Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการฝึกโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ1

รายงานการฝึกโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ1

Published by กาญจนา แก้วรัตน์, 2020-04-10 04:18:48

Description: รายงานการฝึกโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ1

Search

Read the Text Version

รายงานการฝึ กโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ ชุมชนหมู่ท2่ี ตาบลบ้านตูล อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช นางสาวกาญจนา แก้วรัตน์ รหัสประจาตวั นักศึกษา 611250002 รายงานฉบบั นเี้ ป็ นส่วนหนึง่ ของวชิ าโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพช้ันสูงปฏบิ ัตกิ ารฉุกเฉินการแพทย์ ช้ันปี ที่ 2 รุ่นที่ 15 วทิ ยาลยั การสาธารณสุขสิรินธร จังหวดั ยะลา

คานา รายงานฉบับน้ีเป็ นส่วนหน่ึงของวิชาโครงการพฒั นาทักษะวิชาชีพ ของนักศึกษาหลกั สูตร ประกาศนียบตั รวิชาชีพช้นั สูง สาขาปฏิบตั ิการฉุกเฉินการแพทย์ วิทยาลยั การสาธารณสุขสิรินธร จงั หวดั ยะลา โดยการฝึ กโครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชีพคร้ังน้ี นักศึกษาไดฝ้ ึ กประสบการณ์ในพ้ืนท่ี ชุมชนหมู่ที่ 2 ตาบลบา้ นตูล อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช เป็นการศกึ ษาชุมชนในดา้ นต่าง ๆ มีการเก็บรวบรวม ขอ้ มูลจากชุมชน โดยการสมั ภาษณ์ สงั เกต และจากขอ้ มูลทุติยภูมิเพ่ือใหท้ ราบ และเขา้ ใจถึงวิถีของคนใน ชุมชน และมองเห็นสภาพปัญหาต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนภายในชุมชน โดยเฉพาะปัญหาดา้ นฉุกเฉินการแพทย์ และ นาไปสู่การวางแผนพฒั นา แกไ้ ขปัญหาชุมชนไดอ้ ย่างตรงจุด และสอดคลอ้ งกบั วิถีชุมชน โดยการมีส่วน ร่วมของชุมชน อนั นาไปสู่การมสี ุขภาพ และคุณภาพชีวติ ที่ดีภายในชุมชน ซ่ึงทาใหเ้ กิดการพฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื เพ่ือเตรียมความพร้อมสู่การฝึกประสบการณ์จริง และเป็นบุคลากรทางดา้ นสาธารณสุขต่อไป ผู้จัดทาหวัง เป็นอย่างยงิ่ ว่า ขอ้ มูลต่าง ๆ ในเล่มรายงานฉบบั น้ีจะสามารถนาไปประยุกตใ์ ชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ และเป็ น แนวทางในการพฒั นา แกป้ ัญหาในดา้ นต่าง ๆ ของชุมชน และเพือ่ เป็นแนวทางในการศกึ ษาต่อไป ผ้จู ดั ทา นางสาวกาญจนา แกว้ รัตน์

กิตตกิ รรมประกาศ การฝึ กโครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชีพในคร้ังน้ี นักศึกษาหลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพช้นั สูง ปฏบิ ตั ิการฉุกเฉินการแพทย์ รุ่นที่ 15 ช้นั ปี ท่ี 2 วิทยาลยั การสาธารณสุขสิริธร จงั หวดั ยะลา ไดท้ าการศึกษา ในพ้ืนที่ของตนเอง โดยการฝึ กโครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชีพคร้ังน้ีนักศึกษาไดฝ้ ึ กประสบการณ์ในพ้ืนท่ี ชุมชนหมูท่ ี่ 2 ตาบลบา้ นตูล อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช ไดส้ าเร็จลุลว่ งไปดว้ ยดี โดยไดร้ ับความ กรุณาจากบุคคลหลายท่าน ทางกลุ่มนักศึกษารู้สึกซาบซ้ึงในความกรุณาท่ีมีให้ จึงใคร่ขอขอบพระคุณเป็ น อยา่ งสูงไว้ ณ โอกาสน้ี ขอขอบพระคุณอาจารย์ ดร.ภคั ณัฐ วีรขจร ท่ีไดใ้ หค้ าแนะนา ที่ไดป้ ระสิทธ์ิประสาทวิชา ก่อใหเ้ กิด ความรู้ในการฝึกปฏิบตั ิงาน จนสามารถปฏิบตั ิงานไดเ้ ป็ นอยา่ งดี ขอขอบพระคุณเจา้ หน้าท่ีอาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมู่บา้ นในชุมชนหมู่ท่ี 2 ที่คอยให้ความ ช่วยเหลอื แนะนา ใหค้ าปรึกษา ตลอดการฝึ กโครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชีพและใหค้ วามช่วยเหลือ แนะนา ใหค้ าปรึกษา ตลอดการฝึกปฏบิ ตั ิงานในคร้ังน้ี ขอขอบพระคุณชาวบา้ นชุมชน หมูท่ ่ี 2 ตาบลบา้ นตูล อาเภอชะอวด จงั หวดั อวดนครศรีธรรมราช ท่ีใหข้ อ้ มูลในการศึกษาคร้ังน้ี และเขา้ มามีส่วนร่วมในการดาเนินโครงการ ในทุกกิจกรรมที่นกั ศึกษาจดั ข้ึน และสาเร็จลุลว่ งไปไดด้ ว้ ยดี สุดทา้ ยน้ี นักศึกษาขอขอบพระคุณทุกท่านที่มีส่วนเก่ียวขอ้ ง ทาใหก้ ารฝึ กโครงการพฒั นาทกั ษะ วชิ าชีพในคร้ังน้ี ประสบความสาเร็จลลุ ่วงไปดว้ ยดี

สารบญั หน้า เร่ือง ก ข คานา ค กิตติกรรมประกาศ 1 สารบญั 1 บทท่ี 1 บทนา 2 2 1.1 ความเป็นมาและความสาคญั ของการฝึกโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ 3 1.2 วตั ถุประสงคข์ องการวิจยั 3 1.3 กระบวนการเตรียมฝึกโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ 4 บทที่ 2 บริบทชุมชน 6 2.1 เเผนท่ีเดินดิน 11 2.2 ฝังเครือญาติ 12 2.3 โครงสร้างองคก์ รชุมชน 13 2.4 ระบบสุขภาพชุมชน 14 2.5 ปฏทิ ินชุมชน 17 2.6 ประวตั ิศาสตร์ชุมชน 17 2.7 ประวตั ิบุคคลสาคญั 18 บทที่ 3 การวินิจฉยั ชุมชน 18 3.1 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 28 3.2 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู 29 3.3 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล 3.4 การวเิ คราะห์สาเหตุของปัญหา 30 3.5 ปัญหาและการจดั ลาดบั ของปัญหา 30 39 บทท่ี 4 แผนงาน/โครงการ 44 4.1 แผนงาน/โครงการ 4.2 ระดบั ความพึงพอใจต่อโครงการ 4.3 สรุปผลการดาเนินโครงการ

สารบญั ( ต่อ ) หนา้ 47 เร่ือง 47 บทที่ 5 สรุปผลการฝึกโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ อภิปรายและขอ้ เสนอแนะ 48 5.1 สรุปผลการฝึกโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ 48 5.2 อภิปรายผล 50 5.3 ขอ้ เสนอแนะการฝึกโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ ภาคผนวก 51 ภาคผนวก ก ภาพทากิจกรรมโครงการ 52 ปรับเปล่ยี นพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรคความดนั โลหิตสูง 55 ภาคผนวก ข แบบสอบถามขอ้ มลู สภาพปัญหาของประชาชนในชุมชน ภาคผนวก ค แบบทดสอบความรู้เร่ืองโรคความดนั โลหิตสูง 59 ภาคผนวก ง แบบประเมนิ ความพงึ พอใจการเขา้ ร่วมโครงการ ปรับเปลีย่ นพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรคความดนั โลหิตสูง 60 ภาคผนวก จ แบบลงทะเบียนเขา้ ร่วมโครงการโรคความดนั โลหิตสูง บรรณานุกรม

บทท่ี 1 ส่ วนนาโครงการ 1.1ความเป็ นมาและความสาคญั ของการฝึ กโครงการพฒั นาทักษะวชิ าชีพ โรคความดนั โลหิตสูง ( Hypertension )ปัจจุบนั ความดันโลหิตสูงเป็ นหน่ึงในกลุ่มของโรคที่ทาให้ เกิดผลแทรกซอ้ นของโรคหวั ใจและหลอดเลือด ซ่ึงรวมท้งั หลอดเลือดท่ีสมองและไตดว้ ย จุดมุ่งหมายของ การรักษาภาวะความดนั โลหิตสูงเพือ่ ลดอตั ราทุพพลภาพและอตั ราการตาย ซ่ึงเกิดจากภาวะแทรกซอ้ นทาง หวั ใจและหลอดเลอื ด การดูแลเฉพาะแต่ความดนั โลหิตสูงเท่าน้นั จะทาให้ไดผ้ ลไม่ดีเท่าที่ควร ดงั น้นั แพทย์ จึงตอ้ งตรวจคน้ หาภาวะอ่ืน ท่ีอาจพบในตวั ผปู้ ่ วยดว้ ย อาทิ เบาหวาน , ไขมนั ในเลือดสูง , ภาวะอว้ น , ผนัง หวั ใจห้องซา้ ยล่างหนา และโรคเก๊าท์ เป็ นตน้ ท้งั น้ีแพทยจ์ ะตอ้ งดาเนินการควบคุมและรักษาคู่ไปกบั การ รักษาความดนั โลหิตจึงจะไดผ้ ลและมีประสิทธิภาพเตม็ ท่ี โรคความดนั โลหิตสูง เป็ น 1 ในสาเหตุสาคญั ท่ีทาให้ประชากรทวั่ โลกตายก่อนวยั อนั ควร และเป็ น ปัญหาท่ีกาลงั มีความรุนแรงมากข้ึน ท้งั ในประเทศท่ีพฒั นาแลว้ และประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ ซ่ึงภาวะ ความดนั โลหิตสูงจะไม่มีสัญญาณเตือนหรืออาการแสดงให้เห็น จึงมกั จะถูกเรียกว่าเป็ น “ฆาตกรเงียบ” (Silent killer) ผปู้ ่ วยจานวนมากเป็นโรคน้ีโดยที่ไมร่ ู้ตวั มาก่อนวา่ มีภาวะความดนั โลหิตสูง หากไม่ไดร้ ับการ ดูแลรักษาจะทาใหเ้ พม่ิ ความเส่ียงของกลา้ มเน้ือหวั ใจตายเพิม่ ข้ึนเป็ นสองเท่า และความเสี่ยงของโรคหลอด เลือดสมองเพมิ่ ข้ึนเป็นสี่เท่า จากขอ้ มูลองคก์ ารอนามยั โลก (WHO, 2013) พบว่า โรคความดนั โลหิตสูงเป็นสาเหตุการตายทว่ั โลกสูง ถงึ 7.5 ลา้ นคน หรือร้อยละ 12.8 ของสาเหตุการตายท้งั หมด ท้งั ยงั มีผลสูญเสียปี สุขภาวะ 57 ลา้ นปี หรือคิด เป็นร้อยละ 3.7 ของ DALYs จานวนผูท้ ่ีมีความดนั โลหิตสูงทว่ั โลกพบว่ามีจานวนเกือบถึงพนั ลา้ นคน ซ่ึง สองในสามจะอยใู่ นประเทศกาลงั พฒั นา และมีการคาดการณ์ว่าจะมีความชุกของโรคความดนั โลหิตสูงทว่ั โลกเพ่ิมข้ึนถึงเป็ น 1.56 พนั ลา้ นคน ในปี พ.ศ. 2568 โดยสาเหตุส่วนใหญ่มาจากปัจจยั การดาเนินชีวิตที่ เปลีย่ นไป เช่น การมีกิจกรรมทางกายนอ้ ย การบริโภคอาหารที่มสี ่วนประกอบของเกลือ และไขมนั สูง การ บริโภคเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ และการสูบบุหร่ี ซ่ึงนามาสู่ภาระโรคที่เพ่ิมข้ึน ดว้ ยความตระหนักถึงปัญหาและภัยของภาวะความดันโลหิตสูง จากสถานการณ์และความสาคญั ดงั กล่าวนางสาวกาญจนา แก้วรัตน์ นักศึกษาช้ันปี ที่ 2 หลกั สูตรฉุกเฉินการแพทย์ รุ่นท่ี 15 เล็งเห็นว่า ประชาชนหมู่ 2 ตาบลบา้ นตูล อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช มีความเส่ียงท่ีจะเป็ นโรคความดนั โลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล บา้ นตูล จึงไดจ้ ดั ทาโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยงลด

โรคความดนั โลหิตสูง ในกลุ่มเสี่ยงเพอ่ื ใหป้ ระชาชนกล่มุ เส่ียงสูงมสี ุขภาพท่ีดีมคี วามรู้ในการดูแลตนเอง ลด การเกิดโรคความดนั โลหิตสูง และภาวะแทรกซอ้ นและการสูญเสียของประชากรกลุ่มเส่ียงสูงต่อไป 1.2 วตั ถุประสงค์ 1.2.1 เพอ่ื ใหป้ ระชากรกลมุ่ เส่ียงสูงมคี วามรู้ในการดูแลตนเองไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 1.2.2 เพ่ือให้ประชากรกลุ่มเส่ียงสูงมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการป้องกนั โรคความดนั โลหิตสูง และภาวะแทรกซอ้ นได้ 1.2.3 เพอ่ื สร้างเครือข่ายกลมุ่ เสี่ยงสูงป้องกนั โรคความดนั โลหิตสูง และภาวะแทรกซอ้ น 1.3 กระบวนการเตรียมฝึ กโครงการพฒั นาทักษะวชิ าชีพ 1.3.1 กรอบแนวคดิ การฝึ กโครงการพฒั นาทักษะวชิ าชีพ การฝึกโครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชีพ ปัญหาดา้ นสุขภาพดา้ นในชมุ ชนหมทู่ ่ี 2 ตาบลบา้ นตลู อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช ภาพที่ 1.1 กรอบแนวคิดการเตรียมฝึกโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ

บทที่ 2 บริบทชุมชน เคร่ืองมือ 7 ชิน้ เคร่ืองมือ 7 ชิ้น เป็ นเคร่ืองมือทใี่ ช้ในการเข้าถึงพื้นทีข่ องชุมชน และบ่งบอกถึงความสาคญั ของกลุ่ม ผู้คนว่ามคี วามผูกพันธ์ุในวงศ์สกุลเดียวกนั สามารถช่วยแนะนาปัญหาบางอย่างของครอบครัวที่สามารถ เกดิ ขนึ้ ได้และยงั ทาให้รู้จกั กลุ่มงานต่างๆ ในชุมชน เข้าหาชุมชนได้ง่ายขึน้ ได้เรียนรู้การรักษาตนเองของคน ในชุมชน เข้าใจวถิ ีชีวติ ของคนในชุมชนและท่ีสาคญั เป็ นเครื่องมือท่ใี ช้เป็ นใบเบกิ ทางเพื่อการกลมกลืนเข้ากบั ชุมชนน้ัน 1 แผนทีเ่ ดินดนิ 2 ฝังเครือญาติ 3 โครงสร้างองค์กรชุมชน 4 ระบบสุขภาพชุมชน 5 ปฏิทนิ ชุมชน 6 ประวตั ศิ าสตร์ชุมชน 7 ประวตั ชิ ีวติ บุคคลสาคญั 1.แผนที่เดนิ ดิน แผนที่เดินดิน เป็นแผนที่ที่เกิดจากการสารวจลกั ษณะทางกายภาพและสิ่งแวดลอ้ มของชุมชน ท่ีเรียกว่า แผนที่เดินดินน้นั เพราะการการหาขอ้ มูลตอ้ งกระทาโดยการลงไปเดินดู ไปสัมผสั ไปเห็นรูปลกั ษณะบา้ น แต่ละหลงั ทุกหลงั ท้งั ชุมชน ดว้ ยสายตาของตนเองเท่าน้นั ซ่ึงต่างจากแผนท่ีนง่ั โต๊ะที่มกั คดั ลอก หรือหยิบยมื มาจากท่ีมอี ยแู่ ลว้ การทาแผนที่เดินดินมคี วามสาคญั มาก และเป็นสิ่งแรกที่ตอ้ งทาเสมอ เพราะเป็นวธิ ีที่จะทา ใหเ้ ราเห็นภาพรวมของชุมชน ไดด้ ีที่สุด เร็วท่ีสุด และไดข้ อ้ มูลมากที่สุดในระยะเวลาท่ีส้นั ท่ีสุดรู้จกั ชุมชน อยา่ งทว่ั ถงึ ทาใหก้ ารศกึ ษาชุมชนมคี วามละเอยี ด และครอบคลุมพ้นื ที่มากข้ึน ไม่จากดั อยแู่ ต่ในส่วนพ้ืนที่ที่ เจา้ หนา้ ท่ีเคยชิน หรือเขา้ ถึงไดง้ ่าย ส่ิงที่เนน้ มากก็คือ เราตอ้ งเขา้ ไปใหท้ วั่ ถงึ โดยเฉพาะอย่างยิง่ บา้ นคนทุกข์ คนยากท่ีอยชู่ ายขอบของหมู่บา้ น หรือบา้ นที่แยกตวั โดดเดี่ยวอยตู่ ามลาพงั ทา้ ยหมู่บา้ น ในการทาแผนที่เดินดินน้ัน ความสาคัญไม่ไดอ้ ยู่ท่ีการทาแผนท่ีทางกายภาพใหส้ มบูรณ์ครบถว้ น แต่ สาคญั ที่การมองเห็นและเขา้ ใจ ความหมายและหนา้ ท่ีทางสงั คม (Social Meaning และ Social Function) ของ พ้นื ท่ีทางกายภาพเหลา่ น้นั การเขา้ ใจความหมายทางสงั คมของลกั ษณะทางกายภาพน้ี จะเกิดข้ึนไดต้ ่อเมื่อไป เดินดู เช่น บ่อน้า หากดูในแผนท่ีนง่ั โตะ๊ กจ็ ะทราบเพยี งแต่วา่ เป็นบ่อน้า แต่จะรู้ว่าบ่อน้าน้ีมีคนมาซกั ผา้ มาก

หรือนอ้ ยเพยี งไร การไปเห็นผหู้ ญิงหรือแม่บา้ นมาซกั ผา้ ท่ีบ่อน้าเป็นการเขา้ ใจหนา้ ที่ทางสงั คมของบ่อน้า ซ่ึง เป็ นจุดที่มาแลกเปล่ียนขอ้ มูลของหมู่บา้ น เพราะฉะน้นั การเดินดูจะช่วยให้เห็นพ้ืนท่ีทางสังคม (Social Space) และเขา้ ใจหนา้ ท่ีทางสงั คม (Social Function) ที่อยบู่ นลกั ษณะทางกายภาพ (Physical Space) ซ่ึงจะ ทาใหเ้ ราเขา้ ใจปรากฏการณ์ต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนในชุมชนมากข้ึน

2.ผงั เครือญาติ ผงั เครือญาติคือ การถอดความสมั พนั ธใ์ นเชิงเครือญาติ หรือเชิงสายเลือดในชุมชน มคี วามสาคญั ต่อการทาความเขา้ ใจชุมชนและสงั คม ไมว่ ่าจะเป็นสงั คมเมืองหรือสงั คมชนบท เพราะเครือญาติเป็น ความสมั พนั ธท์ ่ีเป็นรากฐานที่สุดของชีวติ ครอบครัว การทาผงั เครือญาติจึงมีส่วนสาคญั ในการทาความ เขา้ ใจระบบความสมั พนั ธใ์ นครอบครัวและชุมชน เป้าหมายสาคญั ของผงั เครือญาติ 1.เขา้ ใจโครงสร้างความสมั พนั ธเ์ ชิงเครือญาติซ่ึงเป็นรากฐานของครอบครัวและชุมชน 2.รู้จกั ตวั บุคคลและความสมั พนั ธ์ทางสงั คมของเขาไดใ้ นระยะเวลาอนั ส้นั 3.ช่วยสร้างความสมั พนั ธแ์ ละความสนิทคนุ้ เคยระหว่างเจา้ หนา้ ที่กบั ชาวบา้ นไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว 4. ทาใหท้ ราบเก่ียวกบั สุขภาพหรือโรคติดต่อของคนในครอบครัว เพื่อป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาสุขภาพน้นั ๆ สัญลกั ษณ์แทนในผงั เครือญาติ สญั ลกั ษณ์แทนบิดามารดาท่ีเสียชีวติ แลว้ สญั ลกั ษณ์แทนผชู้ าย สญั ลกั ษณ์แทนผหู้ ญิง สญั ลกั ษณ์แทนการแต่งงาน

ผงั เครือญาติ นายซ้ี ธรรมจิตต/์ นางเช้ือ ธรรมจติ ต์ นายสนธยา ธรรมจิตต/์ นายบุญเรืองแกว้ รัตน์/ นายเกรียงไกร สงสงั ข์ นายสราวุธ ธรรมจิตต์ นางวสินี ธรรมจิตต์ นางเกศรา ธรรมจิตต์ นางศิรินภา สงสงั ข์ นางกลั ยา แกว้ รัตน์ นายสิรวิช ธรรมจิตต์ นายศภุ วชิ ญ์ สงสงั ข์ เกศรินทร์ แกว้ รตั น์ กาญจนา แกว้ รตั น์ ภาณุวฒั น์ ธรรมจิตต์ รัชดาวรรณ ธรรมจิตต์ นางซอรีฮะ ธรรมจิตต์

3. โครงสร้างองค์กรชุมชน รายช่ือประธานและอาสาสมคั รชุมชน นายภทั รกร เกตุสุวรรณ ประธาน นายสุชาติ ขุนภกั ดี รองประธาน นางโสภา พลายดว้ ง นายอนนั ต์ คงแกว้ เลขานุการ กรรมการฝ่ ายสวสั ดิการสงั คม นางเหมอื นขวญั เพง็ จนั ทร์ นางสุนีย์ เรียบร้อย กรรมการฝ่ ายพฒั นา กรรมการฝ่ ายป้องกนั นายวนิ ยั บารุงแกว้ นางณฐั า แกว้ ใจดี กรรมการฝ่ ายกลมุ่ สตรี กรรมการฝ่ ายการคลงั นางสุจิตรา สิมสีพิม นายประสงค์ น่ิมเรือ ง กรรมการฝ่ ายกลุ่มสตรี กรรมการฝ่ ายการศึกษา

รายชื่อคณะกรรมการทีป่ รึกษาชุมชน นายสุรเชษฐ์ แสงสุริยนั ท่ีปรึกษา นายสุรศกั ด์ิ ทองเสน ที่ปรึกษา นางสมใจ เนาวส์ ุวรรณ ที่ปรึกษา นางสาวิตตรี จนั ทร์แกว้ ที่ปรึกษา คณะกรรมการที่ปรึกษามี นายสุรเชษฐ์ แสงสุริยนั นายสุรศกั ด์ิ ทองเสน นางสมใจ เนาวส์ ุวรรณ และ นางสาวติ ตรี จนั ทร์แกว้ บทบาทการทางานของคณะกรรมการที่ปรึกษาส่วนใหญ่มีหน้าที่ปรึกษากบั ประธานชุมชน รองประธาน และ คณะกรรมการ ซ่ึงประธานกรรมการมบี ทบาทในการบริหารชุมชนโดยมี ประชาชนเป็นผสู้ นบั สนุน

รายชื่อประธานอาสาสมคั รสาธารณสุขชุมชน หมู่ที่ 2 ตาบลบ้านตลู อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช นายอภิวฒั น์ รุ่งเอยี ด ประธานอาสาสมคั รสาธารสุข นางสมพร ไชยสุวรรณ นางลดั ดาพร ฉุนเฉียว สมาชกิ อาสาสมคั รสาธารณสุข สมาชิกอาสาสมคั รสาธารณสุข นางสมนึก เกตสุ ุวรรณ นางสาวรัชนก ชมุ่ จอม สมาชิกอาสาสมคั รสาธารณสุข สมาชกิ อาสาสมคั รสาธารณสุข นางกนกพร คงทอง นายวชิ รุต ปโมชนียกลุ สมาชกิ อาสาสมคั รสาธารณสุข สมาชกิ อาสาสมคั รสาธารณสุข นายธานิฐศร ธรรมจิตต์ นางวมิ ลรัตน์ บุญกาญจน์ สมาชกิ อาสาสมคั รสาธารณสุข สมาชิกอาสาสมคั รสาธารณสุข นางกนกวรรณ นุ่นเกล้ียง นาจิรนนั ท์ แสงสุวรรณ สมาชิกอาสาสมคั รสาธารณสุข สมาชิกอาสาสมคั รสาธารณสุข นางกาญจนา รุ่งเอยี ด นาสุธิดา แสงปาน สมาชกิ อาสาสมคั รสาธารณสุข สมาชิกอาสาสมคั รสาธารณสุข นางสุภาพร ศรประจกั ษช์ ยั นางวสินี ธรรมจิตต์ สมาชิกอาสาสมคั รสาธารณสุข สมาชกิ อาสาสมคั รสาธารณสุข

อาสาสมคั รสาธารณสุขชุมชนหมู่ที่ 2 เป็ นองคก์ รที่ดูแลสุขภาพของประชาชนในชุมชน เฝ้าคอย ระวงั โรคต่าง ๆ ในชุมชน มีบทบาทใหค้ วามรู้เก่ียวกบั การดูแลสุขภาพของชุมชน โดยมี นายอภิวฒั น์ รุ่งเอยี ด เป็นประธาน โดยบทบาทหลกั ๆ ของ อาสาสมคั รสาธารณสุขในชุมชนหมู่ที่ 2 ส่วนใหญ่จะประชาสัมพนั ธ์ เกี่ยวกบั การตรวจสุขภาพของประชาชน รวมท้งั เชิญชวนใหป้ ระชาชนเขา้ รับการอบรมใหค้ วามรู้เกี่ยวกบั การ ดูแลสุขภาพของตนเองและสมาชิกในครัวเรือน กลุ่มสตรี นางจาเนียร อินทะโน หัวหน้ากล่มุ สตรี คณะกรรมการพฒั นาสตรีเป็นกลุ่มเป้าหมายในการดาเนินการขบั เคล่ือนการดาเนินงานจดั ประชุม สตรีในหมบู่ า้ นเพ่ือแนะนาการจดั ทาครอบครัวพฒั นาตามคุณลกั ษณะท่ีกาหนดร่วมกบั ครอบครัวเป้าหมายที่ เขา้ ร่วมโครงการวางแผนการพฒั นาประสานองค์กรหน่วยงานท่ีเก่ียวขอ้ งเพ่ือ ร่วมส่งเสริม/และพฒั นา ครอบครัว กลุ่มผู้สูงอายุ นายศุภชาติ ตรีแก้ว หัวหน้ากล่มุ ผู้สูงอายุ ชมรมผสู้ ูงอายเุ ป็นการรวมกล่มุ ของผสู้ ูงอายทุ ่ีมีอายุเกิน ๖๐ ปี ข้ึนไป อย่างน้อย ๒๐ คน และอาจมี คนวยั อ่ืน ท้งั วยั ทางาน เดก็ เยาวชน เขา้ ร่วมเป็นสมาชิกสมทบ แต่ไม่ควรเกิน ๑ ใน ๔ ของสมาชิกที่เป็ นวยั สูงอายโุ ดยมีวตั ถุประสงคต์ รงกนั ในการดาเนินกิจกรรมที่เป็ นประโยชน์ท้งั ต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน สงั คม และมีการกาหนดระเบียบข้อบงั คับในการบริหารชมรม ท้งั น้ี ชมรมผูส้ ูงอายอุ าจอยูภ่ ายใต้สังกัด หน่วยงาน องคก์ ร หรืออาจเป็นชมรมอสิ ระท่ีไม่สงั กดั หน่วยงานใดกไ็ ด้

4.ระบบสุขภาพ รพ.สต.บา้ นตูล สถานพยาบาล ระบบสุขภาพชุมชน อาเภอชะอวด จงั หว คลนี ิก ร้าน คลนิ ิก นายแพทย์วิโรจน์ สรรพสมบูรณ์

วดั ควนเงิน ศาสนา สถานทอ่ี อกกาลงั กาย น หมู่ท่ี 2 ต.บ้านตูล สนามกีฬาโรงเรียนบา้ นควนเงิน วดั นครศรีธรรมราช นขายยา ร้านขายยาบา้ นตลู เภสัช

5. ปฏทิ ินชุมชน กมุ ภาพนั ธ์ มนี าคม เมษายน มถิ ุนายน -วนั สงกรานต์ มกราคม กรกฎาคม -รดน้าดาหวั ผใู้ หญ่ -วนั ปีใหม่ -แข่งกีฬาชุมชน -วนั เดก็ สิงหาคม พฤศจกิ ายน พฤษภาคม -ลอยกระธง ธนั วาคม -วนั ส้ินปี กนั ยายน ตุลาคม -บุญสาทรเดือนสิบ -ประเพณีชกั พระ กิจกรรมภายในแต่ละเดือน กจิ กรรม -ตกั บาตรวนั ขน้ึ ปีใหม่ เดอื น มกราคม -ใหท้ านไฟ -กิจกรรมวนั เด็ก เมษายน -รดน้าดาหวั ผใู้ หญ่ -ประกวดนางนพมาศ กรกฎาคม -แขง่ กฬี าสขี องแตช่ มุ ชน กนั ยายน -กิจกรรมบุญสาทรเดือนสิบ -กิจกรรมแห่หมบั ตุลาคม -กิจกรรมประเพณีชกั พระ พฤศจิกายน -กจิ กรรมลอยกระธง ธนั วาคม -สวดมนตข์ า้ มปี -ตกั บาตรเทโว -ใหท้ านไฟ

6. ประวตั ศิ าสตร์ชุมชน ประวตั คิ วามเป็ นมา ตาบลบา้ นตูล เป็นตาบลหน่ึงใน 11 ตาบลของอาเภอชะอวด ไดแ้ ยกออกจากตาบลท่าประจะ มีจานวนหมู่บา้ น 4 หมบู่ า้ น ไดแ้ ก่ หมู่ 1 บา้ นตูล หมู่ 2 บา้ นควนเงิน หมู่ 3 บา้ นกุมแป หมู่ 4 บา้ นทุ่งปราณ พืน้ ท่ี มเี น้ือท่ีท้งั หมดประมาณ 50,724 ไร่ พ้ืนท่ีส่วนใหญ่เป็นที่ราบ ใชเ้ ป็นพ้นื ท่ีการเกษตร สภาพอากาศมี 2 ฤดู คือ ฤดู ร้อนและฤดูฝน เขตพืน้ ท่ี ทิศเหนือ ติดกบั ตาบลควนพงั อาเภอร่อนพิบูลย์ จงั หวดั นครศรีธรรมราช ทิศใต้ ติดกบั ตาบลชะอวด และ ตาบลท่าประจะ อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช ทิศตะวนั ออก ติดกบั ตาบลสวนหลวง อาเภอเฉลมิ พระเกียรติ จงั หวดั นครศรีธรรมราช ทิศตะวนั ตก ติดกบั ตาบลควนหนองหงษ์ อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช อาชีพ อาชีพหลกั ทานา ทาสวน อาชีพเสริม รับจา้ ง คา้ ขาย สาธารณูปโภค จานวนครัวเรือนที่มีไฟฟ้าใชใ้ นเขต อบต. 1,400 ครัวเรือน จานวนบา้ นท่ีมีโทรศพั ท์ 65 หลงั คาเรือน คิดเป็ นร้อย ละ 0.83 ของจานวนหลงั คาเรือน การเดนิ ทาง เดินทางโดยถนนสายชะอวด - บ่อลอ้ ระยะทาง 9 กม. จากอาเภอชะอวดถงึ ตาบลบา้ นตูล ผลติ ภณั ฑ์ ปลาแหง้ , จกั สานกระจูด งานประเพณี - ประเพณีการรดน้าดาหวั ผใู้ หญ่ - ประเพณีสาทรเดือนสิบ สถานท่สี าคญั - สถานท่ีประชุมประจาหม่บู า้ น

7.ประวตั ชิ ีวติ 1.ประวตั ิชีวติ นายภทั รกร เกตุสุวรรณ (ประธานชุมชนหมทู่ ี่ 2 คนปัจจุบนั ) ข้อมูลทว่ั ไป -ช่ือ นายภทั รกร เกตุสุวรรณ (ประธานชุมชนหม่ทู ี่ 2 คนปัจจุบนั ) -เกิดเมอ่ื วนั ท่ี 2 พฤษภาคม พ.ศ.2510 ปัจจุบนั อายุ 53ปี -สญั ชาติ ไทย นบั ถอื ศาสนา พุทธ -ท่ีอยอู่ าศยั 61/1 หม่ทู ี่ 2 ตาบลบา้ นตูล อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีรรมราช -มีพี่นอ้ งท้งั หมด 8 คน เป็นบุตรคนท่ี 4 -ไม่มีโรคประจาตวั ประวตั ดิ ้านการศึกษา - จบช้นั ประถมศกึ ษาปี ท่ี 6 จากโรงเรียนบา้ นควนเงิน อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช - จบช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรียนชะอวดวทิ ยาคาร ประวตั ดิ ้านการทางาน -ดารงตาแหน่งประธานชุมชนหมู่ท่ี 2 ต้งั แต่ปี พ.ศ.2662 -อายกุ ารทางาน 1 ปี

2.ประวตั ชิ วี ติ นายธานิฐศร ธรรมจติ ต์ ข้อมูลทัว่ ไป -ช่ือนายธานิฐศร ธรรมจิตต์ -เกิดเมอ่ื วนั ที่ 12 กนั ยายน พ.ศ.2510 ปัจจุบนั อายุ 53 ปี -สญั ชาติ ไทย นบั ถือศาสนา พุทธ -ที่อยอู่ าศยั 71 หมูท่ ี่ 2 ตาบลบา้ นตูล อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช -มีพน่ี อ้ งท้งั หมด 9 คน เป็นบุตรคนที่ 5 สมรสกบั นางนิยวรรณ ธรรมจิตต์ มบี ุตรดว้ ยกนั 2 คน -ไม่มีโรคประจาตวั ประวตั ดิ ้านการศกึ ษา -จบช้นั ประถมศกึ ษาปี ที่6 จากโรงเรียนบา้ นควนเงิน อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช -จบช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรียนทุ่งสง -จบปริญญาตรี สุโขทยั ธรรมาธิราช ประวตั ดิ ้านการทางาน - เป็นอาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมู่บา้ น -อายกุ ารทางาน 10 ปี ผลงานดเี ด่น -เป็นอาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมู่บา้ น ดีเด่น ปี พ.ศ.2549

4. ประวตั ชิ ีวติ นางวสินี ธรรมจิตต์ (อาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหม่บู า้ น หมทู่ 2่ี ) ข้อมลู ท่ัวไป -นางสาวประภา ดาบา้ นใหม่ (อาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมู่บา้ น หมู่ท่ี2) -เกิดเมือ่ วนั ท่ี 8 เมษายน พ.ศ.2518 ปัจจุบนั อายุ 45 ปี -สญั ชาติ ไทย -นบั ถือศาสนา พทุ ธ -ท่ีอยอู่ าศยั 146 หมทู่ ี่ 2 ตาบลบา้ นตูล อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช -มพี ่นี อ้ งท้งั หมด 6 คน เป็นบุตรคนที่ 4 มีบุตร 3 คน -ไมม่ ีโรคประจาตวั ประวตั ดิ ้านการศึกษา -จบช้นั ประถมศกึ ษาปี ที่6 จากโรงเรียนบา้ นควนเงิน อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช -จบช้นั มธั ยม กศน. อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช ประวตั ดิ ้านการทางาน -เป็นอาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมูบ่ า้ น หม่ทู ี่ 2 ตาบลบา้ นตูล อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช ผลงานดเี ด่น -เป็นอาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมบู่ า้ น ดีเด่น ปี พ.ศ.2558

บทที่ 3 การวนิ ิจฉัยชุมชน การศึกษาชุมชนหม่ทู ี่ 2 ตาบลบา้ นตูล อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช ในคร้ังน้ีเป็นการศกึ ษาใน รูปแบบ การสารวจ สงั เกต การสมั ภาษณ์ ซ่ึงมีข้นั ตอนในการวนิ ิจฉยั ชุมชนมี ดงั น้ี 3.1 การเก็บรวบรวมขอ้ มูล 3.2 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู 3.3 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู 3.4 ปัญหา และการจดั ลาดบั ความสาคญั ของปัญหา 3.5 การวเิ คราะห์สาเหตุของปัญหา 3.1 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู 3.1.1 การรวบรวมขอ้ มูลปฐมภูมิ เป็นการเก็บขอ้ มลู เพิ่มเติมจากแหล่งทุติยภูมิ ซ่ึงขอ้ มลู ดงั กลา่ วมี ความสาคญั มาก เพราะช่วยใหม้ องเห็นสภาพปัญหาในชุมชนชดั เจนข้ึน และขอ้ มลู ที่ไดเ้ ป็นขอ้ มลู ปัจจุบนั มาก ท่ีสุด วิธีการเกบ็ รวมรวบขอ้ มูลปฐมภูมปิ ระกอบดว้ ย 3.1.1.1 การสงั เกต เป็นการสงั เกตสภาพทวั่ ไปของชุมชนและพฤติกรรมต่าง ๆ ของประชาชน ในชุมชน โดยท่ีผถู้ กู สงั เกตไมร่ ู้ตวั เพ่ือนาขอ้ มูลมาสนบั สนุนในการวิเคราะหป์ ัญหา 3.1.1.2 การสมั ภาษณ์ เป็นการสมั ภาษณ์จากแบบสอบถามท่ีเตรียมคาถามต่าง ๆ ไวพ้ ร้อม แลว้ และจดั พมิ พไ์ วเ้ ป็นแบบฟอร์มเดียวกนั สาหรับใชก้ บั ผถู้ กู สมั ภาษณ์ทกุ คน โดยคาถามจะเป็นท้งั คาถาม แบบปลายปิ ดและแบบปลายเปิ ด เพือ่ เปิ ดโอกาสใหผ้ ถู้ ูกสัมภาษณ์แสดงความคิดเห็น 3.1.2 การรวบรวมขอ้ มลู ทุติยภูมิ เป็นการรวบรวมขอ้ มลู ทตุ ิยภูมิ หรือขอ้ มูลที่รวบรวมไวท้ ่ีองคก์ รใน หม่บู า้ น ซ่ึงขอ้ มูลดงั กล่าวน้นั ทาใหท้ ราบว่าควรหาขอ้ มูลดา้ นใด เพิม่ เติม เพื่อนามาใชใ้ น การสนบั สนุนใน กระบวนการวิเคราะห์ปัญหา การเกบ็ รวบรวมข้อมลู โดยใช้แบบสอบถามแบ่งออกเป็ น 5 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ขอ้ มูลทวั่ ไป ตอนท่ี 2 ขอ้ มูลความรู้เก่ียวกบั โรคความดนั โลหิตสูง ตอนท่ี 3 ขอ้ มลู ดา้ นสุขภาพในชุมชน ตอนที่ 4 ขอ้ มูลความรู้เกี่ยวกบั โรค ตอนที่ 5 ขอ้ มลู ความรู้เกี่ยวกบั การดูแลสุขภาพเบ้ืองตน้ 3.2 การวเิ คราะห์ข้อมูล ขอ้ มูลที่ไดจ้ าการรวบรวมน้นั จะนามาวิเคราะห์ตามข้นั ตอนการวิเคราะหข์ อ้ มูล ดงั น้ี

3.2.1 บรรณาธิการขอ้ มลู ดิบเป็นการตรวจสอบความถูกตอ้ งและความสมบูรณ์ของขอ้ มลู 3.2.2 การแจกแจงความถี่ โดยใชโ้ ปรแกรมสาเร็จรูป แลว้ นามาวเิ คราะหข์ อ้ มูลในรูปแบบ ร้อยละ และ นาเสนอในรูปแบบก่ึงบทความ ก่ึงตารางเพือ่ ความสะดวก การเปรียบเทียบขอ้ มูลสาหรับขอ้ มลู เชิง ปริมาณ 3.2.3 การสรุปขอ้ มลู เชิงคุณภาพ นาเสนอในรูปแบบบทความ เพ่ือความเขา้ ใจ 3.3 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล จากการศึกษาชุมชนหม่ทู ี่ 2 ตาบลบา้ นตูล อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช จานวนครัวเรือน โดยประมาณ 10 หลงั คาเรือน ไดร้ วบรวมขอ้ มูลจากรายงานต่าง ๆ จากสานกั งานกระทรวงสาธารณสุข จงั หวดั ยะลาและอาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมู่บา้ นในชุมชน ซ่ึงจะนาเสนอตามลาดบั ดงั ต่อไปน้ี 3.3.1 ขอ้ มูลทวั่ ไป จากการสารวจแบบสอบถามประชาชนในชุมชน หมู่ท่ี 2 ตาบลบา้ นตูล อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช ทาใหท้ ราบถงึ บริบทของชุมชน และปัญหาดา้ นสุขภาพ ตารางท่ี 1 แสดงค่าร้อยละของสถานภาพท่วั ไปของผู้ตอบแบบสอบถามในด้านเพศ N = 10 เพศ จานวน ร้อยละ เพศชาย 4 40 % เพศหญิง 6 60% รวม 10 100 % จากตารางที่ 1 พบว่า สถานภาพทว่ั ไปของผตู้ อบแบบสอบถามเป็นเพศหญิงร้อยละ 60 ผตู้ อบแบบสอบถามเพศ ชายร้อยละ 40 สรุปไดว้ า่ คนในชุมชน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ตารางท่ี 2 แสดงค่าร้อยละของสถานภาพท่ัวไปของผ้ตู อบแบบสอบถามในด้านอายุ N = 10 อายุ จานวน ร้อยละ ต่ากวา่ 20ปี -- 20ปีขนึ้ ไป 10 100 % รวม 10 100 %

จากตาราง2 พบวา่ ประชาชนกลมุ่ ตวั อย่างในชมุ ชนสว่ นใหญ่มอี ายอุ ย่ใู นช่วง 20ปีขนึ้ ไป รอ้ ยละ 100 ตารางที่ 3 แสดงค่าร้อยละของสถานภาพทวั่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถามในด้านสถานะภาพ N = 10 สถานภาพ จานวน ร้อยละ โสด 3 30 % สมรส 7 70% หย่า - - แยกกนั อยู่ -- รวม 10 100 % จากตารางที่3 พบวา่ สถานภาพของประชาชนกลมุ่ ตวั อย่างสว่ นใหญ่สมรส รอ้ ยละ 70 รองลงมามี สถานภาพโสด รอ้ ยละ 30 ตามลาดบั ตารางท่ี 4 แสดงค่าร้อยละของสถานภาพท่วั ไปของผ้ตู อบแบบสอบถามในด้านระดบั การศึกษาสูงสุด N = 10 ระดับการศึกษาสูงสุด จานวน ร้อยละ ต่ากว่าปริญญาตรี 9 90% ปริญญาตรี 1 10% สูงกวา่ ปริญญาตรี - - รวม 10 100 % จากตารางที่4 พบวา่ ประชาชนกลมุ่ ตวั อยา่ งในชมุ ชนสว่ นใหญ่ศกึ ษาอยใู่ นระดบั ตา่ กวา่ ปรญิ ญาตรี รอ้ ยละ 90 รองลงมาศกึ ษาอยใู่ นระดบั ปรญิ ญาตรี รอ้ ยละ10 ตามลาดบั

ตารางท่ี 5 แสดงค่าร้อยละของอาชพี หลักของครอบครัว N = 10 จานวน ร้อยละ อาชีพหลกั ของครอบครัว 50% 20 % รบั จา้ งท่วั ไป 5 - 10 % เกษตรกร 2 - 20 % ประมง - - - ขา้ ราชการ/ลกู จา้ งหรอื พนกั งานของรฐั 1 100 % พนกั งานรฐั วิสาหกจิ - คา้ ขาย/ธรุ กิจสว่ นตวั 2 วา่ งงาน/ไมม่ งี านทา - อน่ื ๆ - รวม 10 จากตาราง 5 พบวา่ ประชาชนกลมุ่ ตวั อยา่ งในชมุ ชนสว่ นใหญ่มอี าชีพรบั จา้ งท่วั ไป รอ้ ยละ 50 รองลงมาจะประกอบอาชีพเกษตรกรและคา้ ขาย รอ้ ยละ20 และประกอบอาชีพขา้ ราชการ รอ้ ยละ 10 ตามลาดบั ตารางท6ี่ แสดงค่าร้อยละของประวตั กิ ารมโี รคประจาตวั ของกลุ่มตวั อย่าง (n = 10 คน) N = 10 จานวน ร้อยละ โรคประจาตวั โรคความดนั โลหิตสงู 6 60% โรคเบาหวาน 1 10% อ่นื ๆ(ไมม่ ีโรคประจาตวั ) 3 30%

รวม 10 !00% จากตารางที่ 6 พบวา่ ประชาชนกลมุ่ ตวั อยา่ งในชมุ ชนสว่ นใหญ่มโี รคประจาตวั เป็นโรคความดนั โลหิตสงู รอ้ ยละ 60 รองลงมาไมม่ ีโรคประจาตวั รอ้ ยละ30 และมีโรคประจาตวั เป็นโรคเบาหวาน รอ้ ยละ 10 ตามลาดบั ตารางท7่ี ปัจจบุ นั หากท่านเจบ็ ป่ วยฉุกเฉินท่านไปโรงพยาบาลด้วยวธิ ใี ด ปัจจุบันหากท่านเจบ็ ป่ วยฉุกเฉนิ จานวน ร้อยละ ท่านไปโรงพยาบาลด้วยวธิ ใี ด 10% โทร1669 1 - โทรสายตรงหน่วยกภู้ ยั - 40% 50% ไปเอง 4 100% ญาตินาส่ง 5 รวม 10 จากตารางท่ี 7 พบวา่ ประชาชนกลมุ่ ตวั อยา่ งในชุมชนส่วนใหญ่เมอื่ เจบ็ ป่ วยฉุกเฉินจะไปโรงพยาบาลโดย มญี าตินาส่ง ร้อยละ 50 รองลงมาคือไปเอง ร้อยละ40 และโทร1669 ร้อยละ 10 ตามลาดบั ตารางท8่ี ปัจจบุ ันเมื่อท่านเจบ็ ป่ วยท่านมวี ธิ กี ารดูแลตนเองอย่างไร ปัจจุบนั เมอื่ ท่านเจบ็ ป่ วยท่านมี จานวน ร้อยละ วธิ กี ารดูแลตนเองอย่างไร

ไปพบแพทย์ 3 30% ซ้ือยาทานเอง 4 40% พบแพทยค์ ลินิก 3 30% หมอพ้นื บา้ น -- รวม 10 100% จากตารางที่ 8 พบวา่ ประชาชนกลมุ่ ตวั อยา่ งในชุมชนส่วนใหญ่เม่อื เจ็บป่ วยจะมวี ธิ ีการดูแลตนเองโดย การซ้ือยาทานเอง ร้อยละ 40 รองลงมาคือไปพบแพทยแ์ ละไปคลนิ ิก ร้อยละ30 ตามลาดบั ปัญหาด้านสุขภาพ ตารางท่ี9 แสดงค่าร้อยละของปัญหาด้านสุขภาพ ความรู้ด้านสุขภาพ มากท่ีสุด มาก(%) ปานกลาง(%) นอ้ ย(%) นอ้ ยท่ีสุด (%) 4 32 (%) 5 1 สามารถติดตามอ่านคาแนะนาที่เก่ียวกบั 20 % 20 % 40 % 10 % 10 % การป้องกนั ดูแลสุขภาพท้งั ในเอกสาร ความรู้ หรือขอ้ ความข่าวสารผา่ น ออนไลน์ได้ ท่านคิดวา่ ท่านมคี วามรู้เก่ยี วกบั การดูแล 10% 40 % 30 % 20 % - สุขภาพเบ้ืองตน้ มากแค่ไหน ชุมชนของท่านมพี ้ืนที่ในการจดั - - 60 % 40 % -

กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพหรือไม่ ในชุมชนของท่านมีการจดั อบรมให้ - 10% 50 % 40 % - ความรู้เก่ียวกบั การดูแลสุขภาพหรือไม่ ชุมชนของท่านมกี ารจดั กิจกรรมส่ง - 10% 70 % 20 % - สุขภาพเช่น ว่งิ แอโรบกิ ป่ันจกั รยาน เป็ นตน้ ตารางท1ี่ 0 ในรอบ 1 ปี สมาชิกในครอบครัวมอี าการเจบ็ ป่ วยด้วยอาการ/โรค ในรอบ 1 ปี สมาชกิ ในครอบครัวมอี าการ มากท่ีสุด มาก(%) ปานกลาง นอ้ ย(%) นอ้ ยท่ีสุด เจบ็ ป่ วยด้วยอาการ/โรค (%) 4 (%) 2 (%) 5 3 1 เจบ็ ป่ วยเลก็ นอ้ ย เช่น ไขห้ วดั ปวด - 40 % 30% 20 % 10 % กลา้ มเน้ือ/ปวดทอ้ ง/โรคกระเพาะ โรคติดต่อ เช่น อจุ จาระร่วง ไขเ้ ลือดออก - - 30 % 40 % 30 % วณั โรค ฯลฯ โรคไมต่ ิดต่อ เช่น ความดนั โลหิตสูง - 70 % 10 % 20 % - โรคเบาหวาน โรคหวั ใจ ปัญหาสุขภาพจิต เช่น วติ กกงั วล/เครียด - 30 % 40 % 30 % - ติดยา/สารเสพติด ติดสุราเร้ือรัง อน่ื ๆ เช่น อุบตั ิเหตุ - 20 40 % 30 % 10 %

ตารางท1ี่ 1 ความรู้เกยี่ วกบั ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ความรู้เกย่ี วกบั ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน มากท่ีสุด มาก(%) ปานกลาง นอ้ ย(%) นอ้ ยท่ีสุด (%) 4 (%) 2 (%) 5 3 1 ท่านรู้จกั หมายเลข 1669หรือไม่ 30% 50% 20% - - ท่านเคยใชบ้ ริการหมายเลข1669หรือไม่ - 20% 40% 30% 10% ท่านคิดวา่ หมายเลข1669 มคี วามจาเป็น 70% 30% - -- กบั ท่านหรือไม่ ท่านเคยไดร้ ับข่าวการประชาสมั พนั ธ์ - 40% 60% - - เกี่ยวกบั หมายเลข 1669 หรือไม่ ตารางท1ี่ 2 วธิ กี ารดูแลสุขภาพของสมาชิกในครอบครัว (สมาชิกในครอบครัวมกี ารเจ็บป่ วยเลก็ นอ้ ย/เจบ็ ป่ วยรุนแรง/หมดสติ) วธิ ีการดูแลสุขภาพของสมาชิกใน มากท่ีสุด มาก(%) ปานกลาง นอ้ ย(%) นอ้ ยที่สุด ครอบครัว (%) 4 (%) 2 (%) 5 3 1 ดูแลสุขภาพดว้ ยตนเอง เช่น ซ้ือยากินเอง - 30% 50% 20% - เช็ดตวั ลดไข้ ปรึกษา/ขอคาแนะนาจาก อสม. - 10% 70% 10% 10% ท่านเคยไดร้ ับความรู้เก่ียวกบั - 30% 40% 20% - บริการทางการแพทยฉ์ ุกเฉิน

ท่านมีความรู้พ้ืนฐานดา้ นการแพทย์ - 40% 30% 30% - ฉุกเฉิน สามารถปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ ได้ 50% 30% 20% - เช่น การช่วยฟ้ื นคืนชีพข้นั พ้นื ฐาน(CPR) ใชบ้ ริการสุขภาพท่ีสถานพยาบาล เช่น - รพ.สต./คลินิก/โรงพยาบาล สรุป ตารางท่ี 13 แสดงค่าเฉลยี่ ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานของปัญหาสุขภาพในชุมชน ปัญหา x S.D. 0.31 1.ความรู้ดา้ นสุขภาพ 2.98 0.15 2.ปัญหาการเจบ็ ป่ วยในรอบ 1 ปี ของคนในชุมชนมีอาการ 2.74 0.22 เจบ็ ป่ วยดว้ ยอาการ/โรคต่างๆ 0.1 3.ความรู้เกี่ยวกบั ระบบการแพทยฉ์ ุกเฉิน 3.73 0.09 4.วิธีการดูแลสุขภาพของสมาชิกในครอบครัว 3.06 (มกี ารเจบ็ ป่ วยเลก็ นอ้ ย/เจ็บป่ วยรุนแรง/หมดสติ) ค่าเฉลี่ยรวม 3.13 การวเิ คราะห์สาเหตขุ องปัญหา เมื่อไดก้ าหนดปัญหาและจดั ลาดบั ความสาคญั ของปัญหาแลว้ จึงไดม้ ีการวิเคราะห์หาสาเหตุท่ีแทจ้ ริง เสนอแนะแนวทางแกไ้ ข ขอความร่วมมือจากผทู้ ่ีเกี่ยวขอ้ ง และผลที่คาดว่าจะไดร้ ับ อนั จะนาไปสู่แนวทางการ แกไ้ ขปัญหาน้นั ๆ ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งแลเหมาะสม

ปัญหาและการจดั ลาดับความสาคญั ของปัญหา จากตารางขอ้ มูลดา้ นการแพทยฉ์ ุกเฉินในชุมชนบา้ นควนเงิน ม.2 ตาบลบา้ นตูล อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช สรุปปัญหาท่ีควรไดร้ ับการแกไ้ ขตามลาดบั ความสาคญั ของปัญหา 3 ลาดบั ดงั น้ี 1. ปัญหาการเจ็บป่ วยในรอบ 1 ปี (โรคความดนั โลหิตสูงและโรคเบาหวาน) 2. ปัญหาดา้ นสุขภาพ 3. วธิ ีการดูแลสุขภาพของสมาชิกในครอบครัว(เมอื่ มีการเจ็บป่ วยเลก็ นอ้ ย/เจ็บป่ วยรุนแรง/หมดสติ) การคดิ คะแนนเพ่ือจดั ลาดบั ความสาคญั ของปัญหาด้านสุขภาพ เกณฑ์การจดั ลาดบั ความสาคญั ของปัญหาของ John J. Hanlon A = ขนาดของปัญหา ใหค้ ะแนนระหว่าง 0-10 B = ความรุนแรงของปัญหา ใหค้ ะแนนระหว่าง 0-20 C = ประสิทธิภาพของการปฏบิ ตั ิงาน ใหค้ ะแนนระหวา่ ง 0-10 D = ขอ้ จากดั ใหค้ ะแนน 0-1 สูตร Basic priority rating (B.P.R) = ( A+B ) x C x D 3 ปัญหา คะแนนขององค์ประกอบ คะแนนรวม 1.โรคความดนั โลหิตสูง ขนาดของ ความ ความยาก ความ ปัญหา รุนแรง ง่าย สนใจ วธิ ีบวก วธิ ีคูณ ลาดบั ของ 6 12 3 1 ปัญหา 22 216 1

2.โรคเบาหวาน 3 8 4 1 16 96 2 3.โรคขอ้ เข่าเสื่อม 2 6 5 1 14 60 3 4.โรคไขเ้ ลอื ดออก 2 3 6 1 12 36 4 5.โรคไขห้ วดั ใหญ่ 1 2 7 1 11 14 5 จากตาราง พบวา่ ปัญหาชุมชนอนั ดบั ท่ี 1 คือ โรคความดนั โลหิตสูง อนั ดบั ท่ี 2 คือ โรคเบาหวาน อนั ดบั ที่ 3 คือ โรคขอ้ เข่าเสื่อม อนั ดบั ท่ี 4 โรคไขเ้ ลอื ดออก 5 โรคไขเ้ ลือดออก ตามลาดบั ท่ีมา:จากอ้างองิ ทฤษฏีวธิ ีของภาควชิ าบริหารสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล จาก วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข

บทท่ี4 แผนงานโครงการ จากการสารวจชุมชนหมู่ท่ี 2 ตาบลบา้ นตูล อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราชไดล้ งสารวจพ้ืนที่ โดยใชแ้ บบสอบถามขอ้ มูลวเิ คราะหเ์ พื่อจดั ลาดบั ความสาคญั ของปัญหา เพ่ือหาวิธีการแกป้ ัญหาใหก้ บั ชุมชน จาก การศกึ ษาพบวา่ ชุมชนมปี ัญหาดา้ นสุขภาพของคนในชุมชน เป็นอนั ดบั แรก ดงั น้นั จึงนาปัญหาดา้ นสุขภาพ โรคไขเ้ ลอื ดออก มาจดั โครงการเพ่ือใหค้ วามรู้กบั คนในชุมชน เกิดความรู้ ความเขา้ ใจ ในการควบคุมป้องกนั โรคความดนั โลหิตสูงท่ีถูกวิธีและเหมาะสม ลดค่าดชั นี โรคความดนั โลหิตสูงในชุมชน และเพ่อื ใหป้ ระชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกนั และลดโรคความดนั โลหิตสูง 4.1 แผนงาน / โครงการ จากปัญหาที่พบ พบวา่ เป็นปัญหาท่ีทางชุมชนมคี วามตอ้ งการใหด้ าเนินการ จากปัญหาดงั กลา่ ว จึงได้ จดั ทาโครงการเพื่อแกป้ ัญหาสุขภาพของชุมชน 1 โครงการ โดยมีรายละเอียดดงั น้ี ชื่อกจิ กรรม/โครงการ : ปรับเปล่ียนพฤติกรรมลดเส่ียง ลดโรคความดนั โลหิตสูง ช่ือ-สกลุ ผ้เู สนอกจิ กรรม/โครงการ : นางสาวกาญจนา แกว้ รัตน์ สังกดั : หลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพช้นั สูงสาขาปฏบิ ตั ิการฉุกเฉินการแพทย์ รุ่นที่ 15 ช้นั ปี ที่ 2 1. หลักการและเหตุผล/ทม่ี า/ปัญหา 1.1 หลักการและเหตผุ ล โรคความดนั โลหิตสูง ( Hypertension )ปัจจุบันความดนั โลหิตสูงเป็ นหน่ึงในกลุ่มของโรคท่ีทาให้ เกิดผลแทรกซอ้ นของโรคหวั ใจและหลอดเลือด ซ่ึงรวมท้งั หลอดเลือดท่ีสมองและไตดว้ ย จุดมุ่งหมายของการ รักษาภาวะความดนั โลหิตสูงเพื่อลดอตั ราทุพพลภาพและอตั ราการตาย ซ่ึงเกิดจากภาวะแทรกซอ้ นทางหัวใจ และหลอดเลือด การดูแลเฉพาะแต่ความดนั โลหิตสูงเท่าน้นั จะทาใหไ้ ดผ้ ลไม่ดีเท่าท่ีควร ดงั น้นั แพทยจ์ ึงตอ้ ง ตรวจคน้ หาภาวะอ่นื ที่อาจพบในตวั ผปู้ ่ วยดว้ ย อาทิ เบาหวาน , ไขมนั ในเลือดสูง , ภาวะอว้ น , ผนังหัวใจห้อง ซา้ ยล่างหนา และโรคเก๊าท์ เป็ นตน้ ท้งั น้ีแพทยจ์ ะตอ้ งดาเนินการควบคุมและรักษาคู่ไปกบั การรักษาความดนั โลหิตจึงจะไดผ้ ลและมปี ระสิทธิภาพเตม็ ท่ี

โรคความดนั โลหิตสูง เป็ น 1 ในสาเหตุสาคญั ที่ทาให้ประชากรทว่ั โลกตายก่อนวยั อนั ควร และเป็ น ปัญหาท่ีกาลงั มคี วามรุนแรงมากข้ึน ท้งั ในประเทศที่พฒั นาแลว้ และประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ ซ่ึงภาวะความดนั โลหิตสูงจะไม่มีสญั ญาณเตือนหรืออาการแสดงใหเ้ ห็น จึงมกั จะถูกเรียกว่าเป็ น “ฆาตกรเงียบ” (Silent killer) ผปู้ ่ วยจานวนมากเป็นโรคน้ีโดยที่ไมร่ ู้ตวั มาก่อนว่ามีภาวะความดนั โลหิตสูง หากไมไ่ ดร้ ับการดูแลรักษาจะทาให้ เพิม่ ความเสี่ยงของกลา้ มเน้ือหวั ใจตายเพิ่มข้ึนเป็นสองเท่า และความเสี่ยงของโรคหลอดเลอื ดสมองเพิ่มข้ึนเป็ นสี่ เท่า จากขอ้ มลู องคก์ ารอนามยั โลก (WHO, 2013) พบวา่ โรคความดนั โลหิตสูงเป็นสาเหตุการตายทวั่ โลกสูงถึง 7.5 ลา้ นคน หรือร้อยละ 12.8 ของสาเหตุการตายท้งั หมด ท้งั ยงั มีผลสูญเสียปี สุขภาวะ 57 ลา้ นปี หรือคิดเป็ นร้อย ละ 3.7 ของ DALYs จานวนผทู้ ี่มคี วามดนั โลหิตสูงทว่ั โลกพบวา่ มจี านวนเกือบถึงพนั ลา้ นคน ซ่ึงสองในสามจะ อยใู่ นประเทศกาลงั พฒั นา และมกี ารคาดการณ์ว่าจะมีความชุกของโรคความดนั โลหิตสูงทวั่ โลกเพิ่มข้ึนถึงเป็ น 1.56 พนั ลา้ นคน ในปี พ.ศ. 2568 โดยสาเหตุส่วนใหญ่มาจากปัจจยั การดาเนินชีวิตท่ีเปลยี่ นไป เช่น การมกี ิจกรรม ทางกายนอ้ ย การบริโภคอาหารที่มีส่วนประกอบของเกลอื และไขมนั สูง การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และ การสูบบุหร่ี ซ่ึงนามาสู่ภาระโรคที่เพิ่มข้ึน ดว้ ยความตระหนกั ถงึ ปัญหาและภยั ของภาวะความดนั โลหิตสูง จากสถานการณ์และความสาคญั ดงั กล่าว นางสาวกาญจนา แกว้ รัตน์ นกั ศึกษาช้นั ปี ที่ 2 หลกั สูตรฉุกเฉินการแพทย์ รุ่นท่ี 15 เล็งเห็นว่าประชาชนหมู่ 2 ตาบลบา้ นตูล อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช มีความเสี่ยงที่จะเป็ นโรคความดนั โลหิตสูง โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตาบล บา้ นตูล จึงไดจ้ ดั ทาโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเส่ียงลดโรคความดนั โลหิตสูง ใน กล่มุ เส่ียงเพ่ือใหป้ ระชาชนกลุ่มเส่ียงสูงมสี ุขภาพท่ีดีมีความรู้ในการดูแลตนเอง ลดการเกิดโรคความดนั โลหิตสูง และภาวะแทรกซอ้ นและการสูญเสียของประชากรกล่มุ เสี่ยงสูงต่อไป 1.2 วตั ถุประสงค์ 1.2.1 เพือ่ ใหป้ ระชากรกลุ่มเสี่ยงสูงมีความรู้ในการดูแลตนเองไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 1.2.2 เพือ่ ใหป้ ระชากรกลุ่มเส่ียงสูงมีพฤติกรรมท่ีเหมาะสมในการป้องกนั โรคความดนั โลหิตสูง และ ภาวะแทรกซอ้ นได้ 1.2.3 เพื่อสร้างเครือข่ายกลุ่มเส่ียงสูงป้องกนั โรคความดนั โลหิตสูง และภาวะแทรกซอ้ น 1.3 กลุ่มเป้าหมาย กลมุ่ ประชาชนทวั่ ไปและผทู้ ี่มภี าวะเส่ียง ในหมูบ่ า้ นตวนเงิน ต.บา้ นตูล อ.ชะอวด จ.นครศรีธรรมราช

1.4 เป้าหมาย 1.4.1 เป้าหมายเชิงคุณภาพ - ประชาชนมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ในการควบคุมป้องกนั โรคความดนั โลหิตสูงไดใ้ นระดบั ดี 1.4.2 เป้าหมายเชิงปริมาณ - ประชาชนมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ในการควบคุมป้องกนั โรคความดนั โลหิตสูงเขา้ ร่วม โครงการ ร้อยละ 80 1.5 ระยะเวลาดาเนินการ ต้งั แต่วนั ที่ 8 เมษายน – 11 เมษายน 2563 1.6 ดัชนี 1. ประชาชนกล่มุ เส่ียงและกล่มุ ท่ีเป็นโรคความดนั โลหิตสูงท่ีเขา้ ร่วมโครงการ มีความรู้ ความ เขา้ ใจในการควบคมุ ป้องกนั โรคความดนั โลหิตสูงในระดบั ดีร้อยละ80 หลงั ส้ินสุดโครงการ 2. อตั ราความพึงพอใจของประชาชนที่เขา้ รับการอบรม (ร้อยละ 80)พึงพอใจ 1.7 ผู้รับผดิ ชอบโครงการ นางสาวกาญจนา แกว้ รัตน์ นกั ศกึ ษาหลกั สูตรฉุกเฉินการแพทย์ รุ่นท่ี 15 ช้นั ปี ท่ี 2 1.8 สถานทดี่ าเนนิ โครงการ หอประชุมหมู่ท่ี 2 ตาบลบา้ นตูล อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช 1.9 ผลท่ีคาดว่าจะได้รับ 1.8.1 อตั ราป่ วยดว้ ยโรคความดนั โลหิตสูงของประชากรในชุมชนลดลง 1.8.2 ทาใหป้ ระชาชนในชุมชนมีความรู้ ความเขา้ ใจ เกี่ยวกบั โรคความดนั โลหิตสูงและมีพฤติกรรมที่ ถูกตอ้ งเหมาะสม 1.8.3 ประชาชนใหค้ วามร่วมมอื ในการดาเนินการรณรงค์ ป้องกนั และควบคุมโรคความดนั โลหิตสูง

2. แผนการดาเนินงาน 2.1 วธิ ีการดาเนินงาน กระบวนการ กจิ กรรม เวลาดาเนนิ การ ผ้รู ับผดิ ชอบ การวางแผน (P) 1. ประชุมวางแผน กาหนดวัตถุประสงค์ 8 เมษายน 2563 น.ส.กาญจนา แกว้ รัตน์ งบประมาณ ดัชนีช้ีวดั ความสาเร็จ พฒั นา นกั ศกึ ษาหลกั สูตรฉุกเฉิน โครงการฉบบั สมบูรณ์เพื่อขออนุมตั ิ การแพทย์ รุ่นท่ี 15 ช้นั ปี ท่ี 2 2. เมื่อโครงการได้รับอนุ มัติแล้วจึ ง ม อ บ ห ม า ย ห น้า ที่ รั บ ผิ ด ช อ บ ภ า ย ใ น ก ลุ่ ม พร้อมท้งั ประสานผทู้ ี่เกี่ยวขอ้ งประสานงาน ชุมชน จดั เตรียมวสั ดุ อปุ กรณ์ท่ีตอ้ งใช้ การปฏิบตั ิ 1.จดั โครงการตามกาหนดการ 9 เมษายน 2563 น.ส.กาญจนา แกว้ รัตน์ (D) 1.1 วนั จดั กิจกรรม นกั ศกึ ษาหลกั สูตรฉุกเฉิน 1.จดั โครงการตามกาหนดการ การแพทย์ รุ่นท่ี 15 ช้นั ปี ท่ี 2 1.1 วนั จดั กิจกรรม 1.1.1 ทาแบบทดสอบก่อนให้ ความรู้ 1.1.2 การบรรยายใหค้ วามรู้เกีย่ วกบั โรค ความดนั โลหิตสูงและวิธีการ ป้องกนั โรค ความดนั โลหิตสูง 1.1.3 กิจกรรมตอบคาถามเกี่ยวกบั ความรู้ เร่ืองความดนั โลหิตสูง 1.1.4 จดั กจิ กรรมกลมุ่ ( Focus Group) ระดมสมองภายในกล่มุ 1.1.5 ทาแบบทดสอบหลงั ให้ ความรู้ 1.1.6 ทาแบบประเมนิ ความพงึ พอใจ 1.1.7 ตรวจคดั กรองผทู้ ่ีมภี ะวะ เสี่ยง 1.2 วนั เดินรณรงค์ 1.2.1 ใหค้ วามรู้เร่ืองความดนั โลหิตสูง 1.2.2 แจกแผน่ พบั

กระบวนการ กจิ กรรม เวลาดาเนนิ การ ผ้รู ับผดิ ชอบ การประเมนิ ผล ประเมินผลตามวตั ถปุ ระสงคด์ ว้ ย 9 เมษายน 2563 น.ส.กาญจนา แกว้ รัตน์ (C) 1. แบบลงทะเบียนเขา้ ร่วมโครงการ นกั ศกึ ษาหลกั สูตรฉุกเฉิน 2. ประเมินความรู้ก่อน-หลงั ใหค้ วามรู้ การแพทย์ รุ่นท่ี 15 ช้นั ปี ที่ 2 3. สงั เกตการมสี ่วนร่วมของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ ก า ร ป รั บ ป รุ ง 1.ประชุมผจู้ ดั ทาโครงการเพือ่ สรุปผลการ 10 เมษายน 2563 น.ส.กาญจนา แกว้ รัตน์ หรื อนาผลการ ดาเนินงานและเสนอแนะแนวทางเพอ่ื นกั ศกึ ษาหลกั สูตรฉุกเฉิน ประ เมิน ไปใช้ ปรับปรุงพฒั นา การแพทย์ รุ่นที่ 15 ช้นั ปี ท่ี 2 ประโยชน์ (A) 2.2 ผลการดาเนินงาน 2.2.1 การดาเนนิ งานในข้นั ตอนการวางแผน (P) - ประสานงานกบั แกนนา อสม.หม่ทู ี่ 2 ตาบลบา้ นตูล อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช นางสาวกาญจนา แกว้ รัตน์ หลกั สูตรฉุกเฉินการแพทย์ ช้นั ปี ที่ 2 ประสานงานกบั แกนนาอสม. หมู่ 2 เพอ่ื จดั การทาประชาคมหาปัญหาท่ีตอ้ งแกไ้ ขเพือ่ จดั ทาโครงการ -ประชุมวางแผนกาหนดการดาเนินงานและเขียนโครงการเพอ่ื ขออนุมตั ิ นางสาวกาญจนา แกว้ รัตน์ หลกั สูตรฉุกเฉินการแพทยจ์ ดั ประชุมกนั กบั แกนนาอสม.หมู่ 2 เพ่ือ สอบถามปัญหาต่างๆท่ีเกิดข้ึนในชุมชน และไดม้ กี ารประชุมกนั ภายในกลุ่มเพื่อวางแผนการดาเนินงาน กาหนด วตั ถุประสงค์ วางแผนการใชง้ บประมาณ หน้าท่ีรับผิดชอบ เพื่อให้การดาเนินงานโครงการเป็ นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ -ติดต่อประสานงาน กบั ผทู้ ่ีเกี่ยวขอ้ งในชุมชน นางสาวกาญจนา แกว้ รัตน์ หลกั สูตรฉุกเฉินการแพทย์ ไดต้ ิดต่อจดั การขอสถานท่ีในการทา กิจกรรม เพอ่ื ใหก้ ารดาเนินงานโครงการเป็นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ - ติดต่อขอใชส้ ถานที่ 2.2.2. การดาเนนิ งานในข้นั ตอนการปฏิบตั ิ (D) - เสนอร่างโครงการ และปรับแกไ้ ข โครงการรณรงค์ ป้องกนั และควบคุมโรคความดนั โลหิตสูง หมู่ท่ี 2 ตาบลบา้ นตูล อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช - จดั เตรียมเอกสารในการทาโครงการ

- จดั เตรียมสถานที่ในการจดั ทาโครงการรณรงค์ ป้องกนั และควบคุมโรคความดนั โลหิตสูง หมู่ ที่ 2 ตาบลบา้ นตูล อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช - ดาเนินงานกิจกรรมโครงการรณรงค์ ป้องกนั และควบคุมโรคความดนั โลหิตสูง หมู่ที่ 2 ตาบลบา้ นตูล อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช ดว้ ยการบรรยายใหค้ วามรู้เก่ียวกบั โรคความดนั โลหิตสูง นางสาวกาญจนา แกว้ รัตน์ หลกั สูตรฉุกเฉินการแพทย์ไดเ้ ขา้ รับการอบรมใหค้ วามรู้เก่ียวกบั การดูแล ตวั เองการรักษา อาการ และการป้องกนั เกี่ยวกบั โรคความดนั โลหิตสูง - รณรงคใ์ หค้ วามรู้เรื่องโรคความดนั โลหิตสูง 2.3 จานวนผ้เู ข้าร่วมโครงการ เจา้ หนา้ ท่ีและกลุม่ ประชาชนทว่ั ไปและผทู้ ี่มีภาวะเส่ียง จานวน 80 คน 2.4 สถานทดี่ าเนินการ หอ้ งประชุมประจาหมบู่ า้ น หมทู่ ่ี 2 ตาบลบา้ นตูล อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช 2.5 งบประมาณ งบประมาณรายจ่ายประจาปี 2562 เงินอุดหนุนทว่ั ไป เงินอุดหนุนสาหรับการดาเนินงานตามโครงการ พระราชดาริดา้ นสาธารณสุข(สนบั สนุนจากกองทุนหมูท่ ่ี2 ตาบลบา้ นตูล อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช ) จานวน 7,000 บาท (เจด็ พนั บาทถว้ น) ใชจ้ ่ายดงั น้ี 1.ค่าอาหารวา่ งและเครื่องด่ืม จานวน 80 คนๆละ 1 ม้ือๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท 2.ค่าอาหารกลางวนั จานวน 80 คนๆละ 1 ม้ือๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท 3.ค่าสมนาคุณวิทยากร จานวน 2 ชว่ั โมงๆละ 300 บาท เป็นเงิน 600 บาท 4.ค่าป้ายไวนิลโครงการ เป็นเงิน 300 บาท 5.ค่าวสั ดุที่ใชใ้ นโครงการ เป็นเงิน 300 บาท รวมเป็ นเงนิ 5,600 บาท (แปดพนั ห้าบาทถ้วน)

3.เคร่ืองมือและวธิ ีการในการประเมินผล หลงั จากที่ไดด้ าเนินงานตามแผนของโครงการแลว้ น้นั ซ่ึงในข้นั ตอนสุดทา้ ยจะเป็ นกิจกรรมในการ ประเมินผลโครงการ หากพิจารณาถึงความสัมพนั ธ์ระหว่างการวางแผนกบั การประเมินผลโครงการ พบว่า กิจกรรมท้งั สองมคี วามสมั พนั ธท์ ี่ตอ้ งดาเนินการควบคู่กนั โดยการวางแผนโครงการเป็นกิจกรรมของการกาหนด แนวทางการนาไปปฏบิ ตั ิเพือ่ การบรรลุวตั ถุประสงค์ ส่วนการประเมินผลโครงการเป็ นกิจกรรมสุดทา้ ยในการ พิจารณาผลการดาเนินงานเป็ นไปตามแผนท่ีกาหนดหรื อไม่ 3.1 เคร่ืองมือทใ่ี ช้ในการเก็บข้อมูล 3.1.1 แบบทดสอบความรู้ ทศั นคติและพฤติกรรม ก่อน-หลงั ใหค้ วามรู้ เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มูลเพื่อการประเมินในคร้ังน้ี เป็ นแบบสอบถามที่ผูร้ ับผิดชอบ โครงการไดส้ ร้างข้ึนใหส้ อดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงค์ และตวั ช้ีวดั ของโครงการ ซ่ึงมีรายละเอียดดงั น้ี ส่วนท่ี 1 ขอ้ มลู พ้ืนฐานส่วนบุคคล ไดแ้ ก่ เพศ อายุ ระดบั การศึกษา อาชีพ ส่วนที่ 2 ความรู้เร่ืองไขเ้ ลอื ดออก แบบสอบถามเป็นแบบเลือกคาตอบเพยี งคาตอบเดียว คือ ถูก หรือ ผดิ จานวน 10 ขอ้ กาหนดเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนดงั น้ี ตอบถกู ไดค้ ะแนนเท่ากบั 1 คะแนน ตอบผดิ ไดค้ ะแนนเท่ากบั 0 คะแนน ส่วนที่ 3 ทศั นคตติ ่อการป้องกนั และควบคุมโรคไขเ้ ลอื ดออกแบบสอบถามเป็นแบบเลอื กคาตอบ เพยี งคาตอบเดียว คือ เห็นดว้ ยอยา่ งยง่ิ เหน็ ดว้ ย ไม่แน่ใจ ไมเ่ ห็นดว้ ย ไมเ่ ห็นดว้ ยอยา่ งยง่ิ ขอ้ คาถามมีท้งั ดา้ นบวก และดา้ นลบจานวน 10 ขอ้ กาหนดเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ดงั น้ี คาถามเชิงบวก คาถามเชิงลบ เห็นดว้ ยอยา่ งยงิ่ ได้ 5 คะแนน ได้ 1 คะแนน เห็นดว้ ย ได้ 4 คะแนน ได้ 2 คะแนน ไม่แน่ใจ ได้ 3 คะแนน ได้ 3 คะแนน ไม่เห็นดว้ ย ได้ 2 คะแนน ได้ 4 คะแนน ไมเ่ ห็นดว้ ยอยา่ งยง่ิ ได้ 1 คะแนน ได้ 5 คะแนน

3.2 วธิ ีการเกบ็ รวบรวมข้อมูล 3.2.1วดั ความรู้ ของประชาชนที่เขา้ ร่วมโครงการโดยใชแ้ บบทดสอบความรู้ ก่อนการเขา้ อบรม 3.2.2วดั ความรู้ ของประชาชนท่ีเขา้ ร่วมโครงการโดยใชแ้ บบทดสอบความรู้หลงั จากการเขา้ อบรม 3.3 การวเิ คราะห์ข้อมลู การวิเคราะห์ขอ้ มูลดงั รายละเอยี ดต่อไปน้ี 1. การวิเคราะห์ขอ้ มูลส่วนบุคคล ใชส้ ถิติการแจกแจงความถี่ ( Frequency ) และร้อยละ( Percentage ) 2. การประเมนิ ความพงึ พอใจ การประเมนิ ความรู้ ใชส้ ถิติค่าเฉลี่ย ( Ẋ ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( S.D.) 3.4 เกณฑ์ท่ีใช้ในการวเิ คราะห์ข้อมูล 3.4.1 แบบทดสอบความรู้ ทศั นคติ และพฤติกรรม ก่อน-หลงั ใหค้ วามรู้ 3.4.1.1 การแปลผลคะแนน สาหรับเกณฑ์การประเมินระดบั ความรู้เก่ียวกบั เร่ืองไขเ้ ลือดออก แบ่งออกเป็น 3 ระดบั โดยใชว้ ธิ ีการกาหนดเกณฑต์ ามช่วงคะแนนตามหลกั วิธีคิดของบลูม Bloom (1964อา้ งถึง ใน สมนึก แกว้ วิไล, 2552) ซ่ึงมีระดบั คะแนน ดงั น้ี ระดบั ความรู้ ร้อยละ (ของคะแนนเตม็ ) ระดบั ดี 80.00 ข้ึนไป (8-10ขอ้ ) ระดบั ปานกลาง 50.00 - 79.99 (5-7ขอ้ ) ระดบั ควรปรับปรุง 1.00 - 49.99 (0-5ขอ้ ) 3.4.1.2 การแปลผลคะแนนสาหรับเกณฑ์การประเมินทศั นคติเก่ียวกบั การป้องกนั และควบคุม โรคไขเ้ ลือดออกโดยใชว้ ิธีการกาหนดเกณฑ์ตามช่วงคะแนนตามหลกั วิธีคิดของเบสท์ (Best, 1997 อา้ งถึงใน กลุ ธิดา เหมาเพชร และคณะ, 2555) ดงั น้ี ระดบั ทศั นคติ ค่าระดบั คะแนนเฉลย่ี ระดบั สูง 3.67 - 5.00 ระดบั ปานกลาง 2.34 - 3.66 ระดบั ต่า 1.00 - 2.33 3.4.1.3 การแปลผลคะแนนสาหรับเกณฑบ์ ่งช้ีพฤติกรรมการออกกาลงั กาย โดยใชว้ ิธีการกาหนด เกณฑต์ ามช่วงคะแนนตามหลกั วธิ ีคิดของเบสท์ (Best, 1997 อา้ งถงึ ในกุลธิดา เหมาเพชร และคณะ, 2555) ดงั น้ี

ระดบั พฤติกรรม ค่าระดบั คะแนนเฉลี่ย ระดบั สูง 3.67 - 5.00 ระดบั ปานกลาง 2.34 - 3.66 ระดบั ต่า 1.00 - 2.33 3.4.2 แบบประเมินความพึงพอใจการเขา้ ร่วมโครงการ โดยเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนความพงึ พอใจ ดงั น้ี คะแนนเฉลีย่ สูงกวา่ 4.50 มีความพึงพอใจในระดบั มากท่ีสุด คะแนนเฉลีย่ ระหว่าง 3.50 – 4.49 มคี วามพึงพอใจในระดบั มาก คะแนนเฉลี่ยระหว่าง 2.50 – 3.49 มีความพงึ พอใจในระดบั ปานกลาง คะแนนเฉลีย่ ระหว่าง 1.50 – 2.49 มีความพึงพอใจในระดบั นอ้ ย คะแนนเฉลยี่ ต่ากวา่ 1.50 มคี วามพึงพอใจในระดบั นอ้ ยที่สุด 4.ผลการประเมนิ การดาเนินโครงการ 4.1 ข้อมูลทว่ั ไปของผู้ตอบแบบประเมนิ ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการมี 60 คน จากจานวนท้งั หมด 80 คน คิดเป็นร้อยละ 75.00 ซ่ึงขอ้ มูลทวั่ ไปในเร่ือง เพศ อายรุ ะดบั การศกึ ษา อาชีพ สถานภาพ มขี อ้ มูลดงั ตารางต่อไปน้ี ตารางท่ี 4.1.1 เพศของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ เพศ จานวน ร้อยละ เพศชาย 20 33.33 % เพศหญิง 40 66.67% รวม 60 100 % จากตารางแสดงขอ้ มลู เพศของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ พบวา่ เพศหญิง มจี านวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 66.67%และเพศชายมีจานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 33.33 % ตารางท่ี 4.1.2 อายขุ องผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ อายุ จานวน ร้อยละ ต่ากว่า 20 ปี 2 3.33 20-30 10 16.67 31-40 10 16.67 41-50 20 33.33 51 ปี ข้ึนไป 18 30

รวม 60 100 จากตารางแสดงขอ้ มูลอายขุ องผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ พบว่า อายุ 51 ปี ข้ึนไป มีจานวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 30 อายุ 41-50 ปี มีจานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 33.33 อายุ 31-40 ปี มจี านวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 อายุ 20-30 ปี มีจานวน 10 คน คิดเป็ นร้อยละ 16.67 และอายุต่ากว่า 20 ปี มีจานวน 2 คน คิดเป็ นร้อยละ 3.33 ตามลาดบั ตารางท่ี 4.1.3 ระดบั การศกึ ษาของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ ระดบั การศกึ ษา จานวน ร้อยละ ประถมศึกษา 30 50 มธั ยมศกึ ษา 14 23.33 อนุปริญญา 10 16.67 ปริญญาตรี 6 10 อน่ื ๆ 0 0 รวม 60 100 จากตารางแสดงขอ้ มูลระดบั การศึกษาของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ พบว่า ระดบั ประถมศึกษา มีจานวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 50 ระดบั มธั ยมศกึ ษา มจี านวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 23.33 ระดบั อนุปริญญา มีจานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67ระดบั ปริญญาตรีมีจานวน 6คน คิดเป็นร้อยละ 10 ระดบั อน่ื ๆ มีจานวน 0 คน คิด เป็นร้อยละ 0 ตามลาดบั ตารางที่ 4.1.4 อาชีพของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ อาชีพ จานวน ร้อยละ นกั เรียน/นกั ศกึ ษา 5 8.33 ขา้ ราชการ 4 6.67 เกษตรกรรม 12 20 คา้ ขาย/ธุรกิจ 8 13.33 รับจา้ งทวั่ ไป/ลกู จา้ ง 22 36.67 ไมไ่ ดป้ ระกอบอาชีพ/ทางานบา้ น 9 15 อนื่ ๆ 0 0 รวม 60 100

จากตารางแสดงขอ้ มูลอาชีพของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ พบว่า อาชีพรับจา้ งทวั่ ไป/ลูกจา้ ง มีจานวน22 คน คิดเป็นร้อยละ 36.67 เกษตรกรรมมจี านวน 12คน คิดเป็นร้อยละ 20 ไม่ไดป้ ระกอบอาชีพ/ทางานบา้ นมีจานวน 9 คน คิดเป็ นร้อยละ 15 อาชีพคา้ ขาย/ธุรกิจ มีจานวน 8 คน คิดเป็ นร้อยละ 13.33 อาชีพนักเรียน/นักศึกษา มี จานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 8.33 อาชีพขา้ ราชการมีจานวน 4 คน คิดเป็ นร้อยละ 6.67 อาชีพอื่น ๆ มีจานวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 ตามลาดบั 4.2 ผลการทดสอบความรู้จากการเข้าร่วมโครงการ ตารางท่ี 4.2.1 ผลการทดสอบความรู้จากการเข้าร่วมโครงการ รายการ สูงสุด ตา่ สุด เฉลยี่ ผ่านเกณฑ์ ไม่ผ่านเกณฑ์ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ ก่อนเขา้ อบรม 5 2 0.03 -- -- ผลการทดสอบ - - - 30 50 30 50 -- -- หลงั เขา้ อบรม 9 6 0.07 50 83.33 10 16.67 ผลการทดสอบ - - - จากตารางท่ี 4.2.1 พบว่าการเขา้ ร่วมโครงการมคี ะแนนทดสอบความรู้ ก่อนเขา้ รับ การบรรยาย เก่ียวกบั โรคความดนั โลหิตสูงไดค้ ะแนนสูงสุด 5คะแนน คะแนนต่าสุด 2 คะแนน และมี คะแนนเฉล่ีย 0.03 คะแนน มจี านวนผผู้ า่ นเกณฑจ์ านวน 30คน คิดเป็นร้อยละ 50 มีจานวนผไู้ ม่ผา่ นเกณฑจ์ านวน 30คน คิดเป็ นร้อย ละ 50 และหลงั จากการเขา้ รับการบรรยายเก่ียวกบั โรค ความดนั โลหิตสูง มีผทู้ ดสอบความรู้ไดค้ ะแนนสูงสุด 9 คะแนน คะแนนต่าสุด 6คะแนน และมี คะแนนเฉล่ีย 0.07คะแนน มีจานวนผผู้ า่ นเกณฑจ์ านวน 50 คน คิดเป็ นร้อยละ 83.33 ซ่ึงผา่ นตาม ตวั ช้ีวดั ในหวั ขอ้ จุดประสงค์ มีผเู้ ขา้ ร่วมโครงการร้อยละ 80 มีความรู้ เก่ียวกบั การ ควบคุมป้องกนั โรคความดนั โลหิตสูงอยใู่ นระดบั ดี ตารางที่ 4.2.2 คะแนนการทดสอบประเมนิ ความรู้ก่อนเข้าร่วมโครงการอย่างละเอยี ด คะแนน จานวน ( คน ) ร้อยละ 2 5 8.33 3 15 25 4 10 16.67 5 30 50 รวม 60 100

จากตารางท่ี 4.2.2 พบว่าคะแนนทดสอบการประเมินความรู้ก่อนเขา้ ร่วมโครงการ มีคะแนน สูงสุด 5 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 50 และคะแนนต่าสุด 2 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 8.33 ตารางที่ 4.2.3 คะแนนการทดสอบประเมนิ ความรู้หลงั เข้าร่วมโครงการอย่างละเอยี ด คะแนน จานวน ( คน ) ร้อยละ 6 4 6.67 7 6 10 8 20 33.33 9 30 50 รวม 60 100 จากตารางที่ 4 พบว่าคะแนนทดสอบการประเมินความรู้หลงั เขา้ ร่วมโครงการ มคี ะแนนสูงสุด 9 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 50และคะแนนต่าสุด 6 คะแนน คดิ เป็นร้อยละ 6.67 4.3 ผลการทาแบบประเมนิ ความพงึ พอใจ ตารางที่ 4.3.1 ค่าเฉลย่ี ของความพงึ พอใจต่อโครงการภาพรวม ลาดบั ท่ี ประเด็น ระดับความพงึ พอใจ 1. ความพึงพอใจดา้ นกระบวนการ ข้นั ตอนการจดั กจิ กรรม x S.D แปลผล 2. ความพงึ พอใจดา้ นวิทยากร 4.78 0.46 มากท่ีสุด 3. ความพึงพอใจดา้ นส่ิงอานวยความสะดวก 4.74 0.44 มากท่ีสุด 4. ความพงึ พอใจดา้ นคุณภาพการจดั กิจกรรม 4.68 0.38 มากที่สุด 4.74 0.44 มากท่ีสุด จากตารางท่ี 4.3.1 ค่าเฉล่ียของความพึงพอใจต่อโครงการภาพรวม พบว่ามีความพึงพอใจด้าน กระบวนการ ข้นั ตอนการจดั กิจกรรมมากที่สุด( x = 4.78 ) รองลงมา ความพึงพอใจดา้ นคุณภาพการจดั กิจกรรมและ ความพึงพอใจดา้ นวิทยากร( x = 4.74 ) และความพงึ พอใจดา้ นสิ่งอานวยความสะดวก ( x = 4.68 ) นอ้ ยท่ีสุด

ตารางที่ 4.3.2 ค่าเฉลยี่ ของผลประเมนิ ความพงึ พอใจของผ้เู ข้าร่วมโครงการ รายละเอยี ด ระดับความพงึ พอใจ x S.D แปลผล 1. ความพงึ พอใจด้านกระบวนการ ข้ันตอนการจดั กจิ กรรม 1.1. รูปแบบกิจกรรมการจดั กิจกรรม 4.22 0.52 สูง 1.2 ลาดบั ข้นั ตอนในการจดั กจิ กรรม 2.23 1.22 สูง 1.3 ระยะเวลาที่ใชใ้ นการจดั กิจกรรม 4.41 0.57 สูง 1.4 เอกสารและสื่อประกอบในการจดั กิจกรรม 2.23 0.36 ต่า 1.5 ความเหมาะสมของการจดั กิจกรรม 4.50 0.55 สูง 2. ความพงึ พอใจด้านวทิ ยากร 2.1 การถ่ายทอดความรู้ของวิทยากรมคี วามชดั เจน 4.56 0.59 สูง 2.2 การตอบขอ้ ซกั ถามในการจดั กิจกรรม 4.45 0.54 สูง 3. ความพงึ พอใจด้านส่ิงอานวยความสะดวก 3.1 สถานท่ีจดั กิจกรรม 4.33 0.61 สูง 3.2 มกี ารใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งเหมาะสม 2.25 1.09 ต่า 4. ความพงึ พอใจด้านคณุ ภาพการจดั กจิ กรรม 4.1 ท่านไดร้ ับประโยชนจ์ ากการเขา้ ร่วมกิจกรรมอยา่ งคุม้ ค่า 4.29 0.72 สูง 4.2 ท่านสามารถนาความรู้ที่ไดร้ ับไปประยกุ ตใ์ ชใ้ น 4.39 0.65 สูง ชีวิตประจาวนั 3.72 0.34 สูง ผลรวม 4.4 สรุปผลการดาเนินงานโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกนั และควบคุมโรคความดนั โลหิตสูงหมู่ท่ี2 ตาบลบา้ นตูล อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช มวี ตั ถุประสงคเ์ พอ่ื ใหเ้ กิดความรู้ ความเขา้ ใจในการควบคุมป้องกนั โรคความดนั โลหิต สูงที่ถูกวิธีและเหมาะสม เพ่ือให้xระชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันหลีกเลี่ยงจากภาวะความดนั โลหิตสูง เป้าหมายเชิงคุณภาพ คือประชาชนมีความรู้ ความเขา้ ใจ ในการควบคุมป้องกนั โรคความดนั โลหิตสูงไดใ้ นระดบั

ดี และเป้าหมายเชิงปริมาณคือ อตั รา ความพงึ พอใจของประชาชนท่ีขอรับบริการ (ร้อยละ 80)พงึ พอใจรับผดิ ชอบ โครงการ โดย นางสาวกาญจนา แกว้ รัตน์ หลกั สูตรฉุกเฉินการแพทยช์ ้นั ปี ที่2รุ่นที่15 โครงการน้ีไดด้ าเนินโครงการที่หมทู่ ่ี2 ตาบลบา้ นตูล อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช ต้งั แต่ วนั ท่ี8เมษายน – 11 เมษายน 2563ข้นั ตอนการดา เนินงานที่สาคญั คือวนั จดั กิจกรรมใหผ้ เู้ ขา้ ร่วมโครงการทา แบบทดสอบก่อนและหลงั ให้ ความรู้ มีการบรรยายใหค้ วามรู้ เก่ียวกบั โรค ความดนั โลหิตสูง และวิธีการป้องกนั โรคความดนั โลหิตสูง เพอ่ื ระดมสมองและทาแบบประเมินความพึงพอใจ ส่วนวนั เดินรณรงค์มีให้ความรู้ เร่ือง การป้องกนั โรคความดนั โลหิตสูง พร้อมท้งั แจกแผน่ พบั ซ่ึงมีขอ้ มูลเก่ียวกบั ความดนั โลหิตสูง 4.5 ประโยชน์จากการทาโครงการ - ทาใหเ้ กิดการพฒั นาความคิดและไดฝ้ ึกทกั ษะการวางแผนอยา่ งเป็นระบบและการกาหนด รูปแบบ ต่างๆใหส้ อดคลอ้ งกนั - ทาใหไ้ ดเ้ รียนรู้เก่ียวกบั การทางาน ประสานงาน และตดิ ตอ่ กบั หน่วยงานต่าง ๆ พร้อมท้งั มี การวางแผน การทางานอยา่ งมีระบบ - ไดฝ้ ึกทกั ษะการทางานร่วมกบั คนในชุมชน เพือ่ ใชเ้ ป็นแนวทางแก่การทางานในอนาคต - การรู้จกั รับฟังความคิดเห็นของผอู้ น่ื รวมไปถงึ การประสานงานหรือการติดต่อกบั หน่วยงานต่างๆ - ทาใหร้ ู้จกั การแกป้ ัญหาเฉพาะหนา้ เมื่อเจอเหตุการณ์ที่ไมไ่ ดเ้ ป็นไปตามแผนท่กี าหนดไว้ 4.6 ปัญหาและอปุ สรรค - การดาเนินโครงการไมเ่ ป็นไปตามระยะเวลาที่กาหนด - ผสู้ ูงอายมุ ีเวลาจากดั ทาใหต้ อ้ งเร่งการจดั กิจกรรม - นกั ศกึ ษาผบู้ รรยายใหค้ วามรู้มคี วามต่ืนเตน้ พดู เร็ว จึงทาใหผ้ สู้ ูงอายฟุ ังไมท่ นั - เน่ืองจากกลุ่มเป้าหมายมีจานวนมาก นกั ศกึ ษาผบู้ รรยายจึงไม่สามารถตอบขอ้ ซกั ถามไดอ้ ยา่ งทว่ั ถึง 4.7 ข้อเสนอแนะ 1. ควรมคี วามพร้อมในการดาเนินโครงการ 2. การทากิจกรรมควรใชร้ ะยะเวลาใหส้ ้นั กระชบั 3. ควรใหผ้ เู้ ขา้ ร่วมโครงการมีส่วนร่วมมากข้นึ เช่น การถาม-ตอบ เป็นตน้ 4. ส่ือที่ใชค้ วรเนน้ ท่ีรูปภาพมากกวา่ ตวั หนงั สือ รวมถงึ ควรใชต้ วั อกั ษรท่ีเห็นชดั เจน 5. ปรับการพดู ใหช้ า้ ลง

5.แนวทางการพฒั นางาน 5.1 แนวทางการพฒั นางาน จากการจดั ประชุมกล่มุ เพอื่ พิจารณาหาขอ้ ผดิ พลาด ปัญหาและอปุ สรรคของการทางานรวม ไปถงึ ขอ้ เสนอแนะจากผดู้ ูแลโครงการ ซ่ึงนามาสะทอ้ นถงึ ขอ้ ผดิ พลาดและสาเหตุท่ีเกิดข้ึน และนามาพฒั นา ในการจดั โครงการหรือกิจกรรมอื่น ๆ ร่วมกบั ชุมชนต่อไป ปัญหา สาเหตุ แนวทางการแก้ไข การดาเนินโครงการท่ีไม่ เวลาในการประสานงาน รวมไปถึง การดาเนินงานคร้ังต่อไป เป็นไปตามระยะเวลาท่ีกาหนด การบรรยายปรับแก้ล่าช้าและการไม่รู้ จะต้อง มีการ วางแ ผนและ และการประชาสัมพนั ธ์ยงั ไม่ กาหนดการ ทาให้ระยะเวลาดาเนินงาน จดั สรรเวลาในการดาเนินงาน ทว่ั ถงึ ไม่สัมพนั ธ์กบั ระยะเวลาท่ีกาหนด และ ให้เป็ นระบบไม่ยืดย้ือเกินไป การประชาสมั พนั ธไ์ ม่ทว่ั ถึง เ พื่ อ ใ ห้ ร ะ ย ะ เ ว ล า เ ห ม า ะ ส ม ตามที่กาหนด สถานท่ีไมค่ ่อยอานวยความ เนื่องจากสถานที่ไมก่ วา้ งมาก การดาเนินงานในคร้ังต่อไป สะดวก จะมีการวางแผน การเตรี ยม ค ว า ม พร้ อ ม ก่ อน ก า ร ด า เ นิ น กิจกรรม นาเสนอวชิ าการสื่อท่ีใชค้ วร เนื่องจากขาดประสบการณ์ในการ นา ในการวางแผนจดั ทากิจกรรม เนน้ ที่รูปภาพมากกวา่ ตวั หนงั สือ เสนองานในแหลง่ ชุมชน จึงมีการเนน้ ไป ค ร้ั ง ต่ อ ไ ป จ ะ ต้ อ ง มี ก า ร ท่ีวชิ าการ คานึงถึง กลุ่มเป้าหมายและ ระดบั ความรู้ ความสนใจของ กลุ่มเป้าหมาย ท้งั น้ี สื่อจะตอ้ ง มีเน้ือหาท่ีกระชับและส่ือ ให้ เขา้ ใจไดง้ ่าย

บทท่ี 5 สรุปผลโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ การจดั โครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชีพ คร้ังน้ี มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พ่ือให้ นกั ศกึ ษาสามารถปฏิบตั ิกระบวนการ ศกึ ษาชุมชนและแกไ้ ขปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวขอ้ งกบั งานดา้ นสุขภาพ ซ่ึง ประกอบดว้ ยการศกึ ษาชุมชน การเตรียมชุมชน และการวนิ ิจฉยั ชุมชน พร้อมท้งั การแกไ้ ขปัญหาและพฒั นา ชุมชนซ่ึงประกอบไปดว้ ยการ วางแผน การดาเนินการตามแผน และการประเมินผลการดาเนินงาน โดยมี รายละเอยี ดดงั น้ี 5.1 สรุปผลโครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชีพ 5.2 อภิปรายผลโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ 5.3 ขอ้ เสนอแนะโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ 5.1 สรุปผลโครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชีพ 5.1.1 ขอ้ มลู ทวั่ ไป จากการศกึ ษาชุมชนหม่ทู ี่ 2 ตาบลบา้ นตูล อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช สารวจชุมชนโดยใช้ แบบสอบถาม พบว่าประชากรที่ตอบแบบสอบถาม มชี ่วงอายตุ ่า กว่า 20 ปี ร้อยละ4 ช่วงอายุ 20 ปี ข้ึนไป ร้อยละ96 สรุปไดว้ า่ ประชากรในชุมชนที่ทา แบบสอบถามอยู่ ในช่วงอายุ ต่ากว่า 20 ปี ถึง 20 ปี ข้ึนไป เป็นเพศหญิงคิดเป็นร้อยละ96 เป็นเพศชาย คิดเป็น ร้อยละ 4 ประชากรส่วนใหญ่ ที่ตอบแบบสอบถามการศกึ ษาระดบั ประถมศกึ ษา คิดเป็นร้อยละ 56 ระดบั มธั ยมศึกษา คิดเป็นร้อยละ 22 ระดบั อนุปริญญามี คิดเป็นร้อยละ 14 ระดบั ปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 8และระดบั อื่น ๆ มจี านวน 0 คน คิด เป็นร้อยละ 0 5.1.2 ขอ้ มลู ดา้ นระบบสุขภาพจากการท่ีประชากรตอบแบบสอบถาม สรุปไดว้ ่า ปัญหาปัญหาดา้ น สุขภาพ ปัญหาการเจ็บป่ วยในรอบ 1 ปี ของคนในชุมชนมอี าการเจ็บป่ วยดว้ ยอาการ/โรคต่างๆมีค่าเฉลี่ยเลข คณิตสูงที่สุดคือ 2.74 และมคี ่าเบี่ยงเบนมาตรฐานอยทู่ ่ี 0.15 รองลงมาคือมดี า้ นความรู้ดา้ นสุขภาพคือ 2.98 และมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานอยทู่ ่ี 0.31

5.2 อภิปรายผล จากการศกึ ษาชุมชนหมูท่ ่ี 2 ตาบลบา้ นตูล อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช และการจดั ลาดบั ความสาคัญ ของปัญหาโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนโดยการทาประชาคม ซ่ึงพบว่าปัญหาที่สมควร ดาเนินการแกไ้ ขเป็ น อนั ดบั แรกคือ ดา้ นสุขภาพ โรคความดนั โลหิตสูง ดว้ ยเหตุผลดงั กล่าวจึงไดจ้ ดั ทา โครงการเพ่อื ดาเนินการแกไ้ ขปัญหาดา้ นสุขภาพ เรื่องโรคความดนั โลหิตสูง ในชุมชน หมทู่ ่ี 2 ตาบลบา้ นตูล อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช โดยมีกิจกรรมในโครงการประกอบดว้ ย 3 กิจกรรมหลกั คือ การ บรรยายใหค้ วามรู้เกี่ยวกบั โรคความดนั โลหิตสูง และวิธีการป้องกนั โรคความดนั โลหิตสูง กิจกรรมตอบ คาถามเก่ียวกบั ความรู้โรคความดนั โลหิตสูง เดินรณรงคป์ ้องกนั โรคความดนั โลหิตสูง หลงั จากให้ความรู้ ซ่ึงสามารถอภิปรายผลไดด้ งั น้ีคือ 5.2.1 กิจกรรมใหค้ วามรู้เร่ืองโรคความดนั โลหิตสูง พบว่ามีตวั แทนครัวเรือนและผนู้ าชุมชนเขา้ ร่วมในกิจกรรม คิดเป็นร้อยละ 80 และผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ ไดค้ วามรู้เชิงทฤษฎีเพิ่มมากข้ึน โดยส่วนใหญ่อยู่ ในระดบั ดี ซ่ึงบรรลุตามเป้าหมาย และการท่ีประชาชนมีความรู้เก่ียวกบั โรคความดนั โลหิตสูง มากข้ึนทาให้ ประชาชนมคี วามรู้ 5.2.2 กิจกรรมตอบคาถามเก่ียวกบั ความรู้โรคความดนั โลหิตสูง พบว่าผเู้ ขา้ ร่วมโครงการใหค้ วาม ร่วมมอื ในการทากิจกรรม ทาใหม้ ี ความเขา้ ใจมากข้ึน โดยประเมินจากการทดสอบความรู้หลงั ฝึกปฏบิ ตั ิจริง 5.2.3 กิจกรรมเดินรณรงคป์ ้องกนั โรคความดนั โลหิตสูง พบวา่ ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการมีความรู้ในเชิง ปฏบิ ตั ิเพมิ่ มากข้ึน พบว่า ประชาชนไดใ้ หค้ วามสนใจ และร่วมกจิ กรรมเป็นอยา่ งดี โดยประชาชนท่ีเขา้ ร่วม โครงการส่วนใหญ่มีความพงึ พอใจอยใู่ นระดบั ดี มากกว่า ร้อยละ 80 ซ่ึงจากการจดั ทาโครงการดงั กล่าวน้ีทา ใหป้ ระชาชนมีความรู้ทกั ษะและสามารถปฏิบตั ิไดจ้ ริงในเรื่องโรคความดนั โลหิตสูง 5.3 ข้อเสนอแนะการจดั โครงการพฒั นาทักษะวชิ าชีพ 5.3.1 ขอ้ เสนอแนะ 5.3.1.1 ในการจดั โครงการ ควรมกี ารประชาสมั พนั ธใ์ หท้ วั่ ถงึ และใหเ้ ขา้ ใจวตั ถปุ ระสงคข์ อง กิจกรรม 5.3.1.2 ควรมกี ารดึงประชาชนเขา้ มามีส่วนร่วมในกิจกรรมใหม้ ากที่สุด โดยมกี จิ กรรมสนั ทนาการ ละลายพฤติกรรมก่อนเขา้ เน้ือหาบทเรียน 5.3.1.3 ควรมกี ารเพ่มิ ระยะเวลาในการจดั กจิ กรรมโดยการติดตามและประเมนิ ผลโครงการอยา่ ง ต่อเนื่อง เพอื่ ประเมนิ วา่ ประชาชนมคี วามรู้ในเรื่องโรคความดนั โลหิตสูง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook