Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทางจริยธรรมสากลสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพด้านอาชีวอนามัย ฉบับปี ค.ศ. 2012

แนวทางจริยธรรมสากลสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพด้านอาชีวอนามัย ฉบับปี ค.ศ. 2012

Published by arsa.260753, 2015-11-09 02:26:07

Description: สามาถหาอ่านได้ที่ห้องสมุดค่ะ

Search

Read the Text Version

ผแนปู วระทกาองบจวร�ช�ยาธชรพี รดมา นสอากาชลีวสอำนหารมับยัInternational Code of Ethics for Occupational Health Professionals2012 Version (English-Thai Translation)ฉบบั ปี ค.ศ. 2012 (แปลอังกฤษ-ไทย)International Commission on Occupational Health (ICOH)คณะกรรมาธกิ ารอาชีวอนามัยสากลTranslated and Published into Thai by:The Association of Occupational and Environmental Diseases of Thailandแปลเปน็ ภาษาไทยและเผยแพรโ่ ดย:สมาคมโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดลอ้ มแหง่ ประเทศไทย

International Code of Ethics for Occupational Health Professionalsแนวทางจริยธรรมสากลสาํ หรับผูประกอบวชิ าชพี ดา นอาชวี อนามัย2012 Version (English-Thai Translation)ฉบบั ป ค.ศ. 2012 (แปลองั กฤษ-ไทย)Prepared by:International Commission on Occupational Health (ICOH)จดั ทําโดย:คณะกรรมาธิการอาชีวอนามัยสากลTranslated and Published into Thai by:The Association of Occupational and Environmental Diseases of Thailand (AOED)แปลเปนภาษาไทยและเผยแพรโ ดย:สมาคมโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดลอมแหง ประเทศไทยขอ มูลบรรณานกุ รมแนวทางจรยิ ธรรมสาํ หรบั ผปู ระกอบวชิ าชพี ดา นอาชวี อนามยั (ฉบบั แปลเปนภาษาไทย).คณะกรรมาธิการอาชวี อนามยั สากล: กรุงเทพฯ: สมาคมโรคจากการประกอบอาชพี และส่ิงแวดลอ มแหง ประเทศไทย, พ.ศ. 2555.ลขิ สิทธิข์ องคณะกรรมาธกิ ารอาชวี อนามยั สากลแปลเปนภาษาไทย ตามความมงุ หมายทไ่ี ดระบอุ นญุ าตไวในตน ฉบับภาษาองั กฤษอนญุ าตใหท าํ ซํ้าไดโ ดยตอ งมกี ารอางอิงแหลง ทมี่ า

Translated by: Dr. Wiwat EkburanawatProf. Dr. Surasak Buranatrevedh Dr. Adul BandhukulAssoc. Prof. Dr. Yothin Benjawung คณะผแู ปล: นพ.วิวัฒน เอกบูรณะวฒั น ศ.ดร.นพ.สุรศกั ด์ิ บรู ณตรีเวทย นพ.อดุลย บัณฑกุ ุล รศ.นพ.โยธนิ เบญจวัง

Forward คํานํา In conducting of occupational health services, ethics were the important aspectthat we should always keep in mind, especially in this growing era of occupationalhealth services in Thailand. Stressed out of ethical topic to make occupational healthprofessionals concerned was having valued. The Association of Occupational andEnvironmental Diseases of Thailand (AOED) sees this important, and then we translatethis International Code of Ethics for Occupational Health Professionals, a document byInternational Commission on Occupational Health (ICOH), into Thai language anddistribute for Thai professionals, hope as one source of ethical reference. ในการดําเนินงานดานอาชวี อนามัยนน้ั จรยิ ธรรมเปน เรื่องสําคัญที่จะขาดเสียไมได ในยุคปจจุบันที่การดําเนินงานอาชีวอนามัยมีการพัฒนาข้ึนอยางมากในประเทศไทยของเรา การเนนย้ําในเร่ืองจริยธรรมเพ่ือใหผูประกอบวิชาชีพดานอาชีวอนามัยตระหนักถึงความสําคัญของส่ิงน้ีเปนเรื่องทีม่ ีคุณคาเปน อยางยง่ิ สมาคมโรคจากการประกอบอาชีพและส่ิงแวดลอมแหงประเทศไทยเล็งเห็นถึงความสําคัญของประเด็นจริยธรรมในการประกอบวิชาชีพ จึงไดดําเนินการแปลเอกสารแนวทางจริยธรรมสําหรับผูประกอบวิชาชีพดานอาชีวอนามัย ของคณะกรรมาธิการอาชีวอนามัยสากลฉบับน้ีออกเผยแพร เพ่ือหวังจะใหผูประกอบวิชาชีพดานอาชีวอนามัยใชเปนแหลงอางอิงทางดานจรยิ ธรรมแหลงหนง่ึ ICOH has begun discussion and drafting Code of Ethics since 1987. A firstprinting was published in 1992, and twice times reprint on 1994 and 1996. After manyyears, first updating version was launch at 2002, and reprints were also made threetimes on 2006, 2009 and 2012. This document is translated into Thai by using the latest2012 reprint version. คณะกรรมาธิการอาชีวอนามัยสากล ไดเริ่มดําเนินการจัดทําเอกสารแนวทางน้ีมาตั้งแตป ค.ศ. 1987 ฉบับสมบูรณถ ูกนาํ ออกเผยแพรคร้งั แรกในป ค.ศ. 1992 จากน้ันไดทําการพิมพซํ้าอีก 2 คร้ัง ในป ค.ศ. 1994 และ 1996 ตอมาฉบับปรับปรุงเน้ือหาไดนําออกเผยแพรในป ค.ศ.2002 และพมิ พซ ํ้าอกี 3 คร้ัง ในป ค.ศ. 2006, 2009 และ 2012 เอกสารชุดนี้แปลเปนภาษาไทยโดยใชเน้อื หาจากตน ฉบับปล า สดุ คอื ฉบบั ป ค.ศ. 2012 ในการจัดทาํ

I’m sincerely thankful to all involved in prepared and published this book, all thetranslators who devoted time to reviewed and translated. I hope this Code of Ethics willgive benefit to occupational health professionals in Thailand, for help them to performtheir jobs that bring good health to all workers in Thailand. ผมขอขอบคณุ ผมู สี วนรว มในการจดั ทาํ และเผยแพรหนังสือเลมนี้ทุกทาน คณะผูแปลทุกทานที่กรุณาสละเวลาในการทบทวนและแปลหนังสือออกมาเปนภาษาไทย หวังเปนอยางยิ่งวาเอกสารแนวทางจริยธรรมชุดน้ี จะเปนประโยชนกับผูประกอบวิชาชีพดานอาชีวอนามัยในประเทศไทย เพือ่ นาํ ไปใชป ระกอบการทํางาน อนั จะกอใหเกิดผลดีตอสุขภาพของคนทํางานชาวไทยท้งั ประเทศ Assoc. Prof. Dr. Supachai Ratanamaneechat President of AOED, Thailand รศ.นพ.ศภุ ชัย รัตนมณฉี ัตร นายกสมาคมโรคจากการประกอบอาชพี และสิง่ แวดลอ มแหงประเทศไทย

Content 1 13 สารบัญ 24 26Preface 41อารัมภบท 52IntroductionบทนําBasic principlesหลกั การพนื้ ฐานDuties and obligations of occupational health professionalsหนา ทีแ่ ละภาระผกู พนั ของผูประกอบวิชาชีพดานอาชีวอนามยัConditions of execution of the functions of occupational health professionalsเง่อื นไขทต่ี อ งดาํ เนินการในฐานะผปู ระกอบวชิ าชพี ดา นอาชีวอนามยัBibliography and referencesบรรณานุกรมและเอกสารอางอิง



Prefaceอารัมภบท1. There are several reasons why an International Code of Ethics for OccupationalHealth Professionals, as distinct from codes of ethics for all medical practitioners, hasbeen adopted by the International Commission on Occupational Health (ICOH). One isthe increased recognition of the complex and sometimes competing responsibilities ofoccupational health and safety professionals towards the workers, the employers, thepublic, public health and labour authorities and other bodies such as social security andjudicial authorities. Another reason is the increasing number of occupational health andsafety professionals as resulting from the compulsory or voluntary establishment ofoccupational health services. Yet another factor is the emerging development of amultidisciplinary approach in occupational health which implies an involvement inoccupational health services of specialists who belong to various professions.1. มีเหตุผลอยูหลายประการที่ทาํ ให “แนวทางจรยิ ธรรมสากลสําหรับผูประกอบวิชาชีพดานอาชีว-อนามัย” ซ่ึงจัดทําโดย “คณะกรรมาธิการอาชีวอนามัยสากล” ฉบับนี้ ตองแตกตางจากแนวทางจริยธรรมสําหรับบุคลากรทางการแพทยโดยท่ัวไป ประการแรกคือเน่ืองจากเปนที่รับรูกันมากขึ้นวา ภาระหนาที่ของผูเช่ียวชาญทางดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยสาขาตางๆ น้ันมีความสัมพันธกันแบบสลับซับซอนและบางคร้ังอาจทับซอนกัน ในการดําเนินการตอคนทํางานนายจาง สาธารณะชน องคกรผูมีอํานาจดานสาธารณสุขและแรงงาน รวมถึงองคกรอ่ืนๆ ที่เกี่ยวของ เชน องคกรดานการประกันสังคม และศาล เหตุผลอีกประการหน่ึงคือการเพ่ิมข้ึนของจาํ นวนผเู ช่ียวชาญทางดานอาชีวอนามยั และความปลอดภัย ซึ่งเปนผลมาจากการใชบริการดานอาชีวอนามัยท้ังแบบสมัครใจและตามกฎหมายที่เพิ่มมากข้ึน นอกจากน้ียังมีปจจัยในเรื่องการพัฒนาแนวทางการดําเนินงานดานอาชีวอนามัยแบบสหสาขาวิชาชีพเขามาเกี่ยวของ ซ่ึงแนวทางนต้ี องมกี ารดาํ เนนิ งานดา นอาชวี อนามัยรว มกนั ของผูประกอบวชิ าชพี หลากหลายสาขา 1

2. The International Code of Ethics for Occupational Health Professionals is relevant tomany professional groups carrying out tasks and having responsibilities in enterprisesas well as in the private and public sectors concerning safety, hygiene, health and theenvironment in relation to work. The term occupational health professionals category isfor the purpose of this Code defined as a broadly target group whose common vocationis a professional commitment in pursuing an occupational health agenda. The scope ofthis Code covers activities of occupational health professionals both when they are actingin individual capacity and as part of organisations or undertakings providing services toclients and customers. The Code applies to occupational health professionals and occupationalhealth services regardless of whether they operate in a free market context subject tocompetition or within the framework of public sector health services.2. แนวทางจรยิ ธรรมสากลสําหรบั ผูประกอบวชิ าชีพดานอาชีวอนามัย สามารถประยุกตใชไดกับกลุมผเู ช่ยี วชาญหลายสาขา ทด่ี ําเนินงานหรือมีหนาท่ีรับผิดชอบตอสถานประกอบการตางๆ ทั้งสถานประกอบการภาครัฐและเอกชน ในดานความปลอดภัย สุขอนามัย สุขภาพ และส่ิงแวดลอม ท่ีเกี่ยวของกับการทํางาน คําวา “กลุมผูประกอบวิชาชีพดานอาชีวอนามัย” ในที่น้ีใชตามความมุงหมายของแนวทาง คือเพ่ือใหเขาไดกับกลุมเปาหมายท่ีเปนผูเชี่ยวชาญซึ่งตามปกติทํางานเกี่ยวของกับงานดา นอาชวี อนามัยใหมากกลุมที่สุด ขอบเขตของแนวทางฉบับน้ีครอบคลุมกิจกรรมท่ีผูประกอบวิชาชีพทํา ท้ังในรูปแบบงานสวนตัวและในฐานะท่ีเปนสวนหน่ึงขององคกร เม่ือดําเนินงานใหบริการกับผูวาจางหรือลูกคา และแนวทางฉบับน้ีสามารถใชไดกับผูประกอบวิชาชีพดานอาชีวอนามัยและการใหบริการดานอาชีวอนามัย ทั้งในรูปแบบตลาดเสรีหรอื แบบการจดั บรกิ ารสาธารณะกต็ าม 2

3. The 1992 International Code of Ethics laid down general principles of ethics inoccupational health. These are still valid but need to be updated and rephrased toreinforce their relevance in the changing environment where occupational health ispractised. The Code also needs to be regularly reinterpreted using terminology which iscurrently used and to engage the issues of occupational health ethics that are emergingin public and professional debates. Changes in working conditions and in social demandshould be taken into account including those brought about by political and socialdevelopments in societies; demands on utility value, continued quality improvementsand transparency; globalisation of the world economy and liberalisation of internationaltrade; technical development and introduction of information technology as an integralelement of production and services. All these aspects have repercussions on thecontext surrounding the occupational health practice and thereby influence theprofessional norms of conduct and the ethics of occupational health professionals.3. แนวทางจริยธรรมสากลสําหรับผูประกอบวิชาชีพดานอาชีวอนามัย ฉบับป ค.ศ. 1992 เปนฉบับท่ีวางหลักการพ้ืนฐานจริยธรรมดานอาชีวอนามัยเอาไว ในภาพรวมมันยังคงใชไดอยู แตตองมีการปรบั ปรงุ เนือ้ หาใหท ันสมัยและแกไขวลีบางสวน เพื่อใหตรงประเด็นกับสภาพแวดลอมในการดําเนินงานดานอาชีวอนามัยท่ีเปล่ียนแปลงไปมากข้ึน นอกจากนี้ เน้ือหาของแนวทางยังตอ งมกี ารแปลความหมายซํ้าอยูเปนระยะ พิจารณาใชคําศัพทท่ีเปนปจจุบัน และตองสอดรับกับปญหาจรยิ ธรรมดา นอาชีวอนามัยที่เกิดขึ้นใหม ซ่ึงเปนท่ีสนใจของสาธารณะและแวดวงวิชาการสภาพการทํางานอาชีวอนามัยและความตองการของสังคมที่เปล่ียนแปลงไปจะตองถูกนํามาพิจารณาดวย ซ่ึงตองรวมถึง การเปล่ียนแปลงท่ีมาจากการพัฒนาทางดานการเมืองและสังคมของหมูชน; การใหคุณคาตอส่ิงที่ใชประโยชนได; การพัฒนาอยางตอเน่ืองและความโปรงใส;ความไรพรมแดนของสังคมเศรษฐกิจโลกและความเสรีของการคาระหวางประเทศ; การพัฒนาเทคนคิ วิธีการทํางานและการเขามาของเทคโนโลยีสารสนเทศในฐานะเปนรากฐานของการผลิตและการบริการ ปจจยั ทงั้ หมดน้ีลว นสงผลกระทบตอ สภาวะแวดลอมในการดําเนินงานดานอาชีว-อนามัยได และมีอิทธพิ ลตอ บรรทัดฐานในการทาํ งานรวมถึงจริยธรรมของผูประกอบวิชาชีพดานอาชวี อนามัยดว ย 3

4. The preparation of an International Code of Ethics for Occupational Health Professionalswas discussed by the Board of the ICOH in Sydney in 1987. A draft was distributed tothe Board members in Montreal and was subject to a process of consultations at theend of 1990 and at the beginning of 1991. The 1992 Code of Ethics for OccupationalHealth Professionals was approved by the Board of the ICOH on 29 November 1991and published in English and French in 1992, reprinted in 1994 and 1996 and translatedinto eight languages.4. การเตรียมการจัดทํา “แนวทางจริยธรรมสากลสําหรับผูประกอบวิชาชีพดานอาชีวอนามัย”ถูกนํามาปรึกษาหารือโดยกรรมการบริหารของ “คณะกรรมาธิการอาชีวอนามัยสากล” ที่เมืองซิดนียในป ค.ศ. 1987 จากน้ันฉบับรางไดถูกเสนอใหกรรมการบริหารพิจารณาท่ีเมืองมอนทรีออลในปลายป ค.ศ. 1990 และกระบวนการขอความเห็นเร่ิมข้ึนในตนป ค.ศ. 1991 จนถึงวันที่ 29พฤศจิกายน ค.ศ. 1991 ฉบับเสร็จสมบูรณของ “แนวทางจริยธรรมสากลสําหรับผูประกอบวิชาชีพดานอาชีวอนามัย ฉบับป ค.ศ. 1992” ก็ไดรับการรับรองจากกรรมการบริหารของ“คณะกรรมาธิการอาชีวอนามัยสากล” เปนท่ีเรียบรอย ในป ค.ศ. 1992 จึงไดถูกจัดพิมพเปนภาษาอังกฤษและฝรั่งเศส หลังจากนั้นมีการจัดพิมพซ้ําอีกในป ค.ศ. 1994 และ ค.ศ. 1996 และถกู แปลออกเปนภาษาตางๆ อกี แปดภาษา 4

5. A Working Group was established by the ICOH Board in 1993 with the aim ofupdating when appropriate the International Code of Ethics for Occupational HealthProfessionals and for the purpose of following up the overall theme of ethics inoccupational health. Between 1993 and 1996 the Working Group included threemembers (Dr. G.H. Coppée, Prof. P. Grandjean and Prof. P. Westerholm) and 17associate members who provided comments and proposed amendments. In December1997, Dr. G.H. Coppée and Prof. P. Westerholm agreed with the ICOH Board that anin-depth revision of the Code of Ethics was not warranted at that time but that anupdating was justified since some parts of the text were not clear or needed to be moreprecise. It was foreseen, however, that a more extensive review aiming at supplementingthe Code with new issues and themes needing to be addressed should be initiated bythe ICOH.5. กรรมการบริหารของคณะกรรมาธิการอาชีวอนามัยสากล ไดจัดตั้งคณะทํางานข้ึนในป ค.ศ.1993 มงุ หมายเพ่ือใหคณะทํางานนี้คอยพิจารณาปรับปรุงแกไขแนวทางจริยธรรมสากลสําหรับผูประกอบวิชาชีพดานอาชีวอนามัยเมื่อเห็นวาเหมาะสม และติดตามประเด็นจริยธรรมดานอาชีวอนามัยอยางสมํ่าเสมอ ในระหวา งป ค.ศ. 1993 – 1996 คณะทํางานน้ีประกอบดวยกรรมการ 3 ทาน (ดร. จี.เอช. คอปป, ศ. พี. แกรนดจีน และ ศ. พี. เวสเตอรโฮลม) และสมาชิกที่มารวมใหความเห็นและเสนอแนะการปรับปรุงแกไขอีก 17 ทาน ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1997 ดร. จี. เอช. คอปป และศ. พี. เวสเตอรโฮลม เห็นดวยกับกรรมการบริหารของคณะกรรมาธิการอาชีวอนามัยสากลวาการรา งเอกสารแนวทางจริยธรรมขึ้นมาใหมทั้งหมดนั้นยังไมจําเปน แตควรมีการปรับปรุงแกไขฉบับเดิม เน่ืองจากเนื้อหาบางสวนยังไมชัดเจน ตองปรับใหชัดเจนข้ึน เมื่อมองไปขางหนาแลวคณะกรรมาธิการอาชีวอนามยั สากลเห็นวา จะตองมีการดําเนินการทบทวนเน้ือหาอยางละเอียดเพ่ือเสริมเนอ้ื หาที่เกีย่ วกับประเดน็ จรยิ ธรรมใหมๆ เขาในเอกสารแนวทางจรยิ ธรรม 5

6. A meeting of the members of the reconstituted Working Group on Ethics inOccupational Health (Prof. J.F. Caillard, Dr. G.H. Coppée and Prof. P. Westerholm)took place in Geneva on 14 and 15 December 1999 and reviewed the comments on the1992 Code of Ethics received during the period 1993-99, in particular the contributionsfrom the associate members. Since the purpose was not to revise but to update the1992 Code of Ethics, its original structure was retained. Similarly, the wording of theparagraphs and their numbers were maintained although some improvements couldhave resulted from certain suggestions made by associate members for reorganisingthe text in a more systematic manner.6. การประชุมของคณะทํางานปรับปรุงเอกสารแนวทางจริยธรรมดานอาชีวอนามัยชุดใหม (ศ.เจ. เอฟ. เคลลารด, ดร. จี. เอช. คอปป และ ศ. พี. เวสเตอรโ ฮลม) เกิดข้ึนที่เมืองเจนีวา ในวันที่14 และ 15 ธันวาคม ค.ศ. 1999 โดยทําการทบทวนความเห็นท่ีมีตอแนวทางจริยธรรม ฉบับปค.ศ. 1992 ที่ไดรับมาระหวางป ค.ศ. 1993 – 1999 โดยเฉพาะความเห็นจากเหลาสมาชิกของคณะกรรมาธิการอาชีวอนามัยสากล เนื่องจากวัตถุประสงคในคร้ังนี้ไมไดตองการรางแนวทางข้ึนใหม แตตองการปรับปรุงแนวทางฉบับป ค.ศ. 1992 ใหดีย่ิงข้ึน ดังน้ันโครงสรางดั้งเดิมของเอกสารจงึ ยังคงไว รวมถงึ รปู แบบยอหนา และหมายเลขหัวขอก็ไมไดมีการเปล่ียนแปลง แมวาจะไดมกี ารจดั เรยี งเนือ้ หาในบางสวนเพือ่ ใหเ ปน ระเบยี บมากข้ึน ตามขอ เสนอของสมาชิกบางทานก็ตาม 6

7. The 1992 Code consisted of a set of basic principles and practical guidelinespresented in paragraphs framed in normative language. The Code was not and is not tobecome a textbook on ethics in occupational health. For this reason, paragraphs werenot supplemented with commentaries. It is considered that it belongs to theprofessionals themselves and their associations to take an active role in further definingthe conditions of application of the provisions of the Code in specific circumstances(e.g. by conducting case studies, group discussions and training workshops using theprovisions of the Code to fuel a technical and ethical debate).7. แนวทางฉบับป ค.ศ. 1992 น้ัน ประกอบดวยสวนหลักการพ้ืนฐาน และสวนของแนวทางจรยิ ธรรม ซ่ึงจดั เรียงเปนยอหนา และเขยี นดว ยภาษาสําหรับบคุ คลท่วั ไป เอกสารแนวทางนี้ไมใชตําราวิชาการดานจรยิ ธรรมในงานอาชีวอนามยั ดว ยเหตุนี้จึงไมมีสวนของคําอธิบายเสริมเนื้อหาโดยคาดหมายไวว า ใหข นึ้ กบั ตัวผูประกอบวชิ าชพี เอง รวมถึงสมาคมวิชาชีพของเขา ในการเปนผูพิจารณาวาสถานการณแบบไหนควรจะตองใชแนวทางจริยธรรมไปในลักษณะใด ผานทางวิธีตางๆ (เชน การทํากรณีศึกษา, การสนทนากลุมยอย หรือการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับแนวทางจริยธรรมนี้ เพ่ือกระตุนใหเกิดการเสนอแนะทั้งในดานหลักจริยธรรมและดานการนําไปปฏิบตั ิจรงิ ขึ้นในแวดวงของผปู ระกอบวชิ าชีพ) 7

8. It should also be noted that more detailed guidance on a number of particularaspects can be found in national codes of ethics or guidelines for specific professions.Furthermore, the Code of Ethics does not aim to cover all areas of implementation or allaspects of the conduct of occupational health professionals or their relationships withsocial partners, other professionals and the public. It is acknowledged that someaspects of professional ethics may be specific to certain professions and need additionalethical guidance (e.g. engineers, nurses, physicians, hygienists, psychologists, inspectors,architects, designers, work organisation specialists) as to research activities.8. ขอแจงใหทราบวา เน้ือหารายละเอียดเพ่ิมเติมเกี่ยวกับประเด็นจริยธรรมตางๆ น้ัน สามารถกําหนดเพิ่มเติมไวไดในแนวทางจริยธรรมระดับประเทศของแตละวิชาชีพ นอกจากนี้ แนวทางจรยิ ธรรมฉบับน้ี ไมไดตองการครอบคลุมทุกประเด็นในการดําเนินงานดานอาชีวอนามัยสําหรับทุกวิชาชีพ หรือทุกความสัมพันธกับบุคคลอ่ืนในสังคม, ผูประกอบวิชาชีพสาขาอ่ืน หรือสาธารณะชน และตองยอมรับดว ยวา ในบางประเด็นของเร่ืองจริยธรรม จะมีความจําเพาะกับแตละวิชาชีพ และอาจตองมีการกําหนดแนวทางเพ่ิมเติมเปนการเฉพาะข้ึนเอง (เชน วิศวกรพยาบาล แพทย นักสุขศาสตร นักจิตวิทยา ผูตรวจโรงงาน สถาปนิก นักออกแบบ ผูเชี่ยวชาญองคก รการทํางาน) เชน เดยี วกับเร่อื งการทาํ วจิ ัยดวย 8

9. This Code of Ethics represents an attempt to translate in terms of professionalconduct the values and ethical principles in occupational health. It is intended to guideall those who carry out occupational health activities and to set a reference level on thebasis of which their performance can be assessed. This document may be used for theelaboration of national codes of ethics and for educational purposes. It may also beadopted on a voluntary basis and serve as a standard for defining and evaluatingprofessional conduct. Its purpose is also to contribute to the development of a commonset of principles for co-operation between all those concerned as well as to promoteteamwork and a multidisciplinary approach in occupational health. It also provides aframework against which to document and justify departures from accepted practice andplaces a burden of responsibility on those who do not make their reasons explicit.9. แนวทางจริยธรรมฉบับนี้ พยายามแสดงใหเห็นถึงหลักการพ้ืนฐานและการใหความสําคัญตอประเด็นจริยธรรมทางดา นอาชีวอนามัย มีความมุงหวังเพ่ือเปนแนวทางใหผูท่ีทํางานดานอาชีว-อนามัย และเปนเกณฑอางอิงใหกับผูมีมุมมองเปดกวางวาการทํางานของเขาน้ันยังสามารถตรวจประเมินได เอกสารชุดนี้ยังสามารถใชรวมกับแนวทางจริยธรรมระดับประเทศ หรือใชเพ่ือวัตถุประสงคทางการศึกษาไดดวย และอาจสามารถปรับใชเปนเกณฑมาตรฐานของวิชาชีพ ในแบบสมัครใจไดเชนกัน และยังมีความมุงหวังใหนําไปใชเปนหลักพื้นฐาน สําหรับการทํางานรวมกันในหมูผูมีสวนเก่ียวของ เพื่อสรางทีมงานและระบบการทํางานแบบสหวิชาชีพข้ึนในการดําเนนิ งานดา นอาชวี อนามยั นอกจากนี้แนวทางยังชวยกําหนดกรอบแนวคิด วาการกระทําใดท่ีจัดวาอยูนอกเหนือความยอมรับไดในการประกอบวิชาชีพ ตองบันทึกไวเปนหลักฐาน และผูที่กระทําตองรับผิดชอบ ถาไมแสดงเหตุผลท่ีชอบธรรมใหปรากฏ 9

10. The ICOH Board wishes to thank all those who assisted in the updating of the Codeof Ethics, in particular the members of the Working Group, Dr G.H. Coppée (ILO tillAugust 2000), chairman and co-ordinator, Prof. P. Westerholm (Sweden), from July1998 onwards, Prof. J.F. Caillard, (France, ICOH President till August 2000), fromSeptember 2000, Prof. G. Schaecke (Germany), Dr W.M. Coombs (South-Africa) andconsulted experts: Hon. J.L. Baudouin (Canada), Prof. A. David (Czech Republic), Prof.M.S. Frankel (United States), Prof T. Guidotti (USA), Prof. J. Jeyaratnam (Singapore),Dr. T. Kalhoulé (Burkina Faso), Dr. K. Kogi (Japan), Dr. M. Lesage (Canada), Dr. M.I.Mikheev (Russian Federation), Dr. T. Nilstun (Sweden), Dr. S. Niu (China), Prof. T.Norseth (Norway), Mr. I. Obadia (Canada), Dr. C.G. Ohlson (Sweden), Prof. C.L.Soskolne (Canada), Prof. B. Terracini (Italy), Dr. K. van Damme (Belgium).10. กรรมการบริหารของคณะกรรมาธิการอาชีวอนามัยสากล ขอขอบคุณผูที่มีสวนรวมในการปรับปรุงเนื้อหาแนวทางจริยธรรมทุกทาน โดยเฉพาะอยางย่ิงสมาชิกคณะทํางานปรับปรุง ซึ่งไดแก ดร. จี. เอช. คอปป (องคการแรงงานสากล จนถึง สิงหาคม ค.ศ. 2000), ประธานและผูประสานงานคณะทํางาน, ศ. พี. เวสเตอรโฮลม (สวีเดน), ตั้งแต กรกฎาคม ค.ศ. 2000 เปนตนมา, ศ. เจ. เอฟ. เคลลารด, (ฝร่ังเศส, ประธานคณะกรรมาธิการอาชีวอนามัยสากล จนถึงสิงหาคม ค.ศ. 2000), ต้ังแต กันยายน ค.ศ. 2000, ศ. จี. เช็คเก (เยอรมัน), ดร. ดับบลิว. เอ็ม.คูมส (แอฟริกาใต) และคณะผูเชี่ยวชาญที่ปรึกษา: ศ.กิตติคุณ เจ. แอล. บอดอน (แคนาดา), ศ.เอ. เดวิด (สาธารณรัฐเช็ค), ศ. เอ็ม. เอส. แฟรงเค็ล (สหรัฐอเมริกา), ศ. ที. กุยดอตตี(สหรฐั อเมริกา), ศ. เจ. เจยารัตนาม (สิงคโปร), ดร. ที. คาลฮอล (เบอรกีนา ฟาโซ), ดร. เค. โกกิ(ญี่ปุน), ดร. เอ็ม. ลีเสจ (แคนาดา), ดร. เอม็ .ไอ. มคิ ฮฟี (รสั เซีย), ดร. ที. นิลสตัน (สวีเดน), ดร.เอส. นุย (จีน), ศ. ที. นอรเซ็ต (นอรเวย), คุณ ไอ. โอบาเดีย (แคนาดา), ดร. ซี. จี. โอลสัน(สวีเดน), ศ. ซี. แอล. โซโคลน (แคนาดา), ศ. บี. เทราซินี (อิตาลี), ดร. เค. ฟาน แดมม(เบลเยยี ม) 10

11. The updated version 2002 of the International Code of Ethics for OccupationalHealth Professionals was circulated for comments to the Board Members during 2001and its publication was approved by the Board of the ICOH on 12th of March, 2002.11. แนวทางจริยธรรมสากลสําหรับผูประกอบวิชาชีพดานอาชีวอนามัย ฉบับปรับปรุง ค.ศ. 2002ไดถูกแจกจา ยเพอ่ื รับขอคิดเห็นจากกรรมการบริหารของคณะกรรมาธิการอาชีวอนามัยสากลในป ค.ศ. 2001 และไดรบั การรับรองในวนั ท่ี 12 มีนาคม ค.ศ. 2002 กอนนาํ ออกเผยแพร12. It should be stressed that ethics should be considered as a subject which has noclear end boundaries and requires interactions, multidisciplinary co-operation, consultationsand participation. The process may turn out to be more important than its ultimateoutcome. A code of ethics for occupational health professionals should never beconsidered as <<final>> but as a milestone of a dynamic process involving theoccupational health community as a whole, the ICOH and other organisationsconcerned with safety, health and the environment, including employers’ and workers’organisations.12. ส่ิงท่ีตองเนนยํ้าอีกอยางหน่ึงคือจริยธรรมนั้นเปนเรื่องท่ีตองพิจารณาแบบเปนนามธรรม ไมมขี อบเขตที่ชัดเจน และตองการการปฏิสัมพันธ, ความรวมมือแบบสหวิชาชีพ, การปรึกษา และการเขามีสวนรวม บางครั้งกระบวนการเพ่ือใหไดมานั้นอาจสําคัญกวาผลลัพธสุดทาย แนวทางจริยธรรมสําหรับผูประกอบวิชาชีพดานอาชีวอนามัยน้ัน จะไมถูกพิจารณาเปนส่ิง <<สมบูรณแบบ>> แตเปนเพียงหลกั ยดึ ขั้นหนงึ่ ในกระบวนการเคลือ่ นไหวเปล่ียนแปลงอยางไมหยุดน่ิงของวงการอาชีวอนามัยท้ังหมด ซึ่งรวมท้ังคณะกรรมาธิการอาชีวอนามัยสากล และองคกรอื่นๆ ท่ีทาํ งานเก่ยี วของกับ ความปลอดภัย สุขภาพ และส่ิงแวดลอม รวมถึงองคกรนายจางและองคกรลูกจางดวย 11

13. It cannot be overemphasised that ethics in occupational health is by essence a fieldof interactions between many partners. Good occupational health is inclusive, notexclusive. The elaboration and the implementation of professional conduct standards donot involve only the occupational health professionals themselves but also those whowill benefit from or may feel threatened by their practice as well as those who willsupport its sound implementation or denounce its shortcomings. This document shouldtherefore be kept under review and its revision should be undertaken when deemednecessary. Comments to improve its content should be addressed to the Secretary-General of the International Commission on Occupational Health.13. คงจะไมเปนกลาวการเกินเลยไปนักที่จะกลาววา จริยธรรมในงานอาชีวอนามัยนั้นสาระสาํ คัญจรงิ ๆ อยทู ี่ปฏสิ ัมพันธระหวางผูมีสวนรวมในดานตางๆ การดําเนินงานอาชีวอนามัยทด่ี นี น้ั ตองใชความรว มมือจากหลายฝา ย ไมใชก ารกันบางคนออกไป การพัฒนาแนวทางสําหรับผูประกอบวิชาชีพและนํามาใชนี้ ไมเพียงแตจะเก่ียวของกับตัวผูประกอบวิชาชีพเองเทาน้ัน แตยังสงผลถึงผูที่จะไดรับประโยชน และผูที่รูสึกวาตนเองอาจจะไดรับผลกระทบดานลบจากการดําเนินงานของผปู ระกอบวชิ าชพี รวมถึงผทู ส่ี นับสนนุ และผูท ่ีคัดคานในขอบกพรองของแนวทางนดี้ ว ย เอกสารฉบับน้ีจําเปนตองไดรับการทบทวน และการปรับปรุงเน้ือหาจะมีการทําเปนระยะเม่ือถึงเวลาท่ีจําเปน การสงขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนาเนื้อหาใหดียิ่งขึ้น สามารถสงไปไดท่ีเลขานุการใหญของคณะกรรมาธกิ ารอาชวี อนามยั สากล 12

Introductionบทนํา1. The aim of occupational health practice is to protect and promote workers’ health, tosustain and improve their working capacity and ability, to contribute to the establishmentand maintenance of a safe and healthy working environment for all, as well as topromote the adaptation of work to the capabilities of workers, taking into account theirstate of health.1. จุดมุงหมายของการดําเนินงานดานอาชีวอนามัยคือ เพ่ือปองกันและสงเสริมสุขภาพของคนทํางาน เพื่อสงวนรักษาและพัฒนาความสามารถและสมรรถภาพรางกายและจิตใจของคนทํางาน เพ่ือสนับสนุนการจัดใหมีและรักษาไวซึ่งสภาพแวดลอมการทํางานท่ีปลอดภัยและสงเสริมใหทุกคนมีสุขภาพดี และเพ่ือสงเสริมการปรับปรุงสภาพงานใหเหมาะสมกับสภาวะสุขภาพของคนทาํ งานทกุ คน2. The field of occupational health is broad and covers the prevention of all impairmentsarising out of employment, work injuries and work-related disorders, including occupationaldiseases and all aspects relating to the interactions between work and health.Occupational health professionals should be involved, whenever possible, in the designand choice of health and safety equipment, appropriate methods and procedures andsafe work practices and they should encourage workers’ participation in this field as wellas feedback from experience.2. ศาสตรทางดานอาชีวอนามัยนั้นเปนวิชาท่ีมีเน้ือหากวางขวางและครอบคลุมการปองกันการสูญเสียสมรรถภาพท้ังทางรางกายและจิตใจที่เกิดจากการจางงานทุกกรณี ท้ังการบาดเจ็บและการเจ็บปวยที่เกี่ยวเนื่องกับการทํางาน โรคจากการทํางาน และกรณีท่ีเก่ียวกับปฏิสัมพันธระหวางสุขภาพกับงานในทุกดาน ผูประกอบวิชาชีพดานอาชีวอนามัยควรเขารวมในการออกแบบและคัดเลือก อุปกรณ วิธีการ กระบวนการ และข้ันตอนการทํางานเพ่ือใหเกิดความปลอดภัยและมีสุขภาพดีแกคนทํางานในทุกโอกาสที่เปนไปได ควรกระตุนใหคนทํางานมีสวนรวมในเรื่องอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทํางาน พรอมท้ังใหขอเสนอแนะจากประสบการณข องตนเองดว ย 13

3. On the basis of the principle of equity, occupational health professionals shouldassist workers in obtaining and maintaining employment notwithstanding their healthdeficiencies or their handicap. It should be duly recognised that there are particularoccupational health needs of workers as determined by factors such as gender, age,physiological condition, social aspects, communication barriers or other factors. Suchneeds should be met on an individual basis with due concern to protection of health inrelation to work and without leaving any possibility for discrimination.3. บนหลักการของความเทาเทียมกัน ผูประกอบวิชาชีพดานอาชีวอนามัยควรชวยเหลือใหคนทํางานไดรับการจางงานและคงสภาพการทํางานไวได แมวาจะมีความเจ็บปวยหรือภาวะทุพพลภาพ ควรมีการระลึกถึงอยูเสมอวาคนทํางานบางกลุมมีความตองการทางดานอาชีวอนามัยเปนการเฉพาะ โดยพิจารณาจาก อายุ เพศ สภาวะทางสรีรวิทยา แงมุมทางสังคม อุปสรรคในการติดตอ ส่อื สาร หรือปจจยั อื่นๆ ซง่ึ ความตอ งการแตละกรณีนั้น ควรไดรับการตอบสนองใหกับคนทํางานแตล ะบุคคล เพ่ือปองกันปญ หาสขุ ภาพท่ีเกดิ จากการทํางานไดโ ดยไมม กี ารแบง แยก 14

4. For the purpose of this Code, the expression <<occupational health professionals>>is meant to include all those who, in a professional capacity, carry out occupationalsafety and health tasks, provide occupational health services or are involved in anoccupational health practice. A wide range of disciplines are concerned with occupationalhealth since it is at an interface between technology and health involving technical,medical, social and legal aspects. Occupational health professionals include occupationalhealth physicians and nurses, factory inspectors, occupational hygienists and occupationalpsychologists, specialists involved in ergonomics, in rehabilitation therapy, in accidentprevention and in the improvement of the working environment as well as inoccupational health and safety research. The trend is to mobilise the competence ofthese occupational health professionals within the framework of a multidisciplinary teamapproach.4. ตามเจตนาของแนวทางฉบับนี้ ความหมายของคําวา <<ผูประกอบวิชาชีพดานอาชีวอนามัย>>หมายถึง ผูท่ีมีความสามารถตามวิชาชีพ ทํางานดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย และใหบริการดานอาชีวอนามัยหรือเขารวมในการดําเนินงานดานอาชีวอนามัยในกรณีใดกรณีหน่ึงอยู เน่อื งจากอาชีวอนามัยเปนศาสตรท ม่ี ีความเกย่ี วขอ งกับท้ังเทคโนโลยี การแพทย สังคม และกฎหมาย จึงมวี ิชาชีพหลากหลายวิชาชีพท่ีจัดวาเกี่ยวของกับงานน้ี ผูประกอบวิชาชีพดานอาชีว-อนามัยในทนี่ จ้ี ึงรวมถงึ แพทยอ าชีวเวชศาสตร พยาบาลอาชีวอนามัย ผูตรวจโรงงาน นักอาชีว-สุขศาสตร นักจิตวิทยาองคกร ผูเช่ียวชาญดานการยศาสตร นักอาชีวบําบัด เจาหนาที่ความปลอดภัย ผูเชี่ยวชาญในการแกไขสภาพแวดลอมการทํางาน รวมถึงนักวิจัยทางดานอาชีวอนามัยและความปลอดภยั ดว ย การดําเนนิ งานดา นอาชวี อนามัยน้นั นิยมใหระดมความรูความสามารถที่หลากหลายเพือ่ ทาํ งานรว มกันแบบสหสาขาวิชาชพี 15

5. Many other professionals from a variety of disciplines such as chemistry, toxicology,engineering, radiation health, epidemiology, environmental health, applied sociology,insurance personnel and health education may also be involved, to some extent, inoccupational health practice. Furthermore, public health and labour authorities,employers, workers and their representatives and first aid workers have an essentialrole and even a direct responsibility in the implementation of occupational healthpolicies and programmes, although they are not occupational health specialists byprofession. Finally, many other professions such as lawyers, architects, manufacturers,designers, work analysts, work organisation specialists, teachers in technical schools,universities and other institutions as well as the media personnel have an important roleto play in relation to the improvement of the working environment and of workingconditions.5. ในบางครัง้ ผูประกอบวิชาชีพอื่นจากหลากหลายสาขา เชน นักเคมี นักพิษวิทยา วิศวกร นักรังสีวิทยา นักระบาดวิทยา นักอนามัยสิ่งแวดลอม นักสังคมวิทยาประยุกต นักประกันภัย นักสุขศึกษา อาจมีสวนรวมกับการดําเนินงานดานอาชีวอนามัยในบางขอบเขตของการทํางานดวยนอกจากนี้ ผูมีอํานาจดานสาธารณสุขและแรงงาน นายจาง คนทํางานและผูแทนของคนทํางานรวมถึงผูปฏิบัติงานดานการปฐมพยาบาล สามารถมีบทบาทสําคัญหรือแมแตความรับผิดชอบโดยตรงในการกําหนดนโยบายและแผนงานทางดานอาชีวอนามัย แมวาคนเหลานี้จะไมไดเปนผูเช่ียวชาญทางดานอาชีวอนามัยตามสายอาชีพของตนเองก็ตาม อันดับสุดทายคือ ผูประกอบวิชาชีพอีกหลายสาขา เชน ทนายความ สถาปนิก ผูสรางผลิตภัณฑ นักออกแบบ นักวิเคราะหงาน ท่ปี รึกษาองคก ร ครโู รงเรียนเทคนิค อาจารยมหาวิทยาลัย ไปจนถึงส่ือมวลชน ลวนแตเปนผมู ีบทบาทสําคญั ที่ทาํ ใหเ กิดการพัฒนาปรับปรงุ เรอ่ื งสภาพแวดลอ มในการทํางานใหด ีข้นึ 16

6. The term <<employers>> means persons with recognised responsibility, commitmentand duties towards workers in their employment by virtue of a mutually agreed relationship(a self-employed person is regarded as being both an employer and a worker). Theterm <<workers>> applies to any persons who work, whether full time, part time ortemporarily for an employer; this term is used here in a broad sense covering allemployees, including management staff and the self-employed (a self-employed personis regarded as having the duties of both an employer and a worker). The expression<<competent authority>> means a minister, government department or other publicauthority having the power to issue regulations, orders or other instruction having theforce of law, and who is in charge of supervising and enforcing their implementation.6. คําวา <<นายจาง>> หมายถึงบุคคลทม่ี ีความรับผิดชอบ ขอ ผกู พนั และหนาท่ีตอคนทํางานในการจา งงานโดยความยินยอมพรอมใจของทั้งสองฝายอยางถูกตอง (คนทํางานสวนตัว หมายถึงผูที่เปนท้ังนายจางและคนทํางานใหกับตัวเอง) สวนคําวา <<คนทํางาน>> หมายถึงคนผูใดก็ตามที่ทํางานไมวา เต็มเวลา ไมเต็มเวลา หรือเปนการชั่วคราว ใหกับนายจาง ความหมายของคําน้ีในที่นี้ใชในภาพกวาง ซึ่งจะหมายถึงทั้ง ลูกจาง รวมถึงลูกจางในระดับบริหาร และคนทาํ งานสว นตัวดวย (สาํ หรบั คนทํางานสวนตัว ใหมีหนาท่ีเปนทั้งนายจางและคนทํางานใหกับตัวเอง) สวนคําวา <<ผูมีอํานาจ>> หมายถึง รัฐมนตรี หนวยงานภาครัฐ หรือองคกรที่มีอํานาจในการออกกฎหมาย ออกคาํ สง่ั หรือทําการควบคมุ ในทางกฎหมาย ตอบุคคลหรือองคกรที่อยูในขอบขายอํานาจขององคกรนนั้ ๆ 17

7. There is a wide range of duties, obligations and responsibilities as well as complexrelationships among those concerned and involved in occupational safety and healthmatters. In general, obligations and responsibilities are defined by statutory regulations.Each employer has the responsibility for the health and safety of the workers in his orher employment. Each profession has its responsibilities which are related to the natureof its duties. It is important to define the role of occupational health professionals andtheir relationships with other professionals, with the competent authority and with socialpartners in the purview of economic, social, environmental and health policies. Thiscalls for a clear view about the ethics of occupational health professionals andstandards in their professional conduct. When specialists of several professions areworking together within a multidisciplinary approach, they should endeavour to basetheir action on shared sets of values and have an understanding of each others’ duties,obligations, responsibilities and professional standards.7. มีหนาท่ี ภาระผูกพัน และความรับผิดชอบมากมาย รวมถึงความสัมพันธท่ีสลับซับซอนในระหวา งกลุมคนท่มี าเก่ยี วของกับการดาํ เนินงานดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย โดยทั่วไปน้ัน ภาระผกู พนั และความรบั ผิดชอบจะถกู กําหนดไวโดยกฎหมายของรัฐ นายจางจะตองมีความรับผิดชอบตอสุขภาพและความปลอดภัยของคนทํางานท่ีนายจางไดจางงานไว ผูประกอบวิชาชีพแตละวิชาชีพมีความรับผิดชอบเฉพาะซึ่งข้ึนกับลักษณะหนาท่ีของเขา เปนเรื่องสําคัญที่จะตองมีการกําหนดบทบาทของวิชาชีพทางดานอาชีวอนามัยแตละวิชาชีพ และความเกี่ยวของตอวิชาชีพอื่น ความเกี่ยวของตอองคกรผูมีอํานาจ รวมถึงความเก่ียวของตอสังคมในเชิงเศรษฐศาสตร สังคม สิ่งแวดลอม และนโยบายสุขภาพ สิ่งนี้จะทําใหเกิดความชัดเจนในประเด็นการพิจารณาจริยธรรมของวิชาชีพดานอาชีวอนามัยและรวมถึงมาตรฐานของแตละสายวิชาชีพเม่ือผูประกอบวิชาชีพดานอาชีวอนามัยหลายสาขามาทํางานรวมกันแบบสหสาขาวิชาชีพจะตอ งพยายามดําเนินงานดว ยความเขาใจและใหคุณคาตอหนาท่ี ภาระผูกพัน ความรับผิดชอบและมาตรฐานของวิชาชีพอน่ื ดว ย 18

8. Some of the conditions of execution of the functions of occupational healthprofessionals and the conditions of operation of occupational health services are oftendefined in statutory regulations, such as regular planning and reviewing of activities andcontinuous consultation with workers and management. Basic requirements for a soundoccupational practice include a full professional independence, i.e. that occupationalhealth professionals must enjoy an independence in the exercise of their functionswhich should enable them to make judgements and give advice for the protection of theworkers’ health and for their safety within the undertaking in accordance with theirknowledge and conscience. Occupational health professionals should make sure thatthe necessary conditions are met to enable them to carry out their activities accordingto good practice and to the highest professional standards. This should includeadequate staffing, training and retraining, support and access to an appropriate level ofsenior management.8. เงื่อนไขในการปฏิบัติงานตามหนาท่ีของผูประกอบวิชาชีพดานอาชีวอนามัย และเง่ือนไขในการใหบริการอาชีวอนามัย บางกรณีมักจะถูกกําหนดไวโดยกฎหมายของรัฐ เชน การวางแผนและทบทวนข้ันตอนการทํางานเปนระยะ และการเปนท่ีปรึกษาใหกับคนทํางานและฝายบริหารอยา งตอเนื่อง เปน ตน พ้นื ฐานของงานอาชวี อนามัยทดี่ ที ีผ่ ูป ระกอบวชิ าชพี ดานอาชีวอนามัยควรปฏิบัตคิ อื ตอ งมคี วามเปนอสิ ระของวิชาชีพ คอื การที่ผูประกอบวิชาชีพดานอาชีวอนามัยสามารถปฏิบัตงิ านตามหนาที่ของตนเองไดอยางอิสระ สามารถใหการตัดสินใจและใหคําแนะนําดานอา-ชีวอนามัยและความปลอดภัยแกคนทํางานไดตามความรูความสามารถที่ตนเองมี อยางมีคุณธรรม ผูประกอบวิชาชีพดานอาชีวอนามัยควรทําใหแนใจวา ไดมีการจัดความตองการขั้นพ้ืนฐานในการที่จะทําใหการดําเนินงานดานอาชีวอนามัยที่ดีและถูกตองตามมาตรฐานวิชาชีพขั้นสูงสุดสามารถดําเนินการในองคกรของตนได ในที่น้ีรวมถึง การมีบุคลากรท่ีเพียงพอ การฝกอบรมและการทบทวนความรู การไดรับการสนับสนุนและสามารถเขาถึงผูบริหารท่ีมีอํานาจในองคก รไดในระดบั ท่เี หมาะสม 19

9. Further basic requirements for acceptable occupational health practice, often specifiedby national regulations, include free access to the workplace, the possibility of takingsamples and assessing the working environment, making job analyses and participatingin enquiries and consulting the competent authority on the implementation ofoccupational safety and health standards in the undertaking. Special attention should begiven to ethical dilemmas which may arise from pursuing simultaneously objectiveswhich may be competing such as the protection of employment and the protection ofhealth, the right to information and confidentiality, and the conflicts between individualand collective interests.9. ความตองการอนื่ ๆ ท่ีเปนพื้นฐานในการดําเนินงานดานอาชีวอนามัยแบบที่ยอมรับได ท่ีมักมีการกาํ หนดไวใ นกฎหมายของประเทศ ไดแก การที่ผูประกอบวิชาชีพดานอาชีวอนามัยสามารถเขาไปในสถานท่ีทํางานที่มีปญหาไดอยางอิสระ โอกาสในการเก็บตัวอยางและการประเมินสภาพแวดลอมในการทํางานไดตามความเหมาะสม การวิเคราะหงานและการขอคําปรึกษาจากองคกรผูมีอํานาจเพ่ือมาชวยดําเนินการใหสถานท่ีทํางานที่มีปญหาน้ันไดมาตรฐานความปลอดภัยและอาชีวอนามัยตามกฎหมายของประเทศ ประเด็นดานจริยธรรมที่ควรพิจารณาเปนพเิ ศษคือ ภาวะท่ที าํ ใหเ กิดความลาํ บากใจ ในกรณที ตี่ อ งดาํ เนินการตามวัตถุประสงคสองอยางท่ีขัดแยงกันอยู เชน การรักษางานไวกับการรักษาสุขภาพท่ีดีไว สิทธิในการไดรับทราบขอมูลกับสทิ ธิในการรกั ษาความลบั ความขดั แยง ในระดบั บคุ คลกับผลประโยชนของสวนรวม เหลา นี้เปนตน 20

10. The occupational health practice should meet the aims of occupational health whichhave been defined by the ILO and WHO in 1950 and updated as follows by theILO/WHO Joint Committee on Occupational Health in 1995:Occupational health should aim at: the promotion and maintenance of the highest degree of physical,mental and social well-being of workers in all occupations; the prevention amongst workers ofdepartures from health caused by their working conditions; the protection of workers in theiremployment from risks resulting from factors adverse to health; the placing and maintenance of theworkers in an occupational environment adapted to his physiological and psychological capabilities;and, to summarise, the adaptation of work to man and of each man to his job. The main focus inoccupational health is on three different objectives: (i) the maintenance and promotion of workers’health and working capacity; (ii) the improvement of working environment and work to becomeconducive to safety and health; and (iii) development of work organisations and working cultures in adirection which supports health and safety at work and in doing so also promotes a positive socialclimate and smooth operation and may enhance productivity of the undertakings. The concept ofworking culture is intended in this context to mean a reflection of the essential value systems adoptedby the undertaking concerned. Such a culture is reflected in practice in the managerial systems,personnel policy, principles for participation, training policies and quality management of theundertaking.10. การดําเนินงานดานอาชีวอนามัยควรใหตรงกับ “จุดมุงหมายของงานอาชีวอนามัย” ท่ีกําหนดโดย องคการแรงงานสากล (ILO) และองคการอนามัยโลก (WHO) ในป ค.ศ. 1950 ซ่ึงทบทวนและปรับปรุงโดยคณะกรรมการรว มของ ILO/WHO ในป ค.ศ. 1995 รายละเอียดดังนี:้งานอาชวี อนามยั ควรมีจุดมงุ หมายเพอ่ื : การสง เสรมิ และธาํ รงไวซ่งึ สภาวะทางรา งกาย จิตใจ และความเปนอยูท่ดี ีในสังคม ใหอยูในระดับสูงสุดเทาที่เปน ไปไดแกคนทํางานทุกคน ทุกอาชีพ; เพ่ือปองกันการที่คนทํางานจะมีสุขภาพไมด ีเนื่องมาจากสภาพแวดลอ มในการทาํ งานของเขา; เพ่ือปกปอ งคนทํางานจากความเส่ยี งตอปจจัยคุกคามสุขภาพในการทํางาน; เพ่ือจัดและคงสภาพใหคนทํางานไดทํางานในสภาพแวดลอมที่เหมาะสมตอสภาพรางกายและจติ ใจของเขา; โดยสรุปก็คือ เพ่ือทําการปรับสภาพงานใหเขากับคน และพิจารณาจัดใหคนแตล ะคนไดท ํางานที่เหมาะสมกบั สภาพรา งกายและจิตใจของตัวเอง จุดสนใจหลักของงานอาชวี อนามยั นน้ั อยูท่ีสามประเด็นตอไปน้ี: (i) การธํารงไวและสงเสริมสุขภาพและสมรรถภาพรางกายและจิตใจใหกับคนทํางาน(ii) การปรบั ปรงุ งานและสภาพแวดลอ มในการทาํ งานเพอ่ื ใหเกิดความปลอดภยั และสง ผลดีตอสขุ ภาพ (iii) การสรางองคกรใหมลี กั ษณะการทํางานหรือวฒั นธรรมการทํางานทเ่ี อื้ออาํ นวยตอ ความปลอดภยั และการมสี ขุ ภาพทีด่ ี การทําเชนน้ียังชวยสงเสริมความสัมพันธที่ดีในองคกร การทํางานอยางราบร่ืน และอาจชวยเพิ่มผลผลิตใหกับองคกรดวย ความหมายของวัฒนธรรมการทํางานที่เอ้ืออํานวยตอความปลอดภัยและการมีสุขภาพท่ีดีในทีน่ ี้จะตองมีการแสดงใหเ ห็นชัดเจนวา องคกรใหคุณคากับส่ิงน้ีอยางแทจริง คือองคกรจะตองนําวัฒนธรรมการทํางานท่ีเอ้ืออํานวยตอความปลอดภัยและการมีสุขภาพที่ดี มาใชในการปฏิบัติจริงท้ังสําหรับ ระบบงานบริหาร นโยบายดานการบุคคล หลักการเขามีสวนรวม นโยบายการฝกอบรม และการจัดการคุณภาพขององคก ร 21

11. It cannot be overemphasised that the central purpose of any occupational healthpractice is the primary prevention of occupational and work-related diseases andinjuries. Such practice should take place under controlled conditions and within anorganised framework – preferably involving professional occupational health services –in order to ensure that it is relevant, knowledge-based, sound from a scientific, ethicaland technical point of view, and appropriate to the occupational risks in the enterpriseand to the occupational health needs of the working population concerned.11. คงไมเปนการกลาวเกินเลยไปนักที่จะกลาววา วัตถุประสงคหลักของการดําเนินงานดานอาชีวอนามัยน้ัน ก็เพื่อการปองกันในระดับปฐมภูมิ สําหรับโรคและอุบัติเหตุจากการทํางานรวมถึงโรคท่ีเก่ียวเน่ืองกับการทํางานดวย การดําเนินงานดานอาชีวอนามัยควรจะอยูในการควบคุมและกรอบแนวคิดขององคกร และควรที่จะเปนการใหบริการดานอาชีวอนามัยอยางมืออาชีพ คือ ตรงประเด็น ถกู หลักวิชาการ เปนวิทยาศาสตร ถูกหลักคุณธรรม และสามารถปฏิบัติไดจริง การดาํ เนินงานดานอาชวี อนามัยควรจัดใหตรงกับความเสี่ยงจากการทํางานที่มีในองคกรนั้น และตรงกบั ความจําเปนตอ คนทาํ งานในองคกร 22

12. It is increasingly understood that the purpose of a sound occupational healthpractice is not merely to perform assessments and to provide services but impliescaring for workers’ health and their working capacity with a view to protect, maintainand promote them. This approach of occupational health care and occupational healthpromotion addresses workers’ health and their human and social needs in acomprehensive and coherent manner which includes preventive health care, healthpromotion, curative health care, first-aid, rehabilitation and compensation whereappropriate, as well as strategies for recovery and reintegration into the workingenvironment. Similarly, the importance of considering the links between occupationalhealth, environmental health, quality management, product safety and stewardship,public and community health and security is increasingly understood. This strategy isconducive to the development of occupational safety and health management systems,an emphasis on the choice of clean technologies and alliances with those who produceand those who protect in order to make development sustainable, equitable, sociallyuseful and responsive to human needs.12. ปจจุบันมีความเขาใจที่มากข้ึน วาการดําเนินงานดานอาชีวอนามัยนั้น ไมไดเปนเพียงแคการประเมนิ และใหบ ริการแบบแยกสวน แตก ารดําเนินงานดานอาชีวอนามัยน้ันมีคุณคาทั้งในแงการดูแลสขุ ภาพและเพิ่มพูนความสามารถของคนทํางาน ดวยการ ปกปอง ธํารงไว และสงเสริมใหคนทํางานน้ันมีสุขภาพดี แนวทางในลักษณะนี้จะทําใหการดูแลและสงเสริมสุขภาพทางดานอาชวี อนามัยของคนทํางาน ตอบสนองความตองการของคนทํางานทั้งความตองการสวนบุคคลและความตองการของสังคม อยางเปนองครวม เช่ือมโยงกับหลายศาสตร ท้ังการปองกันโรคการสงเสริมสุขภาพ การรักษา การปฐมพยาบาล การฟนฟูสุขภาพ การชดเชย และรวมถึงการดแู ลเพื่อใหก ลบั เขาทํางานไดอ ยางเหมาะสมดวย และเชนเดียวกัน ปจจุบันก็มีความเขาใจท่ีมากขนึ้ ในความเช่ือมโยงสัมพันธของศาสตรตางๆ ท้ังอาชีวอนามัย อนามัยสิ่งแวดลอม การจัดการคุณภาพ ความเปนมิตรและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ เวชศาสตรชุมชน การสาธารณสุขและความมั่นคงปลอดภยั แนวคิดเหลา นจ้ี ะเปนสื่อชวยนําใหเกิดการพัฒนาระบบความปลอดภัยและอาชีวอนามัยเพ่ิมข้ึน การใหความสําคัญกับทางเลือก อยางเทคโนโลยีท่ีไมกอใหเกิดมลภาวะ การเปนพันธมิตรกับองคกรท่ีสรางและสงเสริมการพัฒนาอยางย่ังยืน ความเทาเทียมกัน ประโยชนตอสังคม และรับผิดชอบตอผลกระทบท่ีเกิดจากความตองการของมนุษย ควรมีมากข้ึน 23

Basic principlesหลักการพน้ื ฐานThe following three paragraphs summarise the principles of ethics and values on whichis based the International Code of Ethics for Occupational Health Professionals.เน้ือหาสามยอหนาตอไปน้ี เปนการสรุปหลักการดานจริยธรรมและคานิยมซึ่งเปนพื้นฐานของหลกั จริยธรรมสากลสาํ หรับผปู ระกอบวิชาชพี ดานอาชวี อนามยัThe purpose of occupational health is to serve the health and social well-being of theworkers individually and collectively. Occupational health practice must be performedaccording to the highest professional standards and ethical principles. Occupationalhealth professionals must contribute to environmental and community health.จุดมุงหมายของงานอาชีวอนามัยคือการตอบสนองความตองการมีสุขภาพและความเปนอยูที่ดีในสังคม ทั้งของคนทํางานแตละบุคคลและในภาพรวม การดําเนินงานดานอาชีวอนามัยจะตองทาํ โดยใชม าตรฐานทางวิชาชีพและหลักการทางจริยธรรมอยางสูงสุด ผูประกอบวิชาชีพดานอาชีว-อนามยั จะตองสนับสนุนงานอนามัยสิ่งแวดลอมและอนามยั ชมุ ชนดว ยThe duties of occupational health professionals include protecting the life and the healthof the worker, respecting human dignity and promoting the highest ethical principles inoccupational health policies and programmes. Integrity in professional conduct, impartialityand the protection of the confidentiality of health data and of the privacy of workers arepart of these duties.หนาท่ีของผูประกอบวิชาชีพดานอาชีวอนามัยน้ันรวมถึง การปองกันการสูญเสียชีวิตและรักษาการมีสุขภาพที่ดีใหกับคนทํางาน เคารพในศักด์ิศรีความเปนมนุษย และสงเสริมใหใชหลักการดานจริยธรรมอยางสูงสุดในการออกนโยบายหรือแผนงานดานอาชีวอนามัย ความยึดม่ันในวิชาชีพ ความเที่ยงธรรม การรักษาขอมูลสุขภาพและขอมูลสวนบุคคลของคนทํางานไวอยา งเปนความลับ เปน สวนหน่งึ ในหนาทีด่ ว ย 24

Occupational health professionals are experts who must enjoy full professionalindependence in the execution of their functions. They must acquire and maintain thecompetence necessary for their duties and require conditions which allow them to carryout their tasks according to good practice and professional ethics.ผูประกอบวิชาชีพดานอาชีวอนามัย คือผูเช่ียวชาญซ่ึงจะตองมีสิทธิในการปฏิบัติงานอยางมีอิสระของวิชาชีพ ผูประกอบวิชาชีพดานอาชีวอนามัย จะตองไดรับการรับรองและธํารงรักษาไวซงึ่ ความสามารถ ซ่ึงจําเปนตองใชในการประกอบวิชาชีพของตน และควรจัดหาใหมีสภาวการณทีเ่ ออ้ื อาํ นวยใหต นเองสามารถทํางานไดอยา งถกู ตองตามหลักวิชาการและหลกั จริยธรรม 25

Duties and obligations of occupational health professionalsหนา ที่และภาระผูกพันของผปู ระกอบวิชาชีพดา นอาชีวอนามัยAim and advisory role1. The primary aim of occupational health practice is to safeguard and promote thehealth of workers, to promote a safe and healthy working environment, to protect theworking capacity of workers and their access to employment. In pursuing this aim,occupational health professionals must use validated methods of risk evaluation,propose effective preventive measures and follow up their implementation. Theoccupational health professionals must provide competent and honest advice to theemployers on fulfilling their responsibility in the field of occupational safety and healthas well as to the workers on the protection and promotion of their health in relation towork. The occupational health professionals should maintain direct contact with safetyand health committees, where they exist.จดุ มงุ หมายและบทบาทในการเปนท่ปี รึกษา1. จุดมงุ หมายหลักของการดําเนินงานดานอาชีวอนามัยคือ เพ่ือการปกปองและสงเสริมสุขภาพของคนทํางาน เพื่อสงเสริมการจัดสภาพแวดลอมในการทํางานท่ีปลอดภัยและเอื้ออํานวยใหมีสุขภาพดี เพ่ือสงวนรักษาความสามารถในการทํางานและคงสภาพการทํางานไว เพ่ือใหบรรลุจุดมุงหมายน้ี ผูประกอบวิชาชีพดานอาชีวอนามัยจะตองใชวิธีการที่นาเช่ือถือในการประเมินความเสี่ยง เสนอแนะวิธีการปองกันทางดานอาชีวอนามัยที่มีประสิทธิผล และติดตามผลการดําเนินงานเปนระยะ ผูประกอบวิชาชีพดานอาชีวอนามัยจะตองใหคําแนะนําท่ีถูกหลักวิชาการดวยความซื่อสัตยแกนายจาง ตามหนาที่รับผิดชอบท่ีมีตองานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยขององคก ร และตอ งใหคําแนะนาํ ในลกั ษณะนตี้ อคนทาํ งานเชน เดยี วกนั เพื่อเปนการปองกันและสงเสริมสุขภาพที่ดีแกพวกเขา หากมีการต้ังคณะกรรมการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยขึ้นในองคก ร ผูป ระกอบวิชาชีพดา นอาชวี อนามัยควรทําการติดตอส่ือสารโดยตรงกับคณะกรรมการอยางสมา่ํ เสมอ 26

Knowledge and expertise2. Occupational health professionals must continuously strive to be familiar with thework and the working environment as well as to develop their competence and toremain well informed in scientific and technical knowledge, occupational hazards andthe most efficient means to eliminate or to minimise the relevant risks. As the emphasismust be on primary prevention defined in terms of policies, design, choice of cleantechnologies, engineering control measures and adapting work organisation andworkplaces to workers, occupational health professionals must regularly and routinely,whenever possible, visit the workplaces and consult the workers and the managementon the work that is performed.ความรูและความเชยี่ วชาญ2. ผูป ระกอบวิชาชีพดา นอาชีวอนามัย จะตองมีความมุงม่ันในการศึกษาทําความเขาใจเก่ียวกับงานและสภาพแวดลอมในการทํางานที่ตนเองดูแลอยูอยางตอเนื่อง จะตองพัฒนาความรูของตนเอง และคนควาหาความรูอยางตอเนื่องเก่ียวกับดานวิทยาศาสตร ความรูทางเทคนิค ส่ิงคกุ คามตอสุขภาพ และวิธีที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดในการกําจัดหรือลดความเสี่ยงที่จะเกิดจากส่ิงคุกคามเหลาน้ัน การดําเนินการตองเนนความสําคัญไปท่ีการปองกันกอนที่จะเกิดปญหาขึ้นโดยใชท้ังการออกนโยบาย การออกแบบสถานที่ทํางาน การเลือกใชเทคโนโลยีสะอาด การควบคมุ ทางวิศวกรรม และการปรับปรุงสถานท่ีทํางานใหเหมาะกับคนทํางาน ผูประกอบวิชาชีพดา นอาชีวอนามัยจะตองเขาตรวจเยย่ี มสถานทท่ี ํางาน พบปะปรกึ ษากับคนทํางานและทีมบริหารจดั การดา นอาชีวอนามยั อยา งเปนระยะสมาํ่ เสมอ 27

Development of a policy and a programme3. The occupational health professionals must advise the management and the workerson factors at work which may affect workers’ health. The risk assessment ofoccupational hazards must lead to the establishment of an occupational safety andhealth policy and of a programme of prevention adapted to the needs of undertakingsand workplaces. The occupational health professionals must propose such a policy andprogramme on the basis of scientific and technical knowledge currently available as wellas of their knowledge of the work organisation and environment. Occupational healthprofessionals must ensure that they possess the required skill or secure the necessaryexpertise in order to provide advice on programmes of prevention which should include,as appropriate, measures for monitoring and management of occupational safety andhealth hazards and, in case of failure, for minimising consequences.การพัฒนานโยบายและโครงการ3. ผูประกอบวิชาชีพดานอาชีวอนามัยจะตองใหคําปรึกษาทีมบริหารจัดการดานอาชีวอนามัยและคนทาํ งานถงึ ปจ จยั ในการทํางานท่ีอาจสงผลกระทบตอสุขภาพ ทําการประเมินความเสี่ยงสิ่งคุกคามจากการทาํ งาน เพอื่ นําไปสูการกาํ หนดนโยบายทางดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยและจัดโครงการปอ งกันปญ หาสุขภาพท่ีเหมาะสมกบั องคกร ผูประกอบวิชาชีพดานอาชีวอนามัยเมื่อนําเสนอใหมีนโยบายและโครงการตางๆ ตองทําอยูบนพื้นฐานของวิทยาศาสตร สามารถนาํ มาปฏบิ ัติไดจรงิ ตามองคค วามรูท ม่ี ีในปจจบุ ัน และตอ งสอดคลอ งกับความรูความเขาใจในงานและปจจัยแวดลอมของการทํางานนั้นๆ ดวย ผูประกอบวิชาชีพดานอาชีวอนามัยจะตองทําใหทุกฝายแนใจวา ไดใชทักษะความเช่ียวชาญของตนประกอบการใหคําแนะนําในการจัดทําโครงการปองกันปญหาทางสุขภาพอยางดีแลว โดยรายละเอียดควรจะรวมถึง วิธีการตรวจตดิ ตามและการจัดการสิ่งคุกคามตอสุขภาพและความปลอดภยั ในทท่ี าํ งานอยา งเหมาะสม พรอมทงั้ แจงวิธกี ารลดผลกระทบตอ สุขภาพในกรณีที่การควบคุมสิ่งคุกคามทําไมไ ดเ ตม็ ทีด่ ว ย 28

Emphasis on prevention and on a prompt action4. Special consideration should be given to the rapid application of simple preventivemeasures which are technically sound and easily implemented. Further evaluation mustcheck whether these measures are effective or if a more complete solution must besought. When doubts exist about the severity of an occupational hazard, prudentprecautionary action must be considered immediately and taken as appropriate. Whenthere are uncertainties or differing opinions concerning nature of the hazards or therisks involved, occupational health professionals must be transparent in theirassessment with respect to all concerned, avoid ambiguity in communicating theiropinion and consult other professionals as necessary.การใหความสาํ คัญกับการปองกันและการเตรยี มความพรอมในการดําเนินการ4. วิธีการปองกันปญหาดานอาชีวอนามัยท่ี รวดเร็ว ไมซับซอน สามารถปฏิบัติไดจริง และดําเนินการไดงาย ควรจะไดรับการพิจารณาเปนพิเศษเพ่ือนํามาใช นอกจากนั้นควรพิจารณาดวยวา วิธีการดังกลาวสรางประสิทธิผลท่ีดีหรือไม หรือมีวิธีการอื่นที่สามารถแกไขปญหาไดดกี วา หรือไม หากไมแ นใ จในเรื่องระดบั ความรุนแรงของสิ่งคุกคามท่ีพิจารณาในท่ีทํางาน ควรจะดําเนินการอยางระมัดระวังรอบคอบไวกอน เมื่อเกิดความคิดเห็นที่แตกตางเก่ียวกับธรรมชาติของส่ิงคุกคามที่พิจารณาหรือความเส่ียงท่ีอาจเกิดขึ้นในกลุมผูเก่ียวของ ผูประกอบวิชาชีพดานอาชีวอนามัยจะตองทําการประเมินความเส่ียงตอส่ิงคุกคามน้ันอยางโปรงใสและใสใจในความตระหนักของทกุ ฝา ย หลีกเล่ยี งการส่อื สารอยางคลุมเครือ และควรทําการปรึกษาผูเช่ียวชาญคนอืน่ ๆ เมือ่ เหน็ วา จําเปน 29

Follow-up of remedial actions5. In the case of refusal or of unwillingness to take adequate steps to remove an unduerisk or to remedy a situation which presents evidence of danger to health or safety, theoccupational health professionals must make, as rapidly as possible, their concernclear, in writing, to the appropriate senior management executive, stressing the need fortaking into account scientific knowledge and for applying relevant health protectionstandards, including exposure limits, and recalling the obligation of the employer toapply laws and regulations and to protect the health of workers in their employment.The workers concerned and their representatives in the enterprise should be informedand the competent authority should be contacted, whenever necessary.การติดตามผลการดําเนินการแกไข5. ในกรณีที่พบการปฏิเสธหรือไมเต็มใจในการลดความเส่ียงท่ีมากเกินยอมรับไดในสถานท่ีทาํ งาน หรือพบวาควรรบี ดําเนนิ การแกไขสถานการณที่บงช้ีชัดเจนวามีโอกาสจะกออันตรายตอสุขภาพและความปลอดภัยเปนอยางยิ่ง ผูประกอบวิชาชีพดานอาชีวอนามัยจะตองทําบันทึกขอเสนอแนะเพ่ือการแกไขปญหาอยางชัดเจนและเปนลายลักษณอักษร สงถึงผูบริหารระดับสูงผมู ีอํานาจในองคกรโดยเร็วที่สุด เพื่อใหเกิดการดําเนินการแกไขตามหลักวิชาการ และเพ่ือเปนการปองกันปญหาไดอยางถกู ตามมาตรฐาน เชน คามาตรฐานการสัมผัสสิ่งคุกคาม เปนตน และเปนการยํ้าเตือนใหนายจางนํามาตรฐานตามกฎหมายมาใชในการปองกันปญหาสุขภาพของคนทํางานที่อยูในความดูแลของตนเองดวย คนทํางานที่ไดรับผลกระทบและตัวแทนภายในองคกรของเขา ควรจะไดรับการช้ีแจงขอมูลความเส่ียงน้ีเชนกัน และอาจตองทําการแจงตอองคก รผมู อี ํานาจเขามาควบคุมดูแลหากมีความจําเปน 30

Safety and health information6. Occupational health professionals must contribute to the information for workers onoccupational hazards to which they may be exposed in an objective and understandablemanner which does not conceal any fact and emphasises the preventive measures. Theoccupational health professionals must co-operate with the employer, the workers andtheir representatives to ensure adequate information and training on health and safetyto the management personnel and workers. Occupational health professionals mustprovide appropriate information to the employers, workers and their representativesabout the level of scientific certainty or uncertainty of known and suspected occupationalhazards at the workplace.ขอ มูลดานอาชีวอนามยั และความปลอดภยั6. ผูประกอบวิชาชีพดา นอาชวี อนามัยจะตอ งชว ยใหขอมูลแกคนทํางาน ถึงส่ิงคุกคามตอสุขภาพที่คนทํางานมีโอกาสสัมผัส การใหขอมูลส่ิงคุกคามตอสุขภาพแกคนทํางานจะตองตรงประเด็นเขาใจไดงาย ครบถวน ไมปกปดความจริง และแจงวิธีการปองกันตนเองไวดวย ผูประกอบวชิ าชีพดานอาชวี อนามัยจะตอ งรวมมอื กบั นายจาง คนทาํ งาน และตวั แทนของคนทํางาน ในการจัดใหมีการใหขอมูลและการฝกอบรมดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยท้ังแกผูบริหารและคนทาํ งานขึน้ ในองคกรอยางมากเพียงพอ ผูประกอบวิชาชีพดานอาชีวอนามัยจะตองใหขอมูลที่เหมาะสมแกนายจาง คนทํางาน และตัวแทนของคนทํางาน เก่ียวกับระดับความแนนอนของขอมูลทางวิทยาศาสตร ท่ีเก่ียวของกับส่ิงคุกคามตอสุขภาพท้ังท่ีทราบแลวหรือสงสัยวาเปนสิ่งคกุ คามซึง่ อยูใ นทที่ ํางานทกี่ าํ ลงั พิจารณาอยู 31

Commercial secrets7. Occupational health professionals are obliged not to reveal industrial or commercialsecrets of which they may become aware in the exercise of their activities. However,they must not withhold information which is necessary to protect the safety and healthof workers or of the community. When needed, the occupational health professionalsmust consult the competent authority in charge of supervising the implementation of therelevant legislation.ความลับทางธุรกิจ7. ผปู ระกอบวิชาชพี ดา นอาชีวอนามยั มีภาระผูกพันที่จะตองไมเปดเผยขอมูลความลับทางธุรกิจหรือทางเทคนิคในดานอุตสาหกรรมขององคกรที่ตนเองเขาไปเก่ียวของใหกับผูอ่ืน อยางไรก็ตาม หากเปนขอมูลสําคัญท่ีมีผลตอความปลอดภัยและสุขภาพของคนทํางานหรือชุมชนแลว ผูประกอบวชิ าชพี ดานอาชวี อนามัยจะตองไมน ิ่งเฉยปกปด ขอ มูลไว และในกรณีท่ีมีความจําเปน ผูประกอบวิชาชีพดานอาชีวอนามัยตองติดตอขอคําปรึกษาจากองคกรผูมีอํานาจตามกฎหมายเพือ่ ใหมาดําเนินการจดั การหรือแกไ ขปญหาท่ีเกดิ ขน้ึ 32

Health surveillance8. The occupational health objectives, methods and procedures of health surveillancemust be clearly defined with priority given to adaptation of workplaces to workers whomust receive information in this respect. The relevance and validity of these methodsand procedures must be assessed. The surveillance must be carried out with the informedconsent of the workers. The potentially positive and negative consequences ofparticipation in screening and health surveillance programmes should be discussed aspart of the consent process. The health surveillance must be performed by anoccupational health professional approved by the competent authority.การเฝาระวงั ทางสขุ ภาพ8. วัตถุประสงค วิธกี าร และข้ันตอน ของการดําเนินการเฝาระวังทางสุขภาพทางดานอาชีวอนามัยจะตองมีการกําหนดไวอยางชัดเจน มีระดับความสําคัญเพียงพอในการใชปรับสถานที่ทํางานใหกับคนทํางานท่มี ีปญ หา และคนทํางานตอ งไดรับขอมูลของตนเองจากการดําเนินการเฝาระวังทางสุขภาพน้ี ความถูกตองและเช่ือถือไดของวิธีการและข้ันตอนในการเฝาระวังทางสุขภาพจะตอ งมีการประเมินผล การดาํ เนินการเฝาระวังจะตองทําโดยไดรับความยินยอมจากคนทํางานทุกคนท่ีเขารวมในกระบวนการ ผลท่ีจะเกิดข้ึนหรืออาจเกิดขึ้น ทั้งผลดีและผลเสียจากการเขารวมในกระบวนการเฝาระวังจะตองแจงใหกับคนทํางานทุกคนที่มาเขารวมในกระบวนการคัดกรองโรคและเฝาระวังไดรับทราบ และเปนสวนหน่ึงของกระบวนการขอความยินยอม การดาํ เนนิ การเฝา ระวังทางสุขภาพจะตอ งดาํ เนินการโดยผูประกอบวิชาชีพดานอาชีวอนามัยที่ไดรับการรบั รองจากองคกรผูมอี าํ นาจแลว เทาน้นั 33

Information to the worker9. The results of examinations, carried out within the framework of health surveillancemust be explained to the worker concerned. The determination of fitness for a given job,when required, must be based on a good knowledge of the job demands and of thework-site and on the assessment of the health of the worker. The workers must beinformed of the opportunity to challenge the conclusions concerning their fitness inrelation to work that they feel contrary to their interest. An appeals procedure must beestablished in this respect.การแจงขอมลู แกคนทํางาน9. ผลการตรวจที่ดาํ เนนิ การภายใตกระบวนการเฝาระวงั ทางสขุ ภาพ จะตองแจงใหคนทํางานที่มีสวนเกี่ยวของรับทราบ เมื่อไดรับการรองขอใหทําการประเมินความพรอมในการทํางาน ควรจะดาํ เนินการโดยมีความรคู วามเขา ใจในตําแหนงงานที่พิจารณา ความตองการขององคกร และผลการประเมินสุขภาพของคนทํางานทพี่ ิจารณาอยางเพียงพอ คนทํางานที่ไดรับการประเมินความพรอม จะตองไดรับโอกาสในการทักทวงและใหขอมูลเพ่ิมเติมกรณีที่ไมเห็นดวยกับผลสรุปการประเมิน และการพจิ ารณาในกรณที ่มี กี ารทกั ทว งขึน้ ก็ตอ งดาํ เนินการโดยไมมีอคติ 34

Information to the employer10. The results of the examinations prescribed by national laws or regulations must onlybe conveyed to management in terms of fitness for the envisaged work or of limitationsnecessary from a medical point of view in the assignment of tasks or in the exposure tooccupational hazards, with the emphasis put on proposals to adapt the tasks andworking conditions to the abilities of the worker. General information on work fitness orin relation to health or the potential or probable health effects of work hazards, may beprovided with the informed consent of the worker concerned, in so far as this isnecessary to guarantee the protection of the worker’s health.การแจง ขอมูลแกนายจาง10. ผลการตรวจทางดานอาชีวอนามัยของคนทํางานตามกฎหมายหรือระเบียบขอบังคับของประเทศ จะตองถูกนําไปใชในการบริหารจัดการเพื่อประเมินวาคนทํางานมีความพรอมในการทํางานหรือไม มีขอจํากัดทางสุขภาพในการทํางานแบบใดบาง มีความจําเปนทางการแพทยท่ีจะตอ งพิจารณาจัดใหทํางานตามความเหมาะสมของสภาวะสุขภาพคนทํางาน หรือใหหลีกเล่ียงส่ิงคุกคามตอสุขภาพบางอยางหรือไม โดยการพิจารณานั้นเนนความสําคัญไปที่การปรับสภาพงานใหเหมาะกับสมรรถภาพของคนทํางานกอนเปนสําคัญ ขอมูลเก่ียวกับสุขภาพทั่วไปที่มีผลตอความพรอมในการทํางาน หรือขอมูลผลกระทบตอสุขภาพท่ีเกิดจากหรืออาจเกิดจากส่ิงคุกคามในการทํางานน้ัน การจะนํามาใชหรือเปดเผยแกนายจางไดตองไดรับความยินยอมจากคนทํางานทเี่ ปน เจา ของขอมูลสขุ ภาพนนั้ เสียกอน และทําการเปดเผยเฉพาะสวนท่ีจําเปนในการใชปองกันปญ หาสขุ ภาพแกค นทาํ งานเทา น้นั 35

Danger to a third party11. Where the health condition of the worker and the nature of the tasks performed aresuch as to be likely to endanger the safety of others, the worker must be clearlyinformed of the situation. In the case of a particularly hazardous situation, themanagement and, if so required by national regulations, the competent authority mustalso be informed of the measures necessary to safeguard other persons. In his advice,the occupational health professional must try to reconcile employment of the workerconcerned with the safety or health of others that may be endangered.อันตรายตอ บุคคลทส่ี าม11. เมื่อภาวะสุขภาพของคนทํางานหรือธรรมชาติของงานที่ทํามีแนวโนมวาจะกออันตรายใหเกิดขึ้นกับบุคคลอื่นได คนทํางานผูนั้นจะตองไดรับการแจงขอมูลนี้อยางชัดเจน ในกรณีที่มีแนวโนมจะเปน อนั ตรายอยางมาก ตองมีการบรหิ ารจัดการ และถาการบริหารจัดการดังกลาวถูกกําหนดไวโดยกฎหมายแลว องคกรผูมีอํานาจจะตองไดร บั การแจงขอ มลู ถึงวิธีการปองกันปญหานั้นดวย ในการใหขอเสนอแนะเพ่ือแกไขปญหา ผูประกอบวิชาชีพดานอาชีวอนามัยตองพยายามทําการประนีประนอมรายละเอียดการจางงานบางอยางใหมีการละเวน ถาการทํางานน้ันมีแนวโนมอยา งสงู วาจะกอ ใหเ กดิ อนั ตรายตอ สุขภาพและความปลอดภัยแกบุคคลท่สี าม 36

Biological monitoring and investigations12. Biological tests and other investigations must be chosen for their validity andrelevance for protection of the health of the worker concerned, with due regard to theirsensitivity, their specificity and their predictive value. Occupational health professionalsmust not use screening tests or investigations which are not reliable or which do nothave a sufficient predictive value in relation to the requirements of the work assignment.Where a choice is possible and appropriate, preference must always be given to non-invasive methods and to examinations, which do not involve any danger to the health ofthe worker concerned. An invasive investigation or an examination which involves a riskto the health of the worker concerned may only be advised after an evaluation of thebenefits to the worker and the risks involved. Such an investigation is subject to theworker’s informed consent and must be performed according to the highest professionalstandards. It cannot be justified for insurance purposes or in relation to insuranceclaims.การตรวจติดตามทางชวี ภาพและการตรวจทางการแพทยอน่ื ๆ12. การเลือกการตรวจทางชีวภาพและการตรวจทางการแพทยใดๆ จะตองเลือกจากความเที่ยงตรงและตรงประเด็นในการปกปองสุขภาพคนทํางานในเร่ืองที่พิจารณาเปนหลัก โดยตองพิจารณาถึงความไว ความจําเพาะ และความสามารถในการทํานายผลของการตรวจนั้นดวย ผูประกอบวิชาชีพดา นอาชวี อนามัยจะตองไมใชวิธีการตรวจคัดกรองหรือการตรวจทางการแพทยทไี่ มนาเช่ือถือ หรือมีความสามารถในการทํานายผลไมสูงเพียงพอ ในการตัดสินมอบหมายงานใหคนไดทําหรือไมทํางานตางๆ หากมีทางเลือกได การตรวจตองเลือกวิธีท่ีไมทําใหเจ็บตัวและไมกอใหเกิดความเส่ียงอันตรายตอสุขภาพคนทํางานไวกอน การตรวจท่ีทําใหเจ็บตัวหรือมีความเสี่ยงในการกออันตรายตอสุขภาพจะทําไดก็ตอเม่ือมีการประเมินแลววา ประโยชนที่ไดมีน้ําหนักมากกวาความเสี่ยงที่อาจเกิดข้ึนกับคนทํางาน การตรวจใดๆ ก็ตาม จะตองไดรับความยินยอมจากคนทํางานกอนเสมอ และดําเนินการภายใตมาตรฐานทางวิชาชีพสูงสุด และจะตองไมใชผลการตรวจทางชีวภาพและการตรวจทางการแพทยเหลาน้ี ในการตัดสินการทําประกันสุขภาพหรอื การเรยี กรอ งเอาเงินประกัน 37

Health promotion13. When engaging in health education, health promotion, health screening and publichealth programmes, occupational health professionals must seek the participation ofboth employers and workers in their design and in their implementation. They must alsoprotect the confidentiality of personal health data of the workers, and prevent theirmisuse.การสงเสริมสขุ ภาพ13. เมื่อดําเนินการใหสุขศึกษา สงเสริมสุขภาพ ตรวจคัดกรองผลกระทบตอสุขภาพ และการจัดทําโครงการสาธารณสุข ผูประกอบวิชาชีพดานอาชีวอนามัยจะตองพยายามทําใหเกิดความรวมมือทั้งจากนายจางและคนทํางาน ในการออกแบบและการนําไปปฏิบัติ ซ่ึงการดําเนินกิจกรรมจะตองมีการปกปดขอมูลสุขภาพสวนบุคคลของคนทํางานไวเปนความลับ และปองกันไมใ หมกี ารนาํ ขอมลู ไปใชใ นทางท่ีผิดดว ย 38

Protection of community and environment14. Occupational health professionals must be aware of their role in relation to theprotection of the community and of the environment. With a view to contributing toenvironmental health and public health, occupational health professionals must initiateand participate, as appropriate, in identifying, assessing, advertising and advising for thepurpose of prevention on occupational and environmental hazards arising or which mayresult from operations or processes in the enterprise.การปกปองชมุ ชนและส่ิงแวดลอม14. ผูประกอบวิชาชีพดานอาชีวอนามัยจะตองตระหนักถึงบทบาทของตนเองในการปกปองชุมชนและส่ิงแวดลอม ดวยการดําเนินงานท่ีเช่ือมโยงกับมุมมองของศาสตรทางดานอนามัยส่ิงแวดลอมและสาธารณสุข ผูประกอบวิชาชีพทางดานอาชีวอนามัยจะตองริเร่ิมและมีสวนรวมในการระบุ ประเมิน ประชาสมั พันธ และใหคาํ แนะนํา โดยมุงหมายเพ่ือปองกันผลกระทบจากสิ่งคุกคามจากการทาํ งานและสิ่งแวดลอม ท่ีอาจเกิดขึ้นจากการดําเนินการหรือกระบวนการทํางานขององคก รทต่ี นทํางานเกี่ยวของอยู 39

Contribution to scientific knowledge15. Occupational health professionals must report objectively to the scientific communityas well as to the public health and labour authorities on new or suspected occupationalhazards. They must also report on new and relevant preventive methods. Occupationalhealth professionals involved in research must design and carry out their activities on asound scientific basis with full professional independence and follow the ethicalprinciples attached to research work and to medical research, including an evaluationby an independent committee on ethics, as appropriate.การมีสว นสนับสนุนความรทู างวิทยาศาสตร15. ผูประกอบวิชาชีพดานอาชีวอนามัยจะตองรายงานขอมูลสูแวดวงวิชาการ หนวยงานสาธารณสุข และองคกรแรงงาน อยางไมมีอคติ เมื่อพบหรือสงสัยวามีส่ิงคุกคามตอสุขภาพจากการทํางานชนดิ ใหมเ กดิ ข้ึน ควรรายงานวิธปี องกันภยั จากส่ิงคุกคามน้ีดวยถามีขอมูล ผูประกอบวิชาชีพดานอาชีวอนามัยท่ีทําวิจัย จะตองออกแบบและดําเนินการวิจัยตามหลักวิทยาศาสตรอยางเปนอิสระทางวิชาชีพ และตามแนวทางจริยธรรมการวิจัย ซึ่งแนวทางจริยธรรมการวิจัยน้ีจะตอ งมปี ระกอบการทาํ วจิ ยั ทุกครัง้ เสมอ และควรผานการพิจารณาจากคณะกรรมการจริยธรรมทดี่ ําเนนิ การโดยอิสระดวย 40

Conditions of execution of the functions of occupational health professionalsเงื่อนไขที่ตองดําเนินการในฐานะผูประกอบวชิ าชีพดา นอาชีวอนามยัCompetence, integrity and impartiality16. Occupational health professionals must always act, as a matter of prime concern, inthe interest of the health and safety of the workers. Occupational health professionalsmust base their judgements on scientific knowledge and technical competence and callupon specialised expert advice as necessary. Occupational health professionals mustrefrain from any judgement, advice or activity which may endanger the trust in theirintegrity and impartiality.ความรูค วามสามารถ, ความม่ันคง และความเท่ยี งธรรม16. ผูประกอบวิชาชีพดานอาชีวอนามัยจะตองแสดงใหเห็นวา มีความสนใจในปญหาสุขภาพและความปลอดภัยของคนทํางานอยูเสมอ ในการทาํ งานนน้ั ผูประกอบวิชาชีพดานอาชีวอนามัยจะดําเนินการตัดสินใจเร่ืองใด ตองอยูบนหลักการความรูทางวิทยาศาสตร และความเปนไปไดในการนําไปปฏิบัติจริง และถาจําเปน ตองรองขอใหผูท่ีมีความเช่ียวชาญมากกวาตนในเรื่องท่ีกําลังพจิ ารณาชว ยใหคําแนะนําแกตนเองดวย ผูประกอบวิชาชีพดานอาชีวอนามัยจะตองละเวนจากการตัดสินใจ การใหคําแนะนํา หรือการกระทําใดๆ ที่จะเปนผลเสียตอความเชื่อม่ันในความมน่ั คงและความเทย่ี งธรรมของตนเอง 41

Professional independence17. Occupational health professionals must seek and maintain full professionalindependence and observe the rules of confidentiality in the execution of their functions.Occupational health professionals must under no circumstances allow their judgementand statements to be influenced by any conflict of interest, in particular when advisingthe employer, the workers or their representatives in the undertaking on occupationalhazards and situations which present evidence of danger to health or safety.ความเปนอิสระทางวิชาชพี17. ผูประกอบวิชาชีพดานอาชีวอนามัยตองแสวงหาและธํารงรักษาไวซึ่งความเปนอิสระทางวิชาชีพ รักษาวินัยในการสรางความเช่ือม่ันตามบทบาทวิชาชีพของตนเอง ผูประกอบวิชาชีพดานอาชีวอนามัยจะตองไมยอมใหภาวะรอบขางใดๆ มามีอิทธิพลบิดเบือนการตัดสินใจของตนได และควรแสดงอยางชัดเจนวาไมมีผลประโยชนทับซอน โดยเฉพาะอยางยิ่งในการใหขอเสนอแนะแกนายจาง คนทํางาน และตัวแทนของคนทํางาน ในการจัดการกับส่ิงคุกคามตอสุขภาพในที่ทํางาน และในการแสดงขอมูลท่ีบงช้ีถึงสิ่งที่เปนอันตรายตอสุขภาพและความปลอดภัย 42

Equity, non-discrimination and communication18. The occupational health professionals must build a relationship of trust, confidenceand equity with the people to whom they provide occupational health services. Allworkers should be treated in an equitable manner, without any form of discrimination asregards their condition, their convictions or the reason which led to the consultation ofthe occupational health professionals. Occupational health professionals must establishand maintain clear channels of communication among themselves, the seniormanagement responsible for decisions at the highest level about the conditions and theorganisation of work and the working environment in the undertaking, and with theworkers’ representatives.ความเทาเทียม, ไมแบง แยก และการติดตอ ส่ือสาร18. ผูประกอบวิชาชีพดานอาชีวอนามัยจะตองสรางความเช่ือถือ ความไววางใจ และความเทาเทยี มในการดําเนินงานกับบุคคลทุกคนท่ีมารับบริการทางอาชีวอนามัยกับตนเอง คนทํางานทุกคนจะตองไดรับการปฏิบัติอยางเทาเทียม ไมมีการแบงแยก ไมวาจากเง่ือนไขปจจัยหรือเหตุผลท่ที ําใหเ ขาตองมารับการปรึกษาเหตุผลใดกต็ าม ผูประกอบวิชาชพี ดานอาชีวอนามัยจะตองสรางและธาํ รงรกั ษาชองทางการติดตอ สอื่ สารที่ชดั เจน กบั ผปู ระกอบวิชาชีพดานอาชีวอนามัยดวยกันผบู ริหารระดบั สูงขององคก รท่มี อี าํ นาจในการตดั สนิ ใจสงู สุดในการแกไขปญหาสุขภาพท่ีเกิดจากสภาพแวดลอ มการทาํ งาน รวมถงึ ตัวแทนของคนทาํ งานดว ย 43