Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาปี 2565-2569

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาปี 2565-2569

Published by banpae254, 2022-06-10 07:45:15

Description: แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาปี 2565-2569

Search

Read the Text Version

แผนคุณภาพการศึกษา(แผนกลยุทธ)์ ปี 2565 - 2569 โรงเรียนบ้านแพะ ตาบลเมอื งปาน อาเภอเมอื งปาน จงั หวัดลาปาง สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

แผนคุณภาพการศึกษา (แผนกลยุทธ์) ปี (2565 – 2569) คานา การพฒั นาคณุ ภาพของการศกึ ษาในสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานระยะท่ีมีสภาวการณ์ของการเปล่ียนแปลง ทางเศรษฐกจิ การเมือง สังคม และเทคโนโลยี มีความซับซ้อนมากข้นึ ผบู้ ริหารสถานศกึ ษาและบุคลากรใน สถานศกึ ษาจึงตอ้ งร่วมมือกนั กาหนดแนวทาง กระบวนการ และเครื่องมอื ในการบรหิ ารจัดการศึกษาให้มคี วาม หลากหลาย การขับเคลอ่ื นการพัฒนาโดยยทุ ธศาสตร์ (Strategy – focus Organization) จะก่อใหเ้ กดิ คณุ ค่า (Value Creation) ตามเป้าประสงค์ที่กาหนดไว้ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา (แผนกลยุทธ์) โรงเรียนบ้านแพะ ประจาปี 2565 – 2569 ฉบับนี้ เป็นการขับเคลือ่ นยทุ ธศาสตร์สู่การปฏิบัติให้บังเกิดผล โดยใช้กลยุทธ์การบริหารแบบใช้โรงเรียนเป็นฐาน และการบริหารจดั การคณุ ภาพโดยรวม จัดทาเปน็ แผนพัฒนาคณุ ภาพระยะยาว ท่ีสามารถนาไปปฏิบัตไิ ดอ้ ย่างมี ประสิทธิภาพ ประกอบด้วย สว่ นที่ 1 บทนา สว่ นที่ 2 การศกึ ษาสถานภาพของสถานศกึ ษา (SWOT) สว่ นท่ี 3 ทศิ ทางการจดั การศึกษา สว่ นท่ี 4 กลยทุ ธพ์ ฒั นาการศึกษา ส่วนท่ี 5 โครงการ/งบประมาณ คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา (แผนกลยุทธ์) โรงเรียนบ้านแพะ ประจาปี 2565 – 2569 ฉบับน้ีจะเป็นแบบอย่างและแนวทางการปฏิบัติงาน/โครงการ/กิจกรรม ให้ประสบผลสาเรจ็ ตามเปา้ หมายทีโ่ รงเรียนกาหนดไว้ คณะผู้จัดทา

แผนคณุ ภาพการศึกษา (แผนกลยุทธ์) ปี (2565 – 2569) สารบัญ หน้า ส่วนที่ 1 บทนา - ภาพรวมของสถานศึกษา 1 - ปรชั ญา/สุภาษติ คาขวัญและสปี ระจาโรงเรียน 4 - ขอ้ มูลผบู้ รหิ าร ครู และบคุ ลากร 5 - ข้อมูลนกั เรียน ปกี ารศกึ ษา 2562 6 - ขอ้ มลู ครแู ละบุคลากร 2 - แผนผังโรงเรียน 7 - แผนท่เี ขตบรกิ าร 8 - โครงสร้างการบรหิ าร 9 ส่วนที่ 2 การศกึ ษาสถานภาพของสถานศกึ ษา - การนาเสนอผลการวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมของสถานศึกษา 22 - สรุปผลการประเมินสถานภาพของสถานศกึ ษา 32 สว่ นท่ี 3 ทศิ ทางการจัดการศกึ ษา - ยทุ ธศาสตรป์ ี 35 - เปา้ ประสงคแ์ ละตัวชีว้ ัด 53 - มาตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวัย 58 - มาตรฐานการศกึ ษาระดบั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน 59 - ทศิ ทางการพฒั นาโรงเรียนบ้านแพะ 60 ส่วนที่ 4 กลยุทธพ์ ฒั นาการศึกษา - กลยทุ ธ์ท่ี 1 พัฒนาคณุ ภาพผ้เู รยี นตามมาตรฐานสถานศึกษา 64 - กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษาใหม้ คี ุณภาพตามมาตรฐานวชิ าชีพ 66 - กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการศึกษาอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพโดย 67 ใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทลั และการมีส่วนร่วมของเจา้ หนา้ ท่ีทุกฝ่ายทเ่ี กย่ี วข้อง - กลยทุ ธ์ท่ี 4 พฒั นาสถานศกึ ษาใหม้ คี วามปลอดภยั สะอาด สวยงาม 68 ส่วนที่ 5 โครงการ/งบประมาณ - โครงการ/งบประมาณ กลยุทธ์ที่ 1 69 - โครงการ/งบประมาณ กลยทุ ธท์ ี่ 2 72 - โครงการ/งบประมาณ กลยุทธท์ ่ี 3 73 - โครงการ/งบประมาณ กลยทุ ธท์ ี่ 4 73 ภาคผนวก - สาเนาคาส่งั โรงเรยี นบา้ นแพะ 75

แผนคณุ ภาพการศึกษา (แผนกลยทุ ธ์) ปี (2565 – 2569) 1 ส่วนท่ี 1 ภาพรวมของสถานศึกษา 1. ประวัติ ท่ีตงั้ /สภาพเขตพ้ืนท่บี รกิ ารและกาหนดยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนานโยบาย โรงเรียนบา้ นแพะ 254 หมู่ที่ 4 ตาบลเมืองปาน อาเภอเมืองปาน จังหวัดลาปาง รหัสไปรษณีย์ 52240 โทรศพั ท์ (054) 276075 ต้งั ขึน้ เม่ือวันท่ี 8 กุมภาพันธ์ พทุ ธศักราช 2486 โดยใช้ศาลาวัดบ้านแพะเป็นสถานท่ีจัดการเรียน การสอนช่ัวคราว ในปัจจุบันเปิดให้บริการด้านการเรียนการสอนให้แก่ประชาชนใ นเขตบริการตั้งแต่ระดับ อนุบาล ถึงระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 มเี นือ้ ทท่ี ้ังหมด 10 ไร่ 3 งาน 29 ตารางวา พ.ศ. 2489 นายวงค์ ประจกั ษ์ ครูใหญ่ไดจ้ ัดหาทด่ี ินซึ่งมเี นอื้ ท่ีประมาณ 5 ไร่ (ครึง่ หนึง่ ของท่ีดินปจั จบุ นั ) สร้างอาคารชวั่ คราวเพ่ือใช้ทาการสอนจนถงึ พ.ศ. 2498 พ.ศ. 2498 นายใส สมฟอง ครใู หญ่ไดร้ ่วมกบั ราษฎรบา้ นแพะและบ้านสบปาน ไดส้ รา้ งอาคารแบบ ป.1 ก. ของกระทรวงศกึ ษาธิการ สูง 1 เมตร กวา้ ง 7 เมตร ยาว 22 เมตร หลังคามุงกระเบื้องไม้สัก พ้ืน ฝาเปน็ ไมก้ ระดาน ราคาปลกู สร้างทัง้ หมด 12,930 บาท พ.ศ. 2512 ไดง้ บประมาณจากทางราชการ 75,000 บาท ราษฎรสมทบแรงงาน และค่าวัสดุเป็น เงนิ 45,000 บาท เพอื่ สร้างอาคารแบบ ป.1 ก. ขนาดกว้าง 8.50 เมตร ยาว 36 เมตร 4 หอ้ งเรยี น พ.ศ. 2513 ราษฎรไดร้ ว่ มบรจิ าคท่ดี ินเพิ่มด้านข้างอีกจานวน 5 ไร่ พ.ศ. 2514 ได้รับงบประมาณจานวน 10,000 บาท เพื่อต่อเติมเพดาน อาคารแบบ ป.1 ก. 4 หอ้ งเรยี น พ.ศ. 2517 ไดร้ บั งบประมาณจานวน 40,000 บาท เพ่ือสร้างบ้านพักครูแบบไม้ องค์การบริหาร ส่วนจังหวดั ลาปาง เพื่อใชเ้ ป็นท่พี กั แกข่ า้ ราชการครู พ.ศ. 2518 ไดร้ ับงบประมาณจานวน 40,000 บาท เพ่อื สรา้ งบ้านพักครู แบบไม้ องค์การบริหาร ส่วนจัดหวดั ลาปาง เพอ่ื ใช้เปน็ ทพ่ี กั แก่ข้าราชการครู พ.ศ. 2520 ได้รับงบประมาณจานวน 250,000 บาท สร้างอาคารเรียนแบบ ป.1 ก. จานวน 4 ห้องเรยี น ขนาดกว้าง 8.50 เมตร ยาว 36 เมตร เพอ่ื ใชเ้ ป็นอาคารเรยี นของเดก็ พ.ศ. 2520 ได้รับงบประมาณจานวน 13,000 บาท เพอ่ื สรา้ งสว้ ม จานวน 4 ท่นี ่งั พ.ศ. 2520 โรงเรยี นได้รบั บริจาค จากราษฎร จานวน 13,000 บาท เพื่อสร้างร้ัวคอนกรีตบล็อก ความยาว 110 เมตร สูง 1.30 เมตร พ.ศ. 2520 ได้รบั งบประมาณจานวน 45,000 บาท เพ่ือสร้างบ้านพักครู แบบไม้ องค์การบริหาร ส่วนจังหวดั ลาปาง เพือ่ ใชเ้ ปน็ ทพี่ ักแก่ขา้ ราชการครู พ.ศ. 2523 ได้รับงบประมาณจานวน 126,400 บาท เพื่อสร้างอาคารเอนกประสงค์ ขนาดกว้าง 7 เมตร ยาว 17 เมตร โครงการหลงั คาเหล็ก พ.ศ. 2523 ไดร้ บั ประมาณจานวน 145,000 บาทเพ่ือสร้างบา้ นพักครู แบบตึก 2 ชนั้ พ.ศ. 2525 ไดร้ บั งบประมาณสร้างสนามบาสเกตบอล จานวน 50,000 บาท ขนาดกว้าง 18 เมตร ยาว 30 เมตร พืน้ คอนกรตี เสาปูน พ.ศ. 2526 ได้รับงบประมาณจานวน 1,800,000 บาท เพื่อสร้างบ้านพักเรือนแถว ตึก 2 ช้ัน โครง เหลก็ จานวน 12 หนว่ ย เพ่อื ใชเ้ ปน็ บ้านพกั ครูท้ังอาเภอ

แผนคณุ ภาพการศึกษา (แผนกลยทุ ธ์) ปี (2565 – 2569) 2 พ.ศ. 2528 ได้รับงบประมาณจานวน 648,000 บาท สร้างเป็นอาคารแบบ สปช. 105/26 ตึก 2 ชนั้ ใต้ถนุ โลง่ 3 ห้องเรียน พ.ศ. 2529 ได้รับงบประมาณจากกระทรวงสาธารณสุข จานวน 30,000 บาท สร้างถังเก็บน้าฝน แบบ ฝ. 30 จานวน 3 ถงั พ.ศ. 2529 ไดร้ บั งบประมาณสรา้ งสว้ มแบบ สปช. 601 จานวน 4 ท่นี งั่ พ.ศ. 2532 ไดร้ บั งบประมาณจาก ส.ส. จานวน 20,000 บาท สร้างเปน็ หอ้ งผบู้ รหิ ารโรงเรยี นแบบ ไม้ ขนาด 4 x 4 เมตร พ.ศ. 2533 ได้รับงบประมาณจานวน 350,000 บาท เพ่ือสร้างอาคารเอนกประสงค์ แบบ สปช. 202/26 เป็นตกึ ชน้ั เดียว โครงหลงั คาเหล็ก ประตหู น้าต่างเหล็ก ปดิ ท้งั 2 ด้าน พ.ศ. 2534 ได้รับงบประมาณจาก สปช. จานวน 77,000 บาท สร้างส้วมแบบ สปช. 601 จานวน 4 ท่นี ่งั พ.ศ. 2534 โรงเรียนร่วมกับราษฎรสร้างห้องสมุด ขนาดกว้าง 6 เมตร ยาว 8 เมตร เป็นตึก ครงึ่ ไม้ช้ันเดยี ว งบประมาณ 37,600 บาท พ.ศ. 2534 ได้รับบริจาคจากราษฎร จานวน 18,000 บาท เพอื่ สร้างเปน็ ห้องสหกรณ์ของโรงเรียน ขนาด 4 x 4 เมตร ตกึ ชน้ั เดียว พ.ศ. 2537 ได้รับบริจาคจากราษฎร จานวน 55,000 บาท เพื่อสร้าง เรือนพยาบาลสาหรับ นกั เรยี น แบบชาวบ้าน ขนาด 3.50 x 8 เมตร ตึกช้นั เดยี ว พ.ศ. 2539 โรงเรียนได้รับความอนุเคราะห์จากคุณสมนึก วงศ์วาน นาเครื่องจักรกลมาปรับสนาม เป็นสนามฟุตบอลมาตรฐานโดยใช้งบประมาณ 100,000 บาท พ.ศ. 2540 โรงเรียนและคณะครู ตลอดจนคณะกรรมการสถานศึกษา และผูป้ กครองนักเรยี นรว่ มกัน สรา้ งอาคารแบบ 102/26 จานวน 2 ห้องเรียน ขนาด 6 x 9 เมตร งบประมาณ 310,000 บาท พ.ศ. 2540 โรงเรยี นบ้านแพะ เป็นโรงเรียนเข้าร่วมโครงการปฏิรูปการศึกษา เป็นโรงเรียนหนึ่ง ใน จานวน 57 โรงเรียน ของสานกั งานการประถมศกึ ษา จงั หวดั ลาปาง โรงเรียนบ้านแพะจงึ ได้รับการปรับปรุง พัฒนาทกุ ๆ ด้าน พ.ศ. 2542 ได้รบั งบประมาณจาก สปช. จานวน 81,000 บาท สร้างถังน้าซีเมนต์เก็บน้าฝนแบบ ป.30 พเิ ศษ ขนาด 4.95 x 4.95 เมตร จานวน 4 ถัง พ.ศ. 2545 ได้รบั งบประมาณจาก อบจ. สร้างพนงั กนั้ ดินและถนนหนา้ อาคารเรยี น พ.ศ. 2546 สร้างศูนย์เด็กเล็กโดยรับบริจาคจาก คุณประสิทธิ คุณพรรณี จิระพงศ์วัฒนา งบประมาณ 430,000 บาท พ.ศ. 2547 สร้างป้ายโรงเรียน งบประมาณจากกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ศิษย์เก่า ผ้ปู กครองและผู้มีอุปการะคุณ พ.ศ. 2548 สรา้ งสนามเด็กเล่น งบประมาณสนบั สนุน โรงเรยี นปฐมวัยตน้ แบบประจาอาเภอ พ.ศ. 2548 สร้างส้วม อนุบาล จานวน 2 ที่น่ัง งบประมาณสนับสนุน โรงเรียนปฐมวัยต้นแบบ ประจาอาเภอ พ.ศ. 2549 ไดร้ บั คดั เลอื กให้เป็นโรงเรยี นเครอื ขา่ ยพฒั นาการเรยี นการสอนประจาอาเภอ (ERIC) พ.ศ. 2550 ได้ปรบั ปรุงสื่อศูนยเ์ ดก็ ปฐมวัยต้นแบบ ให้เป็นห้องส่ือและนันทนาการศูนย์เด็กปฐมวัย ต้นแบบประจาอาเภอ สร้างสนามตะกร้อ(ลานกฬี ารว่ มใจ) สวนสขุ ภาพ และโรงรถ ปรบั ปรุงหอ้ งเรยี นอาคาร แบบ ป.1 ก โดยการปูกระเบ้ือง ปรับปรุงโรงอาหารใหไ้ ดม้ าตรฐานโดยการติดตาข่ายป้องกันสัตว์รบกวน พ.ศ. 2550 ไดร้ ับเลอื กให้เปน็ โรงเรียนคุณธรรมช้นั นา และโรงเรียนวถิ พี ทุ ธต้นแบบ อาเภอเมืองปาน

แผนคณุ ภาพการศึกษา (แผนกลยุทธ์) ปี (2565 – 2569) 3 พ.ศ. 2551 ไดร้ บั คดั เลือกให้เป็นโรงเรยี นต้นแบบสง่ เสรมิ นิสัยรักการอา่ น พ.ศ. 2552 - 2560 โรงเรียนบ้านแพะมี นายเดชา ตุลาสืบ เป็นผู้อานวยการโรงเรียนบ้านแพะ ได้รับคัดเลือกให้เป็นโรงเรียนดีประจาตาบล รุ่นท่ี 2 และได้รับคัดเลือกเข้าร่วมเป็นโรงเรียนประชารัฐ มีนักเรียนท้ังหมดจานวน 83 คน ครูประจาการ 5 คน ครูอัตราจ้าง 4 คน นักการภารโรง 1 คน เป็น โรงเรยี นขนาดเล็ก เปดิ ทาการสอน 2 ระดบั คือ ระดับก่อนประถมศึกษา และ ระดับประถมศึกษา พ.ศ. 2561 - 2564 โรงเรียนบ้านแพะมี นายอษั ฎาวุธ ฆบูชา เปน็ ผูอ้ านวยการโรงเรียนบ้านแพะ มีนักเรียนทั้งหมดจานวน 81 คน ครูประจาการ 4 คน ครูอัตราจ้าง 5 คน ธุรการโรงเรียน 1 คน และ นักการภารโรง 1 คน เปน็ โรงเรียนขนาดเล็ก เปิดทาการสอน 2 ระดับ คือ ระดับก่อนประถมศึกษา และ ระดับประถมศึกษา พ.ศ. 2564 ปัจจุบนั โรงเรียนบ้านแพะมี นายโชคอนันต์ อนันตสิทธิโชติ เป็นผู้อานวยการโรงเรียน บา้ นแพะ มนี กั เรียนท้งั หมดจานวน 104 คน ครูประจาการ 6 คน ครูอัตราจ้าง 3 คน ธุรการโรงเรียน 1 คน และนกั การภารโรง 1 คน เปน็ โรงเรยี นขนาดเลก็ เปิดทาการสอน 2 ระดบั คอื ระดบั ก่อนประถมศึกษา และระดบั ประถมศกึ ษา โรงเรียนบ้านแพะมอี าณาเขตตดิ ตอ่ ดงั น้ี ทิศเหนือ ติดตอ่ บา้ นดอนแก้ว หมทู่ ่ี 2 ทิศใต้ ติดต่อ บ้านหลวงเมอื งปาน หมู่ท่ี 9 ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ตอ่ บ้านข่วงกอม ตาบลแจซ้ อ้ น ทิศตะวันตก ติดตอ่ บา้ นทุง่ โปง่ หมทู่ ่ี 1

แผนคณุ ภาพการศกึ ษา (แผนกลยทุ ธ์) ปี (2565 – 2569) 4 2. ปรชั ญา/สภุ าษติ คาขวญั และสปี ระจาโรงเรียน ปรชั ญาโรงเรยี น โยคา เว ชายเต ภรู ิ “ ปญั ญายอ่ มเกดิ เพราะการฝึกฝน” คาขวญั โรงเรียนบา้ นแพะ เรยี นดี มีวนิ ัย ใฝค่ ณุ ธรรม สเี ขียว หมายถึง ความสุข ความร่มเย็น เป็นสงา่ สีขาว หมายถึง ความสะอาด บริสทุ ธิ์ สกุ ใสแห่งชวี ติ อกั ษรย่อโรงเรยี น บ.พ.

แผนคณุ ภาพการศกึ ษา (แผนกลยุทธ์) ปี (2565 – 2569) 5 3. ข้อมูลผู้บริหารโรงเรียนบ้านแพะ ระยะเวลาทด่ี ารงตาแหนง่ 2486 - 2489 ท่ี ช่อื - นามสกุล 2489 - 2498 1 นายอุ้ม หน้าอ่อน 2498 - 2501 2 นายวงศ์ ประจกั ษ์ 2501 - 2509 3 นายไม้ สมฟอง 2509 - 2516 4 นายบญุ ลัย พานธงรกั ษ์ 2516 –2525 5 นายชยั ชาญ พานธงรกั ษ์ 2526 - 2527 6 นายสพุ รรณ ยอดดี 2528 - 2548 7 นายอานวย เดชะบญุ 2548 – 2560 8 นายบรรจบ กันตะ๊ มา 2561 - 2563 9 นายเดชา ตุลาสบื 2564 - ปัจจบุ นั 10 นายอัษฎาวธุ ฆบชู า 11 นายโชคอนนั ต์ อนันตสิทธิโชติ 4. ขอ้ มูลบุคลากร ประจาปีการศกึ ษา 2565 ประเภทบุคลากร เพศ ระดบั การศกึ ษา ชาย หญงิ รวม ต่ากวา่ ปริญญาตรี ปริญญาโท ผอู้ านวยการโรงเรียน 1- 1 ปริญญาตรี ครปู ระจาการ -6 6 นกั การภารโรง 1- 1 - -1 ครอู ตั ราจา้ ง 12 3 - 33 ครสู นบั สนนุ การสอน -1 1 1 -- 3 9 12 รวม - 3- - 1- 1 74 5. ขอ้ มูลนักเรียนตามระดบั ช้ัน ปกี ารศึกษา 2565 ชั้น จานวน จานวนนกั เรยี น ครปู ระจาช้ัน ห้องเรียน ชาย หญิง รวม นางสาววารณุ ี ธรรมขนั ท์ นางสาววลัยพร พรมจินา อนุบาลปที ่ี 2 1 549 อนบุ าลปที ี่ 3 19 17 รวม 2 13 11 26

แผนคุณภาพการศึกษา (แผนกลยุทธ์) ปี (2565 – 2569) 6 5. ขอ้ มูลนกั เรยี นตามระดับชน้ั ปีการศกึ ษา 2565 (ต่อ) ครปู ระจาชั้น ช้นั จานวน จานวนนกั เรยี น นางปทมุ พร ไพรพนาพฤกษ์ นางสาวแวววรรณ ถือสตั ย์ ห้องเรียน ชาย หญงิ รวม นางสาวรักษณิ า สุวาท นายทวิ ตั ถ์ แสนปญั ญา ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 1 7 8 15 นางสาวชรนิ ดา วังมลู นางจนิ ดา เครอื อินตา ประถมศึกษาปีที่ 2 1 7 5 12 ประถมศึกษาปที ่ี 3 1 3 8 11 ประถมศึกษาปที ี่ 4 1 12 8 20 ประถมศึกษาปีท่ี 5 1 268 ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 1 9 3 12 รวม 6 40 38 78 รวมทั้งสน้ิ 8 53 49 104 6. อาคารสถานท่ี โรงเรียนมอี าคารสถานท่ี เพื่อดาเนินการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ดังนี้ 1. อาคารเรียน จานวน 3 หลัง 14 ห้องเรียน 2. อาคารประกอบ - อาคารอเนกประสงค์ (โรงอาหาร) 1 หลงั - หอ้ งประชมุ 1 หลงั - อาคารรว่ มใจ 1 หลงั (จัดสรา้ งเอง) (จานวน12 ท)่ี - หอ้ งน้าหอ้ งส้วม 3 หลงั (จัดสร้างเอง) - โรงเลยี้ งไก่ 1 หลงั (จัดสรา้ งเอง) (จัดสร้างเอง) - แปลงสาธติ เกษตร 1 ไร่ (บ้านพกั ครเู ดิม) (จัดสรา้ งเอง) - โรงจอดรถ 2 หลงั - บอ่ เล้ียงกบ – ปลา 2 บอ่ - แหลง่ เรยี นรสู้ มนุ ไพรและภมู ปิ ญั ญา 1 หลงั - อาคารโครงการรไี ซเคิล 1 หลงั 7 . พ้ืนที่ของโรงเรียน โรงเรยี นบา้ นแพะ มีพนื้ ทท่ี ง้ั หมด 10 ไร่ 3 งาน 29 ตารางวา

แผนคุณภาพการศึกษา (แผนกลยุทธ)์ ปี (2565 – 2569) 7 8. แผนผงั โรงเรียน 12 น 3 6 28 26 9= 15 = == = = = = == 27 10 14 20 21 5 22 8 3 4 27 == === = 11 = 18 1 16 17 4 === === 25 = 13 19 ถนนเมืองปาน - แจ้หม่ 1. อาคารเรียน ป.1 ก 2. อาคารเรยี น ป.1 ก 3. อาคารเรียน สปช 105/26 4. อาคารเรียน(แบบราษฎร)์ 5. อาคารเอนกประสงค์ 6. อาคารเอนกประสงค์ 7,8,9 ห้องน้า 10. ลานกีฬาเอนกประสงค์ 11 บ้านพักครู 12. บา้ นพักเรือนแถว 13. เสาธง 14. สนามเด็กเลน่ 15,16,17,18 ถงั เกบ็ น้าฝน 19. ฐานพระพทุ ธรปู 20 กลมุ่ สนใจตดั ผม 21. ห้องธรุ การ 22. สหกรณ์ 23. โรงรถ 24. เรอื นพยาบาล 25. โครงการรไี ซเคลิ 26. หอ้ งดรุ ยิ างค์ 27. ศาลาพักผอ่ น 28. เรอื นเพาะชา

แผนคุณภาพการศึกษา (แผนกลยทุ ธ์) ปี (2565 – 2569) 8 ทิศเหนือ 9. แผนทเ่ี ขตบริการ โรงเรยี นบา้ นดอนไชย โรงเรยี นบา้ นนา้ จา โรงเรียนบา้ นทุ่งโปง่ โรงเรียนบ้านดอนแกว้ วัดบ้านแพะ หมู่ 4 บา้ นแพะ หมู่ 4 บ้านสบปาน หมู่ 7 วัดสบปาน หมู่ 7 ถนนไป อาเภอเมอื ง ปาน

แผนคุณภาพการศึกษา (แผนกลยทุ ธ)์ ปี (2565 – 2569) 9 10 . โครงสรา้ งการบรหิ ารจดั การศึกษา แผนภูมิการบริหารจดั การศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นแพะ คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ผอู้ านวยการโรงเรียน คณะครู/บุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตรฯ คณะกรรมการเครอื ข่ายผปู้ กครอง สมาคมศิษย์เกา่ สภานกั เรยี น แผนงานวิชาการ แผนงานงบประมาณ แผนบุคลากร แผนงานบรหิ ารทว่ั ไป - นางแววดาว ขดั ธะสมี า - นางปทมุ พร ไพรพนา - นายโชคอนันต์ อนันต - นางสาวรกั ษิณา สวุ าท - นางสาวจนิ ดา เครืออินตา พฤกษ์ สทิ ธิโชติ - นางสาวแวววรรณ ถอื สัตย์ - นางสาววลยั พร พรมจนิ า 1.การจัดทาแผน 1. การวางแผน 1, การพัฒนาระบบ 1. การพฒั นาหรือการ งบประมาณและคาขอตัง้ อตั รากาลงั เครือขา่ ยขอ้ มลู สารสนเทศ ดาเนนิ การเก่ยี วกับการให้ งบประมาณ เพอ่ื เสนอตอ่ 2. การจดั สรรอตั รากาลงั 2. การประสานงานและ ความเหน็ การพฒั นาสาระ เลขาธกิ ารสานักงาน ข้าราชการครูและบุคลากร พฒั นาเครอื ข่ายสถานศึกษา หลักสูตรทอ้ งถิน่ คณะกรรมการศึกษาขั้น ทางการศกึ ษา 3. การวางแผนการ 2. การวางแผนดา้ นการ พน้ื ฐาน 3. การสรรหาและบรรจุ บรหิ ารงานการศึกษา วิชาการ 2.การจดั ทาแผนการใช้ แตง่ ต้ัง 4. งานวิจยั เพอ่ื การพฒั นา 3. การจดั การเรียนการ จา่ ยเงนิ ตามทไี่ ด้รับจัดสรร 4. การเปลยี่ นตาแหนง่ ให้ นโยบายและแผน สอนในสถานศึกษา งบประมาณจากสานักงาน สงู ข้นึ การยา้ ยขา้ ราชการ 5. การจดั ระบบการบรหิ าร 4. การพฒั นาหลักสูตรใน คณะกรรมการศึกษาข้ัน ครแุ ละบคุ ลากรทางการ และพัฒนาองค์กร สถานศกึ ษา พื้นฐานโดยตรง ศกึ ษา 6. การพฒั นามาตรฐานการ 5. การพฒั นากระบวนการ 5. การดาเนนิ การเก่ยี วกบั ปฏบิ ตั งิ าน เรียนรู้ การเลอื่ นข้นั เงินเดือน 7.งานเทคโนโลยเี พื่อ 6. การวดั ผล ประเมนิ ผล การศึกษา และดาเนนิ การเทยี บโอนผล การเรียน

แผนคุณภาพการศึกษา (แผนกลยุทธ์) ปี (2565 – 2569) 10 โครงสรา้ งการบริหารจดั การศกึ ษา(ตอ่ ) แผนงานวิชาการ แผนงานงบประมาณ แผนบุคลากร แผนงานบรหิ ารทวั่ ไป 7. การวิจัยเพ่ือพฒั นา 3. การอนุมตั กิ ารจา่ ย 6. การลาทกุ ประเภท 8. การดาเนินงานธรุ การ คณุ ภาพการศึกษาใน งบประมาณที่ได้รบั จัดสรร 7. การประเมนิ ผลการ 9. การดแู ลอาคารสถานที่ สถานศกึ ษา 4. การขอโอนและการขอ ปฏบิ ตั ิงาน และสง่ิ แวดล้อม 8. การพฒั นาและ เปลี่ยนแปลงงบประมาณ 8. การดาเนินการทางวนิ ยั 10. การจดั ทาสามะโน สง่ เสรมิ ใหม้ ีแหล่งเรยี นรู้ 5. การรายงานผลการเบกิ จา่ ย และการลงโทษ ประชากร 9. การนิเทศการศึกษา งบประมาณ 9. การสงั่ พกั ราชการและ 11. การรบั นกั เรยี น 10. การแนะแนว 6. การตรวจสอบ ตดิ ตามและ การสงั่ ใหอ้ อกจากราชการไว้ 12. การเสนอความ 11. การพฒั นาระบบ รายงานการใชง้ บประมาณ กอ่ น คิดเหน็ เกยี่ วกบั การจดั ต้ัง ประกนั คุณภาพภายใน 7. การตรวจสอบ ตดิ ตาม 10. การรายงานการ ยบุ รวมหรอื เลกิ และมาตรฐานการศกึ ษา และรายงานการใช้ผลผลิต ดาเนนิ การทางวินัยและการ สถานศึกษา 12. การสง่ เสริมชมุ ชน จากงบประมาณ ลงโทษ 13. การประสานงานจดั ให้มคี วามเข้มแขง็ ทาง 8. การระดมทรัพยากรและ 11.การอทุ ธรณแ์ ละการร้อง การศกึ ษาในระบบ นอก วิชาการ การลงทุนเพือ่ การศึกษา ทกุ ข์ ระบบและตามอัธยาศัย 13. การประสานความ 9. การปฏิบตั งิ านอนื่ ใดตามท่ี 12.การจดั ระบบและการ 14. การระดมทรัพยากร ร่วมมือในการพัฒนา ได้รบั มอบหมายเกีย่ วกบั จดั ทาทะเบียนประวตั ิ เพ่ือการศกึ ษา วชิ าการกับสถานศกึ ษา กองทุนเพอ่ื การศึกษา 13.การจัดทาบญั ชรี ายช่ือ 15. การทัศนศึกษา และองคก์ รอืน่ 10. การการบริหารจัดการ และการใหค้ วามเหน็ 16. การส่งเสรมิ งาน 14. การสง่ เสรมิ และ ทรัพยากรเพ่ือการศกึ ษา เกย่ี วกบั การเสนอขอ กิจการนักเรยี น สนบั สนนุ งานวิชาการแก่ 11. การวางแผนพสั ดุ พระราชทาน 17.การประชาสมั พันธ์งาน บคุ คล ครอบครวั องค์กร 12. การกาหนดรูปแบบ เครือ่ งราชอิสริยาภรณ์ การศกึ ษา หนว่ ยงาน สถานศึกษา รายการ หรือคุณลกั ษณะ 14. การสง่ เสริมการประเมิน 18. การสง่ เสริม และสถานประกอบการ เฉพาะของครุภณั ฑห์ รอื วิทยฐานะขา้ ราชการครแู ละ สนบั สนุนและประสานงาน อนื่ ทจ่ี ดั การศกึ ษา สิ่งกอ่ สร้างทใ่ี ช้งบประมาณ บคุ ลากรทางการศกึ ษา การจดั การศึกษา ของ 15. การจดั ทาระเบยี บ เพ่ือเสนอต่อเลขาธิการ 15. การสง่ เสรมิ และยกยอ่ ง บุคคล องคก์ ร หนว่ ยงาน และแนวปฏิบัตเิ ก่ยี วกับ คณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ เชดิ ชูเกยี รติ และสถาบนั สงั คมอื่นทจ่ี ดั งานด้านวิชาการของ พืน้ ฐาน 16. การสง่ เสริมมาตรฐาน การศกึ ษา สถานศึกษา 13. การพฒั นาระบบข้อมลู วิชาชพี และจรรยาบรรณ 19. งานประสานราชการ สารสนเทศเพือ่ การจดั ทาและ วิชาชพี สว่ นภมู ภิ าคและส่วน จดั หาพสั ดุ 17. การสง่ เสริมวินยั ท้องถน่ิ 14. การจดั หาพสั ดุ คณุ ธรรมจริยธรรมสาหรบั 20. การรายงานผลการ 15. การควบคมุ ดแู ล ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากร ปฏิบัตงิ าน บารงุ รักษาและจาหนา่ ยพัสดุ ทางการศกึ ษา

แผนคุณภาพการศึกษา (แผนกลยุทธ)์ ปี (2565 – 2569) 11 โครงสรา้ งการบรหิ ารจัดการศึกษา(ต่อ) แผนงานวชิ าการ แผนงานงบประมาณ แผนบุคลากร แผนงานบริหารทัว่ ไป 16. การคัดเลือกหนงั สือ 16. การจัดหาผลประโยชน์จาก 18. การรเิ รมิ่ สง่ เสรมิ การ 21. การจดั ระบบการ แบบเรยี นเพอ่ื ใช้ใน ทรัพยส์ ิน ขอรบั ใบอนญุ าตประกอบ ควบคมุ ภายในหนว่ ยงาน สถานศึกษา 17. การรบั เงนิ การเกบ็ รกั ษา วชิ าชีพครูและบุคลากร 22. แนวทางการจัด 17. การพฒั นาสอ่ื และ เงนิ และการจ่ายเงนิ ทางการศกึ ษา กิจกรรมเพอ่ื ปรบั เปลยี่ น ใชส้ ือ่ เทคโนโลยีเพอื่ 19. การจัดทาบญั ชีการเงิน 19. การพฒั นา พฤติกรรม การศึกษา 20. การจดั ทารายงานทางการ ขา้ ราชการครแู ละ ในการลงโทษนกั เรยี น เงิน และงบการเงนิ บคุ ลากรทางการศึกษา 21. การจัดทาหรือจดั หาแบบ พมิ พ์บญั ชี ทะเบียนและ รายงาน 11. ดา้ นการจดั การศึกษา โรงเรียนบ้านแพะจัดการศึกษากอ่ นระดบั ประถมศึกษา ในหลกั สูตรสาหรบั เด็กปฐมวยั เพื่อใหเ้ ด็กกอ่ น วัยเรียนได้มีการเตรียมความพร้อมท้ังทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ท่ีจะเข้าเรียนในช้ัน ประถมศึกษา ตามพระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแห่งชาติ พทุ ธศักราช 2542 (แก้ไขเพิ่มเตมิ ) ในเขตบรกิ ารไดเ้ ข้า เรียนอย่างทวั่ ถงึ ร้อยละ 100 โรงเรียนบา้ นแพะจัดการศึกษาระดับประถมศึกษา ให้เด็กท่ีมีอายุถึงเกณฑ์การศึกษาภาคบังคับตาม ตามพระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พทุ ธศกั ราช 2542 (แกไ้ ขเพ่ิมเติม) ได้เขา้ เรียนทุกคน รอ้ ยละ 100 โรงเรียนบ้านแพะจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 (แก้ไข เพ่ิมเติม) การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 – 6 โดยจัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ให้มี คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ โรงเรียนบ้านแพะจัดระบบประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา เพื่อรองรับการประเมนิ คุณภาพภายนอก โรงเรยี นบา้ นแพะจัดการเรียนการสอนแกเ่ ด็กปกติ เด็กพิการ เด็กด้อยโอกาส เด็กที่บกพร่องทางการ เรยี นรู้ และเดก็ ท่ีมคี วามสามรถพเิ ศษให้ได้เรียนรว่ มกนั โรงเรยี นบ้านแพะจดั กระบวนการเรยี นรเู้ พอ่ื สง่ เสรมิ ปลกู ฝงั ใหผ้ ู้เรยี นมีคุณธรรมนาความรู้ตามปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพียง โรงเรียนบ้านแพะสนบั สนนุ และสง่ เสริมดา้ นสุขภาพอนามยั นักเรยี น โดยการจัดบริการอาหารกลางวัน แกน่ กั เรียนครบ 100 % จดั บรกิ ารอาหารเสริม (นม) บริการตรวจสขุ ภาพประจาปีทุกปี จัดบริการตรวจ และ รกั ษาดา้ นทันตสขุ ภาพประจาปี โรงเรยี นบ้านแพะ สนับสนุนและสง่ เสริมดา้ นการพัฒนาสนุ ทรียภาพทางกาย อารมณ์ จิตใจ และสังคม แก่นกั เรยี น โดยการจดั และสง่ เสรมิ ดา้ นศิลปะ ดา้ นดนตรี การกีฬา และสง่ เสริมวัฒนธรรม และภูมปิ ัญญาทอ้ งถิน่

แผนคุณภาพการศึกษา (แผนกลยทุ ธ)์ ปี (2565 – 2569) 12 12. ด้านปริมาณงานของโรงเรียน ในปกี ารศึกษา 2564 ทางโรงเรียนบ้านแพะได้เตรียมความพร้อมในช้นั อนุบาลปที ี่ 1 – 2 เพ่ือใหค้ รู ไดจ้ ดั กจิ กรรมเตรยี มความพรอ้ มให้กบั เดก็ ให้พร้อมทจ่ี ะเรยี นในช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ในปีการศึกษา 2564 ตามกจิ กรรมการพฒั นาสมองของเดก็ ปฐมวยั การเกณฑเ์ ด็กในเขตบริการเข้าเรียนโรงเรยี นบา้ นแพะ สามารถเกณฑ์ได้รอ้ ยละ 100 การพฒั นายกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นในปกี ารศกึ ษา 2564 โดยนกั เรียนมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นตงั้ แต่ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 1 ถงึ ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6 แยกตามกลมุ่ สาระการเรียนรู้ ดังน้ี ระดับผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 – 6 ประจาปกี ารศึกษา 2564 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ชั้น เฉล่ีย ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ภาษาไทย 85.00 73.20 77.70 91.11 60.83 88.78 79.44 คณติ ศาสตร์ 80.00 71.20 77.00 91.00 61.83 81.22 77.04 วิทยาศาสตร์ 76.71 สงั คมศกึ ษา ศาสนาและ วฒั นธรรม 74.67 71.70 77.70 92.67 59.92 83.61 78.45 ประวตั ศิ าสตร์ 72.33 73.80 76.45 91.89 66.00 90.22 78.37 สุขศึกษา และพลศึกษา 84.49 ศลิ ปะ 76.08 72.90 77.95 91.67 66.33 85.26 82.84 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 84.23 80.80 82.05 92.85 73.35 93.67 81.24 ภาษาองั กฤษ 77.42 82.75 79.10 81.45 93.11 68.50 92.11 สาระเพิม่ เตมิ 80.25 72.90 80.00 91.67 70.50 92.11 ภาษาองั กฤษเพื่อการสอื่ สาร 78.75 71.90 77.55 87.22 59.42 89.67 79.58 70.5 76.65 92.33 63.08 89.00 78.52

แผนคุณภาพการศึกษา (แผนกลยทุ ธ)์ ปี (2565 – 2569) 13 13. สภาพการจดั การศึกษาของโรงเรยี น การศึกษาระดบั กอ่ นประถมศกึ ษา ในปีการศกึ ษา 2564 ที่ผ่านมาโรงเรยี นบา้ นแพะจัดการศึกษาเดก็ ระดบั ปฐมวยั อายุ 5 – 6 ปี เพ่ือ เตรียมความพร้อมในการเขา้ เรียนชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 1 ร้อยละ 100 การจดั การศกึ ษาระดับประถมศึกษา ในปกี ารศกึ ษา 2564 โรงเรียนบา้ นแพะ ไดด้ าเนนิ การจดั การศึกษาใหก้ ับนกั เรียนระดบั ประถมศึกษา ตามจานวน ดังน้ี จานวนเดก็ นกั เรียน ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 1 – 6 ปีการศกึ ษา 2564 ชัน้ จานวน จานวนนักเรียน ครูประจาชัน้ หอ้ งเรียน ชาย หญงิ รวม อนุบาลปที ่ี 2 1 9 6 15 นางสาววารุณี ธรรมขันธ์ อนุบาลปีท่ี 3 1 8 8 16 นางสาววลยั พร พรมจนิ า รวมปฐมวัย 2 17 14 31 ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 1 5 7 12 นางปทุมพร ไพรพนาพฤกษ์ ประถมศึกษาปีที่ 2 1 3 7 10 นางสาวแวววรรณ ถือสัตย์ ประถมศึกษาปีที่ 3 1 11 9 20 นางสาวรักษณิ า สุวาท ประถมศึกษาปีท่ี 4 1 2 7 9 นายทิวัตถ์ แสนปญั ญา ประถมศึกษาปที ี่ 5 1 8 3 11 นางสาวชรนิ ดา วังมูล ประถมศึกษาปีท่ี 6 1 7 2 9 นางแววดาว ขดั ธะสมี า รวมประถมศกึ ษา 6 36 35 71 รวมทั้งสน้ิ 8 53 49 102

แผนคุณภาพการศึกษา (แผนกลยุทธ)์ ปี (2565 – 2569) 14 หมายเหตุ จานวนเด็กออกกลางคันแยกเป็นรายชัน้ เรยี น ปีการศึกษา 2564 ช้นั จานวนนักเรยี นท่อี อกกลางคนั ชาย หญงิ รวม ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 --- ประถมศึกษาปีท่ี 2 --- ประถมศึกษาปที ี่ 3 --- ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 --- ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 --- ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 --- รวมท้งั สนิ้ ---

แผนคุณภาพการศึกษา (แผนกลยุทธ)์ ปี (2565 – 2569) 15 จานวนเดก็ พิการ แยกตามประเภท ปกี ารศกึ ษา 2564 ประเภทของความพิการ ช้ัน เพศ ่ทีมีความบกพร่องทางการเห็น ี่ทมีความบกพร่องทางการไ ้ด ิยน ี่ทมีความบกพร่องทางส ิตปัญญา ีท่มีความบกพร่องทางร่างกาย/สุขภาพ ท่ีมีปัญหาทางการเรียนรู้ ่ีทมีความบกพร่องทางการพูดจา/ภาษา ที่มีปัญหาทางพฤ ิตกรรม/อารมณ์ ออทิสติก ิพการซ้าซ้อน รวม ้ัทงส้ิน อนุบาลปที ี่ 2 ชาย - - 1 - - - - - - 1 หญงิ - - - - - - - - - - อนุบาลปีที่ 3 ชาย - - - - - - - - - - หญงิ - - - - - - - - - - ประถมศึกษาปที ่ี 1 ชาย - - - - - - - - - - หญิง - - - - 1 - - - - 1 ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 ชาย - - - - - - - - - - หญงิ - - - - 2 - - - - 2 ประถมศึกษาปีที่ 3 ชาย - - - - 1 - - -1 หญงิ - - - - 1 - - - - 1 ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 ชาย - - - - 1 - - - - 1 หญงิ - - - - - - - - - - ประถมศกึ ษาปีที่ 5 ชาย - - - - 3 - - - - 3 หญงิ - - - - - - - - - - ประถมศึกษาปีท่ี 6 ชาย - - - - 3 - - - - 3 หญงิ - - - - - - - -- รวมทัง้ ส้นิ ชาย - - 1 - 8 - - - -9 หญิง - - - - 4 - - - -4

แผนคุณภาพการศึกษา (แผนกลยุทธ)์ ปี (2565 – 2569) 16 จานวนเดก็ ทมี่ ีความสามารถพิเศษ แยกตามความสามารถแต่ละดา้ น ปกี ารศกึ ษา 2564 ความสารถพเิ ศษด้าน ิวทยาศาสตร์ ค ิณตศาสตร์ ภาษา ดนตรี ีกฬา ทัศน ิศลป์ ิศลปะการแสดง ช้ัน เพศ อนุบาลปที ี่ 1 อนบุ าลปที ่ี 2 ชาย - - - - - - - ประถมศึกษาปที ี่ 1 หญงิ - - - - - - - ประถมศกึ ษาปีที่ 2 ชาย - - - - - - - ประถมศึกษาปีท่ี 3 หญิง - - - - - - - ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 ชาย - - - - - - - ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 หญงิ - - - - - - - ประถมศึกษาปที ี่ 6 ชาย - - - - - - - หญงิ - - - - - - - รวมทั้งสนิ้ ชาย - - - - - - - หญงิ - - - - - - - ชาย - - - - - - - หญิง - - - - - - - ชาย - - - - - - - หญงิ - - - - - - - ชาย - - - - - - - หญิง - - - - - - - ชาย - - - - - - - หญิง - - - - - - -

แผนคุณภาพการศึกษา (แผนกลยทุ ธ์) ปี (2565 – 2569) 17 จานวนเด็กในเขตบรกิ ารของโรงเรยี นทีไ่ ม่ไดร้ บั บริการทางการศึกษา -ไมม่ ี- สถานศกึ ษา 1. โรงเรียนเป็นแบบอย่างที่ดีในการพัฒนาการจัดการเรียนการเรียนรู้จนมีผลการทดสอบทางการศึกษา ข้ันพื้นฐาน (O-Net) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2564 ค่าเฉลี่ยสูงกว่าระดับประเทศ ทุกกลุ่มสาระ การเรียนรู้ ผลการทดสอบระดับชาติ ผลการประเมินคุณภาพการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน เพื่อการประกนั คุณภาพผเู้ รียน (NT) ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 3 ดา้ นการประเมนิ ปกี ารศึกษา ปกี ารศกึ ษา ผลต่างจาก ลาดับทต่ี อ้ ง 2563 2564 ปกี ารศกึ ษา 2563 พฒั นา ความสามารถดา้ นภาษา 66.87 71.47 +4.99 2 ความสามารถดา้ นคานวณ 60.12 62.44 +2.32 1 ผลการประเมนิ คุณภาพการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เพ่อื การประกนั คุณภาพผูเ้ รียน (O-Net) ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ปีการศึกษา ปกี ารศกึ ษา ผลตา่ งจาก 2563 2564 ปีการศึกษา 2563 ภาษาไทย 45.55 57.67 +12.12 คณติ ศาสตร์ 30.00 43.08 +13.08 วทิ ยาศาสตร์ 36.20 30.42 -5.78 ภาษาอังกฤษ 35.50 43.23 +7.73 เฉลย่ี ทั้งหมด 36.81 43.60 +6.79

แผนคุณภาพการศึกษา (แผนกลยทุ ธ)์ ปี (2565 – 2569) 18 14. ผลการประเมินและขอ้ เสนอแนะจากการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบสาม จาก สมศ. ผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศกึ ษาระดับการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน การศึกษาข้ันพื้นฐาน : การศึกษาปฐมวยั (2-5 ปี) ประเภทโรงเรียน ชือ่ ตวั บง่ ช้ี นา้ หนัก คะแนนท่ไี ด้ ระดบั คุณภาพ คะแนน กลมุ่ ตัวบง่ ช้พี ื้นฐาน ตวั บง่ ชี้ท่ี 1 เดก็ มกี ารพฒั นาด้านรา่ งกาย 5.00 4.50 ดีมาก ตวั บ่งชท้ี ่ี 2 เด็กมกี ารพัฒนาดา้ นอารมณแ์ ละจติ ใจสมวยั 5.00 5.00 ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ 3 เดก็ มกี ารพฒั นาดา้ นสงั คมสมวัย 5.00 4.50 ดมี าก ชื่อตวั บง่ ช้ี นา้ หนกั คะแนนทไี่ ด้ ระดบั คุณภาพ คะแนน กลุ่มตัวบง่ ช้ีพืน้ ฐาน ตวั บ่งชี้ท่ี 4 เดก็ มีการพฒั นาดา้ นสตปิ ญั ญาสมวยั 10.00 8.00 ดี ตวั บง่ ชี้ที่ 5 เดก็ มคี วามพรอ้ มศกึ ษาต่อในข้ันตอ่ ไป 10.00 9.00 ดมี าก กลุ่มตัวบง่ ชอ้ี ัตลักษณ์ ตัวบง่ ชท้ี ี่ 9 ผลการพฒั นาใหบ้ รรลุตามปรัชญา ปณธิ าน/ 2.50 2.00 ดี วิสยั ทศั น์ พนั ธกจิ และวัตถขุ องการจัดตงั้ สถานศกึ ษา ตัวบง่ ชี้ที่ 10 ผลการพฒั นาตามจุดเน้นและจุดเดน่ ทส่ี ่งผล 2.50 2.00 ดี สะทอ้ นเป็นเอกลกั ษณข์ องสถานศึกษา กลุ่มตวั บง่ ช้มี าตรการส่งเสริม ตวั บง่ ชี้ที่ 11 ผลการดาเนินงานโครงการพเิ ศษเพ่ือ 2.50 2.00 ดี เสริมสรา้ งบทบาทของสถานศึกษา มาตรฐานที่ 2 มาตรฐานทว่ี า่ ด้วยการจัดการศึกษา กลุ่มตัวบ่งชพ้ี ืน้ ฐาน ตัวบง่ ชท้ี ่ี 7 ประสทิ ธิภาพของการบรหิ ารจดั การและการ 15.00 14.00 ดีมาก พัฒนาการศกึ ษา กลมุ่ ตัวบ่งชีม้ าตรการสง่ เสรมิ ตวั บ่งชี้ที่ 12 ผลการสง่ เสริมพฒั นาสถานศึกษาเพื่อ 2.50 2.00 ดี ยกระดบั มาตรฐาน รกั ษามาตรฐาน และพฒั นาสู่ความ เปน็ เลศิ ทส่ี อดคลอ้ งกบั แนวทางการปฏริ ปู การศึกษา มาตรฐานท่ี 3 มาตรฐานทีว่ ่าดว้ ยการจัดการเรยี นการ สอนทเี่ นน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคญั กลุ่มตัวบง่ ชพี้ ้นื ฐาน ตัวบ่งชีท้ ่ี 6 ประสทิ ธภิ าพของการบรหิ ารจัดการและการ 35.00 32.00 ดมี าก พัฒนาการศกึ ษา มาตรฐานท่ี 4 มาตรฐานทว่ี ่าดว้ ยการประกนั คุณภาพ ตัวบ่งชี้ท่ี 8 ประสทิ ธิผลของระบบการประกนั คุณภาพ 5.00 4.71 ดีมาก ภายใน ผลรวมคะแนนทั้งหมด 100.00 89.71 ดี

แผนคุณภาพการศึกษา (แผนกลยุทธ์) ปี (2565 – 2569) 19 ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสี่ การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน : ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน น้าหนัก คะแนนท่ีได้ ระดับคุณภาพ (คะแนน) 9.67 ดีมาก 9.39 ดีมาก กลมุ่ ตัวบง่ ชพี้ ืน้ ฐาน 9.43 ดมี าก 8.55 ดี ตัวบง่ ชท้ี ่ี 1 ผเู้ รยี นมสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจติ 10.00 9.17 พอใช้ 8.00 ดี ทด่ี ี 5.00 ดมี าก 4.69 ดมี าก ตัวบ่งชท้ี ่ี 2 ผูเ้ รียนมคี ุณธรรม จรยิ ธรรมและ 10.00 4.00 ดี ค่านยิ มทพี่ งึ ประสงค์ 5.00 ดีมาก ตวั บ่งชท้ี ่ี 3 ผเู้ รยี นมคี วามใฝร่ ู้ และเรียนรอู้ ยา่ ง 10.00 4.00 ดี ต่อเน่ือง 5.00 ดีมาก ตวั บ่งชท้ี ่ี 4 ผู้เรียนคิดเปน็ ทาเป็น 10.00 81.87 ดี ตัวบง่ ชี้ท่ี 5 ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของผเู้ รียน 10.00 ตัวบง่ ชท้ี ี่ 6 ประสทิ ธผิ ลของการจัดการเรยี นการ 10.00 สอนทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ ตัวบง่ ชี้ท่ี 7 ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจัดการและ 5.00 การพฒั นาสถานศกึ ษา ตวั บ่งชท้ี ี่ 8 พฒั นาการของการประกันคุณภาพ 5.00 ภายในสถานศึกษาและตน้ สังกดั กลุม่ ตัวบง่ ชอ้ี ัตลักษณ์ ตัวบ่งชี้ที่ 9 ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา 5.00 ปณธิ าณ พันธกิจ และวัตถปุ ระสงค์ของการ จัดตง้ั สถานศกึ ษา ตวั บง่ ชี้ที่ 10 ผลการพัฒนาตามจดุ เนน้ และ 5.00 จดุ เดน่ ทส่ี ่งผลสะท้อนเป็นเอกลกั ษณ์ของ สถานศึกษา ตัวบ่งชท้ี ่ี 11 ผลการดาเนินงานโครงการพเิ ศษ 5.00 เพื่อสง่ เสรมิ บทบาทของสถานศึกษา ตวั บง่ ชท้ี ี่ 12 ผลการส่งเสรมิ พฒั นาสถานศกึ ษา 5.00 เพ่อื ยกระดับมาตรฐานรกั ษามาตรฐาน และ พฒั นาส่คู วามเป็นเลศิ ที่สอดคลอ้ งกบั แนว ทางการปฏิรปู การศกึ ษา คะแนนรวม 100.00

แผนคุณภาพการศึกษา (แผนกลยทุ ธ)์ ปี (2565 – 2569) 20 15.คณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงคต์ ามหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั และเปา้ หมายความสาเรจ็ เป้าหมาย (ร้อยละ) รายการ 80.00 พัฒนาการทางด้านรา่ งกาย 80.00 5.1 รา่ งกายเจรญิ เตบิ โต ตามวยั และมสี ขุ นิสยั ท่ีดี 5.2 กลา้ มเนอื้ ใหญ่และกลา้ มเนือ้ เล็กแขง็ แรง ใช้ไดอ้ ย่างคล่องแคลว่ และประสาน 80.00 สมั พนั ธก์ นั 80.00 พฒั นาการทางด้าน อารมณ์ จติ ใจ 80.00 5.3 มีสขุ ภาพจติ ดีและมีความสขุ 5.4 มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมและจติ ใจทดี่ ีงาม 80.00 5.5 ชืน่ ชมและแสดงออก ทางศลิ ปะ ดนตรี การเคล่อื นไหว และรักการออกกาลงั กาย 80.00 พฒั นาการทางดา้ นสังคม 80.00 5.6 ช่วยเหลือตนเองให้เหมาะสมกบั วัย 5.7 รกั ธรรมชาติ ส่ิงแวดลอ้ ม วฒั นธรรมและความเป็นไทย 80.00 5.8 อย่รู ว่ มกบั ผอู้ ่ืนไดอ้ ยา่ งมีความสุขและปฏบิ ตั ิตนเป็นสมาชกิ ทดี่ ขี องสงั คมและ 80.00 ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ พระประมุข 80.00 พฒั นาการทางดา้ นสติปญั ญา 80.00 5.9 ใช้ภาษาสือ่ สารไดเ้ หมาะสมกบั วยั 5.10 มี ความสามารถ ในการคดิ แกป้ ัญหาได้เหมาะสม 5.11 มจี ินตนาการและความคดิ สร้างสรรค์ 5.12 มี เจตคตทิ ีด่ ตี อ่ การเรียนรแู้ ละมที กั ษะในการแสวงหาความรู้ 16. คณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงค์สมรรถนะสาคัญตามหลักสตู รการศึกษาข้นั พื้นฐานและเป้าหมายความสาเร็จ รายการ เปา้ หมายรอ้ ยละ 100 1.รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ 100 2.ซือ่ สตั ยส์ จุ รติ 100 3.มีวนิ ัย 100 4.ใฝ่เรียนรู้ 100 5.อยู่อย่างพอเพยี ง 100 6.ม่งุ ม่ันในการทางาน 100 7.รกั ความเปน็ ไทย 100 8.มีจติ สาธารณะ

แผนคุณภาพการศึกษา (แผนกลยุทธ์) ปี (2565 – 2569) 21 17. งบประมาณดาเนินการ 2564 ปีงบประมาณ 2565 คงเหลอื ยอดยกมา 2565 ภาคเรียนท่ี 2/ 2565 รายรบั งบประมาณ 53,368.68 ภาคเรยี นท่ี 1/2565 1. ค่าจัดการเรียนการสอน 44,000 รายหวั 2. ค่าจดั การเรียนการสอน -0 รายหัวเพม่ิ เติม 30 % 3. ค่าอดุ หนนุ ปจั จัยพืน้ ฐาน -0 นกั เรยี นยากจน 4. คา่ หนังสอื เรยี นและ - 43,876 แบบฝกึ หัด 5. ค่าอปุ กรณก์ ารเรยี นและ - 38,525 เครอื่ งแบบ 6. คา่ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น - 17,500 7. ค่าอาหารกลางวนั - 220,500 8. เงนิ รายไดส้ ถานศึกษา -0

แผนคุณภาพการศกึ ษา (แผนกลยทุ ธ์) ป(ี 2565 – 2569) 22 ส่วนท่ี 2 การศกึ ษาสถานภาพของสถานศกึ ษา การนาเสนอผลการวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มของสถานศกึ ษา ตารางที่ 1 ตารางการวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายนอกโรงเรยี นบา้ นแพะ 1. ดา้ นพฤตกิ รรมของลูกคา้ (Customer Behavior : C) ประเดน็ ท่เี ปน็ โอกาส(Opportunities) ประเดน็ ท่เี ป็นอปุ สรรค(Threats) - ผปู้ กครองส่วนใหญ่พึงพอใจทไี่ ดร้ บั ข้อมลู ข่าวสารให้การ - ผู้เรยี นส่วนใหญอ่ ยู่กบั ผสู้ ูงอายุเนอ่ื งจากพอ่ แม่ ไป สนับสนุนดา้ นการศึกษาและยอมรบั การจดั การศึกษาจึงส่ง ทางานตา่ งจงั หวดั สง่ ผลใหน้ กั เรียนมพี ฤติกรรมทีไ่ ม่ เด็กเข้ามาเรียน พงึ ประสงค์ - สานกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมินคณุ ภาพทาง - องค์การปกครองสว่ นท้องถ่ินมรี ายได้นอ้ ยสง่ ใหไ้ ม่ การศกึ ษา รบั รองมาตรฐานโรงเรยี นขนาดเลก็ สามารถสนับสนนุ งบประมาณใหโ้ รงเรยี นได้ ตารางที่ 2 ตารางการวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายนอกโรงเรยี นบา้ นแพะ 2. ดา้ นการเมืองและกฎหมาย (Political and Legal: P) ประเด็นท่ีเปน็ โอกาส(Opportunities) ประเดน็ ท่เี ป็นอปุ สรรค(Threats) - นโยบายสนับสนนุ การศึกษาตั้งแตร่ ะดับอนบุ าลจนจบ - ครูไม่ครบชั้น การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน สง่ ผลใหล้ ดค่าใชจ้ า่ ยผปู้ กครอง - ผูป้ กครองไมเ่ ขา้ ใจเกณฑ์อตั รากาลงั ครู ตารางที่ 3 ตารางการวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายนอกโรงเรยี นบ้านแพะ 3. ด้านเศรษฐกิจ (Economic : E) ประเด็นที่เป็นโอกาส(Opportunities) ประเด็นทเ่ี ปน็ อปุ สรรค(Threats) - รัฐบาลตระหนักถงึ ประโยชน์ทางการศกึ ษาจงึ จดั สรร - ผปู้ กครองมฐี านะยากจนสว่ นใหญไ่ มม่ รี ายได้ งบประมาณกระตุ้นเศรษฐกจิ สง่ ผลใหม้ ีงบประมาณมา ประจาสง่ ผลให้ไมส่ ามารถสนบั สนนุ การเรยี นการ ดาเนนิ การพฒั นา สอนของนกั เรยี นไดอ้ ยา่ งเต็มที่

แผนคุณภาพการศกึ ษา (แผนกลยุทธ์) ป(ี 2565 – 2569) 23 ตารางท่ี 4 ตารางการวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายนอกโรงเรยี นบา้ นแพะ 4. ดา้ นสังคมและวฒั นธรรม (Social – cultural : S) ประเดน็ ท่เี ปน็ โอกาส(Opportunities) ประเด็นทเี่ ป็นอปุ สรรค(Threats) - สงั คมชนบทโดยภาพรวมเป็นสงั คมเกษตรส่งผลให้ - สังคมบรโิ ภคนิยมของผปู้ กครองส่งผลให้นกั เรยี นมี สามารถขยายแนวคดิ การดารงชวี ิตตามหลกั เศรษฐกิจ ค่านิยมที่ไม่พึงประสงค์ พอเพียงจากโรงเรยี นสชู่ มุ ชนได้อยา่ งสอดคล้องกับวิถีชีวิต ตารางที่ 5 ตารางการวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายนอกโรงเรยี นบา้ นแพะ 5. ดา้ นเทคโนโลยี (Technological : T ) ประเด็นท่ีเปน็ โอกาส(Opportunities) ประเด็นทเี่ ป็นอปุ สรรค(Threats) - ความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยีสง่ ผลใหส้ ามารถเปน็ สื่อการ - ความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยสี ามารถสอ่ื สารได้ จัดกิจกรรมการเรยี นรทู้ ผ่ี เู้ รียนสามารถเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง ได้ อยา่ งรวดเรว็ สง่ ผลให้นกั เรยี น เรียนแบบพฤติกรรมที่ ตามความสนใจ ไม่พึงประสงค์ได้ - ภูมิปญั ญาทอ้ งถ่ินท่หี ลาหลายสง่ ผลใหโ้ รงเรียนใช้เป็น แหล่งเรียนรดู้ ารงชวี ติ ทีส่ อดคลอ้ งกบั ทอ้ งถิน่ ตารางท่ี 1 ตารางการวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มภายในโรงเรียนบ้านแพะ 1. ด้านโครงสรา้ ง (Structure : S1) ประเดน็ ทจ่ี ดุ แขง็ (Strengths) ประเด็นทจ่ี ุดอ่อน (Weaknesses) โรงเรยี นได้กาหนดบทบาท/หน้าท่ีมอบหมายงานบคุ ลากร โรงเรยี นไมส่ ามารถจัดบคุ ลากรครบทุกชั้นเรยี นและ ทุกระดบั ชัดเจน ไม่ตรงตามความรู้ ตารางที่ 2 ตารางการวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มภายในโรงเรยี นบ้านแพะ 2. ดา้ นกลยุทธ์ของหนว่ ยงาน (Strategy : S2) ประเด็นทจี่ ุดแขง็ (Strengths) ประเดน็ ทจี่ ุดอ่อน (Weaknesses) โรงเรยี นมีแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมที่สอดคล้องกบั กล บางโครงการไมเ่ ป็นไปตามมาตรฐานและตวั บ่งช้ขี าด ยทุ ธแ์ ละบรบิ ทของโรงเรียน การวเิ คราะห์

แผนคณุ ภาพการศึกษา (แผนกลยทุ ธ์) ปี(2565 – 2569) 24 ตารางที่ 3 ตารางการวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายในโรงเรียนบ้านแพะ 3. ดา้ นระบบในการดาเนินงานของหนว่ ยงาน (System : S3) ประเด็นทจี่ ดุ แขง็ (Strengths) ประเดน็ ทจี่ ดุ ออ่ น (Weaknesses) - โรงเรียนมีระบบการบรหิ ารงบประมาณ ระบบบัญชแี ละ - ขาดแคลนบุคลากรทม่ี ีความรคู้ วามสามารถด้าน การเงิน การพัสดโุ ปร่งใส ตรวจสอบได้ การเงนิ และพสั ดโุ ดยตรง - โรงเรียนระบบติดตอ่ ส่อื สารเทคโนโลยสี ารสนเทศท่ี - ระบบการติดตอ่ สอื่ สารเทคโนโลยสี ารสนเทศไม่มี สนับสนนุ การบรหิ ารจัดการพอเพยี ง ประสทิ ธภิ าพเท่าทค่ี วร ตารางที่ 4 ตารางการวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มภายในโรงเรียนบ้านแพะ 4. ดา้ นแบบแผนหรือพฤตกิ รรมในการบรหิ ารจดั การ (Style : S4) ประเดน็ ทจี่ ุดแขง็ (Strengths) ประเด็นทจ่ี ุดออ่ น (Weaknesses) บุคลากรได้ใช้ศักยภาพที่มอี ยปู่ ฏิบตั งิ านอย่างเต็มความรู้ บคุ ลกากรบางสว่ นปฏบิ ัติงานไมบ่ รรลเุ ปา้ หมาย ความสามารถและสมรรถนะที่กาหนด ตารางท่ี 5 ตารางการวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มภายในโรงเรยี นบา้ นแพะ 5. ดา้ นบคุ ลากร/สมาชกิ ในหนว่ ยงาน (Staff : S5) ประเด็นทจี่ ุดแขง็ (Strengths) ประเด็นทจี่ ดุ ออ่ น (Weaknesses) 1. บุคลากรมเี พียงพอกบั ภารกจิ ทไี่ ด้รบั มอบหมาย อย่าง 1. โรงเรยี นมบี ุคลากรทส่ี อนไม่ตรงตามวชิ าเอก ครบถ้วนตามท่ีกฎหมายกาหนด 2. โรงเรียนมบี ุคลากรท่ีตอ้ งรบั ผดิ ชอบงานอ่นื 2. บคุ ลากรทกุ ระดบั ในสถานศกึ ษาปฏิบัตภิ ารกจิ ทีไ่ ด้รบั นอกเหนอื จากงานสอนมากเกนิ ไป มอบหมายอย่างครบถ้วน มปี ระสทิ ธภิ าพได้มาตรฐานและ สอดคล้องกบั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ความรูค้ วามสามารถ เหมาะสม มสี มรรถนะสอดคล้องกบั ภาระงาน/มาตรฐาน วชิ าชีพทรี่ บั ผิดชอบ รวมถงึ ได้พัฒนาตนเองอย่างต่อเนอื่ ง

แผนคุณภาพการศกึ ษา (แผนกลยทุ ธ)์ ป(ี 2565 – 2569) 25 ตารางที่ 6 ตารางการวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมภายในโรงเรยี นบา้ นแพะ 6. ดา้ นทักษะ ความรู้ ความสามารถของหน่วยงาน (Skills : S6) ประเดน็ ทจี่ ดุ แข็ง (Strengths) ประเดน็ ทจี่ ดุ ออ่ น (Weaknesses) 1.บคุ ลากรส่วนใหญใ่ นโรงเรียนบา้ นแพะ จดั การภารกจิ ท่ี 1.เน่ืองจากเป็นโรงเรยี นขนาดเล็ก จานวนครูไม่ ได้รับมอบหมายอย่างครบถ้วนตามบทบาทหนา้ ทตี่ ามที่ ครบช้ัน และจานวนครกู ย็ งั มไี มส่ าขาวชิ า ตอ้ ง กฎหมายกาหนดมปี ระสทิ ธภิ าพไดม้ าตรฐานเนอ่ื งจากบุคลากร สอนไมต่ รงกลุม่ สาระวชิ าทาใหผ้ ลสัมฤทธิท์ างการ มคี วามรู้ ความสามารถ และทักษะในการปฏบิ ตั งิ านตาม เรยี นบางกลมุ่ สาระวชิ ายังไมบ่ รรลเุ ป้าหมาย สมรรถนะ/มาตรฐานวิชาชพี 2 เนอื่ งจากครูต้องรบั ผดิ ชอบภาระงานอื่น 2.บุคลากรส่วนใหญใ่ นโรงเรยี นบา้ นแพะ จดั การภารกจิ ที่ นอกเหนอื จากงานสอนมากเกินไป สง่ ผลให้ ไดร้ บั มอบหมายอย่างครบถ้วนตามบทบาทหนา้ ท่ตี ามท่ี ประสทิ ธภิ าพงานดา้ นการสอนลดลงขาดความ กฎหมายกาหนดมีประสทิ ธิภาพได้มาตรฐานเนอ่ื งจากบุคลากร ตอ่ เนอื่ งเช่ือมโยงท้ังในด้านความรู้และทกั ษะใน จัดทาแผนพฒั นาตนเองเพื่อใหส้ ามารถปฏบิ ัตงิ านไดผ้ ลสาเรจ็ ดา้ นงานสอน เช่นการสอนแบบโครงงาน การ สอดคลอ้ งกบั สมรรถนะ/มาตรฐานวิชาชพี วิจัยในชั้นเรียน ตารางที่ 7 ตารางการวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมภายในโรงเรยี นบา้ นแพะ 7. ด้านคา่ นิยมร่วมกันของสมาชิกในหน่วยงาน (Shared Values :S7) ประเด็นทจี่ ุดแขง็ (Strengths) ประเดน็ ทจี่ ุดออ่ น (Weaknesses) 1. บุคลากรสว่ นใหญใ่ นโรงเรียนมคี า่ นยิ มในการทางาน“มงุ่ บุคลากรบางส่วนยังมีคา่ นยิ มเปน็ ขา้ ราชการแบบ ผลสัมฤทธ์ิ โปรง่ ใส ตรวจสอบได้” เน่อื งจากมกี ระบวนการ เก่า จัดทาคา่ นิยมแบบมสี ว่ นรว่ ม 2. บุคลากรส่วนใหญ่ในโรงเรยี นมวี ฒั นธรรมในการทางาน “เปน็ ทมี ” เนอ่ื งจากมีกระบวนการส่งเสริมและพัฒนาทมี งาน อย่างต่อเน่ือง

แผนคณุ ภาพการศกึ ษา (แผนกลยทุ ธ์) ป(ี 2565 – 2569) 26 ตารางท่ี 1 ตารางการใหค้ ะแนนสภาพแวดลอ้ มภายนอกโรงเรยี นบา้ นแพะ สภาพแวดล้อมภายนอก : โอกาส (+) สภาพแวดลอ้ มภายนอก : อปุ สรรค (-) ประเด็นสาคัญ คา่ คะแนน ขอ้ มูลสนบั สนุน คา่ คะแนน ข้อมลู สนบั สนนุ เฉลยี่ เฉลย่ี C:ดา้ นพฤตกิ รรมลกู ค้า 4 1. ประชาชน/ผ้ปู กครองสว่ น 1 1. เด็กในเขตบรกิ ารมนี อ้ ย (CustomerBehaviors ใหญ่พึงพอใจที่ ได้รบั ขอ้ มลู เนอื่ งจาก อัตราการเกิดของ / Competitors ข่าวสาร ความเคล่ือนไหว เด็กต่า Factors) ดา้ นการศึกษาและ สถานศึกษาอยา่ งครบถว้ น และเปดิ เผยหลายชอ่ งทาง รวมถงึ สถานศกึ ษาจดั การ ศึกษาดมี ีคุณภาพส่งผล ให้ ประชาชน/ผปู้ กครองให้การ ยอมรบั ม่นั ใจในโรงเรยี นจงึ สง่ เดก็ เข้าเรียนในโรงเรยี น ส่งผลให้โรงเรยี นสามารถ ให้บรกิ ารการศึกษา ประชากรวยั เรยี นไดอ้ ยา่ ง ทว่ั ถงึ

แผนคุณภาพการศกึ ษา (แผนกลยุทธ)์ ป(ี 2565 – 2569) 27 ตารางที่ 1 ตารางการให้คะแนนสภาพแวดล้อมภายนอกโรงเรยี นบา้ นแพะ (ต่อ) สภาพแวดล้อมภายนอก : โอกาส (+) สภาพแวดล้อมภายนอก : อปุ สรรค (-) ประเด็น คา่ ขอ้ มูลสนับสนนุ คา่ ขอ้ มูลสนบั สนุน สาคัญ คะแนน คะแนน เฉลี่ย เฉลย่ี P:ด้าน 3 1. นโยบายเรียนฟรี 15 ปอี ยา่ งมี 2 1. นโยบายการปรบั ลด การเมืองและ คณุ ภาพของรัฐบาลสง่ ผลใหล้ ดภาระ อัตรากาลงั ของภาครฐั ทาให้ กฎหมาย ค่าใช้จา่ ยของ ผู้ปกครอง โรงเรียนมบี คุ ลากรไมพ่ อเพยี ง ( Political 2. พ.ร.บ.การศกึ ษาแห่งชาตพิ .ศ. 2. การกาหนดมาตรฐานทาง and Legal 2542และทแ่ี ก้ไขเพ่มิ เตมิ (ฉบบั ที่ 2) การศึกษาท่หี ลากหลาย ทง้ั ใน Factors) พ.ศ. 2545 เปดิ โอกาสให้ทอ้ งถ่ินมีสว่ น ระดบั ชาติ ระดับกระทรวง ระดบั รว่ มในการจัดการศึกษา กรม และระดบั เขตพ้ืนท่ี 3. นโยบายกระจายอานาจส่เู ขตพ้นื ท่ี การศึกษา ตลอดจนมาตรฐาน การศึกษาและสถานศกึ ษาทาให้ ของโรงเรียนเองยอ่ มเป็นอปุ สรรค โรงเรยี นมคี วามคล่องตัวในการทางาน ในทางปฏิบัตโิ ดยเฉพาะอย่างยงิ่ 4. โรงเรยี นไดร้ บั การสนับสนุน โรงเรียน งบประมาณอาหารกลางวนั แบบรอ้ ย 3. ความม่งุ หมายและหลกั การ เปอร์เซ็นต์และนมจากองค์การบรหิ าร จัดการศกึ ษาตาม พ.ร.บ. ส่วนตาบลอยา่ งต่อเนอื่ ง สง่ ผลให้ การศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 นักเรียนมีน้าหนักและส่วนสงู ตาม และทแี่ กไ้ ขเพม่ิ เตมิ (ฉบับท่ี 2) เกณฑ์มาตรฐานของเด็กไทย พ.ศ. 2545 ไมส่ อดคล้องกบั 5. นโยบายการพฒั นาข้าราชการครู ค่านยิ ม ความเชือ่ และส่ิงท่ี และบุคลากรทางการศกึ ษาเพ่อื ให้มี คาดหวงั ของผปู้ กครองที่ตอ้ งการ และเล่ือนวทิ ยฐานะส่งผลให้ครมู รี ะดบั ใหล้ กู เรียนจบแลว้ ไดท้ างานสบาย การพัฒนาการ เพม่ิ มากขึน้ และ ๆ และรบั คา่ จ้างสงู ๆ เกิดผลดตี ่อการเรยี นรขู้ องนกั เรียน E: ด้าน 3 ชมุ ชนประกอบอาชเี กษตรกรรมใช้ 2 ผปู้ กครองรายได้นอ้ ยไมส่ ามารถ เศรษฐกจิ หลักการดาเนินชีวติ ตามหลักปรัชญา สนับสนุนนักเรียนได้เทา่ ท่คี วร (Economic เศรษฐกจิ พอเพยี ง และโรงเรียนไมส่ ามารถระดม Factors ) ทรพั ยากรไดต้ ามเปา้ หมาย

แผนคณุ ภาพการศกึ ษา (แผนกลยทุ ธ์) ป(ี 2565 – 2569) 28 ตารางท่ี 1 ตารางการให้คะแนนสภาพแวดลอ้ มภายนอกโรงเรยี นบา้ นแพะ(ตอ่ ) สภาพแวดลอ้ มภายนอก : โอกาส (+) สภาพแวดลอ้ มภายนอก : อปุ สรรค (-) ค่า ค่า ประเด็นสาคัญ คะแนน ขอ้ มลู สนบั สนุน คะแนน ขอ้ มูลสนบั สนุน เฉลี่ย เฉลย่ี S: ดา้ นสังคม – 4 ชมุ ชนใหค้ วามร่วมมือดว้ ยดี 1 แนวโนม้ ประชากรวัยเรยี น วฒั นธรรม ทง้ั ทางดา้ นแรงงานและกาลงั ลดลงขนาดของโรงเรียน (Social – cultural ทรัพย์ตามสมควรจึงสง่ ผลให้ ลดลง Factors) โรงเรยี นได้รบั การพัฒนาด้าน อาคารสถานที่และ สิ่งแวดลอ้ ม T: ด้านเทคโนโลยี 4 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี 1 ความก้าวหน้าทาง (Technological ส่งผลต่อการทห่ี นว่ ยงาน เทคโนโลยสี ง่ ผลใหเ้ กิดผล Factors) สามารถใชเ้ ป็นเครอ่ื งมอื ใน กระทบทางลบต่อ การบริหารจดั การและการ พฤตกิ รรมนกั เรียน จัดกระบวนการเรียนรู้ท่ี สอดคล้องกบั ผเู้ รียน ค่าเฉลี่ย 3.6 1.4

แผนคุณภาพการศึกษา (แผนกลยุทธ)์ ป(ี 2565 – 2569) 29 ตารางที่ 2 ตารางการให้คะแนนสภาพแวดลอ้ มภายในโรงเรยี นบา้ นแพะ สภาพแวดล้อมภายใน : จดุ แขง็ (+) สภาพแวดลอ้ มภายใน : จดุ ออ่ น(-) ประเดน็ สาคญั คา่ ขอ้ มูลสนับสนุน ค่าคะแนน ขอ้ มูลสนับสนุน คะแนน เฉลี่ย เฉลย่ี S1: ดา้ น 4 โครงสรา้ งการบรหิ ารงานของ 1 1. บุคลากรมีนอ้ ย ทาใหง้ าน โครงสร้าง โรงเรยี นเปน็ ไปตามท่ี มากกวา่ คน (Structure) กฎหมายกาหนดพรอ้ มจัด บุคลากรใหป้ ฏบิ ัติงานตาม มาตรฐานวชิ าชีพ/สมรรถนะ S2: ด้านกลยุทธ์ 3 โรงเรียนกาหนดวสิ ัยทัศน์ 1 โรงเรยี นตอ้ งปรบั แผนงาน/ ของหนว่ ยงาน พนั ธกิจ เป้าประสงค์ กลยทุ ธ์ โครงการ /กจิ กรรม และ (Strategy) ตวั ชวี้ ดั ชัดเจน สอดคลอ้ งกบั งบประมาณ เน่ืองจากหนว่ ยงาน บริบทของโรงเรยี น ตน้ สังกดั มีนโยบายเร่งดว่ นให้ โรงเรยี นดาเนนิ การเพิ่มเตมิ จาก แผนงาน/โครงการ /กจิ กรรม และงบประมาณ ท่ีได้วางแผนไว้

แผนคณุ ภาพการศึกษา (แผนกลยุทธ์) ปี(2565 – 2569) 30 ตารางท่ี 2 ตารางการใหค้ ะแนนสภาพแวดล้อมภายในโรงเรียนบา้ นแพะ (ต่อ) สภาพแวดล้อมภายใน : จดุ แขง็ (+) สภาพแวดล้อมภายใน : จดุ ออ่ น(-) ประเดน็ สาคัญ ค่าคะแนน ข้อมูลสนับสนุน คา่ คะแนน ข้อมูลสนับสนุน เฉลี่ย เฉลีย่ S3: ด้านระบบ 4 โรงเรียนมกี ระบวนการภายในทม่ี ี 1 โรงเรยี นยงั ขาดการ ใน การดาเนิน ประสทิ ธิภาพรองรบั การกระจาย ประเมนิ ผลงานอยา่ งเป็น งานของ อานาจเนื่องจากบรหิ ารจดั การ ระบบ หนว่ ยงาน สอดคล้องกบั มาตรฐาน ระเบียบ (Systems) กฎหมายกาหนด โปรง่ ใส ตรวจสอบ ได้ S4 : ด้าน 3 ผ้อู านวยการโรงเรยี นบรหิ ารจัดการ 1 การดาเนินงาน/กจิ กรรม/ แบบแผนหรอื ไดม้ ปี ระสทิ ธิภาพปรับหนว่ ยงานตาม โครงการของโรงเรียน พฤตกิ รรม ใน สภาพแวดล้อมทเี่ ปล่ยี นแปลงไป บคุ ลากรต้องรบั ผิดชอบใน การบรหิ าร เนือ่ งดว้ ยมีภาวะผนู้ าและบรหิ าร ภาระงานมาก และบางคร้งั จัดการ (Style) เชงิ กลยทุ ธ์ ต้องรบั ผดิ ชอบงานทีไ่ มต่ รง กบั ความรูค้ วามสามารถ สง่ ผลให้การดาเนนิ งานใน ภาพรวมเกดิ ประสทิ ธิผล นอ้ ย S5: ด้าน 3 บุคลากรในโรงเรียนจดั การภารกจิ ที่ 2 1. โรงเรียนมบี ุคลากรทสี่ อน บุคลากร/ ได้รับมอบหมายอย่างครบถ้วนตาม ไมต่ รงตามวิชาเอก สมาชิกใน บทบาทหนา้ ที่ตามที่กฎหมายกาหนด 2. โรงเรียนมบี ุคลากรท่ีต้อง หน่วยงาน มีประสทิ ธภิ าพได้มาตรฐานเนื่องจาก รบั ผิดชอบงานอนื่ (Staff) โรงเรยี นการศกึ ษาบริหารบุคลากรได้ นอกเหนอื จากงานสอนมาก มปี ระสิทธภิ าพ เกนิ ไป S6 : ด้านทกั ษะ 3 1.บคุ ลากรในโรงเรยี นจัดการภารกจิ 1 โรงเรยี นขาดแคลนบุคลากร ความรู้ ท่ไี ดร้ บั มอบหมายอย่างครบถว้ นตาม ท่มี ีความร้คู วามสามารถ ความสามารถ บทบาทหนา้ ที่ และกฎหมายกาหนด เฉพาะด้าน ของหน่วยงาน มีประสิทธิภาพได้มาตรฐานเนื่องจาก (Skills) บุคลากรมีความรู้ ความสามารถ และ ทกั ษะในการปฏบิ ัตงิ านตาม สมรรถนะ/มาตรฐานวชิ าชีพและ จัดทาแผนพฒั นาตนเอง

แผนคุณภาพการศกึ ษา (แผนกลยทุ ธ)์ ปี(2565 – 2569) 31 ตารางท่ี 2 ตารางการใหค้ ะแนนสภาพแวดล้อมภายในโรงเรียนบา้ นแพะ (ต่อ) สภาพแวดล้อมภายใน : จุดแข็ง(+) สภาพแวดล้อมภายใน : จดุ อ่อน(-) ค่า คา่ ประเด็นสาคัญ คะแนน ข้อมลู สนบั สนุน คะแนน ขอ้ มูลสนับสนุน เฉล่ีย เฉล่ยี S7: ด้านค่านิยม บคุ ลากรสว่ นใหญใ่ นโรงเรยี นมี บุคลากรบางสว่ นยังมคี า่ นยิ ม ร่วมกนั ของ 3 คา่ นยิ มในการทางาน“มุ่ง 2 เป็นข้าราชการแบบเก่า สมาชกิ ใน ผลสมั ฤทธ์ิ โปรง่ ใส ตรวจสอบ หนว่ ยงาน ได”้ เนือ่ งจากมกี ระบวนการ (Shared จัดทาคา่ นิยมแบบมสี ่วนร่วม Values) ค่าเฉลยี่ 3.3 1.3 ตารางท่ี 3 ตารางการกาหนดน้าหนักของสภาพแวดลอ้ มภายนอกโรงเรียนบา้ นแพะ ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอก ผลการพจิ ารณานา้ หนกั C:ดา้ นพฤติกรรมลกู ค้า (Customer Behaviors / Competitors 0.30 Factors) P:ด้านการเมอื งและกฎหมาย ( Political and Legal Factors) 0.20 E:ด้านเศรษฐกิจ ( Economic Factors ) 0.15 S:ดา้ นสงั คม – วัฒนธรรม (Social – cultural Factors) 0.20 T:ดา้ นเทคโนโลยี (Technological Factors) 0.15 น้าหนกั คะแนนรวม 1.00 ตารางท่ี 4 ตารางการกาหนดนา้ หนกั ของสภาพแวดลอ้ มภายในโรงเรยี นบา้ นแพะ ปจั จยั สภาพแวดลอ้ มภายใน ผลการพจิ ารณาน้าหนกั S1:ดา้ นโครงสรา้ ง (Structure) 0.15 S2:ดา้ นกลยุทธข์ องหน่วยงาน (Strategy) 0.12 S3:ด้านระบบในการดาเนินงานของหน่วยงาน (Systems) 0.17 S4:ดา้ นแบบแผนหรือพฤติกรรมในการบริหารจัดการ Style) 0.15 S5:ด้านบุคลากร/สมาชิกในหนว่ ยงาน (Staff) 0.15 S6:ดา้ นทักษะ ความรู้ ความสามารถของหน่วยงาน (Skills) 0.15 S7:ด้านคา่ นิยมรว่ มกนั ของสมาชิกในหน่วยงาน (Shared Values) 0.11 น้าหนักคะแนนรวม 1.00

แผนคุณภาพการศึกษา (แผนกลยทุ ธ์) ปี(2565 – 2569) 32 สรปุ ผลการประเมินสถานภาพของสถานศึกษา ตารางท่ี 5 ตารางการสรปุ ผลการวิเคราะหส์ ถานภาพของสภาพแวดลอ้ มภายนอกโรงเรยี นบ้านแพะ (1) (2) (3) (4) รายการปจั จยั น้าหนัก คะแนนเฉลีย่ สภาพแวดล้อมภายนอก นา้ หนกั X คะแนน (5) เฉล่ยี สรุปผล C : พฤตกิ รรมลูกค้า (Customer Behaviors/Competitors Factors) โอกาส อุปสรรค โอกาส อปุ สรรค P : การเมืองและกฎหมาย 0.30 5 1 1.50 -0.30 +1.20 (Political and Legal Factors) E : เศรษฐกจิ (Economic Factors) 0.20 3 2 0.60 -0.40 +0.20 S : สังคม – วัฒนธรรม (Social – cultural Factors) 0.15 3 2 0.45 -0.30 +0.15 T : เทคโนโลยี (Technological Factors) 0.20 4 1 0.80 -0.20 +0.60 สรปุ ปจั จัยภายนอก เฉล่ยี ปจั จยั ภายนอก 0.15 4 1 0.60 -0.15 +0.45 3.95 -1.35 2.60 + 1.3 1.3

แผนคุณภาพการศึกษา (แผนกลยุทธ์) ป(ี 2565 – 2569) 33 ตารางที่ 7 ตารางการสรปุ ผลการวิเคราะหส์ ถานภาพของสภาพแวดลอ้ มภายในโรงเรียนบา้ นแพะ (6) (7) (8) (9) (10) น้าหนกั คะแนนเฉลีย่ คะแนนเฉลี่ย X สรปุ ผล รายการปัจจัย สภาพแวดล้อมภายใน จุดแข็ง จดุ ออ่ น นา้ หนัก +0.45 +0.23 S1: ด้านโครงสร้าง (Structure) 0.15 4 1 จุดแข็ง จุดออ่ น +0.51 S2: ด้านกลยุทธข์ องหน่วยงาน (Strategy) 0.12 3 1 0.60 -0.15 0.36 -0.13 S3: ดา้ นระบบในการดาเนินงานของหน่วยงาน 0.17 4 1 0.68 -0.17 (Systems) S4:ด้านแบบแผนหรือพฤติกรรมในการบรหิ าร 0.15 3 1 0.45 -0.15 +0.30 จดั การ S5:ด้านบคุ ลากร/สมาชกิ ในหนว่ ยงาน (Staff) 0.15 3 2 0.45 -0.30 +0.15 0.45 -0.15 +0.30 S6:ดา้ นทกั ษะ ความรู้ ความสามารถของ 0.15 3 1 หน่วยงาน S7:ด้านคา่ นิยมร่วมกนั ของสมาชิกในหน่วยงาน 0.11 3 2 0.33 -0.22 +0.11 (Shared Value) เฉลย่ี ปจั จยั ภายใน 3.32 -1.27 2.05 1.025 1.025 สรปุ ปจั จัยภายใน ผลการประเมินสถานภาพของสถานศึกษา จากการศึกษาวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกและสภาพแวดล้อมภายใน (SWOT) ของโรงเรียนแล้วนา ข้อมูลมาวิเคราะห์ประเมินสถานภาพของโรงเรยี นบา้ นแพะ ปรากฏวา่ โรงเรียนบ้านแพะ มีสถานภาพอยู่ใน STAR กล่าวคือมีสภาพแวดล้อมภายนอกท่ีเป็นโอกาสและ สภาพแวดลอ้ มภายใน เป็นจุดแข็ง ท่ีเอื้อต่อการพัฒนาและเสริมสร้างความเจริญก้าวหน้าในการให้บริการทาง การศกึ ษามากกว่าในส่วนท่ีไม่เอื้อ ซึ่งโรงเรยี นจะนาโอกาส และจดุ แขง็ ทม่ี มี าใช้ในการพัฒนาคุณภาพการให้บรกิ าร ทางการศกึ ษาทง้ั ในด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้ ด้านคุณภาพของนักเรียน ประสิทธิภาพในการทางานของครู และด้านการบริหารจัดการ

แผนคณุ ภาพการศึกษา (แผนกลยุทธ์) ป(ี 2565 – 2569) 34 กราฟแสดงสถานภาพหน่วยงานตามผลการวเิ คราะห์ โอกาส O 3.95 S 3.32 1.35 W จุดแขง็ 1.025 1.27 จุดอ่อน T อุปสรรค

แผนคณุ ภาพการศกึ ษา(แผนกลยุทธ์)ปี (2565 – 2569) 35 ส่วนท่ี 3 ทศิ ทางการจัดการศกึ ษา การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาให้ความสาคัญกับการจัดการศึกษาตามแนวทาง เปูาหมาย อดุ มการณ์ของกฎหมายที่เกยี่ วขอ้ งกับการจัดการศึกษา ทั้งยุทธศาสตรช์ าติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ ตลอดจนพระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาติ กาหนดใหห้ นว่ ยงาน ทเี่ กี่ยวข้องกับการจดั การศึกษาและสถานศกึ ษา ดาเนินการจัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาที่ยึดแนวคิด พืน้ ฐาน หลักการ ใหส้ อดคลอ้ งกับการบริหารจัดการเชิงกลยทุ ธ์ การเปิดโอกาสให้ผู้เก่ียวข้องทุกภาคส่วนมี ส่วนร่วมตลอดกระบวนการดาเนินการ การใช้สารสนเทศสาหรับการพัฒนาคุณภาพ การสร้างวัฒนธรรม คณุ ภาพของสถานศึกษา และการจดั ทาระบบการพัฒนาอย่างมีประสทิ ธภิ าพ สถานศกึ ษาดาเนินการพัฒนา เพอื่ มุ่งสร้างคณุ ภาพ ตามมาตรฐานการศกึ ษาตามท่รี ะบุไว้ในขอ้ 3 ของกฎกระทรวงการประกันคุณภาพ การศกึ ษา พ.ศ. 2561 โดยการจัดทาแผนพัฒนาการจัดกาศกึ ษาของสถานศกึ ษาอย่างเป็นระบบ โดยสะทอ้ น คุณภาพความสาเร็จอยา่ งชดั เจนตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพื้นฐาน ตามประกาศสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขน้ั พืน้ ฐานเรอื่ ง แนวปฏิบัติการดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ. 2561 โรงเรียนบา้ นไดจ้ ัดทาแผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2565 - พ.ศ. 2569 ใหส้ อดคลอ้ งกับ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนปฏบิ ตั ริ าชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร แผนปฏิบตั ริ าชการสานกั งานคณะกรรมการ การศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน และมาตรฐานการศกึ ษาระดบั ปฐมวยั และระดบั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2561 1. ยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘-) เป็นยุทธศาสตร์ชาติฉบับแรกของประเทศไทยตาม รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย ซ่งึ จะตอ้ งนาไปสูก่ ารปฏบิ ตั ิเพือ่ ให้ประเทศไทยบรรลุวสิ ัยทศั น์ \"ประเทศ ไทยมีความมั่นคง มั่งค่ัง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง \" ภายในชว่ งเวลาดงั กลา่ ว เพือ่ ความสุขของคนไทยทุกคน ความมนั่ คง หมายถึง การมีความม่ันคงปลอดภัยจากภัยและการเปลี่ยนแปลงท้ังภายในประเทศ และภายนอกประเทศในทกุ ระดบั ท้งั ระดบั ประเทศ สังคม ชุมชน ครัวเรือน และปัจเจกบุคคล และมีความ ม่นั คงในทุกมติ ิ ทั้งมติ ิทางการทหาร เศรษฐกิจ สังคม ส่งิ แวดลอ้ ม และการเมอื ง เช่น ประเทศมีความมั่นคง ในเอกราชและอธปิ ไตย มีการปกครองระบบประชาธปิ ไตยทมี่ ีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุข สถาบันชาติ ศาสนาพระมหากษัตริย์มีความเข้มแข็งเป็นศูนย์กลางและเป็นที่ยึดเหน่ียวจิตใจของประชาชน มีระบบ การเมอื งทมี่ ่ันคงเปน็ กลไกทน่ี าไปสู่การบริหารประเทศที่ต่อเนอื่ งและโปรง่ ใสตามหลักธรรมาภิบาล สังคมมี ความปรองดองและความสามคั คี สามารถผนกึ กาลงั เพื่อพฒั นาประเทศ ชุมชนมีความเข้มแข็ง ครอบครัวมี ความอบอนุ่ ประชาชนมีความมั่นคงในชีวิต มีงานและรายได้ที่มั่นคงพอเพียงกับการดารงชีวิต มีการออม สาหรับวัยเกษียณ ความม่นั คงของอาหาร พลังงาน และนา้ มีทีอ่ ยอู่ าศยั และความปลอดภยั ในชวี ิตทรัพยส์ ิน ความมง่ั ค่งั หมายถึง ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอย่างต่อเน่ืองและมีความยั่งยืนจน เข้าสู่กลุ่มประเทศรายได้สูง ความเหล่ือมล้าของการพัฒนาลดลง ประชากรมีความอยู่ดีมีสุขได้รับ ผลประโยชน์จากการพัฒนาอย่างเท่าเทียมกันมากขึ้น และมีการพัฒนาอย่างทั่วถึงทุกภาคส่วน มีคุณภาพ ชวี ิตตามมาตรฐานขององค์การสหประชาชาติ ไม่มีประชาชนทีอ่ ยู่ในภาวะความยากจน เศรษฐกิจในประเทศ มคี วามเขม้ แขง็ ขณะเดียวกันตอ้ งมคี วามสามารถในการแข่งขันกับประเทศต่าง ( ท้ังในตลาดโลกและตลาด ภายในประเทศเพ่ือให้สามรถสร้างรายได้ท้ังจากภายในและภายนอกประเทศ ตลอดจนมีการสร้าง

แผนคณุ ภาพการศึกษา(แผนกลยุทธ์)ปี (2565 – 2569) 36 ฐานเศรษฐกจิ และสังคมแห่งอนาคตเพ่ือใหส้ อดรับกับบริบทการพฒั นาท่ีเปลยี่ นแปลงไป และประเทศไทยมี บทบาทท่ีสาคัญในเวทีโลก และมีความสมั พนั ธท์ างเศรษฐกจิ และการค้าอยา่ งแน่นแฟนู กบั ประเทศในภมู ิภาค เอเชยี เป็นจุดสาคญั ของการเชื่อมโยงในภูมิภาค ทัง้ การคมนาคมขนส่ง การผลิต การค้า การลงทุน และการ ทาธุรกิจ เพื่อให้เป็นพลังในการพัฒนา นอกจากน้ี ยังมีความสมบูรณ์ในทุนท่ีจะสามรถสร้างการพัฒนา ตอ่ เนือ่ งไปได้ ได้แก่ ทนุ มนุษย์ทุนทางปัญญา ทุนทางการเงิน ทุนที่เป็นเครื่องมือเครื่องจักร ทุนทางสังคม และทนุ ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม ความย่งั ยืน หมายถงึ การพฒั นาทส่ี ามารถสร้างความเจรญิ รายได้ และคณุ ภาพชวี ติ ของประชาชน ให้เพ่ิมขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ซงึ่ เปน็ การเจริญเติบโตของเศรษฐกจิ ที่อยบู่ นหลักการใช้ การรกั ษาและการฟนื้ ฟูฐาน ทรัพยากรธรรมชาติอยา่ งย่งั ยืน ไม่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติจนเกนิ พอดี ไมส่ รา้ งมลภาวะตอ่ สง่ิ แวดล้อมจนเกนิ ความสามารถในการรองรบั และเยยี วยาของระบบนเิ วศ การผลติ และการบริโภคเป็นมติ รกบั สง่ิ แวดล้อม และสอดคลอ้ งกับเปาู หมายการพฒั นาที่ยัง่ ยนื ทรพั ยากรธรรมชาตมิ คี วามอดุ มสมบรู ณ์มากขน้ึ และ สิง่ แวดลอ้ มมคี ณุ ภาพดีขึ้น คนมคี วามรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม มคี วามเออ้ื อาทร เสยี สละเพอ่ื ผลประโยชน์ สว่ นรวม รฐั บาลมนี โยบายทม่ี ่งุ ประโยชนส์ ว่ นรวมอย่างยง่ั ยนื และใหค้ วามสาคัญกบั การมสี ว่ นรว่ มของ ประชาชน และทกุ ภาคสว่ นในสังคมยดึ ถือและปฏิบัติตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงเพ่อื การพฒั นา อย่างสมดลุ มีเสถยี รภาพและยัง่ ยนื โดยมีเปาู หมายการพฒั นาประเทศ คอื \"ประเทศชาติม่นั คง ประชาชนมี ความสุข เศรษฐกจิ พฒั นาอย่างต่อเน่อื ง สังคมเปน็ ธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติย่งั ยนื \" โดยยกระดบั ศกั ยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ พฒั นาคนในทกุ มิตแิ ละในทุกช่วงวยั ให้เปน็ คนดี เกง่ และมคี ุณภาพ สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม สร้างการเตบิ โตบนคุณภาพชีวิตทเี่ ป็นมติ ร กบั สิง่ แวดลอ้ ม และมี ภาครัฐของประชาชนเพอื่ ประชาชนและประโยชนส์ ว่ นรวม โดยการประเมนิ ผลการพฒั นาตามยุทธศาสตร์ ชาติ ประกอบดว้ ย ๑) ความอย่ดู ีมสี ุขของคนไทยและสงั คมไทย ๒) ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั การพฒั นาเศรษฐกจิ และการกระจายรายได้ ๓) การพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ยข์ องประเทศ ๔) ความเท่าเทยี มและความเสมอภาคของสงั คม ๕) ความหลากหลายทางชวี ภาพ คณุ ภาพส่ิงแวดล้อม และความย่งั ยนื ของทรัพยากรธรรมชาติ ๖) ประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การและการเขา้ ถึงการใหบ้ รกิ ารของภาครัฐ 1.1 ประเดน็ ยุทธศาสตร์ชาติ เพ่ือใหป้ ระเทศไทยสามารถยกระดบั การพฒั นาใหบ้ รรลุตามวสิ ยั ทัศน์ \"ประเทศไทยมีความมนั่ คง มงั่ ค่งั ยง่ั ยนื เป็นประเทศพัฒนาแลว้ ดว้ ยการพฒั นาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง\" และเปาู หมาย การพัฒนาประเทศข้างตน้ จงึ จาเป็นตอ้ งกาหนดยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศระยะยาวท่ีจะทาให้ประเทศ ไทยมีความมั่นคงในเอกราชและอธิปไตย มีภูมิคุ้มกันต่อการเปล่ียนแปลงจากปัจจัยภายในและภายนอก ประเทศในทุกมติ ทิ กุ รปู แบบและทุกระดบั ภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการของประเทศ ได้รับการพฒั นายกระดับไปส่กู ารใช้เทคโนโลยีและนวตั กรรมในการสร้างมูลคา่ เพิ่ม และพัฒนากลไกทีส่ าคญั ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจใหม่ที่จะสร้างและเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของประเทศ เพื่อยกระดับฐาน รายได้ของประชาชนในภาพรวมและกระจายผลประโยชน์ไปสู่ภาคส่วนต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม คนไทย ไดร้ ับการพฒั นาให้เป็นคนดี เก่ง มีวินัย คานึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวม และมีศักยภาพในการคิดวิเคราะห์ สามารถ \"รู้ รบั ปรับใช้\" เทคโนโลยีใหมไ่ ด้อยา่ งตอ่ เนื่อง สามารถเข้าถึงบริการพื้นฐาน ระบบสวัสดิการ และ กระบวนการยุติธรรมได้อยา่ งเทา่ เทียมกนั โดยไม่มใี ครถกู ทิ้งไวข้ า้ งหลงั การพฒั นาประเทศในช่วงระยะเวลา ของยุทธศาสตร์ชาติ จะมุ่งเน้นการสร้างสมดุลระหว่างการ พัฒนาความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคม และ

แผนคุณภาพการศกึ ษา(แผนกลยทุ ธ์)ปี (2565 – 2569) 37 ส่ิงแวดล้อม โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในรูปแบบ \"ประชารัฐ\" โดยประกอบด้วย ๖ ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ชาติด้านความม่ันคง ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ยทุ ธศาสตรช์ าตดิ า้ นการพัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ยุทธศาสตร์ชาตดิ า้ นการสรา้ งโอกาส และความเสมอภาคทางสังคม ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพ ชีวิตท่ีเป็นมิตรต่อ สิง่ แวดลอ้ ม และยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐโดยแต่ละ ยุทธศาสตร์มเี ปูาหมายและประเด็นการพัฒนา ดังนี้ 1) ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง มีเปา้ หมายการพฒั นาทสี่ าคัญ คือ ประเทศชาติม่นั คง ประชาชนมีความสขุ เนน้ การบรหิ ารจัดกรสภาวะแวดลอ้ มของประเทศให้มคี วามมัน่ คง ปลอดภัย เอกราช อธิปไตย และมีความสงบเรียบร้อยในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับชาติ สังคม ชุมชน มุ่งเน้นการพัฒน าคน เคร่ืองมือเทคโนโลยี และระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ให้มีความพร้อมสามารถรับมือกับภัยคุกคามและภัย พบิ ตั ิได้ทกุ รูปแบบ และทุกระดบั ความรนุ แรง ควบคูไ่ ปกบั การปูองกนั และแก้ไขปญั หาด้านความม่ันคงที่มีอยู่ ในปัจจบุ ัน และที่อาจจะเกิดข้ึนในอนาคต ใช้กลไกการแกไ้ ขปัญหาแบบบรู ณาการทง้ั กบั สว่ นราชการ ภาคเอกชนประชาสงั คม และองค์กรทีไ่ ม่ใชร่ ัฐ รวมถึงประเทศเพอื่ นบ้านและมติ รประเทศท่ัวโลกบนพืน้ ฐาน ของหลกั ธรรมาภิบาล เพื่อเอ้อื อานวยประโยชน์ตอ่ การดาเนนิ การของยทุ ธศาสตร์ชาติดา้ นอน่ื ๆ ใหส้ ามารถ ขบั เคลือ่ นไปได้ตามทศิ ทางและเปูาหมายทีก่ าหนด 2) ยุทธศาสตร์ชาติดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั มีเปูาหมายการพฒั นาท่มี งุ่ เน้น การยกระดบั ศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ บนพน้ื ฐานแนวคดิ 3 ประการ ได้แก่ (1) \"ตอ่ ยอดอดีต\" โดยมองกลบั ไปทรี่ ากเหง้าทางเศรษฐกิจ อตั ลักษณ์ วัฒนธรรม ประเพณี วถิ ีชีวิต และจดุ เดน่ ทางทรพั ยากร ธรรมชาตทิ ห่ี ลากหลาย รวมทงั้ ความไดเ้ ปรยี บเชงิ เปรียบเทยี บของประเทศในด้านอื่น ๆ นามาประยกุ ต์ ผสมผสานกบั เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพอื่ ใหส้ อดรบั กับบรบิ ทของเศรษฐกจิ และสงั คมโลกสมัยใหม่ (2) \"ปรับปัจจุบัน\" เพื่อปูทางสู่อนาคต ผ่านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศในมิติต่าง ๆ ท้ัง โครงข่ายระบบคมนาคมและขนส่ง โครงสร้างพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และดิจิทัล และ การปรับ สภาพแวดล้อมใหเ้ ออ้ื ต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการอนาคต และ (3) \"สร้างคุณค่าใหม่ในอนาคต\" ดว้ ยการเพม่ิ ศกั ยภาพของผ้ปู ระกอบการ พฒั นาคนร่นุ ใหม่ รวมถึงปรับรูปแบบธุรกจิ เพ่ือตอบสนองตอ่ ความ ต้องการของตลาด ผสมผสานกับยุทธศาสตร์ที่รองรับอนาคต บนพ้ืนฐานของการต่อยอดอดีตและปรับ ปัจจุบัน พรอ้ มท้งั การสง่ เสรมิ และสนับสนนุ จากภาครฐั ให้ประเทศไทยสามารถสร้างฐานรายได้และการจ้าง งานใหม่ ขยายโอกาสทางการคา้ และการลงทนุ ในเวทีโลก ควบค่ไู ปกับการยกระดับร้ายได้และการกินดีอยู่ดี รวมถงึ การเพมิ่ ขน้ึ ของคนชั้นกลาง และลดความเหลือ่ มล้าของคนในประเทศไดใ้ นคราวเดยี วกนั 3) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ มีเปูาหมายการ พฒั นาทสี่ าคญั เพอื่ พัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ โดยคนไทยมีความ พร้อมท้ังกาย ใจ สติปัญญา มีพัฒนาการท่ีดีรอบด้านและมีสุขภาวะที่ดีในทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะ รับผดิ ชอบต่อสงั คมและผอู้ นื่ มธั ยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย รกั ษาศีลธรรม และเป็นพลเมอื งดขี องชาติ มีหลักคิดที่ถูกต้องมีทักษะท่ีจาเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ มีทักษะส่ือสารภาษาอังกฤษและภาษาที่สามและ อนรุ กั ษภ์ าษาทอ้ งถ่ิน มีนิสยั รกั การเรียนรแู้ ละการพฒั นาตนเองอยา่ งต่อเนอ่ื งตลอดชีวิต สูก่ ารเปน็ คนไทยทม่ี ี ทักษะสูง เปน็ นวัตกร นกั คดิ ผู้ประกอบการ เกษตรกรยุคใหม่และอ่ืน ๆ โดยมีสัมมาชีพตามความถนัดของ ตนเอง 4) ยทุ ธศาสตร์ชาติด้านการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม มเี ปูาหมายการพฒั นา ทสี่ าคัญทใี่ ห้ความสาคัญกบั การดงึ เอาพลังของภาคสว่ นตา่ ง ทง้ั ภาคเอกชน ประชาสงั คม ชุมชนทอ้ งถ่ิน มาร่วมขับเคลอ่ื น โดยการสนบั สนนุ การรวมตัวของประชาชนในการรว่ มคิดรว่ มทาเพ่ือสว่ นรวม การกระจาย

แผนคุณภาพการศึกษา(แผนกลยทุ ธ์)ปี (2565 – 2569) 38 อานาจและความรบั ผิดชอบไปส่กู ลไกบริหารราชการแผน่ ดนิ ในระดับทอ้ งถิ่น การเสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ของชุมชนในการจัดการตนเอง และการเตรียมความพร้อมของประชากรไทยทั้งในมิติสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคมและสภาพแวดล้อมให้เป็นประชากรที่มีคุณภาพ สามารถพ่ึงตนเองและทาประโยชน์แก่ครอบครัว ชุมชน และสังคมให้นานที่สุด โดยรัฐให้หลักประกันการเข้าถึงบริการและสวัสดิการท่ีมีคุณภาพอย่างเป็น ธรรมและทั่วถึง 5) ยทุ ธศาสตร์ชาติดา้ นการสรา้ งการเติบโตบนคุณภาพชวี ิตท่เี ป็นมิตรตอ่ สง่ิ แวดล้อม มีเปาู หมาย การพัฒนาทส่ี าคญั เพื่อนาไปส่กู ารบรรลเุ ปูาหมายการพัฒนาทีย่ ่ังยนื ในทุกมติ ิ ท้ังดา้ นสงั คม เศรษฐกิจ ส่ิงแวดล้อม ธรรมาภิบาล และความเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือระหว่างกันท้ังภายในและภายนอกประเทศ อยา่ งบรู ณาการ ใช้พ้นื ทเ่ี ป็นตวั ตงั้ ในการกาหนดกลยทุ ธ์และแผนงาน และการใหท้ กุ ฝาุ ยทีเ่ กีย่ วขอ้ งได้เข้ามา มสี ่วนร่วมในแบบทางตรงให้มากทส่ี ุดเทา่ ทจ่ี ะเปน็ ไปได้ โดยเป็นการดาเนินการบนพน้ื ฐานการเติบโตร่วมกัน ไมว่ า่ จะเป็นทางเศรษฐกจิ ส่ิงแวดล้อม และคุณภาพชีวิต โดยให้ความสาคัญกับการสร้างสมดุลทั้ง ๓ ด้าน อันจะนาไปสคู่ วามยง่ั ยืนเพอื่ คนรนุ่ ตอ่ ไปอย่างแทจ้ รงิ 6) ยทุ ธศาสตรช์ าตดิ า้ นการปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบริหารจดั การภาครัฐ มเี ปูาหมาย การพฒั นาท่ีสาคญั เพ่อื ปรบั เปลย่ี นภาครัฐท่ยี ึดหลัก \"ภาครฐั ของประชาชนเพือ่ ประชาชนและประโยชน์ สว่ นรวม\" โดยภาครัฐตอ้ งมีขนาดท่เี หมาะสมกบั บทบาทภารกจิ แยกแยะบทบาทหน่วยงานของรฐั ทท่ี าหน้าท่ี ในการกากบั หรอื ในการให้บรกิ ารในระบบเศรษฐกจิ ที่มกี ารแข่งขนั มสี มรรถะสงู ยดึ หลกั ธรรมาภบิ าล ปรับวฒั นธรรมการทางานใหม้ ุง่ ผลสัมฤทธแ์ิ ละผลประโยชนส์ ว่ นรวม มคี วามทันสมัย และพร้อมที่จะปรบั ตัว ให้ทนั ต่อการเปล่ียนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะอย่างย่ิงการนานวตั กรรม เทคโนโลยีขอ้ มลู ขนาด ใหญ่ระบบการทางานที่เป็นดิจทิ ัลเข้ามาประยุกต์ใช้อย่างคุ้มค่า และปฏิบัติงานเทียบได้กับมาตรฐานสากล รวมทัง้ มลี กั ษณะเปดิ กวา้ ง เชื่อมโยงถงึ กนั และเปดิ โอกาสใหท้ กุ ภาคสว่ นเขา้ มามีสว่ นรว่ มเพอื่ ตอบสนองความ ต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และโปร่งใส โดยทุกภาคส่วนในสังคมต้องร่วมกันปลูกฝัง ค่านิยมความซอื่ สตั ยส์ ุจรติ ความมธั ยสั ถ์ และสรา้ งจิตสานกึ ในการปฏิเสธไมย่ อมรับการทจุ ริตประพฤตชิ อบ อยา่ งสน้ิ เชงิ นอกจากนน้ั กฎหมายตอ้ งมคี วามชัดเจน มเี พยี งเท่าทจ่ี าเป็น มคี วามทันสมัย มคี วามเปน็ สากล มีประสิทธิภาพ และนาไปสู่การลดความเหล่ือมล้าและเอื้อต่อการพัฒนา โดยกระบวนการยุติธรรมมีการ บริหารทีม่ ปี ระสิทธภิ าพ เปน็ ธรรม ไม่เลือกปฏิบัติ และการอานวยความยุติธรรมตามหลกั นติ ิธรรม 1.2 แผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ 1.2.1 แผนแมบ่ ทท่ี 12 ประเดน็ \"การพัฒนาการเรียนรู้\" (เจา้ ภาพหลัก) 1) เปูาหมายระดบั ประเด็น \"การพฒั นาการเรียนร\"ู้ - เปูาหมายท่ี 1 คนไทยมีการศึกษาท่มี ี คณุ ภาพตามมาตรฐานสากลเพม่ิ ขนึ้ มที กั ษะทจี่ าเปน็ ของ โลกศตวรรษท่ี 21 สามารถในการแกป้ ัญหา ปรับตวั ส่ือสาร และทางานรว่ มกับผู้อน่ื ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิผล เพิม่ ขนึ้ มนี สิ ยั ใฝุเรียนรอู้ ย่างตอ่ เนือ่ งตลอดชวี ติ - การบรรลเุ ปาู หมาย ผ้เู รียนมีคณุ ภาพ ทกั ษะ และสมรรถะการเรียนรทู้ ีจ่ าเป็นในศตวรรษที่ 21 2) แผนย่อยท่ี 3.1 \"การปฏิรปู กระบวนการเรียนรู้ทตี่ อบสนองตอ่ การเปลีย่ นแปลงในศตวรรษ ท่ี 21\" - แนวทางการพฒั นา (1) ปรบั เปลีย่ นระบบการเรยี นรสู้ าหรับศตวรรษที่ 21 (1.1) พฒั นากระบวนการเรยี นรทู้ ุกระดับช้นั ท่ีใชฐ้ านความรแู้ ละระบบคิดในลกั ษณะสห วิทยาการ

แผนคณุ ภาพการศกึ ษา(แผนกลยทุ ธ์)ปี (2565 – 2569) 39 (1.2) พฒั นากระบวนการเรยี นรขู้ องผเู้ รียนทกุ ระดบั การศึกษา รวมถงึ จดั กจิ กรรมเสริม ทกั ษะเพ่ือพัฒนาทกั ษะสาหรบั ศตวรรษที่ 21 (1.3) พัฒนาระบบการเรียนรเู้ ชงิ บรู ณาการทเี่ นน้ การลงมือปฏบิ ัติ รวมถงึ มีทกั ษะด้าน วชิ าชพี และทักษะชวี ติ (1.4) พัฒนาระบบการเรียนรทู้ ี่ใหผ้ ้เู รยี นสามารถกากบั การเรยี นรขู้ องตนได้ (2) เปลยี่ นโฉมบทบาท \"คร\"ู ใหเ้ ปน็ ครูยคุ ใหม่ (2.1) วางแผนพัฒนาและปรบั บทบาท \"ครูยคุ ใหม\"่ ใหเ้ ป็น \"ผ้อู านวยการ การเรยี นรู้\" (2.2) ปรบั ระบบการพฒั นาครู ตง้ั แต่การดึงดดู คัดสรร ผมู้ ีความสามารถสงู เขา้ มาเป็นครู (2.3) สง่ เสริมระบบการพัฒนาศกั ยภาพและสมรรถะครูอยา่ งต่อเน่อื ง ครอบคลมุ ทงั้ เงินเดอื น สายอาชพี และระบบสนบั สนนุ อืน่ ๆ (3) เพิ่มประสทิ ธิภาพระบบบรหิ ารจดั การ ศึกษาในทกุ ระดบั ทุกประเภท (3.1) ปฏริ ปู โครงสรา้ งองค์กรด้านการศกึ ษาใหม้ ปี ระสิทธิภาพ (3.2) จัดใหม้ มี าตรฐานขัน้ ต่าของโรงเรียนในทุกระดับ (3.3) ปรบั ปรุงโครงสร้าง การจัดการศึกษาใหม้ ีประสทิ ธิภาพและเพม่ิ คุณภาพการศึกษา (3.4) เพิ่มการมสี ว่ นรว่ มจากภาคเอกชนในการจดั การศึกษา (4) พฒั นาระบบการเรยี นรูต้ ลอดชวี ติ (4.1) จัดใหม้ รี ะบบการศกึ ษาและระบบฝกึ อบรมบนฐานสมรรถนะทมี่ ีคณุ ภาพสงู และ ยดื หยุ่น (4.2) พัฒนาระบบเครอื ขา่ ยเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั และดจิ ทิ ัลแพลตฟอร์ม สอ่ื ดจิ ทิ ลั เพ่อื การศึกษาในทกุ ระดับ ทกุ ประเภทการศึกษาอย่างท่วั ถงึ และมปี ระสิทธภิ าพ (4.3) พฒั นโปรแกรมประยกุ ตห์ รือสอ่ื การเรยี นรดู้ จิ ทิ ลั ที่มีคณุ ภาพทน่ี กั เรียน นกั ศกึ ษา และประชาชนสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชนใ์ นการเรียนรแู้ ละพัฒนาตนเอง - เปูาหมาย คนไทยได้รบั การศึกษาทมี่ คี ุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะ การเรยี นรู้ และทักษะท่ีจาเปน็ ของโลกศตวรรษท่ี 21 สามารถเขา้ ถึงการเรียนรอู้ ยา่ งตอ่ เน่อื งตลอดชีวติ ดขี ้ึน - การบรรลเุ ปูาหมาย 1) พฒั นาการจัดการศึกษาโดยบรู ณาการองคค์ วามรูแ้ บบ สะเตม็ ศึกษา 2) สร้างเสริมและพฒั นาทักษะการเรยี นรทู้ ส่ี มวยั ทกั ษะอาชีพ และทกั ษะชวี ติ ท่ี เทา่ ทนั และสามารถอยรู่ ว่ มในสังคมศตวรรษท่ี 21 3) สรา้ งแพลตฟอรม์ ดจิ ทิ ลั รองรบั การเรยี นรรู้ ูปแบบใหม่ 4) พัฒนาสมรรถนะทีจ่ าเป็นของผเู้ รียน ครู และบุคลากรทางการศึกษาในศตวรรษท่ี 2 1.2.2 แผนแมบ่ ทที่ 11 ประเด็น \"ศกั ยภาพคนตลอดชว่ งชีวิต\"(เจา้ ภาพร่วม) (1.) เปูาหมายระดบั ประเด็น \"ศักยภาพคนตลอดชว่ งชีวติ \"- เปาู หมาย คนไทยทกุ ชว่ งวยั มีคณุ ภาพ เพ่ิมขน้ึ ไดร้ ับการพฒั นาอยา่ งสมดลุ ทง้ั ดา้ นรา่ งกายสตปิ ัญญาและคณุ ธรรม จริยธรรม เป็นผู้ที่มคี วามรู้ และ ทกั ษะในศตวรรษที่ 21 รกั การเรยี นรอู้ ยา่ งตอ่ เนอ่ื งตลอดชีวิต - การบรรลเุ ปาู หมาย คนทกุ ช่วงวยั ไดร้ บั การพัฒนาอยา่ งสมดุล โดยสรา้ งเสรมิ และพัฒนาทกั ษะการ เรียนรทู้ ่ีสมวัย ทักษะอาชีพและทักษะชวี ิตท่ีเท่าทันและสามารถอยู่รว่ ม ในสงั คมศตวรรษท่ี 21

แผนคณุ ภาพการศึกษา(แผนกลยทุ ธ์)ปี (2565 – 2569) 40 (2.) แผนย่อยที่ 3.2 \"การพัฒนาเด็กตัง้ แตช่ ว่ งการตงั้ ครรภจ์ นถงึ ปฐมวยั \" - แนวทางพัฒนา จดั ใหม้ ีการพฒั นาเดก็ ปฐมวัยใหม้ ีพฒั นาการ สมรรถนะและคณุ ลกั ษณะทดี่ ที ่ี สมวยั ทกุ ด้าน - เปูาหมาย เด็กเกดิ อย่างมคี ณุ ภาพ มีพัฒนาการสมวัย สามารถเขา้ ถงึ บรกิ ารท่ีมคี ณุ ภาพมากข้นึ - การบรรลเุ ปาู หมาย ปรบั ปรงุ สถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยใหม้ ีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา ระดับ ปฐมวัย พ.ศ.2561 ในมาตรฐานที่ 1 คุณภาพเดก็ ประกอบดว้ ย 1) พัฒนาการดา้ นร่างกาย 2) พฒั นาการ ด้านอารมณ์ 3) พัฒนาการดา้ นสังคม 4) พัฒนาการดา้ นสตปิ ญั ญา (3.) แผนยอ่ ยที่ 3.3 \"การพัฒนาชว่ งวัยเรยี น/วัยรุน่ \" - แนวทางพัฒนา 1) พฒั นาทักษะทส่ี อดรบั กบั ทักษะในศตวรรษที่ 21 โดยเฉพาะทกั ษะ ดา้ นการคิด วิเคราะห์ สงั เคราะห์ ความสามารถในการแกป้ ญั หาทซี่ ับซอ้ น ความคดิ สร้างสรรค์ การทางาน รว่ มกับผอู้ น่ื - เปูาหมาย วัยเรยี น/วยั รนุ่ มีความรู้ และทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 ครบถว้ น รจู้ กั คดิ วเิ คราะห์ รกั การเรียนรู้ มีสานกึ พลเมอื ง มีความกล้าหาญทางจริยธรรม มคี วามสามารถในการ แก้ปัญหาปรับตัว สอื่ สาร และทางานรว่ มกบั ผ้อู ื่นได้ อย่างมปี ระสทิ ธผิ ลตลอดชวี ติ ดขี ึ้น - การบรรลเุ ปาู หมาย พัฒนาทกั ษะการเรยี นรูแ้ ละทกั ษะอาชพี แก่ผเู้ รยี นใหส้ อดรบั กับ ทักษะในศตวรรษที่ 21 (4.) แผนย่อยท่ี 3.4 \"การพัฒนาและยกระดบั ศกั ยภาพวยั แรงงาน\" - แนวทางพัฒนา 1) ยกระดบั ศักยภาพ ทักษะและสมรรถนะของคนในช่วงวยั ทางานให้มี คุณภาพมาตรฐาน สอดคล้องกับความสามารถเฉพาะบคุ คลและความต้องการของตลาดแรงงาน รวมทงั้ เทคโนโลยสี มยั ใหม่ - เปาู หมาย 1) แรงงานมีศักยภาพในการเพ่มิ ผลผลิต มที กั ษะ อาชีพสงู ตระหนกั ในความสาคัญ ทจ่ี ะพัฒนาตนเองใหเ้ ต็มศกั ยภาพ สามารถปรบั ตวั และเรียนรู้สิง่ ใหมต่ ามพลวัตของโครงสรา้ งอาชีพ และความต้องการของตลาดแรงงานเพ่ิมข้ึน - การบรรลเุ ปาู หมาย ยกระดบั ศกั ยภาพ ทักษะ และสมรรถนะของคนในชว่ งวัยทางานให้มคี ณุ ภาพ มาตรฐานสอดคล้องกับความสามารถเฉพาะบคุ คล (5.) แผนย่อยท่ี 3.5 \"การสง่ เสรมิ ศักยภาพผ้สู งู อาย\"ุ - แนวทางพฒั นา 1) ส่งเสริมการมงี านทาของผสู้ งู อายุใหพ้ งึ่ พาตนเองไดท้ างเศรษฐกจิ และร่วมเป็น พลงั สาคญั ตอ่ การพฒั นาเศรษฐกิจ ชุมชนและประเทศ - เปาู หมาย ผสู้ ูงอายมุ คี ณุ ภาพชวี ิตท่ีดี มีความมั่นคงในชีวติ มีทกั ษะการดารงชวี ติ เรียนรพู้ ัฒนา ตลอดชีวติ มสี ่วนรว่ มในกจิ กรรมสงั คม สร้าง มลู ค่าเพม่ิ ให้แก่สงั คมเพมิ่ ข้ึน - การบรรลเุ ปหู มาย สง่ เสรมิ กามีงานทาของผู้สงู อายุใหพ้ งี่ พาตนองได้ทางเศรษฐกจิ 1.2.3. แผนแม่บทท่ี 10 ประเด็น \"การปรับเปล่ยี นคา่ นิยมและวัฒนธรรม\" (1) เปาู หมายระดับประเดน็ \"การปรบั เปลย่ี นค่านิยมและวฒั นธรรม\" - เปูาหมาย คนไทยมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยมทดี่ งี าม และมีความรกั และ ภูมิใจ ในความเป็นไทยมากขึ้น นาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ใน การ ดารงชวี ิต สังคมไทยมีความสุขและเปน็ ทยี่ อมรับของนานาประเทศมากข้นึ - การบรรลุเปูาหมาย การบูรณาการเรื่องความซื่อสัตย์ วินัย คุณธรรม จริยธรรมในการ จดั การเรยี นการสอนในสถานศึกษาเอกชน และการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั

แผนคุณภาพการศกึ ษา(แผนกลยทุ ธ์)ปี (2565 – 2569) 41 (2) แผนยอ่ ยที่ 3.1 \"การปลกู ฝงั คุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และการเสรมิ สร้างจิตสาธารณะ และ การเป็นพลเมอื งที่ด\"ี - แนวทางพัฒนา 2 บูรณาการเรื่องความซ่ือสัตย์ วินัย คุณธรรม จริยธรรม และ ด้าน ส่ิงแวดล้อม ในการจัดการเรียนการสอนในและนอกสถานศึกษา จัดให้มีการเรียนการสอนตาม พระราชดาริและปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในสถานศึกษา ส่งเสริมกิจกรรมสรา้ งความตระหนักรู้ และการมสี ่วนรว่ มดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้รองรับการเปล่ียนแปลงทั้งในระเทศ และต่างประเทศ 4) ปลกู ฝังคา่ นิยมและวฒั นธรรมโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน ส่งเสริมชุมชนให้เป็นฐาน การสรา้ งวถิ ชี ีวติ พอเพียง - เปูาหมาย คนไทยเป็นมนษุ ยท์ ส่ี มบรู ณ์ มคี วามพร้อมในทุกมติ ิตามมาตรฐานและสมดลุ ทง้ั ด้านสตปิ ญั ญา คณุ ธรรมจรยิ ธรรม มจี ิตวิญญาณทด่ี ี เข้าใจในการปฏบิ ตั ติ นปรบั ตัวเข้ากบั สภาพแวดล้อมดีขนึ้ - การบรรลเุ ปูาหมาย บูรณาการจดั กระบวนการเรียนรู้ทเ่ี สรมิ สร้างหลกั คิด และทัศนคตทิ ี่ ถกู ตอ้ งดา้ นระเบียบ วินยั คณุ ธรรมจริยธรรม จิตสาธารณะ ความเป็นพลเมอื ง สง่ เสริมกิจกรรม สร้างความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนกั ในการจดั การคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ มดว้ ยกระบวนการมีส่วน ร่วม 1.2.4. แผนแมบ่ ทท่ี 1 ประเดน็ \"ความมัน่ คง\" (1) เปูาหมายระดับประเด็น \"ความมน่ั คง\" - เปาู หมายท่ี 2 ประชาชนอยู่ดี กนิ ดแี ละมคี วามสุขดีขนึ้ - การบรรลเุ ปาู หมาย พฒั นาผู้เรียนใหม้ ีคุณภาพ ทกั ษะ และสมรรถนะการเรยี นรู้ที่ จาเปน็ ในศตวรรษที่ 21 สอดคล้องเหมาะสมกบั การเสรมิ สรา้ งความมั่นคงในแตล่ ะบรบิ ท (2) แผนยอ่ ย 3.1 รักษาความสงบภายในประเทศ - แนวทางพัฒนา 2 เสริมสรา้ งความมนั่ คงของสถาบันหลกั ของชาติ ภายใตก้ ารปกครอง ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข โดยปลูกฝังและสร้างความ ตระหนักรถู้ งึ ความสาคัญของสถาบนั หลักของชาติ รณรงคเ์ สรมิ สร้างความรักและภาคภมู ใิ จในความ เป็นคนไทยและชาติไทย ผา่ นทางกลไกต่าง ๆ รวมถึงการศึกษาประวัตศิ าสตร์ในเชิงสรา้ งสรรค์ นอ้ ม นาและเผยแพร่ศาสตร์พระราชา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวมถึงแนวทางพระราชดาริ ตา่ ง ๆ ให้เกดิ ความเขา้ ใจอยา่ งถอ่ งแท้และนาไปประยุกตป์ ฏิบตั ิใช้อย่างกวา้ งขวาง จัดกจิ กรรมเฉลมิ พระเกียรตแิ ละพระราชกรณยี กจิ อยา่ งสมา่ เสมอ - เปูาหมายท่ี 2) คนไทยมีความจงรักภกั ดี ซื่อสตั ย์ พร้อมธารงรักษาไว้ซึ่งสถาบันหลักของ ชาติ สถาบนั ศาสนาเป็นทเี่ คารพ ยดึ เหนยี่ วจติ ใจของคนไทยสูงขน้ึ - การบรรลเุ ปูาหมาย 1 ปลูกฝังค่านิยมและหลักคิดที่ ถูกต้อง เพ่ือเสริมสร้างเสถียรภาพ สถาบนั หลกั ของชาติ ตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 2) ยกระดับ และสร้างโอกาสการเขา้ ถึงการศกึ ษาท่มี คี ุณภาพ และพัฒนาสมรรถนะการเรียนรู้ /วิขาชีพ ในเขต พัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ และเขตพ้ืนท่ีพิเศษ (พื้นที่สูง พื้นที่ตามตะเข็บ ชายแดน และพื้นท่เี กาะแกง่ ชายฝ่ังทะเล ท้งั กลุ่มชนต่างเช้ือชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มชน ชายขอบ และแรงงานต่างดา้ ว) (3) แผนยอ่ ย 3.2 การปอู งกันและแกไ้ ขปญั หาท่มี ผี ลกระทบตอ่ ความม่นั คง(ยาเสพตดิ , ไซเบอร,์ ความไมส่ งบ จชต.) - แนวทางพฒั นา 1) ปอู งกนั และปราบปรามยาเสพตดิ 2) ปูองกนั และแกไ้ ขปัญหา

แผนคุณภาพการศึกษา(แผนกลยทุ ธ์)ปี (2565 – 2569) 42 ความม่ันคงทางไซเบอร์ 9 ปอู งกนั และแกไ้ ขปัญหาความไมส่ งบในจงั หวัดชายแดนภาคใต้ - เปาู หมายท่ี 1) ปญั หาความมน่ั คงที่มอี ยใู่ นปัจจบุ ัน เชน่ ปญั หายาเสพตดิ ความ มน่ั คงทางไซเบอร์ การคา้ มนุษย์ ฯลฯ ไดร้ บั การแก้ไขดขี ึ้นจนไม่สง่ ผลกระทบต่อการบริหาร และพฒั นาประเทศ - การบรรลเุ ปาู หมาย พัฒนากลไกบรู ณาการระบบบรหิ ารจดั การการปอู งกันและแก้ไข ปญั หายาเสพติดหรอื ภยั คุกคามรปู แบบใหม่ 1.2.5. แผนแม่บทท่ี 6 ประเด็น \"พื้นที่และเมอื งน่าอยู่อัจฉรยิ ะ\" (1) เปูาหมายระดับประเด็น \"พืน้ ทีแ่ ละเมอื งนา่ อยอู่ จั ฉริยะ\" - เปาู หมายท่ี 1) ประเทศไทยมขี ดี ความสามารถในการแขง่ ขนั สงู ข้ึน เกดิ ศูนย์กลาง ความเจรญิ ทางเศรษฐกจิ และสงั คมในทกุ ภมู ภิ าคของประเทศ เพ่ือกระจายความเจรญิ ทางดา้ นเศรษฐกิจและสงั คม - การบรรลเุ ปาู หมาย ผู้เรยี น ข้าราชการ ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษามสี มรรถนะ ที่ ตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงานและการแขง่ ขนั ของประเทศ (2) แผนย่อย 3.1 การพฒั นาเมอื งนา่ อยู่อจั ฉรยิ ะ - แนวทางพัฒนา 2 พฒั นาเมืองขนาดกลาง 2.1) พัฒนาเมืองขนาดกลางทางเศรษฐกจิ ให้ เป็นเมืองอจั ฉรยิ ะทม่ี คี วามนา่ อยู่ 2.1 (4) พฒั นโครงสร้างพน้ื ฐานทางสงั คมใหส้ ามารถยกระดบั คุณภาพชีวิตและสง่ เสรมิ ศักยภาพของประชาชนอย่างเตม็ รปู แบบ - เปูาหมาย เมอื งในพืน้ ทเี่ ปูาหมายท่ีไดร้ ับการพฒั นา เพื่อกระจายความเจรญิ และลดความ เหลอ่ื มลา้ ในทกุ มิติ - การบรรลเุ ปาู หมาย พฒั นาทกั ษะแรงงานฝมี อื ตรงกบั ความต้องการของตลาดแรงงานใน พน้ื ทแี่ ละภูมภิ าค (อาทิ เกษตรกรรม อตุ สาหกรรม ท่องเท่ียว พ้ืนทีเ่ มอื งน่าอยอู่ จั ฉริยะ) 1.2.6. แผนแมบ่ ทที่ 17 ประเด็น \"ความเสมอภาคและหลกั ประกนั ทางสังคม\" (1) เปูาหมายระดบั ประเด็น \"ความเสมอภาคและหลกั ประกนั ทางสงั คม\" -เปูาหมาย คนไทยทกุ คนไดร้ บั การคุ้มครองและมหี ลกั ประกนั ทางสงั คมเพม่ิ ขึน้ - การบรรลเุ ปาู หมาย ผเู้ รียนได้รบั โอกาสทางการศึกษาที่มีคณุ ภาพ อยา่ งทัว่ ถึง และเสมอภาคด้วยรปู แบบหลากหลาย (2) แผนย่อย 3.1 การคมุ้ ครองทางสงั คมขัน้ พน้ื ฐานและหลกั ประกนั ทางเศรษฐกจิ สงั คม และสขุ ภาพ - แนวทางพฒั นา 1) ขยายฐานความคุ้มครองทางสงั คม โดยการจัดโครงขา่ ยการ คมุ้ ครองทางสังคม สาหรับผดู้ อ้ ยโอกาสและคนยากจนให้สามารถเขา้ ถงึ บรกิ ารพื้นฐานของ ภาครัฐ ได้อยา่ งมีคณุ ภาพ 2) สร้างหลักประกันสวสั ดิการสาหรับแรงงาน โดยส่งเสริมและสนับสนุน การพัฒนาทักษะแรงงานให้สามารถประกอบอาชีพและมีรายได้ตามศักยภาพ รวมถึงส่งเสริมให้มี การจา้ งงานผสู้ ูงอายเุ พอื่ ให้ผสู้ ูงอายุสามารถพง่ึ ตนเองด้านรายได้ รวมท้งั เป็นทางเลือกที่สาคัญช่วย บรรเทาปัญหาจากการลดลงของประชากรวัยแรงงาน - เปูาหมาย คนไทยทกุ คน โดยเฉพาะกล่มุ ดอ้ ยโอกาสและกลุม่ เปราะบางไดร้ บั การคมุ้ ครอง และมหี ลกั ประกนั ทางสงั คมเพม่ิ ขน้ึ - การบรรลเุ ปาู หมาย 1) เพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษาในระบบ นอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศัย ให้ผเู้ รยี นสามารถเขา้ ถงึ โอกาสทางการเรียนทม่ี คี ณุ ภาพไดอ้ ย่างหลากหลาย

แผนคุณภาพการศึกษา(แผนกลยทุ ธ์)ปี (2565 – 2569) 43 ครอบคลุมทุกพื้นที่และกลุ่มเปูาหมาย 2) ส่งเสริมพัฒนาโปรแกรมประยุกต์และส่ือการ เรยี นรผู้ ่านระบบดจิ ทิ ัลออนไลนแ์ บบเปิดท่ีเหมาะสมตอ่ การเข้าถงึ และพฒั นาการเรียนร้ตู ลอดชีวติ 1.2.7. แผนแม่บทท่ี 18 ประเดน็ \"การเติบโตอย่างยั่งยนื \" (1) เปาู หมายระดับประเดน็ \"การเตบิ โตอย่างย่ังยืน\" - เปูาหมาย สภาพแวดล้อมของประเทศไทยมคี ุณภาพดขี นึ้ อย่างย่ังยนื - การบรรลเุ ปูาหมาย หนว่ ยงาน/สถานศกึ ษามกี จิ กรรมสง่ เสริมคุณลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์ และปรับเปล่ียนพฤติกรรมให้เป็นมติ รกับสิ่งแวดลอ้ ม (2) แผนยอ่ ย 3.5 การยกระดบั กระบวนทศั น์เพอ่ื กาหนดอนาคตประเทศ - แนวทางพัฒนา 1) ส่งเสรมิ คุณลักษณะและพฤติกรรมที่พึงประสงค์ด้านสิ่งแวดล้อมและ คุณภาพชีวิตท่ีดีของคนไทย สร้างความรู้ความเข้าใจ การตระหนักรู้ และการมีส่วนร่วมด้าน ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อมใหร้ องรบั การเปล่ียนแปลงทงั้ ในระดับประเทศและระดับสากล โดยสอดแทรกในหลักสูตรการศึกษาและ/หรือการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตท้ังในระบบและนอก ระบบ - เปูาหมาย คนไทยมีคุณลกั ษณะและพฤตกิ รรมทพ่ี งึ ประสงค์ดา้ นส่ิงแวดลอ้ มและคุณภาพ ชีวิตที่ดี - การบรรลเุ ปาู หมาย สง่ เสรมิ กจิ กรรมสรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจ ความตระหนกั ในการ จดั การคุณภาพสง่ิ แวดลอ้ มด้วยกระบวนการมสี ว่ นรว่ ม 1.2.8. แผนแมบ่ ทที่ 20 ประเดน็ \"การบริการประชาชนและประสทิ ธภิ าพภาครัฐ\" (1) เปูาหมายระดับประเด็น \"การบริการประชาชนและประสทิ ธิภาพภาครัฐ\" - เปาู หมายท่ี 1) บริการของรัฐมปี ระสิทธิภาพและมคี ุณภาพเป็นทย่ี อมรบั ของผู้ใช้บริการ - การบรรลเุ ปูาหมาย หน่วยงานมรี ะบบการบริหารจัดการทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพตอบสนองความ ต้องการของผรู้ ับบรกิ ารไดอ้ ยา่ งสะดวก รวดเร็วโปรง่ ใส ตามหลกั ธรรมาภบิ าล (2) แผนย่อย 3.1 การพัฒนาบรกิ ารประชาชน - แนวทางพัฒนา 1) พฒั นารูปแบบบรกิ ารภาครัฐเพื่ออานวยความสะดวกในการใหบ้ รกิ าร ประชาชน 2) พฒั นาการให้บรกิ ารภาครฐั ผา่ นการนาเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลมาประยกุ ตใ์ ช้ 3) ปรับวธิ ีการ ทางาน เพื่อสนับสนนุ การพฒั นาบรกิ ารภาครฐั ทมี่ ีคณุ คา่ และไดม้ าตรฐานสากล - เปาู หมาย งานบรกิ ารภาครฐั ทปี่ รบั เปลีย่ นเปน็ ดจิ ทิ ัลเพมิ่ ขน้ึ - การบรรลปุ ูาหมาย สง่ เสรมิ และพฒั นาการนาเทคโนโลยดี จิ ิทลั มาประยุกตใ์ ช้ ในการบรหิ ารราชการ/บรกิ ารประชาชน (3) แผนย่อย 3.2 การบรหิ ารจดั การการเงนิ การคลงั - แนวทางพฒั นา 1) จดั ทางบประมาณตอบสนองต่อเปาู หมายตามยุทธศาสตรช์ าติ 2) กาหนดให้มกี ารตดิ ตามประเมนิ ผลสมั ฤทธ์กิ ารดาเนนิ การตามยทุ ธศาสตร์ชาติและผลสมั ฤทธข์ิ อง แผนงาน/โครงการ - เปูาหมาย หนว่ ยงานภาครฐั บรรลผุ ลสมั ฤทธิ์ตามเปาู หมายยทุ ธศาสตร์ชาติ - การบรรลเุ ปูาหมาย สร้างและพัฒนากลไกการบริหารจดั การศึกษาให้มปี ระสิทธิภาพใน การบรู ณาการเช่อื มโยงทกุ ระดบั และการมสี ว่ นรว่ มกบั ทกุ ภาคส่วนในพืน้ ทน่ี วัตกรรมการศกึ ษา (4) แผนย่อย 3.4 การพฒั นาระบบบรหิ ารงานภาครัฐ - แนวทางพัฒนา 1) พฒั นาหนว่ ยงานภาครัฐใหเ้ ปน็ \"ภาครฐั ทนั สมัย เปิดกว้างเปน็ องคก์ ร ขดี สมรรถนะสงู \" 2) กาหนดนโยบายและการบรหิ ารจดั การที่ต้งั อย่บู นขอ้ มูล และหลักฐานเชงิ

แผนคุณภาพการศึกษา(แผนกลยุทธ์)ปี (2565 – 2569) 44 ประจกั ษ์ 3) ปรบั เปล่ยี นรปู แบบการจัดโครงสรา้ งองค์การและออกแบบระบบการบริหารงานใหม่ ให้มีความยืดหยุ่น คล่องตัว กระชับ ทันสมัย - เปาู หมาย ภาครฐั มีขดี สมรรถะสงู เทียบเทา่ มาตรฐานสากลและมีความคลอ่ งตัว - การบรรลเุ ปาู หมาย 1) พัฒนาระบบฐานข้อมลู ของจงั หวัด ภาค และฐานข้อมลู กลางด้าน การศึกษา ใหเ้ ปน็ เอกภาพ เชื่อมโยงกนั เปน็ ปจั จบุ นั และทนั ตอ่ การใชง้ าน 2) ปรบั ปรงุ โครงสร้าง และอานาจหนา้ ทขี่ องหนว่ ยงานให้มีความยดื หยุน่ คลอ่ งตัว ไม่ซ้าซ้อน และทนั สมยั เออื้ ต่อการ พฒั นาประสทิ ธิภาพและขดี สมรรถนะองคก์ ร (5) แผนย่อย 3.5 การสร้างและพฒั นาบคุ ลากรภาครฐั - แนวทางพัฒนา 1) ปรับปรุงกลไกในการกาหนดเปาู หมายและนโยบายกาลงั คนในภาครัฐ ให้มมี าตรฐานและเกดิ ผลในทางปฏิบัตไิ ดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ 2 เสรมิ สร้างความเข้มแข็งในการ บรหิ ารงานบคุ คลในภาครฐั ใหเ้ ป็นไปตามระบบคณุ ธรรมอย่างแทจ้ ริง 3 พฒั นาบคุ ลากรภาครฐั ทกุ ประเภทให้มคี วามรคู้ วามสามารถสงู มีทักษะการคิดวเิ คราะห์และการปรับตัวใหท้ นั ตอ่ การ เปลย่ี นแปลง - เปาู หมาย บุคลากรภาครัฐยึดค่านิยมในการทางานเพ่อื ประชาชนยดึ หลกั คุณธรรม จรยิ ธรรม มจี ิตสานกึ มคี วามสามารถสงู มงุ่ มั่น และเป็นมอื อาชพี - การบรรลเุ ปาู หมาย พฒั นาระบบงานการบริหารงานบคุ คลของข้าราชการ ครูและ บคุ ลากรทางการศกึ ษา เพ่อื ยกระดบั สมรรถนะการปฏิบัตงิ าน 1.2.9. แผนแม่บทท่ี 21 ประเดน็ \"การต่อตา้ นการทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบ\" (1) เปูาหมายระดบั ประเดน็ การต่อต้านการทจุ รติ และประพฤติมิชอบ\" - เปาู หมาย ประเทศไทยปลอดการทุจรติ และประพฤติมชิ อบ - การบรรลเุ ปูาหมาย หน่วยงานมรี ะบบการบริหารจัดการทม่ี ปี ระสิทธิภาพตอบสนองความ ตอ้ งการของผรู้ บั บรกิ ารไดอ้ ย่างสะดวก รวดเรว็ โปรง่ ใส ตามหลักธรรมาภบิ าล (2) แผนยอ่ ย 3.1 การปอู งกันการทจุ รติ และประพฤติมชิ อบ - แนวทางพฒั นา 1) ปลกู และปลกุ จิตสานึกการเป็นพลเมอื งทีด่ ี มวี ฒั นธรรม สุจริต และการปลูกฝงั และหลอ่ หลอมวฒั นธรรมในกลมุ่ เด็กและเยาวชนทุกชว่ งวัย ทุก ระดับ 2) ส่งเสรมิ การปฏิบัติหนา้ ท่ขี องขา้ ราชการและเจ้าหนา้ ทีข่ องรัฐให้มีความใสสะอาด ปราศจากพฤติกรรมทสี่ อ่ ไปในทางทจุ รติ 5) ปรบั ระบบงานและโครงสร้างองคก์ รทเี่ ออื้ ตอ่ การลด การใชด้ ุลพนิ จิ ในการปฏิบตั ิงานของเจา้ หน้าที่ - เปูาหมายที่ 1) ประชาชนมีวฒั นธรรมและพฤตกิ รรมซ่ือสตั ยส์ จุ ริต - การบรรลเุ ปูาหมาย พัฒนาเครอื ขา่ ยต่อต้านการทจุ ริตประพฤติมชิ อบให้มสี ว่ นรว่ ม จดั กิจกรรมรณรงค์ เฝูาระวัง และติดตามพฤตกิ รรมเสีย่ งการทุจริต 1.2.10. แผนแม่บทท่ี 22 ประเดน็ \"กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม\" (1) เปาู หมายระดับประเด็น \"กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม\" - เปาู หมายที่ 1) กฎหมายเป็นเคร่ืองมอื ให้ทกุ ภาคสว่ นไดป้ ระโยชน์จากการพฒั นาประเทศ อย่างเทา่ เทียมและเปน็ ธรรม - การบรรลเุ ปาู หมาย หนว่ ยงานมรี ะบบการบรหิ ารจัดการทม่ี ีประสิทธิภาพ ตอบสนองความต้องการของผรู้ บั บริการไดอ้ ยา่ งสะดวก รวดเรว็ โปร่งใส ตามหลัก ธรรมาภบิ าล (2) แผนย่อย 3.1 การพัฒนากฎหมาย

แผนคณุ ภาพการศึกษา(แผนกลยุทธ์)ปี (2565 – 2569) 45 - แนวทางพัฒนา 1) พัฒนากฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ และมาตรการต่าง ๆให้ สอดคลอ้ งกับบริบทและเออ้ื ต่อการพัฒนาประเทศ 2) มีวิธีการบัญญัติกฎหมายอย่างมีส่วนร่วม 3) พัฒนาการบังคบั ใช้กฎหมาย 4) สง่ เสรมิ เทคโนโลยดี จิ ิทลั และนวตั กรรมในกระบวนการกฎหมาย - เปาู หมาย กฎหมายไมเ่ ป็นอปุ สรรคต่อการพฒั นาภาครัฐ และภาคเอกชนอยูภ่ ายใตก้ รอบ กฎหมายที่มงุ่ ใหป้ ระชาชนในวงกวา้ งได้รบั ประโยชนจ์ ากการพฒั นาประเทศโดยทัว่ ถงึ - การบรรลเุ ปูาหมาย เรง่ รดั ปรบั ปรงุ แกไ้ ขกฎหมาย กฎ ระเบยี บ และขอ้ บงั คับ ให้สอดคลอ้ งและเหมาะสมกบั บรบิ ททเ่ี ปล่ียนแปลง 1.2.11. แผนแม่บทที่ 23 ประเดน็ \"การวจิ ยั และพฒั นานวัตกรรม\" (1) เปูาหมายระดับประเด็น \"การวจิ ยั และพฒั นานวตั กรรม\" - เปูาหมายท่ี 1) ความสามารถในการแขง่ ขันดา้ นโครงสรา้ งฐานทางเทคโนโลยแี ละด้าน โครงสร้างพนื้ ฐานทางวทิ ยาศาสตร์ของประเทศเพ่ิมสูงขึ้น - การบรรลเุ ปาู หมาย 1) ผ้เู รยี น ขา้ ราชการ ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษามสี มรรถนะท่ี ตอบสนอง ความต้องการของตลาดแรงงานและการแข่งขนั ของประเทศ (2) แผนยอ่ ย 3.4 การวจิ ยั และพฒั นานวตั กรรมดา้ นองค์ความรู้พน้ื ฐาน - แนวทางพัฒนา 2) พัฒนา องคค์ วามรพู้ ้ืนฐานทางสงั คมและความเปน็ มนษุ ย์ - เปูาหมาย ประเทศไทยมขี ีดความสามารถของเทคโนโลยฐี านทัง้ 4 ดา้ นทดั เทยี มประเทศ ที่ก้าวหน้าในเอเชยี - การบรรลเุ ปูาหมาย ส่งเสริมการวิจยั และนวตั กรรมการบรหิ ารและจดั การศึกษา และพฒั นาบคุ ลากรวจิ ยั ทางการศกึ ษา 1.3. แผนการปฏริ ปู ประเทศ 1.3.1 แผนปฏริ ูปประเทศดา้ นการศึกษา เรื่องท่ี 1 การปฏิรปู ระบบการศึกษาและการเรียนร้โู ดยรวมของประเทศ โดยพระราชบญั ญัติ การศึกษาแหง่ ชาตฉิ บบั ใหม่และกฎหมายลาดบั รอง (สอดคลอ้ ง 3 ประเด็น) ประเดน็ ที่ 1.1) การมพี ระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. และมีการทบทวนจดั ทา แกไ้ ข และ ปรับปรงุ กฎหมายทเี่ กีย่ วข้อง (สอดคล้อง 1 กจิ กรรม)กิจกรรม จัดทาแกไ้ ขและปรบั ปรงุ กฎหมายให้ สอดคลอ้ งกบั พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.... เปูาหมายกจิ กรรม ไม่น้อยกว่า 2 ฉบับ ประเด็นท่ี 1.2) การสร้างความรว่ มมอื ระหว่างรฐั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ินและ เอกชน เพอ่ื การจดั การศึกษา (สอดคลอ้ ง 5 กจิ กรรม) กิจกรรม - 3. จดั ทาข้อเสนอวา่ ด้วย แผนความรว่ มมือในการจดั การศึกษาระดับปฐมวัย ครอบคลุม การจดั การทางการคลงั และผจู้ ัดการศึกษา - 4. จดั ทาข้อเสนอว่าด้วย แนวทางสนบั สนุนงบประมาณและงบลงทุนใหส้ ถานศึกษาเอกชนใน รปู แบบความรว่ มมอื รฐั และเอกชน สาหรบั เดก็ ทมี่ คี วามสามารถพเิ ศษ - 5. ปรับปรงุ แกไ้ ขกฎหมายทเี่ ก่ียวข้องกับองคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่นท่เี กี่ยวขอ้ งกบั การศึกษาตาม ขอ้ เสนอวา่ ด้วยบทบาทขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ินในการจดั กรศึกษา - 6.ปรับปรงุ แก้ไขกฎหมายท่ีเกยี่ วขอ้ งกับการจัดการศึกษาโดยภาคเอกชนตามข้อเสนอว่าด้วยการ เพิ่มบทบาทของภาคเอกชนในการจัดการศกึ ษาในรปู แบบตา่ ง ๆ การกากบั ดแู ลท่ีเหมาะสม - 7. จดั ทาและขบั เคลอ่ื นตามข้อเสนอแนวทางการสร้างและเพมิ่ สดั สว่ นของความร่วมมือระหว่างรัฐ เปาู หมายกจิ กรรม มสี ่วนร่วมดาเนินการกบั หน่วยงานรับผดิ ชอบหลกั แตล่ ะกจิ กรรม

แผนคณุ ภาพการศกึ ษา(แผนกลยุทธ์)ปี (2565 – 2569) 46 ประเดน็ ท่ี 1.3) การขบั เคลอื่ นการจดั การศกึ ษาเพือ่ การพฒั นาตนเองและการศกึ ษาเพื่อการเรยี นรู้ ตลอดชวี ติ เพือ่ รองรบั การพัฒนาศกั ยภาพคนตลอดชว่ งชวี ติ (สอดคลอ้ ง 2 กิจกรรม) กจิ กรรม - 2. จัดทาดัชนีการศึกษาเพือ่ การเรยี นรตู้ ลอดชีวติ ของการศึกษาไทย (Thailand Lifelong Education Index : TLEI) เปูาหมายกจิ กรรม ร่วมสรา้ งตวั ชีว้ ัดเกย่ี วกับการศกึ ษาเพอ่ื การเรยี นรู้ตลอดชวี ติ ของ ประเทศไทย (Thailand Lifelong Education Indicators) กับ สกศ. กิจกรรม - 3. บูรณาการการดาเนินงานร่วมกันของหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องกับการศึกษาเพื่อการ พัฒนาตนเอง และการศึกษาเพอื่ การเรียนรู้ตลอดชีวิตในลักษณะเครือข่ายความร่วมมือเปูาหมายกิจกรรม บรู ณาการการดาเนนิ งานร่วมกันกับหนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวข้องกับการศึกษาเพ่ือการพัฒนาตนเองและการศึกษา เพ่ือการเรียนรู้ตลอดชวี ิต ในลักษณะเครือข่ายความร่วมมือสร้างโอกาสการศึกษากับกลุ่มผู้ท่ีอยู่นอกระบบ โรงเรยี นโดยเรียนผ่านทางไกล หรือรปู แบบอืน่ ทเ่ี หมาะสมกับสภาพของกลุ่มเปูาหมาย ปรับบทบาท กศน. เปน็ ศูนยส์ ง่ เสริม สนบั สนนุ มากกวา่ การเป็นผจู้ ัด ทบทวน ศักยภาพและการดาเนินงานของหน่วยปฏิบัติในสังกัด กศน. ให้เป็นองค์กรท่ีมีประสิทธิภาพในการจัด กิจกรรมทีต่ อบสนองความตอ้ งการของกลมุ่ เปูาหมายจัดการศกึ ษาเพ่ือการเรียนรู้ตลอดชีวิตในแหล่งเรียนรู้ และศูนย์การเรยี นเพิม่ ขึน้ มีแนวทางการดาเนินงานส่งเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษาเพ่ือการเรียนรู้ ตลอดชวี ติ กาหนดคุณภาพการพัฒนาวิชาการและการพัฒนาบุคลากร พัฒนาบทบาทของสถานีโทรทัศน์ และวิทยุเพื่อการศึกษาใหม้ ีประสทิ ธิภาพย่ิงข้ึน รวบรวมและผลติ ส่อื และเทคโนโลยีสาหรับการเรียนรู้ตลอด ชีวิตของประชาชนทว่ั ไป จัดทาแผนท่ี สถานศกึ ษา และศนู ยก์ ารเรยี นรู้ เพ่ือจัดสรรให้เหมาะสมและมีความ เชอื่ มโยงตามบรบิ ทและความตอ้ งการ เร่ืองที่ 2 การปฏริ ปู การพฒั นาเด็กเล็กและเด็กวัยเรียน (สอดคลอ้ ง 2 ประเด็น) ประเด็นที่ 2.1) การพฒั นาระบบการดูแล พฒั นา และจดั การเรยี นรเู้ พอ่ื ใหเ้ ด็กปฐมวัย ได้รับการพฒั นา รา่ งกาย จิตใจ วนิ ยั อารมณ์ สงั คม และสตปิ ัญญาให้ สมกบั วัย (สอดคล้อง 5 กิจกรรม) กิจกรรม - 2. จัดทาแนวทางการคัดเลือกเด็กเข้าเรียนระดับชั้นประถม ศึกษาปีท่ี 1ด้วยวิธีการท่ี เหมาะสมกับช่วงวัยเปูาหมายกิจกรรม ร่วมจัดข้อเสนอแนวทางการคัดเลือกเด็กเข้าเรี ยนระดับช้ัน ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ท่เี หมาะสมกบั ชว่ งวัย กิจกรรม - 3. จดั ทาระบบคดั กรอง และกลกการติดตามและประเมินผลสาหรบั เด็กทม่ี ีความ ตอ้ งการจาเปน็ พิเศษ เปูาหมายกจิ กรรม ร่วมจดั ทาข้อเสนอวา่ ด้วยระบบการคดั กรอง และ ร่วมสง่ เสรมิ พัฒนาการเดก็ ปฐมวัยและเด็กทมี่ คี วามต้องการจาเปน็ พเิ ศษในหน่วยให้บรกิ าร กจิ กรรม - 4. จดั ทาแนวทางการพั ฒนาในชว่ งรอยเช่อื มตอ่ (transition period) ระหวา่ งวยั 2 - 6 ปี เปูาหมายกจิ กรรม จัดทาขอ้ เสนอแนวทางการพฒั นาในช่วงรอยเชื่อมตอ่ (transition period) ระหว่างวัย 2 - 6 ปี กิจกรรม - 5. จดั ทาแผนปฏิบัตกิ ารรว่ มกนั ระหว่างกระทรวงหลกั 4 กระทรวงทีเ่ กี่ยวขอ้ งเพ่ือพัฒนา เด็กปฐมวัยเปูาหมายกิจกรรม ร่วมจัดทาแผนปฏิบัติการร่วมกันระหว่างกระทรวงหลัก 4 กระทรวงที่ เกยี่ วขอ้ งเพ่อื เตรยี มความพร้อมพอ่ แมผ่ ูป้ กครอง และพัฒนาเดก็ ปฐมวัยใหม้ ีความพรอ้ มรอบดา้ น กิจกรรม - 6. จดั ทาขอ้ เสนอแผนปฏบิ ัติการวา่ ด้วยการยก ระดับคณุ ภาพของศูนย์พัฒนาเดก็ เลก็ และศูนยเ์ ลย้ี งเดก็

แผนคณุ ภาพการศกึ ษา(แผนกลยุทธ์)ปี (2565 – 2569) 47 เปาู หมายกจิ กรรม รว่ มยกร่างขอ้ เสนอแผนปฏิบัตกิ ารว่าด้วยการยกระดับคุณภาพของศูนย์พัฒนา เด็กเล็กและศนู ย์เลยี้ งเด็ก รวมทง้ั ส่งเสริมครู พี่เลยี้ งเด็ก และบคุ ลากร ท่ีเกย่ี วข้อง เข้ารับการอบรมพฒั นาให้ มีทักษะความเช่ยี วชาญในศาสตร์การดแู ลและพัฒนาเด็กเลก็ ประเดน็ ท่ี 2.2) การสื่อสารสงั คมเพื่อสรา้ งความเข้าใจในการพัฒนาเด็กปฐมวยั (สอดคลอ้ ง 1 กจิ กรรม) กิจกรรม - 1. สร้างความรู้ความเขา้ ใจในการพัฒนาเด็กปฐมวัย เปาู หมายกจิ กรรม รว่ มจดั ทาแนวทางการสร้างความรู้ความเขา้ ใจ ผลติ ส่อื ประชาสมั พันธ์ และร่างคมู่ อื การเตรียมความพรอ้ มพ่อแม่ กอ่ นการตง้ั ครรภ์ การเลยี้ งดู ดูแล และพฒั นาเด็กปฐมวัย อย่างต่อเนอ่ื ง เร่อื งที่ 3 การปฏิรูปเพ่ือลดความเหล่ือมล้าทางการศึกษา (สอดคลอ้ ง 2 ประเด็น) ประเดน็ ที่ 3.1) การดาเนนิ การเพือ่ ลดความเหล่ือมล้าทางการศึกษา (สอดคลอ้ ง 5 กิจกรรม) กจิ กรรม - . สง่ เสริมโอกาสและพฒั นาคุณภาพนักเรยี น เพื่อบรรเทาอปุ สรรคการมาเรียนของ นักเรยี นยากจนพิศษและยากจนให้มคี วามเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษา จนสาเรจ็ การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน และตามศกั ยภาพ เปาู หมายกจิ กรรม นกั เรยี นยากจนพเิ ศษและยากจน ไดร้ บั เงินอุดหนนุ ปัจจัยพนื้ ฐานนักเรยี น ยากจนแบบมเี งอ่ื นไข (Conditional Cash Transfer) เพ่ือบรรเทาอปุ สรรคการมาเรียน ในปี การศึกษา 2/2563 และ 2/2564 กิจกรรม - 4. สนบั สนนุ ใหเ้ ด็ก เยาวชนนอกระบบการศกึ ษา กลบั เขา้ สู่ระบบการศกึ ษาและพัฒนา ทักษะอาชีพ เปูาหมายกจิ กรรม สนบั สนุนใหเ้ ดก็ เยาวชนนอกระบบการศกึ ษาให้กลบั เข้าศึกษาต่อหรือไดร้ บั การ พัฒนาทักษะอาชีพ กจิ กรรม - 5. สง่ เสรมิ การพฒั นาคุณภาพและประสทิ ธิภาพครู เปูาหมายกจิ กรรม ครูนอกระบบ ได้รบั การเสรมิ สรา้ งและพฒั นาคณุ ภาพและประสทิ ธิภาพ กิจกรรม - 6. พฒั นาองคค์ วามรเู้ พ่อื การจดั การเชงิ ระบบเพอ่ื ความเสมอภาคทางการศกึ ษาทม่ี ี ประสิทธิภาพยิง่ ขน้ึ เปูาหมายกิจกรรม พัฒนาฐานข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) ของกลุ่มเปูาหมายเด็กและเยาวชนผู้ ขาดแคลนทนุ ทรัพยแ์ ละดอ้ ยโอกาสท้งั ในและนอกระบบการศึกษา จากเลขประจาตัวประชาชน 13หลัก ท่ี เชื่อมโยงและบรู ณาการ 6 กระทรวง เพือ่ ตรวจสอบความถูกตอ้ งแม่นยา และสนับสนุนการวิเคราะห์เพื่อใช้ ประโยชนใ์ นการสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา กจิ กรรม - 7. สง่ เสริมการมสี ่วนรว่ มของทุกภาคสว่ น เพอ่ื สรา้ งสังคมแหง่ โอกาสและความเสมอภาค ทางการศกึ ษาทั้งในและตา่ งประเทศ เปูาหมายกจิ กรรม สารวจสถานะความเหลื่อมล้าและคุณภาพทรพั ยากรมนษุ ยร์ ะดับจงั หวัด (School Readiness, Career Readiness, Workforce Competencies, SDGS) ประเด็นที่ 3.3) การยกระดบั คุณภาพการจดั การศึกษาในพ้ืนท่หี ่างไกล หรอื ในสถานศึกษาทต่ี อ้ งมี การยกระดับคณุ ภาพอยา่ งเรง่ ด่วน (สอดคล้อง 1 กจิ กรรม) กิจกรรม - 3. พัฒนาระบบสอบบรรจแุ ละแตง่ ต้งั ครู ใหก้ ระจายตัวออกไปในพน้ื ท่ีทม่ี คี วามขาด แคลนครู เปาู หมายกจิ กรรม ระบบสอบบรรจุและแตง่ ตง้ั ครู ทกี่ ระจายตวั ออกไปในพ้ืนที่ทม่ี คี วามขาดแคลน ครู


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook