Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1 ปก มหาวิทยาลัยมหามากุฏราชวิทยาลัย-ผสาน

1 ปก มหาวิทยาลัยมหามากุฏราชวิทยาลัย-ผสาน

Description: 1 ปก มหาวิทยาลัยมหามากุฏราชวิทยาลัย-ผสาน

Search

Read the Text Version

ดงั นั้นไมว่ ่าเราจะขยับตัวเปลี่ยนอริ ิยาบถหรอื จะไม่กระดุกกระดิกเปล่ียนอิริยาบถใดๆเลยก็ตาม แต่หาก ไม่มนสิการถึงทุกขลักษณะว่า \"ขันธ์ที่ยังไม่เกิดก็เกิดมีข้ึน พอมีข้ึนแล้วต่อไปก็จะกลายเป็นไม่มีไปอีก\"เป็นต้น (โดยมงุ่ ถึงความเบียดเบียนบีบค้ัน) เรากจ็ ะไม่สามารถเหน็ ทุกขลักษณะได้เลย. ฉะนั้นในวิสุทธิมรรคฏีกาท่านจึงกล่าวไว้ว่า \"อิริยาบถเหมือนปิดบังทุกข์\"เท่าน้ัน ไม่กล่าวว่า \"อิริยาบถ ปิดบังทุกข์\" เพราะอิริยาบถทาให้สุขเวทนาเกิดต่อเน่ืองจึงไม่ได้รับทุกขเวทนาเท่าน้ัน แต่อิริยาบถไม่ได้ปิดบัง ทกุ ขค์ ือขนั ธ์ ๕ แตอ่ ยา่ งใด ส่วนสงิ่ ที่ปิดบงั ทกุ ข์ คือ ขนั ธ์ ๕นนั้ กค็ ือ อวิชชานนั่ เอง. ๓) ฆนะปิดบังอนตั ตลักษณะ ฆนะ คือ ส่ิงท่ีเนื่องกันอยู่ ท่านได้แบ่งฆนะ ออกเป็น ๔ อย่าง คือ สันตติฆนะ สมูหฆนะ กจิ จฆนะ อารัมมณฆนะ (๑) สันตติฆนะ คือ ขันธ์ ๕ ที่เกิดดับสืบเนื่องกันไปไม่ ขาดสาย ซง่ึ เร็วจนดเู หมือนกบั ว่า ขันธ์ ๕ ไม่มีอะไร เกิดดบั . (๒) สมูหฆนะ คือ ขันธ์ ๕ ทีเ่ กดิ รว่ มกนั สมั พันธ์อาศัยซ่ึง กันและกัน จนดูราวกะว่า ขันธ์ท้ัง ๕ เป็นกลุ่มก้อน เป็นหน่งึ เดยี วกนั . (๓) กิจจฆนะ คือ ขันธ์ ๕ ที่มีกิจหน้าท่ีมากหลายรับรู้เข้าใจได้ง่ายและยากโดดเด่นแตกต่างกันไป ซ่ึงหาก ไม่มีปญ๎ ญากอ็ าจดเู หมอื นกบั ว่า ขันธ์ ๕ มกี จิ อยา่ งใดอย่างหนงึ่ เพียงกจิ เดยี ว. (๔) อารมั มณฆนะ คือ ขันธ์ ๔ ที่รับรู้อารมณ์มากมายหลากหลายใหม่ๆไปเร่ือย แต่หากเราเองไม่มีความรู้ พอทจี่ ะสังเกต จะไมท่ ราบเลยวา่ จติ ใจของเราแบ่งออกตามการรู้อารมณ์ไดม้ ากทเี ดยี ว การเนื่องกันเหล่านี้จะมีหรือไม่มี ข้ึนอยู่กับป๎จจัยของธรรมที่ร่วมกันเกิดอยู่น้ัน เป็นกฎธรรมชาติ เป็น ธรรมดา หากเหตุพรอ้ มมลู กไ็ ม่มใี ครไปหา้ มไม่ใหผ้ ลเกิดได้เลย. ฆนะทั้งหมด โดยเฉพาะ ๓ อย่างหลังท่ีเนื่องกันติดกันอยู่ตลอดเวลาอย่างน้ี จะทาให้เรารู้สึกเหมือนกับ ว่า ขันธ์ ๕ บงั คับบัญชาตวั เองได้ ไม่ต้องอาศัยป๎จจัยอะไรเลย ราวกะมีตัวตนแก่นสาร ท้ังที่ความจริงแล้ว ขันธ์ ไม่เคยอยู่เดียว ๆ เลย มีแต่จะต้องแวดล้อมไปด้วยป๎จจัยและป๎จจุบันท่ีทั้งเกิดก่อน เกิดหลัง และเกิดร่วม มากมายจนนบั ไมถ่ ว้ น (ถา้ นบั ละเอียด). ในคมั ภีรท์ ่านจึงกล่าวไวว้ า่ \"ฆนะปิดบังอนจิ จลักษณะ\" เพราะอนิจจลักษณะเป็นเครื่องกาหนดความไม่ มีตัวตนอานาจที่เป็นแก่นสารม่ันคงของขันธ์ ๕ ซึ่งตรงกันข้ามกับ ฆนะที่เน่ืองกันจนทาให้เข้าใจผิดไปว่า ขันธ์ เป็นหนึ่ง มีเหตคุ อื เรา คือเขาเพียงหน่ึงที่เป็นตัวตนม่ันคงบังคับสิ่งต่างๆได้ ท้ังท่ีก่อนหน้าน้ัน และขณะนั้นเองมี เหตุให้เกิดขันธ์เหล่านั้นเกิดอยู่มากมาย หลังจากน้ันโดยท่ัวไปก็ยังมีผลที่จะเกิดสืบต่อไปอีกมากมาย. การท่ียัง พจิ ารณาอนัตตลักษณะว่า \"ขนั ธ์ท่ียังไม่เกิดก็เกิดมีข้ึน พอมีข้ึนแล้วต่อไปก็จะกลายเป็นไม่มีไปอีก\"เป็นต้น (โดย เอกสารประกอบการสอน วิชาพุทธปรัชญาเถรวาท เรยี บเรยี ง นายเตชทัต ป๎กสังขาเนย์ ๑๓๔

มุ่งถึงความไม่มีอานาจส่วนตัว เป็นไปตามหมู่ป๎จจัยเป็นอเนกอนันต์) ไม่บ่อย ไม่ต่อเน่ือง หรือเพ่ิงเร่ิมกาหนด จงึ ยังไม่เกดิ ความชานาญ อนัตตลักษณะทีก่ าหนดอยู่ก็จะไม่ชัดเจน ไม่เข้าใจกระจ่างเท่าไหร่ฆนะจึงยังมีอานาจ รบกวนไมใ่ หก้ าหนดอนตั ตลกั ษณะได้ชดั เจนแจม่ แจ้ง. สาหรับวธิ ีการจัดการกับฆนะไม่ให้มีผลกับการกาหนดอนัตตลักษณะนั้นไม่มีวิธีการโดยตรง เพราะฆนะ เหล่าน้ีมีอยู่เป็นปกติ หากธรรมต่างๆไม่มีความสัมพันธ์กันเน่ืองกันแล้ว ก็เท่ากับนิพพานไป. แต่ท่านก็ยังคงให้ พิจารณาอนัตตลักษณะแบบเดิมเป็นต้นว่า \"ขันธ์ที่ยังไม่เกิดก็เกิดมีข้ึน พอมีขึ้นแล้วต่อไปก็จะกลายเป็นไม่มีไป อีก\"ดังนี้ โดยมุ่งถึงความไม่มีอานาจส่วนตัว เป็นไปตามหมู่ป๎จจัยเป็นอเนกอนันต์ ต่อไป โดยทาให้มาก ให้ ต่อเนื่อง ให้บ่อยคร้ังเข้า อนัตตลักษณะก็จะปรากฏชัดขึ้น และฆนะต่าง ๆ แม้จะยังมีอยู่ตามเดิม แต่ก็จะไม่มี อานาจปกปิดอนตั ตลกั ษณะ หรือ ทาให้อนัตตลักษณะไมช่ ัดเจนอกี ต่อไป. อน่ึง ฆนะไมไ่ ดป้ ิดบังอนัตตา เพราะอนตั ตา คอื ขนั ธ์ ๕ ซง่ึ ขันธ์ ๕ ท่เี ป็นโลกยิ ะโดยมากแล้วใคร ๆ แม้ท่ี ไม่ได้ศึกษาคาสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าก็สามารถจะเห็นได้ ดังท่ีท่านกล่าวไว้ในอรรถกถามหาสติป๎ฏฐาน สูตรว่า \"กามํ อตุ ตฺ านเสยยฺ กาปิ ทารกา ถญญฺ ปิวนาทกิ าเล สขุ ํ เวทยมานา สุขํ เวทนํ เวทยามาติ ปชานนฺติ น ปเนตํ เอวรูปํ ชานนํ สนฺธาย วตุ ฺตํ - ความจรงิ แล้ว แม้แต่พวกทารกแบเบาะมีความสุขอยู่ในเวลาขณะท่ีดื่ม นม ก็ย่อมรู้ชัดอยู่ว่า เรามีสุขเวทนา (คือ รู้ตัวว่ากาลังมีความสุข) อยู่ ดังนี้ แต่การรู้อย่างน้ีท่านไม่ได้ประสงค์ เอา (ในการเจรญิ สติปฏ๎ ฐาน) \"ดงั นี.้ ดังน้ันแม้เราจะห่ันหมูเป็นชิ้น ๆ จนไม่เหลือสภาพความเป็นหมูอ้วนๆให้เห็นเลยก็ตาม หรือ จะเป็น นักวิทยาศาสตร์แยกอะตอม (atom) ออกจนส้ินเหลือแต่คว๊าก (quark) กับกลูอ้อน (gluon) หรือแยกได้ มากกว่าน้ันก็ตามที แต่หากไม่มนสิการถึงอนิจจลักษณะว่า \"ขันธ์ที่ยังไม่เกิดก็เกิดมีข้ึน พอมีขึ้นแล้วต่อไปก็จะ กลายเป็นไม่มีไปอีก\"เป็นต้น (โดยมุ่งถึงความเบียดเบียนบีบค้ัน) เราก็จะไม่สามารถเห็นอนัตตลักษณะได้เลย เพราะความสาคัญของการเจริญวิป๎สสนาอยู่ที่การนึกอาวัชชนาการถึงไตรลักษณ์อย่างละเอียดบ่อย ๆ เพื่อ เปลี่ยนวิป๎ลลาสทาง ทิฐิ จิต และ สัญญา, ไม่ใช่การทาลายขันธ์ ๕ เป็นชิ้น ๆ ด้วยน้ามือของขันธ์น้ันเองแต่ อยา่ งไรเลย ๑.๑.๔ อนจิ จัง กบั อนิจจตา เปน็ ต้น ไม่เหมือนกนั ชาวพุทธไทยมักสับสนระหว่างคาว่า อนิจจัง อนิจจตา และ อนิจจลักษณะ เป็นอย่างมาก. เร่ืองน้ีควร ทาความเข้าใจว่า ปกติแล้วในคัมภีร์ชั้นอรรถกถา อนิจจัง หมายถึง ตัวขันธ์ ๕, ส่วนอนิจจตาน้ัน หมายถึง อาการความเปน็ ไปของขันธ์ ๕ ได้แก่ อนจิ จลักษณะ น่นั เอง. ในทกุ ขัง ทกุ ขตา และทุกขลักษณะกใ็ ห้กาหนดศัพท์ตามนี้เหมอื นกัน. ตวั อย่าง ทกุ ขัง อนิจจงั กบั ทุกขตา อนจิ จตา เป็นตน้ ท่ีใช้ไมเ่ หมือนกนั ในวิสทุ ธมิ รรค อานาปานกถา พบขอ้ ความว่า :- เอกสารประกอบการสอน วชิ าพทุ ธปรชั ญาเถรวาท เรยี บเรยี ง นายเตชทัต ปก๎ สังขาเนย์ ๑๓๕

\"อนิจฺจนตฺ ิ ปํฺจกขฺ นธฺ า. กสมฺ า? อปุ ปฺ าทวยํญฺ ถตตฺ ภาวา. อนิจฺจตาติ เตสเยว อุปฺปาทวยํฺญถตฺต, หุตฺ วา อภาโว วา, นิพฺพตฺตาน เตเนวากาเรน อฏฺฐตฺวา ขณภงฺเคน เภโทติ อตฺโถ.- ท่ีช่ือว่า อนิจฺจ ได้แก่ ขันธ์ ๕. ถามว่า ทาไม ? ตอบว่า เพราะเป็นของมีความเกิดขึ้นแล้วแปรเป็นอื่น. ชื่อว่า อนิจจตา ได้แก่ ความแปรเป็น อ่ืนของขันธ์น้ันนั่นเทียว หรือ อาการมีแล้วก็ไม่มี ก็ได้ อธิบายว่า การไม่ต้ังอยู่ด้วยอาการท่ีเคยเกิดขึ้นนั้นแล้ว แตกไปด้วยภงั คขณะ\"ดังนี้ ซ่ึงขอ้ ความคลา้ ยกนั นี้ พบอกี ในปฏิปทาญาณทัสสนวสิ ุทธิ แตเ่ ปลยี่ นจาก อนจิ ฺจตา เปน็ อนิจจ ดังนี้ :- \"อนิจฺจนฺติ ขนฺธปญฺจก. กสฺมา? อุปฺปาทวยญฺญถตฺตภาวา, หุตฺวา อภาวโต วา. อุปฺปาทวยญฺญถตฺต อนจิ จฺ ลกขฺ ณ หตุ ฺวา อภาวสงฺขาโต วา อาการวิกาโร-ที่ช่ือว่า อนิจจัง ได้แก่ ขันธ์ ๕. ถามว่า ทาไม ? ตอบว่า เพราะเป็นของมีความเกิดข้ึนแล้วแปรเป็นอ่ืน หรือ เพราะเป็นส่ิงเคยมีแล้วก็ไม่มีก็ได้. อนิจจลักษณะ ได้แก่ ความเกิดขึน้ แล้วแปรเปน็ อ่นื หรอื ความเปลย่ี นแปลงแหง่ อาการ ซ่ึงเป็นความเปล่ียนแปลงที่เรียกกันว่า มีแล้ว ก็ไมม่ ี\"ดังนี้ จากข้อความท่ีขดี เสน้ ใต้ จะเห็นได้วา่ ท่านอธบิ าย อนจิ จัง แยกออกจาก อนิจจตาและอนจิ จลักษณะ แตใ่ ช้สองคาหลังนี้ในความหมายเดยี วกนั . ตัวอย่าง :- เวทนา ตีหิ ทุกฺขตาหิ อวินิมุตฺตโต ทุกฺขาติ สํฺญาสงฺขารา อวิเธยฺยโต อนตฺตาติ วิํฺญาณ อุทยพฺพย - ธมฺมโต อนิจฺจนฺติ ทฏฺฐพฺพ - พึงทราบว่า \"เวทนา ชื่อว่า ทุกข์ เพราะไม่พ้นไปจากทุกขตา, สัญญาและสังขาร ช่อื ว่า อนตั ตา เพราะไม่ไดม้ อี านาจเลย, วญิ ญาณ ชื่อวา่ อนิจจัง เพราะมปี กตเิ กดิ ขึ้นและดับไป\"ดังนี.้ จากข้อความนี้จะเห็นได้ว่า มีทั้งคาว่า ทุกข์ และ ทุกขตา ท้ังนี้เนื่องจากเวทนา (ซ่ึงความจริงก็รวมขันธ์ ท้ัง ๕ ไปด้วยตามลักขณหาระนั่นเอง) เรียกว่า ทุกข์ เพราะมีทุกขตา ได้แก่ เรียกว่าทุกข์เพราะมีทุกขลักษณะ นน่ั เอง, กลา่ วคือ เรยี กว่า เปน็ ตวั ทุกข์ เพราะมีอาการท่บี ่งบอกถงึ ความเป็นตัวทุกข์ ได้แก่ อาการบีบคั้น บังคับ เปน็ ต้น ไม่ได้แปลว่า เรียกวา่ ทุกข์ เพราะมที กุ ข์ แตอ่ ยา่ งใด. ในบางท่ีก็มีการใช้ ทกุ ขฺ ตาศัพท์ นี้ ท้ัง ๒ ความหมาย คือ ทั้งเป็นทุกขลักษณะด้วย และเป็นทั้งทุกข์ด้วย เช่น ทุกฺขตาติ ทุกฺขภาโว ทุกฺขเยว วา ยถา เทโว เอว เทวตา - คาว่า ทุกฺขตา หมายถึง ทุกขภาวะ (ทุกข- ลักษณะ) หรอื ทุกขงั น้ันแหละก็ได้ เหมือนคาวา่ เทวตา ก็หมายถึง เทวะ (เทพ) นั่นเอง. แต่ก็เป็นการใช้ในบาง ท่ีเท่าน้ัน และเพราะในคาอธิบายท่ีนี้อรรถกถาก็ใช้ทั้ง ๒ ความหมายจริง.ส่วนโดยท่ัวไป ให้สังเกตว่า ท่าน กล่าวถึง อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เป็นลักขณวันตะ (ส่ิงมีเคร่ืองกาหนด) กับ อนิจจตา ทุกขตา อนัตตตา เป็น ลกั ขณะ (เคร่อื งกาหนด) เหมือนกบั ทท่ี ่านแยกอนจิ จงั เปน็ ต้นให้เปน็ ลักขณวันตะส่วนอนิจจลักษณะเป็นต้นก็ให้ เปน็ ลกั ขณะ. น่ันก็เพราะ อนิจจตาโดยทั่วไปกห็ มายถึงอนิจจลักษณะนั่นเอง เพราะเป็นลักขณะสาหรับกาหนด ตัวอนิจจงั คอื ขนั ธ์ ๕ น่นั เอง เชน่ ในคัมภรี ์อนฏุ กี าจึงกลา่ วแยก อนจิ จะ กับ อนจิ จตาไว้ว่า เอกสารประกอบการสอน วชิ าพทุ ธปรัชญาเถรวาท เรียบเรียง นายเตชทัต ป๎กสังขาเนย์ ๑๓๖

\"ยถา อนจิ จฺ าทิโต อนจิ จฺ ตาทีน วุตฺตนเยน เภโท เอว อนิจฺจตาทีนมฺปิ สติปิ ลกฺขณภาวสามํฺเญ นานา ญาณโคจรตาย นานาปฏิปกฺขตาย นานินฺทฺริยาธิกตาย จ วิโมกฺขมุขตฺตยภูตาน อํฺญมํฺญเภโทติ ทสฺเสนฺโต “อนจิ จฺ นฺติ จ คณฺหนฺโต”ตอิ าทมิ าห- ท่านอาจารย์เมื่อได้แสดงอยู่ว่า \"การจาแนกอนิจจตาเป็นต้นจากอนิจจะเป็นต้นโดยนัยตามท่ีกล่าวไป แล้วนั้นว่าไว้ฉันใด การจาแนกกันและกันออกเป็นวิโมกข์ ๓ โดยความเป็นอารมณ์ของญาณต่างๆ, โดยความ เป็นปฏิป๎กข์ตอ่ ธรรมต่างๆ, โดยความย่ิงดว้ ยอินทรียต์ ่างๆ ในลกั ษณภาวะที่สามัญท่ัวไปแม้ของอนิจจตาเป็นต้น ที่แมม้ ีอยู่ ก็วา่ ไปตามนน้ั เหมือนกนั \" ท่านจงึ กลา่ วคาเปน็ ตน้ ว่า \"อนจิ ฺจนฺติ จ คณหฺ นฺโต\" ดังน้ีเป็นต้น. จากประโยค คาว่า \"อนิจฺจาทิโต อนิจฺจตาทีน\" (ตัวหนา) จะเห็น ได้ว่า ท่านไม่กล่าว อนิจจัง กับ อนิจจตาไว้ด้วยกัน แต่จะกล่าวให้อนิจจังมีอนิจจตา หรือ อนิจจตาเป็นของ อนจิ จงั เปน็ ต้น อนิจจตา กับ อนจิ จงั ทา่ นใช้ตา่ งกนั ดังยกตัวอย่างมาน.้ี อีกประการหนึ่ง ให้สังเกตว่า ท่านจะขยาย \"อนิจฺจตา\" ว่า \"อนิจฺจตาติ หุตฺวา อภาวตา-คาว่า อนิจฺจตา หมายถึง ความเป็นสิ่งที่มีแล้วก็ไม่มี\" เป็นต้น, แต่ขยาย อนิจฺจ ว่า \"อนิจฺจนฺติ ปํฺจกฺขนฺธา เต หิ อุปฺปาทวยฏฺ- เฐน อนิจจฺ า- คาว่า อนจิ ฺจ หมายถึง ขันธ์ ๕, จรงิ อยู่ ขนั ธ์ ๕ ช่ือว่า อนิจจะ เพราะมีสภาพที่เกิดขึ้นและส้ินไป\" ในท่ีอ่ืนกค็ วรประกอบความอยา่ งน้ไี ด้ ตามสมควร. ๑.๑.๕ อรรถกถา-ฏกี า ใชภ้ าษารดั กมุ เขียนเน้ือเร่ืองไมส่ ับสน การแยกอนิจจัง กับ อนจิ จตาเป็นต้นอย่างนี้ เวลาศึกษาควรกาหนดใช้ให้เป็นรูปแบบศัพท์แนวน้ีไว้ จะ ทาให้เวลาอ่านพระไตรปิฎก-อรรถกถา-ฏีกา เกี่ยวกับเร่ืองนี้แล้ว ไม่เกิดความงุนงง, เน่ืองจากคัมภีร์ช้ันอรรถ กถา-ฏกี านนั้ เปน็ คัมภรี ์ทตี่ อ้ งการเน้นอธิบายเนือ้ หาท่ีชดั เจน ฉะน้ัน ภาษาที่ใช้จึงมีรูปแบบที่ชัดเจน ค่อนข้างตายตัวอยู่พอสมควร ส่วนรูปแบบการจัดวางเน้ือหาน้ัน จะมีการปรับเปลี่ยนไปบ้างในแต่ละคัมภีร์ ทั้งนี้ก็ปรับตามรูปแบบคัมภีร์อรรถกถารุ่นเก่าที่สืบกันมาต้ังแต่ครั้ง พุทธกาล หรอื ปรับตามทท่ี ่านผู้รจนาเห็นว่าเหมาะสมกับเนื้อหา เพราะประเด็นท่ีเน้นในแต่ละที่จะมีเน้ือหาไม่ เอกสารประกอบการสอน วชิ าพุทธปรชั ญาเถรวาท เรยี บเรียง นายเตชทัต ป๎กสงั ขาเนย์ ๑๓๗

เหมือนกัน เช่น ในอรรถกถาของขุททกปาฐะ เขียนเร่ือง ทวัตติงสาการไว้ไม่เหมือนกับทวัตติงสาการในวิสุทธิ มรรค ท้ังน้ีก็เพราะอรรถกถาขุททกปาฐะมุ่งเน้นที่การเขียนเป็นทางเลือกสาหรับพระภิกษุผู้ยังไม่แน่นอนว่าจะ เลือกระหว่าง อาการ ๓๒ หรือ จตุธาตุววัตถาน ๔๒ จึงเขียนไว้ท้ัง ๒ กรรมฐานสลับกัน ซ่ึงก็ตรงตาม จุดประสงค์ของคมั ภรี ์ขุททกปาฐะท่เี นน้ การเร่ิมต้นศึกษาไปตามลาดับ สาหรับแนะแนวการเร่ิมปฏิบัติและแนะ แนวการสอนปฏิบัติ ส่วนในวิสุทธิมรรค เน้นอธิบายอาการ ๓๒ โดยเฉพาะ ซ่ึงก็เป็นไปตามเนื้อหาของคัมภีร์วิสุทธิมรรคท่ี เน้นอธิบายไปทีละอย่างทีละประเด็นสาหรับปฏิบัติอย่างละเอียดในแต่ละเรื่องน้ัน ๆ, วิธีเขียนจึงแตกต่างกัน ตามคมั ภรี ไ์ ปอย่างน้ี เป็นตน้ ไมใ่ ช่เขียนเอาเองตามใจแตอ่ ย่างใด. ๑.๒ บทสรปุ สาระสาคัญประจาบทที่ ๗ ไตรลักษณ์คือลักษณะที่เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติที่มีอยู่เดิม ส่ิงท่ีเกิดข้ึนก็มีการเกิดขึ้น มีสภาพที่ ตัง้ อยู่ และมกี ารเส่ือมสลายไปตามกาลเวลา เรียกว่า เปน็ กฎธรรมชาติ กฎธรรมชาติท่ีเป็นอยู่ไม่มีสิ่งใดจะไม่อยู่ ภายใต้กฎน้ัน ถึงแม้ว่าจะมีบัญญัตินิยามต่างๆ นานา ก็ตาม สิ่งเหล่านั้น ก็ย่อมมีช่องว่างของการเปล่ียนแปลง อยขู่ องมนั เอง ไมว่ ่าจะเป็นเรอ่ื งของจิต ความคิด หรือแม่แต่สภาพต่างๆ ที่อยู่ในโลกใบน้ี กฎของไตรลักษณ์นั้น เปน็ สภาพท่ี คงอยูถ่ าวร ซ่ึงอาจจะดูขัดจากหลักท่ีว่า ไม่เที่ยง ไม่มีตัวตน แต่สิ่งเหล่านี้ก็คือสภาพดังเดิม สภาพ ท่ีแม่แต่ โลกทั้ง ๓ ที่มนุษย์ท้ังหลายเชื่อว่าไม่ได้อยู่ภายใต้กฎเหล่าน้ี ก็ยังตกอยู่ในสภาพของไตรลักษณ์ เหมือนกนั แตก่ ารจะไมใ่ หต้ กอยใู่ นสภาพน้ันได้ กต็ ้องมีการพัฒนาจติ ใหอ้ ยู่ในสภาพท่ยี ง่ิ กว่า จิตท่ัวไปให้อยู่โลกจึง จะคงสภาพท่ีไม่อยู่ภายใต้การเปลี่ยนต่าง ๆ ของไตรลักษณ์ ที่เราเข้าใจง่าย ๆ คือการบรรลุนิพพานที่ไม่มีการ เกิดดับ แตกสลาย ซ่ึงอยเู่ หนอื นยิ ามบัญญตั ิของไตรลกั ษณ์ ๑.๓ คาถามทบทวนประจาบทท่ี ๗ ๑. ธรรมชาติโดยท่ัวไปตกอยู่ภายใต้กฎของไตรลักษณ์ ท่านมีความคิดเห็นอย่างไร จงแสดงความ คิดเห็น ๒. ความหมายของไตรลักษณ์ กัลป์สามัญญลักษณะมีความแตกต่างหรหือเหมือนกันอย่างไร จง อธิบาย ๓. “ทุกข์กับทุกขลักษณะ ไมเ่ หมอื นกนั อย่างไร จงให้เหตุผลอธิบายประกอบ เอกสารประกอบการสอน วชิ าพทุ ธปรชั ญาเถรวาท เรยี บเรยี ง นายเตชทัต ปก๎ สังขาเนย์ ๑๓๘

๔. การทเี่ ราไมท่ ราบวา่ อนจิ จลักษณะ เกิดขน้ึ เพราะมสี าเหตุ จงอธิบาย ๕. “ฆนะ ปดิ บังอนัตตลกั ษณะ” มีลักษณะอยา่ งไร จงอธิบาย ๖. “อิริยบถ ปิดบงั ทุกขลักษณะ” มลี ักษณะอยา่ งไร จงอธิบาย ๗. “ทุกข อนิจฺจ อนตฺตา” ทาอย่างไรจึงจะอธิบายให้คนที่ไม่เข้าใจเรื่องของไตรลักษณ์ได้ จง ยกตัวอย่างมา ๑ เรอ่ื ง และแสดงคิดเหน็ ประกอบ ๘. อจุ เฉททิฏฐิ คือความเห็นว่าขาดสูญ จงเปรียบเทียบกับ อนัตตา ท่ีมีความหมายใกล้เคียงกัน ว่า มี ความแตกต่างและมสี ว่ นคล้ายกนั อยา่ ง จงอธบิ าย ๙. “ทกุ ส่งิ ทกุ อย่าง ไม่เท่ียง” และ มีบทมรณสตทิ ่ีกลา่ ววา่ “ความตายเปน็ ของเท่ียง” จะไม่ขัดกับส่ิงท่ี บอกวา่ ทกุ สิง่ ทกุ อยา่ งไมเ่ ท่ียงหรือ จงอธิบายพรอ้ มใหเ้ หตุผลประกอบ ๑๐. “อนตั ตา” ความไมม่ ีตัวตนแต่แลว้ ท่ีเรามองเห็นอยมู่ ิใช่ตวั ตนหรือ จงอธบิ าย ๑.๔ เอกสารอ้างอิงประจาบทท่ี ๗ ภาษาไทย อภธิ มฺมวกิ าสินี ๒ อภธิ มฺมาวตารฏกี า ๒ (สุมงคฺ ลมหาสามิ อภธิ มมฺ ตฺถสงคฺ ห-อฏฺถกถาย อภธิ มมฺ ตฺถวิภาวินีฏี กาจรโิ ย) - ๑๒. ทวฺ าทสโม ปรจิ ฺเฉโท ปํฺญตฺตนิ ทิ ฺเทสวณฺณนา - อภิธมมฺ าวตาร.ฏี. ๒/๗๗๗. พทุ ธฺ โฆสาจรโิ ย, วิสทุ ธฺ มิ คคฺ -อฏฐฺ กถา , อปุ กฺกเิ ลสวิมตุ ฺตอุทยพฺพยญาณกถา, ปฏิปทาญาณทสฺสนวิสุทฺธินิทฺ เทโส, วสิ ทุ ฺธ.ิ ๒ ข้อ ๗๓๙. ธมมฺ ปาลาจริโย, ปรมตฺถมํฺชูสา-ฏกี า, อุปกกฺ ิเลสวมิ ตุ ฺตอทุ ยพฺพยญาณกถาวณฺณนา ปฏปิ ทาญาณทสฺสนวิ สุทธฺ ินิทฺเทสวณฺณนา วสิ ุทธิมคฺคมหาฏีกา, วสิ ทุ ฺธิ.มหาฏ.ี ๒ ขอ้ ๗๓๙. พุทธฺ โฆสาจรโิ ย, สมโฺ มหวิโนทนี-อฏฺฐกถา, อายตนวภิ งฺคนทิ เฺ ทสวณฺณนา สตุ ฺตนฺตภาชนีวณณฺ นา อภิธมฺม- อฏฐฺ กถา,อภิ.อฏ.ฺ ๒ ขอ้ ๑๕๔. ธมมฺ ปาลาจรโิ ย, มลู ฏีกา, อายตนวิภงฺคนิทฺเทสวณณฺ นา สตุ ฺตนฺตภาชนีวณณฺ นา อภิธมมฺ -มลู ฏีกา,อภ.ิ มูลฏี. ๒ ข้อ ๑๕๔. ธมมฺ ปาลาจรโิ ย, ลนี ตถฺ วณฺณนา-ฏกี า, อายตนวภิ งฺคนิทฺเทสวณณฺ นา สุตตฺ นตฺ ภาชนีวณณฺ นา อภธิ มฺม-อนุฏีกา, อภิ.อนฏุ ี. ๒ ข้อ ๑๕๔. พุทธฺ โฆสาจริโย, วสิ ุทธฺ ิมคฺค-อฏฐฺ กถา , อปุ กฺกิเลสวิมุตตฺ อุทยพพฺ ยญาณกถา, ปฏิปทาญาณทสสฺ นวิสทุ ฺธนิ ิทฺ เทโส, วิสทุ ธฺ .ิ ๒ ขอ้ ๗๓๙. ธมฺมปาลาจริโย, ปรมตฺถมํชฺ ูสา-ฏีกา, อุปกฺกเิ ลสวมิ ุตตฺ อทุ ยพฺพยญาณกถาวณณฺ นา ปฏปิ ทาญาณทสฺสนวิ สทุ ธฺ นิ ทิ เฺ ทสวณฺณนา วิสุทธิมคฺคมหาฏกี า, วิสทุ ธฺ ิ.มหาฏี. ๒ ขอ้ ๗๓๙. เอกสารประกอบการสอน วชิ าพุทธปรชั ญาเถรวาท เรยี บเรียง นายเตชทัต ปก๎ สงั ขาเนย์ ๑๓๙

พทุ ธฺ โฆสาจริโย, สมฺโมหวิโนทนี-อฏฺฐกถา, อายตนวภิ งคฺ นิทฺเทสวณฺณนา สตุ ตฺ นฺตภาชนีวณฺณนา อภิธมฺม-อฏฐฺ กถา,อภิ.อฏฺ. ๒ ข้อ ๑๕๔. ธมมฺ ปาลาจรโิ ย, มลู ฏีกา, อายตนวภิ งฺคนิทเฺ ทสวณฺณนา สตุ ฺตนตฺ ภาชนีวณณฺ นา อภิธมฺม-มลู ฏกี า,อภิ.มลู ฏ.ี ๒ ขอ้ ๑๕๔. ธมมฺ ปาลาจรโิ ย, ลีนตฺถวณฺณนา-ฏกี า, อายตนวภิ งฺคนิทเฺ ทสวณฺณนา สตุ ฺตนฺตภาชนวี ณฺณนา อภิธมมฺ -อนฏุ กี า, อภิ.อนุฏ.ี ๒ ข้อ ๑๕๔. มหาสตปิ ฏฐฺ านสตุ ฺตวณฺณนา - เวทนานปุ สสฺ นาวณณฺ นา -๑๐- สมุ งคฺ ลวลิ าสนิ -ี อฏฐถกถา ๒ มหาวคคฺ - อฏฺฐกถา (ท.ี ) (พุทฺธโฆส) - ท.ี อฏ.ฺ ๒ ข้อ ๓๘๐ มหาสติปฏฐฺ านสตุ ฺตวณณฺ นา - เวทนานปุ สสฺ นาวณณฺ นา -๑๐- สุมงคฺ ลวลิ าสนิ -ี อฏฐถกถา ๒ มหาวคฺค- อฏฺฐกถา (ที.) (พุทธฺ โฆส) - ที.อฏฺ. ๒ ขอ้ ๓๘๐ กสิภารทฺวาชสุตตฺ วณณฺ นา - ๑. กสิภารทฺวาชสตุ ตฺ วณณฺ นา - -๑๕- สารตฺถปปฺ กาสินี-อฏฐถกถา ๑ สคาถวคฺค- อฏฺฐกถา (พทุ ฺธโฆส) - ส.อฏ.ฺ ๑ ข้อ ๑๙๗ เอตทคฺควคโฺ ค - ๑๘. อปรอจฺฉราสงฺฆาตวคคฺ วณฺณนา -๒๐- (๑) - สารตฺถมํชฺ สู า ๑ องคฺ ุตตฺ รนกิ ายฏีกา เอกก นปิ าตฏกี า (สารปี ตุ ฺต) - อ.ฏ.ี ๒ ขอ้ ๔๕๓ กสภิ ารทฺวาชสุตตฺ วณณฺ นา - ๑. กสิภารทฺวาชสุตฺตวณณฺ นา - -๑๕- ลีนตถฺ ปปฺ กาสนา ๑ สคาถวคคฺ ฏีกา (ธมฺมปาล) - ส.ฏี. ๑ ข้อ ๑๙๗ มหาโพธชิ าตกวณณฺ นา - -๒๘- (๕) - ชาตก-อฏฐฺ กถา (พทุ ธฺ โฆส - เกหจิ ิ นุ โข คเณหิ สห รจติ า) - ขุ.ชา.อฏ.ฺ ๕ ข้อ ๑๓๖ พระธรรมปฎิ ก (ป.อ. ปยุตโฺ ต) อนิจจตา ทกุ ขตา อนตั ตตา, พมิ พ์แจกเป็นธรรมาน, กรงุ เพทฯ ธรรมสภา, ๒๕๔๗. ภาษาอังกฤษ - เอกสารอ่ืน ๆ http://www.larnbuddhism.com/visut/๓.๑๑.html - (อ่านไล่ไปจนถงึ ย่อหนา้ ท่ี ๒๐ โดยเนอื้ หาอยชู่ ่วง บรรทัดท่ี ๑๓-๒๐) http://palungjit.com/tripitaka/search.php?kword อธบิ าย จตกุ กท่ี ๔ แห่ง อานาปานสติกถา วิสุทธิมรรค อนสุ สตนิ ิทเทส/ดู - อัฏฐสาลนิ ี อรรถกถาธัมมสงั คณี ปกรณ์ อภธิ รรมปฎิ ก เลม่ ๓๔ ฉ. มหามกฏุ ราชวิทยาลัย หนา้ ๖๒๐ - อภิ.ธ.อ.มกฏุ ๗๕/-/๖๒๐, บาลี ดู \"โลกตุ ตฺ รกุสลวณฺณนา - -๓๔- อฏฐฺ สาลนิ ี ธมมฺ สงคฺ ณี-อฏฺฐกถา (พุทธฺ โฆส) - อภิ.อฏฺ. ๑ ข้อ ๓๕๐\". ติกนิกเฺ ขปกถาวณณฺ นา -๓๔-อนุ- ลีนตฺถวณณฺ นา ๑ อนฏุ กี าธมฺมสงคฺ ณี (ธมฺมปาล) - อภ.ิ อนุฏี. ๑ ขอ้ ๙๘๗ เอกสารประกอบการสอน วิชาพุทธปรชั ญาเถรวาท เรียบเรยี ง นายเตชทตั ปก๎ สังขาเนย์ ๑๔๐

มหาสตปิ ฏฺฐานสตุ ฺตวณฺณนา - เวทนานปุ สสฺ นาวณฺณนา -๑๐- สุมงคฺ ลวิลาสิน-ี อฏฐถกถา ๒ มหาวคคฺ -อฏฐฺ กถา (ที.) (พุทธฺ โฆส) - ที.อฏฺ. ๒ ข้อ ๓๘๐ สตฺตโม ปริจฺเฉโท. - อานาปานสสฺ ติกถา - วิสทุ ธฺ ิมคคฺ -ตปิ ฏิ กสงฺเขปอฏฐฺ กถา ๑ (พุทธฺ โฆส) - วสิ ทุ ฺธ.ิ ๑ ขอ้ ๒๓๖ วีสติโม ปรจิ ฺเฉโท. - อุปกฺกเิ ลสวิมตุ ตฺ อุทยพฺพยญาณกถา - วิสุทฺธิมคคฺ -ตปิ ฏิ กสงเฺ ขปอฏฺฐกถา ๒ (พุทธฺ โฆส) – วิสทุ ธฺ .ิ ๒ ขอ้ ๗๔๐ ขนธฺ วภิ งฺโค - กมาทิวินิจฺฉยกถา -๓๕- สมฺโมหวิโนทนี วิภงคฺ -อฏฺฐกถา (พุทฺธโฆส) - อภิ.อฏ.ฺ ๒ ขอ้ ๒๖ http://๘๔๐๐๐.org/tipitaka/attha/attha.php? มีอ้างถึงลักขณหาระในอรรถกถาวัตถูปมสตู ร ขอ้ ๘๙ สงคฺ ตี ิสตุ ฺตวณณฺ นา - ติกวณณฺ นา-๑๑- ลีนตถฺ ปปฺ กาสนา ๓ ปาถกิ วคฺคฏีกา (ธมมฺ ปาล) - ท.ี ฏ.ี ๓ ข้อ ๓๐๕ อายตนวภิ งฺโค - ๑. สตุ ตฺ นตฺ ภาชนียวณณฺ นา - -๓๕-อนุ- ลนี ตถฺ วณฺณนา ๒ อนุฏีกาวภิ งฺค์ (ธมมฺ ปาล) - อภ.ิ อนุฏี. ๒ ข้อ ๑๕๔ อายตนวิภงฺโค - ๑. สตุ ฺตนฺตภาชนยี วณณฺ นา - -๓๕-อนุ- ลีนตถฺ วณฺณนา ๒ อนุฏีกาวิภงคฺ ์ (ธมฺมปาล) - อภ.ิ อนุฏ.ี ๒ ขอ้ ๑๕๔ มหาหตถฺ ิปโทปมสุตฺตวณฺณนา -๑๒- (๒) - ปปํฺจสทู นี-อฏฐถกถา ๑ มลู ปณฺณาสก-อฏฺฐกถา ๒ (พทุ ฺธโฆส) – ม.อฏ.ฺ ๑ (๒) ขอ้ ๓๐๒ จูฬตณฺหาสงฺขยสุตฺตวณฺณนา -๑๒- (๒) - ปปํจฺ สทู นี-อฏฐถกถา ๑ มลู ปณฺณาสก-อฏฐฺ กถา ๒ (พทุ ฺธโฆส) – ม.อฏฺ. ๑ (๒) ข้อ ๓๙ แบบทดสอบบทที่ ๗ จานวน ๑๐ ขอ้ ๑. ขอ้ ใดกลา่ วถูกต้องทส่ี ุด เก่ียวกับไตรลักษณ์ ก. ลักษณะทัว่ ไป ข. ลักษณะสาธารณะ ค. ลกั ษณะทีเ่ สมอกนั ง. กฎท่ีอยู่ภายใต้ข้อกาหนดเดยี วกัน ๒. ไตรลักษณ์ มชี ่อื เรียกอีกอยา่ งหนึ่งวา่ อยา่ งไร ก. อรยิ กรธรรม ข. อริยธรรม ค. อรยิ สจั ธรรม ง. อรยิ มคั คธรรรม ๓. ขอ้ ใดกลา่ วถูกตอ้ งเกยี่ วกับ “ทุกขลักขณะ” ก. สภาพที่ไม่มตี วั ตน ข. สภาพที่ไม่คงที่ เอกสารประกอบการสอน วิชาพทุ ธปรัชญาเถรวาท เรยี บเรียง นายเตชทตั ป๎กสังขาเนย์ ๑๔๑

ค. สภาพท่ไี มส่ ามารถทนอยไู่ ด้ ง. สภาพทดี่ ารงอยู่อยา่ งถาวร ๔. “อนัตตลักขณะ” มีความหมายตรงกับขอ้ ใด ก. มีตัวตน แตไ่ ม่มตี วั ตน ข. ไม่มสี ภาพทีแ่ น่นอน ค. ทนต่อการบีบบังคับไม่ได้ ง. ความเป็นหนึ่งเดียวไมเ่ คลอื่ นออกไปไหน ๕. “สันตตี ปิดบังอนจิ จลักขณะ” คาว่า “สันตติ” มีความหมายตรงกับข้อใด ก. ความเกย่ี วพัน ข. ความเกี่ยวเน่อื ง ค. ความเป็นไป ง. สภาพทค่ี งอยู่ ๖. ข้อใดที่เกีย่ วข้องกับคาว่า “อิริยาบถปดิ บงั ทุกข-ลักขณะ” ก. ยายสาทาไร่ทุกวัน ข. ตาสนี ัง่ นานจึงลุกเดินออกกาลังกาย ค. ยายมชี อบทาบญุ ตักบาตร ง. ตามาสวดมนต์ไหวพ้ ระทุกวนั ๗. “ฆนะ สงิ่ ทเี่ นือ่ งกนั อยู่” หากเปรียบเทยี บกับวัตถุ นา่ จะเปน็ วัตถใุ ดต่อไปนี้ ก. เชอื ก ข. ตาขา่ ย ค. ลกู โซ่ ง. กงลอ้ ๘. ไตรลักษณ์ คือลักษณะอย่างไร ก. สภาพทั่วไปของ ทุกขัง อนิจจงั อนัตตา ข. สาเหตุทวั่ ไปของ ทกุ ขัง อนิจจงั อนัตตา ค. ทม่ี าของ ทุกขัง อนัจจัง อนตั ตา ง. เครื่องกาหนด ทกุ ขัง อนจั จัง อนตั ตา ๙. ใครตอ่ ไปนี้ กาหนดลักษณะของทุกข์ไดถ้ ูกต้องเหมาะสมทสี่ ุด ก. จ๋า มองเห็นยายป่วย ข. ฟ้า ร้สู กึ วา่ ความตายนา่ กลัว ค. รงุ้ บาดเจ็บเพราะขบั รถประมาท ง. ตน้ เมาไม่ไดส้ ติ ๑๐. หากมอี ารมณ์ทุกข์เกดิ ขึ้น เราควรทาอยา่ งไร ก. กาหนดวา่ ทกุ ข์หนอ ๆ ข. หาสาเหตุความทกุ ขน์ ้นั ค. ผ่อนคลายโดยการไปเทยี่ ว ง. ทาสมาธิให้จติ ใจสงบ เอกสารประกอบการสอน วชิ าพุทธปรัชญาเถรวาท เรียบเรียง นายเตชทัต ป๎กสงั ขาเนย์ ๑๔๒

แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี ๘ ๑. หัวข้อประจาบทที่ ๘ นิพพาน ๑.๑ ความนํา ๑.๒ ความหมายของพระนิพพาน ๑.๓ พระนพิ พานในทางพระพุทธศาสนา ๑.๔ การดาํ เนินเส้นทางเพ่ือบรรลพุ ระนพิ พาน ๑.๕ นิพพานมี ๒ ประเภท ๑.๕.๑ สอุปาทเิ สสนพิ พาน ๑.๕.๒ อนปุ าทเิ สสนิพพาน ๑.๕.๓ สัทธรรมอันตรธาน ๑.๖ สรุปสาระสําคญั ประจําบทที่ ๘ ๑.๗ คาํ ถามทบทวนประจาํ บทที่ ๘ ๑.๘ เอกสารอา้ งองิ ประจําบทที่ ๘ ๑.๙ แบบทดสอบทา้ ยบทที่ ๘ ๒. วัตถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม เมื่อศึกษาบทที่ ๘ จบแล้ว นกั ศึกษาสามารถ ๒.๑ อธิบายความหมายของนิพพาน ในทางพระพทุ ธศาสนา ๒.๒ สามารถวเิ คราะห์ กระบวนการเพอื่ การนําไปสกู่ ารบรรลุนพิ พาน ๒.๓ สามารถนําเอาหลักการท่ีเกี่ยวกับนิพพานท่ีปรากฏในทางพระพุทธศาสนาและเปรียบเทียบ ความหมายของนพิ พานในศาสนาอน่ื ๓. วิธกี ารสอน และกจิ กรรม ๓.๑. นักศึกษา ตั้งประเด็นป๎ญหา สอบถาม เร่ือง นิพพาน นําเอาประเด็นสําคัญมาวิเคราะห์ให้ได้ หลกั การทางวิชาการอันประกอบด้วยเหตุผลที่ควรเชื่อถือและนําไปปฏิบัติได้ โดยต้ังคําถามให้นักศึกษาแสดง ความคิดเห็นตามความต้องการของตนเอง แล้วสรุปโดยภาพรวม พร้อมท้ังต้ังป๎ญหาให้นักศึกษาไปค้นคว้า เพม่ิ เติม เอกสารประกอบการสอน วิชาพุทธปรชั ญาเถรวาท เรยี บเรียง นายเตชทัต ป๎กสังขาเนย์ ๑๔๓

๓.๒. ให้นักศึกษาทําใบงาน ในคําถามท้ายบทที่กําหนดให้ หรือ ผู้สอนคิดข้ึนมานอกเหนือจากท่ีมีใน เอกสาร ๓.๓. นําใบงานมาตรวจแล้วสรุปความคิดเห็นท่ีนักศึกษาแสดงความคิดเห็นเพ่ือเพิ่มเติมความเข้าใจ และนําประเด็นสําคญั มาหาขอ้ สรุปท่ถี กู ตอ้ งตามหลกั วิชาการ ๔. สอื่ การสอน ๔.๑. เอกสารประกอบการสอนวิชาพุทธปรัชญาเถรวาท และอ่ืนๆ ทีเ่ ก่ียวข้อง ๔.๒. ใบงาน ๔.๓. คอมพวิ เตอร์โปรแกรม Microsoft Power Point ๕. การวดั ผลและประเมนิ ผลการเรียน หน้าท่ี ๑๔๕ ๕.๑. สงั เกตจากการมสี ว่ นรว่ มในการทํากจิ กรรม หนา้ ที่ ๑๔๖ ๕.๒. สังเกตจากความสนใจฟ๎งและซักถาม หนา้ ที่ ๑๔๙ ๕.๓. จากการตรวจใบงานท่ใี ห้ทําในชั้นเรยี น หน้าท่ี ๑๕๘ ๖. แนะนาเนอื้ หาสาระประจาบทที่ทรงคุณค่าควรศกึ ษา ดงั นี้ ๖.๑ ความหมายของพระนิพพาน ๖.๒ พระนพิ พานในทางพระพทุ ธศาสนา ๖.๓ การดําเนนิ เส้นทางเพ่ือบรรลุพระนิพพาน ๖.๔ นิพพานมี ๒ ประเภท เอกสารประกอบการสอน วชิ าพทุ ธปรชั ญาเถรวาท เรยี บเรยี ง นายเตชทตั ป๎กสงั ขาเนย์ ๑๔๔

บทท่ี ๘ นพิ พาน (The extinction of all defilements and suffering) ความนา ในพระพุทธศาสนามีหลักการปฏิบัติ ที่เป็นลําดับขั้นตอน โดยสร้างศรัทธาความเช่ือ จากหลากหลาย วิธีการ ไม่ว่าจะเป็นเร่ืองของการช่วยเหลือแบ่งป๎นส่ิงของต่าง ๆ ให้ด้วยใจบริสุทธ์ิ เพื่อขจัดความตระหนี่ถ่ี เหนียว อันเป็นเบ้ืองต้นของการปฏิบัติตามแนวทางพระพุทธศาสนาแต่หากต้องการส่ิงท่ีย่ิงขึ้นไปอีกที่ เหนือกว่าการให้ทานโดยทั่วท่ีคนอื่นก็ทําได้ ก็มีการให้ถือปฏิบัติตามระเบียบของความดี ท่ีเป็นเสมือนรูปแบบ ของความดีที่อยู่คู่กับโลกมานาน คือการรักษาศีล ปฏิบัติธรรมรักษาจิตใจให้ดี ตามแบบพ้ืนฐานทางกาย แล้ว ค่อยน้อมปฏิบัติในระดับที่สูงขึ้นไปอีก โดยการเข้าใจสภาพของจิตใจตนเอง ระงับความต้องหรือความทะยาน อยากที่เรียกว่าตัณหา กิเลสเคร่ืองหมักดอกในจิต ชําระให้เกิดความบริสุทธ์ิ จนถึงขั้นบริสุทธิ์สูงสุด นั้นถือว่า ปฏิบตั ิถงึ ความเปน็ พระนพิ พาน เพราะพระนิพพานคือการกําจัดระงับ ทาํ ใจใหเ้ กดิ ความบรสิ ทุ ธ์ิ พระนิพพานอาจจะกล่าวว่า เป็นเปูาหมายสูงสุดของพระพุทธศาสนา ซ่ึงเป็นลักษณะนามธรรม จับ ต้องพิสูจน์ได้ยาก และการจะทําให้บรรลุถึงพระนิพพานต้องผ่านกระบวนการ ดังท่ีกล่าวมาแล้ว ถึงจะทําให้ บรรลุได้ แต่ในทางกลับกัน ตามหลักวิชาการ ยังวิเคราะห์พิจารณาค้นคว้าสภาพของพระนิพพานไม่ได้ พระ นิพพานจงึ อยเู่ หนือการบรรยาย และการจะอธิบายพระนิพพานนั้นจึงเป็นเรื่องยาก จึงต้องเข้าใจหลักการก่อน อยา่ งชดั เจน จึงสามารถอธิบายข้ันตอนตามหลักการทางวชิ าการได้ ในการศกึ ษาเรือ่ งของพระนพิ พานจงึ ต้องทําความเข้าใจ วิเคราะหห์ ลักการให้แจ่งแจ้งชัดเจน ก่อนที่จะ ขยายความให้ผ้อู ืน่ รับรู้ เพือ่ ไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดและความเสยี หายแก่พระพทุ ธศาสนาต่อไป ๑.๑ ความหมายของพระนิพพาน นพิ พาน หมายถงึ สภาพที่ดบั กเิ ลส และ กองทุกข์แล้ว ภาวะท่จี ติ มีความสงบสูงสุด เพราะไร้ทุกข์ ไรส้ ุข เป็นอิสรภาพสมบูรณ์ \"นิพพาน\" จากบาลี Nibbāna निब्बाि ประกอบด้วยศัพท์ นิ (ออกไป, หมดไป, ไม่มี) + วานะ (พัด ไป, ร้อยรัด) รวมเข้าด้วยกันแปลว่า ไม่มีการพัดไป ไม่มีส่ิงร้อยรัด คําว่า \"วานะ\" เป็นช่ือเรียก กิเลสตัณหา เอกสารประกอบการสอน วชิ าพุทธปรัชญาเถรวาท เรยี บเรียง นายเตชทตั ปก๎ สงั ขาเนย์ ๑๔๕

กล่าวโดยสรปุ นิพพานคือการไม่มีกิเลสตัณหาที่จะร้อยรัดพัดกระพือให้กระวนกระวายใจ อันเป็นจุดหมาย สงู สุดของพระพุทธศาสนา พระอนุรุทธาจารย์ ผู้รจนาคัมภีร์อภิธัมมัตถสังคหะ ได้พรรณนาคุณของนิพพานว่า ปทมจฺจุตฺ มจฺจนฺต อสงฺขตมนุตตฺ ร นพิ พฺ านมีติ ภาสนฺติ วานมตุ ฺตามเหสโย \"พระพุทธเจา้ ทั้งหลาย ผู้แสวงหาคุณอันย่ิงใหญ่ ผู้พ้น แล้วจากตัณหาเครือ่ งร้อยรดั ทรงตรัสถึงสภาวะธรรมชาติหนึ่งที่เข้าถึงได้ เป็นธรรมชาติท่ีไม่จุติ พ้นจากขันธ์ ๕ ไม่ถกู ปรุงแตง่ ด้วยปจ๎ จยั ใดๆ เลย หาสภาวะอ่นื เปรียบเทียบไมไ่ ด้ ว่าสภาวธรรมน้ันคือพระนิพพาน\" คัมภีร์พระไตรปฎิ ก ขทุ ทกนกิ าย อติ ิวตุ ตกะกลา่ วถงึ นิพพาน ๒ ประเภท คอื ๑) สอุปาทเิ สสนิพพานธาตุ นิพพานธาตุยังมีอปุ าทิเหลือ ยงั เก่ยี วขอ้ งกบั เบญจขันธ์ กล่าวคือดบั กเิ ลสแต่ ยังมเี บญจขันธเ์ หลือ ๒) อนปุ าทิเสสนิพพานธาตุ นพิ พานธาตุที่ไมม่ ีอปุ าทเิ หลือ หรอื นพิ พานที่ไม่เกี่ยวข้องกับเบญจขันธ์ กล่าวคอื ดบั กิเลสไม่มเี บญจขันธ์เหลืออย่อู ีก ๑.๒ พระนพิ พานในทางพระพุทธศาสนา สภาวะของนพิ พานจากหลกั ฐานในพระไตรปิฎก คาํ วา่ \"นพิ พาน\" เปน็ คาํ ท่ีใช้กันในปรชั ญาหลายระบบในอนิ เดีย โดยใช้ในความหมายของความหลุดพ้น แตก่ ารอธิบายเก่ียวกับสภาวะของนิพพานนน้ั แตกตา่ งกนั ออกไป ในปรัชญาอุปนิษัทเชื่อว่า นิพพานหรือโมกษะ คือการทอี่ าตมนั ยอ่ ยหรือชีวาตมนั เข้ารวมเป็นเอกภาพกับพรหมัน แต่ในพระพุทธศาสนาอธิบายว่า นิพพานคือ การหลุดพ้นจากอวิชชา ตัณหา ซ่ึงแสดงออกในรูปของโลภะ โทสะ และโมหะ มิได้หมายความว่าเป็นการหลุดพ้นของอัตตาหรือตัวตน ในโลกนี้ ไปสู่สภาวะของนิพพานเช่นเดียวกับคําสอนอุปนิษัท แต่ หมายถึงความดับสนิทแหง่ ความเรา่ ร้อนและเคร่ืองผูกพันร้อยรัดท้ัง ปวง ซึง่ เรียกว่าเปน็ ความทกุ ข์ คัมภีร์พระพุทธศาสนาโดยเฉพาะของฝุายเถรวาท ระบุไว้ ชัดเจนว่า \"นิพพานอันว่างจากตน\" \"นิพพานเป็นอนัตตา\" เช่น ใน คัมภีร์พระวินัยปิฎก ปริวารระบุว่า อนิจฺจา สพฺพสงฺขารา ทุกฺขา- นตฺตา จ สงฺขตา นิพฺพานญฺเจว ปณฺณตฺติ อนตฺตา อิติ นิจฺฉยา \"สังขารท้ังปวงอันป๎จจัยปรุงแต่ง ไม่เท่ียง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา นิพพานและบญั ญตั ิเปน็ อนัตตา วนิ ิจฉัยมดี งั น\"ี้ ๑ ๑ ว.ิ ป.บาลี ๘/๒๕๗/๑๙๔. เอกสารประกอบการสอน วิชาพุทธปรชั ญาเถรวาท เรียบเรยี ง นายเตชทัต ป๎กสังขาเนย์ ๑๔๖

นิพพานก็อยู่ใน อริยสัจจ์ ๔ ด้วย คือเป็นจุดหมายของพระพุทธศาสนา ได้แก่ อริยสัจจ์ข้อ ๓ ที่เรียกว่า \"นิโรธ\" คําว่านิโรธน้ีเป็น ไวพจน์ คือใช้แทนกันได้กับ \"นิพพาน\" พระไตรปิฎกเล่ม ๓๑ ระบุว่าอริยสัจจ์ ๔ ทั้งหมดซ่ึงรวมทั้งนิโรธ คือนิพพาน ด้วยนั้น เป็นอนัตตา ดังน้ี อนตฺตฏฺเฐน จตฺตาริ สจฺจานิ เอกปฏิเวธานิ . . . นิโรธสฺส นิโรธฏฺโฐ อนตฺตฏฺโฐ. ๒ แปลว่า: \"สัจจะท้ัง ๔ (ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค) มีการตรัสรู้ด้วยกันเป็นอัน เดียว (คือด้วยมรรค ญาณเดียวกัน) โดยความหมายว่าเป็นอนัตตา . . . นิโรธมีความหมายว่าดับ (ทุกข์) ก็มี ความหมายว่า เป็นอนัตตา \" อรรถกถาอธิบายว่า อนตฺตฏฺเฐนาติ จตุนฺนมฺปิ สจฺจานํ อตฺตวิรหิตตฺตา อนตฺตฏฺ เฐน. ๓ ในพระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรคระบุว่า \"สังขารทั้งปวงไม่เท่ียง ธรรมท้ังปวงเป็น อนัตตา\" และในอังคุตตรนิกาย ติกนิบาตมีระบุว่า \"สังขารทั้งปวงไม่เท่ียง สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ ธรรมท้ังปวง เป็นอนัตตา\" ซึ่ง \"ธรรม\" ในท่ีน้ีพระอรรถกถาจารย์อธิบายต่อว่า \"หมายรวมถึงนิพพานด้วย\" นอกจากนี้ ยังมี ขอ้ ความในคัมภีร์พระไตรปิฎกอีกหลายแห่งทั้งท่ีระบุโดยตรงและโดยอ้อมที่มีนัยบอกว่า \"นิพพานเป็นอนัตตา\" คาํ วา่ \"อนตั ตา\" มีความหมายระดับปรมตั ถ์ มีนัยที่ต้องไขความต่ออีก โดยเฉพาะในคัมภีร์ช้ันหลังจะบอกว่า \"ท่ี ชื่อว่าเป็นอนัตตา เพราะเกิดขึ้นจากองค์ประกอบต่าง ๆ มาประชุมกัน ไม่มีตัวตนที่เป็นแก่นเป็นแกนอยู่ ไม่มี ตัวตนท่ีคงท่ี ไมม่ ีผสู้ รา้ ง ไมม่ ผี ูเ้ สวย ไมม่ ีอาํ นาจในตัวเอง บังคบั ให้เปน็ ไปในอํานาจไม่ได้ แย้งต่ออตั ตา\" ในคัมภีร์มิลินทปัญหา พระนาคเสนทูลแก้ป๎ญหาของพระยามิลินท์ที่ทรงถามว่า ถ้านิพพานไม่มีท่ีตั้ง อาศัย นพิ พานก็ยอ่ มไม่มี โดยกราบทลู วา่ \"ขอถวายพระพรมหาบพิตร โอกาสอันเป็นท่ีต้ังของนิพพานหามีไม่ แต่นิพพานน้ันมีอยู่ พระโยคาวจรผู้ ปฏิบัติชอบ ย่อมทําให้แจ้งนิพพาน ด้วยการพิจารณาโดยอุบายอันแยบคาย มหาบพิตร เหมือนด่ังว่าชื่อว่าไฟ ย่อมมีอยู่ แต่โอกาสอันเป็นท่ีตั้งของไฟนั้นหามีไม่ เม่ือบุคคลเอาไม้สองอันมาขัดสีกันก็ย่อมได้ไฟขึ้นมาฉันใด มหาบพติ ร นพิ พานกม็ ีอยฉู่ ันนน้ั นั่นแล โอกาสอนั เป็นที่ต้ังของนิพพานนั้นไม่มี (แต่) พระโยคาวจรผู้ปฏิบัติชอบ ยอ่ มทาํ นพิ พานใหแ้ จ้งดว้ ยการพจิ ารณาโดยอุบายอันแยบคาย...\"๔ ในคมั ภีร์รุ่นอรรถกถา ยังมีข้อความแสดงสภาวะของนิพพานอีกหลายแห่ง เช่นในปฏิสัมภิทามรรค มี อธิบายว่า “นพิ ฺพานธมโฺ ม อตตฺ สฺเสว อภาวโต อตฺตสุํฺโญ” \"ธรรมคือนิพพาน ว่างจากอัตตา เพราะไม่มีอัตตา\" ๕ นอกจากน้ีในวิสุทธิมรรค พระพุทธโฆสะพยายามอธิบายให้เห็นถึงความไม่มีตัวตนของผู้ได้ชื่อว่าบรรลุ นพิ พาน ซ่ึงเท่ากับว่าไม่มีอัตตา และนิพพานก็มิใช่ส่ิงที่จะต้องมีอัตตาถึงจะมีอยู่ได้ ดังที่พระพุทธโฆสะกล่าวว่า ๒ ขุ. ปฏิ. ๓๑/๕๔๖/๔๕๐. ๓ ปฏสิ ํ. อ.๒/๒๒๙. ๔ มิลนิ ทฺ . หน้า ๓๓๖. ๕ ขุ.ป. อ.๒/๒๘๗. เอกสารประกอบการสอน วิชาพทุ ธปรัชญาเถรวาท เรยี บเรยี ง นายเตชทัต ป๎กสังขาเนย์ ๑๔๗

\"นพิ พานมีอยู่ แต่ไม่มีผเู้ ขา้ ถึงนพิ พาน มรรคามีอยู่ แต่ปราศจากผู้ดาเนินไป\"๖ ข้อความน้ีแสดงให้เห็นว่า ไม่ มีตัวตนบุคคลใด ๆ ที่ปฏิบัติตามมรรค ๘ แล้วบรรลุนิพพาน เมื่อปราศจาก \"ตัวตน\" ของผู้เข้าถึงนิพพาน นิพพานกย็ ่อมไม่ใช่อัตตาไปดว้ ย ความมีอยู่ของพระนิพพาน มิใช่สภาวะที่เกิดจากการสร้างสรรค์ของจิต แต่มีอยู่โดยตัวของตัวเอง คือ เป็นความจริงข้ันปรมัตถสัจ ท่ีตรงข้ามกับสมมติสัจในโลกแห่งปรากฏการณ์ มีสภาวะที่เที่ยง ไม่ใช่ส่ิงที่เกิดดับ สลับกันไปแบบส่ิงต่างๆ ในโลก นิพพานจึงเป็นอสังขตธรรมท่ีพ้นไปจากป๎จจัยปรุงแต่ง ในสภาวะของนิพพาน ทง้ั นาม (จติ ) และรปู ยอ่ มดับไม่เหลอื ดงั พทุ ธวจนะในเกวฏั ฏสตู ร ทฆี นิกาย สีลขันธวรรค ได้กล่าวถึงนิพพาน วา่ เป็น \"ธรรมชาตทิ ่รี แู้ จ้ง ไม่มีใครช้ีได้ ไม่มีท่ีสุด แจ่มใสโดยประการท้ังปวง ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ และ วาโยธาตุ ย่อมต้ังอยู่ไม่ได้ในธรรมนี้ อุปาทยรูปที่ยาวและสั้น ละเอียดและหยาบ ที่งามและไม่งาม ย่อมต้ังอยู่ ไม่ได้ในธรรมนี้ นามและรูปย่อมดับไม่มีเหลือในธรรมชาตินี้ เพราะวิญญาณดับ นามและรูปย่อมดับ ไม่มี เหลือในธรรมชาติ ดังน้ีฯ\" ๗ เพราะฉะน้ัน นิพพานจึงไม่ใช่จิต หรือสัมปชัญญะบริสุทธิ์ ซึ่งนั่นเป็นลักษณะของ พรหมมนั หรอื อาตมันของปรัชญาฮนิ ดู ท้ังยังไม่ใช่เจตสิกที่อาศัยจิตเกิดข้ึน เพราะทั้งจิตและเจตสิกน้ันล้วนเป็น สังขตธรรม ซึ่งต้องอาศัยป๎จจัยปรุงแต่ง มีธรรมชาติเกิดดับ มีการเปลี่ยนแปร เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป เช่นเดยี วกบั สิง่ อื่นๆ แตน่ พิ พานอยู่เหนือสภาพเชน่ น้ี และว่างเปลา่ จากสิง่ เหล่าน้ี ขณะเดียวกัน นิพพานก็ไม่ใช่ ความดบั สญู อย่างสิ้นเชิง ซงึ่ เป็นลักษณะของอจุ เฉททฏิ ฐิการใช้ภาษาอธิบายนิพพานเป็นสิ่งที่ต้องกระทําอย่าง รัดกุม เพ่ือปูองกันการเข้าใจผิดว่าเป็นอัตตาเท่ียงแท้ (สัสสตทิฏฐิ) หรือว่าเป็นความขาดสูญ (อุจเฉททิฏฐิ) ซ่ึง เปน็ ทศั นะที่คลาดเคลอ่ื นจากพระบาลที งั้ สน้ิ พระพุทธเจา้ ไมเ่ คยทรงอธิบายว่า พระอรหนั ต์ผบู้ รรลุนิพพานเมื่อดับขันธ์แล้วจะอยู่ในสภาพเช่นใด การ อธิบายทําได้ในลักษณะเพียงว่า นิพพานคือการดับทุกข์ ส้ินตัณหา เหมือนไฟท่ีดับจนสิ้นเช้ือไม่สามารถที่จะ ลุกลามขึ้นมาได้อีก สําหรับพระอรหันต์ที่ปรินิพพานแล้วนั้น พระพุทธองค์ไม่ทรงตรัสยืนยันถึงความมีอยู่หรือ ความดับสูญ พระองคต์ รสั แต่เพยี งว่า เมื่อพระองค์ปรินิพพานแล้ว ทั้งเทวดาและมนุษย์จะไม่สามารถเห็นพระองค์อีกต่อไป \"ดูกร ภิกษุ ทัง้ หลาย กายของตถาคต มีตัณหาอันนําไปสู่ภพขาดแล้ว ยังดํารงอยู่ เทวดาและมนุษย์ทั้งหลายจักเห็นตถาคต ชั่วเวลาทีก่ ายของตถาคตยงั ดาํ รงอยู่ เม่ือกายแตกสิ้นชีพแลว้ เทวดาและมนษุ ยท์ ัง้ หลายจักไมเ่ หน็ ตถาคต\"๘ ในคาํ สอนพระพทุ ธศาสนา ไม่มีอตั ตาใดเข้าสู่นิพพาน และไม่มีอัตตาดับสูญในภาวะแห่งนิพพาน แม้ ในโลกแห่งปรากฏการณ์ เบื้องหลังเบญจขันธ์อันไม่เท่ียงนั้น ก็มิได้มีอัตตาซึ่งเป็นผู้รับรู้หรือเป็นพ้ืนฐานแห่ง ตัวตนท่ีเที่ยงแท้อยู่ ทุกสิ่งทุกอย่างในโลกอยู่ในรูปของกระบวนการท่ีเกิดข้ึน ตั้งอยู่ ดับไป ทั้งรูปธรรมและ ๖ วิสุทธฺ .ิ ๓/๑๐๑. ๗ ที.สี.๑๔/๓๕๐. ๘ ที.สี.๑๔/๙๐. เอกสารประกอบการสอน วชิ าพทุ ธปรชั ญาเถรวาท เรียบเรยี ง นายเตชทัต ป๎กสังขาเนย์ ๑๔๘

นามธรรม กระบวนการแห่งนามรูปที่สมมติว่าเป็น ตัวตน สัตว์ บุคคล เราเขา นี้ เม่ือวิวัฒนาการไปจนกระท่ัง ถึงที่สุด ความเกิดข้ึน ตั้งอยู่ ดับไปก็เป็นอันยุติลง สภาพความสิ้นสุดกระบวนการแห่งนามรูปที่ไม่เที่ยง แปรปรวนอยู่ทกุ ขณะนี้ เรยี กว่านพิ พาน เมอื่ รูปและนามดับ นิพพานจงึ ไมใ่ ชท่ งั้ จิตและสสารซ่ึงต้องอาศัยเหตุ ปัจจยั ในการดารงอยู่ พระนพิ พานตง้ั อยู่โดยไมต่ อ้ งอาศยั เหตุปจ๎ จัย จึงเรียกว่า อสังขตธรรมในพระไตรปิฎกมัก เปรยี บนิพพานวา่ เหมือนกับไฟท่ีดับแลว้ ไม่สามารถบอกได้ว่าไฟทดี่ ับไปน้ันหายไปไหนหรืออยูใ่ นสภาพใด นิพพานเป็นธรรมที่พ้นไปจากโลก การอธิบายนิพพานโดยอาศัยพ้ืนฐานในทางโลกตลอดจนภาษาทาง ตรรกวิทยาจึงไม่อาจกระทําได้ การจํากัดความจึงมักใช้การปฏิเสธทุกสิ่งทุกอย่าง เช่น ไม่ใช่ทั้งสิ่งนั้นและส่ิงนี้ ไม่มีการอุบัติ ไม่มีการจุติ ไม่มีองค์ประกอบ ไม่มีการสร้างสรรค์ ไม่มีการแตกทําลาย ไม่ใช่ดิน น้ํา ไฟ ลม เป็น ต้น ดังปรากฏในพาหิยสูตร ความว่า \"ดิน น้า ไฟ และลม ย่อมไม่หยั่งลงในนิพพานธาตุใด ในนิพพานธาตุน้ัน ดาวท้ังหลายย่อมไม่สว่าง พระอาทิตย์ย่อมไม่ปรากฏ พระจันทร์ย่อมไม่สว่าง ความมืดย่อมไม่มี ก็เม่ือใด พราหมณ์ชอ่ื ว่าเป็นมุนีเพราะรู้ (สัจจะ ๔) รู้แล้วด้วยตนเอง เมื่อนั้นพราหมณ์ย่อมหลุดพ้นแล้วจากรูปและอรูป จากความสุขและความทุกข์...\"๙ เม่ือนิพพานพ้นไปจากบัญญัติในทางโลก การอธิบายถึงนิพพานจึงเป็นเพียงการเปรียบเทียบ เช่น เปรียบเทยี บกบั ความว่างเปลา่ หรือไฟท่ดี บั ไป เป็นต้น ในวิสุทธิมรรคกล่าวว่า \"เพราะพระนิพพานเป็นคําสุขุม นัก...เป็นธรรมที่ต้องเห็นด้วยอริยจักษุ เป็นธรรมอันบุคคลผู้เพียบพร้อมด้วยมรรค (เท่านั้น) จะพึงถึงได้\" นิพพานจงึ มิใชเ่ ร่ืองของการเข้าใจ แต่อยูท่ ่ีการเขา้ ถึง อันเป็นผลจากการปฏิบตั ธิ รรมของตนเอง ๑.๓ การดาเนนิ เสน้ ทางเพือ่ บรรลุพระนิพพาน ในทางพระพทุ ธศาสนามีขัน้ ตอนและวธิ ีการกระทาไดด้ ังน้ี ๑. สมาธิ คืออะไร สมาธิ คือ อารมณ์จิตมีความฉลาดต้ังม่ันอยู่ในกรรมฐาน ๔๐ ตั้งมั่นอยู่ในมหาสติป๎ฏฐานสูตร อันใด อนั หนงึ่ ใน ๔๐ อย่างนัน้ ๒.จิตตง้ั มน่ั หมายความวา่ อยา่ งไร หมาย ความว่า มีสติความรู้อยู่ตลอดเวลากับลมหายใจเข้าออก โดยที่จิตไม่วอกแวกไม่ฟุูงซ่านไปสู่ อารมณ์อ่นื ๆ นอกจากรู้ลมหายใจเขา้ ออก หรือกรรมฐานอยา่ งใดอยา่ งหนึ่งช่วั เวลาใดเวลาหนึ่ง เรียกว่า มีสมาธิ คือ จิตตงั้ มัน่ เป็นหนึ่งเดยี วไมส่ า่ ยไปสา่ ยมา ๓.อะไรเปน็ ลกั ษณะ อะไรเปน็ รส อะไรเปน็ อาการปรากฏ และอะไรเปน็ ผลของสมาธิ ตอบ ๑. ความไม่ฟุูงซ่าน เปน็ ลกั ษณะของสมาธิ ๙ ขุ.ข.ุ อ.๒๕/๕๐. เอกสารประกอบการสอน วิชาพุทธปรัชญาเถรวาท เรยี บเรียง นายเตชทตั ปก๎ สังขาเนย์ ๑๔๙

๒. ความมีพลังจิตเปน็ หนงึ่ เป็นรสของสมาธิ ๓. ความไม่หว่นั ไหว ไม่หวาดกลัว เปน็ อาการปรากฏของสมาธิ ๔. ความสุข สงบ สดชืน่ เปน็ ผลของสมาธิ ๔ สมาธิ มกี ี่อยา่ ง สมาธิมี ๒ คือ ๑. มิจฉาสมาธิ สมาธฝิ าุ ยดาํ ฝาุ ยทาํ ลายลา้ งกัน ฝาุ ยเพ่ิมทุกข์ ไสยศาสตร์เป็นตน้ เปน็ ฝาุ ยไม่ ฉลาดมอี วิชชา ตัณหา อุปทาน ตายไปจติ ก็ไปรับโทษทกุ ข์ทรมานในนรก ๒. สัมมาสมาธิ สมาธิฝาุ ยขาว ฝุายฉลาด ฝาุ ยเมตตา คอื พทุ ธศาสตร์ ฝาุ ยเขา้ กระแสนิพพาน ฝาุ ยเพ่ิมความสุขกาย ใจเป็นบุญกศุ ล มหี ลายแบบคอื ๑. ขนกิ สมาธิ ๒. อปุ จารสมาธิ ๓. อัปปนาสมาธิ (ฌาณ) ๔. โลกตุ ตระสมาธิ (ญาณ) อารมณ์สมาธิแบง่ ตามระดับขนั้ องค์ฌานท้งั ๕ คอื ๑. ปฐมฌาน มอี าการของจติ ๕ อยา่ ง คือ มวี ิตก วจิ าร ปีติ สขุ เอกัคคตาสมาธิ ข้อสงั เกต ลมหายใจเบาลงในเยือกเย็นสบายไม่มีความราํ คาญในเสยี งรอบนอก ๒. ทุติยฌาน มีอาการของจิต ๔ อยา่ ง คือ วิจาร ปตี ิ สุข เอกัคคตาสมาธิ ลมหายใจชา้ ลง เบาลงมากจติ เปน็ สุขชมุ่ ช่นื ไม่ค่อยสนใจรู้ลมเข้าลมออก ๓. ตตยิ ฌาน มอี าการของจติ ๓ อยา่ ง คือ ปีติ สขุ เอกัคคตาสมาธิ สงั เกตงา่ ยข้นึ ลมหายใจ นอ้ ยลงๆ ร่างกายคล้ายตึงเหมือนโดนมัดแน่น่งิ ไม่กระดุกกระดกิ อารมณ์แนบสนทิ ๔. จตตุ ถฌาน มีอาการของจติ ๒ อย่าง คือ สขุ เอกัคคตาสมาธิ จิตนง่ิ เปน็ หนงึ่ ลมหายใจ ละเอียดจนไม่รู้สกึ วา่ หายใจ จิตแยกจากกายจนไมร่ ้สู กึ วา่ หายใจ หูไดย้ ินเสียงขา้ งนอก เบามาก ๕. ปญ๎ จมฌาน มีอาการของจติ ๒ อยา่ ง คอื อุเบกขา และจิตน่งิ เป็นหนึง่ เดียว จิตแยกจาก กายไม่มคี วามรูส้ ึกทางกายเลยไมไ่ ด้ยินเสยี งจติ มคี วามสุขแน่นงิ่ และวางเฉย ๕. อะไรเป็นความเศรา้ หมองของสมาธิ กิเลสนวิ รณ์ ๕ มี กามราคะ ปฏิฆะ ความฟงุู ซา่ น ความหงดุ หงิดราํ คาญใจ ความเกยี จครา้ น ง่วงเหงา หาวนอน เป็นความเศร้าหมองของสมาธิ เอกสารประกอบการสอน วชิ าพทุ ธปรชั ญาเถรวาท เรียบเรียง นายเตชทตั ป๎กสงั ขาเนย์ ๑๕๐

๖. อะไรคอื ความผ่องแผ้วเบิกบานของสมาธิ ความ สขุ ในการเข้าใจในธรรมชาตขิ องกาย และจติ เป็นคนละสว่ นกนั เปน็ คณุ วเิ ศษทาํ ใหจ้ ติ สะอาด ฉลาดเข้าถึงกระแสพระนิพพานไดไ้ ม่ยากเลย เปน็ จติ ท่ีอย่ใู นฌานมีความสขุ สดชืน่ เบิกบาน ๗.สมาธิน้นั จะพงึ เจรญิ อย่างไร ตอบ วิธภี าวนาสมาธิ เรม่ิ แรกใหต้ ัดเครอื่ งกังวล ๑๐ ประการออกจากจิตใจ ไม่กังวลเร่อื งที่อย่อู าศยั ไมก่ ังวลเรื่องชาติตระกลู ไมห่ ว่ งใยเรื่องลาภสักการะ ไมห่ ่วงใยเร่ืองหมู่คณะ ไม่กังวลเรือ่ งการงานทยี่ งั ทําไมเ่ สร็จ ไมก่ ังวลเร่อื งการเดินทาง ไม่กังวลเร่อื งญาติครอบครวั \\ไม่กงั วลเรอื่ งโรคภยั ไข้เจบ็ ไมก่ งั วล เรือ่ งการเล่าเรียน ไม่กังวลเร่อื งการแสดงอิทธิฤทธ์ิความดีความเด่นไมส่ นใจในความสขุ ทางโลก เพราะเปน็ ของ ชว่ั คราว ๘. สมาธกิ รรมฐาน ๒ อยา่ ง ท่ีตอ้ งทาตลอดเวลาคืออะไร ตอบ ๑. สมาธิกรรมฐานในการแผเ่ มตตาตลอดเวลา แผ่ใหต้ นเอง ผูอ้ ื่นทง้ั โลกทว่ั จกั รวาลท่วั ๓ โลก คอื นรกโลก มนุษยโ์ ลก เทวโลก ให้มคี วามสขุ ความเจรญิ ๒. มรณานสุ ติกรรมฐาน ระลกึ นึกถึงความตายทุกลมหายใจเข้าออกเปน็ การไมป่ ระมาทตาม พระผมู้ พี ระภาคเจ้าทรงสอนไว้จริยา หรือจริต หรอื อปุ นิสัยของคนมี ๖ ประเภท ๑. ราคะจรติ มนี ิสัยรักความเปน็ ระเบียบงดงาม รักความสวยงาม ๒. โทสะจรติ เป็นคนมนี สิ ัยโมโหหงุดหงดิ งา่ ยชอบทาํ อะไรเร็วไว ๓. โมหะจริต ชอบหลงรักง่ายๆ ๔. ศรัทธาจรติ เป็นคนว่างา่ ยสอนง่ายเช่ือฟ๎งงา่ ยไมด่ ื้อ ๕. พุทธะจริต มีนสิ ยั อยากรู้ อยากเห็น อยากพสิ ูจน์ชอบคน้ ควา้ ๖. วิตกจริต เป็นคนชอบคดิ มาก วิตกกงั วลด้วยเรือ่ งเลก็ เรอ่ื งใหญ่เก็บมาคดิ ท้ังหมด การ ท่ีจะเรียนปฏิบัติกรรมฐาน ๔๐ วิธี ผู้ปฏิบัติ หรืออาจารย์ผู้สอนศิษย์ควรจะรู้อารมณ์อุปนิสัยของ ตนเอง หรือลูกศิษย์เสียก่อน ถ้าไม่แน่ใจว่ามีจริตอะไรมากกว่าจริตอื่นๆ ใน ๖ จริต ก็ให้เรียนพระกรรมฐาน แบบกลางๆ เหมาะกบั อปุ นิสัยจริตทุกอย่าง เร่ืองกรรมฐานกับจริตมีความสําคัญมาก ถ้าไปปฏิบัติไม่ถูกจริตจะ ไมก่ ้าวหน้าทางธรรม ทําใหถ้ งึ จุดหมายปลายทางพระนพิ พานช้ามาก คือ ต้องเวยี นว่ายตายเกดิ ตอ่ ไป ๙. กรรมฐาน ๔๐ แบง่ เปน็ ๗ หมวดคอื ๑. กสณิ กรรมฐาน ๑๐ อยา่ ง เอกสารประกอบการสอน วิชาพทุ ธปรัชญาเถรวาท เรยี บเรียง นายเตชทัต ป๎กสังขาเนย์ ๑๕๑

๒. อสภุ กรรมฐาน ๑๐ อยา่ ง ๓. อนสุ สติกรรมฐาน ๑๐ อยา่ ง ๔. พรหมวหิ ารกรรมฐาน ๔ อยา่ ง ๕. อรูปกรรมฐาน ๔ อยา่ ง ๖. อาหาเรปฏกิ ลู สัญญา ๑ อยา่ ง ๗. จตธุ าตวุ วฏั ฐาน ๑ อย่าง รวมท้ัง ๗ หมวดเป็น ๔๐ อยา่ งพอดี นักปฏิบัติเพื่อฌานโลกีย์ หรือเพื่อมรรคผลนิพพานก็ตาม ควรรู้อาการ หรืออารมณ์ หรือจริตอุปนิสัย ของจิต เพราะเป็นผลดีมีกําไรในการปฏิบัติเพ่ือการละกิเลสตัณหาอุปาทานได้รวดเร็ว สมาธิก็ต้ังม่ันวิป๎สสนา ญาณจะแจ่มใส มรรคผลนพิ พานกป็ รากฏเร็วไว ๙.๑ กสิณกรรมฐาน ๑๐ อย่าง คือ กสิณ แปลว่า เพง่ เปน็ สภาพหยาบ สาํ หรับใหผ้ ฝู้ ึกจบั ให้ติดตาติดใจ ให้จิตใจจับอย่ใู นกสณิ ใดกสณิ หนึ่ง ใน ๑๐ อย่าง ใหม้ ีอารมณ์เปน็ หนง่ึ เดยี ว จติ จะได้อยู่นง่ิ ไม่ฟูุงซา่ น มีสภาวะใหจ้ ติ จับง่ายมีการทรงฌานถึงฌาน ๔ ไดท้ ้งั หมด กสณิ ท้งั ๑๐ เปน็ พ้ืนฐานของอภิญญาสมาบตั ิกสิณท้ัง ๑๐ อยา่ ง แบง่ ออกเป็น ๒ พวก พวกท่ีหนึ่ง คือ กสิณกลาง มี ๖ อย่าง คนทุกจริตฝึกกสิณได้ท้ัง ๖ เพราะเหมาะกับทุกอารมณ์ ทุก อปุ นสิ ยั ของคน ๑. ปฐวกี สณิ จติ เพ่งดิน นึกถงึ ภาพดิน ภาวนาวา่ ปฐวี กสณิ ังๆๆๆ ๒. เตโชกสณิ จติ เพง่ ไฟ นึกถงึ ภาพไฟ ภาวนาวา่ เตโช กสณิ งั ๆๆๆ ๓. วาโยกสณิ จิตเพง่ อยูก่ ับลม นกึ ถึงภาพลม ภาวนาวา่ วาโย กสิณงั ๆๆๆ ๔. อากาสกสิณ จิตเพ่งอยู่กบั อากาศ นึกถึงอากาศ ภาวนาวา่ อากาส กสิณงั ๆๆๆ ๕. อาโลกสณิ จติ เพ่งอยู่กบั แสงสวา่ ง นกึ ถึงแสงสว่าง ภาวนาวา่ อาโลก กสณิ งั ๆๆๆ ๖. อาโปกสณิ จติ นึกถึงนํ้าเพง่ นํ้าไว้ ภาวนาวา่ อาโป กสณิ งั ๆๆๆ ให้เลอื กภาวนากสิณใดกสิณหน่งึ ให้ได้ถึงฌาน ๔ หรอื ฌาน ๕ กสณิ อื่นๆ ก็ทําได้งา่ ยทง้ั หมด พวกท่สี องคือกสณิ เฉพาะอุปนสิ ยั หรือเฉพาะจรติ มี ๔ อย่าง สําหรบั คนโกรธง่าย คอื พวกโทสจรติ ๗. โลหิตกสิณ เพ่งกสณิ หรือนิมติ สแี ดงจะเป็นดอกไม้แดง เลือดแดง หรือผา้ สีแดงก็ได้ท้ังนั้นจติ นึก ภาพสแี ดงแลว้ ภาวนาว่า โลหติ กสิณังๆๆๆ ๘. นีลกสณิ ตาดูสีเขียวใบไม้ หญ้า หรอื อะไรก็ได้ท่ีเป็นสเี ขียว แลว้ หลบั ตาจติ นกึ ถึงภาพสเี ขียว ภาวนาวา่ นีล กสณิ งั ๆๆๆ ๙. ปีตกสณิ จติ เพง่ ของอะไรก็ไดท้ เ่ี ปน็ สีเหลือง ภาวนาว่า ปีต กสณิ งั ๆๆๆ ๑๐. โอทากสณิ ตาเพ่งสีขาวอะไรก็ไดแ้ ล้วแตส่ ะดวก แล้วหลบั ตานกึ ถึงภาพสีขาว ภาวนาโอทา เอกสารประกอบการสอน วชิ าพทุ ธปรัชญาเถรวาท เรียบเรยี ง นายเตชทตั ปก๎ สังขาเนย์ ๑๕๒

กสณิ งั ๆๆๆ จนจิตมอี ารมณ์เป็นหนึ่งไม่วอกแวกไม่รลู้ มหายใจภาพกสิณชดั เจน ทา่ นวา่ จติ เข้าถึงฌาน ๔ พอถึงฌานท่ี ๕ กเ็ ปน็ จติ เฉยมอี เุ บกขาอย่กู ับภาพกสณิ ต่างๆ ที่จิตจบั เอาไว้ ๙.๒ อสภุ ะกมั มฏั ฐาน ๑๐ อยา่ ง อสภุ ะกรรมฐาน ที่องค์สมเดจ็ พระบรมโลกนาถศาสดาสัมมนาสัมพุทธเจ้า ทรงแนะนําไว้สําหรับคนท่ีมี นสิ ัยรกั สวยรักงาม หรือราคะจริตเพ่อื จะได้ทาํ ลายลา้ งกิเลสความหลงคดิ วา่ กายคนบ้านช่องเรือนโรง โลกน้ีสวย สดงดงาม ถ้าหากนักปฏิบัติพิจารณา อสุภกรรมฐานได้จนจิตเป็นหนึ่ง คือ เอกัคตารมณ์ หรืออารมณ์เป็นหนึ่ง เดียวจนเป็นฌาน ๔ เป็นปกติก็เป็นเหตุป๎จจัยเข้าถึงพระอนาคามีได้โดยง่าย และถึงอรหัตผลได้รวดเร็ว อสุภ กรรมฐาน คอื พิจารณากายคน สัตวเ์ ปน็ ซากศพทัง้ หมด ๑๐ ชนดิ คอื หลังตายแล้ว ๑๐ วนั นน่ั เอง คือ กรรมฐานที่ ๑๑ ถงึ กรรมฐานที่ ๒๐ คือ ๑๑. อทุ ธุมาตกอสุภ หลังตายวันที่ ๑ ซากศพตวั แข็ง เย็นชืด ขาดธาตไุ ฟธาตลุ ม ๑๒. วินีลกอสุภ หลงั ตายวนั ท่ี ๒ ซากศพเริ่มบวมพอง เปน็ สีเขียว ๑๓. วิปพุ พกอสภุ หลังตายวันท่ี ๓ ซากศพพองมากขน้ึ ชกั มีกล่นิ ตๆุ จากเนา่ มีหนองบวม ๑๔. วิฉิททกอสุภ หลังตายวันที่ ๔ พิจารณาซากศพเน้ือหนังปริ ลิ้นจุกปาก นํ้าเลือด นํ้าหนองไหล ออกทว่ั ตวั เพราะเน้อื หนังเริ่มแตกแยก ๑๕. วิกขายติ กอสุภ หลงั ตายวันท่ี ๕ เหมน็ ส่งกลิน่ ตลบ เพราะแขนขากระจุยกระจายแตกแยกหมด ๑๖. วิกขิตตกอสุภ ศพหลงั ตายวันที่ ๖ ซากศพเร่ียราดไมเ่ ป็นช้นิ เปน็ ท่อนเหมน็ เนา่ ๑๗. หตวกิ ขติ ตกอสภุ ศพหลังตายวนั ที่ ๗ มีแมลงวัน หนอน มดชอนไชกินซากศพ ๑๘. โลหิตกอสุภ ศพหลังตายวันท่ี ๘ ซากศพเหลือน้อยแต่กล่ินเหม็นมากมีเลือด น้ํา หนอง เนื้อ เนา่ เละเทะ ๑๙. ปุฬุวกอสุภ ศพหลังตายวันที่ ๙ ซากศพกระจัดกระจายไม่เป็นชิ้นเป็นอัน ส่งกลิ่นมาก จนทนไมไ่ หว ๒๐. อัฏฐิกอสุภ ศพหลังตายวันท่ี ๑๐ เหลือแต่ฟ๎นและกระดูก แขน ขา กะโหลกมีกล่ินเหม็น ไม่มี หน้าตาเหลืออยู่ เพราะโดนหนอน แมลงกัดกิน มีแมลงวันบินเต็มไปหมดเพราะกลิ่นเหม็น เน่าคล้งุ กระจาย การ เจริญอสุภกรรมฐาน ไม่ใช่ให้ภาวนา หรือไปน่ังจ้องยืนจ้องซากศพที่โรงพยาบาล หรือปุาช้า แต่ ท่านให้ใช้ความจําภาพซากศพท่ีเห็นแล้วใคร่ควรพินิจพิเคราะห์ดูว่าตัวเรา ท่ียังหายใจอยู่ พูดได้อยู่ มันก็ไม่ แตกต่างอะไรกบั ซากศพท่ตี ายแลว้ เพราะร่างกายเราก็เหมน็ เนา่ ทุกวันต้องชําระล้างอาบนํ้า ล้างหน้า แปรงฟ๎น ล้างเอาความเน่าเหม็นออกตอ้ งสระผมเกอื บทุกวนั ถ้าไมส่ ระหวั ก็เหม็น ใหจ้ ิตใจร้ตู ลอดเวลาว่าร่างกายเราเขาไม่ มีใครสะอาดเหม็นกันหมดท้ังโลก คนกับสัตว์ไม่แตกต่างกันเหม็นเน่าเหม็นคาวเหมือนกัน เกิดแก่เจ็บตาย เหมือนกันคิดไว้อย่างนี้ตลอดเวลาท่านเรียกว่าจิตทรงฌานใน อสุภกรรมฐาน ใครเจ็บปุวยไข้ก็รักษาพยาบาล เอกสารประกอบการสอน วชิ าพุทธปรชั ญาเถรวาท เรียบเรียง นายเตชทตั ป๎กสงั ขาเนย์ ๑๕๓

เป็นการระงับทุกขเวทนา คิดไว้เสมอว่าเราเขาคือซากศพ ต่างก็สกปรกเช่นกันจะไปหลงรักผูกพันกันอะไรกัน นักกันหนา จิตเลิกผูกพันตัวเราเขาจิตก็เบาสบาย ความหนักใจก็ไม่มี ใครจะตายก็เห็นเป็นเร่ืองธรรมดา เพราะว่าทกุ คนเป็นศพที่พดู ได้ เดินไดพ้ อจติ ออกจากรา่ งกายเราเรยี กว่า ศพท่ีตายแล้ว ๙.๓ หมวดอนสุ สตกิ ัมมัฏฐาน ๑๐ อย่าง อนุสสติ แปลว่า จิตใจตามระลึกนึกถึงไว้อย่างเสมอ ๑ อย่าง อนุสสติ ๑๐ อย่างนี้เป็นกรรมฐานท่ี เหมาะกับนิสยั อารมณข์ องนักปฏบิ ัติศรัทธาจริต มี ๑. พุทธานุสสติ ๒. ธรรมานสุ สติ ๓. สงั ฆานสุ สติ ๔. สลี านสุ สติ ๕. จาคานุสสติ ๖. เทวตานสุ สติ กรรมฐานสําหรบั ผ้มู ีนิสยั พทุ ธจริต เชือ่ ยากต้องพิสูจน์ดว้ ยตนเองก่อนจึงเชอ่ื คือ ๗. มรณานุสสติ กบั นกึ ถงึ ความสุขใจในพระนิพพานเป็นอารมณ์ คือ ๘. อุปสมานุสติกรรมฐานผู้ ที่มีนิสัยชอบคิดวิตกกังวลสารพัดอย่าง มีกรรมฐานเหมาะสําหรับนักคิด วติ กกังวลไปทวั่ โลก คอื ๙. อานาปานานสุ สติ คือ จติ ตามตดิ รกู้ าํ หนดลมหายใจเขา้ ออก แทนท่ีจะคิดฟุูงซ่านกับป๎ญหาทั่วโลกก็ มาติดตามดูลมหายใจเข้าออกของตนเองจะ เป็นบุญกุศลจิตจะสุขสบายท้ังกายและใจผู้ที่ชอบรักของสวยงาม นอก จากกสิณภาวนา ๑๐ อย่าง ของอสุภกรรมฐานทง้ั ๑๐ แบบแล้ว ๑๐. ยงั มกี ายคตานุสสติกรรมฐาน คอื พจิ ารณาร่างกายตามความเป็นจริง ว่ามีแต่ส่ิงสกปรกเหม็นคาว เหม็น อนสุ สติ ๑๐ ทพ่ี ระผู้มีพระภาคเจ้าทรงสอนไวม้ ี กรรมฐานท่ี ๒๑ พุทธานุสสติกรรมฐาน คือ ให้ระลึกนึกถึงพระคุณความดีขององค์สมเด็จพระทรง สวสั ดิโสภาคย์ มพี ระมหาเมตตากรุณาสอนคน เทวดาพรหมพ้นจากเวียนว่ายตายเกิดคือให้มุ่งพระนิพพานเป็น จดุ หมายปลายทางของ จิตใจเรา จะภาวนาว่า “พุทธ-โธ” “อิติ สุคโต” “นโม พุทธายะ” “สมั มาอรหงั ” เอกสารประกอบการสอน วชิ าพทุ ธปรัชญาเถรวาท เรียบเรียง นายเตชทตั ป๎กสังขาเนย์ ๑๕๔

หรือ “นะมะ พะธะ” ดีถูกต้องเหมือนกันหมดไม่ใช่ไปตั้งก๊กเหล่า แบ่งแยกสายพุทธ-โธ สายสัมมา อรหัง อยา่ งนี้ไมถ่ กู ทกุ ๆ สายเป็นลกู ศิษยข์ ององค์พระตถาคต เราปฏิบัติเพื่อลดละตัวตน และเป็นก๊กเป็นเหล่า เป็นสายดงั นัน้ ขอทกุ ทา่ นเจา้ สํานกั โปรดให้ลูกศิษยข์ อง ท่านเข้าใจอย่าได้ยึดติดสายน้ันสายนี้ สํานักโน้น สํานักนี้ ไม่ใช่จุดพระพุทธประสงค์ขององค์พระจอม ไตรโลกนาถศาสดาสัมมาสมั พทุ ธเจา้ ถ้ายงั ยึดตดิ กบั สาํ นกั ครูบาอาจารย์ ยึดตดิ คําภาวนาท่านก็จะต้องเป็นทุกข์ กับเวียนว่ายตายเกิดอีกนานกว่าจะได้เข้า ใจพระธรรมคําสั่งสอนขององค์พระพุทธชินวรศาสดาสัมมาสัมพุทธ เจ้า โดยท่ีเรานึกถึงพระป๎ญญาคุณ พระบริสุทธิคุณ พระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ท่านตลอดเวลาในไม่ช้า จิตใจเราก็ฉลาด สะอาด สุขสบาย กิเลสโลภโกรธหลงก็หายไปโดยอัตโนมัติ หรือจากการภาวนาพุทธานุสติ กรรมฐาน แถมอีกนิด คือ นึกถึงภาพพระพุทธรูปด้วยย่ิงดี เป็นกสิณทําให้จิตเป็นฌานถึง ฌาน ๔ ได้ด้วยการ จบั ภาพพระพุทธเจ้าไว้ในจิตใจพอภาพพระพุทธเจ้าเป็นแก้วใสจิตใจท่าน ก็เข้าถึงฌาน ๔ มีสุขสดช่ืน มีป๎ญญา เฉียบแหลม สามารถตัดกิเลสตัณหาอวิชชาได้อย่างรวดเร็ว เป็นอรหันต์ได้ง่ายเร็วไว เป็นกรรมฐานที่ลัดตรง และง่ายท่ีสดุ คอื พุทธานุสสติกรรมฐานจิตเราท่านนึกถึงคุณของพระพุทธเจ้าตลอดเวลา จิตเราน้ันก็จะเป็นจิตพุทธะ คือ พระอรหันต์ดังท่ีองค์พระตถาคตทรงตรัสสอนไว้ดีเลิศประเสริฐเป็นจริงพิสูจน์ ได้โดยปฏิบัติตามพระธรรม คําสั่งสอน ของการหลุดพ้นตามวิสุทธิมรรค มีถึง ๔๐ แบบ แถมด้วยแบบมหาสติป๎ฏฐานสูตรอีก ๑ แบบเป็น ๔๑ แนวทาง เข้าถึงอรหัตผลได้ทุกแบบมีทั้งศีล สมาธิ ป๎ญญารวมอยู่ด้วยกันทั้งหมด ดีเหมือนกัน ดีเท่ากัน แล้วแตอ่ ปุ นิสัยของนกั ปฏิบัติชอบแนวไหน กรรมฐานท่ี ๒๒ ธัมมานสุ สตกิ รรมฐาน คือ ต้ังสติระลึกนึกถึงคุณความดีของพระธรรม คําส่ัง คือ ข้อห้ามไม่ให้ทําผิดศีล ๕ ข้อ คําสอน คือ สอนให้มีเมตตากรุณาให้ทําบุญทําทานให้ภาวนาพิจารณาทุกอย่างในโลกเป็นของ ลําบากยากเค้นในการ แสวงหาเงินทองมาซื้ออาหารบ้าน รถ เส้ือผ้าเครื่องใช้ เป็นทุกข์เพราะตนทนเหน่ือยยากได้มาแล้วก็เก่าชํารุด ทรุดโทรม ทั้งร่างกายก็มีแต่โรคภัยรบกวนเป็นอนิจจังไม่เท่ียงแท้แน่นอน ในไม่ช้าก็ต้องตายกันหมด เกิดมา เท่าไรก็ตายหมดเท่าน้ัน ไม่อยู่ในอํานาจควบคุมของใครเป็นกฎของธรรมชาติ แม้แต่องค์สมเด็จบรมโลกนาถ ศาสดาสมั มาสัมพุทธเจา้ พระวรกายท่านกเ็ ปน็ อนัตตา คือ แตกสลาย นับประสาอะไรกับร่างกายของเราก็ตาย อยู่ตลอดเวลา ตายจากวัยเด็ก เป็นวัยผู้ใหญ่ เข้าวัยชรา ไม่มีอะไรดี จิตเราจะขอติดตามองค์สมเด็จพระ พิชิตมารไปพระนพิ พานในชาตินี้ คิดแบบน้ีคือเคารพในพระธรรม หรือท่านจะเลือกเอาพระธรรมแบบไหนก็ได้ ทั้งกรรมฐาน ๔๐ แบบ หรือ แบบมหาสตปิ ๎ฏฐานสูตรดเี หมอื นกนั ทกุ แบบ พระธรรมทงั้ หมดที่พระพุทธองค์ทรง สอนไว้ ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ ย่อลงมาเหลือ ๓ อย่าง คือ อธิศีล บริสุทธิ์ ทําให้เป็นพระโสดาบัน อธิจิตมี สมาธิภาวนา ทําให้เป็นพระอนาคามี คือ มีฌาน ๔ อธิป๎ญญา จิตไม่หลงผูกพันติดในร่างกายตนเอง ทําให้เป็น พระอรหันต์ คุณธรรมทั้งหมดประเสริฐยอดเย่ียมไม่มีความรู้ใดๆ ดีกว่าสูงกว่านี้ ความรู้ทางพระนิพพานที่องค์ เอกสารประกอบการสอน วิชาพทุ ธปรชั ญาเถรวาท เรยี บเรยี ง นายเตชทตั ปก๎ สังขาเนย์ ๑๕๕

สมเด็จพระพิชิตมารตรัสสอนไว้ สามารถกําจัดความทุกข์ยากลําบากกายใจได้ท้ังท่ีมีชีวิตอยู่ และเมื่อตายแล้ว ย่งิ เป็นสขุ มากกว่าคนคอื มีเทวดา พรหม พระนิพพานเป็นทีไ่ ปตามบญุ บารมที ่ตี ง้ั ใจปฏิบัติไว้ตอนเป็นคน สัตว์ ผู้ ปฏบิ ัติธรรมจริงก็จะไดผ้ ลความสขุ กายจริง ดงั นน้ั พระธรรมเป็นปจ๎ จตั ตัง บอกกล่าวไปใครจะรู้ผู้ปฏิบัติธรรมอยู่ ยอ่ มรูด้ ีกวา่ ใครๆ กรรมฐานท่ี ๒๓ สังฆานุสสติกรรมฐาน คือ การระลกึ นกึ ถึงความดีของพระอริยสงฆส์ าวกขององค์พระผู้มีพระภาคเจ้าท่ี ประพฤติปฏิบัติตรงดี จริงตามพระธรรมคําส่ังสอน ตัดกิเลส โลภโกรธหลง จิตแน่วแน่มุ่งตรงพระนิพพาน แถมยังสืบทอดพระธรรม คําสั่งสอนมาถึงปวงชนรุ่นหลังๆ ให้เข้าใจพระธรรมวินัย คือ ศีล เข้าใจพระสุตตันปิฎก คือ สมาธิภาวนา ให้ เขา้ ใจพระอภิธรรมปฎิ ก คือ ปญ๎ ญา ผลจากการท่เี ราเล่อื มใสศรทั ธาในพระอริยสงฆ์ทําให้เรามีป๎ญญาเป็นบารมี กําลังใจท่ีเรามีปีติอิ่มเอิบใจ เชื่อม่ันในความดี และโมทนากับบุญบารมีของพระอริยสงฆ์ทุกๆ พระองค์ ต้ังแต่ สมัยพุทธกาลเน่ินมาจนถึงป๎จจุบัน ทําให้จิตใจเราได้สําเร็จมรรคผลตามท่านได้ไม่มีอะไรหนักใจ เรียกว่า เรามี ศรทั ธาวมิ ตุ ติ คอื จติ หลดุ พน้ จากกเิ ลสตัณหาอุปาทาน ด้วยเล่ือมใสศรัทธาในองค์พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธ เจา้ พระธรรม พระอริยสงฆ์ อย่าง่ายดาย กรรมฐานที่ ๒๔ สลี านสุ สติกรรมฐาน คือ การต้ังใจระลึกนึกถึงพระคุณความดีของผู้มีศีล ๕ อยู่เป็นปกติสุข คุณของศีล ๕ ปิดก้ันประตูนรก เปรต อสุรกาย สัตว์เดรัจฉาน ผู้ไม่ทําชั่วใน ๕ ข้อน้ัน มีไม่ฆ่าคน สัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ล่วงละเมิดทางประเวณี กับบุตร ธิดา สามี ภรรยาของผู้อ่ืน ไม่พูดปด และไม่เสพส่ิงเสพติดให้โทษ มียา ฝ่ิน สุรา แถมด้วยไม่เล่นการ พนัน แข่งม้า แข่งบอล เป็นต้น ฆราวาสพึงระลึกนึกถึงศีล ๕ ข้อไว้มิให้ขาดตกบกพร่อง แม้แต่จะคิดละเมิดข้อ ใดข้อหน่ึงก็ไม่ควรคิด ถ้าเผลอทําผิดศีลข้อใดข้อหนึ่งท่ีเป็นอดีตล่วงมาแล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัส สอนให้ ตั้งใจทําความดีมีศีล ๕ ครบ ขอโทษพระรัตนตรัยทุกวันไม่นึกถึงความชั่วท่ีแล้วมา เพียรภาวนาระลึกนึกถึงศีล ๕ ครบในป๎จจุบัน เพื่อเป็นพื้นฐานของจิตให้สะอาดสดใสมีพระนิพพานเป็นท่ีไปของจุดหมายปลายทาง ชีวิต คิดถึงศีล ๕ ครบทุกวัน จิตจะเป็นฌานมีป๎ญญาฉลาดอยู่เป็นสุข ก่อนตายศีลจะเป็นสะพานใหญ่ให้อารมณ์ สมาธิหลั่งไหลมาในจิต เป็นพื้นฐานให้ได้วิป๎สสนาญาณ คือ ทุกข์เห็นโทษของการมี ขันธ์ ๕ ร่างกายสกปรก มี จิตใจเลื่อมใสเข้าถึงพระนิพพานในท่ีสุด ระลึกนึกถึงศีลทําให้ท่านมีอารมณ์สมาธิถึงอัปปนาสมาธิ คือ จิตทรง ฌาน คิดถึงศีลตามปกติของท่านถ้าชาวบ้านก็ศีล ๕ ถ้าอยู่วัดก็ศีล ๘ สามเณรก็มีศีล ๑๐ ศีลของพระภิกษุ ๒๒๗ ศีลของภิกษุณีมี ๓๑๑ อานิสงส์ของศีล คือ มีชีวิตอยู่ไม่เดือดร้อน ไม่มีศัตรู มีคนรัก มีเกียรติคุณความดี ฟูุงไปทั่วทิศ เป็นผู้แกล้วกล้าอาจหาญ ใกล้ตายจิตจะผ่องใสเบิกบาน เพราะมีศีลครบ บาปกรรมไม่สามารถมา ทําให้จิตเศร้าหมอง ตายแล้วไม่ไปทุกข์ในนรก เปรต อสุรกาย สัตว์เดรัจฉาน อย่างน้อยได้ไปเกิดในสวรรค์ อย่างมากไปเสวยสขุ เบื้องบนพระนพิ พาน เอกสารประกอบการสอน วิชาพทุ ธปรัชญาเถรวาท เรยี บเรยี ง นายเตชทตั ปก๎ สังขาเนย์ ๑๕๖

กรรมฐานที่ ๒๕ จาคานุสสตกิ รรมฐาน สมเด็จ พระชินศรีศาสดาสัมมมาสัมพุทธเจ้า แนะนําสั่งสอนพวกเราให้บริจาคทาน บํารุงพระศาสนา สงเคราะห์คนยากจน เป็นการเสียสละ ละกิเลส ตัวโลภ ตระหนี่ถ่ีเหนียวออกไป ให้ทานด้วยความเต็มใจ ยินดี ใหท้ านดว้ ยความเคารพมีอาการสภุ าพในการให้ มอี าการปลื้มปตี ิดีใจที่ให้ไปแล้ว จะเป็นใครก็ตามเราให้ไปแล้ว เราก็พอใจอิ่มใจ เพราะสมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงสรรเสริญว่าเป็นความดี ผลการให้ทานทําให้เราเป็นสุข เพราะผรู้ ับทานมีโอกาสเปล้ืองทุกข์ ผลการให้ทานเป็นการทําลายล้างความโลภ เป็นกิเลสถ่วงไม่ให้เราถึงพระ นิพพาน เราตัดรากเหง้ากิเลสใหญ่ความโลภได้ ๑ ตัว ความเบาใจจะเกิด เพราะเหลือกิเลสใหญ่ ๒ ตัว คือ ความโกรธกับความหลง ซ่ึงเราจะตัดความโกรธได้ด้วยความเมตตา ให้อภัย ตัดความหลงได้ก็ให้ดูว่าทุกส่ิงทุก อย่างพงั สลายตายกันหมด จิตใจจะไดเ้ ลิกยดึ ตดิ เกาะเก่ยี ว เพราะยึดติดในส่ิงท่ีไม่เป็นสาระประโยชน์ ไม่ใช่ของ ดจี ริง เปน็ ของปลอมชว่ั ครชู่ ่วั คราว ถา้ จติ ยดึ ติดก็เป็นความทกุ ข์ ยดึ ตดิ ในของสมมตุ ไิ ม่จีรังย่ังยืน ผู้ที่ยินดีในการ ให้ทาน จิตจะเปน็ ไปด้วยความเมตตาปราณี ความโกรธ ความหลงไม่มารบกวน ทําให้จิตมีสมาธิ อุปจารสมาธิ ต่อไปถ้าพิจารณาตามวิป๎สสนาญาณ เห็นว่าทุกส่ิง ทุกอย่างพังสลายตายไป จะทําให้เราท่านบรรลุมรรคผลได้ งา่ ยอยา่ งคาดไม่ถงึ กรรมฐานท่ี ๒๖ เทวตานสุ สติกรรมฐาน เทวดา แปลวา่ ผมู้ จี ิตใจดีงาม จติ ใจประเสรฐิ กรรมฐานนี้ท่านให้มจี ติ ใจระลกึ ถึงความดีของเทพเทวดา พรหมเทวดา ท่านมีความดีตอนเป็นคนมี หิริ ความละอายต่อบาป ไม่ผิดศีล ๕ ไม่ทําความช่ัวท้ังกาย วาจา ใจ โอตัปปะ มีความเกรงกลัวผลของความช่ัวจะให้ผล ท่านมีจิตเมตตาปรานีทําบุญให้ทาน ไหว้พระสวดมนต์ ทอดผ้าปุา กฐินให้บริจาคทานแก่ผู้ยากไร้ สมัยองค์พระบรมสุคตศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าก็มีเทพเทวดามา กราบไหว้ฟ๎งเทศน์ ฟ๎งธรรม โปรยปรายดอกไม้ทิพย์ อาหารทิพย์ ถวายเป็นพระพุทธบูชา มากราบทูลถาม ป๎ญหาธรรมะจากพระพุทธองค์ พระองค์เองทรงปรารภแก่บรรดาพระพุทธสาวก เรื่อง เทวดาเสมอ พระพุทธศาสนายอมรับนบั ถือความดขี องเทพเทวดา พรหม ทา่ นเป็นพระอรยิ เจ้าพระอรหันต์มีมากมายกว่าคน ท่านมีบุญบารมีมากกว่าคนหลาย เท่า ท่านไม่ต้องแบกขันธ์ ๕ เป็นทุกข์แบบคน ไม่เจ็บปุวย แก่เหมือนคน เทวดาพรหมท่านมคี วามสุขดีกว่าคนมาก องคพ์ ระทรงสวสั ดโิ สภาคย์ตรสั ว่า เทวดามี ๓ ประเภท แบ่งตามบุญบารมีของเทวดาประเภท ๑ เทวดาช้ันกามาวจร เร่ิมต้ังแต่ ภูมิ เทวดา เจ้าท่ีเจ้าทาง รุกขเทวดา ท่านดูแลรักษาคนดี มีวิมานอยู่บนต้นไม้ท่ีมีแก่นไม้ ๑ นิ้วข้ึนไป และอากาศ เทวดาหรอื เทวดาชนั้ จาตมุ หาราช ชนั้ ดาวดึงส์ เทวดาชนั้ ดสุ ติ เทวดาชั้นนิมมานรดี เทวดาชั้นที่ ๖ คือช้ันปรนิม -มติ วสวัตดี เอกสารประกอบการสอน วิชาพุทธปรชั ญาเถรวาท เรยี บเรยี ง นายเตชทัต ปก๎ สงั ขาเนย์ ๑๕๗

ประเภท ที่ ๒ เทวดาชัน้ พรหม รปู าวจรพรหม มี ๑๖ ช้ัน สําหรับท่านท่ีได้ฌานต้ังแต่ฌาน ๑ ถึง ฌาน ๔ กอ่ นทา่ นตายเข้าฌาน จิตไดไ้ ปเกิดตามข้นั ของฌานที่จติ เคล่ือนออกจากกาย รปู พรหมทง้ั ๑๖ ชั้น มีช่ือดงั นี้ ๑. พรหมปริสชั ชา ๒. พรหมปาโรหติ า ๓. มหาพรหมา ๔. ปรติ รตาภา ๕. อปั ปมาณาภา ๖. อาภสั สรา ๗. ปริตตสภุ า ๘. อปั ปมาณสภุ า ๙. สภุ กิณหกา ๑๐. เวหัปผลา ๑๑. อสัญญีสัตว์ ๑๒. อวิหา ๑๓. อตัปปา ๑๔. สทุ สั สา ๑๕. สุทัสสี ๑๖. อกนฏิ ฐกา อรูปพรหม ๔ น้ีเป็นพรหมไม่มีรูป มีแต่จิตเสวยสุขอย่างเดียว เพราะท่านปรารถนาไม่มีรูปทิพย์ คิด เข้าใจผดิ ว่า การมีรปู ทาํ ใหเ้ ปน็ สาเหตขุ องความเปล่ียนแปลงดับสลาย ทา่ นจึงคิดเอาว่า มีจิตอย่างเดียว มีความ หลงผดิ เขา้ ใจผิดเรียกวา่ อวชิ ชาคอื เขา้ ใจเอาเองว่า อรูปพรหมทงั้ ๔ น้ันมคี วามสุขสงู สดุ แลว้ อรูปพรหม ๑ (พรหมชั้นท่ี ๑๗ จิตเป็นฌานเพ่งอยู่ในความว่างเปล่าของอากาศ เรียกว่าอากาสานัญ- จายตนะก่อนตายร่างกายตายจิตจึงเคล่ือนเข้าสู่อรูปพรหม เพราะจิตเข้าใจผิดคิดว่าฌานน้ีสูงสุดหมดกิเลสได้ แลว้ อรูปพรหม ๒ (พรหมช้ันที่ ๑๘) มีจิตเพ่งอยู่ในวิญญาณัญจายตนะ ก่อนตายจิตจึงเคลื่อนมาอยู่ในอรูป พรหมช้นั ท่ี ๒ อรูป พรหม๓(พรหมช้ันที่ ๑๙) จิตเพ่งอยู่ในอากิญจัญญายตนะ เม่ือตายจิตจึงเคล่ือนเข้าสู่ พรหมชั้น อากิญจัญญายตนะ คือ คดิ วา่ ทุกส่งิ ทุกอย่างรปู นามไมม่ ีอะไรเหลือว่างเปล่าหมด อรปู พรหม๔(พรหมชั้นท่ี ๒๐) คอื ทา่ นที่มจี ิตเพ่งอยู่ในฌานท่ี ๘ เรียกว่า เนวสัญญานาสัญญายตนะ มี ความสขุ คอื ไม่มีรูปกายนามกาย ไม่มคี วามจาํ เพราะคิดว่าเปน็ เหตุนํามาซ่ึงความทกุ ข์ ชน้ั สุทธาวาสคือชน้ั พระอรยิ เจา้ ขึน้ ไป ต้ังแตช่ ั้น ๑๒ -๑๖ ทา่ นไม่กลบั มาเกิดเปน็ คนอีก ประเภท ที่ ๓ คือ พระวิสุทธเิ ทพ คอื เทพเทวดาทไ่ี ม่มีกิเลส ตัณหา อุปาทาน อวิชชา อกุศลกรรม จิต ทา่ นเปน็ จติ พระอรหันต์ ขณี าสพ มีมากหลายล้าน จิตของพระป๎จเจกพระพุทธเจ้า จิตของพระผู้มีพระภาคเจ้า มากมายหลายแสนพระองค์ เป็นจติ ของทา่ นผู้บรสิ ุทธิ์ ที่เสวยสุขแดนทพิ ย์ วิเศษ นิพพาน ๑.๔ นิพพานมี ๒ ประเภท คือ ๑.๔.๑ สอุปาทิเสสนพิ พาน จิตบริสุทธิ์เป็นพระอรหันต์ แต่ยังมีร่างกายคน ร่างเทพ ร่างพรหมอยู่ ยัง ไม่ถึงเวลาเข้าแดนทพิ ย์นพิ พานเรยี กไดง้ ่ายๆ ตามภาษาชาวบ้านว่า นิพพานดบิ คือ จติ เปน็ นิพพาน ๑.๔.๒ อนุปาทิเสสนิพพาน จิตของพระอรหันต์ พระป๎จเจกพุทธเจ้า พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธ เจา้ มกี ายทพิ ย์นิพพานอยู่เป็นสขุ สําราญในพระนิพพาน ตลอดกาล ท่านเสวยสุขแดนทพิ ย์นิพพานหลังตายเรียก งา่ ยๆ ว่า นพิ พานสุก คือ นพิ พานจรงิ ไม่มขี นั ธ์ ๕ ไมม่ กี ายเทพ กายพรหม เอกสารประกอบการสอน วิชาพทุ ธปรชั ญาเถรวาท เรียบเรยี ง นายเตชทัต ป๎กสงั ขาเนย์ ๑๕๘

ต้นเหตุที่จิตจะต้องไป เสวยทุกข์ในแดนอบายภูมิ ๔ มี นรก เปรต อสุรกาย สัตว์เดรัจฉาน มีดังน้ี ผิด ศีล ๕ ฆ่าคน ฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ ลักลอบขโมยคนรักผู้อ่ืน คือ บุตร ธิดา สามีผู้อื่น ทุบตีภรรยา สามี ทุบตี ลูกหลาน พูดปด พูดหยาบคาย ฉ้อโกง พูดนินทาให้ร้ายให้เขาแตกแยกกัน ติดยาฝิ่น ยาบ้า ยาม้า สุรา พนัน ต้นเหตทุ ่เี กดิ เป็นคน คือ มีศีล ๕ ครบถ้วนไมล่ ะเมิดทําความช่วั ในศีลท้งั ๕ ข้อน้ัน ต้นเหตุที่ไปเกิดเป็นเทวดา เป็นคนไม่ทําความชั่ว ๕ ประการ ศีล ๕ บริสุทธ์ิ มี จิตเมตตาปราณี ไหว้ พระสวดมนต์ ทําบญุ ด้วยความเตม็ ใจให้ทานแกค่ น สัตว์ ละอายความช่วั ไมท่ ําบาปทั้งท่ีลับ ที่แจ้ง เกรงกลัวผล ของความช่ัว ตายจากคนไปเป็นเทพเทวดา นางฟูา พระภูมิเจ้าท่ีถ้าไม่ฝึกหัดสมาธิภาวนา ต้นเหตุไปเป็นรูป พรหม มีศีล ๕ ครบ ทําบุญ ทําทาน ไหว้พระสวดมนต์ ภาวนาจิตมีความชินกับบุญกุศลในทาน ศีล ภาวนา อยา่ งใดอย่างหนึ่งใน ๔๐ กรรมฐาน ๑. ทาํ สมาธไิ ด้ฌานที่ ๑ กอ่ น ตายแลว้ ไปเกิดเป็นพรหมช้ันท่ี ๑ ๒ ๓ ๒. ทําสมาธไิ ด้ฌานที่ ๒ กอ่ น ตายแล้ว ไปเกิดเปน็ พรหมชนั้ ที่ ๔ ๕ ๖ ๓. ทําสมาธไิ ดฌ้ านที่ ๓ ก่อน ตายแลว้ ไปเกดิ เป็นพรหมชน้ั ที่ ๗ ๘ ๙ ๔. ทาํ สมาธิได้ฌานท่ี ๔ กอ่ น ตายแล้ว ไปเกิดเปน็ พรหมช้ันท่ี ๑๐ ๑๑ ๕. พระอนาคามีเข้าฌานที่ ๔ ก่อน ตายไปเกิดเป็นพรหมชน้ั สุทธาวาส ชนั้ ท่ี ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ตน้ เหตุไปเป็นอรปู พรหม ๔ ชัน้ ทา่ นท้งั ๔ ช้นั ท่านได้เจริญกรรมฐานในกสิณแล้ว ภาวนาอรูปฌาน ๔ คอื หลงผิดคดิ ว่าถ้าไมม่ ีรูปจะมคี วามสขุ มีจติ ไมเ่ ขา้ ใจในพระนิพพาน จงึ เปน็ ฌานโลกยี ์ -อากาสานัญจายตนะ -วิญญาณัญจายตนะ -อากิญจญั ญายตนะ -เนวสัญญานาสญั ญายตนะ ก่อนตายเข้าอรปู ฌาน หลงคดิ ว่าการไม่มรี ูปกายทิพย์คือความสุข ตายแลว้ จงึ ไปเกดิ เปน็ อรูปพรหม บุญ บารมี รูปพรหมพระอนาคามี มีที่อยู่ ๕ ช้ันในรูปพรหม คือ พรหมชั้นท่ี ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ท่านได้ บรรลุมรรคผลเป็นพรหมอนาคามีได้ฌาน ๔ มาก่อน สมัยเป็นคน เป็นเทพ เทวดาพรหม ท่านเรียกพรหมชั้น อนาคามีว่า ชั้นสุทธาวาส ไม่ต้องกลับมาเกิดเป็นมนุษย์ สตั ว์ เทวดาอีก ท่านรอเข้าพระนิพพาน เมื่อท่านสําเร็จ เป็นพระอรหัตตผล เทวตานุสสติกรรมฐานนี้ ถ้าท่านฝึกระลึกนึกถึงพระคุณของเทพเทวดาจนมีอุปาจารสมาธิ คือ สมาธิ ประเดี๋ยวประด๋าว แล้วท่านเจริญวิป๎สสนาญาณเห็นโลกร่างกายเป็นทุกข์ เป็นโทษ เป็นของสมมุติสูญสลาย กลายเป็นความว่างเปล่าแล้ว จิตจะเข้าถึงมรรคผลได้รวดเร็ว ง่ายดาย เพราะเป็นภูมิธรรมละเอียด มีแนวโน้ม เข้าไปใกลพ้ ระนิพพาน คอื พระวิสทุ ธเิ ทพไดม้ าก มีหลายท่าน ไม่เคยเห็นไม่รู้เรื่องเทพเทวดา ไม่เคารพเทวดา ก็ต้ังหน้าตั้งตาโจมตีต่อต้าน ว่า เทวดา เทพพรหมไม่มีจริงเป็นของหลอกลวง ส่ิงที่ตามองไม่เห็นอย่านึกอย่าคิดว่าไม่มี ส่ิงท่ี ตาเห็นชัด อย่าคิดว่ามี เพราะไม่ชา้ ก็สญู สลายตายหมด ตาเปน็ ของหยาบ แม้แต่ในที่มืดหรือฝุนในอากาศก็มองไม่เห็น เทพเทวดาท่าน เอกสารประกอบการสอน วชิ าพุทธปรัชญาเถรวาท เรยี บเรยี ง นายเตชทัต ปก๎ สังขาเนย์ ๑๕๙

มีกายทพิ ย์ใสสะอาดละเอียดกว่ากายผี แล้วตาหยาบของเราจะสามารถเห็นเทวดาพรหมและผีได้อย่างไร เทพ เทวดาในโลกนี้มีจํานวนมากกว่าคนหลายเท่า ผี วิญญาณอยู่ในโลกน้ีปะปนไปกับคนก็มีมากมายหลายเท่ามี มากกว่าคน สตั ว์เดรัจฉานก็มีมากกวา่ คนรวมทัง้ สัตวใ์ นมหาสมุทรในดินในอากาศ แต่คนเราก็คิดว่าคนเป็นใหญ่ ในโลกน้ี อันน้ีเป็นอวิชชาความหลงที่คนเรายังไม่รู้ความจริงของชีวิตของโลก ก้มหน้าก้มตาหาเงินทองเพ่ือ ความอย่รู อดของชีวิตอันน้อยนดิ แล้วก็ตายพลัดพรากจากกันไปแล้วย้อนมาเกิดใหม่ เมื่อยังไม่ยกระดับจิตเป็น อรยิ บุคคลกย็ งั ไม่มีวาสนาบารมีถงึ พระนิพพาน ดงั น้นั ถ้าท่านยอมรบั นบั ถอื คุณความดีของเทพเทวดาในไม่ช้าจิตของท่านก็มีหิริ โอตัปปะ มีคุณความ ดีตามทา่ นเทพเทวดา ท่านก็มีจิตเปน็ เทพเทวดาได้ไม่ยากเลยและท่านเทพเทวดาก็จะติดตามเฝูารักษา ท่านให้ ปลอดภัยจากอันตรายมชี ีวติ เป็นสขุ ท้งั โลกน้ี โลกหน้า กรรมฐานที่ ๒๗ มรณานสุ สติกรรมฐา มรณานุสสติ เป็นการภาวนาระลึกนึกถึงความตายไว้เป็นอารมณ์ มองเห็นคน สัตว์ ตัวเราเองก็ต้อง ตายกันหมดทั้งโลกไม่มีใครอยู่ยงคงกระพัน แม้แต่องค์พระโลกนาถศาสดาสัมมา สัมพุทธเจ้า ผู้มีท้ังฤทธ์ิเดช เป็นผู้วิเศษกว่าใครๆ ในโลก ในสวรรค์ ในพรหมท่านก็ต้องตาย นับประสาอะไรกับร่างกายเราจะหนีความ เจบ็ ปวุ ย ความตายพน้ ความตายมี ๔ อย่าง ๑. สมุจเฉทมรณะ ความตายจากกิเลสตัณหา อุปาทานของพระอรหันต์ ท่านจบกิจแห่งพรหมจรรย์ หมดกเิ ลสเปน็ สมจุ เฉทประหาน คือ การตายของพระอรหนั ต์ ท่านไม่กลับมาเวียนว่ายตายเกิดอีกแล้ว เป็นการ ตายขาดตอนไม่เกดิ อกี เลย ๒. ขนิกมรณะ คือการตายของคน สัตว์ทุก วันน้ี ตายเล็ก ตายน้อย ตายจากเด็กเป็นผู้ใหญ่ ตาย จากวัยผู้ใหญ่เข้าสู่วัยชรา ชีวิตเคลื่อนไป ตาย ตลอดเวลาทุกลมหายใจเข้าออก ถ้าไม่มีลมหายใจ ใหม่ อาหารใหม่ นํ้าใหม่ ต่อเติมเล้ียงร่างกาย ร่างกายก็เห่ียวแห้ง ตายไปร่างกายอยู่รอดได้ทุกวันน้ี เพราะมีอากาศ ลมหายใจ น้ํา อาหารใหม่เข้าไป แทนที่ อากาศเก่า นํ้าเก่า อาหารเก่าที่สูญเสียหมด ไป ๓. กาลมรณะ คือหมดอายุขยั ตายวัยชราแลว้ จติ วิญญาณไปรบั เสวยผลบญุ ผลบาปทนั ทีทีต่ าย ๔. อกาลมรณะ คือ ตายก่อนถึงวาระเวลาท่ีต้องตาย ตายเพราะบาปกรรมมาตัดรอน ตายเพราะภัย ธรรมชาติ ตายเพราะสงคราม ตายเพราะโจรผู้ร้าย ตายเพราะโรคระบาด ตายเพราะโดนระเบิด โดยเฉพาะ สมัยนี้มีการทําลายล้างตายกันง่ายๆ ตามข่าวโทรทัศน์ ตายฉับพลันทันใด เครื่องบินตกตาย รถทับตาย และ เอกสารประกอบการสอน วชิ าพุทธปรชั ญาเถรวาท เรยี บเรยี ง นายเตชทตั ป๎กสงั ขาเนย์ ๑๖๐

ตายอีกมากมาย บรรยายไม่จบ ตายแบบน้ีเรียกว่า ตายโหง พวกน้ีตายโดยไม่ทันรู้ตัว ตกใจตาย จิตวิญญาณ ออกจากร่างกายก็กลายเป็นผีสัมภเวสีเร่ร่อนพเนจรไม่มีที่อยู่อาศัย ไม่มีบ้าน ไม่มีอาหาร มีแต่ความหิวโหย ติดต่อญาติคนรักก็ไม่รู้เรื่องกันก็ต้องเป็นผีรออยู่จนถึง วาระท่ีต้องตายตอนเป็นคนจึงจะได้ไปเสวยผลบุญ ผล บาปตอนที่ทาํ ไวเ้ มื่อสมยั เป็นคนตาย ก่อนอายุขัยน้ี สมยั ทอ่ี งค์สมเดจ็ พระพิชติ มารบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ท่านทําพิธตี ่ออายใุ หเ้ ด็กคนทจ่ี ะต้องตายก่อนอายุขยั ท่นี ิยมเรียกกนั วา่ สะเดาะเคราะหต์ อ่ อายนุ ้นั เร่อื งมดี งั น้ี บิดา มารดาพาเดก็ ที่เกิดไมก่ เ่ี ดือนไปเฝูาพระผู้มีพระภาคเจา้ แล้วกราบอภิวาทพระ บรมศาสดาลากลับ ท้ังพ่อ แม่ พระพุทธองค์ทรงกล่าวว่า “ทีฆายุโก โหตุ” แปลว่า ขอเธอจงมีอายุยืนนาน พอลูกชายเข้าไปกราบ พระพุทธองค์ท่านน่ิงเฉยไม่ตรัสว่าอะไร พ่อ แม่เด็กจึงกราบทูลถามว่า ทําไมพระองค์ไม่ทรงประทานพรให้แก่ เด็ก องคพ์ ระศรีศากยมุนที รงตรัสตอบว่า บตุ รชายของเธอจะตายภายใน ๗ วันน้ี องค์พระตถาคตจึงไม่ได้ให้พร อย่างน้ัน พ่อ แม่เด็กตกใจจึงวอนขอ พระผู้มีพระภาคเจ้าให้ช่วยเหลือไม่ให้ถึงตายได้ พระพุทธองค์จึงส่ังให้ไป ปลูกโรงพิธกี ลางลานบา้ น แล้วให้พระภิกษุน่ังล้อมเด็กสวดพระปริตร ๗ วัน ๗ คืน พอวันที่ ๗ เป็นวันตายของ เด็ก เพราะยักษ์จะมาเอาชีวิต หรือจิตวิญญาณของเด็กวันนั้น องค์พระทรงสวัสด์ิโสภาคย์ ทรงเสด็จมาหาเด็ก พรหมเทพเทวดาผเู้ ป็นใหญ่ก็ตามเสด็จพระผู้มพี ระภาคเจา้ ดว้ ย ยกั ษ์เขา้ ไมถ่ งึ เดก็ เมื่อครบเวลาท่ีจะมาเอาชีวิตจิตวิญญาณ ยักษ์เลยต้องหนีไป ถ้าเลยเวลาตายแล้วยักษ์ทําอะไรไม่ได้ ยกั ษเ์ ขาทาํ ตามกฎของกรรมจะให้ตายเวลา เท่าไร พอเลยเวลาที่เด็กจะต้องตาย พระพุทธเจ้าท่านก็เสด็จกลับ พระกก็ ลับเลิกพธิ ี องค์พระตถาคตจึงประทานพรแก่เด็กว่า “ทีฆายุโก โหตุ” ต่อมาเด็กคนนั้นก็มาบวชเณรเม่ือ อายุ ๗ ปี ได้สาํ เร็จเป็นพระอรหัตผล ท่านมีอายุยืนถึง ๑๒๐ ปี จึงนิพพาน เด็กคนนั้นมีนามว่า อายุวัฒนกุมาร อายุวัฒนสามเณร อายุวฒั นพระเถระเจา้ คุณประโยชนข์ องการนกึ ถงึ ความตาย มมี ากมาย ๑. เป็นการเจริญวิป๎สสนาญาณช้ันยอด ความตายคืออนัตตา การแตกแยกสูญสลายทําให้จิตมีป๎ญญา ชาญฉลาด ตดั ขาดจากกเิ ลส โลภ โกรธ หลงไดง้ า่ ยๆ เพราะนึกถงึ ความตายก็ไม่รู้จะหลงอะไรกันต่อไปอีก เราก็ ตาย เขาก็ตาย ๒. คิดถึงความตายทําให้รีบเร่งทําคุณงามความดี มีศีล มีสมาธิ มีป๎ญญาเพ่ือจะได้ไปนิพพานไม่ต้อง กลับมาเกิด ตายกันอกี ๓. ผู้ที่นึกถึงความตาย ไม่ต้องการเกิดเป็นคน เทวดา พรหม พอใจในพระนิพพาน ทําจิตว่างจากการ เกดิ ท่านมีหวังเข้าถึงพระนิพพานในชาตินี้ได้แน่นอน แม้ แต่องค์พระสยัมภูศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ท่านก็ทรงระลึกนึกถึงความตายทุกลมหายใจเข้าออก ดังท่ีพระพุทธองค์ทรงตรัสกับ ท่านพระอานนท์ไว้ว่า “อานันทะการนึกถึงความตายวันละ ๗ ครั้ง ยังห่างมาก นัก ตถาคตเองนึกถึงความตายทุกลมหายใจเข้าออก ดังนั้น พวกเราพุทธบุตร ควรระลึกถึงความตายทุกลม หายใจดงั เช่นพระบรมศาสดาในไมช่ า้ เรากพ็ น้ ทกุ ข์เจริญ รอยตามพระผ้มู ีพระภาคเจา้ ทรงสอนไว้ เอกสารประกอบการสอน วิชาพทุ ธปรัชญาเถรวาท เรียบเรียง นายเตชทัต ป๎กสงั ขาเนย์ ๑๖๑

กรรมฐานที่ ๒๘ กายคตานสุ สตกิ รรมฐาน คือ การระลึกนึกถึงร่างกายคน สัตว์ตามความเป็นจริงว่า สกปรก โสโครก ไม่สวย ไม่งาม น่าเกลียด น่ากลัว เหม็นทั้งข้างนอกข้างในรา่ งกาย กรรมฐาน เร่ืองร่างกายนี้ สาํ คัญมาก เปน็ กรรมฐานพิเศษสุด ผลท่ีพิจารณากรรมฐานเรื่องกายจะมีจิต ถงึ ปฐมฌาน แต่ถ้ายึดสีแดงสีเลือดของร่างกายภาวนาเป็นกสิณก็มีจิตเข้าถึงฌาน ๔ ได้ ในวิสุทธิมรรค ท่านให้ พิจารณาอาการ ๓๒ อย่าง ตั้งแต่ ผม ขน เล็บ ฟ๎น หนัง เนื้อ พิจารณากลับไปกลับมาดูให้เป็นจริงจังว่าน่ารัก หรือน่ารังเกียจ กายน้ีเต็มไปด้วยของสกปรก เหม็นเน่า เหม็นคาว มีตับ ไต ไส้ พุง หัวใจ ซี่โครง เส้นเอ็น เส้น เลือด เส้นประสาทสมอง กระเพาะอาหาร ม้าม ไส้ใหญ่ ไส้เล็ก ไขกระดูก ข้อต่อ พังผืด น้ําเลือด น้ําหนอง ป๎สสาวะ อุจจาระ เน้ือ ลอกเอาผิวหนังออกดไู มไ่ ด้สกั อยา่ งเดยี ว ร่างกายสกปรกต้องชําระล้างอาบน้ําทุกวัน ส่ิง ท่ีหล่ังไหลออกจากกายก็เหม็นทุกวัน ผู้ท่ีเห็นคนหนุ่มสาวว่าหล่อ สวย งาม แต่ไม่ยอมมองส่ิงสกปรกโสโครกที่ หล่ังไหลออกจากร่างกาย คนท่ีหล่อท่ีสวยส่งกลิ่นเหม็นสาบ เหม็นสาง เลอะเทอะ เปรอะเป้ือน เพราะไม่น่าดู น่าดมต่างก็พยายามปกปิดความจริง ไม่ยอมพูดถึง ไม่ยอมรับรู้ตามความเป็นจริง เพราะอวิชชา ตัณหา อุปาทานปกปิด ตาจิต ตาเน้ือเอาไว้ พยายามโกหกตนเอง และผู้อ่ืนว่าร่างกายยังสวย ยังสาว ยังหล่อเหลา น่ารักอยู่ แท้ที่จริงร่างกายคน สัตว์มีสภาพเป็นส้วมเคล่ือนท่ี ที่เอาอุจจาระ ป๎สสาวะไปถ่ายเทไว้ในส้วมทุกวัน แลว้ มาประดบั ตกแต่งตวั เสอ้ื ผ้าอาภรณ์ เพชรนลิ จนิ ดาแพงๆ หลอกลวงตนเอง ผ้อู น่ื วา่ สวยสดงดงาม ผู้ท่ีได้เห็น ร่างกายคน สตั ว์ ได้การพิจารณาไม่ฉลาดก็มีความหลงติดอกติดใจหลงใหลใฝุฝ๎นในรูปร่างกายคนรักใน ไม่ช้าก็ พบกับความทุกข์ยากลําบากกายใจ เพราะรูปร่างกายแปรเปล่ียนเป็นเจ็บปุวยพิการ หรือจิตใจปรวนแปรด้วย ความเห็นไม่ตรงกนั รกั กันไม่นานกเ็ บอ่ื มีโลภ โกรธ หลง หาของดีๆ สวยๆ อันใหม่หาคนรกั ใหม่ตอ่ ไป พระอริยเจ้าท่านฉลาดมอง พินิจพิจารณารูปร่างกาย คน สัตว์ ไม่มีใครดี ไม่มีใครงามเต็มไปด้วยของ สกปรกเหมน็ เลอะเทอะ ทา่ นไมส่ นใจกายใครเบื่อหน่ายออกบวช เบื่อเพศฆราวาสมองร่างกายแต่ละบุคคลเห็น เป็นสภาพสว้ มเคลื่อนที่ มีธาตุ ๔ ดิน น้ํา ลม ไฟ รวมกันเป็นศพเดินได้ พูดได้ ท่านจึงหมดความหลงใหลใฝุฝ๎น ในรูปโฉม โนมพรรณ ไม่ใช่ของจริงมิช้าก็เห่ียวย่นแตกสลายตายกันหมด ตอนเป็นคนก็มองเป็นผีดิบ ตายแล้ว กลายเป็นผสี กุ องคพ์ ระพชิ ิตมารศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงยํ้าให้เอาจิตใจเราเลิกยึดถือติดใน ร่างกายตนเอง เสียจึงจะพ้นทุกข์ จึงจะมีความสุข คือ พระนิพพาน ต้นเหตุของความทุกข์ คือ การมีขันธ์ ๕ ร่างกายดับทุกข์ก็ ดบั ทตี่ น้ เหตุ คอื จิตไมต่ ิดยดึ ในร่างกายอีกต่อไป จิตก็เป็นอิสระเสรี ไม่ตกเป็นทาสของกิเลส คือ ร่างกาย จิตก็มี พระนพิ พานเปน็ อารมณ์ ตายแลว้ กม็ แี ดนทพิ ยน์ พิ พานตลอดกาลเป็นท่ีเสวยสขุ ของจิตท่ีบรสิ ุทธิ์ กรรมฐานที่ ๒๙ อานาปานสุ สตกิ รรมฐาน คือ การต้ังสติรู้ตัวอยู่กับลมหายใจเข้า ลมหายใจออกตลอดเวลาท่ีมีสมาธิภาวนาอยู่ กรรมฐานรู้ลม หายใจเข้าออกนี้เป็นกรรมฐานคลุมกรรมฐานท้ัง ๔๐ กอง จะภาวนากรรมฐานอันใดอันหนึ่งก็ต้องเร่ิมด้วยการ กําหนดรู้ลมหายใจเข้าออกเสีย ก่อน ท่านนักปฏิบัติธรรมท้ังหลาย ถ้าไม่กําหนดระลึกรู้ลมหายใจเข้าหายใจ เอกสารประกอบการสอน วชิ าพทุ ธปรัชญาเถรวาท เรยี บเรียง นายเตชทตั ป๎กสงั ขาเนย์ ๑๖๒

ออก การบรรลุมรรคผลจะเข้าถึงช้ามาก หรือท่านจะกําหนดลมหายใจเข้าออกไปกับการพิจารณากรรมฐาน ร่างกาย กรรมฐานซากศพ พิจารณาอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา พร้อมกับดูลมหายใจเข้าออกไปด้วย จึงจะได้บรรลุ อริยมรรค อริยผลรวดเร็ว อานาปานานุสสติน้ีมีสมาธิเป็นผลถึงฌาน ๔ สําหรับพุทธสาวก สําหรับท่านท่ี ปรารถนาเป็นพระโพธสิ ตั ว์ คือ พระพุทธเจ้าท่านผนู้ น้ั จะทรงฌานที่ ๕ ฌานท่ี ๔ จติ จะแยกออกจากกายไม่รับรู้ ทุกขเวทนาทางกาย มีจิตเปน็ สุขอยา่ งเดียว เป็นเอกัคคตา คือ จิตเป็นหน่ึงนิ่งในฌาน ๔ ฌานที่ ๕ สําหรับพุทธ ภูมพิ ระโพธสิ ัตว์ คือ ปญ๎ จมฌาน จติ เป็นสุขทรงอยู่ในเอกัคคตารมณ์ อารมณ์เป็นหน่ึง มีอุเบกขา ความวางเฉย เพม่ิ รวมกับอารมณ์เปน็ สุขของฌาน ๔ เมือ่ ทา่ นทที่ รงอานาปานานุสสติถึงฌาน ๔ มีสุขเป็นหนึ่งเดียวแล้ว ท่านพิจารณากรรมฐานอื่นๆ เป็น ทุกขัง อนิจจัง อนัตตาแล้วมีป๎ญญาเฉียบแหลมจากฌาน ๔ ท่านก็สามารถบรรลุ พระอรหันต์ผลภายใน ๓ วัน เปน็ อย่างชา้ ภายในที่นั่งเดียวคราวเดยี วเปน็ อย่างเรว็ เมื่อท่านกําหนดรูล้ มหายใจเข้าออกจนจิตไม่รับลมหายใจ ไม่รบั ทราบอาการทางกายทา่ นเรียกวา่ ทรง ฌาน ๔ วธิ ปี ฏบิ ัตอิ านาปานุสสติกรรมฐาน ๑. อยู่ที่ไหน เวลาใด ทํางานอะไร น่ัง เดิน ยืน นอน ว่ิง ขับรถ ล้างจาน ตําน้ําพริก อ่านหนังสือ ดูทีวี พูดจากับใคร ทําได้ทั้งนั้น ทําง่ายๆ ไม่ต้องนุ่งขาว ห่มผ้าเหลือง ไม่ต้องหนีไปอยู่วัด อยู่ปุา อยู่ในบ้านเมืองที่ วุ่นวายก็ทําได้ เพราะลมหายใจมีอยู่ในร่างกายเรามาต้ังแต่เกิด เพียงแต่เอาจิตเอาใจรับรู้ลมหายใจเข้าออกสั้น หรือยาว เรว็ หรือช้า ใหต้ ดิ ตามลมหายใจเทา่ นั้นทาํ ได้ทง้ั ลมื ตา หลับตา ไมต่ อ้ งน่งั น่ิงๆ หรือเดินช้าๆ เราฝึกที่จิต ไมไ่ ด้ฝึกหัดเดนิ หัดนงั่ ๒. จิตใจเราเคยท่องเท่ียวคิดถึงเร่ืองโน้นเรื่องนี้จนเคยชิน เคยตามใจจิตใจจนเหลิง มาคราวน้ีเราจะ บังคับให้รู้แต่ลมหายใจอย่างเดียวมาบังคับปฺุบป๎๊บนั้นเห็น ท่าจะยากเย็นเข็ญใจ ที่จิตจะยอมทําตามเรา จิตจะ ดิ้นรนวิ่งไปคิดอันโน้นอันนี้ตามเดิม กว่าเราจะรู้ตัวจิตก็คิดไปไกลก็คิดได้หลายเรื่องแล้ว ก็ไม่เป็นไรกลับรู้ลม หายใจตอ่ ใหมค่ อ่ ยๆ ทาํ ไปจนมีอารมณ์ชนิ กบั การร้ลู มเข้าลมออกไดว้ นั ละ ๕ นาทีกด็ ีมากแล้ว ๓. ถ้าจะใหด้ มี ากขึ้นเวลาหายใจเขา้ นึกว่า พุท เวลาหายใจออกใหน้ ึกว่า โธ เปน็ พระนามขององค์พระ พิชิตมารศาสดาสัมมาสมั พุทธเจา้ นึกถึงพระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นพทุ ธานสุ สตกิ รรมฐาน เป็นบุญบารมใี หญ่ทาํ ให้ จติ ใจสะอาดสมาธิตง้ั มัน่ ปญ๎ ญาแจ่มใส เขา้ ใจในพระธรรมคาํ สัง่ สอนไดเ้ ร็ว เป็นเหตใุ หเ้ ข้าถึงอรยิ มรรคอริยผล ทางเขา้ กระแสนิพพานได้ง่าย ๔. เพ่ือให้จิตใจตั้งมัน่ ภาวนาดีย่งิ ขึน้ จติ ไมว่ อกแวกฟุูงซา่ นไปนอกเรื่องนอก ทาง องคส์ มเด็จพระ พิชิตมาร ทรงสอนให้กําหนดภาพพระพทุ ธรปู ทไี่ หนก็ได้ท่ีเราชอบนึกถงึ ภาพพระองค์ท่านเป็น สเี หลือง สีเขยี ว เป็นกรรมฐานทางกสิณอีกเพิ่มเป็น ๓ กรรมฐาน นับรวมกันกาํ หนดรู้ลมเขา้ ออก นึกถึงพระคณุ ความดขี ององค์ พระบรมศาสดาสมั มาสัมพุทธเจา้ จับภาพพทุ ธนมิ ิตจําเอาไวใ้ นจิตในใจ จติ จะเป็นสมาธเิ ปน็ ฌานรวดเรว็ ไมว่ ง่ิ หนีฟุงู ซ่านไปไกลไรป้ ระโยชน์ จิตเป็นหน่ึงรวดเรว็ รวมพลังเอาไว้ตดั กิเลส โลภ โกรธ หลง ออกจากใจใหห้ มดไป เรว็ ไว เอกสารประกอบการสอน วชิ าพุทธปรัชญาเถรวาท เรียบเรียง นายเตชทัต ปก๎ สังขาเนย์ ๑๖๓

๕. ปฏิบตั ใิ หม่อารมณจ์ ะซ่านจะตีกนั จะเกิดอาการกลุ้ม บางวนั ดบี างวันไม่เปน็ เรื่องทา่ นก็สอนใหร้ ู้จกั ผอ่ นสัน้ ผอ่ นยาว อยา่ เคร่งเครียดอยา่ ขเ้ี กยี จเกนิ ไป ถ้าไม่ไหวกเ็ ลิก อารมณ์ดคี ่อยดูลมหายใจตอ่ ใหม่ ๖. เม่อื จติ รู้ลมเข้าออกเป็นปกตใิ จสบายจิตจะผ่องใสอารมณ์ปลอดโปร่ง จิตจะมีพลังป๎ญญาพลังบารมี ดีมีความฉลาดสามารถแก้ไขป๎ญหายุ่งยากของชีวิตได้ อย่างง่ายดาย ป๎ญหาทางธรรมก็สละละกิเลสตัณหา อุปทานไดร้ วดเร็ว จติ เปน็ สุขรา่ งกายแขง็ แรงมโี รคภัยน้อย จิตใจดีจิตใจมีคุณธรรม ลาภ ยศ สรรเสริญเจริญสุข ก็ตามมาไม่ต้องรอเวลาไปถึงชาติหน้าเมื่อไม่ต้องการโลก สวรรค์ พรหม ก็มีพระนิพพานเป็นที่หวังได้แน่นอน เพราะศีล สมาธิ ป๎ญญา แท้ท่ีจริงกค็ อื อนั เดียวกนั มอี ยดู่ ว้ ยกนั พระท่านแบ่งแยกสอนให้เราเข้าใจงา่ ย เทา่ น้ัน ๗. การรู้ลมหายใจเข้าออกถ้าฝึกแบบกรรมฐาน ๔๐ หรือให้ถึงฌาน ๔ ท่านให้เอาจิตจับว่าลมหายใจ กระทบ ๓ ที่ คือรู้ลมกระทบปลายจมูก รู้ลมกระทบหน้าอก รู้ลมกระทบหน้าท้องพองข้ึน คือ หายใจเข้า ถ้า หายใจออกกใ็ หร้ ้ลู มกระทบหน้าทอ้ งยบุ ลง กระทบหนา้ อก กระทบปลายจมกู เม่ือลมหายใจออก ถ้านักปฏิบัติทางฝุายมหาสติป๎ฏฐานสูตร ท่านก็ให้รู้ลมเข้าออกช้าหรือเร็วที่ปลายจมูกพร้อมกับ พิจารณา กาย เวทนา จิต ธรรม ถ้าทรงสมาธิเป็นฌาน ๑ ได้ คือปฐมฌาน ท่านก็ใช้ป๎ญญาฌาน ๑ ตัดกิเลส อวิชชา ตณั หาอปุ าทาน ตดั สังโยชน์ ๓ คอื เห็นว่าร่างกายตายแนน่ อนไมส่ งสัย พระธรรมคําสัง่ สอนขององค์พระ ประทีปแก้วศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้ามีศีล ๕ ครบ ท่านก็มีบุญวาสนาบารมีเข้าอริยมรรค อริยผลขั้นพระ โสดาบันได้รวดเรว็ เชน่ กนั กรรมฐานที่ ๓๐ อปุ สมานุสสติกรรมฐาน คือ กรรมฐาน ท่ีให้นักปฏิบัติระลึกนึกถึงพระคุณความดีความประเสริฐความสุขสงบอย่างยิ่ง พ้นจาก บ่วงเวรกรรมเวียนว่าย ตาย เกดิ นพิ พาน แปลว่า ดบั กเิ ลส ตัณหา อวิชชา อุปาทาน และอกุศลกรรม ถ้าระลึก ถึงพระนิพพานบอ่ ยๆ ตลอดเวลาไดย้ ิ่งดี จิตใจเรา ทา่ นก็จะวา่ งจากกิเลส ตัณหา อวิชชา อุปาทาน อกุศลกรรม ได้ง่ายๆ เพราะจิตมีท้ังศีล สมาธิ ป๎ญญาอยู่ในจิตใจเม่ือได้นึกคิดพิจารณาคุณประโยชน์สุขยอดเย่ียมของพระ นิพพาน พระคุณเจา้ หลวงปุพู ระพทุ ธโฆษาจารย์ ผ้รู จนาเขียนพระคัมภีร์วิสุทธิมรรค ท่านเป็นพระอรหันต์เย่ียม ยอดข้ันปฏสิ มั ภิทาญาณชาญฉลาด ท่านอธิบายถึงคุณพระนิพพานโดยท่านยกบาลี ๘ ข้อไว้เป็นแนวทางให้เรา ท่านระลกึ นึกถึงนิพพาน มีลักษณะ และคณุ ประโยชน์ ดังน้ี ๑. มทนิมฺมทโน การระลึกนึกถึงพระนิพพานทําให้จิตใจเราหมดความมัวเมาในชีวิตท่ีคิดว่าจะไม่ตาย เสียได้ ๒. ปิปาสวนิ โย การระลึกนึกถึงพระนิพพาน คือจิตสะอาด บริสุทธิ์เป็นจิตนิพพานแล้ว บรรเทาความ ใคร่ ความกระหาย หลงใหลในรูป รส กลิ่น เสียง สัมผัสอ่อนนุ่ม คือ กําหนัดยินดีในกามคุณทั้ง ๕ ก็หมดสิ้น จากจิตใจ เอกสารประกอบการสอน วชิ าพทุ ธปรชั ญาเถรวาท เรียบเรยี ง นายเตชทัต ป๎กสงั ขาเนย์ ๑๖๔

๓. อาลยสมุคฺฆาโต การระลึกนึกถึงนิพพานทําให้จิตใจสะอาด หมดกิเลส คือ ท่านท่ีเข้าถึงนิพพาน หมดสน้ิ กิเลสแล้ว จติ ใจทา่ นย่อมไม่ผูกพนั กบั กามคุณทง้ั ๕ เห็นกามคณุ ทั้ง ๕ กเ็ สมอื นเห็นซากศพท่เี หมน็ เน่า ๔. วัฏฏปัจเฉโท การระลึกนึกถึงคุณความดีของพระนิพพาน ทําให้จิตสลัดตัดการเวียนว่าย ตาย เกิด ตัดกิเลสได้หมดส้ิน ไม่มัวเมาในกิเลสทุกชนิด ตัดบาปกรรม พระนิพพานทําให้พ้นทุกข์จากบาปกรรมได้หมด โดยสน้ิ เชงิ ๕. ตัณหักขโย พระนพิ พานดับสน้ิ แห่งความอยากตัณหา ๖. วริ าโค การระลกึ นกึ ถึงคุณพระนิพพานทําให้ราคะตัณหา ความอยากใน ๓ โลกหมด ส้นิ ไป ๗. นโิ รโธ การระลึกนึกถึงคุณของพระนิพพาน ทําให้กิเลสราคะ ตัณหา ความอยากไม่กําเริบ คือ ดับ หมดสิ้นสนทิ มีความสขุ สงบยิ่ง หมดความทกุ ข์ทง้ั ปวง ๘. นพิ พานงั ดับส้นิ จากอวิชชา ตณั หา อปุ าทาน อกุศลกรรม อาํ นาจกรรมทงั้ ๔ ไม่สามารถจะทาํ ร้าย แกท่ า่ นทม่ี จี ิตเข้าถึงนิพพานอีกต่อไป ท่าน สอนให้ระลึกนึกถึงคุณของพระนิพพานทั้ง ๘ ข้อ หรือ ข้อใดข้อหนึ่งก็ได้ตามชอบใจ โดยให้ ภาวนาตามลมหายใจเข้าออกด้วย บริกรรมภาวนาว่า นิพพานัง ภาวนาจนจิตเข้าสู่อุปจารฌานได้ถึงที่สุดเป็น อารมณ์พิจารณาเป็นกรรมฐาน ละเอียดสุขุม มีกําลังไม่ถึงฌาน ๑ คุณประโยชน์ภาวนาพิจารณาพระนิพพานมีคุณประโยชน์มาก ทําให้ หมด อวิชชา ตัณหา อุปาทาน กิเลส และอกุศลกรรมได้ง่าย เป็น อริยมรรค อริยผล เป็นคุณสมบัติของพระอริยเจ้าต้ังแต่ พระโสดาบัน ข้ึนไป เปน็ ปจ๎ จยั ให้จติ เข้าถงึ พระนิพพานไดง้ า่ ยๆ พระนิพพานสูญจริงตามทพ่ี ระบาลกี ลา่ วไว้ว่า “นพิ พานงั ปรมงั สุญญัง” ใช่หรือไม่ ? ตาม หนังสือวิสุทธิมรรคท่ีพระอรหันต์ พระคุณเจ้าหลวงปุู พระพุทธโฆษาจารย์เขียน ดังพระบาลีท้ัง ๘ คุณลักษณะพระนิพพาน ไม่มีคําว่าสูญ เพียงแต่ว่า ว่างดับจากกิเลส ตัณหา อุปาทาน อวิชชา สูญจากธาตุ ๔ ดิน นํ้า ลม ไฟ สูญจากขันธ์ ๕ เป็นทุกขัง อนิจจัง อนัตตา สูญจากความทุกข์ยาก ลําบากโดยส้ินเชิง แต่มีส่ิงหนึ่งที่ไม่สูญส้ิน คือ จิตฉลาด สะอาด บริสุทธิ์ ปราศจากกิเลส ตณั หา อวิชชา จติ มีป๎ญญา จิตพระอรหันต์ไม่สญู สน้ิ คอื จิตพระนิพพาน จิตพุทธะ จิตผู้รู้ ผู้ต่ืน ผู้เบกิ บาน ถ้านิพพานสูญตามทท่ี ่านเข้าใจผิดแลว้ พระพุทธองคค์ งไม่ตรสั ต่อไปวา่ “นิพพานัง ปรมัง สุขงั ” แปลว่า “จิตสะอาด ปราศจากกิเลส” คือ จติ นพิ พานเป็นสุขอย่างย่ิงทั้งๆ ที่ ยงั มรี า่ งกายขันธ์ ๕ สกปรกเป็นทุกข์อยอู่ ยา่ งนแี้ ต่จิตเป็นสุขไม่เป็นทุกข์ตามขันธ์ ๕ รา่ งกาย เอกสารประกอบการสอน วิชาพทุ ธปรัชญาเถรวาท เรยี บเรียง นายเตชทัต ปก๎ สงั ขาเนย์ ๑๖๕

ผู้ ที่สงสัยในพระนิพพานสูญหรือไม่ องค์พระประทีปแก้วศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าโปรดเมตตา ประทานวิชามโนมยิทธิ กรรมฐาน มาใหท้ กุ ทา่ นไดฝ้ กึ พสิ จู น์ สมั ผสั นรก สวรรค์ พรหม นพิ พาน ได้ตามรายการ ท่ีให้ไว้สถานที่ต่างๆ ด้านหลังหนังสือ ตราบใดท่ีท่านยังสงสัย หรือเข้าใจผิดพลาด เรื่องพระนิพพานตามที่ นักเขียนท้ังหลายคิดเขียนข้ึนมาเองตามที่แปลพระบาลี ได้ผิดๆ ไม่ถูกต้อง เพราะบุญบารมีมีไม่มากพอท่ีจะ เขา้ ใจในพระนิพพานได้ จะทาํ ใหท้ า่ นต้องเวยี นว่ายตายเกดิ อีกนาน เพราะการเข้าใจผิดพลาดเป็นกิเลสสังโยชน์ ข้อที่ ๒ คือ วิจกิ ิจฉา คือ ความลงั เล สงสัยในพระธรรมคาํ ส่ังสอนของพระพุทธเจ้า สงสัยเข้าใจผิดพลาดในพระ นิพพาน พระธรรมของพระพุทธองค์ทรงค้นพบพระนิพพานแสนยาก แต่ต่อมามีลูกศิษย์ของพระพุทธเจ้ามา กล่าวตู่ว่า พระนิพพานสูญหมดส้ิน ตายแล้ว สูญว่างเปล่าหมด นรก สวรรค์ พรหม นิพพานไม่มี อย่างนี้เป็น การแปรเปลี่ยนพระธรรมคําสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้าโดยรู้เท่าไม่ ถึงการณ์ ทําให้มีอวิชชา เมื่อมีอวิชชา ความไมร่ จู้ ริงสงิ่ ที่ตามมาคือ กิเลส ตัณหา อุปาทา มีทิฐิมานะคิดว่าความคิดของตนเองถูต้องแล้ว ก็อีกนานนัก ถงึ จะมองเห็นแสงธรรมแสงสว่างพระนิพพาน สิ่งท่ีเป็นบาปกรรมตามมาคือ แปลเปล่ียนพระธรรมคําสอนของ องคพ์ ระศาสดา ก็คือมที างเดยี วทจี่ ิตจะไปเสวยความทุกข์ในนรก เปรต อสุรกาย สตั วเ์ ดรัจฉาน คือ อบายภมู ิ หนังสือธรรมประทานพรออกมาสู่สายตาท่านก็เนื่องจากดิฉัน ผู้เขียนได้ฝึกมโนมยิทธิตามแบบท่ี พระคุณเจ้าหลวงพ่อพระราชพรหมยานได้เดินทาง ไปส่ังสอนลูกหลานถึงอเมริกา ดิฉันเป็นคนหนึ่งที่มีบุญ วาสนาไดฝ้ ึกกับลกู ศิษยข์ องพระคุณเจ้าหลวงพ่อท่าน พอฝึกได้แล้วจิตของดิฉันก็เฝูาอยู่กับพระผู้มีพระภาคเจ้า ตลอดเวลา คอยกราบทูลถามป๎ญหากับพระพุทธองค์ เพราะเป็นคนชอบสงสัยอยากรู้ ตั้งหน้าต้ังตาอยากเห็น ไปหมดทุกอย่าง ทั้งที่เป็นสาระและไม่เป็นสาระประโยชน์ จนโดนดุมากๆ จึงเลิกสงสัย ก้มหน้าก้มตาละกิเลส ตณั หาของตนเองตอ่ ไปจนกว่าจะตาย แลว้ องคพ์ ระบรมศาสดาสัมมาสัมพทุ ธเจ้าก็โปรดเมตตามีพระพุทธบัญชา ใหด้ ฉิ นั เขียนหนงั สอื โดยได้ทรงประทานชื่อว่า ธรรมประทานพร คําอักษรทุกตัวท่ีเขียนก็มาจากพระองค์ท่าน โปรดเมตตาดลจิต ดลใจให้ดิฉันเขียนออกมาได้ง่ายๆ ท่านผู้อ่านที่สงสัยในเร่ืองพระนิพพานก็ให้ต้ังใจปฏิบัติ พระกรรมฐานมีศีล สมาธิ วิป๎สสนาญาณ หาอาจารย์ฝึกมโนมยิทธิกรรมฐานเพื่อพิสูจน์สภาวะนิพพานด้วย ตนเองจะมปี ๎ญญา เข้าใจในพระนิพพานได้ถูกตอ้ งไม่ต้องวิพากษ์วิจารณ์ตามความเข้าใจผิดๆ ของตนเอง จะทํา ให้เป็นบาปเป็นกรรมชั่วโดยที่ท่านไม่รู้ตัวว่ามีความผิด พระนิพพานไม่ได้สูญสลายหายไปไหน พระนิพพานยัง อยู่ในจิต ในใจของพระอริยะเจ้า พระอรหันต์ทุกๆ พระองค์ และพระอรหันต์ในเมืองไทยท่านก็ยังมีชีวิตอยู่ มากมาย จิตใจทา่ นไมไ่ ด้หายไปไหน ท่านรอให้รา่ งกายสูญสลายตายไป จิตท่านจะเข้าบรมสุขแดนทิพย์นิพพาน ตลอดกาล พรหมวหิ าร ๑. กรรมฐานท่ี ๓๑ เมตตา มจี ติ รัก ปรารถนาดีต่อคน สัตวท์ ่เี ป็นเพอ่ื นเกดิ แก่ เจบ็ ตาย กนั ท่ัวท้ังโลกไมไ่ ด้รัก เมตตาฉนั ชูส้ าว หรอื เมตตา เพ่ือหวังผลตอบแทน เอกสารประกอบการสอน วชิ าพทุ ธปรชั ญาเถรวาท เรยี บเรียง นายเตชทัต ป๎กสังขาเนย์ ๑๖๖

๒. กรรมฐานท่ี ๓๒ กรณุ า มีจิตคิดชว่ ยเหลอื สงเคราะหใ์ ห้พ้นจากความทุกขย์ าก ลาํ บากกาย ใจ ช่วยตามท่ีจะชว่ ยได้ ๓. กรรมฐานท่ี ๓๓ มุทติ า มีจติ พลอยยินดีเมื่อเหน็ ผอู้ ่ืนไดด้ ี มีความสขุ ไม่มีจิตอิจฉา ริษยา มจี ติ อ่อนโยน ๔. กรรมฐานที่ ๓๔ อุเบกขา มีอารมณเ์ ฉย เม่ือชว่ ยเหลือใครไมไ่ ด้ ไมด่ ีใจเมือ่ ไดล้ าภยศสรรเสริญเจริญสขุ ไมเ่ สยี ใจเม่ือเส่อื มลาภยศ สรรเสริญเจริญสขุ เฉย ในความเมตตา ไม่ใช่เฉยด้วยใจจืดใจดํา ไม่สนใจ ถ้าทุกท่านมีคุณธรรมท้ัง ๔ อยู่ในใจตลอดเวลา พระท่านถอื ว่าจิตทรงฌานในพรหมวิหาร ตายแลว้ จิตออกจากรา่ งกม็ หี วังเป็นเทพช้นั ประเสริฐ คือ ช้นั พรหม คณุ ประโยชน์ของผู้มพี รหมวหิ าร ๔ ข้อ คอื ๑. สุขัง สปุ ฏิ นอนหลบั เป็นสุขเหมือนนอนหลบั ในสมาบัติ หลบั ในฌาน ๒. ตนื่ ข้นึ จติ มคี วามสขุ ไม่มอี ารมณข์ ่นุ มัว มจี ิตชื่นบาน ๓. นอนฝน๎ ก็ฝ๎นสงิ่ ทดี่ ี ๔. เป็นที่รกั ของคนทว่ั ไป เทพ เทวดา พรหม ภูตผี กม็ าขอส่วนบญุ ภตู ผีกไ็ มท่ ําอนั ตรายได้ ๕. จะไมม่ อี นั ตรายจากไฟไหม้ จากอาวุธ ยาพิษ ๖. จิตจะตั้งมัน่ ในอารมณ์ สมาธเิ ปน็ ปกติไมเ่ ส่ือม และจะเจรญิ ก้าวหนา้ ในสมาธิยงิ่ ขนึ้ ๗. มใี บหนา้ สดใสชน่ื บาน แก่ช้า ๘. เม่อื จะตาย ไม่หลงสตฟิ น๎่ เฟือน ตายจะมีสตสิ ัมปชญั ญะสมบรู ณ์ ๙. เทวดา พรหมจะคอยติดตามรักษา ให้ความปลอดภัยจากอันตรายท้ังปวง ทําให้มีชีวิตอยู่ ในโลกนี้เปน็ สขุ ไม่ทกุ ข์รอ้ น ๑๐. ถา้ มิไดบ้ รรลุมรรคผลชาติน้ี ผลจากการมีอารมณ์ทรงพรหมวหิ าร ๔ จะสง่ ผลให้ไปเกิดใน พรหมโลกมีความสขุ มาก จากพรหมโลกไดร้ ับคําสอนจากพระอรหนั ต์เบื้องบนกส็ ามารถบรรลุมรรคผล เขา้ พระ นพิ พานได้งา่ ยๆ ๑๑. มีอารมณส์ ดชื่น แจม่ ใส เบิกบาน ปลอดโปร่ง มีศีลบริสุทธิ์ผุดผ่อง เพราะเมตตา ทําให้มี ปญ๎ ญาดีไม่ละเมดิ ศีล ๕ มีฌานในพรหมวิหาร๔ มสี มาธิตัง้ ม่ัน จิตใจไม่วอกแวกวุน่ วาย จติ มีความสุข อรปู ฌาน ๔ อรูปฌาน ๔ คือ การภาวนาอยู่ในอารมณ์ของฌานที่ไม่มีรูปร่าง มองไม่เห็นด้วยตา แต่มี อยู่ อรูปฌานน้เี ปน็ ฌานละเอียด และอยใู่ นระดับฌานสูงสุด ท่านที่ปฏิบัติได้อรูปฌานท้ัง ๔ แล้วเจริญวิป๎สสนา ฌาน คือ พิจารณาทุกสงิ่ ทกุ อย่างในโลก รวมท้งั ของทม่ี องไมเ่ หน็ คือ อากาศ สัญญา ความจํา สังขาร ความคิด ดี ช่ัวท้ังหลาย เวทนา ความรู้สึกสุขๆ ทุกข์ๆ ทั้งหลาย วิญญาณ ระบบประสาททุกส่วนในร่างกายเป็น ความรู้สึกทางตา หู จมูก ล้ิน กายใจ เป็นของแปรปรวน เป็นทุกข์ เป็นโทษ แล้วก็สูญส้ินสลายกลายเป็น อนัตตา คือ ความว่างเปล่า แล้วเข้าใจสภาพทุกอย่างตามความจริง ตามกฎธรรมชาติ ท่านก็บรรลุมรรคผล เอกสารประกอบการสอน วิชาพทุ ธปรัชญาเถรวาท เรยี บเรียง นายเตชทัต ปก๎ สงั ขาเนย์ ๑๖๗

นิพพานได้รวดเร็วเป็นพิเศษ เพราะเป็นฌานละเอียดสูงสุด ป๎ญญาเฉียบแหลม อรูปฌานน้ีมีลักษณะเป็นฌาน ปล่อย อารมณ์จิตไม่ยึด ไม่เกาะในรูปลักษณ์ หรือไม่มีรูปลักษณ์ ทําใจให้ว่างเปล่าจากรูป จากนาม จาก วิญญาณ ว่างเปล่าจากความจาํ ไดห้ มายรู้ ทา่ นท่ีได้อรูปฌานทง้ั ๔ จิตวา่ งจากกเิ ลส อารมณเ์ ปน็ สขุ สงบ ในฌาน เมื่อสําเร็จมรรคผลจากการเจริญวิป๎สสนาญาณ จะได้เป็นพระอรหันต์สูงสุด มีความสามารถพิเศษเหนือพระ อรหนั ต์ทง้ั ปวง คอื พระอรหันตข์ นั้ ปฏสิ ัมภิทาญาณ พระอรหนั ต์ขัน้ ปฏิสมั ภิทาญาณ พระอรหนั ต์ข้ันปฏิสัมภทิ าญาณ มที ้ังอภิญญา ๖ มีทั้ง เตวิชโช คลุมทงั้ พระอรหันต์สุขวิป๎สสโก แถมยังมีคุณพิเศษอีก ๔ อย่าง คือ ๑. อัตถาปฏิสัมภิทา มีป๎ญญาแตกฉาน ฉลาดในการ อธิบายถ้อยคําที่ยากเป็นง่าย ย่อความเรื่องราวพิสดารให้ง่าย สัน้ ได้ใจความชัดเจน ๒. ธัมมปฏิสัมภิทา ฉลาดในการอธิบายหัวข้อธรรมที่ พสิ ดารยากทจี่ ะรู้ ทา่ นทาํ ให้งา่ ยเข้าใจชัดเจนในหัวขอ้ ธรรมนน้ั ๆ ๓. นริ ตุ ตปิ ฏิสัมภิทา มีความเฉลียวฉลาดในภาษาทุกๆ ภาษา รวมท้ังภาษาสัตว์ รู้และเข้าใจภาษาทุก ภาษาโดยไมต่ ้องเรยี นได้อย่างอัศจรรย์ ๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา มปี ฏิภาณว่องไว เฉลยี วฉลาด สามารถแก้ปญ๎ หาทกุ ปญ๎ หาได้อยา่ งอศั จรรย์ พระคุณเจ้าหลวงพ่อพระราชพรหมยาน วัดท่าซุง อุทัยธานี ท่านเขียนไว้ในคู่มือปฏิบัติพระกรรมฐาน ถึงความแตกตา่ งของพระผทู้ รงอภิญญา ๖ กับพระปฏสิ ัมภิทาญาณ ดงั น้ี พระอรหนั ตป์ ฏสิ มั ภิทาญาณ ๑. ทา่ นได้ฝึกกสณิ ๑๐ และทรงอภญิ ญามาก่อนจนชํานาญครบทุกกอง ๒. แลว้ ท่านเขา้ ฌานในกสิณอย่างใดอยา่ งหน่ึงจนถงึ ฌานที่ ๔ ๓. แล้วปลอ่ ยนิมติ ในกสิณแล้วภาวนาเจริญอรูปฌาน ๔ ๔. ตอ้ งสาํ เร็จมรรคผลอยา่ งต่ําเปน็ พระอนาคามี หรอื พระอรหัตผลกอ่ น ๕. ผล หรอื คณุ พิเศษปฏิสัมภิทาญาณจึงจะปรากฏบงั เกิดเม่ือทา่ นบรรลุอรหตั ผล พระอรหันตอ์ ภิญญา ๑. ทา่ นปฏบิ ตั ิกสิณ ๑๐ ครบจนชาํ นาญ ๒. อย่างน้อยไดก้ สณิ ๘ อยา่ งยกเวน้ อาโลกกสณิ และอากาศกสิณ ๓. เมอ่ื ชํานาญกสณิ ทั้ง ๘ หรอื ท้งั ๑๐ ไดท้ ง้ั ๆ ทเ่ี ปน็ ฌานโลกยี ์ ท่านกท็ รงอภิญญาได้ เอกสารประกอบการสอน วิชาพทุ ธปรัชญาเถรวาท เรียบเรยี ง นายเตชทตั ปก๎ สังขาเนย์ ๑๖๘

๔. นักปฏิบัติท่ีไม่เคยฝึกเรียนกสิณเลย หรือทรงกสิณได้บางส่วนแต่ยังไม่ถึงข้ันอภิญญา แล้วท่านมา เรียนปฏิบัติในอรูปฌานนี้ย่อมปฏิบัติไม่สําเร็จ เพราะการท่ีทรงอรูปฌานได้ต้องใช้กสิณ ๙ ประการ คือ ปฐวี เตโช วาโย อาโป นิล ปิตะ โลหิต โอทาตะ อาโลกะ เว้นอากาศกสิณอย่างเดียว ท้ัง ๙ กสิณน้ีเป็นรากฐานของ อรูปฌาน ต้องได้กสณิ นน้ั ๆ ถงึ ฌาน ๔ แล้วจงึ เข้าอรูปฌานได้ กรรมฐานท่ี ๓๕ อากาสานญั จายตนะ หรอื อรูปฌานที่ ๑ กรรมฐาน กองนเี้ รยี กอีกอย่างวา่ สมาบัติ ๕ ในวิสุทธิมรรค ทา่ นกล่าวว่า ผู้ที่จะเข้ากรรมฐานอรูปฌาน อากาสานญั จายตนะ ตอ้ งเข้าฌานในกสิณ ๑๐ กองใดกองหน่งึ ใหเ้ ปน็ ฌาน ๔ ก่อน แล้วขอให้นิมิตกสิณกองน้ัน หายไป เพราะตราบใดที่มีรูปอยู่ก็เป็นป๎จจัยให้มีความทุกข์ไม่จบสิ้น รูปกายคน กายสัตว์ กายเทวดาใดๆ ก็ ตามท่มี กี ไ็ ม่คงทน แตกสลายในท่สี ุด เราไม่ต้องการในรูป กายใดๆ ท้ังส้ินแล้วละทิ้งรูปนิมิตกสิณที่จับไว้เสีย ถือ อากาศเป็นอารมณ์ จนวงอากาศเกิดเป็นนิมิต ท่ีมีขอบเขตกว้างใหญ่ แล้วอธิษฐานย่อให้อากาศเล็กใหญ่ตาม ประสงค์ จนจติ รกั ษาอากาศไวเ้ ป็นอารมณ์ โดยกาํ หนดจติ ใจว่า อากาศไมม่ ีทีส่ ิน้ สุด จนจิตเปน็ อุเบกขารมณ์ คือ อารมณเ์ ฉยนค้ี ือ อรปู ฌาน ๑ หรอื สมาบตั ิ ๕ ต่อจากฌาน ๔ เรียกว่าสมาบตั ิ ๕ กรรมฐานท่ี ๓๖ วิญญาณญั จายตนะ หรอื อรูปฌานท่ี ๒ หมาย ถึง ภาวนากาํ หนดวิญญาณ ซง่ึ ไมม่ รี ปู ลักษณเ์ ป็นอารมณ์ เร่ิมด้วยการจับกสิณ ๑๐ เป็นรูปนิมิต ภาวนาอนั ใดอนั หน่งึ กอ่ นจนจติ เปน็ ฌาน ๔ เปลีย่ นจากกสิณนิมิตเป็นภาพอากาศกสิณแทน จนจิตน่ิงเฉยดีแล้ว เปลย่ี นจากอากาศโดยตัง้ ใจกําหนดจดจําว่าอากาศที่เปน็ นมิ ติ นถ้ี ึงแม้จะไม่มีรูปก็ตาม แต่ก็ยังหยาบอยู่มาก เรา จะท้ิงอากาศเสีย จับเอาเฉพาะวิญญาณตัวรู้สึกทางตา หู จมูก ลิ้น กายใจ เป็นอารมณ์ แล้วกําหนดทางจิตว่า วิญญาณ ความรู้สึกทางอายตนะ ๖ ท้ังหลายเว้ิงว้างกว้างใหญ่หาท่ีสุดมิได้ จิตรู้ว่าวิญญาณกว้างใหญ่ไม่มีที่ ส้ินสุด นามรูป วิญญาณคน สัตว์ ผี เทพ พรหมยังมีความรู้สึกทางวิญญาณ ถ้าจิตติดในรูปวิญญาณของผี เทวดา พรหมก็ยังคงเวียนว่าย ตาย เกิดไม่มีที่สิ้นสุด เราไม่ต้องการมีวิญญาณ เพราะยังไม่หมดทุกข์ ยังมี ความรู้สึกทางระบบประสาท ตา หู จมูก ล้ิน กาย ใจ คิดอย่างน้ีตลอดจนจิตตั้งเป็นอุเบกขารมณ์ วางเฉยอย่าง เดยี ว ทา่ นเรียกวา่ สมาบัตทิ ่ี ๖ กรรมฐานท่ี ๓๗ อากิญจัญญายตนะ หรือ อรปู ฌานท่ี ๓ ภาวนา ตอ่ จากอรูปฌานท่ี ๒ คือ วิญญาณญั จายตนะ โดยเข้าฌาน ๔ ในวิญญาณ กําหนดวิญญาณไม่ มีจดุ จบสน้ิ แลว้ ถา้ จิตยงั ติดอยใู่ นวิญญาณเพยี งไร ก็ต้องเวยี นว่าย ตายเกิดไมม่ ีวนั ส้ินสุด เหมือนวิญญาณฉันน้ัน เปล่ียนจากวิญญาณออกไป เราไม่ต้องการอากาศไม่ต้องการวิญญาณ เพราะยังไม่จบการเวียนว่าย ตาย เกิด ยังไม่พ้นทุกข์ คิดว่าอากาศไม่มี วิญญาณไม่มี คือ ไม่มีอะไรเลยแม้แต่น้อยนิด ถ้ามีก็พังสลายเปล่ียนแปลงไม่มี ที่สุด จิตจับเอาความว่างเปล่าไม่มีอะไรเหลือจะได้ไม่มีทุกข์ต่อไป การไม่มีอะไรในอากาศ และวิญญาณ เอกสารประกอบการสอน วิชาพทุ ธปรชั ญาเถรวาท เรยี บเรียง นายเตชทัต ปก๎ สังขาเนย์ ๑๖๙

ปลอดภัยจากทุกข์ภัยอนั ตราย แล้วกําหนดจิตไม่เอาทุกสิ่งทุกอย่าง ไม่ยึด ไม่ถือ ไม่มีอะไรทั้งหมดในจิต จนจิต เป็นหน่ึง คอื วางเฉยเป็นอเุ บกขารมณ์ เรยี กวา่ สมาบตั ทิ ่ี ๗ กรรมฐานท่ี ๓๘ เนวสัญญานาสญั ญายตนะ หรืออรปู ฌานท่ี ๔ อรูป ฌาน ๔ หรือสมาบัติ ๘ เริ่มจากอรูปฌาน ๑ เข้าอรูปฌาน ๒ แล้วเข้ารูปฌาน ๓ คือ อา กิญจัญญายนตนะ จนจิตวางเฉยเป็นหน่ึงเดียวจากความไม่มีอะไรเหลือ แม้แต่น้อยนิด ยังมีเหลือแต่จิตที่ยังมี ความจําได้หมายรู้ จําชื่อ จําเพศ จําบิดา มารดา จําคนรัก จําทรัพย์สมบัติตนเองตราบใดที่ยังมีความจําได้ หมายรู้ ความรู้สึกสุขๆ ทุกข์ๆ จากการจดจํายังมีอยู่ ถ้าการพลัดพรากจากของท่ีจําได้ ก็ยังมีความอาลัย อาวรณ์ เสยี ดาย ก็ทง้ิ อารมณจ์ ติ ทจ่ี ําอะไรน้อยนดิ หนึ่งไม่มเี ลยนัน้ เสีย แล้วกําหนดจติ เอาวา่ ต่อแต่น้ีไปเราจะไม่ มีสญั ญาความจํา คือ ทําความรู้สึกว่าแม้มีความจําอยู่ก็เหมือนไม่มีความจํา ทําความรู้สึกว่าแท้ที่จริงมีความจํา อยู่ก็เหมือนไม่มีความจํา จิตเพิกเฉยไม่ยอมรับรู้ความจํา ทําตัวเหมือนหุ่นเคลื่อนท่ีท่ีไร้วิญญาณ ไม่มีความรู้สึก ใดๆ ในร่างกาย ไม่มีความจําใดๆ ในโลก เพราะความจําทําให้จิตยึดติดกับความจําเป็นเหตุของทุกข์ ต้องมี ร่างกาย เวยี นว่าย ตาย เกิด ไม่ยอมรับรู้อารมณ์ใดๆ หนาว ร้อน หิว กระหาย เจ็บปวดของร่างกาย จิตไม่รับรู้ คือ ไม่จําร่างกายทั้งรูปนามขันธ์ ๕ ว่าเป็นของเรา เพราะจริงๆ แล้วไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่ของใครเขา ขันธ์ ๕ รา่ งกายเปน็ เพยี งหนุ่ เคลอื่ นที่ ที่จติ เรามาอาศยั ชั่วคร้งั ชั่วคราวเท่านั้น จิตไม่ดิ้นรนกระวนกระวายกับความทุกข์ กาย ทุกข์ทางเวทนาทางอารมณ์ใจ มีความทุกข์ใจหนักใจในสัญญาความจํา ทุกข์ทางสังขารความคิดดีคิดชั่ว ทั้งหลาย ความคิดเป็นทุกข์ทางวิญญาณระบบประสาท ตา หู จมูก ลิ้น กายใจ ไม่สนใจอะไรท้ังหมด เพราะ ไม่ใช่ของจิต มีชีวิตทําเสมือนคนตายด้าน คือ ปล่อยตามเร่ืองของร่างกาย ไม่สนใจปล่อยวางร่างกายออกจาก จติ ทงั้ รปู ทง้ั นาม จนจิตแนน่ ิ่งอยู่ในการวางเฉย แบบนที้ า่ นเรยี กว่าอรปู ฌาน ๔ หรือสมาบตั ิ ๘ กรรมฐานที่ ๓๙ อาหาเรปฏกิ ลู สญั ญา คอื การพจิ ารณาอาหารทุกชนดิ ก่อนทีจ่ ะตกั อาหารเข้าปาก ให้จิตพิจารณาดูรู้ว่าอาหารน้ันมาจากซาก พืช ซากสัตว์ ศพที่ตายแล้ว พืชก็มาจากดินจากป฻ุยหมักเหม็นเน่า แล้วมาปรุงตกแต่ง ถ้าท้ิงไว้ไม่รับประทาน ๑ - ๒ วันก็เหม็นบูดเป็นของสกปรกที่พอดูได้ก็เพราะเอามาต้ม แกง ผัดตกแต่งสีสันยังดูใหม่ ยังไม่เหม็นบูด เรา จะกินอาหารเพียงเพื่อระงับความหิวเป็นทุกข์เท่านั้น เราจะไม่ติดใจใยดีกับสีสัน รสดี หรือไม่ดี เราจะไม่สนใจ ยึดติดกับอาหารน้ันๆ เพราะถ้าจิตไปติดใจในรสอาหาร เป็นสาเหตุให้จิตหลงรสอร่อย คือ ตัณหา ความอยาก ความพอใจ เปน็ กิเลสทําให้จิตตอ้ งมาอยใู่ นกรงขังของร่างกายเปน็ ทุกข์หวิ แบบนี้ เวียนว่ายตายเกดิ ไมม่ ที ส่ี ิ้นสดุ กรรมฐานน้ีสําคัญ คือ พระภิกษุที่ไม่ได้พิจารณาอาหารก่อนฉันอาหารทุกมื้อ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรง ตรัสว่า เป็นผู้ประมาทติดใจในรสอาหารไม่ปฏิบัติสมควรแก่ฆราวาสน้อมนําอาหารมาถวาย จิตพระสงฆ์ที่ไม่ พิจารณาอาหารเป็นของสกปรกยังเป็นจิตของปุถุชนคนหนาแน่นด้วย กิเลสไม่ประพฤติธรรมสมกับเป็นเพศ บรรพชิตไม่ใช่พระแท้ ท่านเรียกว่าสมมุติสงฆ์ ใจยังไม่เป็นพระแท้ พระท่ีปฏิบัติพระกรรมฐานควรพิจารณา เอกสารประกอบการสอน วชิ าพุทธปรัชญาเถรวาท เรยี บเรยี ง นายเตชทัต ปก๎ สงั ขาเนย์ ๑๗๐

อาหารเป็นของสกปรกบํารุงร่างกาย ซ่ึงเป็นของสกปรกเช่นกัน ทําอย่างน้ีทุกวัน ทุกม้ือ จิตท่านจะรอด ปลอดภัยจากอบายภูมิ ด้วยการทําจิตไม่ติดในรูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส ของอาหารเป็นการตัดละวางกามคุณ ๕ ไปในตัว เป็นกรรมฐานที่ง่ายได้กําไร คือ จิตมีป๎ญญาเฉลียวฉลาดจะเข้าถึงอริยมรรค ถึงอริยผลได้ง่าย เป็น กรรมฐานของผู้มีป๎ญญา คือพุทธจริต ทําให้เข้าถึงกระแสพระนิพพานเร็วไว เพราะไม่ติดใจในรสสัมผัสของ อาหาร จิตเป็นวปิ ส๎ สนาญาณไม่ตกเปน็ ทาสกิเลส เร่ือง อาหารนี้ องค์สมเด็จพระพิชิตมารบรมศาสดาท่านทรงห้ามไม่ให้ฆ่าสัตว์ทุกชนิดกินเป็น อาหาร เพราะสัตว์ก็มีจิตใจของคนเช่นกัน ท่านไม่ได้ห้ามรับประทานเน้ือสัตว์ ปลา หมู เป็ด ไก่ กุ้ง ปู เพราะการ รับประทานอาหารมงั สวริ ัติ หรืออาหารเจ ไมไ่ ด้ทําใหค้ นหมดสิน้ กิเลส พระเทวทัต ได้ทูลขอให้พระผู้มีพระภาค เจ้า ต้ังกฎไม่ไห้พระภิกษุฉันอาหารประเภทเน้ือสัตว์ พระผู้มีพระภาคเจ้าไม่เห็นดีด้วย เพราะไม่เป็นประโยชน์ ไม่สําคญั พระภกิ ษตุ อ้ งอย่งู า่ ย กนิ งา่ ย ชาวบ้านกนิ อะไร ถวายอะไร พระภิกษุก็ฉันได้ไม่ผิดอะไร องค์พระบรม- ศาสดาทรงหา้ มพระภิกษุไม่ให้ฉันอาหารท่ีคนบอกช่ือประเภทเนื้อสัตว์ ก่อนถวายท่านห้ามไม่ให้รับ เพราะการ บอกช่ืออาหารเป็นโทษแก่พระภิกษุก่อให้เกิดกิเลสตัณหา อยากรับประทานตามช่ือน้ัน อาหารท่ีพระผู้มีพระ ภาคเจ้า ทรงห้ามพระภิกษุฉันมีเนื้อมนุษย์ เนื้อเสือโคร่ง เน้ือเต่า เนื้อช้าง เนื้อสุนัข เสือเหลือง เสือดาว หมี งู ท่านเว้นเด็ดขาด เพราะมีรสดีเกินไปก่อให้เกิดกิเลสตัณหา ผู้ไม่มัวเมาติดใจในรสอาหาร คือ ผู้ที่ไม่ติดใจใน ร่างกายจะรสอร่อย หรือไม่อร่อยจะเป็นเน้ือสัตว์ หรือพืชผักก็เป็นของสกปรกท้ังส้ิน อาหารสกปรกบํารุงเล้ียง ร่างกายที่สกปรกเหมือนซากศพเดินได้ พูดได้ แท้จริงจะเป็นเนื้อสัตว์ท่ีตายแล้ว หรือพืช ผลไม้ก็คือธาตุดิน เหมอื นกันกบ็ ริโภคได้ เพ่ือปฏิบตั ธิ รรม หรอื เพ่ือใชร้ ่างกายทําความดตี อ่ ไป เพ่อื พระนิพพานในชาตปิ จ๎ จบุ นั น้ี กรรมฐานท่ี ๔๐ จตุธาตุววฏั ฐาน ๔ เป็น กรรมฐานพินิจพิจารณาของผู้มีนิสัยฉลาด คือมีอารมณ์อยากรู้ อยากเห็นอยากพิสูจน์ สําหรับ พุทธจริต คือ มีความฉลาดเฉียว พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงสอนให้ใคร่ครวญรู้เท่าทันความเป็นจริงของขันธ์ ๕ รา่ งกาย วา่ ร่างกายเป็นโครงร่างสร้างขึ้นจากธาตุดิน ธาตุนํ้า ธาตุลม ธาตุไฟ ถ้าบรรยายตามนักเคมีก็ คือ ธาตุ คาร์บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน ไนโตรเจน แคลเซียม ฟอสฟอรัส ไอโอดีน โปตัสเซียม ธาตุไอโอดีน ซิลิคอน แมงกานิส ซีลีเนียม คลอไรด์ สังกะสี ซิงค์ไอรอน คือธาตุเหล็ก และธาตุอ่ืนๆ อีกมากมายหลายชนิดอยู่ใน รา่ งกาย รวมเอางา่ ยๆ คอื ดนิ น้ํา ลม ไฟ อยู่ในโลกน้ีประกอบกันแล้วแตกแยกสลายอยู่ตลอดเวลา เรือนร่างท่ี จติ เราอาศัยอยนู่ ี้เปน็ เสมอื นบา้ นเช่าท่ีจติ เรามาอาศยั ชวั่ คราว บ้านนกี้ ายนี้แตกสลาย ตายไป จิตใจก็ออกไปหา ทีอ่ ยใู่ หม่ ตามบุญ ตามกรรม ถ้าไม่รู้ทางบริสุทธ์ิผุดผ่อง คือ ทางพระนิพพานก็เวียนเกิดเวียนตายไม่มีวันจบสิ้น มีท่ีจบอยู่ที่เดียว คือ พระนิพพาน ร่างกายธาตุ ๔ นี้ไม่ได้อยู่ในอํานาจของจิต แต่ร่างกายธาตุ ๔ อยู่ใต้กฎของ ธรรมชาติ คือ อนิจจัง แปรปรวน ทุกขัง แตกแยกเจ็บปวด อนัตตา คือ ไม่อยู่ในอํานาจของใครทั้งส้ิน เป็นกฎ ธรรมดาของโลกนี้ ทุกอย่างตอ้ งเส่ือมสลายกลายเป็นความว่างเปล่า จิตคิดแบบนี้จนชินเป็นฌาน เป็นท้ังสมถะ และวิป๎สสนาญาณ จิตของท่านก็หมดความหลงใหลใฝุฝ๎นกับรูปโฉมโนมพรรณของคนสัตว์ ลาภยศสรรเสริญ เอกสารประกอบการสอน วชิ าพุทธปรัชญาเถรวาท เรียบเรยี ง นายเตชทตั ปก๎ สงั ขาเนย์ ๑๗๑

ไม่ปรารถนาการเกดิ เป็นคน ไม่ตอ้ งการเกิดเป็นเทพพรหมเทวดา เพราะจิตยังไม่ถึงที่สุดของความสุขยอดเย่ียม ท่านมีความต้องการพระนิพพาน ติดตามองค์สมเด็จพระพิชิตมารบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าที่เดียว ป๎ญญา บารมีจะเข้ามาในจิตท่านเต็มที่เห็นโลกเต็มไปด้วยความแปรปรวนเป็นทุกข์ เป็นอนัตตา คือ สลายกลายเป็น ความว่างเปล่า ท่านเอาชนะตัณหา คือ ความอยากเกิดเป็นคน เทวดา พรหม ท่านมีจุดมุ่งหมายในชีวิต คือ พระนิพพาน ช่ือว่า ท่านจบกิจในพรหมจรรย์มีวิชชาป๎ญญาดี เพราะไม่ยึดไม่ถือไม่โลภหลงรักในธาตุท้ัง ๔ อีก ต่อไป ๑.๕.๓ สทั ธรรมอันตรธาน หลังจากการตรัสรู้ของพระสัมมาสมัพุทธเจ้า ศาสนาพุทธมีอายุ ๕๐๐๐ โดยประมาณปี การเสื่อมไป แหง่ พระสทั ธรรมทั้งหลลายจกั เกดิ ข้นึ ตามที่มปี รากฏในคัมภรี ์มิลนท์ป๎ญหา สมเดจ็ พระบรมกษัตรยิ ์ตรัสถามว่า๑๐ “ข้าแต่พระนาคเสน ด้วยสมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสคําน้ี ว่า “ดูก่อนอานนท์ บัดน้ีพระสัทธรรมจักต้ังอยู่เพียง ๕,๐๐๐ ปี เท่านั้น แต่ในเวลาจะปรินิพพาน สุภัทท- ปริพาชก ทูลถาม ได้ตรัสอีกว่า “ดูก่อนสุภัททะ ถ้าภิกษุเหล่านี้ ยังปฏิบัติชอบอยู่โลกก็จักไม่ว่างจากพระ อรหันต์ท้ังหลาย” คําน้ีเป็นคําไม่มีเศษ เป็นคําเด็ดขาด ถ้าสมเด็จพระบรมโลกนาถได้ตรัสไว้ว่า “โลกจักไม่ว่าง จากพระอรหนั ต์ทั้งหลาย” ดังนี้ เป็นคําจริงแล้ว คําท่ีว่า “บัดนี้พระสัทธรรมจักตั้งอยู่เพียง ๕,๐๐๐ ปีเท่านั้น” ก็ผิด ถ้าคําว่า “พระ สัทธรรมจักต้ังอยู่เพียง ๕,๐๐๐ ปีเท่าน้ัน” เป็นคําถูก คําที่ว่า “โลกจักไม่ว่างจากพระอรหันต์ทั้งหลายน้ัน” ก็ เปน็ คาํ ผิด ปญ๎ หาน้เี ปน็ อภุ โตโกฏิ โปรดแก้ไขให้โยมสิ้นสงสัยด้วยเถิด” พระนาคเสนถวายวิสัชนาว่า “ขอถวาย พระพร ถกู ทงั้ สอง คอื คาํ ที่ สมเดจ็ พระชินวรตรสั ไว้วา่ พระสทั ธรรมจกั ต้งั อยู่เพียง ๕,๐๐๐ ปีเท่านั้น ก็เป็นคําที่ ถูก ส่วนท่ีตรัสไว้ว่า ถ้าภิกษุเหล่าน้ันยังปฏิบัติชอบอยู่ โลกก็จักไม่ว่าจากพระอรหันต์ทั้งหลายนั้นก็ถูก คําท้ัง สองนัน้ มีอรรถพยัญชนะตา่ งกัน คําหน่งึ เปน็ สาสนปริจเฉท คือ เปน็ คํากาํ หนดพระศาสนา อีกคําหนึ่งเป็น ปฎิป๎ตติปริทีปนา คือ เป็นการแสดงซ่ึงปฏิบัติเป็นอันว่าคําท้ังสองไกลกันมาก ไกลกัน เหมือนแผน่ ดินกับแผน่ ฟูาเหมือนกับนรกกับสวรรค์ เหมอื นกบั กุศลกับอกศุ ล และเหมอื นทกุ ข์กับสุขฉะนั้น แตว่ า่ อยา่ ใหพ้ ระดํารัสถามของมหาบพิตรเป็นโมฆะเลย อาตมาภาพจักแสดงคําทั้งสองนั้น ให้เข้าเป็น อันเดียวกันได้ คือคําท่ีตรัสว่า “พระสัทธรรมจักตั้งอยู่เพียง ๕,๐๐๐ ปีเท่าน้ัน” เป็นการกําหนดตั้งอยู่แห่งพระ สัทธรรม คือถ้าภิกษุณีไม่บรรพชา พระสัทธรรมจักต้ังอยู่ถึง ๕,๐๐๐ ปี เม่ือพระตถาคตเจ้าตรัสอย่างนี้ ชื่อว่า ๑๐ http://www.larnbuddhism.net/. เอกสารประกอบการสอน วิชาพุทธปรชั ญาเถรวาท เรียบเรยี ง นายเตชทัต ปก๎ สังขาเนย์ ๑๗๒

ตรัสถึงความอันตรธานแห่งพระสัทธรรม หรือชื่อว่า ปฏิเสธการบรรลุมรรคผลอย่างน้ันหรือ....มหาบพิตร ?” “ไมใ่ ชอ่ ย่างนัน้ พระผเู้ ปน็ เจ้า” “ขอถวายพระพร เม่ือสมเดจ็ พระชินวรจะทรงกําหนดสง่ิ ที่หมดไปแลว้ จะทรงกําหนดส่ิงท่ียังเหลืออยู่ ก็ได้ทรงกําหนดไว้ อย่างน้ัน เหมือนอย่างบุรุษกําหนดของท่ีเหลือข้ึนแสดงแก่ผู้อ่ืนว่า ของเราหมดไปแล้วเท่าน้ัน น้ีเป็นส่วนท่ียัง เหลืออยู่ฉันใด เมื่อสมเด็จพระจอมไตรจะทรงกําหนดพระศาสนาท่ีหมดไป ก็ได้ทรงแสดงส่วนท่ียังเหลืออยู่ใน ท่ามกลางเทพยดามนุษย์ทงั้ หลายว่า บัดนพ้ี ระสทั ธรรมจักตั้งอยู่เพียง ๕,๐๐๐ ปีเท่านั้น คําว่า พระสัทธรรมจัก ต้ังอยู่เพียง ๕,๐๐๐ ปีเท่านั้น เป็น สาสนปริเฉท คือเป็นการกําหนดพระศาสนา ส่วนคําที่ตรัสไว้ในเวลาจะ ปรินพิ พานว่า “ถา้ ภิกษเุ หล่าน้ยี งั ปฏิบตั ชิ อบอยู่ โลกก็จักไม่วา่ งจากพระอรหนั ตท์ ัง้ หลาย” ดังนี้น้ัน เป็นปฏิป๎ตติปริทีปนา คือเป็นการแสดงซ่ึงปฏิบัติ ขอมหาบพิตรจงทรงกระทํา ปริทีปนา กับ ปริจเฉท ให้เป็นอันเดียวกัน ถ้ามหาบพิตรพอพระทัย อาตมภาพจักแสดงถวายให้เป็นอันเดียวกัน ขอ มหาบพติ รอยา่ มีพระทยั วอกแวก จงต้งั พระทัยสดบั ให้จงดเี ถิด อปุ มาดงั สระน้าํ เมื่อพระนาคเสนถวายพระพรอย่างน้ีแล้วจึงถวายพระพรต่อไปอีกว่า “เหมือนอย่างสระนํ้าเต็มเปี่ยม ด้วยนํา้ ใหม่ มีน้ําเต็มเสมอปากขอบสระ เมื่อมีเมฆใหญ่ทําให้ฝนตกลงมาที่สระนั้นเนือง ๆ นํ้าในสระน้ันจะแห้ง จะหมดไปหรือไม่?” “ไม่แห้งไม่หมด พระผู้เป็นเจ้า” “เพราะอะไร มหาบพิตร ?” “เพราะฝนยังตกลงมาอยู่ เนืองๆ น่ะซิ พระผู้เป็นเจ้า” “ข้อน้ีก็ฉันนั้นแหละมหาบพิตร คือสระใหญ่อันได้แก่พระสัทธรรมท่ีเป็นพระ ศาสนาของสมเดจ็ พระชนิ สหี ์ เตม็ เปี่ยมด้วยนํ้าใสสะอาด คือ อาจารคุณ ศีลคุณ ข้อวัตรปฏิบัติ สมเด็จพระทรง สวัสด์ิได้ตรัสมรรคภาวนาไว้แล้ว ผู้ใดกระทําให้ฝนตกคือ อาจารคุณ ศีลคุณ ข้อวัตรปฏิบัติตกลงมาเนือง ๆ ผู้ นั้นได้ชื่อว่าได้อบรมมรรคภาวนาไว้แล้ว เม่ือเป็นอย่างนั้นสระใหญ่ คือพระสัทธรรม อันเป็นพระศาสนาสูงสุด ของสมเดจ็ พระบรมสุคต ก็จักตัง้ อยูต่ ลอดกาลนาน โลกกจ็ กั ไมว่ า่ งจากพระอรหนั ต์ทั้งหลาย” สมเด็จพระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทรงหมายความอย่างนี้ จึงได้ตรัสไว้ว่าถ้าภิกษุเหล่าน้ียังปฏิบัติชอบอยู่ โลก ก็จักไม่ว่างจากพระอรหันต์ท้ังหลาย” อุปมาเหมือนกองไฟใหญ่ “ขอถวายพระพร เมื่อกองไฟใหญ่กําลังลุง รุ่งเรืองอยู่ มีคนทั้งหลายเอาหญ้าแห้งไม้แห้ง มูลโคแห้ง มาท้ิงเข้าในกองไฟใหญ่นั้นเรื่อยๆ ไป กองไฟใหญ่นั้น จะดับไปหรือไม่ ?” “ไม่ดับเลย พระผู้เป็นเจ้า มีแต่จะลุกใหญ่เท่าน้ัน” ข้อนี้ก็ฉันน้ันแหละ มหาบพิตร คือพระ ศาสนาอันประเสริฐของพระศาสดา ได้สวา่ งร่งุ เรืองอย่ใู นหมืน่ โลกธาตุ ด้วย อาจารคุณ ศลี คุณ ข้อวตั รปฏิบัติ ถา้ ศากยบตุ รพุทธชิโนรสยงั ประกอบด้วยองค์ของผมู้ คี วามเพยี ร ยังฝึกฝนดี ยังไม่ประมาท ยังเต็มในใจ ใน ไตรสิกขา (ศลี สมาธิ ปญ๎ ญา) ยังทาํ สิกขาให้บริบูรณ์ ทําจารีตและสีลสัมปทา (ถึงพร้อมด้วยศีล) ให้บริบูรณ์ พระศาสนากย็ ังมีพระภาคเจา้ ทรงหมายความอย่างนี้ จึงได้ตรัสไว้วา่ ถ้าภกิ ษุเหลา่ นีย้ ังปฏิบตั ิชอบอยู่โลกก็จักไม่ เอกสารประกอบการสอน วิชาพทุ ธปรชั ญาเถรวาท เรียบเรียง นายเตชทตั ปก๎ สังขาเนย์ ๑๗๓

ว่างจากพระอรหันต์ทั้งหลาย” สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงหมายความอย่างน้ี จึงได้ตรัสไว้ว่า ถ้าภิกษุ เหล่าน้ียังปฏิบตั ชิ อบ โลกก็ไมว่ า่ งจากพระอรหันตท์ ัง้ หลาย” อปุ มาเหมอื นกระจก อีกประการหนึ่ง กระจกอันบุคคลขัดดีแล้ว ทําให้ผ่องใสดีแล้ว และมีผู้ขัดอีกเนือง ๆ กระจกน้ันจะมัว หมองได้หรอื ไม่ ?” “ไม่มัวหมอง พระผู้เป็นเจ้า มีแต่จะผ่องใสย่ิงข้ึนไป” “ขอถวายพระพร ข้อน้ีก็ฉันน้ันแหละ คือพระศาสนาของสมเด็จภควันต์บรมศาสดาผ่องใสอยู่เป็นปกติ คือไม่มัวหมองด้วยกิเลสตัญหาแต่อย่างใด ถ้า พระพุทธบุตรเหล่าน้นั ศึกษาพระศาสนาอันประเสริฐนั้นไว้ได้ผ่องใส ด้วย อาจารคุณ ศีลคุณ ข้อวัตรปฏิบัติสัล- เลข (ขดั เกลา) ธุดงคคุณ อยแู่ ล้ว พระศาสนาก็จะตงั้ อยตู่ ลอดกาลนาน โลกนจ้ี ักไม่ว่างจากพระอรหันต์ทั้งหลาย พระพุทธศาสนามีการปฏบิ ตั ิเปน็ ราก มีการปฏิบตั เิ ปน็ แก่น ตง้ั อยู่ไดด้ ว้ ยการปฏบิ ตั ิ” “ข้าแต่พระนาคเสน ขอ้ ทวี่ า่ พระสัทธรรมอันตรธานน้ัน มีอยูก่ ่ปี ระการ ?” อนั ตรธาน ๓ ประการ “ขอถวายพระพร อันตรธานน้ัน มีอยู่ ๓ ประการ คือ ๑ อธิคมอันตรธาน (มรรคผลสูญหายไป) ๒ ปฏิบัติอันตรธาน (ข้อปฏิบัติสูญหายไป) ๓ ลิงคอันตรธาน (เพศสูญหายไป) เมื่อ อธิคมอันตรธาน แล้ว ถึงมี ผ้ปู ฎบิ ตั ิดี กไ็ มม่ ีธรรมภิสมยั คอื การได้รู้ยิ่งซึ่งธรรม เมือ่ ปฏิบตั ิอันตรธาน แล้ว สิกขาบทบัญญัติก็อันตรธาน ยัง เหลือแต่เพศเท่าน้ัน เมื่อ ลิงคอันตรธาน แล้ว ก็ขาดประเพณี คือความสืบต่อแห่งเพศบรรพชิตใน พระพุทธศาสนา อันตรธานมีอยู่ ๓ ประการเท่าน้ีแหละ มหาบพิตร” “ข้าแต่พระนาคเสน พระผู้เป็นเจ้าได้ทํา ปญ๎ หาอันลกึ ใหต้ ้ืนแล้ว ได้ทําลายข้อยุ่งยากแล้ว ได้ทําถ้อยคําของผู้อ่ืนหมดไปแล้ว ซ่ึงความเป็นผู้องอาจในหมู่ คณะอันประเสรฐิ ” อธิบาย ข้อความในวงเล็บ ผู้เรียบเรียงได้เพิ่มเติมไป เพื่อความเข้าใจ ฎีกามิลินท์ อธิบายคําว่า “พระ สัทธรรม คือ ปฎิเวชสัทธรรม ได้แก่ มรรค ผล นิพพาน ส่วนผู้แปลหนังสือเล่มนี้อธิบายว่า เมื่อท่านอ่านตาม อรรถกถา ฎีกาแลว้ นี้ ยังไม่ส้ินสงสัย ก็ขอให้อ่านคําอธิบายต่อไป คือคําว่า สาสนปริจเฉท แปลว่า กําหนดพระ ศาสนาน้ัน อธิบายว่า ได้แก่การกําหนดอายุพระพุทธศาสนาว่ามีอยู่ ๕,๐๐๐ ปี คําว่า ปฎิตติปริทีปนา แปลว่า กําหนดแสดงซง่ึ การปฏบิ ัตินน้ั หมายถึงผลแหง่ การปฏบิ ตั ิ หรืออานภุ าพแหง่ การปฏบิ ตั วิ ่า ถ้ายังปฏิบัติอยู่ตราบ ใด พระพทุ ธศาสนาก็จกั ยังตั้งอยู่ตราบน้ัน คําท้ังสองน้ีถูกท้ัง ๒ คํา เปรียบเหมือนคําว่า อายุของผู้น้ันมีกําหนด ๑๐๐ ปี อีกคําหน่ึงว่า ถ้าธาตุทั้ง ๔ ของผู้นั้นยังปกติอยู่ตราบใด ผู้นั้นก็จักมีอายุอยู่ตราบนั้น ดังน้ี คําท้ังสองนี้ คาํ หนง่ึ แสดงกาํ หนดอายุ อีกคําหนง่ึ แสดงอานุภาพของธาตุ ๔ แต่ขอให้เข้าใจว่า อายุของผู้น้ันจักต้ังอยู่ได้เพียง ๑๐๐ ปีเท่านั้น แล้วธาตทุ ั้ง ๔ ของผนู้ ้ันกต็ อ้ งวิปรติ ไป ข้อน้มี อี ปุ มาฉนั ใด พระพุทธพจน์ท่ีตรัสไวก้ ฉ็ ันน้ัน ข้อสําคัญในป๎ญหาข้อน้ีมีอยู่อย่างหน่ึง คือข้อที่ว่า พระสัทธรรมจักตั้งอยู่เพียงแค่ ๕,๐๐๐ ปีนั้น ผิด จากท่ีกล่าวไว้ใน พระวินัยปิฎกและพระสุตตันตปิฎก ท่ีเป็นพระบาลีกับอรรถกถาฎีกา คือ ในพระบาลีอรรถ เอกสารประกอบการสอน วิชาพทุ ธปรชั ญาเถรวาท เรยี บเรยี ง นายเตชทตั ป๎กสงั ขาเนย์ ๑๗๔

กถาฎีกาว่า “ถ้าไม่มีภิกษุณี พระสัทธรรมจักต้ังอยู่พันปี เม่ือมีภิกษุณีแล้ว พระสัทธรรมจักต้ังอยู่ ๕๐๐ ปี เท่าน้ัน” อันน้ีเป็นคําในพระบาลี ส่วนในอรรถกถาว่า “เมื่อพระพุทธองค์ ทรงเล็งเห็นอย่างนั้น จึงได้ทรง บัญญัติครธุ รรม ๘ ไวป้ ูองกันเสียก่อน แลว้ จึงทรงอนุญาตใหม้ ีนางภิกษุณี” เมื่อทรงปูองกันแล้วก็ได้อีก ๕๐๐ ปี รวมกับ ๕๐๐ ปีที่เหลืออยู่นั้น จึงเป็นพันปีเท่ากับไม่มีนางภิกษุณี แล้วอธิบายไว้ตั้งแต่พันปีท่ี ๑ ถึงพันปีที่ ๕ (รายละเอยี ดของดไว)้ เม่อื สิ้น ๕ พันปีแลว้ อธคิ มสัทธรรม คือผู้บรรลุมรรคผลก็สิ้นไป พระปริยัติธรรมก็หมดไปทีละน้อย ลง ท้ายก็เหลือแต่เพศภิกษุท่ีมีผ้าเหลืองน้อยห้อยหู ทําไร่ไถนาเลี้ยงบุตรภารยา แล้วลงท้ายก็หมดผ้าเหลืองน้อย ห้อยหู แม่เมื่อผู้ใดยังมีพระผู้จําพระพุทธวจนะได้เพียง ๑ คาถา อันกําหนดด้วยอักขระ ๓๒ ตัว เม่ือน้ันก็ยัง เรียกวา่ พระปรยิ ัตศิ าสนายงั อยู่ เม่ือไม่มีมนุษย์ผู้ใดในโลก จะจําพระพุทธวจนะเพียงคาถาเดียวได้ เมื่อน้ันแหละจึงเรียกว่า หมดพระ ศาสนาจรงิ ๆ และมีกล่าว เมื่อพระพุทธศาสนาคบ ๕,๐๐ ปีแล้ว พระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธเจ้าซ่ึงอยู่ใน ท่ีต่าง ๆ กนั จะเสดจ็ มารวมกันทีไ่ ม้ศรีมหาโพธิ แลว้ ปรากฏเป็นองค์สมเด็จพระบรมสุคตขึ้น ทรงแสดงธรรมแก่ เทพยดาอยู่ตลอด ๗ ทิวาราตรี เทพยดาหรือ ยักษ์ นาค ครุฑ อินท์ พรหม ผู้ใดเป็นธาตุเวไนย ผู้นั้นก็จักได้ สาํ เร็จมรรค ผล นพิ พาน ในคราวนั้น แล้วจวนรุง่ อรณุ ในคืนท่ี ๗ พระบรมสารีริกธาตุที่ปรากฏเป็นพระพุทธเจ้า ข้ึนน้ัน ก็จะมีเพลิงธาตุเกิดข้ึน ถวายพระเพลิงเผาให้ย่อยยับไปไม่มีเหลือ เม่ือนั้นแหละเรียกว่า “ธาตุ อันตรธาน” ดังนี้ ๑.๕ บทสรปุ สาระสาคญั ประจาบทท่ี ๘ พระนิพพานเปน็ เร่ืองละเอยี ดออ่ น เป็นที่สามารถเข้าใจไดอ้ ยาก สาํ หรับผู้ท่ีไม่เข้าใจเรื่องกระบวนการ ของจิต และการกระทาํ ตนให้เกดิ การหลุดพ้นจากสง่ิ ที่เปน็ ตัวขุ่นข้องหมองใจ การทีเ่ ราไม่เขา้ อย่างชดั เจนนน้ั ย่ิงสรา้ งปญ๎ หาทีจ่ ะเกิดขึ้นตามมาภายหลัง เพราะการศึกษาท่ผี ิดย่อมกอ่ ให้การเข้าใจที่ผิด การปฏบิ ัติก็จะผดิ ตามไปดว้ ย เม่ือเกิดความผิดพลาดเหลา่ น้ี ผลทดี่ ีก็ผดิ ตามไปด้วย กจ็ ะเขา้ ใจผดิ ว่านน้ั คือ พระนิพพาน ในทาง ภาษาธรรมทา่ นเรียกว่า “มีมิจฉาทิฐิ” มคี วามเหน็ ผิด หลงผดิ เขา้ ใจผิดวา่ เปน็ การปฏบิ ตั ิท่ถี ูกต้องและบรรลุ นิพพานแลว้ เพราะขาดความเขา้ ใจท่ีถูกต้อง ดว้ ยเหตนุ ้ี การเขา้ ใจพระนิพพานจึงเป็นเรื่องที่ท่านาผู้ศกึ ษาควรทําความเขา้ อย่างยิ่ง และขยายความ ในเรื่องเหลา่ น้ีให้ถกู ต้อง และการจะดาํ เนนิ อย่างถกู ต้อง ก็ไม่ควรท้งิ สภาวะของความเขา้ ใจในเร่ืองของ ไตร ลกั ษณ์ เพราะเมือ่ เขา้ ใจไมถ่ ูกตอ้ ง ก็ต้องมองว่า นนั้ เปน็ เรื่องทไ่ี มเ่ ทยี่ งตรง ไม่มีตัวตน จนกวา่ ส่งิ มีเ่ ขา้ ใจนัน้ จะ เอกสารประกอบการสอน วชิ าพุทธปรชั ญาเถรวาท เรยี บเรียง นายเตชทัต ปก๎ สงั ขาเนย์ ๑๗๕

เปน็ จรงิ โดยทเ่ี รอ่ื งนั้น ผา่ นกระบวนการพิสจู น์จากการปฏิบตั ิมาแล้วอยา่ งชัดเจน แน่นอน สภาวะจติ ท่รี บั รูก้ ็ เปน็ ลกั ษณะของการพิจารณาตามหลักอรยิ มรรค ซ่งึ นั้นจะเป็นหนทางนําไปสู่การบรรลุเสน้ ทางแหง่ พระ นพิ พานอย่างแทจ้ รงิ ตามหลักสงู สดุ ทางพระพทุ ธศาสนา ๑.๖ คาถามทบทวนประจาบทที่ ๘ ๑. ความหมายของ”นพิ พาน” ตามทีป่ รากฏในเอกสารประกอบการสอนกลา่ วเอาไว้วา่ อยา่ งไร ๒. “สอปุ าทเิ สสนิพพาน” มีลักษณะอย่างไร จงอธิบาย ๓. นิโรธ กบั นพิ พาน มีความหมายแตกต่างกันหรือไม่อย่างไร จงอธบิ าย ๔. ในทางพระพุทธศาสนากล่าวเอาไว้วา่ การเข้าถงึ ซึ่งนพิ พานได้น้นั ตอ้ งปฏิบัตติ ามหลักของ อริยมรรค ๆ นั้น มลี กั ษณะอย่างไร จงอธิบาย ๕. การบําเพ็ญสมาธมิ ปี ระโยชน์อย่างไร จงอธบิ าย ๖. สิ่งท่ีทาํ ใหก้ ารทาํ สมาธนิ ้ัน ไมส่ ัมฤทธ์ผิ ลน้ันเกดิ จากสงิ่ ใด จงอธิบาย ๗. กรรมฐาน ๔๐ มีกห่ี มวด จงอธิบายแยกเปน็ หมวดมาพอเขา้ ใจ ๘. อรหนั ข้นั ปฏิสัมภิทาญาณ มลี ักษณะอยา่ งไร จงอธบิ ายมาเป็นขอ้ ตามลําดับ ๙. มจิ ฉาทฐิ ิ หากมอี ารมณ์นีเ้ กิดขึน้ ในการปฏิบัตกิ รรมฐานจะเกิดผลอย่างไร จงอธิบาย ๑๐. นิพพานทป่ี รากฏในศาสนาอนื่ มีหรือไม่อย่างไร จงอธิบาย ๑.๗ เอกสารอ้างอิงประจาบทที่ ๘ ภาษาไทย ขุทฺทกนิกาเย ธมมฺ ปท อทุ าน อิตวิ ตุ ตฺ ก สตุ ตนปิ าตปาล.ิ กรุงเทพฯ :มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั ,๒๕๐๐. ขทุ ทกนกิ าย ปฏสิ มั ภิทามรรค.กรงุ เทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย”๒๕๓๙. ทฆี นกิ าย สีลขนั ธวรรค.กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์การศาสนา”๒๕๐๐. มิลินฺทปํหฺ า.กรงุ เทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย”๒๕๔๐. ธรรมปฎิ ก,พระ.พจนานกุ รมพทุ ธศาสตรฉ์ บบั ประมวลธรรม. กรงุ เทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ,๒๕๔๖. ธรรมปฎิ ก,พระ.พทุ ธธรรม.พมิ พค์ รงั้ ท่ี ๖.กรงุ เทพ ฯ : มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ,๒๕๓๘. พทุ ธทัตตะ,พระ.อภธิ มั มาวตาร บาลี-ไทย.กรุงเทพฯ : มลู นิธิภมู ิพโลภิกขุ”๒๕๓๐. พุทธทาสภิกขุ. อนตั ตาของพระพุทธเจา้ .กรงุ เทพฯ : ธรรมสภา”๒๕๔๒. เอกสารประกอบการสอน วชิ าพทุ ธปรชั ญาเถรวาท เรยี บเรยี ง นายเตชทัต ปก๎ สังขาเนย์ ๑๗๖

วนิ ยปิฎเก ปรวิ ารปาลิ.กรุงเทพฯ :มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย”๒๕๐๐. สุชพี ปญุ ญานุภาพ.พระไตรปิฎกสาํ หรับประชาชน.กรงุ เทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลยั ,๒๕๓๙. เสถียร โพธนิ ันทะ.ธรรมฐติ ิญาณกบั นิพพานญาณ และหลักสญุ ญตา.กรุงเทพฯ :แพร่พิทยา,๒๕๒๖. อนรุ ทุ ธะ,พระ.อภิธมั มัตถสงั คหะ.กรุงเทพ ฯ : มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั ”๒๕๐๖. ปริวาร พระไตรปฎิ ก เลม่ ที่ ๘ ฉนั นสตู ร สังยตุ ตนกิ าย ขันธวารวรรค พระไตรปฎิ ก เลม่ ท่ี ๑๗ อปุ ปาทสูตร อังคตุ ตรนิกาย พระไตรปฎิ ก เล่มที่ ๒๐ ธาตสุ ูตร ขทุ ทกนิกาย พระไตรปฎิ ก เล่มท่ี ๒๕ ภาษาอังกฤษ / เอกสารอื่นๆ G.P. Malalasekera. The Truth of Anatta.Kandy:Buddhist Publication Society,๑๙๖๖. Gombrich, Richard Francis.Theravāda Buddhism : a social history from ancient Benares to modern Colombo.London:Routledge & Kegan Paul,๑๙๘๘. -แหลง่ ทีม่ า (ออนไลน)์ http://www.larnbuddhism.net/milintapanha/milin๐๔_index.html ค้นเมือ่ วันที่ ๒๖ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๓ แบบทดสอบบทที่ ๘ จานวน ๑๐ ขอ้ ๑. “นพิ พานัง ปรมงั สุขงั ” เป็นผลจากการได้บรรลพุ ระนิพพาน แลว้ ความสุขนนั้ เป็นเช่นไร ก. เปน็ ความสุขท่มี ีอยู่ในโลกทง้ั ๓ ข. เปน็ ความสุขท่ีมนุษย์ทัว่ ไปหาไดย้ าก ค. เปน็ บททดสอบความสุขที่สูงสุด ง. เป็นความสุขของมนุษย์ทง้ั หลาย ๒. หลังจากท่พี ระพุทธศาสนาจะสูญสิ้นไป และสน้ิ พทุ ธันดรน้ี จะเกดิ เหตุการณท์ ส่ี ้ินไปพร้อมคืออะไร ก. สทั ธรรมทั้ง ๓ ข. พระธาตุสูญหาย ค. โลกถงึ กาลสูญสน้ิ ง. ถึงกาลสญุ กัป ๓. ขอ้ ใดมีความหมายตรงกับคําวา่ “สมาธิ” ก. สงบนง่ิ ข. ตงั้ ม่นั ค. มสี ติ ง. มคี วามอดทน ๔. ขอ้ ใดคืออาการของสมาธิ ก. ไม่ฟูุงซา่ น ข. จิตเปน็ หนึ่งเดยี ว เอกสารประกอบการสอน วิชาพุทธปรัชญาเถรวาท เรยี บเรยี ง นายเตชทัต ปก๎ สงั ขาเนย์ ๑๗๗

ค. ไมห่ วน่ั ไหว ง. ถูกทุกข้อ ๕. สมาธมิ อี ยู่ ๒ อย่างคือ ก. ขณกิ สมาธิ – อุปจารสมาธิ ข. อปั ปนาสมาธิ – โลกตุ ตรสมาธิ ค. มิจฉาสมาธิ – สัมมาสมาธิ ง. อุปจารสมาธิ – อปั ปนาสมาธิ ๖. องค์ของปฐมฌานคอื ข้อใด ก. ปติ ิ สุข ข. ปิติ สุข เอกคั คตา ค. วจิ าร ปติ ิ สุข เอกัคคตา ง.วติ ก วจิ าร ปติ ิ สขุ เอกัคคตา ๗. สิ่งทม่ี าขดั ขวางการทาํ จติ ให้เป็นสมาธินัน้ เรียกว่าอะไร ก. นิวรณ์ ข. โลภะ ค. ราคะ ง. โมหะ ๘. พระพุทธศาสนาจักเสื่อมไปเพราะสาเหตุใด ก. หลกั ธรรมเสอื่ มไมม่ ีผู้ศึกษา ข. บคุ คลเสอ่ื มไม่มผี ู้สืบทอดศาสนา ค. โลกเสื่อมผู้คนมีมีศาสนา ง. ทกุ ข้อท่กี ล่าวมาถกู ๙. “ลงิ คอนั ตราธาน” หมายถึงขอ้ ใดตอ่ ไปน้ี ก. พระสงฆ์ ข.พระธรรมคําสอน ค. พุทธบรษิ ทั ๔ ง. พระบรมสารรี กิ ธาตุ ๑๐. สิง่ ท่ีพระพุทธเจ้าทรงตรัสกอ่ นปรินิพพานซึ่งเปน็ หัวข้อหลักธรรมที่ตอ้ งการใหท้ ุกคนปฏิบัตคิ อื หลกั ธรรม อะไร ก. การกระทําใหแ้ จ้งซึ่งพระนิพพาน ข. การไมป่ ระมาทในชีวิต ค. การชว่ ยกันบาํ รงุ พระพุทธศาสนา ง. การปฏบิ ัติตามหลักธรรมซึ่งเป็นศาสดา แทนพระองค์ เอกสารประกอบการสอน วชิ าพุทธปรชั ญาเถรวาท เรยี บเรียง นายเตชทตั ป๎กสังขาเนย์ ๑๗๘

ประวตั ิผจู้ ัดทา ช่ือนายเตชทัต นามสกลุ ปักสังขาเนย์ เกดิ วนั องั คารที่ ๒๕ เมษายน พุทธศกั ราช ๒๕๒๑ ภมู ิลาเนา ๓๔ หมทู่ ่ี ๔ บ้านโนน ตาบลขามปอ้ ม อาเภอวาปปี ทุม จังหวัดมหาสารคาม รหัสไปรษณยี ์ ๔๔๑๒๐ ประวตั ิการศกึ ษา ปี ๒๕๓๔ จบการศกึ ษาระดับประถมศึกษาที่ โรงเรยี นบ้านโนน ๒๕๓๖ สอบไดน้ ักธรรมชน้ั เอก สานกั เรยี นวดั หนองกงุ อาเภอน้าพอง จงั หวดั ขอนแก่น ๒๕๓๗ สอบไดเ้ ปรียบธรรม ๓ ประโยค สานักเรยี นวัดหนองกุง อาเภอน้าพอง จังหวดั ขอนแก่น ๒๕๔๑ จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรยี นวัดกลางเมืองเก่า อาเภอเมือง จังหวดั ชยั ภูมิ ๒๕๔๗ จบการศึกษาระดับปรญิ ญาตรี (ศน.บ.) มหาวิทยาลัยมหามากุฏราช วทิ ยาลัย วิทยาเขตศรลี ้านชา้ ง จังหวดั เลย ๒๕๕๒ จบการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาโท (ศน.ม.) มหาวิทยาลัยมหามากุฏราช วทิ ยาลัย วิทยาเขตศรลี ้านช้าง จงั หวดั เลย ๒๕๕๓ จบการศึกษาระดับประกาศนียบัตรบณั ฑิตวชิ าชีพครู (ปวค.) มหาวิทยาลัยราชภฏั ชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ ประวตั ิการทางาน ปี ๒๕๔๓ เป็นพระธรรมวิทยากร จังหวดั เลย ๒๕๔๕ ดารงตาแหนง่ เลขานกุ ารเจา้ คณะตาบลนา้ สวย จังหวดั เลย ๒๕๔๗-๒๕๕๒ เป็นพระสอนศลี ธรรมในโรงเรียน จงั หวดั เลย และจังหวัดชยั ภมู ิ ๒๕๕๓-๒๕๕๔ เปน็ ครโู รงเรียนพัฒนาการศึกษา อาเภอกระนวน จังหวดั ขอนแก่น ๒๕๕๕- ปจั จุบนั อาจารย์พเิ ศษ และอาจารยป์ ระจาหลักสูตรสาขาวิชาพทุ ธศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหามากุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรลี ้านช้าง จังหวัดเลย

มหาวทิ ยาลัยมหามากุฏราชวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตศรลี ้านชา้ ง 69 ถนนวสิ ุทธิเทพ ตําบลกุดปอง อาํ เภอเมอื งเลย จังหวดั เลย 42000 โทร 042 830434, 042 830423 โทรสาร. 042 830686 เวบ็ ไซต์ http:// www.mbuslc.ac.th