Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เนื้อหา-ebook-ล่าสุด

เนื้อหา-ebook-ล่าสุด

Published by Nureesan Narongraksakhet, 2022-01-09 18:33:53

Description: เนื้อหา-ebook-ล่าสุด

Search

Read the Text Version

Nutrition Note



Contents Nutrition Care Process ............................................1 การคดั กรองภาวะโภชนาการ (Nutrition Screening)...........2 กระบวนการให้โภชนบาบดั Nutrition Care Process : NCP ...........................................................................3 เครื่องมือท่ีใชใ้ นการประเมนิ ทพุ โภชนาการ ...................5 การคานวณพลงั งานที่ควรไดร้ บั (TEE)........................6 คานวณปริมาณโปรตีนที่ควรไดร้ บั ...............................7 อตั ราส่วน CHO: Fat :Protein.....................................7 เกลือแร่ละวติ ามินที่ควรไดร้ ับแตล่ ะวนั .........................8 Nutrition life Cycle................................................. 23 โภชนาการในหญิงตงั ครรภ์ (Nutrition for Pregnancy).... 24 ข้อแนะนำสำหรับการเพม่ิ น้ำหนักในหญงิ ตั้งครรภ์............ 25

โภชนาการสำหรับหญงิ ใหน้ มบตุ ร (Nutrition for Lactation)32 โภชนาการสำหรบั วยั เด็ก (Nutrition for Infancy and children) ......................................................................... 39 การใหอ้ าหารตามวยั สำหรบั ทารก ............................... 43 โภชนาการสำหรับวยั รนุ่ (Nutrition for Aldolescent)....... 46 โภชนาการสำหรับผู้ใหญ่ (Nutrition for adult) ............... 49 Medical Nutrition Therapy ........................................ 54 Enteral and parenteral Nutrition ..................... 80 อาหารแลกเปล่ียน Food exchange list......................... 95



1 Nutrition Care Process

2 การคดั กรองภาวะโภชนาการ (Nutrition Screening) กอ่ นเข้ากระบวนการ NCP ตอ้ งScreening ก่อน หากพบวา่ มี ภาวะเสยี่ ง malnutrition ใหท้ ำการประเมินอย่างละเอียดต่อไป Malnutrio Over nutrition Under (Obesity) nutrition mind moderate severe Kwashiorkor (protein) Maramus (caloryies) Caramic Kwashiorkor

3 กระบวนการใหโ้ ภชนบาบดั Nutrition Care Process : NCP เปน็ กระบวนการทีน่ ักกำหนดอาหารใช้ในการดแู ล ผู้ปว่ ยดา้ นโภชนาการอยา่ งเปน็ ระบบ โดยเน้นการดแู ลผู้ป่วยเป็น รายบคุ คล กระบวนการนป้ี ระกอบไปด้วย 4 ขนั้ ตอนหลกั คือ Nutrition Nutrition Nutrition Nutrition Assessment Diagnosis Intervention monitoring & Evaluation 1. Nutrition Assessment A: Anthropometry D: Dietary B: Biochemical E: Exercise C: Clinical F: Function

4 2. Nutrition Diagnosis P: ปญั หา E: สาเหตุของปัญหา S: อาการและอาการแสดง 3. Nutrition Intervention มขี น้ั ตอนย่อย 2 ขน้ั Plan(P): การวางแผนใหโ้ ภชนบำบดั Goal: ต้งั เปา้ หมาย 4. Nutrition monitoring & Evaluation When ในกรณที ต่ี อ้ งใหโ้ ภชนบำบดั ควรเรม่ิ ใหเ้ รว็ ทส่ี ดุ ภำยใน 24-48 ชม.แรกหลงั จำกสญั ญำณชพี คงท่ี

5 เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการประเมินทุพโภชนาการ เครือ่ งมอื จดั เปน็ MNA-SF Screening NRS 2002 Screening MUST Screening SNAQ Screening SGA Assessment MNA Assessment PG-SGA Assessment NAF Assessment BMT/NT Screening, Assessment

6 การคานวณพลงั งานที่ควรไดร้ บั (TEE) วธิ ีที่ 1 Harris Benedict Equations TEE = BMR × Factor Men (kcal) = 66.5+(13.75×kg)+(5.) Women (kcal) =655.1+(9.563×kg)+(18.50×cm)- (4.676×yr) วธิ ีที่ 2 TEE= (11-14 kcal/kg) หรอื (30-35kcal/kg)×BW ดชั นมี วลกาย คำนวนพลังงานอยา่ งงา่ ยจากนำ้ หนกั (กก./ตร.ม) 30-35 kcal/kgน้ำหนักปจั จบุ นั ขณะไมบ่ วมน้ำ/วนั <30 ≥30 11-14 kcal/kg นำ้ หนกั ปจั จบุ นั ขณะไม่บวม/วนั หรอื 22-25 kcal/kg นำ้ หนกั อุดมคติ

7 คานวณปริมาณโปรตีนที่ควรไดร้ บั วิธีที่1 คำนวณอย่างงา่ ยจากนำ้ หนกั ดชั นมี วลกาย คำนวนเปา้ หมายโปรตนี ต่อวนั อยา่ งงา่ ยจาก (กก./ตร.ม) น้ำหนัก <30 1.2-1.5gm/kg นำ้ หนกั ปจั จบุ นั /วัน 30-39.9 2mg/kg นำ้ หนกั อุดมคติ/วนั ≥30 2-2.25 นำ้ หนักอุดมคติ/วนั น้ำหนักอุดมคติ (Ideal BW) Men (kg) =50+2.3×(height(in)-60) Women(kg)=45.5+2.3×(height(in)-60) อตั ราส่วน CHO: Fat :Protein 55 C 55 25 F 30 20 P 15

8 โดยทว่ั ไปจะใช้อตั ราส่วนดงั กลา่ ว ยกเว้นบางกรณีปรบั เปล่ียน ตามผู้ปว่ ยเช่นโรคตบั โรคไต เปน็ ตน้ เกลือแร่ละวติ ามินท่ีควรไดร้ ับแตล่ ะวนั เกลอื แรแ่ ละ Male Female Pregnancy Lactation วิตามนิ >19y >19y Vitamin A 700 600 +100 +700 Vitamin D 5 5 +0 +0 Vitamin E 15 15 +0 +4 Vitamin C 90 75 +10 +35 Vitamin K 120 90 +0 +0 Vitamin B2 1.3 1.1 0.3 0.3 Vitamin 16 14 +4 +3 B316 Vitamin B5 5 5 +1 +2 Folate,B9 400 400 +200 +100 Vitamin B6 1.3 1.3 +0.6 +0.7

9 Biotin ,B7 30 30 +0 +5 Vitamin 2.4 2.4 +0.2 +0.4 B12 เกลือแรแ่ ละ Male Female Pregnancy Lactation วิตามนิ >19y >19y Choline 550m 425mg +25mg +125mg Ca P g Mg Fe 2500 2500m +0 mg +0 mg I mg g 700m 700mg +0 mg +0 mg g 310m 250mg +30 +0 g 11.5 20mg ไมไ่ ดก้ ำหนด 13 mg 150m 150mg +50mg +50mg g

10 Zn 11.6 9.7mg +1.6 +2.9 mg Se 55 55 +5 +15 F 2.7 3.1 เกลอื แรแ่ ละ Male Female Pregnancy Lactation วติ ามิน >19y >19y Cu 1.6 1.3 1.5 1.5 Co 35 25 +5 +20 Na 500- 400- +50- +125- 1475 1200m 200mg 350mg mg g K 2525- 2050- +350- +575- 4200 3400m 575mg 975mg mg g Cl 750- 600- +100- +175- 1500 1225m 200mg 350mg mg g

11 เกลอื แร่และ deficiency Toxicity วิตามิน Sodium พบการขาดไดเ้ ม่ือมี ความดันโลหิตสงู (Na) การสญู เสยี การบรโิ ภค โรคหัวใจล้มเหลว Potassium (K) เช่นมเี หงอื โรคตบั แข็ง หรอื Chloride ออก ทอ้ งร่วงหรอื โรคไต (cl) อาเจียน โดยเพาะใน ทารก โพแทสเซียมในเลือดต่ำ ภาวะโพแทสเซียม ทำให้เบ่อื อาหาร ปวด สงู ทำให้การเต้น กลา้ มเน้ือ สบั สน และ ของหัวใจผดิ ปกติ เสีย่ งโรคหลอดเลอื ด ทำใหเ้ สยี ชีวิตได้ สมอง อ่อนแรง เบอ่ื อาหาร ออ่ นเพลยี ซมึ การสญู เสยี HCl ไป กล้ามเน้ืออ่อนแรง ทำลายสมดลุ กรด เบส สับสน ปวดศรี ษะ เลอื ดเป็นกรด

12 Phosphorus สูญเสียกระดูก การ ความดนั โลหติ ตำ่ (P) เจริญเตบิ โตลดลง การ ภาวะแคลเซียมใน พฒั นาฟนั ท่ไี ม่ดี เบ่อื เลอื ดนอ้ ย เชน่ Calcium อาหาร นำ้ หนักลด มือกระตุก (Ca) และปวดกระดกู กล้ามเน้อื รอบ Iron ดวงตากระตกุ น้ิว ตะคริว กลา้ มเนอื้ เหยยี ดเกร็ง และ Zinc (Zn) กระตกุ กระดูกพุ เกดิ อาการชกั คลอดก่อนกำหนด น่ิวทีไ่ ต ท้องผกู Anemia hypercalcemia คล่นื ไส้ อาเจยี น ไม่อยากอาหาร การ ระคายเคอื งใน เจรญิ เติบโตชา้ เปน็ กระเพาะ ท้องรว่ ง แผลที่ผิวหนงั หวั ล้าน เบื่ออาหาร การรบั รสนอ้ ย คลื่นไส้ อาเจยี น ตะครวิ ในลำไส้ ทอ้ งเสยี

13 Iodine ( I ) เจ็บป่วยงา่ ย ทารกแรก ไทรอยอักเสบ วิตามนิ เอ คลอดผดิ ปกติ มะเรง็ ไทรอยด์ วติ ามนิ ดี คอพอก เอ๋อ กนิ มากต่อ1คร้งั สง่ ผลให้แสบร้อน ตาบอดสี เยอ่ื บุตาแหง้ ช่องปาก มไี ข้ ตาวนุ้ โรคผิวหนงั ภมู ิ ปวดทอ้ ง คลอ่ื ไส้ ต้านทานต่ำ คล่นื ไส้ อาเจียน ผดผ่ืน ระคาย กระดูกบาง หรอื เคือง ปวดหัวไม กระดูกพรนุ เกรน การมองเห็น เปลย่ี นแปลง ตับ เสยี หาย ภาวะแคลเซยี มใน เลอื ดสงู คลนื่ ไส้ อาเจยี น อ่อนแรง

14 ปัสสาวะบ่อย ปวดกระดกู วติ ามนิ อี สูญเสยี ความรสู้ กึ ทาง คล่ืนไส้ ปวดทอ้ ง วติ ามนิ เค วติ ามนิ ซี กาย กล้ามเนอ้ื ออ่ นแรง ปวดหัว ตาพรา่ Choline มีปัญหาเรอ่ื งการกลอก เลือดหยุดไหลชา้ ตาและทรงตัวได้ยาก การแขง็ ตวั ของเลือดชา้ ตัวเหลือง ภาวะ มีการตกเลือด โลหติ จาง ดีซ่าน เลอื ดออกในลำไส้ ในเดก็ แรกคลอด เลือดออกมากบั ปสั สาวะ ผวิ แหง้ กรา้ น เลอื ดออก อดึ อัดในท้อง ขณะแปรงฟนั เป็นหวดั ท้องเสีย ระคาย งา่ ย แผลหายชา้ เคอื งกระเพาะ อาหาร ตับและกลา้ มเนือ้ ไดร้ บั อาการคล่นื ไส้ ความเสยี หาย ทอ้ งเสยี เหงอื่ ออกมาก เวียน

15 Thiamin โรคเหน็บชา ศีรษะ ความดนั (B1) ลน้ิ อกั เสบ โลหิตต่ำ มีกลน่ิ ตวั Riboflavin ปากนกกระจอก โลหติ คล้ายกลน่ิ ปลา (B2) จาง อาการทางผวิ หนงั ยงั ไม่มรี ายงาน ภาวะเป็นพษิ Niacin (B3) เป็นผน่ื แดงที่ผิวหนัง รมิ ฝีปากแห้งและ ท้องเสีย ภาวะสมอง แตก สว่ นใหญ่ เสอื่ ม เสียชวี ิต บรเิ วณมุมปากท้ัง 2 จะซีดและแตก เปน็ รอยหรอื ที่ เรยี กว่า ปากนกกระจอก อาเจียน ระดบั น้ำตาลในเลือดสูง ผวิ ชืน้ เกนิ ไปและ อาจสร้างความ เสียหายกบั ตับได้

16 Pantothenic ปวดศีรษะ เหนื่อยล้า เกดิ ในคนท่กี นิ acid (B5) การประสานของ อาหารเสริม มี กลา้ มเนื้อบกพร่อง มี อาการทอ้ งเสีย Pyridoxal การรบกวนทางเดนิ กลา้ มเนอื้ ออ่ นแรง (B6) อาหาร เมอ่ื ยล้า กระตกุ หรือเป็นตะครวิ ได้ Biotin โลหิตจาง ชกั เกรง็ ง่าย ซึมเศรา้ สบั สน ระบบประสาท ได้รบั ความ เกดิ ในทารกทีม่ ีความ เสียหาย ผวิ หนงั บกพร่องทางพันธุกรรม ออ่ นไหวและรู้สึก ปริมาณ biotinidase เจบ็ ตำ่ สง่ ผลให้การดดู ซึม โดยทั่วไปแล้ว biotin ลดลง Biotin น้นั คอ่ นขา้ งปลอดภัย แมว้ ่าจะได้รบั ใน ปรมิ าณทมี่ ากกว่า ทแ่ี นะนำก็ตาม

17 Folate ไม่อยากอาหาร สมองเดก็ พัฒนา นำ้ หนกั ลด อ่อนเพลยี ชา้ ลง อาจทำให้ Cobalamine เจบ็ ลน้ิ ปวดหัว ใจส่ัน มะเร็งกลับมา (B12) megaloblastic เติบโตได้อกี อาจ anemia ทารกทเี่ กดิ มี ทำให้เราขาด ความบกพรอ่ งของท่อ วิตามนิ B12 ประสาท โลหติ จาง บกพร่องทาง ไม่พบภาวะเป็น ระบบประสาท สมอง พษิ ช้าและโรคหลอดเลอื ด หัวใจ

18 วิตามิน deficiency Toxicity วติ ามนิ เอ ตาบอดสี เยอื่ บุตา คลื่นไส้ อาเจยี น แห้ง ตาวนุ้ โรค ผดผื่น ระคาย วติ ามินดี ผิวหนัง ภมู ิ เคือง ปวดหัวไม ต้านทานต่ำ เกรน การมองเหน็ วิตามินอี เปล่ียนแปลง ตับ กระดกู บาง หรอื เสียหาย กระดูกพรนุ ภาวะแคลเซยี มใน เลือดสูง คลื่นไส้ สญู เสยี ความรสู้ กึ อาเจียน ออ่ นแรง ทางกาย ปัสสาวะบ่อย ปวด กลา้ มเนอื้ ออ่ นแรง กระดกู มปี ญั หาเรอื่ งการ คลน่ื ไส้ ปวดทอ้ ง กลอกตาและทรง ปวดหัว ตาพร่า ตัวได้ยาก เลอื ดหยุดไหลชา้

19 วิตามนิ เค การแขง็ ตัวของ ตวั เหลือง ภาวะ วติ ามนิ ซี Choline เลอื ดช้า มีการตก โลหติ จาง ดซี ่าน Thiamin (B1) เลือด เลือดออกใน ในเด็กแรกคลอด ลำไส้ เลอื ดออกมา กับปัสสาวะ ผวิ แหง้ กรา้ น อดึ อดั ในทอ้ ง เลือดออกขณะ ท้องเสีย ระคาย แปรงฟนั เปน็ หวดั เคืองกระเพาะ ง่าย แผลหายช้า อาหาร ตบั และกลา้ มเนอื้ อาการคล่นื ไส้ ไดร้ ับความ ทอ้ งเสีย เหง่อื ออก เสยี หาย มาก เวยี นศีรษะ ความดันโลหิตต่ำ มีกล่นิ ตัวคล้าย กลิ่นปลา โรคเหนบ็ ชา ยงั ไม่มรี ายงาน ภาวะเป็นพิษ

20 Riboflavin (B2) ลิน้ อักเสบ ริมฝปี ากแห้งและ ปากนกกระจอก แตก สว่ นใหญ่ Niacin (B3) โลหิตจาง อาการ บริเวณมมุ ปากท้ัง Pantothenic ทางผิวหนัง 2 จะซีดและแตก acid (B5) เปน็ รอยหรอื ที่ เปน็ ผื่นแดงท่ี เรยี กวา่ ผิวหนัง ทอ้ งเสีย ปากนกกระจอก ภาวะสมองเสือ่ ม อาเจียน ระดบั เสียชีวติ นำ้ ตาลในเลือดสงู ผิวชน้ื เกนิ ไปและ ปวดศีรษะ เหนือ่ ย อาจสร้างความ ลา้ การประสาน เสียหายกบั ตบั ได้ ของกลา้ มเน้ือ เกดิ ในคนที่กนิ บกพร่อง มกี าร อาหารเสริม มี รบกวนทางเดิน อาการทอ้ งเสยี อาหาร กล้ามเนื้อออ่ นแรง เมอ่ื ยล้า กระตุก

21 หรอื เปน็ ตะคริวได้ งา่ ย Pyridoxal (B6) โลหิตจาง ชกั เกรง็ ระบบประสาท Biotin Folate ซมึ เศรา้ สับสน ไดร้ บั ความ เสยี หาย ผิวหนัง อ่อนไหวและรู้สึก เจบ็ เกดิ ในทารกที่มี โดยท่วั ไปแล้ว ความบกพร่องทาง Biotin นนั้ พันธกุ รรม คอ่ นขา้ งปลอดภัย ปริมาณ แม้วา่ จะไดร้ บั ใน biotinidase ต่ำ ปริมาณทม่ี ากกว่า สง่ ผลใหก้ ารดดู ซมึ ท่แี นะนำก็ตาม biotin ลดลง ไมอ่ ยากอาหาร สมองเด็กพฒั นา นำ้ หนกั ลด ชา้ ลง อาจทำให้ อ่อนเพลีย เจบ็ ลิ้น มะเรง็ กลบั มา ปวดหวั ใจสน่ั เติบโตไดอ้ ีก อาจ

22 Cobalamine megaloblastic ทำใหเ้ ราขาด (B12) anemia ทารกที่ วิตามนิ B12 เกิดมีความ บกพรอ่ งของท่อ ไม่พบภาวะเปน็ ประสาท พิษ โลหติ จาง บกพรอ่ งทาง ระบบประสาท สมองช้าและโรค หลอดเลอื ดหวั ใจ

23 Nutrition life Cycle

24 โภชนาการในหญิงตงั ครรภ์ (Nutrition for Pregnancy) • มคี วามต้องการพลงั งานและสารอาหารมากกว่าคน ปกติ • ไตรมาสแรกของการต้ังครรภจ์ ะมกี ารสรา้ งอวยั วะตา่ ง ๆ ของทารกในครรภ์ เพิม่ ขน้ึ ในช่วงไตรมาสท่ี 2 และจะ เจริญเตบิ โตอยา่ งรวดเร็วในไตรมาสที่ 3 • ขอ้ มูลจากกระทรวงสาธารณสุข แนะนำในหญิง ตง้ั ครรภ์ จะต้องการพลังงานเพ่ิมขน้ึ จากหญงิ ไม่ ตั้งครรภ์อีก 200 กโิ ลแคลอร่ีตอ่ วนั คอื ประมาณ 2,100-2,200 กโิ ลแคลอรตี่ อ่ วัน • ถา้ มกี ารจำกดั แคลอรจี่ ะทำให้ทารกโตช้าและนำ้ หนัก น้อย

25 ขอ้ แนะนำสำหรบั การเพมิ่ นำ้ หนกั ในหญิงตั้งครรภ์ น้ำหนกั ตัว : แบง่ ตาม BMI กอ่ นตงั้ ครรภ์ คา่ ดชั นมี วลกาย/ BMI นำ้ หนกั ควรเพมิ่ ตลอดการตั้งครรภ์ (กโิ ลกรมั /ตารางเมตร) (กิโลกรัม) ตำ่ กว่าเกณฑ์ (<18.5) 12.5-18.0 11.5-16.0 ปกติ (18.5-24.9) 7.0-11.5 เกนิ เกณฑ์ (25-29.9) 5.0-9.0 อ้วน (>=30) Energy : ปรมิ าณความตอ้ งการพลงั งานต่อวัน ระยะตัง้ ครรภ์ พลังงาน (kcal) ไตรมาสท่ี 1 50 – 100 kcal ไตรมาสที่ 2 250 – 300 kcal ไตรมาสที่ 3 450 – 500 kcal

26 พลงั งานทคี่ วรไดร้ ับ (Calories) ▪ ต้องการพลังงานเพิ่ม 80,000 กิโลแคลอร่ี ซ่งึ จะเพมิ่ ในชว่ ง 20 สัปดาหห์ ลังของการตง้ั ครรภ์ ▪ โดยเฉล่ียแนะนำเพิ่มพลงั งานวันละ 100-300 กิโล แคลอรี ▪ หากหญิงตั้งครรภไ์ ดร้ บั พลังงานไมเ่ พยี งพอ ร่างกายจะ นำโปรตีนในรา่ งกายมาใช้เป็นพลงั งานแทน โปรตีน (Protein) หญิงตง้ั ครรภ์ โปรตีนทค่ี วรไดร้ บั สำหรบั คนไทย (กรมั ต่อวัน) ไตรมาสที่ 1 +1 ไตรมาสที่ 2 +10 ไตรมาสที่ 3 +31 ▪ ควรไดร้ ับโปรตนี ประมาณ 1.4 g/kg/day

27 ▪ แนะนำเป็นโปรตนี ทีไ่ ดจ้ ากเน้ือสัตว์ เชน่ หมู เนอ้ื ไก่ ปลาอาหารทะเล นม และผลติ ภณั ฑจ์ ากนม ไข่ เนอ้ื จากมีกรดอะมโิ นท่จี ำเปน็ ครบ ไขมนั (Fat) หญงิ ตง้ั ครรภ์ ไขมนั รวมท่ีควรได้รบั สำหรบั คนไทย Thai 20 - 35%E EFSA 20 - 35%E Japan ไมก่ ำหนด ▪ ในหญงิ ตง้ั ครรภ์ไมจ่ ำเป็นตอ้ งเพ่มิ อาหารประเภทไขมนั เนื่องจากมกั จะได้รับไขมันเพยี งพอและอาหารประเภท โปรตนี จะมไี ขมัน ▪ ในกรณที ี่มอี าการกรดไหลย้อนหรอื จุกแนน่ ทอ้ งหลงั รับประทานอาหาร ควรลดปริมาณไขมันให้น้อยลง

28 คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrete) ▪ ในหญงิ ตงั้ ครรภ์อาหารในกลมุ่ นไี้ มจ่ ำเปน็ ตอ้ งเพิม่ จาก ปกติ ▪ ควรจะลดคารโ์ บไฮเดรตลงในกรณที ่ีมีปญั หาเรือ่ ง เบาหวานขณะตง้ั ครรภ์ หรอื น้ำหนกั ตวั เพ่ิมมากข้ึน ▪ แนะนำใหร้ ับประทานคารโ์ บไฮเดรตไม่ขัดสี เช่น ข้าว ควรรบั ประทานขา้ วซอ้ มมือหรอื ขา้ วกล้อง ▪ หญิงต้งั ครรภค์ วรหลีกเล่ยี งขนม นำ้ ตาลและนำ้ อดั ลม ธาตเุ หล็ก หญิงตั้งครรภต์ ่อการขาดธาตเุ หล็กและภาวะซีด ซึ่งทำ ใหเ้ กดิ Poor hemoglobin product ส่งผลตอ่ มดลูก รก และ การขนส่ง oxygen ใหแ้ กท่ ารก มผี ลกับการพฒั นาสมองของ ทารกในครรภ์ ปริมาณทแ่ี นะนำ : หญงิ ต้ังครรภไ์ มก่ ำหนดคา่ จากอาหาร ให้ เสรมิ ตาทข้อกำหนดกระทรวงสาธารณสขุ หรือตามแพทย์ส่งั

29 ธาตุเหล็กในอาหาร 100 กรมั ตบั หมู เลือดหมู เน้อื หมู เนอ้ื ไก่ กงุ้ ถ่วั แดง ผกั กูด ผกั แวน่ มนั เทศ เผือก เห็ดฟาง แร่ธาตุ โดยปกตริ บั ประทานในปรมิ าณที่เพยี งพอกับความ ตอ้ งการของหญงิ ตัง้ ครรภ์ ไอโอดีน หญงิ ตง้ั ครรภ์ ปริมาณสารไอโอดีนอางองิ ท่ีควรไดร้ ับ (มลิ ลิกรัมตอ่ วนั ) ไตรมาสท่ี 1 +50 ไตรมาสที่ 2 +50 ไตรมาสที่ 3 +50 ▪ หากขาดไอโอดีนอย่างรนุ แรงจะสง่ ผลใหท้ ารกมภี าวะ ปัญญาอ่อน การทำงานของระบบประสาทผิดปกติ รูปร่างเตย้ี แคระ หรอื มีคอพอก ▪ ปริมาณไอโอดนี ท่แี นะนำคอื 220 ไมโครกรมั ต่อวัน

30 ▪ แนะนำการใช้เกลือเสรมิ ไอโอดีนและรบั ประทาน ผลิตภณั ฑ์อาหารทะเล แคลเซยี ม หญงิ ตงั้ ครรภ์ แคลเซยี ม Thai DRI ทปี่ รับใหม่ (มลิ ลกิ รัมต่อวัน) 14-18 ปี 1000 19-50 ปี 800 ชว่ ยเสรมิ สรา้ งกระดูก การพฒั นากระดูกและมวลกระดกู ควร ไดร้ บั การดม่ื นมวันละ 1 แกว้ /วัน ปริมาณทีแ่ นะนาํ : หญิงต้งั ครรภแ์ ละให้นมบตุ รควรไดร้ ับ 800- 1000 mg/day เมอ่ื ทานร่วมกบั ยาเม็ดไม่ควรเกิน 1500 mg หรอื ไม่ควรบรโิ ภคเกนิ ปรมิ าณสูงสดุ คือ 3000 mg/day

โฟเลต 31 หญงิ ตงั้ ครรภ์ ปริมาณโฟเลตอา้ งองิ ทีค่ วรไดร้ ับ (ไมโครกรัมตอ่ วนั ) ไตรมาสท่ี 1 +250 ไตรมาสที่ 2 +250 ไตรมาสท่ี 3 +250 ชว่ ยเสริมสรา้ งพฒั นาการของระบบประสาทและสมอง ควรไดร้ บั ต้งั แตไ่ มม่ ีการปฏสิ นธิ จนถึง 12 สปั ดาหข์ องการตงั้ ครรภ์ ปริมาณทีแ่ นะนำ : หญงิ ต้งั ครรภแ์ ละให้นมบตุ ร 600 mcg/day

32 โภชนาการสำหรบั หญิงให้นมบตุ ร (Nutrition for Lactation) Energy : ปริมาณความตอ้ งการพลังงานตอ่ วัน อายุ พลงั งานตอ่ วัน 0 – 5 เดือน +300 6 – 11 เดือน +500 ปรมิ าณสารอาหารท่ีควรได้รบั ต่อวนั สำหรับหญงิ ใหน้ มบตุ ร วติ ามิน/แรธ่ าตุ หญงิ ใหน้ ม บตุ ร โปรตนี (กรัม) 71 คารโ์ บไฮเดรต (กรัม) 210 ใยอาหาร/Fiber (กรมั ) 29 วติ ามินเอ (ไมโครกรัม) 1300 วติ ามนิ ดี (ไมโครกรมั ) 15 วิตามนิ อี (ไมโครกรัม) 19 วติ ามินเค (ไมโครกรัม) 90 วติ ามนิ ซี (มิลลิกรัม) 120 วติ ามินบี 1 (มลิ ลกิ รมั ) 1.4 วติ ามนิ บี 2 (มลิ ลิกรัม) 1.6 ไนอะซิน (มลิ ลกิ รมั ) 17 วิตามนิ บี 6 (มลิ ลกิ รัม) 2 โฟเลต (ไมโครกรัม) 500 วิตามินบี 12 (ไมโครกรัม) 2.8

33 แคลเซียม (มลิ ลิกรัม) 1000 ธาตุเหลก็ (มิลลิกรมั ) 9 ไอโอดีน (ไมโครกรมั ) 290 อาหารท่ีแนะนำสำหรับหญิงให้นมบตุ ร แหลง่ โปรตีนทด่ี ี : เนอ้ื สัตว์ ตับ ไข่ นม โยเกิรต์ เตา้ หู้ ถว่ั และธญั พชื ตา่ ง ▪ วิตามินดี : ปลาแซลดนี ปลาทนู า่ ปลาแมคเคอเรล น้ำมนั ตบั ปลา ไขแ่ ดง เหด็ หอม(D2) ▪ โคลนี : จากปรมิ าณอาหาร 100 g ไขแ่ ดง (820 mg) เน้อื หมไู ม่ ตดิ มัน (71.2 mg) เนอ้ื วัว (97.7 mg) อกไก่ (40.7) ปลาทู (66.9 mg) เมลด็ ทานตะวนั (55.1 mg) อลั มอนด์ (521) แหล่งไอโอดนี : สาหรา่ ย กงุ้ ปลาสกี นุ ปลากระพง ปลาทู ไข่ไก่ ไขเ่ ป็ด ขา้ วบาเลย์ ขา้ วหอมมะลิ ▪ ซลี ิเนยี ม : ปลาทู ไขเ่ ป็ดเฉพาะไขแ่ ดง ปลาจาระเม็ด ปลาดุก เน้อื ปู กุง้ หอยนางรม อกไก่หมู ชะอม งาดำ ถ่ัวเหลือง ดอกกะหลำ่ สะเดา แครอท หนอ่ ไม้ฝรัง่ หวั ปลี ลนิ้ จ่ี ลำไย ผักเพม่ิ นำ้ นม กยุ ช่าย ขิง ใบแมงลัก ฟกั ทอง ใบกระเพรา หวั ปลี

34 สำหรับ Vegan mother พบว่ามีการขาด Vit B12 และสง่ ผลต่อทารก ซ่ึงมีผลโดยตรงกบั ระบบ ประสาทและสมอง จงึ แนะนำให้มกี ารให้ Vit B12 Supplement และ ตอ้ งได้รับการ monitor อย่างใกลช้ ดิ Ref : Nutrition life cycle, KRAUSE'S 14th Edition 2017 • Vitamin 1. Mecobalamin 500 mcg ปริมาณแนะนำ 1 tab 1- 3 ครงั้ /วนั หรือตามคำส่งั แพทย์ 2. Methylcobalamin 500 mcg/ml (injection) 1 mmp IM or IV 3 ครั้ง/สัปดาห์ 3. สารอาหารในนมแม่ ▪ นำ้ นมในระยะแรก นมนำ้ เหลอื ง (Colostrum) ระยะ 1-3 วนั แรก High : Protein, Immunoglobulin, Fat, soluble vitamin,

35 Na, P, CI, Zn, Lactose สว่ นประกอบอื่นๆ : CHO, Fat, Water soluble, vitamin ส่วนประกอบ Energy : 20 kcal/oz หรอื ประมาณ 680 kcal/L Protein : 22.9 g/L Fat : 29.5 g/L Lactose : 57 g/L Ash : 3.8 g/L ▪ นำ้ นมระยะเปลี่ยนผ่าน (Transitional milk) ระยะ 10-14 วันหลงั คลอด ลกั ษณะสี “ขาวครีม” คลา้ ย นมมากขึ้น ส่วนประกอบ Energy : 20 kcal/oz หรือประมาณ 680 kcal/L Protein : 22.9 g/L Fat : 29.5 g/L Lactose : 57 g/L Ash : 3.8 g/L

36 ▪ นำ้ นมระยะ 3 (Mature milk) ตงั้ แต่ 14 วัน หรอื 2 สปั ดาหห์ ลงั คลอด ปรมิ าณมากข้นึ สารอาหารเพม่ิ ข้นึ สว่ นประกอบ Energy : 747 kcal/L Protein : 10.6 g/L Fat : 38 g/L Lactose : 68 g/L Ash : 202 g/L

37 เปรยี บเทยี บ นมแม่ VS วัว ส่วนประกอบ นมแม่ นมววั 0.03 IgA 1 0.03 0.6 IgM 0.01 76 %TP 18 %TP IgG 0.01 Whey 65 %TP Casein 35 %TP

ภาวะน้ำนมนอ้ ย 38 แม่ ทารก Poor let-down Poor intake • Stress,anxiety • Infrequent feeding • Drugs • Ineffective emptying • Hypertension of breasts • Smoking • Sore nipples Low net intake • Breast sugery • Vomiting, diarrhea • Malabsorption Poor production • Infection • Thyroid disorder • Congenital defect • Use antihistamine • Alcohol intake (mouth,face) • Poor diet • Insufficiency development of alveolar tissue

39 โภชนาการสำหรับวยั เด็ก (Nutrition for Infancy and children) requirement Energy: ปริมาณพลงั งานทคี่ วรได้รับ ประจำวนั อายแุ ละเพศ พลังงาน (kcal) M: 0 – 5 เดือน 490 680 6 – 11 เดอื น F460 F: 0 – 5 เดือน 610 1050 6 – 11 เดือน 1290 M: 1 – 3 ปี 4 - 5 ปี

40 6 – 8 ปี 1440 F: 1 – 3 ปี 98 0 1200 4 – 5 ปี 1320 6 – 8 ปี Protein requirement: ปริมาณโปรตนี ทีค่ วรไดร้ ับประจำวนั อายแุ ละเพศ โปรตนี (g/d) M: 0 – 5 เดือน น้ำนมแม่ 14 6 – 11 เดือน น้ำนมแม่ F: 0 – 5 เดือน 12 16 6 – 11 เดอื น 19 M: 1 – 3 ปี 24 15 4 - 5 ปี 19 6 – 8 ปี 24 F: 1 – 3 ปี 4 – 5 ปี 6 – 8 ปี

41 Vitamin requirement: วติ ามนิ ท่ีควรได้รบั ประจำวัน

42 Mineral requirement: แรธ่ าตุท่ีควรได้รบั ประจำวัน

43 การใหอ้ าหารตามวัยสำหรบั ทารก หลักการ : สมวัย + เพยี งพอ + ปลอดภยั ความพรอ้ มของระบบทางเดนิ อาหาร - ชว่ งแรกเกิด นำ้ ยอ่ ยจะยังมปี ริมาณท่ีนอ้ ย จงึ ต้องใหส้ ารอาหาร หลกั จากน้ำนมแม่ - ทารก 6 เดอื นขน้ึ ไป ปรมิ าณน้ำยอ่ ยต่างๆจะเพ่ิมขึน้ และมี extrusion reflex รวมทงั้ การกลนื ที่พร้อมมากขึน้ ความพร้อมของไต - ทารกแรกเกดิ สามารถขับของเสยี และทำให้ปสั สาวะเข้มได้ มี อัตราการกรองของไตร้อยละ 15 ยังขับยเู รียและฟอสฟอรสั ไดไ้ ม่ ดี

44 - ทารกอายุ 6 เดือนข้ึนไป อัตราการกรองของไตจะเพิม่ ขึน้ เปน็ รอ้ ยละ 60 เมือ่ เร่มิ ให้อาหารรว่ มกับน้ำนมแม่ ยังตอ้ งระวงั อาหาร ทมี่ ีโปรตีนสงู ซ่ึงอาจทำใหเ้ กดิ ภาวะ uremia ได้

45 ความจุของกระเพาะอาหาร (ทารกอายุ 6 – 23 m)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook