Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore report

report

Published by bota_fon08, 2019-06-12 08:02:30

Description: report

Search

Read the Text Version

147 2. โครงการพฒั นาการจัดกระบวนการเรยี นรสู้ าหรับศึกษานเิ ทศก์ หลกั การและเหตุผล กำรพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำเป็นบทบำทสำคัญที่ผู้บริหำร ศึกษำนิเทศก์ และครู ต้องเร่ง สรำ้ งควำมรู้ ควำมเข้ำใจร่วมกนั ดว้ ยเหตุนี้ หน่วยศึกษำนเิ ทศก์จงึ ได้จัดใหม้ ีโครงกำรพฒั นำกำรจัดกระบวนกำร เรียนรู้สำหรับศึกษำนิเทศก์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ทำหน้ำท่ีนิเทศของสำนักงำน กศน.จังหวัดนำควำมรู้ และทักษะท่ีได้รับไปใช้ในกำรพัฒนำงำนกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัยอย่ำงมีประสิท ธิภำพ สอดคล้องกับทกั ษะทจ่ี ำเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 เพอ่ื ยกระดับคณุ ภำพงำน กศน. ในอนำคตตอ่ ไป วัตถุประสงค์ 1. เพอื่ เพิม่ พนู องคค์ วำมร้ใู นเชงิ วชิ ำกำรแกศ่ ึกษำนิเทศก์ 2. เพอื่ ให้ศึกษำนเิ ทศกน์ ำควำมรทู้ ่ไี ดร้ บั ไปใช้ในกำรอบรมพฒั นำครู กศน. ในพ้ืนที่ 3. เพ่อื ใหศ้ กึ ษำนิเทศกม์ ีทักษะในกำรรำยงำนผลกำรปฏบิ ัติกำรนิเทศตำมนโยบำยจุดเน้นของ สำนกั งำน กศน. ได้อยำ่ งชัดเจนและมีประสิทธิภำพ ผลการดาเนนิ งาน หนว่ ยศึกษำนิเทศก์ดำเนินกำรจัดอบรมปฏิบัติกำรโครงกำรพัฒนำกำรจัดกระบวนกำรเรียนรู้ สำหรับศกึ ษำนเิ ทศก์ ปงี บประมำณ 2561 จำนวน 2 หลกั สูตร โดยสรปุ ผลโครงกำรได้ดงั นี้ หลักสูตรที่ 1 กำรนิเทศแบบมืออำชีพในศตวรรษท่ี 21 จัดอบรมระหว่ำงวันท่ี 19 – 21 มีนำคม 2561 ณ โรงแรมดไิ อเดิล เซอรว์ ิส เรสซิเดนท์ จงั หวดั ปทุมธำนี โดยมสี ำระสำคญั ประกอบดว้ ย 1. กลุ่มเป้ำหมำยผู้เข้ำรับกำรอบรม ประกอบด้วย ศึกษำนิเทศก์ส่วนกลำง จำนวน 2 คน ศึกษำนิเทศก์สำนักงำน กศน.จังหวัด จำนวน 59 คน รองผู้อำนวยกำรสำนักงำน กศน.จังหวัดที่ไม่มี ศึกษำนเิ ทศก์หรอื ผู้แทน จำนวน 36 คน ผทู้ ่เี กี่ยวขอ้ ง จำนวน 20 คน รวมทั้งสิ้น 117 คน 2. รูปแบบกำรอบรม เป็นกำรบรรยำยโดยวิทยำกรจำกภำครัฐและเอกชน และฝึกปฏิบัติ ใน 3 เรอ่ื งหลกั ดงั น้ี 2.1 กำรสร้ำงทีมงำน เพ่ือเพิ่มทักษะกระบวนกำรเรียนรู้เชิงกิจกรรมและกำรทำงำน เป็นทีมซ่ึงสมำชิกต้องมีควำมเข้ำใจในบทบำทหน้ำที่ของตนเอง ร่วมมือ ร่วมใจ ร่วมคิดวิเครำะห์ปัญหำ อปุ สรรคและหำแนวทำงแกไ้ ข เพ่อื ไปสูก่ ำรบรรลุเป้ำหมำยสงู สุดของกำรดำเนนิ งำน โดยเน้นทัศนคติเชิงบวก โดยวิทยำกร คือ 1. นำยพันธบุณย์ ทองสังข์ ผู้เชี่ยวชำญด้ำน Human Resource Development และ 2. นำยศักดำ ภมู ิพันธ์ ผเู้ ช่ียวชำญดำ้ น Organization Development 2.2 กำรพัฒนำวิชำชีพโดยกระบวนกำร PLC (Professional Learning Community) เพ่ือสร้ำงกำรรับรู้นโยบำยของกระทรวงศึกษำธิกำรในกำรขับเคล่ือนกระบวนกำรสร้ำงชุมชนกำรเรียนรู้ ทำงวิชำชีพ (PLC) สู่สถำนศึกษำเพื่อนำสู่กำรปฏิบัติ ซ่ึงครูจะเป็นผู้ออกแบบกำรเรียนรู้ ผู้สอนแนะ (Coach) และผู้อำนวยควำมสะดวกในกำรเรียนรู้ให้กบั ผ้เู รยี น โดยใชป้ ัญหำของผู้เรยี นเป็นฐำน โดยวิทยำกร คือ 1. ดร.เกศทิพย์ ศุภวำนิช ผู้อำนวยกำรสำนักติดตำมและ ประเมินผลกำรจัดกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน และ 2. นำงสำวกริษฐำ หลิวจันทร์พัฒนำ คณะทำงำน ทำ่ นรฐั มนตรวี ำ่ กำรกระทรวงศกึ ษำธกิ ำร

148 2.3 รำยงำนอยำ่ งไรให้เกดิ ประสิทธิผล (Presentation Workshop) 2.3.1 หลักกำรและขั้นตอนในกำรนำเสนอแบบมืออำชีพ 3 ขั้นตอน คือ 1) คิดวำงแผน เรื่องท่ีจะนำเสนอ 2) กำรเตรียมควำมพร้อม/ Presentation Slide และ 3) กำรพูดเพ่ือโน้มน้ำวผู้ฟัง ซึง่ ต้องวเิ ครำะห์กล่มุ ผฟู้ งั ใหม้ ีควำมนำ่ สนใจ ซ่ึงหวั ใจคอื เรือ่ งทน่ี ำเสนอเป็นสงิ่ ที่ผู้ฟงั จะไดป้ ระโยชน์ 2.3.2 กำรสร้ำงและนำเสนอภำพลักษณ์ เพ่ือให้เกิดควำมเช่ือถือศรัทธำ ได้แก่ กำรพัฒนำบุคลกิ ภำพทเี่ หมำะสมกับบทบำทหน้ำท่กี ำรเป็นขำ้ รำชกำรครู โดยวิทยำกร คือ ดร.ศิริรัตน์ โกศกำริกำ อำจำรย์ประจำภำควิชำกำรตลำด คณะบรหิ ำรธรุ กจิ มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ วิทยำเขตบำงเขน 3. ระยะเวลำในกำรอบรม 3 วนั ระหว่ำงวันท่ี 19 – 21 มีนำคม 2561 4. สรุปผลกำรดำเนนิ งำน 4.1 ศึกษำนิเทศก์มีควำมรู้ ควำมเข้ำใจ และสำมำรถนำควำมรู้ท่ีได้รับไปประยุกต์ใช้ และแนะนำให้ควำมรู้แก่ครู กศน. ในกำรพัฒนำงำนกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัยอย่ำงมี ประสทิ ธิภำพสอดคล้องกับทกั ษะท่ีจำเปน็ ในศตวรรษที่ 21 4.2 สำหรับจังหวัดท่ีไม่มีศึกษำนิเทศก์ มีรองผู้อำนวยกำรสำนักงำน กศน.จังหวัดท่ีไม่มี ศึกษำนิเทศก์ ข้ำรำชกำรครู และบุคลำกรของสถำนศึกษำ ได้นำควำมรู้ไปขับเคล่ือนกำรจัดกำรศึกษำของครู ให้มคี ุณภำพต่อไป ท้ังนี้ หน่วยศึกษำนิเทศก์ได้ประเมินควำมรู้ กำรทดสอบก่อนและหลังกำรอบรม โดยใช้ แบบทดสอบ จำนวน 15 ข้อ คะแนนเต็ม 15 คะแนน พบว่ำ ก่อนกำรอบรม จำนวนผู้ทำแบบทดสอบ รวมทงั้ สนิ้ 97 คน มผี สู้ อบผำ่ นรวม 28 คน โดยผู้ที่ได้คะแนนมำกที่สุด มีจำนวน 1 คน สอบได้ 10 คะแนน และผู้ที่สอบไดค้ ะแนนต่ำสดุ มจี ำนวน 4 คน สอบได้ 2 คะแนน และหลังกำรอบรม จำนวนผู้ทำแบบทดสอบ รวมท้ังสิ้น 94 คน ผลกำรทดสอบพบว่ำมีผู้สอบได้คะแนนต่ำสุด 7 คะแนน มีจำนวน 1 คน และสอบได้ คะแนนสูงสุด 14 คะแนน มีจำนวน 23 คน ผลกำรประเมินควำมรู้ก่อนกำรอบรมและหลังกำรอบรม แสดงให้เห็นว่ำผู้เข้ำอบรมหลังได้รับควำมรู้จำกกำรบรรยำย ฝึกปฏิบัติ และกำรแลกเปลี่ยนประสบกำรณ์ ทำให้มคี วำมรูค้ วำมเข้ำใจเพมิ่ ขนึ้ จำกกำรประเมินควำมพึงพอใจกำรดำเนินงำนโครงกำร โดยใช้แบบสำรวจควำมพึงพอใจ เพื่อสำรวจควำมคิดเห็นจำกผู้เข้ำรับกำรอบรมทั้งหมด พบว่ำ ผู้เข้ำรับกำรอบรมมีควำมพึงพอใจเร่ืองกำร รำยงำนอย่ำงไรให้เกิดประสิทธิผล Presentation Workshop ในระดับมำกท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 50 มีควำม พึงพอใจเร่ือง PLC และกำรสร้ำงทีมงำนในระดับมำก และมีควำมเห็นว่ำกำรอบรมครั้งนี้มีควำมสอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ ในระดับมำก คิดเป็นร้อยละ 52 ท้ังน้ีมีควำมมุ่งหวังว่ำจะสำมำรถนำควำมรู้และประสบกำรณ์ ที่ไดร้ บั ไปพฒั นำงำนไดใ้ นระดบั มำก คดิ เป็นร้อยละ 55 สำหรับควำมคิดเห็นผู้เข้ำรับกำรอบรมที่มีต่อโครงกำร พบว่ำ มีผู้นำเสนอข้อคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ เช่น ควรเพิ่มระยะเวลำในกำรฝึกอบรม และควรเพิ่มรูปแบบ กำรศกึ ษำดูงำนภำคสนำม เพ่ือจะไดร้ บั ประสบกำรณเ์ ชิงประจักษ์มำกขนึ้ จำกผ้รู ูใ้ นพ้ืนที่ เปน็ ต้น

149 หลักสูตรที่ 2 กำรพัฒนำทักษะกำรเขียนรำยงำนผลกำรนิเทศเชิงคุณภำพ จัดอบรมระหว่ำง วันที่ ระหว่ำงวันท่ี 23 – 24 สิงหำคม 2561 ณ หอ้ งประชุมบรรจง ชสู กลุ ชำติ ช้ัน 6 สำนักงำน กศน. โดยมี สำระสำคญั ประกอบด้วย 1. กลุ่มเป้ำหมำยผู้เข้ำรับกำรอบรม ประกอบด้วย รองผู้อำนวยกำรสำนักงำน กศน.จังหวัด จำนวน 6 คน ผู้แทนสถำบัน กศน.ภำค จำนวน 6 คน ศึกษำนิเทศก์สำนักงำน กศน.จังหวัด จำนวน 10 คน วิทยำกรและเจำ้ หน้ำทีท่ ่ีเก่ยี วขอ้ ง จำนวน 10 คน รวมทงั้ สิน้ 32 คน 2. รปู แบบกำรอบรม เป็นกำรบรรยำยโดยวทิ ยำกรและฝึกปฏิบัตใิ น 3 เรื่อง ดังนี้ 2.1 กำรตรวจสอบงำนลงทะเบยี นนักศกึ ษำดว้ ยโปรแกรม ITW51 และกำรใช้งำนระบบ สำรสนเทศเพ่ือกำรบริหำรจัดกำร (MIS) ซึ่งเป็นระบบสำรสนเทศในภำพรวมของสำนักงำน กศน. และระบบ ฐำนข้อมูลเพ่ือกำรบริหำรจัดกำร สำนักงำน กศน. (DMIS) ซึ่งเป็นระบบกำรรำยงำนผลกำรปฏิบัติงำน ของ กศน.ตำบล ซ่ึงต้องรำยงำนตำมแผนทุกเดือน เพ่ือสร้ำงควำมเข้ำใจรูปแบบข้อมูลสำรสนเทศของ สำนักงำน กศน. และกำรนำมำใชใ้ นกำรพัฒนำงำนและประกอบกำรรำยงำนผลกำรนิเทศให้เกิดประสิทธิภำพ เกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ ต่อประชำชนกลุ่มเป้ำหมำย โดยวิทยำกร คือ นำยกษิพัฒ ภูลังกำ หัวหน้ำกลุ่มงำนพัฒนำระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศ กลมุ่ แผนงำน 2.2 เทคนิคกำรเขียนรำยงำนผลกำรนิเทศเชิงคุณภำพ เพ่ือสร้ำงควำมรู้ ควำมเข้ำใจ ในกำรเขียนรำยงำนกำรนิเทศ รูปแบบกำรรำยงำนผล กำรใช้ภำษำ ตลอดจนวิธีกำรนำเสนอ เพ่ือให้ผู้บริหำร รับทรำบขอ้ มูลและใชเ้ ปน็ แนวทำงสำหรบั นำไปพฒั นำและวำงแผนกำรปฏิบตั ิงำนได้อย่ำงมีคุณภำพ โดยวิทยำกร คือ ดร.ศรสี วำ่ ง เล้ียววำริณ อดตี หวั หน้ำหนว่ ยศึกษำนิเทศก์ 2.3 วิธีกำรนำเสนอข้อมูลเชิงปริมำณในรำยงำนกำรนิเทศ เพ่ือสร้ำงควำมรู้ควำมเข้ำใจ ในหลักกำรและวิธีกำรรำยงำนผลกำรวิเครำะห์ข้อมูลเชิงปริมำณ กำรอธิบำยค่ำสถิติ และกำรแปลผลข้อมูล ซึง่ จะชว่ ยใหผ้ ู้กำหนดนโยบำยสำมำรถตัดสนิ ใจ แกไ้ ขปัญหำอุปสรรคหรอื พัฒนำงำนใหด้ ียิง่ ขน้ึ โดยวิทยำกร คอื นำงสำวสวุ รรณำ ลอ่ งประเสรฐิ อดตี ศกึ ษำนิเทศกเ์ ชี่ยวชำญ 3. ระยะเวลำในกำรอบรม 2 วัน ระหวำ่ งวนั ที่ 23 – 24 สิงหำคม 2561 4. สรุปผลกำรดำเนินงำน ซึ่งจำกกำรกำรประเมินควำมรู้ก่อนกำรอบรมและหลังกำรอบรม พบวำ่ ผ้เู ขำ้ รับกำรอบรมเมื่อได้รับควำมรู้จำกกำรบรรยำย ฝึกปฏิบัติ และกำรแลกเปล่ียนประสบกำรณ์ทำให้ มีควำมรู้ควำมเข้ำใจเพิ่มขึ้น โดยมีผู้เข้ำอบรมที่มีคะแนนหลังกำรอบรมสูงขึ้นกว่ำก่อนกำรอบรม จำนวน 19 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 86.36 จึงสรุปได้วำ่ กำรอบรมครั้งนที้ ำให้ผเู้ ขำ้ รับกำรอบรมมีควำมรู้ ควำมเข้ำใจ และ สำมำรถรำยงำนผลกำรปฏิบตั ิกำรนเิ ทศตำมนโยบำยจุดเน้นของสำนักงำน กศน. ได้อย่ำงถูกต้อง ชัดเจน และ มปี ระสิทธิภำพมำกขนึ้ จำกกำรประเมินควำมพงึ พอใจด้ำนประโยชน์ที่ได้รับจำกกำรอบรม พบว่ำผู้เข้ำรับกำรอบรม มีควำมพึงพอใจอยู่ในระดับมำกทุกเรื่องเรียงตำมลำดับ คือ สำมำรถนำควำมรู้ควำมเข้ำใจจำกกำรอบรม ไปปฏิบัติได้ คิดเป็นร้อยละ 78.95 รองลงมำ มีควำมรู้ควำมเข้ำใจเกี่ยวกับทักษะกำรเขียนรำยงำนผล กำรนิเทศเชงิ คณุ ภำพ คดิ เป็นร้อยละ 73.68 และมีควำมรู้ควำมเข้ำใจเกี่ยวกับกำรนำเสนอข้อมูลเชิงปริมำณ ในรำยงำนกำรนิเทศและมีควำมรู้ควำมเข้ำใจเก่ียวกับเทคนิคกำรเขียนรำยงำนผลกำรนิเทศเชิงคุณภำพ ได้อย่ำงชัดเจน คิดเป็นร้อยละ 68.42 และด้ำนกำรบริหำรจัดกำร พบว่ำ ผู้เข้ำรับกำรอบรมมีควำมพึงพอใจ ในกำรบริหำรจัดกำรของผู้จัดกำรอบรมอยู่ในระดับมำกทุกเรื่อง คือ กำรประสำนงำนและกำรต้อนรับของ คณะทำงำน คิดเป็นร้อยละ 84.21 หน่วยศึกษำนิเทศก์ควรจัดกิจกรรมเช่นนี้อย่ำงต่อเน่ือง คิดเป็นร้อยละ

150 84.21 เอกสำรประกอบกำรประชุมมีประโยชน์ในกำรนำไปปฏิบัติได้ คิดเป็นร้อยละ 78.95 และ กระบวนกำรจัดกิจกรรมมีควำมเหมำะสมคิดเป็นร้อยละ 73.68 โดยมีข้อเสนอแนะให้เพิ่มระยะเวลำในกำร อบรมและเพิ่มจำนวนกลุ่มเป้ำหมำยผู้รับกำรอบรม โดยอบรมให้กับศึกษำนิเทศก์ท่ัวประเทศเพ่ือกำรพัฒนำ ในแนวทำงเดยี วกัน 3. โครงการการจดั ทาหนังสือ “แนวคดิ และแนวทางการนเิ ทศงานการศกึ ษานอกโรงเรยี นในศตวรรษท่ี 21” หลักการและเหตุผล ตำมที่ สำนักงำน กศน. เห็นชอบให้หน่วยงำนในสังกัดสำนักงำน กศน. เสนอหลักสูตร (course) เพ่ือพัฒนำข้ำรำชกำรครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ สำยงำนกำรสอน อันเป็นกำรยกระดับรูปแบบ กำรอบรมพัฒนำครู กศน. อย่ำงเข้ม นั้น เพ่ือให้กำรดำเนินงำนเป็นไปตำมภำรกิจ สอดคล้องกับนโยบำยและ จุดเน้นของสำนักงำน กศน. ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2561 หน่วยศึกษำนิเทศก์จึงได้กำหนดจัดทำยกร่ำง หลักสูตรกำรพัฒนำครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำสำยงำนกำรสอน เพ่ือเสนอหลักสูตรให้สถำบันคุรุพัฒนำ รบั รอง ตำมหลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ำรที่ ก.ค.ศ. และสถำบันครุ ุพัฒนำกำหนด วัตถุประสงค์ เพอื่ สร้ำงหลกั สูตรในกำรพฒั นำครใู หท้ นั กบั กำรเปล่ยี นแปลงของโลกศตวรรษท่ี 21 ผลการดาเนนิ งาน หน่วยศึกษำนิเทศก์ดำเนินกำรจัดประชุมยกร่ำงหลักสูตรกำรพัฒนำข้ำรำชกำรครูและ บุคลำกรทำงกำรศึกษำสำยงำนกำรสอน “หลักสูตรพีแอลซี เสริมชุมชนแห่งกำรเรียนรู้ทำงวิชำชีพ” เม่ือวันที่ 9 เมษำยน 2561 ณ ห้องประชุมอำรยี ์ กลุ ตัณฑ์ ชน้ั 6 อำคำรสำนักงำน กศน. โดยสรปุ ผลโครงกำรไดด้ งั นี้ 1. ประชุมวิเครำะห์และจัดทำยกร่ำงหลักสูตรกำรพัฒนำครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ สำยงำนกำรสอน เพื่อจัดทำหลักสูตรให้ครูท่ีต้องกำรเลื่อนวิทยฐำนะเข้ำรับกำรอบรมพัฒนำ โดยหลักสูตร ดังกล่ำวต้องผ่ำนกระบวนกำรพิจำรณำคุณภำพด้ำนวิชำกำรตำมวิธีที่สถำบันคุรุพัฒนำกำหนด และ เป็นหลกั สตู รท่ีครผู สู้ อนสำมำรถนำไปใช้กับผูเ้ รียนไดจ้ รงิ ซึ่งก่อนจัดทำหลักสูตรต้องสำรวจควำมต้องกำรจำเป็น (Need assessment) ของครูที่เป็นกลุ่มเป้ำหมำย และกำรตั้งช่ือหลักสูตร ต้องระบุ Content Pedagogy และ ระบุช่วงช้ันใหค้ รบถ้วน สำหรบั ขนั้ ตอนกำรจดั ทำหลกั สูตร 2. ร่วมกันพิจำรณำและร่ำงหลักสูตร ซ่ึงได้หลักสูตรเพ่ือเสนอต่อสถำบันคุรุพัฒนำ จำนวน 2 หลกั สูตร คอื 2.1.1 หลักสูตรกำรพัฒนำชุมชนแห่งกำรเรียนรู้ของครู กศน. มืออำชีพเพ่ือทักษะกำรเรียนรู้ ในศตวรรษท่ี 21 (Development of Professional Learning Communites for Non-formal Teacher for Learning Skills in 21st Century) 2.1.2 หลักสูตรกำรวิจัยปฏิบัติกำรในชั้นเรียนและกำรปฏิบัติที่ดี (Classroom Action Research and Best Practice) โดยหลักสูตรดังกล่ำวผ่ำนกำรรับรองจำกคณะกรรมกำรของสำนักงำน กศน. ทั้ง 2 หลักสูตร ท้ังน้ี หน่วยศึกษำนิเทศก์ ซ่ึงเป็นหน่วยอบรมดำเนินกำรจัดอบรมหลักสูตรกำรพัฒนำข้ำรำชกำรครูและ บุคลำกรทำงกำรศึกษำ สำยงำนกำรสอน จะดำเนินกำรจัดอบรมพัฒนำให้กับข้ำรำชกำรครูกลุ่มเป้ำหมำย เพื่อให้บุคลำกรได้นำควำมรู้ที่ได้รับไปพัฒนำต่อยอดควำมรู้ และประสบกำรณ์เพ่ือพัฒนำกำรศึกษำ ใหส้ อดคลอ้ งกบั กลุ่มเป้ำหมำยต่อไป

151 4. โครงการประชมุ ผทู้ าหนา้ ทนี่ เิ ทศของสานกั งาน กศน.จังหวัดท่ไี ม่มศี ึกษานเิ ทศก์ หลกั การและเหตผุ ล สำนักงำน กศน. ได้กำหนดโครงกำรสำคัญท่ีเป็นนโยบำยเร่งด่วนและภำรกิจต่อเน่ือง เพื่อขับเคลื่อนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำประเทศ ในกำรดังกล่ำว หน่วยศึกษำนิเทศก์จึงได้จัดทำโครงกำรประชุม ผู้ทำหน้ำท่ีนิเทศของสำนักงำน กศน.จังหวัดท่ีไม่มีศึกษำนิเทศก์ เพื่อช้ีแจงแนวทำงกำรนิเทศติดตำมผล กำรดำเนินงำน เพ่ือรองรับยุทธศำสตร์และจุดเน้นกำรดำเนินงำนสำนักงำน กศน. ปีงบประมำณ พ.ศ. 2561 และแลกเปลี่ยนประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ ทักษะกำรนิเทศ กศน. ตลอดจนปัญหำและอุปสรรค เพื่อหำแนวทำง กำรดำเนินงำนร่วมกัน พร้อมทัง้ สำมำรถนำควำมร้ทู ไี่ ด้รบั ไปปฏิบัติหน้ำทไี่ ดจ้ ริง วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือแลกเปล่ียนประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ ทักษะกำรนิเทศ กศน. ปัญหำและอุปสรรค เพื่อ หำแนวทำงกำรดำเนินงำนร่วมกนั 2. เพื่อใหผ้ ทู้ ำหนำ้ ที่นิเทศในสำนักงำน กศน.จังหวัดที่ไม่มีศึกษำนิเทศก์มีควำมรู้ ควำมเข้ำใจ ในนโยบำยและจุดเน้นกำรดำเนินงำน สำนักงำน กศน.และของกระทรวงศึกษำธิกำร พร้อมทั้งสำมำรถนำ ควำมรู้ที่ไดร้ บั ไปปฏิบัติหนำ้ ท่ีได้จริง ผลการดาเนินงาน หน่วยศึกษำนิเทศก์ ดำเนินกำรจัดประชุมปฏิบัติกำรโครงกำรประชุมผู้ทำหน้ำท่ีนิเทศ ของสำนักงำน กศน.จังหวัดท่ีไม่มีศึกษำนิเทศก์ ระหว่ำงวันท่ี 29 – 30 มกรำคม 2561 ณ โรงแรมสบำยโฮเทล อำเภอเมือง จังหวัดนครรำชสมี ำ โดยสรปุ ผลโครงกำรไดด้ งั น้ี 1. กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย 1) รองผู้อำนวยกำรสำนักงำน กศน.จังหวัด จำนวน 28 คน 2) ผอู้ ำนวยกำรสถำบัน กศน.ภำค จำนวน 4 คน 3) ผู้อำนวยกำรศูนย์ฝึกและพัฒนำอำชีพรำษฎรไทยบริเวณชำยแดน จำนวน 4 คน 4) รองผู้อำนวยกำรศูนย์ฝึกและพัฒนำอำชีพเกษตรกรรมวัดญำณฯ จำนวน 1 คน 5) ผู้อำนวยกำรสำนักงำน กศน.อำเภอ จำนวน 6 คน 6) นักวิชำกำรศึกษำ จำนวน 1 คน 7) ครู จำนวน 8 คน 8) ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 คน 9) ศึกษำนิเทศก์สำนักงำน กศน.จังหวัด จำนวน 5 คน และ 10) ศึกษำนิเทศก์ส่วนกลำง ขำ้ รำชกำรและเจ้ำหนำ้ ที่ จำนวน 12 คน รวมทง้ั สิ้น 72 คน 2. ขน้ั ตอนการดาเนนิ งาน 2.1 ช้ีแจงวัตถุประสงค์ของกำรประชุมและกรอบแนวทำงกำรนิเทศกำรจัดกิจกรรม กศน. ปีงบประมำณ พ.ศ. 2561 โดย นำงสำววิเลขำ ลีสุวรรณ์ รองเลขำธิกำร กศน. ประธำนในพิธีเปิด กำรประชุม ได้กล่ำวถึงควำมสำคัญและบทบำทของกำรนิเทศที่มีต่อกำรพัฒนำคุณภำพงำน กศน. โดยส่ิงที่ควร ดำเนนิ กำรคอื กำรสร้ำงเครอื ข่ำยกำรนิเทศ ทจี่ ะชว่ ยบรรเทำข้อจำกัดดำ้ นทรพั ยำกรบุคคลกำรนิเทศในปัจจุบัน โดยรองผู้อำนวยกำรสำนักงำน กศน.จังหวัด จะมีบทบำทในกำรนำแผนงำนและยุทธศำสตร์ไปให้ผู้ปฏิบัติ ขบั เคลอ่ื นงำนในพ้ืนท่ีได้ ท้ังนี้ ผู้บริหำรเมื่อทำหน้ำท่ีเป็นผู้นิเทศจะได้ทรำบปัญหำท่ีเกิดขึ้นและสำมำรถแก้ไข ปัญหำได้อย่ำงรวดเร็ว โดยสถำบัน กศน.ภำค ซึ่งเป็นสถำบันทำงวิชำกำรจะเป็นกำลังสำคัญที่จะนำพำ งำนวิชำกำรไปสูก่ ำรปฏิบัติ 1) กำรสร้ำงทีมนิเทศภำยใน ควรให้มีระบบกำรบริหำรจัดกำรภำยในตำบล สร้ำงเครือข่ำยทีมนิเทศ โดยมีครูผู้สอนและครูนิเทศในพ้ืนท่ีนั้นเป็นผู้ปฏิบัติ และให้ชำวบ้ำนมีส่วนร่วมและ ใหช้ ุมชนเปน็ หลกั ในกำรจัดกิจกรรม

152 2) ทมี นิเทศ ต้องสร้ำงเครือข่ำยกำรนิเทศให้ผู้รับบริกำรหรือกลุ่มเป้ำหมำยได้ท่ัวถึง โดยประธำนกลุ่มโซนมีบทบำทสำคัญซึ่งอำจใช้การนิเทศแบบสลับไขว้ข้ามจังหวัด ผู้บริหำรระดับจังหวัด รวมท้ัง ศฝช. ควรให้กำลังใจเพื่อเป็นกำรสร้ำงขวัญและเสริมกำลังใจให้ครูผู้ปฏิบัติงำนในพ้ืนที่ที่ยำกลำบำก มพี ลังในกำรทำงำนมำกย่งิ ข้ึน 3) กำรให้โอกำสผู้ด้อย ผู้ขำด ผู้พลำด จะทำอย่ำงไรให้อัตรำกำรจบกำรศึกษำ เมื่อเทยี บกับจำนวนผสู้ มัครเรียนมีมำกข้ึน 2.2 ช้ีแจงกรอบแนวทำงกำรนิเทศกำรจัดกิจกรรม กศน. ปีงบประมำณ พ.ศ. 2561 : เคร่ืองมือนิเทศ 11 กิจกรรม ซ่ึงมำจำกกำรวิเครำะห์นโยบำยและจุดเน้นของสำนักงำน กศน. ปีงบประมำณ 2561 เพ่อื ให้ผ้เู ข้ำร่วมประชมุ ใช้เป็นแนวทำงในกำรนิเทศงำน กศน. ให้สอดคลอ้ งและบรรลผุ ลอยำ่ งแทจ้ รงิ 2.3 อภิปรำยกำรนิเทศให้เกิดพลัง โดย ดร.กล้ำ สมตระกูล และตัวแทน ผู้อำนวยกำร สถำบัน กศน.ภำค ผู้อำนวยกำรศูนย์ฝึกและพัฒนำอำชีพรำษฎรไทยบริเวณชำยแดน รองผู้อำนวยกำร สำนักงำน กศน.จังหวัดตำก และผู้ทรงคุณวุฒิ (นำงสำวสุวรรณำ ล่องประเสริฐ) ได้ร่วมแลกเปล่ียน ประสบกำรณ์ เพ่ือจุดประกำยให้ท้ังผู้นิเทศและผู้รับกำรนิเทศขับเคลื่อนกำรจัดกิจกรรมด้ำนกำรศึกษำให้เกิด ประสิทธิภำพ ซึ่งได้ข้อสรุปว่ำอำจใช้การนิเทศแบบออนไลน์หรือให้มีกำรบูรณำกำรควำมรู้แบบองค์รวม เน้นการนิเทศแบบทีม โดยให้ดาเนินการร่วมกันระหว่างส่วนกลาง สถาบัน กศน.ภาค ศว. และ ศฝช. ใช้รูปแบบ กำรนิเทศไปสู่ท้องถิ่นหรือภูมิภำค ซึ่งสถำบัน กศน.ภำค เป็นหน่วยงำนทำงวิชำกำรท่ีมีบุคลำกรที่มีควำมรู้ ควำมสำมำรถและมที มี งำนทม่ี ีคณุ ภำพ ทั้งนี้ควรดำเนนิ กำรพัฒนำหรอื ขับเคลื่อนโดยให้ส่วนกลำง จังหวัดและ สถำบัน กศน.ภำคเขำ้ มำมีสว่ นรว่ มในกำรวำงแผนกำรนิเทศ เพ่อื ให้ได้ผลลัพธ์ท่ีสอดคล้องกับสภำพปัญหำและ ควำมต้องกำรที่เกิดขึ้นจริงตำมบริบทในแต่ละพ้ืนที่ ท้ังในด้ำนของกำรนิเทศ กำรจัดกำรเรียนกำรสอน และ กำรบริหำรจัดกำรซ่ึงจะส่งผลให้กำรทำงำนเป็นที่พอใจของทั้งผู้บริหำรและผู้ปฏิบัตินำไปสู่กำรนิเทศ ท่มี คี ณุ ภำพ บรรลุเป้ำหมำยและเพอื่ ใหผ้ เู้ รียนมีคณุ ภำพทำงกำรศึกษำท่ีดขี ้ึน 2.4 กำรแบ่งกลุ่มเพื่อหำแนวทำงกำรประสำนกำรนิเทศเชิงบูรณำกำร เพ่ือนำเสนอ 5 ประเด็นได้แก่ 1) นโยบำยจุดเน้นกำรนิเทศในพ้ืนที่ 2) รูปแบบกำรนิเทศท่ีเหมำะสม 3) กำรนำผลกำรนิเทศไปใช้ ประโยชน์แตล่ ะระดบั 4) แนวทำงกำรเสรมิ พลงั กำรนเิ ทศ 5) ปัจจยั สำคัญในกำรขับเคลื่อนกำรนิเทศงำน กศน. จำกกำรประชุมดังกล่ำว หน่วยศึกษำนิเทศก์ได้ประเมินผล โดยกำรแจกแบบสอบถำมควำม คิดเห็นเกี่ยวกับกำรจัดประชุมก่อนเข้ำประชุม พบว่ำ ผู้เข้ำประชุมมีควำมรู้ควำมเข้ำใจเก่ียวกับกำรนิเทศ ในระดับปำนกลำง มีค่ำเฉล่ียเท่ำกับ 1.95 และมีควำมรู้ควำมเข้ำใจเกี่ยวกับกำรนิเทศกำรศึกษำเพิ่มขึ้น ในระดับมำกหลังจำกเข้ำประชุมแล้ว มีค่ำเฉล่ียเท่ำกับ 2.83 และเห็นว่ำกำรประชุมครั้งน้ีทำให้เกิดควำมรู้ ควำมเข้ำใจเก่ียวกับกำรนิเทศกำรศึกษำได้อย่ำงชัดเจนในระดับมำก มีค่ำเฉลี่ยเท่ำกับ 2.88 รวมทั้งสำมำรถ นำควำมรู้ควำมเข้ำใจจำกกำรประชมุ ไปปฏบิ ัติได้จริงในระดับมำกเช่นกัน มีค่ำเฉลี่ยเท่ำกับ 2.80 จึงสรุปได้ว่ำ ผู้เข้ำร่วมประชุมหลังกำรประชุมมีควำมรู้ ควำมเข้ำใจเก่ียวกับกำรนิเทศกำรศึกษำเพิ่มข้ึน และสำมำรถ ปฏิบตั ิกำรนเิ ทศในพืน้ ทไ่ี ด้ สำหรับข้อเสนอแนะเก่ียวกับกำรประชุมคร้ังนี้ ผู้เข้ำประชุมมีควำมคิดเห็นว่ำควรจัดให้มี กำรประชุมผู้ทำหน้ำที่นิเทศในระดับภำคระหว่ำงผู้นิเทศด้วยกันเพื่อให้กำรนิเทศมีควำมชัดเจนมำกข้ึน เนื่องจำกมีบำงจังหวัดท่ีติดภำรกิจไม่สำมำรถเข้ำร่วมประชุมในครั้งนี้ได้ (จำนวน 10 จังหวัด) และเห็นว่ำ ส่วนกลำงควรจัดให้มีกำรดูงำนและให้ฝึกปฏิบัติกำรภำคสนำมในพ้ืนที่ต้นแบบที่มีกำรนิเทศอย่ำงเข้มแข็ง และ ควรมีกำรพฒั นำอยำ่ งสมำ่ เสมอและต่อเนื่องโดยรวมกล่มุ ศึกษำนิเทศก์และผทู้ ำหน้ำท่นี ิเทศ

153 5. โครงการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลโครงการนาร่องส่งเสริมและพัฒนาทักษะการฟัง - พูด ภาษาไทยเพ่ือการสื่อสารสาหรับผู้ใหญ่บนพื้นที่สูงตามพระราชดาริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี หลกั การและเหตผุ ล สบื เน่ืองจำกกำรที่ สำนกั งำน กศน. ได้ดำเนินกำรโครงกำรส่งเสริมและพัฒนำทักษะกำรฟัง - พูดภำษำไทยเพื่อกำรสอ่ื สำรสำหรับผู้ใหญ่บนพ้ืนทีส่ งู ตำมพระรำชดำรขิ องสมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ สยำม บรมรำชกุมำรี ในปีงบประมำณ พ.ศ. 2560 โดยนำร่องใน 2 อำเภอ คอื อำเภออมกอ๋ ย จังหวัดเชียงใหม่ และ อำเภอท่ำสองยำง จังหวัดตำก น้ัน สำหรับในปีงบประมำณ พ.ศ. 2561 หน่วยศึกษำนิเทศก์ ในฐำนะ หน่วยประสำนงำนกลำงเห็นควรให้มีกำรนิเทศเพื่อติดตำมและประเมินผลโครงกำรนำร่องส่งเสริมและพัฒนำ ทักษะกำรฟัง - พูดภำษำไทยเพ่ือกำรสื่อสำรสำหรับผู้ใหญ่บนพ้ืนท่ีสูงตำมพระรำชดำริของสมเด็จพระเทพ รัตนรำชสดุ ำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี เพื่อใหก้ ำรดำเนนิ งำนเปน็ ไปอยำ่ งมีคณุ ภำพและบรรลุวตั ถปุ ระสงค์ วัตถุประสงค์ เพื่อนิเทศ ติดตำม และประเมินผลโครงกำรนำร่องส่งเสริมและพัฒนำทักษะกำรฟัง - พูด ภำษำไทยเพ่ือกำรส่ือสำรสำหรับผู้ใหญ่บนพื้นที่สูงตำมพระรำชดำริของสมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ สยำมบรมรำชกมุ ำรี ผลการดาเนนิ งาน ในปีงบประมำณ พ.ศ. 2561 หน่วยศึกษำนิเทศก์ดำเนินกำรจัดทำโครงกำรนิเทศ ติดตำม และประเมินผลโครงกำรนำร่องส่งเสริมและพัฒนำทักษะกำรฟัง - พูดภำษำไทยเพ่ือกำรสื่อสำรสำหรับผู้ใหญ่ บนพ้ืนท่ีสูงตำมพระรำชดำริของสมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี เพื่อนิเทศ ติดตำมผล โครงกำรฯ ในพ้ืนท่ีนำร่อง 2 อำเภอ คือ อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่และอำเภอท่ำสองยำง จังหวัดตำก โดยดำเนินกำรดังน้ี 1. การจัดทากรอบการนเิ ทศ ติดตามผล 1.1 วันท่ี 8 พฤษภำคม 2561 ประชุมกำหนดกรอบกำรนิเทศ ติดตำมผล กำรดำเนินงำนโครงกำรนำร่องส่งเสริมและพัฒนำทักษะกำรฟัง พูดภำษำไทยเพื่อกำรส่ือสำรสำหรับผู้ใหญ่ บนพื้นที่สูงในพ้ืนที่โครงกำรพระรำชดำริสมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำ ฯ สยำมบรมรำชกุมำรี ณ ห้องประชุม บรรจง ชูสกุลชำติ ชั้น 6 สำนักงำน กศน. โดยมอบหมำยให้สถำบัน กศน.ภำคเหนือ กำหนดแผนกำรนิเทศ เพือ่ ให้คณะนิเทศส่วนกลำงประสำนกำรนิเทศร่วมกับคณะทำงำนในพ้ืนที่นำร่อง ท้ังนี้ สถำบัน กศน.ภำคเหนือ ได้กำหนดแผนกำรนเิ ทศ ดังน้ี 1) วนั ที่ 9 - 12 กรกฎำคม 2561 ณ พื้นที่ ศศช.บ้ำนห้วยปูหลวง ตำบลยำงเปียง อำเภออมก๋อย จงั หวัดเชยี งใหม่ 2) วันที่ 21 - 24 สิงหำคม 2561 ณ พ้ืนที่ ศศช.บ้ำนเลเคำะ ตำบลแม่หละ อำเภอท่ำสองยำง จังหวัดตำก 1.2 วนั ท่ี 28 – 29 มถิ นุ ำยน 25612 ประชุมจดั ทำรำยละเอียดกำรนิเทศโครงกำร ฯ ณ ห้องประชุมสุนทร สุนันท์ชัย ช้ัน 4 สำนักงำน กศน. เพื่อกำหนดแผนกำรนิเทศ ติดตำมผลเชิงคุณภำพ จัดทำเคร่อื งมอื เพอ่ื ใช้เก็บข้อมูล และจดั เตรยี มขอ้ มลู สำหรับกำรนเิ ทศ ติดตำมผลเชิงคุณภำพ

154 2. การนเิ ทศ ตดิ ตามผลการดาเนินงานโครงการ คณะนิเทศส่วนกลำงได้ดำเนินกำรลงพ้ืนที่นิเทศ ติดตำมผลกำรดำเนินงำนในพ้ืนท่ีนำร่อง โดยใช้รูปแบบกำรพูดคุยกำรสัมภำษณ์กับกลุ่มเป้ำหมำย จำนวน ๒ คร้ัง คือ คร้ังที่ ๑ ณ บ้ำนห้วยปูหลวง ตำบลยำงเปียง อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ และครั้งที่ ๒ ณ บ้ำนเลเคำะ ตำบลแม่หละ อำเภอท่ำสองยำง จังหวัดตำก โดยนิเทศและสัมภำษณ์ สำมำรถสรุปผลกำรนเิ ทศ ติดตำมได้ดังนี้ พนื้ ท่ีนาร่องจังหวดั เชียงใหม่ บ้านห้วยปหู ลวง หมู่ที่ ๔ ตาบลยางเปียง อาเภออมกอ๋ ย จงั หวัดเชยี งใหม่ สภาพโดยท่ัวไป บำ้ นหว้ ยปูหลวง อย่หู ำ่ งจำกอำเภออมก๋อย ๒๘ กโิ ลเมตร ประชำกรเป็นชนเผ่ำกระเหรี่ยง จำนวน ๙๕ ครัวเรือน มีประชำกร ท้ังหมด ๓๔๖ คน แบ่งเป็นชำย จำนวน ๑๘๓ คน และหญิง จำนวน ๑๖๓ คน ดำ้ นกำรศึกษำอยใู่ นควำมรับผดิ ชอบของ ศศช. บำ้ นห้วยปหู ลวง มีผู้เรียนท้ังหมด ๗๒ คน แบ่งเป็น - ระดบั อนบุ ำล จำนวน ๒๙ คน - ระดบั ประถมศกึ ษำ จำนวน ๒๓ คน - ศึกษำหลักสูตร กศน. จำนวน ๒๐ คน แบ่งเป็น ระดับประถมศึกษำ จำนวน ๒ คน ระดับมัธยมศึกษำตอนต้น จำนวน ๖ คน และระดับมัธยมศึกษำตอนปลำย จำนวน ๑๒ คน โดยมี กลุ่มเป้ำหมำยที่พูดและฟังภำษำไทยไมไ่ ด้ จำนวน ๑๗ คน ท้ังนี้ ศศช.บ้ำนห้วยปูหลวง มีครู ๓ คน คือ นำงสำวฐิติกำนต์ บุญหนุน นำงสำว เสำวลักษณ์ ศรีทันต์ และนำงสำวจุฑำรัตน์ พิบูลย์ โดยเข้ำรับกำรอบรมครูตำมโครงกำรส่งเสริมและพัฒนำ ทักษะกำรฟังกำรพูดภำษำไทยเพื่อกำรส่ือสำรสำหรับผู้ใหญ่บนพื้นท่ีสูง ระยะเวลำ ๖ วัน โดยกำรอบรม มีเนอื้ หำดำ้ นควำมรู้ และฝกึ ภำคปฏบิ ัติในพื้นที่ ทำให้ครูมีควำมเข้ำใจ และมน่ั ใจในกำรนำมำปฏบิ ตั ิ กำรปฏิบัติงำนของครู มกี ระบวนกำร ดังนี้ ๑. ศึกษำพฤติกรรม ควำมสนใจ อำชีพของกลุ่มเป้ำหมำยแต่ละบุคคล และจดบันทึก เป็นข้อมูลในกำรชวนพูดคุย และสร้ำงควำมคุ้นเคย ซึ่งจะตอบสนองในเร่ืองท่ีอยู่ในควำมสนใจ และที่สำคัญ ครแู ละตวั ช่วยจะพยำยำมกล่มุ เป้ำหมำยรู้ตัวว่ำตนเปน็ กลุ่มเปำ้ หมำย 2. แบง่ กลุ่มเปำ้ หมำย จำนวน 3 กลมุ่ ตำมประเภทของตัวชว่ ย คอื กลุ่มท่ี ๑ มลี ูกหรอื หลำนทพ่ี กั อยบู่ ำ้ นเดียวกัน และเรยี นท่ี ศศช. กลุ่มที่ ๒ มญี ำติพ่ีนอ้ งท่ีพูดภำษำไทยได้ กลุ่มท่ี ๓ ไมม่ คี นในครอบครัวท่ีพดู ภำษำไทยได้ ในกำรพัฒนำทักษะกำรพูด ฟังภำษำไทยสำหรับกลุ่มเป้ำหมำย ๓ กลุ่ม สำหรับกลุ่ม ที่ ๑ – ๒ ครูจะแนะนำเทคนิค วิธีกำรให้แก่ตัวช่วย กล่ำวคือ 1) เน้นวิธีกำรธรรมชำติ พูดภำษำไทยบ่อย ๆ เม่ืออยู่ในบ้ำน เพ่ือให้เกิดควำมคุ้นชิน 2) ชวนพูดคุยในเรื่องท่ีกลุ่มเป้ำหมำยสนใจ ชวนดูโทรทัศน์ ฟังเสียง ตำมสำย สว่ นกลมุ่ ที่ ๓ ครู ศศช. ดำเนินกำรเองโดยกำรเย่ียมบ้ำนกลุ่มเป้ำหมำย เพื่อชวนพูดคุยในเรื่องท่ีสนใจ และเป็นเร่ืองอยู่ในชีวิตประจำวัน เช่น กำรทำไร่ ปลูกมะเขือเทศ เป็นต้น ซึ่งจำกกำรสรุปของครู ตัวช่วย เป็นผู้ที่มีบทบำทสำคัญที่ทำให้กลุ่มเป้ำหมำยพูด ฟังภำษำไทยได้ นอกจำกน้ี กศน.อำเภออมก๋อยได้จัดทำ สมุดบันทึกกำรสอนกำรจัดกระบวนกำรเรียนรู้ภำษำไทยเพ่ือกำรส่ือสำร (กำรฟังและกำรพูด) สำหรับ กล่มุ เป้ำหมำยบนพื้นที่สูง เพ่ือใช้บันทึกกิจกรรมและผลท่ีได้จำกกำรดำเนินกำรกับกลุ่มเป้ำหมำย โดยครูจะให้ ตัวชว่ ยทีเ่ ปน็ นักเรียนเปน็ ผูบ้ นั ทึก

155 ผลกำรดำเนินงำนจนถึงปัจจุบัน จำกจำนวนผู้เรียนท้ังหมด 17 คน มีกลุ่มเป้ำหมำย ท่สี ำมำรถพูดฟังภำษำไทยได้ จำนวน ๗ คน และจำนวน ๑๐ คนท่คี รูตอ้ งหำวธิ กี ำรในกำรดำเนนิ กำรต่อไป ด้านตัวช่วย ตัวช่วย หมำยถึงอำสำสมัครท่ีเป็นลูก หลำน หรือบุคคลในครอบครัว ของกลุ่มเป้ำหมำยท่ีสำมำรถพูดภำษำไทยได้ จำกกำรสอบถำมตัวช่วยมีควำมต้องกำรที่จะให้กลุ่มเป้ำหมำย ซ่ึงอำจเป็นแม่หรือพ่ีพูดและฟังภำษำไทยได้ เพื่อใช้ประโยชน์ในกำรติดต่อสื่อสำรในเร่ืองท่ีจำเป็น โดยเฉพำะ กำรไปหำหมอที่โรงพยำบำล วิธีกำรของตัวช่วยโดยเฉพำะท่ีเป็นนักเรียนจะใช้เวลำหลังเลิกเรียนไปพูดคุย กบั กลุ่มเป้ำหมำยในเรอื่ งใกลต้ ัวหรอื เรื่องที่อยใู่ นควำมสนใจ และจะพูดซ้ำบ่อย ๆ เช่น อุปกรณ์เคร่ืองใช้ในบ้ำน ส่วนประกอบของร่ำงกำย เหตุกำรณ์ปัจจุบัน เป็นต้น โดยในแต่ละวันตัวช่วยจะต้องบันทึกเร่ืองที่พูดคุย กบั กลมุ่ เป้ำหมำยในสมุดบนั ทึกท่คี รูมอบให้ วำ่ ได้ทำอะไร อยำ่ งไร และผลเป็นอย่ำงไร ซ่ึงตัวช่วยท่ีเป็นนักเรียน จะได้ประโยชนจ์ ำกกำรเรยี นรคู้ ำศพั ทภ์ ำษำไทยใหมจ่ ำกครู ด้านกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้ำหมำยท่ีผ่ำนกำรประเมินแล้วสำมำรถพูดได้และตอบคำถำมได้ แต่ยังอำยและฟังประโยคยำก ๆ ไม่รู้เร่ือง ซ่ึงมีลูกชำยเป็นตัวช่วยหลัก คือ นำงมึซูบี่ ม่อนประเสริฐ ผู้เรียน ทีม่ พี ฒั นำกำรสงู กวำ่ สมำชิกคนอ่ืน 2 คน จะชว่ ยแปลเปน็ ภำษำกระเหรีย่ งให้กับเพอื่ นทไี่ ม่เข้ำใจ นำงกะแฮ นิติไทย เป็นอีกคนที่สำมำรถพูด ฟังภำษำไทยได้ดี เนื่องจำกมีลูกและ น้องสำวทเี่ รียนหนังสอื และใช้ภำษำไทยไดด้ ี แต่ยังติดที่จะใชภ้ ำษำกระเหรีย่ งกบั คนในบำ้ นยกเว้นกับครูที่จะพูด ภำษำไทยดว้ ย นำงกะแฮฝึกกำรใช้ภำษำไทยจำกกำรดโู ทรทัศน์ หำกไมเ่ ขำ้ ใจกจ็ ะถำมจำกน้องสำว ทั้งนี้ กลุ่มเป้ำหมำยซ่ึงส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงรู้สึกสนุกที่ครูไปหำท่ีบ้ำนเพ่ือชวนพูดคุย และเห็นว่ำกำรพดู ฟงั ภำษำไทยมปี ระโยชน์ เพรำะทำให้มั่นใจในกำรเดินทำงไปทุก ๆ ท่ี และสำมำรถไปทำงำน นอกหมูบ่ ้ำนได้ทำให้มรี ำยได้เพิม่ ข้นึ ด้านผู้บริหารสถานศึกษาและผู้รับผิดชอบ กำรดำเนินงำนโครงกำรนำร่องส่งเสริมและ พัฒนำทักษะกำรฟังกำรพูดภำษำไทยเพ่ือกำรสื่อสำรสำหรับผู้ใหญ่บนพ้ืนที่สูงไม่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ สื่อ และวสั ดุอปุ กรณ์ แต่มีกำรพัฒนำครูเพ่อื ใหม้ ีควำมพร้อมในกำรทำงำน วิธีกำรทำงำนของครูเป็นกำรบูรณำกำร ในส่ิงท่ีมีอยู่ท่ีศศช. ให้เกิดประโยชน์สูงสุด สื่อหลักที่สำคัญท่ีสุดคือ ส่ือบุคคล ได้แก่ ครู ศศช. และอำสำสมัคร ทเ่ี ป็นลกู หลำน หรือคนใกลช้ ดิ และสว่ นใหญ่เปน็ นกั เรียน วิธีกำรที่ใช้เรียกว่ำ “ไร้กระบวนท่ำ” ซึ่งอำจเปรียบเทียบได้กับกำรจัดกำรเรียน กำรสอนท่มี ีควำมยืดหยุ่นสูง สำมำรถปรบั เปลี่ยนได้ตลอดเวลำตำมสถำนกำรณ์ท่ีพบในแต่ละครั้ง เน้นกำรชวน พูดคุยในเรื่องท่ีอยู่ในควำมสนใจของกลุ่มเป้ำหมำยให้เป็นตำมวิถีธรรมชำติ โดยไม่แสดงตัว หรืออวดรู้ เหนอื กล่มุ เป้ำหมำย เดมิ ครจู ะปฏบิ ัติ/สอนตำมท่ตี นเองถนดั แต่เมือ่ ได้รบั กำรอบรมท่ีมีกำรฝึกปฏิบัติส่งผลให้ครู มคี วำมเขำ้ ใจและนำไปสกู่ ำรปฏบิ ัตไิ ด้ดมี ำกข้นึ ด้านครูนิเทศก์ พบว่ำ ครูในพื้นท่ีที่รับผิดชอบสำมำรถจัดกระบวนกำรเรียนกำรสอน ได้ดีขึ้น หลังจำกได้ผ่ำนกำรอบรม และครพู อใจในวธิ ีกำร “ไร้กระบวนทำ่ ” เพรำะไม่ซับซ้อน ยุ่งยำก และทำให้ ครเู กิดควำมค้นุ เคย มคี วำมสัมพนั ธใ์ กล้ชดิ กบั ชำวบำ้ นมำกยง่ิ ขึน้ และชมุ ชนสำมำรถสะท้อนปัญหำสู่กำรพัฒนำ ชุมชนได้รอบด้ำนมำกขึ้น นอกจำกนี้ กำรสร้ำงควำมคุ้นเคยส่งผลให้ชำวบ้ำนลดควำมอำยและกล้ำแสดงออก มำกขึ้น ปัจจัยสำคัญคือควำมต่อเนื่องในกำรดำเนินงำน สร้ำงโอกำสในกำรฟังและพูด ภำษำไทยของชำวบ้ำน เช่น กำรจ้ำงชำวบ้ำนไปปลูกป่ำของทำงกำร กำรมีหอกระจำยข่ำว จะเป็นกำรส่งเสริม และกระตนุ้ ให้ชำวบ้ำนซมึ ซบั ภำษำไทย และไมล่ ืม

156 จุดเด่น ๑. ครูมีควำมกระตือรือร้น และมีควำมมุ่งมั่นที่จะดำเนินกำรให้กลุ่มเป้ำหมำยพูดและฟัง ภำษำไทยได้ สังเกตไดจ้ ำกกำรทหี่ ำวธิ ีกำรท่ีเหมำะสมสำหรับกล่มุ เปำ้ หมำยแต่ละคน กำรใช้เวลำว่ำงเพื่อพบปะ พูดคุยอย่ำงสม่ำเสมอ และได้รับกำรพัฒนำโดยกระบวนกำรอบรมท่ีมีท้ังภำคทฤษฎี และภำคปฏิบัติท่ีได้ลงไป ฝึกจริงในพน้ื ท่ที กุ ขน้ั ตอน ทำให้เกิดควำมรู้ ควำมเขำ้ ใจ และมีควำมมน่ั ใจในกำรทจ่ี ะไปทำงำนจริง 2. ตัวช่วยหรืออำสำสมัครเป็นผู้ท่ีมีบทบำทสำคัญที่จะทำให้กลุ่มเป้ำหมำยพูดและฟัง ภำษำไทยได้ เน่ืองจำกเป็นคนในครอบครัว มีควำมใกล้ชิด สนิทสนม ไม่ต้องใช้เวลำในกำรสร้ำงควำมคุ้นเคย และสำมำรถพดู คุยไดต้ ลอดเวลำ 3. ผู้นำหมู่บ้ำนเป็นคนรุ่นใหม่ที่เห็นควำมสำคัญและส่งเสริมกำรใช้ภำษำไทยของลูกบ้ำน ใช้วธิ ีกำร/รปู แบบ เปน็ แบบ “ไร้กระบวนทำ่ ” ทำให้ครสู ำมำรถวิเครำะห์กลุ่มเป้ำหมำยและสำมำรถดำเนินกำร ได้ตำมศักยภำพ และวิธีกำรที่ตนเองเป็นผู้เลือกและตัดสินใจด้วยตนเอง ไม่ต้องพะวงว่ำจะถูกหรือผิด แต่ให้ บรรลุเปำ้ หมำยทตี่ ้ังไวค้ อื กำรพูด ฟงั ภำษำไทยได้ของกลุ่มเป้ำหมำย ๔. กศน. อำเภออมก๋อยได้พูดคุยในกำรดำเนินงำนโครงกำรในกำรประชุมประจำเดือน โดยมีที่ปรึกษำสำนักงำน กศน. นำยเรวัฒน์ สุธรรม เข้ำร่วมประชุมอย่ำงสม่ำเสมอ ใช้กำรบันทึกกำรทำงำน ในแต่ละวนั ของตวั ช่วยและครู ศศช. สง่ ผลให้สำมำรถเรียนรู้ ทบทวนกำรทำงำนท่ีผ่ำนมำได้เป็นอย่ำงดี รวมท้ัง เป็นร่องรอยหลักฐำนในกำรทำงำนสำมำรถนำมำถอดบทเรียนเป็นองค์ควำมรู้หรือนวัตกรรมได้ และที่สำคัญ เป็นกำรฝึกทักษะกำรใชภ้ ำษำไทยโดยเฉพำะกำรเขยี นของตัวช่วยที่เป็นนักเรยี นไดอ้ ย่ำงดี จดุ ควรพัฒนา 1. เน้นให้กลุ่มเป้ำหมำยเห็นควำมสำคัญของกำรพูดภำษำไทยล้ำนนำได้ เพ่ือให้ ไมถ่ กู เอำเปรยี บและมีควำมสะดวกในกำรตดิ ต่อสือ่ สำร 2. ขยำยจุดรบั สญั ญำณเสียงตำมสำยใหม้ ำกขน้ึ ครอบคลุมทกุ หลังคำเรอื น 3. KM กันระหว่ำงครู ผู้บริหำร ครูนิเทศก์ ตัวช่วย เพ่ือแลกเปล่ียนเรียนรู้ซ่ึงกันและกัน ในพ้ืนท่ีเดียวกันและต่ำงพ้ืนที่ เพ่ือหำทำงออกของกำรแก้ปัญหำสู่ควำมสำเร็จ ทำให้กลุ่มเป้ำหมำย พดู ภำษำไทยได้ ปัญหาและอปุ สรรค ๑. กล่มุ เป้ำหมำยยังอำยไม่ยอมพูดกับคนแปลกหน้ำและกลวั ถูกล่อลวง ๒. กลมุ่ เปำ้ หมำยมักจะไม่พูดภำษำไทยกับคนในครอบครัว หรือคนท่พี ูดภำษำกระเหร่ียงได้ ๓. สถำนท่ีรำชกำร หน่วยงำนต่ำง ๆ เช่น โรงพยำบำล ธนำคำร เป็นต้น พยำยำมจัดหำ คนท่ีพูดภำษำชนเผ่ำต่ำง ๆ ไว้เพ่ือช่วยในกำรส่ือสำร อำจส่งผลให้เป้ำหมำยลดควำมสำคัญของกำรพูดและฟัง ภำษำไทย ๔. กลุ่มเปำ้ หมำยทปี่ ระกอบอำชีพทำไร่ ทำสวน ต้องออกไปทำงำนท้ังวันกลับมำก็เหน่ือย จนไม่อยำกทีจ่ ะพูดคุยกบั ครูหรอื ตัวชว่ ย ปจั จยั ท่เี อื้อต่อความสาเร็จ 1. ครู /ตวั ชว่ ยมีควำมพยำยำมและมเี มตตำต่อกลมุ่ เป้ำหมำยที่จะทำใหพ้ ูดภำษำไทย 2. นิเทศ ตดิ ตำมผลใหก้ ำลงั ใจอย่ำงสม่ำเสมอตำมบริบทของพ้ืนที่

157 พนื้ ท่ีนาร่องจงั หวัดตาก บา้ นเลเคาะ หมู่ที่ ๑๐ ตาบลแมห่ ละ อาเภอทา่ สองยาง จังหวดั ตาก สภาพโดยทั่วไป บ้ำนเลเคำะ ห่ำงจำกตัวอำเภอท่ำสองยำง ๑๙ กิโลเมตร ประชำกรเป็นชนเผ่ำกระเหรี่ยง จำนวนครัวเรอื น ๗๖ ครัวเรอื น ประชำกรทั้งหมด ๓๐๕ คน แบ่งเป็น ชำยจำนวน ๑๔๘ คน และหญิง จำนวน ๑๕๗ คน ด้ำนกำรศึกษำอยู่ในควำมรับผิดชอบของ ศศช.บ้ำนเลเคำะ มีผู้เรียนทั้งหมด ๔๘ คน แบ่งเป็น ระดับประถมศึกษำ ๔๗ คน และระดับมัธยมศึกษำตอนต้น ๑ คน โดยมีกลุ่มเป้ำหมำยท่ีพูดและฟังภำษำไทยไม่ได้ จำนวน ๒๓ คน ทั้งนี้ ศศช.บ้ำนเลเคำะ มีครู ๒ คน คือว่ำท่ีร้อยตรีภูวนัย คำดสนิท และ นำงสำวสุหรรษำ เรอื งปฐพี ครู ศศช.บ้ำนเลเคำะ ที่ได้รับกำรอบรมตำมโครงกำรส่งเสริมและพัฒนำทักษะกำรฟัง กำรพูดภำษำไทยเพ่ือกำรสื่อสำรสำหรับผู้ใหญ่บนพ้ืนท่ีสูง มีจำนวน ๑ คน คือ ว่ำท่ีร้อยตรีภูวนัย คำดสนิท โดยมีระยะเวลำกำรจัดอบรม จำนวน ๒ วัน เป็นกำรให้ควำมรู้ ควำมเข้ำใจ แต่ไม่มีกำรฝึกปฏิบัติในภำคสนำม โดยกำรปฏิบัติงำนของครูแต่ละ ศศช. อำเภอท่ำสองยำงจะมีครูนิเทศก์คอยให้คำปรึกษำ และครูจะไปพบ กลุ่มเป้ำหมำยเพื่อชวนพูดคุย ในช่วงเย็น สัปดำห์ละ 2 – 3 ครั้ง ซึ่งกลุ่มเป้ำหมำยบำงคนจะฟังภำษำไทยได้ แต่ไม่กล้ำพูด ด้วยควำมอำย กลัวพูดผิด สังเกตจำกเม่ือถำมด้วยภำษำไทย กลุ่มเป้ำหมำยจะตอบเป็นภำษำ กะเหรี่ยง ครูจึงต้องสร้ำงควำมคุ้นเคยโดยกำรชวนคุยไปเรื่อย ๆ นอกจำกน้ี ยังพบว่ำกลุ่มเป้ำหมำยจะไม่ยอม พดู ภำษำไทยกับครสู ุหรรษำ เนือ่ งจำกรวู้ ่ำครูเปน็ ชำวกะเหรยี่ ง ฟงั -พูดกะเหรีย่ งได้ ขั้นตอนและวิธีกำรดำเนินงำน 1) สำรวจ และคัดกรองกลุ่มเป้ำหมำย จำนวน ๒๓ คน บำงคนเคยพูดภำษำไทยได้ตอนเรียนอยู่ในโรงเรียน แต่เม่ือเรียนจบแล้วไม่ได้ใช้พูดในชีวิตประจำวันก็จะลืม 2) ประกำศรำยช่ือ กล่มุ เป้ำหมำยรู้ว่ำตนเองเป็นกลุ่มเป้ำหมำยจำกกำรประกำศชื่อผ่ำนหอกระจำยข่ำว ส่งผล ให้บำงรำยอำยและวิตกกังวล บำงคนยังไม่ยอมให้ควำมร่วมมือจะคอยเลี่ยงไม่พบครู หรือปิดบ้ำนเมื่อครู เดินผ่ำนบ้ำน 3) แบ่งกลุ่มเป้ำหมำยตำมควำมสำมำรถในกำรส่ือสำรไว้เป็น 3 ระดับ คือ ระดับ 1 ฟังและพูดไม่ได้ ระดบั 2 ฟังได้ แต่พูดไมไ่ ด้ และ ระดบั 3 ฟงั และพูดได้บำ้ ง 4) สรุปผลกลุ่มเป้ำหมำย 23 คน มีผลกำรพัฒนำ ทักษะกำรฟัง-พูดภำษำไทย ดังน้ี ระดับ 1 จำนวน 12 คน ระดับ 2 จำนวน 7 คน ระดับ 3 จำนวน 4 คน โดยครูเป็นผ้ปู ระเมินผลเอง ไมม่ เี กณฑ์ หรอื รปู แบบท่ตี ำยตัว กำรดำเนินกำรจะใช้รูปแบบขององค์กำรกำรศึกษำ วิทยำศำสตร์ และวัฒนธรรม แห่งสหประชำชำติ (UNESCO) ท่ใี ช้มลั ตมิ เี ดยี เป็นตวั ช่วย ไดแ้ ก่ เครือ่ งขยำยเสยี ง โปรเจคเตอร์ ลำโพง เป็นต้น สำหรับกิจกรรมที่จัด ได้แก่ กิจกรรมดูหนัง เสียงตำมสำย (หอกระจำยข่ำว) กำรฟัง/ร้องเพลง นอกจำกนี้ มีตัวช่วยท่ีเป็นนักเรียนของ ศศช. จำนวน ๒๐ คน ที่ครูมอบหมำยให้พูดคุยกับกลุ่มเป้ำหมำย โดยชวนคุย เกย่ี วกบั เรือ่ งในบ้ำน และเร่ืองทั่ว ๆ ไป และยังมีตัวช่วยรองที่เป็นคนในหมู่บ้ำนที่พูดฟังภำษำไทยได้เป็นผู้ช่วย อีกทำงหนึ่ง โดยครูท้ังสองคนจะใช้เวลำช่วงเย็นเดินไปพบปะพูดคุยท่ีบ้ำนของกลุ่มเป้ำหมำย นำอำหำร ไปแบ่งปันซึ่งกันและกันในชุมชน ซ่ึงครูรู้จักชำวบ้ำนทั้งหมด ในกำรติดตำมควำมก้ำวหน้ำครูมีกำรจดบันทึก กำรทำงำนของตนเองในสมดุ และจะพูดคยุ กับตวั ช่วยประมำณเดอื นละ 2 คร้ัง จำกกำรไปพบกลุ่มเป้ำหมำยรำย นำงรพึ อ ไพรฟำ้ พนำจิตต์ ซงึ่ มีเด็กชำยศิรวิทย์ ไพรฟ้ำพนำจิตต์ บุตรชำยที่เรียนอยู่ท่ี ศศช. บ้ำนเลเคำะในชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖ เป็นตัวช่วย พบว่ำ มีสมำชิกในครอบครัวน้ี จำนวน ๕ คน คือ พ่อ แม่และลูกชำย ๓ คน ลูกชำยคนโตไปทำงำนรับจ้ำงหักลำไยในตัวเมือง คนท่ี ๒ คือ เด็กชำยศิรวิทย์ ไพรฟ้ำพนำจิตต์ ที่เป็นตัวช่วย และลูกชำยคนเล็กไม่ยอมไปเรียนหนังสือ ในบ้ำนนี้มีพ่อ

158 ลกู ชำยคนโตและตัวชว่ ยท่ีสำมำรถใช้ภำษำไทยได้ แต่นำงรึพอกลุ่มเป้ำหมำยไม่สำมำรถพูดฟังภำษำไทยได้เลย และไมใ่ หค้ วำมร่วมมอื จำกกำรพูดคุยกับตัวช่วยท่ีเป็นนักเรียนของ ศศช. จำนวน ๘ รำย พบว่ำ ส่วนใหญ่ กลุ่มเป้ำหมำยจะไม่ยอมพูดภำษำไทยด้วย บำงรำยพอฟังได้บ้ำงแต่จะตอบเป็นภำษำกระเหรี่ยง แต่ตัวช่วย ทุกคนต้องกำรให้กลุ่มเป้ำหมำยพูดและฟังภำษำไทยได้ เพ่ือนำไปใช้เวลำไปติดต่องำนในเมือง หรือไป โรงพยำบำล จดุ เดน่ ๑. ครมู คี วำมม่งุ มน่ั ในกำรทำงำนโดยตัง้ ใจทำงำน ดว้ ยสำนึกในพระมหำกรุณำธิคุณท่ีได้รับ ทนุ กำรศกึ ษำตอ่ จนจบปรญิ ญำตรจี ำกสมเด็จพระเทพรตั นรำชสุดำ ฯ สยำมบรมรำชกมุ ำรี นำมลั ตมิ เี ดียมำใชใ้ นกำรดำเนินงำน ซึง่ เป็นกำรกระตนุ้ และสร้ำงแรงจงู ใจไดอ้ กี ทำงหนง่ึ จดุ ควรพฒั นา 1. ครทู ่ีเป็นชำวกะเหร่ยี งตอ้ งพดู ภำษำไทยกบั กล่มุ เปำ้ หมำยมำกขึ้น ไม่พูดภำษำกะเหร่ียง มำกกว่ำภำษำไทย 2. ตวั ช่วยหลักและตัวช่วยรอง ควรมุ่งมั่นในกำรพูดภำษำไทยกับกลุ่มเป้ำหมำยอย่ำงสม่ำเสมอ ไม่ยอ่ ท้อ 3. ครคู วรหำโอกำสพบกับกลมุ่ เป้ำหมำยใหม้ ำกขนึ้ ปัญหาและอปุ สรรค ๑. กลุ่มเป้ำหมำยบำงส่วนท่ียำกจนจะให้ควำมสำคัญกับเร่ืองกำรทำมำหำกินก่อน ไม่ให้ ควำมรว่ มมือกับครู เช่น จะปิดบ้ำนหนีครู เปน็ ต้น ๒. กลุ่มเป้ำหมำยจะอำยไม่ยอมพูดกับคนแปลกหน้ำ และถ้ำรู้ว่ำพูดกระเหรี่ยงได้จะไม่ยอม พูดภำษำไทยดว้ ย ปจั จัยทเี่ อ้อื ต่อการเรยี นร้ทู สี่ ง่ ผลตอ่ ความสาเรจ็ 1. ครมู ีควำมมุ่งม่นั ทีจ่ ะพฒั นำกลมุ่ เปำ้ หมำยใหพ้ ดู -ฟังภำษำไทยได้ 2. ครูนิเทศก์ที่เปน็ ท่ปี รกึ ษำและกำรเยยี่ มบ้ำนกลมุ่ เปำ้ หมำยอยำ่ งสม่ำเสมอ ขอ้ เสนอแนะ 1. สำนักงำน กศน.จังหวัดตำก ควรสนับสนุนให้เพิ่มจุดกระจำยเสียงให้ครอบคลุมทุก หลงั คำเรอื นใหม้ ำกข้นึ เนือ่ งจำกเปน็ ส่ือหลักทจ่ี ะใชพ้ ัฒนำทกั ษะ 2. ควรกำหนดเกณฑ์กลำงประเมินผลเพื่อให้เป็นมำตรฐำนเดียวกัน โดยกำหนดจำก สำนกั งำน กศน.จงั หวัดหรือส่วนกลำง 3. จัดให้ครทู ุกคนไดแ้ ลกเปล่ยี นเรยี นรู้ สร้ำงกำลงั ใจใหแ้ กก่ นั 4. กำรสร้ำงควำมภำคภูมิใจให้กับตัวช่วยหลัก โดยอำจออกเป็นบัตรประจำตัวให้เป็น อำสำสมัคร และเม่ือสนิ้ ปงี บประมำณแจกเกียรติบตั รเพ่ือสรำ้ งแรงจงู ใจ 5. กำรให้คะแนนบำเพ็ญประโยชนใ์ ห้กับชมุ ชน (คะแนนพิเศษ)

159 6. โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการขยายผลโครงการส่งเสริมและพัฒนาทักษะการฟัง - พูด ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสาหรับผู้ใหญ่บนพ้ืนที่สูงในพื้นที่โครงการตามพระราชดาริ สมเด็จพระเทพ รัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี หลักการและเหตุผล ตำมท่ี สำนักงำน กศน. ได้ดำเนินงำนโครงกำรส่งเสริมและพัฒนำทักษะกำรฟัง - พูด ภำษำไทยเพื่อกำรส่ือสำรสำหรับผู้ใหญ่บนพื้นท่ีสูงตำมพระรำชดำริของสมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี ในปีงบประมำณ พ.ศ. 2560 โดยควำมร่วมมือกับสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำ ข้ันพ้ืนฐำน และกองบัญชำกำรตำรวจตระเวนชำยแดน ซ่ึงได้ดำเนินงำนในพ้ืนที่นำร่อง 2 อำเภอ คือ อำเภอ ท่ำสองยำง จังหวัดตำก และอำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ ทั้งน้ี ในปีงบประมำณ พ.ศ. 2561 กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร ไดก้ ำหนดใหม้ ีกำรขยำยผลในพน้ื ที่ภำคเหนอื 5 จงั หวัด ไดแ้ ก่ จังหวัดเชียงรำย เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ตำก และจงั หวัดนำ่ น นั้น ในกำรนี้ หน่วยศึกษำนิเทศก์ซ่ึงเป็นหน่วยประสำนงำนกลำงจึงได้จัดทำ โครงกำรประชมุ เชงิ ปฏิบัติกำรขยำยผลโครงกำรส่งเสริมและพัฒนำทักษะกำรฟัง – พูดภำษำไทยเพ่ือกำรสื่อสำรสำหรับ ผู้ใหญ่บนพื้นทส่ี ูงในพ้นื ท่โี ครงกำรตำมพระรำชดำริ สมเด็จพระเทพรตั นรำชสดุ ำ ฯ สยำมบรมรำชกุมำรี เพ่ือให้ ผู้บริหำรและบุคลำกรของ กศน. สพฐ. และ ตชด. ในพ้ืนท่ีจังหวัดตำก แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ เชียงรำย และ จงั หวดั น่ำน มีควำมรู้และเขำ้ ใจในแนวทำงกำรดำเนนิ งำน และนำควำมรู้ท่ีไดร้ บั สกู่ ำรปฏบิ ัติในพน้ื ท่ไี ด้ วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือสนองพระรำชดำริในกำรส่งเสริมและพัฒนำทักษะกำรฟัง – พูดภำษำไทยเพื่อกำรส่ือสำร สำหรบั ผ้ใู หญ่บนพ้นื ที่สูงในพื้นทโ่ี ครงกำรตำมพระรำชดำริ สมเดจ็ พระเทพรัตนรำชสดุ ำ ฯ สยำมบรมรำชกมุ ำรี 2. เพ่อื ให้ผบู้ ริหำรและบุคลำกรของ กศน. สพฐ. และ ตชด. ในพ้ืนท่ีจังหวัดตำก แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ เชียงรำย และจังหวัดน่ำน มีควำมรู้และเข้ำใจในแนวทำงกำรดำเนินงำน กระบวนกำรพัฒนำทักษะ กำรฟังและกำรพูดภำษำไทย 3. เพ่ือวำงแผนกำรพัฒนำบุคลำกรครูในสังกัด กศน. สพฐ. และ ตชด. ในพื้นที่ขยำยผล ๕ จงั หวัด และกำรนำหลักกำร/วธิ กี ำรนำส่กู ำรปฏบิ ตั ใิ นพ้ืนที่ได้ 4. เพื่อนิเทศ และติดตำมผลกำรดำเนินงำนในเขตพื้นท่ีนำร่องและขยำยผลโครงกำร จำก ๕ จังหวัดของภำคเหนือ ได้แก่ ๑) จังหวัดตำก ๒) จังหวัดแม่ฮ่องสอน ๓) จังหวัดเชียงใหม่ ๔) จังหวัด เชียงรำย และ ๕) จังหวัดน่ำน ให้สำมำรถดำเนินกำรไดอ้ ย่ำงมปี ระสทิ ธภิ ำพ ผลการดาเนินงาน เพื่อให้กำรดำเนินงำนโครงกำรฯ บรรลุเป้ำหมำยและให้ขยำยผลสู่กำรปฏิบัติ หน่วยศกึ ษำนิเทศกซ์ ึง่ เปน็ หนว่ ยประสำนงำนกลำง จึงไดจ้ ดั ทำโครงกำรประชุมเชิงปฏิบัติกำรขยำยผลโครงกำร ส่งเสริมและพัฒนำทักษะกำรฟัง – พูดภำษำไทยเพื่อกำรส่ือสำรสำหรับผู้ใหญ่บนพ้ืนท่ีสูงในพื้นที่โครงกำร ตำมพระรำชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำ ฯ สยำมบรมรำชกมุ ำรี โดยสรปุ ผลโครงกำรได้ดังน้ี กลุ่มเป้าหมาย คือ ผู้บริหำรจำกสังกัด กศน. สพฐ. และ ตชด. ในเขตพื้นท่ีนำร่องและขยำยผล โครงกำรจำก ๕ จังหวดั ได้แก่ ๑) จังหวัดตำก ๒) จังหวัดแม่ฮ่องสอน ๓) จังหวัดเชียงใหม่ ๔) จังหวัดเชียงรำย และ ๕) จังหวัดน่ำน

160 ขนั้ ตอนการดาเนนิ งาน 1. วันท่ี 18 – 19 มิถุนำยน 2561 ประชุมเชิงปฏิบัติกำรขยำยผลโครงกำรส่งเสริมและ พัฒนำทักษะกำรฟัง - พูดภำษำไทยเพื่อกำรสื่อสำรสำหรับผู้ใหญ่บนพื้นท่ีสูงในพื้นท่ีโครงกำรตำมพระรำชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำ ฯ สยำมบรมรำชกุมำรี ณ โรงแรมตรัง กรงุ เทพ 2. วนั ที่ 24 – 25 กนั ยำยน 2561 ประชุมสรุปผลกำรขยำยผลโครงกำรส่งเสริมและพัฒนำ ทกั ษะกำรฟงั - พูดภำษำไทยเพอื่ กำรสื่อสำรสำหรบั ผู้ใหญ่บนพ้ืนท่ีสูงในพ้ืนที่โครงกำรตำมพระรำชดำริ สมเด็จ พระเทพรัตนรำชสุดำ ฯ สยำมบรมรำชกมุ ำรี ณ โรงแรมรอยัลริเวอร์ กรงุ เทพมหำนคร จำกกำรประชมุ ดังกล่ำว พบว่ำ ผู้เข้ำร่วมประชุมที่เป็นผู้บริหำรและบุคลำกรของ กศน. สพฐ. และ ตชด. ในพื้นท่ีจังหวัดตำก แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ เชียงรำย และจังหวัดน่ำน มีควำมรู้ ควำมเข้ำใจ ในหลักกำรกระบวนกำร/วิธีกำรดำเนินงำนกำรพัฒนำทักษะกำรฟังและพูดภำษำไทยและสำมำรถนำควำมรู้ ที่ได้รับไปปฏิบัติได้จริง รวมทั้งจัดทำระบบกำรจัดทำแผนของ 5 จังหวัดในเขตภำคเหนือ เพื่อนำไปสู่กำรขยำยผล ของแตล่ ะจังหวดั และใหเ้ ป็นไปในทศิ ทำงเดียวกนั โดยใชแ้ นวทำงกำรดำเนนิ งำนจำกพื้นทีน่ ำร่องเป็นแกน **********************************

ภาคผนวก

162

163 บันทึกขอ้ ความ ส่วนราชการ หนว่ ยศึกษานเิ ทศก์ ฝา่ ยบริหารงานทว่ั ไป โทร 512 ท่ี ศธ 0210.120/ วนั ท่ี กรกฎาคม 2561 เร่ือง รายงานสรุปผลการนิเทศคร่งึ ปีงบประมาณ 2561 เรยี น เลขาธิการ กศน. ตามท่ี สานักงาน กศน. อนุมัติให้หน่วยศึกษานิเทศก์ จัดประชุมสรุปผลการนิเทศ ตรวจเสนอ ครึ่งปีงบประมาณ 2561 โครงการนิเทศเพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ระหว่างวันท่ี 12 – 14 มิถุนายน 2561 ณ ห้องประชุมบรรจง ชูสกุลชาติ ชั้น 6 สานักงาน กศน. นั้น บัดนี้ การประชุมดังกล่าวได้เสร็จสิ้นแล้ว โดยมีผู้เข้าร่วมประชุม ประกอบด้วย ผู้อานวยการสถาบัน กศน.ภาค / ผู้แทน ศึกษานิเทศก์ส่วนกลางและภูมิภาค ผู้ทรงคุณวุฒิ เจ้าหน้าท่ีและบุคลากร รวมท้ังส้ิน 29 คน สามารถ สรุปผลการประชุมไดด้ ังน้ี 1. การสรุปผลการนิเทศครึ่งปีแรกดาเนินการในประเด็นนิเทศที่สถานศึกษาขับเคล่ือน กิจกรรมตามนโยบายจุดเน้น 12 กิจกรรม ได้แก่ การดาเนินงานตามนโยบายไทยนิยม ย่ังยืน โครงการอบรม ประวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทยและบญุ คุณของพระมหากษัตริย์ไทย โครงการเครือข่ายดิจิทัลระดับตาบล โครงการศูนย์การ เรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียงและเกษตรทฤษฏีใหม่ประจาตาบล โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โครงการ ศูนย์ส่งเสรมิ ประชาธิปไตยตาบล โครงการภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารด้านอาชีพ (Smart ONIE) การส่งเสริมการ เรียนรู้ด้านการเกษตร Smart Farmer การศึกษาตามอัธยาศัย กศน.ตาบล 4G การศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษา ต่อเน่ืองและการศึกษาตามอัธยาศัย ซึ่งหน่วยศึกษานิเทศก์ได้จัดระบบการนิเทศโดย 1) แต่งต้ังทีมนิเทศ แนวทาง การนิเทศเชิงบูรณาการ ประกอบด้วย ศึกษานิเทศก์ส่วนกลาง/จังหวัด ร่วมกับสถาบัน กศน.ภาค และบุคลากรของ สานักงาน กศน.จังหวัด ท่ีมีความรู้ความสามารถร่วมเป็นคณะนิเทศใน 39 จังหวัด ท่ีมีศึกษานิเทศก์ และ 38 จงั หวดั ทีไ่ มม่ ีศึกษานิเทศก์ 2) ศึกษานิเทศก์ส่วนกลาง จานวน 2 คน รับผิดชอบภาพรวมและพ้ืนที่ยุทธศาสตร์ ชายแดนใต้ โดยประสานขอ้ มูลและกาหนดให้เสนอรายงานผลการนิเทศไตรมาส 2 ภายในเดือนมิถุนายน 2561 ซ่ึงได้รับเอกสารสรุปผลจากสถาบัน กศน.ภาค 5 ภาค และสานักงาน กศน.จังหวัด 10 แห่ง รายละเอียดสรุป ได้ดงั น้ี ผลการนเิ ทศครึ่งปีของสถานศึกษาสังกัดสานักงาน กศน.จังหวัดท่ัวประเทศ ประกอบดว้ ย โครงการ/กิจกรรมสาคัญตามนโยบายรัฐบาลและตามยุทธศาสตรก์ ระทรวงศึกษาธิการ 1. การขับเคล่ือนการดาเนินงานตามโครงการไทยนิยม ย่ังยืน พบว่า สานักงาน กศน. จังหวัดได้จัดตั้งคณะกรรมการทุกระดับ ต้ังแต่จังหวัดถึงตาบล โดยประชุมวางแผนเพื่อจัดเวที ซ่ึงได้รับความ พึงพอใจและการยอมรับจากกลุ่มเป้าหมายในการค้นหาความต้องการของประชาชน ด้านสาธารณูปโภค การประกอบอาชพี ด้านสาธารสขุ เปน็ อย่างมาก และยังได้ร่วมหน่วยงานอื่นในการคดั แยกปญั หา เพื่อการแก้ไข และพัฒนา ปัจจัยท่ีส่งผลต่อความสาเร็จ 1) เป็นโครงการมหภาคที่รัฐบาลให้ความสาคัญ กาหนด จดุ มุ่งหมาย และรูปแบบการดาเนินการชัดเจน ลงมือปฏิบัติจริง 2) บุคลากรของ กศน.ได้รับการแต่งตั้งเข้าไป มีส่วนรว่ มท้งั ระดบั จังหวดั และระดบั พนื้ ที่ ปัญหา อุปสรรค 1) ครูมีงานอื่นท่ีต้องรับผิดชอบดาเนินการให้แล้วเสร็จตามกาหนด เวลา จึงมีความกังวลว่าอาจส่งผลต่อการประเมินผลการปฏิบัติงาน 2) เวลาในการจัดเวทีส่วนใหญ่กาหนด ร่วมกนั กบั หน่วยงานอืน่ และมักเป็นเวลาราชการทาให้ได้กลุ่มเป้าหมายไม่ครบ โดยเฉพาะข้อมูลจากประชากร วัยแรงงาน

164 ข้อเสนอแนะ 1) สานักงาน กศน. ควรแจ้งผู้บริหารให้สร้างความเข้าใจถึงบทบาท ภารกจิ ของโครงการฯ ที่มีความสาคัญไมย่ ง่ิ หย่อนไปกว่าภารกิจประจาอ่ืน เพื่อลดความกังวลของครูท่ีมีต่อการ ประเมนิ ผลการปฏิบัติงาน 2) สถานศึกษาควรรวบรวมและใช้ข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ เพื่อใช้ในการ จดั กิจกรรมให้ตรงกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมายต่อไป 2. โครงการประวัติศาสตร์ชาติไทย และบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย พบว่า สานักงาน กศน.จังหวัด/กทม. ได้ดาเนินการอบรมผู้บริหารสถานศึกษา ครู กศน.ตาบล/เขต และบุคลากร เพ่ือขยายผลการดาเนินโครงการให้ครอบคลุมทุกพ้ืนที่ ซึ่งสามารถเผยแพร่และสร้างค่านิยมการยึดมั่นใน สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และความภูมิใจในความเป็นไทย และการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้กับ กลุ่มเปา้ หมายได้อยา่ งถกู ตอ้ ง โดยในกระบวนการอบรมมีการใช้สื่อวีดที ศั น์ การแสดงบทบาทสมมุติ การฝึกเล่า เรื่อง ทาให้ผู้เข้ารับการอบรมซาบซ้ึงและเกิดความเข้าใจ มีความสานึกในบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย และเกดิ ความสนใจคน้ ควา้ หาความรู้เพ่มิ เตมิ การประเมนิ ผลใช้การทา pretest-posttest ประเมินผลเป็นราย เน้ือหา เช่น ดา้ นการจัดกระบวนการเรียนรู้ ดา้ นวิทยากร เป็นต้น ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสาเร็จ 1) สานักงาน กศน. กาหนด แนวทางการดาเนินงานท่ี ชัดเจน หลักสูตรครอบคลุม สามารถนาไปขยายผลให้กับกลุ่มเป้าหมายได้ถูกต้อง ๒) สานักงาน กศน.จังหวัด ทุกแห่ง ไดน้ าโครงการประวัติศาสตร์ชาติไทย และบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย ทั้ง ๓ หลักสูตร มาใช้ใน การจัดอบรมผู้บริหารสถานศึกษา ข้าราชการครู และบุคลากร กศน.ทุกคน ให้มีความรู้ความเข้าใจ และ สามารถนาไปขยายผลการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้กับนักศึกษาและประชาชนในพ้ืนท่ีต่อได้ 3) สถานศึกษา ได้พัฒนาเน้ือหาสาระของประวัติศาสตร์ชาติไทยและบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย เป็นรายวิชาเลือกเสรี และไดจ้ ดั กิจกรรมการเรียนรทู้ ั้ง ๓ ระดับการศึกษา เริม่ ใช้ในภาคเรยี นท่ี ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๑ ปัญหา อุปสรรค 1) ส่ือในการจัดกระบวนการเรียนรู้ยังไม่หลากหลาย ๒) เน้ือหาวิชา ประวัติศาสตร์ชาติไทยและบุญคุณพระมหากษัตริย์ไทย เป็นเนื้อหาวิชา ที่ละเอียดอ่อน ผู้จัดกระบวนการ เรียนรู้จะต้องมีความรู้ความเข้าใจอย่างถ่องแท้และมีเอกสารอ้างอิงที่น่าเช่ือถือได้ ซึ่งครูบางคนยังขาดทักษะ ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ ทาใหก้ ารขยายผลสู่กลุ่มเป้าหมายยงั ไม่สมบูรณเ์ ท่าทคี่ วร ข้อเสนอแนะ ๑) สานักงาน กศน.ควรจัดทาส่ือในการจัดการเรียนรู้ให้ครู กศน.สามารถ นาไปเรียนรู้ได้ด้วยตนเองและควรผลิตคู่มือสาหรับครูและนักศึกษาในการจัดกระบวนการเรียนการสอนและ การจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช.) 2) สานักงาน กศน.จังหวัดควรนิเทศ ติดตามการจัดกิจกรรมของ สถานศกึ ษาในกากับอย่างต่อเนื่อง และบรู ณาการกับกจิ กรรมอื่นๆ 3. โครงการเครือข่ายดิจิทัลชุมชน พบว่า ครู กศน.ตาบลที่ได้รับการอบรมหลักสูตร Digital Literacy (การจัดการเรียนรู้ด้านดิจิทัล) และ E - commerce (การค้าขายออนไลน์) มีความรู้ความเข้าใจ ถา่ ยทอดความร้ไู ปสกู่ ลมุ่ เป้าหมายตามทส่ี านักงาน กศน.กาหนดจะจดั สรรงบประมาณให้ ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสาเร็จ 1) หลักสูตรเป็นของกระทรวงพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคม มีมาตรฐานเน้ือหาชดั เจน สอื่ ครบถ้วนสอดคล้องกับหลักการ 2) ผู้เข้ารับการอบรมมีความสนใจและเอา ใจใสต่ อ่ การเรยี นรู้ และบางรายมีพื้นฐานความรู้ด้านการประกอบธุรกิจบา้ งแล้ว 3) สถานท่ีอบรมมีความพร้อม ด้านสัญญาณอินเทอร์เน็ตเอื้อต่อการเรียนรู้ 4) สานักงาน กศน.บริหารจัดการได้อย่างมีระบบ : ครู ก (ระดับจังหวัด) ครู ข (ระดบั อาเภอ) ครู ค (ระดับตาบล) ปัญหาอุปสรรค 1) สัดส่วนวิทยากรระดับจังหวัด (ครู ก) มีจานวนน้อยและไม่เหมาะสม กบั จานวนผรู้ บั การถ่ายทอดต่อ (ครู ข/ครู ค) 2) อุปกรณ์รองรบั การอบรมยังไม่พร้อมสมบูรณ์และยังไมท่ ันสมัยพอ

165 ข้อเสนอแนะ 1) สานักงาน กศน. ควรเพิ่มจานวนวิทยากรการอบรม ครู ก เพื่อให้ เพียงพอต่อการขยายผลต่อ และควรสนับสนุนความพร้อมด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน 2) สานักงาน กศน.จังหวัดควร ประเมินผลด้านสื่อและเน้ือหาการสอน หากมากหรอื ยากเกินไปควรปรับเปลีย่ นให้เหมาะสมกับพนื้ ที่ 4. โครงการศูนย์เรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ ประจาตาบล พบว่า สถานศึกษามีแผนงาน โครงการ หลักสูตร การอนุมัติการจบหลักสูตรที่เป็นระบบ มีการ ประเมินความพึงพอใจ แต่ยังขาดสรุปผลโครงการ เนื้อหาการจัดกิจกรรมเป็นไปตามความต้องการของ กลุ่มเป้าหมาย ความร่วมมือกับเครือข่ายมีความเด่นชัด คือ กองอานวยการรักษาความมั่นคงภายใน ราชอาณาจักร (กอ.รมน.) และสานักงานเกษตรอาเภอ วิทยากรผู้สอนเป็นภูมิปัญญาในท้องถิ่น ผู้เรียนคือเกษตรกรสามารถนาความรู้ไปต่อยอด อาชพี ได้ เกิดความมนั่ คง ลดรายจา่ ยในครอบครัว ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสาเร็จ 1) ความต่อเน่ืองของโครงการ ซ่ึงมีสาระสอดคล้องกับ วิถีชีวิต และความต้องการของประชาชนในพ้ืนท่ี 2) สามารถบูรณาการโครงการอื่นๆ ท่ีมีเป้าหมายในการ พัฒนาอาชีพ การดาเนินชีวิตและลดรายจา่ ยแกป่ ระชาชน ปัญหาอุปสรรค 1) ขาดอุปกรณ์ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เหมาะสม 2) กศน. ตาบลขาดการประเมนิ หลักสูตรเพอื่ พัฒนา เน่ืองจากบคุ ลากรขาดความชานาญดา้ นการประเมิน ข้อเสนอแนะ 1) สานักงาน กศน.ควรจัดทาคู่มือในการดาเนินงานศูนย์เรียนรู้ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจาตาบล เพ่ือสนับสนุนความสามารถในการออกแบบ การเรียนรู้ และการประเมินหลักสูตรของ ครู กศน.ตาบล 2) สถานศึกษาควรกระตุ้นให้ครูสอดแทรกความรู้ ดา้ นศูนยเ์ รียนร้ปู รัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจาตาบล ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ทุกกจิ กรรมแกผ่ ู้เรยี น 5. โครงการศนู ย์ฝกึ อาชีพชมุ ชน พบว่า สถานศึกษาจัดการเรียนวิชาชีพ (หลักสูตรระยะ ส้ัน) ได้ครอบคลุมหลากหลาย ทั้ง 5 สาขาวิชา คือ เกษตรกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสร้างสรรค์ อุตสาหกรรม ภาษาต่างประเทศ และได้พัฒนาให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ เช่น EEC และม่ันคง มั่งค่ัง ยั่งยืน แต่ยังมีขอ้ จากดั ในด้านการสรรหาวทิ ยากรและงบประมาณในการจดั ซื้อวัสดุ จากการตดิ ตามผล พบว่า ผู้เรียนนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน สามารถลดรายจ่าย และมรี ายได้เสริม แตย่ ังไมส่ ามารถต่อยอดเป็นระดบั วสิ าหกิจชมุ ชน ปัจจยั ทส่ี ง่ ผลตอ่ ความสาเรจ็ 1) เมื่อจบหลักสูตรผู้เรียนบางส่วนสามารถนาไปพัฒนา ต่อยอดได้ เช่น การเพ่ิมมูลค่าการทากระเป๋าจากเศษผ้าด้วยการปักและเพ้นท์ที่จังหวัดภูเก็ต 2) มีการพัฒนา ไปสู่การส่งผลิตภัณฑ์ขายต่างประเทศ ขายในร้าน 7-Eleven และมีตลาดรองรับในประเทศ เช่น จังหวัดพังงา มผี ลิตภณั ฑเ์ พ้นทผ์ ้าปาเต๊ะ สง่ ขายใหโ้ รงแรมในพนื้ ท่ี ปัญหาอุปสรรค 1) ความไม่ทันสมัยและไม่สอดคล้องของผลิตภัณฑ์กับความต้องการ ของตลาด การขาดแคลนงบประมาณในการจัดหาวัสดุอุปกรณ์ และจัดจ้างวิทยากรที่มีความสามารถสูง 2) ครมู ิไดค้ ัดกรองผเู้ รียนตามความต้องการของผู้เรียนอยา่ งแทจ้ ริง ข้อเสนอแนะ 1) สานักงาน กศน.ควรพิจารณาปรับหลักเกณฑ์การเบิกจ่าย งบประมาณด้านการจัดการศึกษาวิชาชีพที่เหมาะสมกับภาวะปัจจุบัน 2) สถานศึกษาควรเน้นย้าการคัดกรอง กล่มุ เปา้ หมาย การบูรณาการสะเต็มศึกษาเพ่อื การนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นการพฒั นาผลติ ภัณฑ์ใหม้ คี ุณภาพย่งิ ขนึ้ 6. โครงการศูนย์ส่งเสริมประชาธิปไตยตาบล พบว่า บุคลากรทุกระดับมีความรู้ความ เข้าใจในบทบาทภารกิจเป็นอย่างดี สามารถจัดอบรมด้านความเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย และทา แผน่ ประชาสมั พนั ธ์ไดต้ ามวตั ถปุ ระสงค์

166 ปัจจัยท่ีส่งผลต่อความสาเร็จ คือ 1) บุคลากรมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักใน บทบาทหนา้ ท่ีของ ศส.ปชต.เปน็ อย่างดี 2) เครือข่ายในพื้นทใี่ หค้ วามรว่ มมอื อยา่ งดยี ิง่ ปัญหาอุปสรรค 1) ครูมีภารกิจมากจนทาให้การขับเคลื่อนงานล่าช้า 2) ขาด งบประมาณในการติดต่อประสานงาน เช่น สาธารณูปโภค และค่าเดินทาง เป็นต้น 3) ขาดการบูรณาการจัด กิจกรรมและการทางานระหวา่ งเจา้ หนา้ ที่ กกต. และ ครู กศน. ข้อเสนอแนะ 1) สานักงาน กศน. ควรมีแนวทางการสร้างขวัญกาลังใจแก่ครูในการ ปฏิบัติหน้าที่สร้างเสริมประชาธิปไตย โดยการสนับสนุนทั้งด้านงบประมาณ และการยกย่องเชิดชูเกียรติ 2) ผู้บริหารระดับจังหวัดควรติดตามให้การสนับสนุนครูในการประสานงานกับเครือข่าย กกต. เพื่อให้มี แนวทางที่ชดั เจนในการทางานรว่ มกัน 7. โครงการภาษาอังกฤษเพอ่ื การสื่อสารด้านอาชีพ (Smart ONIE) พบว่า สถานศึกษาเน้น จัดกระบวนการเรียนรู้ให้แก่กลุ่มเป้าหมายท่ีประกอบอาชีพต่าง ๆ เช่น เจ้าหน้าท่ีอุทยานแห่งชาติ โดยหลักสูตรเน้นภาษาอังกฤษพื้นฐานแบบง่าย สอนโดยวิทยากรทั้งที่เป็นเจ้าของภาษา และครูท่ีผ่านการ อบรม Boot Camp หรือสอนโดยบรู ณาการทง้ั ครไู ทยและเจา้ ของภาษา การประเมนิ ผลเน้นการนาไปใช้ ปัจจัยท่ีส่งผลต่อความสาเร็จ คือ 1) จังหวัดที่มีแหล่งท่องเท่ียวและจังหวัดชายแดน ที่มีการติดต่อค้าขายท่องเท่ียว ผู้เรียนจะเรียนรู้ได้ดี และนาไปใช้ฝึกทักษะต่อเน่ืองได้ 2) มีวิทยากร ทงั้ ชาวตา่ งประเทศและชาวไทย ปญั หาอปุ สรรค 1) หลกั สตู รขาดความต่อเน่ือง กลุ่มเป้าหมายจึงขาดโอกาสในการฝึก และลืมในที่สุด 2) วิทยากรบางคนสอนแบบเน้นไวยากรณ์ ทาให้ผู้เรียนไม่เกิดความเพลิดเพลิน และมี ความเครียด ขอ้ เสนอแนะ 1) สานักงาน กศน. ควรจัดหลักสูตรอบรมผู้บริหารและศึกษานิเทศก์ให้ มีประสบการณ์และทัศนคติที่ดีต่อการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ และประสบการณ์ภาษาต่างประเทศ (International Experience) รวมทั้งสนับสนุนสื่อเทคโนโลยีช่วยสอนภาษา 2) สถานศึกษาและครูควรจัด กิจกรรมสร้างแรงบันดาลใจให้ผู้เรียนเห็นความสาคัญ และมีทัศนคติที่ดี รวมทั้งมีความในการสื่อสาร และใช้ประโยชน์ภาษาอังกฤษเพอ่ื การเรียนรแู้ ละพัฒนาอาชพี 8. การจัดการเรียนรู้ด้านการเกษตร SMART FARMER พบว่า สถานศึกษามีการ วิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสม ตามความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย โดยจัดทาหลักสูตรข้ึน เอง และ ใช้หลักสูตรที่สานักงาน กศน. อนุมัติให้ใช้ รวมท้ังได้จัดทาข้อมูล หลักสูตร ภูมิปัญญา และวิทยากร ซ่งึ ได้รบั การสนบั สนนุ จากเครือขา่ ยตา่ งๆ เชน่ สานักงานเกษตรอาเภอ พฒั นาชมุ ชน หมอดินอาสา สาธารณสุข ปราชญ์ชาวบ้าน สามารถจัดการอบรมได้ครบตามเน้ือหา ยกระดับเป็น SMART FARMER ของกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ และใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้ด้านเกษตรกรรมได้ มีความรู้ด้านการเพ่ิม มูลคา่ สินคา้ ทางการเกษตร และสามารถเพมิ่ ชอ่ งทางการจาหนา่ ยสนิ ค้าได้ ปจั จัยที่ส่งผลต่อความสาเร็จ 1) เกษตรกรให้ความสนใจและสามารถนาความรู้ไปใช้ ในชีวิตประจาวันได้จรงิ 2) เปน็ การเติมเตม็ ความรู้ใหม่ๆ ท่ีมีประโยชน์เพิ่มมากขึ้นจากพื้นความรู้เดิมเกษตรกร ท่ีมีอยู่แล้ว 3) ความร่วมมือของกลุ่มเป้าหมายที่เกิดจากความเช่ือมั่น ศรัทธา มีความภูมิใจในความเป็น เกษตรกร 4) การนิเทศชี้แจงและแนะนาการออกแบบกระบวนการเรียนรู้ของศึกษานิเทศก์อย่างต่อเน่ือง 5) มีงบประมาณในการศึกษาเรียนรู้แหล่งเรียนรูต้ ่างๆ 6) มีการติดตามผลและรายงานตามท่ีสถานศึกษากาหนด ปญั หาอปุ สรรค 1) อุปกรณ์รับสัญญาณไม่พร้อม และสัญญาณอินเตอร์เน็ต ณ จุดอบรม ไม่เสถียร 2) ไม่มีกลุ่มเป้าหมายในพื้นท่ีชุมชนเขตชนบท อุตสาหกรรม 3) สัดส่วนของช่วงเวลาการอบรมกับ เวลาว่างของกลมุ่ เป้าหมายไม่สอดคล้องกัน 4) ขาดแคลนหลกั สูตรท่ีชัดเจนเปน็ แนวทางเดยี วกันได้

167 ข้อเสนอแนะ 1) สานักงาน กศน.ควรจัดหาคู่มือและแนวทางการดาเนินงานที่ชัดเจน เพื่อให้การจัดกระบวนการเรียนรู้เป็นแนวทางเดียวกัน 2) การสนับสนุนและนิเทศภายในเพ่ือจัดการเรียนรู้ ช่วยเหลือแนะนาอย่างต่อเนื่อง โดยผู้บริหาร ครู และศึกษานิเทศก์ มีความจาเป็นและส่งผลต่อความสาเร็จ อยา่ งยิง่ 9. การดาเนินการ กศน.ตาบล 4G พบว่า 1) ด้านครูมืออาชีพ (Good Teachers) ครู กศน. ตาบล ได้รับการพัฒนาทักษะความรู้เพื่อเท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมหลายหลักสูตร เช่น การประเมินผล STEM ศึกษา หลักสูตรดิจิทัล Google Classroom ครูจึงมีการค้นคว้าเตรียมการในการจัด กระบวนการเรียนรู้ การบันทึกประวัติผู้เรียนเป็นรายบุคคล การจัดการเรียนแบบโครงงาน ฯลฯ 2) ด้านสถานที่ (Good Places Best Check In) กศน.ตาบลท่ีเป็นเอกเทศสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้ดีกว่า ทั้งด้าน อปุ กรณ์ ส่อื หนังสอื สญั ญาณอินเตอร์เน็ต การบริหารจัดการเน้นผู้รับบริการเป็นสาคัญโดยการประเมินความ พึงพอใจอยา่ งสม่าเสมอ 3) ด้านกจิ กรรมดี (Good Activities) มีการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพือ่ การพฒั นาทักษะท่ีจาเป็น โดยประสานการจัดกิจกรรมการเรียนรู้กับหลายแหล่งเรียนรู้เช่น การฝึกปฏิบัติ การเรียนรู้จากบคุ คลท่ปี ระสบความสาเร็จ การแลกเปล่ียนความคิดเห็น กิจกรรมฝึกทักษะการอยู่ร่วมกัน การ เป็นผู้นา รวมทั้งการทาโครงงานท่ีสอดคล้องกับวิถีชีวิต 4) การเป็นหุ้นส่วนที่ดี (Good Partnerships) เครือข่ายทงั้ ภาครัฐและเอกชน ใหค้ วามรว่ มมืออย่างดี และ กศน.ตาบลได้จัดทาข้อมูลหรือทาเนียบเครือข่ายไว้ อย่างเป็นระบบ มีการประสานแผนการจัดกิจกรรมและใช้ทรัพยากรร่วมกัน ทั้งด้านวิทยากร อาคาร สถานที่ ฯลฯ คณะกรรมการ กศน.ตาบลมีความเข้มแข็ง ตัวอย่างที่ดี ได้แก่ กศน.ตาบลไทรใหญ่ อาเภอไทรน้อย จังหวัด นนทบรุ ี ท่คี รใู ช้เทคโนโลยีดา้ นการจัดการเรียนร้ดู ี จนได้รบั รางวลั ครูผ้ไู ดร้ บั ทุนครูสอนดี จากสานักงานส่งเสริม สังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) มีอาคารท่ีเป็นเอกเทศซึ่งได้รับการสนับสนุนจากเครือข่าย อบต.ไทรใหญ่ ในการดาเนนิ การศนู ย์เรยี นรเู้ ศรษฐกิจพอเพียง ศนู ยด์ จิ ิทลั ชุมชน ด้วย ปญั หาอุปสรรค 1) ครูไม่ได้รับการสนับสนุนส่ือ คู่มือ เอกสารที่ทันสมัยในการจัดการ เรียนการสอน และขาดคู่มือที่ชัดเจนในการดาเนินงาน กศน.ตาบล 4G 2) ด้านการจัดการเรียนการสอนยัง ขาดการติดตามผู้เรียนหลังการอบรมหลักสูตร 3) ด้านเครือข่าย ยังขาดการประเมินผลเพื่อนามาใช้ปรับปรุง พัฒนาการจดั กจิ กรรมรว่ มกนั ข้อเสนอแนะ 1) สานกั งาน กศน.ควรพจิ ารณาจดั สรรอัตรากาลัง ครู กศน. ให้ครบทุก ตาบล และสนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาด้าน การประชุมเครือข่ายระดับพ้ืนท่ี 2) ผู้บริหารระดับจังหวัด และอาเภอควรสนับสนนุ ใหค้ รไู ดร้ บั การอบรมเพอื่ พฒั นาศกั ยภาพ รวมทง้ั ให้มเี วทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างครู กศน.ตาบล ใหร้ างวัลและขวัญกาลงั ใจ โดยการจัดประกวดแขง่ ขัน เป็นตน้ ภารกจิ ต่อเน่ือง 10. การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 พบว่า มีการพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษาผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการ สถานศึกษา มีผู้เชี่ยวชาญร่วมพัฒนาหลักสูตร รายวิชาเลือกมีความเหมาะสมตามความต้องการของท้องถ่ิน แต่ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ครูยังเข้าใจเรื่องความสาคัญในการบันทึกหลังสอนน้อย จึงไม่มีการนาผล ไปวิเคราะห์เพื่อพัฒนาปรับปรุง และการวัดผลประเมินผลยังเป็นไปตามกระบวนทัศน์เดิม คือใช้ “ข้อสอบ” และผลคะแนน ขาดการประเมินตามสภาพจริง ซ่ึงสอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษาที่มุ่งเน้นผู้เรียน เป็นสาคญั มากกวา่ ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสาเร็จ คือ 1) ผู้บริหาร กศน.จังหวัด อาเภอ ผู้นิเทศ และ ครู ร่วมกาหนดแนวทางการจัดการศึกษาให้สอดคล้องตามนโยบายท่ีสานักงาน กศน.กาหนด เช่น ผลสัมฤทธ์ิ

168 ทางการเรยี น การพัฒนาคณุ ธรรม และการจัดกิจกรรมพัฒนาผ้เู รียน 2) การใช้รปู แบบการเรยี นรู้ท่ีหลากหลาย และการใช้ดจิ ิทัล รวมทัง้ การวิจยั ในชัน้ เรียน ปัญหาอุปสรรค 1) ครูมีภาระงานมาก โดยต้องรับผิดชอบโครงการต่าง ๆ เช่น โครงการเน็ตประชารัฐ โครงการไทยนิยมยั่งยืน โครงการดิจิทัลชุมชน ซ่ึงส่งผลต่อการเอาใจใส่ผู้เรียนและ มีจานวนผู้ขาดสอบมากข้ึน ผลสัมฤทธ์ิในการเรียนต่าลง 2) ครูยังคงต้องการการพัฒนาในอีกหลากหลายด้าน โดยเฉพาะการจดบนั ทึกหลังการสอน กระบวนการสะเตม็ ศกึ ษา และการวจิ ัยในชัน้ เรยี น ข้อเสนอแนะ 1) สานักงาน กศน.ควรให้แนวทางต่อผู้บริหาร เพ่ือสามารถแนะนาครู ในเรื่องการจัดแบ่งเวลา และจัดสมดุลในการปฏิบัติการจัดการเรียนการสอน และการปฏิบัติงานร่วมกับ เครอื ขา่ ยในภารกจิ ใหม้ ีความเหมาะสม รวมทั้งพัฒนาโปรแกรม ITW เพ่ือให้สอดคล้องกับการประเมินครู กศน. 2) สถานศึกษาควรจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างครูอย่างสม่าเสมอ เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอน อยา่ งต่อเนื่อง 11. การศึกษาต่อเนื่อง โครงการพัฒนาทักษะชีวิต การศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและ ชุมชน พบวา่ สถานศกึ ษาไดจ้ ัดการศกึ ษาใหส้ อดคล้องกบั สภาพปัญหาและความต้องการของชุมชน หลักสูตรมีความ ทันสมัย ทันเหตุการณ์ เช่น ด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน การทาบัญชีครัวเรือน ภาษาอังกฤษเพื่อ การอาชีพ การป้องกันอัคคีภัย การขับข่ีปลอดภัย รู้เท่าทันสื่อ 4.0 การอนุรักษ์ความเป็นไทย และการพัฒนา วัด เป็นต้น ปัจจัยท่ีส่งผลต่อความสาเร็จ คือ 1) ความหลากหลายของหลักสูตร 2) ผู้นาชุมชน และภาคเี ครอื ข่ายสนับสนุนการจดั กิจกรรมเป็นอยา่ งดีทุกด้าน 3) ครู กศน.มีความสามารถในการประสานงาน เพื่อจัดกระบวนการเรยี นรู้ ปัญหาอุปสรรค 1) ผู้เรียนไม่สามารถร่วมกิจกรรมได้ครบหลักสูตร 2) สถานศึกษา ขาดการตดิ ตามผลผู้จบหลกั สูตร ข้อเสนอแนะ 1) สานักงาน กศน. ควรจัดกิจกรรมให้ความรู้เรื่องท่ีทันยุค ทันสมัยแก่ ครู และสถานศึกษา โดยการอบรมหรือผ่าน ETV อย่างสม่าเสมอ เพื่อให้สามารถนาไปปรับใช้ในการจัดการ เรียนการสอน 2) สถานศึกษาควรดาเนนิ การประเมินผลหลักสูตรและการนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันของ ผูเ้ รยี น 12. การศึกษาตามอัธยาศัย พบว่า ในการจัดกิจกรรมห้องสมุดประชาชน บ้านหนังสือ ชุมชน และห้องสมุดเคล่ือนที่สาหรับชาวตลาด สถานศึกษาได้สารวจความต้องการของผู้รับบริการโดยจัดทา ฐานข้อมูลด้วยโปรแกรม PLS และ ระบบเช่ือมโยงฐานข้อมูล แล้วนาไปสู่การวางแผนกิจกรรม ซ่ึงมีกิจกรรม เชิงรุกกระจายถึงทุกชุมชน โดยรถห้องสมุดเคล่ือนท่ี การใช้เทคโนโลยี เช่น QR Code / AR จัดบอร์ด นิทรรศการ แนะนาหนังสอื ผา่ น Application line สาหรับกิจกรรมบ้านหนังสือชุมชน ที่สามารถเข้าบริการถึงประชาชนในชุมชน ทาให้ เกิดความสะดวกในการใช้บริการ และคนในชุมชน ดูแลรับผิดชอบเองได้ เช่น อยู่ท่ีร้านค้า ร้านกาแฟ ศูนย์สาธารณสุข ชุมชน มีบริการ w-ifi หนังสือครบถ้วน มีการประเมินความพึงพอใจผู้ใช้บริการได้ในระดับ “ดี” มีจานวนผ้ใู ช้บริการเฉลี่ยวนั ละ 15 คน ห้องสมุดเคลื่อนท่ีสาหรับชาวตลาด ได้ดาเนินงานโครงการห้องสมุดเคลื่อนท่ีสาหรับ ชาวตลาดต้นแบบ สถานศึกษาละ 1 แห่งในตลาดสด ตลาดนัด มีจิตอาสาหมุนเวียนดูแล แต่ยังพบว่าจานวน ผู้มาใชบ้ รกิ ารยงั มีน้อย พอ่ ค้า แม่คา้ ไมม่ ีเวลา มีเสียงดงั รบกวน เปน็ ต้น

169 ปัจจัยท่ีส่งผลต่อความสาเร็จ คือ 1) การวางแผนและการจัดการที่ดีของบุคลากร ท่ีเกยี่ วข้อง ตง้ั แต่ผบู้ ริหาร ผู้รับบริการ และผู้เกี่ยวข้อง 2) การนิเทศติดตามผลอย่างต่อเนื่อง 3) นโยบายของ จังหวัดท่ีสนับสนุนด้านงบประมาณและให้ความสาคัญต่อการอ่าน เช่น การให้งบประมาณจัดทามินิโมบาย 4) การประชาสัมพนั ธ์เชญิ ชวนผูใ้ ช้บริการผา่ นหลายชอ่ งทางอย่างสม่าเสมอ ปญั หาอุปสรรค 1) ปญั หาความไมม่ ั่นคงในอาชพี และคุณภาพความรู้ของผู้รับผิดชอบ ดูแลกิจกรรมในปัจจุบัน 2) การไม่ประสานงานในการใช้ประโยชน์ห้องสมุดฯ เพ่ือการจัดการเรียนรู้ของ สถานศึกษา 3) การขาดแคลนอุปกรณ์ด้าน IT 4) ลักษณะการเรียนรู้ท่ีเปล่ียนไปจากการอ่านหนังสือเป็นการ ใช้ Social Media ข้อเสนอแนะ 1) สานักงาน กศน. ควรสนับสนุนด้านอุปกรณ์คอมพิวเตอร์เพ่ือการใช้ บริการสืบค้นมากขน้ึ กวา่ ในปจั จุบัน 2) ผู้บริหารสานักงาน กศน. ควรนิเทศติดตามผลการดาเนินงานโครงการ กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน และให้ความสาคัญต่อการรวบรวมข้อมูล สรุปผล รายงานผล เพ่ือนาไปใช้ในการ พัฒนาปรับปรุงการดาเนินงานให้ดียิ่งข้ึนต่อไป 3) ให้กาลังใจบุคลากรและส่งเสริมการอ่านของห้องสมุด ประชาชนอย่างต่อเน่ือง สาหรับการขับเคล่ือนนโยบายจุดเน้นสถานศึกษาข้ึนตรง พบว่า ศฝช.สระแก้ว ได้ ดาเนินการตามยุทธศาสตร์ ดังน้ี 1) การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนให้มีคุณภาพ โดยการจัดอาชีพตาม หลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงร่วมกับภาคีเครือข่าย มูลนิธิ MOA โรงพยาบาลและกองทุนสนับสนุนการ สร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสาธารณสุขจังหวัด 2) การส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้านเกษตรกรรม (SMART Farmer) ในโครงการทับทิมสยาม ปลูกเมลอ่ นระบบโรงเรือน โดยไดร้ บั สนับสนุนเครื่อง “ดีแทคฟาร์มแม่นยา” มาใช้วิเคราะห์ข้อมูลผ่านแอพลิเคช่ันบนโทรศัพท์มือถือ ทาให้การควบคุมการผลิตเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ลดต้นทุนและเพิ่มคุณภาพการผลิต 3) การส่งเสริมและจัดการศึกษาเพ่ือเสริมสร้างคุณภาพที่เป็นมิตร กับส่งิ แวดล้อม โดยการทาแปลงเกษตรธรรมชาติ ป๋ยุ จากใบไม้ ผลิตและให้ความรู้เก่ียวกับสารทดแทนสารเคมี เพ่ือป้องกนั ศตั รูพืช รวมทง้ั ผลิตเอกสารเผยแพร่ใหผ้ มู้ าศึกษาดูงาน ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพ่ือการศึกษา พบวา่ อวจ.หวา้ กอ ได้ดาเนินการตามยุทธศาสตร์ดา้ นการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการ โดยจัดอบรมเร่ืองการประกันคุณภาพ โดยเชิญวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิและหน่วยศึกษานิเทศก์ไปให้คาแนะนา ซึง่ บคุ ลากรที่เขา้ รบั การอบรมได้ปฏิบตั กิ ารวเิ คราะห์ SWOT และได้รับการนิเทศแนะนาเพิ่มเติมให้สถานศึกษา พฒั นาบุคลากรดา้ นการคดิ เชงิ กลยุทธ์ และการประชาสมั พนั ธ์ให้สถานศกึ ษาเป็นท่ีรู้จักในฐานะแหล่งเรียนรู้ที่มี ความสาคญั เชงิ ประวัตศิ าสตร์ ศว.นครศรีธรรมราช ดาเนินการประชาสัมพันธ์สถานศึกษาจนได้รับรางวัลดีเด่นประเภท แหล่งท่องเท่ียวนันทนาการเพื่อการเรียนรู้ “กินรี” จากกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา จานวน 4 คร้ัง คือ พิพิธภัณฑ์มีชีวิต/ Play and Learn (2 ครั้ง) /และห้องเรียนธรรมชาติ โดยวิธี 1) พัฒนาประสิทธิภาพระบบ การบรหิ ารจดั การ 2) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเสรมิ สรา้ งคณุ ภาพชวี ติ ที่เปน็ มติ รกบั ส่งิ แวดล้อม เช่น นักสืบ สายน้า คนค้นป่า การขับเคลื่อนการพัฒนาคนสู่ SMART ONIE โดยการอบรมทาคลิปสอนวิทยาศาสตร์แก่ บคุ ลากรเพือ่ เผยแพรท่ าง Social Media ศว.สมุทรสาคร ได้ดาเนินการจัดกิจกรรมการศึกษาอาชีพเชิงรุก ให้ประชาชน กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ด้านอาชีพที่เหมาะสมกับสภาพบริบท และความต้องการของพื้นท่ีชุมชน โดยการใช้ ทรัพยากรท้องถิ่นทาผลิตภัณฑส์ ร้างอาชีพ สร้างรายได้ เชน่ การทาต๊กุ ตาลูกตีนเป็ด และการทาเทียนหอม เปน็ ตน้

170 ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนกาญจนาภิเษก (วิทยาลัยในวัง) ดาเนินการจัดการศึกษา ด้านอาชีพและมงุ่ เปน็ ตน้ แบบในการสง่ เสริมการเรยี นรู้ดา้ นศลิ ปะไทยและศิลปวัฒนธรรมไทย โดยพัฒนาทักษะ อาชีพ ทั้งหลักสูตรระยะสั้นและระยะยาว รวมทั้งนิทรรศการจัดกิจกรรมไทยและหุ่นหัวโขน รวมทั้งส่งเสริม เครือข่ายท่ัวประเทศ ซึ่งหากพัฒนาการบริหารจัดการโดยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยในการ ประชาสัมพันธ์ คัดกรองผู้เรียน และการประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ รวมท้ังมีการวิจัยและนาผลมาใช้ในการ พัฒนากิจกรรม จะทาให้สถานศกึ ษามีความโดดเด่นสมกบั เปน็ ต้นแบบตามวัตถุประสงค์ ปัจจัยส่งผลต่อความสาเร็จ 1) หลักคิดในการจัดต้ังสถานศึกษาข้ึนตรงมีอัตลักษณ์ และมีเป้าหมายท่ีเอ้ือต่อการสร้างการเรียนรู้เฉพาะด้านและการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน 2) สถานศึกษาข้ึนตรงมีความเป็นเอกเทศและอิสระในการสร้างสรรค์งานท่ีมีกรอบและข้อจากัดน้อยกว่าการจัด การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน 3) บคุ ลากรของสถานศกึ ษายังมเี พยี งพอทัง้ ด้านปริมาณและคณุ ภาพ ปัญหาอุปสรรค 1) มีช่องว่างระหว่างกลุ่มสถานศึกษา เช่น กลุ่มศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อ การศึกษา กลุ่มศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน ทั้งช่องว่างในกลุ่มเดียวกันและช่องว่างที่ ไม่มีการเชื่อมต่อกับผู้บริหารระดับสูง และนโยบายในการดาเนินงาน 2) ขาดการพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ทันยุคสมยั ข้อเสนอแนะ สานักงาน กศน. ควรจัดกิจกรรมเน้นการมีส่วนร่วมในการขับเคล่ือนนโยบายแก่ สถานศึกษาขนึ้ ตรงเพ่ือใหเ้ กดิ ความรว่ มมือร่วมใจมากยิง่ ขน้ึ ท้ังน้ี ผลจากการนิเทศในคร่ึงปีแรกและข้อค้นพบสาคัญตลอดจนผลงานเด่น หนว่ ยศกึ ษานเิ ทศกจ์ ะได้พจิ ารณาดาเนนิ การนิเทศเพ่อื การพัฒนาคุณภาพต่อไปไตรมาสที่ 3 - 4 เพื่อตอบสนอง นโยบายและจุดเน้นของสานักงาน กศน. ให้บรรลุเป้าหมาย อนึ่งข้อสังเกตจากการประชุมสรุปผลการนิเทศครั้งน้ี เปน็ การดาเนินการร่วมกนั ระหวา่ งส่วนกลาง สถาบัน กศน.ภาค และศึกษานเิ ทศก์จังหวดั และจาเป็นอย่างย่ิงที่ ต้องพัฒนารูปแบบการดาเนินงานให้มีประสิทธิภาพรวดเร็วทันการ หน่วยศึกษานิเทศก์จึงเห็นสมควร ดาเนินการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาทักษะกระบวนการ วิเคราะห์และเรียบเรียงข้อมูลเพื่อการรายงานผล เฉพาะกิจแกผ่ เู้ กย่ี วขอ้ ง ซ่งึ สานักงาน กศน. ไดอ้ นุมตั ิงบประมาณไว้แล้ว จงึ เรียนมาเพ่ือโปรด 1. ทราบสรุปผลการนเิ ทศครึ่งปีงบประมาณ 2561 2. เหน็ ชอบในหลักการให้หนว่ ยศึกษานเิ ทศก์ 2.1 ดาเนินการนเิ ทศในเชิงรุกเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดกจิ กรรม กศน. ในไตรมาสที่ 3 - 4 2.2 จัดการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาทักษะกระบวนการวิเคราะห์เรียบเรียงข้อมูล ให้แก่บุคลากรท่ีเกี่ยวข้อง ซ่ึงท้ังน้ีจะได้นาเสนอสานักงาน กศน. ในรายละเอียดของกิจกรรมแต่ละกิจกรรม ตอ่ ไป

171 บนั ทึกข้อความ ส่วนราชการ หน่วยศกึ ษานิเทศก์ ฝ่ายบริหารงานทวั่ ไป โทร. ๕๑๒ ท่ี ศธ ๐๒๑๐.๑๒๐/ วนั ที่ ตุลาคม ๒๕๖1 เร่ือง รายงานผลการประชมุ ปฏบิ ัติการจัดทารายงานสรปุ ผลการนิเทศ งบประมาณประจาปี พ.ศ.2561 เรียน เลขาธิการ กศน. ตรวจเสนอ ตามที่ สานักงาน กศน. ได้อนุมัติให้หน่วยศึกษานิเทศก์ จัดประชุมปฏิบัติการจัดทารายงาน สรุปผลการนิเทศ งบประมาณประจาปี พ.ศ. 2561 ระหว่างวันที่ 11 – 14 กันยายน 2561 ณ โรงแรมเนวาด้า คอนเวนชั่น โฮเทล จังหวัดอุบลราชธานี นัน้ ผลการประชมุ สรปุ ไดด้ งั นี้ 1. ผู้เข้าประชุม ประกอบด้วย ศึกษานิเทศก์ส่วนกลางและศึกษานิเทศก์สังกัดสานักงาน กศน. จังหวัด จานวน 53 คน ผู้อานวยการสถาบัน กศน.ภาค จานวน 2 คน รองผู้อานวยการสานักงาน กศน.จังหวัด ท่ีไม่มีศึกษานิเทศก์และผู้แทน จานวน 25 คน ผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 4 คน และเจ้าหน้าท่ีท่ีเก่ียวข้อง จานวน 6 คน รวมท้งั ส้นิ 90 คน 2. รปู แบบการประชุม เป็นการให้ความรู้และการแลกเปล่ียนประสบการณ์ เพื่อสรุปรายงานผล และวางแนวทางการนิเทศร่วมกนั ดังนี้ 2.1 การประมวลประสบการณ์การนิเทศแบบบูรณาการของศึกษานิเทศก์ สานักงาน กศน. (สานกั งาน กศน.จงั หวดั /ผูท้ าหน้าทน่ี ิเทศในจังหวัดท่ีไม่มีศกึ ษานเิ ทศก์และสถาบัน กศน.ภาค) ในปีงบประมาณ 2561 2.2 แนวทางการนิเทศโดยการใช้ส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศ E - supervision ช่วยในการนิเทศ กิจกรรมการเรยี นการสอนของครู เพ่อื ใหส้ ามารถปฏิบัตกิ ารนเิ ทศสถานศกึ ษาไดอ้ ย่างทว่ั ถงึ 2.3 การรายงานนิเทศ กศน.หนา้ เดียว (One page Summary) เพ่ือสรุปสาระสาคัญในเวลาอันส้ัน และผรู้ บั การรายงานสามารถตดั สินใจได้อย่างรวดเรว็ 2.4 การใช้ระบบสารสนเทศเพื่อรายงานผลการนิเทศ โดยนาข้อมูลเชิงปริมาณ (ระบบ สารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการของกลุ่มแผนงาน) และข้อมูลเชิงคุณภาพจากการลงพื้นที่นิเทศมานาเสนอ การรายงานผลการนิเทศอย่างมีประสทิ ธิภาพ 2.5 ระบบรายงานผลการนิเทศออนไลน์ เพ่ือลดขั้นตอนการสง่ รายงานทางไปรษณยี ์ 3. สรุปผลการนิเทศคร่ึงปีหลัง โดยการแบ่งกลุ่มสรุปผลการนิเทศตามนโยบายจุดเน้นของ สานักงาน กศน. พร้อมรายงานผลการนิเทศ จานวน 14 ประเด็น ดังน้ี 1) การขับเคล่ือนการดาเนินงานตาม โครงการไทยนิยม ยั่งยืน 2) การขับเคล่ือนการดาเนินงานโครงการอบรมประวัติศาสตร์ชาติไทยและบุญคุณของ พระมหากษตั ริยไ์ ทย 3) การดาเนินงานโครงการสร้างเครือข่ายดิจิทัลชุมชนระดับตาบล 4) การดาเนินงานโครงการ ศูนย์เรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่ประจาตาบล 5) การดาเนินงานโครงการศูนย์ฝึกอาชีพ ชุมชน 6) การดาเนินงานโครงการศูนย์ส่งเสริมประชาธิปไตยตาบล 7) การส่งเสริมภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร ด้านอาชพี 8) การสง่ เสริมการเรียนรู้ด้านเกษตรกรรม (Smart Farmer) 9) กศน.ตาบล 4 G 10) การศึกษาพ้ืนฐาน 11) การศึกษาต่อเนื่อง 12) การศึกษาตามอัธยาศัย 13) การประกันคุณภาพการศึกษา และ 14) ประเด็นการ ขับเคลอื่ นงานของรัฐมนตรีชว่ ยว่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ (พลเอกสรุ เชษฐ์ ชยั วงศ์) รายละเอยี ดดังแนบ

172 4. การประเมินผล หน่วยศึกษานิเทศก์ได้ให้ความสาคัญกับการนิเทศเชิงบูรณาการและ การรายงานผลการนิเทศเพื่อให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องนาไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนากิจกรรมให้มีประสิทธิภาพ ย่ิง ๆ ขึ้น โดยได้นาเทคโนโลยีสารสนเทศมาพัฒนาระบบการรายงานผล (URL 203.147.24.42/nites) ทั้งน้ี 1) ก่อนการประชุมผู้เข้าร่วมประชุมต้องส่งรายงานสรุปผลซ่ึงมีผู้ส่งรายงานการนิเทศรายบุคคลผ่านระบบ โดยผู้นิเทศ/ศึกษานิเทศก์ ร้อยละ 32.74 สามารถใช้ระบบได้ทันที (25 คน) ต้องเรียนรู้ผ่านการแนะนา (12 คน) ส่งผ่านช่องทางอ่ืน (อีเมล์/ไลน์) ร้อยละ 21.24 (24 คน) และผู้ไม่ส่งรายงาน ร้อยละ 46.02 (52 คน) สาหรับ การประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมประชุม โดยใช้มาตราส่วนประมาณค่า 3 ระดับ พบว่า ผู้เข้าร่วมประชุมมี ความพงึ พอใจอยูใ่ นระดับมากทุกเรื่องท้ังในด้านประโยชน์ท่ีได้รับและด้านการบริหารจัดการ โดยมีข้อเสนอแนะให้ พฒั นางานวชิ าการให้ศึกษานิเทศก์ได้มีการทาวิจัย และจัดทา Best Practices ของแต่ละพ้ืนที่เพ่ือให้ศึกษานิเทศก์ มีบทบาทในการนิเทศอย่างแทจ้ รงิ (ดังแนบ) อนึ่ง หน่วยศึกษานิเทศก์จะได้ดาเนินการประมวลข้อมูลโดยละเอียด ตลอดจนผลการปฏิบัติงาน ท่ีดี (Best Practies) ของแต่ละจุดเน้นในการจัดทารายงานสรุปผลการนิเทศประจาปี 2561 เป็นรูปเล่มเพื่อเผยแพร่ แกส่ ถานศกึ ษาและผสู้ นใจไดใ้ ช้ประโยชน์ในการพฒั นากิจกรรม กศน. ตามงบประมาณที่จะได้รบั อนุมตั ิต่อไป จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบ

173 บันทึกขอ้ ความ ส่วนราชการ หนว่ ยศกึ ษานิเทศก์ ฝา่ ยบริหารงานทวั่ ไป โทร. 512 ที่ ศธ 0210.120/ วนั ท่ี กนั ยายน 2561 เร่อื ง รายงานการประชุมคณะกรรมการฝ่ายประเมินผลการจัดงานมหกรรมเฉลมิ พระเกยี รติพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยูห่ วั ทอดพระเนตรสุริยุปราคา ณ หว้ากอ ครบรอบ 150 ปี เรยี น เลขาธกิ าร กศน. (ปฏิบัตริ าชการแทนปลัดประทรวงศึกษาธิการ) ตรวจเสนอ ตามท่ี สานักงาน กศน. ได้มอบหมายให้คณะกรรมการประเมินผลการจัดงานมหกรรมฯ รายละเอียดตามคาสั่งสานักงาน กศน. ที่ 126/2561 ลงวันท่ี 16 กรกฎาคม 2561 เร่ือง คณะกรรมการ อานวยการและคณะกรรมการดาเนินงานมหกรรมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทอดพระเนตรสุริยุปราคา ณ หว้ากอ ครบรอบ 150 ปี ดาเนินการประเมินผลการจัดงานมหกรรมฯ เมื่อวันท่ี 18 – 24 สิงหาคม 2561 ณ อทุ ยานวิทยาศาสตรพ์ ระจอมเกลา้ ณ หวา้ กอ จังหวัดประจวบครี ขี ันธ์ นน้ั บัดนี้ คณะกรรมการประเมินผลการจัดงานมหกรรมฯ ได้ดาเนินการรวบรวม วิเคราะห์ และ สรุปผลการจดั กิจกรรม ดงั นี้ ๑. การรวบรวมข้อมูล โดยใช้แบบประเมินความพึงพอใจ เป็นแบบมาตราส่วน ๕ ระดับ และ แบบปลายเปดิ โดยการส่มุ อย่างงา่ ยจากผู้เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ในงานมหกรรม ได้แบบสอบถามกลับคืนจานวน ๕๔๒ ฉบับ คดิ เป็นร้อยละ ๘๖.๗๕ ของกลมุ่ ตวั อย่าง (กลุม่ ตัวอยา่ งจานวน ๖๒๕ คน) 2. ข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนใหญ่เป็นนักเรียน และนักศึกษา กศน. มีอายุต่ากว่า ๑๖ ปี และในการรับรู้ข่าวสารข้อมูลจากจัดงานส่วนใหญ่ทราบจากจดหมายเวียนตามสถานศึกษา และแผน่ ประชาสัมพันธ์ 3. ความพงึ พอใจต่อการจัดงาน มีดงั น้ี 3.1 ความพึงพอใจในภาพรวมของการจัดงาน ผู้ตอบแบบสอบถามโดยส่วนใหญ่มีความ พงึ พอใจในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย ๔.๓๗) 3.2 ความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรม ปรากฏว่าทั้งด้านการบริการ ด้านวิชาการ/รูปแบบ กิจกรรม และด้านการนาไปใช้ประโยชน์/ทักษะท่ีได้รับจากการเข้าร่วมกิจกรรม มีความพึงพอใจในระดับมาก (ค่าเฉลยี่ ๔.๐๔ ๔.๓๑ และ ๔.๓๒ ตามลาดบั ) 4. ข้อเสนอแนะ ผู้ตอบแบบสอบถามมีข้อเสนอแนะในการจัดงานมหกรรมเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทอดพระเนตรสุริยุปราคา ณ หว้ากอ ครบรอบ 150 ปี ว่าเป็นโครงการ ที่ดีทาให้มีความรู้มากย่ิงข้ึนและเห็นควรจัดลักษณะนี้ทุกปี แต่ระยะทางแต่ละจุดไกลมาก ทาให้เข้าร่วมกิจกรรม ไดน้ ้อย ตลอดท้งั อากาศค่อนข้างร้อน และควรมีรถบริการรับสง่ ไปยังบริเวณต่าง ๆ ในงานมากกว่านี้ 5. แนวทางในการพัฒนา เน่ืองจากกิจกรรมดังกล่าวเป็นภารกิจท่ีเกิดขึ้นเฉพาะกาล ดังน้ัน เพ่ือให้การดาเนินงานมีประสิทธิภาพย่ิงขึ้น หากมีการดาเนินงานลักษณะน้ีในคราวต่อไป เห็นควรให้หน่วยงาน ท่เี กยี่ วข้องกาหนดเป็นแผนการดาเนินงานให้ชดั เจน มกี ารประชาสัมพนั ธ์อยา่ งเหมาะสมและต่อเน่ือง /รวมท้ังให้...

174 -2- รวมท้ัง ควรคานึงถึงความสะดวกในการเข้าชมนิทรรศการ กิจกรรม และการจัดสถานท่ีให้เหมาะสม เพ่ือประโยชน์ ของกลุ่มเป้าหมายในการเข้าชมนิทรรศการและกิจกรรม (รายละเอียดตามเอกสารท่ีแนบมาพร้อมน้ี) จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและพิจารณา หากเหน็ ชอบโปรด 1. มอบ ศน. แจ้งหนว่ ยงานที่เก่ียวข้อง 2. มอบอุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เพื่อดาเนินการ ต่อไป 3. พิจารณาส่ังการตามที่เหน็ สมควร

175 สรปุ ผลการประเมินความพึงพอใจตอ่ การเข้าร่วมกจิ กรรม งานมหกรรมเฉลิมพระเกียรตพิ ระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าอย่หู ัว ทอดพระเนตรสุริยุปราคา ณ หว้ากอ ครบรอบ 150 ปี 18 - 24 สงิ หาคม 2561 ณ อุทยานวิทยาศาสตรพ์ ระจอมเกล้า ณ หว้ากอ จงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ์ บทนา สงั คมในปจั จุบนั มคี วามเจริญอยา่ งรวดเรว็ โดยเฉพาะความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ เกิดการติดต่อส่ือสารกันอย่างกว้างขวางในโลกไร้พรมแดนส่งผลให้เกิดสภาพแวดล้อมและสภาพความเป็นอยู่ ในสังคมไทยเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว มีภาวะความเร่งรีบในการดาเนินชีวิต ครอบครัวขาดความอบอุ่น สังคมไม่เขม้ แข็ง อีกท้ังสภาพแวดล้อมที่เด็กอาศัยอยู่อาจไม่เหมาะสมกับวัยของเด็ก จากปัญหาดังกล่าวรัฐบาล จงึ เน้นถงึ ความสาคญั ของการศึกษาที่จะสร้างพลังในการดารงอยู่และเป่ียมไปด้วยจิตใจอันดีงามของเด็ก อีกท้ัง ต้องร่วมกันสร้างสภาพแวดล้อมในท้องถิ่นให้ปลอดภัยและน่าอยู่ด้วยธรรมชาติพร้อมกับประชากรท่ีมีจิตใจ อนั งดงาม รัฐบาลไทยมีนโยบายไทยแลนด์ 4.0 เพ่ือวางรากฐานการพัฒนาประเทศในระยะยาว และ เปน็ จุดเริ่มต้นในการขบั เคลอื่ นไปสู่การเปน็ ประเทศทีม่ นั่ คง มั่งคั่ง และยั่งยืนซ่ึงการพัฒนาความรู้ความสามารถ ของคนไทยในด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีความสาคัญอย่างยิ่งในการสร้างสรรค์นวัตกรรมตามนโยบาย ดังกล่าวและแผนยุทธศาสตร์การบูรณาการด้านพิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560–2579) ยุทธศาสตร์ที่ 1 การจัดกิจกรรมเชิงบูรณาการระหว่างพิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้มีเป้าประสงค์คือ พิพิธภัณฑ์ แหล่งเรียนรู้ และภาคส่วนที่เกี่ยวข้องมีการเช่ือมโยงการทางานและการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้และการ ท่องเท่ียวร่วมกันได้อย่างมีเอกภาพและประสิทธิภาพสูง และยุทธศาสตร์ที่ 3 การเสริมสร้างวัฒนธรรมการ เรียนรู้ผ่านพิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้ มีเป้าประสงค์คือคนไทยทุกช่วงวัยเห็นประโยชน์ของการเรียนรู้ตลอด ชีวิตผ่านพิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้ และมีพฤติกรรมนิสัยใฝ่เรียนรู้ในพิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตลอดชีวิต รัฐบาลไทยได้ให้ความสาคัญกับการให้การศึกษาและการเผยแพร่ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ มาอย่างต่อเน่ืองและได้กาหนดให้เดือนสิงหาคม เป็นช่วงสัปดาห์วิทยาศาสตร์เพ่ือระลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ ของพระบาทพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 พระบิดาวิทยาศาสตร์ไทย ประกอบกับในปี 2561 เป็นปี ครบรอบ 150 ปี ทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ทรงคานวณโดยใช้หลักวิชาคณิตศาสตร์ ช้ันสูงและดาราศาสตร์ที่ทรงศึกษาด้วยพระองค์เอง ว่าจะเกิดสุริยุปราคาเต็มดวง ในวันอังคารเดือน 10 ข้ึน 1 ค่า ปีมะโรง จุลศักราช 1230 ซ่ึงเทียบกับปฏิทินทางระบบสุริยคติ ตรงกับวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ.2411 มองเห็นได้ตั้งแต่อาเภอปราณบุรี ลงไปถึงจังหวัดชุมพร โดยเฉพาะท่ีบ้านหว้ากอ อาเภอเมือง จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ และทรงประกาศไว้ล่วงหน้าถึง 2 ปี พระองค์ได้เสด็จพระราชดาเนินมาพิสูจน์การเกิด สุรยิ ุปราคาเตม็ ดวง พรอ้ มพระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชบริพารและชาวต่างประเทศ ซึ่งเป็นจริงตามที่ทรงคานวณ ไว้ เป็นการประกาศพระเกียรติคุณและพระปรีชาญาณของพระมหากษัตริย์ไทยให้โลกได้รับรู้ พระองค์ได้รับการ ยกย่องจากวงการวิทยาศาสตร์ไทยว่าเป็น “พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย” ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการได้ มอบหมายให้สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สานักงาน กศน. โดยกลุ่มศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษา ร่วมจัด งานมหกรรมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทอดพระเนตรสุริยุปราคา ณ หว้ากอ

176 ครบรอบ 150 ปี โดยจัดให้มีกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย ระหว่างวันท่ี 18 – 24 สิงหาคม 2561 โดยดาเนินการร่วมกับอีก 3 หน่วยงานหลัก ได้แก่ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ และกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา และหน่วยงานเครือข่ายอ่ืน ๆ ท้ังภาครัฐและเอกชน ในการร่วมจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในงานมหกรรมดังกล่าว และสานักงาน กศน. แต่งต้ังคณะกรรมการเพื่อ ดาเนินการประเมินความพึงพอใจของผู้ร่วมกิจกรรมต่อการจัดงานมหกรรมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว ทอดพระเนตรสุริยปุ ราคา ณ หว้ากอ ครบรอบ 150 ปี ซ่ึงจะเป็นข้อมูลในการพัฒนา และปรบั ปรุงการดาเนนิ การจดั งานตอ่ ไป วัตถปุ ระสงคก์ ารประเมนิ เพื่อประเมินความพึงพอใจต่อการจัดงานมหกรรมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยหู่ วั ทอดพระเนตรสรุ ิยปุ ราคา ณ หว้ากอ ครบรอบ 150 ปี ดังน้ี 1. ด้านการบริการ 2. ดา้ นวิชาการ/รปู แบบการจัดกจิ กรรม 3. ด้านการนาไปใช้ประโยชน์/ทักษะท่ีไดร้ ับ 4. ความพึงใจในภาพรวมของการจัดงาน ขอบเขตการดาเนินงาน ในการประเมินผลความพึงพอใจต่อการจัดงานมหกรรมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอม เกลา้ เจา้ อยูห่ ัว ทอดพระเนตรสุริยุปราคา ณ หว้ากอ ครบรอบ 150 ปี มขี อบเขตการดาเนนิ งานสรปุ ดังน้ี 1. กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักเรียน นักศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา และประชาชนทั่วไป ที่เข้า ร่วมกจิ กรรมในงานมหกรรมเฉลมิ พระเกียรตพิ ระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทอดพระเนตรสุริยุปราคา ณ หว้ากอ ครบรอบ 150 ปี ระหว่างวันที่ 18 - 24 สิงหาคม 2561 ณ อุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หวา้ กอ จงั หวดั ประจวบครี ีขนั ธ์ 2. เนอ้ื หาการประเมนิ ความพึงพอใจในดา้ นต่าง ๆ ดังนี้ 1) ด้านการบรกิ าร 2) ดา้ นวชิ าการ/รูปแบบการจัดกิจกรรม 3) ดา้ นการนาไปใชป้ ระโยชน/์ ทักษะที่ได้รบั 4) ความพงึ ใจในภาพรวมของการจดั งาน 3. ระยะเวลา ในช่วงการจัดกิจกรรมงานมหกรรมฯ ระหวา่ งวนั ท่ี 18 – 24 สิงหาคม 2561

177 นิยามคาศพั ท์ ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกในการเข้าร่วมกิจกรรมในงานมหกรรมเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทอดพระเนตรสุริยุปราคา ณ หว้ากอ ครบรอบ 150 ปี ในด้านต่าง ๆ โดยมีระดับความพึงพอใจ 5 ระดับ ได้แก่ 5 พึงพอใจมากที่สุด 4 พึงพอใจมาก 3 พึงพอใจปานกลาง 2 พึงพอใจน้อย และ 1 พงึ ใจน้อยที่สุด ด้านการบริการ หมายถึง การได้รับความสะดวกในการเข้าชม ความสะดวกในการลงทะเบียน ความชัดเจนในการตอบคาถามของเจ้าหน้าที่ การให้บริการของเจ้าหน้าท่ี และการมีส่ิงอานวยความสะดวก ในการเขา้ ชมงาน ด้านวิชาการ/รูปแบบการจัดกิจกรรม หมายถึง เนื้อหาวิชาการหรือรูปแบบการจัดกิจกรรม ได้แก่ ความทันสมัยของเน้ือหา ความหลากหลายของกิจกรรม ความน่าสนใจของกิจกรรมท่ีจัด และการให้ผู้เข้าร่วม กจิ กรรมไดล้ งมือปฏิบตั ิ ด้านการนาไปใช้ประโยชน์/ทักษะที่ได้รับ หมายถึง การที่สามารถนาความรู้จากการชมงานไปใช้ ประโยชน์ในชวี ติ ประจาวนั หรอื ได้รับทักษะทีจ่ าเป็น การได้รับความรู้เชิงวิทยาศาสตร์ ได้รับทักษะกระบวนการ วิทยาศาสตร์ มากขึ้น หรอื ทาให้เกดิ ความสนใจในการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์มากข้ึน การรวบรวมข้อมูล การรวบรวมข้อมูลการประเมินความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรมงานมหกรรมเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทอดพระเนตรสุริยุปราคา ณ หว้ากอ 150 ปี ระหว่างวันท่ี18 - 24 สิงหาคม 2561 ณ อุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยมีรายละเอียด การดาเนินงาน ดังนี้ ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง ประชากร ในการเก็บรวบรวมครั้งน้ี ได้แก่ ครู นักเรียน นักศึกษาและประชาชนท่ัวไปท่ีเข้าร่วมงาน มหกรรมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทอดพระเนตรสุริยุปราคา ณ หว้ากอ ครบรอบ 150 ปี ระหว่างวันท่ี 18 - 24 สิงหาคม 2561 ณ อุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หว้ากอ จงั หวัดประจวบคีรีขนั ธ์ ซ่งึ มีเปา้ หมายตามโครงการเท่ากบั 100,500 คน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครู นักเรียน นักศึกษาและประชาชนทั่วไปท่ีเข้าร่วมงานมหกรรมเฉลิม พระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทอดพระเนตรสุริยุปราคา ณ หว้ากอ ครบรอบ 150 ปี ระหว่าง วนั ที่ 18 - 24 สิงหาคม 2561 ณ อุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยการ สุ่มอย่างง่าย จานวน 625 คน ตามตารางการกลุ่มตัวอย่างของทาโร ยามาเน่ ในขนาดความคลาดเคล่ือนที่ยอมรับได้ รอ้ ยละ 4 เครอ่ื งมอื การเก็บรวบรวมข้อมลู เครื่องมือการเก็บรวบรวมข้อมูลคร้ังนี้ เป็นแบบสอบถามลักษณะประมาณค่า 5 ระดับ ได้แก่ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สดุ และแบบสอบถามปลายเปดิ ประกอบด้วย 2 ตอน ไดแ้ ก่

178 ตอนท่ี 1 ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม มีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Check list) ขอ้ คาถามประกอบด้วย เพศ อายุ การศึกษา และแหลง่ ขอ้ มูลการจัดงาน ตอนที่ 2 ข้อมูลความคิดเห็นเก่ียวกับการจัดงานมหกรรมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอม เกล้าเจ้าอยู่หัว ทอดพระเนตรสุริยุปราคา ณ หว้ากอ ครบรอบ 150 ปี มีลักษณะเป็นแบบประมาณค่า 5 ระดับ (Rating Scale) คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยท่ีสุด และแบบปลายเปิด ข้อเสนอแนะ อ่นื ๆ การรวบรวมขอ้ มูล การรวบรวมขอ้ มลู โดยดาเนินการใน 2 รปู แบบ ดงั น้ี 1. แบบสอบถาม ประเภท QR Code โดยจัดทาเป็น Google form และให้ผู้เข้าร่วมงานแสกน QR code โดยติด QR code ที่เมืองแห่งการเรียนรู้ จานวน 8 แห่ง ซ่ึงมีผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน 99 คน แต่ไม่ได้นามาวิเคราะห์ เนื่องจากการตอบแบบสอบถามไม่สมบูรณ์ เช่น ตอบคาถามไม่ครบทุกข้อคาถาม เปน็ ตน้ 2. แบบสอบถาม ประเภทจัดทาเป็นเอกสาร จานวน 600 ฉบับ โดยจัดทากล่องรับแบบสอบถาม และประสานงานกับฝา่ ยรบั ลงทะเบียนเพื่อแจกแบบสอบถามแก่ผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรม ณ จุดรบั ลงทะเบียน และรับ แบบสอบถามคืน ณ จุดรับเกียรติบัตร และมีผู้ส่งแบบสอบถามกลับคืน จานวน 542 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 86.75 ของจานวนกล่มุ ตวั อย่าง (จานวน 625 คน) การวิเคราะหข์ ้อมูล การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ดาเนินการ ดงั น้ี 1. ดาเนินการคัดแยกแบบสอบถามที่ได้รับกลับคืนและตรวจสอบความสมบูรณ์ของแบบสอบถาม ซึ่งปรากฏวา่ มคี วามสมบรู ณ์ จานวนทง้ั สน้ิ 542 ฉบับ 2. วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ วิเคราะห์ค่าสถิติพ้ืนฐาน ค่าแจกแจงความถ่ี คา่ รอ้ ยละ ค่าเฉล่ยี ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน และวเิ คราะหเ์ ชิงเนื้อหาในแบบสอบถามปลายเปิด เกณฑ์การแปลความหมายค่าเฉลี่ยสาหรับแบบสอบถามประมาณค่า 5 ระดบั ดังน้ี 4.51 – 5.00 หมายถงึ ความเหมาะสม/ความพึงพอใจระดับมากที่สุด 3.51 – 4.50 หมายถึง ความเหมาะสม/ความพงึ พอใจระดับมาก 2.51 – 3.50 หมายถึง ความเหมาะสม/ความพึงพอใจระดบั ปานกลาง 1.51 – 2.50 หมายถงึ ความเหมาะสม/ความพึงพอใจระดบั น้อย 1.00 – 2.50 หมายถึง ความเหมาะสม/ความพึงพอใจระดบั น้อยทสี่ ดุ ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล จากผลการวิเคราะห์ข้อมลู โดยสรปุ เปน็ 3 ตอน ดังน้ี ตอนท่ี 1 ข้อมูลทั่วไปของผตู้ อบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกบั การจัดงาน ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะ

179 ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลท่ัวไป 1.1 ข้อมลู ทั่วไป ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จานวนทั้งส้ิน 542 ฉบับ ร้อยละ 57.93 เป็นเพศหญิง และรอ้ ยละ 42.07 เปน็ เพศชาย มีสถานภาพเป็นนักเรยี นมากที่สุด ร้อยละ 58.30 รองลงมาร้อยละ 32.66 เปน็ นกั ศึกษา กศน. โดยส่วนใหญ่ร้อยละ 50.37 มีอายุต่ากว่า 16 ปี รองลงมาร้อยละ 35.42 มีอายุระหว่าง 16 – 25 ปี สาหรับอาชีพ พบว่า ส่วนใหญ่ร้อยละ 83.21 มีอาชีพอ่ืน ๆ คือเป็นนักเรียน/นักศึกษา กศน. และร้อยละ 10.57 เป็นลกู จา้ งในหน่วยงาน สาหรับในเรอ่ื งการศกึ ษา สว่ นใหญร่ ้อยละ 94.28 กาลังศึกษาอยู่ และร้อยละ 5.72 จบการศกึ ษาแล้ว รายละเอยี ดในตารางท่ี 1 ตารางท่ี 1 จานวนและร้อยละข้อมลู ท่วั ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม รายการ จานวน รอ้ ยละ 1. เพศ 542 100.00 228 42.07 1.1 ชาย 314 57.93 1.2 หญงิ 542 100.00 2. สถานภาพ 2.1 ผ้บู ริหาร -- 2.2 ครูในระบบ 19 3.51 2.3 ครู กศน. 20 3.69 2.4 นกั เรียน 316 58.30 2.5 นักศกึ ษา กศน. 177 32.66 2.6 ประชาชนทว่ั ไป 10 1.85 3. อายุ 542 3.1 ตา่ กว่า 16 ปี 273 50.37 3.2 16 – 25 ปี 192 35.42 3.3 26 – 35 ปี 43 7.93 3.5 36 – 45 ปี 19 3.51 3.6 มากกวา่ 45 ปี 15 2.77 4. อาชพี 542 100.00 4.1 ขา้ ราชการ/รัฐวสิ าหกิจ 10 1.85 4.2 พนกั งานราชการ 24 4.43 4.3 ลูกจ้างในหน่วยงาน 57 10.52 4.4 อน่ื ๆ 451 83.21 5. การศกึ ษา 5.1 กาลงั ศกึ ษา 511 94.28 1) ประถมศึกษา 87

180 รายการ จานวน ร้อยละ 2) มธั ยมศึกษาตอนตน้ 247 5.72 3) มธั ยมศึกษาตอนปลาย 144 4) อ่ืน ๆ 33 5.2 จบการศกึ ษาสูงสุด 31 1) ปรญิ ญาตรี 20 2) ปริญญาโท 9 3) อ่ืน ๆ (ระบุ) 2 1.2 แหลง่ ขา่ วการจัดงานมหกรรมเฉลมิ พระเกยี รติพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยู่หัว ทอดพระเนตรสรุ ิยุปราคา ณ หวา้ กอ ครบรอบ 150 ปี แหล่งข่าวการจัดงานมหกรรมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทอดพระเนตรสุริยุปราคา ณ หว้ากอ ครบรอบ 150 ปี ปรากฏว่า ร้อยละ 31.00 ทราบข่าวจากจดหมาย แจ้งเวียนตามสถานศึกษา รองลงมาร้อยละ 23.40 ทราบจากแผ่นประชาสัมพันธ์ และ ร้อยละ 16.20 ทราบจากป้ายประชาสมั พนั ธ์ และอน่ื ๆ ในจานวนเท่ากนั รายละเอยี ดในตารางที่ 2 ตารางท่ี 2 จานวนและรอ้ ยละแหล่งการไดร้ ับขา่ วสารขอ้ มูล (ตอบไดม้ ากกว่า 1 ข้อ = 542คน) รายการ จานวน รอ้ ยละ 1. แผน่ ประชาสัมพันธ์ 127 23.40 2. จดหมายเวยี นตามสถานศึกษา 168 31.00 3. เว็ปไซต์ 86 15.90 4. ปา้ ยประชาสัมพนั ธ์ 88 16.20 5. อืน่ ๆ 88 16.20 ตอนที่ 2 ข้อมลู เกี่ยวกับการจดั งาน 2.1 เมืองการเรยี นรู้ท่เี ขา้ ร่วม เมืองแห่งการเรียนรู้ที่ผู้ตอบแบบสอบถามได้เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ มากท่ีสุด ร้อยละ 72.00 ได้ชมและร่วมกจิ กรรมเมืองโลกใตน้ ้า รองลงมาร้อยละ 60.50 ไดช้ มและร่วมกิจกรรมเมืองจุดประกาย ความคิด... วิทย์สร้างคน และร้อยละ 54.60 ได้ชมและร่วมกิจกรรมในเมืองพระบิดาแห่งวิ ทยาศาสตร์ไทย รายละเอยี ดในตารางท่ี 3

181 ตารางที่ 3 จานวนและร้อยละจานวนผู้เข้ารว่ มกิจกรรมเมอื งแห่งการเรยี นรู้ (ตอบได้มากกวา่ 1 ขอ้ = 542 คน) เมอื งแห่งการเรียนรู้ จานวน ร้อยละ 1. เมอื งจุดประกายความคิด...วิทย์สร้างคน 328 60.50 2. เมอื งพระบิดาแหง่ วทิ ยาศาสตร์ไทย 296 54.60 3. เมืองตะลยุ แดนวิทยาศาสตร์ 265 50.60 4. เมืองใกล้ชิดวทิ ย์....ธรรมชาติ 227 41.90 5. เมอื งโลกใต้น้า 390 72.00 6. เมอื งดาราศาสตร์และอวกาศ 288 53.10 7. เมอื งบ้านของพอ่ 252 46.50 8. เมืองพลังงานเพื่อชีวิต 239 44.10 2.2 ความพงึ พอใจการเข้าร่วมกิจกรรม 1) ดา้ นบรกิ าร ผู้เข้าร่วมกจิ กรรมทต่ี อบแบบสอบถามมีความพงึ พอใจต่อการให้บริการในภาพรวม อยู่ระดับ มาก มคี า่ เฉลี่ย 4.04 ค่าเบ่ยี งเบนมาตรฐานเทา่ กบั 0.61 และเม่ือพิจารณารายข้อ ปรากฏว่า ทุกรายการหรือ ทุกข้อผู้ร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยระหว่าง 4.12 - 3.83 โดยในเรื่องของการ ให้บริการของเจ้าหน้าท่ีมีค่าเฉล่ียสูงสุด คือ 4.16 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.63 รองลงมาเร่ือง ความชัดเจน ในการตอบคาถามของเจ้าหน้าท่ี มีค่าเฉล่ีย 4.12 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.64 และเร่ืองความสะดวกในการ เข้าชมบรเิ วณงาน มคี า่ เฉล่ยี 4.11 คา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.59 รายละเอยี ดในตารางท่ี 4 ตารางที่ 4 จานวนและร้อยละความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกจิ กรรม ด้านการบรกิ าร จานวน (รอ้ ยละ) ความคดิ เห็น คา่ เฉล่ยี ค่า รายการ มากทีส่ ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ย เบ่ยี งเบน 1. ความสะดวกในการเข้าชม ทีส่ ุด มาตรฐาน บริเวณงาน 2. ความชดั เจนในการตอบ 179 255 99 8 1 4.11 0.59 คาถามของเจา้ หนา้ ที่ 3. ความสะดวกในการ (33.03) (47.05) (18.27) (1.48) (0.18) ลงทะเบียน 4. การใหบ้ ริการของเจ้าหนา้ ที่ 199 221 111 11 - 4.12 0.64 5. สิ่งอานวยความสะดวก (36.72) (40.77) (20.48) (2.03) 5.1 หอ้ งนา้ 173 255 105 9 - 4.09 0.58 (31.92) (47.05) (19.37) (1.66) 204 230 99 9 - 4.16 0.63 (37.64) (42.44) (18.27) (1.66) 163 192 156 26 5 3.89 0.81 (30.00) (35.42) 28.78) (4.80) (0.92) 165 206 148 20 3 3.94 0.69 (30.44) (38.01) (27.31) (3.69) (0.55)

182 จานวน (ร้อยละ) ความคิดเห็น ค่าเฉล่ีย คา่ รายการ มากทส่ี ดุ มาก ปานกลาง น้อย นอ้ ย เบ่ยี งเบน 5.2 รถรบั ส่งภายในงาน ทส่ี ดุ มาตรฐาน ร้อยละเฉลี่ย 160 178 164 33 7 3.83 0.80 (29.52) (32.84) (30.26) (6.09) (1.29) 180 224 121 15 2 4.04 0.61 (33.21) (41.36) (22.32) (2.77) (0.34) 2) ดา้ นวชิ าการ/รปู แบบ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อการจัดงานมหกรรมฯ ด้านวิชาการ/ รูปแบบการจัดกิจกรรมในภาพรวม อยู่ระดับมาก มีค่าเฉล่ีย 4.31 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.61 และ เมื่อพิจารณารายข้อ ปรากฏว่า ทุกรายการหรือทุกข้อผู้ร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจในระดับมาก มีค่าเฉล่ีย ระหว่าง 4.21 – 4.36 โดยในเร่ืองของ ความทันสมัยของเน้ือหา มีค่าเฉล่ียสูงสุด คือ 4.36 ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน 0.63 รองลงมาเรอื่ ง ความหลากหลายของรูปแบบการนาเสนอ และความน่าสนใจของกิจกรรมท่ีจัด มคี ่าเฉลี่ยเทา่ กนั คอื 4.34 คา่ เบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.60 และ 0.63 ตามลาดบั รายละเอยี ดในตารางที่ 5 ตารางที่ 5 จานวนและร้อยละความพึงพอใจตอ่ การเข้ารว่ มกิจกรรม ด้านวชิ าการ/รปู แบบการจัดกจิ กรรม จานวน (รอ้ ยละ) ความคิดเหน็ ค่าเฉล่ีย คา่ รายการ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย นอ้ ย เบย่ี งเบน ท่ีสุด มาตรฐาน 1. ความทนั สมัยของเน้อื หา 266 210 59 7 - 4.36 0.63 (49.08) (38.75) (10.89) (1.29) 2. ความหลากหลายของ 247 236 54 5 - 4.34 0.60 รปู แบบการนาเสนอ (45.57) (43.54) (9.96) (0.92) 3. ความนา่ สนใจของ 260 208 71 3 - 4.34 0.63 กจิ กรรมที่จดั (47.97) (38.38) (13.10) (0.55) 4. การได้ลงมอื ปฏิบตั ิ 218 231 85 7 1 4.21 0.63 กจิ กรรมในแตล่ ะเมืองแห่ง (40.22) (42.62) (15.68) (1.29) (0.18) การเรยี นรู้ รอ้ ยละเฉล่ีย 248 221 67 6 - 4.31 0.61 (45.71) (40.82) (12.41) (1.01) 3) ด้านการนาไปใช้ประโยชน/์ ทักษะท่ไี ด้รับ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมท่ีตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อการจัดงานมหกรรมฯ ด้านการนาไปใช้ ประโยชน/์ ทักษะทไ่ี ด้รับ ในภาพรวม อยู่ระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 4.32 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.61 และ เมื่อพิจารณารายข้อ ปรากฏว่า ทุกรายการหรือทุกข้อผู้ร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจในระดับมาก มีค่าเฉล่ีย ระหว่าง 4.24 – 4.38 โดยในเรื่องของการเข้าร่วมกิจกรรมในคร้ังนี้ทาให้มีความสนใจศึกษาเรื่อง วิทยาศาสตร์มากขึ้น มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ 4.38 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.63 รองลงมา เรื่องการได้รับความรู้

183 เชิงวทิ ยาศาสตรม์ ากขนึ้ มีคา่ เฉลีย่ 4.34 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.59 และเร่ือง การได้รับทักษะกระบวนการ วทิ ยาศาสตร์มากขนึ้ มีคา่ เฉลย่ี 4.24 คา่ เบย่ี งเบนมาตรฐาน 0.62 รายละเอียดในตารางท่ี 6 ตารางท่ี 6 จานวนและร้อยละความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรม ด้านการนาไปใช้ประโยชน์/ทักษะที่ได้รับ จานวน (รอ้ ยละ) ความคิดเห็น คา่ เฉล่ีย คา่ รายการ มากท่สี ุด มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ย เบ่ยี งเบน ท่สี ดุ มาตรฐาน 1. การนาความรู้จากเน้ือหาไป 222 236 77 7 1 4.24 0.62 ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน (40.96) (43.54) (14.21) (1.29) (0.18) 2. การไดร้ บั ความรู้เชงิ 244 243 48 7 - 4.34 0.59 วทิ ยาศาสตร์มากขน้ึ (45.02) (44.83) (8.86) (1.29) 3. การได้รบั ทักษะ 260 206 67 9 - 4.32 0.65 กระบวนการวิทยาศาสตรม์ าก (47.97) (38.01) (12.36) (1.66) ขึน้ 4. การเขา้ ร่วมกจิ กรรมในครงั้ 276 203 56 7 - 4.38 0.63 นที้ าให้มคี วามสนใจศึกษาเร่ือง (50.92) (37.45) (10.33) (1.29) วิทยาศาสตรม์ ากขึน้ รอ้ ยละเฉล่ีย 251 222 62 8 - 4.32 0.61 (46.22) (40.96) (11.44) (1.38) สรุป ความพึงพอใจต่อการจัดงานมหกรรมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทอดพระเนตรสุริยุปราคา ณ หว้ากอ ครบรอบ 150 ปี ทั้งสามด้านผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจ ในระดับมาก มีค่าเฉล่ีย 4.20 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.54 โดยในด้านการนาไปใช้ประโยชน์/ทักษะที่ได้รับ มีคา่ เฉลย่ี สูงสดุ คือ 4.32 ค่าเบยี่ งเบนมาตรฐาน 0.61 รายละเอยี ดในตารางที่ 7 ตารางที่ 7 ความพึงพอใจต่อการจดั งาน จาแนกตามด้าน ดา้ น ค่าเฉล่ีย คา่ เบย่ี งเบน ระดับความพึงพอใจ มาตรฐาน ดา้ นบรกิ าร 4.04 ด้านวิชาการ/รปู แบบการจัดกิจกรรม 4.31 0.61 มาก ด้านการนาไปใช้ประโยชน/์ ทักษะท่ีได้รับ 4.32 0.61 มาก รวมเฉลย่ี 4.20 0.61 มาก 0.54 มาก 2.3 ความพงึ พอใจต่อการจดั งานมหกรรมฯ ในภาพรวม ในด้านความพึงพอใจของการเข้าร่วมกิจกรรมในงานมหกรรมฯ ของผู้ร่วมกิจกรรมที่ตอบ แบบสอบถาม ปรากฏว่า ในภาพรวมแล้วผู้ร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.37

184 คา่ เบย่ี งเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.64 หรือผู้เข้าร่วมกิจกรรมงานมหกรรมฯ ร้อยละ 88.56 มีความพึงพอใจใน การเข้ารว่ มงานในภาพรวม ระดบั มาก – มากทส่ี ุด ดงั ในตารางท่ี 8 ตารางท่ี 8 จานวนและร้อยละความพึงพอใจ ระดับความพึงพอใจ จานวน รอ้ ยละ มากทีส่ ดุ 274 50.55 มาก 206 38.01 ปานกลาง 51 9.41 น้อย 10 1.845 น้อยที่สุด 1 0.18 รวม 542 100.00 คา่ เฉลย่ี คา่ เบ่ียงเบนมาตรฐาน 4.37 0.64 ข้อเสนอแนะ ผู้ตอบแบบสอบถามมีข้อเสนอแนะในการจัดงานมหกรรมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอม เกล้าเจ้าอยู่หัว ทอดพระเนตรสุริยุปราคา ณ หว้ากอ ครบรอบ 150 ปี ว่าเป็นโครงการท่ีดีทาให้มีความรู้ มากย่ิงข้ึนและเห็นควรจัดลักษณะน้ีทุกปี แต่ระยะทางแต่ละจุดไกลมาก ทาให้การเข้าร่วมกิจกรรมได้น้อย ตลอดท้ังอากาศคอ่ นข้างร้อน และควรมรี ถบริการให้มากกว่าน้ี ******************************************

185 บันทึกข้อความ ส่วนราชการ หน่วยศกึ ษานิเทศก์ ฝ่ายบริหารงานทัว่ ไป โทร. ๕๑๒ ที่ ศธ ๐๒๑๐.๑๒๐/ วนั ท่ี ตุลาคม ๒๕๖๑ เรอ่ื ง รายงานสรปุ การประเมินผล “งานวนั ทร่ี ะลึกสากลแห่งการร้หู นงั สอื ” ประจาปี ๒๕๖๑ เรียน เลขาธิการ กศน. ตรวจเสนอ ตามที่ สานักงาน กศน. ไดจ้ ัดกจิ กรรม “งานวนั ทีร่ ะลึกสากลแหง่ การรหู้ นงั สอื ” ประจาปี ๒๕๖๑ ระหว่างวันที่ 7 – 8 กันยายน ๒๕๖๑ ณ สวนนงนุชพัทยา อาเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี และมอบหมายให้ หน่วยศึกษานิเทศก์ ดาเนินการประเมินผลการจัดงานดังกล่าว ตามคาสั่งสานักงานการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศยั ท่ี ๑๓๕/๒๕๖๑ ลงวนั ที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๑ นน้ั การประเมินดงั กลา่ วมวี ัตถปุ ระสงค์ เพ่ือประเมินความพึงพอใจของผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรมและคณะกรรมการที่มตี ่อกระบวนการดาเนินงาน วิธีการประเมิน ได้จัดทา QR code ให้ผู้ร่วมงานสแกนและตอบแบบสอบถามผ่านระบบออนไลน์ รวมทั้งแจกแบบสอบถาม ในระหวา่ งการจัดกจิ กรรม นอกจากนี้ยังใช้วิธีการสุ่มสัมภาษณ์ผู้ร่วมงาน เพื่อรวบรวมข้อมูล ความคิดเห็น ปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาปรับปรุงในคร้ังต่อไป ผลการประเมินโดยสรุป พบว่า ผู้ตอบ แบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อการดาเนินงาน เฉลี่ยอยู่ในระดับมากทุกกิจกรรม โดยมีข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ด้านการอานวยความสะดวกสถานที่จัดงาน ให้จัดนิทรรศการท่ีมีชีวิต โดยเน้นนิทรรศการส่งเสริมการอ่าน รายละเอียดผลการประเมิน ดังเอกสารที่แนบมาพร้อมน้ี จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา หากเห็นสมควรโปรดมอบ ศน. แจ้งให้ผู้เกี่ยวข้องดาเนินการ ต่อไป

186 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจตอ่ การดาเนินงาน “วนั ท่รี ะลึกสากลแหง่ การรูห้ นงั สือ” ประจาปี ๒๕๖๑ ตามท่ีสานักงาน กศน.ได้จัดงาน วันที่ระลึกสากลแห่งการรู้หนังสือ” ประจาปี ๒๕๖๑ ข้ึน ระหว่างวันที่ ๗ – ๘ กันยายน ๒๕๖๑ ณ สวนนงนุช พัทยา อาเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี ภายใต้หัวข้อเรื่อง “การรู้หนังสือและการพัฒนาทักษะของประชาชนในศตวรรษท่ี ๒๑” โดยได้มอบหมายให้ หน่วยศึกษานิเทศก์ ดาเนินการประเมินผลการดาเนินงานดังกล่าวตามคาส่ังสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและกา รศึกษาตาม อัธยาศัย ที่ ๑๓๕/๒๕๖๑ ลงวันท่ี ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖1 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความพึงพอใจ ของผู้ร่วมงานและคณะกรรมการท่ีมีต่อการดาเนินงาน รวมทั้งความคิดเห็นเก่ียวกับปัญหา อุปสรรคในการ ดาเนินงานและข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงพัฒนา การประเมินครั้งนี้ ใช้เคร่ืองมือประเมิน ได้แก่ แบบสอบถาม ความพึงพอใจ แบ่งเป็น ๓ ส่วน ได้แก่ ส่วนท่ี ๑ ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนที่ ๒ ความพึงพอใจ ต่อการดาเนินงาน ใช้มาตราส่วนประมาณค่า ๕ ระดับ และส่วนท่ี ๓ ปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะเพ่ือการ พัฒนา เปน็ คาถามปลายเปดิ วิธกี ารเกบ็ รวบรวมข้อมลู ใช้ระบบประเมนิ แบบออนไลน์ โดยใหผ้ ้ปู ระเมนิ สแกน QR code แล้วเข้าไปตอบแบบสอบถามและใช้การแจกแบบสอบถามและให้ผู้ประเมินตอบแบบสอบถามส่งให้ผู้ประเมิน โดยตรง นอกจากนี้ได้จัดทาแบบสัมภาษณ์ โดยมีประเด็นการสัมภาษณ์เกี่ยวกับกระบวนการดาเนินงาน โดยใช้วิธี สุ่มสัมภาษณ์แบบเจาะจง ทั้งน้ี จากกลุ่มตัวอย่าง ๒๙๒ คน มีผู้ตอบแบบสอบถามท้ังส้ิน จานวน ๑๘๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๑.๖๔ จาแนกเป็น ผู้บริหาร กศน.ร้อยละ ๕๕.๐๐ บุคลากร กศน. ร้อยละ ๔๓.๓๓ และอื่น ๆ รอ้ ยละ ๑.๖๗ มีผู้ใหส้ มั ภาษณจ์ านวน ๓๕ คน ประกอบด้วยผบู้ รหิ ารและครูทเ่ี ขา้ ร่วมงาน รวมทั้งคณะทางานและ เจา้ หนา้ ทท่ี ีร่ ว่ มจดั กิจกรรม ผลการประเมินจากแบบสอบถามสรปุ ได้ดังน้ี 1. ความพึงพอใจต่อกระบวนการดาเนินงาน“วันท่รี ะลึกสากลแห่งการรู้หนงั สือ”ประจาปี ๒๕๖๑ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมคี วามพึงพอใจตอ่ กระบวนการดาเนินงาน ท้ังด้านการประชาสัมพันธ์ การดูแลต้อนรับ อานวยความสะดวก การลงทะเบียนเข้าร่วมงาน ระยะเวลาการจัดกิจกรรม เอกสาร สูจิบัตร และการเดินทางเข้า รว่ มงาน เฉลย่ี อยใู่ นระดับมาก (๔.๐๖ – ๔.๒๔) 2. ความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเสวนาในวันท่ี ๗ กันยายน ๒๕๖๑ พบว่า ผู้ตอบ แบบสอบถาม มีความพึงพอใจต่อการเสวนาในหัวข้อ “อ่านเถิด อ่านดี มีสุข” เฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยมีความ พึงพอใจต่อประโยชน์ที่ได้รับจากการเสวนา (ร้อยละ ๔๙.๔๔) พึงพอใจต่อคณะผู้เสวนา (ร้อยละ ๔๗.๒๒) และ พึงพอใจต่อรปู แบบการเสวนา (รอ้ ยละ ๔๖.๑๑) ตามลาดบั สาหรับการบรรยายในหัวข้อ “เรียนรู้สู่การพัฒนาคนไทย ๔.๐” โดยนายจตุพล ชมพูนิช พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก (๔.๔๑ – ๔.๔๔) โดยพึงพอใจต่อผู้บรรยายมากท่ีสุด (ร้อยละ ๕๓.๘๙) รองลงมาพึงพอใจต่อประโยชน์ที่ได้รับ (ร้อยละ ๕๑.๖๗) และพึงพอใจต่อเน้ือหาการนาเสนอ (รอ้ ยละ ๔๑.๑๑) ตามลาดบั 3. ความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมวันที่ ๘ กันยายน ๒๕๖๑ ผู้ตอบแบบสอบถามมีความ พึงพอใจต่อพิธีเปิดงานวันที่ระลึกสากลแห่งการรู้หนังสือและพิธีมอบโล่รางวัล เฉล่ียอยู่ในระดับมาก (๔.๓๐ และ ๔.๒๑)

187 4. ความพึงพอใจต่อการจัดนิทรรศการ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจ เฉล่ียอยู่ใน ระดับมาก (๔.๑๙ – ๔.๒๙) โดยพึงพอใจต่อความรู้ สารประโยชน์ที่ได้รับจากนิทรรศการมากที่สุด (ร้อยละ ๕๑.๖๗) รองลงมาเป็นความสอดคล้องของนิทรรศการกับประเด็นการจัดงาน (ร้อยละ ๕๐.๐๐) สถานที่จัด นทิ รรศการ (ร้อยละ ๔๖.๖๗) และความน่าสนใจของนทิ รรศการ (รอ้ ยละ ๔๓.๘๙) ตามลาดบั ความคิดเห็นเก่ียวกับปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะเพ่ือการพัฒนา รวบรวมข้อมูลจาก แบบสอบถามประเดน็ ปลายเปิด และการสุม่ สมั ภาษณ์ สรปุ ไดด้ งั น้ี ดา้ นสถานที่ 1. ผู้ใหข้ ้อมลู สว่ นใหญ่เห็นว่าด้านสถานท่ีเหมาะสม กว้างขวางดี สวยงาม ห้องประชุมกว้างขวาง และเครื่องเสียงดีมาก สามารถรองรับผู้เข้าร่วมประชุมได้ดี แต่ค่อนข้างไกล สถานท่ีพักกับสถานที่จัดงานอยู่ หา่ งไกล ไม่สะดวกในการเดนิ ทาง ไม่มีบริการรถ รบั –สง่ ระหวา่ งทพ่ี กั กับสถานทปี่ ระชุม 2. สถานทจี่ ดั งานไกล ค่าใช้จา่ ยในการมาร่วมงานสงู อาเภอเล็ก ๆ ไมส่ ามารถมารว่ มงานได้ 3. การจัดพืน้ ท่สี าหรับรับประทานอาหารว่างคอ่ นข้างแออดั และพื้นท่ีจัดนิทรรศการ อยู่ด้านข้าง บางคนไม่ทราบ เนื่องจากสถานทีม่ บี ริเวณกว้างขวาง ดา้ นการดแู ลต้อนรับ อานวยความสะดวก 1. ปา้ ยประชาสมั พันธ์ดี เหมาะสม เด่นมาก น่าสนใจ มจี ุดใหถ้ ่ายภาพดว้ ย 2. เจ้าหน้าที่รับลงทะเบียน มีจานวนมาก ทาให้การลงทะเบียนรวดเร็ว แต่ขาดการชี้แจงข้อมูล กิจกรรมท้ังหมดให้ผู้มาลงทะเบียนทราบ ผู้ร่วมงานหลายคนไม่ทราบว่าช่วงเวลาใด มีกิจกรรมใดบ้าง หรือมี นิทรรศการ มกี ารบริการอะไรบา้ ง 3. การดูแลต้อนรับยังไม่ค่อยท่ัวถึง การพูดจาของเจ้าหน้าที่บางคนไม่ค่อยน่ารัก หน้าตาบ้ึงตึง การเปิด ปิดประตูเข้มงวดเกินไป เช่น การเข้า ออกห้องน้าไม่สะดวก ควรมีช่องทางเฉพาะให้ออกไปใช้บริการ ห้องนา้ ไดต้ ามปกติ 4. การจัดมุมรบั ประทานอาหารวา่ งด้านขา้ ง คนไม่ทราบ มองไมเ่ หน็ และค่อนข้างแออัด 5. อาหารไม่อร่อย ไม่เพียงพอ ส่วนในวันที่ ๘ กันยายน อาหารกลางวันเหลือมาก ส้ินเปลือง ค่อนขา้ งมาก เนอ่ื งจากผ้รู ว่ มงานรีบเดินทางกลับ และไม่ได้จัดอาหารใหส้ าหรับผูท้ ่มี าจดั นทิ รรศการ (จากจงั หวัด) ดา้ นนทิ รรศการ 1. นิทรรศการวันท่ี ๗ กันยายน จดั ได้ดี นา่ สนใจ สามารถนาไปใชป้ ระโยชน์กบั ชุมชนได้ 2. นิทรรศการมีเนื้อหาดี เป็นนิทรรศการมีชีวิต สามารถสร้างอาชีพได้จริง โดยเฉพาะกิจกรรม วชิ าชพี ของจังหวัดตา่ ง ๆ เช่น ทาผม แต่งหน้า ถ่ายภาพ ทาให้ผู้ทม่ี ารว่ มงานมสี ่วนร่วมและเขา้ ไปใช้บรกิ ารได้ 3. นทิ รรศการใช้ระยะเวลาในการจัดสั้นเกินไป (จัดเฉพาะวันท่ี ๗ ก.ย. เท่านั้น) ควรให้ครู กศน. ทีม่ ารว่ มงานในวันท่ี ๘ กันยายน ได้มโี อกาสเรียนรู้ เพือ่ นาไปปรับใช้ 4. นทิ รรศการในวนั ที่ ๘ กนั ยายน (นทิ รรศการเรียนรู้ ยุค ๔.๐) ไม่นา่ สนใจ ไมม่ ชี วี ติ 5. สถานท่ีจัดนิทรรศการส่วนใหญ่ อยู่ด้านข้างห้องประชุม คนส่วนใหญ่มองไม่เห็น การ ประชาสัมพันธ์ให้ผู้ร่วมงานทราบค่อนข้างน้อย มีเพียงการประกาศในห้องประชุม ทาให้ผู้ร่วมงาน โดยเฉพาะผู้ เกษยี ณสว่ นใหญ่ไมท่ ราบ และไมไ่ ด้ไปใช้บรกิ าร 6. นทิ รรศการเกีย่ วกับการส่งเสรมิ การอ่าน นอ้ ยเกินไป

188 ด้านกิจกรรมการเสวนาทางวชิ าการ 1. การเสวนา “อ่านเถิด อ่านดี มีสุข” มีความเหมาะสม น่าสนใจ ตรงตามธีมงาน ทาให้ผู้ฟังเกิด แรงบันดาลใจในการอ่านเพ่ือพัฒนาอาชีพได้ดี ควรให้ครู กศน.ท่ีมารับเข็ม ได้รับฟังด้วยจะดียิ่งขึ้น เพ่ือนาไป พฒั นาตนเองและนาไปถา่ ยทอดตอ่ ได้ 2. ผู้ร่วมเสวนา “อ่านเถิด อ่านดี มีสุข” มีความเหมาะสม มีความรู้และประสบการณ์มาก สามารถถ่ายทอดให้ผฟู้ ังตดิ ตาม และเกิดแรงบันดาลใจในการอ่าน โดยเฉพาะผ้วู ่าราชการจงั หวดั ราชบุรี 3. กิจกรรม Talk Show โดย อ.จตุพล ชมพูนิช ดี น่าสนใจ ช่วยสร้างแรงบันดาลใจ/กระตุ้นให้ พัฒนาตนเองไดม้ าก แตเ่ นื้อหาไม่ค่อยตรงกับหัวข้อ “เรยี นรูส้ ่กู ารพฒั นาคนไทย ๔.๐” 4. กิจกรรมการเสวนา เกี่ยวกบั การอ่านเปน็ ประโยชน์ต่อครูและผู้เข้าร่วมงานมาก สามารถนาไป พัฒนาทักษะการทางานกับชุมชนได้ และใช้ในการเลือกสรรหนังสือ/ สาระจากการอ่าน นาไปใช้ในการพัฒนา คณุ ภาพชีวติ ได้ ดา้ นกจิ กรรมภาคกลางคนื 1. การลงทะเบียน การต้อนรับ ผู้เกษียณผู้สูงอายุ ไม่มีการชี้แจงข้อมูลกิจกรรม รายละเอียด หลายคนไม่ทราบว่าตอ้ งลงทะเบยี นเพอ่ื รับของที่ระลึก 2. กิจกรรมส่วนใหญ่ไม่ค่อยประทับใจ เช่น การมอบของที่ระลึก ให้ไปลงชื่อรับกับฝ่ายต้อนรับ แทนท่จี ะใหร้ บั มอบจากผใู้ หญบ่ นเวที 3. กจิ กรรมบนเวที/การแสดง ค่อนขา้ งเปน็ ทางการ ไม่สนกุ ใหค้ วามสาคญั กับผู้เกษียณนอ้ ยไป 4. การจดั ทนี่ ่ังแนน่ ไป เดนิ เข้าออกไม่สะดวก ไม่สามารถเดินไปพูดคุยทกั ทายกันได้ 5. ช่วงเวลาในงานเลี้ยงน้อยไป และพิธีกรมากไปหน่อย กิจกรรมควรให้ผู้เกษียณได้ร่วมกิจกรรม และสนุกสนานกับเพื่อน ๆ มากขนึ้ กวา่ น้ี ข้อเสนอแนะเพอ่ื การพฒั นา 1. ควรเลือกสถานที่ท่ีมีการเดินทางสะดวก มีรถประจาทางหรือรถรับ ส่งในการ เข้า – ออก ระหว่างสถานทีท่ีพกั ดา้ นนอกและสถานที่ประชมุ และควรใช้สถานที่ใหค้ มุ้ ค่า 2. นทิ รรศการควรจดั ใหม้ ีชีวติ และจดั ตอ่ เนื่องจนสิน้ สดุ งานให้มีจานวนมากขึ้น เพื่อให้ทุกคนท่ีมา ร่วมงานได้เรียนรู้ โดยเฉพาะกจิ กรรมการสาธิตวิชาชีพต่าง ๆ ควรใหผ้ มู้ าร่วมงานวนั ที่ ๘ กันยายน ได้เรียนรูด้ ว้ ย 3. ควรมนี ิทรรศการส่งเสรมิ การอา่ นใหม้ ากกว่านี้ ท้งั ด้านจานวนและเน้อื หา 4. ควรมีการประชาสัมพันธ์ให้ผู้ร่วมงานทราบเกี่ยวกับกิจกรรมทั้งหมดของงาน และ ประชาสมั พนั ธอ์ ยา่ งตอ่ เนื่อง ทั้งในหอ้ งประชุม นอกหอ้ งประชุม 5. ควรมีแผนผังและป้ายประชาสัมพันธ์ ให้ผู้ร่วมงานทราบเกี่ยวกับกิจกรรมต่าง ๆ รวมท้ังป้าย แจ้ง สถานทรี่ ับประทานอาหารวา่ ง อาหารกลางวัน 6. เจ้าหน้าท่ีรับลงทะเบียน ควรทราบข้อมูลกิจกรรมท้ังหมดและแจ้งให้ผู้มาลงทะเบียนทราบ และควรมีการประสานการทางานในแตล่ ะหนา้ ที่ เม่อื ถามเรื่องใดสามารถใหค้ วามกระจ่างได้ 7. การจดั งานเล้ยี งภาคกลางคืนควรให้ทุกคนมีส่วนร่วมด้วย และควรให้แต่ละจังหวัดมีส่วนร่วม มากขึ้น และควรปรบั ปรงุ ด้านเส้ือผ้านักแสดงให้เรยี บรอ้ ยกว่านี้ 8. การมอบของท่ีระลึก ควรให้มีการรับมอบจากผู้บริหารบนเวที เป็นการให้เกียรติแก่ ผ้เู กษียณอายุราชการ **********************************

189 คำสั่งสำนักงำนสง่ เสริมกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศยั ท่ี / 2560 เร่อื ง มอบหมำยให้ศึกษำนิเทศกป์ ฏบิ ตั ิหนำ้ ท่รี ำชกำร เพ่ือให้กำรนิเทศกิจกรรมกำรจัดกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัยต่อสถำนศึกษำ ในสังกัดสำนักงำน กศน. จังหวัด และสถำนศึกษำขึ้นตรงในสังกัดสำนักงำน กศน. เป็นไปด้วยควำมเรียบร้อย และ สำมำรถขับเคลื่อนให้ตอบสนองต่อนโยบำยของกระทรวงศึกษำธิกำร สำนักงำนปลัดกระทรวงศึกษำธิกำร และ สำนักงำน กศน. โดยสอดคล้องกับกำรพัฒนำคุณภำพกำรจัดกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัย และ ระบบบริหำรรำชกำรภำครัฐแนวใหม่อย่ำงมีประสิทธิภำพ บังเกิดผลดีแก่ทำงรำชกำร ตอบสนองนโยบำยและ จุดเนน้ กำรดำเนนิ งำนของสำนกั งำน กศน. ประจำปีงบประมำณ 2561 อำศัยอำนำจตำมควำมในมำตรำ 14 แห่งพระรำชบัญญัติส่งเสริมกำรศึกษำนอกระบบและ กำรศึกษำตำมอัธยำศัย พ.ศ. 2551 จึงมอบหมำยให้ศึกษำนิเทศก์ปฏิบัติหน้ำที่รำชกำร ดังบัญชีรำยละเอียด แนบทำ้ ยน้ี ทัง้ น้ี ตง้ั แต่บัดนเ้ี ปน็ ตน้ ไป ธันวำคม พ.ศ. 2560 สงั่ ณ วนั ที่

บัญชีรายละเอียดแนบท้ายคาสงั่ สานกั งานสง่ เสริม ท่ี 203 /2560 ลง 1. มอบหมายให้ศกึ ษานเิ ทศกป์ ฏิบตั ิหนา้ ที่นิเทศ ดงั น้ี ที่ รายชอ่ื ศกึ ษานเิ ทศก์ จงั หวดั ทไ่ี มม่ ีศึกษานเิ ทศก์ 1 นำงทองพนิ ขันอำสำ สุพรรณบรุ ี นครปฐม ประจวบคีรขี นั ธ์ สถำบนั กทม. ปทุมธำนี สถำบัน ก ศกพ. สท จันทบุรี ชลบรุ ี ปรำจนี บรุ ี สถำบนั ฯ ศฝก.วดั ญ หนองคำย เลย หนองบัวลำภู ศฝช.สุรนิ บึงกำฬ บุรรี ัมย์ ชยั ภูมิ มกุ ดำหำร ศฝช.เชีย สกลนคร นครพนม อุบลรำชธำนี ศว.รังสิต ยโสธร มหำสำรคำม ร้อยเอด็ ศว.นครร กำฬสนิ ธุ์ ศว.ขอนแ ศว.นครศ อทุ ัยธำนี ตำก สุโขทัย พะเยำ แพร่ ศว.นครส นครสวรรค์ แม่ฮอ่ งสอน สถำบนั สุรำษฎรธ์ ำนี ชุมพร ระนอง นครศรธี รรมรำช พงั งำ สงขลำ 2 น.ส.นวลพรรณ ศำสตร์เวช ปตั ตำนี ยะลำ นรำธิวำส 2. มอบหมายให้ศึกษานิเทศกภ์ มู ภิ าคปฏิบตั หิ นา้ ท่ีผปู้ ระสานงานการนิเทศภายในภาค ดงั 2.1 ภำคกลำง น.ส.พัชรำ จงโกรย สำนกั งำน ก 2.2 ภำคตะวนั ออก นำยสธุ ี วรประดษิ ฐ สำนักงำน ก 2.3 ภำคตะวันออกเฉยี งเหนอื นำยองอำจ วรี ภทั รสกลุ สำนกั งำน ก 2.4 ภำคเหนอื นำยวริ ัตน์ คงดี สำนกั งำน ก 2.5 ภำคใต้ นำงสุรีย์ นำคนิยม สำนกั งำน ก

190 มการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย งวันท่ี 22 ธันวาคม 2560 สถานศกึ ษาข้ึนตรง หมายเหตุ กศน.ภำคกลำง สถำบัน กศน.ภำคตะวนั ออก *ดำเนนิ กำรนิเทศ โดยเชอื่ มโยงกับ กศน.ภำคตะวันออกเฉียงเหนอื สถำบนั กศน.ภำคเหนือ สถำบนั กศน. ภำคและบคุ ลำกร ทก. สพร. ของสำนักงำน กศน.จงั หวัด ฯ สริ ินธร อวจ.หวำ้ กอ ญำณ ศฝส.กำญจนบรุ ี วทิ ยำลัยในวัง นทร์ ศฝช.มุกดำหำร ศฝช.ชมุ พร ศฝช.ปัตตำนี ยงรำย ศฝช.อตุ รดติ ถ์ ศฝช.สระแก้ว ต ศว.กำญจนบุรี ศว.อยุธยำ ศว.สมุทรสำคร รำชสีมำ ศว.นครพนม ศว.อุบลรำชธำนี ศว.ร้อยเอ็ด แกน่ ศว.ตรงั ศว.นรำธิวำส ศว.ยะลำ ศรธี รรมรำช ศว.สระแกว้ สวรรค์ ศว.พษิ ณุโลก ศว.ลำปำง กศน.ภำคใต้ ศว.ปัตตำนี งนี้ กศน.จงั หวัดลพบุรี กศน.จงั หวดั ตรำด กศน.จงั หวัดขอนแก่น กศน.จงั หวัดเชียงใหม่ กศน.จงั หวัดตรัง

191 คำสั่งหนว่ ยศกึ ษำนิเทศก์ ที่ / 2561 เรือ่ ง แตง่ ตัง้ คณะกรรมกำรภำรกจิ กลุ่มงำนวชิ ำกำรและโครงกำร ประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2561 เพ่ือให้กำรปฏิบัติงำนภำยในของหน่วยศึกษำนิเทศก์ สำมำรถตอบสนองนโยบำยสำนักงำน ส่งเสริมกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัย และสำมำรถขับเคล่ือนให้ตอบสนองต่อสำนักงำนส่งเสริม กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัยจังหวัด กรุงเทพมหำนคร สถำนศึกษำ ข้ำรำชกำรครูและบุคลำกร ทำงกำรศกึ ษำ ให้มีประสทิ ธภิ ำพยิ่งขึ้น จงึ แตง่ ตง้ั กรรมกำรภำรกจิ กลุ่มงำนวชิ ำกำรและโครงกำรประจำปีงบประมำณ 2561 ดังน้ี ระบบการประกนั คุณภาพการศึกษา นำงสำวนวลพรรณ ศำสตร์เวช การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน นำงสำวนวลพรรณ ศำสตร์เวช การศึกษาต่อเนอ่ื ง นำงทองพิน ขันอำสำ การศึกษาตามอัธยาศัย นำงทองพนิ ขันอำสำ 1. โครงการนิเทศเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ปงี บประมาณ 2561 นำงทองพิน ขนั อำสำ 2. โครงการพฒั นาการจัดกระบวนการเรยี นรสู้ าหรบั ศกึ ษานิเทศก์ นำงทองพนิ ขนั อำสำ 3. โครงการจัดทาหนังสือ “แนวคิดและแนวทางการนิเทศงานการศึกษานอกโรงเรียน ในศตวรรษท่ี ๒๑” ส.ต.อ.หญงิ ธนสิ ร ถ้ำกระแสร์ 4. โครงการประชุมผทู้ าหนา้ ท่ีนเิ ทศของสานกั งาน กศน.จังหวัดทไ่ี ม่มีศึกษานเิ ทศก์ นำงทองพิน ขนั อำสำ 5. โครงการนิเทศ ติดตามประเมินผลโครงการนาร่องส่งเสริมและพัฒนาทักษะการฟัง การพูดภาษาไทย เพ่ือการส่ือสารสาหรับผู้ใหญ่ในพ้ืนที่สูงตามพระราชดาริของสมเด็จพระเทพ รตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี นำงทองพนิ ขันอำสำ ท้งั นี้ ตงั้ แต่บัดน้เี ป็นต้นไป สง่ั ณ วนั ที่ มกรำคม พ.ศ. 2561

192 คำสัง่ สำนักงำนสง่ เสริมกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศัย ที่ / 2561 เร่อื ง แต่งตงั้ คณะกรรมกำรนิเทศเพ่ือขับเคล่อื นกำรดำเนนิ งำนตำมนโยบำย จดุ เนน้ สำนกั งำน กศน. ปงี บประมำณ 2561 สืบเน่ืองจำก ในปีงบประมำณ 2561 สำนักงำน กศน. ได้กำหนดนโยบำยที่จะขับเคล่ือน กำรดำเนินงำนตำมนโยบำย จุดเน้น สำนักงำน กศน. ด้วยกำรส่งเสริมให้สถำนศึกษำในสังกัด จัดกิจกรรม กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัย ท่ีตอบสนองควำมต้องกำรของผู้เรียนและผู้รับบริกำรให้มีคุณภำพ และประสิทธิภำพย่งิ ข้ึน สำนักงำน กศน. โดยหน่วยศึกษำนิเทศก์ จึงกำหนดรูปแบบและแนวทำงกำรนิเทศที่เหมำะสม กับงบประมำณ จำนวนบุคลำกร และสอดคล้องกับบริบทของชุมชน สังคม เพ่ือสำมำรถนำผลกำรนิเทศมำพัฒนำ คุณภำพกำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัย ท้ังในด้ำนกำรพัฒนำรูปแบบกำรนิเทศและกำรประมวลผล กำรนิเทศมำใช้ให้เป็นประโยชน์สูงสุด โดยแนวทำง “กำรนิเทศเชิงบูรณำกำร” ระหว่ำงผู้นิเทศสังกัดหน่วย ศึกษำนิเทศก์ กศน. สถำบัน กศน.ภำค สำนักงำน กศน.จังหวัด และผู้เกี่ยวข้องท่ีมีควำมรู้ มีประสบกำรณ์ รว่ มเปน็ คณะกรรมกำรทป่ี รึกษำและคณะทำงำนขับเคลือ่ นกำรนเิ ทศสถำนศกึ ษำในสังกัด กศน. เพ่ือให้สำมำรถ นำผลกำรนิเทศมำพัฒนำและปรับปรุงงำนให้บรรลุตำมแนวนโยบำยของสำนักงำน กศน. ได้อย่ำงมี ประสิทธิภำพ อำศัยอำนำจตำมควำมในมำตรำ 14 แห่งพระรำชบัญญัติส่งเสริมกำรศึกษำนอกระบบและ กำรศึกษำตำมอัธยำศัย พ.ศ. 2551 เพื่อให้กำรนิเทศติดตำมผลเชิงบูรณำกำร เกิดประสิทธิภำพและ ประสิทธิผลสูงสุดต่อทำงรำชกำร จึงได้แต่งตั้งผู้มีรำยชื่อต่อไปนี้ เป็นคณะกรรมกำรเพื่อขับเคล่ือน กำรดำเนนิ งำนตำมนโยบำยของสำนักงำน กศน. ดงั น้ี 1. คณะกรรมการท่ปี รึกษา ประกอบดว้ ย 1.1 นำยกฤตชัย อรุณรัตน์ เลขำธิกำร กศน. 1.2 นำงสำววเิ ลขำ ลีสวุ รรณ์ รองเลขำธกิ ำร กศน. 1.3 นำยกล้ำ สมตระกลู อดีตรองอธบิ ดีกรมกำรศกึ ษำนอกโรงเรยี น 1.4 นำงสำวศรสี วำ่ ง เล้ยี ววำริณ อดตี หัวหนำ้ หนว่ ยศกึ ษำนเิ ทศก์ 1.5 นำยปำน กมิ ปี อดีตหวั หนำ้ หนว่ ยศกึ ษำนิเทศก์ 2. คณะกรรมการอานวยการ ทำหน้ำท่ี กำหนดกรอบแนวทำงกำรดำเนินงำน ให้คำปรึกษำ คำแนะนำ และกำกับติดตำมกำรดำเนินงำนภำพรวมของสถำนศึกษำในแต่ละภูมิภำคให้เป็นไปด้วยควำม เรียบร้อย และแก้ไขข้อจำกัดของอัตรำกำลังในกำรนิเทศ เพ่ือให้กำรนิเทศติดตำมผลบรรลุตำมวัตถุประสงค์ อยำ่ งมีประสทิ ธภิ ำพ ประกอบดว้ ย /2.1 นำงทองพนิ ...

193 2.1 นำงทองพนิ ขันอำสำ หัวหน้ำหนว่ ยศึกษำนิเทศก์ ผอู้ ำนวยกำรสถำบัน กศน.ภำคกลำง 2.2 นำยวมิ ล ชำญชนบท ผู้อำนวยกำรสถำบนั กศน.ภำคเหนอื ผู้อำนวยกำรสถำบัน กศน.ภำคตะวันออก 2.3 นำยจำเรญิ มลู ฟอง ผูอ้ ำนวยกำรสถำบนั กศน.ภำคตะวันออกเฉยี งเหนอื ผอู้ ำนวยกำรสถำบนั กศน.ภำคใต้ 2.4 นำยวรำวธุ พยัคฆพงษ์ ศึกษำนเิ ทศกเ์ ชย่ี วชำญ ศกึ ษำนเิ ทศกช์ ำนำญกำรพเิ ศษ 2.5 นำยวเิ ชยี รโชติ โสอุบล ศกึ ษำนเิ ทศกช์ ำนำญกำรพิเศษ ศึกษำนเิ ทศก์ชำนำญกำรพเิ ศษ 2.6 นำยอรัญ คงนวลใย ศึกษำนเิ ทศก์ชำนำญกำรพเิ ศษ อดตี ศึกษำนิเทศกเ์ ชีย่ วชำญ 2.7 นำยสธุ ี วรประดษิ ฐ อดตี ศึกษำนเิ ทศกช์ ำนำญกำรพิเศษ ศึกษำนิเทศก์ชำนำญกำร 2.8 นำยองอำจ วีรภทั รสกุล 2.9 น.ส.พชั รำ จงโกรย 2.10 นำงสรุ ีย์ นำคนิยม 2.11 นำยวริ ตั น์ คงดี 2.12 นำงสำวสุวรรณำ ลอ่ งประเสรฐิ 2.13 นำงสำวเสริมศรี ศิริพยคั ฆ์ 2.14 นำงสำวนวลพรรณ ศำสตรเ์ วช 3. คณะกรรมการขับเคล่ือนการนิเทศเขตภาคกลาง ทำหน้ำที่ขับเคล่ือนกำรนิเทศงำนตำม นโยบำยของสำนักงำน กศน. ประจำปีงบประมำณ 2561 โดยดำเนินกำรนิเทศภำยในจังหวัดร่วมกับ คณะกรรมกำรนิเทศของสถำบนั กศน.ภำคกลำง และคณะกรรมกำรกลุ่มสำนักงำน กศน.จังหวัดเขตภำคกลำง และรำยงำนผลกำรนเิ ทศให้สำนักงำน กศน. หลงั จบไตรมำส 2, 3 และ 4 ประกอบด้วย 3.1 สถาบัน กศน.ภาคกลาง 1) นำยวมิ ล ชำญชนบท ผูอ้ ำนวยกำรสถำบัน กศน.ภำคกลำง 2) นำยบุญฤทธ์ิ วริ ิยำนภุ ำพพงศ์ ครชู ำนำญกำรพิเศษ 3.2 กล่มุ สานกั งาน กศน.จังหวัดเขตภาคกลาง 3.2.1 กลุ่มกรุงเทพมหานคร กรงุ เทพมหานคร 1) นำงวบิ ลู ผล พรอ้ มมลู ผูอ้ ำนวยกำร สำนักงำน กศน.กรุงเทพมหำนคร 2) นำงสรุ รี ัตน์ ดยี ิ่ง รองผู้อำนวยกำร สำนกั งำน กศน.กรุงเทพมหำนคร 3.2.2 กลุม่ ลุ่มนาเจา้ พระยา จงั หวดั สระบุรี 1) นำยวสันต์ รัชชวงษ์ ผูอ้ ำนวยกำร สำนักงำน กศน.จงั หวดั สระบุรี 2) นำงชรยิ ำ คงสมพงษ์ ศกึ ษำนเิ ทศกช์ ำนำญกำรพเิ ศษ 3) นำยณัฐพงศ์ ตึกแสวง ศกึ ษำนเิ ทศกช์ ำนำญกำรพิเศษ 4) นำยสุพจน์ มงคลพิชญรักษ์ ศกึ ษำนเิ ทศกช์ ำนำญกำรพิเศษ /จงั หวัด...

194 จงั หวดั ปทุมธานี 1) นำงสำวกษมำ โรจนนลิ ผอู้ ำนวยกำร สำนกั งำน กศน.จังหวัดปทุมธำนี 2) นำงพมิ พำ หำญวัฒนะชัย ผอู้ ำนวยกำร กศน.อำเภอคลองหลวง จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา 1) นำงสำวลัดดำวัลย์ เลิศเพ็ญเมธำ ผู้อำนวยกำร สำนกั งำน กศน.จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยำ 2) นำงรำนี น้อยสกลุ ศึกษำนเิ ทศกช์ ำนำญกำร จังหวดั นนทบรุ ี 1) นำงสพุ รพรรณ นำคปำนเอ่ียม ผู้อำนวยกำร สำนักงำน กศน.จังหวัดนนทบุรี 2) นำยเริง กองแก้ว ศึกษำนเิ ทศก์ชำนำญกำรพเิ ศษ 3) นำงกำญจนำ สุขประเสรฐิ ศึกษำนเิ ทศก์ชำนำญกำรพเิ ศษ 3.2.3 กลมุ่ เจา้ พระยาปา่ สกั จังหวัดลพบรุ ี 1) นำยธวัชชยั ใจชำญสุขกจิ ผู้อำนวยกำร สำนักงำน กศน.จังหวดั ลพบรุ ี 2) นำงสำวพชั รำ จงโกรย ศึกษำนิเทศกช์ ำนำญกำรพิเศษ 3) นำงสำวนติ ยำ มุขลำย ศึกษำนิเทศกช์ ำนำญกำรพเิ ศษ จงั หวดั ชยั นาท 1) นำยนิรชั สำมัคคี ผอู้ ำนวยกำร สำนกั งำน กศน.จงั หวดั ชยั นำท 2) นำงนฤมล อันตะริกำนนท์ ศกึ ษำนเิ ทศก์ชำนำญกำรพิเศษ จงั หวัดอ่างทอง 1) พ.จ.อ.พฒั น์ ผดงุ ญำติ ผู้อำนวยกำร สำนกั งำน กศน.จงั หวดั อ่ำงทอง 2) นำงสำวอญั ชลี พงษ์พำนชิ ศึกษำนเิ ทศกช์ ำนำญกำรพิเศษ จังหวดั สงิ ห์บุรี 1) นำยสนั ติ ต่วนชะเอม ผอู้ ำนวยกำร สำนกั งำน กศน.จังหวัดสิงหบ์ ุรี 2) นำงสำวสมุ นณ์ บุตรย่ี ศึกษำนิเทศก์ชำนำญกำรพเิ ศษ 3.2.4 กลมุ่ ท่าจีนถิ่นแม่กลอง จังหวดั กาญจนบุรี 1) นำงอรณชิ วรรณนชุ ผอู้ ำนวยกำร สำนกั งำน กศน.จงั หวัดกำญจนบรุ ี 2) นำงสำวชยะวดี อนิ สมภกั ษร ศึกษำนิเทศก์ชำนำญกำรพิเศษ /จงั หวัด...

195 จงั หวัดนครปฐม 1) นำยปรเมศวร์ ศิรริ ัตน์ ผอู้ ำนวยกำร สำนักงำน กศน.จังหวดั นครปฐม 2) พ.จ.ท.ปกำสิต ตรำช่ืนต้อง รองผอู้ ำนวยกำร สำนักงำน กศน.จังหวดั นครปฐม จงั หวัดราชบุรี 1) นำงสำวดำรัตน์ กำญจนำภำ ผอู้ ำนวยกำร สำนักงำน กศน.จังหวดั รำชบุรี 2) นำงเกล็ดแกว้ เจริญศกั ด์ิ ศกึ ษำนิเทศกช์ ำนำญกำรพิเศษ จังหวัดสพุ รรณบุรี 1) นำยสมยศ เพ่ิมพงศำเจริญ ผ้อู ำนวยกำร สำนกั งำน กศน.จังหวัดสพุ รรณบุรี 2) นำยวรภมู ิ บญุ ประเสริฐ รองผู้อำนวยกำร สำนกั งำน กศน.จังหวัดสพุ รรณบรุ ี 3.2.5 กลุ่มสมุทรคีรี จงั หวดั เพชรบุรี 1) นำยศุภชั ณัฏฐ์ หลกั เมือง ผู้อำนวยกำร สำนกั งำน กศน.จงั หวัดเพชรบรุ ี 2) นำงศริ เิ รอื ง ชูใจ ศึกษำนเิ ทศกช์ ำนำญกำรพิเศษ 3) นำงทองสุข รตั นประดิษฐ์ ศึกษำนเิ ทศก์ชำนำญกำรพิเศษ จังหวดั ประจวบคีรีขนั ธ์ 1) นำยเรอื งฤทธ์ิ ชมพูผดุ ผอ่ ง ผู้อำนวยกำร สำนักงำน กศน.จังหวดั ประจวบครี ขี ันธ์ 2) นำงมณรี ัตน์ อัจฉริยพันธกุล ผู้อำนวยกำร กศน.อำเภอทับสะแก จังหวัดสมุทรสงคราม 1) นำงสุนันทำ กำระเวก ผู้อำนวยกำร สำนักงำน กศน.จังหวดั สมุทรสงครำม 2) นำยคำรน ศรคี ำไทย ศกึ ษำนิเทศก์ชำนำญกำรพเิ ศษ จังหวัดสมุทรสาคร 1) นำยมนตรี ลิมำภิรักษ์ ผอู้ ำนวยกำร สำนักงำน กศน.จงั หวดั สมทุ รสำคร 2) นำยสญั ญำ ทองจนิ ดำ ศึกษำนิเทศก์ชำนำญกำรพิเศษ 4. คณะกรรมการขับเคลื่อนการนิเทศเขตภาคตะวันออก ทำหน้ำที่ นิเทศ ขับเคล่ือนกำรดำเนินงำน ตำมนโยบำยของสำนักงำน กศน. ประจำปีงบประมำณ ๒๕๖1 โดยดำเนินกำรนิเทศภำยในจังหวัดร่วมกับ คณะกรรมกำรนิเทศของสถำบัน กศน.ภำคตะวันออก และคณะกรรมกำรกลุ่มสำนักงำน กศน.จังหวัด เขตภำคตะวนั ออก และรำยงำนผลกำรนเิ ทศให้สำนักงำน กศน. หลังจบไตรมำส 2, 3 และ 4 ประกอบดว้ ย /4.1 สถำบัน...


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook