Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore report

report

Published by bota_fon08, 2019-06-12 08:02:30

Description: report

Search

Read the Text Version

คำนำ หน่วยศกึ ษานิเทศก์ สานักงาน กศน. มหี นา้ ที่ นิเทศ ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาการนิเทศ กิจกรรม กศน.ของสถานศึกษา สังกัดสานักงาน กศน. รวมถึงการนิเทศด้านวิชาการแก่สถานศึกษา ซ่ึงในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 สานักงาน กศน. กาหนดนโยบายและจุดเน้นการดาเนินงานด้านการกากับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผลและรายงานผลไว้อย่างชัดเจนและเป็นบทบาทหน้าท่ีหลักของหน่วยศึกษานิเทศก์ ในการดาเนินงานนเิ ทศ ใหส้ อดคล้องกบั นโยบายและจดุ เน้นการดาเนนิ งาน สานกั งาน กศน. ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 หน่วยศึกษานิเทศก์ได้ปฏิบัติงานนิเทศสถานศึกษาและพัฒนางาน ดา้ นวิชาการใหแ้ ก่สถานศึกษา รวมทงั้ พัฒนาศักยภาพศึกษานิเทศก์ สานักงาน กศน.จังหวัด ตลอดจนดาเนินภารกิจ ที่ได้รับมอบหมายจากสานักงาน กศน. อาทิ โครงการนาร่องส่งเสริมและพัฒนาทักษะการฟัง – พูดภาษาไทย เพื่อการสื่อสารสาหรับผู้ใหญ่บนพ้ืนที่สูงตามพระราชดาริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี กิจกรรมที่สาคัญ เช่น การมีส่วนร่วมลงพ้ืนท่ีติดตามงานตามนโยบายของรัฐบาลและรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ ในการประชุมคณะรัฐมนตรีอย่างเป็นทางการนอกสถานที่ และการประเมินผลการจัดงาน “วันท่ีระลึกสากล แห่งการรูห้ นงั สอื ” เปน็ ตน้ ดังน้ัน หน่วยศึกษานิเทศก์จึงได้จัดทา “รายงานผลการนิเทศ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561” เพื่อประมวลผลและสะท้อนผลการปฏิบัติงานของสถานศึกษาท่ีเกิดจากการปฏิบัติงานนิเทศ ของศึกษานิเทศก์ส่วนกลาง ศึกษานิเทศก์ สานักงาน กศน.จังหวัด และผู้ที่ได้รับคาส่ังแต่งตั้งจากสานักงาน กศน. ให้ทาหน้าที่นิเทศในจังหวัดท่ีไม่มีศึกษานิเทศก์ รวมท้ังข้อเสนอแนะเพื่อเป็นข้อมูลสาหรับผู้บริหารนาไป ประยุกต์ใช้ในการกาหนดเปน็ นโยบายเพอื่ พัฒนาสถานศึกษาต่อไป หน่วยศกึ ษานเิ ทศก์ ขอขอบคุณศกึ ษานิเทศก์ สานักงาน กศน.จังหวัด สถาบัน กศน.ภาคทุกแห่ง รวมถึงอดีตผ้บู ริหารการศึกษา อดีตศึกษานิเทศก์ ผู้ร่วมพัฒนางานนิเทศ และผู้เก่ียวข้องทุกท่านที่มีส่วนร่วม จดั ทาเอกสาร “รายงานผลการนิเทศ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561” ให้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี และหวังเป็น อย่างยิ่งว่า เอกสารเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาคน พัฒนาปรับปรุงกิจกรรม/โครงการงาน กศน. ใหม้ ีคุณภาพและประสทิ ธิภาพยิง่ ข้ึน หนว่ ยศึกษานิเทศก์ สานักงาน กศน.

สารบญั บทสรุปสาหรับผูบ้ ริหาร 1 นโยบายการดาเนนิ งาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 7 การดาเนินงานของหนว่ ยศึกษานิเทศก์ 10 - การบรหิ ารงานของหน่วยศกึ ษานิเทศก์ 12 - ระบบการนิเทศ 14 - การปฏบิ ตั ิการนเิ ทศ 16 - เครอ่ื งมอื นิเทศ 18 - การดาเนนิ งานโครงการสาคญั ท่ีสานกั งาน กศน.มอบหมาย 22 - การให้ความร่วมมือกบั หน่วยงานตา่ ง ๆ 28 ผลการดาเนินงาน 30 - ผลการดาเนินงานตามระบบการนเิ ทศ - สรุปผลการนิเทศกจิ กรรม กศน. คร่ึงแรก ปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 97 (ตลุ าคม 2560 - มนี าคม 2561) - สรุปผลการนิเทศกิจกรรม กศน. ครึ่งหลัง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 135 (เมษายน - กันยายน 2561) 137 - ตวั อยา่ งกิจกรรม/โครงการทป่ี ระสบผลสาเร็จ (Best Practice) - ผลการดาเนินโครงการ ภาคผนวก 162 - ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 163 - บนั ทกึ ขอ้ ความสานกั งาน กศน. ที่ ศธ 0210.120/243 ลงวนั ท่ี 6 กรกฎาคม 2561 171 เรอ่ื ง รายงานสรุปผลการนเิ ทศคร่ึงปีงบประมาณ 2561 - บนั ทึกข้อความสานกั งาน กศน. ที่ ศธ 0210.120/421 ลงวนั ที่ 25 ตุลาคม 2561 173 เรอ่ื ง รายงานผลการประชุมปฏบิ ตั กิ ารจัดทารายงานสรปุ ผลการนิเทศ งบประมาณประจาปี พ.ศ.2561 185 - บนั ทึกข้อความสานกั งาน กศน. ที่ ศธ 0210.120/378 ลงวนั ที่ 18 กันยายน 2561 เรอ่ื ง รายงานการประชุมคณะกรรมการฝา่ ยประเมินผลการจดั งาน มหกรรมเฉลมิ พระเกยี รติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว ทอดพระเนตรสุริยปุ ราคา ณ หวา้ กอ ครบรอบ 150 ปี - บนั ทกึ ข้อความสานกั งาน กศน. ท่ี ศธ 0210.120/395 ลงวนั ท่ี 2 ตุลาคม 2561 เรอ่ื ง รายงานสรุปการประเมินผล “งานวนั ท่รี ะลกึ สากลแหง่ การรหู้ นังสอื ” ประจาปี ๒๕๖๑

- คาสง่ั สานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ท่ี 203/2560 189 ลงวันที่ 22 ธนั วาคม 2560 เรือ่ ง มอบหมายให้ศกึ ษานิเทศกป์ ฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีราชการ - คาสง่ั หน่วยศกึ ษานเิ ทศก์ ที่ 2/2561 ลงวนั ท่ี 25 มกราคม 2561 191 เร่ือง แตง่ ต้ังคณะกรรมการภารกิจกล่มุ งานวิชาการและโครงการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 - คาสง่ั สานกั งานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ที่ 36/2561 192 ลงวนั ท่ี 22 กุมภาพันธ์ 2561 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการนเิ ทศเพอื่ ขับเคลื่อนการดาเนินงาน ตามนโยบาย จุดเน้น สานักงาน กศน. ปีงบประมาณ 2561 ภาพกิจกรรมของหน่วยศกึ ษานเิ ทศก์ 207 รายชอ่ื ผู้จัดทาเอกสาร 215

บทสรุปสำหรบั ผบู้ รหิ ำร ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 หน่วยศกึ ษานิเทศก์ สานกั งาน กศน. ได้ปฏบิ ัติงานตามภารกจิ ดังนี้ 1. สนับสนุนการปฏิบัติงานนิเทศของศึกษานิเทศก์ สานักงาน กศน.จังหวัด และการปฏิบัติงาน นิเทศในจงั หวดั ทไ่ี ม่มีศึกษานิเทศก์โดยนิเทศกิจกรรม กศน. ตามกรอบทิศทางและเคร่ืองมือนิเทศตามนโยบาย และจุดเน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 โดยกาหนดประเด็นการนิเทศ เพื่อขับเคลื่อนกิจกรรมตามนโยบาย จุดเน้น 14 เรื่อง ได้แก่ 1) การขับเคล่ือนการดาเนินงานตามโครงการ ไทยนิยม ย่ังยืน 2) การขับเคล่ือนการดาเนินงานโครงการอบรมประวัติศาสตร์ชาติไทย และบุญคุณของ พระมหากษัตริย์ไทย 3) โครงการสร้างเครือข่ายดิจิทัลชุมชนระดับตาบล 4) ศูนย์เรียนรู้หลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจาตาบล 5) โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 6) ศูนย์ส่งเสริมพัฒนา ประชาธิปไตยตาบล 7) โครงการภาษาองั กฤษเพอื่ การสอ่ื สารด้านอาชีพ 8) การจดั การเรียนรู้ด้านเกษตรกรรม (Smart Farmer : เกษตรกรปราดเปรื่อง) 9) กศน.ตาบล 4 G 10) การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 11) การศึกษาต่อเนื่อง 12) การศึกษาตามอัธยาศัย 13) การประกันคุณภาพการศึกษา และ 14) รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (พลเอก สรุ เชษฐ์ ชัยวงศ์) ได้มอบหมายประเด็นการขับเคล่ือนงานต่อเนื่องในการพัฒนาประเทศตามโครงการ ไทยนิยม ย่ังยืน ของกระทรวงศึกษาธิการ โดยได้จัดทาเคร่ืองมือนิเทศตามประเด็นดังกล่าวสาหรับใช้ในการนิเทศ ท้ังน้ี สานักงาน กศน. มีคาส่ังมอบหมายให้ศึกษานิเทศก์ส่วนกลาง 1) ปฏิบัติการนิเทศใน 38 จังหวัด (487 สถานศึกษา) สถานศึกษาข้ึนตรง 38 แห่ง 2) ประสานการนิเทศกับศึกษานิเทศก์ สานักงาน กศน. จังหวัดและสรุปผลการนิเทศเป็นรายภาคร่วมกับสถาบัน กศน. ทั้ง 5 ภาค 3) รายงานผลการนิเทศเสนอ เลขาธิการ กศน. เพ่ือทราบและพิจารณาสั่งการ ซ่ึงหน่วยศึกษานิเทศก์ได้จัดส่งสาเนารายงานให้แก่สานักงาน กศน.จังหวัด และสถานศกึ ษาขนึ้ ตรง หรือหน่วยงานส่วนกลางทเ่ี ก่ียวข้องเพอ่ื ทราบและดาเนนิ การต่อไป 2. จัดโครงการพัฒนาวิชาการเพื่อพัฒนาศึกษานิเทศก์และผู้ทาหน้าท่ีนิเทศ เพื่อให้การจัด การศกึ ษาของสถานศึกษามคี ณุ ภาพเป็นไปตามมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ทั้งน้ี หนว่ ยศึกษานเิ ทศกไ์ ดด้ าเนินงานวิชาการในรูปโครงการ จานวน 6 โครงการ คือ 1) โครงการนิเทศเพื่อพัฒนา คุณภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ปีงบประมาณ 2561 2) โครงการพัฒนาการจัด กระบวนการเรียนรู้สาหรับศึกษานิเทศก์ 3) โครงการการจัดทาหนังสือ “แนวคิดและแนวทางการนิเทศ งานการศึกษานอกโรงเรียนในศตวรรษท่ี 21” (จัดทำหลักสูตรกำรพัฒนำข้ำรำชกำรครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ สำยงำนกำรสอน จำนวน 2 หลักสูตร คือ หลักสูตรกำรพัฒนำชุมชนแห่งกำรเรียนรู้ของครู กศน. มอื อำชีพเพอ่ื ทกั ษะกำรเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Development of Professional Learning Communites for Non-formal Teacher for Learning Skills in 21st Century) และหลักสูตรกำรวิจัยปฏิบัติกำรในชั้นเรียน และกำรปฏิบัติที่ดี (Classroom Action Research and Best Practice) 4) โครงการประชุมผู้ทาหน้าที่ นิเทศของสานักงาน กศน.จังหวัดที่ไม่มีศึกษานิเทศก์ 5) โครงการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลโครงการนาร่อง ส่งเสริมและพัฒนาทักษะการฟัง – พูดภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสาหรับผู้ใหญ่บนพ้ืนท่ีสูงตามพระราชดาริ ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี และ 6) โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการขยายผล โครงการส่งเสริมและพัฒนาทักษะการฟัง – พูดภาษาไทยเพ่ือการส่ือสารสาหรับผู้ใหญ่บนพ้ืนท่ีสูงในพ้ืนที่ โครงการตามพระราชดาริ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ดังน้ัน เพ่ือเป็นการรวบรวมข้อมูลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพในภาพรวมท่ีได้จากการ ปฏบิ ตั ิงานนิเทศเสนอต่อสานกั งาน กศน. หน่วยศกึ ษานเิ ทศกไ์ ดป้ ระมวลและสรุปรายงานผลการนิเทศ จานวน 2 ครง้ั คือ

2 1. สรุปผลการนเิ ทศคร่ึงปีแรกของปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 (ตุลาคม 2560 – มนี าคม 2561) 2. สรุปผลการนิเทศครงึ่ ปหี ลงั ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 (เมษายน – กนั ยายน 2561) โดยได้สรุปภาพรวมผลการนิเทศการขับเคล่ือนกิจกรรมตามนโยบาย จุดเน้น จานวน 14 เร่อื ง ดงั นี้ 1. กำรขับเคล่ือนกำรดำเนินงำนตำมโครงกำรไทยนิยม ยั่งยืน พบว่า จากการที่ผู้บริหาร กศน. ได้รบั การแตง่ ตงั้ เปน็ คณะทางานในทกุ ระดับ และครู กศน.ตาบล เป็นทีมขับเคลื่อนระดับตาบล ทาให้การสร้าง ความเข้าใจ ความพึงพอใจ และกำรค้นหำควำมต้องกำรของประชำชนกลุ่มเป้ำหมำย เพื่อรายงานผล เข้าสู่ระบบ DMIS ของสานักงาน กศน. เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และในหลายพื้นที่ได้มอบให้ครู กศน. รายงานผลตรงสู่ระบบสารสนเทศของกระทรวงมหาดไทยด้วย ซ่ึงนอกเหนือจากความต้องการพื้นฐาน ด้านสาธารณูปโภค และส่ิงแวดล้อม ยังมีด้านสังคมและการศึกษาที่สะท้อนความไม่พึงพอใจของชุมชนหลายด้าน เชน่ ปัญหาการตั้งทอ้ งในวัยเรียน เด็กออกกลางคัน ติดยาเสพติด ติดเกมหรือโซเชียลมีเดีย ซ่ึงได้รับกำรแก้ไข ปัญหำด้วยกิจกรรมโครงกำรระดับอำเภอ โดยชุมชนทาเองหรือร่วมกับหน่วยงานภายนอกแก้ไขปัญหาและ สถำนศึกษำ กศน. จัดกิจกรรมผ่ำนโครงกำรบรรจุเป็นแผนพัฒนำ 5 โครงการ คือ 1) โครงการอบรม ประวัติศาสตร์ชาติไทย และบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย 2) โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 3) โครงการ ศูนย์เรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจาตาบล 4) โครงการศูนย์ส่งเสริม พัฒนาประชาธิปไตยตาบล 5) โครงการสรา้ งเครอื ข่ายดิจิทัลชมุ ชนระดับตาบล 2. กำรขับเคล่ือนกำรดำเนินงำนโครงกำรอบรมประวัติศำสตร์ชำติไทย และบุญคุณของ พระมหำกษัตรยิ ์ไทย พบว่า ผู้บริหำร ข้ำรำชกำรครู และครู กศน.ทุกประเภทได้เข้ำรับกำรอบรมใน 4 หลักสูตร คือ 1) กำรอบรมประวัติศำสตร์ชำติไทย และบุญคุณของพระมหำกษัตริย์ไทย ครูอำสำสมัคร กศน. 2) กำรประชุมเชิงปฏิบัติกำรเพ่ือจัดทำคู่มือกำรจัดกิจกรรม กระบวนกำรเรียนกำรสอนเพื่อกำรเรียนรู้ เรื่องประวัติศำสตร์ชำติไทย 3) กำรอบรมกำรจัดกิจกรรม กระบวนกำรเรียนกำรสอนเพื่อกำรเรียนรู้ เรอื่ งประวัตศิ ำสตร์ชำติไทย 4) ประวตั ศิ ำสตร์ชำติไทยสำหรบั กำรนิเทศ กำกับ ตดิ ตำม กำรดำเนนิ งำน ท้ังน้ี 1) สานักงาน กศน.จังหวัดได้จัดอบรมในระดับจังหวัด โดยเชิญวิทยากรจาก กอ.รมน. หรือบุคลากร กศน.ท่ีผ่านการอบรมตามโครงการฯ ของสานักงาน กศน. 2) สถานศึกษาได้ขยายผลให้ความรู้ และสร้างจิตสานึกโดยจัดการอบรมแก่นักศึกษา กศน. ในรูปแบบค่ายไป-กลับ หรือค่ายพักแรม โดยครู กศน. ท่ีผ่านการอบรมแล้วเป็นวิทยากร และ 3) เปิดลงทะเบียนรำยวิชำเลือกเสรีประวัติศำสตร์ชำติไทย แก่นักศึกษำ กศน. หลักสูตรกำรศึกษำนอกระบบระดับกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำน 2551 ต้ังแต่ภำคเรียนท่ี 1 ปกี ำรศกึ ษำ 2561 3. โครงกำรสร้ำงเครอื ขำ่ ยดจิ ิทลั ชมุ ชนระดับตำบล พบว่า สานักงาน กศน.จังหวัดได้อบรม วิทยากรครู ก ตามหลกั สตู ร ความรคู้ วามเขา้ ใจดจิ ิทัลชุมชนระดับอาเภอ (Digital Literacy Curriculum) เพื่อ ขยายผลให้ครู ข และ ครู ค ในระดับจังหวัดและอาเภอ ไปจัดกิจกรรมดิจิทัลชุมชนให้กับประชาชนในพื้นท่ี รบั ผดิ ชอบ และครูได้สบื ค้นความรู้เรื่องการทาธุรกิจการค้าออนไลน์เพ่ิมเติมจากส่ืออินเทอร์เน็ต ซึ่งประชำชน สนใจเขำ้ รบั กำรอบรมเรียนรู้ได้และบำงรำยสำมำรถนำควำมร้ไู ปประยุกตใ์ ช้เพือ่ ขำยสนิ คำ้ ออนไลน์ 4. ศูนย์เรียนรู้หลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจำตำบล พบว่าสถานศึกษาจัดทาแผนงาน โครงการ และหลักสูตร เสนอขออนุมัติแล้วครูนาไปสู่การปฏิบัติ โดยสอดแทรกเน้ือหำในกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ให้กับนักศึกษำ กศน. และจัดโครงกำรฝึกอบรม ประชำชนในพ้นื ทีใ่ ห้มีความรู้เร่ือง หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหม่ ตามองค์ประกอบ

3 ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๓ ห่วง ๒ เงื่อนไข จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้กับกลุ่มเป้าหมาย ในเร่ืองการทา บัญชีครัวเรือน การปลูกผักปลอดสารพิษ การลด ละ เลิก อบายมุข และการครองตน ครองคน ครองงาน เปน็ ตน้ วิทยากรผู้ให้ความรู้ส่วนใหญ่เป็นภูมิปัญญาท้องถ่ิน ปราชญ์ชาวบ้าน และศึกษาเรียนรู้ จากแหล่งเรียนรู้ต้นแบบ รวมท้ังสถานศึกษาได้จัดทาแฟ้มข้อมูล ทาเนียบภูมิปัญญาท้องถิ่น ปราชญ์ชาวบ้าน แหลง่ เรยี นรู้ และบนั ทึกเป็นขอ้ มูลสารสนเทศเพอ่ื สะดวกในการสืบคน้ 5. โครงกำรศูนย์ฝึกอำชีพชุมชน พบว่า สถานศึกษาทุกแห่งสำมำรถจัดกำรศึกษำอำชีพได้ สอดคล้องกับควำมต้องกำรของชุมชน สนองความต้องการของตลาดและหลักสูตรมีองค์ประกอบครบถ้วน โดยพฒั นาจากหลกั สตู รของสานกั งาน กศน. 6. ศูนย์ส่งเสริมพัฒนำประชำธิปไตยตำบล พบว่า ในการร่วมมือขับเคลื่อนงำนระหว่ำง สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรเลือกต้ัง (กกต.) กับ สำนักงำน กศน. โดยกำรจัดต้ังศูนย์ส่งเสริมพัฒนำ ประชำธิปไตยตำบล (ศส.ปชต.) ใน กศน.ตำบลทุกตำบล สานักงาน กกต.ได้สร้างขวัญกาลังใจโดยจัด กิจกรรมคัดเลือก ศส.ปชต. ดีเด่นระดับอาเภอและระดับจังหวัด และทบทวนการดาเนินงานและกาหนด ทิศทางการพัฒนาร่วมกันในรูปแบบโครงการต่าง ๆ เช่น โครงการสร้างจิตสานึกวิถีประชาธิปไตย โครงการ เสริมสร้างประชาธิปไตยในชุมชน โครงการสร้างเสริมความรู้ประชาธิปไตย การรณรงค์หมู่บ้านไม่ขายเสียง และ จัดทาหมบู่ ้านไมข่ ายเสียงต้นแบบ ไปแล้ว 7. โครงกำรภำษำอังกฤษเพื่อกำรส่ือสำรด้ำนอำชีพ พบว่า สถานศึกษาได้จัดหลักสูตร โดยการสารวจและวิเคราะห์ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย และความเหมาะสมกับวิถีชีวิตในพ้ืนที่ โดยหลักสูตรมีความสอดคล้องกับนโยบายในการสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ได้แก่ ภาษาอังกฤษเพื่อขายสินค้า ภาษาอังกฤษเพ่ือการท่องเท่ียว (ในจังหวัดท่องเที่ยว เช่น ภูเก็ต ตรัง พังงา และ พระนครศรอี ยุธยา) ภาษาอังกฤษเพ่ือพนักงานนวดแผนไทย วิทยากรมีความรู้ ความสามารถและอยู่ในท้องถ่ิน ใช้ส่ือคลิปวิดีโอ และส่ือแหล่งเรียนรู้สถานที่จริง ฝึกประสบกำรณ์จริง ฝึกคำศัพท์ง่ำย ๆ ท่ีสอดคล้อง กับอำชีพของผู้เรียน วัดผลควำมรู้ของผู้เรียนตำมสภำพจริง เช่น การตอบคาถาม การเข้าร่วมกิจกรรม หากผ่านเกณฑ์ท่ีกาหนดจะได้รบั มอบวฒุ ิบัตร และครู กศน. จะตดิ ตามผู้เรยี นทเี่ รียนจบไปแลว้ โดยระบบออนไลน์ 8. กำรจัดกำรเรียนรู้ด้ำนเกษตรกรรม (Smart Farmer : เกษตรกรปรำดเปรื่อง) พบว่า สถำนศึกษำได้ศึกษำกลุ่มเป้ำหมำยเพื่อนำข้อมูลมำใช้จัดกำรเรียนรู้และจัดทำหลักสูตรให้ทันสมัย ทันเหตุการณ์ เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจในการเป็น Smart Farmer เห็นช่องทาง หรือ พัฒนาอาชีพด้านการเกษตร ผ่านกระบวนการท่ีหลากหลาย สำมำรถยกระดับเป็น Smart Farmer ของ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยจัดสอนกลุ่มเป้าหมายประชาชน ตาบลละ 10 – 15 คนขึ้นไป ระยะเวลา 18 ชั่วโมง (3 วัน) วิทยากรจากเครือข่าย ได้แก่ สานักงานเกษตรอาเภอ สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ หมอดินอาสา ทาให้ประชาชนท่ีเข้ารับการอบรม มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการทาเกษตรกรรมตามความ เหมาะสมของพื้นที่และเห็นช่องทาง หรือพัฒนาอาชีพทางการเกษตร เม่ือจบหลักสูตรแล้วสามารถนาความรู้ ไปประกอบอาชีพ มีงานทา มีรายได้ และมีการรวมกลุ่มในชุมชนตามเป้าหมาย “ชุมชนพ่ึงตนเอง ทาได้ ขายเป็น” สามารถใช้เทคโนโลยีเป็นช่องทางการเผยแพร่ จาหน่ายผลิตภัณฑ์ และสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลท้ังจาก เจา้ หนา้ ทแ่ี ละผ่านทางระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ ตลอดถงึ การสื่อสารอ่ืน ๆ เช่น Internet , Mobile Phone, Smart Phone เปน็ ต้น และยกระดับตนเองในการเป็น Smart Farmer จากการประเมนิ ความพึงพอใจของผูเ้ รยี น

4 พบวา่ ผู้เรียนทกุ หลกั สูตร มีความพึงพอใจต่อการจดั กระบวนการเรียนรู้ แต่ข้อมูลการติดตามผลการนาความรู้ ไปใช้ยังมีไม่มาก พบเพียงว่า ผู้เข้าร่วมโครงการได้นาความรู้ด้านการเกษตรไปใช้ในการประกอบอาชีพ หรือ พฒั นาต่อยอดอาชพี เกษตรกร 9. กศน.ตำบล 4 G พบว่า Good Teacher ครู กศน.ตาบลพร้อมเป็นครูมืออาชีพ จากการ พัฒนาทักษะต่าง ๆ เช่น กำรจัดทำแผนกำรเรียนรู้แบบบูรณำกำร กำรจัดทำหลักสูตรรำยวิชำเลือก กำรจัด กิจกรรมกำรเรียนรู้ผ่ำนระบบออนไลน์ เป็นต้น ครูร้อยละ 80 นำเทคโนโลยีสำรสนเทศมำจัดกำรเรียน กำรสอน ได้หลำกหลำย ทันสมัย เช่น เรียนออนไลน์ ข้อสอบออนไลน์ ติดตามผู้เรียนโดยกลุ่ม Line และ Facebook เป็นต้น Good Places Best Check-In กศน.ตาบล ร้อยละ 70 1) มีสภาพแวดล้อมสะอาด สวยงาม 2) มีจานวนคอมพิวเตอร์เพียงพอใช้งานและให้บริการตาบล และ 3) ให้บริการอินเทอร์เน็ตได้ ตามโครงการเนต็ ประชารัฐ ซึง่ ทาใหจ้ านวนผู้รับบริการเพิ่มมากข้นึ เขา้ มาใช้บรกิ ารอย่างสม่าเสมอ และมีความ พงึ พอใจในการรบั บริการมาก Good Activities การจัดกิจกรรมสามารถ 1) ตอบสนองความต้องการของชุมชนและ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต เช่น การดูแลสุขภาพกายใจ การอนุรักษ์ธรรมชาติ การดารงชีวิตตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง 2) สามารถพัฒนาศักยภาพของคนในชุมชนให้มีคุณภาพ โดยมีกำรใช้สมำร์ทโฟน แอพพลเิ คช่ันทีค่ วรรู้ กำรคิดวิเครำะห์ แลกเปล่ยี นความรู้ระหว่างครกู บั ครู ครูกบั ผ้เู รยี น และประยุกต์ใช้ในการ ดาเนินชีวิต สามารถแก้ไขปัญหาในการดาเนนิ ชีวิตและอาชีพได้ Good Partnerships ด้านเครือข่าย สามารถประสานความร่วมมือจากเครือข่ายที่หลากหลาย เช่น กอ.รมน. องค์การโทรศัพท์ สานกั งานคณะกรรมการการเลือกตั้ง โรงพยาบาลสตั ว์ ฯลฯ 10. กำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พบว่า ครูผู้สอนจัดกำรเรียนรู้ผ่ำนส่ือออนไลน์ได้อย่ำงหลำกหลำย เช่น Google Classroom Line และ Facebook เพื่อช่วยเหลือผู้เรียนท่ีมีเวลาน้อย และในกรณีที่ครูไม่สามารถ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้ตามแผนที่กาหนดไว้ โดยเสริมด้วยการเย่ียมบ้านติดตามผู้เรียนและกิจกรรมพัฒนา ผ้เู รยี นอื่น ๆ ตามแนวทางทสี่ ถานศึกษากาหนด โดยครูรอ้ ยละ 80 ใชส้ ่อื ภูมิปัญญาชาวบ้าน สมุดกิจกรรม และ เรียนรู้คลิปวิดีโอมาช่วยในการจัดการเรียนการสอน อย่างไรก็ตาม ยังมีครูร้อยละ 20 ที่ยังคงใช้เพียงหนังสือเรียน อยา่ งเดียว สาหรับการวัดผล ในกำรสอนรำยวิชำเลือกเสรีสถำนศึกษำสำมำรถกำหนดจัดทำ แบบเรยี นร่วมกัน พบว่าร้อยละ 90 ยังขาดการประเมินตามสภาพจริง และยังขาดการวิเคราะห์ข้อมูลผู้เรียน ท่เี ขา้ สอบ/คะแนนผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นและสารสนเทศในการพัฒนาผู้เรยี น 11. กำรศึกษำต่อเน่ือง พบว่า สถานศึกษา 1) จัดกำรศึกษำอำชีพเพ่ือกำรมีงำนทำอย่ำงยั่งยืน ในรูปแบบศูนย์ฝึกอำชีพชุมชน 2) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต การศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน ได้สอดคล้องตรงกับสภาพปัญหาและความต้องการของชุมชน และพัฒนำหลักสูตรให้มีเนื้อหำท่ีทันสมัย สอดคล้องกับชุมชนกลุ่มเป้าหมาย และแนวทำงกำรพัฒนำประเทศ ท้ังน้ี ยังไม่มีการประเมินหลักสูตร วิทยากรส่วนใหญ่เป็นผู้รู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ชาวบ้าน ที่อยู่ในชุมชน ผู้จบหลักสูตรส่วนใหญ่นาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน แต่ไม่สามารถพัฒนาต่อยอดสู่วิสาหกิจชุมชนได้ บางคนนาความรู้ไปใช้ในการ ประกอบอาชีพเสริมหรือพัฒนาอาชีพเดิมให้มีรายได้เพิ่มขึ้น การรวมกลุ่มของชุมชนมีน้อยท่ีจะทาได้ขายเป็น ยกเวน้ กรณมี กี ลมุ่ ของตนเองอยแู่ ล้ว

5 12. กำรศึกษำตำมอธั ยำศยั ห้องสมุดประชาชน พบว่า ส่วนใหญ่มีสภาพความพร้อมให้บริการ ท้ังด้านงบประมาณ ซ่ึงได้รับกำรสนับสนุนด้ำนกำรพัฒนำจำกภำคีเครือข่ำยหลำกหลำย เช่น งบยุทธศำสตร์จังหวัด งบพัฒนำ ท้องถิ่น เป็นต้น และการจัดกิจกรรม โดยได้พัฒนากิจกรรมให้หลากหลายและทันสมัย เช่น การใช้ แอปพลิเคช่ันสนับสนุนการส่งเสริมการอ่าน เช่น QR Code Facebook แนะนาหนังสือ/สถานที่ท่องเที่ยว/ เสน้ ทางประวัตศิ าสตร์ตา่ ง ๆ เปน็ ต้น จดั มุมการเรยี นรู้ มมุ แสดงหนังสือใหม่/หนังสือเด็ก มุมอินเทอร์เน็ต และ wi-fi การจัดทาฐานข้อมูลทะเบียนหนังสือ โดยใช้โปรแกรมระบบบริการงานห้องสมุด (PLS) และระบบเช่ือมโยง ฐานข้อมูล สามารถทาได้ครบทุกห้องสมุดประชาชน อย่างไรก็ดี พบว่ามีห้องสมุดประชาชนบางแห่งยังขาด ฐานข้อมลู ดา้ นความตอ้ งการของผ้ใู ชบ้ ริการ บ้านหนังสือชุมชน พบว่า ครู กศน.ตาบลร่วมประสานงานกับบรรณารักษ์ห้องสมุด ประชาชนอาเภอ เพื่อให้เกิดหน่วยส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีเข้าถึงครัวเรือนประชาชน ที่ชุมชนดูแล รับผิดชอบเอง ซึ่งบ้านหนังสือชุมชนมักอยู่ร่วมกับร้านค้าในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล จัดกิจกรรม มุมหนังสือ กลมุ่ สนใจ (โดยครู กศน.ตาบล) และมบี รกิ ารสญั ญาณ wi-fi หอ้ งสมุดเคล่ือนท่ีสาหรับชาวตลาด พบว่า การจัดกิจกรรมเป็นไปตามความพร้อมของ บุคลากร ไม่กาหนดสถานท่ีแน่นอน แต่จะเคล่ือนที่ไปตามความต้องการชุมชนในพื้นท่ีต่าง ๆ ซึ่งสามารถจัด กจิ กรรมได้เหมาะสม โดยเฉพาะห้องสมุดเคล่ือนท่ีต้นแบบ 77 แห่ง (ภาคกลาง 17 แห่ง ภาคเหนือ 17 แห่ง ภาคใต้ 14 แห่ง ภาคตะวนั อออก 9 แหง่ และภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 20 แหง่ ) 13. กำรประกันคุณภำพกำรศึกษำ พบว่า กลุ่มสานักงาน กศน.จังหวัดและสถานศึกษา ท่ัวประเทศเข้าร่วมกิจกรรมการประชุมชี้แจงแนวทางการประเมินคุณภาพการศึกษา (3 มาตรฐาน 20 ตัวบ่งช้ี) แต่สถานศึกษาบางแห่งยังไม่สามารถต้ังค่าเป้าหมายได้ การนิเทศแนะนาช่วยพัฒนาทักษะการเขียนรายงาน การประเมินตนเอง (SAR) เพิ่มเติม จึงเป็นส่ิงจาเป็นอย่างยิ่ง ซึ่งศึกษำนิเทศก์สำนักงำน กศน.จังหวัด ร้อยละ 75 ไดเ้ ขำ้ ร่วมดำเนนิ กำรช้แี จงในรปู แบบกลมุ่ จังหวัดขบั เคล่ือนแนวทำงกำรประกันคณุ ภำพ 14. ประเด็นกำรขับเคลื่อนงำนของรัฐมนตรีช่วยว่ำกำรกระทรวงศึกษำธิกำร (พลเอก สุรเชษฐ์ ชัยวงศ์) พบว่า นอกเหนือไปจากท่ีได้กล่าวมาแล้วข้างต้น คือ การขยายผลชุมชนต้นแบบฯ (ข้อ 1) การเปิดพื้นที่ กศน.อาเภอ/ตาบลทั่วประเทศเป็น OOCC (ข้อ 2) การแก้ปัญหาประชากรวัยเรียนท่ีอยู่นอก ระบบการศึกษา (ข้อ 3) ซึ่งสานักงาน กศน.จังหวัดร่วมกับศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั กลุม่ เป้าหมายพเิ ศษ (ศกพ.) ดาเนนิ การอย่างเป็นรปู ธรรม และการส่งเสริมดแู ลสุขภาวะของประชาชน ในพนื้ ที่ (ข้อ 4) ไดก้ ลา่ วมาขา้ งต้น ในการนเิ ทศติดตามผลยังพบวา่ การส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาไทย สานักงาน กศน.จังหวัด ได้จัดทาแบบสารวจข้อมูล ผู้ไม่รู้หนังสือร่วมกับผู้นาชุมชนและเครือข่าย กลุ่มเป้ำหมำยคือผู้ลืมหนังสือและผู้ไม่รู้หนังสือ ซ่ึงได้ส่งเสริม การเรียนรู้อื่น ๆ แก่ผู้ผ่านการประเมินผล โดยการแนะแนวให้ผู้เรียนศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น เข้าสู่ กระบวนการเรียนข้ันพื้นฐาน ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือการศึกษาเพ่ือการมีอาชีพ การมีงานทา อย่างไรก็ตามพบว่าผู้เรียนส่วนมำกเป็นผู้สูงวัย การเรียนรู้ คอ่ นข้างช้า ทาให้การเรียนบางครัง้ ไม่เป็นไปตามแผน สง่ ผลให้ผ้เู รยี นบางคนอาจเกดิ การเบอื่ หน่าย

6 การเพิ่มอตั ราการอา่ นของประชาชน จากการดาเนินงานรวม 3 กิจกรรม คือห้องสมุด ประชำชน บ้ำนหนังสือชุมชน และห้องสมุดเคล่ือนท่ีสำหรับชำวตลำดเป็นปัจจัยสำคัญในกำรขับเคลื่อน โดยการประสานกิจกรรมร่วมกับจังหวัด/อาเภอเคลื่อนที่ ซึ่งควรให้บรรณารักษ์ช่วยประชาสัมพันธ์เพ่ือเพ่ิ ม จานวนสมาชกิ หอ้ งสมุดประชาชน ส่งเสริมการยืมหนังสือไปอ่าน และออกติดตามบ้านหนังสือชุมชนอย่างน้อย สปั ดาห์ละ 1 คร้ัง เพอื่ นามาใชพ้ ฒั นางานต่อไป ***********************************

7 นโยบายการดาเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 สำนกั งำน กศน. ไดก้ ำหนดยทุ ธศำสตรแ์ ละจดุ เนน้ กำรดำเนินงำน ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2561 เพื่อเป็นกรอบแนวทำงและเครื่องมือในกำรดำเนินงำนตำมบทบำทหน้ำท่ีในกำรส่งเสริม สนับสนุน และ ประสำนงำนกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัย ในอันท่ีจะเพ่ิมและกระจำยโอกำสทำงกำรศึกษำ ให้ประชำชนกลุ่มเป้ำหมำยได้รับกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัยอย่ำงท่ัวถึงและมี คุณภำพ ภำยใต้กรอบทิศทำงกำรพัฒนำตำมแผนยุทธศำสตร์ชำติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) แผนกำรศึกษำ แห่งชำติ พ.ศ. 2560 – 2579 นโยบำย แนวทำงหลักในกำรดำเนินงำนและโครงกำรสำคัญของ กระทรวงศกึ ษำธิกำร ยทุ ธศำสตรแ์ ละจุดเนน้ กำรดำเนนิ งำนของ สำนักงำน กศน. ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2561 ไดก้ ำหนด วิสัยทศั น์ พนั ธกิจ และเป้ำประสงค์ ไว้ดังนี้ วสิ ยั ทัศน์ “คนไทยได้รับโอกำสทำงกำรศึกษำและกำรเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่ำงมีคุณภำพ สำมำรถ ดำรงชีวิตท่ีเหมำะสมกับช่วงวัย สอดคล้องกับหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะท่ีจำเป็นในโลก ศตวรรษท่ี 21” พันธกิจ 1. จัดและส่งเสริมกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัยที่มีคุณภำพ เพื่อยกระดับ กำรศึกษำ พัฒนำทักษะกำรเรียนรู้ของประชำชนทุกกลุ่มเป้ำหมำยให้เหมำะสมทุกช่วงวัย และพร้อมรับ กำรเปล่ยี นแปลงบริบททำงสังคม และสรำ้ งสังคมแหง่ กำรเรียนรู้ตลอดชวี ิต 2. ส่งเสริมสนับสนุน และประสำนกำรมีส่วนร่วมของภำคีเครือข่ำย ในกำรจัดกำรศึกษำ นอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัย และกำรเรียนรู้ตลอดชีวิตของชุมชน รวมท้ังกำรดำเนินกิจกรรมของ ศูนยก์ ำรเรียนและแหล่งกำรเรียนรูอ้ น่ื ในรูปแบบตำ่ ง ๆ 3. ส่งเสริมและพัฒนำกำรนำเทคโนโลยีทำงกำรศึกษำ และเทคโนโลยีดิจิทัลมำใช้ให้เกิด ประสิทธภิ ำพในกำรจดั กำรศึกษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอธั ยำศยั ใหก้ บั ประชำชนอย่ำงทั่วถึง 4. พัฒนำหลักสูตร รปู แบบกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ เทคโนโลยี ส่ือ และนวัตกรรม กำรวัด และประเมินผลในทุกรปู แบบใหส้ อดคล้องกับบริบทในปัจจุบนั 5. พัฒนำบุคลำกรและระบบกำรบริหำรจัดกำรให้มีประสิทธิภำพ เพื่อมุ่งจัดกำรศึกษำ ทม่ี คี ณุ ภำพโดยยดึ หลักธรรมำภิบำล เปา้ ประสงค์ 1. ประชำชนผู้ดอ้ ย พลำด และขำดโอกำสทำงกำรศึกษำ รวมท้ังประชำชนท่ัวไปได้รับโอกำส ทำงกำรศึกษำในรูปแบบกำรศึกษำนอกระบบระดับกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำน กำรศึกษำต่อเนื่อง และกำรศึกษำ ตำมอัธยำศัยท่ีมีคุณภำพ อย่ำงเท่ำเทียมและท่ัวถึง เป็นไปตำมสภำพ ปัญหำ และควำมต้องกำรของแต่ละ กล่มุ เปำ้ หมำย 2. ประชำชนได้รับกำรศึกษำและกำรเรียนรู้ท่ีมีคุณภำพเพื่อยกระดับคุณภำพกำรศึกษำ อันนำไปสู่กำรยกระดบั คุณภำพชวี ิตและเสรมิ สร้ำงควำมเขม้ แขง็ ใหช้ มุ ชน เพ่ือพัฒนำไปสู่ควำมมั่นคงและย่ังยืน ทำงด้ำนเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ประวัติศำสตร์ และสิ่งแวดล้อม

8 3. ประชำชนได้รับกำรส่งเสริมกำรอ่ำน เพ่ือสร้ำงนิสัยรักกำรอ่ำนและกำรแสวงหำควำมรู้ ด้วยตนเอง โดยมี กศน.ตำบล ศนู ย์กำรเรียนชมุ ชน และแหลง่ เรียนรอู้ ื่นในชุมชนเปน็ กลไกในกำรจดั กำรเรยี นรู้ 4. ประชำชนได้รับโอกำสในกำรเรียนรู้และมีเจตคติทำงวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี ท่ีเหมำะสมสำมำรถคิด วิเครำะห์ และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน รวมท้ังแก้ปัญหำและพัฒนำคุณภำพชีวิต ไดอ้ ย่ำงสร้ำงสรรค์ 5. ชุมชนและทุกภำคส่วน ร่วมเป็นภำคีเครือข่ำยในกำรจัดส่งเสริม และสนับสนุน กำรดำเนินงำนกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัย รวมทั้งมีส่วนร่วมในกำรขับเคลื่อนกิจกรรม กำรเรียนรู้ของชมุ ชนตำมหลกั ปรชั ญำของเศรษฐกจิ พอเพียงและปรัชญำคิดเปน็ 6. หน่วยงำนและสถำนศึกษำพัฒนำและนำส่ือเทคโนโลยีทำงกำรศึกษำ เทคโนโลยีสำรสนเทศ และกำรสือ่ สำรมำใชใ้ นกำรเพิ่มโอกำสและยกระดับคุณภำพในกำรจดั กำรเรยี นรู้ 7. หน่วยงำนและสถำนศึกษำพัฒนำและจัดกระบวนกำรเรียนรู้เพื่อแก้ปัญหำและพัฒนำ คณุ ภำพชีวติ ท่ีตอบสนองกบั กำรเปล่ียนแปลงบริบทด้ำนเศรษฐกิจ สังคม กำรเมือง วัฒนธรรม ประวัติศำสตร์ และสง่ิ แวดลอ้ ม รวมท้งั ตำมควำมต้องกำรของประชำชน และชุมชนในรูปแบบทีห่ ลำกหลำย 8. บุคลำกรของหน่วยงำนและสถำนศึกษำได้รับกำรพัฒนำเพ่ือเพ่ิมสมรรถนะในกำร ปฏบิ ตั ิงำนกำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศยั อย่ำงทั่วถึง 9. หน่วยงำนและสถำนศกึ ษำมรี ะบบกำรบรหิ ำรจัดกำรตำมหลกั ธรรมำภิบำล ท้ังน้ี สำนักงำน กศน. กำหนดจุดเน้นกำรดำเนินงำน กศน. ตำมยุทธศำสตร์กระทรวงศึกษำธิกำร 6 ยุทธศำสตร์ และ 6 ภำรกิจต่อเน่ือง ซ่ึงบทบำทที่เก่ียวข้องกับงำนนิเทศ คือ ภำรกิจต่อเน่ือง ข้อ 6 (6.4) มีรำยละเอียดดงั นี้ ภารกจิ ตอ่ เน่ือง 6. ด้านบคุ ลากร ระบบการบริหารจดั การ และการมีสว่ นรว่ มของทกุ ภาคสว่ น 6.4 กำรกำกบั นเิ ทศ ตดิ ตำม ประเมนิ และรำยงำนผล 1) สร้ำงกลไกกำรกำกับ นิเทศ ติดตำม ประเมิน และรำยงำนผลกำรดำเนินงำน กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัยให้เช่ือมโยงกับหน่วยงำน สถำนศึกษำ และภำคีเครือข่ำย ท้ังระบบ 2) ให้หน่วยงำนและสถำนศึกษำท่ีเกี่ยวข้องทุกระดับ พัฒนำระบบกลไกกำรกำกับ ติดตำม และรำยงำนผลกำรนำนโยบำยส่กู ำรปฏบิ ัติ ให้สำมำรถตอบสนองกำรดำเนินงำนตำมนโยบำยในแต่ละ เรือ่ งไดอ้ ย่ำงมปี ระสทิ ธิภำพ 3) ส่งเสริมกำรใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำร และสื่ออ่ืน ๆ ท่ีเหมำะสม เพ่ือกำรกำกบั นเิ ทศ ติดตำม ประเมินผล และรำยงำนผลอยำ่ งมปี ระสทิ ธิภำพ 4) พัฒนำกลไกกำรติดตำมประเมินผลกำรปฏิบัติรำชกำรตำมคำรับรองกำรปฏิบัติ รำชกำรประจำปีของหน่วยงำน สถำนศึกษำ เพ่ือกำรรำยงำนผลตำมตัวชี้วัดตำมคำรับรองกำรปฏิบัติรำชกำร ประจำปี ของสำนักงำน กศน. ให้ดำเนินไปอย่ำงมีประสิทธิภำพ เป็นไปตำมเกณฑ์ วิธีกำร และระยะเวลำ ที่กำหนด 5) ให้มีกำรเช่ือมโยงระบบกำรนิเทศในทุกระดับ ทั้งหน่วยงำนภำยในและภำยนอก องค์กร ตั้งแต่ส่วนกลำง ภูมิภำค กลุ่มจังหวัด จังหวัด อำเภอ/เขต และตำบล/แขวง เพื่อควำมเป็นเอกภำพ ในกำรใช้ข้อมลู และกำรพัฒนำงำนกำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศยั

9 ดังน้ัน ในปีงบประมำณ พ.ศ. 2561 หน่วยศึกษำนิเทศก์จึงได้นำนโยบำยและจุดเน้น กำรดำเนินงำน สำนกั งำน กศน. ประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2561 เปน็ กรอบแนวทำงกำรนิเทศเพ่ือขับเคล่ือน งำน กศน. ให้เป็นไปตำมเป้ำหมำยท่ีกำหนดไว้อย่ำงมีคุณภำพและประสิทธิภำพ โดยกำหนดแผนและกรอบกำรนิเทศ สำหรับใช้เป็นแนวทำงกำรดำเนินงำน ประกอบด้วย กำรบริหำรงำนท่ัวไป ระบบกำรนิเทศ กำรปฏิบัติงำนนิเทศ/ โครงกำรพัฒนำวิชำกำรและพัฒนำศึกษำนิเทศก์ รวมถึงผู้เก่ียวข้องซ่ึงได้รับกำรแต่งต้ังให้ทำหน้ำที่นิเทศ และกำรดำเนินงำนตำมทีส่ ำนักงำน กศน. มอบหมำย *********************************

10 การดาเนินงานของหน่วยศึกษานิเทศก์ การบริหารงานของหนว่ ยศกึ ษานเิ ทศก์ 1. บทบาทหนา้ ที่ หน่วยศึกษานิเทศก์ เป็นหน่วยงานทางการศึกษา สังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้สานักบริหารการศึกษานอกโรงเรียน เปน็ หนว่ ยงานการศกึ ษา ลงวนั ที่ 29 กันยายน 2549 โดยมบี ทบาทหนา้ ท่ี ดังน้ี 1. นเิ ทศ ตดิ ตามผล ประเมินผล และรายงานผลการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยของสถานศกึ ษา หนว่ ยงานอืน่ ทไี่ ดร้ ับมอบหมายและภาคีเครือข่าย 2. พัฒนาระบบสารสนเทศ การนิเทศการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพ่ือนาเสนอข้อมูลทางวิชาการของสถานศึกษา หน่วยงานและภาคีเครือข่าย อย่างเป็นองค์รวม ต่อสานกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 3. พัฒนาระบบนิเทศการประกันคุณภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมท้ังส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาสามารถพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 4. ส่งเสริม สนับสนุน และให้คาปรึกษา แนะนาการนิเทศและด้านวิชาการให้แก่ สถานศึกษา หนว่ ยงานและภาคเี ครือข่าย 5. วิจัยและพัฒนานวัตกรรมการนิเทศการศึกษา เพื่อพัฒนาการจัดการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัย 6. พัฒนาศักยภาพศึกษานิเทศก์ ท้ังด้านสาระความรู้และสมรรถนะที่ส่งผลต่อการ พัฒนาการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ของสถานศกึ ษา หน่วยงาน และภาคีเครือขา่ ย 7. ประสานงาน และจัดระบบสนับสนุนเพ่ือให้เกิดการนิเทศการศึกษาของสานักงาน สง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั / กรุงเทพมหานคร 8. ปฏบิ ัติงานอืน่ ๆ ตามทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย 2. การบริหารงาน หน่วยศกึ ษานเิ ทศก์ได้กาหนดใหม้ ีโครงสร้างการบรหิ ารงาน เป็น ๒ ฝ่าย คอื 2.1 ฝ่ายบริหารงานท่ัวไป ทาหน้าที่ ส่งเสริม สนับสนุนการดาเนินการนิเทศให้มีคุณภาพ โดยดาเนินการด้านงานธุรการ งานสารบรรณ งานแผนงาน/งบประมาณ งานบุคลากร งานพิมพ์ และ งานอ่ืนๆ ท่ีได้รับมอบหมาย 2.2 ฝ่ายนิเทศการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ทาหน้าที่ นิเทศ ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาการนิเทศ โดยดาเนินการด้านงานปฏิบัติการนิเทศ งานพัฒนาระบบนิเทศและ สารสนเทศการนเิ ทศ งานวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการนิเทศ และงานพัฒนาการนิเทศระบบประกันคุณภาพ การศึกษา ซ่งึ กาหนดใหศ้ ึกษานิเทศก์ดาเนินการใน ๒ ลกั ษณะ คือ 2.2.1 ปฏิบัติหน้าท่ีนิเทศสถานศึกษาในจังหวัดท่ีไม่มีศึกษานิเทศก์ สานักงาน กศน. จังหวัดและสถานศกึ ษาขึ้นตรง 2.๒.2 ภารกจิ กลุม่ งานวชิ าการ

11 ทั้งน้ี การดาเนินงานตามบทบาทหน้าที่ของหน่วยศึกษานิเทศก์ดังกล่าวอยู่ในความ รับผิดชอบของศึกษานิเทศก์ส่วนกลาง จานวนเพียง 2 คน ซึ่งในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 หน่วยศึกษานิเทศก์ เนน้ กระบวนการนิเทศแบบทีมนเิ ทศร่วมกันระหว่างศึกษานิเทศก์ส่วนกลาง ศึกษานิเทศก์สานักงาน กศน.จังหวัด บุคลากรสถาบัน กศน.ภาค และผู้ทาหน้าท่ีนิเทศในจังหวัดที่ไม่มีศึกษานิเทศก์ เพื่อให้การนิเทศสามารถ ขบั เคลื่อนการดาเนินงานให้บรรลตุ ามนโยบาย จุดเนน้ ที่สานักงาน กศน.กาหนด โดยดาเนินการดังน้ี 1. จังหวัดท่ีมีศึกษานิเทศก์ ตั้งแต่ 1 – 4 คน จานวน 39 จังหวัด รวมจานวน 70 คน ให้ดาเนินการนิเทศตามกิจกรรม กศน. ภายในจังหวัด ตามบทบาทหน้าท่ี และร่วมเป็นทีมนิเทศกับภายในกลุ่ม หรือขา้ มกลุ่มสานักงาน กศน.จังหวดั ในแต่ละภาค เพอ่ื ชว่ ยเหลอื การนิเทศในกรณีขาดแคลนบุคลากร 2. จังหวัดท่ีไม่มีศึกษานิเทศก์ จานวน 38 จังหวัด ให้สานักงาน กศน. มอบหมาย รองผู้อานวยการสานักงาน กศน.จังหวัด จานวน 1 คน หรือข้าราชการครู/บุคลากรทางการศึกษาท่ีมีความรู้ ความสามารถในการนเิ ทศ ทาหนา้ ท่ีและรว่ มเปน็ ทีมนเิ ทศกบั กลมุ่ สานักงาน กศน.จังหวัดในแต่ละภาค 3. สถาบัน กศน.ภาค ร่วมดาเนินการนิเทศ เพื่อขับเคล่ือนนโยบายกับทีมนิเทศในแต่ละภาค โดยสนบั สนนุ งบประมาณ อานวยความสะดวกต่อการดาเนินการนิเทศ กระบวนการนิเทศ และการติดตามผล ตามความเหมาะสม 4. ศกึ ษานเิ ทศกส์ ว่ นกลาง จานวน 2 คน รบั ผดิ ชอบการนิเทศในภาพรวม และพื้นที่ยุทธศาสตร์ ชายแดนใต้ โดยการประสานข้อมูลหรือจัดประชุมร่วมกับศึกษานิเทศก์สานักงาน กศน.จังหวัด และประสาน ให้มีการนิเทศในจังหวัดท่ีไม่มีศึกษานิเทศก์ ทั้งรูปแบบการนิเทศปกติ และแต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศ เพื่อขับเคล่ือนการดาเนินงานตามนโยบาย จุดเน้นของสานักงาน กศน. หรือดาเนินการภารกิจเชิงรุกอันจะ นามาสู่ผลการพฒั นากิจกรรม กศน. ก่อนการสรปุ ผลนิเทศรายภาค ทั้งนี้ กาหนดปฏิทินนิเทศและให้สานักงาน กศน.จงั หวดั และสถานศกึ ษาข้ึนตรง รายงานผลการนเิ ทศไตรมาสละ 1 ครง้ั มายงั สานักงาน กศน. นอกจากการสนับสนุนการปฏิบัติงานนิเทศของศึกษานิเทศก์ สานักงาน กศน.จังหวัด และ การปฏิบัติงานนิเทศในจังหวัดท่ีไม่มีศึกษานิเทศก์แล้ว หน่วยศึกษานิเทศก์ได้ส่งเสริม สนับสนุนการเพิ่มพูน ความรู้ให้แก่ศึกษานิเทศก์สานักงาน กศน.จังหวัด และผู้มีหน้าท่ีเกี่ยวข้องด้วยการพัฒนาองค์ความรู้ จัดประชุม/อบรมให้แลกเปลยี่ นเรยี นรรู้ ว่ มกัน ดังนี้ 1) การประชุมปฏิบตั กิ ารโครงการประชุมผู้ทาหน้าที่นิเทศ ของสานักงาน กศน.จังหวัดท่ีไม่มีศึกษานิเทศก์ 2) การนิเทศแบบมืออาชีพในศตวรรษท่ี 21 และ 3) การอบรม เชิงปฏิบตั ิการพัฒนาทกั ษะการเขยี นรายงานผลการนเิ ทศเชิงคณุ ภาพ เพื่อใหก้ ารจัดการศึกษาของสถานศึกษา สังกัดสานักงาน กศน. มีคุณภาพเป็นไปตามมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และ โครงการอื่นอีก 3 โครงการ คือ 1) โครงการการจัดทาหนังสือ “แนวคิดและแนวทางการนิเทศงานการศึกษา นอกโรงเรยี นในศตวรรษท่ี 21” (จัดทาหลักสตู รการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาสายงาน การสอน) 2) โครงการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลโครงการนาร่องส่งเสริมและพัฒนาทักษะ การฟัง – พูดภาษาไทยเพ่ือการสื่อสารสาหรับผู้ใหญ่บนพื้นท่ีสูงตามพระราชดาริของสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี และ 3) โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการขยายผลโครงการส่งเสริมและ พฒั นาทกั ษะการฟัง – พูดภาษาไทยเพอ่ื การสอ่ื สารสาหรับผใู้ หญ่บนพืน้ ท่ีสูงในพ้ืนที่โครงการตามพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี โดยกระจายให้เต็มพื้นที่ใน 5 จังหวัดภาคเหนือ ได้แก่ จงั หวดั เชยี งใหม่ ตาก เชยี งราย นา่ น และจงั หวัดแม่ฮ่องสอน โดยเนน้ การสร้างเครือข่ายจากส่วนกลางไปยังพื้นที่ใน ทุกระดับ เพ่ือตอบสนองนโยบายและจุดเน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน. ให้ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย และใหก้ ารปฏิบตั ิงานเกดิ ประสทิ ธภิ าพได้อยา่ งแทจ้ ริง *********************************

12 ระบบการนิเทศ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 สานักงาน กศน. กาหนดระบบการนิเทศที่เช่ือมโยงกัน ระหว่างหนว่ ยศึกษานิเทศก์ในส่วนกลาง กับสานักงาน กศน.จังหวัด/กทม. และสถานศึกษาในสังกัดสานักงาน กศน.จงั หวัด/กทม. รวมทัง้ สถานศึกษาขน้ึ ตรง โดยมีสถาบัน กศน.ภาค สนับสนุนการปฏิบัติงานของสานักงาน กศน.จังหวัด/กทม. และสถานศกึ ษาขึน้ ตรง โดยกาหนดเปน็ แผนภมู ิ ดังนี้ สถานศึกษาขนึ้ ตรง เลขาธิการ กศน. หน่วยศึกษานิเทศก+์ สถาบนั กศน.ภาค รำยงำนผลกำรนิ เทศ หน่ วยศึกษานิ เทศก์ ศว. / ศฝช. สพร. /สทก./ศกพ. - นิเทศ/พฒั นาวิชาการ คณะกรรมการนิ เทศภาค นิ เทศภายใน นิ เทศภายใน - รายงานผลการนิ เทศ (ศน.ส่วนกลาง/ศน.จงั หวดั ในภาค/ผทู้ ี่มีความรู้ - สรปุ ผลการนิ เทศ ความสามารถเฉพาะในเรือ่ งท่ีนิเทศ) รำยงำนผลกำรนิ เทศ - พฒั นาเครือขา่ ยการนิเทศ สำนักงำน กศน.จงั หวดั /กทม. - พฒั นาวิชาการ - ติดตามผลตามนโยบายเรง่ ดว่ นที่สานักงาน กศน. ไม่มี ศน.จงั หวดั มี ศน.จงั หวดั มอบหมาย มีบคุ ลากรอืน่ ทาหน้าทีน่ ิเทศ รำยงำนผลกำรนิ เทศ กศน.อำเภอ/เขต นิ เทศภำยใน กศน.ตำบล/แขวง ศรช. แหลง่ เรียนรู้

13 เพื่อให้กระบวนการนิเทศเป็นส่วนหน่ึงของการพัฒนาคุณภาพการดาเนินงานการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สานักงาน กศน. จึงกาหนดภารกิจของแต่ละหน่วยงานตามระบบการนิเทศ ของสานกั งาน กศน. ดังน้ี 1. หน่วยศึกษานเิ ทศก์ 1.1 นิเทศสานักงาน กศน.จังหวดั ที่ไมม่ ีศึกษานิเทศก์และศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพ่ือการศึกษา (ศว.) / ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชพี ราษฎรไทยบริเวณชายแดน (ศฝช.) 1.1.1 นิเทศ/พัฒนาวิชาการ 1.1.2 รายงานผลการนเิ ทศ 1.1.3 สรุปผลการนเิ ทศ 1.2 นิเทศสถานศึกษาข้ึนตรง 1.3 รายงานผลการนเิ ทศ 1.3.1 สานักงาน กศน.จังหวดั ทีไ่ ม่มศี ึกษานิเทศก์ และ ศว./ ศฝช. 1.3.2 สถานศกึ ษาขึ้นตรง 2. หน่วยศกึ ษานิเทศก์และสถาบนั กศน.ภาค 2.1 คณะกรรมการนเิ ทศภาค (ศกึ ษานเิ ทศกส์ ว่ นกลาง/ศึกษานเิ ทศก์ สานักงาน กศน.จังหวัด/สถาบนั กศน.ภาค/ ผูท้ ่ีมีความรคู้ วามสามารถเฉพาะในเรื่องท่ีนเิ ทศ) 2.2 พัฒนาเครือข่ายการนเิ ทศ 2.3 พัฒนาวิชาการ 2.4 ติดตามผลตามนโยบายเรง่ ด่วนท่ีสานกั งาน กศน. มอบหมาย 3. สานกั งาน กศน.จงั หวัด/กทม. (กรณี ม/ี ไม่มศี กึ ษานิเทศก์จงั หวัด) 3.1 ผบู้ รหิ ารและศกึ ษานเิ ทศก์ สานักงาน กศน.จงั หวดั นเิ ทศ กศน.อาเภอทุกอาเภอ 3.2 ผูบ้ รหิ ารและบคุ ลากรผทู้ าหนา้ ที่นิเทศ นิเทศ กศน.อาเภอทุกอาเภอ 4. สานักงาน กศน.จงั หวดั /กทม. และ ศว./ ศฝช. 4.1 ประชมุ กลุ่มสานกั งาน กศน.จงั หวดั /กทม และกลมุ่ ศว./ ศฝช. 4.2 นเิ ทศและพฒั นางานวชิ าการ 4.3 ดาเนนิ การอบรมพฒั นาบคุ ลากร 4.4 รายงานผลการนเิ ทศ 5. กศน.อาเภอ/เขต และสถานศกึ ษาข้ึนตรงส่วนกลาง นิเทศภายใน (นเิ ทศทุกกิจกรรม กศน.ของตนเอง) *********************************

14 การปฏบิ ตั ิงานนิเทศ หนว่ ยศกึ ษานิเทศก์ กาหนดการปฏบิ ัตงิ านนิเทศใน 2 ลักษณะ คอื 1. การปฏิบัติงานนิเทศในพ้ืนที่ โดยสานักงาน กศน. มีคาส่ังมอบหมายให้ศึกษานิเทศก์ ส่วนกลาง ปฏิบัติราชการในจังหวัดที่ไม่มีศึกษานิเทศก์ สถานศึกษาขึ้นตรง และพื้นท่ียุทธศาสตร์ชายแดนใต้ ตามคาสั่งสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ที่ 203/2560 ลงวันที่ 22 ธันวาคม 2560 ดังนี้ 1.1 มอบหมายใหศ้ ึกษานิเทศก์ปฏิบัติหนา้ ทนี่ เิ ทศ ดังน้ี นางทองพิน ขันอาสา ตาแหน่งศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ ปฏิบัติหน้าท่ีหัวหน้า หนว่ ยศกึ ษานเิ ทศก์ รบั ผิดชอบจังหวดั ทไ่ี มม่ ีศึกษานเิ ทศก์ จานวน 35 จังหวัด และสถานศึกษาข้ึนตรง จานวน 36 แห่ง นางสาวนวลพรรณ ศาสตร์เวช ตาแหน่งศึกษานิเทศก์ชานาญการ รับผิดชอบจังหวัด ท่ไี ม่มีศกึ ษานิเทศก์ จานวน 3 จงั หวดั ชายแดนใต้ และสถานศกึ ษาขนึ้ ตรง จานวน 2 แห่ง 1.2 มอบหมายให้ศกึ ษานิเทศกภ์ มู ิภาคปฏิบตั หิ น้าท่ีผูป้ ระสานงานการนิเทศภายในภาค ดังน้ี ภาคกลาง นางสาวพัชรา จงโกรย ศกึ ษานิเทศก์ชานาญการพเิ ศษ สานกั งาน กศน.จงั หวดั ลพบุรี ภาคตะวันออก นายสธุ ี วรประดิษฐ ศึกษานเิ ทศกเ์ ชี่ยวชาญ สานักงาน กศน.จังหวดั ตราด ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื นายองอาจ วีรภทั รสกลุ ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ สานกั งาน กศน.จงั หวัดขอนแกน่ ภาคเหนอื นายวริ ัตน์ คงดี ศกึ ษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ สานกั งาน กศน.จังหวัดเชยี งใหม่ ภาคใต้ นางสรุ ีย์ นาคนิยม ศึกษานเิ ทศกช์ านาญการพิเศษ สานกั งาน กศน.จงั หวัดตรงั 2. การปฏิบัติงานในภารกิจกลุ่มวิชาการและโครงการ โดยหน่วยศึกษานิเทศก์ มีคาสั่ง แต่งตั้งคณะกรรมการภารกิจกลุ่มงานวิชาการและโครงการ ประจาปีงบประมาณ 2561 ตามคาส่ัง หนว่ ยศึกษานเิ ทศก์ ที่ 2/2561 ลงวันที่ 25 มกราคม 2561 ซ่งึ ประกอบดว้ ย ระบบการประกันคณุ ภาพการศึกษา : นางสาวนวลพรรณ ศาสตรเ์ วช การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน : นางสาวนวลพรรณ ศาสตร์เวช การศึกษาตอ่ เนื่อง : นางทองพนิ ขันอาสา การศึกษาตามอัธยาศยั : นางทองพิน ขนั อาสา โ คร งก าร นิ เท ศเพื่อพั ฒ น าคุณ ภ าพกา ร ศึกษา น อกร ะ บบแล ะ การ ศึก ษาตาม อัธ ย าศั ย ปีงบประมาณ 2561 : นางทองพนิ ขนั อาสา โครงการพฒั นาการจัดกระบวนการเรียนรสู้ าหรับศึกษานิเทศก์ : นางทองพนิ ขันอาสา โครงการการจัดทาหนังสือ “แนวคิดและแนวทางการนิเทศงานการศึกษานอกโรงเรียน ในศตวรรษที่ 21” : ส.ต.อ.หญิงธนิสร ถา้ กระแสร์

15 โครงการประชุมผู้ทาหน้าที่นิเทศของสานักงาน กศน.จังหวัดท่ีไม่มีศึกษานิเทศก์ : นางทองพนิ ขนั อาสา โครงการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลโครงการนาร่องส่งเสริมและพัฒนาทักษะ การฟัง - พูดภาษาไทยเพื่อการส่ือสารสาหรับผู้ใหญ่บนพ้ืนท่ีสูงตามพระราชดาริของสมเด็จพระเทพ รตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี : นางทองพนิ ขันอาสา โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการขยายผลโครงการส่งเสริมและพัฒนาทักษะการฟัง – พูด ภาษาไทยเพ่ือการสื่อสารสาหรับผู้ใหญ่บนพ้ืนท่ีสูงในพื้นที่โครงการตามพระราชดาริ สมเด็จพระเทพ รตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี : นางทองพิน ขนั อาสา *********************************

16 เครอ่ื งมือนเิ ทศ หน่วยศึกษานิเทศก์ได้ดาเนินการประชุมปฏิบัติการจัดทาแนวทางในการนิเทศสาหรับ ศึกษานิเทศก์และผู้ทาหน้าที่นิเทศใช้ในการปฏิบัติงาน โดยกาหนดประเด็นการนิเทศตามจุดเน้นและนโยบาย สานักงาน กศน. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 ดงั นี้ กรอบการนเิ ทศ ประเด็นการนเิ ทศ ผูจ้ ัดทาเครอื่ งมือ 1. การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน 1. นางสาวพัชรา จงโกรย 2. การศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง 1. หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบ ระดับ 2. นางอมรา เหล่าวิชยา การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 3. นางดวงจันทร์ วริ ุณพนั ธ์ 3. การศึกษาตามอัธยาศยั 2. การสง่ เสรมิ การร้หู นงั สอื ไทย 4. เรื่องอื่น ๆ 3. การจดั การศึกษาหลักสตู ร 1. นายนกิ ร เกษโกมล ประกาศนียบัตรวิชาชพี (ปวช.) 2. นายวริ ตั น์ คงดี พทุ ธศักราช 2556 3. นายอนันท์ เฟ่ืองทอง 4. การศกึ ษาต่อเน่ือง 1. นายสธุ ี วรประดษิ ฐ - ศนู ย์ฝึกอาชพี ชุมชน 2. นางสุรีย์ นาคนยิ ม - การจัดการศึกษาตามหลกั ปรชั ญา 3. นางสาวนวลพรรณ ศาสตรเ์ วช 1. นางรตั นา แกน่ สารี ของเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎี 2. นางกาญจนา สุขประเสริฐ ใหม่ 3. นางสาวอญั ชลี พงษพ์ านิช 4. นางสาววารีทิพย์ อินบวั - การศึกษาเพ่ือพฒั นาทักษะชีวติ : ผสู้ ูงอายุ - การศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและ ชุมชน - โครงการ/กจิ กรรมตามนโยบาย เร่งดว่ น 5. หอ้ งสมดุ ประชาชน 6. บา้ นหนังสือชุมชน 7. หอ้ งสมุดเคลือ่ นทีช่ าวตลาด 8. กศน.ตาบล 4G 9. การพฒั นาระบบการประกันคุณภาพ ภายในสถานศกึ ษา 10. การสง่ เสรมิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรมใน สถานศึกษา 11. พระบรมราโชบายด้านการศึกษาของ ในหลวงรัชกาลท่ี 10

17 กรอบการนเิ ทศ ประเด็นการนิเทศ ผจู้ ดั ทาเครือ่ งมือ 5. นโยบายเร่งด่วน 12. โครงการไทยนยิ ม ยงั่ ยืน 1. นายสธุ ี วรประดษิ ฐ 13. โครงการประวัติศาสตรช์ าติไทย และ 2. นางสาวสภุ าพร ลาภจติ ร บุญคุณของพระมหากษัตรยิ ์ไทย 3. นายอนันท์ เฟอื่ งทอง 4. นางนม่ิ อนงค์ แพงมา 5. นางพรมาดา วงศ์หวนั 6. นางสาวพชั รา จงโกรย 7. นายณฐั พงศ์ ตึกแสวง 8. นางทองสขุ รัตนประดิษฐ์ 9. นางละออง ภ่กู ลาง 10. นางสาวสมพิศ ดวงแก้ว 11. นางรัตนา แกน่ สารี 12. นางกาญจนา สุขประเสริฐ 13. นางสาวนวลพรรณ ศาสตรเ์ วช 14. นางสาวสมพร เอ่ยี มสาอางค์ ผลของการประชุมปฏิบัติการในคร้ังนี้ ทาให้ได้เครื่องมือนิเทศท่ีครอบคลุมทุกกิจกรรมและ กลุ่มเป้าหมายของสานักงาน กศน. ซ่ึงศึกษานิเทศก์ส่วนกลาง ศึกษานิเทศก์ สานักงาน กศน.จังหวัด ผู้ทาหน้าทนี่ ิเทศภายในสถานศึกษาใช้เป็นแนวทางในการปฏบิ ัตงิ านนิเทศในพ้ืนท่ี เครื่องมือนิเทศ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ***********************************

18 การดาเนินงานโครงการสาคัญท่ีสานกั งาน กศน. มอบหมาย 1. โครงการส่งเสริมและพัฒนาทักษะการฟัง – พูดภาษาไทยเพ่ือการส่ือสารสาหรับผู้ใหญ่บน พื้นท่สี ูงตามพระราชดาริของสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ตามที่ สานักงาน กศน. ได้รับสนองพระราชกระแสของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ในการสอนฟังและพูดภาษาไทยสาหรับกลุ่มเป้าหมายบนพ้ืนที่สูงตามพระราชดาริของ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ร่วมกับสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (สพฐ.) และกองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน (ตชด.) ดาเนินงานโครงการนารอ่ งส่งเสริมและพัฒนาทักษะ การฟัง – พูดภาษาไทยเพื่อการส่ือสารสาหรับผู้ใหญ่บนพ้ืนท่ีสูงตามพระราชดาริของสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ในอาเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ และอาเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก ระหวา่ งเดอื นตลุ าคม 2560 – ธนั วาคม 2561 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมและพัฒนาทักษะการฟัง - พูด ภาษาไทยเพ่ือการสื่อสารสาหรับผู้ใหญ่บนพื้นที่สูงท่ียังฟังและพูดภาษาไทยเพ่ือการส่ือสารไม่ได้ ให้สามารถ ใช้ภาษาไทยเพื่อการส่ือสารกับคนในชุมชนและนอกชุมชนได้ ท้ังนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 สานักงาน กศน. มอบหมายให้หน่วยศึกษานิเทศก์ เป็นหน่วยประสานงานกลางในการดาเนินโครงการซ่ึงบูรณาการระหว่างหน่วยงาน กศน. ท้ังส่วนกลางและ ส่วนภูมิภาค คือสถาบัน กศน.ภาคเหนือ สานักงาน กศน.จังหวัดเชียงใหม่และสานักงาน กศน.จังหวัดตาก โดยดาเนนิ การดงั นี้ 1. วันท่ี 5 – 7 ธันวาคม 2560 เป็นเลขานุการคณะตรวจเย่ียมโครงการนาร่องส่งเสริม และพัฒนาทักษะการฟัง - พูดภาษาไทยเพ่ือการสื่อสารสาหรับผู้ใหญ่บนพ้ืนที่สูงตามพระราชดาริของสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ของเลขาธิการ กศน. ในการอบรมครูตามโครงการส่งเสริมและ พัฒนาทักษะการฟัง - พูดภาษาไทยเพื่อการส่ือสารสาหรับผู้ใหญ่บนพื้นที่สูงตามพระราชดาริของสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี รุ่นท่ี 3 (อบรมทั้งส้ิน จานวน 5 รุ่น) ในพื้นที่อาเภออมก๋อย จังหวดั เชียงใหม่ 2. วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2561 ประชุมหารือผู้เกี่ยวข้องในการหาแนวทางการดาเนินงาน ขยายผลโครงการ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 เข้าร่วมประชุม โดยมีปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (นายการุณ สกุลประดิษฐ์) เลขาธิการ กศน. เลขาธิการ กพฐ. และผู้เก่ียวข้อง ณ ห้องประชุมจันทรเกษม ช้ัน 1 อาคาร ราชวลั ลภ กระทรวงศึกษาธิการ 3. วันที่ 9 พฤษภาคม 2561 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดาเนินการ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาทักษะการฟัง - พูดภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสาหรับผู้ใหญ่บนพื้นที่สูงในพ้ืนที่ โครงการตามพระราชดาริ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ณ โรงแรมรอแยล รัตนโกสินทร์ กรงุ เทพมหานคร โดยเชญิ ผ้แู ทนหน่วยงานในสงั กัดสานกั งาน กศน. และกองบญั ชาการตารวจตระเวนชายแดน (ตชด.) ร่วมวางแผนการดาเนนิ งานโครงการในพืน้ ท่ขี ยายผล 5 จังหวดั ภาคเหนอื 4. วันที่ 13 - 14 สิงหาคม 2561 ร่วมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาครูแกนนา พฒั นาทักษะการฟังและการพดู ภาษาไทยเพอ่ื การสอ่ื สารสาหรับผ้ใู หญ่บนพืน้ ท่ีสูงในพ้ืนท่ีโครงการพระราชดาริ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ณ โรงแรมเซ็นทารา แม่สอด ฮิลล์ รีสอร์ท อาเภอแม่สอด จงั หวัดตาก

19 5. เดือนกรกฎาคม - สิงหาคม 2561 ประสานงานเพื่อดาเนินงานโครงการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลโครงการนาร่องส่งเสริมและพัฒนาทักษะการฟัง - พูดภาษาไทยเพ่ือการส่ือสารสาหรับผู้ใหญ่ บนพ้นื ทส่ี งู ตามพระราชดาริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อนิเทศการจัดกิจกรรม การเรยี นการสอนของครูอาสาสมคั รใหป้ ระชากรกลมุ่ เป้าหมาย มที กั ษะการฟัง การพูดภาษาไทย และสามารถ สื่อสารได้อย่างมคี ุณภาพ 6. เดือนมิถุนายน - กันยายน 2561 ประสานงานเพื่อดาเนินงานโครงการประชุม เชิงปฏิบัติการขยายผลโครงการส่งเสริมและพัฒนาทักษะการฟัง – พูดภาษาไทยเพ่ือการส่ือสารสาหรับผู้ใหญ่ บนพ้ืนที่สูงในพ้ืนที่โครงการตามพระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เพ่ือให้ ผู้บริหารและบุคลากรของ กศน. สพฐ. และ ตชด. มีความรู้และเข้าใจในหลักการ กระบวนการ/วิธีการ ดาเนินงานการพฒั นาทักษะการฟังและพูดภาษาไทย และนาไปวางแผนการพัฒนาร่วมกับโรงเรียนในสังกัดใน การพัฒนาการฟังและพูดภาษาไทยในโรงเรียนและชุมชนท่ีไม่ได้ใช้ภาษาไทยในชีวิตประจาวัน ให้สามารถ เขา้ ใจและสอื่ สารภาษาไทยทจี่ าเปน็ ต่อการดารงชีวติ ได้ 2. การลงพ้ืนที่ติดตามการดา เนินงานตามนโยบายของรับบาลของรับ มนตรี กระทรวงศึกษาธิการในการประชุมคณะรบั มนตรอี ยา่ งเป็นทางการนอกสถานที่ ตามทร่ี ัฐบาลได้ดาเนินการตดิ ตามการดาเนินงานตามนโยบายของรัฐบาลก่อนการประชุม คณะรัฐมนตรีอย่างเป็นทางการนอกสถานท่ี สานักงาน กศน. มอบหมายให้ นางทองพิน ขันอาสา ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ ปฏิบัติหน้าท่ีหัวหน้าหน่วยศึกษานิเทศก์ เป็นผู้แทนสานักงาน กศน. ลงพ้ืนท่ี ติดตามการดาเนินงานตามนโยบายของรัฐบาล ในการประชุมคณะรัฐมนตรีอย่างเป็นทางการนอกสถานท่ี คร้ังที่ 5/2561 วนั ท่ี 23 กรกฎาคม 2561 ณ จังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดศรีสะเกษ ของศาสตร์จารย์คลินิก นายแพทยอ์ ดุ ม คชินทร รฐั มนตรีชว่ ยว่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ซ่งึ สามารถสรุปไดด้ ังนี้ โดยการตรวจเยี่ยมมีจานวน 3 จุด คือ มหาวทิ ยาลยั อุบลราชธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏศรี สะเกษ และวัดพระธาตุสุพรรณหงส์ โดยรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการได้มอบนโยบายในเรื่อง การปรับตัวให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของโลก และทิศทางการพัฒนาประเทศของรั ฐบาลตาม ยุทธศาสตร์ชาติ 6 ด้าน ซ่ึงเป็นความมุ่งหมายของรัฐบาลให้ประเทศไทยหลุดพ้นจากกับดักรายได้ปานกลาง อันเนื่องมาจากการไม่สามารถผลิตสินค้าท่ีใช้เทคโนโลยีขั้นสูง (high technology) เองได้ ระบบการศึกษาที่มี คณุ ภาพสงู จึงถือเปน็ หวั ใจสาคญั เพื่อให้สามารถสร้างคนที่มีคุณภาพสูง และสร้างนวัตกรรมท่ีส่งผลให้เศรษฐกิจ และสงั คมดีข้ึนได้ และกลุ่มเปา้ หมายของมหาวิทยาลยั ตอ้ งเปล่ียนจากการจัดหลักสูตรระดับปริญญา (degree) รองรับนักเรียนมัธยมศึกษามาเป็นการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตแก่คนทุกช่วงวัย ต้องคาดการณ์ได้ว่าจะพัฒนา ทักษะและสมรรถนะคนวัยทางานให้ตอบสนองต่อตลาดที่ต้องการแรงงานศักยภาพสูง (High Qualification workforce) ในสาขาที่ต่างไปจากเดิม การเรียนการสอนต้องเปล่ียนมาเป็นการสร้างความสามารถของคน (competency – based) ใช้สถานประกอบการเป็นห้องเรียน อาจารย์เน้นการนิเทศติดตาม โดยการสอนแนะ (Coaching) อย่างใกล้ชิดในขณะเดียวกันเป็นพ่ีเลี้ยง (mentor) จัดประสบการณ์และสร้างแรงบันดาลใจ ในการ เรียนรู้ด้วยตัวเองให้แก่ผู้เรียน และมหาวิทยาลัยราชภัฏทุกแห่งต้องดาเนินการพัฒนาท้องถิ่นแต่ขณะเดียวกัน ต้องตอบสนองยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ และสาคัญท่ีสุด คือ ยังต้องเป็นหน่วยหลักในการผลิตครูท่ีมี คุณภาพ มหาวิทยาลัยจึงควรใช้ความพยายามสร้างความเข้มแข็งของตนเองด้วยการหาจุดเด่น / จุดแข็ง วา่ มหาวทิ ยาลัยจะสามารถส่งมอบคุณคา่ ใดให้แกส่ งั คมและประเทศชาตไิ ด้

20 3. การประเมนิ ผลการจดั งาน “มหกรรมเฉลิมพระเกยี รตพิ ระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทอดพระเนตรสรุ ิยุปราคา ณ หว้ากอ ครบรอบ 150 ปี” ตามท่ี กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จะดาเนินการ จดั งานมหกรรมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทอดพระเนตรสุริยุปราคา ณ หว้ากอ ครบรอบ 150 ปี โดยกาหนดจัดข้ึน ระหว่างวันที่ 18 – 24 สิงหาคม 2561 ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ พระจอมเกลา้ ณ หว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ สานกั งาน กศน. ได้มอบหมายให้หนว่ ยศึกษานิเทศก์เป็นคณะกรรมการประเมินผลการจัด งานมหกรรมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทอดพระเนตรสุริยุปราคา ณ หว้ากอ ครบรอบ 150 ปี ตามคาส่ังสานักงาน กศน. ที่ 126/2561 ลงวันที่ 16 กรกฎาคม 2561 เรื่อง แต่งต้ัง คณะกรรมการ อาน วยกา รแล ะคณะกร รมกา รดา เนิน งาน เฉลิ มพระเกีย รติพระบ าทสมเด็จ พระจอมเกล้ า เจ้าอยู่หวั ทอดพระเนตรสุริยุปราคา ณ หว้ากอ ครบรอบ 150 ปี ทั้งนี้ ได้จดั ประชุมคณะกรรมการประเมินผล เพ่ือจัดทาแบบสอบถามความพึงพอใจ 3 ด้าน คือ ข้อมูลท่ัวไป ข้อมูลเก่ียวกับการจัดงาน และข้อเสนอแนะ โดยดาเนินการเป็น 2 ระบบ คือ 1. แจกแบบสอบถาม ณ จุดลงทะเบียน ทุกวัน 2. การตอบข้อมูลผ่าน QR Code สรปุ ผลการจัดกิจกรรม ดงั น้ี ๑. การรวบรวมข้อมูล โดยใช้แบบประเมินความพึงพอใจ เป็นแบบมาตราส่วน ๕ ระดับ และแบบปลายเปิด โดยการสุ่มอย่างง่ายจากผู้เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ในงานมหกรรม ได้แบบสอบถาม กลบั คืนจานวน ๕๔๒ ฉบับ คิดเป็นรอ้ ยละ ๘๖.๗๕ ของกลุ่มตัวอย่าง (กลมุ่ ตัวอยา่ งจานวน ๖๒๕ คน) 2. ข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนใหญ่เป็นนักเรียน และนักศึกษา กศน. ท่ีมีอายุต่ากว่า ๑๖ ปี และในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารการจัดงานส่วนใหญ่ทราบจากจดหมายเวียนตามสถานศึกษา และ แผ่นประชาสมั พันธ์ 3. ความพงึ พอใจตอ่ การจัดงาน มดี ังน้ี 3.1 ความพึงพอใจในภาพรวมของการจัดงาน ผู้ตอบแบบสอบถามโดยส่วนใหญ่ มีความพึงพอใจในระดับมาก (ค่าเฉลยี่ ๔.๓๗) 3.2 ความพงึ พอใจในการเขา้ ร่วมกจิ กรรม ปรากฏว่าทั้งด้านการบริการ ด้านวิชาการ/ รูปแบบกิจกรรม และด้านการนาไปใช้ประโยชน์/ทักษะที่ได้รับจากการเข้าร่วมกิจกรรม มีความพึงพอใจ ในระดับมาก (ค่าเฉล่ยี ๔.๐๔ ๔.๓๑ และ ๔.๓๒ ตามลาดับ) 4. ข้อเสนอแนะ ผู้ตอบแบบสอบถามมีข้อเสนอแนะในการจัดงานมหกรรมเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทอดพระเนตรสุริยุปราคา ณ หว้ากอ ครบรอบ 150 ปี ว่าเป็นโครงการท่ีดี ทาให้มีความรู้มากยิ่งขึ้นและเห็นควรจัดงานน้ีทุกปี แต่ระยะทางแต่ละจุดไกลมาก ทาให้เข้าร่วมกิจกรรม ไดน้ อ้ ย ตลอดทง้ั อากาศค่อนข้างรอ้ น และควรมรี ถบรกิ ารรบั สง่ ไปยังบรเิ วณตา่ ง ๆ ในงานมากกว่าน้ี 5. แนวทางในการพฒั นา เนื่องจากกิจกรรมดงั กล่าวเปน็ ภารกิจที่เกดิ ขึ้นเฉพาะกาล ดังน้ัน เพอ่ื ใหก้ ารดาเนินงานมปี ระสิทธิภาพยงิ่ ข้ึน หากมีการดาเนินงานลกั ษณะน้ใี นคราวต่อไป เหน็ ควรให้หนว่ ยงาน ท่ีเกี่ยวข้องกาหนดเป็นแผนการดาเนินงานให้ชัดเจน มีการประชาสัมพันธ์อย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง รวมท้ัง ควรคานึงถึงความสะดวกในการเข้าชมนิทรรศการ กิจกรรม และการจัดสถานท่ีให้เหมาะสม เพื่อประโยชน์ ของกลุ่มเป้าหมายในการเข้าชมนิทรรศการและกิจกรรม

21 4. การประเมินผลการจัดงาน “วันทรี่ ะลกึ สากลแหง่ การร้หู นังสือ” ประจาปี 2561 สบื เนือ่ งจาก องคก์ รการศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์และวฒั นธรรมแหง่ สหประชาชาติ (UNESCO) ได้กาหนดให้วันที่ 8 กันยายน ของทุกปี เป็น “วันที่ระลึกสากลแห่งการรู้หนังสือ” (International Literacy Day) และได้เชิญชวนให้ประเทศสมาชิกร่วมจัดกิจกรรมเพ่ือระลึกถึงวันสาคัญดังกล่าว ประเทศไทยได้ตระหนัก ถึงความสาคัญของการส่งเสริมการรู้หนังสือให้กับประชาชนทุกช่วงวัย เพื่อนาไปสู่การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ตลอดชีวิต จึงได้จัดกิจกรรมเน่ืองในโอกาสแห่งวันสาคัญน้ีมาอย่างต่อเนื่องทุกปี และในปี พ.ศ. 2561 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสานักงาน กศน. ในฐานะผู้ขับเคลื่อนงานส่งเสริมการรู้หนังสือให้กับประชาชน ไดก้ าหนดจัดงาน “วันทรี่ ะลึกสากลแหง่ การรู้หนงั สือ” ประจาปี 2561 ในวนั ที่ 8 กนั ยายน 2561 โดยจัดขึ้น ระหว่างวันที่ 7 – 8 กันยายน ๒๕๖๑ ณ สวนนงนุช พัทยา อาเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี ภายใต้หัวข้อเร่ือง “การรู้หนังสือและการพัฒนาทักษะของประชาชนในศตวรรษท่ี ๒๑” และ ได้มอบหมายให้ หน่วยศึกษานิเทศก์ดาเนินการประเมินผลการจัดงาน “วันที่ระลึกสากลแห่งการรู้หนังสือ” ประจาปี 2561 ตามคาสั่งสานักงาน กศน. ท่ี 124/2561 ลงวันที่ 10 กรกฎาคม 2561 เร่ืองแต่งตั้ง คณะกรรมการอานวยการและคณะกรรมการดาเนินงาน “วนั ทีร่ ะลึกสากลแห่งการรู้หนังสือ” ประจาปี 2561 และคาส่ังสานักงาน กศน. ที่ 135/2561 ลงวันท่ี 20 กรกฎาคม 2561 เร่ือง แก้ไขเพิ่มเติมคาส่ังแต่งตั้ง คณะกรรมการอานวยการและคณะกรรมการดาเนินงานฯ และปฏิบัติการประเมินผล โดยการประเมินคร้ังนี้ ใช้เคร่ืองมือประเมิน ได้แก่ แบบสอบถามความพึงพอใจ แบ่งเป็น ๓ ส่วน ได้แก่ ส่วนท่ี ๑ ข้อมูลท่ัวไปของ ผตู้ อบแบบสอบถาม ส่วนที่ ๒ ความพึงพอใจต่อการดาเนินงาน ใช้มาตราส่วนประมาณค่า ๕ ระดับของลิเคิร์ทสเกล (Likert scale) และสว่ นที่ ๓ ปญั หา อปุ สรรคและข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา เป็นคาถามปลายเปิด วิธีการเก็บ รวบรวมข้อมูล ใช้ระบบประเมินแบบออนไลน์ โดยให้ผู้ประเมิน สแกน QR code แล้ว เข้าไปตอบแบบสอบถาม และใช้การแจกแบบสอบถามและให้ผู้ประเมินตอบแบบสอบถามส่งให้ผู้ประเมินโดยตรง นอกจากนี้ได้จัดทา แบบสมั ภาษณ์ โดยมีประเดน็ การสัมภาษณ์เกย่ี วกบั กระบวนการดาเนนิ งาน โดยใช้วิธีสุ่มสัมภาษณ์แบบเจาะจง ท้ังนี้ จากกลุ่มตัวอย่าง ๒๙๒ คน มีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น ๑๘๐ คน จาแนกเป็น ผู้บริหาร กศน. บุคลากร และผู้เข้าร่วมงาน โดยมีผู้ให้สัมภาษณ์จานวน ๓5 คน ประกอบด้วยผู้บริหารและครูที่เข้าร่วมงาน รวมทั้ง คณะทางานและเจ้าหน้าที่ที่ร่วมจัดกิจกรรม ซ่ึงผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ทุกกิจกรรม โดยมีข้อเสนอแนะเพ่ิมเติมเก่ียวกับสถานที่จัดงานไม่ควรไกลเกินไป สถานที่ประชุมและที่พัก ไม่ควรไกลกัน ควรจัดให้มีรถบริการ รับ - ส่ง เพื่อให้สะดวกในการเดินทาง นอกจากนี้ ยังเสนอแนะให้จัด นทิ รรศการทม่ี ีชวี ิต โดยเนน้ นทิ รรศการสง่ เสรมิ การอ่านใหม้ ากย่ิงข้ึน ***********************************

22 การใหค้ วามรว่ มมือกับหนว่ ยงานต่างๆ นอกจากการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าท่ี ท้ังการปฏิบัติงานนิเทศ การดาเนินงานภารกิจ สาคัญที่สานักงาน กศน.มอบหมาย หน่วยศึกษานิเทศก์ยังได้ปฏิบัติงานร่วมกับหน่วยงานและสถานศึกษา ทง้ั ภายในและภายนอกสานกั งาน กศน. ดังนี้ 1. ความรว่ มมือกบั หน่วยงานและสถานศกึ ษาภายในสานกั งาน กศน. 1.1 สานกั งาน กศน. (1) ประชุมร่วมกบั ผบู้ รหิ ารและผอู้ านวยการกลุ่ม/ศนู ย์ สว่ นกลาง (2) ประชุมคณะกรรมการส่งเสริม สนับสนุน และประสานความร่วมมือการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย (3) เป็นคณะกรรมการพิจารณาประเภทรางวัลและจัดทาหลักเกณฑ์/ตัวชี้วัด/ แบบประเมินคัดเลือกบุคลากร/หน่วยงาน/สถานศึกษา ท่ีจัดและหรือสนับสนุนการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศยั ดีเดน่ ระดบั ประเทศ ประจาปงี บประมาณ 2561 (4) ประชุมผู้บริหารส่วนกลางสัญจรตามโครงการพัฒนาแนวทางขับเคลื่อนและ ติดตามการดาเนินงาน สานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ 2561 คร้ังที่ 1 เขตภาคเหนือ ณ จังหวัด แม่ฮ่องสอน (5) ร่วมงานวนั คล้ายวนั สถาปนาสานักงาน กศน. ครบรอบปที ่ี 10 1.2 กลุ่มพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย (1) ประชุมเชิงปฏิบัติการวางแผนการประเมิน วิจัย และสร้างเครื่องมือการวิจัย เพอ่ื ประเมินหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (2) ประชุมชี้แจงแนวทางการดาเนินงานการประกันคุณภาพภายในของ กศน. อาเภอ/เขต (3) ประชุมแสดงความคิดเหน็ ร่างกรอบแนวทางการประเมินคุณภาพภายนอกรอบส่ี (พ.ศ. 2559-2563) การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 1.3 กลุม่ พฒั นาระบบการทดสอบ (1) ประชมุ ปฏบิ ตั กิ ารสร้างขอ้ สอบ บรรณาธิการ และจัดชุดแบบทดสอบ ปลายภาค เรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2561 หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 (2) ประชุมถอดแนวปฏิบัติที่ดีเพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธ์ิการทดสอบระดับชาติ ดา้ นการศกึ ษานอกระบบ (N-NET) 1.4 กลมุ่ แผนงาน (1) ร่วมฟังการนาเสนอผลงานของผู้เขา้ อบรมภาษาอังกฤษข้ันพื้นฐานให้แก่บุคลากร สานกั งาน กศน.หลกั สูตร English Communication skills and Simulation (2) อบรมภาษาอังกฤษข้ันพ้ืนฐานให้แก่บุคลากร สานักงาน กศน.หลักสูตร English Communication skills and Simulation (3) เปน็ ประธานคณะกรรมการฝ่ายประเมนิ ผล ในการจัดงาน “วันท่ีระลึกสากลแห่ง การรู้หนังสือ”ประจาปี 2561 (International Literacy Day 2018)

23 (4) เป็นคณะกรรมการอานวยการและคณะกรรมการดาเนินงาน “วันที่ระลึกสากล แห่งการรูห้ นงั สือ” ประจาปี 2561 (International Literacy Day 2018) (5) ร่วมงาน “วันทรี่ ะลกึ สากลแห่งการรหู้ นงั สอื ” ประจาปี 2561 (6) ร่วมพิธีมอบเข็มเชิดชูเกียรติครู กศน. ประจาปี 2561 ร่วมกับ “วันที่ระลึก สากลแหง่ การรหู้ นงั สือ” ประจาปี 2561 (International Literacy Day 2018) (7) ประชุมพิจารณาแนวทางการขับเคลื่อนการดาเนินงาน กศน. ประจาปี งบประมาณ 2561 (8) ประชมุ ชี้แจง (ร่าง) นโยบายและจุดเนน้ การดาเนนิ งานสานักงาน กศน. ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2561 (9) ประชุมติดตามผลการดาเนินงาน สานักงาน กศน.ไตรมาส 1 - 2 และช้ีแจง แนวทางการดาเนนิ งาน ไตรมาส 3 - 4 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2561 (10) ประชมุ รายงานผลการดาเนนิ งานตามภารกจิ เร่งด่วนของสานักงาน กศน. (11) ประชุมพิจารณาแนวทางการดาเนนิ งานของสถาบนั กศน.ภาค (12) ประชุมคณะทางานรายงานผลการดาเนินงานของสานักงานส่งเสริมการศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย 1.5 กลุ่มส่งเสรมิ ปฏบิ ตั ิการ (1) ติดตามผลการดาเนินงานตามภารกิจ กศน.ตาบล/แขวง และโครงการ ศูนยฝ์ ึกอาชพี ชมุ ชน (2) ประชมุ คณะทางานจดั ทาคู่มอื /แนวทางการจัดกิจกรรมด้านคุณธรรมจรยิ ธรรม (3) ประชุมเตรียมการจัดนิทรรศการแสดงผลงานโครงการไทยนิยม ย่ังยืน และงาน นโยบายของสานักงาน กศน. (4) ประชุมแสดงผลการดาเนินงานโครงการไทยนิยม ย่ังยืน และงานนโยบายของ สานกั งาน กศน. (5) ประชุมสรปุ ผลการดาเนนิ งานการขับเคล่ือนการพฒั นาประเทศตามโครงการไทย นยิ ม ย่ังยืนของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 1.6 กลมุ่ การเจ้าหนา้ ที่ (1) เป็นคณะทางานจัดทาข้อเสนอประกอบร่างกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริม การเรยี นรู้ตลอดชีวติ (2) อบรมพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สาย งานการสอน (3) ประชุมวิชาการของสานักงาน กศน. ปีงบประมาณ 2561 เรื่อง “ร่าง พ.ร.บ. สง่ เสริมการเรยี นรูต้ ลอดชวี ิต พ.ศ. ...” (4) ประชุมปรับปรุงข้อเสนอประกอบร่างกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการเรียนรู้ ตลอดชีวิต (5) ประชุมช้ีแจงการดาเนินโครงการพัฒนาระบบการประเมินความพึงพอใจ ของประชาชนตอ่ การใหบ้ ริการของหน่วยงานภาครฐั และการยกเลกิ สาเนาเอกสาราชการ (6) เปน็ คณะทางานกระบวนการหลัก ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2561

24 (7) อบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทาหลักสูตรการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศกึ ษา สายงานการสอน (8) ประชุมชี้แจงการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของนายกรัฐมนตรี 1.7 กล่มุ เลขาธกิ ารกรม (1) ร่วมการจัดงานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสวันเฉลิม พระชนมพรรษาสมเดจ็ พระเจ้าอยู่ 66 พรรษา 28 กรกฎาคม 2561 (2) ประชุมผู้ร่วมกจิ กรรมจติ อาสา เราทาความ ดี ด้วยหวั ใจ (3) ร่วมการจัดกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลท่ี 9 เนื่องในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา 86 พรรษา 12 สิงหาคม 2561 (4) ร่วมเป็นเกยี รตใิ นพธิ ีเปิดและพิธีปิดการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนากล ยทุ ธ์เขยี นขา่ วเล่างาน “สอ่ื สารองคก์ ร กศน.” (5) ร่วมงานสัปดาห์ส่งเสริมพระพุทธศาสนา เนื่องในเทศกาลอาสาฬหบูชาและ เขา้ พรรษา ประจาปีพทุ ธศกั ราช 2561 (6) ประชุมคณะทางานจดั ทาเอกสารประชาสัมพนั ธ์ (จดหมายขา่ ว กศน.) (7) รว่ มโครงการจิตอาสา “เราทาความ ดี ดว้ ยหัวใจ” (8) ร่วมฟงั เทศนม์ หาชาตเิ วสสันดรชาดก (9) ร่วมโครงการฝึกอบรมเชิงปฏบิ ัติการพฒั นาบุคลากรเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะงาน เลขานกุ าร (10) ประชุมติดตามและสรุปผลการดาเนินงานของผู้บริหารกลุ่ม/ศูนย์ส่วนกลาง สานักงาน กศน. (11) ร่วมงานสัปดาห์ส่งเสริมพระพุทธศาสนา เน่ืองในเทศกาลวันวิสาขบูชา วันสาคญั สากลของโลก ประจาปีพทุ ธศักราช 2561 (12) รว่ มงาน “ประเพณสี งกรานตศ์ กึ ษาธิการสบื สานวฒั นธรรมไทย” (13) รว่ มงานสัปดาห์สง่ เสรมิ พระพทุ ธศาสนา เนื่องในเทศกาลวันมาฆบูชา ประจาปี พทุ ธศักราช 2561 (14) รว่ มทาบุญตกั บาตรและร่วมเปน็ เกยี รตใิ นพธิ กี ารจัดงานวนั ครู 16 มกราคม 2561 (15) ประชุมพิจารณากรอบแนวทางการดาเนินงานประชาสัมพันธ์สานักงาน กศน. ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 (16) เป็นคณะทางานจดั ทาเอกสารประชาสมั พันธ์ (จดหมายขา่ ว กศน.) 1.7 กลมุ่ การคลัง (1) ประชมุ โครงการส่งเสริมสุขภาพป้องกนั โรคและเผยแพรค่ วามร้ดู ้านประกนั สงั คม (2) ประชุมคณะทางานลดใช้พลังงานและตรวจการปฏิบัติงานตามมาตรการลดใช้ พลังงานของสานกั งาน กศน. (3) ประชมุ คณะกรรมการทาลายหนังสอื ราชการ กรณเี หตอุ ุทกภยั ปี 2554 (4) เป็นคณะทางานสารวจเอกสารและสิ่งของทีเ่ กิดอุทกภยั ในปี พ.ศ. 2554

25 (5) เป็นคณะกรรมการควบคุม กากับ และติดตามการปฏิบัติตามมาตรการลดใช้ พลังงานและคณะทางานลดใช้พลังงานไฟฟ้า น้ามันเชื้อเพลิงและตรวจการปฏิบัติงานตามมาตรการลดใช้ พลงั งานของสานักงานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 1.8 สถาบันสง่ เสริมและพัฒนานวตั กรรมการเรยี นรู้ (1) ประชมุ ปฏิบัติการคดั เลอื ก ตัดสนิ นวัตกรรมสง่ เสริมการอา่ น (2) ร่วมพิธีแถลงข่าวการจัดงาน “สานฝัน...หนังสือเพ่ือน้องสู่ชุมชนพื้นที่สูง และ ชายแดนใต้” (3) ประชุมปฏิบัติการพิจารณาแนวทางการคัดเลือก ตัดสิน การประกวดนวัตกรรม สง่ เสรมิ การอ่านตามแนวพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี 1.9 ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยกลุ่มเป้าหมายพิเศษ ประชุมแนวทางการดาเนินงานจัดการศึกษาสาหรับประชาชนวัยเรียนที่อยู่ นอกระบบการศกึ ษา 1.10 ศูนยเ์ ทคโนโลยีทางการศกึ ษา ประชุมปฏิบัติการวิเคราะห์เนื้อหา และจัดทารายละเอียดเน้ือหารายการโทรทัศน์ เพ่อื การศกึ ษาฯ 1.11 สานกั งาน กศน.จงั หวัด/กทม. (1) วิทยากรโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (SAR)” ใหแ้ กส่ านกั งาน กศน.จงั หวดั นราธิวาส (2) วิทยากรโครงการประชุมปฏิบัติการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา ปีงบประมาณ 2561 ให้แก่สานักงาน กศน.จงั หวัดสงขลา (3) วิทยากรโครงการประชมุ ช้ีแจงเตรยี มความพรอ้ มงานประกนั คุณภาพการศึกษา ให้แก่สานกั งาน กศน.จงั หวดั ยะลา (4) วทิ ยากรโครงการนเิ ทศกจิ กรรม กศน.จังหวัดยะลา (ไตรมาส 3) ปีงบประมาณ 2561 ใหแ้ ก่สานักงาน กศน.จังหวัดยะลา (5) วทิ ยากรโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ “สรุปผลการนิเทศคร่ึงปีแรก ประจาปี งบประมาณ 2561” ให้แกส่ านักงาน กศน.จงั หวัดนราธิวาส (6) วิทยากรโครงการส่งเสริมพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย ของ กศน.อาเภอเมืองยะลา (7) วิทยากรโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาหลักสูตรและการจัด กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการในการจดั การศึกษาต่อเนื่อง ให้แกส่ านักงาน กศน.จงั หวดั สมุทรสงคราม (8) วิทยากรโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาต่อเน่ือง (หลักสตู รระยะสน้ั ) ให้แกส่ านักงาน กศน.จังหวดั ขอนแกน่ (9) วิทยากรโครงการพัฒนาการนิเทศเพื่อยกระดับคุณภาพงานการจัดการศึกษา ของสานกั งาน กศน.จงั หวัดยะลา (10) วิทยากรโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการนิเทศ ให้แก่สานักงาน กศน.จงั หวดั พัทลุง (11) วิทยากรโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาคุณภาพการศึกษา กศน. โดยใชก้ ระบวนการนิเทศ ให้แก่สานกั งาน กศน.จงั หวดั สงขลา

26 (12) วทิ ยากรโครงการพัฒนาบุคลากรด้านการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และโครงการพัฒนาบุคลากรด้านการนิเทศติดตามการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั ประจาปงี บประมาณ 2561 ใหแ้ ก่สานักงาน กศน.จังหวดั ชุมพร (13) วิทยากรโครงการอบรมพัฒนาครูและบุคลากร เพ่ือพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษา กศน.อาเภอทา่ ศาลา จงั หวดั นครศรีธรรมราช (14) ประชุมปฏิบัติการจัดทาเคร่ืองมือนิเทศ ติดตาม ชุดการเรียนรู้โปรแกรมวิชา อิสลามศึกษา ใหแ้ ก่สานกั งาน กศน.จงั หวัดปัตตานี 1.12 สถาบัน กศน.ภาค (1) ประชุมการนิเทศการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของ สานกั งาน กศน.จงั หวดั /สถานศึกษาขึน้ ตรงในเขตภาคใต้ (2) ประชุมปฏิบัติการกาหนดบทบาทสถาบัน กศน.ภาคร่วมขับเคล่ือนโยบายและ จุดเน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน. ปีงบประมาณ 2561 (3) ประชุมโครงการสมั มนาเพอื่ พฒั นาวิชาการ กศน.ในเขตภาคเหนือ (4) ประชุมสัมมนาประสานแผนการปฏิบัติงานตามนโยบายและจุดเน้นประจาปี 2561 ในเขตภาคใต้ คร้ังท่ี1/2561 1.13 สถาบนั พฒั นาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา วิทยากรบรรยายและจดั กิจกรรมการเรียนรู้ วชิ า “พนื้ ฐานการนเิ ทศการศึกษา” 1.14 ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พ่อื การศึกษา (1) เป็นคณะกรรมการอานวยการและคณะกรรมการดาเนินงาน มหกรรม เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยหู่ วั ทอดพระเนตรสรุ ยิ ุปราคา ณ หว้ากอ ครบรอบ 150 ปี (2) ประชุมคณะกรรมการฝ่ายประเมินการจัดงานมหกรรมเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว ทอดพระเนตรสุริยปุ ราคา ณ หว้ากอ ครบรอบ 150 ปี (3) ร่วมพิธีเปิดงานมหกรรมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจา้ อยู่หวั ทอดพระเนตรสุรยิ ปุ ราคา ณ หวา้ กอ ครบรอบ 150 ปี (4) การรว่ มพธิ รี บั มอบงบประมาณสนับสนุนการดาเนินโครงการ 1.15 ศูนยฝ์ ึกและพฒั นาอาชพี ราษฎรไทยบรเิ วณชายแดน (1) ประชุมแนวทางการดาเนินงานการจัดกิจกรรมการศึกษานอกโรงเรียนและ การพฒั นาแหล่งเรียนร้ขู องศูนยฝ์ ึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบรเิ วณชายแดนสระแก้ว (2) ร่วมงานมหกรรมเกษตรธรรมชาติ ครั้งที่ 20 : เมล็ดพันธุ์แห่งความดี... สู่วถิ พี อเพยี ง” 2. ความร่วมมือกับหนว่ ยงานและสถานศึกษาภายนอกสานักงาน กศน. 2.1 สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (1) ร่วมงานวนั คลา้ ยวนั สถาปนากระทรวงศกึ ษาธิการ ครบรอบ 126 ปี (2) เป็นผู้แทนสานักงาน กศน. ลงพ้ืนที่ติดตามการดาเนินงานตามนโยบายของ รัฐบาล ในการประชุมคณะรัฐมนตรีอย่างเป็นทางการนอกสถานท่ี คร้ังที่ 5/2561 ณ กลุ่มจังหวัด ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ตอนล่าง 2 (อบุ ลราชธานี ยโสธร ศรสี ะเกษ อานาจเจริญ)

27 2.2 สานักงาน ก.ค.ศ. ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทา (ร่าง) หลักเกณฑ์และวิธีการพัฒนาข้าราชการครูและ บคุ ลากรทางการศกึ ษา ตาแหน่งศกึ ษานเิ ทศก์ 2.3 สานกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา ประชุมเสวนา เรื่อง สภาพการดาเนินงานแผนการศึกษาแห่งชาติ ระยะเร่งด่วน พ.ศ. 2560 – 2561 : จากแผนสู่การปฏิบัติ 2.4 สถาบันพระปกเกลา้ อบรมหลักสตู รประกาศนียบัตรช้นั สูงการบรหิ ารงานภาครฐั และกฎหมายมหาชน รุ่นที่ 17 2.6 สานกั งานรับรองมาตรฐานและประเมนิ คุณภาพการศึกษา (สมศ.) ร่วมสัมมนาเครอื ขา่ ยประเมนิ คุณภาพสถานศึกษา 7 เครือข่าย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ***********************************

28 ผลการดาเนนิ งาน ผลการดาเนนิ งานตามระบบการนเิ ทศ สำนักงำน กศน. ได้กำหนดนโยบำยที่จะขับเคล่ือนกำรดำเนินงำนตำมนโยบำย จุดเน้น สำนักงำน กศน. ด้วยกำรส่งเสริมให้สถำนศึกษำในสังกัดจัดกิจกรรมกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำ ตำมอัธยำศัยที่ตอบสนองควำมต้องกำรของผู้เรียนและผู้รับบริกำรให้มีคุณภำพและประสิทธิภำพยิ่งขึ้น และ ได้มอบหมำยให้ศึกษำนิเทศก์ปฏิบัติหน้ำที่นิเทศติดตำมผลกำรจัดกิจกรรมกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำ ตำมอธั ยำศยั ตำมนโยบำยและจุดเน้นกำรดำเนนิ งำน สำนกั งำน กศน. ประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2561 เ พ่ื อ ใ ห้ ส ำ ม ำ ร ถ ป ฏิ บั ติ ง ำ น นิ เ ท ศ ไ ด้ อ ย่ ำ ง มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ ำ พ แ ล ะ เ ป็ น ไ ป ต ำ ม วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ สอดคล้องกับนโยบำยและจุดเน้นกำรดำเนินงำน สำนักงำน กศน. ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2561 หนว่ ยศกึ ษำนิเทศก์ จงึ กำหนดรูปแบบและแนวทำงกำรนิเทศท่ีเหมำะสมกับงบประมำณ จำนวนบุคลำกร และ สอดคล้องกับบริบทของชุมชน สังคม เพ่ือให้สำมำรถนำผลกำรนิเทศมำพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำนอกระบบ และกำรศึกษำตำมอัธยำศัย ท้ังในด้ำนกำรพัฒนำรูปแบบกำรนิเทศและกำรประมวลผลกำรนิเทศมำใช้ให้เป็น ประโยชน์สูงสุด โดยใช้กำรนิเทศในรูปแบบ “กำรนิเทศเชิงบูรณำกำร” ท่ีเน้นกระบวนกำรแบบทีมนิเทศ ระหว่ำงศึกษำนิเทศก์และผู้ทำหน้ำท่ีนิเทศสังกัดหน่วยศึกษำนิเทศก์ สำนักงำน กศน. สถำบัน กศน.ภำค และ สำนักงำน กศน.จังหวัด ตลอดจนผู้ทรงคุณวุฒิท่ีมีควำมรู้ มีประสบกำรณ์ในกำรนิเทศ ร่วมเป็นคณะกรรมกำร ที่ปรึกษำและคณะทำงำนขับเคลื่อนกำรนิเทศสถำนศึกษำในสังกัดสำนักงำน กศน. ซ่ึงได้จัดประชุมชี้แจง แนวทำงกำรนิเทศสำหรบั ปีงบประมำณ ๒๕๖1 รว่ มกบั สถำบัน กศน.ภำคทุกแห่งแล้วในเดือนธันวำคม 2560 จำกผลกำรดำเนินงำนท่ีผ่ำนมำ พบว่ำ ผู้บริหำร ศึกษำนิเทศก์และผู้ทำหน้ำท่ีนิเทศของ จังหวัดท่ีไม่มีศึกษำนิเทศก์ ร่วมกันดำเนินกำรขับเคลื่อนกำรนิเทศในแต่ละภำค โดยจัดทำแผนกำรนิเทศและ นิเทศในพ้ืนท่ีจังหวัดที่ตนเองรับผิดชอบเป็นหลัก รวมท้ังกำรนิเทศในลักษณะทีมนิเทศภำยในกลุ่มจังหวัดบำง กลุ่ม ซ่ึงมีควำมหลำกหลำยไปตำมสภำพของพ้ืนที่ นอกจำกนั้น ได้จัดต้ังระบบสนับสนุนกำรนิเทศระหว่ำงกัน เช่น กำรตั้งกลุ่ม Line กำรใช้ QR Code เป็นต้น รวมท้ังกำรพัฒนำทักษะกำรใช้เทคโนโลยีในกำรรำยงำนผล กำรนิเทศ โดยศกึ ษำนเิ ทศกส์ ว่ นกลำงจะทำหน้ำท่ีประสำนกำรขับเคล่ือน และรำยงำนผลในภำพรวมของประเทศ อยำ่ งไรก็ตำม ด้ำนบุคลำกรนิเทศในส่วนสำนักงำน กศน.จังหวัด มีไม่ครบทุกจังหวัด ประกอบกับ ต้องช่วยรับผิดชอบภำรกิจอื่นที่สำนักงำน กศน.จังหวัดมอบหมำย เช่น กำรรักษำรำชกำรแทน กำรทำหน้ำท่ี ด้ำนพัสดุ ฯลฯ และมีจำนวนศึกษำนิเทศก์ส่วนกลำงปฏิบัติงำนเพียง 2 คน ทำให้กำรทำงำนมีข้อจำกัดในด้ำน บคุ ลำกร จึงมีควำมจำเป็นเร่งด่วนท่ีจะต้องสรรหำศึกษำนิเทศก์มำทดแทนอัตรำกำลังในส่วนกลำง เพื่อให้กำรนิเทศ งำนเป็นไปอยำ่ งต่อเนื่องและทั่วถึง สำหรับสถำบัน กศน.ภำค ผ้บู ริหำรและบุคลำกรของสถำบัน กศน.ภำค ให้กำรยอมรับท่ีจะร่วมมือ เป็นทีมนิเทศกับศึกษำนิเทศก์ สำนักงำน กศน.จังหวัด และศึกษำนิเทศก์ส่วนกลำง ซ่ึงกำรนิเทศสำมำรถดำเนินกำร โดยกำรประสำนแผนกำรนิเทศและดำเนินกำรแบบทีมนิเทศตำมภำรกิจเร่งด่วนท่ีได้รับมอบหมำยและนิเทศพัฒนำ วิชำกำรเป็นครั้งครำวตำมที่จังหวัดร้องขอและเป็นศูนย์กลำงกำรประสำนควำมร่วมมือ อำนวยควำมสะดวกต่ำง ๆ ร ว ม ท้ั ง เ ป็ น แ ก น ก ล ำ ง ใ น ก ำ ร ป ร ะ ชุ ม ส รุ ป ผ ล ก ำ ร นิ เ ท ศ ร ะ ดั บ ภ ำ ค เ พ่ื อ ส รุ ป ร ำ ย ง ำ น ผ ล ก ำ ร นิ เ ท ศ ม ำ ยั ง หน่วยศึกษำนิเทศก์ตำมที่กำหนดทั้งคร่ึงปีและปลำยปี แสดงให้เห็นศักยภำพควำมพร้อมในด้ำนวิชำกำร สถำนที่ และกำรจดั กำรประชุม

29 กล่ำวโดยสรุป จะเห็นได้ว่ำ หน่วยงำนทุกแห่งมีควำมตระหนักในบทบำทหน้ำท่ีที่สำนักงำน กศน. มอบหมำย เน้นกระบวนกำรนิเทศแบบทีมนิเทศร่วม โดยเฉพำะกำรร่วมขับเคล่ือนนโยบำยเร่งด่วน เพื่อให้กระบวนกำรนิเทศเป็นกลไกสำคัญในกำรสนับสนุนกำรปฏิบัติงำนของสถำนศึกษำ สำนักงำน กศน. จังหวัด/กทม. รวมท้ังสถำนศึกษำขึ้นตรง ซึ่งส่งผลโดยตรงต่อกำรเพิ่มศักยภำพและกำรพัฒนำงำนกำรศึกษำ นอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศัย และสำมำรถนำผลกำรนิเทศมำพัฒนำและปรับปรุงผลกำรดำเนินงำนให้ บรรลุตำมวัตถุประสงค์และสอดคล้องกับนโยบำยของสำนักงำน กศน. ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ สอดรับกับ ยทุ ธศำสตร์ จดุ เน้นและมำตรฐำนของสำนกั งำน กศน. ***********************************

30 สรปุ ผลการนิเทศกิจกรรม กศน. ครึง่ ปีแรก ปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 (ตลุ าคม 2560 - มนี าคม 2561) ***************************************** พ้ืนที่นเิ ทศ ศึกษานิเทศก์ส่วนกลางปฏิบัติการนิเทศร่วมกับศึกษานิเทศก์ส่วนภูมิภาค รวมท้ังผู้ปฏิบัติ หน้าท่ีนิเทศ ซึ่งผ่านการพัฒนาโดยหน่วยศึกษานิเทศก์ ปฏิบัติการนิเทศสถานศึกษาในพ้ืนที่สานักงาน กศน. จังหวัด ตามคาสั่งสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ที่ 203/2560 ลงวันที่ 22 ธันวาคม 2560 เรือ่ ง มอบหมายให้ศึกษานเิ ทศก์ปฏิบัติหน้าที่ราชการ วิธีการนิเทศ ใช้วิธีการนิเทศที่หลากหลาย โดยยึดความจาเป็นและความต้องการของผู้รับการนิเทศ เป็นสาคัญ เช่น การซักถาม การตรวจสอบเอกสาร การอธิบาย การทบทวนความรู้ความเข้าใจ การ ชี้แจง การใหค้ าแนะนา การเสนอแนะ การสาธิต การยกตวั อยา่ ง การประชุมชแ้ี จง เป็นต้น ประเด็นการนเิ ทศ การสรุปผลการนิเทศครึ่งปีแรก ดาเนินการในประเด็นนิเทศที่สถานศึกษาขับเคล่ือนกิจกรรม ตามนโยบายจุดเน้น 12 กิจกรรม ได้แก่ 1) การขับเคล่ือนการดาเนินงานตามโครงการไทยนิยม ย่ังยืน 2) การขับเคล่ือนการดาเนินงานโครงการอบรมประวัติศาสตร์ชาติไทย และบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย 3) โครงการสร้างเครือข่ายดิจิทัลชุมชนระดับตาบล 4) ศูนย์เรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ เกษตรทฤษฎีใหม่ประจาตาบล 5) โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 6) ศูนย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตยตาบล 7) โครงการภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารด้านอาชีพ 8) การจัดการเรียนรู้ด้านเกษตรกรรม (Smart Farmer : เกษตรกรปราดเปรื่อง) 9) กศน.ตาบล 4G 10) การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน 11) การศึกษาต่อเน่ือง และ 12) การศึกษาตามอธั ยาศัย สรปุ สภาพท่ีพบจากสถานศึกษาและผลการนิเทศ 1. การขบั เคล่ือนการดาเนินงานตามโครงการไทยนิยม ยั่งยนื รัฐบาลมีนโยบายสาคัญเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชนอย่างย่ังยืน ในทุก ๆ ด้าน ท้ังด้านเศรษฐกิจ สังคม รวมถึงความม่ันคง โดยได้แต่งต้ังคณะกรรมการขับเคล่ือนการพัฒนา โครงการไทยนิยม ยั่งยืน เข้าไปทางานร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพ่ือสร้างการรับรู้และความเข้าใจให้กับ ประชาชน ในการขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศตามโครงการไทยนิยม ย่ังยืน ระดับตาบล และเป็นแกนหลักสร้าง ความเขา้ ใจกับประชาชนและทางานร่วมกับหน่วยต่าง ๆ ในพื้นท่ี โดยมีกรอบหลักในการดาเนินงานเพื่อการมี ส่วนรว่ มในการพฒั นาประเทศสู่ความยั่งยืนท้งั หมด ๑๐ เรอ่ื ง ได้แก่

31 สานักงาน กศน. ได้ร่วมเป็นส่วนสาคัญในการผลักดันให้นโยบายดังกล่าวลงสู่การปฏิบัติ ในด้านการศึกษา ทั้งในระดับส่วนกลางและในระดับพื้นที่ ตามกรอบแนวทางการสนับสนุนการดาเนินงาน โครงการไทยนยิ ม ย่งั ยืนของสานักงาน กศน. ซึ่งมีโครงการสาคัญตามภารกิจของสานักงาน กศน. ที่สอดคล้อง กับกรอบหลักการของโครงการไทยนิยม ยั่งยืน ร่วมขับเคลื่อน จานวน ๕ โครงการ ประกอบด้วย 1) โครงการ ประวัติศาสตร์ชาติไทย และบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย 2) โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 3) โครงการ ศูนย์เรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจาตาบล 4) โครงการศูนย์ส่งเสริม พัฒนาประชาธปิ ไตยตาบล และ 5) โครงการสรา้ งเครือข่ายดิจิทลั ชุมชนระดับตาบล สภาพที่พบ การดาเนินงานขับเคล่ือน พบว่า มีการแต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนโดยผู้อานวยการ สานักงาน กศน.จังหวัด เป็นคณะกรรมการระดับจังหวัด ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเป็นคณะกรรมการระดับ อาเภอ ครู กศน.ตาบล/ครู กศน. เป็นคณะกรรมการระดับตาบล ซึ่งบางจังหวัดมีไม่ครบทุกตาบล และ ดาเนินการจัดประชุมช้ีแจงคณะกรรมการทุกระดับ เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ กาหนดแผนการลงพ้ืนท่ี แบง่ วิทยากรหลักร่วมกัน โดยกาหนดจัดเวที เป็น 2 ระยะ จานวน ๔ เวที ดงั นี้ ระยะท่ี 1 เวทีปรับทุกข์ ผูกมิตร เพื่อเป็นการเย่ียมเยือนประชาชน รับทราบความทุกข์และ ปัญหา รวมถึงค้นหาความต้องการของประชาชน โดยกลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่ท่ีเข้าร่วมเวทีประชาคม มีความเข้าใจในเป้าประสงค์ การสร้างการรับรู้ และมคี วามพึงพอใจค่อนข้างมาก อีกท้ัง ครู กศน.หรือบุคลากร ท่ีเป็นคณะกรรมการระดับตาบลมีความรู้ความเข้าใจในเป้าหมายและแนวทางการดาเนินงาน สามารถปฏิบัติ หน้าท่ีได้เป็นอย่างดี และยังได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหารระดับจังหวัด/อาเภอ ในการร่วมประชุมหารือ เตรียมความพร้อมในประเดน็ ท่หี น่วยงานได้รับ

32 การจัดเวที ระยะที่ 1 ได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วนทาให้การประสานงานสาเร็จลุล่วง ไปด้วยดี กล่าวคือ 1) ทาให้ทราบถึงปัญหาและความต้องการของประชาชน เพื่อนาไปแก้ไขและพัฒนาชุมชน ในเรื่องปัญหาสาธารณูปโภค เช่น ถนน ไฟฟ้า ประปา การระบายน้า แหล่งน้าเพ่ือการเกษตร การกาจัดขยะ ยาเสพติดและการพนันในชุมชน เป็นต้น และปัญหาความต้องการสาหรับการประกอบอาชีพ 2) หลังจาก รับทราบปัญหาของชุมชนแล้ว กศน. จะจัดกิจกรรมฝึกอาชีพของศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน เพื่อช่วยแก้ไขปัญหา ความต้องการประกอบอาชีพในชุมชน 3) ผลจากการจัดทาเวที ทาให้ ครู กศน.ได้รับการยอมรับจากชุมช น ได้รับทราบถึงความต้องการของชุมชน เพ่ือนาไปเป็นข้อมูลในการดาเนินกิจกรรมและแผนพัฒนาตาบลต่อไป และยงั เป็นการประชาสัมพนั ธง์ าน กศน. และเพิ่มกล่มุ เปา้ หมายทีส่ นใจกจิ กรรม กศน. ดว้ ย ระยะที่ 2 การสร้างการต่ืนรใู้ นสทิ ธแิ ละหน้าท่ีและการอยู่รว่ มกนั จากการนาเสนอปัญหาของ ประชาชนจากระยะท่ี 1 ได้ร่วมแลกเปลี่ยนหาแนวทางแก้ไขปัญหาและการพัฒนา สนับสนุนให้เกิดความ สามคั คปี รองดอง การทาสัญญาประชาคม ให้ประชาชนรู้สิทธิ หน้าท่ี รู้กฎหมายระเบียบของชุมชน สนับสนุน ประชาธิปไตยของชุมชนและประเทศชาติ เพ่ือนาไปเป็นข้อมูลในการดาเนินกิจกรรมและแผนพัฒนาตาบล ต่อไป โดยกลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่ท่ีเข้าร่วมเวทีในครั้งน้ี มีความเข้าใจในเป้าประสงค์ การสร้างการรับรู้ และ มีความพึงพอใจเป็นอย่างมาก สาหรับการติดตามผลการขับเคลื่อนในการแก้ปัญหาของประชาชน ในส่วนของ กศน. ได้ร่วมกับหน่วยงานหรือคณะทางานวิเคราะห์ปัญหาเพ่ือแก้ไขปัญหา โดย กศน. จะดูแล ในส่วนภาคการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในเร่ืองการให้ความรู้กิจกรรมฝึกอาชีพของศูนย์ฝึก อาชีพชุมชน ระยะที่ 3 อยรู่ ะหวา่ งดาเนนิ การ ระยะที่ 4 ยังไมไ่ ดด้ าเนินการ ปัญหาอุปสรรค 1. ครู กศน.ตาบล ท่ีเป็นคณะกรรมการต้องเข้าร่วมเวทีทุกคร้ัง หรือต้องปฏิบัติงานแทน กรรมการของหน่วยงานอื่นที่ไม่มาเข้าร่วมประชุม ทาให้กระทบต่อภารกิจหลัก ไม่สามารถปฏิบัติงานท่ี รบั ผิดชอบไดต้ ามกาหนด เชน่ ขาดการพบกลุ่ม การจัดกิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียน การเบิกจ่ายงบประมาณ ไมท่ ันตามกาหนด เป็นตน้ ซึ่งทาใหค้ รเู กิดความกงั วลวา่ จะส่งผลตอ่ การประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงาน 2. การดาเนินงานในลักษณะเป็นทีม มีแผนการดาเนินงานที่ชัดเจน ทาให้ต้องเร่งจัด ใหท้ นั ตามกาหนดเวลา ซง่ึ ส่งผลต่อคณุ ภาพการดาเนินงาน 3. เวลาที่จัดเวทีมีระยะเวลาค่อนข้างน้อย เน่ืองจากส่วนใหญ่จัดในเวลาราชการซ่ึงตรงกับ เวลาการประกอบอาชีพของประชาชน ทาให้ผู้เข้าร่วมเวทีส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ ซ่ึงกลุ่มเป้าหมายหลักท่ีเป็น ประชากรวัยแรงงานไม่สามารถเข้าร่วมเวทีได้เท่าที่ควรเพราะต้องประกอบอาชีพ ทาให้รับทราบปัญหาและ ความต้องการยงั ไมค่ รอบคลุมครบถ้วนทุกช่วงวัย ข้อเสนอแนะเพอื่ การพฒั นา ข้อเสนอแนะตอ่ สถานศกึ ษา 1. ควรชี้แจง สร้างความรู้ความเข้าใจกับครู กศน.ตาบล และคณะกรรมการระดับอาเภอ เก่ยี วกบั บทบาท ภารกจิ ให้ชัดเจนในการเข้าร่วมแต่ละเวที 2. ควรบริหารจัดการให้บุคลากรมีการปฏิบัติงานแทนกัน เพื่อให้การปฏิบัติงานทุกภารกิจ เปน็ ไปอยา่ งตอ่ เนื่องตามกาหนด

33 3. ควรกากับ ติดตามการเข้าร่วมกระบวนการขับเคลื่อนโครงการไทยนิยม ยั่งยืนของครู กศน.ตาบล อย่างต่อเน่ือง 4. ควรรวบรวมข้อมูลเชิงปรมิ าณ เชงิ คุณภาพ และสรปุ ผลการเขา้ รว่ มกระบวนการขับเคล่ือน โครงการไทยนิยม ยั่งยืน อย่างครบถ้วน เพ่ือเป็นข้อมูลในการจัดกิจกรรมให้ตรงกับความต้องการ ของกลมุ่ เปา้ หมายตอ่ ไป ข้อเสนอแนะตอ่ สานกั งาน กศน.จังหวดั 1. ควรประชุมช้ีแจงผู้บริหารสถานศึกษา ครู กศน.ตาบลและผู้เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความรู้ ความเขา้ ใจอย่างชัดเจน สาหรับบทบาทและภารกิจในการร่วมขับเคล่ือนโครงการไทยนยิ ม ย่ังยืน 2. ควรนิเทศ ติดตามการเข้าร่วมกระบวนการขับเคลื่อนโครงการไทยนิยม ย่ังยืน ของ สถานศึกษาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง 3. ควรรวบรวมข้อมูลเชงิ ปริมาณ เชิงคณุ ภาพ และสรปุ ผลการเขา้ ร่วมกระบวนการขับเคล่ือน โครงการไทยนิยม ย่ังยืน อย่างครบถ้วน เพื่อเป็นข้อมูลในการสนับสนุน ส่งเสริมการจัดกิจกรรมของ สถานศกึ ษาต่อไป 2. การขับเคลื่อนการดาเนินงานโครงการอบรมประวัติศาสตร์ชาติไทย และบุญคุณของ พระมหากษัตริยไ์ ทย ประเทศไทยมีสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นสัญลักษณ์ของการดารงอยู่ของชาติไทยมา อย่าง ต่อเนื่อง และสังคมไทยให้ความสาคัญกับสถาบันพระมหากษัตริย์ตั้งแต่สมัยสุโขทัยจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ เป็นสถาบันทางสังคมท่ีเข้มแข็ง ยืนยง ทาให้ประเทศไทยสามารถรักษาความเป็นไทยในทุก ๆ ด้าน และ เป็นสมบัติล้าค่าที่ชาวไทยทุกคนจะต้องร่วมกันปกป้องให้สถาบันพระมหากษัตริย์คงอยู่ตลอดไป พระมหากษัตริย์ ไทยทรงครองราชย์ปกป้องบ้านเมือง ทานุบารุงศาสนาและสังคมมาจนถึงปัจจุบัน แม้ว่าประเทศไทยจะมี รูปแบบการปกครองระบอบประชาธิปไตย แต่สถาบันพระมหากษัตริย์ยังเป็นท่ีเคารพสักการะจากประชาชน มากเช่นเดิมไม่มีเปลี่ยนแปลง โดยจะเห็นได้จากสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ ๑๐ ทรงมีความห่วงใยราษฎรในทุกด้าน โดยเฉพาะด้านการศึกษาทรงมีพระราชกระแสรับส่ัง ให้เน้นการสร้างความรู้พื้นฐานให้แก่ผู้เรียน การสร้างทัศนคติท่ีถูกต้อง (อุปนิสัย) ท่ีมั่นคงเข็มแข็ง การสอน ให้มีอาชีพ มีงานทา รวมถึงการทาให้เยาวชนมีความสนใจและเข้าใจในเรื่องของสถาบันพระมหากษัตริย์และ ประวัติศาสตรช์ าตไิ ทยไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง ดังนั้น สานักงาน กศน. ซึ่งเป็นหน่วยงานส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยให้กับประชาชนผู้ด้อยโอกาสทางการศึกษาท้ังเยาวชนและประชาชนท่ัวไป ได้ตระหนักถึงความสาคัญและความจาเป็นที่จะต้องสร้างระบบความรู้ ความเข้าใจ และปลูกฝังอุดมการณ์ รกั ชาติ ศาสนา และเทดิ ทนู สถาบนั พระมหากษตั ริยไ์ ทยให้กับบุคลากรของหน่วยงานในสังกัด สานักงาน กศน. จึงได้กาหนดนโยบายและแผนงานการบูรณาการร่วมกับศูนย์ประสานงานปฏิบัติท่ี ๑ กองอานวยการรักษา ความม่ันคงภายในราชอาณาจักร (กอ.รมน.) ขยายผลการดาเนินงาน โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ ได้จัดทาโครงการอบรมประวัติศาสตร์ชาติไทย และบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทยให้กับครูแกนนาและ บุคลากรเพื่อสร้างวิทยากรแกนนาทีจ่ ะขยายผลการดาเนินงานโครงการให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ สามารถเผยแพร่ ขยายเครอื ข่าย และสร้างองค์ความร้กู ับประชาชนในสงั คมไทยได้อย่างจริงจงั จานวน ๔ หลักสตู ร ดังนี้

34 หลักสูตรที่ ๑ หลักสูตรประวัติศาสตร์ชาติไทยและบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย สาหรับ หวั หนา้ ส่วนราชการและบคุ ลากรทอ้ งถนิ่ ดาเนนิ การโดยผู้ว่าราชการจังหวดั ระยะเวลา ๒ วนั หลกั สตู รที่ ๒ หลักสูตรครแู กนนา การจดั กิจกรรมกระบวนการเรยี นการสอนประวัติศาสตร์ชาติไทย และบุญคณุ ของพระมหากษัตริย์ไทย ระยะเวลา ๓ วัน ๒ คืน หลกั สตู รที่ ๓ หลกั สูตรวิทยากรประวัติศาสตร์ชาติไทย และบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย สาหรบั เผยแพร่ ประชาสมั พันธ์ และวทิ ยากรแกห่ นว่ ยงานตา่ ง ๆ ในแตล่ ะจังหวดั ระยะเวลา ๓ วัน ๒ คนื หลักสตู รที่ ๔ หลกั สตู รประวัติศาสตรช์ าติไทย และบญุ คณุ ของพระมหากษัตริยไ์ ทย เพอื่ การนิเทศ ตดิ ตามการดาเนินงาน สาหรบั ศกึ ษานเิ ทศก์และรองผู้อานวยการสานักงาน กศน.จังหวัด ระยะเวลา ๕ วัน ๔ คนื ท้ังน้ี จากการนิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการดาเนินงานการอบรมโครงการประวัติศาสตร์ ชาติไทย และบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ ในรอบ ๖ เดือน (ตั้งแต่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๐ – ๓๑ มนี าคม ๒๕๖๑) ของสานักงาน กศน. สรปุ ได้ดงั น้ี สภาพทีพ่ บ 1. การดาเนินการอบรมโครงการประวัติศาสตร์ชาติไทย และบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย ทสี่ านักงาน กศน.จงั หวัด ดาเนินการจดั อบรมให้กับบุคลากรจานวน 4 หลกั สตู ร พบวา่ หลักสูตรที่ 1 หลักสูตรประวัติศาสตร์ชาติไทย และบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย ระยะเวลา ๒ วัน ผู้เข้าอบรมประกอบด้วยผู้บริหารและผู้นาท้องถิ่น โดยสานักงาน กศน.จังหวัดหลายจังหวัด ได้ตระหนักและเห็นความสาคัญจึงส่งบุคลากรในสังกัดเข้ารับการอบรม เช่น ศึกษานิเทศก์ ข้าราชการครู บุคลากรทางการศึกษา พนักงานราชการทุกประเภท ลูกจ้างทุกประเภท เป็นต้น โดยวิทยากรที่มาให้ความรู้ เป็นวิทยากรจากส่วนกลาง สาหรับกระบวนการอบรม ใช้ส่ือวีดิทัศน์ประกอบการบรรยายเพื่อให้ผู้เข้ารับการ อบรมมีความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหามากยิ่งขึ้น โดยเนื้อหาการอบรมจะเน้นการสร้างการรับรู้และความตระหนัก เก่ียวกับประวัตศิ าสตรช์ าตไิ ทย และบญุ คุณของพระมหากษัตริย์ไทยไทย ซึ่งจากการประเมินผลความพึงพอใจ ของผู้เขา้ รบั การอบรมปรากฏว่ามคี วามพงึ พอใจในระดบั มากและมากทสี่ ุด หลักสูตรท่ี 2 หลักสูตรครูแกนนา การจัดกิจกรรมกระบวนการเรียนการสอน ประวัติศาสตร์ชาติไทย และบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย ระยะเวลา ๓ วัน ๒ คืน สานักงาน กศน. อบรม ให้กับแกนนาซงึ่ เป็นผู้แทนจากสานักงาน กศน.จังหวัด จานวน ๗๗ จังหวัด ๆ ละ ๕ คน โดยเนื้อหาการอบรม จะเน้นให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนาความรู้ไปถ่ายทอดและเป็นแกนนาในการขับเคลื่อนการดาเนินงาน ซ่ึงวิทยากรที่มาให้ความรู้เป็นวิทยากรจากส่วนกลางที่มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ สาหรับ กระบวนการอบรมใช้รูปแบบการบรรยาย การวัดผลประเมินผลใชว้ ิธีการสังเกตจากการเล่าเรื่องประวัติศาสตร์ชาติไทย และการแสดงบทบาทสมมติของผู้เข้ารับการอบรม โดยวิทยากรจะแบ่งกลุ่มผู้เข้ารับการอบรมและมอบหมาย ให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมาเล่าเรื่องประวัติศาสตร์ชาติไทยในแต่ละยุค แต่ละสมัย และยังมอบหมายให้ ผู้เข้ารับการอบรมแต่ละกลุ่มแสดงบทบาทสมมติ จากการสังเกตผู้เข้ารับการอบรม พบว่าสามารถเล่าเรื่อง ประวตั ศิ าสตรช์ าติไทยได้เป็นอย่างดี ในส่วนของการแสดงบทบาทสมมุติสามารถแสดงได้สมบทบาทกระตุ้นให้ ผู้ชมและผู้แสดงเกดิ อารมณร์ กั ชาติและซาบซ้ึงในบญุ คุณของพระมหากษัตริย์มากยิ่งขนึ้ หลักสูตรท่ี ๓ หลักสูตรวิทยากรประวัติศาสตร์ชาติไทย และบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย สาหรับเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ และวิทยากรแก่หน่วยงานต่าง ๆ ในแต่ละจังหวัด ระยะเวลา ๓ วัน ๒ คืน กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย ผู้บริหาร กศน.อาเภอ ครู กศน.ตาบล ครู ศรช. และทหาร โดยวิทยากรท่ีมาให้ ความรู้เป็นวิทยากรจากส่วนกลาง สาหรับกระบวนการอบรมวิทยากร ใช้สื่อวีดิทัศน์ประกอบการบรรยาย การวัดผลและประเมินผลใช้วิธีการทดสอบ โดยให้ผู้เข้ารับการอบรมเล่าเร่ืองประวัติศาสตร์ในแต่ละยุค

35 รวมท้ังสิ้น ๖ เรื่อง เร่ืองละ ๑๐ นาที พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมสามารถเล่าเรื่องประวัติศาสตร์ในแต่ละยุค แตล่ ะสมัยไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งเป็นทีน่ ่าพึงพอใจ หลักสูตรท่ี ๔ หลักสูตรประวัติศาสตร์ชาติไทย และบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย เพ่ือการนิเทศ ติดตาม การดาเนินงาน สาหรับศึกษานิเทศก์ รองผู้อานวยการสานักงาน กศน.จังหวัด และ รองผอู้ านวยการสถานศึกษาขน้ึ ตรง ระยะเวลา ๕ วัน ๔ คืน โดยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ดาเนินการระหว่าง วนั ท่ี ๑๖ - ๒๐ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๑ จานวน ๕๓ คน และภาคใต้ ดาเนนิ การระหว่างวันที่ ๒1 - ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๑ จานวน ๕๐ คน ส่วนภาคอน่ื ๆ อยรู่ ะหว่างการเตรียมการจดั อบรม 2. เน้ือหาการอบรม การอบรมใช้เน้ือหาตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตร ซึ่งเป็นเรื่องเก่ียวกับ ประวัติศาสตร์ความเป็นมาของชนชาติไทย ประวัติศาสตร์ชาติไทย ความเสียสละของบูรพมหากษัตริย์ไทย ในยคุ สโุ ขทัย อยธุ ยา ธนบุรี รัตนโกสินทร์ ต้ังแต่รัชกาลที่ 1 - รัชกาลที่ ๗ พระราชประวัติในหลวงรัชกาลที่ ๘ รชั กาลที่ ๙ และรชั กาลที่ ๑๐ 3. การดาเนินการอบรม ใช้กระบวนการเรียนรู้หลายรูปแบบ ส่วนใหญ่จะเน้นเร่ือง การปลูกฝังจิตสานึกให้ผู้เข้ารับการอบรมเกิดความรักชาติ หวงแหนแผ่นดินถิ่นเกิด ซาบซึ้งในบุญคุณและ ความเสียสละของบูรพมหากษัตริย์ไทยในทุกยุคทุกสมัย โดยใช้การบรรยาย เล่าเร่ืองผ่านส่ือเอกสาร ประกอบการบรรยาย (Power Point) คลิปวิดีโอประกอบ แสง สี เสียง การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การแสดง บทบาทสมมติและการฝึกปฏิบัติ เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมเกิดความรู้ ความเข้าใจในเรื่องประวัติศาสตร์ชาติไทย และสานึกในบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย ทั้งน้ี จากการดาเนินการอบรม พบว่า ผู้เข้ารับการอบรม หลายคนเกดิ ความซาบซ้ึงและสานกึ ในบญุ คุณของพระมหากษัตรยิ จ์ นนา้ ตาไหล 4. การประเมนิ ผลการอบรม การวัดและประเมินผลการอบรมไดด้ าเนินการ ดังนี้ 4.1 วัดและประเมินผลในภาพรวมของหลักสูตร ใช้วิธีการทดสอบก่อนและหลังการอบรม (Pre – Test และ Post – Test) เปน็ รายบุคคล 4.2 ประเมินผลด้านเน้ือหา โดยกาหนดประเด็นเป็นรายด้าน คือ ด้านวิทยากร ด้านกระบวนการจัดการเรียนรู้ ด้านความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ และประเมินความพึงพอใจโดยรวม ตอ่ กิจกรรม ผลการประเมนิ ในแตล่ ะดา้ น มีผลการประเมนิ ในระดับดีถึงดมี ากทุกดา้ น 4.3 ทดสอบการเล่าเรื่องประวัติศาสตร์ชาติไทย และบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย ในแตล่ ะยคุ สมัยตามท่ไี ด้รับการอบรม โดยสรปุ เป็นบทเรยี น ๆ ละ ๖ นาที จานวน ๑๐ บทเรียน จากการประเมินผลการอบรม พบว่า ผู้ผ่านการอบรมหลักสูตรประวัติศาสตร์ชาติไทย และบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทยมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะที่สามารถนาไปขยายผลและ จัดกระบวนการเรียนรู้ต่อไปได้ 5. การขยายผลโครงการประวัติศาสตร์ชาติไทย และบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย สานักงาน กศน. จังหวัด ได้มอบหมายให้ครู กศน. ตาบล และครู ศรช. ทุกคน จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ เพ่ือนาไปใช้ในการจดั การเรยี นรู้ ดงั น้ี 5.1 สถานศึกษาส่วนใหญ่สอดแทรกเนื้อหาประวัติศาสตร์ชาติไทยในการจัดกระบวนการ เรียนรู้ขณะพบกลุ่มกับนักศึกษา จัดให้มีโครงการค่ายประวัติศาสตร์ชาติไทย โครงการค่านิยมหลัก ๑๒ ประการ และโครงการปลกู จิตสานึกรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์

36 5.2 สถานศึกษานากลุ่มเป้าหมายลงพื้นที่ภายในจังหวัดเพื่อศึกษาแหล่งเรียนรู้ ทางประวัติศาสตร์ เช่น สานักงาน กศน.จังหวัดภูเก็ต ลงพ้ืนท่ีตามรอยประวัติศาสตร์การทาศึกของย่ามุก ย่าจัน ที่รบชนะทัพพม่าในสงครามเก้าทัพ ได้แก่ วัดพระนางสร้าง บ้านย่ามุก ย่าจัน เป็นต้น และมีการบูรณาการ กบั โครงการอนื่ เช่น โครงการคา่ ยลูกเสอื ช่อสะอาด ของ กศน.อาเภอคลองทอ่ ม จงั หวดั กระบ่ี เปน็ ต้น 5.3 สถานศึกษามีการจัดทาคู่มือกิจกรรมประวัติศาสตร์ชาติไทย และบุญคุณ ของพระมหากษัตริย์ไทย เช่น สานักงาน กศน.จังหวัดสงขลา จัดทาคู่มือกิจกรรมประวัติศาสตร์ชาติไทย และบญุ คณุ ของพระมหากษัตริย์ไทย แบง่ เปน็ ๔ กจิ กรรม คอื กิจกรรมสาหรับประชาชน จานวน ๒ วัน ๑ คืน กิจกรรมสาหรับประชาชน จานวน ๑ วนั กจิ กรรมสาหรับนักศึกษา แบ่งเป็น 2 หลักสูตร คือ หลักสูตร ๒ วัน ๑ คืน และหลกั สตู ร ๑ วนั เปน็ ตน้ 5.4 สถานศึกษาจัดกิจกรรมโดยการพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้เก่ียวประวัติศาสตร์ชาติไทย และประวัติศาสตร์ท้องถิ่นกับประชาชน เช่น สานักงาน กศน.จังหวัดนราธิวาส จัดกิจกรรมโดยพูดคุย กับประชาชนตามร้านน้าชาและบ้านหนังสือชุมชน รวมถึงมีจัดกิจกรรมราลึกถึงบุญคุณพระมหากษัตริย์ไทย ในกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โดยจัดกิจกรรมในลักษณะฐานการเรียนรู้ให้กับนักศึกษาในสถาบันศึกษา ปอเนาะและได้ขยายผลให้กับกลุ่มสตรีแม่บ้าน กลุ่มผู้สูงอายุ ผู้นาชุมชน ได้แก่ กานัน ผู้ใหญ่บ้าน และ อสม. โดยวิทยากรครู ข เล่าประวัติศาสตร์ชาติไทยในแต่ละยุคสมัย และกลุ่มเป้าหมายได้ร่วมบอกเล่าถึง ความภาคภมู ิใจและความประทบั ใจเกย่ี วกบั พระราชกรณยี กจิ ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ ๙ และพระราชกรณียกิจของสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี 5.5 จัดฐานการเรียนรู้ “ประวัติศาสตร์ชาติไทย บุญคุณ ๙ มหาราช พระมหากษัตริย์ไทย” ในการจัดงานชุมนุมลูกเสือชายแดนใต้ โดยกลุ่มจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้จัดงานชุมนุมลูกเสือชายแดนใต้ คร้ังที่ ๑3 ณ สนามกีฬากลาง จังหวัดปัตตานี โดยได้จัดฐานการเรียนรู้ “ประวัติศาสตร์ชาติไทย บุญคุณ ๙ มหาราช พระมหากษตั ริย์ไทย” ให้กับลูกเสือทุกสงั กดั ในกระทรวงศึกษาธิการ ลูกเสือจากประเทศเพื่อนบ้าน และผู้ทีเ่ ขา้ ร่วมกิจกรรมไดศ้ กึ ษาและแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ร่วมกนั ผลจากการจัดกิจกรรม ทาให้ประชาชนทั่วไปและนักศึกษา กศน. มีความรู้ ความเข้าใจ ประวัติศาสตร์ชาติไทยและสานึกบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์ หลังจากจัดกิจกรรมผู้เรียนและ ประชาชนได้รับความรู้และมีพฤติกรรมท่ีสามารถดาเนินชีวิตได้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปฏิบัติตน เป็นจติ อาสา และสามารถนาความรู้ไปถา่ ยทอดหรือบอกเล่าให้กับคนอ่ืน ๆ ได้รบั ทราบต่อไปได้ ปัจจยั ท่สี ่งผลตอ่ ความสาเร็จ 1. สานักงาน กศน. มีนโยบายและแนวทางการดาเนินงานท่ีชัดเจน มีหลักสูตรที่ครอบคลุม สามารถนาไปขยายผลให้กบั กลมุ่ เป้าหมายได้ถูกต้อง 2. สานักงาน กศน.จังหวัดทุกแห่ง ได้นาโครงการประวัติศาสตร์ชาติไทย และบุญคุณ ของพระมหากษัตริย์ไทย ทั้ง ๓ หลักสูตร มาใช้ในการจัดอบรมผู้บริหารสถานศึกษา ข้าราชการครู และ บุคลากร กศน.ทุกคน ให้มีความรู้ความเข้าใจ และสามารถนาความรู้ไปขยายผลการจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้กบั นักศึกษาและประชาชนในพน้ื ทต่ี ่อไป 3. เนือ้ หาสาระของประวัติศาสตร์ชาติไทย และบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย สถานศึกษา ได้พัฒนาเป็นรายวิชาเลือกเสรีและได้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ท้ัง ๓ ระดับการศึกษา เร่ิมใช้ในภาคเรียนท่ี ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑

37 ปญั หาอปุ สรรค 1. ส่ือในการจดั กระบวนการเรียนรู้ยงั ไม่มีความหลากหลาย 2. เน้ือหาวิชาประวัติศาสตร์ชาติไทย และบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย เป็นเน้ือหาวิชา ท่ีละเอียดอ่อน ผู้จัดกระบวนการเรียนรู้จะต้องมีความรู้ความเข้าใจอย่างถ่องแท้และควรมีเอกสารอ้างอิง ที่น่าเชื่อถือได้ แต่ครูบางรายยังขาดทักษะในการจัดกระบวนการเรียนรู้ทาให้การขยายผลสู่กลุ่มเป้าหมาย ยงั ไม่สมบรู ณ์เทา่ ทค่ี วร ขอ้ เสนอแนะเพื่อการพฒั นา ข้อเสนอแนะตอ่ สถานศกึ ษา 1. ควรมีการประเมินความรู้เก่ียวกับประวัติศาสตร์ชาติไทย และบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย ผูเ้ รยี นก่อนและหลังการจดั การเรียนการสอน ๒. ควรใช้สื่อในการประกอบการจัดกระบวนการเรียนรู้เก่ียวกับประวัติศาสตร์ชาติไทย และ บุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทยให้หลากหลาย ๓. ควรรายงานผลการจดั กจิ กรรมเมื่อสิน้ สุดการดาเนินงานทุกครง้ั ข้อเสนอแนะต่อสานักงาน กศน.จงั หวัด ควรนิเทศ ติดตามการจัดกิจกรรมของสถานศึกษาในกากับอย่างต่อเน่ืองและบูรณาการกับ กิจกรรมอื่น ๆ ข้อเสนอแนะต่อสานักงาน กศน. 1. ควรจัดทาส่ือการจัดการเรียนรู้ให้ครู กศน.สามารถศึกษาได้ด้วยตนเองและควรผลิตคู่มือ สาหรบั ครูและนักศึกษาในการจดั กระบวนการเรียนการสอนและการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวติ (กพช.) 2. ควรกาหนดกรอบระยะเวลาการดาเนินงานให้ชัดเจน 3. โครงการสรา้ งเครอื ขา่ ยดจิ ิทัลชมุ ชนระดับตาบล ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 สานักงาน กศน. มีนโยบายสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศโดยพัฒนาคนให้เป็น “Smart Digital Persons (SDPs)” ให้ กศน.ตาบลทุกแห่ง ดาเนินโครงการ พัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล กิจกรรมการพัฒนาเครือข่ายเศรษฐกิจดิจิทัลสู่ชุมชนในระดับตาบล โดยสานักงาน กศน. จัดอบรมให้กับครู ก (วิทยากรระดับจังหวัด) ครบทุกจังหวัด จานวน ๒ หลักสูตร ดังน้ี 1) หลักสูตร การพัฒนาทักษะและความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy) และ 2) หลักสูตรพาณิชย์ อิเล็กทรกนิกส์ (E-Commerce) ซ่ึงมอบหมายให้ครู ก ไปดาเนินการจัดอบรมขยายผลให้กับ ครู ข (วิทยากร ระดับอาเภอ) และ ครู ค (ครู กศน.ตาบล) ครบทุกตาบล เพ่ือนาไปถ่ายทอดให้กับประชาชนในพื้นที่ท่ีครู กศน.ตาบล รบั ผิดชอบ หลกั สตู รการพัฒนาทักษะและความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล มีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ประชาชน มีความรู้พ้ืนฐานด้านดิจิทัลและความรู้เรื่องกฎหมายว่าด้วยการกระทาผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ สาหรับการใช้ ประโยชน์ในชีวิตประจาวันเพื่อเป็นการพัฒนาการเข้าสู่อาชีพ มีกรอบเนื้อหา 9 เรื่อง คือ สุขภาพดียุคดิจิทัล ดิจิทลั คอมเมริ ช์ กฎหมายดิจทิ ัล ความปลอดภยั ยุคดิจิทลั ความเข้าใจสือ่ ดิจทิ ลั แนวปฏิบตั ิในสังคมดิจิทัล สิทธิ และความรับผิดชอบการเข้าถึงส่ือดิจิทัล และการสื่อสารยุคดิจิทัล สาหรับหลักสูตรพาณิชย์อิเล็กทรกนิกส์ จะเน้นเร่ืองผลิตภัณฑ์และบริการ (Product and Service) การเปิดร้านค้าออนไลน์ (Online Shop) โดยนา เนื้อหามาบูรณาการตามสภาพปญั หา ความตอ้ งการของผเู้ รยี นและชมุ ชน

38 สภาพที่พบ สถานที่จัดอบรมส่วนใหญ่มีระบบสัญญาณเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่มีความเสถียร มีอุปกรณ์ รองรับการเชื่อมต่อสญั ญาณที่ดี จากการนิเทศโครงการสร้างเครือข่ายด้านดิจิทัลชุมชนระดับตาบล ได้จัดการอบรม หลักสูตรการพัฒนาทักษะและความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล และอบรมหลักสูตรพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ สร้างช่องทางการจาหน่ายสินค้า พบว่าครู กศน.ตาบลส่วนใหญ่ มีความรู้ความเข้าใจ ท้ัง 2 หลักสูตร เป็นอย่างดี สาหรับการถ่ายทอดความรู้สู่ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย อยู่ในระหว่างการจัดทาแผนเพื่อนาความรู้ไปขยายผล ใหก้ ับประชาชนในไตรมาสท่ี 3 และ 4 ตาบลละ ๒ รุ่น ๆ ละ ๑๖ คน ระยะเวลาการอบรมหลักสูตรละ ๒ วัน โดยจะดาเนินการอบรมทันทเี ม่ือได้รบั การจดั สรรงบประมาณจากสานกั งาน กศน. ท้ังน้ี ครู ข (วิทยากรระดับอาเภอ) และ ครู ค (ครู กศน.ตาบล) ส่วนใหญ่สามารถจัดทาเพจ (page) ร้านคา้ ออนไลน์ และเพจเฟซบกุ๊ (page facebook) เพ่ือรองรับสินค้าจากประชาชนได้ ในการนิเทศได้ แนะนาให้ครูวางแผนการนาความรู้ เรือ่ งการพัฒนาทักษะและความเขา้ ใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล และพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ ไปใช้ส่งเสริมความเข้มแข็งขอ งกลุ่มอาชีพในพื้นที่ที่รับผิดชอบ และจัดกิจกรรม การเรียนรู้ให้กับกลุ่มอาชีพท่ีมีผลิตภัณฑ์หรืองานบริการอยู่แล้ว ซ่ึงจะทาให้กลุ่มเป้าหมายได้รับประโยชน์ จากการเรียนรู้โดยตรง และเป็นตัวอย่างให้กับกลุ่มงานอาชีพอ่ืน ๆ ต่อไป สถานศึกษาควรกาหนดให้ครู กศน. ตาบลวางแผนติดตามผลท่ีเกิดขึ้นจากการจัดการเรียนรู้ เร่ืองการพัฒนาทักษะและความเข้าใจและ ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล และพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในเชิงประจักษ์ รวมถึงปัญหาอุปสรรค เพื่อนาข้อมูล มาปรบั ปรงุ แก้ไขใหก้ ารจดั การเรียนร้มู ปี ระสทิ ธิภาพย่ิงขน้ึ ต่อไป แผนการดาเนนิ งานโครงการศนู ย์ดิจทิ ลั ชุมชนของสานักงาน กศน.จงั หวดั พจิ ติ ร ปี 2562 คือขยายผลการอบรมดิจิทัลชุมชน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ในหลักสูตรการพัฒนาทักษะและความเข้าใจ และใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ลั (Digital Literacy) และหลักสูตรพาณชิ ยอ์ เิ ลก็ ทรกนิกส์ (E-Commerce) ในกลุม่ ผ้มู ีรายไดน้ ้อย ในอตั ราสว่ น 1 ต่อ 3 เพื่อให้ความรู้เร่ืองการขายสินค้าออนไลน์ และรวบรวมสินค้าออนไลน์ต่าง ๆ จัดต้ังเป็น ศูนย์จาหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ออนไลน์ กศน. (OOCC) ระดับตาบล ระดับอาเภอ และระดับจังหวัด เพื่อเป็น สถานทใี่ นการรวบรวม กระจาย และจาหน่ายสินค้าออนไลน์ เพ่ือสร้างโอกาส สร้างรายได้ให้กับผู้มีรายได้น้อย โดยสถานทจ่ี าหน่ายสินคา้ คือ กศน.ตาบล กศน.อาเภอ และสานกั งาน กศน.จังหวัด ปัจจยั ทส่ี ง่ ผลตอ่ ความสาเรจ็ 1. ครู กศน.ตาบล ส่วนใหญ่มีความรคู้ วามเข้าใจในเรอ่ื งการพฒั นาทักษะและความเข้าใจและ ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล และพาณชิ ยอ์ เิ ลก็ ทรอนิกส์ สามารถถา่ ยทอดความรู้สู่กลุ่มเป้าหมายได้ตรงตามจุดมุ่งหมาย ของหลักสูตร โดยมีการปรับเนื้อหาให้เป็นเร่ืองท่ีใกล้ตัว หรือเรื่องในชีวิตประจาวันของผู้เข้ารับการอบรม ซึ่งทาให้ได้รับความสนใจและตอบสนองต่อความต้องการของตนเองและชุมชน นอกจากนั้น ครู กศน.ตาบล ยงั มีทักษะการประสานงานเพ่ือสรา้ งเครอื ข่ายดิจทิ ลั ชุมชนอีกด้วย 2. สานักงาน กศน.มีการวางแผนการดาเนินการท่ีเป็นระบบ โดยมีการอบรมวิทยากร ครู ก (วทิ ยากรระดบั จังหวัด) เพอื่ ไปขยายผลให้กบั ครู ข (วทิ ยากรระดบั อาเภอ) และครู ค (ครู กศน.ตาบล) 3. มีการบูรณาการการดาเนินงานกับหลายหน่วยงาน เช่น กระทรวงดิจิทัลเพื่อพัฒนา เศรษฐกิจและสังคม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธกิ าร บรษิ ัท ที โอ ที จากดั (มหาชน) ปัญหาอปุ สรรค 1. วิทยากรแกนนาครู ข และ ครู ค มีศักยภาพในด้านการรับร้ทู ่ีแตกตา่ งกัน 2. ครู กศน.บางคนยงั ขาดทกั ษะการใชส้ อื่ อปุ กรณ์ ท่ใี ชป้ ระกอบการอบรม

39 3. วัสดุ อปุ กรณ์ของครแู กนนา ครู ข และ ครู ค ที่ใช้ในการอบรมยังมีความล้าสมัยไม่เอ้ือต่อ การให้ความรู้ 4. ระยะเวลาการอบรมค่อนข้างน้อย เช่น เขตภาคใต้ วิทยากรที่เข้ารับการอบรมครู ก ของ สานักงาน กศน.จังหวัด มจี านวน ๑ คน ตอ้ งจัดการขยายผลการอบรม ทั้งหลักสูตรการพัฒนาทักษะและความ เข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและหลักสูตรพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ในระยะเวลา ๒ วัน โดยเฉพาะหลักสูตร พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ซ่ึงเป็นหลักสูตรที่จะต้องฝึกปฏิบัติ วิทยากรจะต้องมีความรู้เรื่องคอมพิวเตอร์ ทาให้ วิทยากรเกิดความเหนอื่ ยลา้ และดแู ลผู้เข้ารับการอบรมในการฝึกปฏบิ ตั ิไดไ้ ม่เตม็ ท่ี 5. โทรศพั ท์สมาร์ทโฟนซึ่งเป็นอุปกรณ์สาคัญท่ีใช้ในการอบรมของผู้เข้ารับการอบรมบางราย ไม่สามารถรองรับการดาวน์โหลดแอปพลิเคชั่นท่ีใช้ในการอบรมได้ เนื่องจากหน่วยความจาของเคร่ืองน้อย ทาใหก้ ารอบรมไมร่ าบรน่ื เทา่ ท่คี วร 6. ความรู้พื้นฐานของผู้เข้ารับการอบรมแตกต่างกัน ส่วนใหญ่มีความสนใจหลักสูตรที่อบรม แต่ยังขาดความรพู้ ้ืนฐานดา้ นการประกอบการ 7. เน้ือหาหลักสูตรการพัฒนาทักษะและความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล มีเน้ือหา ค่อนข้างมากและบางเนื้อหามีความเป็นวิชาการมาก และระยะเวลาในการอบรมค่อนข้างน้อย ทาให้กลุ่มเป้าหมาย ไมเ่ ข้าใจเนอ้ื หา เช่น เนอื้ หาการเขา้ ถึงสื่อดิจิทลั และกฎหมายดิจิทัล เปน็ ตน้ 8. การกระจายสญั ญาณอินเทอรเ์ นต็ ในสถานทท่ี ี่ใชใ้ นการอบรมบางแหง่ ยังมีปัญหาด้านความเสถียร ทาใหก้ ารดาวนโ์ หลดแอปพลิเคชนั่ ทใี่ ชใ้ นการอบรมทาได้คอ่ นขา้ งช้า 9. การจัดอบรมเครือข่ายดิจิทัลชุมชนระดับตาบลไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติงาน เน่ืองจาก ครู กศน.ตาบล ตอ้ งรบั ผิดชอบงานตามนโยบายหลายดา้ น ขอ้ เสนอแนะเพ่อื การพัฒนา ข้อเสนอแนะตอ่ สถานศกึ ษา 1. ควรใหค้ รไู ดฝ้ กึ ประสบการณใ์ นการขายสนิ คา้ ออนไลน์ 2. ควรให้ครูทบทวนและศึกษาหาความรู้เก่ียวกับการพัฒนาทักษะและความเข้าใจและ ใช้เทคโนโลยดี จิ ิทลั และพาณชิ ย์อเิ ล็กทรอนิกสเ์ พิ่มเติม ก่อนนาไปขยายผลสู่ประชาชน 3. ควรแนะนาวิทยากรครู ข และ ค ให้ปรับปรุงหลักสูตรและเน้ือหาก่อนท่ีจะนาไปใช้ในการ อบรมให้กับผู้เข้ารับการอบรม โดยเฉพาะหลักสูตรการพัฒนาทักษะและความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ควรเป็นเนือ้ หาทส่ี ั้น กระชบั และปรับเน้อื หาเชิงวิชาการบางสว่ นให้เข้าใจง่าย เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความ เขา้ ใจมากขนึ้ 4. ควรให้ครู ค (ครู กศน.ตาบล) วางแผนเตรียมความพร้อมในการจัดอบรมขยายผลให้กับ ผู้เข้ารับการอบรมในระดับตาบล โดยเฉพาะควรตรวจสอบระบบอินเทอร์เน็ตที่ใช้ในสถานท่ีอบรมให้สามารถ ใชง้ านได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ 5. ควรสารวจและคดั กรองกลุ่มเป้าหมายทีม่ ีความต้องการเรยี นรู้ท่ีแทจ้ ริง 6. ควรสนบั สนนุ ให้ กศน.ตาบล มสี ัญญาณอินเทอรเ์ นต็ ให้บรกิ ารตลอดเวลา 7. ผู้เข้ารับการอบรมของสถานศึกษาควรมีความรู้พื้นฐานด้านการประกอบการร้านค้า เช่น ระบบบัญชี การคานวณต้นทุนการผลิต การตั้งราคา การบริหารจัดการระบบคลังสินค้าและการใช้งาน สมาร์ทโฟนเบอ้ื งต้น กอ่ นเขา้ รบั การอบรมเพือ่ ให้สามารถเขา้ ใจในเน้ือหาที่อบรมได้

40 ข้อเสนอแนะตอ่ สานกั งาน กศน.จังหวดั 1. ควรจัดอบรมให้ความรู้เพิ่มเติมอย่างต่อเน่ืองกับครู กศน.ตาบล และควรมีการติดตามผล การจดั อบรม เพื่อทราบปัญหาและอปุ สรรค พรอ้ มท้ังแก้ไขปัญหาในเบ้ืองต้นหากสามารถดาเนินการแก้ไขหรือ ใหค้ าแนะนาได้ 2. การอบรมวิทยากร ครู ก (วิทยากรระดับจังหวัด) มีเน้ือหาค่อนข้างมาก ควรปรับให้ เหมาะสมกบั ระยะเวลา และระดับความยากง่ายและเหมาะสมต่อการนาไปใช้อบรมในแตล่ ะพืน้ ท่ี ขอ้ เสนอแนะต่อสานักงาน กศน. 1. การอบรมวิทยากรแกนนาครู ก ควรกาหนดให้จัดอบรมอย่างน้อยจังหวัดละ ๒ คน ขึ้นไป เพอ่ื ใหม้ วี ทิ ยากรแกนนาเพิ่มมากขน้ึ และเพียงพอตอ่ การขยายผลและสามารถทดแทนกนั ได้ในกรณีท่จี าเป็น 2. ควรสนับสนุนความพร้อมด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่าย อินเทอร์เน็ตที่มีความเร็วสูง สถานท่ีสาหรับจัดการเรียนรู้ท่ีเป็นเอกเทศ มีระบบซ่อมบารุงและแนะนาดูแล อปุ กรณเ์ ครอื ขา่ ย Best Practice 1. กศน.อาเภอท่าฉาง จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีเพจจาหน่ายสินค้ากะปิของชุมชนท่าฉาง ซึ่งมี การส่ังซื้อสินค้าออนไลน์อย่างสม่าเสมอ โดยได้เชื่อมโยงกับโครงการเน็ตประชารัฐ ทาให้เกิดการสร้างรายได้ และเกดิ การรวมกลุ่มของประชาชนในการผลิตสินคา้ ใหท้ นั ต่อความต้องการของลกู คา้ 2. กศน.อาเภอเขวาสิขรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ เป็นสถานศึกษานาร่องในการดาเนินงานศูนย์ ดิจิทัลชุมชน ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ ที่สร้างองค์ความรู้ให้กับประชาชนอย่างต่อเนื่องจนได้รับการ ยอมรบั จากกระทรวงดิจิทลั ประกาศยกย่องในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ ดังนี้ ๑) ศูนย์ดิจทิ ลั ชุมชนดเี ดน่ ๒) วิทยากรศนู ย์ดจิ ทิ ลั ชุมชนดเี ด่น ๓) รปู ประกอบการออนไลนด์ ีเดน่ 3. นางสาวกานต์สินี ยอดจันทร์ ครู กศน.ตาบลวังทับไทร อาเภอสากเหล็ก จังหวัดพิจิตร วิทยากร ครู ก (วิทยากรระดับจังหวัด) ได้นาความรู้ไปขยายผลแก่ประชาชนตาบลวังทับไทร จนประสบผลสาเร็จ ช่ือผลิตภัณฑ์ “ฐิติมา มะม่วงแช่อ่ิม” และได้รับเกียรติบัตรเป็นวิทยากรพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ท่ีมีผล การดาเนนิ งานดา้ นการถ่ายทอดองค์ความรยู้ อดเยี่ยม ณ จงั หวัดนนทบุรี

41 4. ศูนยเ์ รียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจาตาบล โครงการศูนย์เรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจาตาบล เป็นการน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของรั ชกาลท่ี 9 คือ 3 ห่วง 2 เง่ือนไข ได้แก่ ความพอประมาณ มีเหตุผล และมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี สาหรับ 2 เง่ือนไข ได้แก่ เง่ือนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวัง ส่วนเงื่อนไขคุณธรรม ประกอบด้วย ความซื่อสัตย์สุจริต มีสติปัญญา ขยันอดทน แบ่งปัน นาสู่ชีวิตเศรษฐกิจสังคม สิ่งแวดล้อมที่มีความสมดุล มั่นคงและย่ังยืน อย่างถาวร โดยเชื่อมโยงกับแนวคิดการสร้างป่า สร้างรายได้ เป็นการปลูกพืช 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง (ได้แก่ ไม้ผล ไม้สร้างบ้านและไม้ฟืนนั้น สามารถให้ประโยชน์ 4 อย่าง คือ นอกจากใช้ประโยชน์ตามช่ือแล้ว ยังสามารถใหป้ ระโยชน์อย่างท่ี 4 คือ สามารถช่วยอนรุ กั ษด์ นิ และตน้ น้าลาธาร) ท่สี อดคลอ้ งกับบริบทของพ้ืนท่ี และความต้องการของกล่มุ เป้าหมาย รวมท้ังใช้แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาที่อยู่ในชุมชนให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในการจดั กจิ กรรม สภาพทพ่ี บ จากการนิเทศ พบว่า สถานศึกษาทุกจังหวัดในแต่ละภาคมีการจัดทาแผนงาน โครงการ หลักสูตร การประเมินความพึงพอใจ และอนุมัติการจบหลักสูตรทุกหลักสูตร แต่ กศน.ตาบลบางแห่ง ยังขาดการสรุปผลโครงการ สาหรับขอบข่ายเนื้อหาการจัดกิจกรรมส่วนใหญ่ มีเน้ือหาท่ีจัดทาสอดคล้อง กับความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ชุมชน และเป็นไปตามความต้องการของตลาดแรงงาน แต่ยังมีบางส่วน จัดไม่สอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย จึงส่งผลให้กลุ่มเป้าหมายไม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรม ตลอดหลักสูตร ซึ่งหากกิจกรรมมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ จะสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพและ การดาเนินชีวิตได้อย่างยั่งยืน สาหรับแผนจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ครู กศน.ตาบลเป็นผู้ดาเนินการเกือบทั้งหมด ในส่วนของการทางานร่วมกับภาคีเครือข่ายมี กศน.ตาบล บางแห่งร่วมมือกับกองอานวยการรักษาความม่ันคงภายในราชอาณาจักร (กอ.รมน.) และเกษตรอาเภอ เปน็ ต้น ครู กศน.ตาบลบางแหง่ มกี ารจดั ทาเวทีประชาคมเพอื่ สารวจความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย และประสานงานให้เกิดกิจกรรม หรือสอดแทรกในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน สาหรับวิทยากรส่วนใหญ่ เป็นภูมิปัญญาในท้องถิ่นหรือพ้ืนท่ีใกล้เคียงและกลุ่มเป้าหมาย ส่วนใหญ่เป็นเกษตรกร มีพื้นความรู้เรื่องด้านอาชีพเดิมของตนอยู่แล้ว หากแต่ต้องการเพ่ิมความรู้ท่ีจะนาไป พฒั นาต่อยอดอาชีพเดมิ ให้เกดิ ความมัน่ คง และลดรายจ่ายของครอบครัว ในบางหลักสูตรจึงได้บรรจุเน้ือหาช่องทาง การจาหน่ายสินคา้ ทั้งในและนอกสถานที่เน้นการลงมอื ปฏบิ ตั ิในพน้ื ท่จี รงิ สถานทขี่ อง กศน.ตาบลสว่ นใหญ่ ใชเ้ ป็นแหลง่ รวบรวมข้อมลู ภูมปิ ญั ญาและความรู้ท่ีเกี่ยวข้อง กับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจาตาบล มีบางแห่งเท่าน้ันท่ีจัดกิจกรรม ณ กศน.ตาบล กิจกรรมส่วนใหญ่ใช้สถานท่ีและแหล่งเรียนรู้ในชุมชนเป็นหลัก ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และบางภาคมีการประยุกต์ใช้ดิจิทัลและไอซีที ในการพัฒนาด้านอาชีพและเกษตรกรรม ผลการดาเนินงาน ของสถานศึกษา ส่วนใหญ่ยังไม่สะท้อนผลการดาเนินงานท่ีมุ่งผลสัมฤทธิ์ เน่ืองจากขาดการประเมินผลและ การติดตามผลอย่างเป็นระบบ โดยเฉพาะการติดตามการนาความรู้ไปใช้ที่ระบุในวัตถุประสงค์ของโครงการ ดังนั้น การดาเนินการจัดกิจกรรมจึงควรคานึงถึงผลผลิต (Output) และผลลัพธ์ (Outcome) ท่ีสัมพันธ์กัน นอกจากน้ัน ครู กศน.ตาบลบางแห่ง เช่น กศน.อาเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา ที่สามารถปลูกผักขายโดยใช้ พ้ืนท่ีบริเวณรั้วบ้าน ซึ่งเป็นตัวอย่างของการนาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้กับชุมชนเมืองได้ ซึ่งสร้างรายได้เสริม ให้แก่ครูได้เป็นอย่างดี สาหรับกิจกรรมที่ดาเนินการยกตัวอย่างตามรายภาค มีดังนี้ คือ ภาคเหนือ ได้แก่

42 การทาปุ๋ยหมักชีวภาพ การเลี้ยงกบ การปลูกผักด้วยเกษตรอินทรีย์ และการปลูกพืชสมุนไพรในครัวเรือน เปน็ ตน้ ภาคใต้ ได้แก่ การปลูกผัก และการทาปุ๋ยชีวภาพ เป็นต้น ภาคกลาง ได้แก่ การทาปุ๋ยชีวภาพ การทา ปุ๋ยฮอรโ์ มนไข่ การปลูกผกั ปลอดสารพษิ การทาไขเ่ ค็ม การปลกู ผักไฮโดรโปนิกส์ การทาปุ๋ยหมักจุลินทรีย์ และ การทาปุ๋ยจากมูลไส้เดือน เป็นต้น ภาคตะวันออก ได้แก่ การทาบัญชีครัวเรือน การทาปุ๋ยหมัก การทาปุ๋ย น้าชีวภาพ การปลูกผักเกษตรอินทรีย์ การปลูกพืชสมุนไพร การปลูกผักสวนครัว การปลูกพืชผักรั้วกินได้ การเล้ยี งเปด็ ไข่ การเพาะเห็ด หลักการนิเวศน์เกษตร เกษตรทฤษฎีใหม่ ศาสตร์พระราชา และการดาเนินชีวิต ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นต้น และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ การปลูกผักปลอด สารพิษโดยการใช้ปุ๋ยชีวภาพ เป็นต้น สรุปทุกภาคมีการจัดกิจกรรมคล้ายกันในส่วนของการปลูกผัก และ การทาปุ๋ยชวี ภาพ ปจั จัยที่สง่ ผลต่อความสาเรจ็ 1. เป็นโครงการที่ดาเนินการต่อเน่ืองมีความสอดคล้องกับวิถีชีวิตและความต้องการของ ประชาชนในพื้นท่ี 2. สามารถบรู ณาการเข้ากบั โครงการอ่ืน ๆ ท่ีมีเป้าหมายในการพัฒนาแนวทางการดารงชีวิต และยกระดับคณุ ภาพชวี ติ และสร้างอาชพี เพิ่มรายได้ ลดรายจา่ ยให้แก่ประชาชนได้ ปญั หาอุปสรรค 1. สถานศึกษาขาดวัสดุ อุปกรณ์ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ เนื่องจากโครงการไม่มีการ จัดสรรงบประมาณให้โดยตรง มีแตเ่ พยี งการบูรณาการงบประมาณจากโครงการอน่ื 2. กศน.ตาบลขาดการประเมินหลักสูตรเพื่อการพัฒนา เนื่องจากบุคลากรไม่มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องดงั กลา่ ว 3. กศน.ตาบลมีการประชาสัมพันธ์กิจกรรมไม่ต่อเน่ือง จึงทาให้ประชาชนบางส่วนไม่ทราบ ข้อมลู ทาใหพ้ ลาดโอกาสในการเขา้ รับบรกิ าร 4. ครูและผู้นาชุมชนส่วนใหญ่ขาดความรู้และแนวทางในการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ไปใชอ้ ย่างชดั เจน 5. วิทยากรมีความรู้ในเน้ือหาของวิชาน้ัน ๆ แต่ส่วนใหญ่ยังขาดการจัดทาแผนการเรียนรู้ ทกั ษะการถ่ายทอดความรู้ และการวัดและประเมินผลพืน้ ฐานที่เหมาะสม ข้อเสนอแนะเพือ่ การพฒั นา ขอ้ เสนอแนะต่อสถานศึกษา 1. กศน.ตาบลควรประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้ทราบข้อมูลแหล่งเรียนรู้หลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงในชุมชน 2. กศน.ตาบลควรคดั กรองผู้ทม่ี ีความสนใจและต้องการพฒั นาตวั เองจริง ๆ เขา้ ร่วมกจิ กรรม 3. สถานศึกษาควรจัดให้มีการศึกษาดูงานทั้งในและนอกพื้นท่ี เพ่ือให้เกิดการแลกเปลี่ยน เรยี นรรู้ ว่ มกนั และสรา้ งแรงจงู ใจ 4. ผู้นเิ ทศภายในสถานศึกษาควรนเิ ทศ ติดตามการดาเนินงานอย่างตอ่ เนื่อง 5. ครู กศน.ตาบลทุกคนควรใช้กระบวนการเศรษฐกิจพอเพียงสอดแทรกในการจัดกิจกรรม การเรยี นรทู้ ุกกิจกรรมของ กศน. ข้อเสนอแนะต่อสานกั งาน กศน.จงั หวดั 1. ควรมกี ารส่งเสรมิ พัฒนาการประเมินหลกั สตู ร 2. ควรนเิ ทศ ตดิ ตามผลการดาเนนิ งานอยา่ งสมา่ เสมอ

43 ขอ้ เสนอแนะต่อสานกั งาน กศน. ควรจัดทาคู่มือการดาเนินงานศูนย์เรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อสนับสนุน ความสามารถในการออกแบบการเรยี นรู้ และการประเมินหลักสตู รของ ครู กศน.ตาบล Best Practice 1. สถานศกึ ษาที่มผี ลการปฏิบตั งิ านเปน็ เลิศ จนได้รับรางวลั สูงสุดระดับชาติ ด้านสถานศึกษา พอเพยี งทีม่ ผี ลการปฏิบตั ิงานทด่ี ีเลศิ จากมูลนธิ ิยวุ สถิรคณุ ดังนี้ คอื 1.1 กศน.อาเภอเขาฉกรรจ์ สานักงาน กศน.จังหวัดสระแก้ว 1.2 กศน.อาเภอกันตัง สานกั งาน กศน.จงั หวัดตรัง 2. สานักงาน กศน.จังหวัดพัทลุง ได้จัดทากรอบแนวทางการขับเคลื่อนการดาเนินงานของ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง โดยมีหลักสูตรดังนี้ คือ 1.หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 2. หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ 3. ปรัชญาคิดเป็น 4. คุณธรรม ในการประกอบอาชีพ 5. แผนชีวิตกับเศรษฐกิจพอเพียง 6. ฐานการเรียนรู้ การผลิตพืช การประมง การอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม การใช้พลังทดแทน (ตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์) และ 7. การจัดทาบัญชี การวเิ คราะหบ์ ญั ชคี รัวเรอื น 5. โครงการศนู ย์ฝึกอาชีพชมุ ชน ตามท่ี สานักงาน กศน.กาหนดนโยบายจัดต้ังศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนเพ่ือส่งเสริมการจัด การศึกษาด้านอาชีพแก่ประชาชน เพื่อให้ประชาชนนาความรู้ไปพัฒนาอาชีพ ทาได้ ขายเป็น ลดรายจ่าย สร้างรายได้ที่มั่นคง ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีเพ่ือเพ่ิมมูลค่าสินค้าและเพิ่มช่องทางการจาหน่ายผลิตภัณฑ์ สกู่ ารเป็น “วิสาหกจิ ชมุ ชน : ชุมชนพ่งึ ตนเอง ทาได้ ขายเป็น” สภาพที่พบ จากการนิเทศ พบว่า สถานศึกษาดาเนินงานโครงการศนู ย์ฝกึ อาชีพชมุ ชน ในลักษณะชั้นเรียน วิชาชีพ (หลักสูตรระยะส้ัน) และกลุ่มสนใจ โดยหลักสูตรที่จัด มีความหลากหลายครอบคลุม ท้ัง ๕ สาขาวิชา คือเกษตรกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสร้างสรรค์ อุตสาหกรรม และภาษาต่างประเทศ ส่วนกลุ่มอาชีพเฉพาะทาง มีการดาเนินการค่อนข้างน้อย ทงั้ น้ี พจิ ารณาจากการนเิ ทศในเร่อื งต่าง ๆ ได้ดังน้ี 1. หลักสตู ร สว่ นใหญ่พัฒนาจากหลกั สูตรของสานกั งาน กศน. บางแห่งมีการปรับปรุงเน้ือหา และระยะเวลาให้เหมาะสมสอดคล้องกับความต้องการและความพร้อมของกลุ่มเป้าหมาย สถานศึกษาหลายแห่ง ได้พัฒนาหลักสูตรขึ้นเองให้สอดคล้องกับสภาพ บริบท และแนวโน้มการพัฒนาในพื้นที่ เช่น สถานศึกษา ในภาคตะวันออก ได้พัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก (EEC) สถานศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ เช่น อาเภอหนองจิก เบตง และสุไหงโก-ลก จัดทาหลักสูตรที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ “สามเหล่ียมม่ันคง ม่ังค่ัง ย่ังยืน” เน้ือหา หลักสูตรส่วนใหญ่เน้นความต้องการของผู้เรียนและชุมชน แต่ยังไม่สอดคล้องกับความต้องการของตลาด เท่าท่ีควร เน่ืองจากข้อจากัดหลายประการ อาทิ บางหลักสูตรประชาชนสนใจและตลาดต้องการ แต่ไม่สามารถ จัดหาวิทยากรในพ้ืนที่ได้ บางหลักสูตรขาดวัสดุครุภัณฑ์ที่จาเป็น หรือวัสดุมีราคาแพง งบประมาณท่ีได้รับจัดสรร ไมเ่ พียงพอ จึงไม่สามารถจัดการเรียนการสอนได้

44 2. วิทยากร ส่วนใหญ่เป็นผู้รู้ ภูมิปัญญา ปราชญ์ชาวบ้านในท้องถิ่น มีความรู้ความชานาญ ตรงตามหลกั สตู ร โดยเป็นผู้ที่ประกอบอาชีพหรอื เปน็ เจา้ ของแหลง่ เรียนรู้ในชุมชน ทั้งน้ี พบว่าสถานศึกษาส่วน ใหญ่ขาดการพัฒนาวิทยากรเก่ียวกับการจัดทาแผนการเรียนรู้ เทคนิคการถ่ายทอดความรู้ และการวัดผล ประเมินผล 3. การจัดการเรียนการสอน การจัดการเรียนการสอนเน้นการฝึกปฏิบัติจริง บางหลักสูตร มีการจัดการเรียนรู้ในแหล่งเรียนรู้และให้ผู้เรียนได้ศึกษาดูงานในสถานที่จริง สาหรับหลักสูตรช่างพื้นฐาน ส่วนใหญ่ใช้พ้ืนที่ กศน.ตาบล เป็นสถานที่เรียนและฝึกปฏิบัติ ส่งผลให้ กศน.ตาบลมีการปรับปรุงพัฒนาขึ้น นอกจากน้ี หลักสูตรส่วนใหญ่ยังไม่มีการประยุกต์ใช้สะเต็มศึกษาในการจัดกระบวนการเรียนรู้ เน่ืองจาก วิทยากรขาดความรู้และทักษะ ในการประยุกต์ใช้สะเต็มศึกษา สถานศึกษาบางแห่งสามารถนาความรู้ ด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์ให้มีขนาดและรูปแบบเหมาะสม กับการใช้งานมากข้ึน และมีการปรับปรงุ สูตรอาหารโดยเลือกใช้วัตถุดบิ ทมี่ ีหลากหลายในทอ้ งถ่นิ 4. การประเมินผล ส่วนใหญ่เน้นการประเมินจากผลงาน ชิ้นงาน และการประเมินความพึงพอใจ ของผเู้ รียน ซึ่งยงั ไมค่ รอบคลุมตามวัตถปุ ระสงคข์ องหลักสตู ร 5. การอนุมัติการจบหลักสูตรและการรายงานผล สถานศึกษาส่วนใหญ่ได้อนุมัติการจบ หลักสูตรและจัดทารายงานการจบหลักสูตร สาหรับหลักสูตรระยะส้ัน ที่มีจานวนช่ัวโมงมากกว่า 30 ชั่วโมงข้ึนไป ซง่ึ สว่ นใหญม่ ีการจัดทารายงานผลการจบหลักสูตร นอกจากน้ี พบว่า สานักงาน กศน.จังหวัดและสถานศึกษา ในเขตภาคใต้หลายแห่ง กาหนดเปน็ เงอื่ นไขให้สถานศึกษาต้องจัดทารายงานผู้จบหลักสูตรพร้อมแนบหลักฐาน การประเมินผลและจดั ทาหลักฐานเอกสารใหค้ รบถว้ นเพื่อแก้ไขปญั หาในการเบิกค่าตอบแทนวทิ ยากร อนึ่ง สถานศึกษาดาเนินการติดตามผลการจบหลักสูตร แต่ยังดาเนินการไม่เป็นระบบและ ไม่ต่อเน่ืองเท่าท่ีควร โดยส่วนใหญ่ใช้แบบติดตามผลท่ีสานักงาน กศน.กาหนด และใช้การสอบถาม พูดคุย กับผู้เรยี น/ประชาชนในชุมชน อีกท้ัง ยังพบว่า สถานศึกษาบางแห่งไม่ได้ใช้เคร่ืองมือในการติดตามผล ทาให้ข้อมูล ที่ได้มีรายละเอียดไม่เพียงพอที่จะนาไปใช้ปรับปรุงพัฒนา เช่น มีข้อมูลเบ้ืองต้นของผู้จบหลักสูตรว่า ทาอะไร ท่ีไหน แต่ไม่มีข้อมูลปัญหา อุปสรรค และกระบวนการแก้ปัญหา การบริหารจัดการของผู้ที่ประสบความสาเร็จ เพื่อนาไปใช้เป็นบทเรียนแก่ผู้อื่น เป็นต้น นอกจากนี้ พบว่า ส่วนใหญ่มีการจัดทาทาเนียบผู้จบหลักสูตร ที่ประสบความสาเร็จรวบรวมไว้ที่ กศน.ตาบลและบางแห่งมกี ารเผยแพรท่ างเว็บไซต์ 6. การนาความรู้ไปใช้ พบว่า ผู้เรียนส่วนใหญ่ นาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน ลดรายจ่าย และประกอบอาชีพเสริมเพิ่มรายได้ มีเพียงส่วนน้อยท่ีนาไปสร้างอาชีพใหม่หรือพัฒนาต่อยอดอาชีพ และ สว่ นใหญ่ยงั ไม่สามารถพัฒนาตอ่ ยอดส่วู สิ าหกจิ ชมุ ชน ปจั จยั ที่สง่ ผลตอ่ ความสาเร็จ 1. ผู้จบหลักสูตรบารายสามารถนาความรู้ไปพัฒนาต่อยอดอาชีพ ได้แก่ การจัดทากระเป๋า สาหรับงานราตรีจากเศษผ้าปาเต๊ะ ของจังหวัดภูเก็ต โดยเพ่ิมมูลค่าด้วยการปักและเพ้นท์ ทาเป็นผลิตภัณฑ์ ท่ีหลากหลาย เช่น การจกั สานกา้ นจากจังหวดั ตรงั โคมไฟ กระเปา๋ หมวก ของตกแตง่ บ้าน เป็นตน้ 2. ผจู้ บหลกั สตู รได้พฒั นาโดยมีการขายผา่ นระบบออนไลนไ์ ปยังประเทศญ่ปี ุ่นอยา่ งต่อเน่อื ง 3. การพัฒนาสนิ คา้ เพอื่ สุขภาพและความงาม เชน่ สบู่ ชา ผลิตภณั ฑจ์ ากนา้ ผึง้ เป็นต้น 4. การมีตลาดรองรับ เช่น ผลิตภัณฑ์เพ้นท์ผ้าปาเต๊ะของจังหวัดพังงา ซ่ึงส่งขายให้โรงแรม ในพืน้ ทอี่ ย่างสม่าเสมอและขายผ่านระบบออนไลน์ หรอื วางขายในร้านสะดวกซ้ือ 7 - Eleven

45 5. การออกแบบการเรียนการสอนให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงข้อมูลความรู้ได้สะดวกย่ิงข้ึน เช่น ในภาคตะวันออก มีการนากระบวนการ PLC ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้โดยจัดทาเน้ือหาย่อ (content Brief) และจดั ทา QR code 6. มีการพัฒนาคุณภาพสินค้าอยู่ตลอดเวลา ให้มีคุณภาพและมาตรฐาน ฝีมือการตัดเย็บ ประณตี รปู แบบสวยงาม มีความหลากหลาย ทนั สมยั เป็นทนี่ ิยมของลกู ค้าอยา่ งสมา่ เสมอ 7. ราคาเหมาะสม ยุตธิ รรม 8. มีการพัฒนาการให้บริการในการขายอย่างสม่าเสมอ เพื่อให้ทันต่อการเปล่ียนแปลง พฤติกรรมของผู้บรโิ ภคไดต้ ลอดเวลา 9. การเพม่ิ ผลผลติ การลดตน้ ทนุ เพ่ือเพิ่มความสามารถในการแข่งขันได้ ปัญหาอปุ สรรค 1. หลักสูตรส่วนใหญ่ ไม่ทันสมัย ไม่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดและแนวโน้ม การพัฒนา 2. วัสดุ อุปกรณ์ ไม่เพียงพอสาหรับบางหลักสูตร เน่ืองจากมีราคาแพงและงบประมาณ ค่าวัสดุต่อหลักสูตรค่อนข้างจากัด โดยเฉพาะหลักสูตรช่างพื้นฐานและหลักสูตรที่ต้องใช้วัสดุราคาแพง เช่น หลกั สตู รการเพน้ ท์ผ้า การปักผา้ ปาเต๊ะ เปน็ ตน้ 3. ระยะเวลาเรียนบางหลักสูตรไม่เหมาะสม ไม่สามารถทาให้ผู้เรียนเกิดทักษะจนนาไปใช้ ประกอบอาชีพได้ เนอ่ื งจากงบประมาณค่อนขา้ งจากัด 4. งบประมาณการจัดวิชาชีพค่อนข้างน้อย สถานศึกษาจึงจัดหลักสูตรวิชาชีพให้กระจาย ท่ัวพ้ืนท่ี รวมทั้งระบบการจัดสรรงบประมาณและระบบการประเมินครู ท่ียึดตาบลเป็นหลัก ทาให้ครู กศน.ตาบล ทุกคนตอ้ งการนางบประมาณไปจัดในพ้ืนท่ีของตน จึงขาดการจัดกิจกรรมแบบพัฒนาต่อยอดในกลุ่มที่มีความพร้อม หรือมโี อกาสพฒั นาใหป้ ระสบความสาเรจ็ ได้ 5. ผลงานของศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนส่วนใหญ่ ไม่น่าสนใจ รูปแบบไม่หลากหลาย ไม่ทันสมัย เท่าทค่ี วร เนอ่ื งจากขาดแคลนวิทยากรที่มคี วามรู้ ความชานาญเกี่ยวกับการออกแบบผลิตภณั ฑใ์ นพื้นท่ี 6. ครู กศน.ตาบลขาดการคัดกรองผู้เรียนท่ีมีความต้องการและความพร้อมในการเรียน อย่างแทจ้ ริง สง่ ผลใหไ้ มบ่ รรลุตามเป้าหมายการดาเนนิ งานของศูนย์ฝึกอาชพี ชมุ ชน 7. ครู กศน.ตาบลส่วนใหญ่ขาดการติดตามผู้จบหลักสูตรอย่างเป็นระบบและไม่มีฐานข้อมูล ที่ครบถว้ น ทาให้ขาดขอ้ มลู ท่ีจาเปน็ ไม่เพียงพอต่อการนาไปแกป้ ญั หาหรือวางแผนการพัฒนาอย่างเหมาะสม 8. สถานศึกษาขาดการบรหิ ารจัดการและบรู ณาการงบประมาณให้เกดิ ประสทิ ธภิ าพ 9. สถานศกึ ษาขาดการพัฒนาวทิ ยากรอยา่ งต่อเน่ือง 10. สถานศึกษาขาดการนิเทศติดตามอย่างต่อเน่ือง สม่าเสมอ ไม่สามารถนิเทศได้ตามแผน และครอบคลุมไดท้ กุ กจิ กรรม 11. ระเบียบการเบิกจ่ายไม่เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจปัจจุบัน และมีข้อจากัดค่อนข้างมาก ไม่เหมาะสมกับพื้นที่ เช่น การจัดซื้อวัสดุท่ีต้องจัดซ้ือในพื้นท่ี มีราคาแพงกว่าซื้อนอกพื้นที่ ทาให้ได้วัสดุจานวน น้อยไม่เพียงพอ หรือไม่ไดค้ ณุ ภาพตามทต่ี ้องการ

46 ข้อเสนอแนะเพอื่ การพัฒนา ข้อเสนอแนะต่อสถานศกึ ษา 1. ควรมีการคัดกรองกลุ่มเป้าหมายท่ีต้องการและมีความพร้อมในการเรียนรู้อย่างแท้จริง เพอ่ื ให้เข้ารว่ มกิจกรรมและบรรลุผลตามหลกั สูตร 2. ควรปรับเน้ือหา ระยะเวลาเรียน รวมทั้งพัฒนาหลักสูตรให้มีความทันสมัย สอดคล้องกับ ความตอ้ งการ ความพร้อมของกล่มุ เป้าหมาย และความต้องการของตลาด 3. ควรมกี ารอบรม พฒั นาวทิ ยากร โดยเฉพาะด้านเทคนิคการถ่ายทอดความรู้ การออกแบบ ผลิตภัณฑ์ การวดั ผล ประเมนิ ผล รวมทั้งการจัดทาหลักฐาน เอกสารที่เกีย่ วข้อง 4. ควรบูรณาการการจัดกิจกรรมร่วมกับภาคีเครือข่าย เพื่อแก้ปัญหางบประมาณและวัสดุ อุปกรณ์ 5. ควรสง่ เสรมิ หรอื จัดหลกั สูตรในลกั ษณะต่อยอดแก่กลุ่มเปา้ หมายที่มีพนื้ ฐานและมีศักยภาพ เพื่อใหก้ ารดาเนนิ งานบรรลตุ ามเปา้ หมาย ทาได้ ขายเปน็ พึง่ พาตนเองได้อยา่ งย่ังยืน พฒั นาสู่วสิ าหกิจชุมชน 6. ควรนเิ ทศ ตดิ ตามผลอยา่ งสมา่ เสมอและครอบคลุมทกุ กิจกรรม 7. ควรกาชับให้ครูติดตามผู้จบหลักสูตร โดยใช้เครื่องมือที่มีข้อมูลรายละเอียดเพียงพอ และ สรปุ รายงานผลให้ผู้บริหารทราบอย่างเป็นระบบ 8. ควรเน้นย้าให้มีการบูรณาการเร่ือง สะเต็มศึกษา เพ่ือให้กลุ่มเป้าหมายสามารถนาไป ประยกุ ต์ใช้ในการพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ใหม้ ีคุณภาพยงิ่ ขึ้น 9. ควรจัดทาฐานข้อมูล เช่น ผู้จบหลักสูตร ผู้ที่ประสบความสาเร็จ ปัจจัยที่ส่งผลต่อ ความสาเร็จ เป็นตน้ เพื่อเผยแพร่ใหป้ ระชาชนที่สนใจสามารถสืบค้นและนาไปปรบั ใช้ต่อไป ข้อเสนอแนะตอ่ สานักงาน กศน.จังหวัด 1. ควรจัดอบรมพัฒนาครูและวิทยากรเกี่ยวกับเทคนิคการถ่ายทอดความรู้ การวัดผล ประเมินผล การใชส้ ือ่ ประกอบการเรยี นการสอน ฯลฯ 2. ควรอบรมให้ความรู้แก่บุคลากรของสถานศึกษาเก่ียวกับการจัดทาเครื่องมือวัดผล ประเมนิ ผล การติดตามผล และการประเมนิ หลกั สตู ร 3. ควรจัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ ส่งเสริม เผยแพร่ผลงาน ประกวดผลงานและผลิตภัณฑ์ ของศนู ย์ฝึกอาชีพชมุ ชนให้เปน็ ทร่ี ู้จักของประชาชนทวั่ ไป 4. ควรประสาน จัดหา วทิ ยากรทม่ี ีความรู้ ความชานาญเกย่ี วกบั การออกแบบผลติ ภัณฑ์ เพื่อ ช่วยสนับสนุนแก่สถานศึกษา นาไปแนะนาต่อยอดแก่กลุ่มเป้าหมายท่ีมีศักยภาพให้พัฒนาสู่วิสาหกิจ “ทาได้ ขายเปน็ พง่ึ ตนเองได”้ ข้อเสนอแนะต่อสานักงาน กศน. 1. ควรสนบั สนุนงบประมาณเพม่ิ เติมให้เพียงพอต่อการจัดซ้ือ จดั หาวสั ดุ อุปกรณ์ในการเรียน หลักสูตรวิชาชีพมากยิ่งข้ึน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะและความชานาญ สามารถนาไปใช้ในการสร้างอาชีพ สร้างรายได้ พฒั นาหรอื ต่อยอดอาชพี ได้อยา่ งแท้จรงิ 2. ควรปรับหลักเกณฑ์การเบิกจ่ายงบประมาณให้เหมาะสมกับสภาพปัจจุบัน และยืดหยุ่น ตามสภาพท้องถ่ิน 3. ควรมีการประเมินผลการดาเนินงานศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนระดับประเทศ เพ่ือนาผลไป ปรับปรุงพฒั นาการดาเนนิ งานให้มปี ระสิทธิภาพยิง่ ขน้ึ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook