Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การอ่านสู่ประชาคมโลก

การอ่านสู่ประชาคมโลก

Published by NongDonDLEC, 2020-03-12 03:33:00

Description: ประชาคมโลก

Search

Read the Text Version

• มารนี า เบย์ แซนดส์ แหลง่ รวมความบนั เทิง ครบวงจรที่มีขนาดใหญ่ท่สี ดุ ของสิงคโปร์ • องค์ความรู้ในระยะยาว ภายใต้แนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจของ Economic Development Board ทจ่ี ะใหส้ งิ คโปรเ์ ปน็ Home for Innovation ภายใน พ.ศ. 2558 นอกจากน้ี ยงั มแี ผนระยะยาวในการเพม่ิ ศกั ยภาพสนามบนิ นานาชาตชิ างงี สนามบนิ ทมี่ ี ผโู้ ดยสารหนาแนน่ ทสี่ ดุ ในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต ้ การเคลอ่ื นยา้ ยทา่ เรอื ศนู ยก์ ลาง การขนส่งทางเรือท่คี บั ค่ังเปน็ อนั ดบั 2 ของโลกไปยงั ที่ตัง้ ใหม่ ภายใน พ.ศ. 2570 เพือ่ เพิ่มพนื้ ท่วี า่ งในยา่ นธุรกิจและขยายเมืองรมิ นำ้� แหง่ ใหม่ โดยยังคงรักษาสถานะ ศนู ยก์ ลางของเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ไว้ แผนแม่บทเพื่อความยั่งยืน โดยการพัฒนาเมืองให้เป็นเมืองสีเขียว เป็นอีกแผนการด�ำเนินงานหน่ึงที่สิงคโปร์ให้ความส�ำคัญเป็นอย่างมาก โดยเน้น การประชาสัมพันธ์เพ่ือสร้างการรับรู้การให้ประโยชน์ตอบแทนแก่เอกชนท่ีก่อสร้าง อาคารใหม่ด้วยระบบอาคารเขียว และมีรัฐบาลเป็นผู้น�ำในการผลักดันโครงการ ดงั กลา่ ว และตง้ั เปา้ ไว้ว่าภายใน พ.ศ. 2573 สิงคโปรจ์ ะมอี าคารเขยี วร้อยละ 80 ของอาคารท่ีมอี ยทู่ ้งั หมด และสามารถลดการใช้พลงั งานลงไดร้ ้อยละ 30 เมื่อเทยี บกับ พ.ศ. 2556 99

กรุงฮานอย สาธารณรฐั สงั คมนยิ มเวียดนาม ฮานอย (องั กฤษ: Hanoi; ห่าโหน่ย) หมายถึง ตอนต้นของแม่น้�ำ ตามสภาพทางภูมิศาสตร์ซ่ึงต้ังอยู่ ตอนตน้ ของลุม่ แมน่ �้ำแดง ปฐมกษัตริยร์ าชวงศล์ ้สี ถาปนา เปน็ เมืองหลวงใน พ.ศ. 1553 โดยใชช้ ่อื ว่า “ทงั ลอ็ ง” แปลว่า “มังกรเหนิ ” จนกระท่งั พ.ศ. 2245 กษตั ริย์ราชวงศ์ เหงยี นได้ย้ายเมอื งหลวงไปอยเู่ มืองเว้ เมื่อตกเป็นส่วนหนึ่งของ อินโดจีนของฝร่ังเศส กรุงฮานอยจึงกลับมาเป็นเมืองหลวงอย่างเป็น ทางการอีกครง้ั ใน พ.ศ. 2430 ภายหลังไดร้ บั เอกราชใน พ.ศ. 2489 ดินแดนเวียดนามแยกออกเป็นสองประเทศ โดยกรุงฮานอยเป็นเมืองหลวง ของเวยี ดนามเหนอื ถงึ พ.ศ. 2519 และคงสถานะไวจ้ นถงึ ปจั จบุ นั เมอ่ื รวมประเทศใน ปเี ดยี วกนั จงึ เปน็ เมอื งหลวงหนงึ่ เดยี วของเวยี ดนาม ตอ่ มาใน พ.ศ. 2551 เพอื่ รองรบั การเจรญิ เตบิ โตของเมอื ง ทางการเวยี ดนามจงึ ไดข้ ยายเขตกรงุ ฮานอยใหค้ รอบคลมุ บริเวณมากกว่าเดิมถงึ 3 เท่า แม้ว่าเมืองแห่งนี้จะได้ผ่านศึกสงครามกลางเมืองมาอย่างโชกโชน แต่ก็ ยงั คงเอกลกั ษณแ์ ละคณุ คา่ ทางประวตั ศิ าสตรข์ องโบราณสถานตา่ งๆ ไวไ้ ดเ้ ปน็ อยา่ งดี เชน่ พน้ื ทบี่ รเิ วณเมอื งเกา่ และเจดยี แ์ ละวดั วาอารามอกี กวา่ 600 แหง่ นอกจากนี้ กรุงฮานอยยังเป็นท่ีตั้งของป้อมปราการหลวงทังล็อง ซ่ึงได้รับเลือกเป็นมรดกโลก จากองค์การยเู นสโกดว้ ย 100

• เจดียภ์ ายในวัดเตรน่ิ กว๊อก หนึ่งในสถานที่ ทอ่ งเทีย่ วส�ำคญั ของกรุงฮานอย • 101

นอกจากการอนุรักษ์ประวัติศาสตร์ของเมืองแล้ว กรุงฮานอยยังได้พัฒนาเมืองให้ตอบสนองความต้องการของ ประชาชนและความเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึนในโลกยุคใหม่ภายใต้ การบริหารเมืองท่ีประกอบด้วยสภาเทศบาลกรุงฮานอย โดย มีคณะกรรมาธิการกรุงฮานอยภายใต้การบังคับบัญชา และ แบ่งเปน็ 7 ฝ่าย คอื ฝา่ ยอุตสาหกรรมและการค้า ฝ่ายกิจการ ต่างประเทศ ฝ่ายวางแผนและการลงทุน ฝ่ายงานยุติธรรม ฝ่ายทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ฝ่ายแรงงาน ทุพพลภาพ และกิจการสังคม ฝ่ายวัฒนธรรม กีฬา และ การท่องเที่ยว โดยคณะกรรมาธิการกรุงฮานอยภายใต้สภา กรุงฮานอยดูแลเขตและหมู่บ้าน ใน พ.ศ. 2553 ทางการ กรุงฮานอยได้จัดท�ำแผนแม่บทการพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมของกรุงฮานอย ระหว่างช่วง พ.ศ. 2554-2563 และก�ำหนดเป้าหมายต่อไปถึง พ.ศ. 2573 เพื่อให้เกิด การพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมเมืองหลวงอย่างย่ังยืน โดยไม่กระทบต่อส่ิงแวดล้อมและการรักษาคุณค่าทาง วัฒนธรรมของเมืองหลวง ตลอดจนแก้ปัญหาการเพ่ิมข้ึน อย่างรวดเร็วของประชากรในเมอื งหลวงดว้ ย ภายใต้แผนแม่บทดังกล่าว ทางการกรุงฮานอย ได้เน้นให้ความส�ำคัญกับการลงทุนใน 3 ภาคเศรษฐกิจ ได้แก่ ธุรกิจบริการ การท่องเที่ยว และอุตสาหกรรม ที่ใช้เทคโนโลยีข้ันสูง ขณะเดียวกันจะเพ่ิมพ้ืนท่ี กรุงฮานอย และพัฒนาให้มีลักษณะเป็นกลุ่มเมือง มากข้ึน โดยแบ่งเขตพ้ืนที่อย่างชัดเจน ประกอบด้วย พื้นท่ีใจกลางเมือง พื้นท่ีเมืองบริวาร และพื้นท่ีชนบท ทั้งนี้ จะเห็นได้ว่ากรุงฮานอยก�ำลังเร่งด�ำเนินการ เตรียมความพร้อมและเพิ่มศักยภาพการแข่งขันของ เมืองเพื่อให้สามารถมีบทบาทมากข้ึนในเวทีโลกต่อไป 102

• มมุ สูงของกรงุ ฮานอย เมืองหลวงของเวียดนาม • 103

หนหี า่ ว คอนนิจิวะ อนั ยองฮาเซโย นมัสเต เฮลโล กล่าวได้วา่ อาเซยี นน้ันมเี พอ่ื นสมาชกิ 10 ประเทศ แตใ่ นกรอบความรว่ มมอื อาเซียน ยงั มีเมืองท่เี ปน็ ประเทศคู่เจรจาอกี 6 ประเทศ ซ่งึ ก็คือเพ่ือนของเรา ไดแ้ ก่ จนี ญ่ปี นุ่ เกาหลีใต้ อนิ เดยี ออสเตรเลยี และนวิ ซีแลนด์ ท่ีช่วยส่งเสริมโอกาสแห่ง ความร่วมมืออันจะน�ำไปสู่ความก้าวหน้าของประเทศอาเซียนในเวทีโลกด้วย ดังน้ัน เราก็ไม่อาจมองข้ามเพื่อนกลุ่มน้ีได้ และควรท่ีจะพัฒนาความสัมพันธ์เดิมที่มีอยู่ พรอ้ มท้ังขยายความสมั พันธต์ ่อไปในอนาคต 104

กรุงปกั กิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน จากหลักฐานประวัติศาสตร์ นอกจากการติดต่อค้าขาย ชาวจีนยังเข้ามา ต้ังรกรากท�ำมาหากินในเมืองไทยจนสืบเช้ือสายมาหลายรุ่นดังท่ีเรารู้เห็นกัน ในปัจจุบัน จากประวัติศาสตร์การสร้างเมืองพระนคร ตลอดจนการขยายราชธานี มาอีกฝั่งหน่ึง (ซ่ึงก็คือกรุงเทพมหานครในปัจจุบัน) ได้มีการย้ายชุมชนของชาวจีน ที่อพยพมาอยู่ท่ีบริเวณนี้ไปต้ังบ้านเรือนอยู่แถบคลองวัดสามปลื้มจนถึงคลอง วัดส�ำเพ็งแทน คร้ันเมืองพัฒนาขึ้นโดยเฉพาะในสมัยของพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ชาวจีนในสยามบางรายยังมีบทบาทส�ำคัญทางราชการ อีกด้วย ดังพบได้จากเอกสารจดหมายเหตุในสมัยน้ีมีต�ำแหน่งขุนนางที่เรียกว่า “กรมท่าซ้าย” หรือต�ำแหนง่ “โชฎึกราชเศรษฐี” หวั หนา้ ชาวจีน และความสัมพนั ธ์ ก็ต่างมีให้กันมาตลอด และเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2556 เพ่ิงร่วมฉลองครบรอบ ความสัมพันธ์ฉันเมืองพี่เมืองน้อง 20 ปีระหว่างสองเมืองหลวง ท�ำให้เห็นได้ว่า กรงุ เทพมหานครมคี วามสมั พนั ธ์กบั กรงุ ปักกิ่งและชาวจนี มาอยา่ งเนิ่นนาน 105

• พระราชวงั ฤดรู อ้ นในกรงุ ปกั กงิ่ ยามคำ่� คืน • 106

กรุงปักก่ิงนั้นเดิมมีชื่อว่า “เป่ยผิง” หมายถึง สันติภาพแห่งทิศเหนือ แตต่ ่อมาเปลีย่ นเปน็ เป่ยจงิ ซ่ึงแปลว่า เมอื งหลวงแห่งทิศเหนอื แต่คนไทยเรียกปกั กงิ่ กรุงปักก่ิงเป็นเมืองส�ำคัญทางการค้ามาต้ังแต่เม่ือราว 3,000 ปีก่อน และเคยเป็น เมอื งหลวงของอาณาจกั รเหงยี นเมอ่ื ราว 2,500 ปมี าแลว้ ตอ่ มาเมอ่ื พรรคคอมมวิ นสิ ตจ์ นี ประกาศกอ่ ตง้ั รฐั บาล จงึ ได้ประกาศให้กรงุ ปกั กง่ิ เปน็ เมืองหลวงของประเทศ ปัจจุบันกรุงปักก่ิงมีฐานะเป็นเขตปกครองพิเศษเรียกว่า มหานคร ขึ้นตรงกับ รัฐบาลกลาง เป็นที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ของพรรคคอมมิวนิสต์จีนอันเป็นองค์กรสูงสุดของ ประเทศ รฐั บาลกลาง หนว่ ยงานบรหิ ารระดบั สงู องคก์ รนานาชาติ สถานเอกอคั รราชทตู ตา่ งๆ กรุงปักกิ่งได้รับการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง และมีความเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว โดยมีความพร้อมทางด้านสิ่งอ�ำนวยความสะดวกต่างๆ รวมท้ัง เป็นเมืองแห่งเทคโนโลยี การพัฒนาการศึกษา และแรงงานท่ีมีคุณภาพ มีการพัฒนา สิ่งแวดล้อมให้แก่วิสาหกิจต่างๆ กระทั่งกลายเป็นศูนย์กลางการลงทุนจากต่างประเทศ ดังจะเห็นได้จากแผนพัฒนาแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2554-2558) ซ่ึงมีแผนพัฒนาให้ กรุงปักกิ่ง นครเทียนจิน และมณฑลเหอเป่ย เป็นเขตพัฒนาเศรษฐกิจท่ีรัฐบาลจีนจะ ผลกั ดนั ใหเ้ ป็นศูนยก์ ลางเศรษฐกจิ และการเงนิ นานาชาตแิ หง่ ท่ี 3 เขตเศรษฐกิจดังกล่าวมีชื่อว่า เขตเศรษฐกิจจิงจินจี้ ซึ่งมีกรุงปักกิ่ง เปน็ ศนู ย์กลาง และแบ่งเขตเศรษฐกิจออกเป็น 11 เขต นอกจากนี้ กรุงปักกิ่งยังมเี ขต พัฒนาเศรษฐกิจเดิมท่ีส�ำคัญอีกหลายแห่ง และภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจดังกล่าว ยังมีการปรับปรุงโครงสร้างอุตสาหกรรมให้พัฒนากว่าเมืองอ่ืนๆ ทั้งยังให้ความส�ำคัญ กับการดึงดูดเงินทุนจากต่างชาติในการพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐาน โครงสร้าง อุตสาหกรรม การพัฒนาเมือง อุตสาหกรรมเทคโนโลยีข้ันสูง ตลอดจนการขยายพ้ืนที่ สีเขียว โดยมีเป้าหมายสร้างพ้ืนท่ีสีเขียว 1 ล้านตารางเมตร และมีการก�ำหนดให้ อาคารสาธารณะในตัวเมืองท่ีมีความสูงไม่เกิน 12 ชั้น และมีคุณสมบัติเพียงพอ ในตัวเมืองสร้าง “สวนลอยฟ้า” (Sky Garden) บนดาดฟ้าของอาคาร 107

กรุงโตเกียว ญีป่ ุน่ การติดต่อสัมพันธ์ระหว่างไทยกับญี่ปุ่นในช่วงแรกนับตั้งแต่คริสต์ศตวรรษ ท่ี 17 เร่ิมขึ้นด้วยการค้าขายระหว่างกันโดยกองเรือสินค้าของญ่ีปุ่นท่ีมีช่ือ ตราสีแดง (Red Seal Ships) ตามมาด้วยการจัดต้ังหมู่บ้านญ่ีปุ่นในดินแดน ต่างๆ ของไทย ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับญ่ีปุ่นได้ส้ินสุดลงในช่วงท่ีญ่ีปุ่น ด�ำเนินนโยบายปิดประเทศ และได้เร่ิมความสัมพันธ์ข้ึนมาใหม่อีกครั้ง ในคริสต์ศตวรรษท่ี 19 และได้พัฒนามาถึงปัจจุบัน สิ่งหน่ึงที่ ไทยและญ่ีปุ่นมีความโดดเดน่ เหมอื นกนั อยา่ งนา่ ภาคภมู ใิ จ นน่ั คอื ทงั้ สองประเทศไมเ่ คยสญู เสยี เอกราชอธปิ ไตย และ ไม่เคยตกเป็นเมืองข้ึนในช่วงสมัยของยุคแผ่อ�ำนาจ ของชาตติ ะวันตก จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ความสัมพันธ์ไทย-ญ่ีปุ่นพบว่าในสมัย พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยหู่ ัว น้นั มีทปี่ รึกษาราชการชาวต่างชาตนิ าม พระยามหธิ ร (โตกจี ิ มาซาเอะ) เปน็ ผชู้ ว่ ย ทป่ี รกึ ษากระทรวงยุติธรรม และมี การทำ� สัญญาทางไมตรีกับญป่ี ่นุ ซึง่ ส่วนใหญใ่ นสมัยนน้ั 108

ชาวต่างชาติมักเป็นชาวอังกฤษ แสดงให้เห็นว่าความสัมพันธ์ท่ีผ่านมาของเรา ไม่ได้มีแต่เร่ืองการรบการสงครามหรือการค้าขายเท่านั้น แต่ยังให้ความส�ำคัญ ต่อชาวญี่ปุ่นอีกด้วย โดยเฉพาะอย่างย่ิงในปัจจุบันท่ีรับรู้กันได้เป็นอย่างดีถึง สัมพันธไมตรีจากท้ังสองพระราชวงศ์ ซ่ึงเห็นได้จากการเสด็จพระราชด�ำเนินเยือน ไทยของสมเดจ็ พระจกั รพรรดแิ ละสมเดจ็ พระจกั รพรรดนิ ี เพอ่ื ทรงเขา้ รว่ มใน พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี ของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวฯ และเป็นการเสด็จฯ เยือนไทยเป็นคร้ังท่ี 2 ของสมเด็จพระจักรพรรดิและสมเด็จพระจักรพรรดินี ภายหลังเสด็จขึ้นครองราชสมบัติ ในขณะเดียวกัน พระบรมวงศานุวงศ์ของไทยก็ได้เสด็จฯ เยือนญี่ปุ่น อกี หลายครง้ั 109

ส�ำหรับกรุงโตเกียว เมืองหลวงของญ่ีปุ่น แต่เดิมมีชื่อว่า เอโดะ และมี ความเจริญรุ่งเรืองเป็นอย่างมากภายใต้การปกครองของโทกุกาวา เอยาสุ ผู้ก่อต้ัง อาณาจักรโชกุนโทกุกาวา เมืองเอโดะแห่งนี้เป็นเมืองศูนย์กลางทางการเมืองและ วัฒนธรรมของญ่ีปุ่น และมีการขยายตัวข้ึนเป็นเมืองขนาดใหญ่ มีประชากรอาศัย อยู่มากกวา่ 1 ลา้ นคน ต้ังแตช่ ่วงกลางศตวรรษท่ี 18 ซ่ึงในขณะนัน้ เมอื งหลวงของ ประเทศอยทู่ ่ีกรงุ เกยี วโต ยุคสมัยของเอโดะด�ำเนินต่อเน่ืองยาวนานมาถึงเกือบ 260 ปี กระท่ังถึง การปฏริ ปู สมยั เมจิ จกั รพรรดเิ มจไิ ดย้ า้ ยมาอาศยั ในเมอื งเอโดะ และเปลย่ี นชอ่ื ใหเ้ ปน็ โตเกยี ว โตเกียวจงึ กลายเปน็ เมอื งหลวงของประเทศ กรุงโตเกียวผ่านร้อนผ่านหนาว ท้ังจากเหตุไฟไหม้และแผ่นดินไหว ครง้ั ใหญห่ ลายครง้ั รวมไปถงึ การถูกทงิ้ ระเบดิ อย่างหนักในชว่ งสงครามโลกคร้งั ท่ี 2 แต่ก็สามารถฟื้นตัวกลับขึ้นมาได้ ด้วยความพยายามอย่างยิ่งยวดของทางการ ญี่ปุ่นเพ่ือขับเคล่ือนเศรษฐกิจและยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชนของเมืองหลวง ศูนย์กลางความเจริญทุกด้านของประเทศ กระท่ังในปัจจุบัน กรุงโตเกียวได้ กลายมาเป็นเมืองท่ีมีศักยภาพการแขง่ ขันสูงทีส่ ดุ ของโลกเปน็ อนั ดับท่ี 5 รฐั บาลทอ้ งถน่ิ กรงุ โตเกยี วยงั ไดว้ าง “วสิ ยั ทศั น์ 2563” ซง่ึ มเี ปา้ หมายสำ� คญั ไดแ้ ก่ 1. เป็นเมืองที่มีความยืดหยุ่นต่อภัยธรรมชาติและท�ำให้ท่ัวโลกยอมรับ ในความปลอดภยั ของเมือง 2. เป็นสังคมที่ปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ต�่ำ ด้วยโครงสร้างระบบ การใช้พลังงานทีม่ ีประสทิ ธิภาพ 3. สร้างภูมทิ ัศน์ที่สวยงามรายลอ้ มด้วยสายน้�ำและต้นไม้ 4. สรา้ งความเชอ่ื มโยงโครงสรา้ งคมนาคมทส่ี มบรู ณเ์ พอื่ ยกระดบั ศกั ยภาพ การแข่งขันในระดับสากล 5. ดึงดูดนักลงทุนจากต่างชาติให้เข้ามาลงทุนด้านอุตสาหกรรมเพ่ิมขึ้นใน พ้ืนทพ่ี เิ ศษเพื่อเป็นศนู ย์กลางของส�ำนกั งานใหญ่ขององคก์ รต่างๆ ในเอเชีย 110

6. สรา้ งเมืองต้นแบบระดบั โลก ในฐานะสงั คมเมือง ท่ีมีประชากรแรกเกดิ ต่�ำและมปี ระชากรสูงอายุสูง 7. สร้างบุคลากรท่มี คี วามสามารถระดบั โลก โดยสรา้ งสงั คมท่ที ุกคนสามารถบรรลุเป้าหมายขน้ั สูงได้ 8. สรา้ งสังคมทเี่ ปดิ โอกาสให้ทกุ คนไดเ้ ล่นกีฬา และสรา้ งสรรคค์ วามฝันแก่เยาวชน เมื่อนึกถงึ กรงุ โตเกียว ส่งิ ทโ่ี ดดเด่นอนั เป็นภาพลักษณ์ ทปี่ ฏิเสธไมไ่ ด้คือ ภาพเมืองทเี่ ตม็ ไปด้วยผคู้ นทแี่ ตง่ ตัวนา่ รัก เปน็ ตัวของตัวเอง ไปถงึ ขัน้ ลำ�้ แฟช่ัน ในย่านฮาราจูก ุ หรืออากิฮาบาร่า ที่มีสินค้าเคร่ืองใช้ไฟฟ้ามากมาย สวนสนกุ ดสิ นยี แ์ ลนดม์ ขี นาดทใี่ หญม่ าก และทขี่ าดไมไ่ ด้ น่ันคือ การได้ลม้ิ รสชาตอิ าหารญี่ปุ่น ซง่ึ ลว้ นแลว้ แตเ่ ป็นทีป่ รารถนาของคนไทยและนกั ทอ่ งเท่ียว จำ� นวนไมน่ อ้ ย 111

• ทวิ ทัศน์ของกรุงโตเกียว โดยมีฉากหลัง เปน็ ภูเขาไฟฟจู ิ สญั ลกั ษณ์ของญี่ปุ่น • 112

113

กรงุ โซล สาธารณรฐั เกาหลี หลงั จากกระแส K-Pop หรือกระแสนยิ มเกาหลี หล่งั ไหลเขา้ มาในภมู ภิ าค เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ นำ� มาโดยละครและเพลงตา่ งๆ ทำ� ใหเ้ กาหลใี ตเ้ ปน็ ประเทศ ที่ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวเป็นอย่างมาก ย่านธุรกิจการค้า และแหล่ง ชอปปิงหลากหลายในกรุงโซล ได้ท�ำให้เมืองหลวงแห่งน้ีคึกคักและคลาคล�่ำไปด้วย ผู้คนจากทว่ั ทุกสารทศิ กรุงโซลนั้นเป็นเมืองท่ีมีประวัติศาสตร์ยาวนานกว่า 2,000 ปี และเป็น เมืองหลวงของเกาหลีใต้มานานกว่า 600 ปี ปัจจุบันมหานครแห่งน้ีเต็มเปี่ยม ไปด้วยประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมที่ผสมผสานเข้ากับเทคโนโลยีน�ำสมัย ท่ามกลางเศรษฐกิจที่เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ยิ่งไปกว่านั้น ทางการกรุงโซล ยังมีแผนการพัฒนาอย่างต่อเน่ืองและเป็นรูปธรรม ดังโครงการฟื้นล�ำธารชองเก โดยรื้อทางด่วนท่ีบดบังทัศนียภาพเมืองออก และปรับปรุงให้กลายเป็นสถานท่ี พักผอ่ นหย่อนใจ ท้ังยงั กลายเป็นแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วสำ� คัญของเมอื ง ใน พ.ศ. 2556 รัฐบาลกรุงโซลได้เปิดเผยถึงวิสัยทัศน์ พ.ศ. 2573 หรือ “เมอื งแห่งความสุขบนพื้นฐานของการส่อื สารและความตระหนกั (A Happy City Based on Communication and Consideration)” ซงึ่ จะเปน็ กรอบการดำ� เนนิ งานที่ ให้ความส�ำคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิต เสริมสร้างศักยภาพในการแข่งขัน สรา้ งความตระหนกั ถึงเอกลักษณแ์ หง่ กรงุ โซลให้เป็นท่ปี ระจกั ษ์ในเวทีโลก ตลอดจน รกั ษาสถานะของการเปน็ เมืองมหานครหลกั ของโลกต่อไปในอนาคต ปัจจัยหลักท่ีจะช่วยขับเคล่ือนให้วิสัยทัศน์น้ีประสบผลส�ำเร็จ ประกอบด้วย 1) สร้างเมืองท่ีมีประชาชนเป็นศูนย์กลางอย่างเท่าเทียม 2) บรรลุเป้าหมายใน การเป็นมหานครโลกท่ีมีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ประชากรมีงานท�ำอย่างมี ชีวิตชีวา 3) สร้างเมืองท่ีมีวัฒนธรรมแห่งความสุขและช่ืนชมในรากเหง้า ประวัติศาสตร์ของเมือง 4) สร้างเมืองที่ปลอดภัย และ 5) บรรลุเป้าหมายใน การเปน็ เมอื งแหง่ สงั คมชมุ ชนทม่ี ที พ่ี กั อาศยั ทม่ี รี าคาเหมาะสมและปลอดภยั พรอ้ มทง้ั มโี ครงขา่ ยคมนาคมท่อี �ำนวยความสะดวกแกท่ ุกคน 114

• วดั วอนกึนซาในเขตกงั นมั กรุงโซล • 115

กรงุ นิวเดลี สาธารณรัฐอินเดยี อินเดียท่ีผ่านมาสภาพการณ์ทางการเมืองท�ำให้ต้องเก่ียวข้องกับไทยอย่าง ใกล้ชิด โดยในสมัย มาควิส เฮลติงค์ ได้เป็นผู้ส�ำเร็จราชการอินเดียแล้วส่งทูต เข้ามาเมืองไทยในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย นอกจาก การติดต่อค้าขายกับอินเดีย สยามในสมัยน้ันได้ให้โอกาสแก่ชาวอินเดียใน การรับราชการเป็น “กรมทา่ ขวา” หรือ “จุฬาราชมนตรี” เป็นหัวหน้าชาวมุสลิม และ ในด้านการเมือง จนปัจจุบันต�ำแหน่ง “จุฬาราชมนตรี” น้ีก็ยังคงอยู่และยังได้รับ ความเคารพนบั ถือเหมอื นดงั เดมิ ปัจจุบัน กรุงนิวเดลียังเป็นเส้นทางแสวงบุญของชาวไทยพุทธที่คนไทย หลายคนต้องการไปสักคร้ังหน่ึงในชีวิต กรุงนิวเดลีเป็นศูนย์กลางการปกครอง เศรษฐกิจและสังคมของประเทศอินเดีย การบริหารจัดการอยู่ภายใต้ National Capital Territory of Delhi ซึ่งแบ่งโซนการปกครองออกเป็น 9 โซน รวมถึง พ้ืนที่ของกรุงนิวเดลีด้วย กรุงนิวเดลีได้รับการขนานนามว่าเป็นนคร 7 ราชธานี เพราะเคยเป็นเมืองหลวงของอินเดียสลับกับเมืองอื่นมาถึง 7 ครั้ง และมีผู้ครอง นครจากหลากหลายอารยธรรม ท้ังสุลต่านมุสลิม กษัตริย์ฮินดู และจักรพรรดิ โมกลุ จงึ ไมน่ า่ แปลกใจทเี่ มอื งแหง่ นมี้ สี ถาปตั ยกรรมทผ่ี สมผสานอารยธรรมทงั้ หลาย อยา่ งสวยงาม ทั้งยังได้สะท้อนภาพของอดีตและปัจจุบัน ผ่านเขตเมืองที่แบ่งออก เป็น 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนเดลีเก่า และส่วนเดลีใหม่ โดยในส่วนของเดลีเก่าน้ัน มีถนนท่ีเล็กและแคบ เป็นเสน้ ทางวกวน ตลาดกลางแจง้ โบสถ์ และสเุ หร่า และ มีจุดเด่นที่น่าสนใจ ได้แก่ หอสูงกุตุป มีนาร์ พระราชวังหลวง (Red Fort) และ มัสยิดจามา สถาปัตยกรรมช่วงจักรวรรดิโมกุล เม่ือช่วงกลางศตวรรษท่ี 17 ส่วน เดลใี หม่ สรา้ งขนึ้ เมอ่ื อนิ เดยี ตกอยภู่ ายใตก้ ารปกครองขององั กฤษ เพอ่ื เปน็ ศนู ยก์ ลาง การปกครอง เป็นท่ีต้ังของรัฐสภาและสถานที่ท�ำการของรัฐบาล มีความทันสมัย และได้รับอิทธิพลทางสถาปัตยกรรมจากยุคอาณานิคม ผังเมืองและอาคารมี ความยง่ิ ใหญ่ และมปี ระตอู นิ เดยี (Indian Gate) ซง่ึ สรา้ งตามแบบประตชู ยั ในกรงุ ปารสี ฝร่ังเศส เพ่ือระลึกถงึ ทหารอินเดยี ที่เสยี ชีวิตในสงครามโลกคร้งั ท่ี 1 เป็นแลนดม์ าร์ก โดดเดน่ ของเมอื ง 116

• หอสูงกตุ ุป มีนาร์ ในบรเิ วณเดลเี กา่ ของกรุงนวิ เดลี • 117

ขณะที่กรุงนิวเดลีเดินหน้าไปสู่อนาคต ท่ามกลางกระแสโลกาภิวัตน์ ทางการกรุงนิวเดลีก็ได้ด�ำเนินการพัฒนาเมืองหลวงของประเทศต่อไป โดย มกี ารจดั ท�ำแผนพฒั นาเมอื งอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง สำ� หรบั ฉบบั ท่ี 12 ระหวา่ ง พ.ศ. 2555-2560 เน้นย้�ำถึงการขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจให้มีความเจริญก้าวหน้าใน 6 ส่วน ได้แก่ การคมนาคม การประปา การพัฒนาที่อยู่อาศัยและสังคมเมือง การแพทย์และ สาธารณสุข การศึกษา สวัสดิการสังคม และสิ่งแวดล้อม เช่น การพัฒนาระบบ ผลิตน้�ำดื่มและน�้ำประปาสาธารณะท่ีสะอาดและปลอดภัย การพัฒนาท่ีอยู่อาศัย และสังคมเมืองให้เป็นสังคมท่ีมีความย่ังยืนทางสิ่งแวดล้อม มีความพร้อมรองรับ ความเจริญเติบโตในการให้สวัสดิการสังคม และส่งเสริมศักยภาพของบุคลากร ส่งเสริมให้กรุงนิวเดลีเป็นเมืองมรดกโลก พร้อมทั้งอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน เปน็ ต้น 118

• ประตูอนิ เดีย เพ่อื ระลกึ ถงึ ทหารอนิ เดยี ทีเ่ สยี ชีวติ ในสงครามโลกครงั้ ที่ 1 • 119

กรุงแคนเบอรร์ า ออสเตรเลีย เมืองหลวงแห่งนี้ได้รับการวางแผนมาเป็นอย่างดีให้เป็นท่ีต้ังของ ศูนย์ราชการทั้งหมดของออสเตรเลีย ท่ามกลางสภาพแวดล้อมที่เปิดกว้างและ สวยงาม พร้อมด้วยเทคโนโลยีท่ีทันสมัย รวมท้ังเป็นท่ีตั้งของสถาบันทางวิชาการ และงานวจิ ยั ทมี่ ีหวั คิดก้าวหน้า นอกจากน้ี ยงั เปน็ เมืองหลวงแห่งวฒั นธรรม โดยมี มรดกทางวฒั นธรรมท่ีหลากหลาย ใน พ.ศ. 2547 ทางการกรุงแคนเบอร์ราได้ประกาศแผนพัฒนา กรุงแคนเบอร์รา (Canberra Plan) เพื่อเป็นกรอบแนวทางในการผลักดันเมืองให้ เจรญิ เตบิ โตและพฒั นา และตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการของชาวเมอื ง และไดด้ ำ� เนนิ การ อย่างต่อเนื่องมาจนถึงแผนพัฒนากรุงแคนเบอร์รา “Canberra Plan: Towards Our Second Century” ภายใตว้ สิ ยั ทศั นท์ ว่ี า่ “กรงุ แคนเบอรร์ าจะไดร้ บั การจดจำ� ในเวทโี ลกในฐานะเมืองแห่งการสร้างสรรค์และด�ำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน ด้วยสังคม ทีใ่ ห้สทิ ธิเท่าเทยี มแกท่ กุ คน ใหค้ วามรู้และสนบั สนุนผู้ดอ้ ยโอกาสใหแ้ สดงศกั ยภาพ ได้อย่างเต็มที่ ทั้งยังเป็นศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจและนวัตกรรม เป็นเมืองหลวงท่ีน่าภาคภูมิใจของชาติ เป็นบ้านท่ีอบอุ่นของสถาบันด้านวัฒนธรรม อันโดดเด่น ทงั้ ยงั เป็นสถานทที่ ่มี ธี รรมชาตอิ ันสวยงาม” แผนพัฒนากรุงแคนเบอร์ราฉบับใหม่ยังได้รับการปรับปรุงเพ่ือให้สามารถ รองรับความท้าทายใหม่ๆ ในโลกยุคโลกาภิวัตน์ เช่น สภาวะอากาศเปลี่ยนแปลง ความม่ันคงทางน�้ำ ท่ีอยู่อาศัยมีราคาสูง และการขาดแคลนแรงงานท่ีมีฝีมือ นอกจากน้ี ยังให้ความส�ำคัญต่อการยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชนท้ังในด้าน สุขภาพ การศึกษา สวัสดิการสังคม ตลอดจนความปลอดภัย และความมีสิทธิ เทา่ เทยี มกนั ของประชาชนด้วย แผนการด�ำเนินงานอย่างเป็นรูปธรรมในการพัฒนาเมืองหลวงแห่งน้ี อาจเห็นได้จากการเปิดตัวโครงการพัฒนาศูนย์กลางทางธุรกิจแห่งใหม่ของเมือง เพ่ือเพม่ิ ทางเลือกดา้ นอสงั หารมิ ทรัพย์กลางใจเมอื ง และเพม่ิ พ้นื ท่ีพักผอ่ นหย่อนใจ ริมทะเลสาบเบอร์ลี กริฟฟนิ ซ่ึงต้งั อยู่กลางเมอื งให้มากขึน้ นอกจากนีย้ งั มโี ครงการ สรา้ งรถไฟรางเดย่ี วเพอื่ อำ� นวยความสะดวกในการเดนิ ทางในยา่ นธรุ กจิ แกป่ ระชาชน มากขนึ้ ด้วย 120

• อาคารรฐั สภาออสเตรเลยี ใจกลางกรงุ แคนเบอรร์ า • 121

กรงุ เวลลิงตนั นิวซีแลนด์ กรุงเวลลิงตนั เปน็ ช่ือเมืองท่ตี งั้ ข้ึนเพือ่ เปน็ เกียรตแิ ด่ อารเ์ ธอร์ เวลเลสลยี ์ และเป็นที่รู้จักกันในช่ือของ “เวลลิงตัน เมืองแห่งสายลม” เน่ืองจากเป็นภูมิภาค ที่มีสายลมพัดผา่ นมากท่ีสุดของนวิ ซแี ลนด์ ความสมั พนั ธใ์ นอดตี ทมี่ รี ว่ มกบั ประเทศไทยเกยี่ วขอ้ งกบั สงครามโลกครง้ั ท่ี 1 ซ่ึงมีทหารจากกลุ่มพันธมิตรที่ถูกระดมมาจากหลายชาติเพ่ือร่วมรบในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ในการน้ีมีทหารของนิวซีแลนด์บางรายได้เสียชีวิตในหน้าที่ใน พ้ืนที่ของจังหวัดกาญจนบุรี ซ่ึงในปัจจุบันมีสุสานทหารพันธมิตรในประเทศไทย ชาวนิวซีแลนด์และครอบครัวของทหารเหล่าน้ันก็ยังคงเดินทางมาเย่ียมเยือน อย่เู ปน็ ประจ�ำ กรงุ เวลลงิ ตนั เป็นทีต่ ง้ั ของรัฐสภา สถานทูต และกงสลุ ต่างๆ เปน็ ศนู ยก์ ลาง ของศลิ ปวัฒนธรรมและความมีชีวติ ชีวา ในเมืองเต็มไปด้วยรา้ นอาหารรสเลศิ รา้ นกาแฟ และกจิ กรรมยามคำ�่ คนื นอกจากการเปน็ เมอื งหลวงแลว้ กรงุ เวลลงิ ตนั ยังมีความส�ำคัญ คือเป็นเมืองท่าขนาดใหญ่ท่ีใช้สัญจรผ่านไปสู่เกาะใต้ ตามแนวเขาลาดชนั บรเิ วณชายฝง่ั จะเหน็ สง่ิ ปลกู สรา้ งไมส้ ไตลว์ กิ ตอเรยี น ขึ้นอยเู่ ปน็ ทวิ แถว ความแตกต่างของกรุงเวลลิงตันจากเมืองหลวงของ ประเทศต่างๆ ท่ีผ่านมา อยู่ที่ความหลากหลายทางภูมิศาสตร์ เพราะท่ีแห่งน้ีมีท้ังทะเลสาบ มหาสมุทร และภูเขา มีเกาะแก่ง และป่าไม้ให้ประชาชนได้เที่ยวชมและ สำ� รวจ เช่น ยอดเขาวกิ ตอเรยี ทง้ั ยังมียา่ นเมืองเกา่ แหลง่ วฒั นธรรมชนเผา่ เมารี พพิ ธิ ภณั ฑแ์ หง่ ชาติ การเดนิ ทางสะดวกสบายดว้ ยโครงขา่ ย คมนาคมสาธารณะ สภาพแวดลอ้ ม เช่นนส้ี ง่ เสรมิ ให้ประชาชน มคี วามเป็นอยทู่ ด่ี ี • รูปปน้ั ชนเผา่ เมารีโบราณบนยอดเขาวกิ ตอเรยี ภูเขาซึง่ ต้งั ตระหง่านคำ้� อยเู่ หนอื กรุงเวลลิงตนั • 122

123

ภายใต้ส่ิงแวดล้อมที่สะอาดเหมาะสม กบั ท่กี รงุ เวลลิงตนั ได้รบั รางวลั เมอื งท่มี ี คณุ ภาพชีวติ ทีด่ ีทส่ี ดุ เปน็ อนั ดบั ที่ 13 ของโลก จากการจดั อนั ดบั ของ Mercer เมื่อ พ.ศ. 2555 ชาวกรงุ เวลลงิ ตนั ถึงรอ้ ยละ 25 เปน็ ผ้ทู ่ีเกิดนอกประเทศ ท�ำให้เมืองนี้มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมสูง ชาวเมือง จ�ำนวนมากได้รับการศึกษาข้ันสูงกว่าเกณฑ์เฉล่ียของประเทศ ขณะท่ี คนท่ีอยู่ในวัยท�ำงานส่วนใหญ่ก็มีอาชีพในระดับ “ผู้เชี่ยวชาญ” จึงท�ำให้เมืองนี้ เปน็ เมอื งทมี่ รี ายไดเ้ ฉลย่ี สงู ทส่ี ดุ ในประเทศดว้ ย ทางการกรุงเวลลิงตันยังคงมุ่งม่ันท่ีจะบริหารจัดการเมืองให้สามารถ เดินหน้าต่อไปในอนาคตได้อย่างภาคภูมิ โดยใน พ.ศ. 2555 ได้ก�ำหนดวิสัยทัศน์ ระยะยาว เรยี กวา่ Wellington Towards 2040: Smart Capital โดยมเี ปา้ หมายหลกั ให้กรุงเวลลิงตันเป็นเมืองหลวงที่ทันสมัยและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ภายใน พ.ศ. 2583 ทั้งน้ี ภายใต้วิสัยทัศน์ดังกล่าว ทางการกรุงเวลลิงตันได้วางแผนกลยุทธ์ เพ่ือให้กรุงเวลลิงตันเป็นเมืองท่ีส่งเสริมความเป็นอยู่ท่ีดีของชาวเมืองทั้งใน ด้านสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม เน้นถึงความส�ำคัญของ ประชาชนที่เป็นศูนย์กลางของการนำ� เมอื งสกู่ ารพฒั นา โดยนอ้ มรบั และเปิดโอกาส ให้ชาวเมืองมีส่วนร่วมในการพัฒนาถิ่นที่อยู่อาศัยและสังคมของตน และพร้อมท่ี จะรับความเปล่ียนแปลง นอกจากน้ี กรุงเวลลิงตันยังเป็นเมืองที่มีความแข็งแกร่ง ทางเศรษฐกิจ บนพื้นฐานขององค์ความรู้ ความเช่ียวชาญ และนวัตกรรม เพ่ือให้เวลลิงตันเป็นเมืองช้ันน�ำด้านการรักษาสิ่งแวดล้อมด้วยเทคโนโลยีสีเขียว ซ่ึงนอกจากจะช่วยลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของเมืองแล้ว ยังมี สว่ นผลกั ดนั ให้เศรษฐกจิ เตบิ โตไดอ้ ยา่ งยัง่ ยนื อีกดว้ ย 124

• กรุงเวลลงิ ตนั ท่ามกลางธรรมชาติอันงดงามของ ภเู ขาวิกตอเรยี และมหาสมุทรแปซฟิ กิ • 125

องคก์ รเหลา่ นก้ี ็เพือ่ นเรา นอกจากกรุงเทพมหานครจะมีเพ่ือนเป็นเมืองต่างๆ ที่มีการกระชับ ความสมั พนั ธแ์ ละแลกเปลย่ี นความรว่ มมอื กนั แลว้ กรงุ เทพมหานครยงั ไดร้ ว่ มมอื กบั องคก์ ารระหวา่ งประเทศ และเขา้ รว่ มการประชมุ ระหวา่ งประเทศในดา้ นตา่ งๆ ทงั้ ใน ระดับชาติ ระดับภูมภิ าค และระดับโลก ชื่อของการประชุมตา่ งๆ กด็ ี หรอื สมาคม องคก์ รตา่ งๆ นก้ี ็ลว้ นเป็น “เพื่อน” ของเรา • ANMC 21: การประชุมเครือข่าย • การประชุมสุดยอดเมืองในภูมิภาค เมืองใหญ่ของเอเชีย (The Asian เอเชีย-แปซิฟิก (Asian-Pacific City Network of Major Cities 21) Summit) การประชุมเพ่ือแลกเปล่ียน ก า ร ป ร ะ ชุ ม เ พ่ื อ แ ล ก เ ป ล่ี ย น ข ้ อ มู ล ความรู้และประสบการณ์ในการบริหารเมือง ประสบการณ์ และการด�ำเนินการร่วม จดั ขนึ้ เป็นประจำ� ทุก 2 ปี กรุงเทพมหานคร ระหว่างเมืองต่างๆ โดยเชิญผู้แทนระดับ เ ข ้ า ร ่ ว ม เ ป ็ น ส ม า ชิ ก อ ย ่ า ง เ ป ็ น ท า ง ก า ร ผู้ว่าราชการเมือง นายกเทศมนตรี และ ร่วมกบั 19 เมอื งในภูมิภาคเอเชีย-แปซฟิ ิก รองนายกเทศมนตรีจากนครหลวงของ นอกจากนี้ ยังมีผู้แทนจากองค์กรระหว่าง เอเชยี ประเทศต่างๆ เข้าร่วมด้วย เช่น องค์การ • การประชุมสุดยอดมหานครแห่ง สหประชาชาติ เปน็ ตน้ เอเชีย (Asia Metropolis Summit) • C40: กลุ่มเมืองใหญ่ผู้น�ำด้านสภาพ การประชุมเพ่ือเสริมสร้างความร่วมมือ ภูมิอากาศ (C40 Cities Climate ระหว่างเมืองส�ำคัญในภูมิภาคเอเชียทั้งด้าน Leadership Group) เพ่ือการพัฒนา การเสริมสร้างเศรษฐกิจ ด้านการพัฒนา ด้านเทคโนโลยีที่สะอาด การถ่ายทอด ทรัพยากรบุคคลและแลกเปลี่ยนบุคลากร เทคโนโลยีและความรู้ด้านการจัดการเพื่อ และการสร้างสภาพแวดล้อมท่ีดีข้ึน เพ่ือให้ ลดก๊าซเรือนกระจก โดยเฉพาะในประเด็น เกิดการพัฒนาภูมิภาคเอเชียอย่างยั่งยืน ด้านส่ิงแวดล้อม โดยมีเมืองสมาชิกจ�ำนวน กรุงเทพมหานครเข้าร่วมเป็นสมาชิกอย่าง 40 เมืองจากทุกภมู ภิ าคท่วั โลก ไม่เป็นทางการและเข้าร่วมกิจกรรมตามวาระ โอกาสเท่านั้น 126

• CITYNET: องค์กรเครือข่ายความร่วมมือส่วนภูมิภาคว่าด้วยการตั้งถ่ินฐานของมนุษย์ ในเอเชียและแปซิฟิก เป็นองค์กรความร่วมมือส่วนภูมิภาคภายใต้การริเร่ิมของคณะกรรมการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชีย-แปซิฟิก (United Nations Economic and Social Commission for Asia and the Pacific: UNESCAP) เพ่ือการจดั การเมืองอยา่ งเป็น ระบบ ประกอบกบั การพัฒนาคุณภาพชีวติ ประชาชน กรงุ เทพมหานครมีบทบาทส�ำคญั ในองค์กรนี้ อยา่ งมาก เหน็ ไดจ้ ากการร่วมเปน็ สมาชิกตง้ั แต่ พ.ศ. 2535 และผวู้ า่ ราชการกรงุ เทพมหานคร ได้รบั เลอื กใหด้ ำ� รงต�ำแหนง่ รองประธานขององคก์ รติดต่อกนั ถึง 3 สมยั สมยั ละ 4 ปี ตง้ั แต่ พ.ศ. 2541 ถึง พ.ศ. 2553 ปัจจบุ ันมีสมาชกิ มากกวา่ 100 เมือง จากมากกว่า 20 ประเทศ ในภูมิภาคเอเชยี -แปซฟิ ิก • CLAIR: สมาคมความสัมพันธ์ระหว่าง • Metropolis: สมาคมมหานครส�ำคัญ ประเทศขององค์การบริหารส่วนท้องถิ่น ของโลก (World Association of (Council of Local Authorities for the Major Metropolis) องค์การ International Relations) องค์กร เพื่อความร่วมมือและแลกเปลี่ยนความรู้ เ พ่ื อ ก า ร ป ร ะ ส า น ง า น แ ล ะ แ ล ก เ ป ลี่ ย น ข้อมูล และประสบการณ์ระหว่างเมือง ความร่วมมือกับหน่วยงานในต่างประเทศ สมาชิกในด้านต่างๆ ที่เก่ียวข้องกับ ข อ ง ห น ่ ว ย ง า น ป ก ค ร อ ง ร ะ ดั บ ท ้ อ ง ถ่ิ น การพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน องค์การนี้ ในญ่ีปุ่น มสี มาชกิ 121 เมอื งท่ัวโลก • APCS: การประชุมสุดยอดผู้ว่าการ • รัฐบาลท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาอย่าง เมืองในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก (Asia ย่ังยืน (Local Governments for Pacific Cities Summit) การประชุม Sustainability: ICLEI) สมาคมนี้ให้ เ พ่ื อ มุ ่ ง เ น ้ น ก า ร เ จ ริ ญ เ ติ บ โ ต ท า ง ธุ ร กิ จ ค�ำปรึกษาด้านเทคนิคและการฝึกอบรม การค้า การลงทุนและผลลัพธ์ทางเศรษฐกิจ ให้บริการข้อมูลเพื่อเสริมสร้างศักยภาพ ของประเทศท่ีส่งผู้แทนเข้าร่วมประชุม แบ่งปันความรู้ และสนับสนุนรัฐบาล รวมทง้ั ผู้ให้การสนับสนนุ ทอ้ งถน่ิ เพอ่ื ดำ� เนนิ การพฒั นาทยี่ งั่ ยนื ในระดบั ท้องถ่ิน ปัจจุบันประกอบด้วยสมาชิกเป็น รัฐบาลท้องถ่ิน 1,012 แห่ง จาก 84 ประเทศ 127

• GDCO: ท่ีปรึกษาด้านนโยบายการออกแบบผังเมืองโลก (Global Design Cities Organization) เปน็ องคก์ รทป่ี รกึ ษาด้านนโยบายการออกแบบผังเมอื งโลก เพ่ือใหเ้ มืองตา่ งๆ ท่ัวโลกได้มีโอกาสร่วมกันหารือเก่ียวกับโครงการพัฒนาเมืองในอนาคต เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ชมุ ชน และแกไ้ ขปัญหาของเมอื ง • ASEM–MGM: การประชุมผู้ว่าราชการและนายกเทศมนตรเี อเชยี -ยโุ รป (Asia-Europe Meeting–Mayors and Governors Meeting) การประชุมระหว่างนายกเทศมนตรี ผู้ว่าราชการ และเจ้าหน้าท่ีของหน่วยงานปกครองส่วนท้องถ่ินจากเมืองหลวงและเมืองใหญ่ ของประเทศสมาชิกอาเซม นอกจากนี้ ยังมีผู้แทนจากประเทศท่ีร่วมสังเกตการณ์ และองค์กร ความร่วมมือระหว่างประเทศอื่นๆ เข้าร่วมประชุมด้วย เพ่ือให้เป็นเวทีแลกเปล่ียนความคิดเห็น ประสบการณ์ และประเด็นปัญหาของการบริหารจัดการท้องถ่ิน ท้ังยังช่วยประสานความสัมพันธ์ ระหวา่ งเมืองอกี ดว้ ย • การประชุมผู้ว่าราชการและนายกเทศมนตรีของ • การประชมุ สดุ ยอดผวู้ า่ การเมอื งทอ่ งเทย่ี ว เมืองหลวงอาเซียน (The Meeting of ลุ่มแม่น้�ำโขงตอนล่าง (Lower Mekong Governors/Mayors of ASEAN Capitals) Tourism Cities Mayor Summit) การประชุมเพื่อเปิดโอกาสให้ผู้น�ำเมืองหลวง เปน็ การประชุมเพื่อส่งเสริมความร่วมมือ ของแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียนได้แลกเปล่ียน ด้านการท่องเที่ยวให้เป็นอุตสาหกรรม ความคิดเห็นและเตรียมความพร้อมเมืองและ หลักและพัฒนาการท่องเท่ียวอย่างยั่งยืน ประชาชนในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยให้ ในเมืองหลวงของกลุ่มประเทศแม่น�้ำโขง ความส�ำคัญต่อการมีเครือข่ายความร่วมมือ ตอนล่าง ประกอบด้วยกรุงเทพฯ ระหว่างเมืองท่ีเข้มแข็ง เพ่ือแบ่งปันประสบการณ์ เวยี งจนั ทน์ กรุงพนมเปญ กรงุ โฮจมิ ินห์ ในการพัฒนาและจัดการกับปัญหาเมืองต่างๆ และกรุงย่างกุ้ง โดยกรุงเทพมหานคร การประชุมดังกล่าวถือเป็นการประชุมอย่าง จะเป็นเจ้าภาพในการจัดประชุมสุดยอด เป็นทางการเป็นเวทีแรกของผู้น�ำเมืองหลวงของ เมืองท่องเที่ยวในลุ่มแม่น�้ำโขงตอนล่าง อาเซียน ทั้งนี้ กรุงเทพมหานครจะเป็นเจ้าภาพ ครง้ั ท่ี 3 ใน พ.ศ. 2557 ในการจัดประชุมผู้ว่าราชการและนายกเทศมนตรี ของเมืองหลวงอาเซียน คร้งั ท่ี 2 ใน พ.ศ. 2557 128

นอกจากน้ี ยังมีองค์กรระหว่างประเทศอื่นๆ ที่กรุงเทพมหานครได้เข้าไป มีบทบาทในการแลกเปลี่ยนความร่วมมือด้านต่างๆ ผ่านการเข้าร่วมประชุมและ การมีกิจกรรมดูงานร่วมกันตามวาระโอกาส เช่น การเจรจาระดับสูงเบอร์ลิน ว่าด้วยเร่ืองการน�ำเอาผลการประชุมริโอ+20 เกี่ยวกับการพัฒนาเมืองและ การจราจรขนสง่ ในเมอื งอยา่ งยง่ั ยนื (Berlin High Level Dialogue on Implementing Rio+20 Decisions on Sustainable Cities and Urban Transport) การประชมุ และส่งเสริมความร่วมมือภายใต้กรอบความร่วมมือขององค์การสหประชาชาติ ที่จัดข้ึนโดยองค์การพิเศษของสหประชาชาติ เช่น องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) องค์การยูเนสโก เป็นต้น รวมท้ังมีการประชุม ระดับรัฐบาลท้องถิ่นท่ีจัดข้ึนโดยกรอบความร่วมมืออื่นๆ เช่น ศูนย์เพื่อการพัฒนา ภูมิภาคภายใต้องค์การสหประชาชาติ (the United Nations Centre for Regional Development: UNCRD) และองคก์ ารเพอื่ ความรว่ มมอื ทางเศรษฐกจิ และ การพฒั นา (Organization for Economic Co-operation and Development: OECD) ในการประชมุ UNCRD-OECD: Mayors Forum เปน็ ตน้ จากประวัติศาสตร์ที่ผ่านมาจวบจนปัจจุบันน้ีล้วนแสดงให้เห็นได้ อยา่ งชดั เจนวา่ กรงุ เทพมหานครมคี วามสมั พนั ธก์ บั เมอื งหลวง ประเทศ สมาคม องค์กร ฯลฯ ที่ได้เป็นเพ่ือนเรามาแล้วอย่างเน่ินนาน และในความสัมพันธ์น้ัน ก็สวยงามด้วยว่าเป็นไปอย่างธรรมชาติของชาวกรุงเทพฯ ที่มักมีรอยยิ้มเสมอ ทงั้ ยงั เปน็ เพอื่ นท่ีมนี ำ้� ใจ ความเป็นมิตร น่าคบหา และพรอ้ มรว่ มเดินทางไปยงั จดุ หมายในการนำ� พาความเจรญิ และสงบสขุ แกป่ ระชาคมโลก 129



ส่วนท่ี 4 กรงุ เทพฯ โลดแลน่ ไปบนเวทโี ลก

เราแลกเปล่ียนอะไรกบั ประชาคมโลก อย่างท่ีได้เล่าไปแล้วว่า การรวมกลุ่มในประชาคมโลกน้ันมีหลากหลาย รูปแบบท้ังการรวมกลุ่มในลักษณะของภูมิภาค คือประเทศที่ตั้งอยู่ในทวีปหรือ ภูมิภาคเดียวกันหันหน้ามาจับมือกันเพื่อให้เกิดการพัฒนาในด้านต่างๆ ร่วมกัน อย่างอาเซียน หรือในลักษณะของการรวมกลุ่มโดยมีประโยชน์เฉพาะร่วมกัน เชน่ กลมุ่ ความร่วมมือทางเศรษฐกจิ เอเชีย-แปซิฟิก หรอื เอเปค ส�ำหรับกรุงเทพมหานครเองก็มีการให้ความร่วมมือกับกลุ่มต่างๆ ในประชาคมโลก ภายใต้เง่ือนไขของการเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบ พิเศษทั้งในลักษณะของภูมิภาคและตามบทบาทหน้าท่ี แต่ไม่ว่าจะเป็นการให้ ความรว่ มมอื กบั กรอบความรว่ มมอื รปู แบบใด ประเดน็ สำ� คญั ทก่ี รงุ เทพมหานครให้ ความสำ� คญั ไมแ่ ตกตา่ งกนั กค็ อื การทำ� หนา้ ทม่ี บี ทบาทนำ� ในการเปน็ ตวั แทน ศนู ยก์ ลางความเจรญิ ของประเทศ ทง้ั ในดา้ นการเมอื ง เศรษฐกจิ และสงั คม กระน้ันก็ดี ดูเหมือนว่ากรุงเทพมหานครจะมีการแลกเปล่ียนความร่วมมือ กับสังคมโลกในด้านสังคมและวัฒนธรรมมากที่สุด ซ่ึงก็เป็นที่เข้าใจได้ว่า เพื่อประชาสัมพันธ์และส่งเสริมภาพลักษณ์ของกรุงเทพมหานคร ช่วยให้เกิด การปฏิสัมพันธ์และเสริมสร้างความสัมพันธ์กับเมืองพี่เมืองน้องและเมืองต่างๆ และน�ำไปสู่การส่งเสริมความร่วมมือในการพัฒนาเมืองในมิติต่างๆ ซึ่งจะช่วย เพ่ิมบทบาทของกรุงเทพมหานครบนเวทโี ลกต่อไป ที่ผา่ นมา กรงุ เทพมหานครไดน้ ำ� ความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ ในการบริหารจัดการเมืองศูนย์กลางความเจริญในทุกๆ ด้านของประเทศ มาแบ่งปัน และแลกเปล่ียนความรู้และข้อมูลข่าวสารกับเวทีโลกทั้งในระดับทวิภาคีและ พหุภาคี ดังเช่นการเป็นเจ้าภาพการจัดการประชุมระดับปฏิบัติการ The Asian Crisis Management คร้ังที่ 10 ณ โรงแรมสยามซิต้ี กรุงเทพฯ เมื่อวันท่ี 12-15 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2556 วา่ ดว้ ยประสบการณแ์ ละการบรหิ ารจดั การภาวะวกิ ฤต ในเมอื งใหญ่ (the Experience of Crisis Management in Major Cities) 132

การประชมุ ผนู้ �ำ เมอื งระหว่างภมู ิภาคเอเชยี และยโุ รป ณ กรงุ เบอร์ลิน เยอรมนี ระหวา่ งวนั ที่ 18-19 ตุลาคม พ.ศ. 2555 โดยน�ำประสบการณ์ตรงในการบริหารจัดการกรุงเทพฯ เมื่อเกิดสาธารณภัย ท้ังเหตุน้�ำท่วม และแผ่นดินไหว รวมไปถึงการวัดประสิทธิภาพการท�ำงาน เพ่ือส่งเสริมความรู้ แลกเปล่ียน และเรียนรู้ประสบการณ์ในการเร่ืองการจัดการ ภัยพบิ ัติตา่ งๆ ได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ นอกจากนี้ กรุงเทพมหานครยังได้มีส่วนร่วมในการส่งเสริมศักยภาพ และประสิทธิภาพในการบริหารจัดการเมือง ท่ามกลางความท้าทายที่หลากหลาย ในปัจจุบัน โดยส่งผู้แทนเข้าร่วมประชุมผู้น�ำเมืองระหว่างภูมิภาคเอเชียและ ยุโรป (ASEM Meeting for Governors and Mayors) เมื่อคร้ังท่ีจัดข้ึน ณ กรงุ เบอรล์ นิ โดยมีเยอรมนเี ป็นเจา้ ภาพ ระหวา่ งวนั ท่ี 18-19 ตลุ าคม พ.ศ. 2555 เพ่ือแลกเปล่ียนความคิดเห็นและหารือระหว่างเมืองในภูมิภาคเอเชียและยุโรป เก่ียวกบั การเติบโตของเมือง การย้ายถน่ิ ฐาน และลดชอ่ งว่างทางสงั คม การพัฒนาอย่างยั่งยืน และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และ การปกครองส่วนทอ้ งถิ่นอย่างมีธรรมาภิบาล 133

134

การประชมุ ผู้วา่ ราชการและนายกเทศมนตรขี องเมืองหลวงอาเซียน คร้ังที่ 1 ณ กรุงจาการ์ตา อินโดนีเซีย ระหว่างวนั ท่ี 18-19 กันยายน พ.ศ. 2556 ในโอกาสดังกล่าว หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร ยังได้บรรยายใน หัวข้อ “การปกครองส่วนท้องถิ่นอย่างมีธรรมาภิบาล” ไว้อย่างน่าสนใจอีกด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเด็นด้านการจัดการและการมีส่วนร่วมของ ประชาชน รวมทงั้ การจัดการและการบรหิ ารการใชท้ ี่ดิน กรุงเทพมหานครยังมีบทบาทส�ำคัญในการประชุมผู้ว่าราชการและ นายกเทศมนตรขี องเมอื งหลวงอาเซียน คร้ังท่ี 1 (The Meeting of Governors/Mayors of ASEAN Capitals) ซึ่งจัดขึน้ ณ กรงุ จาการ์ตา อนิ โดนเี ซยี ในการแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ และเตรยี มความพรอ้ มเมอื งและประชาชน ในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเฉพาะอย่างย่ิงในการให้ความร่วมมือกันในด้าน การสง่ เสริมการท่องเท่ียว การศกึ ษา การจัดการจราจรและระบบขนสง่ มวลชน และ การแกไ้ ขปญั หานำ้� ทว่ ม และในทป่ี ระชมุ ยงั มมี ตเิ หน็ พอ้ งใหก้ รงุ เทพมหานครเปน็ เจ้าภาพจัดการประชุมคร้งั ท่ี 2 ใน พ.ศ. 2557 ด้วย ด้านความสัมพันธ์ทวิภาคีอย่างโครงการเมืองพี่เมืองน้อง กรุงเทพมหานครก็ได้ด�ำเนินการกระชับความสัมพันธ์ผ่านการแลกเปล่ียน ความร่วมมือท่ีหลากหลาย เช่น การแลกเปล่ียนความร่วมมือด้าน การบริหารจัดการการท่องเที่ยว ทั้งการส่งเสริมการท่องเท่ียว โครงการ ให้ความรู้การบริหารจัดการการท่องเที่ยวกับเวียงจันทน์ และกรุงอังการา การแลกเปลี่ยนข้อมูลทางธุรกิจกับกรุงฮานอย และกรุงปักก่ิง ท้ังเหตุน�้ำท่วม และแผ่นดินไหว รวมไปถึงการวัดประสิทธิภาพการท�ำงาน เพ่ือส่งเสริมความรู้ แลกเปลี่ยน และเรียนรู้ประสบการณ์ในเร่ืองการจัดการภัยพิบัติต่างๆ ได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 135

กรุงเทพมหานครยังได้ให้ความส�ำคัญกับการปูรากฐานแห่งความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศต้ังแต่ระดับเยาวชนของกรุงเทพฯ เช่น โครงการค่ายเยาวชน ฤดูใบไม้ผลิ ณ นครฉงช่ิง ซ่ึงเปิดโอกาสให้ตัวแทนเยาวชนของกรุงเทพมหานคร ได้เรียนรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในด้านการศึกษาและวัฒนธรรมกับเยาวชน ชาวจีน โดยน�ำความรู้ความสามารถ วัฒนธรรม และเอกลักษณ์ของไทยไป เผยแพร่ให้ชาวจีนในนครฉงชิ่งได้รู้จัก เพ่ือเสริมสร้างความเข้าใจอันดีระหว่าง ชาวกรุงเทพฯ กับชาวนครฉงชิ่ง รวมท้ังเป็นการกระชับสัมพันธ์ในฐานะ เมอื งพเ่ี มอื งนอ้ ง นอกจากนี้ ยังมีโครงการส�ำหรับเยาวชนอ่ืนๆ เช่น ในระดับอุดมศึกษา มีโครงการ “Bangkok Sister City Youth Program” เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษา ไดท้ ำ� กจิ กรรมทส่ี รา้ งสรรคร์ ว่ มกบั เยาวชนเมอื งพเี่ มอื งนอ้ งของกรงุ เทพมหานคร และ โครงการแลกเปลีย่ นเยาวชนกบั กรุงโซล เป็นต้น ความสัมพันธ์ทวิภาคีระหว่างกรุงเทพมหานครกับเมืองอ่ืนๆ และองค์กร อื่นๆ ทั่วโลก ยังเห็นได้จากการให้ความร่วมมือท่ีครอบคลุมท้ังประเด็นส่ิงแวดล้อม วัฒนธรรม การสาธารณูปโภค การศึกษา สวัสดิการเมือง การท่องเที่ยวและ การกีฬากับหลากหลายเมือง เช่น การต้อนรับคณะดูงานด้านสวนสาธารณะจาก เวียงจันทน์ การศึกษาดูงานด้านการจราจรและผังเมืองจากกรุงจาการ์ตา เป็นต้น จะเห็นได้ว่าท่ีผ่านมา กรุงเทพมหานครมีบทบาทในการแลกเปล่ียน ความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร และประสบการณ์กับเวทีโลก โดยให้ความส�ำคัญ กับความร่วมมือทางด้านสังคมและวัฒนธรรม อันเป็นหัวใจหลักของ กรุงเทพมหานคร ในฐานะองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน เพ่ือสร้างภาพลักษณ์ ที่ดี และกระชับความสัมพันธ์กับเมืองต่างๆ ทั่วโลก นอกจากนี้ ยังเพ่ือให้ ทั่วโลกได้ประจักษ์ถึงประสิทธิภาพของการบริหารเมืองหลวงของประเทศไทย 136

137

รกั กรงุ เทพฯ ร่วมสรา้ งกรุงเทพฯ “กรงุ เทพฯ ดุจเทพสร้าง เมืองศนู ยก์ ลางการปกครอง วัด วัง งามเรอื งรอง เมืองหลวงของประเทศไทย” ค�ำขวัญของกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2555 สะท้อนให้เห็นถึง ความสวยงามจับใจ พร่ังพร้อมไปด้วยศิลปวัฒนธรรม และความส�ำคัญของเมือง ในฐานะศนู ยก์ ลางความรงุ่ เรอื งของประเทศ เหลา่ นเ้ี องคอื เสนห่ ์ หรอื อาจเรยี กไดว้ า่ จุดแข็งของกรุงเทพมหานคร ที่ท�ำให้เราสามารถคว้ารางวัลเมืองยอดนิยมของ นักท่องเท่ียวจากทั่วทุกสารทิศติดต่อกันหลายปีและจากหลากหลายส�ำนัก ดังเช่น นิตยสาร Travel + Leisure ซึ่งมีเกณฑ์การตัดสินเมืองท่ีดีท่ีสุดในโลก (World’s Best City Award) โดยพิจารณาจากจ�ำนวนสถานท่ีท่องเที่ยว วัฒนธรรมและ ประเพณี ความสะอาดและรสชาติของอาหาร แหล่งชอปปิง การให้การต้อนรับ และความคุ้มค่ากับค่าใช้จ่าย และคะแนนเสียงจากนักท่องเที่ยวและผู้อ่าน นิตยสาร ได้มอบรางวัลเมืองที่ดีท่ีสุดในโลกให้กรุงเทพมหานครติดต่อกัน ถึง 4 ปีตดิ ต่อกนั คือตั้งแต่ พ.ศ. 2553-2556 138

139

ใน พ.ศ. 2556 กรุงเทพมหานครยังได้รับการโหวตจากผู้เข้าเย่ียมชม เว็บไซต์ TripAdvisor เว็บไซต์ท่องเที่ยวยอดนิยมที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ในโลกให้เป็นเมืองท่องเท่ียวยอดนิยมอันดับ 1 ของเอเชีย และเมือง น่าท่องเที่ยวอันดับ 1 ของภาคพ้ืนเอเชีย-แปซิฟิก นอกจากนี้ ยังได้รับ รางวลั World’s Top Travel Hotspot จากบัตรเครดิตมาสเตอรค์ ารด์ ดว้ ย รางวัลแห่งความส�ำเร็จจะไม่คงทน หากเราไม่ร่วมกันรักษาความดีงาม ที่มีอยู่ ปรับปรุง และพัฒนาให้เมืองแห่งน้ีเป็นเมืองท่ีน่าอยู่และน่าเยือนต่อไป การจะ เป็นเมืองน่าอยู่และน่าเยือนน้ัน แน่นอนว่าหากเมืองไม่ปลอดภัย มีขโมยขโจรชุกชุม ขาดความปลอดภัยในทรัพย์สิน การเดินทางไม่สะดวก สัมผัสท้ัง 6 เผชิญกับมลพิษ ผู้อยู่และผมู้ าเยือนก็ย่อมอึดอดั ใจท่ีจะอยู่ เพราะไมม่ คี วามสุขกายสบายใจ จงึ ถอื เปน็ เรอ่ื งทนี่ า่ ยนิ ดี ซงึ่ ทผ่ี า่ นมากรงุ เทพมหานครมคี วามแขง็ แกรง่ ในด้านโครงสร้างการบริหาร แม้จะเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แต่ ก็สามารถบริหารงานได้อย่างอิสระและคล่องตัว ผ่านการบริหารงานจาก ฝ่ายนิติบัญญัติ และฝ่ายบริหาร (แบ่งออกเป็นฝ่ายการเมืองและฝ่าย ข้าราชการประจ�ำ) โดยไม่ได้ย่อหย่อนในการส่งเสริมให้เมืองหลวงแห่งนี้น่าอยู่ และน่าเยือน อันเป็นศักยภาพท่ีส�ำคัญในการส่งเสริมบทบาทของกรุงเทพมหานคร ในประชาคมโลก ดังนโยบาย “รักกรุงเทพฯ ร่วมสร้างกรุงเทพฯ” ซ่ึงหาก ทุกหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องน�ำมาปฏิบัติอย่างจริงจัง ก็จะช่วยสร้างความมั่นใจและ ความประทบั ใจให้แก่ทั้งชาวกรงุ เทพฯ และผมู้ าเยอื น ด้วยนโยบายนใ้ี ห้ความส�ำคัญ 140

กับการสร้างเมืองให้ปลอดภัย เช่น การติดต้ัง กล้อง CCTV การติดตั้งไฟส่องสว่างพลังงาน แสงอาทติ ย์ การจดั ตง้ั โครงการชุมชนรว่ มใจ ระวังภัย ยาเสพติด การเพิ่มประสิทธิภาพในการป้องกันและ บรรเทาสาธารณภยั ไม่วา่ จะเปน็ ไฟไหม้หรือนำ้� ท่วม การอ�ำนวยความสะดวกในการเดินทาง ทั้งการเพิ่มเส้นทางรถไฟฟ้า การเพ่ิมทางเลือกใน การเดินทางทางน้�ำ การเช่ือมต่อการเดินทางใน รูปแบบต่างๆ ท้ังทางบกและทางน�้ำ อีกท้ังเอาใจใส่ ผู ้ สู ง อ า ยุ ซึ่ ง จ ะ มี เ พิ่ ม ม า ก ขึ้ น ใ น อ น า ค ต อั น ใ ก ล ้ ตามแนวโน้มทางประชากรศาสตร์ของเมืองใหญ่ท่ัวโลก มลภาวะทางสายตาและจมูก อย่างสายไฟฟ้าที่ ระเกะระกะ หรือน�้ำเสียสีด�ำคล�้ำขุ่น ลอยหน้าด้วย สิ่งปฏิกูล ก็สามารถก�ำจัดไปได้ หากน�ำสายไฟฟ้าและ สายส่ือสารลงดิน เพิ่มระบบก�ำจัดขยะท่ีเป็นมิตรต่อ ส่ิงแวดล้อม และสร้างโรงบ�ำบัดน�้ำเสียเพิ่ม นอกจากน้ี ยังอาจปรับภูมิทัศน์ให้เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม และสังคมยิ่งขน้ึ 141

กรงุ เทพมหานครยงั มงุ่ มนั่ ทจ่ี ะบรหิ ารจดั การเมอื งหลวงให้เปน็ สงั คมทพี่ ฒั นา และสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต ดังท่ีเห็นเป็นรูปธรรมจากการได้รับคัดเลือก ใหเ้ ปน็ เมอื งหนงั สอื โลกขององคก์ ารยเู นสโก เพอ่ื สง่ เสรมิ และปลกู ฝงั วฒั นธรรมการอา่ น แก่สังคมของชาวกรุงเทพฯ และสังคมไทย ด้วยการช่วยให้สังคมเกิดกระแสการต่ืนตัว และกอ่ ใหเ้ กดิ คา่ นยิ มใหม่ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในหมเู่ ดก็ และเยาวชนใหส้ นใจและรกั การอา่ น ความพยายามในการด�ำเนินการตามกรอบนโยบายด้านการพัฒนาสังคมและ การเรียนรู้น้ีจะต้องได้รับการผลักดันอย่างต่อเน่ือง ผ่านโครงการส่งเสริมการศึกษา ต่างๆ เช่น ส่งเสริมการเรียนรู้นอกห้องเรียน โดยเปิดห้องสมุดเพ่ือการเรียนรู้ การส่งเสริมการเรียนภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน การส่งเสริมศักยภาพของมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร เพิ่มโรงเรียนรองรับนักเรียน ความสามารถพิเศษ รวมทั้งเด็กพิเศษ การติดต้ังจุดให้บริการอินเทอร์เน็ตไร้สาย ความเรว็ สงู (Hi-Speed Wi-Fi) ในพนื้ ท่สี าธารณะ เปน็ ตน้ 142

ที่ส�ำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน คือการเปิดโอกาส ให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็นและ ตรวจสอบการบริหารงานของกรุงเทพมหานคร ส่งเสริม ความสามารถ ความสนใจ และเปิดพ้ืนท่ีสร้างสรรค์ตลาดใหม่ๆ แก่คนรุ่นใหม่ ตลอดจนให้ประชาชนได้เรียนรู้และพัฒนา ทักษะฝีมือ ทั้งด้านแรงงานและวิชาชีพ อันจะน�ำไปสู่การขยาย ปริมาณและมูลคา่ ทางเศรษฐกจิ ของกรุงเทพฯ ต่อไป ท้ายที่สุด เพ่ือการก้าวสู่การเป็นมหานครน่าอยู่และ น่าเยือน เป็นหนึ่งในมหานครท่ีเชิดหน้าชูตาแห่งอาเซียน และมี ปฏิสัมพันธ์กับสังคมโลกได้อย่างภาคภูมิ กรุงเทพมหานครจึงมี นโยบายส่งเสริมให้กรุงเทพฯ เป็นมหานครแห่งอาเซียน ด้วยกรอบแนวทางต่างๆ เช่น การเพิ่มและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว เชิงวัฒนธรรมและเชิงอนุรักษ์ จัดต้ังสภามหานครอาเซียน เพื่อ สง่ เสรมิ ความรว่ มมอื และแลกเปลยี่ นความรรู้ ะหวา่ งกรงุ เทพมหานคร เมืองหลวงอื่นๆ ของอาเซียน และองค์กรในอาเซียน จัดท�ำแผนที่ ปา้ ยบอกทาง ปา้ ยรถประจำ� ทาง และจดุ ใหข้ อ้ มลู ทมี่ คี วามเปน็ สากล หรอื ทเี่ รยี กกนั วา่ อารยสถาปตั ย์ (Universal Design) ทว่ั กรงุ เทพฯ เปน็ ตน้ 143

เปล่ยี นมุมมองอีกนิดยง่ิ ใกล้ชดิ เพอื่ นๆ นอกเหนือจากการส่งเสริมและ สนับสนุนทางกายภาพให้กรุงเทพมหานคร มศี กั ยภาพในการเปน็ เมอื งระดบั โลก (Global City) ดังกล่าวมาแล้ว ในส่วนของประชาชน กต็ อ้ งมกี ารปรบั ตวั เพอ่ื ใหส้ ามารถนำ� พามหานคร แหง่ นใ้ี หเ้ จรญิ กา้ วหนา้ ตอ่ ไปในอนาคต ความพรั่งพร้อมสมบูรณ์ของสังคม การขยายตัวทางเศรษฐกิจ ความก้าวหน้า ทางวิทยาการคงไม่อาจเกิดข้ึนได้ หากไม่ได้ มั น ส ม อ ง ที่ ช า ญ ฉ ล า ด ข อ ง ม นุ ษ ย ์ ท่ี มี ความมงุ่ มนั่ เรยี นรู้ปรบั ปรงุ พฒั นา และปฏบิ ตั ิ ใหเ้ กดิ ผลงานทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ล แกส่ งั คม การจะกา้ วเขา้ สสู่ งั คมโลกอยา่ งภาคภมู ิ ของชาวกรงุ เทพฯ จงึ ตอ้ งเรม่ิ กนั ทก่ี ารหนั มา มองตนเองว่ามีจุดแข็งจุดอ่อนอย่างไร เพื่อให้ทราบสถานะของตนเอง น�ำไปสู่ การเสริมจุดแขง็ และการลดจุดอ่อน อนั เปน็ การเตรียมความพร้อมท่ีจะก้าวไป กับโลก รู้เท่าทันความเปลี่ยนแปลง พร้อมที่จะอยู่กับความไม่แน่นอนของสังคม ยุ ค ใ ห ม ่ ที่ ผั น แ ป ร ไ ป อ ย ่ า ง ร ว ด เ ร็ ว เ พี ย ง ชว่ั พรบิ ตาตอ่ ไป 144

อย่างท่ีทราบกันดีว่า ไทยเป็น ประเทศท่ีมีประชากรเฟซบุ๊ก (facebook) มากที่สุดในโลก เราสามารถใช้เฟซบุ๊ก เป็นเคร่ืองมือในการก้าวไปพร้อมกับโลก พร้อมกับรู้เท่าทันโลกได้ เพียงแค่กด ติดตาม (follow) แอ็กเคานต์ทางการ ท่ีเผยแพร่ข่าวสาร ไม่ว่าจะเป็นข่าวภายใน ประเทศ ขา่ วตา่ งประเทศ รวมทงั้ การตดิ ตาม บุคคลส�ำคัญและผู้น�ำทางสังคม เช่น นักการเมือง นักวิชาการ นักคิด นักเขียน เป็นต้น เพ่ือรับข่าวสารจากหลากหลาย แหล่ง ท�ำให้ได้รู้ว่าในแต่ละภาคส่วน ของสังคมก�ำลังเกิดเหตุการณ์อะไรข้ึน ความคดิ เหน็ ต่อสงิ่ น้ันๆ เปน็ อย่างไร นอกจากน้ี เรายังสามารถสืบค้น และรับข่าวสารจากแหล่งอื่นๆ ได้ ตามส่ือต่างๆ ท้ังอินเทอร์เน็ต หนังสือพิมพ์ นติ ยสารรายสัปดาห์ รายปกั ษ์ และรายเดือน สื่อเหล่านี้ล้วนสรรหาเร่ืองราวดีๆ ท่ีอยู่ ในกระแสมาใหผ้ ู้อา่ นไดร้ บั ความรทู้ ่ีน่าสนใจ มากมาย 145

อย่างไรก็ดี แม้จะรับรู้ข่าวสารแล้วแต่หลายคนก็ยัง ไม่รู้เท่าทันเหตุการณ์ นั่นก็เพราะถึงจะรู้ว่าเกิดเหตุการณ์ อะไรขึ้น แต่กลับไม่สามารถคิดวิเคราะห์ด้วยเหตุผลได้ และอาจน�ำไปสู่ผลต่อเน่ืองที่ผิดพลาดได้ ดังนั้น การรู้ แตไ่ มส่ ามารถวเิ คราะห์ แยกแยะเหตผุ ล และ ความผิดถูกได้ จึงเป็นเรื่องที่น่ากลัวท่ีสุด เรื่องหนึ่งในสังคมโลกาภิวัตน์ ที่ทุกคน สามารถรบั รขู้ า่ วสารไดท้ นั ทที กุ ทท่ี กุ เวลา การรู้และเข้าใจในสถานการณ์ต่างๆ จะช่วยให้เราได้รับมุมมองที่กว้างขวาง ในการมองโลกใบนี้ และช่วยให้เกิด การขยายขอบเขตแนวคิดในการปรบั ตวั ให้เข้ากับสภาพแวดล้อม เช่น เมื่อ เรารวู้ า่ กรงุ เทพฯ ไดร้ บั การคดั เลอื ก ให้เป็นเมืองท่องเท่ียวที่ดีที่สุด ของโลก ในฐานะชาวกรงุ เทพฯ ก็อาจจะเกิดการต่ืนตัว และ มีการปรับตัวเพ่ือรองรับ นักท่องเที่ยวท่ีเข้ามา มปี ฏสิ มั พนั ธก์ บั เรา เพอื่ ให้เขาชื่นชอบเมือง ของเรามากขนึ้ 146

การปรับเปล่ียนมุมมองและทัศนคติต่อ โลกน้ี ยังรวมไปถึงการไม่หยุดท่ีจะ เรียนรู้และพัฒนาทักษะท่ีจ�ำเป็น หากต้องการที่จะยกระดับขีดความสามารถ ส่วนตัวเพื่อให้สามารถแข่งขันและอยู่ใน ประชาคมโลกไดอ้ ยา่ งภาคภมู ิ ซง่ึ การพฒั นา ทกั ษะทส่ี ำ� คญั เรอื่ งแรกกค็ งไมพ่ น้ เรอ่ื งภาษา ภาษา สอ่ื กลางแหง่ การสอื่ สาร กบั ผคู้ น ถอื เปน็ สง่ิ สำ� คญั ทจี่ ะชว่ ยให้ เราได้ใกลช้ ดิ สรา้ งความเขา้ ใจอันดี สร้างความไว้เน้ือเชื่อใจ โน้มน้าว ผู้อ่ืนให้เกิดความร่วมมือ น�ำไปสู่ การพัฒนาเมือง พัฒนาประเทศชาติ ร่วมกัน การใช้ภาษาอย่างถูกต้อง สื่อสาร ได้ตรงประเด็นด้วยถ้อยค�ำที่สุภาพ จึงเป็น ส่ิงส�ำคัญ เพราะเพียงแค่ภาษาไทย บางครั้ง ยงั ตอ้ งมกี ารตคี วามหมายใหต้ รงกนั เพราะภาษา ในสมัยน้ี “ดิ้นได้” คนหนึ่งอาจพูดถึงสิ่งหน่ึง อยา่ งจงใจ แตอ่ กี คนอาจใชป้ ระสบการณท์ แี่ ตกตา่ ง ตคี วามไปเปน็ อนื่ สว่ นภาษาองั กฤษนน้ั จากเดมิ ทไี่ มค่ อ่ ยไดใ้ ช้ หลายคนกเ็ รมิ่ ตระหนกั ถงึ ความสำ� คญั เมอ่ื ประชาคมอาเซยี นซง่ึ กำ� ลงั จะเกดิ ขนึ้ อยา่ งเปน็ ทางการ ใน พ.ศ. 2558 กำ� ลงั งวดเขา้ มา เพราะภาษาองั กฤษเปน็ ภาษาทางการของประชาคมอาเซยี น ความต่ืนกลัวท่ีเกิดขึ้น พร้อมกับความนิ่งเฉย ไม่มีการลงมือท�ำ นำ� ไปสคู่ วามลม้ เหลวฉนั ใด การไมเ่ รง่ พฒั นาตนเองเพอื่ รบั มอื กบั การสอื่ สาร กับชาวต่างชาติต่างภาษา ก็ท�ำให้เราไม่อาจก้าวหน้าไปได้ฉันน้ัน ดังนั้น ขอให้ลืมความกังวลเหล่าน้ัน แล้วหันมาต้ังใจพัฒนาศักยภาพของตนเองท้ังใน ดา้ นภาษาและทกั ษะดา้ นอน่ื ๆ ทจี่ ำ� เปน็ สำ� หรบั การปฏบิ ตั งิ านภายใตค้ วามรบั ผดิ ชอบของตน ใหเ้ พมิ่ พนู กนั ตงั้ แตว่ นั น้ี 147

148


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook