกลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ และกลุ่มวิชา คณิตศาสตร์ 2.3 ด้านสงั คมและการดารงชีวิต ได้แก่ รายวิชาในกลุ่มวิชาสังคมศึกษา (หลักสูตร ปวช.)/กลุ่ม วิชาสังคมศาสตร์ (หลักสูตร ปวส.) และกลุ่มวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา (หลักสูตร ปวช.)/กลุ่มวิชา มนุษยศาสตร์ (หลกั สูตร ปวส.) ทั้งนี้ สมรรถนะท่ีเกิดขึ้นจากการเรียนรู้รายวิชาในหมวดวิชาสมรรถนะแกนกลางนี้ จะ ประกอบด้วยสมรรถนะบังคับเพื่อการนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน และสมรรถนะเลือกท่ีสอดคล้องกับ สาขาวิชาเพ่ือการนาไปประยุกต์ใช้ในงานอาชีพ นอกจากน้ีจะต้องสอดคล้องกับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานและ การอดุ มศึกษาตามระดับที่เทียบเทา่ กันดว้ ย เพอื่ การศึกษาต่อหรอื การเทยี บเคยี งคุณวุฒิการศึกษา 3. ด้านสมรรถนะวชิ าชพี ดังที่กล่าวไว้แล้วในหน้า 24-25 ว่าสมรรถนะวิชาชีพเป็นมาตรฐานท่ีต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ในสาขาวิชาและสาขางาน โดยแปลงมาจากมาตรฐานอาชีพตามระดับคุณวุฒิวิชาชีพ ได้แก่ ด้านความรู้ ดา้ นทักษะ และด้านความสามารถในการประยุกต์ใช้และความรับผิดชอบ ประกอบด้วยสมรรถนะวิชาชีพ บังคับท่ีผู้เรียนในสาขาวิชานั้นต้องเรียนเพื่อสะท้อนความเป็นสาขาวิชาท่ี ก.พ. รับรองคุณวุฒิ และ สมรรถนะวิชาชีพเลือกซึ่งผู้เรียนในสาขาวิชานั้นสามารถเลือกเรียนในสาขางานที่สนใจเพื่อเป็นสมรรถนะ เฉพาะทางในการประกอบอาชีพ ท้ังนี้ ผสู้ าเร็จการศึกษาอาชีวศึกษา ทุกคนจะต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน มาตรฐานวชิ าชพี ท้ังภาคความรู้และภาคปฏิบตั ิตามสมรรถนะวชิ าชีพของสาขาวิชาและสาขางานที่กาหนด ไวด้ ้วย 3.1 สมรรถนะวิชาชีพบังคับ จะนาไปสู่การกาหนดรายวิชาชีพในหมวดวิชาสมรรถนะวิชาชีพ กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพพื้นฐาน กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ กลุ่มฝึกประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพและ กลุ่มโครงงานพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ ซึ่งผู้เรียนจะต้องเรียนทุกรายวิชาท่ีกาหนดไว้ในโครงสร้างหลักสูตร โดยในบางสาขาวชิ าอาจมกี ารกาหนดลาดับรายวชิ าดว้ ยว่าจะตอ้ งเรยี นรายวิชาใดก่อน-หลัง

42 3.2 สมรรถนะวิชาชีพเลือก จะนาไปสู่การกาหนดกลุ่มรายวิชาในสาขางาน ซ่ึงเปิดโอกาสให้ ผเู้ รียนได้เลอื กเรียน หลังจากมีความรู้และทักษะที่จาเป็นจากการเรียนรายวิชาชีพพ้ืนฐานและรายวิชาชีพ เฉพาะทีก่ าหนดแลว้ ทัง้ นี้ ความรู้ ทกั ษะและความสามารถในการประยุกต์ใช้จะต้องมีการทวนสอบกับมาตรฐานอาชีพ และผู้เชี่ยวชาญในงานอาชีพตามระดับคณุ วฒุ ิ โดยสมรรถนะบังคับถือเป็นแก่นของสาขาวิชาซ่ึงสะท้อนถึง รายวิชาบังคับที่ผู้เรียนต้องเรียน ส่วนสมรรถนะเลือกถือเป็นส่วนสะท้อนสาขางานท่ีผู้เรียนเลือกเรียน อย่างไรก็ตามคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรสามารถพิจารณาเพิ่มเติมได้ตามความเหมาะสมกับระดับ คุณวุฒิและความต้องการของงานอาชีพ มาตรฐานการศึกษาวิชาชีพนี้นอกจากจะใช้เป็นกรอบในการ กาหนดรายวิชาตามโครงสร้างหลักสูตรสาขาวิชาและสาขางานแล้ว ยังใช้เป็นกรอบในการกาหนดเกณฑ์ และเครอ่ื งมอื ประเมินมาตรฐานวิชาชพี เพอ่ื รบั รองคุณภาพของผูส้ าเร็จการศึกษาดว้ ย 2.5 แนวคิดการจัดการอาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคี แนวคิดการจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี จะประกอบด้วยผู้เข้าร่วมงาน 2 ฝุาย คือ สถาน ประกอบการ และสถาบันการอาชีวศึกษา ร่วมกันฝึกอาชีพและให้ความรู้แก่นักเรียน นักศึกษา โดยสถาน ประกอบการเน้นการฝึกด้านทักษะอาชีพ และสถาบันการอาชีวศึกษาเน้นการจัดการเรียนการสอนใน ภาคทฤษฎี โดยแตล่ ะฝุายมพี ันธกจิ ดงั นี้ (สานกั งานโครงการอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี, 2543 : 5) 1. สถานประกอบการรับผิดชอบในการฝึกอาชีพให้แก่นักเรียน นักศึกษา ตามข้อตกลง ร่วม กับ สถาบันการอาชีวศึกษา โดยเน้นการฝึกให้ผู้เรียนมีความชานาญในการปฏิบัติงาน และเรียนรู้วัฒนธรรม ของการทางาน ซึ่งสถานประกอบการจะเปน็ ผู้รับสมัครนกั เรียน นักศึกษา ตามกฎระเบียบของสถาบันการ อาชีวศึกษาหรือคัดเลอื กร่วมกบั สถาบันการอาชีวศึกษา 2. สถาบันการอาชีวศึกษาจัดการเรียนการสอนวิชาพ้ืนฐาน และวิชาชีพพ้ืนฐานตามข้อตกลง ร่วมกันกับสถานประกอบการ โดย ครู อาจารย์ ในสถานศึกษาจะให้ความรู้ด้านทฤษฎีท่ีจาเป็น และ สอดคลอ้ งตอ่ การฝึกทกั ษะวชิ าชพี ในสถานประกอบการ ดังน้ัน ผู้เรียนในระบบทวิภาคีจึงมีสถานะเป็นทั้งนักเรียน นักศึกษา ในสถาบันการอาชีวศึกษา และเป็นพนักงานฝึกอาชีพในสถานประกอบการในเวลาเดียวกัน นักเรียน นักศึกษา จึงมีทักษะ และ ความรู้ท่ีจะทางานได้เป็นอย่างดี มีโอกาสประกอบอาชีพอิสระ หรือหางานทาได้โดยง่ายเพราะมีความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ และได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) หรือระดับปรญิ ญาสายเทคโนโลยี หรือสายปฏิบัติการ 2.5.1 ประโยชน์ของการจดั การอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีมีประโยชน์ ดังน้ี (สานักงานโครงการอาชีวศึกษาระบบทวิ ภาค,ี 2543 : 6-7)

43 1. สถานประกอบการเป็นผู้มีส่วนร่วมในการจัดการอาชีวศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ ซงึ่ ถอื ว่าเปน็ การบรกิ ารสงั คมด้านการศกึ ษา และเปน็ ผมู้ สี ว่ นร่วมในการผลิต และพัฒนากาลังคน ระดบั อาชวี ศึกษา ช่างฝมี อื ระดบั เทคนคิ และเทคโนโลยี ใหต้ รงกับความต้องการของตลาดแรงงาน 1.1 เป็นการพัฒนาบคุ ลากรทเ่ี ป็นครฝู กึ ของสถานประกอบการให้มีความรู้ความสามารถ ในการถา่ ยทอดความรู้ และสร้างความภาคภมู ิใจให้กับพนักงานที่ทาหน้าท่ีเปน็ ครูฝกึ 1.2 สนองความตอ้ งการของสถานประกอบการทีจ่ ะได้แรงงานที่มีฝมี ือในอนาคต 2. สถานศึกษา ได้แลกเปล่ียนความรู้ ประสบการณ์ และได้รับการสนับสนุนในด้านอุปกรณ์ เครื่องมอื จากสถานประกอบการ 3. นักเรยี น นกั ศกึ ษา 3.1 ได้เรียนรู้ท้ังในสถาบันการอาชีวศึกษา และสถานประกอบการ ทาให้มีความรู้ มี ประสบการณต์ รงจากการฝกึ ปฏิบัติในสถานประกอบการ 3.2 ไดส้ วสั ดกิ ารหรือเบ้ียเลี้ยงจากสถานประกอบการ ซ่งึ ช่วยประหยดั คา่ ใชจ้ ่ายของ ผู้ปกครอง เมื่อสาเร็จการศึกษาจะได้รับใบรับรองการผ่านงานจากสถานประกอบการ และได้รับประกาศนียบัตร วชิ าชีพ (ปวช.) หรอื ประกาศนยี บตั รวิชาชพี ช้ันสูง (ปวส.) หรือปรญิ ญาสายเทคโนโลยหี รือสายปฏบิ ัติการ 3.3 ได้งานทมี่ รี ายไดด้ ี หรอื มโี อกาสที่จะเปน็ เจ้าของกจิ การ สรุปได้ว่า การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีมีประโยชน์ท้ังต่อสถานประกอบการสถานศึกษา นักเรยี น นกั ศึกษา และผู้ปกครอง 2.5.2 จุดเดน่ และขอ้ จากัดของการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีมีดังนี้ (สานักงานโครงการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี, 2543, หนา้ 3-4) 1. ประโยชน์ของการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีที่มีต่อทุกฝุายที่เก่ียวข้อง เช่น สถาน ประกอบการ สถานศกึ ษา และนักเรียน นกั ศึกษา 2. สถานศึกษาสามารถรับนักเรียน นักศึกษาได้เพ่ิมมากข้ึนหลังจากที่นักเรียน นักศึกษา อาชีวศึกษาระบบทวิภาคถี กู ส่งเข้ารับการฝกึ อาชีพในสถานประกอบการ 3. ผู้สาเร็จการศึกษาในระบบทวิภาคี สามารถตอบสนองความต้องการของสถานประกอบ การ ในเรอ่ื งของความมรี ะเบียบวินัย ความรบั ผิดชอบ ความซอื่ สัตย์ และนสิ ัยรกั การทางาน 4.การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีก่อให้เกิดการรับรู้ของครูในสถานศึกษา เพ่ือตอบรับ กับ เทคโนโลยีใหม่ ๆ และความต้องการของตลาดแรงงาน ในขณะเดียวกันก็กระตุ้นให้สถานประกอบ การ พฒั นาครูฝึกประจาสถานประกอบการของตนรวมถึงเครือ่ งมอื อุปกรณ์ และสง่ิ อานวยความสะดวก ต่าง ๆ 5. ผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี จะมีความม่ันใจในตนเองมากกว่านักเรียน นกั ศึกษาปกติ และมคี วามผูกพันกับสถานประกอบการ 6. สถานประกอบการสามารถลดต้นทนุ ค่าใชจ้ า่ ย และประหยดั เวลาในการฝกึ อบรมพนักงานใหม่

44 7. การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีกระตุ้นให้เกิดความรับผิดชอบร่วมกัน และความร่วมมือ ระหว่างสถานศึกษาและสถานประกอบการ ความพยายามนี้จะนาไปสู่การมีมนุษยสัมพันธ์ และในเรื่อง อ่ืน ๆ ทเี่ กี่ยวข้องกับการพฒั นา อย่างไรก็ตามผลการประเมินการประชุมเร่ืองการจัดและประเมินผลในระบบทวิภาคี พบว่าการ จดั การอาชวี ศกึ ษาระบบทวภิ าคีมจี ุดอ่อนดังน้ี (ศนู ยน์ ิเทศอาชวี ศึกษาภาคเหนอื , 2545 : 1-3) 1. ขาดมาตรฐานในการวัดผล และประเมนิ ผล 2. ขาดการประสานงานระหวา่ งสถานประกอบการกับสถานศึกษาในรายละเอียดเรื่อง การวัดผล และประเมนิ ผล 3. แบบประเมนิ ผลของสถานศกึ ษาไม่ตรงกับสถานประกอบการ เพราะสถานประกอบการ เน้นที่ เนือ้ หาของงานทีฝ่ กึ 4. นักเรียน นักศึกษาท่ีเรียนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี มีความรู้ในรายวิชาภาคทฤษฎีน้อย กว่า นกั เรียน นกั ศึกษาทีเ่ รยี นระบบปกติ จากแนวคิดดังกล่าว สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จึงได้ร่วมมือกับสถานประกอบ การจัดการเรียนการสอนระบบทวิภาคี (Dual Vocational Training: DVT) โดยเน้นการนาหลักสูตรฐาน สมรรถนะมาใช้ และทาการปรับปรุงสถานศึกษาให้ทุกแห่งมีการจัดห้องเรียน 3 รูปแบบ คือ ห้องเรียน ปกติ (basic) ห้องเรียนสาหรับสืบค้นเทคโนโลยีสารสนเทศ (basic for information technology) และ หอ้ งเรียนทันสมยั (advance) เพอื่ ให้ผเู้ รียนมีคณุ สมบัตติ รงตามความต้องการของสถานประกอบการ โดย สถานศกึ ษาแต่ละแห่งสามารถกาหนดรายละเอียดหลักสูตรที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างอิสระ สามารถปรับเปล่ียนให้ตรงตามความต้องการของแต่ละท้องถ่ินโดยกาหนดหลักสู ตรฐานสมรรถนะเป็น กรอบไว้ อีกท้ัง เพื่อช่วยให้นักเรียน นักศึกษามีพื้นฐานความรู้ใกล้เคียงกับประสบการณ์จริง โดยใช้ โปรแกรมสาเร็จรปู จาลองการทา 2.6 แนวคิดเก่ียวกับความรว่ มมือ ภาคีเครือขา่ ย ทฤษฎีว่าด้วยชุมชน การพัฒนาประเทศในปัจจุบันได้ให้ความสาคัญกับ “ชุมชน” มากยิ่งข้ึน เพราะชุมชนเป็น รูปแบบการมีวิถีชีวิตร่วมกันอย่างต่อเน่ือง กลุ่มบุคคลในชุมชนมีการพ่ึงพาอาศัยท้ัง ทรพั ยากรทาง ธรรมชาติและทรัพยากรทางวัฒนธรรม แม้ตัวตนของชุมชนเคยล่มสลายในช่วงการมุ่งเน้น สร้างความ เป็นรัฐชาติ (National State) แต่ก็กลับมามีความสาคัญเม่ือแนวความคิดการกระจายอานาจ ท่ี เรียกร้องใหป้ ระชาชนมสี ่วนร่วมทางการเมอื งการปกครองมากขึน้ จงึ มีการมองหารากฐานที่แท้จริง ของ สังคมการเมืองการปกครองนั่นก็คือ “ชุมชน” ซ่ึงถือว่าเป็นแหล่งรวมของบุคคลที่อยู่ร่วมกันทั้งเชิง พื้นที่ และเชิงวัฒนธรรม และเปน็ องค์กรทม่ี ีพลังทางการเมืองเบ้ืองต้นของประเทศ ท้ังยังเป็นส่วน สาคัญในการ สร้างความเข็มแข็งของประเทศโดยการสร้างให้ชุมชนมีความเข็มแข็ง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความเข็มแข็ง ทางกฎหมาย (Legal Empowerment) เพราะการปกครองประเทศจะตอ้ งอาศัยกลไก ทางกฎหมาย การ