Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อ่านสร้างสุข 7 สู่รุ่งอรุณของหนังสือโรงเรียน

อ่านสร้างสุข 7 สู่รุ่งอรุณของหนังสือโรงเรียน

Description: อ่านสร้างสุข 7 สู่รุ่งอรุณของหนังสือโรงเรียน

Search

Read the Text Version

กำเนิดหนงั สือของเดก็ ไทย สรู ุงอรณุ ของหนังสือโรงเรียน

สารบญั ๔ คุยเปดิ เล่ม ๕ เกรนิ่ กล่าว กำเนดิ หนังสอื เดก็ ของไทย : จากสมุดไทยถึงยคุ กำเนิดการพมิ พ์ ๙ หนังสอื เลม่ แรก ดวงแกว้ แหง่ ปญั ญาเดก็ ไทย ๑๒ หนงั สือสอนทักษะชีวิตเล่มแรก ๑๘ แบบเรยี นภาษาไทย เรียนความร้ดู ว้ ยความงาม ๒๒ • เสน้ ทางเวลา เทคโนโลยกี ารพมิ พ์แบบใหม่ส่ปู ระเทศไทย ๒๘ สรา้ งหนงั สือ-สร้างเด็กไทย ในยคุ กา้ วสกู่ ารศึกษาแผนใหม่ สรา้ งแบบเรยี น คอื สรา้ ง “แบบ” เดก็ ไทย ๓๑ สร้างเสริมแบบเรียนไทยโดยบาทหลวงฝรง่ั ๓๓ หนังสอื นิทาน-อา่ นสนุก...ปลกู ฝังความดดี ้วยความงาม ๓๕ หนังสอื ดีทีต่ ้องหา้ มในสมยั รัชกาลท่ี ๖ - ๗ ๓๗ เพลงกลอ่ มเด็ก : จากมขุ ปาฐะสู่หนังสอื เพ่อื เด็กปฐมวัยเล่มแรก ๔๓ • สังเขป การศกึ ษากับหนงั สือเดก็ ของไทย ๔๖ ๔๙

รุง่ อรุณของหนังสือโรงเรียน : ๕๓ เพาะนกั อ่าน หว่านเมล็ดพนั ธุ์ “นกั เขียน” สู่บรรณพภิ พ ๕๖ ๖๔ จดหมายเหตุแสงอรุณ : แสงแรกแห่งอรณุ ของนติ ยสารเพ่อื เด็ก ๖๗ กุลสตั รี : ปฐมฤกษ์เพ่ือโรงเรียนสตรีและนกั เรียนสตรี ๖๙ ราชินบี ำรุง : ส่ือสร้างเสริมคณุ ภาพผูห้ ญิงยคุ ใหม่ ๗๑ อสั สัมชญั อโุ ฆษสมยั : จากครฝู รงั่ ถงึ นกั เรียนไทย ก้องไกลในกระแสกาล ๘๖ แถลงการศกึ ษาเทพศริ นิ ทร์ : แปลงเพาะตน้ กลา้ “นกั ประพนั ธ์” รายการหนังสอื อ้างองิ พิมพค์ รงั้ ที่ ๑ : กรกฎาคม ๒๕๕๔ จำนวนพิมพ์ : ๑,๐๐๐ เล่ม บรรณาธิการ : สุดใจ พรหมเกดิ บรรณาธกิ ารประจำฉบบั : รศ.ถริ นันท์ อนวัชศิรวิ งศ์ เขยี นโดย : พริ ณุ อนวัชศริ วิ งศ ์ บรรณาธกิ ารฝ่ายศิลป์ : วฒั นสนิ ธ์ุ สุวรัตนานนท์ ภาพ : ธนั ยนนั ท์ ฉพั พรรณรงั ษี กองบรรณาธกิ าร : ยวุ ดี งามวทิ ยโ์ รจน,์ วลิ าสนี ี ดอนเงนิ , ชตุ มิ า ฟกู ลน่ิ , คณติ า แอตาล, วไิ ล มแี กว้ สขุ , จุฑาพร ยอดศรี ประสานการผลติ : พวงผกา แสนเข่อื นสี, ชญชนญั เอยี่ มชน่ื จัดพมิ พ์และเผยแพร่ : แผนงานสรา้ งเสรมิ วัฒนธรรมการอ่าน ไดร้ ับการสนบั สนนุ จาก สำนกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การสร้างเสริมสขุ ภาพ (สสส.) ๔๒๔ หมบู่ า้ นเงาไม้ ซอยจรัญสนทิ วงศ์ ๖๗ แยก ๓ ถนนจรัญสนิทวงศ์ แขวงบางพลดั เขตบางพลัด กรุงเทพฯ ๑๐๗๐๐ โทรศพั ท์ : ๐-๒๔๒๔-๔๖๑๖-๗ โทรสาร : ๐-๒๔๒๔-๔๖๑๖-๗ กด ๓ Website : ww.happyreading.in.th E-mail : [email protected], Facebook : http://www.facebook.com/happy2reading Twitter : http://www.twitter.com/happy2reading พมิ พท์ ่ี : แปลนพริ้นตง้ิ จำกัด โทรศพั ท์ ๐-๒๒๗๗-๒๒๒๒

คุยเปดิ เลม่ การเดินหน้าขับเคลื่อนร่วมสร้างให้เกิดวัฒนธรรมการอ่าน โดยเฉพาะการ มุ่งเป้าหมายไปยังกลุ่มเด็กและเยาวชน หากได้ย้อนดูประวัติศาสตร์ ก็คงจะดีย่ิง การใหค้ วามสำคัญในเร่อื ง ดังกล่าว จึงเปน็ ทีม่ าให้ “อ่านสรา้ งสุข” โดยศูนยว์ จิ ัย และพัฒนานวัตกรรมการอ่าน ได้ศึกษา เรียบเรียงกำเนิดหนังสือของเด็กไทยฯ แค่เพียงจำเพาะเล่มน้ี ภาคีแผนงานสร้างเสริมวัฒนธรรมการอ่าน คงเห็นพ้อง ตอ้ งกันว่ามเี รือ่ งงดงามหลายต่อหลายเรื่องให้เราได้รว่ มกนั สานต่อ หลายตอ่ หลาย เรอ่ื งเพียงเชด็ ถกู ็แวววาว อกี หลายต่อหลายเร่ืองล้ำกาลสมัยอย่างน่าทงึ่ ฯลฯ หากจะนับกันจริงๆ จะเห็นว่า ภารกิจร่วมสร้างวัฒนธรรมการอ่านแทบไม่ ต้องนับหนึ่งใหม่ ทุนเดิมและทรัพยากรเรามีอยู่พอสมควร ข้ึนอยู่กับการ สร้างสรรค์ ประยุกต์ใช้อย่างไรให้ร่วมสมัย เหมาะสมบริบทท้องถ่ิน ชุมชน องค์กร ฯลฯ เราจะลองจับมือ เดินหน้า และหมนั่ จดั การความรู้กันอย่างสมำ่ เสมอ ด้วย ความเช่ือม่ันว่าพลังของการอ่าน จะเป็นพลังสำคัญทำให้เราเห็นผลท่ีวาดหวังใน เรว็ วัน สดุ ใจ พรหมเกิด ผจู้ ัดการแผนงานสร้างเสริมวฒั นธรรมการอ่าน  | กำเนดิ หนงั สือ เด็กของไทยสรู่ งุ่ อรุณของหนังสือโรงเรียน

เกรนิ่ กลา่ ว บนเสน้ ทางสรา้ งเสริมวฒั นธรรมการอ่านที่เปดิ ประเด็นกันในเวทีตา่ งๆ เพื่อ วาดหวังให้เด็กและเยาวชนมี “การอ่าน” เป็นวิถีทางไปสู่การมีสุขภาวะ โดย เฉพาะอย่างย่ิงทางจิตใจและจิตวิญญาณ เราจะมองจากสภาพท่ีเป็นอยู่ของการ อา่ นและหนงั สอื ทุกวนั นี้ เพื่อหวังวา่ จะมีพรงุ่ นที้ ดี่ กี วา่ ? การแลไปข้างหน้ามคี วามสำคัญ การเหลียวมองขา้ งหลงั กม็ คี วามสำคญั ... ...เพื่อจะได้หนนุ เนอื่ งให้วิสัยทัศน์เบ้อื งหน้าน้นั มคี วามกระจ่างชดั ยงิ่ ข้นึ จากช่วงเวลากว่าสามศตวรรษท่ีผ่านมา ถึงราวหน่ึงศตวรรษมาน้ี สยาม ประเทศของเรามีพัฒนาการท่ีถือได้ว่าเป็นคล่ืนลูกใหญ่ในมหาสมุทรแห่งการอ่าน และระบบหนงั สือ อย่างนอ้ ย ๓ ประการหลักๆ ๑. กำเนิดหนงั สือเด็กของไทย : จากสมุดไทยถึงยุคกำเนดิ การพิมพ ์ เรามีสมุดไทยท่ีทำให้ได้ประจักษ์หลักฐานของหนังสือสำหรับเด็กเล่มแรก ของไทย ต้ังแต่สมัยอยุธยาถึงต้นรัตนโกสินทร์ จินดามณี - หนังสือเรียนเล่มแรก กำเนิดหนงั สอื เด็กของไทยสรู่ ุ่งอรุณของหนังสือโรงเรียน |

ของไทย สวัสดิรักษา - หนังสือสอนทักษะชีวิตเล่มแรก กาพย์พระไชยสุริยา หนังสือเด็กที่เรียกได้ว่าเป็น Edutainment Book เล่มแรก ก่อนจะขยายตัว เปล่ียนโฉมหน้าจากการจดจารลงในสมุดไทย เป็นการพิมพ์แบบใหม่ที่ฝรั่งนำเข้า พมิ พไ์ ดท้ ลี ะมากๆ การอา่ นในสังคมแพรห่ ลายข้นึ ระบบหนังสอื ยุคใหมจ่ งึ เข้ามา แทนที ่ ๒. สรา้ งหนังสือ สรา้ งเดก็ ไทย ในยุคก้าวสู่การศกึ ษาแผนใหม่ นโยบายการศึกษาแผนใหม่ กอปรกับเทคโนโลยีการพิมพ์ ทำให้กรม ศกึ ษาธิการ กระทรวงธรรมการ มคี วามเคลือ่ นไหวในการผลติ หนงั สอื สำหรบั เดก็ จำนวนมาก จากแบบเรยี น เปน็ หนังสอื นิทานตา่ งๆ เพอ่ื ให้เด็กได้เพลิดเพลินกับ การอ่าน อันเป็นการหวังเพาะนิสัยรักการอ่าน โรงพิมพ์เอกชน ครูต่างชาติต่าง ภาษาก็ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการเขียนหนังสือให้เด็กไทยอ่าน กรอบคิดของการ สร้างหนังสือเด็กในยุคนี้ (ยุคอ่ืนๆ ก็คงไม่ต่างกัน) ก็คือ “รัฐบาลต้องการให้ ราษฎรมีความรู้อย่างไร หรือในที่สุดจะให้มีนิสัยใจคออย่างไร อำนาจของรัฐบาล อย่ใู นการแตง่ หนงั สอื สอนเดก็ ” เราได้หนังสือที่น่าสนใจตามดำริของฝ่ายอำนาจรัฐจำนวนไม่น้อย แต่เราก็ เสียโอกาสท่จี ะไดอ้ า่ นหนงั สือทต่ี ่างออกไป จากทอี่ ำนาจของผู้ปกครองรฐั ต้องการ  | กำเนิดหนังสือเดก็ ของไทยสู่ร่งุ อรุณของหนงั สือโรงเรียน

๓. รงุ่ อรุณของหนังสือโรงเรียน : เพาะนกั อา่ น หว่านเมลด็ พนั ธุ์ “นัก เขยี น” สบู่ รรณพภิ พ ในยุคที่มีการขยายตัวของโรงเรียนในพระนคร ทั้งโรงเรียนของรัฐไทยและ โรงเรียนฝรั่ง (ซึ่งดำเนินการโดยครูจากสถาบันทางคริสต์ศาสนา) โรงเรียนซ่ึง ปจั จบุ นั นี้มีอายรุ าวๆ หน่งึ ร้อยปี คือโรงเรยี นทเี่ กดิ ในยคุ น้ี ไดแ้ ก่ วัฒนาวทิ ยาลัย อัสสัมชัญ ราชินี สวนกุหลาบ เทพศิรินทร์ เป็นต้น โรงเรียนหลายแห่งได้ดำริ ดำเนนิ การออกหนังสือของโรงเรยี นในลกั ษณะนติ ยสาร โดยมีจุดเนน้ ตา่ งๆ กันไป เพื่อเพ่ิมคุณภาพชีวิตและความรอบรู้ ท่ีสำคัญเพ่ือสร้างเสริมการอ่านและเป็นเวที ใหน้ ักเรยี นไดเ้ ขียนลงพมิ พ์ บางฉบับมอี ายยุ ืนยาวรว่ ม ๓๐ ปี บางฉบบั เปน็ แปลง เพาะกลา้ ใหเ้ กดิ นกั เขียนเรืองนามในยุคต่อมา ท ำให้นึกถงึ ข้อความหนง่ึ จาก แลไปขา้ งหน้า ของ “ศรบี รู พา” ...กาลเวลาทีผ่ ่านไป มไิ ด้ผ่านไปอย่างไรค้ วามหมาย กาลเวลามไิ ดผ้ า่ นไปดุจวา่ มันเปน็ ความวา่ งเปลา่ แ ละมไิ ดท้ ้งิ สิง่ หน่งึ สง่ิ ใดไวข้ า้ งหลงั มัน... จากการค้นคว้าเรียบเรียงด้วยพินิจพิจารณา ทำให้ได้เห็นการแสวงหา มาตรการ วธิ ีการ และขบวนการในการเพาะการอ่านใหเ้ ป็นอปุ นสิ ัย ปลกู ฝังการ เขยี นให้แก่เยาวชน ลองเหลียวไปมองข้างหลงั จะพบหลายส่งิ หลายอยา่ งที่น่าจะ กำเนิดหนังสอื เด็กของไทยสู่ร่งุ อรณุ ของหนังสอื โรงเรียน |

นำมาเป็น “แบบอย่าง” หลายอย่างเป็นนวัตกรรมหนังสือและการอ่าน ท่ีน่าจะ นำมา “สร้างใหม่” หรือ “สานต่อ” และหลายอย่างที่เคยเกิดขึ้นอาจนำมา “ต่อยอด” แทนท่ีการ “ต่อต้าน” ด้วยหัวใจที่เปิดกว้างเหนือข้อจำกัดท่ีมักกล่าว อ้างกันอย่างพร่ำเพร่ือ เพียงเพราะไม่ต้องการให้คิดต่าง คิดใหม่ คิดไกล หรือ คดิ ก้าว หนา้ ...เบอื้ งหลังกาลเวลาผา่ นไป ย่อมมีพฒั นาการของสรรพส่งิ เหลอื ไวเ้ ปน็ รอ่ งรอยของมนั เสมอ… ถิรนนั ท์ อนวัชศริ วิ งศ์ พริ ุณ อนวัชศิรวิ งศ์ ศนู ย์วจิ ยั และพัฒนานวัตกรรมการอา่ น  | กำเนดิ หนงั สอื เด็กของไทยสู่รุ่งอรณุ ของหนงั สอื โรงเรียน

กำเนิดหนังสอื เด็กของไทย จากสมุดไทย ถึงยคุ กำเนดิ การพมิ พ กำเนดิ หนงั สือเดก็ ของไทยสรู่ งุ่ อรุณของหนังสือโรงเรยี น | 9

วรรณกรรมเด็กของไทยนั้นเริ่มมาจากวรรณกรรมมุขปาฐะ เด็กฟังเร่ือง ราวทผ่ี ใู้ หญเ่ ลา่ ใหฟ้ ัง ปรากฏจากบทเห่ บทกลอ่ มเด็ก กลอนและนิทานพื้นบ้านท่ี ใช้เล่าและขับกล่อมสืบต่อๆ กันมาเป็นเวลานานโดยมิได้บันทึกไว้เป็นลายลักษณ์ อักษร การเล่าเรื่องนิยมเล่าเป็นคำกลอน คือมีลักษณะสัมผัสและจังหวะเพื่อ สะดวกในการเล่าและท่องจำ เล่ากันมาปากต่อปาก เรื่องที่นิยมเล่ากันมาก เช่น ปลาบทู่ อง โสนน้อยเรอื นงาม ยายกะตา เป็นตน้ ต่อมาจึงมีการเขียนลงใน สมุดข่อย หรือ สมุดไทย มักเป็นเร่ืองทำนอง ส่ังสอนศีลธรรมและพุทธศาสนา เช่น พระยาฉัททันต์ นกกระจาบ สุบินทกุมาร สังข์ทอง นอกจากน้ีก็มีเร่ืองราวที่นำมาจากนิทานชาดกต่างๆ จากการค้นคว้า ของนักวิชาการวรรณกรรม (รัญจวน, ๒๕๑๗ ; กล่อมจิต, ๒๕๒๒) ได้ภาพอย่าง ชัดเจนว่า หนังสือสำหรับเด็กในระยะแรกๆ ของไทยล้วนเป็นคำประพันธ์ร้อย กรอง ไม่ปรากฏนามผู้แต่ง และเป็นหนังสือท่ีผู้เขียนประสงค์แต่งให้ผู้ใหญ่ แต่ เด็กก็อ่านดว้ ย “ในระยะแรกนั้นเด็กอ่านหนังสอื ของผู้ใหญ่ เชน่ เรื่อง รามเกยี รติ์ สงั ข์ ทอง และไกรทอง เป็นต้น หนังสือที่เขียนให้เด็กอ่านนั้นเป็นหนังสือ สอนอ่าน ท่ีประกอบด้วยเรื่องศีลธรรมเป็นพ้ืน เช่น สุบินทกุมาร พระยาฉัททันต์ นกกระจาบ และพระไชยสุริยา เป็นต้น เร่ืองต่างๆ เหลา่ น้เี ขียนเป็นกาพย์กลอนทั้งสิ้น” (เปลอื้ ง ณ นคร, ๒๕๑๐ : ๕๑)  | กำเนดิ หนงั สอื เดก็ ของไทยสู่รงุ่ อรณุ ของหนงั สอื โรงเรยี น

คำว่า สมุด เมื่อคร้ังโบราณ หมายถึง หนังสือเป็นเล่มๆ ซึ่งคนไทยแต่ โบราณนานมาจะบันทึกเรื่องราวต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นพงศาวดาร ตำรายา กาพย์กลอน ลงในสมดุ ทั้งสน้ิ สมุดน้ีเรียกวา่ สมุดไทย หนา้ ต้นของหนังสอื สมุดไทยจะมีข้อความอย่างเช่น หน้าต้นพระสมุดรามเกียรต์ิ หน้าต้นพระ สมุดบทละครพระรถเสน ฉะน้ันจึงมีหอสมุด หอพระสมุด ต่อมาพอมี หนงั สือท่เี ปน็ กระดาษ เราก็เรยี ก สมุดฝร่งั ให้ต่างจากสมุดไทย สมุดไทย ทำด้วยกระดาษข่อยแผ่นยาวๆ หน้าแคบ พับทางขวางทบกลับ ไปกลับมาคล้ายผ้าจีบ เป็นสมุดเล่มสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีท้ังชนิดกระดาษขาว และกระดาษดำ ดังนั้นจึงเรียกห้องท่ีใช้เก็บสมุดเหล่านี้ว่า ห้องสมุด มา ภายหลังเรารับเทคโนโลยีการพิมพ์จากตะวันตก สิ่งที่เก็บอยู่ในห้องสมุดจึง เป็นหนังสือแทบทั้งสิ้น แต่เราก็ยังใช้คำเรียกท่ีมีมาแต่เดิมคือ “ห้องสมุด” หรือ “หอสมดุ ” ส่วนคำว่า หนงั สอื มกั ใชห้ มายถงึ ตัวหนังสอื ตวั อักษร ขอ้ ความ จดหมาย เช่น มีหนังสือไปถึง มีใบบอก มีหนังสือบอก ในภาษาราชการยังใช้คำว่า หนังสือ เม่ือหมายถึงจดหมาย เช่น ตามที่แนบมาในหนังสือน้ี ดังแจ้งใน หนงั สือนแี้ ลว้

ท่ีเรยี กวา่ สมดุ ขอ่ ย เพราะทำมาจากต้นขอ่ ย บางครงั้ กเ็ รยี กว่า สมุดไทย เป็นของท่ีไทยทำมาแต่โบราณ “ปรากฏว่าในสมัยอยุธยามีร้านขายสมุดไทยแล้ว แตผ่ ทู้ ี่ซ้ือนัน้ มนี อ้ ย ชาวบา้ นธรรมดาคงไม่ซ้อื ใช้และราคาคงจะแพง สมดุ ไทยจะมี ใช้มาก่อนสมัยอยุธยาหรือไม่ไม่มีหลักฐานยืนยันแน่นอน” (สิทธา และคณะ, ๒๕๑๕ : ๕๒๙) สมดุ ไทย หรอื สมุดขอ่ ย ห นงั สอื เล่มแรก ดวงแก้วแห่งปัญญาเด็กไทย หนังสือท่ปี รากฏหลักฐานวา่ แตง่ ขน้ึ สำหรับเดก็ เล่มแรกได้แก่ “จนิ ดามณ”ี แต่งโดยพระโหราธบิ ดี ในรชั สมยั สมเด็จพระนารายณม์ หาราช (ครองราชย์ พ.ศ. ๒๑๙๙-๒๒๓๑) เม่ือประมาณ พ.ศ. ๒๒๒๓ หรือราว ๓๓๐ ปีมาแล้ว จินดามณี ถอื เป็นแบบเรยี นเล่มแรกของไทย ว่าด้วยการเขยี นและแตง่ คำประพันธ์ ภาคแรก  | กำเนดิ หนงั สอื เด็กของไทยสรู่ ่งุ อรณุ ของหนงั สอื โรงเรียน

เป็นบทสรรเสริญ แล้วกล่าวถึงคำศัพท์ท่ีมีเสียงคล้ายกัน ต่อด้วยหลักไวยากรณ์ ไทย สว่ นภาคหลังเป็นการแต่งคำประพันธ์ชนิดตา่ งๆ การที่พระโหราธิบดีซ่ึงเป็นพระมหาราชครู แต่งหนังสือเร่ืองน้ีขึ้น สนั นษิ ฐานวา่ เปน็ พระราชประสงคข์ องสมเดจ็ พระนารายณ ์ เนอ่ื งดว้ ยพวกมชิ ชนั นารี ฝร่ังเข้ามาเผยแพร่ศาสนาและวิชาการอย่างฝร่ังจนถึงแก่ตั้งโรงเรียนสอนเด็กไทย สมเด็จพระนารายณ์ทรงเกรงว่าเด็กไทยจะพากันไปนิยมฝร่ังเสียหมด จึงได้โปรด ใหบ้ ำรงุ การศกึ ษาดว้ ยการแตง่ หนงั สอื เรยี นขน้ึ (สทิ ธา และคณะ, ๒๕๑๕ : ๑๑๐ ; เสนยี ์, ๒๕๑๘ : ๖๓) จนิ ดามณี เป็นหนงั สอื แบบเรียนภาษาไทยท่ีใช้กันแพรห่ ลายมาตง้ั แตส่ มยั กรุงศรีอยุธยา แต่กิจการพิมพ์ยังไม่เกิดขึ้น ผู้ท่ีใคร่จะได้ความรู้จึงต้องขวนขวาย หาต้นฉบับมาคดั ลอกไวใ้ นสมุดไทย เม่อื คดั ลอกต่อๆ กันมาหลายยคุ หลายสมัยก็ ย่อมมีการคลาดเคลื่อนไป บางครั้งผู้เป็นเจ้าของสมุดไทยได้ความรู้มาก็ใส่ เพ่ิมเติมบ้าง หรือเม่ือสมุดขาดก็เอาสมุดมาปะติดปะต่อสับสน จึงทำให้ข้อความ ของ จนิ ดามณี ฉบับต่างๆ ผดิ แผกแตกตา่ งกนั มากบ้างนอ้ ยบา้ ง เม่อื ตกทอดมา ถงึ กรงุ รตั นโกสนิ ทรจ์ งึ มจี นิ ดามณปี รากฏอยหู่ ลายฉบบั ประกอบกบั การทจ่ี นิ ดามณี ของพระโหราธิบดี เป็นแบบเรียนไทยมาก่อนจนเป็นเสมือนสัญลักษณ์ของแบบ เรียนไทย ทำให้หนังสือแบบเรียนไทยในยุคต่อมาหลายเล่มใช้ช่ือตามว่า “จินดามณ”ี เชน่ เดียวกัน เช่น จนิ ดามณฉี บับความแปลก จินดามณคี รง้ั แผน่ ดนิ

พระเจา้ บรมโกศ จนิ ดามณฉี บบั กรมหลวงวงษาธริ าชสนทิ จนิ ดามณฉี บบั พมิ พข์ อง หมอสมิธ และ จินดามณีฉบบั พมิ พ์ของหมอบรดั เลย์ สมัยกรงุ รตั นโกสินทร์ หนงั สือทใ่ี ชศ้ ึกษาเลา่ เรยี นกนั มี ๕ เล่ม เป็นแบบ เรียนตั้งแต่ช้ันต้นเร่ือยไปตามลำดับ คือ “ประถม ก กา” “สุบินทกุมาร” “ประถมมาลา” “ประถมจินดามณี เล่ม ๑” และ “ประถมจินดามณี เล่ม ๒” หนังสือเหลา่ นถี้ กู คดั ลอกตอ่ ๆ กันมาโดยไมป่ รากฏนามผแู้ ตง่ และไม่ปรากฏแนช่ ัด ว่าแต่งข้ึนในสมัยใด นอกจากแบบเรียนประถมมาลา ซ่ึงสันนิษฐานว่าผู้แต่งคือ พระเทพโมลี (ผ้ึง) ซึ่งเป็นพระภิกษุแห่งวัดราชบูรณะ เข้าใจว่าคงเป็นพระองค์ เดียวกับท่ีแต่งจารึกวัดพระเชตุพนฯ (วัดโพธิ์) เมื่อครั้งปฏิสังขรณ์วัดนั้น ประถม มาลา คงแตง่ ในสมยั รัชกาลท่ี ๓ สำหรับหนังสือประถม ก กา น้นั พระวรเวทยพ์ ิสิฐ ไดก้ ล่าวไวใ้ นหนังสอื วรรณคดไี ทย (๒๕๐๒) วา่ “แบบเรยี นประถม ก กา เปน็ แบบเรยี นในสมยั รชั กาลท่ี ๑ ถึงรัชกาลที่ ๕ เล่าเรียนกันก่อนมีแบบเรียนมูลบทบรรพกิจข้ึน เข้าใจว่าการ เรียนเขียนอ่านด้วยแบบเรียนเช่นน้ีน่าจะสืบเนื่องมาจากยุคสุดท้ายของกรุง ศรอี ยุธยา คอื แผ่นดินพระเจา้ อยหู่ ัวบรมโกษฐ์”  | กำเนดิ หนงั สอื เดก็ ของไทยสรู่ งุ่ อรณุ ของหนังสอื โรงเรยี น

ประถม ก กา เป็นหนังสือหายาก เพราะครั้งน้ันยังไม่มีการพิมพ ์ โดย มากจึงคัดลอกมาจากคร ู หรือพอจะหาได้บ้างจากพวกสมุดข่อย เม่ืออ่านหนังสือ แตกแลว้ ก็อ่าน สบุ ินทกุมาร ประถมมาลา ประถมจินดามณีเล่ม ๑ และเลม่ ๒ แล้วจงึ อา่ นหนงั สอื ประเภทอน่ื ๆ ต่อไป ได้แก ่ เสือโค จันทโครพ สงั ขท์ อง กาก ี พระยาฉทั ทนั ต ์ สวสั ดริ กั ษา เปน็ ตน้ (ตอ่ มาเมอื่ ชาวตา่ งประเทศเขา้ มาตงั้ โรงพมิ พ์ ในประเทศไทย จึงได้นำหนังสือแบบเรียนและหนังสืออ่านเพื่อความเพลิดเพลิน เหลา่ นี ้ รวมทงั้ นิทานท่ีมีอยใู่ นสมุดขอ่ ย มาจัดพมิ พ์เผยแพร)่ (ซ้าย) ปฐม ก กา หัดอ่าน พ.ศ.๒๔๖๘ (ขวา) ประถม ก กา ร.ศ.๑๒๕

ตวั อย่างการสอนมาตรา ก กา ใน ประถม ก กา ฉบับหอสมุดแห่งชาต ิ แมไ่ ก่อยูใ่ นตะกรา้ แม่ไก่อยใู่ นตะกร้า ไข่ๆ มาส่ีห้าใบ อีแม่กากม็ าไล ่ อีกแม่ไก่ไลต่ กี า หมาใหญ่ก็ไล่เหา่ หมใู นเลา้ แลดหู มา ปูแสมแลปูนา กะปมู า้ ปทู ะเล เตา่ นาแลเต่าดำ อยูใ่ นน้ำกะจระเข ้ ปลาทอู ยทู่ ะเล ปลาขีเ้ หร่ไม่สูด้ ี บทอาขยานสำหรบั ฝึกอ่านการสะกดแม ่ ก กา บทเพลงมาตราแม่ ก กา เดก็ ท้งั หลายยงั จำได้ไหม แม่ ก กาในมาตราไทย เป็นไทยไมม่ ตี วั สะกด เราตอ้ งจดจำ เตา่ ไก ่ เสอื หมี วัว ถั่ว งา ปลาโลมา มา้ ลา จระเข ้ คำเหล่าน้ ี ไม่มตี ัวสะกด นั้นคอื แม่ ก กา  | กำเนดิ หนงั สอื เดก็ ของไทยสูร่ งุ่ อรณุ ของหนงั สอื โรงเรยี น

หนงั สือ ประถมมาลา หรือ ปฐมมาลา แตง่ โดยพระเทพโมลี (ผึง้ ) ใน สมัยรชั กาลท่ ี ๓ ได้ให้หลกั การใช้ไม้มว้ น โดยท่ีสองบททา้ ยเปน็ คำกลอน จากตำราจินดามณี ดงั น้ ี หน่งึ ไซร้หมู่ไมม้ ้วน ปราชประมวลแต่บูราณ จกั ลอกจำลองสาร ตามอาจารยบ์ ังคับไข ใฝใ่ จใหท้ านนี้ นอกในมแี ลใหม่ใส ใครใคร่แลยองใย อันใดใช้อยา่ ใหลหลง ใสก่ ลสะใภใ้ บ ้ ทง้ั ตำ่ ใตแ้ ละใหญ่ยง ใกลใ้ บแลใชจ่ ง ใช้ใหค้ งคำบังคบั หลังจากน้นั ยังมีคำประพนั ธ์ (กาพยย์ าน)ี ทีส่ อนการใชไ้ มม้ ้วน ทรี่ จู้ กั กัน ดจี นปจั จุบนั ดงั น ้ี ผ้ใู หญ่หาผ้าใหม่ ให้สะใภใ้ ช้คลอ้ งคอ ใฝ่ใจเอาใสห่ ่อ มหิ ลงใหลใครขอด ู จกั ใคร่ลงเรอื ใบ ดูนำ้ ใสและปลาปู ส่งิ ใดอยู่ในตู้ มิใช่อย่ใู ต้ตัง่ เตยี ง บา้ ใบถ้ อื ใยบวั หตู ามัวมาใกล้เคยี ง เล่าทอ่ งอย่าละเลีย่ ง ยี่สบิ มว้ นจำจงดี

หนังสอื สอนทักษะชวี ิตเล่มแรก สวสั ดิรกั ษา แต่งโดย พระสนุ ทรโวหาร (ภ)ู่ หรอื สุนทรภ่ ู (พ.ศ. ๒๓๒๙ - ๒๓๙๘) แต่งขน้ึ เมือ่ ประมาณ พ.ศ. ๒๓๖๔ - ๒๓๖๗ (ตอนปลายสมยั รัชกาลท ่ี ๒) เพ่ือถวายเจา้ ฟา้ อาภรณ ์ เปน็ การแนะนำกิจทีพ่ งึ ปฏิบัตเิ พ่อื สวสั ดมิ งคล นอกจากนี้ในช่วงสมัยรัชกาลที ่ ๓ ประมาณ พ.ศ. ๒๓๗๓ สุนทรภู่ได้แต่ง เพลงยาวถวายโอวาท ถวายเจา้ ฟา้ กลาง (สมเดจ็ เจา้ ฟา้ กรมพระยาบำราบปรปกั ษ)์ และเจ้าฟ้าปõิว (พระอนุชาเจ้าฟ้าอาภรณ์) เป็นคำสอนของครูแก่ศิษย์และม ี คำไว้อาลัยที่ต้องจากกัน และแต่ง สุภาษิตสอนหญิง ระหว่าง พ.ศ. ๒๓๘๐ - ๒๓๘๓ เปน็ ขอ้ ควรประพฤตปิ ฏบิ ตั ขิ องกลุ สตรี อนง่ึ ภายหลงั มีหนังสือ สภุ าษติ สอนเดก็ เกดิ ขนึ้ ราว พ.ศ. ๒๔๑๙ (สมัย รชั กาลที่ ๕) แตไ่ ม่ปรากฏนามผ้แู ต่ง สุนทรภู่ ได้รับการยกย่องว่าเป็นนักเขียนหนังสือเด็ก (ที่มิใช่แต่ง เป็นตำราเรียนโดยตรง) คนแรกของไทย โดยเมื่อครั้งท่ีบริษัท ไทย วฒั นาพานชิ จำกัด จดั “นิทรรศการ ๑๕๐ ปีของหนังสือเด็ก” ขน้ึ เม่ือเดือนตุลาคม ๒๕๑๕ ได้รวบรวมประวัติความเป็นมาของหนังสือ เด็กไทยไว ้ ระบุว่า หนังสือเด็กของไทยเท่าที่มีหลักฐานปรากฏตัว ผู้แต่ง หากจะนับหนังสือท่ีมีจุดประสงค์นอกเหนือการเป็นแบบเรียน  | กำเนดิ หนงั สือเดก็ ของไทยสรู่ งุ่ อรณุ ของหนงั สอื โรงเรยี น

โดยตรงแล้ว กล่าวได้วา่ เริม่ เมื่อประมาณ ๑๕๐ ปมี าแล้ว (นับถงึ ป ี พ.ศ. ๒๕๑๕) โดยเร่ิมนบั จาก สวสั ดริ กั ษา เปน็ ต้นมา ส่วนหน่ึงในคำสอนจาก สวัสดิรักษา จากหนังสือสมุดไทยที่มีอายุร่วม สองร้อยปี ท่ยี งั เปน็ วิถีแหง่ ความประพฤติท่จี ะนำสวัสดิมงคลมาใหผ้ ู้ปฏิบัติ อนึ่งอย่าว่าแดดแลลมฝน อย่ากงั วลเร่งวันใหพ้ ลันดบั เม่ือเช้าตรู่สุรยิ งจะลงลับ จงคำนบั สรุ ิยันพระจันทร อนง่ึ เล่าเข้าทีศ่ รไี สยาสน ์ อยา่ ประมาทหมั่นคำนับลงกบั หมอน เป็นนิรนั ดรส์ รรเสรญิ เจรญิ พร คุณบิดรมารดาคณุ อาจารยฯ์ อย่าลืมหลงจงอุส่าหร์ กั ษาสิริ ตามคตโิ บราณทา่ นขานไข วา่ เชา้ ตรู่สรุ โิ ยอโณทัย ตน่ื นอนให้หา้ มโมโหอย่าโกรธา ผนิ พกั ตรส์ บู่ รู พ์ทศิ แลทกั ษณิ เสกวารนิ ดว้ ยพระธรรมคาถา ทนี่ ับถือคือพระไตรสรณา ถว้ นสามคราจงึ ชำระสระพระพักตร์ 9

นอกจากเรื่องที่แต่งขึ้นสำหรับเด็กแล้ว สุนทรภู่มักนำนิทานมาเล่าแทรกไว้ ในเร่อื งทีแ่ ตง่ อยเู่ สมอ เชน่ นทิ านเรอ่ื ง “รอยน้วิ ทเี่ ขาควาย” แทรกใน นิราศเมือง สพุ รรณ เรื่อง “กระต่ายกบั จระเข”้ แทรกใน ลักษณวงศ์ และเร่ือง “พระยากง พระยาพาน” แทรกใน นริ าศพระประโทน (เจือ สตะเวทิน, ๒๕๑๖) หนังสือสำหรับเด็กเล่มสำคัญท่ีสุนทรภู่ได้แต่งไว้อีกเร่ืองหนึ่งคือ “กาพย์ พระไชยสรุ ยิ า” ในสมยั รชั กาลท ่ี ๓ เมอื่ พระยาศรสี นุ ทรโวหาร (นอ้ ย อาจารยางกรู ) แตง่ แบบเรยี นมูลบทบรรพกิจ เพอ่ื ใชใ้ นโรงเรยี นหลวง ในสมยั รชั กาลท่ ี ๕ น้นั ได้ นำ “กาพย์พระไชยสุริยา” ไปแทรกไว ้ คงด้วยความไพเราะจรรโลงใจของกาพย์ ประเภทต่างๆ จากฝมี ือของกวชี ้ันคร ู กาพยพ์ ระไชยสรุ ยิ า เปน็ แบบเรยี นทสี่ นุ ทรภแู่ ตง่ ขนึ้ ในสมยั รชั กาลท่ี ๓ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สุนทรภู่แต่งขึ้นเมื่อประมาณปี พ.ศ. ๒๓๘๓ - ๒๓๘๕ ขณะที่บวชเป็นพระอยู่ที่วัดเทพธิดาราม ท่านแต่งเป็นกาพย์ซ่ึง แทรกความรู้เกีย่ วกบั ภาษาไทย ในเร่อื งของมาตราตวั สะกดแมต่ า่ งๆ เช่น แม่กก กง กน กด กบ และเกย เป็นต้น นอกจากนั้นยังสอดแทรกคติ ธรรมต่างๆ ที่เป็นประโยชน์อีกด้วย จุดประสงค์ของการแต่งก็เพ่ือถวาย พระอักษรแด่เจ้าฟ้าชายกลางและเจ้าฟ้าปõิว พระโอรสในพระบาทสมเด็จ พระพุทธเลศิ หล้านภาลยั และเจ้าฟา้ กณุ ฑลทิพยวดี พระอัครชายา  | กำเนดิ หนงั สือเดก็ ของไทยสรู่ งุ่ อรณุ ของหนังสอื โรงเรียน

เรอ่ื งยอ่ : มีกษัตรยิ ์พระองค์หนึ่งมพี ระนามวา่ ไชยสุรยิ า ครองเมอื งสาวตั ถ ี มีพระมเหสีทรงพระนามว่าสุมาลี ครอบครองบ้านเมืองด้วยความผาสุก ต่อมา ขา้ ราชการ เสนาอำมาตยป์ ระพฤติตนไมถ่ ูกต้องตามทำนองคลองธรรม จงึ เกดิ เหตุอาเพศ เกิดน้ำป่าไหลท่วมเมือง ผีป่าอาละวาด ทำให้ชาวเมืองล้มตาย จำนวนมาก พระไชยสุริยากับพระมเหสีจึงลงเรือสำเภาแต่ก็ถูกพายุพัดจนเรือ แตก พระไชยสรุ ิยาและพระมเหสขี ึน้ ฝòงั ได ้ พระอินทรจ์ ึงเสด็จมาสงั่ สอนธรรมะ ให้ทง้ั สองพระองคป์ ฏบิ ัติตามธรรม จึงเสด็จไปสู่สวรรค์ ในรัชกาลท ่ี ๕ เมื่อพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) แต่ง หนังสือมูลบทบรรพกิจ สำหรับใช้เป็นแบบเรียนหนังสือไทยในโรงเรียนหลวง คงเห็นว่า “กาพย์เรื่องพระไชยสุริยา” นี้ เป็นบทกวีนิพนธ์ที่ไพเราะท้ังอ่าน เข้าใจง่ายและเป็นคต ิ จึงนำมาบรรจุไว้ในมูลบทบรรพกิจเป็นตอนๆ ต้ังแต่ แม่ ก กา ไปจนจบแม่เกย ในการศึกษา “กาพย์พระไชยสุรยิ า” ผู้เรยี นจะได้ เรยี นรู้เกีย่ วกบั ลกั ษณะการแต่งคำประพันธป์ ระเภทกาพย ์ ไดแ้ ก ่ กาพย์ยานี ๑๑ กาพยฉ์ บงั ๑๖ และ กาพยส์ รุ างคนางค ์ ๒๘

แบบเ รยี นภาษาไทย เรยี นความรดู้ ้วยความงาม หนงั สอื แบบเรยี นของไทยไดร้ บั การเปลย่ี นแปลงแกไ้ ขใหมใ่ นสมยั รชั กาลที่ ๕ เนื่องจากเร่ิมมีการจัดการศึกษาแบบใหม่ในปี พ.ศ. ๒๔๑๔ ยกเลิกแบบเรียนเก่า และให้ใช้ แบบเรียนหลวง ของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) (พ.ศ. ๒๓๖๔ - ๒๔๓๔) ซง่ึ แตง่ ขึน้ เมื่อคร้งั เป็นหลวงสารประเสริฐ มีท้งั หมด ๖ เลม่ คือ มลู บทบรรพกิจ วาหนิต์นิ ิกร อกั ษรพโิ ยค สังโยคพิธาน ไวพจน์พจิ ารณ์ และ พิศาลการนั ต ์ มูลบทบรรพกิจ ได้เค้าจากหนงั สือ จินดามณี แล้วนำมาดดั แปลงใหเ้ หมาะ แกก่ าลสมยั และนำ กาพยพ์ ระไชยสรุ ยิ า ของสนุ ทรภมู่ าแทรกไวเ้ ปน็ ตอนๆ เพือ่ ให้ (ซ้าย) หนังสือชดุ มูลบทบรรพกิจ ฉบบั พมิ พเ์ มื่อ พ.ศ. ๒๕๐๑ (ขวา) ตวั อย่าง กาพยพ์ ระไชยสรุ ิยา ทแ่ี ทรกอยู่ใน มลู บทบรรพกจิ  | กำเนดิ หนังสอื เดก็ ของไทยสู่รงุ่ อรณุ ของหนงั สือโรงเรียน

เป็นตำราว่าด้วยรูปสระ พยัญชนะ ตัวอักษร การประสมสระ - พยัญชนะ วรรณยกุ ต ์ และเครอื่ งหมายพเิ ศษ ตลอดจนการนบั เลข วาหนติ นิ์ กิ ร สอนอกั ษรนำ อักษรพิโยค สอนอักษรควบ สังโยคพิธาน สอนตัวสะกด ไวพจน์พิจารณ์ สอน คำพอ้ ง และ พศิ าลการนั ต์ สอนตวั การนั ต์ กล่าวโดยสรุป หนังสือในชุดน้ีประกอบด้วยสาระสำคัญคือ ๑) การแจก ตวั สะกดตา่ งๆ เร่มิ จาก ก กา แจกอักษร ก ถึง ฮ ประสมกับสระ ๑๕ เสยี ง แล้วแจกตัวสะกดแม่ต่างๆ แทรกกาพย์ยานีพระไชยสุริยา เพ่ือเป็นแบบฝึกหัด การอ่าน และ ๒) การอธิบายกฎเกณฑ์ของอักขรวิธี ได้แก ่ การแบ่งพยัญชนะ ตามไตรยางค์ การแบ่งตามการออกเสียง การผันวรรณยุกต์อักษรนำ การใช ้ ฤ ฤ ∆ ∆ เม่ือกรมศิลปากรนำแบบเรียนชุดนี้มาพิมพ์ในป ี พ.ศ. ๒๕๐๑ ได้ระบุไว้ใน คำนำว ่า “มลู บทบรรพกจิ วาหนติ น์ิ กิ ร อกั ษรพโิ ยค สงั โยคพธิ าน ไวพจนพ์ จิ ารณ์ และ พศิ าลการนั ต์ ทง้ั หมดนวี้ า่ ดว้ ยวชิ าใชพ้ ยญั ชนะเสยี งสงู ตำ่ การผนั การผสมอักษรและตัวการันต์ เฉพาะมูลบทบรรพกิจสันนิษฐานว่า คงได้เค้ามาจากหนังสือจินดามณีอันว่าด้วยระเบียบของภาษาซ่ึง พระโหราธิบดีแต่งไว้ในสมัยกรุงศรีอยุธยา แต่คงนำมาดัดแปลงให้

เหมาะแก่กาลสมัย และนอกจากนี้ยังแทรกเรื่องกาพย์พระไชยสุริยา ซง่ึ สนุ ทรภแู่ ตง่ ในรชั กาลท่ี ๓ เขา้ ไวด้ ว้ ย ทง้ั นเ้ี ขา้ ใจวา่ พระยาศรสี นุ ทร โวหารคงจะเห็นว่ากาพย์พระไชยสุริยาเป็นบทประพันธ์ท่ีไพเราะ เข้าใจง่ายและเป็นคติ จึงนำมาบรรจุไว้ในมูลบทบรรพกิจเป็นตอนๆ ไป ตั้งแต่แม่ ก กา จนจบแม่เกย” หนังสือชุดน้ีนับว่ามีบทบาทสำคัญในประวัติการศึกษาของชาติ ด้วยเป็น แบบฝึกหัดอ่านเบื้องต้นของกุลบุตรกุลธิดา ในยุคสมัยก่อนเกิดกรมศึกษาธิการ กระทรวงธรรมการ (พ.ศ. ๒๔๓๕) กลา่ วคือหนงั สอื ชุดนเี้ กิดขึ้นเมอื่ ๑๔๐ ปที ี่ลว่ ง มา เพ่ือทำหน้าที่พัฒนาแบบเรียนซ่ึงทางราชการเรียบเรียงจัดพิมพ์ขึ้นเป็น มาตรฐาน ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงปฏิรูปการ ศึกษาของชาติโดยจัดตั้งโรงเรียนหลวงข้ึน เป็นการเปิดแนวทางที่รัฐจะรับหน้าที่ จัดการศึกษาแก่เยาวชน ในการน้ีได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระยาศรี สุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) เม่ือคร้ังเป็นหลวงสารประเสริฐ เรียบเรียง หนังสือชุดนี้ขึ้นเพื่อใช้เป็นแบบเรียนในโรงเรียนหลวง และวงการการศึกษาสมัย ตอ่ มาก็รับเอาหนงั สือเหล่านีไ้ ปใช้เปน็ แบบแผนในการสอน  | กำเนดิ หนงั สอื เดก็ ของไทยสูร่ งุ่ อรณุ ของหนงั สอื โรงเรยี น

ตัวอย่างจากกาพยพ์ ระไชยสุรยิ าของสุนทรภ ู่ ท่แี ตง่ ขน้ึ สมัยรชั กาลท่ี ๓ ท่นี ำไปแทรกในมลู บทบรรพกิจ แบบเรยี นหลวง ในสมัยรัชกาลท ี่ ๕ ฉบงั ๑ˆ (แมก่ ง) ข้ึนกงจงสำคญั ท้งั กนปนกนั รำพนั ม่งิ ไม้ในดง ไกรกรา่ งยางยงู สูงระหง ตะลงิ ปลิงปริงประยงค์ คันทรงสง่ กลิ่นฝòินฝาง มะมว่ งพวงพลองช้องนาง หลน่ เกลื่อนเถอื่ นทาง กนิ พลางเดนิ พลางหวา่ งเนนิ เหน็ กวางย่างเยื้องชำเลอื งเดิน เหมอื นอย่างนางเชญิ พระแสงสำอางขา้ งเคียง เขาสูงฝูงหงส์ลงเรียง เรงิ ร้องซ้องเสียง สำเนียงนา่ ฟงั วงั เวง กลางไพรไก่ขนั บรรเลง ฟงั เสยี งเพียงเพลง ซอเจ้งจำเรียงเวยี งวัง ยงู ทองร้องกะโต้งโห่งดัง เพียงฆอ้ งกลองระฆงั แตรสังขก์ งั สดาลขานเสียง

กะลิงกะลางนางนวลนอนเรยี ง พระยาลอคลอเคยี ง แอน่ เอย้ี งอโี ก้งโทงเทง คอ้ นทองเสยี งร้องปÜองเปงÜ เพลินฟงั วังเวง อีเกง้ เริงรอ้ งลองเชงิ ฝงู ละมั่งฝงั ดินกินเพลิง คา่ งแข็งแรงเรงิ ยืนเบง่ิ บง้ึ หนา้ ตาโพลง ป่าสูงยงู ยางช้างโขลง อึงคะนึงผงึ โผง โยงกนั เล่นน้ำคลำ่ ไป ในสมัยรัชกาลท่ี ๕ กิจการการพิมพ์ท่ีชาวต่างประเทศนำเข้ามีความเจริญ กา้ วหน้า โดยลดบทบาทจากการออกหนังสอื พิมพ ์ หนั ไปผลติ หนงั สือทเ่ี ป็นความรู้ และวรรณกรรมอย่างขนานใหญ ่ โดยนำมาจากเอกสารด้ังเดิมซ่งึ เขยี นไวใ้ นรปู ของ สมุดข่อยหรือสมุดไทย มาพิมพ์ในรูปเล่มด้วยเทคโนโลยีการพิมพ์ที่เรียกกันในยุค นนั้ ว่า “สมดุ ฝรั่ง” โรงพมิ พ์หมอบรดั เลย ์ นอกจากพมิ พ์ตำรา หนงั สอื แปล และพงศาวดารจีน แลว้ ในป ี ๒๔๑๖ ไดพ้ มิ พผ์ ลงานชนิ้ เอก คอื อกั ขราภธิ านศรบั ท์ หรอื Dictionary  | กำเนดิ หนงั สอื เดก็ ของไทยสรู่ ุ่งอรณุ ของหนงั สอื โรงเรยี น

of the Siamese Language เขยี นโดยอาจารยท์ ดั ถอื กนั วา่ เป็นพจนานุกรมเล่ม แรกของไทย และเปน็ ต้นแบบการจดั พิมพพ์ จนานุกรมในสมัยต่อมา นอกจากนย้ี งั พิมพ์หนังสือได้คราวละมากๆ เช่น หนังสือสำหรับมูลศึกษา กรมศึกษาธิการ เรือ่ ง ประถม ก กา พิมพ์ครั้งแรกจำนวนถงึ ๑๐,๐๐๐ เล่ม และหนงั สือบางเล่ม กพ็ ิมพ์ซ้ำหลายครัง้ เช่น กฎหมายไทยของหมอปรดั เล พิมพ์ครง้ั ที่ ๑๐ เม่อื พ.ศ. ๒๔๑๖ สว่ นโรงพมิ พข์ องหมอสมธิ พมิ พว์ รรณกรรมรอ้ ยกรองเปน็ หลกั เลม่ ทโ่ี ดง่ ดัง ทส่ี ดุ คือ พระอภยั มณี ของสุนทรภู่ โดยแยกพมิ พ์เป็นเล่มเล็กๆ สบิ กวา่ เล่ม รำ่ ลอื กันว่าผู้จัดพิมพ์ร่ำรวยข้ึนทันตาเห็น สามารถสั่งแท่นพิมพ์มาขาย และทำให้เกิด โรงพมิ พข์ ้ึนอกี หลายโรงด้วย ความต่ืนตัวในเร่ืองการอ่านหนังสือก่อตัวข้ึนเป็นกระแสในสังคมยุคนั้น หากแต่ไม่มีหนังสืออ่านเล่นเพ่ือเด็ก เด็กจึงนิยมอ่านเร่ืองแต่งสำหรับผู้ใหญ่ นอก เหนือจาก พระอภัยมณี แล้วก็มี ขุนช้างขุนแผน เป็นต้น ไม่ต่างจากยุคนี้ที่เด็ก ชอบดูละครโทรทัศน์ท่ีมีรสชาติเข้มข้นของผู้ใหญ่ จนต้องเกิดข้อเรียกร้องให้มีส่ือ เพ่อื เด็ก - เพ่ือความสุข ความความคิดสร้างสรรค์ ความรอบรู้ท่เี ชิดชูใจเด็ก...เพื่อ สุขภาวะทางปญั ญาและจิตวญิ ญาณของเด็ก

เส้นทางเวลา เทคโนโลยกี ารพิมพแ์ บบใหมส่ ปู่ ระเทศไทย เดิมการเขียนหนังสือของคนไทยนอกจากจารึกบนแผ่นศิลาแล้ว ยังเขียน บนใบลานและกระดาษข่อย (สมุดไทย) ต่อมามีชาวต่างประเทศได้หล่อตัว พิมพอ์ ักษรไทยขึ้น จากหลักฐานทปี่ รากฏเกีย่ วกับแทน่ พิมพ์และตัวพิมพ์ภาษาไทยน้ัน เริ่มขน้ึ ในประเทศพมา่ เมื่อ พ.ศ. ๒๓๕๙ โดย แอน จัดสัน (Ann Judson) และชา่ ง พิมพ์ชื่อเฮาส์ (Hough) แล้วย้ายแท่นพิมพ์ไปตั้งถาวรท่ีโรงพิมพ์ของคณะแบบ ติสต์ในเมอื งกัลกตั ตา ประเทศอินเดยี ในป ี พ.ศ. ๒๓๖๙ แท่นพมิ พ์นไ้ี ดพ้ ิมพ์ ตำราไวยากรณข์ องรอ้ ยเอกเจมส์ โลว์ (James Low) เมือ่ พ.ศ. ๒๓๗๑ จากน้ัน นักสอนศาสนาชื่อโรเบิร์ต เบิร์น (Robert Burn) และธอมสัน (Thomson) ได้ซ้ือแท่นพิมพ์นี้ไปตั้งท่ีสิงคโปร์ รับพิมพ์หนังสือไทย การพิมพ์ หนังสือไทยในช่วงแรก กลุ่มมิชชันนารีพิมพ์หนังสือเกี่ยวกับศาสนาที่สิงคโปร์ แล้วส่งมาแจกท่ีกรงุ เทพฯ ต่อมา นักสอนศาสนาคณะหนึ่งได้ซ้ือแท่นพิมพ์ไว้จากนิกายลอนดอน มิชชันนารีโซไซต ้ี (London Missionary Society) และมอบให้หมอแดน บีช บรดั เลย์ (Dan Beech Bradley) นำมาใช้ในกรงุ เทพฯ เมอ่ื พ.ศ. ๒๓๗๘ และ เริม่ พิมพเ์ ปน็ ครั้งแรกในปีถัดมา สว่ นใหญ่พมิ พค์ ำสอนศาสนาคริสต ์  | กำเนดิ หนังสอื เดก็ ของไทยสรู่ ่งุ อรณุ ของหนงั สอื โรงเรยี น

ป ี พ.ศ. ๒๓๘๒ หมอบรัดเลยไ์ ด้รับจ้างพิมพ์ประกาศของทางราชการเรอ่ื ง ห้ามสบู ฝินò นบั เป็นเอกสารส่ิงพมิ พท์ างราชการฉบบั แรก ป ี พ.ศ. ๒๓๘๗ เกดิ หนงั สอื ขา่ ว บางกอกรคี อรเ์ ดอร์ (Bangkok Recorder) นบั เปน็ หนงั สือพมิ พ์ฉบับแรกของไทย ป ี พ.ศ. ๒๔๐๑ รัชกาลท ี่ ๔ โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งโรงพิมพ์หลวงขึ้นใน พระบรมมหาราชวัง เรียกอีกชื่อหน่ึงว่าโรงพิมพ์อักษรพิมพการ และเร่ิมพิมพ์ หนงั สือราชกจิ จานุเบกษาเปน็ ครัง้ แรก หนังสืออ่านเล่นของไทยเร่ิมมีการพิมพ์จำหน่ายในสมัยรัชกาลที่ ๔ โดย โรงพิมพ์หมอบรัดเลย์พิมพ์เร่ืองไทยและเรื่องแปลจากภาษาจีน เช่น สามกäก ซงึ่ มีคนนยิ มอ่านมาก ป ี พ.ศ. ๒๔๐๔ ลิขสิทธ์ิในการพิมพ์หนังสือตามแบบตะวันตกเริ่มเกิดขึ้น ในประเทศไทย เม่ือหม่อมราโชทัยขายลิขสิทธ ์ิ “นิราศลอนดอน” แก่หมอ บรดั เลย์ เปน็ เงนิ ๔๐๐ บาท ในสมยั รชั กาลท ่ี ๕ มีโรงพมิ พ์ใหญ่ที่พิมพห์ นงั สืออ่านเล่นอยู่ ๒ แห่ง คือ โรงพิมพ์หมอบรดั เลย์ทค่ี ลองบางหลวง พิมพห์ นังสือรอ้ ยแก้ว และโรงพมิ พห์ มอ สมธิ (Samuel John Smith) พิมพร์ ้อยกรอง (พมิ พ์เรอ่ื งของสนุ ทรภจู่ ำหน่าย) ต่อมาจึงมีโรงพิมพ์อื่นๆ เช่น โรงพิมพ์นายเทพที่ปากคลองตลาดซึ่งพิมพ์เร่ือง จนี และโรงพิมพ์เร่อื งจักรๆ วงศ์ๆ ย่านวดั เกาะ สำเพ็ง สะพานหัน ฯลฯ 9

หากจะปรับให้สงั คมไทยเป็นสังคมแหง่ ปญั ญา จำเปน็ ต้องเรง่ สรา้ งวัฒนธรรมการอา่ น ให้เปน็ วฒั นธรรมของชาตแิ ละทำให้เกดิ ท่วั แผ่นดนิ ศ.นพ.ประเวศ วะส ี ราษฎรอาวุโส

สรา งหนงั สอื -สรางเด็กไทย ในยคุ กา วสู่การศกึ ษาแผนใหม่

เส้นทางสายหนังสือสำหรับเด็กมีจังหวะก้าวท่ีรวดเร็วกว่าแต่ก่อนๆ ในยุค ก้าวสกู่ ารศกึ ษาแผนใหม ่ กลา่ วคือในปี พ.ศ. ๒๔๓๐ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอม เกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงโปรดเกล้าฯ ให้ต้ังกรมศึกษาธิการขึ้นและโอนโรงเรียนต่างๆ ที่มีอยู่ในสมัยน้ันมาข้ึนกับกรมศึกษาธิการทั้งหมด โดยมีสมเด็จกรมพระยาดำรง ราชานุภาพ (เม่ือครั้งดำรงพระยศเป็นพระเจ้าน้องยาเธอกรมหม่ืนดำรงราชา นุภาพ) ทรงเป็นผู้บัญชาการกรมศึกษาธิการ และได้ทรงนิพนธ์ “หนังสือแบบ เรยี นเร็ว” ขึน้ ในปี พ.ศ. ๒๔๓๑ ให้ใช้สอนในโรงเรียนแทน แบบเรียนหลวง ๖ เลม่ ของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) หนังสือแบบเรียนเร็วนี้ช่วยให้ นักเรียนอ่านออกเขียนได้ภายในเวลาหน่ึงปีถึงหน่ึงปีคร่ึง แทนที่จะต้องใช้เวลา เรยี นถึง ๓ ปี อย่างแต่ก่อน และอีกไม่กี่ปีต่อมาก็มีการจัดตั้ง กระทรวงธรรมการ ข้ึน เม่ือวันท ่ี ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๔๓๕ (ตอ่ มาเปลยี่ นชอื่ เปน็ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร) มกี รมศกึ ษาธกิ าร เป็นกรมหนึ่งของกระทรวงธรรมการ กองแบบเรียนของกรมศึกษาธิการทำหน้าที่  | กำเนดิ หนงั สอื เดก็ ของไทยสรู่ ุง่ อรณุ ของหนังสอื โรงเรียน

เกี่ยวกับการจัดพิมพ์แบบเรียนต่างๆ (ต่อมาในป ี พ.ศ. ๒๔๕๔ ได้แยกกองแบบ เรียนไปเป็นกรมราชบัณฑิต มีหน้าท่ีสร้าง รวบรวม และรักษาสรรพแบบอย่าง สำหรบั ศกึ ษาเลา่ เรยี นทั่วไป) สร้างแบบเรียน คือ สรา้ ง “แบบ” เดก็ ไทย ตั้งแต ่ พ.ศ. ๒๔๔๐ เป็นต้นมา กรมศึกษาธิการได้ผลิตหนังสือหัดอ่าน หลายชดุ ไดแ้ ก ่ แบบสอนอา่ นเลม่ ๑ - ๔ แบบสอนอา่ นภมู ศิ าสตร์ แบบสอนอา่ น จินตกวีนิพนธ์ ซึ่งคัดเลือกตัดตอนมาจากวรรณคดีสำคัญๆ บางเรื่อง ได้แก่ อิเหนา สงั ข์ทอง ราชาธิราช สามกäก รามเกียรติ์ พระอภัยมณี และ ดอกสรอ้ ย สภุ าษิต นอกจากนก้ี ม็ ี แบบสอนอา่ นพงศาวดาร แบบสอนอา่ นธรรมจรยิ า หนงั สอื พลเมอื งด ี เป็นต้น เนื้อหาวิชาความรู้เร่ืองเมืองไทยในสมัยนั้นได้กำหนดไว้ว่า ให้เรียนวิชา ภมู ศิ าสตร ์ พงศาวดาร (ประวัติศาสตร์) หน้าทพี่ ลเมอื งและจรรยา (ศีลธรรม) ชนชั้นสูงผู้มีโอกาสในการจัดการศึกษาของชาติในยุคนั้น ต่างมีแนวคิดที่ ยอมรับความสำคัญของแบบเรียนในแง่ของการเป็นเครื่องมือใช้ส่งผ่านทัศนคติ ทางการเมืองที่รัฐพึงประสงค์มาสู่ประชาชน ดังข้อความจากเอกสารสำคัญของ ทางการ :-

“จะให้ไพร่ฟ้าพลเมืองมีนิสัยใจคออย่างไร รัฐบาลมีอำนาจที่ ตกแต่งนิสัยใจคอไพร่บ้านพลเมืองได้ด้วยการแต่งหนังสือ สำหรบั สอนเดก็ ในโรงเรยี น...” (สมเดจ็ กรมพระยาดำรงราชานภุ าพ เอกสารกองจดหมายเหตุแห่งชาติ ร.๖ ศ.๔/๒๖ เร่ืองคิดจัดโรงเรียน ก สิกรรม) “หนังสือเรียนเป็นหลักสำคัญของการศึกษา โดยเหตุว่ารัฐบาล ต้องการให้ราษฎรมีความรู้อย่างไร หรือในที่สุดจะให้มีนิสัย ใจคออย่างไร อำนาจของรัฐบาลอยู่ในการแต่งหนังสือสอนเด็ก เหตุฉะน้ัน การแต่งหนังสือสร้างหนังสือควรอยู่ในกระทรวง ธรรมการ...” (เอกสารกองจดหมายเหตุแห่งชาติ ร.๖ ศ.๑/๑ รายงานการประชมุ ข้าหลวงเทศาภบิ าล ร.ศ.๑๒๖) แบบสอนอ่านธรรมจริยา เล่มแรกที่เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหสั ดนิ ณ อยุธยา) แต่งขนึ้ เปน็ ครั้งแรก ตพี มิ พเ์ มอื่ พ.ศ. ๒๔๔๔ ซ่งึ ขณะน้ัน มีบรรดาศักดิ์เป็นหลวงไพศาลศิลปศาสตร์ ดำรงตำแหน่งเป็นนายตรวจฝ่าย ศึกษาธิการ แต่งแบบเรียนน้ีข้ึนโดยคำส่ังของพระเจ้าลูกยาเธอพระองค์เจ้า กิตติยากรวรลักษณ์ ซ่ึงขณะนั้นดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมศึกษาธิการ เป็นหนังสือ เล่มเดยี วจบ มีเนอื้ หาเกยี่ วกับศลี ธรรมจรรยาที่บุคคลทว่ั ไปพึงประพฤติ  | กำเนดิ หนงั สอื เดก็ ของไทยสรู่ งุ่ อรณุ ของหนงั สอื โรงเรียน

ในปตี อ่ มา มปี ระกาศของกระทรวงธรรมการใหบ้ คุ คลแตง่ แบบเรยี นธรรมจรยิ า ตามหัวข้อที่กระทรวงกำหนด ผู้ใดแต่งได้ดีที่สุดจะได้รับคัดเลือกไว้เป็นแบบเรียน หลวง โดยได้รับเงินรางวัลบทละ ๓ บาท (เอกสารกองจดหมายเหตุแห่งชาติ ศธ.๙.๒/๓๓ เรอ่ื งลขิ สทิ ธิ์หนังสือตำราเรยี น) เจ้าพระยาธรรมศกั ดม์ิ นตรจี ึงได้แต่ง แบบสอนอา่ นธรรมจริยาใหม ่ ออกมาเป็นชุด ๕ เลม่ มีเนือ้ หาเกยี่ วข้องกบั ความ รกั ชาติและความภกั ดีต่อองค์พระมหากษัตริยเ์ พม่ิ เติมจากชดุ แรกทีแ่ ตง่ ไว้ สรา้ ง เสรมิ แบบเรยี นไทยโดยบาทหลวงฝรั่ง แบบเรียนที่แต่งข้ึนโดยภาคเอกชนที่มีความสำคัญในประวัติศาสตร์การ ศึกษาไทย เหน็ จะตอ้ งยกใหห้ นงั สอื ดรุณศึกษา เลม่ ๑ - ๕ ซงึ่ แต่งโดย ฟ.ฮีแลร ์ ครูผู้ปกครองโรงเรียนอัสสัมชัญในอดีต หนงั สือชดุ นี้มงุ่ หมายเรยี นภาษาไทยในชัน้ ประถมมลู และชน้ั ประถมศกึ ษาปีท ี่ ๑ - ๔ ในชว่ ง พ.ศ. ๒๔๕๓ หนงั สอื ชดุ นี้แสดง ถึงความแตกฉานทางภาษาไทยของนักบวชชาวฝรั่งเศส โดยเน้ือหาภายในเล่มจะ เป็นกลอนและภาพประกอบสอนเด็ก ทำใหไ้ ด้รับการยอมรบั ใช้เปน็ ตำราเรียนทีใ่ ช้ ในการเรียนการสอนในระดับช้ันประถมศึกษาของโรงเรียนต่างๆ อย่างแพร่หลาย (ดรุณศึกษา ตอน กอ ขอ เคยได้พิมพ์เป็นหนังสือท่ีระลึกงานพระบรมศพของ พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยูห่ ัว รัชกาลที่ ๕)

วิ™าเหมือนสนิ ค้า วชิ าเหมือนสนิ ค้า อันมีค่าอยู่เมืองไกล ต้องยากลำบากไป จึงจะได้สนิ คา้ มา จงตั้งเอากายเจา้ เปน็ สำเภาอันโสภา ความเพียรเป็นโยธา แขนซา้ ยขวาเป็นเสาใบ น้วิ เปน็ สายระนาง สองเทา้ ตา่ งสมอใหญ่ ปากเปน็ นายงานไป อชั ¨าสยั เป็นเสบยี ง สตเิ ป็นหางเสอื ถอื ท้ายเรอื ไว้ให้เท่ยี ง ถือไว้อยา่ ให้เอยี ง ตัดแลน่ เลย่ี งข้ามคงคา ปัญญาเป็นกลอ้ งแกว้ สอ่ งดูแถวแนวหนิ ผา เจา้ จงเอาหตู า เป็นลา้ ต้าฟงั ดูลม ขี้เกียจคอื ปลาร้าย จะทำลายให้เรือจม เอาใจเปน็ ปนó คม ยิงระดมใหจ้ มไป จงึ จะไดส้ ินค้ามา คอื วชิ าอนั พสิ มยั จ งหมนั่ มัน่ หมายใจ อย่าได้คร้านการวชิ า แต่งโดย ฟ.Œแี ลร์ (จาก ดรณุ ศึกษา เลม่ ๓)  | กำเนดิ หนงั สือเดก็ ของไทยสรู่ งุ่ อรณุ ของหนังสอื โรงเรียน

เจษฎาจารย์ ฟ.ฮีแลร์ เป็นนักบวชคณะภราดาเซนต์คาเบรียล ๑ ใน ๕ ท่านแรกท่ีเดินทางมารับงานด้านการศึกษาของโรงเรียนอัสสัมชัญ เม่ือ พ.ศ. ๒๔๔๔ ในวยั ๒๐ ป ี จากการฝึกฝนภาษาไทยจนสามารถแต่งแบบเรยี นไดแ้ ละ แสดงถึงความแตกฉานในภาษาไทย ทำให้สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ โปรดใหเ้ ปน็ ผ้แู ปลจดหมายของ มองซิเออร ์ เดอ วเี ซ ว่าดว้ ยเรอ่ื งโกศาปานไป ประเทศฝรั่งเศส โดยราชบัณฑิตสภาได้รวบรวมจัดพิมพ์เป็นเล่มเข้าไปในชุด ประชุมพงศาวดาร โดยแบ่งเป็น ๑๔ ภาค คอื ภาคที ่ ๔๗ ถงึ ภาคท่ี ๖๐ โดย ใช้ใช้ชื่อว่า “โกศาปานไปฝร่ังเศส” นอกจากท่านจะแปลหนังสือได้ดีแล้ว มี ความรู้และรกั ในโคลง ฉันท ์ กาพย์ กลอน และมคี วามแมน่ ยำในเรือ่ งศพั ท์ทุก ประเภท ไม่วา่ จะเป็นศัพท์ในประวัติศาสตร ์ ศาสนา หรือวรรณคด ี ทำให้ได้รับ เชิญเปน็ สมาชกิ ของสมาคมวรรณคด ี ณ ราชบัณฑติ เม่ือ พ.ศ. ๒๔๗๕ หนังส ือนทิ าน-อ่านสนกุ ...ปลกู ฝงั ความดีดว้ ยความงาม ในป ี พ.ศ. ๒๔๕๓ มีหนังสือ “นิทานสภุ าษิต” (ร.ศ. ๑๒๘) เป็นแบบเรยี น อา่ นภาษาไทย ซึง่ กรมศึกษาธกิ ารประกาศใหส้ ามัคยาจารสมาคมแตง่ ประกวดกัน ในหัวขอ้ จรรยา และคัดเลอื กเรือ่ งดมี าจดั พมิ พ์รวมเล่ม มที ั้งหมด ๕๓ เร่ือง เป็น

เรื่องที่พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงวชิรญาณวโรรส เรียบเรียงไว้หลายเร่ือง ได้แก่ นกกินปลา หงส์ทองลอง อีกที ความเช่อื เป็นอะไรดเี อย่ และ เงนิ สลึง ส่วนเรื่องอ่ืนๆ เช่น โคนันทวิศาล (ม.ร.ว.เปีย มาลากุล ณ อยุธยา) เด็กเล้ียงแกะ (ขุนสภาเสพ (ช่วง)) กระต่ายต่ืนตูม (พระยาประกาศวุฒิสาร (สุ่น บณุ โญปการ)) ม้าอารี (พระยาโอวาทวรกิจ) ช้างกับมด (ร. อ. ต. ขนุ อกั ษรสทุ ธ)ิ์ กง้ิ กา่ ไดท้ อง (นายตว่ น เปรยี ญ) นกมีหูหนูมีปีก (พระยาวิจิตรธรรมหปริวัฒน์) สอนลูกให้เป็นโจร (พระยาพิรุฬห์ พทิ ยาพรรณ (สวน พุกกะเวส)) เป็นตน้ ปี พ.ศ. ๒๔๕๕ กรมราชบัณฑติ ไดจ้ ัดพมิ พ์หนังสอื แบบสอนอ่านรวมเรือ่ ง “นิทานอีสป” แปลและเรียบเรียงโดยพระจรัสชวนะพันธ์ (สาตร สุทธเสถียร) (ภายหลงั เลอื่ นบรรดาศกั ดเิ์ ปน็ พระยาเมธาธบิ ด)ี มที งั้ หมด ๔๕ เรอ่ื ง เชน่ ราชสหี ์ กับหนู ลากบั จ้งิ หรีด กากบั นกยูง กระต่ายกับเตา่ ชาวนากับงูเหา่ เทพารกั ษก์ บั คนตดั ตน้ ไม้ กบเลือกนาย กวางกับเสือ เปน็ ต้น จุดประสงค์ในการรวมนิทานอีสปเล่มนี้ เพื่อให้เด็กชั้นมูลหรือชั้นประถมได้ ใช้อ่าน โดยมีเจตนาให้เด็กได้อ่านหนังสือแตกฉาน และรู้จักตัวสะกดต่างๆ ได ้ ถกู ตอ้ ง  | กำเนดิ หนังสือเดก็ ของไทยสรู่ งุ่ อรณุ ของหนงั สอื โรงเรยี น

อนงึ่ สำหรบั การจดั พมิ พ ์ นทิ านอสี ป ภาคเอกชนไดจ้ ดั พมิ พม์ ากอ่ นหนา้ นนั้ แล้ว โดยใช้ชื่อว่า อิศปปกรณัม เม่ือ พ.ศ. ๒๔๓๔ นับว่าเป็นหนังสือเด็กเก่าแก่ ท่สี ดุ อกี เลม่ หนง่ึ ของไทย จัดพิมพ์โดยโรงพิมพ์ศึกษาพิมพการ และอีกเล่มหนึ่งที่น่าสนใจในสองทศวรรษต่อมาคือ เทพปกรณัม (๒๔๕๑) แต่งโดยนายบี.โอ.คาตไรท์ อาจารย์ใหญ่โรงเรียนสวนกุหลาบ เป็นประเภท เทพนิยาย แปลจากเร่ืองของต่างประเทศ มีเร่ือง อาละดินกับโคมวิเศษ อาลีบา บากบั พวกปลน้ เป็นตน้ นิทานที่เก่าแก่ที่สุดที่ได้รับความนิยมสืบทอดมาถึงปัจจุบัน และเป็นที่รู้จักกัน ทวั่ โลกมากทสี่ ดุ รวมถงึ ในประเทศไทยดว้ ย คอื นทิ านอสี ป ซงึ่ นอกจากจะมเี รอ่ื งราว สนุกสนานแล้ว ด้านหลังเล่มยังมีคติสอนใจจากเนื้อเร่ือง ด้วยคำว่า นิทานเรื่องน้ี สอนใหร้ ู้ว่า... นิทานอีสป มีต้นกำเนิดอยู่ท่ีอาณาจักรกรีกโบราณ จากทาสผิวสีคนหนึ่งช่ือ “อสี ป” (Aesop) ผู้มชี วี ิตอย่ใู นชว่ งเวลา ๕๖๐ - ๖๒๐ ปกี ่อนคริสตศ์ กั ราช เปน็ คน รูปรา่ งหนา้ ตาอัปลักษณ ์ แต่มจี ติ ใจท่งี ดงาม อีสปไปทำงานเป็นทาสท่เี กาะซามอส ในระหว่างที่เป็นทาส อีสปได้นำช่ือเสียงมาสู่ตนเองและนายของเขา ด้วยการเป็น นักเล่านิทานผู้มีความสามารถจนเป็นที่รู้จักกันดีในท้องถ่ินน้ัน ในที่สุดอีสปก็ถูก 9

ปลดปล่อยให้เป็นอิสระจากการเป็นทาส เนื่องจากความเป็นผู้ท่ีมีไหวพริบและสติ ปญั ญาอนั เฉียบแหลมนนั่ เอง อีสปสามารถเอาชนะใจชาวกรีกได ้ ด้วยการเล่าเร่ืองท่ีสนุก สอดแทรกด้วย ปรัชญาแงค่ ิด และคตสิ อนใจต่างๆ ซ่งึ เม่อื ใครได้ฟงั ก็สามารถเข้าใจได้ง่ายๆ อกี ทั้งยังนำคติที่ได้รับไปประยุกต์ใช้กับการดำเนินชีวิตประจำวันของตัวเองได้ด้วย นทิ านของอีสปได้รบั ความนยิ มอย่างมากจากคนฟงั ชวี ิตของเขาจึงทำงานด้วยการ เล่านิทานเป็นกิจวัตร จนทำให้ทุกคนในท้องถ่ินที่เขาอยู่รู้จักเขาเป็นอย่างด ี และ ทกุ คนต่างกอ็ ยากฟังนิทานของเขาไมว่ ่าจะเป็นทง้ั เดก็ หรอื ผู้ใหญ่ ลักษณะเด่นอีกอย่างหนึ่งของเรื่องราวจากอีสปก็คือ เขาจะใช้ตัวละครท่ีเป็น สิงสาราสัตว์ทั่วไป เช่น หมาป่ากับลูกแกะ สุนัขกับเงา ราชสีห์กับหน ู กบเลือก นาย กระต่ายกบั เต่า ฯลฯ สนั นษิ ฐานกนั วา่ นทิ านอสี ป เขา้ มาในไทยในสมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยา ชว่ งสมยั ของ พระนารายณ์มหาราช มีชาวกรีกเข้ามารับราชการคือ คอนสแตนติล ฟอลคอน หรอื เจ้าพระยาวชิ าเยนทร์ และมกี ารเลา่ ต่อๆ กันมา คร้ันเมอ่ื มีการพิมพ์เกดิ ขึน้ จงึ ไดม้ ี นทิ านอสี ป เปน็ ตวั หนงั สอื และปรบั แตง่ สำนวนการเลา่ ไปหลากหลายสำนวน ตลอดจนหลากหลายวิธกี าร และสบื มายาวนาน  | กำเนดิ หนงั สอื เดก็ ของไทยสรู่ งุ่ อรณุ ของหนงั สอื โรงเรียน

ในชว่ ง พ.ศ. ๒๔๕๖ - ๒๔๖๒ กรมราชบณั ฑติ กระทรวงธรรมการ ไดจ้ ดั พมิ พ์ หนังสือสำหรับเด็กที่มิใช่แบบเรียนขึ้นหลายเล่ม ส่วนใหญ่เป็นเรื่องแปล ได้แก่ เร่ือง นายแย็กผู้ฆ่ายักษ ์ เด็กที่เมืองจีน เด็กท่ีเมืองญี่ปุ่น ฉันอยากเป็นกลาสี แอฟรกิ าใต้ ความลกึ ลบั ของรปู เทา้ นกอนิ ทรงี า และ ปกณิ ณกประวตั กิ ารคนกบั เรอื “หนงั สืออ่านเลน่ สำหรบั เด็ก” ของกรมราชบณั ฑติ กระทรวงธรรมการ ชว่ ง พ.ศ. ๒๔๕๖ - ๒๔๖๒ มูลเหตุท่ีกรมราชบัณฑิตจัดพิมพ์ “หนังสืออ่านเล่น” (Book for Fun) สำหรับเด็ก ก็ด้วยหนังสือที่นำความเพลิดเพลินมาให้เด็กได้นั้น สามารถเพาะ นสิ ัยรกั การอา่ นให้เกิดขึ้นได้ ดังข้อความแจง้ อยใู่ นปกหลงั ของหนงั สอื ว่า “ด้วยเด็กๆ ในสมัยน้ี เม่ือเรียนหนังสือ เช่น แบบเรียนเร็ว มูล บทบรรพกิจ หรอื ประถม ก กา มากบั ครแู ล้ว กไ็ มม่ ีหนงั สอื อะไร จะอ่านเล่นโดยลำพังตนเองให้เพลิดเพลินได้ จะหันหน้าไปทาง

ไหนก็พบแต่แบบเรียนและหนังสือที่เป็นข้อความไม่เหมาะสมหรือ ยุ่งยากเกินไปทั้งนั้น หนังสือเช่นนี้ถึงจะซ้ือหามาให้เด็กอ่าน โดยมาก เด็กกจ็ ำใจจำตอ้ งอ่านไปอย่างนกแกว้ พดู ภาษาคน ไมเ่ ปน็ ประโยชน์ แก่การที่จะเพาะนิสัยใจคอเท่าใดนัก เม่ือกรมราชบัณฑิตเห็น เป็นการบกพร่องอยู่เช่นนี้จึงได้คิดให้มีหนังสือขึ้นชุดหนึ่ง ทำเป็นเล่ม เลก็ ๆ พมิ พ์ดว้ ยตวั อกั ษรโตๆ มีรปู ว่าดว้ ยเรื่องงา่ ยๆ และใช้ถ้อยคำ อย่างจะมิใหเ้ ด็กรู้สกึ เบอ่ื หนา่ ย...” ความดังกล่าวน้ี ช้ีให้เห็นว่าการสร้างสรรค์หนังสือสำหรับเด็กเป็นงาน สำคัญท่ีจะต้องมีองค์ความรู้ อย่างน้อยก็คือความรู้ความเข้าใจในเรื่องจิตวิทยา การสื่อสารกับกลุ่มเป้าหมาย อันได้แก่ ศิลปะการเขียน การออกแบบ การผลิต หนังสือ น่าเสียดายที่ขาดความต่อเน่ือง องค์ความรู้ในเรื่องหนังสือเด็กของเราจึง ไม่ได้เพิ่มผลผลิตจนกลายเป็นคลังปัญญาท่ีพร้อมจะงอกเงยดอกผล หรือเป็นทุน ทางวัฒ นธรรมสำหรับอนุชนรนุ่ ต่อรุน่ “เดิมทีเยาวชนไม่มีหนังสืออ่านของตน เม่ือจะอ่านหนังสืออ่านเล่นก็ ต้องเอาเร่ืองที่เขียนข้ึนสำหรับผู้ใหญ่มาอ่าน มาภายหลังจึงเห็นกันว่า การท่ีจะช่วยส่งเสริมความเจริญทางสติปัญญาและจิตใจของ  | กำเนิดหนงั สอื เดก็ ของไทยสู่รงุ่ อรณุ ของหนงั สอื โรงเรียน

เยาวชนน้ัน หนังสือท่ีเขียนขึ้นสำหรับเยาวชนโดยเฉพาะนั้นมี ความสำคญั เปน็ อันมาก... ระยะท่ีมีหนังสืออ่านร้อยแก้วสำหรับเด็กโดยเฉพาะนั้นเริ่มประมาณ พ.ศ.๒๔๖๐ ในตอนนั้นกระทรวงศึกษาธิการได้ให้ผู้แต่งเรื่องสำหรับ เด็กหลายเรื่อง ทั้งท่ีแปลจากภาษาอังกƒษและเขียนจากวรรณคดี เก่าๆ ของไทย เช่นเรื่อง นายแย็กผู้ฆ่ายักษ์ ความลึกลับของรูปเท้า นกอินทรงี า เดก็ ท่เี มอื งญ่ีป่นุ และสรรพสิทธิ์ เป็นต้น การดำเนนิ การ ในเรอ่ื งนีแ้ มเ้ ดก็ จะนยิ มอ่าน แตก่ ็ไดท้ ำๆ หยดุ ๆ กัน...” (เปลือ้ ง ณ นคร, ๒๕๐˘ : ๕๕) หนงั ส ือดที ี่ต้องห้ามในสมัยรชั กาลที่ ๖ - ๗ เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๔๕๔ มกี ารจัดพิมพห์ นงั สือ ทรพั ยศาสตร์ เล่ม ๑ - ๒ (ในยุค นนั้ เขยี นว่า ทรัพยสาตร)์ โดยโรงพิมพบ์ ำรุงนุกูลกจิ ผู้เขียนคอื พระยาสรุ ยิ านุวตั ร (เกดิ บนุ นาค) เป็นหนงั สือท่ีเสนอแนวคดิ ทางเศรษฐศาสตร์ และอธบิ ายถึงระบบ เศรษฐกิจในประเทศตะวันตกในสมัยน้ัน เอาแนวคิดและกลไกระบบเศรษฐกิจ แบบตะวันตกมาประยุกต์ใช้กับสังคมไทยโดยไม่ลืมรากฐานท่ีไทยเป็นสังคม เกษตรกรรม ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวนายากจน ให้ความรู้ด้านประวัติศาสตร์

เศรษฐกิจไทย และทัศนะท่ีคนไทยยุคก่อนมองปัญหาเศรษฐกิจไทย เป็นหนังสือ ตำราเศรษฐศาสตรเ์ ลม่ แรกของคนไทย ทไี่ ดแ้ ค่เปิดประตแู งม้ ออกมาสู่โลกหนังสอื ก็ต้องชะงักงัน เพราะถูกทางราชการขอร้องไม่ให้เผยแพร่ ทั้งท่ีตีพิมพ์เพ่ือเป็น หนังสือประกอบการเรียน และได้รับอนุญาตจากกรมศึกษาธิการแล้ว เม่ือ พ.ศ. ๒๔๕๘ เน่ืองจากรชั กาลที่ ๖ ได้ทรงเขียนวจิ ารณ์ ลงในวารสาร สมทุ รสาร ของ ราชนาวีสมาคม ว่าเป็นหนังสือท่ีจะทำให้เกิดริษยากันและแตกสามัคคีกัน พร้อม ทั้งเสนอลัทธิทรัพยศาสตร์ใหม่ คือ “ความพอใจในส่ิงท่ีตนมีอยู่แล้วน้ันแหละเป็น ทรัพยอ์ นั ประเสริฐย่งิ ” หนงั สือ “ทรัพยสาตร์” - หนงั สือต้องหา้ ม  | กำเนดิ หนงั สือเดก็ ของไทยสรู่ งุ่ อรณุ ของหนังสอื โรงเรียน

หลังจากนั้นจึงไม่มีใครกล้าเขียนตำราทางเศรษฐศาสตร์อย่างเปิดเผยอีก ต่อมาในสมัยรัชกาลท่ ี ๗ รัฐบาลได้ออกกฎหมาย ห้ามสอนลัทธิเศรษฐกิจ โดย ถอื วา่ การกระทำดงั กลา่ วเปน็ ความผดิ อาญา และหนงั สอื ทรพั ยศาสตร์ เลม่ ๑ - ๒ กถ็ ูกประทับตราในฐานะหนังสอื ต้องหา้ ม ว่ากันว่า ความใฝ่ฝันท่ีจะเห็นประเทศไทย พัฒนาไปสู่ประเทศท่ีม่ังคั่ง เขม้ แขง็ เปน็ อสิ ระ เปน็ ตวั ของตวั เอง และมคี วามเปน็ ธรรมในสงั คม อนั จกั ไดจ้ าก หนังสือเล่มน ้ี เป็นส่ิงท่ีก้าวล้ำหน้าความคิดอ่านของชนชั้นนำไทยในขณะน้ันไป อย่างมาก ! ต่อมาหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองในป ี พ.ศ. ๒๔๗๕ ทรัพยศาสตร์ เล่ม ๓ จึงได้รับการตีพิมพ์ออกมาเป็นคร้ังแรก ในปี พ.ศ. ๒๔๗๗ ภายในชื่อ เศรษฐกิจ-การเมือง หรือ เศรษฐวิทยา เล่ม ๓ เพ่ือให้ หนังสือชุดนี้มีความสมบูรณ ์ และอีกราว ๒๐ ปี ต่อมา จงึ มกี ารจัดพมิ พร์ วมเลม่ ๑ - ๓ เป็น ทรัพยศาสตรฉ์ บบั สมบูรณ์ และเมื่อมีการวิจัย “๑๐๐ เล่มหนังสือดีท่ีคน ไทยควรอ่าน” ทรัพยศาสตร์ คือหน่งึ ในร้อยเลม่ อันทรง คุณค่าควรแกก่ ารอ่าน !!

เพลงกลอ่ มเดก็ : จากม ุขปาฐะสูห่ นงั สือเพ่ือเด็กปฐมวยั เลม่ แรก พ.ศ. ๒๔๖๓ สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานภุ าพเมอื่ ครงั้ ทรงบริหารหอสมุด วชิรญาณ ได้ขอให้กระทรวงศึกษาธิการรวบรวมบทกล่อมเด็กท่ีใช้ขับกล่อมอยู่ ตามหัวเมืองภาคต่างๆ แล้วรวมพิมพ์เป็นเล่ม เรียกช่ือว่า “บทกลอนกล่อมเด็ก” พิมพ์ในปี พ.ศ. ๒๔๖๔ ประกอบด้วยบทเห่เด็ก (บทกล่อมให้เด็กนอน) ๗๑ บท บทปลอบเดก็ ๔๒ บท และบทเดก็ เลน่ (เพลงที่เดก็ รอ้ งเล่น) ๖๖ บท กลา่ วไดว้ ่า เราได้เปิดถนนสายหนังสือให้เด็กปฐมวัย จากวรรณกรรมมุขปาฐะสำหรับเด็กเล็ก ที่เรามมี าแตโ่ บราณกาล “แต่เก่าก่อนมา พอเด็กลืมตาดูโลก หูฟังเสียงต่างๆ เป็น ก็ได้ยิน เสยี งเห่กล่อมนอนเปลไกวกันเรื่อยมา จนสอนน่งั สอนยนื สอน เดิน ล้วนมีบทกลอนสอนไว้ เช่น บทสอนยืนที่ล่อให้เด็กยืนก็มีว่า “ตัง้ ไขล่ ้ม ตม้ ไข่กนิ ไขต่ กดิน อดกนิ ไขเ่ นอ้ ” เปน็ ตน้ ยงั มีบทขู่เวลาลูกน้อย ๖-๗ เดอื นในเปลไมย่ อมนอน ชอบดูอะไรเลน่ ๆ เพราะกำลงั เป็นเวลาทเ่ี ดก็ หัดเรียนรสู้ ิ่งรอบๆ ตัว บทนั้นก็มีเป็นต้นวา่  | กำเนดิ หนงั สอื เดก็ ของไทยสรู่ ุ่งอรณุ ของหนังสอื โรงเรยี น

“แมวหง่าวเอย ไต่ราวลงมา คนนอนไม่หลับ กินตับเถิดวา” หรือ “ตäกุ แกเอย ตวั ลายพร้อยพรอ้ ย งเู ขยี วตัวน้อย หอ้ ยหัวลงมา คนนอน ไม่หลับ มากินตับเถดิ วา” บทปลอบ เวลาเด็กน้อยๆ ร้องไห้ก็มี เช่น “แต่เช้าแต่ เขาแห่ยาย มา...” บทสอนใหใ้ ช้อากัปกริ ยิ าปนเล่น เชน่ “แกวง่ แขนเสยี จะดว่ น ไป ลูกร้องไห้ ด่วนไปดว่ นมา” บทร้องเล่นสนุกÊ เช่น เม่ือเด็กยังอ่อนก็ให้หัดเล่น “แมงมุมขยุ้ม หลงั คา” หัดใหเ้ ดก็ ใช้นิ้วเปน็ จบั หลังมือตัวเอง แลว้ คนเลีย้ งกช็ ว่ ยจบั ตอ่ ๆ กนั ขย้มุ ขนึ้ ๆ ลงๆ เดก็ โตก็เล่นเข้าแถวลอด “รีรีข้าวสาร สอง ทะนานข้าวเปลือก” ถ้าเล่น “งูกินหาง” ก็ร้องบทไป แล้วไล่ตะครุบ กันไป” บทกลอนทุกระดับวัยของเด็กมีมากมายให้เลือกใช้ในโอกาส ต่างÊ เป็นวิธีท่ีเหมาะที่สุดสำหรับสอนเด็กต้ังแต่ยังไม่รู้หนังสือ พอ เติบโตเข้าโรงเรียนหรือหัดเรียนกับผู้ใหญ่ก็ใช้บทกลอนอีก บทเรียน ดงั้ เดิมที่มีเหลอื กค็ อื “จนิ ดามณี” แต่ครง้ั เก่า หรอื “มลู บทบรรพกจิ ” ฯลฯ ก็สอนด้วยวธิ ีของกาพยก์ ลอน” (คณุ หญิงสมโรจน์ สวสั ดกิ ุล ณ อยุธยา, ๒๕๑๕)

จากนโยบายการศกึ ษาแผนใหม่ของไทย กอปรกับเทคโนโลยีการพิมพท์ ีเ่ อ้อื ต่อการผลิตหนังสือจำนวนมากๆ ในยุคก่อตั้งกรมศึกษาธิการสืบมา เรามีการ ผลติ หนังสอื สำหรับเด็กจำนวนมาก โดยเฉพาะหนงั สือแบบเรยี น ไม่วา่ จะเป็นแบบ เรยี นภาษาไทย ธรรมจรยิ า นทิ าน และอน่ื ๆ ท้งั จากการนำเอาภมู ปิ ญั ญาดงั้ เดมิ ของไทยมารังสรรค์ใหม่ และนำมาจากตา่ งประเทศ หลกั ๆ เปน็ งานผลิตของทาง ราชการ มีอยู่บ้างที่เอกชนได้ผลิตขึ้น มีทั้งส่วนที่หนุนเสริมและส่วนท่ีก้าวนำ ราชการ จนกลายเปน็ หนงั สอื ต้องหา้ ม นา่ หาคำตอบว่า เสน้ ทางสร้างสรรคห์ นงั สอื ทน่ี า่ สนใจทีแ่ มท้ างการเปดิ ป้าย นำทางไว้ เหตุใดจึงไปได้ไม่ไกลก็เงียบหาย เช่น แนวคิดเร่ืองการจัดทำหนังสือ เพ่ือความเพลิดเพลินอันจะช่วยเพาะนิสัยรักการอ่านได้เป็นอย่างดีน้ีอย่างหน่ึง ส่วนทเ่ี ป็นหนงั สอื ห้ามไมใ่ ห้อ่าน ก็น่าจะไดต้ ้งั คำถามเชน่ กันว่า เราสูญเสียโอกาส อะไรไปบ้าง ในการเปิดปัญญาแก่อนุชนของชาติ เพราะหากการอ่านไม่ได้นำมา ซึ่งความสามารถในการตรึกตรอง วิเคราะห์วิพากษ์ ตั้งคำถามกับความรู้ที่มีอยู่ และสังคมที่เป็นอยู่ คณุ คา่ ของหนงั สือยอ่ มลดนอ้ ยถอยลง…  | กำเนดิ หนงั สือเดก็ ของไทยสรู่ งุ่ อรณุ ของหนงั สือโรงเรียน

สงั เขป การศกึ ษากับหนังสอื เดก็ ของไทย • ในรชั กาลพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั (รชั กาลท ี่ ๕) ประเทศ ไทยมีความเปล่ียนแปลงเป็นอย่างมากอันเป็นผลมาจากวัฒนธรรมตะวันตก ซ่ึง แพร่เขา้ มาตั้งแต่รัชกาลก่อนแล้ว • รชั กาลที่ ๕ ทรงให้ความสำคัญกบั การศึกษา โปรดเกล้าฯ ให้ตัง้ โรงเรยี น หลวงข้นึ เปน็ ครั้งแรกในพระบรมมหาราชวัง เมื่อ พ.ศ. ๒๔๑๔ ใหพ้ ระยาศรสี นุ ทร โวหาร (น้อย อาจารยางกูร) เมื่อคร้ังยังเป็นหลวงสารประเสริฐ ปลัดกรม พระอาลกั ษณเ์ ปน็ อาจารยใ์ หญ ่ นกั เรยี น ไดแ้ ก ่ พระเจา้ ลกู ยาเธอ พระราชวงศ ์ และ บตุ รขุนนาง • ในปี พ.ศ. ๒๔๒๔ โปรดเกล้าฯ ให้ต้ังโรงเรียนข้ึนที่ตำหนักสวนกุหลาบ เรยี กวา่ โรงเรยี นมหาดเลก็ ความมงุ่ หมายในตอนตน้ เพอื่ หดั วชิ าทหาร ตอ่ มาโปรด เกล้าฯ ให้เปล่ยี นเปน็ โรงเรยี นพลเรอื นเพ่อื ประโยชน์แก่ข้าราชการทว่ั ไป และตง้ั แต ่ พ.ศ. ๒๔๒๗ เป็นต้นมา ได้โปรดเกล้าฯ ให้ต้ังโรงเรียนสำหรับสามัญชนตามวัด ต่างๆ ท้ังในกรุงและหัวเมือง โรงเรียนสำหรับประชาชนแห่งแรกคือโรงเรียน วดั มหรรณพาราม 9