Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา 2565

แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา 2565

Published by banpae254, 2022-07-18 07:52:48

Description: แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา 2565

Search

Read the Text Version

44 ประเดน็ รายละเอียด ขอ้ มลู แหล่งขอ้ มูล ฉก.ชน. ตวั ชีว้ ดั 5 ร้อยละของบุคลากรทางการศึกษา มีความรคู้ วามเขา้ ใจเร่ืองการ จดั ระบบความปลอดภัยต่าง ๆ สามารถนาความรู้ไปถ่ายทอดส่โู รงเรียนได้ คา่ เปาู หมาย รอ้ ยละ 80 คาอธบิ าย บคุ ลากรทางการศึกษาทุกเขตพืน้ ท่กี ารศึกษา มคี วามรู้ความเข้าใจเร่ือง การจดั ระบบความ ข้อมูลที่ใช้ ปลอดภยั กับภยั พิบตั ติ ่าง ๆ (อุทกภัย วาตภัย ภัยหนาว ภยั แลง้ ) ความปลอดภัย จากอุบัติเหตุ ทอี่ าจเกดิ ขนึ้ กบั นักเรยี น ตลอดจน ความปลอดภยั ด้านอาชีวอนามยั A จานวนบคุ ลากรทางการศึกษาทกุ เขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษา มคี วามรคู้ วามเข้าใจเรื่องการจดั ระบบ ความปลอดภยั ต่าง ๆ B จานวนบคุ ลากรทางการศึกษาสงั กดั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน วิธีการวเิ คราะห์ (A / B) * 100 ข้อมูล แหลง่ ขอ้ มลู สอ. 4. แนวทางการพัฒนา 1. สร้างความตระหนัก ความรู้ ความเข้าใจแก่ครู บคุ ลากรทางการศกึ ษา ให้สามารถวเิ คราะห์ ประเมนิ สถานการณ์ความเสี่ยง และดาเนินการตามแนวทางในการจัดการภัยพิบัติ และภัยคกุ คามทุกรปู แบบ ให้สามารถปรับตัวต่อโรคอบุ ตั ิใหม่และโรคอบุ ตั ิซ้า รองรับวิถีชีวิตใหม่ (New Normal) 2. สง่ เสริมการพฒั นาผู้เรียนให้มคี วามรู้ความเขา้ ใจ รูจ้ กั วธิ ีการปอู งกันและแก้ไขเกย่ี วกับภัยคุกคาม ภัย จากยาเสพติด ความรนุ แรง การคกุ คามในชวี ิตและทรพั ย์สิน การคา้ มนุษย์ อาชญากรรมไซเบอร์ ภยั พบิ ตั ิและ ภาวะฉกุ เฉนิ โรคอบุ ตั ิใหม่และโรคอบุ ัติซา้ ตลอดจนพฤติกรรมท่ีพงึ ประสงค์ด้านส่ิงแวดล้อมท่เี กี่ยวขอ้ งกบั ความ ปลอดภยั 3 . พฒั นากระบวนการเรียน รทู้ ีม่ ุ่งเสรมิ สร้างทักษะชวี ติ และทักษะอาชพี ให้แก่ผูเ้ รยี น เพอ่ื รองรับภัย พบิ ัตแิ ละภัยคกุ คามทุกรูปแบบ โรคอบุ ตั ิใหมแ่ ละโรคอุบัตซิ ้า 4. ส่งเสริมพัฒนาทักษะด้านดิจิทลั และด้านการ เรียนรู้ดว้ ยตัวเองที่นาไปสู่ Digital Life & Learning รวมถึงความพร้อมของครูผ้สู อนในการจดั การเรยี นการ สอนออนไลนเ์ พื่อความปลอดภัย เมอ่ื ต้องเผชญิ กับสถานการณภ์ ัยพิบัตแิ ละภัยคกุ คาม 5. สง่ เสรมิ ใหม้ กี ารจดั สภาพแวดลอ้ ม และสร้างระบบนเิ วศน์ การเรียนรู้ทป่ี ลอดภยั ในสถานศกึ ษา ให้ ผ้เู รยี นมคี วามปลอดภยั มีความอบอุน่ และมีความสขุ ในสถานศึกษา 6. เสริมสร้างแนวทางการปูองกันและแกป้ ญั หาจากภัยคกุ คามทกุ รปู แบบได้อย่างทนั ท่วงที เชน่ ภยั

45 คุกคามทางไซเบอร์ การแสดงออกท่ีไมเ่ หมาะสม พฤติกรรมกลนั่ แกลง้ รังแกผอู้ ื่น (Bully) ความรุนแรงใน สถานศึกษา การล่วงละเมิดทางเพศ และยาเสพติด โดยความรว่ มมือ จากภาคเี ครือขา่ ย 7. พฒั นาระบบและรปู แบบการปูองกนั ภยั ทุกรูปแบบ รวมทง้ั เสรมิ สร้างสวสั ดกิ ารให้ ครูและบคุ ลากร ทางการศกึ ษามขี วญั และกาลงั ใจในการปฏบิ ตั ิงาน โดยเฉพาะภัยทเ่ี กิดจากความไม่สงบ ใน พืน้ ที่จังหวดั ชายแดนภาคใต้ กลยทุ ธ์ที่ 2 สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาใหก้ บั ประชากรวยั เรยี นทุกคน 1. เป้าหมาย 1. เดก็ ปฐมวัยไดเ้ ขา้ เรียนทุกคน มีพัฒนาการสมวยั 2. ประชากรวัยเรยี นระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน ไดร้ ับโอกาสทางการศึกษาอย่างเสมอภาค จนจบการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน 3. ผู้เรียนท่ีมคี วามสามารถพเิ ศษไดร้ บั การสง่ เสริมและพฒั นาสู่ความเป็นเลิศ 4. เดก็ กลุม่ เส่ียงท่ีจะออกจากระบบการศึกษา เด็กตกหล่น และเด็กออกกลางคัน ไดร้ ับการชว่ ยเหลือใหไ้ ดร้ ับ การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน 5. เด็กพิการและผูด้ ้อยโอกาส ได้รบั โอกาสทางการศึกษาท่ีมคี ณุ ภาพ 2. ตวั ช้ีวัด คา่ เป้าหมาย หน่วยนบั ค่าเป้าหมาย ที่ ตัวชี้วดั ร้อยละ 70 1 อัตราการเขา้ เรียนสุทธริ ะดับช้นั มธั ยมศึกษาตอนต้น สานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน 2 จานวนผูเ้ รยี นท่ีเปน็ ผู้พกิ าร ผู้ดอ้ ยโอกาสเข้าถึงบรกิ าร ทางการศึกษา คน 3,315,554 และพัฒนาสมรรถภาพหรือบรกิ ารทางการศึกษาท่ีเหมาะสม ตามความ จาเป็น รอ้ ยละ 20 คน 40,436 3 รอ้ ยละของผ้เู รียนที่ได้รับเงนิ อดุ หนุนปัจจัยพน้ื ฐานสาหรบั นักเรยี น ยากจน 4 จานวนผู้เรยี นไดร้ บั การพฒั นาเต็มตามศักยภาพตาม ความถนัด และ ความสามารถ (วิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ทัศนศลิ ป์ นาฏศลิ ป์ ดนตรี กฬี า)

46 4. รายละเอียดตัวชี้วัด ประเด็น รายละเอียด ตวั ช้ีวัด 1 อตั ราการเข้าเรยี นสุทธิระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดสานกั งาน คณะกรรมการ การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ค่าเปาู หมาย รอ้ ยละ 70 คาอธิบาย อตั ราดังกล่าว จากัดเฉพาะในสงั กดั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ขอ้ มลู ท่ีใช้ A จานวนนกั เรียนในสถานศึกษาในสงั กัดสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐานที่ กาลงั ศกึ ษาหรอื ได้รบั บริการการศกึ ษาในระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ (ม.1 - ม.3) B จานวนประชากรกล่มุ อายุ12-15 ปี วธิ ีการวเิ คราะห์ (A / B) * 100 ข้อมูล แหลง่ ข้อมลู สนผ. ตวั ชวี้ ดั 2 จานวนผู้เรยี นทเี่ ป็นผพู้ ิการ ผู้ดอ้ ยโอกาสเข้าถึงบรกิ ารทางการศึกษาและพัฒนาสมรรถภาพ หรอื บรกิ ารทางการศึกษาทเ่ี หมาะสม ตามความจาเป็น คา่ เปาู หมาย 3,315,554 คน คาอธิบาย 1. ผเู้ รียน หมายถงึ นกั เรยี นในสงั กดั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน 2. ผูเ้ รยี นพกิ ารได้รบั การพฒั นาสมรรถภาพหรือบริการทางการศึกษาที่เหมาะสม ตามความ ตอ้ งการจาเปน็ หมายถึง ผู้เรยี นพกิ ารท่ีไดร้ ับการพัฒนาสมรรถนะ หรอื ได้รับบรกิ ารทาง การศึกษาอย่างเตม็ ตามศักยภาพ เหมาะสมกับประเภทความ พกิ ารตามท่ีกาหนดไว้ในแผน การจัดการศกึ ษาเฉพาะบุคคล (INDIVIDUALIZED EDUCATION PROGRAM: IEP) 3. ผเู้ รียนด้อยโอกาสได้รบั การพัฒนาสมรรถภาพหรือบริการทางการศกึ ษาท่ีเหมาะสมตาม ความตอ้ งการจาเป็น หมายถึง ผ้เู รยี นดอ้ ยโอกาสท่อี ย่ใู นสภาวะยากลาบาก มชี ีวิตความ เป็นอยู่ด้อยกว่าเด็กปกติท่ัวไป เนื่องจากประสบปญั หาตา่ งๆและได้รับความช่วยเหลือเปน็ กรณีพเิ ศษเพ่ือให้มีคณุ ภาพชีวติ ท่ดี ขี น้ึ และพ่ึงพาตนเองได้

47 ประเดน็ รายละเอียด ขอ้ มูลที่ใช้ A จานวนผ้เู รยี นพิการในสถานศกึ ษาท่ีได้รับโอกาสในการเขา้ ถงึ บริการ การศึกษา และการพฒั นาสมรรถภาพหรือบริการทางการศกึ ษาท่เี หมาะสมตามความต้องการจาเป็น B จานวนผู้เรียนด้อยโอกาสในสถานศกึ ษา ท่ีได้รบั โอกาสในการเขา้ ถึงบรกิ ารการศึกษา C จานวนผู้พิการและผูด้ ้อยโอกาสทัง้ หมดท่เี ข้าเรียนในสถานศึกษา วธิ กี ารวเิ คราะห์ A+B+C ขอ้ มูล แหล่งขอ้ มลู สนผ./ สศศ. ตวั ชีว้ ดั 3 ร้อยละของผู้เรยี นที่ได้รับเงนิ อดุ หนุนปจั จยั พ้ืนฐานสาหรับนกั เรียน ยากจน คา่ เปาู หมาย ร้อยละ 20 คาอธิบาย 1. ผู้เรยี น หมายถึง นักเรียนในสังกดั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน 2. นักเรียนยากจน หมายถึง นักเรียนท่ีพิจารณาจากเกณฑ์การคัดกรอง นักเรียนยากจนมี รายได้เฉล่ียต่อครัวเรือนไม่เกิน 3,000 บาท/เดือน 3. เงินอุดหนุนปัจจัยพื้นฐานสาหรับ นักเรยี นยากจน คอื เงนิ งบประมาณท่ี จดั สรรให้แกส่ ถานศึกษาท่ีมีนักเรียนยากจน เพื่อจัดหา ปัจจัยพ้ืนฐานที่จาเป็นต่อการดารงชีวิต และเพ่ิมโอกาสทางการศึกษา เป็นการช่วยเหลือ นักเรียนที่ยากจนระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 จนจบการศึกษาภาคบังคับ และให้มีโอกาส ได้รบั การศกึ ษาในระดบั ท่ีสูงขึ้น ข้อมลู ที่ใช้ A จานวนนกั เรยี นยากจนท่ีได้รับเงินอุดหนุนปจั จัยพื้นฐานสาหรับนกั เรียนยากจน B จานวนนักเรียนในสงั กัดสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน วิธกี ารวิเคราะห์ (A / B) * 100 ข้อมูล แหลง่ ขอ้ มูล สนผ. ตวั ช้ีวัด 4 จานวนผูเ้ รียนไดร้ บั การพฒั นาเตม็ ตามศักยภาพตามความถนัด และ ความสามารถ (วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ทศั นศลิ ป์ นาฏศลิ ป์ดนตรี กีฬา) ค่าเปาู หมาย สวก.= 3,246 คน สบว.= 28,440 คน ศบศ.= 8,750 คน คาอธบิ าย - ผเู้ รยี นทไี่ ดร้ บั การพฒั นาเต็มตามศักยภาพดังกล่าว หมายถงึ ผู้เรยี นท่เี รยี นใน โรงเรยี น วิทยาศาสตร์จฬุ าภรณ์ราชวิทยาลยั ผู้เรยี นในหอ้ งเรยี นพิเศษ ผ้เู รยี นภายใต้โครงการท่ีส่งเสรมิ การพัฒนาเต็มตามศักยภาพตามความถนัด และความสามารถ (วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ทัศนศลิ ป์ นาฏศลิ ป์ ดนตรี กีฬา)

48 ประเด็น รายละเอยี ด - ผเู้ รยี นภายใตโ้ ครงการพฒั นาเตม็ ตามศกั ยภาพตามความถนดั และความสามารถ วิทยาศาสตร์คณิตศาสตรห์ มายถงึ นักเรียนผู้มศี ักยภาพสูงผ่าน มาตรฐานค่าย สอวน. - ผเู้ รยี นภายใตโ้ ครงการพัฒนาเต็มตามศกั ยภาพตามความถนัด และ ความสามารถทัศนศลิ ป์ นาฏศิลป์ดนตรีกีฬา หมายถงึ นักเรียนผ้มู ี ความสามารถพเิ ศษดา้ นทัศนศลิ ป์ดนตรีและนาฏ ศลิ ป์ทผี่ ่านการคัดกรองเข้ารว่ มโครงการและกจิ กรรมได้รบั การพัฒนาเต็มตามศกั ยภาพและ ตามความถนดั ตามกลมุ่ เปาู หมายของการพฒั นา 3 กลมุ่ ดงั นี้ 1. นกั เรยี นผู้มีความสามารถ พิเศษด้านดนตรีของโรงเรียนในโครงการ ห้องเรียนดนตรี19โรงเรยี น จานวน 1,840 คน (ช้ัน ม.1- ม.6 ภาคเรียนท่ี 2 ปี การศกึ ษา 2564) นกั เรียนชน้ั ม.1 จานวน 387 คน และ ม.4 จานวน 188 คน (ปกี ารศกึ ษา 2565) 2. นักเรียนผ้มู ีความสามารถพเิ ศษด้านทศั นศลิ ป์ดา้ นดนตรแี ละดา้ น นาฏศิลป์ ในสงั กดั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานทไี่ ด้รบั คดั เลือกให้เขา้ ร่วมกจิ กรรมพัฒนาผู้มี ความสามารถพเิ ศษ จานวน 160 คน 3. นกั เรียนของโรงเรยี นในโครงการห้องเรยี นกีฬา จานวน 9 โรงเรยี น จานวน 1,246 คน ข้อมลู ที่ใช้ A จานวนนกั เรียนโรงเรยี นวทิ ยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลยั 12 แห่ง จานวน 8,640คน B จานวนนกั เรียนห้องเรียนพเิ ศษวทิ ยาศาสตร์คณติ ศาสตรเ์ ทคโนโลยแี ละสิง่ แวดล้อม 220 โรงเรยี น จานวน 19,800 คน C จานวนนักเรยี นผู้มีความสามารถพเิ ศษด้านทัศนศลิ ปด์ นตรีนาฏศิลป์ และกีฬา จานวน 3,246 คน D จานวนนกั เรียนผมู้ ีศักยภาพสงู ผ่านมาตรฐานค่าย สอวน. (โรงเรยี น ศนู ยฯ์ สอวน.136 โรงเรียน จานวนครูวิทยากรและนกั เรียนรวม 8,750คน) วิธีการ A+B+C+D วิเคราะห์ สวก. / สบว. / ศบศ. ข้อมลู แหล่งข้อมลู

49 4. แนวทางการพัฒนา 1. สรา้ งโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาระดบั ปฐมวัยอยา่ งเสมอภาค โดยการค้นหา เฝาู ระวัง ติดตาม และชว่ ยเหลอื เด็กปฐมวัย (3 - 5 ปี) ทกุ คน ให้ไดร้ บั การดูแลและสง่ เสรมิ พฒั นาการจากัดสถานศกึ ษาระดบั ปฐมวัยทีม่ คี ณุ ภาพ ตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ 2. สรา้ งโอกาสและความเสมอภาคการเข้าถึงการศึกษาขั้นพ้ืนฐานทมี่ ีคุณภาพให้แก่ประชากรวยั เรยี น ทกุ คนอย่างต่อเนื่อง โดยจัดการศกึ ษาตามขีดความสามารถของผู้เรียน ความถนัดและ ศักยภาพของแต่ละบคุ คล วางรากฐานการศึกษาเพ่ืออาชีพ 3. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหส้ ถานศกึ ษาดาเนินการค้นหา เฝาู ระวัง ตดิ ตาม และประสาน ช่วยเหลือ ประชากรวัยเรยี นระดับการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ท่ีอย่นู อกระบบการศกึ ษาให้เข้าถงึ การศึกษา ทม่ี คี ุณภาพ และ ไดร้ ับการพัฒนาตามศักยภาพของแตล่ ะบุคคล และสนบั สนุนใหม้ ขี ้อมลู องค์ความรู้ และ แนวทาง/วิธีการ/ เครอื่ งมือ ที่จาเป็นในการปูองกันนักเรียนออกจากระบบการศึกษา 4. พัฒนารูปแบบและวธิ ีการจัดการเรียนรู้ ส่อื เทคโนโลยีสิง่ อานวยความสะดวก ทางการศึกษาสาหรบั คนพกิ าร การวดั และประเมนิ ผลท่เี หมาะสมกับการพฒั นาศักยภาพของเด็กพิการและเดก็ ด้อยโอกาส 5. สง่ เสริม พฒั นาการใช้เทคโนโลยีดจิ ิทัลในการสรา้ งโอกาส ทางการศึกษา 6. ระดมการมสี ่วนรว่ มของสังคมอย่างต่อเนื่อง เพอื่ สร้างโอกาสและลดความเหลอื่ มลา้ ทางการศึกษา กลยทุ ธ์ที่ 3 ยกระดับคุณภาพการศึกษาใหส้ อดคล้องกับการเปล่ียนแปลงในศตวรรษที่ 21 1. เป้าหมาย 1. ผู้เรยี นทุกชว่ งวยั ในระดับการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน มีความรักในสถาบันหลักของชาติและยึดมน่ั การ ปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เปน็ พลเมือง ทีร่ ้สู ทิ ธิและหน้าท่ี อยา่ งมี ความรบั ผดิ ชอบ มีจิตสาธารณะ มีความรกั และความภมู ิใจในความเป็นไทย 2. ผเู้ รียนทกุ ช่วงวัยในระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน ได้รับการศึกษาทมี่ ีคุณภาพ ตามมาตรฐาน สอดคลอ้ ง กบั ศักยภาพใหเ้ ป็นผ้มู สี มรรถนะและทักษะทจี่ าเป็นในศตวรรษที่ 21 3. ผูบ้ รหิ าร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษาเปน็ บุคคลแหง่ การเรยี นรู้ ทันตอ่ การเปลย่ี นแปลงของ เทคโนโลยี มสี มรรถนะ ความรู้ ความเชี่ยวชาญ จรรยาบรรณและมาตรฐานวชิ าชีพ มีความพร้อมทั้งทางด้าน วิชาการ เช่ียวชาญวิชาชีพ มีจรรยาบรรณ และจติ วญิ ญาณความเป็นครู 4. สถานศกึ ษาจัดการศึกษาเพ่ือการบรรลุเปูาหมายการพัฒนาอย่างย่ังยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) โดยเฉพาะ SDG เปูาหมายท่ี 4 การศึกษาที่มคี ุณภาพและสรา้ งเสริมคุณภาพ ชีวติ ทีเ่ ปน็ มิตรกบั ส่งิ แวดลอ้ ม ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

2. ตัวชี้วดั คา่ เปา้ หมาย 50 ที่ ตวั ช้วี ัด หน่วย คา่ เปา้ หมาย นบั ปี2565 1 รอ้ ยละของนักเรยี นปฐมวัยมีคณุ ภาพตามหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย รอ้ ยละ 80 2 ร้อยละของผู้เรียนมีคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ระดับดขี ึน้ ไป รอ้ ยละ 90 3 รอ้ ยละความสาเร็จของการดาเนนิ โครงการพัฒนา การจัดการเรยี นรู้เพ่ือ รอ้ ยละ 80 ร้อยละ 40 เสริมสร้างสมรรถนะผ้เู รยี นท่ีตอบสนองการเปลย่ี นแปลงศตวรรษที่ 21 รอ้ ยละ 90 4 คะแนนเฉล่ียผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพืน้ ฐาน (O-NET) ร้อยละ 70 5 ร้อยละของครสู อนภาษาองั กฤษในระดับชัน้ ประถมศึกษาและมธั ยมศึกษา ไดร้ ับการพฒั นาและยกระดับความรู้ ภาษาองั กฤษโดยใชร้ ะดบั การพฒั นา ร้อยละ 10 ทางดา้ นภาษา (CEFR) ตามเกณฑท์ ี่กาหนด ร้อยละ 10 6 รอ้ ยละของสถานศกึ ษาท่ีสอนในระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ ไดร้ ับการเตรยี ม ความพร้อม (ด้านการอ่าน คณิตศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์) ในการประเมิน ระดับนานาชาติตามโครงการ PISA 7. ร้อยละของสถานศึกษาทส่ี ามารถจัดการเรยี นการสอนตามพหุปญั ญา 8. ร้อยละของนักเรยี นที่ได้รับการคดั กรองเพื่อพฒั นาพหุปัญญารายบคุ คล

51 3. รายละเอียดตัวช้วี ัด ประเดน็ รายละเอียด ตวั ช้ีวัด 1 ร้อยละของนักเรียนปฐมวัยมีคณุ ภาพตามหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั คา่ เปูาหมาย ร้อยละ 80 คาอธิบาย นกั เรยี นปฐมวยั มีคุณภาพตามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย หมายถงึ นกั เรยี น ปฐมวยั ท่ีมีผลการ ประเมนิ พฒั นาการด้านรา่ งกาย อารมณจ์ ิตใจ สงั คมและสติปัญญาผ่านเกณฑ์การประเมนิ พฒั นาการคณุ ภาพระดบั ดีขึ้นไปทงั้ 4 ดา้ น ขอ้ มลู ที่ใช้ A จานวนนักเรียนปฐมวัยในสถานศึกษาสงั กัดสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐานที่มี คณุ ภาพตามหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย B จานวนนกั เรียนปฐมวยั ในสถานศกึ ษาสังกัดสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน ท้ังหมด วิธีการ (A / B) * 100 วิเคราะห์ ขอ้ มลู - ผลการประเมินพฒั นาการนักเรียนปฐมวยั ตามมาตรฐานคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ของ หลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช 2560 ซึ่งตรวจสอบคณุ ภาพ ผู้เรียนระดับปฐมวัยทงั้ 4 แหล่งขอ้ มลู ดา้ น - สพป. รายงานผลในระบบ E-MES (ELECTRONIC MONITORING AND EVALUATION SYSTEM) - สวก. (ทารายงานวิจัยแบบปีเวน้ ปีการศกึ ษาโดยสุ่มกลุ่มตัวอย่างเฉพาะนกั เรยี นอนบุ าลปี ท่ี3) - สตผ. (สพป.รายงานในระบบ E-MES ทุกป)ี ตัวชีว้ ดั 2 รอ้ ยละของผู้เรยี นมีคุณลักษณะอนั พึงประสงคร์ ะดับดีขน้ึ ไป ค่าเปูาหมาย ร้อยละ 90 คาอธิบาย นกั เรียนทผี่ ่านการประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ตามหลกั สตู รระดับดขี ้นึ ไปหมายถึง นกั เรียนในสถานศึกษาสังกดั สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐานทเ่ี ข้ารบั การประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 ซง่ึ คุณลักษณะอันพงึ ประสงคข์ องผเู้ รียน 8 ประการ ได้แก่ 1.รกั ชาตศิ าสนก์ ษัตริย์ 2. ชอ่ื สัตยส์ จุ รติ 3. มีวินัย 4. ใฝเุ รียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุง่ มนั่ ในการทางาน 7.รักความเป็นไทย 8. มจี ิตสาธารณะและมผี ลการประเมนิ ระดบั ดีขึน้ ไป

52 ประเด็น รายละเอียด ขอ้ มลู ที่ใช้ A จานวนนกั เรยี นที่เข้ารบั การประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ตามหลักสูตร และมีผลการ ประเมินระดบั ดีขึน้ ไป B จานวนนักเรยี นในสังกัดสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน วธิ ีการ (A / B) * 100 วิเคราะห์ สวก. ขอ้ มลู แหล่งข้อมูล ตวั ชี้วดั 3 ร้อยละของความสาเรจ็ ของการดาเนนิ โครงการพฒั นาการจัดการเรยี นร้เู พ่ือเสรมิ สร้าง สมรรถนะผเู้ รียนทตี่ อบสนองการเปลี่ยนแปลงศตวรรษท่ี 21 ค่าเปาู หมาย ร้อยละ 80 คาอธิบาย 1. ความสาเรจ็ ของการดาเนินโครงการส่งเสรมิ ผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการ เรยี นร้ใู น ศตวรรษท่ี 21 หมายถึง การดาเนินกจิ กรรม/โครงการของสานกั งาน

53 ประเดน็ รายละเอยี ด ข้อมลู ที่ใช้ เขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา เพ่ือส่งเสริม สนบั สนนุ และพัฒนาผูเ้ รยี นให้มคี ุณลักษณะและ ทักษะการ เรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21 2. คณุ ลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ตามโครงการพฒั นาการจดั การเรียนรทู้ ง้ั ระบบสู่การยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นและการเตรยี มผเู้ รยี นใหส้ อดคลอ้ งกบั ศตวรรษท่ี 21 ของสานกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา สพฐ. ในเร่ืองทักษะ การเรยี นรู(้ LEARNING SKILL) คือ การเรยี นรู้ 3RS8CS ดงั นี้ 3RS 1. READING คือ สามารถอา่ นออก 2. (W)RITEING คอื สามารถเขยี นได้ 3. (A)RITHMATIC คอื มที ักษะในการคานวณ 8CS 1. CRITICAL THINKING AND PROBLEM SOLVING คอื มที ักษะการคิดวิเคราะห์ การคิด อย่างมีวิจารณญาณและสามารถแก้ไขปญั หาได้ 2. CREATIVITY AND INNOVATION คือการคดิ อย่างสรา้ งสรรค์และคิดเชิงนวตั กรรม 3. CROSS-CULTURAL UNDERSTANDING คือความเข้าใจในความแตกต่างของวัฒนธรรม และ กระบวนการคดิ ข้ามวัฒนธรรม 4. COLLABORATION TEAMWORK AND LEADERSHIP คอื ความร่วมมอื การทางานเปน็ ทมี และภาวะความเป็นผูน้ า 5. COMMUNICATION INFORMATION AND MEDIA LITERACY คอื มีทกั ษะในการสื่อสาร และการรู้เท่าทันส่ือ 6. COMPUTING AND IT LITERACY คอื มีทกั ษะการใชค้ อมพวิ เตอร์และรเู้ ท่าทันเทคโนโลยี 7. CAREER AND LEARNING SKILLS คือ มีทักษะอาชีพและการเรยี นรู้ 8. COMPASSION คือ มีความเมตตากรณุ า มีคณุ ธรรมและมรี ะเบยี บวินยั A จานวนนกั เรยี นในโรงเรยี นกลุ่มเปูาหมาย (245 เขตพ้นื ที่การศกึ ษา เขตละ 10 โรงเรยี น เทา่ กับ 2,450 โรงเรียน) ทผ่ี ่านเกณฑ์การประเมินในการพัฒนาใหม้ ีคณุ ลักษณะและทักษะการ เรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21 (3RS8CS) ร้อยละ80 B จานวนนักเรยี นทง้ั หมดในโรงเรียนกลุ่มเปูาหมายท่ีไดร้ ับการพฒั นาให้มคี ุณลักษณะและ ทักษะการเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21 (3RS8CS) วธิ ีการ (A / B) * 100 วเิ คราะห์ สวก. โดยมีกระบวนการได้มาซงึ่ ข้อมลู ดังนี้ ขอ้ มูล แหลง่ ขอ้ มลู

54 ประเดน็ รายละเอยี ด 1. สพป./สพม. ตดิ ตามการด ำเนินงานของโรงเรียนตามกจิ กรรมทก่ี าหนดและรายงานผลการ ดาเนนิ งานตามโครงการ โดยส่งผ่านระบบรายงานผลการประเมินส่วนราชการตามมาตรการ ปรบั ปรุงประสิทธภิ าพในการปฏบิ ัตริ าชการ ของส่วนราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (ระบบ KRS) 2. สพป./สพม. แนบไฟล์ขอ้ มูล (.DOCX พร้อม.PDF/.XLS/ฯลฯ) และไฟล์ ภาพถ่าย หรือวดี ิ ทศั น์(ถ้ามี) ส่งผ่านระบบรายงานผลการประเมนิ ส่วนราชการ ตามมาตรการปรับปรงุ ประสิทธิภาพในการปฏบิ ตั ิราชการของส่วนราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (ระบบ KRS) 3. สพฐ. ดาเนินการรวบรวมขอ้ มลู วิเคราะห์สรปุ และรายงานผล ตวั ชว้ี ดั 4 คะแนนเฉลย่ี ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้ันพนื้ ฐาน (O-NET) คา่ เปูาหมาย รอ้ ยละ 40 คาอธบิ าย ค่าเฉล่ยี ของคะแนนเฉล่ยี รวมทุกวชิ าของผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ั้นพื้นฐาน ขอ้ มูลที่ใช้ (O-NET) ระดับประถมศึกษาปีท6่ี มัธยมศึกษาปีที่3 และ 6 โดยชัน้ ป.6 และ ม.3 ประกอบดว้ ย วิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณติ ศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ในสว่ นชน้ั ม.6 ประกอบดว้ ย วชิ าภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณติ ศาสตร์วทิ ยาศาสตรแ์ ละสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 1. คะแนนเฉล่ยี รวมทุกวชิ าของ O-NET ชนั้ ป.6 ประกอบด้วย วชิ าภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ 2. คะแนนเฉลยี่ รวมทุกวิชาของ O-NET ชั้น ม.3 ประกอบดว้ ย วิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ 3. คะแนนเฉลีย่ รวมทุกวิชาของ O-NET ชน้ั ม.6 ประกอบดว้ ย วชิ าภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสังคมศึกษา ศาสนา และ วฒั นธรรม วธิ ีการวเิ คราะห์ นาเขา้ ข้อมูลที่คานวนโดยสานกั ทดสอบทางการศึกษาแห่งชาต(ิ องค์กร มหาชน) ข้อมูล แหล่งขอ้ มลู สทศ. ตวั ช้วี ัด 5 รอ้ ยละของครูสอนภาษาองั กฤษในระดบั ชั้นประถมศึกษาและมธั ยมศึกษาไดร้ บั การพฒั นา และยกระดบั ความรู้ภาษาอังกฤษโดยใช้ระดับการพฒั นาทาง ดา้ นภาษา (CEFR) ตามเกณฑท์ ่ี กาหนด

55 ประเด็น รายละเอียด คา่ เปาู หมาย คาอธบิ าย รอ้ ยละ 90 ข้อมูลท่ีใช้ ขอ้ มูลของครผู ู้สอนภาษาองั กฤษในระดับช้นั ประถมศึกษาและมัธยมศึกษาทกุ คนได้รับการ พฒั นาและยกระดบั ความรภู้ าษาอังกฤษของครูทส่ี อนภาษาองั กฤษโดยใช้ระดับการพัฒนา ทางภาษา (CEFR) ตามเกณฑ์ที่กาหนดหรือผ่านการสอบวดั ระดับ CEFR A จานวนครผู ู้สอนภาษาอังกฤษในระดบั ชัน้ ประถมศึกษาและมธั ยมของ สพฐ. ท่ไี ด้รับการ พฒั นาและยกระดับความรู้ภาษาอังกฤษโดยใชร้ ะดบั การพัฒนา ทางดา้ นภาษา (CEFR) ตาม เกณฑ์ที่กาหนด หรือผ่านการสอบ CEFR อยา่ งใด อยา่ งนึง B จานวนครผู ูส้ อนภาษาอังกฤษในระดบั ช้นั ประถมศึกษาและมธั ยมของ สพฐ. วิธีการวิเคราะห์ (A / B) * 100 ขอ้ มูล แหลง่ ข้อมลู ศบศ. ตวั ช้ีวดั 6 รอ้ ยละของสถานศกึ ษาที่สอนในระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น ได้รับการเตรียมความพร้อม (ด้าน การอา่ น คณติ ศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์) ในการประเมนิ ระดับ นานาชาติตามโครงการ PISA คา่ เปูาหมาย ร้อยละ 70 คาอธบิ าย - สถานศึกษา หมายถึง โรงเรียนในสงั กัดสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน - การได้รับการเตรยี มความพรอ้ ม หมายถึง การนานักเรียนเข้าใจงานระบบ PISA STYLE ONLINE TESTING และแบบฝกึ ทักษะการแก้ปัญหาตามแนวทางการประเมิน PISA ท่ีสานัก ทดสอบทางการศกึ ษาเผยแพร่และใหบ้ ริการ ข้อมูลที่ใช้ A จานวนสถานศึกษาทีส่ อนในระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ ได้รับการเตรยี มความพร้อม (ดา้ น การอา่ น คณติ ศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์) ในการประเมินระดับนานาชาตติ ามโครงการ PISA B จานวนสถานศึกษาสังกัดส ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน วธิ ีการวิเคราะห์ (A / B) * 100 ข้อมูล แหลง่ ข้อมูล สทศ. (ข้อมลู จากฐานระบบ PISA STYLE ONLINE TESTING และหลกั ฐานรอ่ งรอย การทาแบบฝกึ ทกั ษะการแกป้ ญั หาตามแนวทางการประเมิน PISA ของ นักเรียน) ตวั ชว้ี ัด 7 ร้อยละของสถานศึกษาทส่ี ามารถจดั การเรียนการสอนตามพหุปัญญา

56 ประเดน็ รายละเอยี ด คา่ เปูาหมาย คาอธบิ าย รอ้ ยละ 10 - พหุปญั ญา หมายถงึ ความสามารถทางปัญญาของมนษุ ยต์ ามทฤษฎีพหุปัญญา แบง่ ออกเปน็ 8 ดา้ น ไดแ้ ก่ ปัญญาดา้ นภาษา (LINGUISTIC INTELLIGENCE) ข้อมลู ที่ใช้ ปัญญาดา้ นตรรกะและคณิตศาสตร์ (LOGICAL– MATHEMATICAL INTELLIGENCE) ปญั ญาดา้ นมติ ิสัมพนั ธ(์ VISUAL–SPATIAL INTELLIGENCE) ปัญญาดา้ นรา่ งกายและการ เคลอ่ื นไหว (BODILY–KINESTHETIC INTELLIGENCE) ปัญญาดา้ นดนตรี (MUSICAL INTELLIGENCE) ปัญญาดา้ นมนุษย์สัมพนั ธ์ (INTERPERSONAL INTELLIGENCE) ปญั ญาด้านความเขา้ ใจตนเอง (INTRAPERSONAL INTELLIGENCE) และ ปัญญาดา้ นธรรมชาติวทิ ยา (NATURALIST INTELLIGENCE) -การจดั การเรยี นการสอนตามพหุปญั ญา หมายถงึ การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน กิจกรรม เสรมิ หลักสูตร โครงการ / โครงงาน รวมถึงการจดั ห้องเรียนพิเศษ ประเภทต่างๆเพ่ือ เสรมิ สร้างคุณลกั ษณะของผูม้ ีความสามารถพเิ ศษ 8 ดา้ น ตาม ทฤษฎีพหุปัญญา ไดแ้ ก่ 1.ความสามารถพเิ ศษด้านภาษา (VERBAL/LINGUISTIC ABILITIES) รวมถงึ การพัฒนาเด็กผู้ มีศักยภาพดา้ นภาษาต่างประเทศผ่านการเรียนการสอนห้องเรียนพิเศษภาษาอังกฤษ ห้องเรียนพเิ ศษภาษาจีน 2.ความสามารถพเิ ศษดา้ นคณิตศาสตร์ (MATHEMATICAL/REMBOLIC ABILITIES) 3. ความสามารถพเิ ศษดา้ นวทิ ยาศาสตร์ (SCIENCE/REALISTIC ABILITIES) 4.ความสามารถพเิ ศษดา้ นเครื่องกลและอิเล็กทรอนิกส์ (MECHANICAL/ ELECTRONICS ABILITIES) 5. ความสามารถพเิ ศษดา้ นศิลปะ/มิตสิ ัมพนั ธ์ (ARTISTIC/SPATIAL ABILITIES) 6. ความสามารถพิเศษดา้ นการไดย้ ิน (SONANCE/AUDITORY ABILITIES) 7. ความสามารถพิเศษด้านการเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อ (SOMATIC/BODILY ABILITIES) 8. ความสามารถพิเศษดา้ นสังคมและอารมณ์ (SOCIAL AND EMOTIONAL ABILITIES) A จานวนสถานศึกษาทส่ี ามารถจดั การเรียนการสอนตามพหุปัญญา รวมถงึ โรงเรยี น วิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวทิ ยาลัย 12 โรง โรงเรียนในโครงการ ห้องเรยี นพิเศษวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตรเ์ ทคโนโลยแี ละสงิ่ แวดล้อม 220 โรง โรงเรยี นในโครงการวิทยาศาสตร์พลังสิบ 2,200 โรง โรงเรียนซึ่งจัดใหม้ ีการ เรยี นการสอนห้องเรียนพิเศษภาษาองั กฤษแบ่งเปน็ EP 211 โรงเรยี น, MEP 420 โรงเรียน , IEP 11 โรงเรียน โรงเรยี นซ่ึงจัดให้มีการเรียนการสอน หอ้ งเรยี นพเิ ศษภาษาจีน จานวน 1,452 โรงเรยี น และจานวนสถานศึกษาอนื่ ๆ ท่ีสามารถ จัดการเรียนการสอนตามพหุปัญญา B จานวนสถานศกึ ษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน

57 ประเดน็ รายละเอยี ด วิธีการวิเคราะห์ (A / B) * 100 ขอ้ มลู แหล่งข้อมลู สวก. / สบว. / ศบศ. / สนผ. ตวั ชว้ี ัด 8 รอ้ ยละของนักเรียนที่ไดร้ ับการคัดกรองเพื่อพัฒนาพหุปัญญารายบคุ คล คา่ เปาู หมาย รอ้ ยละ 10 คาอธบิ าย - พหปุ ัญญา หมายถงึ ความสามารถทางปญั ญาของมนุษยต์ ามทฤษฎีพหุปญั ญา แบง่ ออกเป็น 8 ด้าน ได้แก่ ปญั ญาด้านภาษา (LINGUISTIC INTELLIGENCE) ปญั ญา ดา้ นตรรกะและ คณิตศาสตร์ (LOGICAL– MATHEMATICAL INTELLIGENCE) ปญั ญา ด้านมติ ิสัมพันธ์ (VISUAL–SPATIAL INTELLIGENCE) ปัญญาด้านรา่ งกายและการ เคลื่อนไหว (BODILY– KINESTHETIC INTELLIGENCE) ปัญญาด้านดนตรี(MUSICAL INTELLIGENCE) ปัญญาด้าน มนุษย์สมั พนั ธ(์ INTERPERSONAL INTELLIGENCE) ปญั ญา ดา้ นความเขา้ ใจตนเอง (INTRAPERSONAL INTELLIGENCE)และ ปญั ญาด้านธรรมชาติ วิทยา (NATURALIST INTELLIGENCE) - ความสามารถพิเศษ หมายถึง ความสามารถทโี่ ดดเดน่ ของบุคคลด้านใดด้าน หนึ่งหรอื หลาย ด้านเหนอื บุคคลในวยั เดยี วกันซึง่ อาจเป็นความสามารถทาง สตปิ ัญญาความสามารถทาง วิชาการเฉพาะดา้ น จาแนกออกเปน็ 8 ดา้ น ได้แก่ 1. ความสามารถพิเศษดา้ นภาษา (VERBAL/LINGUISTIC ABILITIES) 2.ความสามารถพิเศษดา้ นคณิตศาสตร์ (MATHEMATICAL/REMBOLIC ABILITIES) 3. ความสามารถพิเศษดา้ นวิทยาศาสตร์ (SCIENCE/REALISTIC ABILITIES) 4.ความสามารถ พิเศษดา้ นเครื่องกลและอิเล็กทรอนิกส์(MECHANICAL/ELECTRONICS ABILITIES) 5. ความสามารถพิเศษด้านศิลปะ/มิตสิ ัมพันธ์ (ARTISTIC/SPATIAL ABILITIES) 6. ความสามารถพิเศษด้านการได้ยนิ (SONANCE/AUDITORY ABILITIES) 7. ความสามารถ พเิ ศษด้านการ เคล่ือนไหวกล้ามเน้ือ (SOMATIC/BODILY ABILITIES) 8. ความสามารถพิเศษดา้ นสงั คมและอารมณ์ (SOCIAL AND EMOTIONAL ABILITIES) - การคัดกรอง หมายถึง ผลการสารวจจากการคัดกรองผา่ นโปรแกรมสารวจแวว ความสามารถพิเศษทสี่ านักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษาพฒั นาข้นึ -การพัฒนาพหปุ ัญญารายบุคคล หมายถงึ การนาแนวทางการพฒั นาพหุปัญญา 8 ดา้ น ไป พัฒนาผเู้ รียนเปน็ รายบุคคลตามผลการคัดกรองผา่ นโปรแกรมสารวจ แววความสามารถพเิ ศษ ทสี่ านักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษาพัฒนาข้ึน

58 ประเดน็ รายละเอยี ด ขอ้ มลู ที่ใช้ A จานวนนกั เรยี นท่ีได้รบั การคดั กรองด้วยระบบสารวจแววความสามารถ พเิ ศษดว้ ยระบบ อเิ ล็กทรอนิกส์จาแนกตามระดับชน้ั (ป.3-6 และ ม. 1-6) B จานวนนกั เรียนระดบั ชน้ั ป 3- ม. 6 ในสังกดั สานกั งานคณะกรรมการ การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน วธิ กี ารวเิ คราะห์ (A / B) * 100 ข้อมูล แหลง่ ขอ้ มูล สวก. 4. แนวทางการพัฒนา คุณภาพผู้เรียน 1. ส่งเสรมิ การจดั การศึกษาใหผ้ ูเ้ รยี นมีความรู้ มีทักษะการเรียนรู้ และทักษะท่จี าเปน็ ของโลกใน ศตวรรษที่ 21 อยา่ งครบถว้ น เปน็ คนดี มวี ินัย มคี วามรักในสถาบันหลักของชาติ ยดึ มน่ั การปกครองในระบอบ ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมุข และน้อมนาพระบรมราโชบาย ด้านการศกึ ษาของ พระบาทสมเดจ็ พระ วชิรเกล้าเจ้าอยู่หวั สู่การปฏิบตั ิ 2. พฒั นาผ้เู รยี นตามแนวทางพหุปญั ญา (Multiple Intelligences) 3. พฒั นาผู้เรยี นให้มสี มรรถนะและทกั ษะดา้ นการอา่ น คณิตศาสตร์ การคดิ ข้นั สงู นวัตกรรม วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั และภาษาตา่ งประเทศ เพอ่ื เพ่มิ ขดี ความสามารถ ในการแข่งขนั เช่ือมโยงสู่ อาชพี และการมีงานทา มที ักษะอาชีพทส่ี อดคล้องกับความต้องการของประเทศ 4. ส่งเสริมพฒั นาทกั ษะด้านดิจทิ ัลและดา้ นการเรียนรูข้ องผู้เรยี น ทนี่ าไปสู่ Digital Life & Learning 5. ดาเนนิ การคัดกรอง/วัดความสามารถและความถนดั ของผ้เู รียน เพื่อพฒั นา ใหส้ อดคลอ้ งกบั ศกั ยภาพและสง่ เสริมขีดความสามารถตามศกั ยภาพ คณุ ภาพครู 6. ส่งเสริมใหค้ รูสามารถจดั การเรยี นการสอนและการเรยี นรรู้ ปู แบบ Active Learning / Co- creation ใหก้ บั ผู้เรียนในทกุ ระดับชัน้ 7. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ให้มีศักยภาพในการจัด การเรยี นการสอน ส่กู ารเรียนรฐู้ าน สมรรถนะ มีความรู้ความสามารถในการสรา้ งสรรค์และใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ัล รวมถึงมคี วามรู้ และทกั ษะในสังคม ยุคชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) มแี รงจงู ใจในความเปน็ ครูมืออาชีพ 8. สง่ เสรมิ สนบั สนุนครูและบุคลากรทางการศึกษาใหม้ ีการพัฒนาตนเองทางวิชาชีพ อย่างต่อเนื่อง โดยมกี ารพัฒนารายบุคคล ส่งเสริมการทดสอบสมรรถนะรายสาขาในระดับสูงตามมาตรฐาน นานาชาติของครู มีจรรยาบรรณ และจติ วญิ ญาณความเป็นครู หลักสตู รและอนื่ ๆ

59 9. พฒั นาหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน และ หลกั สตู ร สถานศึกษาบนฐานของสามมโนทศั น์หลกั คือ Career Education , Competency Building , Creative Education 10. ส่งเสริม สนบั สนนุ การวดั ประเมนิ ผลเพ่ือการเรยี นรู้ (Assessment for Learning) ทสี่ อดคล้องกบั สภาพบริบทของสถานศกึ ษา โดยใหม้ ีรูปแบบวิธีการที่หลากหลาย เชน่ การทดสอบ ด้วยขอ้ สอบปรนยั และ อัตนัย การประเมินภาคปฏบิ ัติ (Performance-based Assessment) และ การประเมิน ตามสภาพจริง (Authentic Assessment) เปน็ ต้น 11. เพ่ิมคุณภาพการจดั การศึกษาและบูรณาการอย่างย่ังยืนในกาจัดการเรียนรวม 12. พัฒนา นวัตกรรมการศึกษาและการเรียนรู้ เพ่ือยกระดบั ผลสมั ฤทธทิ์ างการศึกษา ของผูเ้ รยี น รวมท้ังดาเนนิ การใหม้ ี การขยายผล 13. สนับสนุนการจดั การเรยี นการสอนผา่ นแพลตฟอรม์ ด้านการศึกษาเพอื่ ความเป็นเลิศ 14. บรู ณาการการศกึ ษาเพื่อการศกึ ษาต่อด้านอาชพี และการประกอบอาชพี หรือการมงี านทาตาม ความต้องการและความถนัดของผู้เรียน 15. พัฒนาคุณภาพการจดั การศกึ ษาปฐมวยั ตามมาตรฐานสถานพฒั นาเด็กปฐมวัย แหง่ ชาติ 16. สนับสนุนการปรบั ปรงุ หลกั สตู รการผลิตครู สายสามญั ปฐมวัย การศกึ ษาพิเศษ การศึกษาตาม อธั ยาศัยใหส้ อดคลอ้ งกบั บริบทพ้ืนท่ี สนับสนนุ การพฒั นาระบบและกระบวนการบรหิ าร จดั การกระบวนการฝกึ ประสบการณว์ ิชาชพี ครู และระบบการนเิ ทศการศกึ ษา และการสอนงาน ของครูพเี่ ลี้ยงในสถานศึกษา 17. เสรมิ สรา้ งความเข้มแข็งศูนยพ์ ัฒนาศักยภาพบคุ คลเพ่ือความเปน็ เลิศ (HCEC) เพือ่ เปน็ ศูนยก์ ลาง ในการบริหารจัดการพฒั นาศักยภาพบคุ คลสู่ความเป็นเลศิ กลยทุ ธ์ที่ 4 เพ่ิมประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การศึกษา 1. เป้าหมาย 1. สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา สถานศึกษามีการนา ระบบข้อมลู สารสนเทศ และเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชใ้ นการบรหิ ารจัดการ อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 2. สถานศึกษาและพนื้ ที่นวัตกรรมไดร้ บั การส่งเสรมิ สนับสนนุ ให้มีความคล่องตวั และ เอื้อตอ่ การบริหาร และการจดั การศึกษาอย่างมปี ระสิทธภิ าพทเ่ี หมาะสมกบั บริบท 3. สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา สถานศึกษา มกี าร บริหารจดั การ โดยเฉพาะด้านงบประมาณ และการบริหารงานบคุ คล ทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพ เหมาะสมกับบริบท 4. สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขานพน้ื ฐาน สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา สถานศึกษามีการ พฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การและการมีส่วนรว่ ม ทีม่ ีประสิทธภิ พ เหมาะสมกบั บริบท

60 2. ตวั ช้ีวดั คา่ เป้าหมาย หน่วยนับ ค่าเป้าหมาย ปี2565 ท่ี ตวั ช้วี ัด ร้อยละ 80 1 รอ้ ยละของหน่วยงานและสถานศึกษามีระบบบรหิ ารจดั การ ท่ีเปน็ ดจิ ทิ ลั สัดสว่ น 3:2 2 สัดสว่ นของเวลาของครูในการจัดการเรยี นการสอนตอ่ งานอื่น ๆ ที่ นอกเหนือจากการจดั การเรียนการสอน ร้อยละ 80 3 ร้อยละของสถานศึกษาในพ้นื ท่นี วตั กรรมการศึกษา ในเขต พื้นทล่ี ักษณะ รอ้ ยละ 80 พเิ ศษ และเขตพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษ ได้รบั การ พัฒนาประสิทธภิ าพการจัด ร้อยละ 10 การศึกษาตามบรบิ ทพ้ืนที่ 4 รอ้ ยละของหนว่ ยงานในสงั กัด สพฐ. ที่ผ่านเกณฑ์การ ประเมิน ITA 5 รอ้ ยละของโครงการของหน่วยงานในสงั กัดสานักงาน คณะกรรมการ การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ทบี่ รรลุผลสัมฤทธต์ิ าม ค่าเปาู หมายยุทธศาสตรช์ าติ 5. รายละเอยี ดตัวชว้ี ดั ประเดน็ รายละเอยี ด ตัวช้ีวดั 1 ร้อยละของหน่วยงานและสถานศึกษามีระบบบรหิ ารจดั การที่เป็นดจิ ทิ ลั คา่ เปูาหมาย ร้อยละ 80 คาอธบิ าย ∙ หน่วยงาน หมายถงึ สานกั /หนว่ ยงานเทียบเท่าในสานักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาข้ัน พ้ืนฐาน (ส่วนกลาง) และสานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา k สถานศกึ ษา หมายถึงสถานศกึ ษา ในสังกดั สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ตามกลมุ่ เปูาหมายท่กี าหนด ∙ ระบบบริหารจดั การท่ีเปน็ ดิจทิ ลั หมายถึง ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ อุปกรณ์หรอื แอพลิ เคช่ันตา่ ง ๆ ท่ีใชใ้ นการสนับสนุนการบริหารจดั การของหน่วยงาน และสถานศึกษา 4 ดา้ นได้ ครบถ้วน ได้แก่ดา้ นบรหิ ารงาน ทัว่ ไป ด้านแผนงาน และงบประมาณ ด้านบริหารงานบุคคล และดา้ น วิชาการ ข้อมูลท่ีใช้ A จานวนหน่วยงานและสถานศกึ ษาท่ีมีระบบบรหิ ารจัดการที่เปน็ ดิจิทัล ได้ครบถว้ น B จานวนหน่วยงานและสถานศึกษาทงั้ หมดตามกลุ่มเปูาหมาย วธิ ีการวิเคราะห์ (A / B) * 100 ขอ้ มลู แหลง่ ข้อมูล กพร. สทร.

61 ประเด็น รายละเอียด ตัวชว้ี ัด 2 ค่าเปาู หมาย สัดสว่ นของเวลาของครใู นการจดั การเรียนการสอนตอ่ งานอื่น ๆ ทนี่ อกเหนือจาก การจดั การ คาอธบิ าย เรียนการสอน ขอ้ มูลท่ีใช้ สัดสว่ น 3 : 2 เวลาของครูในการจัดการเรยี นการสอน หมายถงึ ภาระของครูในการจดั การ เรียนการสอน โดยตรงตอ่ นกั เรียนตามระยะเวลาทก่ี าหนดในมาตรฐานงาน หรือเวลาท่ีใชใ้ นภาระงานเพ่ือ การพฒั นาผูเ้ รยี นโดยตรง งานอ่นื ๆ ทนี่ อกเหนือจากการจัดการเรียนการสอน หมายถงึ ภาระงานอนื่ ๆ ที่ นอกเหนือจากเวลาของครใู นการจดั การเรยี นกรสอน A ระยะเวลาที่ใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอน B ระยะเวลาท่ีใช้นอกเหนือจากการจดั การเรียนการสอน C ระยะเวลาท้งั หมดทีค่ รูใชใ้ นโรงเรยี น วธิ กี ารวเิ คราะห์ A : B ขอ้ มูล แหล่งขอ้ มลู กพร. ตัวชี้วดั 2 รอ้ ยละของสถานศกึ ษาในพน้ื ทน่ี วตั กรรมการศกึ ษา ในเขตพืน้ ที่ลกั ษณะ พเิ ศษและเขตพัฒนา เศรษฐกจิ พเิ ศษ ได้รบั การพัฒนาประสิทธิภาพการจัด การศึกษาตามบริบทพน้ื ที่ ค่าเปาู หมาย ร้อยละ 80 คาอธิบาย 1. สถานศกึ ษาในพื้นทน่ี วตั กรรมการศึกษา หมายถงึ สถานศึกษานาร่องใน พ้นื ท่นี วัตกรรม การศึกษา จานวน 8จงั หวดั ได้แกจ่ ังหวัดสตลู จังหวัดระยองจังหวดั เชยี งใหม่ จังหวัด กาญจนบรุ จี ังหวัดศรีสะเกษ จังหวัดยะลา จงั หวัดปัตตานแี ละ จงั หวดั นราธิวาส 2. สถานศกึ ษาในเขตพื้นทล่ี ักษณะพิเศษ หมายถงึ โรงเรียนท่ีตงั้ อยู่ในพน้ื ทีล่ ักษณะ พิเศษ กลมุ่ โรงเรียนพน้ื ท่สี งู ในถ่นิ ทุรกนั ดารและโรงเรยี นพนื้ ทเี่ กาะ 3. สถานศกึ ษาเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษ หมายถงึ สถานศึกษาท่ีต้ังอยู่ในเขต พ้ืนทเ่ี ศรษฐกิจ ใหม่บรเิ วณชายแดน โดยตงั้ อย่ใู น 10 จงั หวดั ไดแ้ ก่ เชียงราย กาญจนบุรนี ราธวิ าส หนองคาย นครพนม ตราด สงขลา ตาก สระแก้ว และ มุกดาหาร รวมถึงสถานศึกษาท่ีตง้ั อย่ใู นเขต พฒั นาพิเศษภาคตะวันออก EEC ใน 3 จังหวัดภาคตะวนั ออกไดแ้ ก่ชลบรุ รี ะยอง และ ฉะเชงิ เทรา

62 ประเด็น รายละเอียด ขอ้ มลู ท่ีใช้ A จานวนสถานศึกษาในพ้ืนท่ีนวัตกรรมการศึกษาทีไ่ ดร้ ับการพฒั นา ประสิทธิภาพ การจัดการ ศกึ ษา B จานวนสถาน ศึกษาใน เขตพืน้ ทีล่ กั ษณะพเิ ศษท่ีได้รับการพฒั นา ประสิทธิภาพ การจัดการ ศึกษา C จานวนสถานศึกษาเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พิเศษทไี ดร้ ับการพฒั นาประสทิ ธภิ าพ การจดั การ ศกึ ษา D จานวนสถานศึกษาในสังกัดสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน วธิ ีการวิ (A+B+C/D) * 100 เคราะหข์ ้อมูล แหลง่ ขอ้ มลู สบน. / สนผ. / สมป. (ศึกษาจาการรายงานผลการดาเนินงานของสถานศกึ ษาในโครงการจากการ สนับสนุน งบประมาณในการขับเคล่อื นการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรยี นการสอน ส่ือ นวัตกรรม ท่ี สอดคล้องกบั อุตสาหกรรมเปูาหมายของเขตพฒั นาพเิ ศษภาค ตะวนั ออก (EASTERN ECONOMIC CORRIDOR :EEC)ตามบรบิ ทของโรงเรยี น รวมถงึ การใชง้ บประมาณที่ไดร้ ับ จดั สรรเป็นไปตามวัตถปุ ระสงค์ทก่ี าหนดไว้) ตัวชี้วดั 3 รอ้ ยละของหนว่ ยงานในสังกัด สพฐ. ทีผ่ ่านเกณฑ์การประเมิน ITA คา่ เปาู หมาย ร้อยละ80 คาอธบิ าย หน่วยงานในสังกัด สพฐ. หมายถงึ สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา และ สถานศึกษาในสังกัด สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน ข้อมลู ท่ีใช้ 1. ผลการประเมิน ITA ของสานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา 2. ผลการประเมิน ITA ของสถานศึกษา วิธกี าร นาเขา้ ข้อมูลจากระบบการประเมิน ITA ONLINE วิเคราะห์ ขอ้ มลู สนก. (ผลการประเมิน ITA ของสานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา) สพท. (ผลการประเมิน ITA ของสถานศึกษา) แหลง่ ข้อมลู ตวั ชีว้ ดั 4 ร้อยละของโครงการของหนว่ ยงานในสงั กดั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐานท่ี คา่ เปูาหมาย บรรลผุ ลสมั ฤทธ์ิตามคา่ เปูาหมายยุทธศาสตร์ชาติ รอ้ ยละ 10

63 ประเดน็ รายละเอยี ด คาอธิบาย 1. โครงการของหน่วยงานในสังกดั สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานหมายถึง ข้อมูลท่ีใช้ โครงการที่ได้รบั จดั สรรงบประมาณ ตามแผนปฏิบตั ริ าชการประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ทม่ี ี การดาเนนิ การและนาเขา้ ขอ้ มูล โครงการในระบบตดิ ตามและประเมนิ ผล แหง่ ชาต(ิ EMENSCR) 2. การบรรลผุ ลสมั ฤทธต์ิ ามค่าเปูาหมายยุทธศาสตร์ หมายถึง การนาผลการ ดาเนนิ งาน โครงการไปเปรยี บเทยี บกบั ค่าเปูาหมายของยุทธศาสตร์ชาติทส่ี อดคล้องกับ โครงการนน้ั ๆ A จานวนโครงการทีม่ ีการดาเนนิ การและนาเข้าข้อมูลจากระบบติดตามและ ประเมนิ ผล แหง่ ชาต(ิ EMENSCR) ทบ่ี รรลุผลสัมฤทธิต์ ามคา่ เปูาหมายยุทธศาสตร์ ชาตทิ สี่ อดคล้องกับ โครงการนั้น ๆ B จานวนโครงการท่ีได้รับจัดสรรงบประมาณ ตามแผนปฏิบัติราชการประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน วิธกี าร (A / B) * 100 วเิ คราะห์ ขอ้ มูล สตผ. (นาผลการดาเนินงานโครงการเปรียบเทียบกบั ค่าเปาู หมายของยุทธศาสตรช์ าติที่ สอดคลอ้ ง แหล่งข้อมูล กับโครงการนัน้ ๆ) 4. แนวทางการพัฒนา การใช้เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั 1. พัฒนาระบบฐานข้อมูลกลาง (Big Data) ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน และ สารสนเทศท่ีมีประสิทธิภาพ ทนั สมยั และเป็นปจั จุบนั เพ่ือสามารถตอบสนองความตอ้ งการท่แี ตกต่าง ของ นักเรยี น และผู้รบั บริการทกุ ประเภท รวมทัง้ พัฒนาระบบฐานข้อมลู เพอ่ื ปรบั ปรุงการบริการ กระบวนงาน ตลอดจนการพัฒนาจนเกิดเป็นนวัตกรรมทตี่ อบสนองความตอ้ งการทัง้ ในภาพรวม และเฉพาะ กลุ่มได้ โดย สามารถเช่ือมโยงกับฐานข้อมูลกลางของหนว่ ยงานอ่นื ๆ ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ พ และปลอดภัย ในทกุ มติ ิ 2. พัฒนาและจัดระบบข้อมลู สารสนเทศทางการศึกษา สาหรับประชาชน และผ้มู ีส่วนได้สว่ นเสีย ไดม้ ี การเขา้ ถึงข้อมูลได้อย่างสะดวก 3. ส่งเสรมิ การน ำเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลมาใชใ้ นการบรหิ ารจัดการให้มีประสทิ ธิภาพทุกระดบั

64 แผนปฏบิ ตั ิการประจาปีงบประมาณพ.ศ.2565 ของสานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาลาปางเขต 3 สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปางเขต 3 ได้ศึกษาวิเคราะห์ทบทวนบริบทท่ี เก่ียวข้องซ่ึงมีการปรับเปลี่ยนตามสถานการณ์ระดับประเทศ ประกอบด้วยยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561-2580 แผนแม่บทภายใต้ยุยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.2561-2580) แผนแม่บทเฉพาะกิจภายใต้ประเด็นยุทธศาสตร์อันเป็น ผลมาจากสถานการณโ์ ควดิ - 19 พ.ศ. 2564 - 2565(ประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 137 ตอนพิเศษ 305 ง. วันที่ 30 ธันวาคม 2563 โครงการสาคัญเพื่อบรรลุเปูาหมายยุทธศาสตร์ชาติและแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ ชาติ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565แผนการปฏิรูปประเทศ ฉบับปรับปรุง(คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบ เมื่อ วนั ที่ธันวาคม 2563 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับท่สี บิ สอง พ.ศ.2560 -2564 นโยบายและแผน ระดับชาตวิ า่ ด้วยความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ.2562-2565) นโยบายรัฐบาล (พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา) แถลง ต่อรัฐสภา เม่ือวันท่ี 25 กรกฎาคม 2562 แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560 -2579 นโยบายและจุดเน้น กระทรวงศึกษาธิการ นโยบายและจุดเน้นสานักงานคระกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 และผลการวิเคราะห์ SWOT ท่ีเก่ียวข้องกับภารกิจของสานักงานปลัดปลัดกระทรวงศึกษาธิการรวมทั้ง เชื่อมโยงขอ้ มลู ส่รู ะบบติดตามและประเมินผลแหง่ ชาติ (Electronic Monitoring and Evaluation System of National Strategy and country Reform : eMENSCR) กาหนดเป็นกรอบแนวทางการจัดทาแผนปฏิบัติ ราชการประจาปี พ.ศ.2565 ของสานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลาปางเขต 3 ดงั น้ี ความสอดคล้องกับแผน 3 ระดับ มติคณะรัฐมนตรีจากการประชมุ วันที่ 4 ธันวาคม 2560 เห็นชอบการจาแนกแผน ออกเปน็ 3 ระดบั ได้แก่ แผนระดับที1่ ยุทธศาสตร์ชาติเปน็ เปูาหมายการพฒั นาประเทศ ใชเ้ ป็นกรอบในการจดั ทา แผนต่างๆ ให้สอดคล้องและบรู ณาการรว่ มกนั แผนระดบั ที่ 2 ไดแ้ ก่แผนแมบ่ ทกายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ แผนการ ปฏิรปู ประเทศ และแผนความมนั่ คง แผนระดบั ที่ 3 หมายถงึ แผนที่จัดทาขน้ึ เพอื่ สนบั สนนุ การดาเนินงานของแผนระดบั ท่ี 1และ 2 ใหบ้ รรลุ เปาู หมายทีก่ าหนดไว้ หรือจัดขึน้ ตามที่กฎหมายกาหนดหรือจัดทาขึ้นตามพนั ธกรณหี รืออนสุ ัญญาระหว่าง ประเทศ วสิ ยั ทัศน์ \"ผเู้ รยี นมคี ณุ ภาพ สสู่ ังคมในศตวรรษท่ี 21 อย่างย่งั ยนื \"

65 พันธกิจ 1. จัดการศกึ ษาเพอื่ ความมน่ั คงของมนษุ ยแ์ ละของชาติ 2. จัดการศกึ ษาเพื่อเพิม่ ความสามารถในการแขง่ ชันของประเทศ 3. จัดการศกึ ษาเพอื่ พัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ 4. จดั การศกึ ษาเพ่ือสรา้ งโอกาสในการเขา้ ถงึ บรกิ ารการศึกษาที่มีคณุ ภาพมาศรฐานและ ลดความเหล่ือมล้าทางการศกึ ษา 5. จัดการศึกษาเพื่อคุณภาพชีวิตทเ่ี ป็นมติ รกับสงิ่ แวดล้อม 6. พฒั นาระบบการบริหารจดั การศึกษาเชื่อโยงกบั นโยบายหน่วยงานตน้ สงั กัด(ด้าน ความปลอดภัย) 7. พัฒนาระบบเทคโนโลยีดจิ ิทลั (Digital Technology) มาใช้ในการบริหารจดั การศึกษาและการจดั การเรยี นรู้ เป้าประสงค์ 1. ผู้เรียนมคี วามรกั ในสถาบนั หลักของชาติ และยืดมนั การปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ เปน็ พลเมืองดขี องชาติ มีคณุ ธรรม จริยธรรม มีคา่ นิยมที่ พงึ ประสงค์ มีจติ สาธารณะ รบั ผิดชอบตอ่ สังคม 2. ผ้เู รียนมคี วามรู้ทักษะและมคี วามสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ 3. ผู้เรียนเปน็ บคุ คลแหง่ การเรียนรู้ มคี ณุ ลกั ษณะของผ้เู รยี นในศตวรรษท่ี 21 4. ผูเ้ รียนได้รับโอกาสในการเข้าถงึ บริการการศึกษาท่มี ีคณุ ภาพตามมาตรฐานและได้รับการศกึ ษา อย่างทวั่ ถึง เท่าเทียม และมคี ุณภาพ 5. สถานศึกษาจัดการศึกษาเพ่ือการบรรลุเปูาหมายการพฒั นาอยา่ งย่งั ยนื (Sustainable Development Goals : SDGs) และสรา้ งเสริมคณุ ภาพชีวิตทีเ่ ปน็ มิตรกับสิ่งแวดลอ้ มตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 6. สานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษา มีระบบการบรหิ ารจัดการท่ดี แี ละสนองต่อนโยบายหนว่ ยงานตน้ สงั กดั ได้มีประสิทธิภาพ 7. สานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษา และสถานศึกษา มรี ะบบขอ้ มลู สารสนเทศการกากับติดตาม ประเมินผล และการรายงานผลอย่างเป็นระบบ จุดเนน้ จดุ เน้นท่ี 1 ส่งเสรมิ สนับสนนุ การจัดการศกึ ษาเพื่อความมน่ั คงของมนุษยแ์ ละของชาติ จดุ เน้นท่ี 2 ส่งเสริม สนับสนนุ การจัดการศึกษาเพ่ือเพิ่มความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ จดุ เนน้ ที่ 3 เรง่ รัด ส่งเสริม สนบั สนุนการพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ จดุ เน้นที่ 4 สง่ เสริม สนับสนุนการสร้างโอกาสในการเข้าถงึ บริการการศึกษาที่มีคณุ ภาพมี มาตรฐานและลดความเหลือมล้าทางการศึกษา

66 จุดเนน้ ท่ี 5 ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศกึ ษาเพื่อพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ท่เี ป็นมิตรกบั สงิ่ แวดล้อม จดุ เน้นที่ 6 ส่งเสริม สนบั สนนุ การพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการศึกษาท่เี ชอื่ โยงกับจุดเน้น หน่วยงานต้นสังกัด จุดเนน้ ท่ี 7 สง่ เสริม สนบั สนุนการพฒั นาระบบเทคโนโลยีดจิ ิทลั (Digital Technology) ในการบรหิ ารจัดการศึกษาและการจัดการเรยี นรู้ 3. หลักการบริหารงาน นโยบายและจดุ เน้นในการบรหิ ารจัดการศึกษาสานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา ประถมศึกษาลาปาง เขต 3 3.1. หลักการบรหิ ารงาน รูปแบบ START START เป็นรูปแบบของการทางานท่ีแสดงให้เห็นวา่ พวกเรามจี ุดเร่มิ ตนั เป็นทเ่ี ราจะออกเดนิ ทางไป รว่ มกนั เพ่ือเปาู หมายของการพฒั นาท่ีสาคัญคือ คุณภาพผู้เรียน โดย S ย่อมาจาก Student Centricity (นักเรียนเปน็ เปาู หมายแหง่ การพฒั นา) T ยอ่ มาจาก Technology (เทคโนโลย)ี A ยอ่ มาจาก Ability (ความสามารถท่ีหลากหลายความเกง่ กาจ) R ย่อมาจาก Responsibility (ความรับผดิ ชอบ) T ยอ่ มาจาก Transparency (ความโปร่งใส) รูปแบบการทางาน \"START\" คอื การทางานท่ีมีจุดเริ่มต้น และเป็นการขับเคล่ือนการทางานไปข้างหน้า อย่างไม่หยุดย้ัง ด้วยทักษะความสามารถท่ีหลากหลายของบุคลากร ทีมงานท่ีเข้มแข็ง มีการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีดิจิตัล (Digital Technology) มาใช้ในการเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการ และส่งเสริมการ จัดการเรยี นรูร้ วมทง้ั การสนับสนุนให้ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาทกุ คนดาเนินการตามบทบาทหน้าท่ีภารกิจ ของตนด้วย ความรับผิดชอบต่อจรรยาบรรณวิชาชีพ มีคุณธรรมและจริยธรรมดลอดถึงความรับผิดชอบต่อ องค์กรสังคม และประเทศชาติ ช่วยกันเสริมสร้างองค์กรท่ีมีความโปร่งใส ทั้งในเชิงกระบวนการทางานและ กระบวนการตรวจสอบจาภาคส่วนต่าง ๆ มีการกาหนดเปูาหมายในการพัฒนาร่วมกัน คือผู้เรียนทุกคนมี คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา มสี มรรถนะและคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ทกุ ประการ

67 ในการบริหารจัดการรปู แบบ SMART มีกระบวนการขบั เคลอ่ื นโดยใช้กระบวนการ 5 ขน้ั ตอน Five Steps พชิ ิตงาน ดงั น้ี กรอบแนวคดิ การพฒั นาคุณภาพการศึกษา สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 3 จดุ ประกาย - การสรา้ งความตระหนกั สร้างการรับร้ใู นแนวทาง Spark นโยบาย พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาของสานกั งานเขต พน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 ขยายย่อ - การศกึ ษาวเิ คราะหข์ ้อมูล Expand Shoots 1. กาหนดตวั ช้ีวัดความสาเรจ็ (KPI) ต่อความคิด 2. กาหนดเจา้ ภาพหลกั และผรู้ ับผดิ ชอบในการดาเนินงาน Extend the idea 3. สรา้ งภาคเี ครือข่าย 4. กาหนดกิจกรรมในการขับเคลื่อน ตดิ ตามนิเทศ Supervision 1. กาหนดตวั ชี้วดั ความสาเร็จ (KPI) 2. กาหนดเจ้าภาพหลักและผ้รู บั ผิดชอบในการดาเนนิ งาน พิเศษเชดิ ชู 3. สรา้ งภาคเี ครอื ข่าย Encouragement 4. กาหนดกิจกรรมในการขบั เคลอ่ื น 1. กระบวนการนเิ ทศติดตามและประเมินผลโดยการมี สว่ นร่วม ของเครอื ขา่ ยร่วมพฒั นา 2. รวบรวม วิเคราะห์ และสังเคราะห์ การดาเนนิ งาน ตรวจสอบประเมนิ ผล ไม่มีคณุ ภาพ ปรบั ปรุง/ การดาเนินงาน มีคณุ ภาพ พฒั นา วิเคราะห์ สรุป และจดั ทารายงานผลการดาเนนิ งาน - การยกย่องเชิดชเู กยี รติ - การมอบเกยี รตบิ ัตร/รางวัล - นาเสนอและเผยแพรผ่ ลการดาเนินงาน (แลกเปลี่ยนเรียนร้จู ดั นิทรรศการ)

68 3.2 นโยบายและจดุ เน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต3 ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ในการขับเคล่ือนนโยบายและจุดเน้นการพัฒนาท่ีมุ่งเน้นให้เกิดความสาเร็จ บรรลุผลดามภารกิจหลัก ขององค์กรท้ังด้านวิชาการ ด้านบริหารงานบุคคลต้านบริหารงบประมาณ และด้านบริหารงานทั่วไปให้ สอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการและสานักงานคณะกรรมการการศึกษาชั้นพื้นฐานรวมทั้ง วิสัยทัศน์ของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 ท่ีกาหนดไว้ว่า \"ผู้เรียนมี21 อย่างยั่งยืน\" ดังน้ันเพื่อให้เกิดสัมฤทธ์ิผลดังกล่าว และมีการขับเคล่ือนสู่คุณภาพสู่สังคมในศตวรรษท่ีการปฏิบัติจึงได้กาหนด นโยบาย 3:3:9 ดังน้ี 3. คุณภาพ ได้แก่ - คณุ ภาพผเู้ รยี น - คุณภาพการบรหิ ารจัดการศึกษา - คุณภาพจัดการเรียนการสอน 3 ภาคเี ครอี ข่าย ได้แก่ - เครอื ข่าย ก.ต.ป.น. - เครอื ขา่ ยคณะอนุ ก.ต.ป.น. 2 ตา้ น ไดแ้ ก่ 1 .เครือขา่ ยคณะอน ก.ต.ป.น ด้านการศกึ ษา วเิ คราะห์ วจิ ัย การบริหาร และพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา 2. เครอื ข่ายคณะอนุ ก.ต.ป.น. ต้านการตอดตามตรวจสอบประเมินผลและนเิ ทศการศึกษา - เครือข่ายกลุ่มโรงเรียนในสังกดั 9. จุดเนน้ การพฒั นาคุณภาพการศึกษา ไดแ้ ก่ 1. การพัฒนาเด็กปฐมวัยให้ได้รบั การดแู ลและมคี วามพรอ้ ม ทง้ั ทางรา่ งกาย จิตใจ วินัย อารมณแ์ ละสตปิ ัญญาให้ สมกบั วัย 2. การเพิ่มโอกาสและเข้าถงึ การศึกษาทีม่ ีคุณภาพ มีมาตรฐานและลดความเหลื่อมลา้ ทางการศกึ ษา ใหผ้ ู้เรียนทกุ กลมุ่ เปูาหมาย 3. การเรมิ สรา้ งความปลอดภยั ในองค์กรและสถนศึกษาจากภัยพบิ ัติและภยั คกุ คามทุกรูปแบบ 4. การนานวตั กรรมและเทคโนโลยที ่ที ันสมยั มาใชใ้ นการพัฒนาประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การศกึ ษาและการ จัดการเรียนรู้ 5. การพฒั นาคุณภาพและประสิทธภิ าพผ้บู รหิ ารสถานศึกษา ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา ทกุ กลมุ่ 6. การพฒั นาระบบประกนั คุณภาพและระบบการประเมนิ ผลการศกึ ษา 7. การส่งเสรมิ การเรียนรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง พัฒนาผเู้ รยี นให้มีความรักในสถาบันหลกั ของชาติ มีทัศนคตทิ ี่ถูกต้องต่อบ้านเมือง 8. การยกระดบั ทกั ษะด้านการอ่านออกเขยี นไดก้ ารคิดวเิ คราะหส์ งั เคราะห์ และทักษะภาษาองั กฤษ 9. การสง่ เสริมกจิ กรรมลดเวลาเรียน เพมิ่ เวลารู้ กิจกรรมด้านศิลปะ ดนตรี กีฬาและทักษะอาชีพ

69 4. มาตรฐานการศกึ ษา ระดับปฐมวัย มาตรฐานการศึกษา ระดบั ปฐมวัย พ.ศ.2561 มจี านวน 3 มาตรฐาน ได้แก่ มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผูเ้ รยี น มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณท์ ีเ่ น้นเดก็ เปน็ สาคญั แตล่ ะมาตรฐานมีรายละเอียด ดังน้ี มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเด็ก 1.1 มีการพฒั นาดา้ นรา่ งกาย แข็งแรง มสี ขุ นสิ ยั ที่ดี และดูแลความปลอดภยั ของตนเองได้ 1.2 มีการพัฒนาด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม แลและแสดงงอออกทางอารมณ์ได้ 1.3 มีการพฒั นาการดา้ นสงั คม ช่วยแหลือตนเอง และเป็นสมาชิกท่ีดีของสังคม 1.4 มีพฒั นาการด้านสติปญั ญา ส่ือสารได้ มที กั ษะการคิดพ้ืนฐานและแสวงหาความร้ไู ด้ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและจดั การ 2.1 มีหลักสตู รครอบคลุมพัฒนาการท้งั ๔ ดา้ น สอดคล้องกับบริบทขอองท้องถ่นิ 2.2 จดั ครใู หเ้ พยี งพอกบั ชัน้ เรียน 2.3 ส่งเสริมให้ครูมคี วามเชย่ี วชาญดา้ นกากรรจดั ประสบการณ์ 2.4 จัดสภาพแวดลอ้ มและส่อื เพื่อการเรยี นรู้ อยา่ งปลอดภัย และเพียงพอ 2.5 ใหบ้ ริการส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศและส่ือการเรยี นร้เู พ่ือสนับสนนุ การจัดประสบการณ์ 2.6 มีระบบบรหิ ารคุณภาพท่ีเปดิ โอกาสใหผ้ ูเ้ กย่ี วข้องทกุ ฝาุ ยมีส่วนร่วม มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณท์ ี่เนน้ เดก็ เปน็ สาคญั 3.1 จัดประสบการณ์ทส่ี ง่ เสริมใหเ้ ดก็ มกี ารพัฒนาการทุกด้านอยา่ งสมดลุ เต็มศักยภาพ 3.2 สรา้ งโอกาสใหเ้ ด็กไดร้ บั ประสบการณ์ตรง เล่นและปฏบิ ัตอิ ยา่ งมีความสขุ 3.3 จัดบรรยากาศทีเ่ อ้ือต่อการเรยี นรู้ใชส้ ื่อเทคโนโลยที ี่เหมาะสมกบั วัย 3.4 ประเมนิ พัฒนาการเด็กตามสภาพจริงแลละนาผลประเมินพฒั นาการเด็กไปปรับปรุง การจัดประสบการณแ์ ละพัฒนาเดก็ 5. มาตรฐานการศึกษา ระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน มาตรฐานการศึกษา ระดบั การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พ.ศ.2561 มีจานวน 3 มาตรฐาน ไดแ้ ก่ มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู้ รยี น 1.1 ผลสัมฤทธ์ทิ างวชิ าการของผู้เรยี น 1.2 คณุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทีเ่ น้นผเู้ รียนเปน็ สาคญั

70 แตล่ ะมาตรฐานมรี ายละเอียด ดงั นี้ มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้เรียน 1.1 ผลสัมฤทธท์ิ างวชิ าการของผู้เรยี น 1) มคี วามสามารถในการอ่าน การเขยี น การสื่อสาร และการคิดคานวณ 2) มคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปลย่ี น ความคดิ เห็น และแก้ปัญหา 3) มคี วามสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม 4) มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร 5) มีผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนตามหลกั สตู รสถานศึกษา 6) มคี วามรู้ ทักษะพ้นื ฐาน และเจตคติที่ดตี ่องานอาชพี 1.2 คณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงคข์ องผเู้ รยี น 1) การมีคุณลกั ษณะและคา่ นิยมทดี่ ีตามทส่ี ถานศึกษากาหนด 2) ความภมู ิใจในทอ้ งถ่นิ และความเปน็ ไทย 3) การยอมรับท่ีจะอยรู่ ว่ มกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย 4) สขุ ภาวะทางร่างกาย และจติ สงั คม มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ 2.1 มีเปูาหมายวสิ ัยทัศน์และพันธกจิ ทีส่ ถานศึกษากาหนดชัดเจน 2.2 มีระบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษา 2.3 ดาเนนิ งานพัฒนาวชิ าการท่ีเนน้ คณุ ภาพผเู้ รยี นรอบด้านตามหลักสตู รสถานศึกษา และทุกกลมุ่ เปูาหมาย 2.4 พัฒนาครแู ละบคุ ลากรให้มีความเชีย่ วชาญทางวิชาชีพ 2.5 จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมทเ่ี อ้อื ตอ่ การจัดการเรยี นรอู้ ยา่ งมคี ุณภาพ 2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนบั สนนุ การบรหิ ารจดั การและการจัดการเรยี นรู้ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เนน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคญั 3.1 จดั การเรยี นรผู้ ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ตั ิจริง และสามารถนาไปประยุกต์ใชใ้ นชีวิตได้ 3.2 ใชส้ ่อื เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรูท้ ่เี อ้ือต่อการเรียนรู้ 3.3 มกี ารบรหิ ารจดั การชนั้ เรียนเชิงบวก 3.4 ตรวจสอบและประเมินผเู้ รียนอย่างเปน็ ระบบและนาผลมาพฒั นาผ้เู รยี น 3.5 มีการแลกเปล่ยี นเรยี นรู้และใหข้ ้อมูลสะท้อนกลับเพ่ือพฒั นาและปรับปรงุ การจัดการเรยี นรู้

71 6. ทศิ ทางการพฒั นาการศึกษาโรงเรียนบา้ นแพะ โรงเรียนบ้านแพะไดว้ ิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มภายในและภายนอกสถานศึกษา และมาตรฐานการศึกษา สถานศึกษาระดับปฐมวัย และระดับการศึกษาข้นั พืน้ ฐานเพือ่ กาหนดวิสัยทศั น์ พันธกจิ เปูาประสงค์สถานศึกษา ดงั นี้ 6.1 วสิ ัยทัศน์ - (Vision) “จดั การศึกษาใหม้ ีคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน ผ้เู รยี นมีทักษะการเรียนรูใ้ น ศตวรรษที่ 21 มีคุณธรรม จริยธรรม นอ้ มนาหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งในการดาเนินชีวิต” 6.2 พนั ธกิจ – Mission 1. พัฒนาและสรา้ งเสริมศักยภาพผู้เรยี นทกุ ช่วงวยั มที กั ษะท่ีจาเป็นในศตวรรษท่ี 21 มีความเป็นเลศิ ดา้ น วิชาการ มที ักษะสอื่ สารภาษาอังกฤษ มนี ิสัยรักการเรยี นรแู้ ละการพัฒนาตนเองอย่างตอ่ เนื่อง 2. สง่ เสริมพฒั นาผเู้ รยี นทีม่ คี วามต้องการจาเปน็ พิเศษ ให้มพี ัฒนาการตามศกั ยภาพของแตล่ ะบคุ คล 3. สง่ เสริมพัฒนาผเู้ รียนใหม้ คี ุณธรรม จรยิ ธรรม มคี วามรักในสถาบนั ชาติ ยดึ ม่นั การปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุข นาหลกั ธรรมทางพุทธศาสนาในการดาเนินชวี ิต เปน็ พลเมอื งดขี องชาติและเป็นพลโลกที่ดี 4. สง่ เสรมิ ผเู้ รยี นนาหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการดาเนินชวี ิต 6.3 เป้าหมาย – Goals 1. ปรับปรุงคุณภาพการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2560 2. นอ้ มนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏบิ ัติ 3. ส่งเสริมและพัฒนานักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม และเจตคติที่ดีต่อ วชิ าชีพพรอ้ มนาปฏบิ ตั อิ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 4. สง่ เสริมความสมั พนั ธ์ระหว่างโรงเรียนกบั ชมุ ชน 5. ส่งเสริมใหค้ รมู ีกิจกรรมการเรยี นการสอนเพอ่ื พฒั นาและยกระดับผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นของผู้เรยี น ให้สงู ขึน้ 6.4 กลยทุ ธ์ พัฒนาคุณภารผู้เรยี นตามสถานศกึ ษา โรงเรียนบา้ นแพะ กลยทุ ธ์ท่ี 1 พฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มคี ุณภาพตามาตรฐานวิชาชพี กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาระบบบริหารจัดการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพโดยใช้เทคโนโลยีดิจิตอล กลยทุ ธ์ที่ 3 และการมสี ่วนรว่ มจากทุกฝุายทเี่ ก่ยี วขอ้ ง พัฒนาสถานศกึ ษาใหม้ ีความปลอดภยั สะดวก สวยงาม กลยุทธ์ท่ี 4 6.5 ผลผลิต โรงเรียนบา้ นแพะ มีการดาเนนิ งาน 2 ผลผลิต คอื 1. ผจู้ บการศกึ ษาระดบั ก่อนประถมศกึ ษา 2. ผ้จู บการศกึ ษาประถมศึกษา

72 6.6 เอกลักษณข์ องโรงเรยี น (จดุ เดน่ ของโรงเรียน) นกั เรยี นมีมารยาททดี่ ี มีจริยธรรม คุณธรรม 6.7 อตั ลักษณข์ องโรงเรยี น (คุณลักษณะผู้เรยี นทีเ่ กิดจากวสิ ยั ทัศน/์ พนั ธกิจ) ดาเนนิ ชีวติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 6.7 สมรรถนะหลกั ของโรงเรยี น (ความสามารถที่โดดเด่น) 1. การทางานเปน็ ทีมและมคี วามสามัคคี 2. การบริการที่ดี 3. การพัฒนาตนเองตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 4. การมุง่ ผลสัมฤทธิ์ 6.9 มาตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวัย โรงเรียนบา้ นแพะ โรงเรียนบา้ นแพะกาหนดมาตรฐานการศกึ ษาระดับปฐมวยั และประกาศเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2565 โดยกาหนดเปูาหมายความสาเร็จของสถานศึกษาโดยรวมอยูใ่ นระดับดีเลศิ โดยมีเปูาหมายในแตล่ ะมาตรฐาน ดงั น้ี มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเดก็ 1. เดก็ ทกุ คนได้รบั อาหารหลักครบทุกม้ือและอาหารเสรมิ (นม) 1 มื้อ(เวลาเชา้ ) และเดก็ รอ้ ยละ 85 มี น้าหนกั และสว่ นสงู ตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข และสามารถเคลอ่ื นไหวรา่ งกาย ได้อยา่ งคลอ่ งแคลว่ 2. เดก็ ร้อยละ 80มสี ุขภาพอนามัยและสุขนสิ ยั ท่ีดี ดแู ลตนเองในการปฏบิ ัติกิจวตั รประจาวันได้ดี และมี วินยั ในการรกั ษาความสะอาดตนเอง ห้องเรยี นและสภาพแวดล้อมภายในโรงเรียน 3. เด็กรอ้ ยละ 85 เขา้ ใจและปฏิบตั ติ นตามข้อตกลงของหอ้ งเรียนและโรงเรยี น เลน่ และปฏิบัติกิจกรรม ได้อยา่ งปลอดภยั และมีความสขุ และสามารถทางานท่ไี ด้รับมอบหมายจนสาเรจ็ ไดด้ ้วยตนเอง 4. เด็กทุกคนมผี ลงานดา้ นศลิ ปะที่เกิดจากการลงมือทาด้วยตนเองสามารถเล่าเร่อื งตามจินตนาการจาก ผลงานท่ีทานน้ั 5. เด็กรอ้ ยละ 80 ร้จู ักอดทนในการรอคอย (เชน่ คอยผปู้ กครอง คอยรอรบั ของจากคร)ู 6. เดก็ ทุกคนมมี ารยาท \"งามอย่างไทย\" ไหว้ ยม้ิ และกล่าวทักทายด้วยความสุภาพ มสี ัมมาคารวะต่อผู้ ท่อี าวโุ สกวา่ จนไดร้ ับคาชืน่ ชม 7. เดก็ ทุกคนกล้าตง้ั คาถามในสง่ิ ทีต่ นเองสนใจหรือสงสัย และสามารถอธบิ ายเหตแุ ละผลทเี่ กดิ ข้นึ จาก เหตุการณ์หรือการกระทาต่าง ๆ ได้ 8. เด็กรอ้ ยละ 85 ผ่านเกณฑ์การประเมินตามแบบทดสอบของสานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษา ประถมศึกษา มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารจัดการ 1. โรงเรยี นมีนโยบายรบั ฟังทุกความคิดเห็นของผปู้ กครอง ตามนโยบาย\"ทกุ ความคิดเห็นมีคณุ คา่ ต่อ การพฒั นาลูกของเรา\" มีหลักสตู รสถานศึกษาระดบั ปฐมวยั ทมี่ ุ่งพัฒนาการเด็กรอบด้าน จัดกจิ กรรมครบ หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั 2560 และปรับกิจกรรมให้ยดื หยุน่ ตามความสนใจและวฒุ ิภาวะของเดก็ รวมท้งั ใช้ วถิ ีชวี ิตทอ้ งถิ่นมาบูรณาการในกิจกรรม มสี ื่อการเรียนร้ทู ีจ่ ับตอ้ งได้อยา่ งหลากหลายและเพียงพอ เช่น ของเล่น

73 หนงั สอื นทิ าน ส่ือจากธรรมชาติ สือ่ สาหรับเด็กมุด ลอด ปีนปาุ ย รวมท้ังสอ่ื เทคโนโลยใี นการค้นหาความรูท้ ่ี เหมาะสมกบั วยั ของเด็ก 2. โรงเรียนมสี ภาพแวดลอ้ มภายในและภายนอกห้องเรียนท่ีปลอดภยั มคี รูดแู ลเด็กอย่างใกล้ชิดอยา่ ง พอเพียง ผ้ปู กครองสามารถพบครปู ระจาชั้นได้ตลอดเวลา 3. โรงเรียนจัดให้เด็กได้ทัศนศึกษานอกสถานท่ที ใ่ี กล้เคยี งโรงเรียน เช่นวดั ตลาด พิพิธภัณฑ์ ห้องสมดุ ประชาชน อุทยานประวัตศิ าสตร์ ฯลฯ อย่างน้อยปีการศึกษาละ 1 ครง้ั มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณท์ เี่ น้นเด็กเป็นสาคญั 1. ครูทกุ คนมีข้อมลู และเขา้ ใจเดก็ เปน็ รายบคุ คล และใช้ข้อมูลของเดก็ รว่ มกับผปู้ กครองในการช่วย ส่งเสริมใหเ้ ดก็ มีพัฒนาการอย่างสมดลุ ครบทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สังคม และสติปญั ญา 2. ครทู กุ คนจดั ประสบการณ์การเรียนร้ตู ามหลกั มอนเตสซอรี ท่สี ง่ เสริมพัฒนาเด็กโดยความรว่ มมือ ของพ่อแม่ ครอบครวั และผเู้ กย่ี วขอ้ ง 3. ครูทกุ คนใชส้ ื่อเทคโนโลยี เช่น โทรทศั น์ คอมพวิ เตอร์ แทบ็ เล็ตที่เหมาะสมกับชว่ งอายุ ระยะความ สนใจ และวิถีการเรยี นรู้ของเด็ก 4. ครูทกุ คนมคี วามเชีย่ วชาญในการประเมนิ พฒั นาการเด็กดว้ ยเครอ่ื งมือและวิธีการทีห่ ลากหลายและ เหมาะสมตามสภาพจริงจากกิจกรรมและกิจวตั รประจาวนั ครูทกุ คนและผู้ปกครองมกี ารแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ รว่ มกันจากกิจกรรม\"พบปะกันวันชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ (Professional Learning Community: PLC)\" อย่าง น้อยภาคเรยี นละ ๑ คร้ัง 6.10 มาตรฐานการศกึ ษา ระดับการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน โรงเรยี นบา้ นแพะ โรงเรียนบ้านแพะกาหนดมาตรฐานการศกึ ษาระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน และประกาศเม่ือวันท่ี 17 พฤษภาคม 2565 โดยกาหนดเปาู หมายความสาเร็จของสถานศึกษาโดยรวมอยู่ในระดบั ดีเลศิ โดยมีเปาู หมายใน แต่ละมาตรฐาน ดงั น้ี มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้เรียน ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการ 1. นักเรยี นรอ้ ยละ 75 มีความสามารถในการอา่ นและเขียนบนั ทึกความรู้ไดต้ ้งั แตร่ ะดับดีขนึ้ ไป 2. นักเรียนร้อยละ 70 มีความสามารถในการอา่ นภาษาองั กฤษและเขียนสื่อสารได้ต้งั แต่ระดบั ดขี ้นึ ไป 3. นักเรยี นร้อยละ 75 สามารถใชเ้ ทคโนโลยีและสารสนเทศ (ICT) ได้ 4. นกั เรียนรอ้ ยละ 80 มีความสามารถประดษิ ฐข์ องใช้จากวัสดธุ รรมชาติ ไดอ้ ยา่ งสวยงามอย่างน้อย 1 อยา่ ง 5. ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนระดบั ชาติ (RT, RT, O-NET) ของโรงเรยี นสงู กว่าคา่ เฉลี่ยของต้นสังกดั อยา่ ง ต่อเนอ่ื งทุกกลุม่ สาระการเรียนรู้ มคี ่าเฉลย่ี ไม่ต่ากวา่ ร้อยละ 65 6. นกั เรยี นร้อยละ 80 มีผลงานท่ีแสดงความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์และสรา้ งสรรค์ตามเกณฑ์ การประเมินโครงงาน 7. นกั เรยี นทกุ คนมีความพร้อมและมเี ปูาหมายชดั เจนในการศกึ ษาต่อ 8. นกั เรยี นทุกคนมคี วามประพฤติดี พดู จาไพเราะ กริ ิยามารยาทดี 9. นักเรียนร้อยละ 100 ที่มีความจาเป็นต้องการพิเศษ ได้รับการชว่ ยเหลอื เต็มตามศกั ยภาพของแต่ละ บุคคล

74 มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ 1. โรงเรยี นมีระบบการบริหารและการจัดการท่ีมุ่งเนน้ การกระจายอานาจ และการมีส่วนรว่ มในการ พฒั นาคณุ ภาพการศึกษา โดยยดึ หลกั ธรรมาภบิ าลความโปรง่ ใส ตรวจสอบได้อยา่ งมีคุณภาพ 2. โรงเรยี นจดั หลักสตู รท่ีเนน้ วิชาการ และจดั กจิ กรรมเสรมิ หลักสูตรที่เน้นงานอาชพี ผนวกกบั หลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 3. โรงเรียนมีระบบเทคโนโลยีและสารสนเทศที่ทันสมยั เพียงพอต่อการจดั การเรียนรู้และการบรหิ าร จดั การ มีระบบไวไฟต่อการแสวงหาความรู้ 4. โรงเรียนมีเครือขา่ ยที่เข้มแข็งในการสนบั สนนุ การพฒั นาการศึกษาของโรงเรยี น มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผ้เู รยี นเป็นสาคัญ 1. ครูทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้จดั การเรียนรู้โดยใช้โครงงาน (Project based learning) เพื่อพฒั นา ทักษะการคดิ วิเคราะห์ และสรา้ งผลงานเชงิ สรา้ งสรรค์ โดยบรู ณาการกบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 2.ครูใหน้ ักเรียนทุกคนไดส้ าธิตและฝกึ ปฏบิ ตั จิ ริง (Learning by Doing)ท้ังด้านวิชาการและกจิ กรรม เสรมิ หลักสตู ร โดยเฉพาะงานฝีมือและการอนรุ ักษ์ศลิ ปไทย 3. ครทู กุ คนพัฒนาตนเองใหส้ ามารถใช้ส่ือเทคโนโลยแี ละสารสนเทศได้อย่างคลอ่ งแคลว่ และจดั หา แหล่งสบื ค้นท่ีหลากหลาย เพื่อให้นักเรยี นได้ความร้ทู นั สมัย 4. ครทู ุกคนประเมินและประมวลผลการเรยี นรจู้ ากขอ้ มูลหลายแหลง่ เชน่ การทดสอบ การเขยี น รายงาน การอภิปรายกลมุ่ การพดู บนเวที ผลงาน การพัฒนาตนเอง เป็นต้น และให้ข้อมลู ย้อนกลับทันทีเพ่ือการ พัฒนาตนเองของนกั เรยี น 5. ครูทุกคนเปน็ แบบอย่างทีด่ ีใหแ้ ก่นกั เรยี นในดา้ นพดู จาไพเราะ กิริยามารยาทงามสง่า เปน็ กัลยาณมิตรกบั ทุกคน

75 เปา้ หมายและตัวชี้วดั ความสาเรจ็ โรงเรียนบ้านแพะ ไดก้ าหนดเปูาหมายความสาเร็จ และตัวชวี้ ัดความสาเร็จ จาแนกตามกลยทุ ธ์ ดังนี้ กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี นตามมาตรฐานสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นแพะ กลยทุ ธ์ระดับแผนงาน เปา้ หมาย ตวั ชีว้ ัด 1. จดั การศึกษาเพื่อความมน่ั คง 1. เสรมิ สรา้ งคุณภาพผูเ้ รยี น 1. ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นรู้ของผู้เรียนสงู ขึ้น เพอ่ื สรา้ งความม่ังคงของ 2. จดั การเรยี นรใู้ ห้แก่ผเู้ รียนโดยการบรู ณา ประเทศในระยะยาว การหลกั สูตรให้สอดคล้องกับสังคม วฒั นธรรม และภาษาของท้องถ่ิน 2. การพฒั นาคุณภาพผูเ้ รยี นใน 1.พัฒนาคณุ ภาพผู้เรียนใน 1.รอ้ ยละของผ้เู รยี นท่ีมีผลสมั ฤทธิท์ างการ ระดบั ปฐมวัยและประถมศึกษา ระดับปฐมวัยและ เรียนอย่ใู นระดับดขี น้ึ ไป 2.ร้อยละของผ้เู รยี นที่มผี ลสมั ฤทธร์ิ ะดบั ชาติ ประถมศึกษาใหม้ ีคณุ ภาพ (O-NET)สูงกว่าคา่ เฉลีย่ ระดบั ชาติ 3.รอ้ ยละของผเู้ รยี นท่ีมีผลสมั ฤทธร์ิ ะดับชาติ 2.นักเรียนมคี วามเปน็ เลิศ (NT)สูงกว่าค่าเฉล่ยี ระดับชาติ ทางด้านวิชาการและ 4.รอ้ ยละของผเู้ รยี นท่สี ามารถสอบเขา้ ศึกษา อัตลักษณ์ของโรงเรยี น ตอ่ ในระดบั มัธยมศกึ ษา 1.ร้อยละของผลการแข่งขันและการประกวด ทางด้านวชิ าการ 2. รอ้ ยละผลงานจากการเขา้ ร่วมกจิ กรรมดา้ น ศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ กีฬาและนันทนาการ

76 กลยทุ ธท์ ี่ 1 พัฒนาคณุ ภาพผู้เรียนตามมาตรฐานสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นแพะ (ต่อ) กลยทุ ธ์ระดับแผนงาน เปา้ หมาย ตัวชี้วดั 3.การเพ่ิมโอกาสผู้เรยี นให้ได้รับ 1.ปลูกฝงั นักเรยี นให้มี 1.ร้อยละของนักเรยี นทม่ี ีคุณธรรม จรยิ ธรรม โอกาสในการพัฒนาเต็มตาม คณุ ธรรมจรยิ ธรรม สานึกใน และสานึกในความเปน็ ไทย ศักยภาพและมีคุณภาพ ความเป็นไทย 4. การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนใน 2. สรา้ งความตระหนกั แก่ 1. ร้อยละของนกั เรียนท่ีมีสขุ ภาวะและ ระดบั ปฐมวยั และประถมศึกษา นักเรยี นให้รคู้ ุณคา่ รว่ ม สนุ ทรยี ภาพ อนรุ ักษ์และพัฒนา 2.ร้อยละของนักเรียนตระหนักรคู้ ณุ คา่ ร่วม สง่ิ แวดลอ้ ม อนรุ กั ษ์และพัฒนาสง่ิ แวดลอ้ ม 3.ส่งเสริมนักเรยี นและ 1.รอ้ ยละของนักเรยี นและบุคลากรทน่ี อ้ มนา บุคลากรน้อมนาหลกั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใช้ ใน ปรัชญาของเศรษฐกจิ การดาเนินชีวติ พอเพยี งมาใช้ในการดาเนนิ ชวี ิต 4.สง่ เสริมใหน้ ักเรยี นมี 1.รอ้ ยละของนักเรียนทมี่ ีคุณลกั ษณะที่พงึ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ประสงคต์ ามหลักสตู ร ตามหลกั สตู ร 5.สร้างความตระหนัก 1.ร้อยละของนักเรยี นทม่ี ีความตระหนัก เสริมสร้างภมู ิคุ้มกนั ให้ เสริมสรา้ งภูมคิ มุ้ กนั ให้หา่ งไกลสิ่ง เสพตดิ นกั เรียนหา่ งไกลส่งิ เสพติด และอบายมุข และอบายมุข 6..สง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รียนมี 1. ร้อยละของนกั เรยี นท่มี สี ุขภาวะและ สุขภาวะทีด่ แี ละมี สุนทรียภาพ สุนทรียภาพ 2.รอ้ ยละของนกั เรียนที่ปูองกนั ตนเองจากสิง่ เสพตดิ อบายมขุ และหลีกเลี่ยงสภาวะท่ีมี ความเสีย่ งต่อความรนุ แรง โรคภยั อุบัตเิ หตุ และปญั หาทางเพศ

77 กลยทุ ธ์ท่ี 2 พัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษาใหม้ คี ุณภาพตามมาตรฐานวชิ าชีพ กลยทุ ธ์ระดับแผนงาน เปา้ หมาย ตัวช้ีวดั 1.การพฒั นาคุณภาพครแู ละ 1.โรงเรยี นมคี รูและบุคลากรที่ 1.ร้อยละของครูท่ีเข้ารับการอบรม สมั มนาและ บุคลากรทางการศึกษา สามารถจัดกจิ กรรมการเรียนร้ไู ด้ ศึกษาดงู าน อยา่ งมีคุณภาพ 2.ร้อยละของครูท่ีการจดั ทาผลงานเพ่ือพัฒนา ตนเอง 3.ร้อยละของครูทผ่ี ลติ สือ่ เทคโนโลยีทใ่ี ช้ในการ จัดการเรียนรู้ 4.รอ้ ยละของครูทจ่ี ดั การเรียนการสอนทีเ่ น้น ผ้เู รยี นเปน็ สาคัญ และมีการ บรู ณาการตาม หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2.โรงเรียนมีครแู ละบคุ ลากรที่ 5.ระดับคุณภาพท่ีมีการนิเทศ ตดิ ตามอย่างเปน็ สามารถจดั กิจกรรมการเรียนรไู้ ด้ ระบบ และนาผลไปพฒั นาการเรยี นการสอน อยา่ งมีคณุ ภาพ 6.ระดับคณุ ภาพของระบบดูแลช่วยเหลือ นกั เรยี นทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ 7.ระดบั คณุ ภาพที่มกี ารสนบั สนุนและสง่ เสริม ให้ครแู ละบุคลากรทางการศึกษามีขวัญกาลงั ใจ ในการปฏบิ ตั งิ าน

78 กลยุทธ์ท่ี 3 พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการศึกษาอยา่ งมีประสทิ ธิภาพโดยใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทลั และการมสี ว่ นร่วมของเจ้าหนา้ ท่ีทกุ ฝา่ ยทเี่ ก่ียวข้อง กลยุทธ์ระดบั แผนงาน เปา้ หมาย ตัวช้ีวัด 1.การพฒั นาระบบการ 1.โรงเรยี นมีการพัฒนาองค์กรด้าน 1.ระดับคุณภาพของโครงสรา้ งการบรหิ าร บรหิ ารจัดการ การบรหิ ารจัดการอยา่ งมี โรงเรยี น ประสทิ ธภิ าพ 2.ระดบั คุณภาพของแผนกลยุทธ์และ แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีการศึกษา 3.ระดับคุณภาพของการประกนั คณุ ภาพภายใน สถานศกึ ษาตามทก่ี าหนดในกฎกระทรวง 4.ร้อยละของความพึงพอใจต่อการบริหาร จดั การของโรงเรยี นและการบริการผู้มสี ่วนได้ เสยี 5.รอ้ ยละของการมวี สั ดุ อปุ กรณส์ านกั งานท่ีมี ประสิทธภิ าพและเพยี งพอตอ่ การดาเนนิ งาน 2.โรงเรยี นมกี ารจัดระบบ 1.ระดับคณุ ภาพของระบบข้อมูลสารสนเทศท่ี สารสนเทศและการสอื่ สารที่เอื้อ ถกู ต้อง เปน็ ปจั จบุ นั และเพยี งพอ เพ่ือการ ต่อการเรียนรูแ้ ละการบรหิ าร สบื ค้น การพัฒนาองคก์ ร การบริหารจัดการ จัดการ และพฒั นาผ้เู รยี น 2.ร้อยละของความพึงพอในในการบรกิ าร สารสนเทศและการสือ่ สารทเี่ อ้ือต่อการเรียนรู้ และการบรหิ ารจดั การ

79 กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาสถานศึกษาใหม้ ีความปลอดภยั สะอาด สวยงาม กลยทุ ธ์ระดับแผนงาน เป้าหมาย ตัวชีว้ ดั 1. การพฒั นาและปรบั ปรุง 1.โรงเรยี นมอี าคารสถานที่ 1.ระดบั คณุ ภาพอาคารสถานที่ ภมู ิทัศนแ์ ละ ภมู ิทศั นส์ งิ แวดลอ้ ม ภมู ทิ ศั น์และสิ่งแวดลอ้ มทส่ี วยงามมี สภาพแวดลอ้ มสะอาด ร่มรน่ื สวยงาม ท่ี บรรยากาศเหมาะสมและเออื้ ต่อการ เอ้ือต่อการเรยี นรู้ได้อย่างเต็มศักยภาพ เรียนรแู้ ละการบริหารจดั การ 2.ระดบั คุณภาพของห้องนา้ ห้องส้วม ที่ สะอาด ปลอดภัย สวยงามและเพียงพอ 2.โรงเรยี นมีเครือข่ายพัฒนาการเรียนรู้ 1.ระดบั คุณภาพของเครือข่ายพฒั นาการ และ สง่ เสริมความรว่ มมือของ เรยี นรู้ เชน่ ผปู้ กครอง ชุมชนและองค์กรอ่ืนๆใน การทา MOU กับหน่วยงานต่างๆ การจัดการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาผ้เู รยี น 2.ระดบั คณุ ภาพของความรว่ มมือระหว่าง สถานศึกษา ผ้ปู กครอง และชุมชน เช่น คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ครู เครือข่ายผู้ปกครอง ศิษย์เกา่ และองคก์ ร อืน่ ๆในการจดั การศกึ ษาเพ่ือพัฒนาผู้เรียน

ส่วนท่ี 3 รายละเอียดโครงการ

80 ส่วนที่ 3 รายละเอยี ดแผนปฏิบัตกิ าร ประจาปงี บประมาณ 2565 นโยบาย สพฐ. โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณ ผูร้ บั ผดิ ชอบ กลยทุ ธ์ ท่ี 1 พฒั นาคณุ ภาพ 1. โครงการพฒั นาการประกัน ผเู้ รียนตามมาตรฐานสถานศกึ ษา คณุ ภาพภายในสถานศึกษา 5,000 นางแววดาว ขัดธะสีมา โรงเรียนบา้ นแพะ - หลักสตู ร - กิจกรรมการเรียนการสอน - การนิเทศ - การวดั ประเมินผล 2. โครงการสง่ เสริมการเรียนรู้ 2,000 นายทิวตั ถ์ แสนปญั ญา ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง 3. โครงการบา้ นนกั วิทยาศาสตร์ 1,500 นางสาววลัยพร พรมจินา นอ้ ย (Best Practice ปฐมวยั ) นางสาววารณุ ี ธรรมขนั ท์ 4.โครงการกิจกรรมวันสาคญั 2,000 นางสาวรักษิณา สวุ าท 5. โครงการสง่ เสรมิ วธิ ปี ฎิบตั ทิ ่ี 6,000 นางแววดาว ขดั ธะสีมา เป็นเลศิ (ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ) ( Best Practice) 6. โครงการสง่ เสริมความเป็นเลศิ 6,000 นางแววดาว ขดั ธะสีมา ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ นางสาวจินดา เครืออนิ ตา วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ (Excellence)

81 นโยบาย สพฐ. โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ผู้รบั ผิดชอบ กลยทุ ธ์ ที่ 1 พัฒนาคุณภาพ 7. โครงการส่งเสรมิ การประกวด 20,000 นางปทมุ พร ไพรพนาพฤกษ์ นางสาวชรินดา วังมลู ผูเ้ รยี นตามมาตรฐานสถานศกึ ษา แข่งขัน (Awards) โรงเรียนบ้านแพะ 8. สารอง (ค่าสาธารณปู โภค 80,900 นางปทุมพร ไพรพนาพฤกษ์ นางสาวมทั นา กาละ นโยบายของรฐั ) 9. โครงการปัจฉมิ นเิ ทศ 3,000 นางแววดาว ขัดธะสีมา นางสาวจนิ ดา เครอื อินตา 10. โครงการสภานกั เรยี น 3,000 นางสาวรักษณิ า สุวาท 11. โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ นางแววดาว ขดั ธะสมี า ทางการเรยี น 39,000 นางสาวจินดา เครอื อินตา 12.โครงการพฒั นาเด็กปฐมวัย 13,000 นางสาววลัยพร พรมจินา นางสาววารณุ ี ธรรมขนั ท์ 13.โครงการพฒั นาคุณลักษณะ 3,000 นายทิวัตถ์ แสนปัญญา ดา้ นดนตรี 6,000 นางสาวรกั ษิณา สวุ าท 14.โครงการกีฬา นายทิวตั ถ์ แสนปญั ญา 15.โครงการลดเวลาเรียนเพ่ิม 5,000 นางสาวรักษณิ า สวุ าท เวลารู้ นายทิวตั ถ์ แสนปัญญา

82 นโยบาย สพฐ. โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ผู้รบั ผดิ ชอบ กลยทุ ธ์ ท่ี 1 พัฒนาคุณภาพ 16.โครงการกิจกรรมลกู เสือ - 4,000 นางสาวรักษณิ า สุวาท นายทวิ ัตถ์ แสนปัญญา ผูเ้ รยี นตามมาตรฐานสถานศกึ ษา เนตรนารี โรงเรียนบ้านแพะ นางปทุมพร ไพรพนาพฤกษ์ นางสาวแวววรรณ ถือสัตย์ 17.กิจกรรมทศั นศึกษาแหล่ง 21,020 เรยี นรู้ 18.โครงการค่ายวชิ าการ 4,600 นางสาวจินดา เครอื อินตา (โอเนต็ / เอน็ ที) นางสาวรกั ษณิ า สวุ าท

83 แผนการจัดสรรงบประมาณตามกลยุทธ์ /โครงการ ประจาปีงบประมาณ 2565 ตาราง แสดงการจดั สรรงบประมาณตามกลยทุ ธ/์ โครงการ ประจาปงี บประมาณ 2565 (ตอ่ ) นโยบาย สพฐ. โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ผรู้ บั ผดิ ชอบ กลยุทธ์ ที่ 2 พัฒนาครูและบุคลากร 1. โครงการพฒั นาบุคลากร 5,000 นายโชคอนันต์ อนันตสทิ ธิโชติ ทางการศกึ ษาให้มีคุณภาพตาม นางสาวมทั นา กาละ มาตรฐานวชิ าชพี 2. โครงการจา้ งครูอตั ราจา้ ง 10,000 นายโชคอนนั ต์ อนนั ตสทิ ธิโชติ นางสาวมัทนา กาละ นโยบาย สพฐ. โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ผูร้ บั ผดิ ชอบ กลยทุ ธ์ ท่ี 3 พัฒนาระบบบริการจดั 1. ระบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี น 1,000 นางปทุมพร ไพรพนาพฤกษ์ นางสาวชรนิ ดา วงั มูล การศกึ ษาอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพโดย - คัดกรอง ใช้เทคโนโลยดี ิจิทลั และการมีสว่ น - เย่ยี มบ้าน ร่วมจากทุกฝ่ายที่เก่ยี วข้อง 2. โครงการพฒั นาระบบธรุ การ 24,000 นางสาวมัทนา กาละ 3. โครงการพัฒนาทักษะการใช้ 5,000 นางแววดาว ขดั ธะสมี า คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั

84 แผนการจดั สรรงบประมาณตามกลยุทธ์ /โครงการ ประจาปงี บประมาณ 2565 ตาราง แสดงการจัดสรรงบประมาณตามกลยทุ ธ์ / โครงการ ประจาปงี บประมาณ 2565 (ตอ่ ) นโยบาย สพฐ. โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณ ผรู้ บั ผดิ ชอบ กลยทุ ธ์ที่ 4 พัฒนาสถานศกึ ษาใหม้ ี 1. โครงการอนามยั โรงเรยี น ความปลอดภยั สะดวก สะอาด 2,000 นางสาววารณุ ี ธรรมขันท์ 2. โครงการสถานศึกษาปลอดภยั 1,000 นางสาวแวววรรณ ถอื สัตย์ 3. โครงการพฒั นาภมู ทิ ัศน์และ นางสาวชรินดา วงั มูล ส่ิงแวดลอ้ มในสถานศกึ ษา 10,000 นางสาววลัยพร พรมจินา นายทิวัตถ์ แสนปญั ญา

85 โครงการ พฒั นาการประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา แผนงาน บริหารวิชาการ มาตรฐานการศึกษา ระดบั การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน : มาตรฐานท่ี 2 ข้อที่ 2.2 นโยบาย สพฐ. ด้านที่ 4 ข้อท่ี 4.1 กลยทุ ธ์สถานศกึ ษา ข้อท่ี 1 ลักษณะโครงการ  ใหม่  ต่อเนอ่ื ง ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ นางแววดาว ขัดธะสมี า , นางสาวจินดา เครืออินตา ระยะเวลาดาเนินการ 17 พฤษภาคม 2565 – 31 มีนาคม 2566 ………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………..……………………………………………….. 1. หลกั การและเหตุผล จากประกาศกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษาปีการศึกษา พ.ศ. 2561 ได้ประกาศในราช กิจจานุเบกษา เล่ม 135 ตอนท่ี 11 ก หน้า 3 เม่ือวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2561 กล่าวถึง “การประกันคุณภาพ การศึกษา” หมายความว่า การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษา โดยมีกลไกในการควบคุมตรวจสอบระบบการบริหารคุณภาพ การศึกษาท่ีสถานศึกษาจัดข้ึน เพ่ือให้เกิดการพัฒนา และสร้างความเช่ือม่ันให้แก่ผู้มีส่วนเก่ียวข้องและ สาธารณชนว่าสถานศึกษานั้นสามารถจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษา และบรรลุ เป้าประสงค์ของหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานท่ีกากับดูแล โดยให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มีระบบ การประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โดยการกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้ เป็นไป ตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษาท่ีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประกาศกาหนด พร้อมท้ังจัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษา และดาเนินการตามแผนที่กาหนดไว้จดั ใหม้ ีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายใน สถานศึกษาติดตามผลการดาเนินการเพ่ือพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และจัดส่ง รายงานผลการประเมนิ ตนเองให้แก่หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานท่ีกากับดูแลสถานศึกษาเป็นประจาทุกปี ให้หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กากับดูแลสถานศึกษามีหน้าที่ในการให้คาปรึกษา ช่วยเหลือ และ แนะนาสถานศึกษา เพื่อให้การประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาพัฒนาอย่างต่อเน่ือง และจัดส่ง รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา พร้อมกับประเด็นต่าง ๆ ท่ีต้องการให้มีการประเมินผล และการติดตามตรวจสอบซ่ึงรวบรวมได้จากหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องหรือจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับสถานศึกษา แห่งนั้นให้แก่ สมศ. เพื่อใช้เป็นข้อมูลและแนวทางในการประเมินคุณภาพภายนอก สมศ.ดาเนินการ ประเมินผลและตดิ ตามตรวจสอบคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และจัดส่งรายงานผลการ ประเมนิ และการติดตามตรวจสอบดังกลา่ ว พร้อมข้อเสนอแนะให้แก่สถานศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัดหรือ หน่วยงานที่กากับดูแลสถานศึกษานั้น ๆ เพ่ือให้สถานศึกษาใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนา คุณภาพ การศึกษาต่อไป สมศ. อาจจัดให้บุคคลหรือหน่วยงานท่ีได้รับการรับรองจากสานักงานดาเนินการ ประเมินผล และติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาได้ เพ่ือให้การ ดาเนินงานประกันคณุ ภาพการศึกษาเป็นไปตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพ การศกึ ษา พ.ศ. 2561 โรงเรียนบ้านแพะเป็นสถานศึกษาท่ีจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งจะต้องปฏิบัติตามกฎกระทรวงฉบับนี้ เพราะต้องรับการประเมินคุณภาพภายในโดย ต้นสังกัดและการประเมินคุณภาพภายนอกโดย สมศ. ตามที่กฎหมายได้กาหนดไว้ โรงเรียนจึงต้องพัฒนา ระบบประกนั คณุ ภาพภายในขึน้ มาตามกรอบของกระทรวง เพ่ือเป็นการพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษา และเป็นการสร้างความพร้อมต่อการประเมินคุณภาพการศึกษา และมีเป้าหมายให้โรงเรียนสามารถผ่านการ

86 ประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามให้ได้ในที่สุด คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในจึงได้จัดทาโครงการน้ี ข้ึนมาเพื่อเป็นแนวทางการดาเนินงานประกันคุณภาพภายใน โดยกาหนดให้มีการวางแผน ดาเนินงาน ประเมินผล และปรับปรุงแก้ไข ให้กระบวนการทางานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นระบบ มีมาตรฐาน และสามารถผดุงรักษาคณุ ภาพการทางานไวไ้ ด้อยา่ งต่อเนอ่ื ง ซ่ึงจะเกิดประโยชน์สูงสุดต่อการจัดการศึกษาที่มี คุณภาพแก่นักเรียนตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 (แก้ไข เพิ่มเตมิ พ.ศ. 2545) ในทีส่ ุด 2. วตั ถุประสงค์ 2.1 เพือ่ พฒั นาระบบบริหารให้มคี ุณภาพเปดิ โอกาสให้ผ้เู ก่ียวข้องทุกฝา่ ยมีสว่ นร่วม 2.2 เพ่ือพัฒนาระบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพการศกึ ษาของโรงเรียนบ้านแพะ 2.3 เพ่ือประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ของ โรงเรียนบ้านแพะ 3. เปา้ หมาย 3.1 เชิงปรมิ าณ 3.1.1 ปกี ารศกึ ษา 2565 นักเรียนไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 80 มคี ุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียนบ้านแพะ 3.1.2 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนบ้านแพะตรวจสอบคุณภาพการจัดการศึกษาตามมาตรฐาน การศกึ ษาของโรงเรียนบ้านแพะ อย่างน้อย ภาคเรยี นละ 2 ครั้ง ปลี ะ 4 ครงั้ 3.1.3 ปกี ารศึกษา 2565 โรงเรยี นบา้ นแพะประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาตามมาตรฐาน การศกึ ษาของโรงเรยี นบ้านแพะ อย่างน้อย ปีละ 2 คร้ัง 3.2 เชิงคณุ ภาพ 3.2.1 ปีการศกึ ษา 2565 นักเรียนมคี ุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนบ้านแพะ 3.2.2 ปกี ารศึกษา 2565โรงเรยี นบ้านแพะมีการดาเนนิ การตรวจสอบคุณภาพ การจดั การ ศกึ ษาตามมาตรฐานการศึกษาของ สพฐ. 3.2.3 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนบา้ นแพะมีการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาตาม มาตรฐานการศกึ ษาของโรงเรียนบา้ นแพะ 4. รายละเอยี ดกิจกรรมและการดาเนนิ งาน ระยะเวลา ผรู้ บั ผิดชอบ ท่ี กจิ กรรม พ.ค 65 ผ้บู รหิ าร 1. ประชุมวางแผนการดาเนินงาน พ.ค. 65 คณะครทู ุกคน 2. ดาเนินงานพฒั นาระบบประกันคุณภาพ พ.ค.65 – ม.ี ค. 66 การศึกษา ฝา่ ยวิชาการ ม.ี ค. 66 3. สรุปรายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน

87 5. รายละเอียดการใช้งบประมาณ ที่ กิจกรรม งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ 1. ประชมุ วางแผนการดาเนนิ งาน 1,500 บาท ฝา่ ยวชิ าการ 2. จัดทาแผนปฏบิ ตั กิ าร ปีการศึกษา 2565 1,500 บาท ฝา่ ยวิชาการ 3. จัดทารายงานการประเมินคณุ ภาพการศึกษา 2,000 บาท ฝ่ายวชิ าการ รวม 5,000 บาท 6. ตัวชี้วดั ความสาเรจ็ คา่ เปา้ หมาย และการวดั ประเมนิ ผล คา่ ตวั ชีว้ ดั ความสาเร็จ ค่าเปา้ หมาย วิธีการประเมนิ ผล เครอื่ งมือ รอ้ ยละ 80 1. รอ้ ยละของนักเรยี นมีคณุ ภาพตาม ทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการ แบบทดสอบทกุ กลมุ่ มาตรฐานการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน โรงเรียน เรียนทุกกลุ่มสาระการ สาระการเรียนรู บา้ นแพะ เรยี นรู้ 2. มีการตดิ ตามตรวจสอบคณุ ภาพ รอ้ ยละ 85 ติดตามตรวจสอบ แบบตดิ ตาม การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน ของสถานศึกษา ตรวจสอบ 3. มีการประเมินคณุ ภาพภายในตาม ร้อยละ 90 ประเมินคุณภาพภายใน แบบประเมนิ มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 7. ผลท่ีคาดว่าจะไดร้ ับ 7.1 นักเรยี นมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนบ้านแพะ 7.2 มกี ารติดตามตรวจสอบคุณภาพการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน ของสถานศึกษา อย่างเป็นระบบ 7.3 มกี ารประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา อย่างเป็นระบบ

88 ลงชื่อ ............................................................ ผเู้ สนอโครงการ (นางแววดาว ขดั ธะสมี า) ลงชอ่ื ………………………………..…..……….….… ผเู้ หน็ ชอบโครงการ (นายสงกรานต์ โนจากุล) ประธานกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ลงชอ่ื ............................ ................................ ผู้อนุมตั โิ ครงการ (นายโชคอนนั ต์ อนันตสทิ ธิโชติ) ผอู้ านวยการโรงเรยี นบ้านแพะ

89 โครงการ เกษตรเพื่ออาหารกลางวนั ตามหลกั การของปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง สนองยุทธศาสตร์ สพฐ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 พัฒนาคุณภาพผเู้ รยี นตามมาตรฐานสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านแพะ สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรยี น (ข้อ 1.2) มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี น้นผูเ้ รียนเปน็ สาคัญ (ข้อ 3.1,3.2,3.5) งาน วิชาการ แผนงาน วชิ าการ ลกั ษณะโครงการ โครงการตอ่ เนื่อง ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ นายทิวัตถ์ แสนปญั ญา ระยะเวลาดาเนินการ 17 พฤษภาคม 2565 ถึง 31 มนี าคม 2566 ............................................................................................................................. .............................................. 1. หลักการและเหตุผล เน่ืองจากการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ตามหลักสูตรประถมศึกษาพุทธศักราช 2544 ที่กาลังนามา ใชใ่ นปีการศึกษา2546 ได้เน้นผ้เู รยี นเปน็ สาคัญ ให้ผู้เรยี นคิดเป็นทาเป็น แก้ปัญหาเป็น โดยลงมือปฏิบัติจริงท้ัง วิชาทักษะ และวิชาชีพ พึ่งตนเอง และเป็นการตอบสนองตามแนวพระราชดาริเกษตรรูปแบบทฤษฎีใหม่ของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความสามารถด้านทฤษฎี และการปฏิบัติ นาไปใช้เป็นพื้นฐานในการดาเนิน ชวี ิต และการศกึ ษาตอ่ ในระดับทสี่ ูงขน้ึ โดยมีกจิ กรรมการปลูกพืชตามฤดูการ และดินฟ้าอากาศที่เหมาะสมกับ การเล้ยี งไก่ ดังนั้น โรงเรียนบ้านแพะจึงได้จัดให้มีโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน รูปแบบทฤษฎีใหม่ และนา ผลผลิตมาสนบั สนุนโครงการอาหารกลางวนั ของโรงเรียน แบบพ่ึงตนเอง 2. วัตถุประสงค์ ผลผลติ (Outputs) 1 เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นมีโอกาสเรียนรู้วิชาการเกษตรแบบพอเพยี ง ผลลัพธ์ (Outcomes) 1 เพ่ือนาผลผลติ มาใช้สนับสนนุ โครงการอาหารกลางวันของโรงเรยี น 2 เพ่ือสนองตามแนวพระราชดาริน้อมนาปรัชญาเศรษฐกิจพอพียงของพระบาทสมเด็จพระ เจา้ อยู่หวั 3. เปา้ หมาย 1. เพอื่ นักเรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 มีทักษะและไดเ้ รยี นรวู้ ชิ าชพี 2. โรงเรียนมผี ลผลิตจากโครงการอาหารกลางวันของโรงเรยี น 3. สนองตามแนวพระราชดารนิ ้อมนาปรชั ญาเศรษฐกิจพอพียงของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ ัว

90 4. กจิ กรรม ระยะเวลาดาเนินงาน ผู้รบั ผดิ ชอบ ท่ี กิจกรรม 1 ปลกู ผักสวนครวั 17 พฤษภาคม 2565 ถงึ 31 มนี าคม 2566 คณะครผู ู้สอนช้นั ป.1-ป.6 2. ปลูกตน้ มะละกอ 17 พฤษภาคม 2565 ถงึ 31 มีนาคม 2566 นายทวิ ตั ถ์ แสนปัญญา 5. รายละเอียดการใช้งบประมาณ งบประมาณ (บาท) - งบประมาณ 2,000 บาท ท่ี กิจกรรม 1,500 500 1 ปลกู ผักสวนครัว 2,000 2 ปลกู ตน้ มะละกอ รวม (สองพันบาทถว้ น) 6. การประเมินผล ตวั ชวี้ ดั ค่าเป้าหมาย วิธกี าร เครอ่ื งมือทใี่ ช้ ประเมนิ ผล วตั ถุประสงค์ -ร้อยละของ ร้อยละ100ของ -แบบสงั เกตการ นักเรยี นมีโอกาส นักเรยี นมโี อกาส -สังเกต ทางาน 1 เพ่อื ใหน้ ักเรยี นมี เรียนรวู้ ิชาชีพ เรยี นรู้วิชาชีพ โอกาสเรยี นรูว้ ชิ าการ การเกษตร การเกษตร -แบบสอบถาม -แบบสอบถาม เกษตรแบบพอเพียง ความพึงพอใจ -ร้อยละของ -รอ้ ยละ100ของ 2 เพอ่ื นาผลผลิตมาใช้ นักเรยี นนาผลผลิต นกั เรียนนาผลผลติ -สังเกต และ -แบบสังเกต สนบั สนนุ โครงการ มาใช้สนับสนนุ มาใชส้ นับสนนุ สอบถาม -แบบสอบถาม อาหารกลางวันของ โครงการอาหาร โครงการอาหาร โรงเรียน กลางวนั ของ กลางวันของ โรงเรียน โรงเรยี น 3.เพ่ือสนองตามแนว พระราชดาริน้อมนา -รอ้ ยละของ -รอ้ ยละ100ของ ปรัชญาเศรษฐกิจพอพี นักเรยี นสนองตาม นักเรยี นสนองตาม ยงของพระบาทสมเด็จ แนวพระราชดาริ แนวพระราชดาริ พระเจา้ อยู่หัว น้อมนาปรชั ญา น้อมนาปรชั ญา เศรษฐกจิ พอพยี ง เศรษฐกจิ พอพยี ง ของ ของพระบาทสมเด็จ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยหู่ ัว พระเจา้ อยหู่ วั

91 ลงชื่อ………………………….…..………………….. ผู้เสนอโครงการ (นายทิวตั ถ์ แสนปัญญา) ลงชอื่ ………………………………..…..……….….… ผู้เห็นชอบโครงการ (นายสงกรานต์ โนจากุล) ประธานกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ลงชือ่ ............................................................ผ้อู นุมตั ิโครงการ (นายโชคอนันต์ อนันตสิทธิโชติ) ผอู้ านวยการโรงเรียนบ้านแพะ

92 โครงการ โครงการบา้ นนกั วิทยาศาสตร์น้อย (Best Practice ปฐมวัย) กลยุทธข์ องสถานศกึ ษา ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 พฒั นาคณุ ภาพผ้เู รยี นตามมาตรฐานสถานศกึ ษา โรงเรียนบ้านแพะ สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพผ้เู รยี น (ขอ้ 1.1 – ข้อ 1.4 ) มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณท์ เี่ น้นเด็กเปน็ สาคัญ (ขอ้ 3.1 – 3.4) งาน วชิ าการ แผนงาน วิชาการ ลกั ษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง ผูร้ บั ผดิ ชอบโครงการ นางสาววลัยพร พรมจนิ า และนางสาววารุณี ธรรมขนั ท์ ระยะเวลาดาเนนิ การ 16 พฤษภาคม 2565 ถึง 31 มีนาคม 2566 ................................................................................................................................................................. หลกั การและเหตุผล โครงการ “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย”เป็นโครงการท่ีสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยาม บรมราชกุมารี ทรงพระกรณุ าพระราชทานพระราชดาริให้คณะกรรมการนาไปพิจารณาริเร่ิมดาเนินการนาร่อง ในประเทศไทย โดยได้ทอดพระเนตรตัวอย่างโครงการนี้ คราวเสด็จพระราชดาเนินเยือนประเทศเยอรมนีเม่ือ ปี พ.ศ.2552คณะกรรมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย จึงได้ติดต่อกับมูลนิธิ haus der kleinenforscher โดยการประสานงานของ mr.thomas tillmann เพ่ือขออนุญาตินากิจกรรมนี้มาทดลองง ทาในประเทศไทย บดั นท้ี ัง้ สองฝา่ ยไดท้ าความตกลงกันเป็นท่ีเรียบร้อยแล้ว โดยทมี่ าของโครงการโครงการบา้ นนกั วทิ ยาศาสตร์น้อย มาจากการประเมินผลงานของโครงการ pisa พบว่าความรู้และทักษะทางวิทยาศาสตร์ของเด็กไทย ยังอยู่ในระดับต่ากว่าค่าเฉล่ีย อีกท้ังยังขาดแคลน นกั วิทยาศาสตร์และวศิ วกรท่ีจะร่วมมอื ขับเคลื่อนและพัฒนาประเทศ งานวิจัยยืนยันว่า เราควรสร้างทัศนคติที่ ดีด้านการเรียนรู้และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ให้กับเด็กต้ังแต่ระดับปฐมวัย (อายุ 3-6ปี)เพราะเป็น ช่วงอายุท่ีมีความสามารถในการเรียนรู้และจดจามากท่ีสุด ซ่ึงโครงการได้รับการสนับสนุนเป็นอย่างดีจาก หน่วยงานท้ังภาครัฐและเอกชน เพ่ือส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและเป็นแนวทางการ พฒั นาการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์สาหรบั เด็กปฐมวยั ดังน้ันเพื่อให้เด็กไทยมีความรู้และทักษะทางวิทยาศาสตร์ จึงจัดโครงการ “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย” ขึ้น เพ่ือให้เด็กได้ฝึกฝนทักษะลงมือปฏิบัติด้วยตนเองต้ังแต่ระดับปฐมวัยเพื่อเป็นพื้นฐานทาง วิทยาศาสตรต์ อ่ ไป 2. วัตถุประสงค์ ผลผลติ (Output) 2.1 เพือ่ สง่ เสริมและเปิดโอกาสใหเ้ ดก็ ปฐมวยั ได้เรยี นรู้และมปี ระสบการณ์ในการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ 2.2 เพือ่ ใหผ้ เู้ รียนได้ฝกึ การสังเกต รู้จักคิด ต้ังคาถามและคน้ หาคาตอบดว้ ยตนเอง 2.3 เพอ่ื วางรากฐานระยะยาวในการสร้างนกั วิทยาศาสตรว์ ิศวกรและทัพยากรมนุษย์ทีม่ ีคุณภาพ 2.4 เพ่ือสร้างผู้นาเครือข่ายท้องถิ่นที่ช่วยผลักดันให้โรงเรียนตื่นตัวและพัฒนาคุณภาพการสอน วิทยาศาสตร์ตลอดเวลา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook