Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการวิจัยดนตรี

รายงานการวิจัยดนตรี

Published by earn2555, 2022-08-07 03:07:40

Description: รายงานการวิจัยดนตรี

Search

Read the Text Version

1 การพัฒนาชดุ กจิ กรรมเพื่อสง่ เสรมิ ทักษะการอา่ นโน้ตเพลงไทย สําหรับนักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาชน้ั ปีที่ 5 Developing a series of activities to promote reading skills in Thai musical notes music for students Grade 5 โดย นางสาวเพรชรีย์ ทองม่นั เสนอตอ่ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏรอ้ ยเอ็ด เพื่อเป็นสว่ นหน่งึ ของการศึกษาตาม หลักสตู รครศุ าสตรบัณฑติ สาขาวิชาดนตรีศึกษา ปกี ารศกึ ษาปกี ารศกึ ษา 2564

2

3 การพัฒนาชดุ กจิ กรรมเพื่อสง่ เสรมิ ทักษะการอา่ นโน้ตเพลงไทย สําหรับนักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาชน้ั ปีที่ 5 Developing a series of activities to promote reading skills in Thai musical notes music for students Grade 5 โดย นางสาวเพรชรีย์ ทองม่นั เสนอตอ่ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏรอ้ ยเอ็ด เพื่อเป็นสว่ นหน่งึ ของการศึกษาตาม หลักสตู รครศุ าสตรบัณฑติ สาขาวิชาดนตรีศึกษา ปกี ารศกึ ษาปกี ารศกึ ษา 2564

ก บทคดั ย่อ ชือ่ เรือ่ ง การพฒั นาชดุ กจิ กรรมเพ่อื สง่ เสริมทักษะการอา่ นโน้ตเพลงไทย สําหรบั นักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาชั้นปที ่ี 5 ผู้วจิ ยั เพรชรยี ์ ทองมนั่ ปกี ารศึกษา 2564 อาจารย์ท่ีปรกึ ษา ดร.ธนวัฒน์ บุตรทองทิม , อาจารย์อำนาจ ถามะพันธ์ การวิจยั ครัง้ นีม้ ีความหมายเพือ่ 1) เพื่อพัฒนาชุดกจิ กรรมเพ่ือส่งเสริมทักษะการอ่าน โน้ตเพลงไทย สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564 โรงเรียนอนุบาลยโสธร อำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร 2 ) เพื่อศึกษาดัชนีประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านโน้ตเพลงไทย สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนอนุบาลยโสธร อำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร 75/75 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจ ของนักเรยี นตอ่ การใชช้ ุดกจิ กรรมเพ่ือสง่ เสรมิ ทกั ษะการอ่านโน้ตเพลงไทย ผลการวิจยั พบว่า 1 ) ชุดกิจกรรมที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น (E1/E2) มีประสิทธิภาพเท่ากับ 88.32 /88.48 สูงกว่า เกณฑ์ที่ผู้วิจัย75/75 2)การศึกษาดัชนีประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะ การอ่านโนต้ เพลงไทยสําหรับนกั เรยี นช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 5 โดยใช้ชกุ กจิ กรรมท่ีผวู้ ิจัยพัฒนา ขึ้น พบว่า นักเรียนมีค่าเฉลี่ยของผลการทดสอบก่อนเรียนอยู่ที่ 6.41 แต่หลังจากการเรียน ด้วยชุดการสอนเรื่องการอ่านโน้ตดนตรีไทยที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น นักเรียนมีค่าเฉลี่ย ของผลการทดสอบหลังเรียนอยู่ที่ 8.28 ซึ่งเมื่อนำผลการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน มาทำการเปรียบเทียบ พบว่า ค่า t มีค่าเท่ากับ 2.04 แสดงให้เห็นว่า นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนด้วย ชุดกิจกรรมการอ่านโน้ตดนตรีไทย หลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคญั ทางสถิติทีร่ ะดบั 0.05 คำสำคัญ : ชดุ กจิ กรรม, การอา่ นโน้ตดนตรีไทย

ข Abstract Title Developing a series of activities to promote reading skills in Thai sheet music For students in grade 5 Researcher Phetcharee Thongmun Academic year 2021 Advisors Dr. Thanawat Butthongtim, Ajarn Amnat Khamaphan The purpose of this research was to 1) to develop a series of activities to promote reading skills in Thai sheet music. For grade 5 students studying in the second semester of the academic year 2021, Yasothon Kindergarten Muang Yasothon District, Yasothon Province 2) to study the efficiency index of the activity package for promoting Thai sheet music reading skills. For grade 5 students studying in the second semester of the academic year 2021, Yasothon Kindergarten Muang Yasothon District, Yasothon Province, 75/75 3) to study the students' satisfaction with the use of activity packs to promote reading skills in Thai music. The results showed that 1) the activity pack developed by the researcher (E1/E2) was effective. equal to 88.32 /88.48, higher than the criteria that the researcher 75/75 2) The study of the efficiency index of the activity series to promote reading skills in Thai music notation for grade 5 students using the prevalence of activities developed by the researcher found that the students had an average pre-test score of 6.41. But after learning with the teaching set on reading Thai music notes developed by the researcher The students had an average post-test score of 8.28. When comparing the pre- and post-test results, it was found that the t-value was 2.04, indicating that Students also have academic achievement. A set of activities for reading Thai musical notes after school, higher than before statistically significant at the 0.05 level Keywords : activity series, Thai music notation reading

ค กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยเรื่อง การพัฒนาชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านโน้ตเพลงไทย สาํ หรบั นักเรียนชน้ั ประถมศึกษาชัน้ ปีที่ 5 Developing a series of activities to promote reading skills in Thai musical notes music for students Grade 5ได้รับความกรุณา จาก ดร.ธนวัฒน์ บุตรทองทิม , อาจารย์อำนาจ ถามะพันธ์ ผู้เป็นอาจารย์นิเทศและท่าน ยังให้คำปรึกษาตรวจทานวิจัยตั้งแต่เริ่มต้นจนสามารถแก้ไขข้อบกพร่องจนงานวิจัยฉบับน้ี สำเรจ็ ลลุ ่วงออกมาได้ด้วยดี ผูว้ ิจัยขอขอบพระคุณอยา่ งสงู ไว้ ณ โอกาสน้ี ขอกราบขอบพระคุณ นายปริญญา รัตนะ นางรุ่งนภา บุญถูก และ ว่าที่ร้อยตรีวร เชษฐ์ แถวนาชุม ผู้เชี่ยวชาญที่ให้ความอนุเคราะห์ในการตรวจสอบเครื่องมือในการวิจัย ทำให้ผู้วิจัยสามารถดำเนินการวิจัยและเก็บข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้ง ขอ้ เสนอแนะท่เี ปน็ ประโยชน์อย่างยิ่งต่อการทำวิจยั ให้มคี วามถูกต้องและสมบรู ณ์ยิ่งขึ้น ขอขอบพระคุณผู้อำนวยการ คณะครู และนักเรียนโรงเรียนอนุบาลยโสธร อำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร ทอ่ี นุเคราะห์ สนบั สนุน และอำนวยความสะดวกในการเก็บ ข้อมูลเปน็ อยา่ งดี ท้ายสุดนี้ ขอขอบพระคุณบิดา มารดา ผู้ซึ่งให้ชีวิต การอบรมเลี้ยงดู ให้ความรู้ ความสามารถ เป็นผู้วางรากฐานทางการศึกษา รวมทั้งสนับสนุนปัจจัยทางการศึกษามาโดย ตลอดและขอขอบคุณสมาชิกทุก ๆ ท่านในครอบครัวที่เป็นแรงบันดาลใจและกำลังใจเป็น อยา่ งดตี ลอดจนผู้มีพระคุณทุกท่าน ด้วยความเคารพอยา่ งสงู เพรชรีย์ ทองมั่น

ง สารบญั หน้า บทคัดย่อภาษาไทย…………………………………………………………………………………………… ก บทคัดย่อภาษาองั กฤษ............................................................................................................... ข กิตติกรรมประกาศ..................................................................................................................... ค สารบัญ............................................................................................................................. .......... ง สารบญั ตาราง............................................................................................................................ ฉ สารบัญรปู ภาพ........................................................................................................................... ช บทที่ 1 บทนำ............................................................................................................................ 1 5 ความสำคัญและทมี่ าของปัญหา................................................................................. 5 วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจัย........................................................................................... 5 ขอบเขตของการวิจัย.................................................................................................. 6 กรอบแนวคิดการวิจัย................................................................................................ 6 นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ....................................................................................................... 8 บทที่ 2 แนวคดิ ทฤษฎี และงานวิจยั ท่เี กีย่ วขอ้ ง........................................................................ 9 พระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542.......................................................... 13 การเรียนการสอนดนตรีไทย......................................................................................... 18 เอกสารทเี่ กย่ี วข้องกับชดุ กจิ กรรม................................................................................. 21 การอ่านโน้ตเพลงไทย................................................................................................... 23 การทดสอบประสทิ ธิภาพชุดการสอน........................................................................... 27 เอกสารทเ่ี กย่ี วข้องกับความพงึ พอใจ............................................................................ 30 งานวิจัยท่เี กี่ยวข้อง....................................................................................................... 33 บทท่ี 3 ระเบียบวธิ ีวิจยั .............................................................................................................. 33 กลุม่ เป้าหมาย................................................................................................................ 34 แบบแผนการวิจยั ........................................................................................................... 34 เครื่องมือท่ีใชใ้ นงานวจิ ัย.................................................................................................. 34 การสร้างและการหาคุณภาพเคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัย..................................................... 38 ขั้นตอนการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ........................................................................................ 38 ขั้นตอนการวิเคราะหข์ ้อมูล............................................................................................. 39 สถิตทิ ใี่ ชใ้ นการวิเคราะหข์ อ้ มูล........................................................................................

จ บทท่ี 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล................................................................................................... 41 บทท่ี 5 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล................................................................................................... 63 63 ความม่งุ หมายของงานวิจยั ............................................................................................. 63 สมมตฐิ านของการวิจยั .................................................................................................... 64 ขอบเขตของงานวิจัย....................................................................................................... 64 เครอื่ งมือท่ีใชใ้ นการศึกษาคน้ คว้า..................................................................................... 64 การดำเนนิ การทดลอง...................................................................................................... 65 การจดั กระทำและการวิเคราะหข์ ้อมูล.............................................................................. 65 สรุปผลการวิจยั ................................................................................................................. 65 การอภิปรายผล................................................................................................................ 67 ข้อเสนอแนะ............................................................................................................................. . 68 บรรณานกุ รม............................................................................................................................. 71 ภาคผนวก...................................................................................................................... ............ 72 ภาคผนวก ก............................................................................................................................. .. 79 ภาคผนวก ข.................................................................................................................. ............. 109 ภาคผนวก ค............................................................................................................................. . 117 ประวัตผิ ้เู ขียน.............................................................................................................................

ฉ สารบญั ตาราง หน้า ตาราง 1 แสดงผลคะแนนที่ได้จากการประเมนิ ระหวา่ งเรียน..................................................... 42 ตาราง 2 แสดงผลคะแนนที่ได้จากการประเมนิ ท้ายหน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1.................................. 43 - 44 ตาราง 3 แสดงผลคะแนนที่ได้จากการประเมินท้ายหนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2.................................. 44 - 45 ตาราง 4 แสดงผลคะแนนที่ได้จากการประเมนิ ท้ายหนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 3.................................. 45 – 46 ตาราง 5 แสดงผลคะแนนที่ได้จากการประเมนิ ท้ายหน่วยการเรียนรทู้ ่ี 4.................................. 46 - 47 ตาราง 6 แสดงผลคะแนนท่ีได้จากการประเมินท้ายหนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 5.................................. 47 – 48 ตาราง 7 แสดงผลคะแนนที่ได้จากการประเมนิ ท้ายหนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 6.................................. 48 – 49 ตาราง 8 แสดงผลคะแนนที่ได้จากการประเมนิ ท้ายหนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 7.................................. 49 – 50 ตาราง 9 แสดงผลคะแนนที่ได้จากการประเมนิ ท้ายหน่วยการเรียนรู้ท่ี 8.................................. 50 – 51 ตาราง 10 แสดงผลคะแนนท่ีได้จากการประเมนิ ทา้ ยหน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 9............................... 51 – 52 ตาราง 11 แสดงผลคะแนนท่ีได้จากการประเมนิ ท้ายหนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 10.............................. 52 – 53 ตาราง 12 แสดงผลคะแนนที่ได้จากการประเมนิ หลงั เรียน ....................................................... 53 – 54 ตาราง 13 แสดงผลคะแนนท่ีไดจ้ ากการประเมนิ หลังเรยี น ....................................................... 54 – 55 ตาราง 14 แสดงผลคะแนนที่ไดจ้ ากการประเมินหลังเรียน ....................................................... 55 – 56

1 บทท่ี 1 บทนำ ความสำคัญและท่มี าของปญั หา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2542 เป็นปีท่ี 54 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้ประกาศว่าโดยที่ เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยการศึกษา แห่งชาติพระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซ่ึงมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 50 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดย อาศยั อำนาจตามบทบัญญตั ิแห่งกฎหมายจงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ให้ตราพระราชบญั ญัติขึ้นไว้โดย คำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา ในรัชกาลปัจจุบันได้กำหนดแนวทางการจัดการศึกษาในมาตรา 23 ว่าด้วย การจัดการศึกษา ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ต้องเน้นความสำคัญทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และบูรณาการตามความเหมาะสมของ แต่ละระดับการศึกษาในเรื่อง ความรู้ และทักษะด้านคณิตศาสตร์ และด้านภาษา เน้นการใช้ภาษาไทย อย่างถูกตอ้ ง (สำนกั นายกรฐั มนตรี. 2542 : 8) หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้กลุม่ สาระการเรียนรู้ ศิลปะเป็นกลุ่มสาระที่ช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์มีจินตนาการทางศิลปะ ชื่นชม ความงาม มีสุนทรียภาพ ความมีคุณค่า ซึ่งมีผลต่อคุณภาพชีวิตมนุษย์ กิจกรรมทางศิลปะช่วยพัฒนา ผู้เรียนทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม ตลอดจน การนำไปสู่การพัฒนาสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความเชื่อมั่นในตนเอง อันเป็นพื้นฐาน ในการศึกษาต่อหรือประกอบอาชีพ ได้ (สำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน. 2551 : 3 - 5) และกลุ่มสาระการเรียนรูศ้ ิลปะมุ่งพัฒนา ให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ มีทักษะวิธีการทางศิลปะ เกิดความซาบซึ้งในคุณค่าของศิลปะ เปดิ โอกาสให้ผเู้ รียนแสดงออกอยา่ งอสิ ระในศลิ ปะแขนงต่าง กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะเป็นกลุ่มสาระที่ช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีจินตนาการทางศิลปะ ชื่นชมความงาม มีสุนทรียภาพ ความมีคุณค่า ซึ่งมีผลต่อคุณภาพชีวิตมนุษย์ กิจกรรมทางศิลปะช่วยพัฒนาผู้เรียนทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม ตลอดจน การนำไปสู่การพัฒนาสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความเชื่อมั่นในตนเอง อันเป็นพื้นฐาน ในการศึกษาตอ่ หรือประกอบอาชพี ได้

2 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศลิ ปะมุ่งพฒั นาให้ผเู้ รียนเกิดความรู้ความเข้าใจ มีทักษะวิธีการทางศิลปะ เกิดความซาบซึ้งในคุณค่าของศิลปะ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดงออกอย่างอิสระในศิลปะแขนงต่าง ๆ ประกอบด้วยสาระสำคัญ เช่น ดนตรีมีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบดนตรีแสดงออกทางดนตรีอย่าง สรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์ วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรูส้ ึก ทางดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชมและ ประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตประจำวัน เขา้ ใจความสมั พนั ธร์ ะหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคณุ ค่า ดนตรีที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และสากล ร้องเพลง และเล่นดนตรี ในรูปแบบต่าง ๆ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเสียงดนตรี แสดงความรู้สึกที่มีต่อดนตรีในเชิงสุนทรียะ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีกับประเพณีวัฒนธรรม และเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ (ตัวช้วี ดั และสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง 2551 : 2 - 3) ดนตรีเป็นงานศิลปะที่มนุษย์สร้างขึ้น โดยใช้เสียงเป็นสื่อในการถ่ายทอดออกมา เป็นลีลา ทำนอง อารมณ์ของเพลงดำเนินไปตามจินตนาการของนักประพันธ์เพลง ดนตรีนับเป็นสิ่งที่มี คุณค่าต่อมนุษย์ในการปรุงแต่งชีวิตใหม้ ีความสุข ผ่อนคลายความโศกเศร้า เป็นสื่อเสริมแต่งให้กิจกรรม ทางประเพณีและพิธีกรรมที่มนุษย์ประกอบขึ้นนั้นเกิดความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ในสังคมและวัฒนธรรมไทย ดนตรีไทยเป็นงานศิลปะที่บ่งบอกให้รู้ถึงความเป็นชาติ คุณค่าของดนตรีไทยพิจารณาได้จากบทเพลงที่ นกั ประพนั ธเ์ พลงประพันธข์ ึ้น มีทว่ งทำนองตามโครงสร้างของระบบเสียง มีเนอ้ื รอ้ งทแี่ ต่งด้วยร้อยกรอง อย่างสละสลวย มีนักดนตรีทำหน้าที่ถ่ายทอดบทเพลงโดยใช้ระเบียบวิธีบรรเลงเครื่องดนตรีซึ่ง มีลักษณะหลากหลาย มีวิธีการขับร้องที่กลมกลืนกันและมีเครื่องดนตรีซึ่งมีรูปแบบเฉพาะ สวยงาม ได้สดั สว่ น ดนตรีไทยมีความสำคัญและมีความหมายต่อบุคคลในการพัฒนาคุณภาพจิตใจ เป็นสื่อกลาง ของกจิ กรรมทางประเพณี ศาสนาศิลปะการแสดงและเป็นส่ือทางสังคมทช่ี ่วยให้เกิดการรวมกลุ่มของคน ในชาติสร้างพลังทางสังคมรวมทั้งมีความเกี่ยวข้องกับสถาบันต่าง ๆ ของประเทศด้วย นอกจากน้ี ดนตรีไทย เป็นภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของคนไทยท่ีได้สร้างสรรค์ทัง้ รปู แบบของบทเพลง เครื่องดนตรี วิธีบรรเลง วิธีขับร้อง และการนำมาใช้ในโอกาสต่าง ๆ อย่างเหมาะสม นอกจากดนตรีไทย จะมีความสำคัญในด้านการปรุงแต่งอารมณ์ ความรู้สึก การประกอบกิจกรรมตามความเชอื่ และพิธีกรรม โดยการเข้าไปปรุงแต่งให้งานหรือพิธีกรรมนั้นเกิดความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้นแล้ว ดนตรีไทยยังมีคุณค่า ตอ่ พัฒนาการของร่างกายและจติ ใจดว้ ย การสืบทอดดนตรไี ทยเป็นลักษณะของการถา่ ยทอดแบบตัวต่อตัว การเรยี นดนตรีไทยผู้เรียน จะไปเรียนกับครูที่บ้าน โดยฝากตัวเป็นศิษย์ และอาศัยพักอยู่กับครู เพื่อเรียนรู้ ขนบประเพณี และแนวปฏบิ ัตทิ เี่ ก่ยี วขอ้ งกบั ดนตรีไทย การเรยี นดนตรีไทย ครจู ะใชว้ ิธีการต่อมอื คือ ครูบรรเลงนำและ ให้ศิษย์บรรเลงตามที่ละวรรคจนจบเพลง ในแต่ละเพลงจะใช้ระยะเวลาในการเรียนไม่เท่ากันขึ้น กับความยากง่าย ความยาวของบทเพลง รวมทั้งความสามารถของผู้เรียนด้วยถ้าผู้เรียนมีทักษะ

3 ในการบรรเลงที่ดี ครูกจ็ ะต่อเพลงใหแ้ นวทำนองหนึ่ง สำหรบั ผู้เรียนทมี่ ที ักษะแตกตา่ งไป ครูก็จะตอ่ เพลง ใหอ้ กี แนวหนึ่งทง้ั ทีเ่ ปน็ เพลงเดยี วกัน (ศนั สนยี ์ จะสุวรรณ์ . 2554 : 1) ชุดกิจกรรม เป็นสื่อแนวใหม่ที่มุ่งสนับสนุนการปฏิรูปการศึกษาไทย และการพัฒนา ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับผู้สอนเป็นคูม่ ือเพื่อให้ครูใช้เป็นแนวทางในการดำเนินการจัดกิจกรรมและ ประสบการณก์ ารเรียนรู้ให้แกผ่ ู้เรยี นได้ อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ สุนีย์ เปมะประสิทธ์ิ (2533 : 2 – 3) (ดร.สุกรี เจริญสุข, 2544 : 84 ) ได้ทำวิจัยเร่ืองการศึกษาผลสัมฤทธิท์ างการเรียนชุดการสอน เรื่องการอ่านโน้ตดนตรีไทยตามทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสุนทรียาพโดยรองศาสตร์จารย์ ดร. สุกรี เจริญสุข พบว่า ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น พบว่า คะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนอยู่ที่ 6.66 และคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนอยู่ที่ 34.21 ซึ่งเมื่อนำคะแนนก่อน และหลังเรียนมาเปรียบเทียบกันพบว่า มีค่า t เท่ากับ 21.26แสดงให้เห็นว่า นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ด้วยชุดการสอนเร่ืองการอ่านโน้ตดนตรีไทยหลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ชมพูนุชจูฑะเศรษฐ์ และสุรพงษ์บ้านไกรทอง (2549 : 1) ได้ทำการวิจัย เรื่อง แนวทางการสอนทฤษฎีดนตรีไทยสําหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น ผลการวิจยั พบว่า แนวทางการสอนทฤษฎีดนตรีไทย สําหรับนักเรียนระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น ประกอบด้วย 4 หัวข้อ คือ การกําหนดจุดประสงค์ การกําหนดเนื้อหาสาระ การกําหนดรูปแบบ วิธีการสอน และการวัดประเมินผลการเรียนสอน โดยแต่ละหัวข้อมีข้อมูลดังนี้ การกําหนดจุดประสงค์ ควรกําหนดให้ชัดเจน ควรเนน้ ผ้เู รยี นเป็นศนู ย์กลาง กําหนดจุดประสงค์การเรยี นรู้ให้ผู้เรียนได้ประโยชน์ และมีพัฒนาการทางดนตรีไทยให้ครบทุกด้านท้ังด้านทักษะ ด้านความรู้และด้านทัศนคติ สอดคล้องกบั สิทธิพร สวยกลาง (2553) ได้ทําการวิจัยเรื่องการนําเสนอแนวทางการจัดการเรียนการสอนวิชา ประวัติศาสตร์ดนตรีตะวันตกในหลักสูตรดนตรีของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ผลการวิจัยพบว่า ในด้านการกําหนดวัตถุประสงค์ ควรกําหนดให้ผู้เรียนมีทักษะครบทั้ง 3 ด้าน คือ ด้านพุทธิพิสัย ด้าน ทักษะพิสัย และ ด้านจิตพิสัย ซึ่งผู้วิจัยมีความคิดเห็นว่า การกําหนดจุดประสงค์ควรเป็นไปตาม ที่ผลการวิจัยที่สรุปได้ คือ ควรกําหนดจุดประสงค์ให้ชัดเจนและเน้นพัฒนาการในทุก ๆ ด้าน เช่น กําหนดวัตถุประสงค์ให้ผู้เรียนมีความรู้ในเรื่องของการฟังเพลงไทย สามารถแยกเสียงเครื่องดนตรี ไทยจากเพลงที่ได้ยินได้ และมีทัศนคติที่ดีต่อดนตรีไทยการกําหนดเนื้อหาสาระ ต้องไม่มากและยาก เกินไป ควรกําหนดใหเ้ หมาะสมกับวัยมัธยมศกึ ษาตอนต้น สอดคล้องกับทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา ของบรูนเนอร์ (Bruner, 1956) ที่กล่าวว่า “ผู้สอนควรจัดโครงสร้างของความรู้ให้มีความสัมพันธ์ และสอดคล้องกับระดับขั้นพัฒนาสติปัญญาของผู้เรียน”ควรจะต้องรู้จักเรื่องของวงดนตรีไทย หน้าที่ของแต่ละวง เพลงไทยเดิมเบื้องต้น และควรมีการฝึกฟังเ พลงควรจะต้องรู้ เรื่องของเสียง เอกลักษณ์ของดนตรีไทย สอดคล้องกับทฤษฎีการสอนดนตรีของออร์ฟ (Carl Orf,1982) ที่กล่าวไว้ว่า “วิธีการพื้นฐานของออร์ฟคือมีการสํารวจเกี่ยวกับเสียง ให้ผู้เรียนเริ่มเรียนรู้เสียงต่าง ๆ รอบตัว รวมถึงเสียงของเครื่องดนตรี คุณลักษณะและคุณสมบัติของเสียงดนตรี”และเน้นการอ่านโน้ต

4 การบันทึกโน้ตทางดนตรี โดยเริ่มจากเพลงง่าย ๆ ไปจนถึงเพลงที่ซับซ้อน สอดคล้องกับแนวคิด ของโคดาย (Zoltan Kodaly, 1967)ซึ่งได้กล่าวไว้ว่า “วิธีการของโคดายมีลักษณะเป็นระบบระเบียบ เป็นขั้นตอน วิธีการนี้เริ่มด้วยแนวคิดที่ง่ายและไม่ซับซ้อนก่อน กล่าวคือ การใช้หลักการของการเรียน จากส่วนย่อยไปสู่ส่วนใหญ่” ซ่งึ ผูว้ ิจัยมคี วามคดิ เห็นเป็นทางเดียวกับผลการวจิ ยั คือ ควรใหผ้ เู้ รียนเรียนรู้ เร่ืองของเสียงของเคร่ืองดนตรไี ทย และการฟังดนตรไี ทย โดยเริม่ จากเพลงง่าย ๆ เชน่ เพลงสองช้ันอย่าง เพลง สร้อยลําปาง ที่มีวรรคซ้ํา เพลงที่มีสําเนียงภาษาและจังหวะสนุกสนาน กระชับ เช่น กระต่ายเต้น ต้นวรเชษฐ์ สองฝั่งโขง กราวตลุง เป็นต้น ไม่ควรเป็นเพลงเถา เพลงเรื่อง เพลงตับ เช่น เพลงสารถี เพลงเรอ่ื งพระรามเดินดง ทีม่ คี วามยาวและมีความซับซ้อนนอกจากน้ี ผวู้ ิจัยยงั มีความคิดเห็นเพิ่มเติมว่า ควรมีการสอดแทรกเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการของวัยมัธยมศึกษาตอนต้น ตามทฤษฎีของโรเบิร์ต ฮาวิกเฮิร์ส (Havighurst,1972)ได้กล่าวไว้ว่า “วัยมัธยมศึกษาตอนต้น มีความสามารถในการสร้าง ความสัมพันธ์อันดี จะเริ่มมีการสนใจในเพศตรงข้าม และสนใจในความรัก”ผู้วิจัยจึงเห็นว่า อาจจะเพิ่มการสอนเพลงในดนตรีไทยทีก่ ล่าวถึงความรัก เช่น เพลงแขกมอญบางช้าง สองชั้น เขมรพวง สองชั้น การกําหนดรูปแบบวิธีการสอน ควรสอนแบบสอดแทรกทฤษฎีดนตรีไทยเข้าไปในการฟังดนตรี ไทยและการสอนปฏิบัติ ลดการสอนแบบบรรยายและเพิ่มการสอนแบบ active learning ที่เป็นกิจกรรมที่สนุกสนาน สร้างสุนทรียะ และเข้ากับชีวิตประจําวันของผู้เรียน สอดคล้องกับทฤษฎี พฒั นาการทางสติปัญญาของบรนู เนอร์ (Bruner, 1956) ทก่ี ล่าวไว้ว่า “ผู้สอนควรจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนเกิดการค้นพบความรู้ด้วยตนเองโดยเฉพาะการสร้างความคิดรวบยอดในสิ่งที่เรียนอย่าง เหมาะสมตามขั้นของพัฒนาการทางสติปัญญาของผู้เรียนซึ่งจะช่วยใหผ้ ู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีและเกิด ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ ท ี ่ ม ี ค ว า ม ห ม า ย ” ( B r u n e r , ว า ร ส า ร ค ร ุ ศ า ส ต ร ์ ป ี ท่ี 4 9 ฉ บ ั บ ท่ี 2 (เมษายน-มิถุนายน2564) 9/101956) ผู้วิจัยมีความคิดเห็นที่สอดคล้องกับผลการวิจัย คือ ผู้สอนควรมีกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมเรื่องของดนตรีไทยและมีความน่าสนใจสนุกสนาน เช่น การร้องเพลง การทํากิจกรรมเข้ากลุ่ม การสร้างกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ทดลองหรือหาคําตอบด้วยตนเอง วิธีการวัดประเมินผล นอกจากการใช้ข้อสอบ ควรจะมีการเพิ่มวิธีการสัมภาษณ์ การสังเกต จ า ก พ ฤ ต ิ ก ร ร ม ก า ร อ ภ ิ ป ร า ย ค ว า ม ค ิ ด เ ห ็ น แ ล ะ ใช ้ ก า ร ป ร ะ เ ม ิ น ผ ล ต า ม ส ภ า พ จ ริ ง (authentic assessment) ซึ่งเป็นการประเมินผลในขั้นนําไปใช้ สอดคล้องกับทฤษฎีการเรียนรู้ ของเบนจามิน บลมู (Bloom et al, 1956) ไดก้ ล่าวว่า “ขนั้ การนาํ ความรู้ไปใช้ เปน็ ขั้นที่ผเู้ รียนสามารถ นําความรู้ประสบการณ์ไปใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ ซึ่งต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจ จึงจะสามารถนําไปใชไ้ ด้”ผวู้ จิ ัยมีความคดิ เหน็ วา่ วิธกี ารวัดประเมินผลในข้ันนาํ ไปใช้ เป็นวิธีทคี่ วรเกิดข้ึน จริงในช้นั เรยี น ผ้สู อนควรลดการทาํ ข้อสอบ ซึง่ เปน็ การวัดประเมนิ ผลในขน้ั ความรู้ความจํา แต่ควรเน้น การทาํ งาน ฝกึ กระบวนการคิดวางแผน สรา้ งระบบในสมองให้เด็กต้งั แต่ช่วงวยั มัธยมศึกษาตอนต้น

5 จากการศึกษาเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง สภาพปัญหาในการจัดการเรียนการสอน ผู้วิจัย จึงสนใจที่จะศึกษาวิจัยเรื่อง การพัฒนาชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านโน้ตเพลงไทย สําหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาชั้นปีที่ 5 ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนอนุบาลยโสธร อำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร ซึ่งผลการวิจัยจะทำให้ผู้เรียนมีความ กระตือรือร้นในการเรียนคอยช่วยเหลือซึ่งกันและกัน อีกทั้ง ผู้เรียนสามารถนําทักษะทางด้านดนตรไี ทย ไปใช้ได้ในอนาคต วตั ถุประสงคข์ องการวิจยั 1. เพื่อพัฒนาชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านโน้ตเพลงไทย สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 5 ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนอนุบาลยโสธร อำเภอเมืองยโสธร จังหวดั ยโสธร 2. เพื่อศึกษาดัชนีประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านโน้ตเพลงไทย สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรยี นอนุบาลยโสธร อำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร 75/75 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนต่อการใช้ชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านโน้ตเพลงไทย ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะได้รบั 1. ได้ชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านโน้ตเพลงไทยเพื่อเป็นแนวทางสำหรับครูผู้สอนวิชา ศิลปะ(ดนตรี) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยการใช้วิธีสอนด้วยการใชช้ ุดกิจกรรมที่มีประสทิ ธิภาพ เพ่มิ มากขึน้ 2. ได้ชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทกั ษะการอ่านโนต้ เพลงไทยเพื่อส่งเสรมิ ทักษะการอา่ นโน้ตเพลงไทย สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรยี นอนบุ าลยโสธร อำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร ให้สูงข้นึ 3. ได้เพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านโน้ตเพลงไทย เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนากระบวนการเรียน การสอน และเปน็ แนวทางในการพฒั นาชดุ กิจกรรมในเน้อื หาวชิ าอื่นตอ่ ไป ขอบเขตของการวิจยั ประชากร ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนอนุบาลยโสธร อำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ยโสธร เขต 1 จํานวน 5 ห้อง จำนวน 200 คน

6 กลมุ่ ตัวอยา่ ง นักเรียนชั้นประถมศึกษาชั้นปีที่ 5/6 ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนอนุบาลยโสธร อำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ยโสธร เขต 1 จำนวน 31 คนไดม้ าโดยการสมุ่ แบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) กรอบแนวคดิ การวิจยั ตัวแปรตาม 1. ความสามารถอา่ นโนต้ เพลงไทย ตวั แปรตน้ 2. ศึกษาดัชนปี ระสิทธภิ าพของชดุ ชดุ กจิ กรรมเพื่อส่งเสรมิ ทักษะการ กิจกรรมเพอ่ื สง่ เสริมทักษะการอา่ น โนต้ เพลงไทย อ่านโน้ตเพลงไทย 3. ความพึงพอใจในการเรยี นร้กู าร ตวั แปรท่ศี ึกษา พฒั นาทกั ษะการอา่ นโน้ตเพลงไทย เนอ้ื หาการวิจยั เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องโน้ตดนตรีและบันไดเสียง กลุ่มสาระศิลปะ (ดนตรี – นาฏศิลป์) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ตามตัวชี้วัดหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พ.ศ. 2551 ระยะเวลาที่ศกึ ษา การวิจัยครงั้ นดี้ ำเนินการในภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 8 ชว่ั โมง นิยามศัพท์เฉพาะ 1.นักเรียน หมายถึง นักเรียนชั้นปีที่ 5 /6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนอนุบาลยโสธร อำเภอเมอื งยโสธร จงั หวัดยโสธร สำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษายโสธรเขต 1 จำนวน 31 คน 2. ชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านโน้ตเพลงไทย หมายถึง ชุดกิจกรรมทางการเรียน จากการพัฒนาชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านโน้ตเพลงไทย สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 5/6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนอนุบาลยโสธร อำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษายโสธรเขต 1 จำนวน 31 คน 4. จังหวะสามญั หมายถึงจงั หวะท่ัวไปทน่ี ักดนตรียึดเปน็ หลักสําคญั ในการ บรรเลง และขบั ร้องโดยปกติ จังหวะสามญั ท่ใี ชก้ นั ในวงดนตรจี ะมี 3 ระดบั คอื จังหวะช้า ใชก้ ับ เพลงทม่ี อี ัตราจังหวะ สามชั้น จังหวะ ปานกลาง

7 5. จังหวะฉิ่ง หมายถึง จังหวะที่ใช้นิ่งเป็นหลักในการตี โดยปกติจังหวะฉิ่งจะตี “ฉิ่งฉับ” สลับกันไป ตลอดทงั้ เพลง แต่จะมีเพลงบางประเภทตีเฉพาะ“ฉิง่ ”ตลอดเพลงบางเพลงต“ี ฉ่งิ ฉง่ิ ฉับ” ตลอดทงั้ เพลง 6. จังหวะหน้าทับ หมายถึงเกณฑ์การนับจังหวะที่ใช้เครื่องดนตรีประเภทเครื่องตีประเภทหนังซึ่งเลียน เสียงการตีมาจาก “ทับ” เป็นเครื่องกําหนดจังหวะ เครื่องดนตรีเหล่านี้ ได้แก่ ตะโพน กลองแขก สองหนา้ โทน - รํามะนา หน้าทับ

8 บทที่ 2 แนวคดิ ทฤษฎี และงานวจิ ัยท่เี กยี่ วข้อง การพัฒนาชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านโน้ตเพลงไทย สําหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาชั้นปีที่ 5 Developing a series of activities to promote reading skills in Thai sheet music for students Grade 5 ผู้วิจัยได้ ทําการศึกษาเอกสาร ตํารา และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ดงั ตอ่ ไปน้ี 2.1 พระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 2.1.2 หลกั สตู รการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 2.1.2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ 2.1.3 มาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตวั ชีว้ ดั วชิ าดนตรี ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 5 2.2 การเรียนการสอนดนตรีไทย 2.2.1 ที่มาของดนตรีไทย 2.2.2 องค์ประกอบของดนตรีไทย 2.2.3 ความหมายของการเรยี นการสอนดนตรไี ทย 2.3 เอกสารท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั ชุดกจิ กรรม 2.3.1 ความหมายของชุดกิจกรรม 2.3.2 หลกั จติ วิทยาทนี่ าํ มาใช้ในชดุ กิจกรรม 2.3.3 องค์ประกอบของชุดกิจกรรม 2.3.4 ขัน้ ตอนในการสรา้ งชุดกิจกรรม 2.3.5 ประโยชนข์ องชุดกิจกรรม 2.4 การอ่านโน้ตเพลงไทย 2.4.1 หลกั กการอา่ นโนต้ เพลงดนตรไี ทย 2.4.2 วิธกี ารอา่ นโน้ตเพลงดนตรีไทย 2.5 การทดสอบประสิทธิภาพชดุ การสอน 2.5.1 การกำหนดเกณฑป์ ระสทิ ธิภาพ 2.5.2 วธิ คี ำนวณหาประสทิ ธิภาพ 2.5.3 ขัน้ ตอนการทดสอบประสิทธิภาพ 2.6 เอกสารท่เี กี่ยวขอ้ งกบั ความพึงพอใจ 2.6.1 ความหมายของความพึงพอใจ 2.6.2 ความพึงพอใจ 2.6.3 มาตราวดั ความพึงพอใจตามวิธีของลิเกิรต์

9 2.7 งานวจิ ัยทีเ่ กี่ยวขอ้ ง 2.7.1 วิจัยในประเทศ 2.1 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2542 เป็นปีที่ 54 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราช - โองการโปรดเกล้า ฯ ให้ประกาศว่าโดยที่ เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 50 ของรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศยั อำนาจตาม บทบัญญัติแห่งกฎหมายจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคำแนะนำและ ยินยอมของรัฐสภา ในรัชกาลปัจจุบันได้กำหนดแนวทางการจัดการศึกษาในมาตรา 23 ว่าการจัดการศึกษา ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ต้องเน้น ความสำคัญทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และบูรณาการตามความเหมาะสมของแต่ละระดับ การศึกษาในเรื่อง ความรู้ และทักษะด้านคณิตศาสตร์ และด้านภาษา เน้นการใช้ภาษาไทย อย่างถูกตอ้ ง (สำนักนายกรัฐมนตรี. 2542 : 8) 2.1.1 หมวด 3 ระบบการศึกษา มาตรา 18 การจัดการศึกษาปฐมวัยและการศึกษาขั้นพื้นฐานให้จัดในสถานศึกษา ดังตอ่ ไปนี้ (1) สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ได้แก่ ศูนย์เด็กเล็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศูนย์พัฒนาเดก็ ก่อน เกณฑ์ของสถาบันศาสนา ศูนย์บริการช่วยเหลือระยะแรก เริ่มของเด็กพิการและเด็ก ซึง่ มีความ ต้องการพิเศษ หรอื สถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยท่ีเรียกช่อื อย่างอื่น (2) โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนของรัฐ โรงเรียนเอกชน และโรงเรียนที่สังกัดสถาบันพุทธ ศาสนา หรือศาสนาอื่น (3) ศูนย์การเรียน ได้แก่ สถานที่เรียนที่หน่วยงานจัดการศึกษานอกโรงเรียน บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบัน ศาสนา สถานประกอบการ โรงพยาบาล สถาบันทางการแพทย์ สถานสงเคราะห์ และสถาบันสังคมอื่น เป็นผ้จู ัด 2.1.2 หมวด 4 แนวการจดั การศกึ ษา มาตรา 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนา ตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสําคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถ พฒั นาตามธรรมชาติและเต็มตามศกั ยภาพ

10 มาตรา 23 การจัดการศึกษา ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษา ตาม อัธยาศัย ต้องเน้นความสําคัญทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และบูรณาการตามความ เหมาะสมของแตล่ ะระดบั การศึกษาในเรื่องต่อไปน้ี (1) ความรู้เรื่องเกี่ยวกับตนเอง และความสัมพันธ์ของตนเองกับสังคม ได้แก่ ครอบครัว ชุมชน ชาติ และสังคมโลก รวมถึงความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ความเป็นมาของสังคมไทยและ ระบบการเมือง การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมขุ (2) ความรู้และทักษะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวมทั้งความรู้ความเข้าใจและ ประสบการณ์ เรื่องการจัดการ การบํารุงรักษาและการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและ ส่งิ แวดลอ้ มอย่างสมดลุ ย่งั ยนื (3) ความร้เู ก่ียวกับศาสนา ศลิ ปะ วัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปญั ญาไทย และการประยุกต์ใช้ ภูมปิ ญั ญา (4) ความรู้ และทกั ษะดา้ นคณิตศาสตร์ และดา้ นภาษา เน้นการใชภ้ าษาไทยอย่างถูกตอ้ ง (5) ความรู้ และทักษะในการประกอบอาชพี และการดาํ รงชวี ิตอยา่ งมีความสขุ มาตรา 24 การจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดําเนิน การ ดังต่อไปนี้ (1) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกบั ความสนใจและความถนัดของผู้เรียน โดย คาํ นงึ ถงึ ความแตกตา่ งระหว่างบุคคล (2) ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้ มาใช้เพอื่ ปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหา (3) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทําได้ คิดเป็น ทาํ เปน็ รักการอา่ นและเกดิ การใฝ่ร้อู ย่างต่อเนื่อง (4) จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมทง้ั ปลูกฝังคุณธรรม ค่านยิ มที่ดีงามและคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคไ์ ว้ในทุกวชิ า (5) ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และ อํานวย ความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัย เป็นสว่ นหน่งึ ของ กระบวนการเรยี นรู้ ทง้ั นี้ ผูส้ อนและผูเ้ รียนอาจเรียนรไู้ ปพร้อมกันจากส่ือการเรียนการ สอนและแหลง่ วิทยาการประเภทต่าง ๆ (6) จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่ มีการประสานความร่วมมือ กบั บดิ ามารดา ผู้ปกครอง และบคุ คลในชมุ ชนทกุ ฝ่าย เพ่ือรว่ มกันพฒั นาผ้เู รยี นตามศกั ยภาพ มาตรา 25 รัฐต้องส่งเสริมการดําเนินงานและการจัดตั้งแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต ทุกรูปแบบ ได้แก่ ห้องสมุดประชาชน พิพิธภัณฑ์ หอศิลป์ สวนสัตว์ สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร์

11 อทุ ยาน วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศนู ยก์ ารกฬี าและนันทนาการ แหล่งขอ้ มูล และแหลง่ การเรียนรู้อื่น อย่าง พอเพยี งและมปี ระสิทธภิ าพ มาตรา 26 ใหส้ ถานศึกษาจัดการประเมินผู้เรียนโดยพจิ ารณาจากพัฒนาการของผู้เรียน ความ ประพฤติ การสังเกตพฤตกิ รรมการเรยี น การรว่ มกิจกรรมและการทดสอบควบคูไ่ ปในกระบวน การเรยี น การสอนตามความเหมาะสมของแต่ละระดบั และรูปแบบการศกึ ษา ให้สถานศึกษาใช้วิธีการที่หลากหลายในการจัดสรรโอกาสการเข้าศึกษาต่อ และให้นําผลการประเมิน ผเู้ รยี นตามวรรคหน่ึงมาใชป้ ระกอบการพิจารณาดว้ ย มาตรา 27 ให้คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกําหนดหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐานเพื่อความเป็นไทย ความเป็นพลเมืองที่ดีของชาติ การดํารงชีวิต และการประกอบอาชีพ ตลอดจนเพื่อการศึกษาต่อ ให้สถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีหน้าที่จัดทําสาระของหลักสูตรตามวัตถุประสงค์ ในวรรคหนึ่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับสภาพปัญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น คุณลักษณะ อนั พึงประสงคเ์ พอ่ื เปน็ สมาชิกที่ดขี องครอบครวั ชมุ ชน สงั คม และประเทศชาติ มาตรา 28 หลักสูตรการศึกษาระดับต่าง ๆ รวมทั้งหลักสูตรการศึกษาสําหรับบุคคล ตามมาตรา 10 วรรคสอง วรรคสาม และวรรคสี่ ต้องมีลักษณะหลากหลาย ทั้งนี้ ให้จัด ตามความเหมาะสม ของแต่ละระดับโดยมุ่งพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคลให้เหมาะสมแก่วัย และศักยภาพสาระของหลักสูตร ทั้งที่เป็นวิชาการ และวิชาชีพ ต้องมุ่งพัฒนาคนให้มีความสมดุล ทั้งด้าน ความรู้ ความคิด ความสามารถ ความดีงาม และความรับผิดชอบต่อสังคมสําหรับ หลักสูตรการศึกษาระดับอุดมศึกษา นอกจากคุณลักษณะในวรรคหนึ่ง และวรรคสอง แล้วยังมี ความมุ่งหมายเฉพาะที่จะพัฒนาวิชาการ วิชาชีพช้นั สูงและการค้นคว้า วิจยั เพ่อื พฒั นาองค์ความรู้ และ พัฒนาสงั คม มาตรา 30 ให้สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งการ ส่งเสริมใหผ้ ู้สอนสามารถวิจยั เพอ่ื พัฒนาการเรยี นรู้ทเี่ หมาะสมกับผู้เรยี นในแตล่ ะระดบั การศกึ ษา 2.1.3 หมวดท่ี 9 เทคโนโลยเี พ่อื การศึกษา มาตรา 64 รัฐต้องส่งเสรมิ และสนับสนนุ ให้มีการผลติ และพฒั นาแบบเรียน ตํารา หนงั สือ ทาง วิชาการ สื่อสิ่งพิมพ์อื่น วัสดุอุปกรณ์ และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอื่น โดยเร่งรัดพัฒนา ขีดความ สามารถในการผลิต จัดให้มีเงินสนับสนุนการผลิตและมีการให้แรงจูงใจแก่ผู้ผลิต และพัฒนาเทคโนโลยี เพื่อการศึกษา ทั้งนี้ โดยเปิดให้มีการแข่งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรม (สำนกั นายกรัฐมนตร.ี 2542 : 6 - 10) 2.1.2 หลักสูตรการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ศิ ลปะ สาระดนตรี กําหนดให้ผู้เรียน มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบดนตรี แสดงออกทางดนตรีอย่าง สร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์ วิจารณ์คุณคา่ ดนตรี ถา่ ยทอดความรู้สึก ทางดนตรีอย่างอิสระ ช่ืนชมและ

12 ประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจําวัน เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณคา่ ดนตรี ทเ่ี ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ ภูมปิ ัญญาไทย และสากล ร้องเพลง และ เล่นดนตรี ในรูปแบบต่าง ๆ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเสียงดนตรี แสดงความรู้สึกที่มีต่อดนตรี ในเชิง สุนทรียะ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีกับประเพณีวัฒนธรรม และเหตุการณ์ ในประวตั ศิ าสตร์ (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2552 : 3) 2.1.2.1 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศลิ ปะเป็น กลุ่มสาระที่ชว่ ยพัฒนาให้ผู้เรียนมีความคิดริเร่ิม สร้างสรรคม์ ี จินตนาการทางศิลปะ ชื่นชมความงาม มีสุนทรียภาพ ความมีคุณค่า ซึ่งมีผลต่อ คุณภาพชีวิตมนุษย์ กิจกรรมทางศิลปะช่วยพัฒนาผู้เรียนทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม ตลอดจน การนําไปสู่การพัฒนาสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความเชื่อมั่นในตนเอง อันเป็นพื้นฐาน ในการศึกษาต่อหรือประกอบอาชพี ได้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ มีทักษะวิธีการ ทาง ศิลปะ เกิดความซาบซึ้งในคุณค่าของศิลปะ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดงออกอย่างอิสระในศิลปะ แขนงต่าง ๆ ประกอบดว้ ยสาระสาํ คญั (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551 น.167 - 182) คือ 2.1.2.2 ทัศนศิลป์ มคี วามรู้ความเขา้ ใจองค์ประกอบศิลป์ ทศั นธาตุ สร้างและนาํ เสนอ ผลงาน ทางทัศนศิลป์จากจินตนาการ โดยสามารถใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสม รวมทั้งสามารถใช้เทคนิค วิธีการของ ศิลปินในการสร้างงานไ ด้อย่างมีประสิทธิภาพ ว ิเคราะห์ ว ิพากษ์ว ิจารณ์ คุณค่า งานทัศนศิลป์เขา้ ใจความสมั พนั ธร์ ะหว่างทศั นศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคณุ คา่ งาน ศิลปะ ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล ชื่นชม ประยุกต์ ใชใ้ นชวี ิตประจําวนั 2.1.2.3 คนตรีมีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบดนตรีแสดงออกทางดนตรีอย่าง สร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ทางดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวัน เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าดนตรีท่ีเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น ภูมิปัญญาไทย และสากล ร้องเพลง และ เล่นดนตรีในรูปแบบต่าง ๆ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเสยี งดนตรี แสดงความรู้สึกท่ีมีต่อดนตรี ในเชิง สุนทรียะ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีกับประเพณีวัฒนธรรม และเหตุการณ์ ในประวัตศิ าสตร์ 2.1.2.4 นาฏศิลป์ มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบนาฏศิลป์ แสดงออกทางนาฏศิลป์ อย่างสร้างสรรค์ ใช้ศัพท์เบื้องต้นทางนาฏศิลป์ วิเคราะห์วิพากษ์ วิจารณ์ คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอด ความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ สร้างสรรค์การเคลื่อนไหวในรูปแบบต่าง ๆ ประยุกต์ใช้นาฏศิลป์ ในชีวิตประจําวัน เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์กับประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม เห็นคุณค่า ของนาฏศิลป์ท่ีเป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิน่ ภูมิปญั ญาไทย และสากล

13 2.1.3 มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวชว้ี ดั วิชาดนตรี ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 5 มาตรฐาน ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษว์ จิ ารณค์ ุณคา่ ดนตรี ถ่ายทอดความรสู้ ึก ความคิดต่อดนตรอี ย่างอสิ ระ ช่นื ชม และประยุกต์ใช้ ใน ชีวิตประจําวนั ประกอบดว้ ยตวั ชีว้ ัด (กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2551 น. 167 - 182) ดังนี้ ป.5/1 ระบุองคป์ ระกอบดนตรีในเพลงท่ีใชใ้ นการสื่ออารมณ์ ป.5/2 จําแนกลักษณะของเสยี งขับร้องและเคร่ืองดนตรีท่ีอยู่ในวงดนตรีประเภทต่าง ๆ ป.5/3 อา่ น เขยี นโน้ตดนตรีไทยและสากล 5 ระดับเสียง ป.5/4 ใช้เครื่องดนตรบี รรเลงจงั หวะและทํานอง ป.5/5 รอ้ งเพลงไทยหรอื เพลงสากลหรือเพลงไทยสากลท่ีเหมาะสมกบั วยั ป.5/6 ด้นสุดงา่ ย ๆ โดยใช้ประโยคเพลงแบบถามตอบ ป.5/7 ใช้ดนตรรี ว่ มกับกิจกรรมในการแสดงออกตามจนิ ตนาการ มาตรฐาน ศ 2.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของดนตรีที่ เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล ประกอบดว้ ยตัวช้วี ดั (กระทรวงศึกษาธกิ าร, 2551, น. 167 - 182) ดังน้ี ป.5/1 อธบิ ายความสมั พนั ธ์ระหวา่ งดนตรกี บั ประเพณใี นวฒั นธรรมต่าง ๆ ป.5/2 อธบิ ายคุณค่าของดนตรที ีม่ าจากวฒั นธรรมท่ีตา่ งกัน จากหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งให้ผู้เรียน มีสมรรถนะ ที่สําคัญ ได้แก่ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์มีจินตนาการทางศิลปะ ชื่นชมความงาม มีสุนทรียภาพ ความมีคณุ ค่า ซ่งึ มผี ลตอ่ คณุ ภาพชีวิตมนุษย์ กจิ กรรมทางศลิ ปะช่วยพัฒนาผ้เู รียนทั้ง ด้านรา่ งกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม ตลอดจนการนําไปสู่การพัฒนาสิ่งแวดล้อม ส่งเสริม ให้ผู้เรียน มีความเชื่อมั่นในตนเอง อันเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อหรือประกอบอาชีพได้ โดย มาตรฐาน การเรยี นรแู้ ละตวั ชวี้ ัดท่ีสอดคล้องกับการวิจยั ในครั้งนี้ ไดแ้ ก่ มาตรฐาน ศ 2.1 ตวั ชว้ี ดั ป.5/1,ป.5/2, ป. 5/3, ป.5/4, ป.5/5, ป.5/6, ป.5/7 และมาตรฐาน ศ 2.2 ตวั ช้วี ัด ป.5/1, ป.5/2 2.2 การเรียนการสอนดนตรีไทย 2.2.1 ทม่ี าของดนตรไี ทย ดนตรีไทยเป็นวัฒนธรรมสําคัญที่แสดงถึงความเป็นชาติไทย ถ่ายทอดเป็นเอกลักษณะ สืบทอด ต่อกันมาจนเป็นวัฒนธรรมสําคัญ บ่งบอกถึงความเป็นไทยและศิลปะประจําชาติ ดนตรีไทย ไม่ได้ เพียงแต่เป็นเครื่องช่วยให้เกิดความบันเทิงเท่านั้น แต่ยังมีคุณค่าเป็นส่วนสําคัญ ในการประกอบ พิธีกรรม สําคัญเกี่ยวข้องกับศาสนา และยังมีอิทธิพลต่อสังคมของคนไทยอีกหลายกลุ่ม เป็นศิลปะ อีกแขนงหนึ่ง ที่ก่อให้เกิดการแสดงออกที่งดงามและมีคุณค่า นอกจากนี้ ยังช่วยสร้างเสริมบุคลิกภาพ สมาธิ สติปัญญา กล่อมเกลาจิตใจและอารมณ์ ให้สามารถอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างสันติสุข

14 และยังเป็น “ศาสตร์” ที่มีความสําคัญต่อการเรียนรู้และพัฒนาการของเด็ก ทั้งนี้ได้กําหนดให้มี การเรียนการสอนวิชา ดนตรีไทย ในระดับการศึกษาต่าง ๆ เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนค้นพบ แสดงความสามารถและ ศักยภาพของตน ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้เกิดการพัฒนารอบด้าน ดัง พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ของมหาวิทยาลยั ศลิ ปากร ณ วังท่าพระ เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2509 ความตอนหนง่ึ ว่า \"การศึกษาด้านศิลปวัฒนธรรมเป็นการศึกษาที่สําคัญและควรจะดําเนิน ควบคู่กันไป กับ การศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ เพราะความเจริญของบุคคล ตลอดจนถึงความเจริญของ ประเทศมีทั้งทาง วัตถุและจติ ใจ ความเจรญิ ทัง้ สองทางนี้ จะต้องมีประกอบกนั เก้อื กลู และ ส่งเสริมกนั \" (พระบรมราโชวาท ดา้ นศิลปวัฒนธรรม. 2509 : ออนไลน์) การเรียนรู้ดนตรีไทย จะช่วยให้ผู้เรียนได้มีโอกาสพัฒนาศักยภาพด้านดนตรีไทย อย่างไม่มี ขอบเขต มีทัศนคติที่ดีต่อดนตรีไทย เรยี นรดู้ นตรีได้อย่างมีความหมาย รู้ซงึ้ ถึงสุนทรียรส และซาบซึ้ง ใน ดนตรีไทย ซึ่งแนวทางการจดั กิจกรรมดนตรีไทย แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะคือ กิจกรรมดนตรีไทยสําหรับ ผู้เรียนที่ต้องการศึกษาดนตรีไทยเป็นวชิ าเอก โดยให้ผู้เรยี นไดม้ ีโอกาสศึกษาและฝึกฝนทักษะดนตรีไทย ตามความถนัด ควบคู่กันไปกับการเรียนทฤษฎีดนตรีไทยด้านต่าง ๆ และสําหรับผู้เรียน ที่เรียนวิชาดนตรี ไทยเป็นวิชาทั่วไป เป็นการศึกษาดนตรีไทย ในลักษณะของการผู้ฟังดนตรีไทยที่ดี เรยี นร้สู าระดนตรีไทย พอเพยี งกับระดับความสามารถของแต่ละคน คําว่า “ดนตรี” มาจากภาษาสันสกฤตว่า “ตันตร” แปลว่า สาย หรือ เครื่องสาย พจนานุกรมไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้ความหมายของคําว่า “ดนตรี” ว่า “ลําดับเสียง อันไพเราะ” คําว่า “ดนตรี” ตรงกับคําภาษาอังกฤษว่า “music” หมายถึง ศิลปะและศาสตร์ ของการร้อยกรองเสียง หรือเสียงเครื่องดนตรี เข้าเป็นทํานอง เสียงประสาน จังหวะ ลีลา และ กระแสเสียง เพื่อให้บทเพลงมีโครงสร้างที่สมบูรณ์ และก่อให้เกิดความสะเทือนอารมณ์จากการ สันนิษฐานของ ท่านผู้รู้ทางด้าน ดนตรีไทย โดยการพิจารณาหาเหตุผล เกี่ยวกับกําเนิด หรือที่มาของ ดนตรีไทย ได้มี ผู้เสนอแนวทัศนะในเรื่องนี้ไว้ 2 ทัศนะ ที่แตกต่างกันคือ ทัศนะที่ 1 สันนิษฐาน ว่าดนตรีไทยได้ แบบอย่างมาจากอินเดีย เนื่องจากอินเดีย เป็นแหล่งอารยธรรมโบราณ ที่สําคัญ แห่งหน่งึ ของโลก อารยธรรมต่าง ๆ ของอนิ เดีย ไดเ้ ข้ามามอี ิทธพิ ล ต่อประเทศตา่ ง ๆ ในแถบเอเชียอย่าง มากทั้งใน ด้าน ศาสนา ประเพณีความเชื่อ ตลอดจน ศิลปะ แขนงต่าง ๆ โดยเฉพาะทาง ด้านดนตรีปรากฏ รูปร่างลักษณะ เครื่องดนตรี ของประเทศต่าง ๆ ในแถบเอเชีย มีลักษณะ คล้ายคลึงกันเป็นส่วนมาก ทั้งนี้เนื่องมาจากประเทศเหล่านั้นต่างก็ยึดแบบฉบับดนตรี ของอินเดีย เป็นบรรทัดฐาน รวมทั้งไทย เราด้วย เหตุผลสําคัญที่ท่านผู้รู้ ได้เสนอทัศนะนี้ก็ คือ ลักษณะของ เครือ่ งดนตรไี ทยสามารถจําแนก เป็น 4 ประเภท คอื เครือ่ งดีด เครอื่ งสี เครื่องตี เครื่องเป่า

15 2.2.2 องค์ประกอบของดนตรีไทย 2.2.2.1 เสยี งของดนตรไี ทย เสียงดนตรีไทยประกอบด้วยระดับเสียง 7 เสียง แต่ละเสียงมีช่วงห่างเท่ากันทุกเสียง เสียงดนตรีไทย แต่ละเสียงเรียกชื่อแตกต่างกันไป ในดนตรีไทยเรียกระดับเสียงว่า “ทาง” ในที่นี้ ก็ คือ ระดับเสียงของเพลงที่บรรเลงซึ่งกําหนดชื่อเรียกเป็นที่หมายรู้กันทุก ๆ เสียง จําแนกเรียง ลําดับขึ้น ไปทลี ะเสยี ง 2.2.2.2 จังหวะของดนตรีไทย “จังหวะ” มีความหมายถึงมาตราส่วนของระบบดนตรีที่ดําเนินไปในช่วงของการบรรเลง เพลงอย่างสม่ำเสมอ เป็นตัวกําหนดให้ผู้บรรเลงจะต้องใช้เป็นหลักในการ บรรเลงเพลง จังหวะ ของดนตรีไทยจําแนกได้ 3 ประเภท คอื (1) จังหวะสามัญ หมายถึงจังหวะทั่วไปที่นักดนตรียึดเป็นหลักสําคัญในการ บรรเลง และขับ ร้องโดยปกติจังหวะสามัญที่ใช้กันในวงดนตรีจะมี 3 ระดับ คือ จังหวะช้า ใช้กับ เพลงที่มีอัตราจังหวะ สามชั้น จังหวะปานกลาง ใช้กับเพลงที่มีอัตราจังหวะ สองชั้น จังหวะเร็ว ใช้ กับเพลงที่มีอัตราจังหวะ ชั้นเดียว โดยกำหนดสัญลกั ษณ์ ( - ) แทนฉิง่ และสญั ลักษณ์ ( + ) แทน ฉับ จงั หวะสามชนั้ ( จงั หวะชา้ ) 1234 123- 1234 123+ 1234 123- 1234 123+ จังหวะสองชั้น (จงั หวะปานกลาง) 123- 123+ 123- 123+ 123- 123+ 123- 123+ จงั หวะชั้นเดียว (จงั หวะเร็ว) 1-3+ 1-3+ 1-3+ 1-3+ 1-3+ 1-3+ 1-3+ 1-3+ (2) จังหวะฉิ่ง หมายถึง จังหวะที่ใช้นิ่งเป็นหลักในการตี โดยปกติจังหวะฉ่ิงจะตี “ฉิ่งฉับ” สลับกันไปตลอดทั้งเพลง แต่จะมีเพลงบางประเภทตีเฉพาะ“ ฉ่ิง”ตลอดเพลงบางเพลงตี “ฉิ่ง ฉิ่ง ฉับ” ตลอดทั้งเพลง หรืออาจจะตีแบบอื่น ๆ ก็ได้ จังหวะฉิ่งนี้ นักฟังเพลงจะใช้เป็นแนว ในการพิจารณาว่าช่วงใดเปน็ อัตราจังหวะสามชัน้ สองชั้น หรือ ชั้นเดียวก็ได้ เพราะถึงจะตีเพลงสามช้นั ให้มีชว่ งห่างตามอตั ราจงั หวะของเพลง หรอื ตเี ร็วกระชนั้ จงั หวะ ในเพลงชน้ั เดียว (3) จังหวะหน้าทับ หมายถึงเกณฑ์การนับจังหวะที่ใช้เครื่องดนตรีประเภทเครื่องตีประเภท หนงั ซ่ึงเลยี นเสยี งการตมี าจาก “ทบั ” เป็นเครือ่ งกําหนดจงั หวะ เครือ่ งดนตรเี หล่านี้ ไดแ้ ก่ ตะโพน กลอง แขก สองหนา้ โทน - ราํ มะนา หน้าทับ

16 หน้าทบั ปรบไก่ อัตราจงั หวะ 3 ชั้น - - ทัง่ ตงิ ทง่ั ติงโจ๊ะจ๊ะ - - โจ๊ะ จะ๊ - - โจ๊ะ จ๊ะ ---- - - โจะ๊ จะ๊ - - โจ๊ะ จ๊ะ - - โจะ๊ จะ๊ - ติง - ติง - ท่งั ตงิ ท่ัง ตงิ ท่งั - ตงิ - โจ๊ะ - จ๊ะ - ติง - ทงั่ - ตงิ - ติง - ทงั่ - ติง - ตงิ - ทงั่ - - - ฉ่งิ - - - ฉับ - - - ฉ่งิ ---- - - - ฉบั ---- ---- ---- อัตราจังหวะ 2 ช้นั - - ท่งั ตงิ ทั่งตงิ โจ๊ะจ๊ะ - - โจ๊ะจะ๊ - - โจ๊ะจ๊ะ - ติง - ทั่ง - ตงิ - ติง - ท่ัง - ติง - ติง - ท่ัง - - - ฉิ่ง - - - ฉับ - - - ฉิง่ - - - ฉบั - - - ฉง่ิ - - - ฉับ - - - ฉงิ่ - - - ฉบั ชนั้ เดยี ว - - ติง ท่ัง - ตงิ - - ติง ท่ัง - ติง - ท่ัง ตงิ ท่ัง - - ติง ทั่ง - ติง - - ติง ทั่ง - ตงิ - ทงั่ ตงิ ท่ัง - ฉ่งิ - ฉับ - ฉิ่ง - ฉบั - ฉิ่ง - ฉับ - ฉ่งิ - ฉบั - ฉ่ิง - ฉับ - ฉง่ิ - ฉบั - ฉ่ิง - ฉับ - ฉ่งิ - ฉบั 2.2.2.3 ทํานองดนตรีไทย ลักษณะทํานองเพลงที่มีเสียงสูงๆ ต่ำ ๆ สั้น ๆ ยาว ๆ สลับ คละเคล้ากันไป ตาม จินตนาการ ของคีตกวีที่ ประพันธ์ บทเพลงซึ่งลักษณะดังกล่าวน้ีเหมอื นกนั ทุกชาติภาษา จะมีความ แตกต่างกันตรง ลักษณะประจําชาติที่มีพื้นฐานทางสังคม วัฒนธรรม ไม่เหมือนกัน เช่น เพลงของ อเมริกัน อินโดนีเซีย อินเดยี จนี ไทย ยอ่ มมีโครงสร้างของทาํ นองท่ี แตกตา่ งกนั ทํานองของดนตรไี ทยประกอบดว้ ยระบบของ เสียง การเคลื่อนที่ของเสียง ความยาว ความกว้างของเสียง และ ระบบหลักเสียงเช่นเดียวกับทํานอง เพลงทว่ั โลก (1) ทํานองทางร้อง เป็นทํานองที่ประดิษฐ์เอื้อนไปตามทํานองบรรเลงของเครื่องดนตรี และมีบทร้องซึ่งเป็นบทร้อยกรอง ทํานองทางร้องคลอเคล้าไปกับทํานองทางรับหรือร้อง อิสระได้ การร้องนีต้ อ้ งถอื ทํานองเปน็ สําคัญ (2) ทํานองการบรรเลง หรือทางรับ เป็นการบรรเลงของเครื่องดนตรีในวงดนตรี ซึ่งคีตกวี แต่ง ทํานองไว้สําหรับบรรเลง ทํานองหลักเรียกลูกฆ้อง “Basic Melody” เดิมนิยมแต่งจากลูกฆ้อง ของฆ้อง วงใหญ่ และแปรทางเป็นทางของเครื่องดนตรีชนิดต่าง ๆ คนตรีไทยนิยมบรรเลงเพลง ในแตล่ ะทอ่ น 2 ครัง้ ซำ้ กนั ภายหลงั ไดม้ ีการแต่งทาํ นองเพม่ิ ใชบ้ รรเลงในเท่ียวทสี่ องแตกต่างไปจากเท่ียว แรกเรียกวา่ “ทางเปลีย่ น” 2.2.2.4 การประสานเสียง เป็นการทําเสียงดนตรีพร้อมกัน 2 เสียง พร้อมกันเป็นคู่ขนานหรือเหลื่อมล้ำกัน ตามลีลาเพลงก็ได้ การประสานเสียงในเครื่องดนตรีเดียวกัน เครื่องดนตรีบางชนิดสามารถบรรเลง สอด เสียงพร้อมกันได้ โดยเฉพาะทําเสียงขั้นคู่ (คู่ 2 คู่ 3 คู่ 4 คู่ 5 คู่ 6 และ คู่ 7) การประสานเสียงระหว่าง เครื่องดนตรี คือ การบรรเลงดนตรีด้วยเครื่องดนตรีต่า งชนิดกัน สุ่มเสียง และความรู้สึก

17 ของเครื่องดนตรีเหล่านั้น ก็ออกมาไม่เหมือนกัน แม้ว่าจะบรรเลง เหมือนกันก็ตาม และ การประสาน เสียงโดยการทําทาง การแปรทํานองหลักคือ ลูกฆ้อง “ Basic Melody” ให้เป็นทํานอง ของเครื่องดนตรีแต่ละ ชนิดเรียกว่า “การทําทาง” ทางของเครื่องดนตรี (ทํานอง) แต่ละชนิด ไม่เหมือนกันดังนั้นเมื่อบรรเลง เป็นวงเครื่องดนตรีต่างเครื่อง ก็จะบรรเลงตาม ทางหรือทํานอง ของตนโดยถอื ทํานองหลักเป็นสำคัญของการบรรเลง 2.2.3 ความหมายของการเรยี นการสอนดนตรไี ทย ดนตรีไทยมีลักษณะการถ่ายทอดโดยใช้ความทรงจํา ถ่ายทอดจากครูสู่ศิษย์ ในลักษณะ ตัวต่อตัว ลักษณะการศึกษาดนตรีจึงแตกต่างจากการศึกษาดนตรีในระบบโรงเรียน เชน่ ปัจจุบนั สง่ิ ที่สําคญั คือ กระบวนการจัดการเรียนการสอนดนตรีไทย ชิ้น ศิลปะบรรเลง ได้กล่าวว่า “การเรียนดนตรีไทยต้องมีแบบแผน ประเพณีอย่างเก่า คือตอ้ งมผี ้ใู หญ่พาไปฝากผู้สอน ผเู้ รยี นต้องนําดอกไม้ ธปู เทยี นไปสกั การะ ครใู หญฝ่ า่ ยดนตรีผลู้ ่วงลับไป แล้ว และเคารพครูผูส้ อน จงึ จะไดร้ บั การประสิทธปิ์ ระสาทวชิ าให”้ เสรี หวังในธรรมและสุจิตต์ วงษ์เทศ ได้กล่าวว่า “การเรียนดนตรีไทย เรียนด้วยความจํา การสอน จึงเริ่มด้วยภาคปฏิบัติเพียงอย่างเดียว ส่วน ภาคทฤษฎีไปสอน เมื่อ สามารถปฏิบัติได้แล้ว การที่เลือกเรียนดนตรีชนิดใดสําคัญอยู่ไม่น้อย เพราะเครื่องดนตรีแต่ละ อย่างมีลักษณะ การเล่นต่างกัน หากเลือกเครื่องดนตรีไม่เหมาะสม ผลที่ได้ก็จะไม่เป็นไปตามประสงค์ เพราะฉะนั้น ผู้เลือกจะเลอื กใหเ้ หมาะสมกับตัวเอง” ณรงค์ชัย ปีฏกรัชต์ ได้กล่าวว่า “นักดนตรีในสํานักดนตรี มีแบบแผนการเรียนแบบเข้มข้น มีวินัย มีขนบธรรมเนียมประเพณี ร่วมกันระหว่างครูกับศิษย์ ระหว่างศิษย์ต่อศิษย์ แต่หลักสูตร ที่มีความหลากหลายไปบ้างแต่โดยหลักการ ทั่วไปแล้ว การเริ่มต้นด้วยเพลงสาธุการ เพลงชุด โหมโรงเย็น เพลงเรื่อง เพลงพิธีกรรม เป็นต้น เพลงชุดโหมโรงเย็นเป็นเพลงที่ใช้ในงานพิธีกรรม ไม่ว่าจะเป็นงานขึ้นบ้านใหม่ งานบวชนาค งาน พิธีกรรมอื่น ๆ เพลงส่วนนี้ต้องใช้บรรเลง ในงานเหล่านั้น แต่ละเพลงในชนิดโหมโรงเย็น มีขนาดขยาย หลายเพลง เช่น เพลงเข้าม่าน เชิด กลม กราวใน เป็นต้น เพลงในลักษณะสําคัญและใช้เป็นหลักในการเรียนก็คือ เพลงเรื่อง แต่สํานักดนตรี มีเพลงเรื่องที่ใช้สอนศิษย์มากมายแตกต่างกัน การรู้เพลงเรื่องมากย่อมหมายความว่านักดนตรี ผู้อื่นได้รู้จักเพลงเล็กเพลงน้อยที่จัดกลุ่มไว้ได้ชัดเจน ในยุคที่นิยมนํา เพลงเก่ามาแต่งขยาย อัตราสามชั้น และแต่งตัดเป็นชั้นเดียวและนํามาบรรเลงลดหลั่นที่เรียกว่าเพลงเถานั้น ส่วนใหญ่ นักดนตรีนํา ทํานองจากเพลงเรื่องไปเป็นสมมติฐาน ในการแต่งเพลงกระบวนการเหล่ าน้ี เป็นการเรียนดนตรี ไทย” หม่อมคุษฎี บริพัตร ณ อยุธยา ได้กล่าว่า“วิธีการสอนดนตรี เราใช้วิธีการ แกทักษะหลาย ๆ อย่างคละเคลา้ กันไป เชน่ การเคาะ เครื่องดนตรเี ข้าวง ซง่ึ ส่วนใหญ่เนน้ ถงึ ความสามารถทําจงั หวะ โดย วิธตี า่ ง ๆ การอา่ น โนต้ เพลง”

18 ณรุทธ์ สุทธจิตต์ ได้กล่าวว่า“วิธีการสอนดนตรีเฉพาะแต่ละเครื่องมือ ควรเป็นผู้เล่น เครื่องดนตรีตามความถนัด ผู้สอนดนตรีปฏิบัติทักษะแต่ละเครื่องมือ ไม่มีความรู้อย่าง แท้จริง ในการสอนทาํ ใหก้ ารเรยี นการสอนไป โดยขาดทฤษฎไี ม่มีประสทิ ธิภาพ สรุป การเรียนการสอนดนตรีไทยในปัจจุบันนั้นเป็นการเรียนที่เน้นให้ผู้เรียน รู้เน้นย้ำ ทฤษฎีและปฏิบัติเพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจในดนตรี การสอนจะเน้นการเรียนรู้แบบนักเรียน เป็นศูนย์กลาง มีทั้งการอธิบาย สาธิตและปฏิบัติแก่ผู้เรียนแต่จะค่อย ๆ เพิ่มเนื้อหาตามความสามารถ ของนักเรยี นแต่ละบุคคล 2.4 เอกสารเก่ยี วข้องกับชดุ กจิ กรรม 2.4.1 ความหมายของชุดกจิ กรรม ชุดการเรียน หรือชุดกิจกรรม มาจากคําว่า Instructional Packages หรือ Learning - Packages เดิมทีเดียวมักใช้คําว่า ชุดการสอน เพราะเป็นสื่อที่ครูนํามาใช้ประกอบการสอนแต่ต่อมา แนวคิดในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ ได้เข้ามามีบทบาทมากขึ้นนักการศึกษา จึงเปลี่ยนมาใช้คําว่า ชุดการเรียน เพราะการเรียนรู้เป็นกิจกรรมของนักเรียนและการสอน เปน็ กจิ กรรมของครู กิจกรรมของครูและนักเรยี นจะตอ้ งเกดิ คูก่ ัน (บญุ เกอื้ ควรหาเวช, 2542, น. 91) และในการวิจัยผู้วิจัยใช้แบบฝึกซึ่งเป็นกิจกรรมหนึ่งของชุดกิจกรรม ดังนั้นการทํากิจกรรมต่าง ๆ ใน ชุดแบบฝึกก็ คือการทํากิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ของผู้เรียน ซึ่งมีผู้ให้ความหมาย ของชุดกจิ กรรมไว้ ดงั นี้ ชุดกิจกรรม เป็นสื่อแนวใหม่ที่มุ่งสนับสนุนการปฏิรูปการศึกษาไทย และการพัฒนา ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับผู้สอนเปน็ คู่มือเพื่อให้ครใู ช้เป็นแนวทางในการดำเนินการจดั กิจกรรมและ ประสบการณก์ ารเรียนร้ใู หแ้ กผ่ ู้เรียนได้ อยา่ งมีประสิทธภิ าพ สุนยี ์ เปมะประสทิ ธิ์ (2543 : 2 – 3) ศิริลักษณ์ หนองเส (2545 น. 6) ได้ให้ความหมายของชุดกิจกรรมไว้ว่า หมายถึงสื่อการเรียน การสอนที่ใช้เพื่อพัฒนาคุณลักษณะในตัวนักเรียนในด้านการเรียนรู้ การเสาะแสวงหาความรู้ และ สามารถนําความรู้ไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ โดยผูเ้ รียนสามารถเรยี นร้ไู ดด้ ว้ ยตนเอง ประเสริฐ สําเภารอด (2552, น. 12) สรุปไว้ว่า ชุดกิจกรรม หมายถึง ชุดการเรียนการสอน ประเภทสิ่งตีพิมพ์และกิจกรรม ที่เน้นให้ผู้เรียนทํากิจกรรมด้วยกระบวนการกลุ่ม ประกอบด้วย 9 องค์ประกอบ ไดแ้ ก่ 1) ช่ือกจิ กรรม 2) คาํ ชแ้ี จง 3) จดุ ประสงค์ 4) เวลาท่ใี ช้ 5) วสั ดุ อุปกรณ์

19 6) เนอื้ หาและใบความรู้ 7) สถานการณ์ 8) กิจกรรม 9) แบบทดสอบทา้ ยกจิ กรรม จากความหมายขา้ งต้น สรปุ ไดว้ ่า ชุดกิจกรรม หมายถงึ ส่อื ท่ชี ว่ ยใหน้ กั เรยี น สามารถ เรียนรู้ ได้ด้วยตนเองได้ตลอดเวลา โดยมีการจัดสื่อไว้อย่างมีขั้นตอนที่ง่ายต่อการใช้สื่อเพื่อที่จะ ช่วยให้นักเรียนเกิดความสนใจ และทําให้การเรียนการสอนของครูผู้สอนน้ันบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตั้ง ไว้ 2.4.2 หลกั จติ วิทยาที่นาํ มาใช้ชดุ กจิ กรรม ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2523 น. 119) มีแนวคดิ ซ่ึงมาจากจติ วิทยาการเรียนทนี่ าํ มาส่กู าร ผลิตชดุ การเรียน ดังนี้ 1. เพอื่ สนองความแตกต่างระหวา่ งบุคคล 2. เพื่อยึดผู้เรยี นเปน็ ศนู ย์กลางการเรียนรูด้ ว้ ยการศกึ ษาด้วยตนเอง 3. มสี ่ือการเรยี นใหม่ ท่ชี ว่ ยในการเรียนของนกั เรยี นและช่วยในการสอนของครู 4. ปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียนที่เปลี่ยนไป โดยเปลี่ยนจากครูเป็นผู้มีอิทธิพลไปเป็น ยึดนักเรียน เป็นศูนยก์ ลาง 2.4.3 องค์ประกอบของชุดกิจกรรม ชุดกจิ กรรมมอี งคป์ ระกอบ ไดก้ ลา่ วไวด้ งั นี้ บุญชม ศรีสะอาด (2541 น. 95) และบุญเกื้อ วรหาเวช (2545 น. 95 - 96) กล่าวถึง องค์ประกอบของชุดกจิ กรรมไวด้ งั นี้ 1. คู่มือการใช้ชุดกิจกรรม เป็นคู่มือที่จัดทําขึ้นเพื่อให้ผู้ใช้ชุดกิจกรรมศึกษาและปฏิบัติ ตามเพื่อบรรลุผลอย่างมีประสิทธิภาพ อาจประกอบด้วยแผนการสอน สิ่งที่ผู้สอนต้องเตรียมก่อนสอน บทบาทผ้เู รยี นและการจดั ชั้นเรียน 2. บัตรงาน เป็นบัตรที่มีคําสั่งว่าจะให้ผู้เรียนปฏิบัติอย่างไรบ้าง โดยระบุกิจกรรม ตามลําดับ ขั้นตอนของการเรยี น 3. แบบทดสอบวัดผลความก้าวหน้าของผู้เรียน เป็นแบบทดสอบที่ใช้สําหรับตรวจสอบ ว่าหลังจากเรียนด้วยชุดกิจกรรมแล้วผูเ้ รียนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตามจุดประสงค์การเรียนรู้ที่กําหนด ไว้หรอื ไม่ 4. สื่อการเรียนต่าง ๆ เป็นสื่อสําหรับผู้เรียนได้ศึกษา มีหลายชนิดประกอบกัน อาจเป็น ประเภท สิ่งพิมพ์ เช่น บทความ เนื้อหาเฉพาะเรื่อง จุลสาร บทเรียนโปรแกรม หรือ ประเภท โสตทสนอปุ กรณ์ เช่น รปู ภาพ แผนภูมติ า่ ง ๆ เทปบันทกึ เสยี ง ฟิล์มสตรปิ สไลดข์ องจริง เป็นตน้

20 จากขั้นตอนการสร้างชุดกิจกรรม สรุปได้ว่า การสร้างชุดกิจกรรมควรมีการวางแผน กําหนดเนื้อหา ผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรูกําหนดกิจกรรม กําหนดเวลา สื่ออุปกรณ์ และ การประเมนิ ผล แล้วนาํ ไปทดลองใชเ้ พือ่ แกไ้ ขขอ้ บกพร่อง ก่อนท่ีจะนำมาใชก้ ับผเู้ รียน 2.4.4 ประโยชน์ของชุดกจิ กรรม ประเสริฐ สําเภารอด (2552, น. 16) ได้กล่าวถึงประโยชน์ของชุดกิจกรรม สรุปได้ว่า ชุดกิจกรรมที่ใช้ในการเรียนการสอนช่วยเร้าความสนใจ ให้นักเรียนทําให้ได้รู้จักการแสวงหา ความรคู้ วามร้ดู ว้ ยตนเอง ช่วยแกป้ ญั หาเรื่องความแตกต่างระหวา่ งบุคคล เพราะชุดกจิ กรรมสามารถช่วย ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามความสามารถ ความถนัด ความสนใจ สร้างความพร้อม และความมั่นใจให้แก่ ครูผ้สู อนทําใหค้ รสู อนได้เต็มประสทิ ธิภาพ อุษา คําประกอบ (2530, น. 33) ได้กล่าวถึงคุณค่าของชุดกิจกรรมตามแนวคิดของ แฮรสิ เบอร์เกอร์ ไว้ 5 ประการ คือ 1. นักเรียนสามารถทดสอบตวั เองกอ่ นว่ามคี วามสามารถระดับใดหลังจากนั้นก็เริ่มตน้ เรียนใน สิ่งทีต่ นเองไมท่ ราบ ทําใหไ้ ม่ตอ้ งเสยี เวลามาเรยี นในสงิ่ ท่ีตนเองร้อู ยู่แล้ว 2. นักเรียนสามารถนําบทเรียนไปเรียนที่ไหนก็ได้ตามความพอใจ ไม่จํากัดในเรื่องของเวลา และสถานที่ 3. เมื่อเรียนจบแล้วผู้เรียนสามารถทดสอบตัวเองได้ทันทีเวลาไหนก็ได้และได้ทราบการเรียน ของตนเองทันทเี ช่นกัน 4. นักเรียนมีโอกาสได้พบปะกับผู้สอนมากขึ้นเพราะผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเองครูก็มีเวลาให้ คาํ ปรกึ ษากบั ผู้เรยี นทีม่ ีปญั หาในขณะใช้ชดุ กิจกรรมดว้ ยตนเอง 5. นักเรียนจะได้รับคะแนนอะไรนั้นขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้เรียนเองไม่มีคําว่าสอบตก สําหรับผู้ที่เรียนไม่สําเร็จ แต่จะทําให้ผู้เรียนกลับไปศึกษาเรื่องเดิมนั้นใหม่ จนผลการเรียนได้ ตามมาตรฐานท่ีตัง้ ไว้ สมจิต สวธ ไพบลู ย์ (2535, น. 39) ไดก้ ลา่ วถงึ ข้อดขี องชุดกิจกรรมไว้ดังน้ี 1. ช่วยให้นักเรยี นได้เรยี นรดู้ ว้ ยตนเองตามอัตภาพและความสามารถของแตล่ ะบุคคล 2. ช่วยแกป้ ัญหาการขาดแคลนครู 3. ใช้สอนซ่อมเสรมิ ใหก้ ับนกั เรียนที่เรียนไมท่ ัน 4. ชว่ ยเพิ่มประสิทธภิ าพในการอา่ น 5. ช่วยไม่ใหเ้ กดิ ความเบ่ือหนา่ ยจากการเรียนที่ตอ้ งทบทวนซ้ำซาก 6. สนองความแตกตา่ งระหว่างบุคคล ไม่จาํ เปน็ ตอ้ งเรียนพร้อมกนั 7. นักเรยี นตอบผดิ ไมม่ ีผ้เู ยาะเย้ย 8. นกั เรียน ไม่ต้องคอยฟังสิ่งทคี่ รสู อน 9. ชว่ ยลดภาระของครใู นการสอน

21 10. ช่วยประหยัดรายจ่ายอุปกรณ์นักเรยี นที่มจี าํ นวนมาก 11. ผู้เรียนจะเรียนเมอื่ ใดก็ได้ 12. การเรยี นไม่จาํ กดั เรื่องเวลาและสถานท่ี 13. ส่งเสริมความรับผิดชอบแก่ผ้เู รยี น จากประโยชนข์ องชดุ กจิ กรรมดงั กล่าว ผู้วิจัยสรปุ ประโยชนข์ องชดุ กิจกรรมสรปุ ได้ดงั น้ี 1. ผู้เรียนจะมีความคดิ เปน็ ของตนเองและเรียนรู้อย่างอสิ ระ 2. ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ทุกเวลา 3. ผู้เรยี นเกดิ ความแสวงหาความรดู้ ้วยตนเอง 4. ผเู้ รียนเกดิ ความเหน็ อกเห็นใจเพ่ือนและใส่ใจในการเรียนรู้ 5. ผเู้ รียนสามารถฝึกความเป็นผนู้ ำและการเปน็ ทีมได้อยา่ งดี 2.4 การอ่านโนต้ เพลงไทย 2.4.1 หลกั การอา่ นโนต้ เพลงไทย หลักการอ่านโน้ตไทยตามหลกั ของ พันโทพระอภยั พลรบ (พลอย เพญ็ กุล พ.ศ. 2403 - 2459) ซ่งึ เปน็ ผู้แต่งตำราดนตรีวิทยาเม่ือ พ.ศ.2450 และอธิบายหลักการบนั ทกึ โนต้ แบบตัวอักษรขึ้นจน ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก การบันทึกโน้ตแบบตัวอักษรนี้เป็นการใช้ตัวอักษรไทยมาเปรียบเทียบให้ ตรงกับเสียงของโน้ตสากลดังนี้ ด = โด ร = เร ม = มี ฟ = ฟา ซ = ซอล ล = ลา ท = ที ในกรณีที่แป็นโน้ตเสียงสูงจะใช้ประจุดไว้บนตัวโน้ต เช่น ดํ = โด สูง เป็นต้นวิธีการนี้ช่วยให้ เข้าใจง่าย สำหรับวิธีการบันทกึ โนต้ ไทยนั้นจะบันทึกลงในตาราง โดยแบ่งออกเป็นบรรทัด บรรทัดละ 8 ช่องเรยี กว่า “ห้อง” ในแต่ละห้องจะบรรจุโนต้ ไว้ 4 ตวั ถา้ เป็นอัตราปานกลางหรอื จังหวะสองช้ัน โน้ตตวั สดุ ทา้ ยของแต่ละห้องจะเปน็ โน้ตเสียงตกจงั หวะซ่ึงในทน่ี ี้จะอธิบายเฉพาะการอ่านโน้ตแบบอัตราสองช้ัน เป็นหลกั อัตราสองชั้น - - - ฉิง่ - - - ฉบั - - - ฉงิ่ - - - ฉบั - - - ฉง่ิ - - - ฉบั - - - ฉง่ิ - - - ฉบั 1234 1234 1234 1234 1234 1234 1234 1234 นอกจากตวั โนต้ ทีบ่ ันทกึ ลงในตารางแลว้ ยังมเี ครือ่ งหมาย – ซง่ึ ใชแ้ ทนตัวโนต้ ด้วยขดี 1 ขดี (- ) ใช้แทนโน้ต 1 ตัว แสดงการเพิ่มเสียงตัวโน้ตที่อยู่ข้างหน้าเครื่องหมาย ให้มีเสียงยาวขึ้น ทั้งนี้ ความยาวของเสยี งจะมีมากหรอื นอ้ ยข้นึ อยู่กับจำนวนขดี (-) ดังนี้ ถ้ามี - มีคา่ ความยาวของเสียงเท่ากับ 1/4 จงั หวะ ถ้ามี - - มีค่าความยาวของเสยี งเทา่ กับ 2/4 จังหวะ

22 ถ้ามี - - - มีค่าความยาวของเสยี งเท่ากบั 3/4 จังหวะ ถ้ามี - - - - มคี ่าความยาวของเสยี งเท่ากบั 4/4 จังหวะ หรือ เทา่ กบั 1 จังหวะ 2.4.2 วิธีการอ่านโน้ตดนตรีไทย วิธีการอา่ นโนต้ ไทยนั้นจะใช้การเคาะจงั หวะที่โน้ตท้ายห้อง แทนเสยี งฉง่ิ ฉับในอัตราสองช้ันจะ มีโน้ตตัวสุดท้ายเป็นเสียงตกจังหวะเสมอ เมื่อกำหนดให้ 1 บรรทัดโน้ตเท่ากับ 1 หน้าทับปรบไก่ ดังน้ัน เม่ืออ่านโนต้ อัตราสองช้ัน ควรเคาะจังหวะท่โี น้ตห้องสุดท้ายแทนเสียงฉงิ่ เสียงฉับ สังเกตที่ตัวพิมพ์เข้าจะ ทำให้เข้าใจวิธีการบันทึกได้ง่ายขึ้นส ำหรับการบันทึกโน้ตไทยโดยทั่วไปจะบันทึกไว้ 8 ลกั ษณะที่พบมากที่สดุ ดงั น้ี โนต้ แบบ 4 ตวั ตอ่ 1 หอ้ ง - - - ฉ่งิ - - - ฉับ - - - ฉง่ิ - - - ฉับ - - - ฉ่ิง - - - ฉบั - - - ฉงิ่ - - - ฉับ ด ด ด ด ร ร ร ร ม ม ม ม ฟ ฟ ฟ ฟ ซ ซ ซ ซ ล ล ล ล ท ท ท ท ดํ ดํ ดํ ดํ โนต้ แบบ 3 ตัว ต่อ 1 หอ้ ง - - - ฉ่งิ - - - ฉับ - - - ฉิ่ง - - - ฉับ - - - ฉิ่ง - - - ฉับ - - - ฉง่ิ - - - ฉับ - ด ด ด - ร ร ร - ม ม ม - ฟ ฟ ฟ - ซ ซ ซ - ล ล ล - ท ท ท - ดํ ดํ ดํ โนต้ แบบ 3 ตวั แตเ่ ป็นลักษณะของ 1 ห้อง 1 ตวั และ 3 หอ้ ง ตวั เปน็ โน้ตทีใ่ ชส้ ำหรบั มอื ฆอ้ ง โนต้ แบบ 2 ตวั ต่อ 1 หอ้ ง (ตวั ที่ 2 และตัวท่ี 4) - - - ฉ่ิง - - - ฉบั - - - ฉง่ิ - - - ฉับ - - - ฉิง่ - - - ฉบั - - - ฉง่ิ - - - ฉบั - ด - ด - ร - ร - ม - ม - ฟ - ฟ - ซ - ซ - ล - ล - ท - ท - ดํ - ดํ โนต้ แบบ 2 ตวั ตอ่ 1 หอ้ ง (ตัวที่ 3 และตวั ที่ 4) - - - ฉงิ่ - - - ฉบั - - - ฉงิ่ - - - ฉับ - - - ฉง่ิ - - - ฉบั - - - ฉ่งิ - - - ฉับ - - ด ด - - ร ร - - ม ม - - ฟ ฟ - - ซ ซ - - ล ล - - ท ท - - ดํ ดํ โน้ตแบบ 2 ตวั ต่อ 1 หอ้ ง (ตวั ที่ 1 และตวั ที่ 2) - - - ฉิง่ - - - ฉับ - - - ฉง่ิ - - - ฉับ - - - ฉิ่ง - - - ฉบั - - - ฉิง่ - - - ฉับ ด ด - - ร ร - - ม ม - - ฟ ฟ - - ซ ซ – - ล ล - - ท ท - - ดํ ดํ - -

23 โนต้ แบบ 1 ตัว ตอ่ 1 หอ้ ง - - - ฉ่ิง - - - ฉบั - - - ฉง่ิ - - - ฉบั - - - ฉงิ่ - - - ฉับ - - - ฉิง่ - - - ฉับ - - - ด - - - ร - - - ม - - - ฟ - - - ซ - - - ล - - - ท - - - ดํ โนต้ แบบ 1 ตัว ตอ่ 2 ห้อง - - - ฉ่ิง - - - ฉบั - - - ฉ่ิง - - - ฉับ - - - ฉ่ิง - - - ฉบั - - - ฉ่งิ - - - ฉับ ---- ---ด ---- ---ร ---- ---ม ---- ---ฟ การบันทกึ โน้ตไทยท้ัง 8 ลกั ษณะนีถ้ อื เป็นพน้ื ฐานสำคญั สำหรับการเริ่มอ่านโน้ตเพลงไทย เพราะ สามารถครอบคลุมรูปแบบการบันทึกโนต้ เพลงไทยได้ท้ังหมดการศึกษาเพลงไทยน้ันควรจะต้องทราบถึง วธิ กี ารอา่ นโนต้ ไทยข้ันพืน้ ฐานเสยี กอ่ นจงึ นำไปสูก่ ารศึกษาเพลงไทยในเชิงทฤษฎใี ห้เข้าใจอย่างถ่องแท้ 2.5 การทดสอบประสทิ ธิภาพชุดการสอน 2.5.1 ความหมายของการทดสอบประสทิ ธภิ าพ ความหมายของประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพ (Efficiency) หมายถึง สภาวะหรือคุณภาพ ของสมรรถนะในการดาเนินงาน เพื่อให้งานหรือความสาเร็จโดยใช้เวลา ความพยายาม และค่าใช้จ่าย คุ้มค่าที่สุดตามจุดมุ่งหมายที่ กาหนดไว้ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ โดยกาหนดเป็นอัตราส่วนหรือร้อยละระหว่าง ปัจจัยนาเข้า กระบวนการและผลลพั ธ์ (Ratio between input, process and output) ประสิทธิภาพ เน้นการดำเนินการที่ถูกต้องหรือกระทาสิ่งใด ๆ อย่างถูกวิธี (Doing the thing right) คำว่าประสิทธิภาพ มักสับสนกับคาว่า ประสิทธิผล (Effectiveness) ซึ่งเป็นคาที่คลุมเครือ ไม่เน้น ปริมาณ และมุ่งให้บรรลุวัตถุประสงค์ และเน้นการทาสิ่งที่ถูกที่ควร (Doing the right thing) ดังนั้นสองคานี้จึงมักใช้คู่กัน คือ ประสิทธิภาพและประสิทธิผล ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2520) ระบบสือ่ การสอน สานักพมิ พจ์ ุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย หน้า 135 – 143 การทดสอบประสิทธิภาพของสื่อหรือชุดการสอน จึงหมายถึงการหาคุณภาพของสื่อหรือ ชุดการสอน โดยพิจารณาตามขั้นตอนของการพัฒนาส่ือหรือชุดการสอนแต่ละข้ัน ตรงกับ ภาษาอังกฤษ ว ่ า “ Developmental Testing” ก า ร ท ด ส อ บ ป ร ะ ส ิ ท ธ ิ ภ า พ ข อ ง ส ื ่ อ ห ร ื อ ช ุ ด ก า ร ส อ น ตรงกับภาษาอังกฤษว่า “Developmental Testing” Developmental Testing คือ การทดสอบ คุณภาพตามพัฒนาการของการผลิตสื่อหรือชุด การสอนตามลาดับขั้นเพื่อตรวจสอบคุณภาพ ของแต่ละองค์ประกอบของตน้ แบบชนิ้ งาน ใหด้ าเนนิ ไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพ สาหรับการผลิตสื่อและชุด การสอน การทดสอบประสิทธิภาพ หมายถงึ การนาส่ือหรอื ชุดการสอนไปทดสอบด้วยกระบวนการสอง ขั้นตอนคือ การทดสอบประสทิ ธิภาพใช้เบื้องต้น (Try Out) ไปและทดลองประสิทธิภาพสอนจรงิ (Trial

24 Run) เพื่อหาคุณภาพของสื่อตามขั้นตอนที่ กำหนดใน 3 ประเด็นคือ การทำให้ผู้เรียนมีความรู้เพิ่มข้ึน การช่วยให้ผู้เรียนผ่านกระบวนการเรียน และทาแบบประเมินสุดท้ายได้ดี และการทาให้ผู้เรียนมีความ พึงพอใจ นาผลที่ได้มาปรับปรุงแก้ไข กอ่ นทจี่ ะผลิตออกมาเผยแพร่เป็นจานวนมาก การทดลอบประสิทธิภาพใช้เบื้องต้น เป็นการนาสื่อหรือชุดการสอนที่ผลิตขึ้นเป็นต้นแบบ (Prototype) แล้วไปทดลอบประสิทธิภาพใช้ตามขั้นตอนที่กาหนดไว้ในแต่ละระบบ เพื่อปรับปรุง ประสิทธภิ าพของสอื่ หรือชุดการสอนใหเ้ ท่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้ และปรับปรุงจนถงึ เกณฑ์ การทดลอบประสิทธิภาพสอนจริง หมายถึง การนาสื่อหรือชุดการสอนท่ี ได้ทดสอบ ประสิทธภิ าพใช้และปรบั ปรุงจนได้คุณภาพถึงเกณฑ์แลว้ ของแต่ละหนว่ ย ทุกหน่วยในแตล่ ะวิชาไป สอน จริงในชั้นเรียนหรือในสถานการณ์การเรียนที่แท้จริงในช่วงเวลาหนึ่ง อาทิ 1 ภาคการศึกษาเป็น อย่าง น้อย เพื่อตรวจสอบคุณภาพเป็นครั้งสุดทา้ ยกอ่ นนาไปเผยแพร่และผลติ ออกมาเปน็ จำนวนมาก การทดสอบประสิทธิภาพทั้งสองขั้นตอนจะต้องผ่านการวิจัยเชิงวิจัยและพัฒนา (Research and Development - R&D) โดยต้องดาเนินการวิจัยในขั้นทดลอบประสิทธิภาพ เบอ้ื งตน้ และ อาจทดสอบประสิทธิภาพซ้ำในข้ันทดลอบประสิทธิภาพใช้จริงดว้ ยกไ็ ดเ้ พ่ือประกันคุณภาพ ของสถาบนั การศึกษาทางไกลนานาชาติ ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2531, หน้า 490 - 492) อธิบายถึงเกณฑ์และการกำหนดเกณฑ์ ประสทิ ธภิ าพของชดุ การสอนไว้ดังนี้ เกณฑ์ประสิทธิภาพ หมายถึง ระดับประสิทธิภาพของชุดการสอนที่จะช่วยให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้ เป็นระดับที่ผู้ผลิตชุดการสอนพึงพอใจ หากชุดการสอนมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ ที่กำหนดไว้ แสดงว่าชุดการสอนนั้นมีคุณค่าที่จะนำไปสอน และคุ้มค่ากับการลงทุนผลิตออกมา เปน็ จำนวนมาก การกำหนดเกณฑ์ประสิทธิภาพ ทำโดยการประเมินผลพฤติกรรมของผู้เรียน ซึ่งประเมิน ออกเป็น 2 ลักษณะ คือ ประเมินพฤติกรรมต่อเนื่อง (กระบวนการ) และประเมินพฤติกรรมขั้นสุดท้าย (ผลลัพธ์) การประเมินพฤติกรรมต่อเนื่องจะเป็นการกำหนดค่าของประสิทธิภาพ E1 ซึ่งเป็นประสิทธิภาพของกระบวนการ และประเมินพฤติกรรมขั้นสุดท้ายจะกำหนดค่าเป็น E2 คือประสิทธิภาพของผลลัพธ์ ประเมินพฤติกรรมต่อเนื่องเป็นการประเมินผลพฤติกรรมย่อย หลายพฤติกรรมอย่างต่อเนื่อง เรียกว่า กระบวนการ (Process) ของผู้เรียนโดยสังเกตจากรายงานกลุ่ม การรายงานบุคคลหรือจากการปฏิบัติงามตามที่ได้รับมอบหมาย ตลอดจนทำกิจกรรมอื่น ๆ ที่ครูผู้สอนได้กำหนดไว้ ประเมินพฤติกรรมขั้นสุดท้าย เป็นการประเมินผลลัพธ์ (Product) ของผู้เรียนโดยพิจารณาจากผลการสอบหลังเรียน และสอบปลายปีและปลายภาค (ชยั ยงค์ พรหมวงศ์, 2531 : 3) ประสิทธิภาพของชุดการสอน จะกำหนดเป็นเกณฑ์ที่ครูผู้สอนคาดว่าผู้เรียน จะเปลี่ยนพฤติกรรมเป็นที่พึงพอใจ โดยกำหนดเป็นเปอร์เซ็นต์ของผลเฉลี่ยคะแนนการทำงาน

25 และการปฏิบัติกิจกรรมของผู้เรียนทั้งหมดต่อเปอร์เซ็นต์ผลการทดสอบหลังเรียนของผู้เรียน ทง้ั หมด สรปุ แล้วหมายถึง E1 และ E2 คือประสทิ ธภิ าพของกระบวนการและประสิทธิภาพของผลลพั ธ์ 2.5.2 วิธีคำนวณหาประสทิ ธภิ าพ ในการหาประสิทธิภาพของชุดการสอนโดยใช้เกณฑ์ E1/E2 เป็นวิธีการที่สามารถ ชี้วัดประสิทธิภาพของชุดการเรียนการสอน ได้ทั้งภาพรวมในลักษณะกว้าง และวัดส่วนย่อย เป็นรายจุดประสงค์ทำให้ได้ผลการวัดที่ชัดเจน นำข้อมูลที่ได้มาเป็นเครื่องตัดสินใจได้ โดยไม่ตอ้ งใช้วธิ ีการอนื่ มาประกอบให้เกดิ การซ้ำซ้อนอีก เกณฑท์ ่ใี ช้ คอื E1/E2 อาจเทา่ กับ 80/80 หรอื 90/90 หรืออื่น ๆ อกี กไ็ ด้ แต่ถา้ กำหนดเกณฑ์ ไว้ต่ำเกินไปอาจทำให้ผู้ใช้บทเรียนไม่เชื่อถือคุณภาพของบทเรียน การหาค่า E1 และ E2 มีวิธกี ารคำนวณหาค่ารอ้ ยละ โดยใชส้ ูตรต่อไปน้ี E1 = (∑X/N) X 100 A โดย E1 คือประสิทธิภาพของกระบวนการที่จัดไว้ในชุดการสอนคิดเป็นร้อยละจากการทำ แบบฝกึ หัดและหรือประกอบดว้ ยกิจกรรมการเรียนระหว่างเรยี น ∑X คอื คะแนนจากการทำแบบฝกึ หดั และหรอื การประกอบกจิ กรรมการเรยี น ระหวา่ งเรียน A คือ คะแนนเต็มของแบบฝึกหัดและหรือกจิ กรรมการเรยี น N คือ จำนวนผูเ้ รียน E2 = (∑F/N) X 100 B โดยที่ E2 คือ ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (พฤติกรรมที่เปลี่ยนในตัวผู้เรียนหลังการเรียนด้วยชุดการ เรียนการสอน) คิดเปน็ อัตราส่วนจากการทำแบบทดสอบหลงั เรยี นและหรือประกอบกจิ กรรมหลังเรียน ∑F คือ คะแนนรวมของผู้เรียนจากการทำแบบทดสอบหลังเรียนและหรือการประกอบ กจิ กรรมหลงั เรียน B คือ คะแนนเตม็ ของการสอบหลังเรยี นและหรอื กจิ กรรมหลังเรียน N คือ จำนวนผู้เรยี น ฉลองชัย สุรวัฒนบูรณ์ (2528, หน้า 215) เกณฑ์ประสิทธิภาพของชุดการสอนที่ผลิต ไดน้ ั้นกำหนดไว้ 3 ระดับ 1. สูงกวา่ เกณฑเ์ มอื่ ประสิทธภิ าพของชุดการสอนสงู กวา่ เกณฑ์ท่ตี ้งั ไว้มคี ่าเกนิ 2.5% ข้นึ ไป

26 2. เท่ากับเกณฑ์เมื่อประสิทธิภาพของชุดการสอนเท่ากับหรือสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ ไมเ่ กิน 2.5% 3. ต่ำกว่าเกณฑ์เมื่อประสิทธิภาพของชุดการสอนต่ำกว่าเกณฑ์แต่ไม่ต่ำกว่า 2.5% ถอื วา่ ยงั มปี ระสทิ ธิภาพท่ยี อมรับได้ 2.5.3 ขั้นตอนการทดสอบประสิทธิภาพ เมอ่ื ผลติ ชดุ การสอนที่เปน็ ตน้ แบบได้แล้วต้องนำชุดการสอนน้ันไปทดสอบประสิทธิภาพซ่ึงทำ ไดต้ ามขน้ั ตอนน้ี ขั้นที่ 1 ทดลองแบบเดี่ยว เป็นการทดลองครู 1 คนต่อผู้เรียน 1คน โดยทดลองกับผู้เรียนอ่อน ก่อน จากนั้นนำไปทดลองกับผู้เรียนระดับปานกลาง และเก่งตามลำดับหลังจากที่คำนวณ หาประสิทธิภาพเสร็จแล้วปรับปรุงให้ดีขึ้น ถ้าเวลาไม่อำนวยและสภาพการณ์ไม่เหมาะสมก็ทดลอง กับผู้เรียนอ่อนหรือปานกลางก็ได้ โดยปกติคะแนนที่ได้จากการทดลองแบบเดี่ยวนี้จะได้คะแนนต่ำกว่า เกณฑ์มากแต่เมื่อปรับปรุงแล้วคะแนนจะสูงขึ้นอีกในการทดลองแบบกลุ่มต่อไปในขั้นน้ี จะมีประสทิ ธภิ าพประมาณ 60/60 ขั้นที่ 2 ทดลองแบบกลุ่ม เป็นการทดลองครู 1 คนต่อผู้เรียน 6 -10 คนโดยคละผู้เรียน ห้ามทดลองกับเด็กที่เรียนอ่อนหรือเก่งล้วน เมื่อคำนวณหาค่าประสิทธิภาพของชุดการสอน แล้วจึงนำมาปรับปรุงข้อบกพร่องอีกครั้งหนึ่ง ในครั้งนี้คะแนนของผู้เรียนจะเพิ่มขึ้นอีกเกือบเท่าเกณฑ์ โดยเฉลยี่ จะห่างจากเกณฑป์ ระมาณ 10% นนั้ เอง ขน้ั ท่ี 3 ทดสอบภาคสนาม เปน็ การทดลองครู 1 คน ตอ่ ผเู้ รยี นทั้งชนั้ ทเี่ ลอื กมาทดลองจะต้อง มีนักเรียนคละกันไม่ควรเลือกห้องที่เรียนเก่งหรือเรียนอ่อนล้วน คำนวณหาประสิทธิภาพแล้วทำการ ปรับปรุงผลลัพธ์ที่ได้ควรใกล้เคียงกับเกณฑ์ที่ตั้งไว้ไม่เกิน 2.5%ถือว่ายอมรับได้ หากแตกต่างกันมาก ผู้สอนต้องกำหนดเกณฑ์ประสิทธภิ าพของชุดการสอนใหม่โดยยึดสภาพการณต์ ามความเปน็ จริง สถานท่ี เวลาสำหรับชุดการสอนแบบเดี่ยวและแบบกลุ่ม ควรใช้เวลานอกชั้นเรียนหรือแยกผู้เรียน มาเรยี นตา่ งหากจากหอ้ งเรียนอาจเปน็ หอ้ งประชุมโรงเรียนโรงอาหารหรือสนามใต้รม่ ไม้กไ็ ด้ เลิศ อานันทนะ และคนอื่น ๆ (2537, หน้า 500) การยอมรับประสิทธิภาพของชุดการสอน หลังจากที่ทดลองภาคสนามแล้ว นำค่าประสิทธิภาพนำมาเทียบกับเกณฑ์ที่ตั้งไว้ เพื่อดูว่าสมควร ที่จะยอมรับประสิทธิภาพหรือไม่ในการยอมรับประสิทธิภาพให้ถือค่าความแปรปรวนที่ 2.5% - 5% ซึ่ง หมายถึงชุดการสอนนั้นไม่ควรต่ำกว่าเกณฑ์ 5% ตามปกติจะกำหนดไว้ 2.5% เช่น ถ้าเกณฑ์ประสิทธภิ าพตั้งไว้ 80/80 แต่เมื่อทดลองภาคสนามแลว้ ชุดการสอนมปี ระสทิ ธิภาพไม่ถงึ เกณฑ์ ได้ 77.5/77.5 เรายอมรับไดว้ ่าชุดการสอนนัน้ มีประสิทธภิ าพ พอสรปุ ไดว้ า่ การยอมรับประสทิ ธิภาพของ ชดุ การสอนมี 3 ระดบั 1. สูงกวา่ เกณฑ์ท่ตี ้งั ไว้ 2. เทา่ กบั เกณฑท์ ตี่ ้ังไว้

27 3. ตำ่ กว่าเกณฑท์ ต่ี ้งั ไว้ประมาณ 2.5% - 5% (ฉลองชัย สรุ วัฒนบุรณ์ , 2528 : 10) 2.6 ความพึงพอใจ 2.6.1 ความหมายของความพงึ พอใจ นักวิชาการไดใ้ ห้ความหมายของความพึงพอใจต่าง ๆ พอสรุปไดด้ ังนี้ ราชบัณฑิตสถาน (2546) ได้กล่าวถึง ความหมายของคำว่า ความพึงพอใจ ดังน้ี คำว่า “พึง” เป็นคำกริยาอื่น หมายความว่า ยอมตาม เช่น พึงใจ และคำว่า “พอใจ” หมายถงึ สมชอบ ชอบใจ ทวพี งษ์ หินคำ (2541 : 8 ) ได้ใหค้ วามหมายของความพึงพอใจวา่ เป็นความชอบของบุคคล ที่มีต่อสิ่งหนึ่งสิ่งใด ซึงสามารถลดความดึงเครียดและตอบสนองความต้องการของบุคคลได้ทำให้เกิด ความพึงพอใจตอ่ สงิ่ น้ัน รัตนา พรมภาพ (2551, น. 7) ได้ให้ความหมายไว้ว่า ความพึงพอใจ เป็นทัศนคติอย่าง หนึ่งท่ี เปน็ นามธรรม เปน็ ความรู้สึกส่วนตวั ท้ังทางดา้ นบวกและลบ ขึ้นอยู่กับการไดร้ ับ การ ตอบสนอง เป็นสิ่ง ท่กี ําหนดพฤติกรรมในการแสดงออกของบคุ คลที่มผี ลต่อการเลือกทจ่ี ะปฏบิ ตั ิสิง่ ใดส่ิงหนง่ึ จารุชา เมฆะสุวรรณ์ (2555, น. 60) ได้ให้ความหมายไว้ว่า หมายถึง ความรู้สึกนึกคิด หรือ เจตคติของบุคคลที่มีต่อการทางานหรือการปฏิบัติกิจกรรมในทางบวก และแสดงพฤติกรรม ตอบสนอง ท้งั ทางรา่ งกายและจติ ใจ วันเฉลิม กลิ่นศรีสุข (2558, น. 44) ได้ให้ความหมายไว้ว่า ความพึงพอใจเป็นความรู้สึก ความชอบ ความสนใจและทัศนคติของแต่ละบุคคลเนื่องมาจากสิ่งเร้าแรงจูงใจและสภาพแวดล้อม ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ซ่งึ จะแสดงออกให้เหน็ จากพฤติกรรมต่างๆ สุวิทย์ สุวรรณชาติ (2559 น. 50) ได้ให้ความหมายไว้ว่า ความพึงพอใจเป็นความรู้สึกของ บคุ คลใน เชิงบวก ทีม่ ผี ลตอ่ การปฏิบตั ิกิจกรรมในการเรยี นการสอน จนกิจกรรมนั้นๆ บรรลุผล สําเร็จ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความรู้สึกของความชอบ ความสนใจ เนื่องมาจากสิ่งเร้า แรงจูงใจ และ สภาพแวดล้อมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องที่มีผลต่อการปฏิบัติกิจกรรมในการเรยี นการสอน ของนักเรียนที่มี ต่อ การจัดการเรยี นรู้ จากการศึกษาเกี่ยวความหมายของความพึงพอใจ ผู้วิจัยสามารถสรุปได้ว่าความพึงพอใจ คือ ความพึงพอใจเป็นความรู้สึก ความชอบ ความสนใจและทัศนคติของแต่ละบุคคลที่มีผลต่อการปฏิบัติ กิจกรรมในการเรียนการสอน ที่เกี่ยวข้องที่มีผลต่อการปฏิบัติกิจกรรมในการเรียนการสอน ของนักเรยี นท่ีมตี อ่ การจัดการเรียนรู้

28 2.6.2 ความพึงพอใจ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน (2542) ได้ให้ความหมายของความพึงพอใจไว้ว่า พงึ พอใจ หมายถงึ รกั ชอบใจ และพึงใจ หมายถงึ พอใจ ชอบใจ สมยศ นาวีการ (2533 : 222–224) กล่าวถึงความพอใจในการทำงานคือ ความรู้สึกที่ดี โดยส่วนรวมของคนต่องานของพวกเขา เมื่อเราพูดว่าคนมีความพึงพอใจในงานสูงเราจะ หมายถึง สงิ่ ทคี่ นชอบและให้คุณคา่ กบั งานของเขาสงู และมคี วามรสู้ ึกท่ีดตี ่องานของเขาด้วย ภัณิดา ชัยปัญญา (2541 น. 11) กล่าวว่า การวัดความพึงพอใจนั้น สามารถทาได้หลาย วธิ ีดังต่อไปน้ี 1) การใช้แบบสอบถาม เพื่อต้องการทราบความคิดเห็น ซึ่งสามารถกระทําได้ในลักษณะ กําหนดคาํ ตอบให้เลือกหรือตอบคําถามอสิ ระ คาํ ถามอาจถามความพึงพอใจในด้านต่าง ๆ 2) การสัมภาษณ์ เป็นวิธีการวัดความพึงพอใจทางตรง ซึ่ งต้องอาศัยเทคนิคและ วิธีการท่ีดจี ะไดข้ ้อมลู ท่ีเปน็ จรงิ 3) การสังเกต เป็นวิธีวัดความพึงพอใจ โดยการสังเกตพฤติกรรมของบุคคลเป้าหมาย ไม่ว่าจะแสดงออกจากการพูดจา กริยา ท่าทาง วิธีนี้ต้องอาศัยการกระทําอย่างจริงจัง และสังเกต อย่างมีระเบียบแบบแผน สรุปได้วา่ ในการทําการวจิ ัยคร้ังนี้ ผวู้ จิ ัยไดเ้ ลอื กวธิ ีการการวดั ความพึงพอใจในรปู แบบของการ ใช้แบบสอบถาม โดยผู้ออกแบบสอบถาม ต้องการทราบความคิดเห็นซึ่งสามารถกระทำได้ในลักษณะ กำหนดคำตอบให้เลือก หรอื ตอบคำถามอสิ ระ คำถามดงั กล่าว อาจถามความพอใจในด้านต่าง ๆ เพื่อให้ ผู้ตอบทกุ คนมาเป็นแบบแผนเดยี วกัน มกั ใชใ้ นกรณที ่ีต้องการข้อมูลกลุ่มตวั อย่างมาก ๆ วธิ ีนน้ี ับเป็นวิธีที่ นิยมใช้กันมากที่สุดในการวัดทัศนคติ รูปแบบของแบบสอบถามจะใช้มาตรวัดทัศนคติ ซึ่งที่นิยมใช้ใน ปัจจุบันวิธหี นึง่ คือ มาตราส่วนแบบลิเคิร์ต ประกอบด้วยขอ้ ความที่แสดงถึงทัศนคติของบุคคลที่มีต่อสง่ิ เร้าอย่างใดอย่างหนึ่งที่มีคำตอบที่แสดงถึงระดับความรู้สึก 5 คำตอบ เช่น มากที่สุด มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยทีส่ ดุ 2.6.3 มาตราวดั ความพึงพอใจตามวิธีของลเิ คิรต์ มาตราวัดความพึงพอใจตามวิธีของ ลิเคิร์ต (Likert's Scale) เป็นตัวกําหนดช่วงความรู้สึก ของคน 5 ระดับ เช่น เห็นด้วยอย่างยิ่ง เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ไม่เห็นด้วยและไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง เป็นต้น ข้อความที่บรรลุลงในมาตรวัดประกอบด้วย ข้อความที่แสดงความรู้ สึกต่อสิ่งหนึ่งสิ่งใด ทั้งในทางที่ดี (ทางบวก) และในทางที่ไม่ดี (ทางลบ) และ มีจํานวนพอ ๆ กันข้อความเหล่าน้ี ก็อาจมีประมาณ 10 - 20 ข้อความ การกําหนดน้ำหนักและคะแนน การตอบแต่ละข้อตัวเลือก กระทำภายหลังจากที่ได้รวบรวมข้อมูลมาแล้ว การสร้างมาตรวัดความพึงพอใจตามวิธีของลิเคิร์ต มขี ั้นตอน ดังน้ี

29 1) ต้งั จดุ มงุ่ หมายของการศึกษาว่าต้องการศึกษาความพึงพอใจของใครที่มีตอ่ ส่ิงใด 2) ให้ความหมายของความพึงพอใจต่อสิ่งที่จะศึกษานั้นให้แจ่มชัด เพื่อให้ทราบว่า ส่งิ ทีเ่ ป็น Psychological object นน้ั ประกอบดว้ ยคุณลกั ษณะใดบา้ ง 3) สร้างข้อความให้ครอบคลุมคุณลักษณะที่สําคัญ ๆ ของสิ่งที่จะศึกษาให้ครบถ้วนทุกแง่มุม และต้องเป็นข้อความที่เป็นไปได้ทั้งทางบวกและทางลบมากพอต่ อการที่เมื่อนาไปวิเคราะห์แล้ว เหลอื จํานวนข้อความท่ตี ้องการ 4) ตรวจสอบข้อความทส่ี ร้างข้ึน ซึ่งทาํ ไดโ้ ดยผสู้ ร้างข้อความเอง และนําไปให้ผ้มู ีความรู้ในเร่ือง นั้น ๆ ตรวจสอบ โดยพิจารณาในเรื่องของความครบถ้วนของคุณลักษณะของสิ่งที่ศึกษา และความ เหมาะสมของภาษาที่ใช้ ตลอดจนลักษณะการตอบกับข้อความที่สร้างว่าสอดคล้องกัน หรอื ไม่เพยี งใด 5) ทําการทดลองขั้นต้นก่อนที่จะไปใช้จริง โดยการนําข้อความที่ได้รับการตรวจสอบ แล้วไปทดลองใช้กับกลุ่มตวั อย่างจานวนหนึ่ง เพื่อตรวจสอบความชัดเจนของข้อความและภาษาที่ใช้อีก ครั้งหนึ่ง และเพื่อตรวจสอบคุณภาพด้านอื่น ๆ ได้แก่ ความเที่ยงตรง ค่าอํานาจจําแนก และ คา่ ความเชอื่ ม่ันของมาตราวัดเจตคตทิ ง้ั ชุดด้วย 6) กําหนดการใหค้ ะแนนการตอบของแตล่ ะตัวเลือก โดยทวั่ ไปนิยมใช้ คือ กําหนดคะแนนเป็น 4 3 2 1 0 (หรือ 0 1 2 4) ซึ่งการกําหนดแบบนี้เรียกว่า Arbitary weighting method ซึ่ง เป็นวิธีท่ี สะดวกมากในทางปฏบิ ัติ ในงานวิจัยนี้ ผู้วิจัยเลือกใช้แบบสอบถามวัดความพึงพอใจนักเรียนต่อการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ตามวิธีของลิเคิร์ต (Likert's Scale) ซึ่งกําหนดช่วงความรู้สึกไว้ 5 ระดับ เพื่อให้ได้ข้อมูล ที่ชัดเจน โดยจะใช้วัดความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนการสอนและชุดกิจกรรม เสริมทักษะการปฏิบัติซอด้วงสำหรับนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 5 โดยการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Development of an activities set to promote the Saew Dueng For grade 5 students through cooperative learning) ใน 3 ด้าน ได้แก่ ด้านครูผู้สอน ด้านสื่อการเรียนการสอน และ ดา้ นกิจกรรมการเรยี นรู้แบบร่วมมือ

30 2.7 งานวิจัยที่เกย่ี วข้อง 2.7.1 งานวิจยั ในประเทศ กฤษฎา ดวงจิตร (2563) การศึกษาวิจัยเร่อื งการอา่ นโน้ตดนตรไี ทยโดยใชแ้ บบเรียนสำเร็จรูป ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1.แบบเรียนสำเร็จรูปการอ่านโน้ต ดนตรีไทย 2. แบบประเมินการอ่านโน้ตดนตรีไทย 3. แบบสอบถามความพึงใจแบบเรียนสำเร็จรูปการ อ่านโนต้ ดนตรีไทยจากการเก็บรวบรวมข้อมูลและนำข้อมลู มาวเิ คราะหเ์ กดิ ผลการวิจัยพบวา่ 4.แบบเรียน สำเรจ็ รปู การอ่านโนต้ ดนตรไี ทยมีประสิทธิภาพอยใู่ นระดบั ดมี าก คดิ เปน็ รอ้ ยละ 84.15 5. นกั เรยี นมีความร้คู วามเขา้ ใจและสามารถอ่านโนต้ ดนตรไี ทยทผ่ี า่ นเกณฑ์อยใู่ นระดับดีมาก จำนวน 29 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 74.35 ผา่ นเกณฑ์อย่ใู นระดบั ดี จำนวน 7 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 17.94 และผ่าน เกณฑอ์ ยู่ในระดับพอใช้ จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 7.7 6. ความพึงพอใจแบบเรียนสำเร็จรูปการอ่าน โนต้ ดนตรไี ทย ภาพรวมความพงึ พอใจอยู่ในระดับดมี ากคิดเป็นร้อยละ 85.5 สุกรี เจริญสุข (2544 ) ได้ทำวิจัยเรื่องการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชุดการสอนเรื่องการ อ่านโน้ตดนตรีไทยตามทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสุนทรียาพโดยรองศาสตร์จารย์ ดร. สุกรีเจริญสุข พบว่า ของนกั เรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 โรงเรยี นสวนกหุ ลาบวิทยาลัย ท่ผี วู้ ิจยั พฒั นาขนึ้ พบวา่ คะแนน เฉลี่ยก่อนเรียนอยู่ที่ 6.66 และคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนอยู่ที่ 34.21 ซึ่งเมื่อนำคะแนนก่อนและหลังเรียน มาเปรียบเทียบกันพบว่า มีค่า t เท่ากับ 21.26 แสดงให้เห็นว่า นักเรียนมผี ลสมั ฤทธ์ิ ทางการเรียน ด้วย ชุดการสอนเรอื่ งการอา่ นโนต้ ดนตรีไทยหลังเรยี น สงู กว่ากอ่ นเรยี น อยา่ งมนี ัยสำคญั ทางสถิตทิ รี่ ะดับ .05 ซ่ึงเปน็ ไปตามสมมตฐิ านท่ตี งั้ ไว้ ชมพูนุช จูฑะเศรษฐ์ และสุรพงษ์บ้านไกรทอง (2549) ได้ทำการวิจัย เรื่อง แนวทางการสอน ทฤษฎีดนตรีไทยสําหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ผลการวิจัยพบว่า แนวทางการสอนทฤษฎี ดนตรีไทย สําหรับนักเรียนระดับมัธ ยมศึกษาตอนต้น ประกอบด้ว ย 4 หัว ข้อ คือ การกําหนดจุดประสงค์ การกําหนดเนื้อหาสาระ การกําหนดรูปแบบวิธีการสอน และ การวัดประเมินผลการเรียนสอน โดยแต่ละหัวข้อมีข้อมูลดังนี้ การกําหนดจุดประสงค์ควรกําหนด ให้ชัดเจน ควรเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง กําหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้ประโยชน์ และมีพัฒนาการทางดนตรีไทยให้ครบทุกด้านทั้งด้านทักษะ ด้านความรู้และด้านทัศนคติ สอดคล้องกับ สิทธิพร สวยกลาง (2553) ได้ทําการวิจัยเรื่องการนําเสนอแนวทางการจัดการเรียนการสอนวิชา ประวัติศาสตร์ดนตรีตะวันตกในหลักสูตรดนตรีของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ผลการวิจัย พบว่าในด้านการกําหนดวัตถุประสงค์ ควรกําหนดให้ผู้เรียนมีทักษะครบทั้ง 3 ด้าน คือ ด้านพุทธิพิสัย ด้านทักษะพิสัย และ ด้านจิตพิสัย ซึ่งผู้วิจัยมีความคิดเห็นว่า การกําหนดจุดประสงค์ ควรเป็นไปตามที่ผลการวิจัยที่สรุปได้ คือ ควรกําหนดจุดประสงค์ให้ชัดเจนและเน้นพัฒนาการในทุก ๆ

31 ด้านเช่น กําหนดวัตถุประสงค์ให้ผู้เรียนมีความรู้ในเรื่องของการฟังเพลงไทย สามารถแยกเสียง เครื่องดนตรีไทยจากเพลงที่ได้ยินได้ และมีทัศนคติที่ดีต่อดนตรีไทยการกําหนดเนื้อหาสาระ ต้องไม่มากและยากเกินไป ควรกําหนดให้เหมาะสมกับวัยมัธยมศึกษาตอนต้น สอดคล้องกับทฤษฎี พัฒนาการทางสติปัญญาของบรูนเนอร์ (Bruner, 1956) ที่กล่าวว่า “ผู้สอนควรจัดโครงสร้าง ของความรู้ให้มีความสัมพันธ์และสอดคล้องกับระดับขั้นพัฒนาสติปัญญาของผู้เรียน” ควรจะต้องรู้จักเรื่องของวงดนตรีไทยหน้าที่ของแต่ละวง เพลงไทยเดิมเบื้องต้น และควรมีการฝึก ฟังเพลงควรจะต้องรู้เรื่องของเสียง เอกลักษณ์ของดนตรีไทย สอดคล้องกับทฤษฎีการสอนดนตรี ของออร์ฟ (Carl Orf,1982) ที่กล่าวไว้ว่า “วิธีการพื้นฐานของออร์ฟคือมีการสํารวจเกี่ยวกับเสียง ให้ผู้เรียนเริ่มเรียนรู้เสียงต่าง ๆ รอบตัว รวมถึงเสียงของเครื่องดนตรี คุณลักษณะและคุณสมบัติของ เสียงดนตรี”และเน้นการอ่านโน้ต การบันทึกโน้ตทางดนตรี โดยเริ่มจากเพลงง่าย ๆ ไปจนถึงเพลงที่ ซับซ้อน สอดคล้องกับแนวคิดของโคดาย (Zoltan Kodaly, 1967)ซึ่งได้กล่าวไว้ว่า “วิธีการของ โคดายมีลักษณะเป็นระบบระเบียบเป็นขั้นตอน วิธีการนี้เริ่มด้วยแนวคิดที่ง่ายและไม่ซับซ้อนก่อน กล่าวคือ การใช้หลักการของการเรียนจากส่วนย่อยไปสู่ส่วนใหญ่” ซึ่งผู้วิจัยมีความคิดเห็น เป็นทางเดียวกับผลการวิจัย คือ ควรให้ผู้เรียนเรียนรู้เรื่องของเสียงของเครื่องดนตรีไทย และการฟัง ดนตรีไทย โดยเริ่มจากเพลงง่าย ๆ เช่น เพลงสองชั้นอย่างเพลง สร้อยลําปาง ที่มีวรรคซ้ ำ เพลงท่ีมีสาํ เนยี งภาษาและจงั หวะสนุกสนาน กระชบั เชน่ กระตา่ ยเต้น ตน้ วรเชษฐ์ สองฝ่ังโขง กราวตลุง เป็นต้น ไม่ควรเป็นเพลงเถา เพลงเรื่อง เพลงตับ เช่น เพลงสารถีเพลงเรื่องพระรามเดินดง ที่มีความยาว และมีความซับซ้อนนอกจากนี้ ผู้วิจัยยังมีความคิดเห็นเพิ่มเติมว่า ควรมีการสอดแทรก เรื่องที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการของวัยมัธยมศึกษาตอนต้น ตามทฤษฎีของโรเบิร์ตฮาวิกเฮิร์ส (Havighurst,1972)ไดก้ ลา่ วไว้ว่า “วยั มัธยมศึกษาตอนต้น มีความสามารถในการสร้างความสัมพันธ์อันดี จะเริ่มมีการสนใจในเพศตรงข้าม และสนใจในความรัก”ผู้วิจัยจึงเห็นว่าอาจจะเพิ่มการสอนเพลงใน ดนตรีไทยที่กล่าวถึงความรัก เช่น เพลงแขกมอญบางช้าง สองชั้น เขมรพวง สองช้ัน การกําหนดรูปแบบวิธีการสอน ควรสอนแบบสอดแทรกทฤษฎีดนตรีไทยเข้าไปในการฟังดนตรีไทยและ ก า ร ส อ น ป ฏ ิ บ ั ต ิ ล ด ก า ร ส อ น แ บ บ บ ร ร ย า ย แ ล ะ เ พ ิ ่ ม ก า ร ส อ น แ บ บ active learning ที่เป็นกิจกรรมที่สนุกสนาน สร้างสุนทรียะ และเข้ากับชีวิตประจําวันของผู้เรียน สอดคล้องกับทฤษฎี พัฒนาการทางสตปิ ัญญาของบรูนเนอร์ (Bruner, 1956) ทก่ี ล่าวไวว้ ่า “ผูส้ อนควรจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนเกิดการค้นพบความรู้ด้วยตนเองโดยเฉพาะการสร้างความคิดรวบยอดในสิ่งที่เรียนอย่าง เหมาะสมตามขั้นของพัฒนาการทางสตปิ ัญญาของผู้เรียนซึ่งจะช่วยใหผ้ ู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดแี ละเกิด

32 ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ ท ี ่ ม ี ค ว า ม ห ม า ย ” ( Bruner, ว า ร ส า ร ค ร ุ ศ า ส ต ร ์ ป ี ท ี ่ 49 ฉ บ ั บ ท ี ่ 2 (เมษายน-มิถุนายน2564) 9/101956) ผู้วิจัยมีความคิดเห็นที่สอดคล้องกับผลการวิจัย คือผู้สอนควรมีกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมเรื่องของดนตรีไทยและมีความน่าสนใจสนุกสนาน เช่น การร้องเพลง การทํากิจกรรมเข้ากลุ่ม การสร้างกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ทดลองหรือหาคําตอบด้วยตนเอง ว ิธ ีการว ัดประเมินผล นอกจากการใช ้ข้อสอบ คว รจะมีการเพิ่มว ิธ ีกา รสัมภาษณ์ การสังเกตจากพฤติกรรม การอภิปรายความคิดเห็นและใช้การประเมินผลตามสภาพจริง (authentic assessment) ซึ่งเป็นการประเมินผลในขั้นนําไปใช้ สอดคล้องกับทฤษฎีการเรียนรู้ ของเบนจามนิ บลูม (Bloom et al, 1956) ไดก้ ล่าววา่ “ขัน้ การนําความรู้ไปใช้ เป็นขั้นทผ่ี ู้เรียนสามารถ นําความรู้ประสบการณ์ไปใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ ซึ่งต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจ จงึ จะสามารถนาํ ไปใช้ได้”ผ้วู ิจยั มคี วามคิดเห็นว่า วธิ กี ารวดั ประเมินผลในข้นั นาํ ไปใช้ เป็นวิธีทคี่ วรเกิดข้ึน จรงิ ในชน้ั เรียน ผูส้ อนควรลดการทําข้อสอบ ซึ่งเป็นการวดั ประเมินผลในขั้นความรู้ความจํา แต่ควรเน้น การทํางาน ฝึกกระบวนการคิดวางแผน สรา้ งระบบในสมองให้เดก็ ตงั้ แตช่ ่วงวัยมธั ยมศกึ ษาตอนต้น

33 บทท่ี 3 ระเบยี บวิธวี จิ ัย ในการวิจัยเรื่อง การพัฒนาชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านโน้ตเพลงไทย สาํ หรบั นักเรียน ชัน้ ประถมศกึ ษาชน้ั ปีท่ี 5 Developing a series of activities to promote reading skills in Thai sheet music for students Grade 5 มี เพื่อพัฒนาชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการ อ่านโน้ตเพลงไทย สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนอนุบาลยโสธร อำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร เพื่อศึกษาดัชนีประสิทธิภาพของชุด กิจกรรมเพ่ือส่งเสริมทักษะการอ่านโนต้ เพลงไทยสำหรับนักเรยี นช้ันประถมศึกษาปีที่ 5 ท่ีกำลังศึกษาใน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนอนุบาลยโสธร อำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร 75/75 และ เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนต่อการใช้ชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านโน้ตเพลงไทย วธิ ีการดาํ เนินการศึกษาตามขัน้ ตอนดงั ตอ่ ไปน้ี 3.1 กล่มุ เป้าหมาย 3.2 แบบแผนการวิจยั 3.3 เคร่อื งมือท่ใี ชใ้ นงานวิจัย 3.4 การสร้างและการหาคณุ ภาพเคร่ืองมือที่ใชใ้ นการวจิ ัย 3.5 ขนั้ ตอนการเกบ็ รวบรวมข้อมูล 3.6 ขั้นตอนการวเิ คราะหข์ ้อมลู 3.7 สถิติทีใ่ ช้ในการวเิ คราะหข์ อ้ มลู 3.1 กลุ่มเป้าหมาย ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนอนุบาลยโสธร อำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ยโสธร เขต 1 จํานวน 5 ห้อง จำนวน 200 คน กลุม่ เปา้ หมายนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาช้ันปีท่ี 5/6 ทีก่ ำลังศึกษาในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนอนุบาลยโสธร อำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษายโสธร เขต 1 จำนวน 31 คนได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เป็นการสุ่มตัวอย่างประชากรแบบที่ประชากรอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม ๆ (Cluster) โดยแต่ละกลุ่ม มีลักษณะภายในกลุ่มที่หลากหลายหรือมีความแตกต่างในทำนองเดียวกันแต่ระหว่างกลุ่ม มีความคล้ายคลึงกัน โดยใชห้ อ้ งเรียนเปน็ การส่มุ

34 3.2 แบบแผนการวจิ ยั การวิจัยครง้ั น้ี เปน็ แบบวิจัยเชงิ ทดลอง ไดใ้ ช้แบบแผนการทดลองแบบ One Group Pretest Posttest Design (ล้วน สายยศ และองั คณา สายยศ , 2538 : 248 - 249) ตารางท่ี 1 แบบแผนการทดลองแบบ One Group Pretest Posttest Design Pre-test Treatment Post-test O1 X O2 O1 แทน การทดสอบก่อนเรียน X แทน ชุดกจิ กรรมโดยใชร้ ปู แบบการสอนแบบรว่ มมอื O2 แทน การทดสอบหลงั เรยี น 3.4 เครอื่ งมือท่ีใช้ในงานวิจัย 3.2.1 ชดุ กจิ กรรมเพ่อื สง่ เสรมิ ทกั ษะการอา่ นโน้ตเพลงไทย 3.2.2 แบบประเมนิ ทกั ษะการอ่านโนต้ เพลงไทย 3.2.4 แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการใช้ชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่าน โนต้ เพลงไทย 3.3 การสร้างและการหาคณุ ภาพเครือ่ งมือทีใ่ ชใ้ นการวจิ ัย 3.3.1 ชดุ กจิ กรรมการเลน่ ซอดว้ งท้งั 8 ชุดกจิ กรรม 1. ศึกษาค้นคว้าเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่าน โน้ตเพลงไทย สาํ หรบั นักเรียนชั้นประถมศกึ ษาชั้นปที ่ี 5 2. วิเคราะห์สาระการเรียนรู้ตัวชี้วัดจุดประสงค์การเรียนรู้และผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง เพื่อให้สอดคล้องกับการพัฒนาชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านโน้ตเพลงไทยด้วงสาํ หรับนักเรียน ช้นั ประถมศึกษาชั้นปที ี่ 5 3. สร้างชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านโน้ตเพลงไทยสําหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาชั้นปีท่ี 5 โดยการเรียนรู้แบบร่วมมือ จํานวน 8 ชุดสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ทัง้ หมด 8 ชุดกิจกรรม ประกอบดว้ ย 1. หลกั การอ่านโน้ตเพลงไทย 2. แบบฝกึ หดั การอ่านโน้ตดนตรไี ทย 5.1 แบบฝกึ หดั การอา่ นโนต้ เพลงไทยที่ 1 5.2 แบบฝึกหดั การอา่ นโน้ตเพลงไทยท่ี 2 5.3 แบบฝกึ หัดการอ่านโนต้ เพลงไทยท่ี 3 5.4 แบบฝึกหัดการอา่ นโน้ตเพลงไทยท่ี 4 5.5 แบบฝกึ หัดการอา่ นโน้ตเพลงไทยท่ี 5

35 5.6 แบบฝึกหดั การอา่ นโน้ตเพลงไทยท่ี 6 5.7 แบบฝกึ หัดการอ่านโนต้ เพลงไทยท่ี 7 6. อา่ นโน้ตแขกบรเทศ ชนั้ เดยี ว ชดุ กิจกรรมเสริมทักษะการปฏบิ ัตซิ อด้วง ทั้ง 10 ชุดกิจกรรมประกอบด้วย คําชแี้ จง ใบความรู้ ใบงาน แบบฝึกหัดการอ่านโน้ตเพลงไทย แบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียน จํานวน 10 ชวั่ โมง 4. นําชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านโน้ตเพลงไทยที่สร้างขึ้นเสนอต่ออาจารย์ที่ ปรึกษาเพื่อตรวจสอบความ สอดคลอ้ งของเนอ้ื หา และปรบั ปรงุ ตามคาํ แนะนาํ 5. นําชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านโน้ตเพลงไทย ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเสนอต่อ ผู้เชี่ยวชาญ ด้านวัดผล ตรวจสอบความสอดคล้องระหว่างจุดประสงค์การเรียนรู้กบั พฤตกิ รรมทีต่ ้องการ วัดความชัดเจน ของเนื้อหาและความถูกต้องด้านภาษาและนําข้อมูลที่รวบรวมจากความคิดเห็น ของผู้เชี่ยวชาญมาคํานวณหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) โดยใช้ดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item Objective Congruence) ซึ่งมีค่าเท่ากับ 0.5 ขึ้นไปถือว่ามีความสอดคล้อง อยใู่ นเกณฑท์ ี่ยอมรบั ได้ โดยกาํ หนด เกณฑ์การพิจารณาดังนี้ +1 หมายถึง แน่ใจวา่ ขอ้ คําถามมคี วามสอดคล้องกับจุดประสงคท์ ่ีวัด 0 หมายถงึ ไม่แน่ใจว่าข้อคําถามมีความสอดคลอ้ งกบั จุดประสงค์ทวี่ ดั -1 หมายถงึ แนใ่ จว่าข้อคําถาม ไมม่ ีความสอดคลอ้ งกบั จดุ ประสงคท์ วี่ ดั 6. นําชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านโน้ตเพลงไทยที่ผ่านการปรับปรุงตามความเห็น ของผ้เู ชี่ยวชาญแลว้ ไปใช้กับนักเรยี นกลุ่มเป้าหมาย 3.3.2 แบบประเมินการอา่ นโนต้ เพลงไทย 1. ผู้วิจัยได้ศึกษาค้นคว้า เอกสาร หนังสือ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้เป็นข้อมูล และแนวทางในการสร้างแบบประเมนิ ทกั ษะในการเลน่ ซอดว้ งโดยการเรียนรแู้ บบร่วมมือ 2. กําหนดเกณฑ์ในการให้คะแนน เนื้อหาที่จะวัด และเลือกรูปแบบเครื่องมือที่จะประเมิน ในแตล่ ะชุดกจิ กรรม

36 3. การกําหนดเกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมินทักษะการปฏิบัติทั้ง 10 ชุดกิจกรรม โดย แบ่งออกเป็น 2 ระดับ โดยมีกําหนดการให้คะแนน เป็นมาตรวดั โดยมีเกณฑใ์ นการใหร้ ะดบั คะแนน ดงั นี้ ดังน้ี รายการประเมิน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน เกณฑการประเมนิ ผล 1. อ่านโนต้ ถกู ต้องตามจงั หวะเพลง 2 หมายถึง ถูกตอ้ ง 2. อ่านทำนองถูกต้อง 1 หมายถงึ ผิดบางสว่ น 0 หมายถงึ ผดิ มาก 3. เทคนคิ ทักษะในการอา่ น 2 หมายถงึ ถูกต้อง 8 – 10 คะแนน หมายถงึ ดี 4. ความถกู ต้องของจังหวะ 1 หมายถงึ ผิดบางส่วน 5 – 7 คะแนน หมายถึง พอใช้ 0 หมายถึง ไม่ถูก 0 – 4 คะแนน หมายถงึ ปรบั ปรงุ 2 หมายถงึ มาก 5. ความไพเราะของการอ่านโน้ตเพลง 1 หมายถึง ปานกลาง 0 หมายถงึ นอ้ ย และกาํ หนดเกณฑใ์ นการแปลความหมายดังนี้ 2 หมายถึง อ่านโนต้ ถูกต้องตามจังหวะเพลงถูกต้องถูกต้อง 1 หมายถงึ อา่ นโน้ตถกู ตอ้ งตามจงั หวะเพลงผดิ บางส่วน 0 หมายถึง อ่านโน้ตถูกต้องตามจงั หวะเพลงผดิ มาก 2 หมายถงึ เทคนคิ ทักษะในการอ่านและความถกู ต้องของจังหวะถูกต้อง 1 หมายถงึ ทักษะในการบรรเลงและความถกู ต้องของจงั หวะผิดบางส่วน 0 หมายถงึ เทคนิค ทักษะในการอ่านและความถูกต้องของจงั หวะไม่ถูก 2 หมายถึง ความไพเราะของการอ่านโน้ตเพลงมาก 1 หมายถงึ ความไพเราะของการอ่านโนต้ เพลงปานกลาง 0 หมายถึง ความไพเราะของการอ่านโน้ตเพลงนอ้ ย 4.นําแบบประเมินทักษะการอ่านโน้ตเพลงไทยที่สร้างขึ้นเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาเพ่ือ ตรวจสอบความสอดคลอ้ งของเนือ้ หา และปรบั ปรุงตามคาํ แนะนํา 5.นําแบบประเมินทักษะการอ่านโน้ตเพลงไทยที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเสนอต่อผู้เชี่ยวชา ญด้านวัดผล ตรวจสอบความสอดคล้องระหว่างจุดประสงค์การเรียนรู้กับพฤติกรรมที่ต้องการวัดความชัดเจน ของเนื้อหาและความถูกต้องด้านภาษาและนําข้อมูลที่รวบรวมจากความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ มา คาํ นวณหาคา่ ดัชนีความสอดคล้อง (IOC) โดยใช้ดัชนคี วามสอดคล้อง (Index of Item Objective - Congruence) ซง่ึ มีค่าเท่ากับ 0.5 ข้นึ ไปถือวา่ มคี วามสอดคลอ้ งอยใู่ นเกณฑท์ ย่ี อมรบั ได้ โดยกาํ หนด

37 เกณฑ์การพิจารณาดงั นี้ +1 หมายถงึ แนใ่ จวา่ ขอ้ คําถามมคี วามสอดคลอ้ งกบั จดุ ประสงคท์ ่ีวัด 0 หมายถึง ไม่แน่ใจว่าข้อคาํ ถามมคี วามสอดคลอ้ งกับจดุ ประสงคท์ ว่ี ัด -1 หมายถึง แน่ใจวา่ ขอ้ คาํ ถาม ไมม่ ีความสอดคลอ้ งกับจุดประสงค์ทว่ี ดั 3.3.3 แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนทีม่ ตี ่อชดุ กิจกรรม 1. ผู้วิจัยได้ศึกษาค้นคว้าเอกสาร งานวิจัย บทความและตําราต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง กับความพึงพอใจ และวิธีการสร้างแบบวัดความพึงพอใจ เพื่อรวบรวมความรู้แนวคิดทฤษฎีมากําหนด ขอบเขตการศึกษาทเี่ กย่ี วข้อง 2. นําข้อมูลที่ได้จากการศึกษามาสร้างแบบวัดความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อชุดกิจกรรม เพ่อื ส่งเสรมิ ทักษะการอา่ นโน้ตเพลงไทย ลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณคา่ (Rating Scale) ตาม วธิ ขี องลิเคิร์ท (Likert) ซึง่ มี 5 ระดบั กําหนดค่าน้ำหนักของความพึงพอใจไว้ดงั น้ี 5 หมายถึง มคี วามพงึ พอใจมากทสี่ ดุ 4 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจมาก 3 หมายถึง มีความพึงพอใจปานกลาง 2 หมายถึง มีความพึงพอใจนอ้ ย 1 หมายถึง มคี วามพึงพอใจนอ้ ยทีส่ ดุ ใชเ้ กณฑ์ในการแปลความหมาย ดงั นี้ 4.50 - 5.00 หมายถึงมีความพงึ พอใจอยู่ในระดับมากท่ีสุด 3.50 - 4.49 หมายถึง มีความพึงพอใจอยใู่ นระดบั มาก 2.50 - 3.49 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจอยใู่ นระดบั ปานกลาง 1.50 – 2.49 หมายถงึ มีความพงึ พอใจอยู่ในระดบั น้อย 1.00 - 1.49 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจอยใู่ นระดบั น้อยทสี่ ุด 3. นาํ แบบสอบถามความพึงพอใจ ชดุ กจิ กรรมเพ่ือส่งเสริมทักษะการอ่านโน้ตเพลงไทยสําหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่สร้างขึ้นเสนอต่อ อาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อพิจารณา ความชัดเจนของ คําถาม รวมถงึ ความถกู ต้องด้านภาษา และปรับปรงุ ตามคําแนะนํา 4. นําแบบแบบสอบถามความพึงพอใจจากชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านโน้ตเพลงไทยซอด้วง สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น เสนอต่อผู้เชี่ยวชาญ ตรวจให้คะแนน ความ สอดคล้องระหวา่ งหวั ข้อการประเมนิ กบั พฤตกิ รรมทจ่ี ะ วดั และนําขอ้ มลู ทีร่ วบรวมจากความคิดเห็นของ ผู้เชี่ยวชาญมาคํานวณหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item Objective - Congruence หรือ IOC) ซึ่งมีค่าเท่ากับ 0.5 ขึ้นไปถือว่ามีความสอดคล้อง อยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้โดยกําหนดเกณฑ์การ พจิ ารณาดังนี้

38 +1 หมายถึง แน่ใจว่าขอ้ คําถามมคี วามสอดคลอ้ งกบั จุดประสงค์ทีว่ ดั 0 หมายถึง ไมแ่ น่ใจว่าขอ้ คาํ ถามมีความสอดคลอ้ งกับจดุ ประสงคท์ ว่ี ัด -1 หมายถึง แน่ใจวา่ ขอ้ คาํ ถาม ไม่มคี วามสอดคล้องกับจดุ ประสงค์ที่วัด 5. นาํ แบบสอบถามความพึงพอใจไปปรบั ปรงุ แก้ไขแล้วใชก้ ับนักเรียนกล่มุ เปา้ หมาย 3.4 การเก็บรวบรวมขอ้ มลู งานวิจัยนี้เป็นการทดสอบพัฒนาการของกลุ่มเป้าหมายในการใช้ชุดกิจกรรม โดยการเรียนรู้ แบบรว่ มมือเพอื่ ส่งเสรมิ ทักษะการเล่นซอดว้ งโดย มขี น้ั ตอนการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ดงั น้ี 3.4.1 ชี้แจงให้นักเรียนกลุ่มเป้าหมายทราบถึงกําหนดการเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมพัฒนา การเลน่ ซอด้วงท้ัง 8 ชุดกิจกรรม 3.4.2 เตรียมอุปกรณ์ทกุ ครง้ั ในการอา่ นโน้ต 3.4.3 ครูผู้สอนทดสอบความสามารถการอ่านโน้ตเพลงไทยของนักเรียนเป็นรายบุคคล หลงั จากนั้นครู นําคะแนนความสามารถมาจัดเปน็ กลมุ่ โดยคละความสามารถ 3.4.4 ผู้สอนปฏิบัติการอ่านโน้ตเพลงไทยให้นักเรียนดูหลังจากนั้นครูเริ่มสอนไปตามชุด กิจกรรมท้ัง 8 ชุดกิจกรรม จํานวน 8 ชั่วโมง โดยแต่ละกิจกรรมครูผู้สอนจะสังเกตและบันทึกพฤติกรรม การ เรียนรู้ของนักเรียนระหว่างการปฏิบัติการการอ่านโน้ตเพลงไทย และให้นักเรียนอ่านโน้ตเพลงไทย ดังนี้ 1 ชดุ กิจกรรม ใชร้ ะยะเวลาในการจัดการเรยี นรู้ 1 ช่วั โมง ในแต่ละชดุ กิจกรรมเพื่อสง่ เสริมทักษะการอ่านโน้ตเพลงไทยสลบั กันไปเพื่อชว่ ยในการเรียนการ อา่ นโน้ตเพลงไทยใหแ้ ก่นักเรียนทัง้ นี้ครูผูส้ อนจะชว่ ยเหลอื และให้คําแนะนําทุก ๆ ขั้นตอนในแต่ละชั่วโมง หรือ ในแต่ละกิจกรรมครูผู้สอนจะสังเกตและบันทึกคะแนนพฤติกรรม ในแต่ละชุดกิจกรมครูผูส้ อนจะมี การประเมินความสามารถการอ่านโน้ตเพลงไทยเป็นกลุ่ม และในการอ่านโน้ตเพลงไทยเป็นกลุ่ม ก็จะนํามา พิจารณาเป็นรายบคุ คลเพ่อื ดูพัฒนาการของนักเรยี นเป็นรายบุคคลดว้ ย 3.4.5 หลงั จากสอนเสรจ็ ทกุ ๆ คร้ังครูผู้สอนสรุปเรือ่ งทเ่ี รยี นและใหน้ ักเรียนแสดงความคิดเหน็ 3.4.6 ให้นกั เรียนทําแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการอ่านโน้ตเพลงไทย 3.4.7 นาํ ขอ้ มลู ท่เี ก็บรวบรวมท้ังหมดเพอื่ ไป สรปุ และวเิ คราะห์โดยใชส้ ถิติ 3.5 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู การวิเคราะหข์ ้อมลู ที่ไดจ้ ากการดาํ เนินการเก็บรวบรวมข้อมูล ผ้วู ิจยั ได้ทําการวิเคราะห์ และเปรยี บเทียบ ข้อมลู โดยใชโ้ ปรแกรมทางสถิติสาํ เร็จรูป ดงั นี้ 3.5.1 วิเคราะห์คะแนนความสามารจากการอ่านโน้ตเพลงไทยวิเคราะห์ข้อมูล โดยการหาค่า ร้อยละ (Percentage) และค่าเฉลย่ี (Mean) 3.5.2 วิเคราะห์คะแนนพฤติกรรมกลุ่มจากการอ่านโน้ตเพลงไทยโดยใช้ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลยี่ (Mean)

39 3.5.3 วิเคราะห์ คะแนนแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อชุดกิจกรรม การอ่านโน้ตเพลงไทย สําหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (Standard Deviation) 3.6 สถิตทิ ่ใี ช้ในการวเิ คราะหข์ อ้ มูล ในการวจิ ัยครัง้ น้ใี ชส้ ถติ เิ พอ่ื การวเิ คราะห์ข้อมลู ดังนี้ 3.6.1) คา่ เฉลย่ี จากสูตร ̅x = ∑ x n เมอ่ื x̅ แทน คา่ คะแนนเฉลี่ย ∑ x แทน ผลรวมของคะแนนทง้ั หมด n แทน จำนวนนักเรยี นในกลมุ่ ทดลอง 3.6.2) ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน จากสูตร S.D.= √∑(n(x−−1x̅)) S.D. แทน คา่ สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน X แทน ขอ้ มลู แต่ละจำนวน x̅ แทน คา่ เฉลี่ยของขอ้ มลู ในชุดนั้น n แทน จำนวนข้อมลู จากกลมุ่ ทดลอง 3.6.3) สถติ ิหาคณุ ภาพของเคร่อื งมือ 3.6.3.1) คา่ ความเทย่ี งตรงตามเน้ือหา จากสูตร ioc = ∑ r เมือ่ n ioc แทน ค่าความเหมาะสมของเน้ือหา ∑ r แทน ผลรวมของคะแนนความคิดเห็น จากผเู้ ช่ียวชาญ n แทน จำนวนผ้เู ชี่ยวชาญ โดยกำหนดเกณฑ์การพิจารณา ดังนี้ +1 เม่ือแนใ่ จว่าเน้อื หามีความเหมาะสม 0 เมอื่ ไมแ่ นใ่ จว่าเนื้อหามคี วามเหมาะสม -1 เมื่อไมแ่ นใ่ จวา่ เน้อื หาไม่มีความเหมาะสม เกณฑ์คา่ ioc แตล่ ะขอ้ ต้องมากกว่าหรอื เทา่ กับ .05

40 3.6.4 การหาคา่ ร้อยละ (Percentage) จากสตู ร P แทน F X 100 N เม่ือ P แทน คา่ ร้อยละ F แทน จำนวนหรอื ความถีท่ ่ตี อ้ งการหาคา่ ร้อยละ N แทน จำนวนข้อมลู ทัง้ หมด

41 บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู งานวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมาย เพื่อพัฒนาชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านโน้ตเพลงไทย สําหรบั นกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 5 ทกี่ ำลงั ศกึ ษาในภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 โรงเรียนอนุบาล ยโสธร อำเภอเมืองยโสธร จังหวดั ยโสธร เพือ่ ศึกษาดชั นปี ระสิทธภิ าพของชดุ กิจกรรมเพ่ือส่งเสริมทักษะ การอา่ นโน้ตเพลงไทย สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 5 ที่กำลงั ศกึ ษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564โรงเรียนอนุบาลยโสธร อำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร 75/75 และเพื่อศึกษาความพึงพอใจของ นักเรียนต่อการใช้ชุดกิจกรรมเพื่อ ส่งเสริมทักษะการอ่านโน้ตเพลงไทย กลุ่มตัวอย่างในงานวิจัยเป็น นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ โรงเรียนอนุบาลยโสธรที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาชุมนุมดนตรีไทย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 31 คน ผู้วิจัยขอนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จาก งานวิจยั ตามลำดบั ดงั น้ี ผลการหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านโน้ตเพลงไทย สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาชั้นปีที่ 5 โรงเรียนอนุบาลยโสธร ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ มาตรฐาน 75/75 ผลการศึกษาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน ด้วยชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านโน้ตเพลงไทย สาํ หรับนักเรยี นชัน้ ประถมศึกษาชั้นปีที่ 5 โรงเรียนอนบุ าลยโสธร ผลการหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสรมิ ทักษะการอา่ นโน้ตเพลงไทยสําหรบั นักเรยี นช้นั ประถมศกึ ษาช้นั ปีที่ 5 โรงเรียนอนุบาลยโสธร ที่มีประสิทธภิ าพตามเกณฑม์ าตรฐาน 75/75 การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านโน้ตเพลงไทย สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาชั้นปีที่ 5 โรงเรียนอนุบาลยโสธรที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 75/75ผูว้ จิ ยั ไดด้ ำเนินการวเิ คราะหข์ อ้ มูลจากคะแนนทนี่ กั เรยี นได้ทำแบบทดสอบทา้ ยหน่วยการเรยี นรู้ เพือ่ หาประสทิ ธิภาพตัวแรก ( E1 ) และคะแนนประเมินหลงั เรยี นที่นักเรยี นทำแบบทดสอบวัดผล สมั ฤทธ์ิทางการเรยี น เรื่องการอา่ นโน้ตดนตรไี ทย มาวเิ คราะห์ ( E2 ) ซ่ึงปรากฏผลดังน้ี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook