ขันธ์ เป็นส่ิงท่ีทาให้เกิดความเข้าใจผิดและเป็นทุกข์นั้นมีอยู่อย่างน้ี เพราะทาให้เกิดอัตตาและยิ่งยอมรับรู้มาก เข้า อตั ตากย็ งิ่ งอกเงยมากข้นึ ไปทกุ ที จะขอกล่าวถงึ เรื่อง ความรู้ ตอ่ ไป คอื ความรขู้ องสัตวโ์ ลก ความรู้น้ีก็หมายถึงความรู้จักโลกรอบตัวโลก ท่ีเราประสบพบเห็นน้ัน มนุษย์ก็ดี สัตว์ก็ดี ได้รับความรู้นั้นในลักษณะอย่างใดและความรู้ที่ได้รับน้ัน ศาสนา พุทธมีความเห็นว่า เป็นความรู้แบบใด ได้กล่าวมาแล้วว่า มนุษย์ที่เกิดมา เรารู้ได้ด้วยขันธ์ท้ัง ๕ เราเห็นว่า รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ ซึ่งเป็นเครื่องรับรู้ เหล่านี้เป็นอาการแห่งความรู้ของมนุษย์และสัตว์ คือ สตั ว์โลก ศาสนาพทุ ธมคี วามเหน็ วา่ ความรู้ในรูปนี้ หรอื ความรู้ท่ีได้กล่าวถงึ นี้ เปน็ ความรู้แบบที่ไมแ่ ทจ้ ริง เพราะเหตุว่า ขันธ์ ๕ คือ อาการแห่งความรู้เหล่าน้ี มีอาการไม่เท่ียง ท่านเรียกว่า “อนิจฺจ” ตั้งอยู่ไม่ได้ ท่าน เรียกว่า “ทกุ ขฺ ” และบังคับไม่ได้ ทา่ นเรยี กว่า “อนตฺตา” คาว่า อนิจจฺ ท่ีแปลว่า ไมเ่ ทย่ี ง น้นั ในทางศาสนาพทุ ธหมายถงึ ทกุ อย่าง ซึง่ เม่ือเกดิ มาแล้วกต็ ้องมีดบั หรอื สลายตัวไป ไม่ว่าของนนั้ จะเป็นรปู ธรรม คอื เปน็ วัตถุ หรือเป็นนามธรรม เช่น ความคิดต่าง ๆ จะหาอะไรท่ี อยู่เท่ียงแท้ เกิดแล้วไม่ดับ น้ันไม่ได้ เม่ือมีเกิดแล้วก็ต้องมีดับ วัตถุอันเป็นรูปทั้งหลาย เม่ือเกิดแล้วก็ย่อมมีการ สลายตัวไปในท่ีสุด จะช้าหรือเร็วเป็นอีกเรื่องหน่ึง แม้แต่โลกเรา จักรวาลของเรา ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ จะต้องถึงวันหนึ่งท่ีจะต้องดับ ความคิดต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้นในใจเรานั้น เม่ือเกิดขึ้นแล้ว จะคงอยู่ตลอดไปไม่ได้ จะต้องมีส้ินสุด ท้ังน้ีตลอดจนเวทนาท้ังปลาย ด้วยสุขเวทนา หรือความสุขนั้น เมื่อเกิดข้ึนแล้วก็ต้องมีดับ เชน่ เดียวกับทุกขเวทนา เม่อื ทุกขเ์ กิดแลว้ ก็จะต้องหมดไป มันเปน็ ของท่ีไมอ่ ยูย่ ่ังยืนคงทนไปได้ตลอด คาวา่ ทุกฺข น้ัน สว่ นมากเขา้ ใจว่า เปน็ ความทกุ ข์ ความจริงนั้นไมใ่ ช่ความทกุ ข์แบบท่ีเราเขา้ ใจ ตาม ภาษาสามัญนี้เราเรยี กว่า ทกุ ฺข เหมอื นกัน แต่เป็นความทกุ ข์จร คอื เปน็ ทกุ ขท์ ี่เกิดขึ้นชั่วครั้งชั่วคราว ไม่ใช่ทุกข์ แท้ท่ีมีอยู่ในสังขารทั้งปวง ถ้าเรานึกถึงสิ่งมีชีวิต เราก็นึกว่า ทุกฺข น้ันแปลว่าทุกข์ เพราะจะต้องมีทุกข์อยู่เรื่อย ๆ แตว่ ่าสิ่งอ่ืนมันก็มีทุกข์ โต๊ะตัวนี้ก็มี ทุกฺข เพราะเหตุว่าทุกข์ในความหมายท่ีถูกต้องน้ัน แปลว่า สภาพอันจะ ต้ังอยู่ในสถานะใดสถานะหน่ึงไม่ได้ จะต้องเปล่ียนแปลงไป อย่างโต๊ะตัวนี้ เม่ือสร้างข้ึน มันก็เป็นโต๊ะใหม่ ตั้ง เอาไว้อีกชั่วโมงเดียว มันไม่เป็นโต๊ะใหม่แล้ว เพราะมันเร่ิมเปล่ียนแปลง เอาไว้ ๓ วัน ๕ วัน ๑ ปี ก็กลายเป็น โต๊ะเก่า มันต้ังอยู่ในสถานะใดสถานะหน่ึงไม่ได้ นี่คือท่ีเรียกว่า ทุกฺข คนเราก็เป็นเช่นน้ัน จะเป็นเด็กตลอดไป ไม่ได้ จะเป็นหนุ่มสาวตลอดไปไม่ได้ สภาพการณ์หรือสถานะท่ีเกิดข้ึนน้ัน จะตั้งอยู่ตลอดไปไม่ได้ อย่าง เอกสารประกอบการสอน วิชา พุทธปรชั ญาเถรวาท เรยี บเรียง นายเตชทตั ปกั สงั ขาเนย์ ๓๖
นักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เข้ามาก็เป็นนักศึกษาอยู่ได้ ๔ ปี สอบได้ก็หมดไป เป็นบัณฑิตไปแล้ว ทุก อย่างไม่ว่าจะมีก็เปน็ แบบน้ี เรยี กว่า ทุกฺข อนัตฺตา แปลว่า ความไม่ใช่ตัวตน แต่อย่าเพิ่งนึกว่า แปลว่า ความไม่มีตัวตน ซึ่งมักจะเข้าใจผิดอยู่ มาก อนัตตา คือ ความไม่ใช่ตัวตน หมายถึง ทุกส่ิงทุกอย่าง แม้แต่ร่างกายของเราน้ัน มันไม่ใช่ตัวตนของเรา เหตุที่ไม่ใช่น้ัน เพราะอะไร ศาสนาพุทธอธิบายว่า ทุกอย่างมันไม่ใช่ตัวตน เพราะเราบังคับมันไม่ได้ ถ้าหากว่า มันเป็นตัวของเราแท้แล้ว เราจะต้องบังคับมันได้ เพราะฉะนั้น ตา หู ปาก จมูก ล้ิน กาย ใจ เหล่านี้ เมื่อมีส่ิง ภายนอกมากระทบ เราก็ต้องปล่อยไปทางน้ัน เราบังคับมันไม่ได้ อย่างคุณมองมาท่ีโต๊ะนี้ คงจะต้องมองเห็น หนา้ ผม จะชอบไมช่ อบ จะรกั หรือจะเกลียดอยา่ งไร กต็ อ้ งเหน็ คณุ บงั คบั ตาคณุ เองไม่ได้ อย่างไรกต็ าม ทา่ นอ้างว่า อย่าไปยึดขันธ์ ๕ หรอื ปญั จขนั ธ์ ทีห่ า้ มไม่ให้ยดึ ก็เพราะอะไร เพราะ เหตุว่า ไม่ว่าจะเป็นขันธ์ใดขันธ์หนึ่ง มันไม่เท่ียง เกิดแล้วมันต้องดับ ประการท่ีสอง มันตั้งอยู่ไม่ได้ในสภาพใด สภาพหน่ึง มันต้องแปรเปลี่ยนไป มันก็ยึดไม่ได้อีก ประการที่สาม ถ้าจะยึด ก็มักจะยึดว่าเป็นตัวตน ยึดว่าเรา บังคับได้ ซึ่งความจริงเราบังคับไม่ได้ อย่างเป็นต้นว่า ยึดในสัญญา ดูหนังสือบังคับความจาให้ได้ ท่องหนังสือ เกือบตาย นกึ ว่าจาได้แลว้ แตพ่ อเหน็ ข้อสอบ สญั ญาหายไปเสียแล้ว ท่ีทอ่ งจาไว้ได้เกิดลืมไปหมด เพราะสัญญา มันไม่เท่ียง เพราะฉะนั้น ความรู้เหล่าน้ี ความรู้จากขันธ์นี้ก็ไม่ควรจะยึด ในประการต่อไป ท้ัง ๆ ท่ีเรายึดไม่ได้ นั้น ศาสนาพุทธกย็ อมรบั อกี เหมือนกนั ว่าส่งิ ท่บี อกว่า เกดิ ดบั น้ี ความจริงมนั ไมไ่ ด้ดบั ท้ังหมด ถึงมันดับ มันก็ยัง มีอะไรตกเหลืออยู่ เช่น ก่อไฟด้วยฟืนข้ึนกองหน่ึง จุดไฟ ไฟก็เกิด ไฟลุกฟืนหมดแล้ว ไฟก็ต้องดับ แต่ข้ีเถ้ามัน ยังอยู่ ศาสนาพทุ ธยอมรับในความจริงขอ้ นี้ เพราะฉะน้ัน ท่านจึงบอกว่า ความรู้ต่าง ๆ ที่เราได้รับจากอายตนะ เหล่านี้ ถึงแม้ว่าเป็นความรู้ไม่เที่ยง ไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน และเม่ือเกิดขึ้นแล้ว มันก็ดับไปจริง แต่ว่ามันยังมี อะไรเหลือติดเป็นพื้นฐานอยู่ได้ ติดที่ไหน ก็ติดอยู่ท่ีตัวเราน่ันเอง และความรู้ที่ติดอยู่น้ี สามารถที่จะเปล่ียน ภาวะของคนใหด้ ไี ด้ หรือชัว่ ตอ่ ไปได้ ความรทู้ ี่มนั ตดิ อยนู่ ี้แหละ เปรยี บตัวอย่างคนที่เรียนหนังสือเรียก ก. ไก่ ข. ไข่ เช้าไปเรียนหนังสือกเ็ กิดความรู้ พอโรงเรียนเลกิ ความรู้กด็ ับ วันรงุ่ ขึน้ ไปโรงเรียนอีก เขาให้อ่าน ก็อ่านไม่ได้ สอนกันไปอกี แตใ่ นทส่ี ดุ มนั ก็ตดิ คือ อ่านหนงั สอื ออกจนได้ ถา้ หากว่าเราได้รับความรู้ต่าง ๆ แล้ว มีอะไรเหลือ ตดิ อยู่อีกเลย เกิดแล้วดับหมดแล้ว วิทยาการทั้งหลายทั้งปวงในโลกนั้นจะเกิดข้ึนไม่ได้ ตลอดจนประสบการณ์ ทง้ั หลายของมนษุ ย์ จะไมม่ ปี ระโยชนอ์ ันใดเลย และท่ีว่าเหลือน้ัน ความรู้มันตกเหลือมากกว่าที่เรานึก มนุษย์มี ประวตั อิ ันยาวนานอยู่มาในโลก สิง่ ท่ีมนุษย์ได้พบเห็น ได้สังเกต ได้ศึกษา นั่นคือส่ิงท่ีจะเกิดความรู้ข้ึน ถึงแม้ว่า ความรู้ท่ีมนุษย์ได้รับเมื่อพันปีมาแล้ว คือ ถึงมันจะดับไปเม่ือพันปีมาแล้ว แต่มันก็ยังมีอะไรติดมาถึงคนรุ่นหลัง ทาให้มนุษย์ของเราฉลาดข้ึน มีความรู้ขึ้นเร่ือย ๆ ไป จนกระท่ังมาถึงยุคที่มีการค้นคว้าทางวิทยาการท้ังหลาย เอกสารประกอบการสอน วชิ า พุทธปรัชญาเถรวาท เรยี บเรียง นายเตชทัต ปักสังขาเนย์ ๓๗
วิทยาการนั้น ถงึ แม้วา่ จะจดลงไปเป็นตัวหนังสือแล้ว ก็ต้องอาศัยการเล่าเรียนด้วยสติปัญญา ถ้าอย่างน้ัน มันก็ ไม่มีประโยชน์ คนที่ไปเรียน ก็เรียนในลักษณะเกิดดับ เช่นเดียวกัน แต่ก็ต้องรู้จนได้ น่ีก็เป็นเร่ืองของความรู้ แม้แต่ประสบการณ์มนุษย์ท่ีเคยอยู่ปุา สมัยหิน สมัยเหล็ก สมัยสัมฤทธ์ิ ต้องมีประสบการณ์มาตลอด และ ประสบการณ์นั้น ๆ ถ่ายทอดต่อ ๆ กันลงมาระหว่างยคุ ไดเ้ ปน็ เวลาชา้ นาน จนบางอย่างกลายเป็นสัญชาตญาณ ไปก็มี คือมันติดอยู่ในตัวมนุษย์จนเป็นสัญชาตญาณ ไม่ต้องรู้ ไม่ต้องสอน ก็รู้เองว่า ภัยอันตรายมาจากไหน ก็ ยอ่ มหลบหลีก เหลา่ น้เี ปน็ เรอ่ื งความจรงิ ทเ่ี ราปฏเิ สธไมไ่ ด้ และศาสนาพทุ ธกย็ อมรับ สิ่งทม่ี ันจะตดิ อยู่กับเรานน้ั มลี ักษณะแตกต่างกันในทรรศนะของศาสนาพุทธ คอื เรอ่ื งเกี่ยวกับวา่ รู้ อะไร รู้อย่างไร ถ้ารู้ถูก เข้าใจถูก รู้ในสิ่งท่ีควรรู้ และส่ิงน้ันเป็นสิ่งท่ีถูกต้อง ผลตกค้างท่ีติดอยู่กับตัวเรา มัน อาจจะสืบต่อไปได้ถึงภพอ่ืน ก็คือ “บารมี” ท่ีเรียกว่า ใครมีบารมี หรือไม่มีบารมี เกิดข้ึนได้อย่างน้ี แต่ถ้า ความรู้นนั้ เป็นความร้ทู ่ผี ิด หรอื เข้าใจผดิ ผลท่ีตกค้างอยู่ ท่านเรียกวา่ “อาสวะ” ทั้ง “บารมี” และ “อาสวะ” นั้น เกิดจากการรู้ถูก เข้าใจถูก หรือ ความรู้ผิด เข้าใจผิด บารมีก็เกิด จากความร้ถู กู เข้าใจถูก อาสวะก็เกิดจากความรู้ผิด เข้าใจผิด นอกจากนั้นแล้ว ก็ยังเกิดจาก “กรรม” ชนิดอื่น ๆ อีกได้ ความจริง อาการรู้ หรือการหาความรู้ มันเป็นกรรมอย่างหนึ่ง แต่มันยังมีกรรมอ่ืน ๆ อีก ซ่ึงจะทิ้งผล อันเป็นบารมี หรือ อาสวะไว้ในตัวคนเหมือนกัน เพราะฉะนั้น เม่ือความรู้ถูก เข้าใจถูก ทิ้งผลเป็นบารมีให้ ตกคา้ งอยู่ กรรมดีทงั้ หลายทั้งปวง ก็ทิง้ ผลทเ่ี ป็นบารมีให้ตกอย่กู บั ตวั เราเหมือนกัน และเมือ่ รู้ผิดเข้าใจผิด ทิ้งอา สวะเอาไว้ กรรมชั่วท้ังหลายทั้งปวงท่เี ราทา มนั กท็ ิ้งตะกอน ตกเป็นอาสวะ อยู่ในใจของเราเหมอื นกัน ทัง้ บารมแี ละอาสวะน้ี ศาสนาพุทธสอนวา่ ตดิ ไปในภพอ่ืนได้ ถ้าคนใดเข้าสู่ภพอื่น มีบารมีติดไป บารมี นั้นจะส่งเสริมใหบ้ คุ คลนนั้ อยู่ในภพทดี่ ยี ิง่ กว่าภพเก่า แต่ถ้าหากวา่ การออกจากภพหนึง่ หรือภาวะหนึ่งไปสู่อีก ภาวะหนึ่ง อาสวะติดตัวไปแล้ว ภพที่เกิดข้ึนใหม่น้ัน มันก็จะเป็นภพที่ไม่ดี ยกตัวอย่าง นักศึกษามาเรียน ธรรมศาสตร์ สมมตุ ิวา่ เรยี นนติ ศิ าสตร์ มคี น ๒ คน คนหน่ึงเรียนด้วยความขยันหม่ันเพียร มีความเข้าใจอันดีที่ ถูกต้อง ประพฤติตนถูกต้อง เมื่อเป็นนักศึกษา เห็นความสาคัญของการศึกษา เมื่อสาเร็จเป็นบัณฑิตไป คนน้ีก็ หมดภพนักศึกษาไปเป็นบัณฑิต การประพฤติตัวดี การเข้าใจดีเม่ืออยู่มหาวิทยาลัย ก็จะตกเป็นบารมีติดตัวไป เม่ือเปน็ บัณฑติ จะไปทาการงานอะไร บารมีก็จะส่งเสริมให้สาเร็จในกิจการงานทุกชนิด สมมุติว่า นักศึกษาอีก คนหนึง่ เขา้ มาเรียนมหาวิทยาลัยแล้ว ไม่เห็นความสาคัญของการศึกษา แต่ก็สอบได้เป็นบัณฑิตเหมือนกัน แต่ สอบได้อย่างรอดตวั บัณฑิตคนหลังน้ีก็มีอาสวะติดตัวไปจากมหาวิทยาลัย ไปทาการงานอย่างไร ความสาเร็จก็ จะมีน้อยกว่าคนแรก ซงึ่ มบี ารมที ่สี ร้างไว้มาก เอกสารประกอบการสอน วิชา พทุ ธปรชั ญาเถรวาท เรียบเรยี ง นายเตชทัต ปกั สงั ขาเนย์ ๓๘
บารมี กับ อาสวะ น้ี ถ้าเปรยี บไดอ้ ีกอย่างหน่ึง กเ็ หมือนกบั ตะกอนทตี่ กอยู่ในนา้ การท่ีเรารบั ร้หู รอื ทากรรมนนั้ มันก็เหมอื นกับรนิ น้าใส่ถ้วย คือตอนนนั้ เราไม่เหน็ ตะกอน แต่เมอ่ื ทิง้ นา้ ให้นิ่งแล้ว ตะกอนมันจะตก เม่ือมีอะไรมากระทบน้าในแก้วนั้น ตะกอนก็จะพลุ่งพล่านขึ้นมา ทาให้น้าขุ่น การขุ่นของน้ามีแตกต่างกันอยู่ ตรงนี้ คอื ขุน่ ดว้ ยบารมี หรือ ขุ่นด้วยอาสวะ ถ้าหากว่าเป็นบุคคลที่ถูกสิ่งภายนอกมากระทบแล้ว บารมีที่นอน ตกก็นอยู่พลุ่งพล่านข้ึนมา ปฏิกิริยาของบุคคลน้ันจะมีต่อส่ิงท่ีมากระทบ จะต้องเป็นปฏิกิริยาท่ีเป็นไปในทางดี เสมอไป แต่ถ้าหากว่า ตะกอนท่ีมันขุ่นข้ึนมา มันเป็นอาสวะ ปฏิกิริยาท่ีจะมีต่อการถูกกระทบน้ัน จะต้องเป็น ปฏกิ ิรยิ าทีไ่ มด่ เี สมอไป ยกตวั อยา่ งคนที่มีบารมมี าก ๆ เดนิ ไปท่ีไหนมีคนมาท้าทาย ชวนวิวาท คนท่ีมีบารมีก็จะ ไม่โตต้ อบการวิวาทนัน้ แตพ่ ยายามจะหาทางปรับความเข้าใจและพูดจาดี ระงับการวิวาทท่ีจะเกิดขึ้นได้ แต่ถ้า เปน็ คนที่ไม่มบี ารมี มีอาสวะอยมู่ าก ถูกสบประมาทอย่างแรงเช่นนั้น ก็จะวิวาทตอบ ซ่ึงเรียกได้ว่าเป็นความชั่ว เป็นความไมด่ ที เี่ กิดขึ้น ทาใหเ้ กิดการวิวาทรุนแรงตอ่ ไป ได้กล่าวแล้วว่า บารมีกับอาสวะนั้น ได้ติดตัวไปถึงภพหน้า ตรงนี้เราอาจจะเข้าถึงปัญหาสาคัญที่เรา ถามกันอยเู่ สมอ ประการแรกก็คอื วา่ ศาสนาพุทธถือว่า คนเราน่ีเป็นของว่างเปล่า ไม่มีอะไรเลย หรือว่ามีตัว มี อัตตาหรือเปล่า หรือว่าทุกอย่างเป็นอนัตตาท้ังหมด แม้แต่ตัวเราเอง เร่ืองนี้ต้องบอกเสียแต่แรกว่า เป็นเร่ือง เกี่ยวกบั การพจิ ารณา ศาสนาพทุ ธไมไ่ ด้บอกไว้ชัดอย่างตรงไปตรงมาในเร่ืองน้ี ในเรื่องอัตตา จะต้องท้ิงไว้ให้อยู่ ในการพิจารณาของแต่ละบุคคล เท่าที่พูดมานี้ พูดตามหลักเกณฑ์ของศาสนาพุทธเท่าที่ปรากฏในคัมภีร์และ หนังสือต่าง ๆ ของศาสนาพุทธท่านสอนไว้ แต่พอเร่ิมพูดว่า ตัวเรามีหรือไม่ ตายแล้วไปไหน จะเกิดอีกหรือ เปล่า ต้องพูดตามความเห็นส่วนตัว ตามความเห็นของผม เห็นว่า คาว่า อนัตตา นั้นท่านต้องการจะส่ังสอน เพียงแต่ว่า ทุกส่ิงทุกอย่างท่ีเราเห็นด้วยอายตนะต่าง ๆ ท่ีเห็นในโลกนี้น้ัน มันไม่ใช่ตัวเรา หรืออย่างน้อยเราก็ บังคบั ไมไ่ ด้ นเี่ ห็นจะต้องเชื่อว่าเป็นความจริง แต่เม่ือพูดออกไปอย่างนี้แล้ว เรามีอะไรเหมือนกันท่ีเราบังคับได้ ถ้าเราบังคับอะไรไม่ได้เลย จะไปนั่งเปรียบเทียบกันได้อย่างไร หรือถ้าเราไม่มีตัวแล้ว ท่านจะไปน่ังสอนได้ อย่างไรว่า สิ่งน้ันส่ิงนี้ไม่ใช่ตัว เพราะฉะน้ัน คาว่า ตัว หรือ อัตตานั้น มีแต่จะมีอยู่ในรูปใดนั้น ก็มีอยู่ในสิ่งท่ี ศาสนาพทุ ธกล่าวถึงเสมอว่า “จิต” ท่านไมไ่ ด้เรียกวา่ “อัตตา” ท่านไม่ได้เรียกว่า มโน หรือ มนะ ท่านเรียกว่า จติ ศาสนาพุทธกล่าวไว้ว่า ต้องทาจิตให้บริสุทธ์ิ ถ้าไม่มีจิตแล้ว จะทาให้มันบริสุทธิ์ทาไม สมมุติว่า หน้าต่างติดกระจกนี้ เช็ดถูกระจกเพื่อให้มันสะอาดหมดฝุน แต่ถ้าไม่มีกระจกแล้วจะถูมันทาไม ถ้าไม่มีจิตแล้ว บารมีก็ดี อาสวะก็ดี ก็ไม่รู้ว่าจะไปตกค้างท่ีใด เพราะฉะน้ัน ตามความเข้าใจของผมเอง ผมจึงเห็นว่า ส่ิงท่ี เรียกว่า เป็นตัวของเรานั้น จะเรียกว่า จิต หรือ ตัว ก็ตาม แต่มันต้องมี และสิ่งนี้มีชาติ มีภพ คือเกิดข้ึนมาได้ เอกสารประกอบการสอน วชิ า พุทธปรชั ญาเถรวาท เรยี บเรยี ง นายเตชทัต ปักสังขาเนย์ ๓๙
เป็นอยูใ่ นภาวะใดภาวะหน่ึง เมือ่ ภาวะนัน้ ดบั ไปตามภาวะของศาสนาพทุ ธแล้ว ก็บงั เกิดภพใหม่ขึ้นได้ ซึ่งอาจจะ ไม่เหมือนกับภพเก่า เปรียบไปก็เหมือนกับเราจะก่อไฟ เราก็ต้องหาส่ิงท่ีเป็นเช้ือเพลิง เช่น ฟืน เอามากองสุม กนั แล้วเราก็จุดไฟขึน้ เราปล่อยใหม้ นั ลุกจนหมดเช้อื เพลิง ไฟน้นั กด็ ับ และถ้าจะก่อไฟข้ึนอีกหน่ึงกอง ก็ต้องหา เช้ือเพลงิ มาอีก จุดไฟอกี หมดเชื้อ ไฟก็ดบั กน็ า่ จะคิดดูว่า ไฟมันไปไหน ระหว่างไฟกองที่หน่ึง กับไฟกองที่สอง มันก็ต้องอยู่ท่ีไหนแห่งหนึ่งซ่ึงเรามองไม่เห็น เราไม่มีมาตราใดท่ีจะไปวัดมันได้ แต่ไฟนั้นมันมีแน่ ไม่ใช่ไม่มี ไฟ นั้นไม่ได้อยู่ในกล่องไม่ขีดไฟ และก็ไม่ได้อยู่ในฟืนด้วย แต่เมื่อครบอาการของมัน ไฟก็จะต้องเกิดขึ้น ตัวของ มนุษย์ หรือจิตของมนุษย์ก็เป็นอย่างนั้น มันเป็นธาตุอีกธาตุหน่ึงซ่ึงเรายังรู้จักไม่ถึง ในศาสนาพุทธท่านแย้ม พรายไว้มาก กลา่ วถึงปญั หาว่า เม่ือ จิต หรือ ตน มีแลว้ ร่างกายของเราท่สี ลายไป จติ น้นั ไปไหน ใจผมยังเชอ่ื วา่ จิต น้ันจะต้องไปเกิดใหม่ แต่จะไปเกิดในภพใด มันก็อยู่ที่บารมี หรือ อาสวะท่ีเราได้สร้างไว้ในภพนี้ ในขณะที่ ร่างกายเราแตกสลายคอื ตาย ถา้ จิตมีบารมีตกค้างอยู่มาก จิตน้ันก็จะไปเกิดในภพที่ดีต่อไป ถ้าไปเกิดเป็นคน ก็ ต้องเป็นคนที่ดีกว่าเก่า หรือเกิดเป็นเทวดา เป็นพรหม อะไรก็ได้ แต่ถ้าหากว่า จิตนั้นมีอาสวะครอบงาอยู่มาก ภพต่อไปท่มี ันจะเกิดขน้ึ กต็ อ้ งเป็นภพทเ่ี ลวกว่าเกา่ อาจจะเป็นภพของนรกหรือสัตวเ์ ดรัจฉาน หรอื อะไรกไ็ ด้ ศาสนาพุทธสอนวา่ เรอ่ื งตายแล้วเกิดใหม่หรือไม่ ตายแล้วสุญหรือไม่ ศาสนาพุทธห้ามไม่ให้ยึดท้ังสอง ทาง คนทถ่ี ือวา่ คนทีต่ ายแล้วต้องเกิดแน่ ทฤษฎีเช่นนั้นก็เป็นมิจฉาทิฐิ หรือคนที่ยึดว่า ตายแล้วต้องสูญแน่ ไม่ มีอะไรเหลือ ทฤษฎีเชน่ นั้นกเ็ ปน็ มิจฉาทิฐิเชน่ เดียวกัน เราตอ้ งมีสัมมาทิฐิ คือใจกว้างเข้าไว้ อย่าเพ่ิงเช่ือว่า ตาย แลว้ เกิดใหมห่ รอื ไม่ จนกว่าจะตายแล้วจิรง ๆ จึงจะรู้ ระยะน้ีก็เป็นระยะของความเชื่อและพิสูจน์กันไม่ได้ และ ตรงนี้ ศาสนาพุทธออกจากข่ายของปรัชญา เข้าไปอยู่ในข่ายของศาสนา เพราะปรัชญานั้นอาศัยเหตุผลเป็น เกณฑใ์ นการพจิ ารณา ส่วนศาสนาทกุ ศาสนา ต้องอาศัยความเชื่อ คือ ศรัทธา เป็นเกณฑ์ เมื่อพูดถึง การตาย การเกิด การตายแล้วสูญ ลักษณะเช่นนี้ขึ้นอยู่กับความเช่ือของแต่ละบุคคล ศาสนาพุทธไม่ได้บังคับไว้ว่า จะเช่ือในทางใดแน่ แต่ขณะเดียวกัน ความเชื่อของบุคคลจะมีทางใด ก็เป็นเร่ือง ของแต่ละบคุ คลทา่ นก็มิไดห้ า้ ม เพราะฉะนนั้ ผมเองกเ็ ชื่ออย่างน้ี เชอื่ วา่ คนเราท่ีตายแล้ว มันไม่หายสูญไปไหน แน่ ศาสนาพุทธเองกย็ นื ยันวา่ มีดับก็ตอ้ งมเี กดิ อีก มันจะตอ้ งเวียนวา่ ยตายเกิดเป็นไปอย่างน้ี แต่ว่าเรามักจะคิด กนั ไปง่าย ๆ กนั ไป ตรงไปตรงมาว่า ตายแลว้ เกิด มันก็จะไปเกิดในภพหรือภาวะท่ีเรารู้จักกันในปัจจุบัน สมมุติ วา่ เราตายแลว้ เราจะเกิดไปเป็นเทวดา เราจะอดนึกไม่ได้ว่า เทวดาน้ันจะต้องมีรูปร่างลักษณะของมนุษย์ มี ๒ ขา ๒ แขน มีความตอ้ งการ มคี วามหวัง เชน่ เดียวกับมนุษย์ ศาสนาพุทธสอนอยู่เสมอว่า แต่ละภพน้ันจะเอาไม้ บรรทดั อนั เดยี วกันไปวัดไม่ได้ ภพเทวดาและภพของมนุษย์ และภพของสตั ว์เดรัจฉานนั้น ภาษาในศาสนาพุทธเรียกว่า เปน็ ภพคน ละสมมตุ ิกัน คือ ไม่มีมาตรฐานอันเดยี วกนั ใช้มาตราอย่างเดียวกัน วัดกันไม่ได้ เป็นต้นว่า ความดีใจของมนุษย์ กับความดีใจของสัตว์บางชนิด เช่น หมู จะเอามาตราเดียวกันไปวัดไม่ได้ เพราะมันแตกต่างกัน ความเสียใจก็ เอกสารประกอบการสอน วิชา พทุ ธปรัชญาเถรวาท เรยี บเรียง นายเตชทตั ปักสงั ขาเนย์ ๔๐
เช่นเดียวกัน เราก็ไม่รู้ว่า สุนัขเสียใจแค่ไหน เทวดาหรือคนภพอื่นก็เช่นเดียวกัน เราไม่รู้ เพราะฉะน้ัน ความ พยายามจะวดั ภพอืน่ ดว้ ยมาตราเดยี วกนั นีม้ นั เกิดผล ๒ ทาง เกิดผลทาให้คนหลงใหลงมงายก็ได้ คือ เชื่อเทวดา จนงมงาย เพราะนกึ ว่า เทวดากเ็ หมอื นคน ย่อมมีความอยาก ก็มีการเช่นสรวงให้เทวดากิน เล่นละครให้เทวดา ดู เพราะนึกวา่ เทวดาเหมอื นคน ยอ่ มชอบส่งิ เหล่านั้น น่ีกเ็ ป็นการเชื่อถืองมงาย หรือมีผลอีกทางหนึ่งคือ ทาให้ ไม่เช่ือในสงิ่ เหลา่ นี้เลย คือเม่ือวดั ไม่ได้แล้ว ก็เลยถือว่าไม่มี เทวดาไม่มี ดังน้ัน เราควรคิดถึงสิ่งเหล่าน้ี นอกจาก ด้วยความเช่อื แล้ว กด็ ้วยเหตผุ ลทศี่ าสนาพทุ ธท่านบอกไว้ เพราะเปน็ ภพคนละสมมุติ ในสว่ นของพระนิพพาน หรือพระอรหันต์กเ็ ช่นกนั เรานึกถึงภพพระนพิ พาน เรานกึ ไม่ออกวา่ เปน็ อยา่ งไร หรือ นึกภพพระอรหันต์ เรานึกไม่ออกว่า เป็นอย่างไร ดงั นั้น พระอรหันต์ก็ดี พระนพิ พานก็ดี ศาสนา พทุ ธท่านเรยี กวา่ “นอกสมมุติ” คอื วดั ไมไ่ ด้ อธิบายไม่ได้ ตอ้ งรเู้ อง เห็นเอง จงึ จะรู้ ปุถุชนธรรมดาจะอธบิ าย ไมไ่ ดว้ า่ พระอรหันต์เปน็ อย่างไร พระนิพพานเป็นอยา่ งไร จะร้ตู อ่ เม่อื สาเรจ็ พระอรหนั ต์ และถงึ ซ่ึงพระนิพพาน แลว้ เทา่ นน้ั จึงจะรู้ได้ เม่ือเป็นเร่ืองนอกสมมุติดังน้ี เราก็ไม่สามารถจะรู้ได้และเมื่อไม่รู้ได้ เราะวัดไม่ได้แล้ว ก็นึกว่าไม่มีอีก เหมือนกัน เลยไม่เช่ือเลยว่า พระอรหันต์มี และพระนิพพานมี น่ีเป็นเรื่องที่พยายามจะรู้ในสิ่งที่เป็นเรื่องนอก สมมตุ ิ ดงั นั้นเม่อื คดิ ถงึ เรือ่ งเหลา่ น้ี ก็ควรท่จี ะนึกถึงเรอ่ื งคนละสมมตุ นิ ้ีไวบ้ า้ ง เปน็ การประกอบความนกึ คิด ก่อนจะจบเร่ืองน้ี ก็อยากจะถามว่า ความเชื่อว่า ชาตินี้ ชาติหน้ามีหรือ ภพนี้ ภพหน้ามีจริงหรือไม่ ความ เช่ือว่า ทาดีในชาตินี้ ตายไปจะเกิดดีในชาติหน้า ทาช่ัวย่อมจะเกิดช่ัวในชาติหน้า ถึงแม้ว่าจะเป็นความ เช่ือและเป็นความเชื่ออย่างงมงาย ถ้าจะดูประโยชน์ในด้านประพฤติตนแล้ว มันดีหรือไม่ เชื่อดีหรือไม่ ใจผม เองเช่ือว่า สาหรับชนสว่ นใหญ่น้นั เช่อื ไว้ดกี วา่ เพราะถา้ เชื่ออย่างนี้แลว้ มันเปน็ เคร่ืองเตอื นใจ ให้ระมัดระวังใน ความประพฤติและการกระทาของเรา ไม่ปล่อยให้ตัวกระทาผิด กระทาชั่วได้ง่าย เพราะเช่ือว่า ชาติหน้า ภพ หนา้ เราจะตอ้ งรบั ผลของการกระทาของเรา และจะพยายามทาดมี ากข้ึน เพราะรู้ว่า ทาดีแล้ว ผลดีจะด้องเกิด ในชาติต่อไป แต่ถ้าไม่เชื่อเสียเลยแล้ว ก็ไม่ได้ทาให้อะไรดีเกิดข้ึน คือใช่ว่าคนที่ไม่เชื่อในสิ่งเหล่านี้แล้ว จะ กลายเป็นคนที่วิเศษไปกว่าคนอื่น สติปัญญาก็แค่นั้น ขณะเดียวกัน อาจจะขาดความระมัดระวังในเร่ืองกระทา ผิด กระทาชว่ั และอาจจะขาดกาลงั ใจส่งเสรมิ ทีจ่ ะทาดีตอ่ ไป เพราะฉะน้ัน ความเช่ือเช่นน้ี เราอาจจะไปตาหนิ คนอื่นว่า เช่อื ถอื งมงาย แต่พิจารณาดว้ ยหลักการและดว้ ยใจเปน็ ธรรมแล้ว จะเห็นได้ว่า เป็นความเชื่อที่ไม่มีภัย อันตรายอย่างใดท้ังส้ิน ตรงกันข้าม เป็นความเชื่อที่ล้วนมีประโยชน์ เพราะเป็นการระงับความช่ัวได้มาก และ ส่งเสรมิ ความดีได้มาก เอกสารประกอบการสอน วชิ า พทุ ธปรชั ญาเถรวาท เรยี บเรียง นายเตชทัต ปกั สงั ขาเนย์ ๔๑
๑.๓ บทสรปุ สาระสาคญั ประจาบทที่ ๒ โลก คือ สรรพสิ่งท่ีก่อตัวเป็นมวลก้อน อาศัยระยะเวลายาวนานกว่าท่ีจะรวมตัวและอยู่ในสภาวะที่ เหมาะสมกับการให้กาเนิดส่ิงมีชีวิตได้ โลกประกอบด้วย พ้ืนดิน พ้ืนน้า อากาศ แสงสว่างห่อหุ้มอยู่ เป็นเครื่อง ดาเนนิ ชีวิตใหส้ งิ่ มีชวี ิตดารงอยูไ่ ด้ ในทางวิทยาศาสตร์ยังมอี กี หลากหลายองค์ประกอบท่ีประกอบรวมตัวกันเข้า เป็นโลก เหล่านี้เป็นทฤษฎีหลักการทางธรณีวิทยา และทางวิทยาศาสตร์ แลกอีกหลายสาขา วิชาการท่ี เกย่ี วข้องกับโลก ในทางศาสนาอาจแบ่งได้ ๒ ประเภทคือ ๑.ประเภทความเช่อื แบบเทวนิยม มคี วามเชื่อวา่ โลกเกิดข้นึ ได้เพราะมีผู้สร้าง ผู้ที่จะสร้างโลกได้ต้องมี อานาจเหนือสงิ่ อืน่ ใด คานิยามของผ้ทู เ่ี ชือ่ คอื พระเจ้าสงู สดุ ซึ่งเปน็ ผู้สรา้ งโลก อยเู่ หนือโลก อยู่เหนือ กฎเกณฑ์ ของโลก จะดลบันดาลให้เกิดภยั พบิ ัติ หรือสมดุลทางธรรมภายในโลกได้ ทาลายไดห้ ากไมพ่ อใจ เป็นต้น ๒. ประเภทท่ีมีความเช่ือในรูปแบบอเทวนิยม เชื่อว่า โลกเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติไม่มีใครสร้าง เปล่ียนแปลงไปตามกาลเวลา ตามกฎของไตรลักษณ์ (ตามความเชื่อทางพระพุทธศาสนา) โลกอาจมีท้ังส่วนท่ี เปน็ สง่ิ มีชีวิต (สัตวโลก) และธรรมชาตทิ ั่วไป (โอกาสโลก) หรือส่ิงที่กาเกิดข้ึนมาแล้วถึงคราวจากัดของส่ิงนั้น ก็ จะตอ้ งแตกสลาย ไป (สังขารโลก) ดงั นนั้ คาวา่ โลก จงึ เปน็ ทั้งส่วนท่มี นษุ ยค์ ิดวา่ เกดิ ขึ้นเอง และ ถูกสร้างขนึ้ จากผู้ท่ีมีอานาจ มีฤทธ์ิ หรือ ผู้นั้นคอื พระเจา้ สรา้ งข้นึ มา การศึกษาเร่ืองโลก จึงเป็นอีกจุดหนึ่งในการศึกษาปรัชญาทางพระพุทธศาสนา เพราะมีเนื้อหาท่ีเป็น ส่วนทต่ี อ้ งพิจารณา ทาความเข้า ย่ิงในบางเรื่องท่ีเก่ียวข้องกับพระไตรปิฎกท่ีกล่าวถึงเร่ืองโลก ที่มีทั้งทัศนะคติ ว่า มีผสู้ ร้าง และ เกิดขึ้นเองตามธรรม ซ่งึ ดขู ัดแย้งกนั จึงควรทาความเข้าใจ และตคี วามใหถ้ ูกต้อง เพื่อเป็นการ รักษาหลกั ธรรมและทาใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจทถ่ี ูกตอ้ ง เปน็ อนั หนึ่งอันเดยี ว ๑.๔ คาถามทบทวนประจาบทที่ ๒ ๑. โลกโดยท่วั ไป มีลักษณะอย่างไร จงอธบิ าย ๒. ทัศนะเร่อื งโลกโดยทัว่ ไปในทางศาสนาแบบตะวันตก มีลกั ษณะอย่างไร จงอธิบาย ๓. ทศั นะเร่อื งโลกในทางศาสนาแบบตะวันออก มีลักษณะอยา่ งไร จงอธิบาย ๔. การเรียนรเู้ ร่อื งโลกทาใหเ้ ราทราบสิ่งใดเปน็ อนั ดบั แรก จงอธบิ ายพรอ้ มอา้ งเหตผุ ลประกอบ เอกสารประกอบการสอน วิชา พทุ ธปรชั ญาเถรวาท เรยี บเรียง นายเตชทตั ปกั สงั ขาเนย์ ๔๒
๕. โครงสร้างของโลกในทางธรณีวิทยากับโครงสร้างของโลกในทางพระพุทธศาสนา แตกต่างหรือ เหมือนกนั อยา่ งไร จงอธิบาย พร้อมแสดงเหตผุ ลประกอบ ๖. โอกาสโลก มีลักษณะที่สามารถเปรียบเทียบกับโลกในทางธรณีวิทยาในส่วนใดบ้าง จงอธิบาย พรอ้ มยกตัวอย่างขอ้ เปรียบเทียบ ๗. ในทางพระพุทธศาสนาจึงกล่าวว่า “สัตว์โลก” คือโลกอีกส่วนหน่ึง ท่านมีความคิดเห็นอย่างไร จง อธบิ ายพรอ้ มอา้ งเหตุผลประกอบ ๘. “สังขารโลก คือโลกต้องมีการเปล่ียนแปลงไปตามกาลเวลา ในปัจจุบันเหตุการณ์ที่เกิด มีท้ัง บรรยากาศแห้งแลง้ น้าท้วม หมิ ะตกจนเกินจะรับได้ หรือแม้แต่ ฤดูกาลที่เคยเป็นอยู่ก็เปลี่ยนแปลงไป” ท่านมี ความคดิ เห็นอยา่ งไร จากข้อความน้ี ในมุมมองของสงั ขารโลก ทพี่ ระพุทธศาสนามองวา่ เปน็ เพียงแคส่ ังขาร ๙. จงเขยี นบทความโดยตงั้ ช่อื เรือ่ งขน้ึ เอง ท่เี ก่ียวกับ “โลก” ในมมุ มองของทา่ นเอง ความไม่น้อยกวา่ ๒ หน้ากระดาษ A๔ บรรยายถงึ ความต้องการ สิ่งท่อี ยากให้โลกมี และ สภาพทเี่ ปลย่ี นของโลก โดยเนน้ เนอื้ ท่ี เป็นวชิ าการ ๑๐. ให้นกั ศึกษา นาแผนท่ีโลก, แผนที่ยโุ รป, แผนท่ีเอเชีย, และแผนทีป่ ระเทศไทย มาแล้วศึกษา สภาพลกั ษณะของโลก โดยมีหัวข้อศึกษาดงั น้ี ๑. ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศตามสภาพอากาศ รอ้ น, หนาว, ฝน, พายุ ๒. สาเหตุของการเกิดสภาพการณ์เหลา่ นน้ั ๓. เปรยี บเทยี บกบั โลก ในทางพระพุทธศาสนาทั้ง ๓ ๔. สรุปเน้ือหาและตามตอบความเข้าใจในงานทน่ี าเสนอ ๑.๕ เอกสารอ้างอิงประจาบทที่ ๒ ภาษาไทย วศนิ อินทสระ,พุทธปรชั ญาเถรวาท , ครัง้ ท่ี ๒. กรุงเทพฯ โรงพมิ พ์มหากุฏราชวทิ ยาลยั .๒๕๒๕ __________ ,หลกั คาสอนสาคญั ในพระพทุ ธศาสนา (พุทธปรชั ญาเถรวาท)อรยิ สัจ ๔ คร้ังที่ ๕. กรงุ เทพฯ โรง พมิ พ์มหากฏุ ราชวิทยาลยั .๒๕๔๐. วิโรจน์ นาคชาตร,ี พทุ ธปรัชญาเถรวาท,พมิ พ์คร้งั ที่ ๑, กรุงเทพฯโรงพิมพ์มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง, ๒๕๔๐. สทุ ธิพงศ์ ตันตยาพิศาลสทิ ธ์ิ หลักพระพทุ ธศาสนา, กรงุ เทพฯ โรงพิมพธ์ รรมสภา. ๒๕๔๖. เอกสารประกอบการสอน วชิ า พุทธปรชั ญาเถรวาท เรียบเรียง นายเตชทตั ปกั สังขาเนย์ ๔๓
สนุ ทร ณ รังสี, พุทธปรัชญาจากพระไตรปฎิ ก, พิมพค์ รั้ง ๑, กรงุ เทพฯ โรงพมิ พ์จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๔๑. จกั รพล พมิ พการ,พจนานุกรมพทุ ธศาสตร,์ พิมพค์ รั้งที่ ๒. กรุงเพทฯ สานักพมิ พ์แสงดาวจากัด, ๒๕๕๑. สุชีพ ปญุ ญานุภาพ, คุณลกั ษณะพเิ ศษของพระพุทธศาสนา, พิมพ์ครงั้ ท่ี ๒, กรุงเพทฯ โรงพิมพ์มหามกฏุ ราช วทิ ยาลัย, ๒๕๔๑. สมเดจ็ พระญาณสงั วร สมเด็จพระสงั ฆราชสกลมหาสงั ฆปริยายก (เจรญิ สุวฑฺฒนมหาเถร),หลกั พระพทุ ธศาสนา , พมิ พ์คร้ัง ๑๐ ,กรุงเทพฯ โรงพมิ พม์ หามกฏุ ราชวทิ ยาลยั , ๒๕๔๙. สมคั ร บรุ าวาส, พุทธปรชั ญา: มุมมองด้วยทัศนะทางวทิ ยาศาสตร์,พมิ พค์ รั้ง ครง้ั ที่ ๓. กรุงเทพฯ สานักพิมพ์ สยาม.๒๕๔๔. ไชย ณ พล อัครศภุ เศรษฐ์ ,พระไตรปิฎกฉบบั พเิ ศษ ธรรมธาตุ ธรรมชาติแห่งสรรพสง่ิ , พิมพ์คร้ังท่ี ๑ กรงุ เทพฯ พลสั เพรสจากัด ,มปพ. ภาษาอังกฤษ - เอกสารอน่ื ๆ ศาสตราจารย์ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช บรรยาย แกน่ ักศึกษาชนั้ ปที ่ี ๑ ในลักษณะวิชาพน้ื ฐานอารย ธรรมไทย ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ปีการศึกษา ๒๕๑๖. แหลง่ ท่มี า (ออนไลน)์ http://th.wikipedia.org/ ค้นวันท่ี ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๖๔ แหลง่ ท่ีมา (ออนไลน)์ http://www.lesa.in.th ค้นวันที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔ เอกสารประกอบการสอน วิชา พุทธปรชั ญาเถรวาท เรยี บเรียง นายเตชทัต ปกั สงั ขาเนย์ ๔๔
แบบทดสอบทา้ ยบทที่ ๒ จานวน ๑๐ ขอ้ ๑. การศกึ ษาเร่ืองโลก เปน็ การศกึ ษาเพ่ือส่ิงใด ก. การศึกษาความเปน็ มาของโลก ข. การศกึ ษาองค์ประกอบตา่ ง ๆ ของโลก ค. การศกึ ษาธาตุทั้งส่ีของโลก ง. การศกึ ษาความหมายของโลก ๒. โลกในทางวทิ ยาศาสตร์มีความแตกต่างจากโลกในทางธรรมอย่างไร ก. องค์ประกอบโลกละสว่ นประกอบของโลก ข. ธาตุตา่ ง ๆ ภายในโลก ค. ความหมายทส่ี ามารถเรยี นรไู้ ด้ ง. ทุกข้อที่กล่าวมา ๓. ส่วนใด ที่ ไมจ่ ัด ว่า เป็นโครงสรา้ งภายนอกของโลก ก. แมก็ ม่า ข. เปลอื กทวีป ค. แอสทโี นสเพยี ร์ ง. เมโซสเฟยี ร์ ๔. โลกในทางพระพุทธศาสนา มกี ท่ี รรศนะ ทที่ ่านศาสตราจารย์ ม.ร.ว. คกึ ฤทธิ์ ปราโมชบรรยายไว้ ก. ๒ ทรรศนะ ข. ๓ ทรรศนะ ค. ๔ ทรรศนะ ง. ๕ ทรรศนะ ๕. ธาตทุ ้งั ๔ อย่างที่ประกอบกนั ข้นึ เป็นโลกของเราน้ี จดั เป็นโลกแบบใด ก.โอกาสโลก ข. อากาศโลก ค. สังขารโลก ง. สตั วโ์ ลก ๖. ลกั ษณะแบบใดท่เี รยี กวา่ “อปุ าทินกสงั ขาร” ก. ช้าง ข. เก้าอ้ี ค. ต้นไม้ ง. อากาศ ๗. “วิญญาณ” ในทางพระพุทธศาสนา มลี กั ษณะอยา่ งไร ก. การรบั รู้ ข. การรสู้ กึ ค. การเรียนรู้ ง. การอา่ นความรู้สึก ๘. อาสวะกบั บารมี มคี วามแตกต่างกันอยา่ งไร ก. การเกิดข้นึ กับการตง้ั อยู่ ข. การดับ กับการส่งเสรมิ ค. การเสอ่ื มสญู กับการพอกพูน ง. การความขัดข้องกับการทาใหเ้ กดิ มี ๙. ลักษณะของธรรมชาตทิ ่ัวไป มีเกิดขึ้น ต้ังอยู่ ดับไป จัดเป็นลักษณะของอะไร เอกสารประกอบการสอน วชิ า พุทธปรชั ญาเถรวาท เรยี บเรียง นายเตชทตั ปักสังขาเนย์ ๔๕
ก. สัตว์โลก ข. สังขารโลก ค. มนุษย์โลก ง. อากาศโลก ๑๐. โลกทป่ี ระกอบดว้ ยขันธ์ท้งั ๕ นั้นหมายถงึ โลกแบบใด ก. สัตว์โลก ข. สังขารโลก ค. มนษุ ยโ์ ลก ง. อากาศโลก เอกสารประกอบการสอน วิชา พทุ ธปรัชญาเถรวาท เรยี บเรียง นายเตชทัต ปกั สังขาเนย์ ๔๖
แผนบริหารการสอนประจาบทที่ ๓ ๑. หัวข้อประจาบทท่ี ๓ มนุษย์ ๑.๑ ความนา ๑.๒ ความหมายของมนุษย์ ๑.๒ มนษุ ย์ในทัศนะทางพระพทุ ธศาสนา ๑.๒.๑ ความหมายของคาวา่ “มนุษย์” ๑.๒.๒ มนุษยใ์ นทรรศนะพุทธอภิปรัชญา ๑.๒.๓ ธรรมชาตพิ เิ ศษเฉพาะของมนษุ ย์ ๑.๒.๔ มนษุ ยม์ าจากไหน ๑.๒.๕ องคป์ ระกอบของมนุษย์ ๑.๒.๖ ธรรมชาตทิ างกายของมนุษย์ ๑.๒.๗ ธรรมชาตทิ างจิตของมนษุ ย์ ๑.๒.๘ กาเนิดชีวิตมนุษย์ ๑.๒.๙ ฐานะของมนษุ ยใ์ นเอกภพ ๑.๒.๑๐ เอกภาพของมนษุ ยท์ างชีววิทยา ๑.๓ สรุปสาระสาคญั ประจาบทท่ี ๓ ๑.๔ คาถามทบทวนประจาบทท่ี ๓ ๑.๕ เอกสารอ้างองิ ประจาบทท่ี ๓ ๑.๖ แบบทดสอบท้ายบทท่ี ๓ ๒. วตั ถปุ ระสงค์เชิงพฤติกรรม เม่ือศึกษาบทที่ ๓ จบแลว้ นักศกึ ษาสามารถ ๒.๑ อธิบายความหมายของมนษุ ย์ในทางกายภาพและทางพระพทุ ธศาสนา ๒.๒ สามารถวเิ คราะห์มนษุ ย์โดยการเปรียบกบั หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนาได้ ๒.๓ สามารถนาเอาหลักการที่เกี่ยวกับมนุษย์ ในทางกายภาพ และทางพระพุทธศาสนามาเปรียบ วิเคราะห์ตามสภาพความเป็นจรงิ เอกสารประกอบการสอน วชิ า พุทธปรัชญาเถรวาท เรียบเรยี ง นายเตชทตั ปักสงั ขาเนย์ ๔๖
๓. วธิ กี ารสอน และกิจกรรม ๓.๑. นกั ศกึ ษา ต้ังประเดน็ ปญั หา สอบถาม เรอ่ื งมนุษย์ในทางกายภาพ และทางพระพุทธศาสนา โดย ต้ังคาถามให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นตามความต้องการของตนเอง แล้วสรุปโดยภาพรวม พร้อมทั้งต้ัง คาถามเปน็ ปัญหาใหน้ กั ศกึ ษาไปค้นควา้ เพมิ่ เติม ๓.๒. ให้นักศึกษาทาใบงาน ในคาถามท้ายบทท่ีกาหนดให้ หรือ ผู้สอนคิดขึ้นมานอกเหนือจากท่ีมีใน เอกสาร ๓.๓. นาใบงานมาตรวจแล้วสรุปความคิดเห็นท่ีนักศึกษาแสดงความคิดเห็นเพื่อเพิ่มเติมความเข้าใจ และนาประเด็นสาคญั มาหาข้อสรุปท่ถี กู ต้องตามหลกั วชิ าการ ๔. ส่ือการสอน ๔.๑. เอกสารประกอบการสอนวชิ าพุทธปรัชญาเถรวาท และอ่นื ๆ ทีเ่ ก่ียวข้อง ๔.๒. ใบงาน ๔.๓. คอมพิวเตอรโ์ ปรแกรม Microsoft Power Point ๕. การวดั ผลและประเมินผลการเรยี น ๕.๑. สังเกตจากการมสี ่วนรว่ มในการทากจิ กรรม ๕.๒. สังเกตจากความสนใจฟังและซักถาม ๕.๓. จากการตรวจใบงานท่ีใหท้ าในชนั้ เรยี น ๖. แนะนาเนอ้ื หาสาระประจาบททีท่ รงคณุ คา่ ควรศึกษาดังนี้ ๖.๑ ความหมายของมนุษย์ หน้าท่ี ๔๘ ๖.๒ มนษุ ย์ในทัศนะทางพระพทุ ธศาสนา หน้าที่ ๔๙ ๖.๓ ธรรมชาตพิ ิเศษเฉพาะของมนุษย์ หน้าท่ี ๕๒ ๖.๔ มนุษย์มาจากไหน หน้าที่ ๕๔ ๖.๕ ธรรมชาตทิ างกายของมนษุ ย์ หนา้ ท่ี ๕๙ ๖.๖ กาเนิดชีวิตมนษุ ย์ หน้าที่ ๖๒ เอกสารประกอบการสอน วชิ า พทุ ธปรชั ญาเถรวาท เรยี บเรียง นายเตชทตั ปักสังขาเนย์ ๔๗
บทท่ี ๓ มนุษย์ (The Man) คานา “มนษุ ย”์ ซง่ึ ตรงกบั คาว่า “Human being” ไมไ่ ดใ้ ชค้ าว่า “Man” เพราะคาว่า “Man” ไม่ได้รวมท้ัง ๒ เพศ ม่งุ หมายเฉพาะมนษุ ย์เพศชายเท่านั้น พระพุทธศาสนาให้ความสาคัญเก่ียวกับมนุษย์จนกระท่ังแสดงว่า โลกอยู่ในตัวมนุษย์หรือมนุษย์เป็นโลก ๆ หน่ึง ดังปรากฏในโรหิตัสสสูตรว่า “เราย่อมบัญญัติโลก เหตุเกิดของ โลก ความดับของโลกและปฏิปทาเคร่ืองให้ถึงความดับของโลก ในอัตภาพอันมีประมาณวาหนึ่ง มีสัญญาและ ใจนี้เทา่ นัน้ ” พระพุทธศาสนายอมรับว่า มนุษย์เป็นสัตว์โลกชนิดหน่ึง ที่ล้วนเกิดแก่เจ็บตายเช่นเดียวกับสัตว์โลก ชนิดอ่ืน ๆ แต่พระพุทธศาสนามีความเห็นแตกต่างจากปรัชญาศาสนาเทวนิยมอื่น ๆ ที่สอนว่า มนุษย์และโลก เกิดจากการสร้างสรรค์ของพระเจ้า พระพุทธศาสนาเห็นว่า การที่เทพเจ้าบางองค์คิดและเข้าใจว่าตนเองเป็น พระเจ้ากด็ ี และการที่มนุษยบ์ างหมูค่ ดิ และเข้าใจวา่ โลกและมนุษย์เกิดจากการสร้างหรือเนรมิตของพระเจ้าก็ดี เป็นความคิดและความเข้าใจที่เกิดขึ้นด้วยอานาจของอวิชชา คือความไม่รู้แจ้งสิ่งท้ังปวงตามสภาพความเป็น จริง พระพุทธศาสนาถือว่า สรรพส่ิงรวมท้ังมนุษย์เองด้วย เป็นส่ิงที่เกิดมีข้ึนตามธรรมชาติ เกิดข้ึนและ เป็นไปตามกฎแห่งเหตุปัจจัยในธรรมชาติ ซง่ึ พระพทุ ธศาสนาเรยี กวา่ กฎอทิ ัปปัจจยตา หรือกฎแห่งเหตุและผล มีพระพุทธวจนะแสดงถึงกฎดงั กล่าวนไี้ ว้ว่า อมิ สฺมึ สติ อทิ โหติ เมือ่ สิง่ นม้ี ี ส่ิงนีจ้ งึ มี อมิ สฺสปุ ฺปาทา อิท อุปฺปชชฺ ติ เพราะสิ่งน้เี กดิ ข้นึ สง่ิ นจี้ งึ เกิดข้ึน อมิ สฺมึ อสติ อิท น โหติ เมือ่ สิง่ นี้ไมม่ ี ส่ิงนจ้ี งึ ไม่มี อิมสฺส นโิ รธา อิท นิรุชฌฺ ติ เพราะสิ่งนด้ี ับ สิ่งนีจ้ ึงดับ ๑.๑ ความหมายของมนุษย์ มนุษย์ (ชื่อวทิ ยาศาสตร์: Homo sapiens, ภาษาละตินแปลว่า \"คนฉลาด\" หรือ \"ผู้รู้\") เป็นสปีชีส์เดียว ท่ียังสืบสายพันธุ์อยู่ในจีนัส Homo ในทางกายวิภาค มนุษย์สมัยใหม่ถือกาเนิดขึ้นในทวีปแอฟริการาว เอกสารประกอบการสอน วชิ า พทุ ธปรัชญาเถรวาท เรียบเรยี ง นายเตชทตั ปกั สงั ขาเนย์ ๔๘
๒๐๐,๐๐๐ ปีท่ีแล้ว และบรรลุความนาสมัยทางพฤติกรรม (behavioral modernity) อย่างสมบูรณ์เม่ือราว ๕๐,๐๐๐ ปีท่ีแลว้ มนุษย์มสี มองทีพ่ ัฒนาอย่างสงู และสามารถให้เหตุผลเชิงทฤษฎี ภาษา พินิจภายในและแก้ไขปัญหา ขีด ความสามารถทางจติ ใจน้ี เมอื่ ประกอบกับลาตัวท่ีตง้ั ตรงโดยปล่อยให้มือหยิบจับส่ิงของได้อิสระ ทาให้มนุษย์ใช้ อุปกรณ์ได้ดีกว่าสปีชีส์อ่ืนใดบนโลก กระบวนการคิดระดับสูงกว่าอย่างอื่นของมนุษย์ เช่น ความตระหนัก ตนเอง ความมีเหตุผล และภูมิปัญญา ได้รับการพิจารณาว่าเป็นลักษณะนิยามของสิ่งท่ีประกอบขึ้นเป็น \"บคุ คล\" มนุษย์มีเอกลักษณ์ถนัดในการใช้ระบบการสื่อสารเพ่ือประโยชน์ในการแสดงออกความรู้สึกของตน แลกเปล่ียนความคิด และการจัดการ มนุษย์สร้างโครงสร้างทางสังคมอันซับซ้อน ซ่ึงประกอบด้วยกลุ่มจานวน มากท่ีมีท้ังร่วมมือและแข่งขันกัน จากครอบครัวและวงศาคณาญาติ ไปเป็นชาติ ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมระหว่าง มนุษย์ได้ก่อต้ังค่านิยม บรรทัดฐานทางสังคมและพิธีกรรม ซึ่งรวมกันเป็นรากฐานของสังคมมนุษย์ ด้วยมนุษย์ พบอาศัยอยู่ทุกทวีปยกเว้นแอนตาร์กติกา จึงได้ช่ือว่าเป็น \"สปีชีส์พบได้ท่ัวโลก\" (cosmopolitan species) จนถึงเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. ๒๐๑๒ ประชากรมนุษย์ที่กองประชากรสหประชาชาติประเมินไว้อยู่ที่ราว ๗ พนั ล้านคน มนษุ ย์มีความโดดเด่นในเรือ่ งความปรารถนาจะเขา้ ใจและมีอทิ ธพิ ลเหนือสิ่งแวดล้อม แสวงหาคาอธิบาย และจัดการปรากฏการณ์ผ่านวิทยาศาสตร์ ปรัชญา เทพปกรณัม และศาสนา ความอยากรู้อยากเห็นใน ธรรมชาตนิ ีไ้ ดน้ าไปสู่การพัฒนาเคร่ืองมือและทักษะข้ันสูง ซ่ึงได้ถ่ายถอดมาทางวัฒนธรรม มนุษย์เป็นเพียงสปี ชีสเ์ ดยี วทสี่ ามารถกอ่ ไฟได้ ทาอาหารเปน็ สวมใสเ่ สื้อผา้ เครือ่ งนุง่ หม่ ตลอดจนสร้างและใช้เทคโนโลยีและศิลปะ อ่ืนอีกนกั ต่อนกั การศึกษามนุษยเ์ ปน็ วทิ ยาศาสตรแ์ ขนงหนึง่ เรียกว่า มานุษยวิทยา ๑.๒ มนษุ ยใ์ นทัศนะทางพระพทุ ธศาสนา ๑.๒.๑ ความหมายของคาว่า “มนษุ ย์” ในการศึกษาพระพุทธศาสนาหรือความคิดของตะวันออกน้ัน ถ้าหากไม่เข้าใจถึงความหมายท่ีแท้จริง ของศพั ทบ์ าลีหรอื สันสกฤตเสยี แล้ว ก็ดเู หมือนว่า ความเข้าใจของเรา อาจไม่สมบูรณ์เต็มที่ ทั้งนี้เพราะพาหนะ ของความคิดของพระพุทธศาสนามีความพิสดารอยู่ในรูปของศัพท์ ซ่ึงมีลักษณะพิเศษประกอบด้วยธาตุ วิภัตติ อุปสรรค และปจั จัย คมั ภีรอ์ ภธิ านวรรณนา เสนอไวว้ ่า คาว่า “มนุษย์” หมายถึง ผู้มีใจสูง (มโน อุสฺสนฺนมสฺสาติ มนุสฺโส), ผรู้ ูส้ ิ่งท่เี ปน็ ประโยชน์และไม่เปน็ ประโยชน์ (หิตาหติ มนติ ชานาตีติ มนุสฺโส) และผู้เป็นเหล่าก่อ/ลูกหลานของ เอกสารประกอบการสอน วิชา พุทธปรัชญาเถรวาท เรียบเรยี ง นายเตชทัต ปักสังขาเนย์ ๔๙
มนุ (มนุโน อปจฺจ ปุตฺโตติ มนุสฺโส) มีศัพท์ที่หมายถึงมนุษย์ ๖ ศัพท์คือ มนุสสะ มานุสะ มัจจะ มานวะหรือ มาณวะ มนุชะ และนระ คมั ภีรธ์ าตปุ ฺปทปี ิกา กลา่ วไวค้ ลา้ ยคลงึ กบั คาว่า “มนษุ ย”์ มคี วามหมายตามธาตเุ ป็น ๓ นัย ดงั น้ี ๑) เป็นพงศ์พันธ์ุหรือเหล่ากอหรือลูกหลานของมนุ มีวิเคราะห์ว่า “มนุโน อปจฺจ มนุสฺโส” มนุนั้นคือ คนผู้เป็นบรรพบุรุษของมนุษย์ท้ังหลายตั้งแต่ปฐมกัป ปรากฏนามในทางศาสนาว่ามหาสมมตราชา แต่ศัพท์ว่า “มน”ุ น้ี บางคร้งั ใช้เป็นชือ่ ของสตั ว์โลกก็มบี ้าง ดังบาลวี ่า “รปู านิ มนุ ปสฺสติ” สัตว์โลกเหน็ รปู ทั้งหลาย ๒) รู้จกั ส่งิ เก้ือกูลแกต่ น มวี เิ คราะหว์ า่ “ยถาพล อตตฺ โน หติ มนเุ ตติ มนสุ โฺ ส” ๓) โบราณว่า “ใจสูง” มวี เิ คราะห์วา่ “มนสฺส อสุ สฺ นฺนตฺตา วา มนสุ โฺ ส” ดังนั้น จึงสรุปได้ว่า มนุษย์มีความหมายประกอบด้วยผู้เป็นเหล่าก่อ/ลูกหลานของมนุ อธิบายได้ว่า ชาวอินเดียโบราณบางพวกเชื่อกันว่า “มนุ” นับเป็นบรรพบุรุษของมนุษย์ทั้งหลาย ตั้งแต่ครั้งปฐมกัลป์ และ กลา่ วกันว่า เป็นคนเดยี วกันกับพระเจา้ สมมตราช ที่มีเรื่องปรากฏในคัมภีร์อันนับเน่ืองในพระพุทธศาสนา และ ผู้มีใจสูง เป็นการสูงด้วยการปฏิบัติฝึกหัดอบรมส่ังสมคุณธรรมความดีให้ดีขึ้น อธิบายได้ว่า ผู้มีใจสูงก็คือผู้รู้จัก สิ่งเกือ้ กลู แกต่ น หรือผู้รสู้ ่ิงทีเ่ ป็นประโยชนแ์ ละไมเ่ ปน็ ประโยชน์นั่นเอง ลกั ษณะของมนษุ ย์ มนษุ ย์ ๕ จาพวก ๑. มนุสสเนรยิโก มนุษย์สัตว์นรก ได้แก่ มนุษย์ผู้ดุร้าย หยาบคาย ฆ่าสัตว์ตัดชีวิตจ้ีปล้นเอาทรัพย์ สมบัตขิ องผ้อู ื่นมาเปน็ ของตนโดยฆา่ เจา้ ทรพั ย์ตายบ้าง ทบุ ตีจนบาดเจ็บสาหัสบา้ ง ข่มขืนแล้วฆา่ บ้างเบียดเบียน ผู้อื่นสัตว์อ่ืนทรมานผู้อื่นสัตว์อ่ืน เป็นคนไร้ศีลธรรม ไม่ มีมนุษยธรรมคือศีล ๕ ประจาตัวเลย นามว่า “มนุสส เนรยิโก” แปลว่า มนุษย์สัตว์นรกคือเป็นมนุษย์แต่ชื่อ ส่วนความประพฤติทางกาย วาจา ใจน้ันเลวทราม ดุ รา้ ยหยาบคายเหมือนสัตว์นรกฉะนัน้ ๒. มนุสสเปโต มนุษยเ์ ปรต ไดแ้ ก่ มนุษยผ์ ู้มาก ไปด้วยความโลภ มากไปด้วยตัณหา ชอบลักเล็กขโมย นอ้ ยโลภเอาของผู้อื่นมาเป็นของตน แย่งชิงว่ิงราวเป็นต้น แม้พวกท่ีเท่ียวขอทาน ก็สงเคราะห์เข้าในประเภทน้ี ด้วย เอกสารประกอบการสอน วชิ า พุทธปรชั ญาเถรวาท เรยี บเรียง นายเตชทัต ปักสงั ขาเนย์ ๕๐
๓. มนุสสติรัจฉาโน มนุษย์สัตว์เดรัจฉาน ได้แก่มนุษย์ทีขวางศีลขวางธรรม มีโมหะคือความหลงมาก ไม่รู้จักบาป ไม่รู้จักบุญ ไม่รู้จักคุณ ไม่รู้จักโทษ ไม่รู้จักประโยชน์และมิใช่ประโยชน์ ไม่รู้จักบุญคุณของผู้มี พระคุณ เชน่ บิดามารดา ครูบาอาจารย์ เป็นต้น เป็นมนุษย์ผู้ไร้ศีลธรรม ด่ืมสุรา เสพยาบ้า กินกัญชา ทาอะไร ทางกาย วาจา ใจ ก็ขวางๆผิดทานองคลองธรรม นามว่า มนุสสติรัจฉาโน แปลว่ามนุษย์สัตว์เดรัจฉาน เดรัจฉาน แปลว่า ผู้ไปขวาง คือเดินทอดตัว ไม่ได้เดินต้ังตัวเหมือนคน คนเดรัจฉานก็ฉันน้ัน ทาอะไรก็ขวาง ธรรม ขวางวนิ ัย คือขาดศลี ธรรมเสมอ ๓. มนุสสภูโต มนุษย์แท้ๆ คือเป็นคนเต็มตัว ได้แก่คนรักษาศีล ๕ ม่ันเป็นนิตย์ไม่ขาด ไม่ประมาทต่อ ศีลเพราะศีลเปน็ มนุษยธรรม คือเปน็ ธรรมประจามนุษย์ ธรรมที่ทาให้คนเป็นคน มนุสสภูโต แปลว่ามนุษย์แท้ๆ เพราะมีคณุ ธรรมของคนคือศีล ศีล ท่านแปลว่า เศียร คือ หัว ถ้าคนขาดศีล ก็คือคนหัวขาดนั่นเอง เพราะขาด จากคณุ ธรรมของความเปน็ คน ๕. มนสุ สเทโว มนษุ ยเ์ ทวดา ไดแ้ ก่มนษุ ยผ์ ู้มศี ีล ๕ มั่นเป็นนิตย์ แล้วยังได้พยายามบาเพ็ญกุศลเพิ่มพูน บารมีอยู่เรื่อยๆ เช่น ให้ทาน ฟังธรรม เรียนธรรม ปฏิบัติธรรม ไหว้พระสวดมนต์ มีหิริคือความละอายต่อบาป มโี อตตัปปะ คอื ความสะดุ้งกลัวต่อผลแห่งบาปอย่เู สมอ เรียกว่าเป็นผ้มู ใี จสงู ดุจเทวดา เพราะประกอบด้วยเทว- ธรรม ๗ ประการคอื ๑) บารุงเลย้ี งมารดาบดิ า ๒) ประพฤตอิ ่อนน้อมถ่อมตนตอ่ บุคคลผูเ้ จริญ ๓) พูดจาไพเราะเสนาะหู อ่อนหวาน นมุ่ นวล ๔) ไมพ่ ูดสอ่ เสียดผอู้ ่นื ๕) ละความตระหนีเ่ หนียวแน่น ๖) รกั ษาคาสัตย์ ๗) ไม่โกรธ มนุษยท์ มี่ ีคณุ สมบัตเิ ชน่ น้ี ได้ถูกขนานนามว่า มนสุ สเทโว แปลว่า มนุษย์เทวดา ๑.๒.๒ มนษุ ย์ในทรรศนะพุทธอภิปรชั ญา เมื่อวิเคราะห์มนุษย์ตามทฤษฎที างอภิปรชั ญาหรอื ทฤษฎีว่าด้วยสง่ิ เป็นจรงิ แล้ว อาจจัดไดด้ งั นี้ เอกสารประกอบการสอน วิชา พุทธปรัชญาเถรวาท เรยี บเรยี ง นายเตชทตั ปกั สังขาเนย์ ๕๑
๑) ลทั ธวิ ัตถนุ ยิ มหรือลทั ธสิ สารนิยม (Materialism) หมายถึง ทรรศนะท่ีถือว่า ความจริงแท้มีอย่าง เดยี วเทา่ นนั้ คือสสารหรือวัตถุ ส่วนปรากฏการณ์ในรูปอ่ืน ๆ สามารถทอนลงได้ว่า เป็นเพียงปรากฏการณ์ของ สสาร ตามลัทธิน้ี มนษุ ยค์ ือสสารหรือวัตถุ ๒) ลัทธิจิตนิยม (Idealism) หมายถึง ทรรศนะท่ีถือว่าความจริงแท้มีอย่างเดียวเท่าน้ันคือ จิตหรือ สภาวะนามธรรม ตามลทั ธนิ ้ี มนษุ ย์คอื จิต ๓) ลัทธิทวินิยม (Dualism) หมายถึง ทรรศนะท่ีถือว่า ความจริงแท้มี ๒ อย่าง คือ สสาร (Matter) และ จิต (Mind) ส่ิงท้ัง ๒ น้ีเป็นสาร (Substances) ที่คงท่ีถาวร มีอยู่คู่ขนานอย่างเป็นอิสระจากกัน และไม่ อาจทอนลงมาเป็นอกี สิ่งหน่งึ ตามลทั ธินี้ มนุษย์ คือ สสารและจิต ซึ่งเป็นความจริงเท่า ๆ กันไม่มีความสัมพันธ์ ต่อกนั ๔) ลัทธิสัจนิยม (Realism) หมายถึง ทรรศนะท่ีถือว่า “สัจนิยม มีความหมายสาคัญ ในปัญหาว่า ด้วยสิ่งสากล สจั นยิ มมีทรรศนะขดั แย้งกบั นามนิยม ในปัญหาวา่ ดว้ ยความมีอยอู่ ย่างเป็นอสิ ระของโลกภายนอก สัจนิยมมีทรรศนะขัดแย้งกับจิตนิยม” มนุษย์ตามลัทธิสัจนิยมในความหมายที่ ๒ คือสสารและจิตซ่ึงมี ความสมั พนั ธ์ตอ่ กนั มนษุ ยต์ ามทรรศนะของพุทธอภิปรชั ญาจะสงเคราะห์ในลัทธิใด จาเป็นต้องวินจิ ฉยั กนั ก่อน มนษุ ยส์ งเคราะห์ในลทั ธิสสารนยิ มไม่ได้ เหตุผลคอื พระพทุ ธศาสนาถอื วา่ จติ มคี วามเป็นจริงพอ ๆ กับ วตั ถุ จิตไม่ใช่เป็นเพยี งปรากฏการณ์ของสสารคือไม่ได้เกิดจากการผสมผสานของธาตุ ๔ และไม่ได้ดับสูญเพียง เพราะธาตุ ๔ แตกทาลาย มนษุ ยส์ งเคราะหใ์ นลัทธิจิตนิยมไม่ได้ เหตุผลคือ พระพุทธศาสนาถือว่า วัตถุหรือรูปมีอยู่จริงภายนอก จิตหรือนาม จิตจะคิดถึงวตั ถหุ รอื ไม่ วตั ถุก็คงมอี ยู่ในโลกภายนอก วตั ถเุ ปน็ อิสระจากการรับรู้ของจิต (จิตฺตวิปฺป ยตุ ตฺ ) มนุษย์สงเคราะห์ในลัทธิทวินิยมไม่ได้ เหตุผลคือ พระพุทธศาสนาถือว่า จิตกับวัตถุ หรือนามรูป ไม่ใช่ สารอันคงท่ีถาวร นามรูปเปล่ียนแปลงตลอดเวลาตามกฎไตรลักษณ์ ย่ิงกว่าน้ัน นามรูปยังอาศัยกันและกัน เกิดข้ึนตามหลักปฏิจจสมุปบาท วิสุทธิมรรคอธิบายเร่ืองน้ีด้วยอุปมาว่า “หุ่นยนต์ ทาด้วยไม้เป็นของว่างเปล่า จากตัวตน ไม่มีชีวะ ไม่มีความดาริ แต่ทว่าเดินก็ได้ หยุดก็ได้ ปรากฏเหมือนของมีความดาริ มีความพยายาม ด้วยอานาจการประกอบกันเข้าแห่งไม้กับเชือก ฉันใด แม้นามรูปนี้บัณฑิตก็พึงเห็นว่าว่างเปล่าจากตัวตน ไม่มี ชีวะไม่มีความดาริ แต่ทว่าเดินก็ได้ หยุดก็ได้ ปรากฏ เหมือนส่ิงมีความดาริ มีความพยายามด้วยอานาจการ ประกอบกันและกนั เขา้ ฉนั นั้น” เอกสารประกอบการสอน วชิ า พทุ ธปรชั ญาเถรวาท เรียบเรียง นายเตชทัต ปักสงั ขาเนย์ ๕๒
มนุษย์สงเคราะห์ในลัทธิสัจนิยมได้ เหตุผลคือ พระพุทธศาสนาเป็นสัจนิยมในความหมายที่ ๒ คือ ยอมรับวา่ จิต (นาม) มีจริง สสาร (รูป) ก็มีอยจู่ ริง และท้ัง ๒ น้นั มีความสมั พนั ธป์ ระสานตอ่ กนั แม้โดยหลักการ พระพุทธศาสนาจะถือว่า จิตสาคัญกว่ากาย แต่ก็มิได้หมายถึงว่ากาย (รูป) ไม่สาคัญ พระพุทธศาสนาถือว่า กายสาคัญเช่นเดียวกัน เพราะว่าจิตจะทางานหรือรู้อารมณ์ต่าง ๆ เช่น ร้วู ่าได้ยนิ หรอื ว่าได้กล่นิ เปน็ ตน้ ไมไ่ ด้ ถา้ ขาดกาย ๑.๒.๓ ธรรมชาตพิ เิ ศษเฉพาะของมนุษย์ พระพุทธศาสนาถือว่า มนุษย์เป็นสัตว์พิเศษคือเป็นสัตว์ที่ ฝึกได้ เป็นสัตว์ท่ีพัฒนาได้ หรือเป็นสัตว์ที่เรียนรู้ได้ ส่วนสัตว์อื่น แทบไม่ต้องฝกึ มนั ก็สามารถอยู่ไดด้ ว้ ยสัญชาตญาณ สัตว์อ่ืนอย่างดี ที่ฝกึ พเิ ศษได้บา้ ง เช่น ชา้ ง มา้ ลงิ อาจวเิ คราะหไ์ ดว้ ่า ๑) ฝึกตวั เองไม่ได้ ต้องให้มนุษย์ฝกึ ให้ ๒) แมม้ นษุ ย์จะฝึกให้ กฝ็ กึ ได้ในขอบเขตจากดั มนุษย์พอฝึกเร่ิมเรียนรู้แล้ว ย่อมมีปัญญาเพ่ิมพูนขึ้น มีความคิดสร้างสรรค์ ประดิษฐ์ส่ิงต่างๆ ได้ มี ความเจรญิ ท้ังในทางนามธรรมและวัตถธุ รรม เม่ือฝกึ ฝนพัฒนาตนแล้ว จงึ ทาใหม้ นษุ ย์กลายเป็นสัตว์ท่ีประเสริฐ เลศิ สูงสุด ซึง่ เปน็ ความเลศิ ประเสริฐทสี่ ตั วอ์ ่ืนไมม่ ี มศี กั ยภาพสูง ฝกึ ฝนตนได้จนถึงขน้ึ เป็นพทุ ธะ เม่ือวิเคราะห์แล้ว จะเห็นได้ว่า มนุษย์มิใช่จะประเสริฐขึ้นมาเองอย่างลอย ๆ แต่ประเสริฐได้ด้วยการ ฝกึ ถา้ ไม่ฝึกแล้วจะด้อยกว่าสัตว์เดรัจฉาน จะต่าทรามย่ิงกว่า หรือไม่ก็ทาอะไรไม่เป็นเลย แม้จะอยู่รอดก็ไม่ได้ ในพระไตรปิฎกมีหลักฐานหลายแห่งท่ีเน้นหลักการฝึกฝนพัฒนาตนของมนุษย์และเร้าเตือนส่งเสริมกาลังใจให้ มุ่งมั่นในการพัฒนาตนจนถึงท่ีสุด เช่น “ผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชา (ความรู้) และจรณะ (ความประพฤติ) เป็นผู้ ประเสริฐสุด ทั้งในหมู่มนุษย์ และมวลเทวา (วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน โส เสฏฺโฐ เทวมานุเส)” และ“อัสดร สินธพ อาชาไนย กุญชร และชา้ งหลวงฝกึ แลว้ ล้วนดีเลศิ แต่มนุษย์ท่ีฝึกตนแล้ว ประเสริฐกว่า(ท้ังหมด)น้ัน(วรมสฺสตรา ทนตฺ า อาชานียา จ สนิ ธฺ วา กุญฺชรา จ มหานาคา อตตฺ ทนโฺ ต ตโต วร)” เพอื่ พัฒนาตนเอง จงึ ตอ้ งมกี ระบวนการ ฝกึ ท่ีเรยี กวา่ สิกขา ซึ่งกค็ อื การศกึ ษาสิกขา ๓ ได้แก่ ๑) ศีลสิกขาหรือการศึกษาท่ีฝึกในด้านการสัมพันธ์ติดต่อปฏิบัติจัดการกับสิ่งแวดล้อมทั้งทางวัตถุและ ทางสังคม ท้งั ดว้ ยอินทรีย์ต่าง ๆ และดว้ ยพฤตกิ รรมทางกาย วาจา พดู อกี อยา่ งหน่งึ ว่า การมีวิถีชีวิตท่ีปลอดเวร ภยั ไร้การเบียดเบยี น หรอื การดาเนนิ ชีวิตที่เกอ้ื กูลแก่สังคม และแกโ่ ลก เอกสารประกอบการสอน วชิ า พุทธปรชั ญาเถรวาท เรียบเรยี ง นายเตชทตั ปกั สงั ขาเนย์ ๕๓
๒) สมาธิสกิ ขาหรอื การศึกษาที่ฝกึ ในดา้ นจติ หรือระดบั จติ ใจ ได้แก่ การพัฒนาคณุ สมบัติต่างๆ ของจิต ทั้งในด้านคุณธรรม เช่น เมตตา กรุณา ความมีไมตรี ความเห็นอกเห็นใจ ความเอื้อเฟ้ือเผ่ือแผ่ ความสุภาพ ออ่ นโยน ความเคารพ ความชอ่ื สัตย์ ความกตัญญู ในดา้ นความสามารถของจิต เช่น ความเขม้ เข็งมั่นคง ความเพยี รพยายาม ความกลา้ หาญ ความอดทน ความรบั ผดิ ชอบ ความมงุ่ มนั่ แน่วแน่ ความมสี ติ สมาธิ และ ในด้านความสุข เช่น ความมีปีติอิ่มใจ ความมีปราโมทย์ร่าเริงเบิกบานใจ ความสดช่ืนผ่องใส ความรสู้ ึกพอใจ สรุปได้ว่า พฒั นาคุณภาพ สมรรถภาพ และสขุ ภาพของจติ ๓) ปัญญาสิกขาหรือการศึกษาท่ีฝึกหรือพัฒนาในด้านการรู้ ความจริง เริ่มต้ังแต่ความเช่ือที่มีเหตุผล ความเหน็ ท่เี ขา้ สแู่ นวทางของความเป็นจรงิ การรู้จักหาความรู้ การรู้จักคิดพิจารณา การรู้จักวินิจฉัย ไตร่ตรอง ทดลอง ตรวจสอบ ความรู้เข้าใจ ความหยั่งรู้เหตุผล การเข้าถึงความจริง การนาความรู้มาใช้แก้ไขปัญหา และ คิดการตา่ ง ๆ ในทางเกอ้ื กูลสรา้ งสรรค์ เฉพาะอย่างย่งิ เนน้ การรู้ตรงตามความเป็นจรงิ หรอื รู้เห็นตามท่มี นั เป็น ตลอดจนรู้แจ้งความจริงท่ีเป็น สากลของส่ิงทั้งปวง จนถึงข้ันรู้เท่าทันธรรมดาของโลกและชีวิต ท่ีทาให้มีจิตใจเป็นอิสระ ไร้ทุกข์ เข้าถึง อิสรภาพโดยสมบูรณ์ ๑.๒.๔ มนุษย์มาจากไหน ในทรรศนะของพระพุทธศาสนา ปัญหาท่ีว่า มนุษย์มาจากไหน ? เป็นปัญหาท่ีพอจะเข้าใน ประเภทอัพยากตปัญหาคือเป็นปัญหาท่ีพระพุทธเจ้า ไม่ทรงพยากรณ์ และ ถ้าหากตอบก็ไม่อาจตอบให้ กระจ่างแจ้งได้ ความรู้ท่ีได้รับจากคาตอบน้ี ก็ชวนให้ เกิดการถกเถียงโต้แย้งอย่างไม่มีท่ีสิ้นสุด และความรู้ เช่นนี้ เมื่อรู้แล้วก็มีค่าเพียงเพ่ือสนองความอยากรู้ เท่าน้ัน มิไดเ้ ปน็ ไปเพอ่ื กาจัดทุกข์ หรอื เพอื่ เปน็ ประโยชน์สุขในชวี ติ ไดอ้ ย่างแท้จริง ในจูฬมาลุงกโยวาทสูตร แห่งมัชฌิมนิกาย พระพุทธเจ้าตรัสเปรียบเหมือนคนถูกยิงด้วยลูกศรอาบยา พิษ ญาติพ่ีน้องหาหมอผ่าตัดลูกศรมา ก็ไม่ยอมให้ผ่าเอาลูกศรออก จนกว่าจะรู้ว่า ผู้ยิงเป็นใคร (กษัตริย์ พราหมณ์ แพศย์ หรอื ศูทร) ชอ่ื ไร โคตรไร สูงต่า หรือดาขาวอย่างไร อยู่บ้านไหน เมืองไหน ธนูท่ีใช้ยิงนั้นเป็น ธนูแล่ง (หน้าไม้) หรือเกาทัณฑ์ (ไม่ใช่แล่ง) และรายละเอียดอ่ืน ๆ อีกยืดยาว ซ่ึงก็คงจะตายเปล่า แต่ในฐานะท่ีเปน็ ปรัชญาชวี ติ ระบบหน่ึง จึงพอจะมีแนวทางตอบได้ เอกสารประกอบการสอน วชิ า พทุ ธปรชั ญาเถรวาท เรยี บเรียง นายเตชทัต ปักสงั ขาเนย์ ๕๔
เมื่อศกึ ษาอัคคญั ญสตู ร ซ่ึงกล่าวถงึ กาเนิดของโลก กาเนิดมนุษย์และวิวัฒนาการของสังคม ดังนี้ “สมัย หนง่ึ โลกหมนุ เวยี นไปสู่ความพนิ าศ สตั ว์ทง้ั หลายไปเกดิ ในชั้นอาภัสสรพรหมกันโดยมาก เมื่อโลกหมุนกลับ (คือ เกดิ ใหมภ่ ายหลังพินาศ) สัตวเ์ หลา่ น้นั ก็จุติมาสูโ่ ลกนเ้ี ป็นผเู้ กดิ ข้นึ จากใจ กินปีติเป็นภักษา (ยังมีอานาจฌานอยู่) มีแสงสวา่ งในตัว ไปไดใ้ นอากาศ (เชน่ เดียวกับเมอื่ เกิดในชนั้ อาภสั สรพรหม) ๑) อาหารช้ันแรก แล้วเกดิ มีรสดนิ (หรือเรียกว่าง้วนดิน) อันสมบรู ณ์ด้วย สี กลน่ิ รส สตั ว์ทงั้ หลายเอาน้ิวจมิ้ ง้วนดนิ ลิ้มรส ดูก็ชอบใจ เลยหมดแสงสว่างในตัว เม่ือแสงสว่างหายไป ก็มีพระจันทร์ พระอาทิตย์ มีดาวนักษัตร มีคืนวัน มี เดือน มกี ึ่งเดือน มฤี ดู และปี เมือ่ กนิ ง้วนดินเปน็ อาหาร กายก็หยาบกระด้าง ความทรามของผิวพรรณก็ปรากฏ พวกมีผิวพรรณดี ก็ดูหมิ่นพวกมีผิวพรรณทราม เพราะดูหมิ่นผู้อ่ืนเรื่องผิวพรรณ เพราะความถือตัวและดูหม่ิน ผู้อ่นื ง้วนดินก็หายไป ต่างกพ็ ากนั บน่ เสียดาย แลว้ ก็เกดิ สะเก็ดดนิ ท่สี มบูรณ์ด้วย สี กลิ่น และรสขึ้นแทนใช้เป็น อาหารได้ แต่เมอ่ื กินเขา้ ไปแล้วรา่ งกายก็หยาบกระด้างยิ่งขึ้น ความทรามของผิวพรรณก็ปรากฏชัดข้ึน เกิดการ ดูหมิ่น ถือตัว เพราะเหตุผิวพรรณนั้นมากขึ้น สะเก็ดดินก็หายไป เกิดเถาไม้สมบูรณ์ด้วย สี กลิ่นและ รส ขึ้น แทน ใชก้ ินเป็นอาหารได้ ความหยาบกระดา้ งของกาย และความทรามของผวิ พรรณก็ปรากฏมากขึ้น เกิดการดู หม่นิ ถือตวั เพราะเหตุผวิ พรรณนน้ั มากข้นึ เถาไมก้ ห็ ายไป ขา้ วสาลี ไม่มีเปลอื ก มีกล่ินหอม มีเมล็ดเป็นข้าวสาร ก็เกิดข้ึนแทน ใช้เป็นอาหารได้ ข้าวน้ีเก็บเย็นเช้าก็แก่นแทนท่ีขึ้นมาอีก เก็บเช้าเย็นก็เกิดแทนท่ีข้ึนมาอีก ไม่ ปรากฏพร่องไปเลย ความหยาบกระด้างของกาย ความทรามของผิวพรรณก็ปรากฏมากขน้ึ ๒) เพศหญิงเพศชาย จึงปรากฏเพศหญิงเพศชาย เม่ือต่างเพศเพ่งกันแลกันเกินขอบเขต ก็เกิดความกาหนัดเร่าร้อน และ เสพเมถุนธรรมต่อหน้าคนท้ังหลาย เป็นท่ีรังเกียจและพากันเอาสิ่งของขว้างปา เพราะสมัยน้ันถือว่าการเสพ เมถนุ เป็นอธรรม เชน่ กับที่สมยั นถ้ี อื ว่าเปน็ ธรรม (ถูกต้อง) ตอ่ มาจงึ ร้จู กั สรา้ งบา้ นเรือน ปกปดิ ซอ่ นเร้น ๓) การสะสมอาหาร ตอ่ มามีผเู้ กียจคร้านท่ีจะนาข้าวสาลีมาตอนเช้าเพื่ออาหารเช้า นามาตอนเย็นเพื่ออาหารเย็น จึงนามา ครั้งเดียวให้พอทัง้ เช้าท้ังเย็น ตอ่ มาก็นามาคร้ังเดียวให้พอสาหรับ ๒ วัน ๔ วัน ๘ วัน มีการสะสมอาหารจึงเกิด มีเปลือกห่อหุ้มข้าวสาร ท่ีถอนแล้วก็ไม่งอกขึ้นแทน ปรากฏความพร่อง (เป็นตอน ๆ ท่ีถูกถอนไป) มนุษย์เล่า นั้นจงึ ประชมุ กันปรารภความเสือ่ มลงโดยลาดบั แล้วมกี ารแบ่งขา้ วสาลีกาหนดเขต (เปน็ ของคนนัน้ คนน)้ี ๔) อกุศลธรรมเกิดข้นึ กษตั ริยเ์ กดิ ข้ึน ต่อมาบางคนรักษาส่วนของตน ขโมยของคนอ่ืนมาบริโภค เมื่อถูกจับได้ ก็เพียงแต่สั่งสอนกันไม่ให้เขา ทาอีก เขาก็รับคา ต่อมาขโมยอีก ถูกจับได้ถึงคร้ังท่ี ๓ ก็สั่งสอนเช่นเดิมอีก แต่บางคนก็ลงโทษ ตบด้วยมือ ขว้างด้วยก้อนดิน ตีด้วยไม้ เขาจึงประชุมกันปรารภว่า การลักทรัพย์ การติเตียน การพูดปด การจับท่อนไม้ เกิดขึ้น ควรจะแต่งต้ังคนข้ึนให้ทาหน้าท่ีติคนท่ีควรติ ขับไล่คนที่ควรขับไล่ โดยพวกเราจะแบ่งส่วนข้าวสาลีให้ จงึ เลอื กคนท่ีงดงามมศี กั ดิ์ใหญแ่ ตง่ ตงั้ เปน็ หัวหน้า เพอ่ื ปกครองคน (ตแิ ละขับไลค่ นทีท่ าผดิ )” เอกสารประกอบการสอน วิชา พทุ ธปรัชญาเถรวาท เรียบเรียง นายเตชทัต ปักสงั ขาเนย์ ๕๕
จงึ วิเคราะห์ได้ว่า มนษุ ย์ทม่ี าเกิดในโลกน้กี ็มาจากมนษุ ย์น่ันเอง ช้ันอาภัสสรพรหมเป็นสถานที่เกิดแห่ง หนึ่ง และสัตว์ท่ีไปเกิดชั้นนี้ก็คือ มนุษย์ผู้ท่ีบาเพ็ญสมาธิจนได้ฌาน ซ่ึงยังไม่บรรลุเป็นพระอรหันต์ พระพุทธศาสนาไม่ได้ตอบถึง ปฐมกาเนิดแรกสุดของมนุษย์ คาตอบทไ่ี ด้รับเป็นคาตอบท่ีจากัดอยู่เพียงปรากฏการณ์ที่มีอยู่และ เป็นอยู่แล้ว ถ้าจะตอบให้ชัดเจนเกี่ยวกับปัญหาน้ีต้องตอบตาม หลักปฏิจจสมุปบาท ซึ่งมีสูตรทั่วไป (สากล) ว่า “เม่ือส่ิงนี้มี สิ่งนี้ จงึ มี เพราะส่ิงน้ี เกิดขน้ึ สิง่ น้ี จงึ เกิดข้ึน เม่ือส่ิงนี้ ไม่มี สิ่งนี้ จึงไม่มี เพราะสิง่ นี้ดบั สิ่งนจ้ี งึ ดับ” ๑.๒.๕ องคป์ ระกอบของมนุษย์ ในพระสุตตันตปฎิ กได้แยกแยะมนษุ ย์ออกเป็นขันธ์ ๕ คอื ๑) รูป คือ ร่างกายและพฤติกรรมทัง้ หมดของร่างกาย อันเปน็ ส่วนประกอบฝุายรูป ธรรมท้งั หมด ๒) เวทนา คือ ความรู้สึกสุข ทกุ ข์ หรอื เฉย ๆ ๓) สญั ญา คือ ความกาหนดหมายรู้ เช่น แดง, เขยี ว, แหลม, หอม, เหมน็ , อ่อน, แขง็ , งาม, นา่ เกลียด เปน็ ต้น ๔) สังขาร คอื คุณสมบตั ติ ่าง ๆ ของจติ มเี จตนาเปน็ ตวั นา ซึ่งแตง่ จติ ใหด้ หี รือชวั่ หรือเป็นกลาง ๆ ๕) วญิ ญาณ คือ ความร้แู จง้ อารมณ์ ในมลิ นิ ทปญั หาได้เปรยี บเทียบการวเิ คราะห์ขันธ์ ๕ กับรถว่า “ชอื่ ท่เี รยี กขานกันน้นั เปน็ เพยี งชอื่ ต้ังกัน เรียกกนั ไม่มตี ัวตนท่ีจะคน้ หาชอ่ื ได้ ส่วนต่าง ๆ ของรถ ใหแ้ ตล่ ะส่วนแยกกัน เราไมเ่ รียกว่า รถ” ในการวิเคราะห์มนุษย์เป็น ๕ ส่วนตามนัยแห่งขันธ์ ๕ นี้ แต่ละส่วนยังมีการวิเคราะห์ออกเป็น ส่วนย่อยต่อไปอีกอย่างพิสดาร แต่ขันธ์ ๕ น้ี เมื่อพิจารณาในแง่ปรมัตถธรรม คือ จิต เจตสิก รูปและนิพพาน แล้ว อาจจะยอ่ ลงไดเ้ ป็น ๓ คอื รูป คงเปน็ รปู เวทนา สญั ญา สังขาร เป็นเจตสิก วิญญาณเป็นจิต ส่วนนิพพาน ไม่มีในขนั ธ์ ๕ คือ เป็นขนั ธวิมตุ ิ หรือจะยอ่ ลงเปน็ ๒ คือ รปู (กาย) และนาม (จติ ) ดงั นี้ เอกสารประกอบการสอน วชิ า พุทธปรัชญาเถรวาท เรยี บเรียง นายเตชทตั ปกั สงั ขาเนย์ ๕๖
ในธาตุวิภังคสูตรแสดงว่า มนุษย์นี้คือ ธาตุ ๖ ( ฉ ธาตุโร อย ภิกฺขุ ปุริโส) คาว่า “ธาตุ” ในทรรศนะ ของพระพุทธศาสนานั้นหมายถึงส่ิงที่ทรงสภาวะของมันอยู่เองตามธรรมดาของเหตุปัจจัยแตกต่างกับคาว่า “ธาตุ” ที่ใชใ้ นวชิ าวิทยาศาสตร์ ๑. ปฐวีธาตุ ธาตุดิน คือ ธาตุท่ีมีลักษณะแข้นแข็ง ในวิสุทธิมรรคได้แสดงคุณลักษณะของปฐวีธาตุไว้ ๔ ประการ คอื ๑) กกฺขฬตฺตลกฺขณา มคี วามแข้นแข็งเปน็ ลกั ษณะ ๒) ปติฏฺฐานรสา มีการรบั รปู ท้ังหลายเปน็ กิจ ๓) สมปฺ ฏจิ ฺฉนปจฺจปุ ฏฺฐานา มีการรองรบั ซ่ึงรูปธาตุท้ังปวงเป็นผล ๔) อวเสสาธาตุตฺตยปทฏฺฐานา มีธาตุที่เหลือ (คือ อาโปธาตุ เตโชธาตุ และวาโยธาต)ุ เปน็ เหตุใกล้ ในพระสตู ร ได้ทอนยอ่ ยกายออกเป็นส่วนประกอบตา่ ง ๆ เปน็ ๔๒ สว่ น คอื ท่เี ปน็ ปฐวธี าตุ ๒๐ สว่ น ทเี่ ป็นอาโปธาตุ ๑๒ ส่วน ท่เี ปน็ เตโชธาตุ ๔ สว่ น และท่เี ป็นวาโยธาตุ ๖ สว่ น ในธาตวุ ภิ งั คสตู ร แสดงปฐวีธาตไุ ว้ ๒๐ สว่ น คอื (๑) เกสา ผม (๒) โลมา ขน (๓) นขา เล็บ (๔) ทนฺตา ฟัน (๕) ตโจ หนัง (๖) มส เน้ือ (๗) นหารู เอ็น (๘) อฏฺฐิ กระดูก (๙) อฏฺฐิมิญฺช เยื่อในกระดูก (๑๐) วกฺก ม้าม (๑๑) หทย หัวใจ (๑๒) ยกน ตับ (๑๓) กิโลมก พังผืด (๑๔) ปิหก ไต (๑๕) ปปฺผาส ปอด (๑๖) อนฺต ไส้ใหญ่ (๑๗) อนตฺ คณุ ไส้นอ้ ย (๑๘) อุทฺริย อาหารใหม่ (๑๙) กรีส อาหารเก่า (๒๐) มตถฺ ลงุ ฺค มันสมอง ๒. อาโปธาตุ ธาตุน้า คือ ธาตุท่ีมีลักษณะเอิบอาบ ดูดซึม ในวิสุทธิมรรคได้แสดงคุณลักษณะของ อาโปธาตุไว้ ๔ ประการ คือ เอกสารประกอบการสอน วิชา พุทธปรชั ญาเถรวาท เรียบเรยี ง นายเตชทัต ปักสังขาเนย์ ๕๗
๑) ปคฆฺ รณลกฺขณา มีการเอบิ อาบหรือการไหลเปน็ ลักษณะ ๒) อาพนฺธนลกฺขณา มกี ารเกาะกุมเป็นลกั ษณะ ๓) พรฺ หู นารสา มีการทาให้เต็มหรืออ่ิมชมุ่ เป็นกจิ ๔) สงคฺ หปจฺจุปฏฐฺ านา มีการเชอ่ื มยึดให้ตดิ กันเป็นผล ๕) อวเสสธาตุตฺตยปทฏฺฐานา มีธาตทุ ีเ่ หลือเปน็ เหตุใกล้ อาโปธาตุมี ๑๒ ส่วน คือ (๑) ปิตฺต ดี (๒) เสมฺห เสมหะ (๓) ปุพฺโพ หนอง (๔) โลหิต เลือด (๕) เสโท เหงื่อ (๖) เมโท มันข้น (๗) อสฺสุ น้าตา (๘) วสา มันเหลว (๙) เขโฬ น้าลาย (๑๐) สิงฺฆาณิกา น้ามูก (๑๑) ลสิ กา ไขข้อ และ (๑๒) มตุ ตฺ น้ามูก ๓. เตโชธาตุ ธาตุไฟ คือ ธาตุที่มีลักษณะร้อน ในวิสุทธิมรรคได้แสดงคุณลักษณะของเตโชธาตุไว้ ๔ ประการ คือ ๑) อณุ หฺ ตตฺ ลกฺขณา มคี วามร้อนเป็นลักษณะ ๒) ปรปิ าจนรสา มีการทาใหย้ ่อยเปน็ กิจ ๓) มททฺ วานุปฺปทานปจฺจปุ ฏฺฐานา มีอาการอ่อนนิ่มเปน็ ผล ๔) อวเสสธาตุตตฺ ยปทฏฺฐานา มีธาตทุ ่ีเหลอื เปน็ เหตุใกล้ เตโชธาตุมี ๔ ส่วน คือ (๑) อุสฺมาเตโช คอื ธาตุไฟท่ีมีประจาอยู่ในร่างกายของสตั วท์ งั้ หลาย ที่เรียกว่า ไออนุ่ ภายในร่างกาย (๒) ปาจกเตโช คอื ธาตุไฟที่ทาหน้าท่ยี ่อยอาหาร (๓) ชิรณเตโช คือ ธาตุไฟท่ที าให้รา่ งกายทรดุ โทรม เชน่ ทาใหผ้ มหงอก ฟนั หัก หนงั เห่ียวย่น เป็นต้น (๔) สนฺตาปนเตโช คือ ธาตุไฟทที่ าใหร้ า่ งกายกระวนกระวาย ๔. วาโยธาตุ ธาตุลม คอื ธาตุทีม่ ลี กั ษณะพดั ไปมา ภาวะส่ันไหว พยุงไว้ ค้าจนุ ในวิสทุ ธิมรรคได้แสดง คณุ ลกั ษณะเฉพาะตัวของวาโยธาตุไว้ ๔ ประการคือ ๑) วิตฺถมภฺ นลกขฺ ณา มีการพยุงไวเ้ ปน็ ลกั ษณะ ๒) สมุทีรณรสา มกี ารเคลอ่ื นไหวเปน็ กิจ ๓) อภนิ หี ารปจฺจุปฏฺฐานา มีการแสดงทา่ ทาง (ต่าง ๆ) ไดเ้ ป็นผล ๔) อวเสสธาตตุ ฺตยปทฏฺฐานา มีธาตุท่เี หลอื เป็นเหตุใกล้ วาโยธาตมุ ี ๖ สว่ น คอื (๑) อุทธฺ งฺคมวาโย ลมท่พี ดั ขนึ้ เบื้องบน เช่น การเรอ การหาว การไอ การจาม เปน็ ตน้ (๒) อโธคมวาโย ลมท่พี ัดลงสู่เบื้องต่า เชน่ การผายลม การเบง่ ลม เป็นต้น เอกสารประกอบการสอน วิชา พุทธปรชั ญาเถรวาท เรยี บเรียง นายเตชทตั ปักสังขาเนย์ ๕๘
(๓) กุจฺฉิสยวาโยหรอื กจุ ฺฉฏิ ฐฺ วาโย ลมที่อยู่ในชอ่ งทอ้ ง เช่น ทาใหป้ วดทอ้ ง เสียดท้อง เปน็ ตน้ (๔) โกฏฺฐาสยวาโย ลมทอี่ ยู่ในลาไส้ เชน่ ท้องลั่น ท้องร้อง เป็นต้น (๕) องฺคมงฺคานสุ าริวาโย ลมท่พี ัดอยู่ท่วั รา่ งกาย ทาใหร้ ่างกายไหวได้ (๖) อสฺสาสปสฺสาสวาโย ลมหายใจเขา้ ลมหายใจออก ๕. อากาสธาตุ คือธาตุอากาศหรือชอ่ งว่าง เชน่ ชอ่ งหู ชอ่ งจมูก ช่องปากของอวยั วะตา่ ง ๆ ๖. วญิ ญาณธาตุ คือ ธาตวุ ญิ ญาณหรือธาตรุ ู้ ธาตุ ๖ นี้ อาจจะย่อลงไดเ้ ป็น ๒ คอื รปู (กาย) และนาม (จิต) ดังนี้ ในทรรศนะของพระพุทธศาสนา มนุษย์หรือตัวตนแท้ ๆ ไม่มี แต่มองมนุษย์ในฐานะเป็นเพียงการ ประชมุ ของสว่ นประกอบต่าง ๆ เมื่อสว่ นประกอบเหล่านั้นถูกแยกออกไป ความเป็นมนุษย์ก็จะไม่มี นอกจากนี้ แล้ว พระพุทธศาสนายังมองกว้างออกไปถึงโลกที่มีอยู่ภายนอกตัวมนุษย์คือสิ่งท้ังหลายว่า ดารงอยู่ในรูปของ ส่วนประกอบที่มาประชุมกันเข้าเช่นเดียวกับมนุษย์ ตัวอย่างที่ยกมาอุปมาเสมอ ๆ เก่ียวกับเรื่องนี้ในคัมภีร์ พระพุทธศาสนาคอื รถ เรอื น กาปัน้ พณิ กองทัพ เมือง คนขายเนอ้ื เปน็ ตน้ ๑.๒.๖ ธรรมชาติทางกายของมนษุ ย์ พระพุทธศาสนาวิเคราะหม์ นุษย์อย่างกวา้ ง ๆ เปน็ ๒ องค์ประกอบ (สว่ น) คือ รปู กับ นาม หรอื กาย กับจิต ในสังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค กล่าวว่า “ท่ีช่ือว่ากายเพราะเป็นท่ีเกิดแห่งทุกข์...เป็นท่ีต้ังแห่งความ กาหนัดเพลดิ เพลนิ เป็นที่ตั้งแหง่ โรค เปน็ ทป่ี รากฏแหง่ ชราและมรณะ” เอกสารประกอบการสอน วชิ า พุทธปรชั ญาเถรวาท เรียบเรียง นายเตชทตั ปกั สังขาเนย์ ๕๙
ในคัมภีร์อภิธัมมัตถวิภาวินี นิยามคาว่า “กาย” ไว้ว่า “กุจฺฉิตาน เกสาทีน อาโยติ กาโย รูปใดเป็นท่ี ประชุมลงแห่งส่วนต่าง ๆ มีผมเป็นตน้ อนั นา่ เกลยี ด เหตนุ น้ั รูปน้นั ชือ่ ว่ากาย” ในคัมภีร์วิสุทธิมรรค ตอนที่ว่าด้วยกายคตาสติ อธิบายว่า “กายนี้เป็นที่รวมแห่งโกฎฐาสะ(โกฎฐาสะ แปลว่า ส่วนตา่ ง ๆ กายประกอบด้วยส่วนตา่ ง ๆ ๔๒ ส่วนคือ ปฐวีธาตุ ๒๐ ส่วน อาโปธาตุ ๑๒ ส่วน เตโชธาตุ ๔ สว่ น และวาโยธาตุ ๖ สว่ น) ต่าง ๆ มี ขน ผม เล็บ เปน็ ตน้ และชอื่ วา่ น่าเกลยี ด เพราะกายนี้นับตั้งแต่พ้ืนเท้า ขนึ้ ไปและแต่ปลายผมลงมา มหี นงั ห้มุ โดยรอบ เตม็ ไปด้วยของไม่สะอาดมีประการต่าง ๆ และทั้งเป็นท่ีเกิดของ โรคนานาชนดิ มโี รคหู โรคตาและโรคปาก เปน็ ตน้ อนั นา่ เกลียด เพราะเกดิ มาแตข่ องไม่สะอาด ในคัมภรี ว์ ิสทุ ธิมรรค ตอนท่วี ่าดว้ ยอายตนนิเทศ อธิบายว่า “กายนี้เป็นท่ีมาหรือเป็นแดนเกิดแห่งบาป ธรรมอันน่าเกลียด คือ สาสวธรรม มีกามราคะ เป็นต้น เพราะสาสวธรรมทั้งหลายเกิดข้ึนเพราะมีกายเป็นแดน เกดิ ” ในพระพทุ ธศาสนา มีคาที่ถูกนามาใชเ้ ป็นไวพจน์ของคาว่า “กาย” ในขุททกนิกายเสนอไว้ ๑๒ คา คอื ๑. คหู า ถา้ ๒. เทโห กาย ๓. สันเทโห ร่างกาย ๔. นาวา เรือ ๕. รโถ รถ ๖. ธโช ธง ๗. วัมมโิ ก จอมปลวก ๘. นิทธัง รงั ๙. นครงั เมอื ง ๑๐. กฏุ ี กระท่อม ๑๑. คณั โฑ ฝี และ ๑๒.กมุ โภ หมอ้ ส่วนในธาตปุ ปฺ ทีปิกา ได้ใหค้ าทีเ่ ปน็ ไวพจนข์ องคาว่า กายไว้ ๑๑ คาคือ ๑. เทหงั ๒. สรรี ัง ๓. วปุ ๔. พิมพงั ๕. วิคคหัง ๖.โพนธิ ๗. คตั ตัง ๘. ตนุ ๙. อัตตภาโว ๑๐. อปุ ธิ ๑๑. สมุสสยะ ในพระสูตรต่าง ๆ ได้กลา่ วถึงลักษณะของกายไว้ เช่น ในธรรมบท ชราวรรค ได้แสดงลกั ษณะของกาย ไว้ ๕ ประการคือ ๑) มคี วามคร่าคร่า (ปรชิ ณิ ณะ) เอกสารประกอบการสอน วิชา พุทธปรชั ญาเถรวาท เรียบเรยี ง นายเตชทตั ปักสังขาเนย์ ๖๐
๒) เป็นรงั โรค (โรคนิทธะ) ๓) มอี ันทรุดโทรม หรอื เปื่อยพังไปเป็นธรรมดา (ปภงั คุณะ) ๔) เปน็ ของเน่าเปือ่ ย (ปูต)ิ ๕) มีความแตกสลายไปในที่สุด (มรณะ) สว่ นในทฆี นขสตู ร ได้แสดงลักษณะของกาย ไว้ ๑๑ ประการคอื ๑) เป็นของไม่เที่ยง (อนิจจัง) ๒) เป็นทุกข์ (ทกุ ขะ) ๓) เปน็ รงั โรค (โรคนทิ ธะ) ๔) เป็นดงั หัวฝี (คณั โฑ) ๕) เป็นดงั ลกู ศร (สัลละ) ๖) เป็นความลาบาก (อุปัทวะ) ๗) เป็นความเจ็บไข้ (อาพาธะ) ๘) เป็นดังผู้อื่น (ประ) ๙) เป็นของทรุดโทรม (ปภังคุณะ) ๑๐) เปน็ ของวา่ งเปล่า (วติ ตะ) ๑๑) เป็นของมใิ ช่ตน (อนัตตา) ดงั น้ัน จะเห็นได้ว่า ธรรมชาติทางกายของมนษุ ยเ์ ปน็ ของไม่เที่ยง เปน็ ทุกข์-มีอนั ทรุดโทรมเป็นของเนา่ เปอื่ ย มีความคร่าครา่ และเป็นของมิใชต่ นคือไมไ่ ด้อย่ใู นอานาจของตน ๑.๒.๗ ธรรมชาติทางจิตของมนุษย์ คาว่า “จิต” มีรูปวิเคราะห์ว่า จินเตติ วชานาตีติ จิตฺต ธรรมชาติใดย่อมคิด คือย่อมรู้แจ้ง เหตุน้ัน ธรรมชาติน้ันชื่อว่า จิต” ซึ่งธรรมชาติของจิตน้ันเป็นธรรมชาติท่ีคิดหรือรู้อารมณ์ จากนัยน้ี จิตจึงแตกต่างจาก กายโดยสิ้นเชิง เพราะธรรมชาตขิ องกายนนั้ คิดและรูอ้ ารมณ์ไม่ได้ คาว่าจิตนี้ มีช่ือเรียกแทนหรือมีคาที่เป็นไวพจน์หลายคา ในอภิธานัปปทีปีกาได้แสดงคาที่เป็นไวพจน์ ของจติ ไว้ ๖ คาคอื ๑. จติ ตะ ๒. เจโต ๓. มโน ๔. วญิ ญาณ ๕. หทัย และ ๖. มานสะ ในขทุ ทกนกิ ายได้แสดงคาที่เปน็ ไวพจน์ของจิตไว้ ๑๐ คาคือ ๑. จิต ๒. มโน ๓. มานสั ๔. หทัย ๕. ปณั ฑระ ๖. มนายตนะ ๗. มนินทรยี ์ ๘. วญิ ญาณ ๙. วิญญาณขนั ธ์ และ ๑๐. มโนวิญญาณธาตุ คาทั้ง ๑๐ คาน้ี เป็นช่ือของสิ่งเดียวกันคือจิต แต่ที่เรียกเป็นช่ือต่าง ๆ แปลกกันออกไปนั้น เพราะ พิจารณาตามหนา้ ที่ทีจ่ ิตทางานต่าง ๆ กนั ไปน้ัน หรือไปตามขัน้ ตอน ในอรรถกถาอฏั ฐสาลนิ ี อธิบายไว้ดังนี้ เอกสารประกอบการสอน วิชา พุทธปรัชญาเถรวาท เรยี บเรียง นายเตชทตั ปกั สังขาเนย์ ๖๑
๑) ธรรมชาติใด ย่อมคดิ ธรรมชาตนิ นั้ ชอื่ ว่าจิต ๒) ธรรมชาตใิ ด ยอ่ มน้อมไปหาอารมณ์ ธรรมชาตนิ น้ั ชือ่ วา่ มโน ๓) ธรรมชาตขิ องจติ ท่รี วบรวมอารมณ์ไว้ในภายใน ช่อื วา่ หทัย ๔) ธรรมชาตทิ ี่มฉี ันทะคือความพอใจไว้ภายในจติ ชื่อว่า มานสั ๕) ธรรมชาตทิ ่ีมลี กั ษณะผ่องใส ชือ่ วา่ ปณั ฑระ ๖) ธรรมชาติทต่ี อ้ งเข้าไปอาศัยอายตนะเปน็ เครื่องตดิ ต่ออารมณ์ทมี่ ากระทบ ช่ือวา่ มนายตนะ ๗) ธรรมชาติทค่ี รองความเป็นใหญ่ในกจิ การทั้งปวง ชื่อวา่ มนินทรีย์ ๘) ธรรมชาติท่ีรู้แจง้ อารมณ์ ช่อื วา่ วิญญาณ ๙) ธรรมชาตทิ ีม่ ีวญิ ญาณเป็นเหตุเป็นปจั จัยประกอบ ช่อื ว่า วิญญาณขนั ธ์ ๑๐) ธรรมชาติทรี่ ับรอู้ ารมณ์ ชือ่ วา่ มโนวิญญาณธาตุ ในพระสุตตันตปิฎก ได้แสดงลักษณะของจิตว่า ด้ินรน กวัดแกว่ง รักษายาก ห้ามยาก เที่ยวไปไกล (ทูรงคฺ ม) เทยี่ วไปดวงเดยี ว (เอกจร) ไม่มีรูปร่าง (อสรีร) อาศัยอยู่ในถ้า (คูหาสย) นอกจากนั้นในพระสูตรต่างๆ แสดงลกั ษณะของจิตดว้ ยอปุ มา เพื่อแสดงว่า เป็นสิง่ ทต่ี ้องฝกึ จติ เหมือนฟูาแลบ (รู้ชดั ตามความจริง คืออริยสัจ ๔) เหมือนเพชร (คอื จิตของผู้หลดุ พน้ ดว้ ยเจโตวมิ ุติ ปญั ญาวมิ ุติ) จติ ที่ไม่ได้ฝึกเปรียบดว้ ยวานรและแผลเก่า ๑.๒.๘ กาเนดิ ชวี ิตมนุษย์ ในมหาสหี นาทสตู ร กาเนดิ ชีวิตมนุษย์ (โยนิ) มี ๔ ประเภท คอื ๑) อัณฑชะ สัตวท์ ี่เกิดในไข่ คือ ออกไข่เปน็ ฟองก่อนแล้วจึงฟักเป็นตัว เช่น นก เปด็ ไก่ เป็นต้น ๒) ชลาพุชะ สัตว์ท่ีเกดิ ในครรภห์ รือมดลูก คือคลอดออกมาเป็นตัว เชน่ มนุษย์ สุนัข ช้าง ม้า ววั ควาย เปน็ ต้น ๓) สังเสทชะ สตั ว์ท่เี กดิ ในเถา้ ไคล คือเกดิ ในท่ีชื้นแฉะและในของเน่าเป่ือย ไดแ้ ก่ ในปลาเนา่ ใน ซากศพเน่า ในขนมบดู ในนา้ ครา เช่น กิมิชาติ (หนอน) บางชนิด เช้อื โรค และสัตว์เซลลเ์ ดยี ว มี อมีบา้ พลามเี ซียม เปน็ ต้น ๔) โอปปาติกะ สตั วท์ ่เี กดิ ผดุ ข้ึน คือ เกิดผดุ ข้ึนเตม็ ตวั ในทันใด ได้แก่ เทวดา สัตว์นรก มนษุ ย์บาง จาพวกและเปรตบางจาพวก สตั วป์ ระเภทนีเ้ ห็นดว้ ยมังสะจักษุ (ตาเน้ือ) ไมไ่ ด้ แตเ่ หน็ ได้ด้วยทิพ จักษุ (ตาทพิ ย)์ เน่ืองจากผลของกรรมในอดีต สัตว์เหลา่ นจี้ ึงผดุ ขึน้ และโตเตม็ ทีท่ ันที โดยไมต่ อ้ ง อาศยั มารดาบดิ า ในทีน่ ี้ จะเสนอกาเนิดชวี ติ ประเภทที่ ๒ คอื ชลาพชุ ะ สัตว์ท่ีเกดิ ในครรภ์ คอื มดลูกเฉพาะมนษุ ยเ์ ท่า นั้นเอง ในมหาตัณหาสังขยสตู รได้แสดงเหตุปจั จยั ของการเกดิ ข้นึ ของชวี ติ มนุษย์ไว้ ๓ ประการ คือ เอกสารประกอบการสอน วิชา พทุ ธปรชั ญาเถรวาท เรยี บเรียง นายเตชทัต ปกั สังขาเนย์ ๖๒
๑) มารดาและบิดาอยูร่ ว่ มกัน (มเี พศสมั พันธ์กนั ) (มาตาปติ โร จ สนนฺ ปิ ติตา โหนตฺ ิ) ๒) มารดามีระดู (มาตา จ อตุ ุนี โหต)ิ ๓) มคี ันธพั พะมาปรากฏ (คนธฺ พฺโพ จ ปจฺจุปฏฺโต โหต)ิ ปปญั จสูทนี อรรถกถาของมัชฌิมนิกายอธิบาย ว่า “คันธัพพะ หมายถึง สตั วม์ าถือปฏิสนธิในครรภม์ ารดา สว่ นคันธพั พะตามนัยพระอภิธรรม เรียกว่า ปฏิสนธิ วิญญาณ (วิญญาณท่ที าหน้าทีใ่ หก้ าเนดิ ชวี ติ มนษุ ย์)” ในมหานิทานสตู ร พระพทุ ธเจ้าตรสั แก่พระอานนทถ์ ึงเรอ่ื งคันธัพพะหรือปฏิสนธวิ ิญญาณ เข้ามาเกิด ในครรภไ์ ด้อย่างไรไวด้ ังนี้ พระพุทธเจ้า: ดูกอ่ นอานนท์ หากวญิ ญาณจักไมห่ ย่ังลงส่คู รรภม์ ารดา นามรปู (ชวี ิตใหม่) จกั เกดิ ใน ครรภ์มารดาได้หรือ พระอานนท์ : ไม่ได้พระเจา้ ข้า พระพทุ ธเจา้ : ดูกอ่ นอานนท์ หากวิญญาณหยัง่ ลงสคู่ รรภม์ ารดาแล้ว จักเลยไปเสยี (ดบั ) นามรูป (ชวี ิตใหม)่ จักเกิดเปน็ อยา่ งน้ีได้หรอื พระอานนท์ : ไมไ่ ด้พระเจา้ ข้า พระพทุ ธเจา้ : ดูก่อนอานนท์ หากวญิ ญาณของกมุ ารหรือกุมารีผู้เตบิ โตเปน็ หนุ่มสาว จักขาดสูญ (ดับ) ไปเสยี นามรูป (ชวี ิตใหม่) จักเจรญิ เติบโตอยา่ งนหี้ รือ พระอานนท์ : ไมไ่ ด้พระเจา้ ข้า พระพุทธเจ้า : ดกู ่อนอานนท์ เพราะเหตุน้ันแล ตถาคตจึงกล่าววา่ ส่งิ ทีเ่ ปน็ เหตุ เปน็ ต้นเคา้ เป็นแดน เกดิ เป็นปจั จัยแห่งนามรูป (ชวี ติ ใหม่) กค็ ือ วิญญาณ พระพทุ ธศาสนาระบุว่า เหตุปัจจยั ของกาเนดิ ชีวิตมนษุ ยม์ ี ๓ ประการ คือ ๑) มารดาบดิ าอยรู่ ว่ มกนั ๒) มารดามีระดู ๓) มคี ันธัพพะมาปรากฏในสภาพเป็นวญิ ญาณ ส่วนชีววิทยาระบุเน้นว่า จุดเร่ิมต้นของชีวิตมนุษย์คือ มารดาบิดามีเพศสัมพันธ์ต่อกันแล้ว สเปอร์ม (Sperm) ของบิดาไปผสมกับไข่ (ovum) ของมารดา โดยมิได้กล่าวถึงการมีคันธัพพะมาปรากฏในสภาพเป็น วญิ ญาณแต่อย่างใด ในอนิ ทกสูตรได้กล่าวถงึ การวิวัฒนาการของมนษุ ย์ในครรภ์มารดาไวว้ ่า หลังจากปฏิสนธิแล้ว มนุษย์ได้ มีการเจริญเตบิ โตโดยลาดบั จนกระท่งั เปน็ รปู รา่ งชัดเจน ไว้ดงั นี้ เอกสารประกอบการสอน วชิ า พทุ ธปรัชญาเถรวาท เรียบเรยี ง นายเตชทัต ปักสงั ขาเนย์ ๖๓
รูปน้ีเป็นกลละก่อน จากกลละเป็นอัพพุทะ จากอัพพุทะเกิดเป็นเปสิ จากเปสิเป็นฆนะ จากฆนะเกิด เป็น ๕ ปุม (ปญฺจสาขา) ต่อจากนั้น มีผมขนและเล็บ (เป็นต้น)เกิดขึ้น มารดาของสัตว์ในครรภ์บริโภคข้าวน้า โภชนาหารอยา่ งใด สตั ว์ผอู้ ยใู่ นครรภม์ ารดา ก็เล้ยี งอัตภาพอยดู่ ้วยอาหารอยา่ งนน้ั ในครรภน์ ้ัน สารัตถปกาสินี อรรถกถาของสงั ยตุ ตนกิ าย แสดงไวว้ า่ ในลาดบั ทั้ง ๕ น้ี แตล่ ะลาดบั จะพัฒนาอยู่ ๗ วัน ดงั นี้ ๑) กลละ เปน็ นา้ ใส มสี ีคล้ายเนยใสขนาดเทา่ หยาดน้ามันงาที่ติดอย่ปู ลายเสน้ ดา้ ยทท่ี าจากเสน้ ขนสตั ว์ ๓ เส้น กลละน้ีพัฒนาตวั เองอยู่ ๗ วนั ในวนั ท่ี ๘ ก็จะกลายเป็นอัพพทุ ะ ๒) อัพพุทะ เป็นน้าข่นุ ข้น มสี ีเหมือนนา้ ลา้ งเนื้อ อัพพุทะนี้พัฒนาอยู่ ๗ วนั ในวันที่ ๘ กจ็ ะ กลายเป็นเปสิ ๓) เปสิ เปน็ ชน้ิ เน้อื ท่เี หลว ๆ มีสแี ดงคล้ายก้อนดีบุกเหลว เปสนิ ้ีจะพฒั นาอยู่ ๗ วนั ในวันท่ี ๘ กจ็ ะ กลายเป็นฆนะ ๔) ฆนะ เปน็ ก้อนเนื้อ ขนาดเทา่ ไข่ไก่ ฆนะนจ้ี ะพฒั นาอยู่ ๗ วัน ในวนั ท่ี ๘ กจ็ ะกลายเปน็ ปญั จสาขา ๕) ปญั จสาขา เป็นปมุ (อวยั วะ) ๕ ปุม คือ มอื ๒ ขา้ ง เท้า ๒ ขา้ ง และศีรษะ ๑ ต่อจากน้ัน ทารกจะพฒั นาจนถงึ สปั ดาห์ท่ี ๔๒ รวมเวลาทีท่ ารกพฒั นาการมาตามลาดับข้ันตา่ ง ๆ อยู่ ในครรภม์ ารดานบั ได้ ๔๒ สัปดาห์ ถ้าคดิ เปน็ เดือนกไ็ ด้ ๙ เดือนกับ ๒๔ วัน ถ้าคดิ เปน็ วันก็เป็น ๒๙๔ วัน หลงั จากนน้ั ทารกจึงคลอดจากครรภม์ ารดา เพื่อให้ชดั เจนยงิ่ ข้ึน จึงนาการเปรียบเทยี บพัฒนาการของทารกในครรภม์ ารดาทง้ั จากพระ พทุ ธศาสนาและวทิ ยาศาสตร์มาเสนอไว้ ดงั น้ี เอกสารประกอบการสอน วิชา พุทธปรัชญาเถรวาท เรียบเรียง นายเตชทัต ปกั สงั ขาเนย์ ๖๔
ตารางที่ ๑ แสดงการเปรยี บเทยี บพัฒนาการของทารกในครรภม์ ารดาทงั้ จากพระพุทธศาสนาและ วิทยาศาสตร์ สัปดาห์ พระพุทธศาสนา วทิ ยาศาสตร์ ๑ กลละ (น้าใส) ไข่ผสมเช้อื (Zygote) ๒ อัพพทุ ะ (น้าขุ่นขน้ ไขผ่ สมเชอ้ื (Zygote) ๓ เปสิ (ชน้ิ เนื้อ) ตัวอ่อน (Embryo) เริม่ มที างเดนิ หาร หัวใจ ตุ่ม แขน ตุม่ ขา ๔ ฆนะ (ก้อนเนื้อ) ตัวออ่ น (Embryo) เริ่มมีตุ่มตา หู จมูก แก้ม เร่ิมเป็นเค้า ๕ ปัญจสาขา(ปมุ ๕ ปุม) ตัวอ่อน (Embryo) มีศีรษะรา่ งกาย มือ ๒ ข้างเริ่มมนี ้วิ มือให้ เหน็ เป็นเคา้ ๖ จักขทุ สกะ (เค้าโครงตา) ตวั ออ่ น (Embryo) นิ้วมอื กาลงั วิวัฒนาการ ๗ โสตทกะ ตวั ออ่ น (Embryo) ชว่ งที่จะเป็นแขนสนั้ มาก ๘ ฆานทสกะ ทารก (Feturs) ศรี ษะใหญก่ ว่าตวั สมองเร่ิมเจริญ ๙ ชิวหาทสกะ ทารก (Feturs) อวยั วะเริม่ ววิ ฒั นาการ ๑๐-๔๕ มอี วัยวะอ่ืนๆ เกิด อาทผิ ม ขนฯ มทื ารก (Feturs) อวัยวะตา่ งๆ เกดิ ขึ้นตามลาดบั หัวใจมี รูปรา่ งสมบูรณ์ วิทยาศาสตร์กาหนดเพียง ๔๐ สปั ดาห์ แตท่ างพระพุทธศาสนาอธิบายไว้รวม ๆ กัน คือในช่วงเวลา สัปดาหท์ ่ี ๑๐-๔๒ วิสุทธิมรรคไดแ้ บง่ ช่วงของการเจริญวัยของมนุษย์หลังจากคลอดจากครรภ์มารดาออกเป็นช่วงใหญ่ ๆ ๓ วัย โดยถือเอาอยู่ได้ ๑๐๐ ปีเป็นเกณฑ์ วัยแรกและวัยชราแบ่งเป็นวัยละ ๓๓ ปี ส่วนวัยกลางคนแบ่งเป็น ๓๔ ปี ดังนี้ ๑) ปฐมวยั คือ วยั แรก ต้ังแต่ ๑-๓๓ ปี ๒) มัชฌมิ วยั คือ วยั กลางคน ต้งั แต่ ๓๔-๖๗ ปี ๓) ปจั ฉิมวัย คอื วยั ชรา อนั เป็นวัยสดุ ทา้ ย ตั้งแต่ ๖๘-๑๐๐ ปี การแบ่งชีวิตออกเป็น ๓ วัยน้ันก็เพื่อที่จะได้เห็นว่า ชีวิตในช่วง ๑๐๐ ปีน้ัน เป็นช่วงที่สั้น ๆ ไม่พึง ประมาท ในพระสูตรมีกล่าวถึงโดยท่ัวไปว่า เมื่อบุคคลได้ประมาทมัวเมาอยู่ด้วยการเล่นหรือสนุกสนานใน ปฐมวยั ก็ควรท่ีจะตั้งตนเป็นคนไม่ประมาทในมัชฌิมวัย หรือเมื่อประมาทมัวเมาด้วยการที่ต้องยุ่งอยู่ด้วยธุรกิจ เอกสารประกอบการสอน วิชา พทุ ธปรัชญาเถรวาท เรยี บเรยี ง นายเตชทตั ปกั สังขาเนย์ ๖๕
การงานในมัชฌิมวัย ก็ควรต้ังตนเป็นคนไม่ประมาทในปัจฉิมวัย เมื่อถึงปัจฉิมวัยแล้ว บุคคลไม่ควรถึงความ ประมาทโดยแท้ทีเดยี ว เพราะเปน็ วัยสุดทา้ ยของชวี ิตกอ่ นจะถงึ ความตาย อน่ึง มีข้อที่น่าสังเกตว่า คาว่า “เจริญวัย” ถ้าจะพิจารณาความหมายที่แท้จริงของพระ พุทธศาสนาแล้วจะมีความหมายแตกต่างกับที่เข้าใจกันอยู่ท่ัว ๆ ไป คือ โดยทั่วไปแล้ว เข้าใจกันว่า คาว่า “เจริญวัย” หรือ “วัยเจริญ” นั้น เป็นวัยแห่งการเจริญเติบโต วัยแห่งหนุ่มสาวหรือวัยแห่งความมั่นคง ตาม หลักชีววิทยาถือว่า ระหว่างอายุ ๑ ปี ถึง ๒๕ ปี เป็นวัยท่ีกาลังเจริญเติบโตทางร่างกายอย่างเต็มที่ หลังจาก อายุ ๒๕ ปี เปน็ ต้นไป การเจริญทางร่างกายจะค่อย ๆ หยุดลงไปตามลาดับ แต่คาว่า เจริญวัยหรือวัยเจริญใน ความหมายท่ีแท้จริงของพระพุทธศาสนาก็คือการดาเนินไปในทางเส่ือมหรือการพัฒนาไปสู่ความเสื่อมส้ิน เพราะคาวา่ “วยั ” แปลว่า ความเสือ่ ม ไมไ่ ด้หมายถงึ ความเจริญเตบิ โตแตอ่ ย่างใดเลย ชีวติ มนุษย์ในวัยเด็กหรือวยั หนุ่มสาวไมม่ ีความชราปรากฏ แต่พระพุทธศาสนาถือว่า ความแก่ชรามีอยู่ แมใ้ นวยั เดก็ หรือหนุ่มสาว เพยี งแต่ว่าความแกช่ ราในวยั ดังกล่าวไม่ปรากฏให้เห็นอย่างชัดเจนเหมือนในวัยชรา นน่ั กค็ อื ความแก่ชราในวัยเดก็ หรือวยั หนุ่มสาวถกู เรยี กวา่ ความชราทถี่ กู ปกปิด (ปฏจิ ฉฺ นฺนชรา) วิสุทธมิ รรคยังแบง่ ยอ่ ยอยา่ งพิสดารออกไปอีก ๑๐ ช่วง ๆ ละ ๑๐ ปี ดงั นี้ ๑) มนั ททสกะ (หมวด ๑๐ ปี แหง่ เด็กออ่ น จาก ๑-๑๐ ป)ี เป็นช่วงวยั ทเี่ ป็นเดก็ อ่อน ๒) ขิฑฑาทสกะ (หมวด ๑๐ ปี แห่งการเลน่ จาก ๑๑-๒๐ ปี) เป็นช่วงวยั แหง่ การเลน่ ยินดีพอใจใน การเลน่ ๓) วัณณทสกะ (หมวด ๑๐ ปี แห่งผิวพรรณ จาก ๒๑-๓๐ ปี) เป็นช่วงวัยแห่งผิวพรรณคือผิวพรรณ งามถงึ ความเจริญไพบลู ย์เตม็ ท่ี ๔) พลทสกะ (หมวด ๑๐ ปี แห่งพละกาลัง จาก ๓๑-๔๐ ปี) เป็นช่วงวัยแห่งกาลัง คือ กาลังและ เรี่ยวแรงถงึ ความเต็มเปย่ี ม ๕) ปัญญาทสกะ (หมวด ๑๐ ปี แห่งปัญญา จาก ๔๑-๕๐ ปี) เป็นช่วงวัยแห่งปัญญา คือ ปัญญาถึง ความมั่นคงเต็มที่ ๖) หานิทสกะ (หมวด ๑๐ ปี แห่งความเส่ือม จาก ๕๑-๖๐ ปี) เป็นช่วงวัยแห่งความเสื่อมคือ ความ ยินดีในการเลน่ ผิวพรรณ กาลงั และปัญญาเสื่อมถอยไป ๗) ปัพภารทสกะ (หมวด ๑๐ ปี แหง่ ความเง้อื มไปข้างหน้า จาก ๖๑-๗๐ ปี) เปน็ ช่วงวัยที่ร่างกายค้อม ไปขา้ งหนา้ ๘) วังกทสกะ (หมวด ๑๐ ปี แห่งความหง่อม จาก ๗๑-๘๐ ปี) เป็นช่วงวัยท่ีร่างกายค้อมลงดุจความ คอ่ มของงอนรถ (ยอ่ มจะคดโคง้ ดุจหางไถ) เอกสารประกอบการสอน วิชา พุทธปรัชญาเถรวาท เรียบเรียง นายเตชทตั ปกั สงั ขาเนย์ ๖๖
๙) โมมูหทสกะ (หมวด ๑๐ ปี แหง่ ความหลงลืม จาก ๘๑-๙๐ ป)ี เป็นช่วงวัยแห่งความหลงลืม ๑๐) สยนทสกะ (หมวด ๑๐ ปี แหง่ การนอน จาก ๙๑-๑๐๐ ปี) เป็นชว่ งวยั ทมี่ ากด้วยการนอน เดินไป ไหนมาไหนมากไม่ได้ นอกจากนน้ั วิสทุ ธิมรรคยังแบง่ ย่อยความเปน็ ไปของมนุษย์ลงเปน็ ๒๐ ชว่ ง ๆ ละ ๕ ปี แลว้ แบ่งยอ่ ย ลงเปน็ หน่วยเลก็ ลงตามลาดับ คอื เป็นปี เปน็ ฤดู เป็นเดือน เปน็ กง่ึ เดือน เปน็ วัน เปน็ ครง่ึ วนั เปน็ ยาม และเปน็ กริ ิยาการ ๑.๒.๙ ฐานะของมนุษยใ์ นเอกภพ ามทรรศนะของพระพุทธศาสนา มนุษย์คือสัตว์หรือส่ิงมีชีวิตจาพวกหน่ึงท่ีอาศัยอยู่ในเอกภพอันกว้าง ใหญ่ พระพุทธศาสนายังถือว่า โลกมนุษย์เป็นจุดศูนย์กลางหรือเป็นชุมทางระหว่างโลกทั้งปวง ชีวิตในโลก มนุษย์นี้ เป็นชีวิตท่ีมีท้ังความสุขและความทุกข์ปะปนคลุกเคล้ากันไป ส่วนชีวิตในโลกอ่ืนนั้น ถ้าเป็นโลก ระดับสูงก็จะมแี ต่ความสุขและความดีเท่าน้ัน แตถ่ ้าเปน็ โลกระดบั ต่า ก็จะมแี ตค่ วามทกุ ข์และความช่วั เทา่ น้ัน พระพทุ ธศาสนาแสดงวา่ มนษุ ยเ์ ป็นสงิ่ ท่ีมคี า่ ยงิ่ เพราะมนุษย์เป็นส่ิงที่มีศักยภาพในตัว อันเป็นส่ิงที่ทา ให้มนษุ ยส์ ามารถบรรลุถึงความรู้สูงสุด หรือจุดสุดยอดทางศีลธรรมท่ีทาให้เขากลายเป็นผู้ท่ีควรแก่เรียกว่า “ผู้ ครองโลก” ได้ ส่วนสัตว์อ่ืน ๆ ท่ีมีสภาพต่ากว่ามนุษย์ไม่มีความสามารถดังกล่าวน้ี เพราะสัตว์เหล่าน้ันดาเนิน ชีวิตไปตามอานาจของสัญชาตญาณและความต้องการตามธรรมชาติ เพื่อความอยู่รอดของชีวิตเท่าน้ัน ส่วน สัตว์ที่มีสภาพสูงกว่ามนุษย์ก็ไม่อาจกระทาได้อย่างมนุษย์ เพราะสัตว์เหล่านั้นมัวสนุกสนานเพลิดเพลินอยู่กับ ความสุข จนไม่มีเวลาท่ีจะทาใจให้สงบได้ ข้อนี้คือเหตุผลที่ว่าทาไมการเกิดเป็นมนุษย์ จึงเป็นส่ิงท่ีมีค่ายิ่ง ใน ระหว่างการทอ่ งเทย่ี วไปในสังสารวัฏน้ัน พระพุทธศาสนาถือว่า เราแต่ละคนได้เคยเป็นสัตว์มาแล้วเป็นจานวน ร้อย ๆ ชาติ นับได้ว่า ยากยิ่งนักท่ีจะได้เกิดมาเป็นมนุษย์ ในขุททกนิกาย ธรรมบทกล่าวว่า การเกิดเป็นมนุษย์ ไดโ้ ดยยาก (กจิ โฺ ฉ มนสุ ฺสปฏิลาโภ) หน้าที่ของมนุษย์ก็คือการใช้ชีวิตอันประเสริฐที่ตนได้มาน้ันให้เป็นประโยชน์ ให้มากที่สุด มนุษย์มีความสามารถที่จะรู้ความจริงอันลึกซึ้งท่ีสุดเกี่ยวกับจักรวาลได้ด้วยตนเอง และมนุษย์ผู้ที่ สามารถทาให้ความสามารถดังกล่าวน้ีเป็นจริงข้ึนมานั่นเอง ที่เราเรียกว่าพุทธะซึ่งพระพุทธศาสนาถือว่าเป็นผู้ ประเสริฐท่ีสุดทั้งในหมู่เทวดาและมนุษย์ท้ังหลาย พระพุทธเจ้า เม่ือมีผู้ทูลถามว่า พระองค์เป็นมนุษย์หรือ เทวดา ก็ทรงตอบว่า พระองค์มิใช่ทั้งเทวดาและมนุษย์แต่ทรงเป็นพุทธะ ความสมบูรณ์ด้วยปัญญาคุณธรรม และจิตใจท่ีบุคคลได้บรรลุถึงแล้วน้ัน เป็นสิ่งประเสริฐสุดเสียจนกระท่ังว่า ทาให้บุคคลผู้บรรลุถึงแล้วนั้น แตกต่างไปจากบุคคลสามัญธรรมดาท่ัวไป ทานองเดียวกันกับที่คนธรรมดาสามัญแตกต่างจากสัตว์เดรัจฉาน นัน่ เอง แต่บุคคลที่ได้บรรลุถึงความประเสริฐสุดดังกล่าวน้ี ก็ไม่ใช่จะเป็นมนุษย์พิเศษอัศจรรย์มาจากไหน หรือ วา่ เปน็ ผู้ทีพ่ ระเจา้ โปรดปรานแตอ่ ยา่ งใดเลย เขากเ็ ปน็ มนุษย์ธรรมดาท่ีบรรลถุ งึ ส่งิ ดังกล่าวได้ด้วยความพยายาม ของตนเอง โดยอาศัยการปลกู ฝังปัญญาและคุณธรรมใหแ้ กจ่ ิตใจ ซึง่ จะต้องใช้เวลานานหลายชาติทีเดียว เอกสารประกอบการสอน วิชา พุทธปรชั ญาเถรวาท เรยี บเรยี ง นายเตชทัต ปกั สังขาเนย์ ๖๗
๑.๒.๑๐ เอกภาพของมนุษย์ทางชีววิทยา พระพทุ ธศาสนาเนน้ ถงึ คณุ ค่าและศักด์ศิ รีของความเป็นมนุษย์ ก็เพราะว่ามนุษย์นี้เป็นผู้ที่มีโอกาสที่จะ พัฒนาศักยภาพของตนเอง พระพุทธศาสนายังย้าถึงเอกภาพหรือความเป็นหนึ่งเดียวกันของมนุษย์ พร้อมทั้ง ชใ้ี ห้เหน็ ว่ามนุษยส์ ัตวแ์ ละพืชนั้นแตกตา่ งกนั ตรงไหนด้วย ในทางชีววิทยา มนุษย์ไม่เหมือนกับสัตว์และพืช ซึ่งมีหลายชนิดต่าง ๆ กันอย่างเห็นได้ชัด แต่มนุษย์มี เพยี งชนดิ เดยี ว (one species) นอกจากนี้ทรรศนะดังกล่าวนี้ยังเป็นการลบล้างความคิดพื้นฐานของทฤษฎีถือ ชาตพิ นั ธ์ (racist doctrine) ซึ่งเป็นทฤษฎีท่ีพยายามแบง่ มนษุ ยอ์ อกเป็นกลุ่ม ๆ โดยอ้างว่า เป็นการแบ่งมนุษย์ ตามคณุ ลักษณะเฉพาะตัวทถ่ี กู กาหนดมาโดยชาติกาเนิดของตนเองด้วย ในสมัยพุทธกาล พราหมณ์ถือว่า พวก ตนเลศิ กว่าใคร ๆ โดยอ้างทฤษฎวี รรณะ (caste theory) มาแล้วเช่นกัน พระพทุ ธเจ้า ทรงช้ีให้เห็นว่า เป็นการ กลา่ วอา้ งท่ไี มถ่ ูกตอ้ ง วาเสฏฐสูตรแห่งมัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ เสนอไว้ดังน้ี วาเสฏฐะ เราจาแนกชาติแห่งสัตว์ ทั้งหลายใหฟ้ งั ติณชาตแิ ละรุกขชาตแิ มม้ ันจะแสดงตวั เองไมไ่ ด้ว่าเป็นชาติอะไร แต่เคร่ืองหมายของชาติของมัน ก็มมี าแต่กาเนดิ (ลิงคฺ ชาติมย เตส) เพราะมันมชี าติ (หรือพนั ธ์ุ) คนละอยา่ งกัน ต๊ักแตน ผเี ส้ือ มดดา มดแดง เครื่องหมายของชาติก็มีมาแต่กาเนิด เพราะมันมีชาติ (พันธุ์)คนละอย่าง กัน สตั ว์ ๔ เทา้ ทง้ั เล็กทัง้ ใหญ.่ ..สัตวไ์ ปด้วยทอ้ ง.. สัตว์ไปด้วยอก... สัตวม์ หี ลงั ยาว...ปลา.. นก...เครอื่ งหมายของ ชาติก็มมี าแตก่ าเนิด เพราะมันมีชาติคนละอยา่ งกัน ในสตั วน์ ้นั มีมากมายหลายชาติ (พันธ์)ุ แต่ในมนษุ ย์หาเปน็ เช่นนั้นไม่ กลา่ วคือ มนษุ ย์มิไดม้ ีชาติ (พันธุ์) ตามชนิดของผม ศีรษะ หู นัยนต์ า ใบหน้า จมกู รมิ ฝปี าก คิ้ว คอ บ่า ท้อง หลัง ตะโพก อก ท่ีแคบ อวัยวะเพศ มอื เทา้ นิว้ เล็บ แข้ง ขา วรรณะ (สีผวิ ) เสียง มนุษย์ไม่มีหลายชาติ (พันธ์ุ) เหมือนกับสัตว์เหล่าอ่ืน ในมนุษย์ไม่ มสี ิง่ ทีเ่ ป็นลักษณะเฉพาะ (ลิงค์) เหมือนอย่างท่ีมีในสัตว์อื่น แต่ในมนษุ ย์ เราเรียกกันตามช่ือ (โวหาร) คนใดทานาเลี้ยงชีพก็เรียกว่ากสิกร คนใดเลี้ยงชีพด้วยศิลปะ ก็เรยี กวา่ ศิลปิน คนใดทาการค้าก็เรียกว่าพ่อค้า คนใดทางานรับใช้คนอื่นก็เรียกว่าคนรับใช้ คนใดเลี้ยงชีพด้วย ของที่เขาไมใ่ ห้ (ลกั เขา) กเ็ รยี กว่าโจร คนใดอาศัยศัสตราวุธเล้ียงชีพก็เรียกว่าทหาร คนใดเลี้ยงชีพด้วยการเป็น ปุโรหิตก็เรียกว่าเจ้าหน้าที่การบูชา คนใดปกครองบ้านเมืองก็เรียกว่าราชา เราไม่เรียกผู้ท่ีเกิดในกาเนิดใด ๆ หรือเกดิ จากมารดาใด ๆ วา่ พราหมณ์ ผู้ท่ีไม่มกี ิเลส ไม่มีความยดึ ม่ันเท่านน้ั ท่เี ราเรียกว่าพราหมณ์ ช่ือและโคตร ทีเ่ รียกกันนัน้ กเ็ ป็นแต่เพยี งโลกโวหารท่ีเกิดขึ้นตามช่ือท่ีกาหนดกันขึ้นในกาลน้ัน ๆ เท่าน้ัน คนมิได้ช่ัว มิได้เป็น เอกสารประกอบการสอน วชิ า พุทธปรัชญาเถรวาท เรียบเรยี ง นายเตชทตั ปกั สังขาเนย์ ๖๘
พราหมณ์ เพราะชาตกิ าเนิด แตเ่ ปน็ คนชว่ั เป็นพราหมณ์ เพราะกรรม โลกเปน็ ไปตามกรรม หมู่สัตว์เป็นไปตาม กรรม สตั วท์ ง้ั หลายเก่ียวข้องอยกู่ บั กรรม พระสูตรนี้ช้ีให้เห็นว่า ในระหว่างมนุษย์ด้วยกันนั้น ไม่มีความแตกต่างกันในเร่ืองชาติตระกูล (genus and species) เหมอื นกบั หญา้ ตน้ ไม้ หนอน หนู ปลา เนื้อ นก เป็นต้น ชาล์มเมอรส์ (Chalmers) กล่าวไว้ว่า “ในเรอื่ งนี้ พระพุทธเจ้าทรงมีทรรศนะสอดคล้องกับชีววิทยาปัจจุบัน ท่ีทรงสรุปไว้ว่า มนุษย์น้ันเรียกได้ตระกูล เดียวและชนิดเดียวคือมนุษย์ (human being) ซึ่งกล่าวได้ว่าเป็นข้อสรุปท่ีสาคัญมากทีเดียว เพราะแสดงให้ เหน็ ความผิดแผกกันในเร่ืองสขี องผิวกาย มิไดท้ าใหพ้ ระองค์ทรงเขา้ ใจผดิ วา่ มนุษย์น้นั แตกตา่ งกนั พระพทุ ธเจา้ ยังทรงแสดงให้เห็นอีกว่า การแบ่งแยกกันระหว่างมนุษย์น้ันมิใช่เกิดจากองค์ประกอบขั้น พ้ืนฐานทางชีววิทยา แต่เป็นการแบ่งแยกกันตามสมมติหรือสมัญญา เพ่ือเป็นเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ของ อาชีพการงานที่แตกต่างกันเท่านั้น การที่มนุษย์มีสีผิว (วรรณะ) รูปทรงของจมูก (นาสะ) ชนิดของเส้นผม (เก สะ) รูปทรงของศรี ษะ (สสี ะ) เป็นตน้ แตกต่างกันนั้น จะเอามาเปน็ ประมาณในการจัดแบ่งประเภทหรือชนิดอัน แท้จริงของมนุษย์ไม่ได้ นักวิทยาศาสตร์ก็ได้กล่าวว่า ความคิดเรื่องชาติพันธ์ (race) น้ัน นักมานุษยวิทยามี ความเหน็ เปน็ เอกฉนั ทว์ า่ เปน็ เพียงเครื่องหมาย เพอื่ สะดวกในการจดั กลุม่ เทา่ น้นั ๑.๓ บทสรุปสาระสาคญั ประจาบทที่ ๓ ดังนั้น พระพุทธศาสนามีทรรศนะท่ีสอดคล้องกับชีววิทยาสมัยใหม่ ซึ่งทาลายทฤษฎีชาติพันธ์ุและ เสนอความคิดท่ีว่า มนุษย์มีหน่วยเดียวหรือชนิดเดียวเท่าน้ัน ทั้งนี้ก็เพื่อให้เกิดความรู้สึกว่า ทุกคนมีความเป็น มนษุ ย์เหมือนกนั หรือเทา่ เทยี มกัน มนุษย์ในโลกนี้สามารถปรับเปล่ียนตนเองเป็นอะไรก็ได้กล่าวคือ เป็นเทวดาโดยการปฏิบัติหลักเทว- ธรรมคือ หิริและโอตตัปปะ เป็นพระพรหมโดยการปฏิบัติพรหมวิหาร ๔ ได้แก่ เมตตา กรุณา มุทิตา และ อุเบกขา เป็นมนุษย์ท่ีพึงปรารถนาโดยการปฏิบัติมนุษยธรรมคือเบญจศีล เป็นเปรตต่อเมื่อมีความโลภจัด ไม่ ร้จู ักอม่ิ ด้วยวัตถุส่ิงของทแ่ี สวงหา เปน็ สัตวด์ ริ จั ฉานตอ่ เมือ่ ไร้คุณธรรม ประพฤติเย่ียงสตั วด์ ิรัจฉาน เป็นสัตว์นรก ตอ่ เม่ือประพฤติช่ัว ต้องโทษได้รบั ความทุกขท์ รมาน หาความสุขไมไ่ ด้ จึงกล่าวได้ว่า มนุษย์สามารถเพ่ิมค่าตนเองและลดค่าตนเอง โดยมีเง่ือนไขอยู่ที่การประพฤติปฏิบัติ ธรรมหรอื ไมไ่ ดป้ ระพฤตปิ ฏบิ ัติธรรม ๑.๔ คาถามทบทวนประจาบทที่ ๓ ๑. มนษุ ย์ในทางวทิ ยาศาสตร์ เรยี กว่าอย่างไร จงอธิบาย เอกสารประกอบการสอน วิชา พุทธปรชั ญาเถรวาท เรียบเรยี ง นายเตชทตั ปักสังขาเนย์ ๖๙
๒. “สปชี ีส์” มคี วามหมายวา่ อย่างไร จงอธบิ าย ๓. มนษุ ย์ในโลกนีม้ ีก่ีเผา่ พันธ์ุ แล้วเผา่ พนั ธใุ์ นเอเชยี จดั อยู่ในสายพันธใ์ุ ด จงอธบิ าย ๔. ในคมั ภรี ์อภิทานวรรณา “ มนุษย”์ มีความหมายอยา่ งไร จงอธบิ าย ๕. จงให้ความหมายของคาว่า “ มนุสสา , มานุสา, มัจจะ, มานวะหรือมาณวะ มนุชะ และ นระ มี ความหมายแตกตา่ งหรือเหมอื นกนั อย่างไร จงอธบิ าย ๖. ในคมั ภรี ์ธาตปุ ปทปี กิ า ให้ความหมายของมนษุ ยต์ ามธาตุ เปน็ ๓ นยั มอี ะไรบ้าง จงอธบิ าย ๗. ลกั ษณะมนุษย์ ๕ จาพวก มีลักษณะอย่างไร จงอธบิ าย ๘. ทรรศนะตามแนวพทุ ธอภปิ รัชญากลา่ วถงึ มนุษยต์ ามแนว ลทั ธิสสารนยิ ม (Materalism) ว่าอยา่ งไร ๙. ธรรมชาตพิ ิเศษของมนุษย์ในทางพระพุทธศาสนากลา่ วเอาไว้ว่าอย่างไร จงอธบิ าย ๑๐. องค์ประกอบของมนุษย์ ในทางพระพุทธศาสนา มลี ักษณะอยา่ งไร จงอธิบาย ๑๑. มนุษยใ์ นทวปี ทั้ง ๔ ในทางพระพทุ ธศาสนา กลา่ วเอาไว้ มีลักษณะอย่างไร จงอธิบาย ๑.๕ เอกสารอ้างอิงประจาบทที่ ๓ พระสตุ ตันตปิฎก ฉบับมหามกุฎราชวิทยาลัย ที.ม. ๑๐ ,ที.ปา. ๑๑, ม.มู. ๑๒, ม.ม. ๑๓, ม.อุ. ๑๔, ส.ส. ๑๕, ส.น.ิ ๑๖, ส.ข. ๑๗, ส.สฬา. ๑๘, ขุ.ธ. ๒๕, ขุ.ม. ๒๙, อภิ.สงฺ.อ. ๒, ม.มู.อ. ๒, วิสุทธมิ รรค เล่มท่ี : วสิ ทุ ฺธ.ิ ๒, วิสุทฺธ.ิ ๓, วภิ าวนิ .ี ๑, วภิ าวนิ ี. ๒ พระมหาสมปอง มุทิโต, คัมภีร์อภิธานวรรณนา, (กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์ธรรมสภา, ๒๕๔๒), หนา้ ๓๐๑. เรอื่ งเดยี วกนั , หนา้ ๓๐๑-๓๐๓. หลวงเทพดรุณานุศษิ ฏ์ (ทวี ธรมธชั ), ธาตปุ ปฺ ทีปิกา, พมิ พค์ ร้ังที่ ๗, (กรงุ เทพมหานคร : มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๐), หนา้ ๒๘๓. พระเมธธี รรมาภรณ์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต), พทุ ธศาสนากบั ปรชั ญา, (กรงุ เทพมหานคร : บริษัท อมรินทร์ พร้ินต้ิง กรฟุ๊ จากดั , ๒๕๓๓), หนา้ ๑๐๒. ต.นาคประทปี , อภิธานปทีปกี าและอภิธานปทีปกี าสจู ิ, (กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พม์ หามกุฏราชวิทยาลยั , ๒๕๓๕), หน้า ๒๔. เอกสารอ่ืนๆ บทบรรยาย เรื่อง พระพุทธศาสนากับมนุษย์ รองศาสตราจารย์ ดร.มานพ นักการเรียน ๒๐ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ เอกสารประกอบการสอน วชิ า พทุ ธปรชั ญาเถรวาท เรียบเรยี ง นายเตชทัต ปักสังขาเนย์ ๗๐
แบบทดสอบบทที่ ๓ จานวน ๒๐ ข้อ เอกสารประกอบการสอน วิชา พุทธปรชั ญาเถรวาท เรยี บเรียง นายเตชทัต ปักสังขาเนย์ ๗๑
๑. ความหมายของคาวา่ มนุษย์ มีความหมายว่าอยา่ งไร ก. ผทู้ ี่มีจิตใจสูง ข. บุคคลท่ีมีความรู้สูง ค. ผู้ทผี่ า่ นการอบรมจติ ใจเป็นอยา่ งดี ง. บุคคลทมี่ ีการพฒั นาจนมจี ิตใจทสี่ งู ๒. ลกั ษณะมนุษยใ์ นทางพระพทุ ธศาสนากล่าวเอาไว้ก่ีลักษณะ ก. ๓ ลกั ษณะ ข. ๔ ลักษณะ ค. ๕ ลักษณะ ง. ๖ ลกั ษณะ ๓. มนษุ ย์สายพนั ธใุ์ ดจัดไดว้ ่าเป็นมนุษยป์ ระเสรฐิ สดุ ก. นิรยมานสุ โส ข. ติรจั ฉามานสุ โส ค. มานสุ สมานุสโส ง. มานุสสเทโว ๔. สายพันธข์ุ องมนษุ ย์ในเอเชีย ได้แกส่ ายพนั ธ์ใุ ด ก. นิกรอย ข. มองโกลอย ค. คอเกซอย ง.โคมนั ยอง ๕. การเปน็ บุคคลทเ่ี กิดมาพร้อมทุกอย่างทั้ง รูปสมบตั ิ ทรัพย์สมบัติ จดั ได้ว่าเปน็ บุคคลประเภทใด ก. มีบุญทเ่ี คยทามาแต่ก่อน ข. มคี วามสามารถในการทางาน ค. มีความการสั่งสมบารมมี ามาก ง. มีความสามารถเปลยี่ นแปลงทกุ ส่ิงทุกอย่างได้ ๖. มนุษย์สืบเชอ้ื สายมาจาก ใครต่อไปนี้ ก. เทพเจ้า ข. จีนัส ค. วนิ สั ง. โคมนั ยอง ๗. ทฤษฎอี ภปิ รัชญาท่ีว่า”ดว้ ยความจรงิ ” คือ ลัทธใิ ด ก. Materialism ข. Idealism ค. Dualism ง. Realism จากข้อ ๙-๑๑ ใช้คาตอบจากขอ้ ๘ ๘. ทฤษฎีทว่ี า่ ด้วย “มนษุ ยค์ ือสสารหรือวตั ถุ จดั อยู่ในลทั ธิใด ก. ลัทธิวัตถนุ ิยมหรอื ลทั ธิสสารนยิ ม ข. ลทั ธจิ ิตนิยม ค. ลทั ธิทวนิ ยิ ม ง. ลัทธิสัจนิยม ๙. ทฤษฎที ่ีวา่ ด้วย “ความจริงแท้มีอยอู่ ยา่ งเดยี ว” จดั อยู่ในลัทธใิ ด ๑๐. ทฤษฎที ่ีวา่ ดว้ ย “ความจริงมใิ ช่มอี ยู่อยา่ งเดียว” จดั อยู่ในลทั ธใิ ด เอกสารประกอบการสอน วิชา พทุ ธปรชั ญาเถรวาท เรียบเรยี ง นายเตชทัต ปกั สงั ขาเนย์ ๗๒
๑๑. ทฤษฎีทีว่ ่าดว้ ย “ความมีอยูอ่ ย่างเป็นอิสระของโลกภายนอก” ซ่ึงขัดแย้งกับนามนยิ ม จัดอยู่ในลทั ธใิ ด ๑๒. ธรรมชาติของมนุษยใ์ นทางพระพุทธศาสนากลา่ วว่าอย่างไร ก. มนษุ ย์ตอ้ งทาดี ข. มนษุ ย์สามารถฝึกฝนพัฒนาได้ ค. มนุษยม์ ีความเป็นเสรี ง. มนุษย์มจี ิตวญิ ญาณสู้ ๑๓. ทรรศนะองคป์ ระกอบของมนษุ ย์ในทางพระพทุ ธศาสนา คือ ก. ธาตทุ งั้ ๔ ข. เบญจขนั ธ์ ค. นามรูป ง. ทุกข้อทกี่ ล่าวมาถูก ๑๔. ธรรมชาตใิ ดย่อมคิด ธรรมชาตนิ น้ั ช่อื วา่ ..... ก. มโน ข. จติ ค. มนัส ง. หทยั ๑๕ ธรรมชาติใด ของจิตที่รวมไวภ้ ายใน ธรรมชาตินั้นช่อื วา่ .....(ใช้คาตอบจากขอ้ ๑๔) จากขอ้ ๑๗- ๑๙ ใชค้ าตอบจากขอ้ ๑๖ ๑๖. กาเนิดใดท่เี กิดขน้ึ มีองค์ประกอบดว้ ยสงิ่ หอ่ หุ้มท่ีมลี ักษณะแขง็ ก. อณั ฑชะ ข. ชลาพชุ ะ ค. สังเสทชะ ง. โอปปาติกะ ๑๗. กาเนดิ ทีม่ ีเกดิ จากสงิ่ ปฏิกลู น่ารังเกลยี ดไดแ้ ก่กาเนดิ ใด ๑๘. กาเนิดของสตั ว์ทมี่ ีความคดิ มวี วิ ัฒนาการสร้างสรรค์อารยธรรมได้ ชือ่ ว่าเกิดในกาเนิดใด ๑๙. กาเนิดท่ีอาศยั บญุ กรรมของตนเองทั่งดีและชัว่ ช่อื เกดิ ในกาเนดิ ใด ๒๐. เอกภาพขอมนษุ ย์ทางชวี วทิ ยาพระพทุ ธศาสนาเน้นในเร่อื งใด ก. คณุ คา่ และศักดิศรีของมนุษย์ ข. การทาความดี ค. การเข้าถึงความหลดุ พน้ ง. การปฏบิ ัติตามอัตภาพของตน เอกสารประกอบการสอน วชิ า พุทธปรัชญาเถรวาท เรียบเรยี ง นายเตชทตั ปักสงั ขาเนย์ ๗๓
แผนบรหิ ารการสอนประจาบทที่ ๔ ๑. หัวข้อประจาบทที่ ๔ ปฏิจจสมุปบาท ๑.๑ ความนา ๑.๒ ความหมายของปฏิจจสมุปบาท ๑.๒.๑ ความหมายของคาวา่ ปฏจิ จสมุปบาท ๑.๒.๒ ปฏิจจสมุปบาทคอื อะไร ๑.๒.๓ การจดั กล่มุ ปฏิจจสมปุ บาท ๑.๒.๔ ปฏจิ จสมปุ บาทในฐานะมัชเฌนธรรมเทศนา ๑.๒.๕ ปฏจิ จสมุปบาทในฐานะปจั จยาการทางสงั คม ๑.๒.๖ หลกั การหรอื คาสอนแห่งพระพุทธศาสนา ๑.๓ สรปุ สาระสาคญั ประจาบทที่ ๔ ๑.๔ คาถามทบทวนประจาบทท่ี ๔ ๑.๕ เอกสารอา้ งองิ ประจาบทท่ี ๔ ๑.๖ แบบทดสอบทา้ ยบทที่ ๔ ๒. วตั ถุประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม เม่ือศึกษาบทที่ ๔ จบแลว้ นกั ศึกษาสามารถ ๒.๑ อธบิ ายความหมายของของปฏิจจสมุปบาทกระบวนการสบื ตอ่ เน่อื งกนั และเปรียบเทยี บหลกั การ แห่งปฏิจจสมุปบาทอันเปน็ หลักธรรมข้ันสูง ตามกระบวนของอริยสัจได้ ๒.๒ สามารถวิเคราะห์กระบวนการทางานของปฏิจจสมุปบาท ที่มีกระบวนการสืบต่อเน่ืองกัน และ เปรียบเทยี บหลักการแห่งปฏจิ จสมปุ บาทอันเป็นหลกั ธรรมข้ันสูง ตามกระบวนของอรยิ สจั ๒.๓ สามารถนาเอาหลักการท่ีเก่ียวกับกระบวนการทางานของปฏิจจสมุปบาท ท่ีมีกระบวนการสืบ ต่อเนือ่ งกัน และเปรียบเทยี บหลักการแหง่ ปฏิจจสมุปบาทอันเป็นหลักธรรมขั้นสูง ตามกระบวนของอริยสัจ ไป ปรับใช้ตามหลกั การทางวชิ าการไดอ้ ยา่ งเหมาะสม เอกสารประกอบการสอน วิชา พุทธปรชั ญาเถรวาท เรยี บเรยี ง นายเตชทัต ปกั สังขาเนย์ ๗๔
๓. วธิ กี ารสอน และกจิ กรรม ๓.๑. นักศกึ ษา ต้งั ประเดน็ ปัญหา สอบถาม เรอ่ื งกระบวนการทางานของปฏิจจสมุปบาท ท่ีมีประบวน การสืบต่อเน่ืองกัน และเปรียบเทียบหลักการแห่งปฏิจจสมุปบาทอันเป็นหลักธรรมขั้นสูง ตามกระบวนของ อริยสัจ โดยตัง้ คาถามใหน้ กั ศกึ ษาแสดงความคิดเหน็ ตามความต้องการของตนเอง แล้วสรุปโดยภาพรวม พร้อม ทงั้ ตง้ั ปัญหาใหน้ ักศึกษาไปคน้ ควา้ เพม่ิ เติม ๓.๒. ให้นักศึกษาทาใบงาน ในคาถามท้ายบทที่กาหนดให้ หรือ ผู้สอนคิดข้ึนมานอกเหนือจากที่มีใน เอกสาร ๓.๓. นาใบงานมาตรวจแล้วสรุปความคิดเห็นท่ีนักศึกษาแสดงความคิดเห็นเพื่อเพ่ิมเติมความเข้าใจ และนาประเดน็ สาคัญมาหาข้อสรปุ ท่ีถูกตอ้ งตามหลักวิชาการ ๔. ส่ือการสอน ๔.๑. เอกสารประกอบการสอนวชิ าพทุ ธปรชั ญาเถรวาท และอน่ื ๆ ที่เกีย่ วข้อง ๔.๒. ใบงาน ๔.๓. คอมพวิ เตอรโ์ ปรแกรม Microsoft Power Point ๕. การวัดผลและประเมนิ ผลการเรียน ๕.๑. สงั เกตจากการมีสว่ นร่วมในการทากิจกรรม ๕.๒. สังเกตจากความสนใจฟังและซักถาม ๕.๓. จากการตรวจใบงานทใ่ี หท้ าในชน้ั เรียน ๖. แนะนาเนอื้ หาสาระประจาบทท่ที รงคณุ ค่าควรศึกษา ดงั น้ี ๖.๑ ความหมายของปฏิจจสมุปบาท หน้าท่ี ๗๖ ๖.๒ ปฏิจจสมุปบาทในฐานะมัชเฌนธรรมเทศนา หน้าที่ ๘๐ ๖.๓ ปฏิจจสมปุ บาทในฐานะปัจจยาการทางสังคม หน้าที่ ๘๑ ๖.๔ หลกั การหรือคาสอนแห่งพระพทุ ธศาสนา หน้าท่ี ๘๑ เอกสารประกอบการสอน วชิ า พุทธปรัชญาเถรวาท เรียบเรียง นายเตชทัต ปกั สังขาเนย์ ๗๕
บทท่ี ๔ ปฏิจจสมุปบาท (The dependent origination) ความนา \"ในครั้งตรัสรู้ใหม่ๆ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้ามีพระทัยที่จะอยากไม่ประกาศเผยแผ่ธรรมท่ีได้ ตรัสรู้แล้ว เพราะทรงท้อพระทัยในการแสดงธรรมว่า หมู่สัตว์ทั้งหลายคงยากที่จะเข้าใจในความลึกซ้ึงของ ปฏจิ จสมปุ บาทและนิพพาน\" ตลอดจนการพบพระพทุ ธพจน์ ทตี่ รัสไว้ว่า ผู้ใดเห็นปฏิจจสมุปบาท ผู้นั้นช่ือว่าเห็นธรรมและเมื่อศึกษาพิจารณาก็พบว่า เป็นธรรมอันลึกซึ้งที่ พระพุทธองค์ทรงพิจารณาอันเป็นเหตุปัจจัยให้ตรัสรู้ อริยสัจ๔ เพราะความจริงแล้ว อริยสัจ และ ปฏิจสมุป บาท กล็ ้วนเปน็ ธรรมเดยี วกนั น่ันเอง และภายหลงั ตรสั รูพ้ ระองคย์ ังทรงพิจารณาโดย อนุโลม และ ปฏิโลม อีก ตลอด ๗ วันแรกของการเสวยวมิ ุตติสขุ จากการหลุดพ้น จนบงั เกิดพทุ ธปีติเปล่งพุทธอุทาน อันบังเกิดเป็นพุทธ อุทานในพระศาสนาขึ้นถึง ๓ ครั้ง ๓ ครา อันล้วนเกิดจากความปีติพระทัยในความลึกซ้ึงของ \"ปฏิจจสมุป บาท\" จงึ ได้ปฏบิ ัติโดยการโยนโิ สมนสิการในปฏจิ จสมุปบาทโดยละเอียดและแยบคาย จงึ พอได้เห็นธรรมความลึกซงึ้ ของ ปฏิจจสมุปบาท คือ เห็นถึงกระบวนการหรือกระบวนธรรมของจิตใน การเกดิ ขนึ้ แห่งทุกข์และการดับไปแห่งทุกข์โดยละเอียดจนจบครบวงจรอย่างสมบูรณ์ จึงบันทึกไว้ในแนวทาง แบบจาแนกแตกธรรมให้เห็นท้ังเหตุและผลโดยละเอียด อันเกิดข้ึนจากการ โยนิโสมนสิการ คือการพิจารณา โดยละเอียดและแยบคาย ตามความเป็นจริงของธรรม(ธรรมชาติ)น้ันๆ, จนพอเข้าใจกระบวนธรรมของจิตใน การเกิดข้ึนและดับไปแห่งทุกข์อย่างละเอียดโดยใช้ความรู้ความเข้าใจใน ปฏิจจสมุปบาท และ ขันธ์๕ มา ประยุกต์อธิบายในธรรมของพระพุทธองค์โดยพิสดารและถูกต้องตามพระพุทธประสงค์ อันยังให้สามารถ เข้าใจในสภาวธรรมหรือธรรมต่างๆได้ดีข้ึน ท้ังในแนวการพิจารณาแบบพุทธศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์ก็ตามที ซงึ่ ควบคู่กันไปอย่างสอดคล้องถกู ต้องตามความเปน็ จรงิ อนั ยงั ผลให้การปฏบิ ัติตามปัญญาญาณที่เกิดขึ้นเป็นไป อยา่ งราบรื่นและก้าวหน้า โดยการโยนิโสมนสกิ ารดว้ ยความเพยี ร และอาศัยการศึกษาค้นคว้าประกอบกัน เช่น จากหนังสืออันทรงคุณค่าเกี่ยวกับปฏิจจสมุปบาทของท่านพุทธทาส ผู้จุดประกายธรรมอันลึกซึ้งนี้ให้ปรากฏ แก่ชาวโลกใหม้ าสนใจธรรมอนั ลกึ ซ้ึงนอี้ กี คร้ังหน่งึ ด้วยความเข้าใจที่ถูกต้องตามพุทธประสงค์ว่า ไม่ใช่เป็นเรื่อง ข้ามภพข้ามชาติแตเ่ พียงอย่างเดยี ว ดงั ทย่ี ึดถือและถ่ายทอดกันตอ่ ๆ มาเปน็ ระยะเวลาอันยาวนานนับเป็นพันปี แต่เป็นเร่ืองของการปฏิบัติ เพ่ือการส้ินภพ สิ้นชาติ เสียตั้งแต่ในปัจจุบันชาติน้ี หรือในปัจจุบันจิตน้ีที่มีการเกิดดับๆ อยู่ตลอดเวลาเป็น เอกสารประกอบการสอน วิชา พุทธปรชั ญาเถรวาท เรยี บเรียง นายเตชทตั ปกั สงั ขาเนย์ ๗๖
สาคัญและโดยเฉพาะอย่างยิ่งจากหนังสือของท่านพระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต) ผู้ได้เสริมสร้างความเข้าใจใน ธรรมให้ก่อกาเนิดเป็นรูปร่าง จากหนังสือ \"พุทธธรรม\" อันทรงคุณค่ายิ่ง, และข้อธรรม ข้อคิดของหลวงปู่ดูลย์ อตุโล จากหนงั สอื \"อตโุ ล ไม่มใี ดเทียม\", หลวงปูเ่ ทสก์ เทสรังสี ฯลฯ. ดังน้ัน การศึกษาในเร่ืองของปฏิจจสมุปบาทนั้นเป็นเร่ืองละเอียดอ่อนมาก จึงควรทาความเข้าใจให้ แจ่มแจง้ และวเิ คราะห์ ตีความเพื่อการศกึ ษาด้านวิชาการตอ่ ไป ๑.๑ ความหมายของปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท เป็นหลักธรรมคาสอนท่ีสาคัญที่สุดของพุทธศาสนา เป็นหลักคาสอนท่ีแสดงถึงความ ลาเลิศทางปัญญาคุณของพระพุทธเจ้า และเป็นหลักคาสอนท่ีแสดงให้เห็นว่า พุทธศาสนาเป็นศาสนาประเภท อเทวนิยมอย่างชัดเจน เพราะแสดงให้เก็ดถึงหลักกาเนิดและการดาเนินไปของสิ่งทั้งปวงปฏิจจสมุปบาท ว่า ด้วยกฎธรรมชาติของชีวติ หากพิจารณาตามกฎนี้โดยมีลักษณะเป็นสัจ ธรรมแล้ว ทุกชวี ิตจะเกดิ ขน้ึ ดารงอยู่ ยอ่ มเปน็ เหตปุ จั จัยของกันและกัน อิงอาศัยกันเกิดขึ้น ดารงอยู่และเปล่ียนแปลงไปโดยอิสระไม่ต้องอาศัย ส่วนอื่น การดาเนินของชีวิต ย่อมเกี่ยวเนื่องกันเป็นลูกโซ่ท้ังระบบ เหมือนเคร่ืองยนต์ ปฏิจจสมุปบาท ซ่ึงหมายถึง ภาวะที่อาศัยกัน เกดิ ขึน้ ดงั พุทธพจน์ทีต่ รสั ว่า อิมสั สะมิง สติ อิทัง โหติ เมื่อสงิ่ น้มี ี สิ่งนีจ้ งึ มี อมิ ัสสปุ ปาทา อทิ ัง อุปปัชชติ เพราะสิง่ นเี้ กิดขนึ้ สง่ิ นี้ก็มี ไมไ่ ด้ อมิ สั สะมิง อสติ อทิ งั น โหติ เม่ือสิง่ นี้ไมม่ ี ส่งิ น้ีไม่มี อิมสั สะ นิโรธา อิทัง นิรชุ ฌะติ เพราะสงิ่ นี้ดับไป ส่ิงนีจ้ งึ ดับ จากพทุ ธพจน์นีจ้ ะเหน็ ว่า องค์ประกอบของชวี ิตทกุ สว่ นย่อมอาศัยกัน มีความเกย่ี วเน่อื งสัมพนั ธ์กนั ทั้ง ในการเกิด ต้ังอยู่ และสลายไป ๑.๑.๑ ความหมายของคาว่า ปฏจิ จสมปุ บาท คาวา่ ปฏจิ จสมุปบาท มาจากศพั ท์วา่ ปฏจิ จ ส และ อุปปาท ปฏิจจ หมายถึง เก่ียวเน่ืองกัน สมั พนั ธก์ นั เอกสารประกอบการสอน วชิ า พทุ ธปรัชญาเถรวาท เรียบเรียง นายเตชทัต ปักสังขาเนย์ ๗๗
ส หมายถึง พร้อมกนั หรือดว้ ยกัน อปุ ปาท หมายถึง การเกดิ ขึ้น ปฏิจจสมุปบาท จึงหมายถึง ส่ิงที่อิงอาศัยกันเกิดขึ้น ได้แก่ ภาวะของส่ิงท่ีไม่เป็นอิสระของตนต้อง อาศัยกันและกนั จึงเกดิ ขึน้ ได้คาท่ีมคี วามหมายเช่นเดียวกนั นี้ มอี กี ๒ คาคือ ปจั จยาการ และอทิ ปจั จยตาปัจจ ยาการ หมายถึงอาการท่ีส่ิงท้ังหลาย เป็นปัจจัยแก่กันและกัน ซ่ึงหมายถึงส่ิงท้ังปวงในโลกน้ี จะเกิดขึ้นเป็นอยู่ ด้วยตนเองโดยปราศจากเหตุปจั จยั ไม่ได้ ต้องอิงอาศัยกัน อิทัปปัจจยตา พระพุทธเจ้าตรัสไว้ในธรรมนิยามสูตร วา่ ภกิ ษทุ ัง้ หลาย ตถตา อวตถตา อนญั ญถตา นค่ี อื หลักของอิทัปปัจจยตา หรือ ปฏจิ จสมปุ บาท องคป์ ระกอบของปฏจิ จสมุปบาท องคป์ ระกอบของชีวิต ซ่ึงมีความสัมพนั ธก์ ันตามหลักของปฏิจจสมปุ บาทน้ี ท่านเรียกวา่ องคป์ ระกอบ ของปฏจิ จสมุปบาท ซงึ่ มี อวชิ ชา สงั ขาร วญิ ญาณ ฯลฯ แต่ละองคม์ ีความสัมพนั ธ์กนั เหมือนลูกโซ่ ชีวติ ของ สัตว์กย็ ่อมหมุนเวียนอยู่ในวฏั จักร มคี วามเกย่ี วเน่ืองกนั เหมือนลกู โซ่ ดงั น้ี อวชิ ชา เป็นปัจจยั ให้มี สงั ขาร สงั ขาร เปน็ ปจั จัยให้มี วิญญาณ นามรูป เปน็ ปัจจัยให้มี สฬายตนะ สฬายตนะ เป็นปจั จัยใหม้ ี ผสั สะ ผสั สะ เป็นปัจจัยใหม้ ี เวทนา เวทนา เปน็ ปจั จยั ใหม้ ี ตณั หา ตณั หา เป็นปจั จยั ให้มี อปุ าทาน อุปาทาน เปน็ ปจั จยั ใหม้ ี ภพ ภพ เปน็ ปจั จยั ใหม้ ี ชาติ ชาติ เปน็ ปัจจยั ให้มี ชรามรณะ ชรามรณะ เปน็ ปจั จัยให้มี โสกะ , ปริเทวะ องค์ประกอบของปฏิจจสมุปบาท ๑๒ องค์น้ี เป็นส่วนประกอบของชีวิต ผู้ท่ียังตัดอวิชชาไม่ได้แม้ตาย ไปแล้วอวิชชาก็เป็นปัจจัยให้มีสังขาร สังขารก็เป็นปัจจัยให้มีวิญญาณ ฯลฯ ต่อไปอีกไม่รู้จักจบสิ้นการเรียนรู้ เร่ืองปฏิจจสมุปบาทนี้จึงเป็นการเรียนรู้กฎธรรมชาติของชีวิต จะได้ไม่ต้องหลงใหลในเหตุปัจจัยภายนอก เอกสารประกอบการสอน วิชา พุทธปรัชญาเถรวาท เรยี บเรียง นายเตชทตั ปกั สังขาเนย์ ๗๘
เพราะชีวิตน้ันหมุนเวียนไปตามวัฏฏะ คือ กิเลส กรรม วิบาก ซึ่งเป็นเหตุปัจจัยต่อเน่ืองกันอยู่ตลอดเวลา เม่ือ เราได้รับผลอย่างไรของชีวิต เช่น มีสุข ทุกข์ ดี ช่ัว อย่างไรก็ต้องเข้าใจให้ถูกต้องว่าเป็นเพราะเหตุคือ กรรม ที่ ต้องทากรรม กเ็ พราะกิเลสเป็นเหตุใหท้ า ตราบใดท่ียังตัดกิเลสไม่ได้ชีวิตก็ต้องเป็นอยู่อย่างนี้ หมุนอยู่อย่างน้ีร่า ไป เม่ือเข้าใจถูกต้องอย่างน้ี ความเช่ือที่ประกอบด้วยปัญญาก็จะเกิดขึ้น จะเกิดความเช่ืออย่างมีเหตุผล เช่น เช่ือว่าชีวิตทุกชีวิตย่อมเป็นไปตามกรรม และกรรมนั่นเอง เป็นผู้ลิขิตชีวิตให้เป็นไปต่าง ๆ กัน ดีบ้าง เลวบ้าง เพราะชีวิตกรรมลิขิต ๑.๑.๒ ปฏจิ จสมปุ บาทคืออะไร ปฏิจจสมปุ บาท แปลว่า ภาวะทีอ่ าศัยกันเกิดข้ึนซ่ึงเป็นระบบการกาเนิดของชีวิตอันเป็นกฎเกณฑ์แห่ง ชีวิตศาสนาสอนว่าชีวิตทุกชีวิตมีส่วนเป็นเหตุเป็นผลอาศึกกันเกิดขึ้นเนื่องกันไม่ขาดสายเม่ือส่ิงหนึ่งเกิดข้ึน ก็ เป็นเหตุให้อีก ส่ิงหน่ึงเกิดข้ึนสืบต่อกันเป็นลูกโซ่ ไม่รู้จักจบสิ้น องค์ประกอบของชีวิตตามหลักของปฏิจจสมุป บาท ซ่งึ เรยี กวา่ องค์แห่งภวจักร หรือองค์แห่งปฏจิ จสมุปบาท ท่านแบ่งไว้ ๑๒ องค์ คือ ๑. อวิชชา ความไม่รู้ความจริง ๒. สังขาร การปรุงแต่ง ๓. วิญญาณ การรบั รอู้ ารมณ์ต่าง ๆ ๔. นามรปู นามขันธ์ ๕ รปู ขันธ์ ๒ ๕. สฬายตนะ อายาตนะภายใน อายตนะภายนอก ๖. ผัสสะ การถูกตอ้ ง ๗. เวทนา การเสวยอารมณ์ ๘. ตณั หา ความอยาก ๙. อุปาทาน ความยดึ มัน่ ๑๐.ภพ ความมี ความเป็น ๑๑.ชาติ ความเกดิ ๑๒.ชรามรณะ ความแก่และความตาย ท้งั ๑๒ องคน์ ี้ เปน็ สว่ นประกอบของชวี ิต ทกุ ๆ องค์อาศัยกันเกิดมีความสมั พันธ์กนั เชน่ เอกสารประกอบการสอน วิชา พุทธปรชั ญาเถรวาท เรยี บเรียง นายเตชทตั ปักสงั ขาเนย์ ๗๙
อวชิ ชา เปน็ ปจั จัยใหเ้ กดิ สังขาร สังขาร เป็นปัจจัยใหเ้ กิด วญิ ญาณ ฯลฯ ชาติ เปน็ ปจั จยั ให้เกิด ชรามรณะ นเ่ี ป็นปฏจิ จสมปุ บาท ๑ วง หรือชวี ติ หมุนไป ๑ รอบวงจรแหง่ ปฏิจจสมุปบาท นยิ มเรยี กว่า ภวจกั ร ซึ่งแปลว่า วงลอ้ แหง่ ภพ หรือ สังสารจกั ร ซ่งึ แปลวา่ วงล้อแห่งสังสารวัฏ ๑.๑.๓ การจดั กลุม่ ปฏิจจสมุปบาท ตามหลกั ของปฏิจจสมุปบาท การปฏิสนธติ อ่ เนื่องกนั ระหว่าง อดีต กับ ปัจจบุ นั ปจั จบุ นั กับ อนาคต ชีวติ ปจั จุบัน เกิดจากเหตใุ นอดตี กล่าวคือ อดตี เหตุ = อวิชชา สังขาร ปจั จบุ นั ผล = วิญญาณ นามรปู สฬายตนะ ผสั สะ เวทนา ปจั จุบนั เหตุ = ตัณหา อปุ าทาน ภพ อนาคต = ชาติ ชรา มรณะ นั่นหมายถึงอวิชชา สังขาร เป็นเหตุในอดีต ก่อให้เกิดผลในปัจจุบัน วิญญาณ นามรูป สฬายตนะ ผัสสะเวทนา ปัจจุบันเหตุก็ทาให้เกิดผลในอนาคต ชาติ ชรามรณะเหตุในอดีตที่ทาให้เกิดผลในปัจจุบัน คือทา ให้ชีวิตเกิดใหม่น้ัน ได้แก่ อวิชชา สังขาร วิญญาณ ตัณหาอุปาทาน ภพ เมื่อตัดเหตุ ๕ อย่างน้ีไม่ขาด ชีวิตจึง ต้องเกดิ ใหม่ เพราะอวิชชาเปน็ ปัจจยั ใหเ้ กดิ สังขารสังขารเป็นปจั จัยให้เกดิ วิญญาณ ฯลฯ ชีวิตทุกชีวิตย่อมหมุน อยอู่ ยา่ งนับภพนบั ชาติไมถ่ ้วน จนกว่าจะถึงพระนพิ พาน ๑.๑.๔ ปฏจิ จสมปุ บาทในฐานะมชั เฌนธรรมเทศนา ความเข้าใจในปฏิจจสมุปบาท เรียกว่าเป็นสัมมาทิฐิ หรือเห็นถูกต้อง และความเห็นที่ถูกต้องนี้เป็น ความเห็นชนิดทเ่ี รยี กวา่ เปน็ กลางไมเ่ อียงสุดไปทางใดทางหนงึ่ ปฏิจจสมุปบาทจึงเป็นหลักหรือกฏท่ีแสดงความ จริงเป็นกลาง ๆไม่เอียงสุด อย่างท่ีเรียกว่า \"มัชเฌนธรรมเทศนา\" ความเป็นกลางของหลักความจริงน้ี มีโดย การเทียบกับลัทธิหรือทฤษฎีเอียงสุดต่าง ๆ และความเข้าใจปฏิจจสมุปบาทโดยถูกต้องจะต้องแยกออกจาก ทฤษฎเี อยี งสุดเหล่านดี้ ้วย ดังน้นั ในท่ีนี้ เอกสารประกอบการสอน วิชา พุทธปรัชญาเถรวาท เรยี บเรยี ง นายเตชทัต ปกั สังขาเนย์ ๘๐
๑.๑.๕ ปฏิจจสมุปบาทในฐานะปัจจยาการทางสังคม ในมหานิทานสูตร ซ่ึงเป็นพระสูตรที่สาคัญมากสูตรหนึ่งและ เป็นสูตรใหญ่ท่ีสุดที่แสดงปฏิจจสมุปบาท พระพุทธเจ้าทรงแสดง หลักปัจจยาการทั้งที่เป็นไปภายในจิตใจของบุคคลและท่ีเป็นไปใน ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ หรือในทางสังคมปฏิจจสมุปบาทแห่ง ทุกข์หรือความช่ัวร้ายทางสังคมก็ดาเนินตามวิถีเดียวกับปฏิจจสมุป บาทแห่งทุกข์ของชีวิตนั่นเอง แต่เริ่มแยกออกแสดงอาการท่ีเป็นไป ภายนอกตอ่ แต่ตัณหาเปน็ ต้นไป ๑.๑.๖ หลักการหรอื คาสอนแห่งพระพุทธศาสนา ธรรมะคาสง่ั สอนของพระพทุ ธเจ้ามีมากมายท่ีได้ทรงตรัสรูไ้ ว้ ถา้ นับเปน็ ธรรมขันธ์ (หวั ข้อ)แล้วมีจานวน ถึง ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ ทั้งน้ีเพื่อให้เหมาะสมแก่อุปนิสัยใจคอ จริต ฐานะ หรือ ระดับสติปัญญาของผู้ฟัง ของผู้ประพฤตใิ นรายละเอียดอาจมีต่างๆกันไป แต่ในหลักการใหญ่หัวข้อธรรมเหล่าน้ันท้ังหมดแม้จะมีมากมาย เทา่ ไหรก่ พ็ อรวมลงไดใ้ นหลกั ท่ัวๆไป ๓ ประการ คือ ๑. ละเว้นความชัว่ อะไรก็ตามท่ที าไปทางกาย พูดทางวาจา หรือคดิ ทางใจแลว้ จะยงั ผลช่ัว (๑) ทาใหต้ นเองเดือดร้อน (๒) ทาให้คนอนื่ เดือดร้อน (๓) ทาใหท้ ั้งตนเองและผู้อ่ืนเดือดรอ้ น (๔) ไมเ่ ปน็ ประโยชน์แก่ตนเองและคนอื่น สิ่งเหลา่ น้นั จดั ว่าเปน็ ความชัว่ จะต้องงด ลด ละ สละ เว้น หลกี เลี่ยง ห่างไกลให้ได้ ๒. หลักประพฤติความดี อะไรก็ตามที่ทาไปทางกาย พดู ทางวาจา หรือคิดทางใจแล้วจะยัง ผลดี (๑) ไม่ทาให้ตนเองเดือดร้อน (๒) ไม่ทาให้ผู้อ่นื เดือดร้อน (๓) ไม่ทาให้ตนเองและทงั้ ผู้อ่ืนเดือดร้อน (๔) เปน็ ประโยชนแ์ กต่ นเองและผู้อนื่ ส่ิงเหล่าน้ันจัดว่า เป็นความดี ใครประพฤติปฏิบัติเข้าก็เรียกว่า ประพฤติดี ทุกคนควร ประพฤติแตค่ วามดี ๓. หลกั ชาระใจใหส้ ะอาด อะไรกต็ ามทีท่ าให้สง่ิ ท่ที า คาทพ่ี ูด อารมณท์ ีค่ ิด แลว้ ทาให้จิตใจ เอกสารประกอบการสอน วชิ า พทุ ธปรัชญาเถรวาท เรยี บเรยี ง นายเตชทัต ปกั สังขาเนย์ ๘๑
สะอาด ประณตี สูงสง่ ดว้ ยคุณธรรม มโนธรรม เช่น ทาน สันโดษ เมตตากรุณา ปัญญา ซ่ึงเป็นเคร่ืองขจัดความ โลภ ความโกรธ และความหลง อันเป็นเครื่องเศร้าหมองใจให้บรรเทาเบาบาง จางหาย สูญสิ้นไปจากจิตใจ วธิ กี ารมหี ลายวิธี เช่น ด้วยการรักษาศีล เจริญเมตตาภาวนา ฝึกสมาธิ และวิปัสสนาภาวนา เป็นต้น อย่าลืมว่า จิตใจเป็นใหญ่เป็นสาคัญกว่าส่ิงอ่ืนใดท้ังส้ิน หลักการชาระจิตใจให้สะอาดประณีตจึงเป็นหลักการท่ีสาคัญที่สุด เจา้ ชายสิทธตั ถะไดต้ รัสร้เู ป็นพระพุทธเจ้า กเ็ พราะสามารถชาระจิตใจให้สะอาดประณตี ถึงข้ันสูงสุด คือ หมดจด จากกเิ ลสเครื่องเศร้าหมองท้ังมวล เป็นผู้มีภาวะจิตบริสุทธ์ิโดยแท้ เรียกว่า พระวิสุทธิคุณ แม้คนธรรมดาสามัญ จะได้นามว่าเป็นพระอรยิ ะสงฆ์ จบกจิ พระศาสนาก็เพราะเข้าถงึ หลักทั่วไปท่ี ๓ คือ สามารถทาตนให้บรรลุภาวะ จิตบริสุทธิ์นเี้ อง หลักท่ัวไปทง้ั ๓ ดังกลา่ ว เป็นหลกั คาสอนของพระพุทธเจา้ ท้ังหลาย ดังพระบาลที วี่ า่ บาลี: สพฺพปาปสสฺ อกรณ กสุ ลสสฺ ปู สมฺปทา สจติ ฺตปริโยทปน เอต พทุ ฺธาน ศาสนฯ คาแปล: การไม่ทาความช่ัวทั้งปวง การบาเพ็ญความดีให้เกิดขึ้น การชาระจิตใจของตนให้ผ่องใสน้ี เปน็ หลกั คาสอนของพระพทุ ธเจา้ ทง้ั หลาย english: Never do any evil. Always do good. Purify your minds. These are the Buddhas’s instructions. ลกั ษณะธรรมในพระพุทธศาสนา พระพทุ ธองค์ไดท้ รงแสดงลักษณะธรรมไว้ ๘ อย่าง ดงั น้ี คือ ๑. ธรรมนั้นตอ้ งไม่เป็นไปเพ่ือกาหนัดย้อมใจ ๒. ธรรมนัน้ ตอ้ งไม่เป็นไปเพ่ือประกอบทุกข์ ๓. ธรรมนน้ั ต้องไม่เปน็ ไปเพื่อพอกพนู กิเลส ๔. ธรรมนนั้ ต้องไม่เป็นไปเพื่อปรารถนาใหญ่ ๕. ธรรมน้ันตอ้ งไม่เป็นไปเพ่ือความไมส่ ันโดษ (คือมีแลว้ อย่างน้ี อยากได้อย่างนัน้ ) ๖. ธรรมนนั้ ต้องไม่เป็นไปเพ่ือความเกยี จคร้าน ๗. ธรรมน้ันต้องไม่เปน็ ไปเพื่อความคลกุ คลีด้วยหมู่คณะ ๘. ธรรมนั้นต้องไมเ่ ป็นไปเพื่อความเล้ยี งยาก เอกสารประกอบการสอน วิชา พุทธปรชั ญาเถรวาท เรียบเรียง นายเตชทตั ปักสังขาเนย์ ๘๒
๑.๒ บทสรปุ สาระสาคญั ประจาบทท่ี ๔ หลักของปฏิจจสมุปปบาทน้ันเป็นเน้ือท่ีเกี่ยวกับหลักการสืบเน่ือง ต่อเนื่องของกันและกันโดยความ สืบเนือ่ งนี้ จะต่อเน่ืองเป็นวฏั ฏะวน หมนุ รอบกันอยู่ ที่เรียกวา่ วัฏฏะสงสารเวียนวน ทาให้เกิด ข้ึนตั้งอยู่ ดับไป เป็นไปตามกฎของไตรลักษณ์ แต่ธรรมชาติเหล่านี้เกิดและสืบเน่ืองจากจิตเป็นต่อก่อให้เกิดข้ึน เพราะเหตุของ ความไม่รู้จึงเป็นตัวก่อให้เกิดนามรูป และสังขารการปรุงแต่ง เกิดตัณหาอุปาทานยึดติดในสังขารการปรุงแต่ง ทาให้เกิดชาติ ชรามรณะ สืบต่อกัน หากเข้าใจและตัดสภาวะของดวงจิตนั้นก็สามารถที่จะหลุดพ้นจากวัฏฏะ สงสาร อันทาให้เกิดการเวยี นว่ายตายเกดิ อกี ทีร่ ียกวา่ การเขา้ ถงึ ซ่งึ การดบั คอื นิพพาน ดงั แผนผังภาพ เอกสารประกอบการสอน วิชา พุทธปรชั ญาเถรวาท เรียบเรียง นายเตชทตั ปักสงั ขาเนย์ ๘๓
๑.๓ คาถามทบทวนประจาบทท่ี ๔ ๑. จงให้ความหมายของคาว่า “ อมิ สฺมึ สติ อทิ โหติ” ตามหลักของปฏจิ จสมปุ บาท ๒. จงอธิบายความหมายของ “ปฏจิ จสมุปบาท” ตามหลักการทางพระพุทธศาสนา ๓. องคป์ ระกอบของปฏจิ จสมุปบาท มีอะไรบ้าง จงอธิบาย ๔. จงอธิบายคาวา่ “มัชเฌนธรรมเทศนา” มีความหมายว่าอยา่ งไร ๕. หลกั การทสี่ าคัญทางพระพุทธศาสนาคืออะไร จงอธิบาย ๖. จงอธบิ ายลักษณะการต่อเน่ืองของปฏจิ จสมุปบาทเกิดจากเหตุใด และสบื เนอื่ งไปหาผลทีเ่ กดิ ขน้ึ แบบใด ๗. จงยกตัวอยา่ ง โดยอ้างเหตุการณ์ หรอื สิ่งของ โดยใช้องค์ประกอบของปฏจิ จสมุปบาทมา เปรยี บเทียบ ๘. ให้นักศกึ ษานาเสนอโครงสรา้ ง “ทางออกจากสังสารวัฏ” โดยทาลงใบกระดาษ A๔ ๙. ลกั ษณะธรรมในทางพระพุทธศาสนาทีพ่ ระพุทธเจา้ ทรงแสดงไว้ ๘ ประการมีอะไรบา้ งจงอธบิ าย ๑๐. จงอธบิ ายทัศนคตขิ องทา่ นเก่ียวกบั ปฏจิ จสมปุ บาท ตามความเขา้ ใจของทา่ น ๑.๔ เอกสารอ้างองิ ประจาบทท่ี ๔ ภาษาไทย สุวัจน์ จันทรจ์ านง ,แกน่ พทุ ธธรรม. กรงุ เทพฯ : สขุ ภาพใจ, ๒๕๔๗. แสง จนั ทร์งาม. พุทธศาสนวทิ ยา. พมิ พ์ครัง้ ท่ี ๓ .กรุงเทพฯ : สรา้ งสรรค์บุ๊กค.์ ๒๕๓๕. สุทธพิ งศ์ ตนั ตยาพิศาลสทิ ธ์ หลักพระพุทธศาสนา, กรงุ เทพฯ โรงพมิ พธ์ รรมสภา. ๒๕๔๖. สุนทร ณ รังส,ี พทุ ธปรัชญาจากพระไตรปฎิ ก, พิมพค์ รัง้ ๑, กรงุ เทพฯ โรงพมิ พจ์ ฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๔๑. เอกชัย จุละจารติ ต์, แกน่ ธรรม (อริยสจั ๔) พมิ พ์ครงั้ ๑, กรงุ เทพฯ หอรัตนัยการพิมพ์,๒๕๔๔. พระภาสกร ภรู วิ ฑฒฺ โณ (ภาวไิ ล),ปฎจิ จสมปุ บาท สาหรบั คนรนุ่ ใหม่,พิมพค์ รั้งที่ ๓,กรงุ เทพฯ สานกั พมิ พ์บา้ น หนังสือโกสนิ ทร์,๒๕๕๑. ภาษาอังกฤษ - เอกสารอื่น ๆ เอกสารประกอบการสอน วชิ า พุทธปรัชญาเถรวาท เรียบเรียง นายเตชทัต ปกั สงั ขาเนย์ ๘๔
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197