รายงานการวิจยั ในชน้ั เรียน การพัฒนาความสามารถในการจับใจความสำคัญวรรณคดขี องนักเรยี น ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านโกตาบารโู ดยใช้แบบฝกึ เสริมทกั ษะ การอา่ นจบั ใจความวรรณคดี เรอ่ื ง ราชาธิราช ตอน สมงิ พระรามอาสา โดย นางสาวปยิ ะดา เบญ็ เหลบ็ รายงานการวจิ ยั นีเ้ ป็นส่วนหน่ึงของรายวิชาการปฏบิ ตั ิการสอนในสถานศกึ ษา 2 ระดบั ปริญญาตรี สาขาวชิ าภาษาไทยครศุ าสตรบัณฑติ คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ยะลา ปีการศกึ ษา 2564
รายงานการวิจยั ในชน้ั เรียน การพัฒนาความสามารถในการจับใจความสำคัญวรรณคดขี องนักเรยี น ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านโกตาบารโู ดยใช้แบบฝกึ เสริมทกั ษะ การอา่ นจบั ใจความวรรณคดี เรอ่ื ง ราชาธิราช ตอน สมงิ พระรามอาสา โดย นางสาวปยิ ะดา เบญ็ เหลบ็ รายงานการวจิ ยั นีเ้ ป็นส่วนหน่ึงของรายวิชาการปฏบิ ตั ิการสอนในสถานศกึ ษา 2 ระดบั ปริญญาตรี สาขาวชิ าภาษาไทยครศุ าสตรบัณฑติ คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ยะลา ปีการศกึ ษา 2564
ชอื่ วิจยั การพฒั นาความสามารถในการจับใจความสำคญั วรรณคดขี องนักเรยี น ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 โรงเรยี นบ้านโกตาบารู โดยใช้แบบฝึกเสรมิ ทกั ษะ ผู้วิจัย การอา่ นจบั ใจความวรรณคดี เรื่องราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา สาขาวิชา นางสาวปิยะดา เบ็ญเหล็บ หลกั สูตรครศุ าสตรบัณฑติ สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา คณะกรรมการทปี่ รึกษา กรรมการ (อาจารย์จิตติขวญั ภู่พนั ธ์ตระกลู ) (ประธานหลกั สูตร) กรรมการ (อาจารยซ์ ลั มา รตั นเยี่ยม) (อาจารยน์ เิ ทศก์ประจำหลักสตู ร) ..............................................กรรมการ (.......................................................) (อาจารยฝ์ ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชพี ครู) กรรมการ (นางณภทั ร เบลเลอร์ (ครูพ่ีเล้ียง) รายงานการวิจัยนเ้ี ปน็ ส่วนหนึ่งของรายวิชาการปฏิบัตกิ ารสอนในสถานศกึ ษา 2 ระดบั ปริญญาตรี หลกั สตู รครุศาสตรบัณฑิตสาขาวชิ าภาษาไทย คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ยะลา ปีการศึกษา 2564
ก ชือ่ วิจัย การพัฒนาความสามารถในการจับใจความสำคัญวรรณคดขี องนักเรยี น ผวู้ ิจยั ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนบา้ นโกตาบารู โดยใชแ้ บบฝึกเสรมิ ทกั ษะ สาขาวชิ า การอา่ นจับใจความวรรณคดี เร่อื งราชาธริ าช ตอน สมิงพระรามอาสา ปกี ารศึกษา นางสาวปิยะดา เบญ็ เหลบ็ หลักสตู รครศุ าสตรบณั ฑติ สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา 2564 บทคดั ยอ่ การวิจัยในชั้นเรียนเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาความสามารถในการอ่านจับใจความ สำคัญของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนบ้านโกตาบารู และ 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านโกตาบารูที่มีต่อแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความ วรรณคดี กลมุ่ เป้าหมายทีใ่ ช้ในการวิจยั ครงั้ น้ีเปน็ นักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 โรงเรยี นบ้านโกตาบารู อำเภอรามัน จงั หวดั ยะลา จำนวน 11 คน เครอื่ งมอื ทใี่ ช้ในการวจิ ัย ได้แก่ 1) แผนการจดั การเรียนรู้การพัฒนาความสามารถในการอ่าน จับใจความสำคัญพัฒนาความสามารถในการจับใจความสำคัญวรรณคดี เรื่องราชาธิราช ตอน สมิง พระรามอาสา 2)แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความสำคัญวรรณคดี (3) แบบประเมินความ เหมาะสมของส่ือและแผนการสอน (4) แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีท่ี 1 ที่มีต่อแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความสำคัญวรรณคดี เรื่อง ราชาธิราช ตอน สมิงพระราม อาสา การวิเคราะห์ข้อมูลให้สถิติค่าเฉลี่ย(������̅) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) และร้อยละพัฒนาการ สมั พทั ธ์(DS%) ผลการวจิ ยั พบว่า (1) ความสามารถในการอ่านจับใจความสำคัญของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 โรงเรียนบ้านโกตาบารู แบบฝึกเสรมิ ทักษะการอ่านจับใจความวรรณคดี เรื่อง ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา สามารพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่านจับใจความสำคัญให้กับนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านโกตาบารูได้โดยมีค่าร้อยละพัฒนาการเฉลี่ย ร้อยละ 62.21 นักเรียน ทั้ง 11 คนมีคะแนนสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดคิดเป็นร้อยละ 100 และนักเรียนมีระดับความพึงพอใจต่อ แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความสำคัญวรรณคดี เรื่องราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสาโดย ภาพรวมมีระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก (������̅ = 4.25, ������. ������. = 0.46) สรุปได้ว่าความพึงพอใจ ระดับมาก
ข กติ ตกิ รรมประกาศ การวจิ ัยครั้งนีส้ ำเร็จไดด้ ว้ ยความอนุเคราะห์ช่วยเหลืออยา่ งดจี าก อาจารยจ์ ติ ติขวญั ภพู่ ันธ์ ตระกูล อาจารย์ซลั มา รตั นเยย่ี ม และคุณครณู ภทั ร เบลเลอร์ ทก่ี รุณาใหค้ วามชว่ ยเหลือช้แี นะและ ใหค้ ำแนะนำทเี่ ป็นประโยชน์อยา่ งย่งิ ขอขอบคณุ เป็นอยา่ งสูงไว้ ณ โอกาสน้ี ขอขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่านที่ให้ความอนุเคราะห์ในการตรวจสอบและให้คำแนะนำ แก้ไขเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา รวมทั้งข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ต่อการวิจัยในครั้งนี้ ขอขอบคุณ ครูพี่เลี่ยง และท่านผู้อำนวยการ โรงเรียนบ้านโกตาบารู ที่อนุญาตให้ผู้วิจัยดำเนินการวิจัยเก็บ รวบรวมขอ้ มลู และให้ความอนเุ คราะห์ในเรือ่ งตา่ ง ๆ จนงานสำเรจ็ ไปได้ด้วยดี ขอขอบคุณครูและนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านโกตาบารูที่ให้ความร่วมมือใน การศึกษาค้นควา้ ทดลอง และเกบ็ รวบรวมข้อมูลในครั้งนี้ สุดท้ายนี้ ขอขอบคุณบิดา มารดา และเพื่อนที่คอยเป็นกำลังใจและให้ความช่วยเหลือตลอด ระยะเวลา 1 ปกี ารศึกษา จนทำใหก้ ารทำวิจัยครั้งน้ีประสบความสำเร็จ ลลุ ว่ งไปไดด้ ้วยดี ปยิ ะดา เบ็ญเหล็บ มกราคม 2565
ค สารบญั หน้า บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบญั ค สารบญั ตาราง ฉ บทท่ี 1 บทนำ 1 1.1 ช่อื โครงการวิจัย 1 1.2 ทม่ี าและวตั ถุประสงค์ 1 1.3 วัตถปุ ระสงค์ของโครงการวจิ ัย 3 1.4 ขอบเขตของการวจิ ยั 3 1.5 เครื่องมือที่ใช้ในการวจิ ัย 3 1.6 สมมติฐาน 3 1.7 นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ 4 1.8 กรอบแนวคิดของโครงการวจิ ยั 4 1.9 ผลทคี่ าดวา่ จะไดร้ ับ 4 บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ัยท่ีเกี่ยวข้อง 5 2.1 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย และหลักสตู รสถานศึกษา โรงเรียนบ้านโกตาบารู กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย 6 2.2 การอา่ น 10 2.2.1 ความหมายของการอ่าน 10 2.2.2 ความสำคญั ของการอา่ น 12 2.2.3 จดุ ม่งุ หมายและวัตถุประสงคข์ องการอา่ น 14 2.2.4 ประเภทการอา่ น 16
ง สารบญั 2.3 การอ่านจบั ใจความ หน้า 2.3.1 ความหมายของการอา่ นจับใจความสำคญั 20 2.3.2 ความสำคญั ของการอา่ นจับใจความสำคัญ 20 2.3.3 จดุ มุ่งหมายของการอา่ นจับใจความสำคญั 21 2.3.4 ประเภทของการอา่ นจับใจความสำคญั 22 2.3.5 องค์ประกอบของการอ่านจบั ใจความสำคญั 24 2.3.6 เกณฑ์การวดั และประเมินผลความเขา้ ใจในการอา่ น 25 จบั ใจความสำคัญ 2.4 แบบฝกึ 27 2.4.1 ความหมายของแบบฝึก 29 2.4.2 ความสำคญั ของแบบฝึก 29 2.4.3 องค์ประกอบของแบบฝึก 29 2.4.4 ลกั ษณะของแบบฝกึ ทด่ี ี 30 2.4.5 ประโยชน์ของแบบฝึก 31 2.4.6 ทฤษฎี จติ วิทยาในการสรา้ งแบบฝึก 34 2.4.7 การสร้างแบบฝกึ 36 2.4.8 การหาประสทิ ธภิ าพของแบบฝกึ 38 2.5 งานวจิ ยั ทีเ่ กี่ยวข้องกบั การอ่านจบั ใจความสำคัญ 40 บทที่ 3 วิธีดำเนินการวจิ ยั 41 46 3.1 กลมุ่ เป้าหมาย 46 46 3.2 เครื่องมือท่ีใช้ในการวจิ ัย 47 49 3.3 ขั้นตอนการสรา้ งและการหาประสิทธิภาพของเคร่ืองมือที่ใชใ้ นการวจิ ัย 50 50 3.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล 3.5 การวิเคราะห์ข้อมลู 3.6 สถิตทิ ีใ่ ช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มลู .
จ สารบญั หน้า บทท่ี 4 ผลการวจิ ัย 54 4.1 สญั ลักษณท์ ่ีใชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมลู 54 4.2 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล 54 ตอนที่ 1 ผลการวเิ คราะห์ การพัฒนาความสามารถในการจับใจความสำคญั วรรณคดี ของนักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรยี นบา้ นโกตาบารู 55 ตอนที่ 2 ผลการวเิ คราะหค์ วามพึงพอใจของนักเรียนชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 1 โรงเรยี นบา้ นโกตาบารู ที่มตี ่อแบบฝึกทกั ษะการอา่ นจับใจความสำคญั วรรณคดี 58 บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 60 1. สรปุ ผล 61 2. อภปิ รายผล 62 3. ขอ้ เสนอแนะ 64 บรรณานุกรม ช ภาคผนวก ซ ภาคผนวก ก รายนามผู้เชย่ี วชาญตรวจสอบเคร่ืองมอื ในการวจิ ยั ฌ ภาคผนวก ข ตารางแสดงค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ของเครอื่ งมือในการวจิ ัย ญ ภาคผนวก ค เครอื่ งมอื ท่ีใชใ้ นการวิจัย ฎ ภาคผนวก ง ผลการวิเคราะห์ข้อมลู ฒ ผลการวิเคราะห์ข้อมลู จากแบบประเมินผเู้ ช่ียวชาญ ณ ผลการวิเคราะห์ข้อมลู คะแนนแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความ วรรณคดี เร่ือง ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา ด ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูลแบบประเมินความพึงพอใจ ท่ีมีต่อแบบฝกึ เสรมิ ทกั ษะการอา่ นจบั ใจความวรรณคดี เรือ่ ง ราชาธริ าช ตอน สมงิ พระรามอาสา ต ภาคผนวก จ ประมวลผลภาพกิจกรรม ถ ประวตั ผิ ู้วจิ ัย ท
ฉ สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า 1. แสดงคะแนนพัฒนาการการใช้แบบฝึกเสรมิ ทักษะการอ่านจับใจความวรรณคดีทง้ั 7 แบบฝึก 55 2. แสดงระดับความพึงพอใจของนักเรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนบ้านโกตาบารู ที่มีตอ่ แบบฝกึ ทกั ษะการอ่านจับใจความสำคญั วรรณคดี 58 3. ตารางแสดงค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ต่อแผนการจัดการเรยี นรู้ เร่ือง การอ่าน จับใจความวรรณคดีเรื่อง ราชาธิราช ตอน สมงิ พระรามอาสา 66 4. ตารางแสดงคา่ ค่าดชั นคี วามสอดคล้อง (IOC) ตอ่ กจิ กรรม เรอ่ื ง การอา่ นจบั ใจความ วรรณคดีเรอ่ื ง ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา 68 5. ตารางแสดงผลดัชนีความสอดคลอ้ ง (IOC) ต่อแผนการจัดการเรียนรู้ เรือ่ ง การอา่ น จบั ใจความวรรณคดีเร่ือง ราชาธริ าช ตอน สมิงพระรามอาสา 181 6. ตารางแสดงพัฒนาการของนกั เรียน 184 7. ตารางแสดงผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู แบบประเมนิ ความพึงพอใจของผเู้ ชีย่ วชาญ ที่มีต่อแบบฝึกเสริมทักษะการอา่ นจับใจความวรรณคดี เรอ่ื ง ราชาธิราช ตอน สมงิ พระรามอาสา 185 8. ตารางแสดงระดับความพงึ พอใจของนักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 1 โรงเรยี น บ้านโกตาบารู ที่มีตอ่ แบบฝึกทกั ษะการอา่ นจับใจความสำคญั วรรณคดี 186
1 บทที่ 1 บทนำ 1.1 ช่อื โครงการวิจยั การพัฒนาความสามารถในการจับใจความสำคัญวรรณคดีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านโกตาบารูโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความวรรณคดี เรื่อง ราชาธิราช ตอน สมงิ พระรามอาสา 1.2 ที่มาและความสำคญั การอ่านเป็นการเริ่มต้นจุดประกายการเรียนรู้เพื่อมุ่งสู่การพูดเก่ง เขียนเก่ง การอ่านเป็น การสอ่ื ความหมายระหว่างผู้เขียนกับผู้อ่าน การอ่านที่ดีจะส่งเสริมให้ชวี ิตพบแต่ความสุข จะเห็นได้ว่า ผู้ที่ประสบความสำเร็จในด้านต่าง ๆ มักจะเป็นนักอ่านที่มีประสิทธิภาพสูง เพราะผู้ที่อ่านอย่างมี ประสิทธิภาพย่อมจะมีหลักการหรือแนวทางที่จะนำตัวเองไปสู่ความสำเร็จได้เป็นอย่างดี ดังนั้น การ อ่านจึงเป็นการเรียนรู้ที่สำคัญที่สุด สามารถเรียนรู้ได้ทุกเรื่อง ทำให้เกิดความคิด เกิดปัญญาที่จะ นำไปใช้ในการดำเนินชีวิตและหน้าที่การงาน (ประสิทธิ์ พรมตัน, 2543 : 40) การอ่านมีความสำคญั ต่อชีวติ มนษุ ย์ตง้ั แตเ่ ล็กจนโต สำคัญต่อการพัฒนาอาชีพและการศกึ ษา นับวา่ การอา่ นเป็นหัวใจสำคัญ ของการเรียนการสอน ดังนั้น การอ่านจึงเป็นสิ่งจำเป็นที่จะต้องฝึกให้เกิดความชำนาญ เพื่อสะสม ประสบการณ์ ทำให้เกิดความคิดที่กว้างขวาง เข้าใจเรื่องที่อ่านรวดเร็วและถูกต้อง (ฉวีวรรณ คูหาภิ นนั ทน์, 2542 : 58) การอา่ นจับใจความสำคัญมีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตมนุษย์ในสังคมโดยเฉพาะอย่างย่ิงใน ยุคปัจจุบัน ซึ่งเป็นยุคของข้อมูลข่าวสารเพราะการอ่านและการฟังจะทำให้ผู้คนได้รับข่าวสารข้อมูล ความรู้และได้รับทราบความเคลื่อนไหว ตลอดจนข้อคิดเห็นต่าง ๆ ของผู้คนในสังคม นอกจากนี้ การ อ่านยังสามารถพัฒนา มนุษย์ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นอีกด้วย ผู้รับสารจะได้รับประโยชน์จากการอ่าน อย่างเต็มที่ถ้าผู้รับสารสามารถรับสารที่ผู้ส่งสารส่งให้อ่านอย่างครบถ้วนและถูกต้อง กระบวนการ สำคัญที่สุดที่จะทำให้ผู้รับสารสามารถรับสารจากเรื่องที่อ่านได้ก็คือการจับใจความ ฉะนั้นการจับ ใจความจึงนับเป็นหัวใจของการอ่าน และเป็นทักษะพื้นฐานที่นักเรียนทุกคนพึงมี เพราะจ ะช่วยให้ เข้าใจเรื่องราวและจุดประสงค์ของผู้ส่งสารได้ดี อีกทั้งเป็นทักษะที่สำคัญที่จำเป็นต้องเน้นฝึกฝนให้ ผู้เรียนเป็นอย่างมาก เนื่องจากการอ่านเป็นกระบวนการสำคัญที่ทำให้ผู้อ่านสร้างความหมายหรือ พัฒนาการวิเคราะห์ ตีความ และทำความเข้าใจกับเรื่องที่อ่านได้ ไม่ว่าจะเป็นการอ่านตำรา หรือการ อ่านในชีวติ ประจำวนั
2 หลักสตู รแกนกลางข้นั พนื้ ฐานกลมุ่ สาระการเรียนรปู้ ระกอบดว้ ย 5 สาระไดแ้ ก่ สาระท่ี 1 การ อา่ น สาระท่ี 2 การเขยี น สาระที่ 3 การฟังการดู และการพดู สาระท่ี 4 หลักการใชภ้ าษา และสาระท่ี 5 วรรณคดีและวรรณกรรม ในสาระการอ่านได้มีการกำหนดตัวชี้วัดที่มุ่งให้นักเรียนได้ฝึกฝนและ พัฒนาทักษะการอ่านจับใจความสำคัญตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ไม่ ว่าจะเป็นการอ่านจับใจความสำคัญนิทาน เรื่องเกี่ยวกับท้องถิ่น ตำนาน เรื่องสั้น เรื่องเล่า ประสบการณ์ นิทานชาดก บทร้องเล่น บทเพลง บทร้อยกรอง บทสนทนา คำสอน บันทึกเหตุการณ์ ข่าว เหตุการณ์ที่สำคัญ บทความ งานเขียนประเภทโน้มน้าว สารคดี บันเทิงคดี วรรณคดีในบทเรียน งานเขียนเชิงสร้างสรรค์ เรื่องราวจากบทเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยหรือสาระอื่น ๆ นว นิยาย วรรณกรรมพื้นบ้าน บทร้อยกรองร่วมสมัย ปาฐกถา พระบรมราโวท เทศนา บทเพลง คำขวัญ และเอกสารทางวิชาการ โดยเรยี งลำดบั จากง่ายไปยากตามช่วงวัยของนกั เรยี น จากตัวอยา่ งดังกล่าวจะเห็นไดว้ ่าหลักสตู รแกนกลางขั้นพน้ื ฐาน 2551 ไมไ่ ด้แต่กำหนดให้อ่าน จับใจความเนื้อหาในชีวิตประจำวันเท่านั้น ยังกำหนดให้นำวรรณคดีมาใช้ประกอบการสอนอ่านจับ ใจความ ทั้งทวรรณคดีที่ปรากฎในแบบเรียนและวรรณคดีที่ไม่ปรากฎในแบบเรียน เพื่อส่งเสริมให้ นักเรียนเรยี นร้วู ัฒนธรรมประเพณีอันดงี ามของชาติ รวมการเปล่ยี นแปลงของยคุ สมัยอกี ด้วย วรรณคดีเรือ่ งราชาธิราช ตอนสมงิ พระรามอาสา เปน็ วรรณคดปี ระเภทรอ้ ยแกว้ เป็นวรรณคดี ที่ถูกกำหนดให้นำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานรายวิชา ภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ซึ่งวรรณคดีที่ถูกบรรจุไว้ในแบบเรียนจะต้องมีความเหมาะสม สอดคล้องกับวัย อีกทั้งยังสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม เพื่อให้นักเรียนสามารถนำไปปรับใช้ใน ชีวิตประจำวันของตนเองได้ ในการศึกษาวรรณคดีเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ผู้เรียนจำเป็นต้องใช้ทักษะการ อ่านจับใจความสำคญั เพอ่ื ให้ผ้เู รียนสามารถเรียนรไู้ ดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพและประสบผลสำเร็จ จากการจัดการเรียนการสอนภาคเรยี นที่ 1 พบว่านักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนบ้าน โกตาบารู มีปัญหาเรื่องการอ่านจับใจความสำคญั ส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรยี นในรายวิชาภาษาไทย และรายวิชาอื่น ๆ เพราะภาษาไทยเป็นพื้นฐานสำคัญของการจัดการเรียนรู้ทุกรายวิชา และยังส่งผล ตอ่ การอา่ นในชวี ิตประจำวนั ของนักเรียน เนื่องจากผรู้ ับสารไมส่ ามารถเขา้ ใจวัตถปุ ระสงค์ของผู้ส่งสาร ทำให้การอ่านไม่มีประสิทธิภาพเทา่ ที่ควร หากนักเรยี นขาดทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ จะส่งผล ระยะยาวตอ่ การดำเนินชีวติ ของนักเรยี น จะทำให้นักเรยี นควรพัฒนา จากปญั หาดังกล่าวผ้วู จิ ยั เล็งเห็นวา่ การอา่ นจบั ใจความสำคัญเป็นความสามารถท่ีนักเรียนพึง มี จึงจัดทำแบบฝึกเสริมทกั ษะการอ่านจับใจความวรรณคดี โดยเลอื กนำวรรณคดีเรื่องราชธิราช ตอน สมิงพระรามมาใช้ เพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่านจับใจความของนักเรียนให้การอ่านมี ประสิทธภิ าพมากยง่ิ ขนึ้
3 1.3 วตั ถุประสงคข์ องโครงการวจิ ัย 1. เพื่อพฒั นาความสามารถในการอา่ นจบั ใจความสำคัญของนกั เรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 โรงเรยี น บา้ นโกตาบารู 2. เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนกั เรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 โรงเรยี นบา้ นโกตาบารูทีม่ ีตอ่ แบบฝกึ ทักษะการอา่ นจบั ใจความวรรณคดี 1.4 ขอบเขตของการวิจยั ด้านประชากร นักเรียนโรงเรยี นบา้ นโกตาบารู อำเภอรามนั จังหวดั ยะลา กลุ่มเปา้ หมาย นกั เรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 โรงเรียนบ้านโกตาบารู จำนวน 11 คน โดยใชป้ ระชากรเป็นกลมุ่ ตวั อย่าง เนอ้ื หา ผูว้ ิจยั ไดด้ ำเนินการทดลองแบบฝกึ ทักษะการอ่านจบั ใจความ เพ่อื พฒั นาความสามารถในการ จับใจความสำคัญวรรณคดีเรือ่ งราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ใช้เวลารวมทง้ั ส้ิน 8 ชว่ั โมง โดยกำหนดเน้ือหาในแผนการจดั การเรยี นรู้ ดังน้ี 1. รอบรเู้ รือ่ งราชาธริ าช ตอนสมงิ พระรามอาสา จำนวน 1 แผน 2. เนื้อหาวรรณคดีเร่อื งราชาธิราช ตอนสมิงพระรามอาสา จำนวน 7 แผน 1.5 เคร่ืองมอื ที่ใช้ในการวิจัย ผู้วจิ ยั ได้ใชเ้ คร่ืองมือในการวิจยั คร้งั นี้ ดังน้ี 1. แผนการจัดการเรียนรู้การพัฒนาความสามารถในการอ่านจับใจความสำคัญเพื่อพัฒนา ความสามารถในการจับใจความสำคัญวรรณคดีเรื่องราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา ของนักเรียน ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 จำนวน 8 แผน 2. แบบฝกึ เสรมิ ทักษะการอา่ นจับใจความวรรณคดี จำนวน 7 แบบฝกึ 3. แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อแบบฝึกทักษะการ อ่านจับใจความสำคัญวรรณคดี 1.6 สมมตฐิ าน ระดบั คะแนนแบบฝึกความสามารถในการอา่ นจับใจความสำคัญของนักเรียน ชนั้ มัธยมศึกษา ปที ่ี 1 เพิม่ ขนึ้ ตามลำดับ
4 1.7 นิยามศัพท์เฉพาะ แบบฝึกทักษะ หมายถึง แบบฝึกที่ใช้พัฒนาความสามารถในการอ่านจับใจความสำคัญ วรรณคดีเร่อื งราชาธริ าช ตอนสมิงพระรามอาสา ทผ่ี วู้ จิ ยั จดั ทำขึน้ เพ่ือพฒั นาความสามารถในการอ่าน จับใจความสำคญั ของนักเรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 โรงเรยี นบา้ นโกตาบารู กลุ่มเป้าหมาย หมายถึง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านโกตาบารู ปีการศึกษา 2564 จำนวน 11 คน แบบทดสอบ หมายถึง แบบวัดระดับความสามารถด้านการอ่านจับใจความสำคัญวรรณคดี เรื่องราชาธิราช ตอนสมิงพระรามอาสาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านโกตาบารู เปน็ ข้อสอบปรนัย 4 ตัวเลอื ก จำนวน 10 ขอ้ แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ หมายถึง แบบวัดระดบั ความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อการใช้ แบบฝกึ ทกั ษะการอ่านจบั ใจความสำคญั วรรณคดี วรรณคดี หมายถงึ วรรณคดี เรื่องราชาธิราช ตอนสมิงพระรามอาสา ความสามารถในการอ่านจับใจความ หมายถึง ความสามารถในการอ่านของนักเรียน ในระดับแปลความ ตีความ ขยายความ จับใจความสำคัญ และสรุปความ โดยวัดได้จากแบบทดสอบ ความเขา้ ใจในการอา่ นภาษาไทยทผี่ ู้วจิ ัยสรา้ งขน้ึ 1.8 กรอบแนวคิดของโครงการวจิ ัย ตวั แปรต้น ตัวแปรตาม แบบฝึกเสริมทกั ษะการอา่ นจับใจความ ความสามารถในการอ่านจับ วรรณคดี เรื่อง ราชาธิราช ตอน สมิงพระราม ใจความวรรณคดี อาสา 1.9 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ไดพ้ ฒั นาความสามารถในการอา่ นจับใจความของนกั เรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนบา้ นโกตาบารู 2. เพอื่ เป็นแนวทางให้กบั ครทู ี่อยากพัฒนาความสามารถในการอ่านจับใจความสำคญั ใหก้ บั นักเรยี น 3. เพอื่ เปน็ แนวการพฒั นาแบบฝกึ ทักษะการอา่ นจบั ใจความสำคญั วรรณคดี
บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ยั ท่เี ก่ียวข้อง วิจัยเรื่อง การพัฒนาความสามารถในการจับใจความสำคัญวรรณคดีของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านโกตาบารูโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความวรรณคดี เรือ่ งราชาธิราช ตอนสมิงพระรามอาสาผู้วิจยั ไดศ้ ึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกบั การวจิ ัย ดงั น้ี 2.1 หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย และหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนบ้านโกตาบารู กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย 2.2 การอ่าน 2.2.1 ความหมายของการอา่ น 2.2.2 ความสำคญั ของการอา่ น 2.2.3 จดุ มุง่ หมายและวัตถปุ ระสงค์ของการอา่ น 2.2.4 ประเภทการอา่ น 2.3 การอ่านจบั ใจความ 2.3.1 ความสำคญั ของการอา่ นจับใจความสำคญั 2.3.2 ความหมายของการอา่ นจบั ใจความสำคญั 2.3.3 จดุ มุ่งหมายของการอ่านจับใจความสำคญั 2.3.4 ประเภทของการอา่ นจับใจความสำคัญ 2.3.5 องค์ประกอบของการอ่านจับใจความสำคัญ 2.3.6 เกณฑ์การวดั และประเมนิ ผลความเขา้ ใจในการอ่านจับใจความสำคญั 2.4 แบบฝกึ 2.4.1 ความหมายของแบบฝึก 2.4.2 ความสำคัญของแบบฝึก 2.4.3 องค์ประกอบของแบบฝกึ 2.4.4 ลักษณะของแบบฝกึ ทด่ี ี 2.4.5 ประโยชนข์ องแบบฝึก 2.4.6 ทฤษฎี จติ วิทยาในการสรา้ งแบบฝกึ 2.4.7 การสร้างแบบฝกึ 2.4.8 การหาประสิทธิภาพของแบบฝกึ 2.5 งานวจิ ยั ท่ีเก่ียวข้องกับการอา่ นจับใจความสำคญั
6 2.1 หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย และหลักสตู รสถานศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นโกตาบารู กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ทำไมต้องเรียนภาษาไทย ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ของชาติเป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอันก่อให้เกิดความเป็น เอกภาพและเสริมสร้างบคุ ลกิ ภาพของคนในชาติให้มีความเป็นไทย เป็นเครื่องมือในการตดิ ต่อส่ือสาร เพือ่ สร้างความเข้าใจและความสัมพนั ธ์ทดี่ ีต่อกัน ทำใหส้ ามารถประกอบกิจธุระ การงานและดำรงชีวิต รว่ มกัน ในสังคมประชาธปิ ไตยได้อย่างสันตสิ ุข และเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ประสบการณ์ จากแหล่ง ข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ เพื่อพัฒนาความรู้ พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ และ สร้างสรรค์ให้ทัน ต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนำไปใช้ในการ พัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังเป็นสื่อแสดง ภูมิปัญญาของบรรพบุรุษด้าน วัฒนธรรม ประเพณีและสุนทรียภาพเป็นสมบัติล้ำค่าควรแก่การเรียน อนุรกั ษ์ และสืบสานให้คงอยูค่ ู่ ชาติไทยตลอดไป เรยี นรอู้ ะไรในภาษาไทย ภาษาไทยเป็นทักษะที่ต้องฝึกฝนจนเกิดความชำนาญในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร การเรียนรู้ อย่างมีประสิทธภิ าพ และเพ่อื นำไปใช้ในชวี ติ จริง การอ่าน การอ่านออกเสียงคำ ประโยค การอ่านบทร้อยแก้ว คำประพันธ์ชนิดต่าง ๆ การอ่านในใจเพื่อสร้างความเข้าใจ และการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้จากสิ่งที่อ่าน เพื่อนำไป ปรับใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน การเขียน การเขียนสะกดคำตามอักขรวิธี การเขียนสื่อสารโดยใช้ถ้อยคำและรูปแบบ ต่าง ๆ ของการเขียน ซึ่งรวมถึงการเขียนเรียงความ ย่อความ รายงานชนิดต่าง ๆ การเขียนตาม จนิ ตนาการ วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ และเขยี นเชงิ สร้างสรรค์ การฟัง การดู และการพูด การฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ การพูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก พูดลำดับเรื่องราวต่าง ๆ อย่างเป็นเหตุเป็นผล การพูดในโอกาสตา่ ง ๆ ทั้งเป็นทางการและ ไมเ่ ปน็ ทางการ และการพูดเพอ่ื โน้มนา้ วใจ หลักการใช้ภาษาไทย ธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของภาษาไทย การใช้ภาษาให้ถูกต้อง เหมาะสมกับโอกาสและบคุ คล การแต่งบทประพันธ์ประเภทต่าง และอิทธิพลของภาษาต่างประเทศ ในภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อศึกษาข้อมูล แนวความคิดคุณค่าของ งานประพันธ์ และความเพลิดเพลิน การเรียนรู้และทำความเข้าใจบทเห่ บทร้องเล่นของเด็ก เพลงพื้นบ้าน ที่เป็นภูมิปัญญาที่มีคุณค่าของไทย ซึ่งได้ถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด
7 ค่านิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี เรื่องราวของสังคมในอดีต และความงดงามของภาษา เพื่อให้เกิด ความซาบซง้ึ และภมู ิใจในบรรพบรุ ษุ ทไ่ี ด้สงั่ สมสืบทอดมาจนถงึ ปจั จบุ นั สาระการเรียนรู้ มาตรฐาน และตวั ชว้ี ดั สาระที่ 1 การอ่าน มาตรฐาน ท 1.1 ใชก้ ระบวนการอา่ นสร้างความรู้ และความคิดเพื่อนำไปใชต้ ัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนนิ ชีวติ และมนี ิสัยรักการอ่าน ตัวช้วี ดั 1. อา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ และบทร้อยกรองได้ถูกตอ้ งเหมาะสมกบั เรอ่ื งท่ีอา่ น 2. จับใจความสำคัญจากเรือ่ งท่อี ่าน 3. ระบุเหตแุ ละผล และขอ้ เท็จจรงิ กับข้อคดิ เห็นจากเรื่องที่อา่ น 4. ระบแุ ละอธบิ ายคำเปรียบเทยี บและคำทมี่ ีหลายความหมายในบรบิ ทต่างๆ จาก การอ่าน 5. ตคี วามคำยากในเอกสารวิชาการ โดยพิจารณาจากบริบท 6. ระบขุ อ้ สังเกต และความสมเหตสุ มผลของงานเขียนประเภทชักจูงโนม้ น้าวใจ 7. ปฏบิ ัตติ ามคูม่ ือแนะนำวิธีการใช้งานของเครื่องมือ หรอื เคร่ืองใชใ้ นระดบั ทย่ี ากข้นึ 8. วิเคราะหค์ ุณคา่ ท่ีได้รบั จากการอา่ นงานเขยี นอยา่ งหลากหลาย เพ่ือนำไปใช้ แก้ปัญหาในชีวติ 9. มีมารยาทในการอ่าน สาระที่ 2 การเขียน มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และ เขียนเรื่องราว ในรูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงาน การศึกษาค้นคว้าอย่างมี ประสทิ ธภิ าพ ตวั ชี้วดั 1. คัดลายมอื ตัวบรรจงครึ่งบรรทัด 2. เขยี นส่อื สารโดยใชถ้ อ้ ยคำถูกต้อง ชัดเจนเหมาะสมและสละสลวย 3. เขยี นบรรยายประสบการณ์โดยระบสุ าระสำคัญและรายละเอยี ดสนบั สนนุ 4. เขยี นเรียงความ 5. เขียนยอ่ ความจากเรื่องท่ีอ่าน 6. เขียนแสดงความคดิ เหน็ เก่ียวกับสาระจากส่ือที่ไดร้ บั 7. เขียนจดหมายส่วนตวั และจดหมายกจิ ธุระ 8.เขยี นรายงานการศึกษาคน้ ควา้ และโครงงาน
8 9. มีมารยาทในการเขียน สาระที่ 3 การฟงั การดู และการพดู มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคดิ และความรู้สึกในโอกาสตา่ ง ๆ อยา่ งมีวจิ ารณญาณและสร้างสรรค์ ตัวช้วี ดั 1. พูดสรปุ ใจความสำคัญของเร่อื งที่ฟงั และดู 2. เลา่ เรอ่ื งยอ่ จากเรื่องทฟ่ี ังและดู 3. พดู แสดงความคิดเห็นอยา่ งสร้างสรรค์เกย่ี วกบั เรื่องท่ีฟังและดู 4. ประเมินความนา่ เชื่อถือของสอื่ ที่มีเน้ือหาโนม้ นา้ วใจ 5. พูดรายงานเร่อื งหรอื ประเด็นท่ศี กึ ษาคนั คว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา 6. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด สาระที่ 4 หลักการใชภ้ าษาไทย มาตรฐาน ท 4.1 เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลีย่ นแปลง ของภาษาและพลังของภาษา ภมู ิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบตั ิ ของชาติ ตัวชว้ี ดั 1. อธบิ ายลกั ษณะของเสยี งในภาษาไทย 2. สร้างคำในภาษาไทย 3. วิเคราะห์ชนิดและหน้าท่ีของคำในประโยค 4. วเิ คราะหค์ วามแตกตา่ งของภาษาพูดและภาษาเขียน 5. แต่งบทร้อยกรอง 6. จำแนกและใชส้ ำนวนทีเ่ ป็นคำพังเพย และสุภาษิต สาระที 5 วรรณคดแี ละวรรณกรรม มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเหน็ วิจารณว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมไทย อย่างเห็นคุณคา่ และนำมาประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ จริง ตวั ชว้ี ัด 1. สรุปเน้อื หาวรรณคดแี ละวรรณกรรมท่ีอา่ น 2.วเิ คราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน พร้อมยกเหตผุ ลประกอบ 3. อธบิ ายคุณค่าของวรรณคดี และวรรณกรรมที่อ่าน 4. สรุปความรู้ และข้อคิดจากการอ่าน เพือ่ ประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตจรงิ 5. ทอ่ งจำบทอาขยานตามท่ีกำหนด และบทร้อยกรองท่ีมคี ุณคา่ ตามความสนใจ
9
10 คณุ ภาพผู้เรียน จบช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็นทำนองเสนาะได้ถูกต้อง เข้าใจ ความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัย จับใจความสำคัญและรายละเอียดของสิ่งที่อ่าน แสดง ความคิดเห็นและข้อโต้แย้งเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน และเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด ย่อความ เขียน รายงานจากสิ่งที่อ่านได้ วิเคราะห์ วิจารณ์อย่างมีเหตุผล ลำดับความอย่างมีขั้นตอนและความเป็นไป ไดข้ องเรอ่ื งทอี่ า่ น รวมท้ังประเมินความถกู ตอ้ งของข้อมูลที่ใชส้ นบั สนนุ จากเรื่องที่อา่ น เขียนสื่อสารด้วยลายมือที่อ่านง่ายชัดเจน ใช้ถ้อยคำได้ถูกต้องเหมาะสมตามระดับ ภาษา เขียนคำขวัญ คำคม คำอวยพรในโอกาสต่าง ๆ โฆษณา คติพจน์ สุนทรพจน์ ชีวประวัติ อัตชีวประวัติและประสบการณ์ต่าง ๆ เขียนย่อความ จดหมายกิจธุระ แบบกรอกสมัครงาน เขียน วิเคราะห์ วิจารณ์และแสดงความรู้ความคิดหรือโต้แย้งอย่างมีเหตุผล เขียนรายงานจากการศึกษา ค้นควา้ และเขียนโครงงาน พูดแสดงความคิดเหน็ วเิ คราะห์ วิจารณ์ ประเมนิ ส่ิงท่ไี ด้จากการฟังและดู นำข้อคิดไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบ มศี ิลปะในการพูด พูดในโอกาสต่าง ๆ ไดต้ รงตามวัตถุประสงค์และพูดโนม้ นา้ วอย่างมเี หตุผลน่าเช่ือถือ มีมารยาทในการฟัง ดู และพดู เข้าใจและใชค้ ำราชาศัพท์ คำบาลี สันสกฤต คำภาษาถิ่น คำภาษาต่างประเทศ คำทับ ศัพท์ และศัพท์บัญญัติในภาษาไทย วิเคราะห์ความแตกต่างในภาษาพูด ภาษาเขียน โครงสร้างของ ประโยครวมประโยคซ้อน ลักษณะภาษาที่เป็นทางการ กึ่งทางการและไม่เป็นทางการ แต่งบทร้อย กรองประเภทกลอนสภุ าพ กาพย์ และโคลงสสี่ ุภาพ สรุปเนอื้ หาจากวรรณคดแี ละวรรณกรรมท่ีอา่ น วเิ คราะห์ตัวละครสำคญั วิถีชีวติ ไทย และคณุ ค่าท่ีได้รบั จากวรรณคดี วรรณกรรมและบทอาขยาน พรอ้ มทงั้ สรปุ ความรู้ ข้อคิดเพอ่ื นำไป ประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตจรงิ
11 2.2 การอา่ น 2.2.1 ความหมายของการอ่าน นิรันดร์ สุขปรีดี (2540 : 1) ให้ความหมายของการอ่านว่า การอ่านคือ การเข้าใจ ความหมายของตัวละคร หรือสัญลักษณ์ ซึ่งจะต้องอาศัยความสามารถในการแปลความ การตีความ การขยายความ การจับใจความสำคัญและการสรุปความ เรวดี อาษานาม (2537 : 77-78) ได้ให้ความหมายของการอ่าน ดงั นี้ การอ่าน หมายถึง กระบวนการในการแบ่งความหมายของตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์ที่มีการจดบันทึกอย่างมีเหตุผลและเข้าใจความหมายของสิ่งที่อ่าน ตลอดจนการพิจารณา เลือกความหมายที่ดีท่ีสดุ ขนึ้ ไปใช้เป็นประโยชน์ด้วย จะเหน็ ไดว้ า่ การอ่านไมใ่ ช่การรับเอาความคิดจาก หนังสอื ทอ่ี ่านเฉยๆ ผอู้ า่ นไม่ใช่ผู้รบั แต่เป็นผู้กระทำ สรุปได้วา่ ผู้อ่านเปน็ ผูใ้ ช้ความคิดไตรต่ รองเรื่องราว ที่ตนเองอ่านเสียก่อน แล้วจึงรับเอาใจความของเรื่องที่ตนอ่านไปเก็บไว้หรือนำไปใช้ให้เป็นประโยชน์ ต่อไป ดังนน้ั หวั ใจของการอา่ นจึงอยู่ทก่ี ารเข้าใจความหมายของคำ การอ่านในโรงเรียนประถมที่ปรากฏก็คือการที่ครูใหน้ ักเรียนคนหนึ่งอ่านประโยค หรือข้อความนำแล้วให้คนอื่น ๆ อ่านตาม ผู้อ่านนำตั้งใจอ่านให้เสียงดังได้ยินทั่วทั้งชั้นเพื่อเพื่อน จะอ่านตามได้ถูก ผู้อ่านตามมีหน้าที่อ่านอย่างเดียว ตาอาจจะมองสิ่งต่าง รอบตัวหูฟังเพื่อนคุย ฯลฯ อ่านแล้วจำไม่ได้และไม่รู้ความหมายของข้อความที่อ่าน ถ้าวิเคราะห์ตามความหมายข้างต้นแล้ว ลักษณะแบบนยี้ ังไมเ่ รยี กวา่ อ่านไดอ้ ย่างสมบูรณ์ การที่คนเราจะอ่านหนังสือได้เร็วหรือช้านั้น องค์ประกอบอย่างหนึ่งของการอ่าน คือ การเคล่อื นไหวสายตาในการอ่านและความเข้าใจความหมายอย่างถ่องแท้ ในการอา่ นจะต้องมีการ ฝึกอยู่เสมอและถูกต้องตามวิธีการด้วย ความเข้าใจความหมายของการอ่านมีความหมายแตกต่างกัน เม่อื เอ่ยถึงการอ่านต้องมีความเข้าใจมาเก่ียวข้องคือ เข้าใจในถ้อยคำที่อา่ น เช่น ถา้ มเี ด็กเห็นคำว่า กา แล้วเปล่งเสียงว่ากา ก็เข้าใจว่าเป็นการอ่าน เช่นนี้เป็นการเข้าใจที่ไม่ถูกต้อง เพราะเด็กอาจไม่เข้าใจ กา ที่เปล่งเสียงออกมานั้น หมายถึง นกชนิดหนึ่งที่มสี ีดำ ร้อง กา กา กา หรืออาจหมายถึง กาที่ใช้ใน การต้มน้ำ หรืออาจไม่เข้าใจทั้งสองความหมายก็ได้ เมื่อเป็นเช่นนี้ จึงยังไม่เรียกว่าการอ่าน แต่เป็น เพียงการเปล่งเสียงเท่านน้ั ดงั นัน้ สิ่งทนี่ กั เรียนควรเข้าใจกับความหมายของการอ่าน ถ้าเป็นการอ่านที่ ต้องเข้าใจความหมายของคำ ซึง่ จะทำให้นกั เรยี นสามารถอ่านเรอื่ งและสรปุ เรื่องให้ถูกต้อง แมน้ มาศ ชวลติ (2543: 232) ไดใ้ ห้แนวคดิ เกี่ยวกบั การอ่านว่า การอ่านคอื การใช้ ศักยภาพของสมองเพื่อการรับรู้ แปลความหมายและความเข้าใจปรากฎการณ์ของข้อมูลข่าวสาร เรื่องราว ประสบการณ์ความคิด ความรู้สึก จินตนาการ ดลอดจนสาระอื่น 1 ซึ่งมีผู้แสดงออกโดย สัญลักษณ์อักษรที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้น เพื่อสื่อการอ่านเป็นทักษะพื้นฐาน สรูปใด้ว่า การอ่าน คือ การ
12 แปลความหมายจากตัวหนังสือ โดยผ่านทางสายตา แล้วสามารถสรุปสาระสำคัญที่ได้จากการอ่าน นำไปใช้ประโชน์ตอ่ ตนเองและสงั คม กรมวชิ าการ (2545 : 2) ให้ความหมายของการอ่านวา่ การอ่านเป็นกระบวนการส่ือ ความหมายระหว่างผู้เขียนกับผู้อ่าน โดยการแปลความหมายจากตัวอักษรหรือสัญลักษณ์ให้ได้ ความหมายที่ถูกต้อง ชัดเจน การอ่านจึงเป็นเครื่องมือพื้นฐานที่สำคัญสำหรับนักเรียนในการเรียน ภาษาไมว่ า่ จะเรียนในหรือนอกห้องเรียน และท่สี ำคัญเป็นทักษะเดียวทีจ่ ะคงอยู่ตลอดได้นานท่ีสุด ซึ่ง เป็นเครอ่ื งมือแสวงหาความรู้สำหรับผเู้ รยี น สมศักดิ์ สินธเวชญ์ (2545: 11) ได้ให้ความหมายเกี่ยวกับการอ่านว่า การอ่านคือ การแปลความหมายของตัวอักษรออกมาเป็นความคิดและนำความคิดไปใช้ให้เป็นประโยชน์ ดังน้ัน หัวใจของการอา่ นอยู่ท่กี ารเขา้ ใจความหมายของคำ ราชบัณฑิตยสถาน (2546: 1364) ได้ให้ความหมายของคำว่า อ่าน หมายถึงว่า ตามตวั หนงั สือ ถ้าออกเสียงด้วยเรยี กว่า อ่านออกเสยี ง ถ้าไมอ่ ่านออกเสียงเรียกว่า อา่ นในใจ จุไรรัตน์ ลักษณะศิริ และบาหยัน อิ่มสำราญ (2547: 91) กล่าวว่า การอ่าน หมายถึงการรับสารในรูปของตัวอักษรมาแปลเป็นความรู้ ความเข้าใจของผู้อ่านโดยผ่านการคิด ประสบการณแ์ ละความเชอื่ ของคน สุพรรณสริ ิ วัฑฒกานน์ (2548: 10) ใหค้ วามหมายเกยี่ วกบั การอ่านวา่ การอา่ นคือ การเข้าใจความหมายของข้อเขียนเป็นหน้ำที่ที่ผู้อำนจะต้องจึงเอาความหมายออกมาจากเรื่องที่อ่าน ให้ได้การที่อ่านแล้วไม่เข้าใจนั้น มีปัจจัยหลายประการ ได้แก่ ภาษาที่ใช้ ระดับของภาษาความรู้ พื้นฐานความเช่ือ แนวคิด และทัศนคดิระหว่างผู้เขียนและผู้อ่าน ผู้อ่านที่ดีต้องรู้จักวิธีอ่านเชงิ รุกและ วเิ คราะห์หาสาเหตุวา่ ปัจจยั ทเ่ี ป็นอุปสรรคตอ่ การอา่ นของตนคืออะไร สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน(2550: 1) เสนอว่า การอ่านคือการ เข้าใจในถ้อยคำประโยค ข้อความและเรื่องราวที่อ่านโดยสามารถอธิบายความหมายของคำ เล่าเรื่อง สรปุ เร่ือง และบอกประเดน็ สำคญั ของเรอ่ื งได้ถกู ต้อง วรรณี โสมประยูร (2553: 128) กล่าวว่า การอ่านเป็นกระบวนการทางสมองท่ี ต้องใช้สายตาสัมผัสตัวอักษรหรอื สิ่งพิมพ์อื่น ๆ รับรู้และเข้าใจความหมายของคำหรือสญั ลักษณ์ โดย ออกมาเป็นความหมายทีใ่ ช้สื่อความคิดและความรู้ระหว่างผู้เขียนกับผู้อ่านให้เข้าใจตรงกันและผูอ้ ่าน สามารถนำเอาความหมายนนั้ ๆ ใช้ใหเ้ ป็นประโยชนไ์ ด้ จากความหมายของการอ่านดังกล่าวสรุปได้ว่า การอ่านหมายถึง กระบวนการที่ ผู้อ่านรับสารผ่านตวั อักษรที่ได้รับจากผู้เขียนโดยผ่านการอ่าน แล้วนำมาวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อให้เข้าใจ ความหมายและวัตถุประสงคข์ องผูเ้ ขยี น
13 2.2.2 ความสำคัญของการอ่าน วรรณี โสมประยูร (2544 : 121-123) ได้อธิบายถึงความสำคัญของการอ่าน หนังสือมีผลต่อผู้อ่าน 2 ประการ คือ ประการแรก อ่านแล้วได้ “อรรถ” ประการที่สอง อ่านแล้วได้ “รส” ถ้าผู้อ่านสำนึกอยู่ตลอดเวลาถึงผลสำคัญของสองประการนี้ ย่อมจะได้รับประโยชน์อย่างเต็มที่ จากหนังสือตรงตามเจตนารมณ์ของผู้เขียนเสมอ การอ่านมีความสำคัญต่อทุกคนทุกเพศทุกวัยและทุก สาขาอาชพี ซง่ึ พอสรุปไดด้ งั นี้ 1. การอ่านเป็นเครื่องมือที่สำคัญยิ่งในการศึกษาเล่าเรียนทุกระดับ ผู้เรียน จำเป็นต้องอาศัยทักษะการอ่านทำความเข้าใจเนื้อหาสาระของวิชาการต่าง ๆ เพื่อให้ตนเองได้รับ ความรู้และประสบการณ์ตามทตี่ ้องการ 2. ในชวี ิตประจำวันโดยท่วั ไป คนเราตอ้ งอาศัยการอา่ นตดิ ต่อสอื่ สาร เพื่อทำความ เข้าใจกับบุคคลอื่นร่วมไปกับทักษะการฟัง การพูด การเขียน ทั้งในด้านภารกิจส่วนตัวและการ ประกอบอาชีพการงานตา่ ง ๆ ในสงั คม 3. การอา่ นสามารถช่วยให้บุคคลสามารถนำความรู้และประสบการณจ์ ากสิ่งท่ีอ่าน ไปปรับปรุง และพัฒนาอาชีพหรือธุรกิจการงานที่ตัวเองกระทำอยู่ให้เจริญก้าวหน้าและประสบ ความสำเรจ็ ไดใ้ นท่สี ดุ 4. การอ่านสามารถสนองความต้องการพื้นฐานของบุคคลในด้านต่าง ๆ ได้เป็น อย่างดี เช่น ช่วยให้ความมั่นคงปลอดภัย ช่วยให้ได้รับประสบการณ์ใหม่ ช่วยให้เป็นที่ยอมรับของ สังคม ชว่ ยให้มีเกียรตยิ ศและช่ือเสยี ง ฯลฯ 5. การอ่านทั้งหลายจะส่งเสริมให้บุคคลได้ขยายความรู้และประสบการณ์เพิ่มข้ึน อย่างลึกซึ้งและกว้างขวาง ทำให้เป็นผู้รอบรู้ เกิดความมั่นใจในการพูดปราศรัย การบรรยายหรือ อภิปรายปญั หาตา่ ง ๆ นับวา่ เปน็ การเพ่มิ บคุ ลิกภาพและความนา่ เช่ือถอื ใหแ้ กต่ ัวเอง 6. การอ่านหนังสือหรือสิ่งพิมพ์หลายชนิดนับว่าเป็นกิจกรรมนันทนาการที่ น่าสนใจมาก เช่น อ่านหนังสือพิมพ์ นิตยสาร วารสาร นวนิยาย การ์ตูน ฯลฯ เป็นการช่วยให้บุคคล รู้จักใช้เวลาว่างให้เกดิ ประโยชน์ และเกดิ ความเพลดิ เพลินสนุกสนานได้เป็นอย่างดี 7. การอ่านเรื่องราวต่างๆ ในอดีต เช่น อ่านศิลาจารึก ประวัติศาสตร์เอกสาร สำคัญ วรรณคดี ฯลฯ จะช่วยให้อนุชนรุ่นหลังรู้จักอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของคนไทยเอาไว้และ สามารถพฒั นาใหเ้ จริญรุ่งเรอื งตอ่ ไปได้ สุนันทา มั่นเศรษฐวิทย์ (2545: 1) กล่าวว่า การอ่าน เป็นวิธีการที่สำคัญวิธีหนึ่งที่ มนุษยใ์ ช้ในการศึกษาหาความรู้ให้ตนเองตลอดมา การอา่ นเป็นเครื่องมือสำคญั ในการใช้เสาะแสวงหา ความรู้ การรู้และ ใช้วิธีการอ่านที่ถูกต้องจึงจำเป็นสำหรับผู้อ่านทุกคนการรู้จักฝึกฝนกา รอ่านอย่าง สมำ่ เสมอ จะชว่ ยใหเ้ กิดความชำนาญและมีความรูก้ ว้างขวางเพม่ิ อีกดว้ ย
14 สนิท สตั โยภาส(2545 :93-94) กล่าวถงึ ความสำคัญของการอา่ นไวด้ งั นี้ 1. การอา่ นชว่ ยให้ผอู้ ่านไดร้ ับความรู้ มีความรอบร้ไู มแ่ คบอยู่เฉพาะเร่ือง 2. การอา่ นช่วยพฒั นาความคิดและยกระดบั สตปิ ัญญาให้สูงขึ้น 3. การอา่ นเปน็ เครื่องมอื สำคญั ทางการศึกษา 4. การอา่ นชว่ ยใหม้ ีความกา้ วหนา้ ในอาชพี 5. การอ่านช่วยปรบั ปรุงบุคลิกภาพใหด้ ไี ด้ 6. การอา่ นช่วยแก้ปญั หาในใจได้ 7. การอา่ นทำใหเ้ ราใชเ้ วลาว่างใหเ้ กดิ ประโยชน์ ได้รับความเพลดิ เพลนิ สนุกสนาน ชว่ ยใหจ้ ิตใจได้รับการพกั ผอ่ น 8. การอ่านชว่ ยใหเ้ ราใชเ้ วลาวา่ งอย่างมคี ุณคา่ สุพรรณี วราทร (2545: 21) กล่าวว่า การอ่านเป็นวิธีสำคัญในการเสริมสร้าง ความรู้ความชำนาญทางวิชาชีพ ช่วยให้ผู้อ่านสามารถคิดหาความรู้ เกิดการพัฒนาด้านอาชีพ เกิด ความคิดและแนวทางใหม่ในการปฏิบัติซึ่งนำไปสู่การปรับปรุงผลผลิตทำใ ห้การพัฒนาค้านต่างๆมี ประสทิ ธิภาพยง่ิ ขน้ึ ไพพรรณ อินทนิล (2546: 7) กลา่ วถงึ ความสำคญั ของการอา่ นไวด้ งั นี้ 1. การอ่านเปน็ ทักษะพื้นฐานทจ่ี ำเป็นในการดำรงชวี ติ ในปัจจบุ นั 2. การอา่ นเป็นเคร่อื งมอื สำคัญในการเรียนรู้ 3. การอ่านเป็นส่ือสำคญั ในการพัฒนาและแก้ปัญหาสงั คม จินตนา ใบกาซูยี (2547: 20) กล่าวถึงความสำคัญของการอ่านว่า หนังสือคือ ประทีปแห่งความรู้ หนทางที่จะเข้าสู่แหล่งความรู้เช่นนี้คือ การอ่าน ซึ่งการอ่านไม่ใช่สิ่งที่เกิดขึ้นเอง ตามธรรมชาติ ไมใ่ ชพ่ รสวรรคท์ ีต่ ดิ ตัวมาต้งั แตเ่ กดิ แตเ่ ป็นพรแสวงทเ่ี กดิ จากการส่ังสอนและการฝึกฝน จนเปน็ ทกั ษะ จไุ รรัตน์ ลักขณะศริ ิ และบาหยัน อ่ิมสำราญ (2547: 91) กลา่ วถงึ ความสำคัญของ การอา่ นดงั ต่อไปน้ี 1. การอ่านทำให้ผู้อ่านได้รับสาระความรู้ต่าง ๆ ซึ่งจะทำให้ผู้อ่านเป็นผู้ที่ทันต่อ ความคิดความก้าวหน้าของโลกได้เช่นเดียวกับการรับสารจากสื่อชนิดต่าง ๆ เช่น วิทยุ โทรทัศน์และ สอ่ื อิเลก็ ทรอนกิ ส์อื่น ๆ 2. หนังสือเป็นสื่อที่ดีที่สุด ใช้ง่ายที่สุดและมีราคาถูกที่สุดที่บุคคลทั่วไปใช้เพื่อ ศกึ ษา หาความร้แู ละความเพลิดเพลนิ 3. การอ่านหนังสือเป็นการฝึกให้สมองได้คิดและเกิดสมาชิด้วย ฉะนั้นหากมีการ ฝกึ อยา่ งต่อเนื่องจะทำให้ทกั ษะคำน้ีพฒั นาและเกิดผลสมั ฤทธ์สิ ูง
15 4. ผอู้ ่านหนังสือสามารถสร้างความคิดและจินตนาการได้เองในขณะที่ส่ืออย่างอ่ืน เช่น วิทยุ โทรทัศน์ ฯลฯ จะจำกัดความคิดของผู้อ่านมากกว่า ฉะนั้นการอ่านหนังสือจึงทำให้ผู้อ่านมี อิสระทางความคิดไดด้ กี ว่าการใช้สือ่ ชนดิ อื่น มณีรัตน์ สุกโชติรัตน์(2548: 19) กล่าวว่า การอ่านช่วยให้คนเราได้คำตอบจาก ปัญหาที่ต้องการแก้ หรือปัญหาที่ค้างคาอยู่ในใจไม่ว่าจะเป็นทั้งทางตรงและทางอ้อม จึงทำให้ แก้ปัญหาตา่ ง ๆ รอบด้านให้ด้วยตนเอง การอา่ นชว่ ยเพิ่มพูนความรู้ความสามารถของผู้อ่าน การอ่าน มากทำให้ผู้นั้นเป็นผู้ที่มีความรอบรู้ที่สำคัญทำให้คนมีความคิดกว้างไกลและมีวิสยั ทัศน์เน่ืองจากการ อ่าน เป็นการจุดประกายความคิดของผู้อ่าน ทำให้เกิดพัฒนาการทางสติปัญญา ด้วยการนำความรู้ที่ ได้จากการอ่านไปบูรณาการกับความคิดของตนเอง เกิดเป็นความคิดใหม่ในการพัฒนาให้เกิด นวัตกรรมใหม่ ๆ ข้นึ ไปอีก จากการศึกษาความสำคัญของการอา่ นสรุปได้วา่ การอา่ นเปน็ กระบวนการสำคัญทมี่ ีส่วนช่วย ในการพัฒนามนุษย์ให้มีความคิดและคุณภาพชีวิตที่ดี ช่วยให้มนุษย์มีองค์ความรู้ ความเข้าใจในเรื่อง ต่าง ๆ เกดิ ความจรรโลงใจ และสามารถนำสงิ่ ที่อา่ นไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตของตนเองได้ 2.2.3 จดุ มงุ่ หมายและวตั ถุประสงค์ของการอ่าน จิรวัฒน์ เพชรรตั น์ และอัมพร ทองใบ (2556 : 9-12) ได้กลา่ วถงึ จดุ มุ่งหมายและ วัตถุประสงค์ของการอ่านว่า มีจุดประสงค์ที่กำหนดขึ้นตามความต้องการของผู้อ่าน ซึ่งอาจต้องการ ศึกษา ค้นคว้าข้อมูล เพื่อประโยชนเ์ ชิงวิชาการ หรืออ่านเพื่อการพักผอ่ นหย่อนใจ การอ่านของแต่ละ คนมีจดุ มงุ่ หมายแตกต่างกันออกไป อาจจำแนกได้กวา้ ง ฯ ดงั น้ี 1. อ่านเพือ่ หาความรู้หรือเพิ่มพนู ความรู้ เปน็ ความร้จู ากหนังสอื ประเภทตำราทาง วชิ าการ สารคดีทางวิชาการ การวจิ ยั ประเภทตา่ ง ๆ หรือการอ่านผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ การอ่านจาก หนังสอื ท่ีมสี าระเดียวกัน ควรอา่ นจากผู้เขียนหลาย ๆ คน เพอ่ื เป็นการตรวจสอบความถูกต้องแม่นยำ ของเนื้อหา ผู้อ่านจะมีความรอบรู้ ได้แนวคิดที่หลากหลาย การอ่านเพื่อศึกษาหาความรู้นี้ เป็นการ อ่านเพ่อื สง่ั สมความรู้และประสบการณ์ของผอู้ า่ น 2. อ่านเพื่อให้ทราบข่าวสาร ความคิด เป็นการอ่านเพื่อให้ทราบข่าวสารความคิด เขา้ ใจแนวคิด ซงึ่ ได้แก่ การอา่ นหนงั สือประเกทบทวิจารณข์ ่าว รายงานการประชมุ ผู้อา่ นไม่ควรเลือก อ่านหนังสอื ที่สอดคลอ้ งกับความคิดและความชอบของตน ควรเลือกอ่านอย่างหลากหลาย จะทำให้มี มมุ มองที่กว้างขึน้ จะช่วยให้เรามีเหตผุ ลอ่ืน ๆ มาประกอบการวิจารณ์ วเิ คราะห์ ไดล้ ุ่มลกึ มากข้นึ 3. อ่านเพื่อความเพลิดเพลิน หรือเพื่อความบันเทิง ความชื่นชม การอ่านเป็น อาหารใจให้เกิดความบันเทิงใจ อ่านแล้วเกิดความเพลิดเพลิน สนุกสนาน ที่ได้จากการอ่านหนังสือ ประเภทบันเทิงคดี เชน่ นวนยิ าย เรื่องส้นั เรอื่ งแปล การ์ตนู หรืออา่ นบทละคร อ่านบทกวีนิพนธ์ บท
16 เพลง บทขำขัน เป็นต้น นอกจากจะเพลิดเพลนิ ไปกบั ภาษาและเร่ืองราวทีส่ นุกสนานแลว้ ยงั ไดค้ วามรู้ และคติขอ้ คิดควบคไู่ ปดว้ ย 4. อ่านเพื่อพัฒนาวิจารณญาณและค่านิยม การอ่านเพื่อพัฒนาวิจารณญาณและ คำนิยม จะเกี่ยวข้องกับการพัฒนาทักษะการอ่านของนักเรยี นในระดับที่สูงขึ้น และมีการเพิ่มพูนมวล ประสบการณ์ทางโลกและชีวิตที่เจนจัดมากขึ้น นักเรียนจึงจะเข้าใจคติธรรมที่แทรกอยู่ในวรรณกรรม ที่อ่าน ด้วยกระบวนการคิดวิเคราะห์อย่างสมเหตุสมผล สามารถเลือกและประยุกต์สิ่งที่มีคุณค่า มาพัฒนาตนเองให้เป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพ และดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า สามารถ รับใช้สงั คมประเทศชาติให้เจริญก้าวหน้าตามกำลังสตปิ ัญญาที่เพิ่มพูนข้ึน อันสืบเนื่องมาจากนักเรยี น เกิดความรู้ ความเข้าใจ สภาพแวดล้อมของชีวิตในด้านที่เป็นสัจธรรมความจริงสมบูรณ์ขึ้น (กุสุมา รกั ษมณี และคณะ, 2536 : 79) 5. การอ่านเพื่อกิจธุระหรือประโยชน์อื่น ๆ การอ่านเพื่อกิ จธุระอื่น ๆ นอกเหนือจากจุดมุ่งหมายที่กล่าวมาแล้ว เป็นการอ่านเพื่อประโยชน์เฉพาะกิจ เช่น อ่านแบบฟอร์ม ชนดิ ตา่ ง ๆ อ่านหนงั สือสัญญาเงินกู้ จำนอง และซอื้ ขาย อ่านใบสมัครและระเบยี บการอ่านคำส่ังและ สัญญาณบ่งบอกที่มีความหมายต่าง ๆ เป็นต้น เราถือว่าสารเหล่านี้จะมีแบบแผนและรายละเอียด เฉพาะกลุ่ม เฉพาะองค์การ หรือเฉพาะสังคม ซึ่งการติดต่อสื่อสารในโลกปัจจบุ ัน เราไม่อาจหลีกเล่ียง การอ่านสิ่งเหล่านี้ได้เลย หากอ่านผิดพลาดหรือไม่เข้าใจวัตถุประสงค์ที่แท้จริง อาจก่อให้เกิดความ เสียหาย หรือเสียผลประโยชน์ของเราได้ นอกจากน้ี ยงั มผี ูอ้ ่านหลายทา่ นท่นี ิยมอา่ นหนังสือเพื่อเสริมโลกทรรศน์ของตนเอง ให้ทันสมัยรู้ทันเหตุการณ์ความเคลื่อนไหวในสังคม เช่น นักธุรกิจ จำเป็นต้องอ่านบทความหรือข่าว เศรษฐกจิ จากหนงั สือพมิ พ์ วารสาร และนิตยสาร ที่เก่ยี วข้องกบั งานของตนอยู่ตลอดเวลา เพ่อื เพิ่มพูน ประสิทธิภาพในการทำงาน และการตัดสินใจ ที่สอดคล้องกับสถานการย์ต่าง ๆ บางท่านสนใจอ่าน ติดตามข่าวสารการเมือง การปกครอง หรือประวัติบุคคล และบทบาทของเขาที่กำลังดำเนินอยู่ใน สังคม เช่น ผู้นำประเทศ ผู้นำความคิดทางสังคม เพื่อประโยชน์ในการสมาคมกับผู้อืน่ จะช่วยสง่ เสรมิ บุคลิกภาพของเขาให้น่านยิ มศรทั ธามากยิ่งขึ้น เพราะเป็นผู้ที่มีโลกทรรศน์ดกี วา่ ผู้ที่ไม่สนใจอ่าน หรือ ตดิ ตามเหตกุ ารณ์เหล่าน้เี ลย จากการศึกษาจุดประสงคข์ องการอ่านสรปุ ได้ว่า การอ่านมีจุดประสงค์ที่แตกต่างไปตาม ความต้องการของแต่ละบุคคล ซึ่งส่งผลให้เกิดประโยชน์ต่อผู้อ่านทุกระดับ และทุกวัย ผู้อ่านควรตั้ง จุดประสงค์ของการอ่านทุกครั้ง เพื่อตอบสนองตรงตามความต้องการของผู้อ่าน และทำให้การอ่าน สมั ฤทธิ์ผลตรงตามวตั ถุประสงค์ท่วี างไว้ เป็นประโยชนต์ ่อผอู้ ่าน สามารถนำไปปรบั ใชใ้ นชีวิตได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ
17 2.2.4 ประเภทการอ่าน ภญิ โญ เวชโช (2556:16-17) ไดก้ ลา่ วถงึ ประเภทของการอ่านไวว้ ่า การอ่านแบง่ ตามวิธี การอ่าน อยา่ งกวา้ งๆ มี 2 ประเภท คอื การอ่านในใจและการอา่ นออกเสยี ง ซึ่งการอ่านทั้ง 2 ประเภทนตี้ ่างเป็น การแปลความหมายและถา่ ยทอดความคดิ จากตัวอักษรเช่นเดียวกัน ซึ่งการอ่านใน ใจผูอ้ า่ นจะรบั รู้เพียง ผเู้ ดยี ว แตก่ ารอา่ นออกเสยี งผู้ท่ไี ด้ยนิ หรือได้ฟังจะรบั รู้ดว้ ย 1. การอา่ นในใจ เปน็ การอ่านที่ถา่ ยทอดตวั อักษรเปน็ ความคิด มงุ่ จับใจความประเดน็ สำคัญ ของเร่ืองได้อย่างรวดเรว็ ภายในสมองของผู้อ่าน การอา่ นในใจจะดหี รือไมด่ ผี ลเกดิ ขึ้นกบั ตัวผู้อ่านเองในการอ่านในใจให้มีประสทิ ธิภาพ ผูอ้ า่ นควรฝกึ อ่านตามขั้นตอนต่อไปนี้ 1.1 เลือกอ่านหนังสอื ทสี่ อดคลอ้ งกบั ความสนใจของตนเอง ทัง้ หนังสือพิมพร์ ายวนั เร่ืองสั้น นวนยิ ายหรอื กวีนิพนธ์ตา่ งๆ 1.2 ใชเ้ วลาวา่ งในการอา่ นครงั้ ละประมาณ 5-7 นาทีในตอนเรม่ิ แรกแล้วคอ่ ยเพ่มิ เรื่อง เพมิ่ เวลามากขึน้ 1.3 ใช้เวลาอา่ นนานขึน้ ใชส้ มาธใิ หม้ ัน่ คง อดทนต่อสิง่ รบกวนรอบด้าน ควรมุ่งมั่น อา่ นใหจ้ บในตอนมากกวา่ นับจำนวนหนา้ เพราะขอ้ ความอาจไม่จบ 1.4 ทำความเข้าใจกบั เนื้อหา ความหมายและเกบ็ สาระสำคัญของเรื่องเพอ่ื สรปุ ว่า สาระสำคัญของเรื่องคืออะไรนา่ เช่ือถอื มากน้อยเพยี งใดและสามารถนำความรทู้ ่ีได้จากการอ่าน น้นั ไปใช้ประโยชนใ์ นทางใดได้บ้าง (สมพร แพงพิพัฒน์, 2542 : 32 อ้างถึงในภิญโญ เวชโช , 2556 : 16 ) นอกจากนีก้ ารอ่านในใจควรหลีกเลยี่ งพฤติกรรมในการอา่ นดงั ตอ่ ไปน้ี คือ 1. การใช้นิ้วหรือวัสดุใดๆ ในการชี้ตัวอักษร แม้ว่าการชี้ตัวอักษรที่อ่านนั้นจะช่วยให้ เกบ็ ถ้อยคำ เนื้อความได้ครบถ้วนก็จรงิ แตก่ ็ทำให้อ่านชา้ ได้ 2. การอ่านทีละคำหรืออ่านให้ตัวเองฟัง หรืออ่านหนังสือแล้วออกเสียงคลอทำนอง เพลงไปดว้ ย วธิ ีนี้จะชว่ ยใหป้ ระมวลความคดิ ได้ช้าและขาดสมาธิ เป็นการอ่านในลักษณะพูดกับตัวเอง ซ่ึงจะอา่ นเรว็ เท่าๆ กับการพูดคือประมาณ 250 คำ/นาที 3. การทำปากขมุบขมิบในขณะอา่ น การอ่านในใจเปน็ การใชป้ ระสาทและสมอง ไม่ใช้ ประสาทริมฝปี าก การฝึกอา่ นตอ้ งเพ่งทป่ี ระสาทตาและสมองจึงจะเป็นการฝกึ ที่ถูกตอ้ ง 4. การอ่านย้อนกลับ เพื่อการทวนความ ซึ่งอาจเกิดเพราะไม่เข้าใจหรืออ่านข้าม บรรทดั หรือควบคมุ สมาธไิ มไ่ ด้ ลว้ นเป็นเหตใุ หอ้ า่ นชา้ ลง 2. การอ่านออกเสียง การอ่านออกเสียงเป็นกระบวนการที่สัมพันธ์ระหว่างสายตา สมอง และการเปล่งเสยี งทางช่องปาก คือ สายตาจับตรงตวั อักษรและเครื่องหมายต่างๆ แล้วสมองประมวล เป็นถ้อยคำแล้วเปล่งเสียงออกเป็นพยางค์ คำและข้อความ การอ่านออกเสียงนอกจากอ่านให้ตัวเอง
18 ฟังและรบั รู้แลว้ ยงั ใหผ้ อู้ ื่นได้ฟังและรับรดู้ ้วย การอา่ นออกเสียงจึงต้องถูกต้องชัดเจน เว้นจังหวะและ วรรคตอนทเ่ี หมาะสม นำ้ เสยี งเหมาะกับสถานการณแ์ ละอารมณ์ของเร่ือง 2.1 หลักสำคัญในการอ่านออกเสียงให้มีคุณภาพ ผู้ฟังสามารถรับสารจากการฟัง การอา่ นนั้นอย่างมีประสิทธภิ าพน้ัน ผูอ้ ่านจะตอ้ งคำนงึ ถึงสิง่ สำคัญต่อไปน้ี (สมพร แผง่ พิพัฒน์, 2542 : 22-23 อ้างถงึ ในภญิ โญ เวชโช , 2556 : 17) 1) อัตราความเร็วในการเปล่งเสียง ควรมีลีลา จังหวะความเร็วพอเหมาะ เพอ่ื ผู้ฟงั จะไดฟ้ ังชดั เจนและเขา้ ใจได้ และตอ้ งไม่อา่ นชา้ จนเกินไป 2) ความชัดเจนในการอ่านออกเสียง เสียงที่ปล่งออกมาตอ้ งฟังชัดเจน เหมาะสม กับกลุม่ ผู้ฟงั ไม่ดงั หรือคอ่ ยเกินไป 3) ระดับเสียง ควรมีเสียงสงู ต่ำตามจังหวะและน้ำหนักของคำ คำท่ีมีความหมาย ธรรมดาระดับเสียงตำ่ จะเรยี กความสนใจของผู้อ่านได้ดี 4) ความถูกต้องชัดเจน การออกเสียงจะต้องถูกต้องตามอักขรวิธี การอ่านออก เสยี งและถกู ต้องตามหลกั ภาษา ชัดถ้อยชดั คำ ควบกล้ำถกู ตอ้ งชัดเจน 5) ใช้น้ำเสียงให้ถูกต้องกับสถานการณ์ สภาพแวดล้อมและบุคคล ตลอดจน สถานทีแ่ ละเรือ่ งทีอ่ ่าน 6) อ่านให้ถูกวรรคตอน รู้จักทอดเสียงให้ตรงกับความหมาย หากเป็นการอ่าน ทำนองเสนาะ ตอ้ งรจู้ ักวธิ เี อือ้ นเสียงให้ถูกทำนองและถูกจังหวะ 7) ไม่อาจตก เติม หรอื ตพู่ ยัญชนะว่าเปน็ อย่างนัน้ อย่างน้ี 8) สำเนียงต้องไมแ่ ปรง่ หรอื เพี้ยนไปตามภาษาถิ่น 9) ขณะอ่านต้องใช้ไหวพริบจับใจความ คิดตามและรู้สึกคล้อยตามเนื้อเรื่อง ปะติดปะตอ่ เรอื่ งราวให้ครบถว้ น 10) มีสมาธใิ นการอ่าน 11) ไมย่ กหนงั สือบงั หน้าตนเอง การอ่านซึ่งแบ่งโดยวิธีการอ่านมี 2 ประเภท คือ การอ่านในใจและการอ่านออกเสียง ในการอ่านทั้ง 2 ประเภทผู้อ่านจะต้องมีหลักและวิธีการหรือขั้นตอนในการอ่านที่ถูกต้องและควร ฝกึ ฝนการอา่ นอย่างถูกวิธใี ห้เปน็ นสิ ยั ในการอา่ น จะทำใหก้ ารอา่ นในแตล่ ะคร้ังมีประสทิ ธิภาพยิง่ ขึน้ การอ่านสามารถแบ่งออกเป็นประเภทต่าง ๆ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับว่า จะใช้อะไรเป็นเกณฑ์ ในการพิจารณา ถ้าหากพิจารณาการอ่านให้ดูจากจุดมุ่งหมายของผู้อ่านเป็นหลัก เราอาจจะแบ่งได้ ดังน้ี (อัมพร ทองใน, 2540 : 18-19)
19 1. อ่านผ่าน ๆ หรืออ่านเอาเรื่อง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความสนใจของผู้อ่าน เช่น การพลิก ตำราบางเล่ม เพื่อดูว่าเนื้อหาครอบคลุมเรื่องที่จะค้นคว้าหรือไม่ อาจจะอ่านเพียงหัวเรื่อง หรืออ่าน หนา้ สารบญั หรอื อ่านหน้าผนวกทา้ ยเลม่ เป็นตน้ 2. อ่านวิเคราะห์ เมื่อมีความประสงค์จะรู้เรื่องโดยละเอียด การอ่านแบบนี้อาจจะ ตอ้ งบันทกึ เรือ่ งย่อไวด้ ว้ ย เพื่อทบทวนความจำ 3. อ่านตีความ เมื่ออ่านรู้เรื่องก็ต้องมีการตีความ ซึ่งการตีความนั้นจะขึ้นอยู่กับ ประสบการณ์ ของแตล่ ะคน ผูอ้ ่านหลาย ๆ คนทอ่ี ่านเรอื่ งเดยี วกัน แล้วอาจดีความไมเ่ หมอื นกนั ก็ได้ ศรีสุดา จริยากุล (2545 : 9-10) ได้แบ่งประเภทของการอ่านโดยพิจารณาจากลักษณะ การอ่านออกเป็น 2 ประเภท คือ การอ่านออกเสยี ง และการอา่ นในใจ 1. การอ่านออกเสียง เป็นการอ่านให้ผู้อื่นฟัง ถ้าเป็นการอ่านออกเสียงธรรมดา การอ่านจะต้องระวังควบคุมการออกเสี่ยง ตัวสะกด ตัวควบกล้ำ สีลา จังหวะ วรรคถูกต้อง ลีลา จังหวะเป็นสิ่งสำคัญอย่างหนึ่ง แม้จะอ่านถูกอักขรวิธี แต่ถ้าหากการอ่านไม่ดี ไม่มีจังหวะจะไหล การแบง่ วรรคตอนการอ่านไมถ่ กู ต้อง กจ็ ะทำให้เรอ่ื งทอ่ี ่านเสียไป 2. การอ่านในใจ เป็นการอ่านเพื่อเก็บใจความและเพื่อทำความเข้าใจ เป็นการอ่าน เพื่อแสวงหาความรู้ความบันเทงิ ให้แกต่ นเอง ผอู้ า่ นจะตอ้ งมคี วามร้เู กี่ยวกับคำศัพท์ และสามารถข้าใจ เรื่องราวที่ได้อานได้ตลอด การอ่านหนังสือเมื่ออ่านไปได้ตลอดก็พอจะเก็บใจความได้ว่า เรื่องที่อ่านมี เนื้อหาเรื่องราวว่าอย่างไร หากมีบางตอนที่อาจจะไม่ข้าใจ เพราะเรื่องที่อ่านนั้นยากเกินความรู้ของ ผู้อ่านที่จะทำความข้าไงได้ ผู้อ่านควรจะพยายามเอาชนะด้วยการอ่านอย่างมีสมาธิ และรับรู้ ความหมายทุกถ้อยทำจนเกดิ ความข้าใจเนื้อเร่ืองไดด้ ลอด สอางค์ ดำเนินสวัสด์ิ และคณะ (2546 : 88) แบ่งลักษณะการอา่ นเป็น 5 ชนดิ คอื 1. การอ่านอย่างคร่าว ๆ เป็นการอ่านเพื่อสำรวจว่าควรจะอ่านหนังสือเล่มนี้อย่าง ละเอียดต่อไปหรือไม่ โดยอ่านเพียงชื่อเรื่อง หัวข้อเรื่อง ชื่อผู้แต่ง คำนำ หรือการอ่านเนื้อหาบางตอน โดยรวดเร็ว 2. การอ่านเพื่อจับใจความสำคัญ เป็นการอ่านเพื่อเก็บแนวคิดที่ต้องการ และอ่านข้าม ตอนท่ไี มต่ ้องการ 3. การอ่านเพื่อสำรวจเนื้อหา เป็นการอ่านเพื่อทำเป็นบันทึกย่อ หรือทบทวนเพื่อสรุป สาระสำคญั ของเรอ่ื งทั้งหมด 4. การอ่านเพื่อศึกษาอย่างลึกซึ้ง เป็นการอ่านละเอียด เพื่อให้เข้าใจเรื่องที่อ่านอย่าง ชัดเจน 5. การอ่านเพื่อวิเคราะห์และวิจารณ์ เป็นการอ่านละเอียด เพื่อวิเคราะห์เนื้อหาว่า มีความหมายและมคี วามสำคญั อย่างไร รวมท้งั แสดงความคิดเหน็ อยา่ งมเี หตผุ ลเกี่ยวกับเรอื่ งทอี่ ่าน
20 การอ่านแต่ละชนิดมีจุดประสงค์ต่างกัน และใช้เนื้อหาต่างกัน ผู้อ่านควรพิจารณาว่าใช้ การอ่านในลักษณะใดบ้างในชีวิตประจำวัน และพิจารณาว่าตนมีประสิทธิภาพในการอ่านหรือไม่โดย ใชเ้ กณฑข์ นั้ ดอน ดงั น้ี 1. เขา้ ใจรายละเอยี ดของเนือ้ เรอื่ ง 2. จับใจความสำคญั ของเรอื่ งได้ 3. สรปุ ความคิดหลักของเรือ่ งได้ 4. ลำดับความคดิ ในเรือ่ งได้ 5. คาดคะเนเหตุการณท์ ่ีไมป่ รากฏในเรือ่ ง หรือเหตกุ ารณท์ ีจ่ ะเกิดข้นึ ต่อไปได้ นอกจากการแบ่งประเภทของการอ่าน ตามเกณฑ์ที่กล่าวมาแล้วนั้น ยังมีการแบ่ง ประเภทที่แตกต่างกนั ไปอกี ดังเช่น สุนันทา มั่นเศรษฐวิทย์ (2551 : 17-20) ได้แบ่งประเกทของการอ่านไว้ 4 ประเภท แต่ละประเกทมีจดุ มุ่งหมายของการใชท้ ่ีแตกตา่ งกนั ดงั น้ี 1. การอ่านคร่าว ๆ จุดประสงค์ของการอ่านประเภทนี้ เพื่อค้นหาเอกสารอ้างอิงสำหรบั ใช้ในการค้นคว้า หรือการหาส่ือใหม่ ๆ ในห้องสมุด นอกจากนั้นยังเป็นการค้นหาคำสำคญั ท่ีเกี่ยวข้อง กับเรื่องใหม่ ๆ เพื่อรวบรวมความคิดของผู้เขียน อีกทั้งยังใช้เพื่อการอ่านสันทนาการ ได้แก่ การอ่าน วารสารบนั เทงิ การอา่ นเรอื่ งราวต่าง ๆ ท่ีใหค้ วามสนุกสนานเพลิดเพลนิ วิธีการอ่าน ผู้อ่านจะใช้การเคลื่อนสายตาอย่างรวดเร็ว จากบรรทัดบนสุดสู่บรรทัดล่าง โดยข้ามคำ กลุ่มคำ และประโยดทีไ่ ม่สำคัญ เพื่อตรวจดูเฉพาะหัวขอ้ หรอื คำสำคัญ หรือคำตอบตามท่ี ต้องการ โดยสังเกตคำทีข่ ดี เสน้ ได้ หรือคำทีเ่ ป็นตวั หนา 2. การอ่านเร็ว จุดประสงค์ของการอ่านเร็ว เพื่อเป็นการทบทวนสารที่อ่าน อีกทั้งยังใช้ เพอ่ื การคน้ หาแนวคิดหลักและแนวคดิ ยอ่ ย เป็นการนำข้อมลู จากสารทีอ่ า่ นไปใช้ประโยชน์ การอ่านวธิ ี นี้ยังใช้เพื่ออ่านสารทีท่ ำให้เกิดความเพลิดเพลนิ เช่น การอ่านนิทาน นิยาย นวนิยาย และสื่อการอา่ น อน่ื ๆ ท่ีชว่ ยให้ ผ้อู า่ นได้รับการผอ่ นคลายทางจิตใจ วิธีการอ่าน ผู้อ่านจะเคลื่อนสายตาอย่างรวดเร็ว จากซ้ายไปขวา โดยไม่เคลื่อนใบหน้า เป็นการอ่านท่ีใช้การเคล่อื นตาอยา่ งรวดเรว็ โดยการรบั รเู้ ปน็ คำ เปน็ กลุ่มคำ หรือประโยคเป็นการอ่าน ท่ีเร่งรบี เพื่อความเขา้ ใจเร่อื งราวโดยใช้เวลาทีจ่ ำกัด 3. การอ่านปกติ จุดประสงค์ของการอ่านปกติ เพื่อค้นหาข้อมูลและตอบคำถามอาจใช้ ในการทำแบบฝกึ หดั หรือการทำรายงาน อ่านแล้วจดบนั ทึกเพ่ือสรปุ เนื้อเร่ืองแตล่ ะตอน เป็นการอ่าน เพื่อนำข้อมูล มา ไขปริศนา อ่านเพื่อทำความเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดหลักกับแนวคิดย่อย การอา่ นปกติมัก จะใชก้ บั การอ่านสารท่ีมีความยากง่าย อย่ใู นระดบั ปานกลาง ซ่ึงหมายความว่าผู้อ่าน
21 รู้จักคำที่อยู่ในสารมาก กว่าร้อยละ 70 และอ่านได้ 250 คำต่อนาที ตอบคำถามได้ถูกต้องร้อยละ 60 ขึ้นไป วิธีการอ่าน ผู้อ่านจะเคลื่อนสายตาจากซ้ายไปขวา โดยมิได้เร่งรีบ เพื่อรับรู้คำ กลุ่มคำ ประโยค และเรื่องทั้งหมด การอ่านปกติเป็นการอ่านโดยมิได้เร่งรัด แต่ต้องการ ความเข้าใจ ในเรื่องราวโดยมิให้พลาดประเด็นสำคัญ และต้องการให้บรรลุผลตามจุดประสงค์มากกว่าที่จะเน้น ในเรื่องของเวลา 4. การอ่านละเอียด จุดประสงค์ของการอ่านเพื่อตรวจรายละเอียดของเรื่อง ในทุกประเด็น โดยไม่พลาดความหมายของคำ กลุ่มคำ และประโยด นอกจากนั้นยังเป็นการประเมิน ค่าเรื่องที่อ่าน เรียงลำดับ เหตุการณ์ เละติดตามทิศทางของเรื่อง เพื่อมิให้พลาดประเด็นสำคัญ สรุปเรื่องด้วยภาษาของตนเอง รวมทั้งวิเคราะห์การนำเสนอผลงานของผู้เขียนได้อย่างถูกต้อง การอา่ นวธิ นี ้ียังใช้ประโยชน์ในการอา่ นสารประเภทวรรณกรรมและวรรณคดีอย่างละเอยี ด เพ่ือให้เกิด ความเข้าใจและเกิดความซาบซึ้ง ในการใช้ภาษา การวิเคราะห์รูปแบบ ตลอดจนลักษณะของการใช้ ภาษา คุณคา่ ทีไ่ ด้รบั ทางภาษาจำเปน็ ต้องใชก้ ารอ่านอยา่ งละเอยี ดเชน่ กนั วิธีการอ่าน ผู้อ่านจะเคลื่อนสายตา ผ่านทุกตัวอักษรของคำ กลุ่มคำ และประโยค ทำความเข้าใจความหมายทั้งทางตรงและทางนัย เพื่อให้ได้ข้อมูลตรงตามจุดประสงค์ที่ต้องการ สารทใี่ ช้วิธอี ่านประเภทนี้ มกั จะเป็นสารวชิ าการ ใชภ้ าษาทีย่ ากและมเี ร่ืองราวซบั ซ้อน ซึ่งต้องใช้เวลา ในการอา่ นมากกวา่ การอา่ นประเภทอน่ื ๆ เพราะตอ้ งการความละเอียดรอบคอบ จากการศึกษาประเภทการอ่าน พบว่าสามารถแบ่งได้ตามวิธีการอ่านต่าง ๆ โดยอาศัย หลกั เกณฑ์ในการกำหนด หรือพิจารณาตามวัตถุประสงค์ หรอื จุดประสงคข์ องผอู้ า่ น 2.3 การอ่านจับใจความ 2.3.1 ความหมายของการอ่านจบั ใจความสำคญั แววมยรุ า เหมือนนิล (2553 : 12) ได้ให้ความหมายของการจบั ใจความว่าการอ่าน จับใจความคือการมงุ่ คน้ หาสาระสำคญั ของเรือ่ งหรือของหนังสือแตล่ ะเลม่ คอื อะไร มี 2 สว่ น ดงั น้ี 1. สว่ นทเี่ ป็นใจความสำคัญ 2. สว่ นทข่ี ยายใจความสำคญั หรอื ส่วนประกอบ เพอ่ื ใหเ้ ร่อื งชัดเจนยง่ิ ขึ้น ในกรณีที่อ่านมีย่อหน้าเดียวในย่อหน้านั้นจะมีใจความส ำคัญอย่างหนึ่ง นอกจากนั้นเปน็ ส่วนขยายใจความสำคญั หรือส่วนประกอบซึ่งอาจมหี ลายประเด็น สุนันทา มั่นเศรษฐวิทย์ (2545 : 2) ได้ให้ความหมายของการอ่านจับใจความว่า เป็นความเขา้ ใจของคำ กล่มุ คำ ประโยค ขอ้ ความเรอ่ื งราวของสาร ซง่ึ ผู้อ่านสามารถบอกความหมายได้
22 ผกาศรี เย็นบุตร (2542 : 137) ได้ให้ความหมายของการอ่านจับใจความไว้ว่า การอ่านจับใจความ คือ การอ่านเพื่อเก็บสาระสำคัญของเรื่องที่อ่าน เช่น เก็บจุดมุ่งหมายสำคัญ ของเรื่องเก็บเนื้อเรื่อง เก็บแนวคิด หรือทัศนคติของผู้เขียน เก็บข้อเท็จจริงหรือความรู้สึกอารมณ์ ของผู้เขียน บางครั้งผู้อ่านจะต้องใช้ความสามารถในการอ่านเชิงตีความหรือการใช้วิจารณญาณ ตลอดจนประสบการณ์ช่วยดว้ ยจึงจะค้นพบ วันเพ็ญ คุณพิริยะทวี (2548 : 46) กล่าวว่า การอ่านจับใจความหมายถึง กระบวนการอ่านเพื่อทำความเข้าใจความหมายของข้อความ หรือเนื้อเรื่องสามารถตั้งคำถามตอบ คำถามและลำดับเหตุการณ์ได้ถูกต้อง ซึ่งสอดคล้องกับความคิดเห็นของ บรรเทา กิตติศักดิ์ (2537 : 117) ทีไ่ ดก้ ล่าวถึงความหมายของการอ่านจบั ใจความ การอ่านจบั ใจความสำคัญเป็นการอ่าน ขั้นรายละเอียดที่ต้องรับรู้เนื้อเรื่อง ความสำคัญ ว่ากล่าวถึงใครหรืออะไร และความหมายของเรื่อง วา่ มคี วามเกย่ี วข้องกันอย่างไร จากความหมายของการอ่านจับใจความดังกล่าวสรุปได้ว่า การอ่านจับใจความ คือ การอ่านเพื่อค้นหาจุดประสงคห์ ลกั ของสารทีผ่ ู้เขยี นตอ้ งการใหผ้ ู้อ่านไดร้ ับ 2.3.2 ความสำคัญของการอา่ นจบั ใจความสำคัญ กอบกาญจน์ วงศ์วิสิทธ์ิ (2551 : 111) กล่าวถึง ความสำคัญของการอ่าน จับใจความว่าเป็นทักษะเบื้องต้นที่ผู้อ่านจะต้องฝึกฝนตนเองเพื่อให้สามารถจับใจความส ำคัญ ของเรื่องที่อ่านได้เพราะจะเป็นส่วนสำคัญที่ทำให้ผู้อ่านทำความเข้าใจกับเนื้อหาและวัตถุประสงค์ ที่ผเู้ ขียนนำเสนอมายังผอู้ า่ น โดยผอู้ า่ นควรเรมิ่ ต้นค้นหาข้อคิดสำคญั ที่ปรากฏในเร่ืองใหไ้ ด้ก่อนแล้วนำ ขอ้ คิดท่ีได้เหล่าน้ันมาประมวลเขา้ ด้วยกันเพอื่ ใหไ้ ดใ้ จความสำคัญของเรื่องนัน้ ๆ ผูอ้ า่ นจึงต้องทำความ เข้าใจเรื่องราวทั้งหมด ทั้งความหมายของคำ ประโยคและเนื้อหาทั้งหมด ซึ่งบางครั้งความหมาย ของคำนน้ั ๆ อาจมีนยั สำคญั ทางความหมาย ดงั นน้ั ผู้อา่ นต้องทำความเขา้ ใจกบั บรบิ ทของเน้ือหาด้วย สมบัติ จำปาเงิน และสำเนียง มณีกาญจน์ (2548 : 23) ได้กล่าวถึงความสำคัญ ของการอ่านจับใจความสรุปได้ว่า การอ่านจับใจความเป็นการอ่านที่ทำให้เป็นคนที่น่าสนใจ เพราะการอ่านมากทำให้มีความคิดลึกซึ้งและกว้างขวาง ดังนั้นการอ่านจับใจความเป็นทักษะ ทมี่ ีประโยชนอ์ ย่างยิ่งในการเรียนและในชีวติ ประจำวัน
23 สุนันทา มั่นเศรษฐวิทย์ (2551 : 159-161) กล่าวว่า ในยุคข้อมูลข่าวสารที่บุคคล สามารถติดต่อสื่อสารกัน ได้อย่างรวดเร็ว การอ่านจับใจความสำคัญ มีบทบาทสำคัญในด้านพัฒนา ทางการศึกษา เศรษฐกิจ การเมือง และสังคม กลา่ วไดโ้ ดยสรุป ดงั นี้ 1. บทบาทด้านการศึกษา การอ่านจับใจความมีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาการศึกษาของบุคคลทุกคน ความสามารถในการอ่านของประชาชนในชาติ แสดงให้เห็นถึงการพัฒนาของประเทศ ทั้งทางตรง และทางอ้อม นอกจากผู้อ่านจะสามารถนำความรู้ท่ีได้มาพัฒนาตนเองแล้วยังชว่ ยส่งเสรมิ การใชเ้ วลา ว่างให้เป็นประโยชน์ต่อ ตนเอง ผู้อ่านจับใจความอย่างมีประสิทธิภาพ จะเป็นผู้ที่มีโอกาสในชีวิต และเป็นกำลังสำคญั ของประเทศชาติตอ่ ไป 2. บทบาทด้านเศรษฐกจิ การอ่านจับใจความมีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและอาชีพของบุคคล ความรู้ที่ได้จากการอ่านสารที่เกี่ยวข้องด้านเศรษฐกิจ จะเป็นประโยชน์ต่อการปรับเปลี่ยนระบบ การผลิต การบรโิ ภค และการเลอื กอาชพี ทเ่ี หมาะสมสำหรบั ตนเองต่อไป 3. บทบาทด้านการเมอื ง การอ่านจับใจความด้านการเมือง เกี่ยวข้องกับการได้จากการอ่านสารการเมือง ไปพัฒนาความรู้และความเข้าใจ เพื่อใช้เป็นพื้นฐานคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่า ให้ถูกต้องตามหลัก ประชาธิปไตย อันเป็นระบอบการปกครองของประเทศที่มีพระมหากษัตริย์ เปน็ ประมุข 4. บทบาทด้านสังคม การอ่านจับใจความด้านสังคมเกี่ยวข้องกับการพัฒนาความรู้ และความคิด ของ ผู้อา่ นให้กวา้ งขวาง เพอ่ื การนำมาใช้พัฒนาคุณภาพชีวติ ในครอบครัวและประเทศชาติให้ก้าวหน้า ทัดเทยี มกบั ประเทศอื่น อีกทั้งยังสามารถชว่ ยลดปญั หาทางสงั คมในระดับหนึ่ง หากมกี ารจัดกิจกรรม ทางการอ่านให้สอดคลอ้ ง กบั ความสนใจ และความต้องการของประชาชน จากความสำคัญของการอ่านจับใจความ สรุปได้ว่า การอ่านจับใจความสำคัญ เป็นกระบวนการอ่านที่มีบทบาทสำคัญในการทำให้มนุษย์ได้รับองค์ความรู้ ความเข้าใจจาเนื้อหา หรือเรอ่ื งราวทอ่ี ่านอยา่ งลึกซึง้ จนสามารถนำข้อมลู ทีอ่ า่ นไปปรบั ใชแ้ ละพัฒนาในเร่อื งดังกลา่ ว
24 2.3.3 จุดมุ่งหมายของการอ่านจบั ใจความสำคัญ (ไพพรรณ อนิ ทนลิ . 2546 : 44) ได้กำหนดจดม่งุ หมายของการอ่านจบั ใจความว่า 1. อา่ นไดถ้ ูกต้องรวดเร็ว 2. จับใจความสำคัญและเขา้ ใจเร่ืองท่ีอ่านได้ ตลอดจนรู้รสไพเราะของเร่อื งทอี่ ่าน 3. มวี ิจารณญาณวเิ คราะหเ์ ร่ืองที่อา่ นได้ 4. ใหม้ นี สิ ยั รักการอา่ นและใช้การอา่ นให้เป็นประโยชนต์ ่อการดำรงชีวิต 5. สามารถเลือกหนังสอื อา่ นไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ผจงวาด พูลแก้ว (2547 : 83) ได้กล่าวถึงจุดมุ่งหมายของการอ่านจับใจความไว้ว่า เพ่ือให้ สามารถจับใจความสำคัญในแตล่ ะย่อหนา้ หรือหลาย ๆ ยอ่ หน้าได้อย่างรวดเร็วและแมน่ ยำ สมบตั ิ จำปาเงนิ และสำเนียง มณกี าญจน์ 1548, หน้า 93) กลา่ วว่า การอ่านจบั ใจความ มีจดุ มงุ่ หมายเพื่อใหส้ ามารถจับใจความสำคญั ในแตล่ ะยอ่ หน้าหรือหลาย ๆ ยอ่ หน้าไดอ้ ย่างรวดเร็ว แม่นยำ วรรณี โสมประยรุ (2553 : 127) กล่าวถงึ จดุ มงุ่ หมายของการอ่านจบั ใจความไว้ว่า 1. อ่านเพือ่ ค้นคว้าหาความรเู้ พ่ิมเดมิ 2. อา่ นเพือ่ หารายละเอียดของเรอื่ ง 3. อ่านเพอื่ วเิ คราะหว์ ิจารณจ์ ากข้อมลู ทไี่ ด้ 4. อ่านเพ่ือหาประเดน็ ว่าส่วนใดเป็นข้อเทจี่ ส่วนใดเปน็ ช้องรงิ 5. อ่านเพอ่ื บอกใจความสำคญั ของเรื่องท่ีอา่ น 6. อ่านเพ่อื บอกประโยชน์ของสิ่งทอ่ี า่ น 7. อา่ นเพื่อปฏิบตั ิตามคำสัง่ และตำแนะนำ 8. อา่ นเพ่ือนำไปใช้ประ ไยชน์ในชวี ิตประจำวัน 9. อ่านเพื่อถ่ายทอดจินตนาการ จากการอา่ น 10. อา่ นเพื่อสรปุ เรื่องราวทอี่ ่านและยอ่ เรื่องได้ ฐะปะนยี ์ นาครทรรพ (2548 : 42) ได้กล่าวถงึ จดุ ม่งุ หมายของการอ่านจบั ใจความ ไวด้ งั นี้ 1. ใหเ้ ข้าใจความทอ่ี า่ นได้ดี 2. ใหม้ ีนิสัยที่ดใี นการอา่ น 3. ใหม้ ีวจิ ารณญาณในการอ่าน 4. ให้มีความรกั ความสนใจในการอ่านอยา่ งกวา้ งขวางและสม่ำเสมอ 5. ส่งเสริมใหอ้ ่านได้รวดเรว็
25 จากการศึกษาจุดมุ่งหมายของการอ่านจับใจความ สรุปได้ว่า การอ่านจับใจความ จำเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องตั้งจุดมุ่งหมายทุกครั้งในการอ่านว่ามีจุดประสงค์อะไร อ่านในรูปแบบไหน และควรมกี ารฝึกอา่ นจับใจความ 2.3.4 ประเภทของการอ่านจับใจความสำคัญ อภิรดี เสนาวิน (2555 : 31) ได้กล่าวถึง ประเภทของการอ่านจับใจความไว้ ดังกล่าวขา้ งตน้ สามารถสรปุ ได้ว่า การอ่านจับใจความแบ่งไดเ้ ป็น 2 ประเภท ดงั นี้ 1. การอ่านเพื่อจับใจความส่วนรวม เป็นการท ำความเข้าใจภาพรวม หรือส่วนประกอบของหนังสือที่อ่าน เช่น คำนำ สารบัญ ฯลฯ ตลอดจนสามารถบอกความเชื่อมโยง และความสมั พันธ์ของเนอ้ื หาต่าง ๆ ในภาพรวมของหนงั สือทอ่ี า่ นไดอ้ ย่างถูกต้อง 2. การอ่านเพื่อจับใจความสำคัญเป็นการอ่านเพื่อทำความเข้าใจใจความสำคัญ สามารถเก็บสาระสำคัญของเรื่องที่อ่านได้ตลอดจนบอกแนวคิดสำคัญ จุดมุ่งหมายของเรื่อง และทศั นคตขิ องผู้เขยี นจากเรอ่ื งท่ีอ่านได้อย่างถกู ต้อง วารุณี อุดมธาดา (2537 : 23) ได้กล่าวถึงประเภทของการอ่านจับใจความสำคัญ ว่ามี 2 ประเภท คือ การอ่านเพื่อจับใจความส่วนรวม และการอ่านเพื่อจับใจความสำคัญซึ่งมี สาระสำคัญสรปุ ไดด้ งั นี้ การอ่านเพื่อจับใจความส่วนรวมเป็นหัวใจในการอ่านหนังสือทุกชนิด เพราะ ถ้าผู้อ่านไม่สามารถอ่านจับใจความส่วนรวมได้ ก็จะไม่สามารถมองเห็นรายละเอียดข้อปลีกย่อยของ เนื้อความในหนังสือหรือเรื่องที่อ่านได้ การอ่านเพื่อจับใจความส่วนรวมนี้เป็นความเข้าใจในเนื้อหา ของเรื่องที่อ่าน เพื่อให้มองเห็นความสัมพันธ์ของรายละเอียดต่าง ๆ และเข้าใจจุดหมายสำคัญ ของเนื้อเรื่องหรือข้อความที่อ่าน การอ่านเพื่อจับใจความส่วนรวมทำได้ด้วยการพลิกดูหรือกวาด สายตาผ่านหัวข้อต่าง ๆ เพื่อให้ทราบว่ามีโครงเรื่องโดยย่ออย่างไร แต่ละหัวข้อมีความสัมพันธ์กัน อย่างไรและมีการดำเนนิ ไปสูจ่ ดุ หมายปลายทางดว้ ยวธิ ีการเชอื่ มโยงเนอ้ื หาและแนวความคิด ตลอดจน ข้อมูลต่าง ๆ อย่างไรบ้าง ซึ่งขั้นนี้อาจมีการจดบันทึกย่อเพื่อป้องกันการลืมได้อีกทางหนึ่ง การอ่าน เพื่อจับใจความส่วนรวมนจ้ี ะให้ประโยชน์แกผ่ ูอ้ า่ นในหลาย ๆ ดา้ น คือ 1. สามารถตัดสินได้ว่าหนังสือนั้นมีคุณค่าหรือสาระพอที่จะอ่านอย่างละเอียด หรอื ไม่ 2. สามารถรู้ได้ว่าผู้อ่านมีพื้นความรู้และประสบการณ์ที่จะอ่านโดยตลอดเล่ม หรอื ไม่ 3. เป็นแนวทางให้ผู้อ่านสามารถไปค้นคว้าจากหนังสือที่ปรากฏอยู่ใน บรรณานกุ รมมาประกอบการอา่ นนน้ั ด้วย
26 4. เป็นการประหยัดเวลาแก่ผู้อ่านที่มีเวลาจำกัด เช่น ในห้องสมุด หรือร้านขาย หนังสือทีต่ อ้ งใช้เวลาอนั จำกัด 5. ช่วยในการเตรียมตัวสอบ เพราะในการจัดลำดับโครงร่างส่วนรวมของหนังสือ ดว้ ยวิธีน้ีทำให้จดจำเนือ้ หาส่วนรวมได้แมน่ ยำ ส่วนการอ่านเพอ่ื จบั ใจความสำคัญ เปน็ การอา่ นเพอื่ ทำความเขา้ ใจ ใจความสำคัญ ของเนื้อเรื่องหรือข้อความ ผู้อ่านที่มีความชำนาญอาจไม่จำเป็นต้องอ่านทุกตัวอักษร ในขณะที่ผู้อ่าน ที่มีประสบการณ์น้อยต้องอ่านอย่างพินิจ พิจารณา จึงจะสามารถจับใจความสำคัญของเนื้อเรื่องหรือ ข้อความนั้น ๆ ได้ ใจความสำคัญนั้นมิได้มีความหมายจำกัดเพียงแค่เนื้อเรื่องที่สำคัญเท่านั้น นักอ่าน ที่ดีอาจจะเก็บสาระสำคัญของหนังสือ อาจกล่าวว่าหาแก่นของย่อหน้า หาข้อความที่สำคัญที่สุด หาข้อความทีเ่ ด่นท่ีสุด วธิ ีในการอา่ นจับใจความสำคัญน้นั ผอู้ ่านจะต้องพิจารณาตัดส่วนต่าง ๆ ท่ีเป็น รายละเอียด ข้อปลีกย่อยในเรื่องในแต่ละย่อหน้า คือ 1) ตัวอย่างที่ประกอบในย่อหน้า 2) ส่วน ขยายความ หรือรายละเอียดต่าง ๆ 3) สำนวนโวหาร อุปมาอุปไมย ข้อความเปรียบเทียบทั้งหลาย 4) ตัวเลข สถติ ิ วนั เดือนปี และ 5) คำถามหรอื คำพูดของผ้เู ขียน ซึ่งเป็นส่วนขยายใจความสำคญั จากประเภทของการอ่านจับใจความ สรุปได้ว่า สามารถแบ่งได้ออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ การอ่านจับใจความส่วนรวม และการอ่านจับใจความสำคัญ ซึ่งการอ่าน จับใจความส่วนรวม เป็นการอ่านเพื่อให้ผู้อ่านมีความเข้าใจเนื้อหาของเรื่องที่อ่าน สามารถมองเห็น ความสัมพันธ์ของรายละเอียดต่าง ๆ และเข้าใจจุดหมายสำคัญของเนื้อเรื่องหรือข้อความที่อ่านได้ และการอ่านจับใจความสำคัญ เป็นการอ่านเพื่อทำความเข้าใจความสำคัญของเนื้อเรื่องหรือข้อความ ท่อี ่าน 2.3.5 องค์ประกอบของการอา่ นจบั ใจความสำคญั องค์ประกอบที่มีผลต่อความสามารถในการจับใจความของผู้อ่านมีหลายประการ (สุนันทา ม่ันเศรษฐวทิ ย์, 2551 : 162-164) สรุปได้ดงั น้ี 1. ประสบการณ์ของผู้อ่าน ประสบการณ์ หมายถึง เหตุการณ์ที่ได้พบเห็น หรือ จากการอ่านและ การได้ยิน ทั้งประสบการณ์ตรงและประสบการณ์รอง (จากการฟัง การอ่าน) ถ้าผู้อ่านได้อ่านเรื่องที่ตนมี ประสบการณ์มาก่อนก็จะช่วยให้อ่านได้รวดเร็ว และสามารถจับใจความ ได้ถูกต้อง ในทางตรงกันข้าม ถ้าผู้อ่านไม่มีประสบการณ์เกี่ยวกับเรื่องนั้นมาก่อนจะทำให้ต้องใช้เวลา ในการอา่ นมาก 2. ความรู้พืน้ ฐาน ความร้พู น้ื ฐานของผู้อ่าน หมายถงึ ความร้เู ดมิ เปน็ องค์ประกอบ สำคญั ทจ่ี ะชว่ ยให้ผู้อา่ น สามารถอ่านเร่ืองได้เขา้ ใจและจับใจความได้ครบถ้วน ความสำเร็จในการอ่าน จับใจความจะเกีย่ วข้องกับความรู้ พื้นฐานที่ผู้อ่านเคยได้รับและเก็บสะสมไว้ในสมอง ดังนั้นเม่ือผูอ้ ่าน
27 อ่านสารที่เกี่ยวข้องกับความรู้พื้นฐาน จะเกิด ปฏิสัมพันธ์ระหว่างความรู้ใหม่กับความรู้เก่า ช่วยให้ ผ้อู า่ นสารได้นำแนวคดิ มาเปรยี บเทยี บกัน ก่อนทีจ่ ะนำมารวม กนั เพอ่ื ใชป้ ระโยชนต์ ่อไป 3. วัฒนธรรมของผู้อ่าน วัฒนธรรม หมายถึง สิ่งที่ทำความเจริญงอกงามแก่ วัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับการ อ่านจับใจความ คือ \"ภาษาพูด\" ของผู้อ่านไทยเป็นภาษาพูด เช่น ประชาชนในจังหวัด ยะลา ปัตตานี นราธิวาส ใช้ภาษายะวีห์ เป็นภาษาพูด หรือประชาชนที่ใช้ภาษา ถน่ิ เปน็ ภาษาพดู จะมีผลตอ่ การออกเสยี งคำในภาษาไทยเพี้ยนไปจากเดิม อาจทำให้เขา้ ใจความหมาย ของคำผิด การจบั ใจความเรอ่ื งท่อี า่ นก็อาจผิดพลาดได้ 4. ความสนใจของผู้อ่าน ความสนใจของผู้อา่ น เปน็ ปัจจัยอย่างหนึ่งท่ีมีอิทธิพลต่อ การอ่านจับใจความ ความสนใจที่มีต่อการอ่านจะจูงใจให้ผู้อ่านต้องการอ่านเรื่องที่ตนสนใจ ผู้อ่าน แต่ละคนจะมีความสนใจแตกต่างกัน บางคนต้องการอ่านเรื่องที่ตนสนใจ บางคนขาดความสนใจ ในการอ่าน เมื่อมีความจำเป็นต้องอ่าน อาจทำให้อ่านช้า บางครั้งสรุปใจความสำคัญได้ไม่ครบถ้วน ความสนใจของผู้อ่านจะได้รับอิทธิพลจากครอบครัว และชุมชนที่ ครอบครัวอาศัยอยู่ นอกจากน้ัน ยังเกี่ยวข้องกับสังคม การศึกษา รายได้ และตำแหน่งหน้าที่การงานที่จะส่งผล ต่อความสนใจ ในการอ่าน ผู้อ่านที่มีการศึกษา ตำแหน่งสูง และรายได้สูง ความสนใจในการอ่านจบั ใจความเกี่ยวกบั การงานและหน้าที่ที่รับผิดชอบจะสูง ตรงกันข้ามกับผู้ใช้แรงงานที่ไม่ได้ใช้ความรู้จะมีความสนใจใน การอ่านนอ้ ย จงึ กล่าวได้ว่า ความสนใจของผอู้ า่ นเกย่ี วข้องกับการศึกษาและอาชีพ ผูอ้ า่ นมีความสนใจ อ่านสารที่เกี่ยวข้องกับ งานที่ตนเองรับผิดชอบ ซึ่งจะมีส่วนช่วยพัฒนาการอ่านจับใจความได้ถูกต้อง และรวดเร็ว 5. การเรียนรู้ของผู้อ่าน ความสามารถในการเรียนรู้ เป็นองค์ประกอบหนึ่งที่จะ ช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจความหมายของคำ และจับใจความเรื่องที่อ่านได้ถูกต้อง ความสามารถในการ เรียนรู้ จะเกี่ยวข้องกับการจำ การเข้าใจ การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และการประเมิน ค่า ดังนั้น การอ่านจับใจความจึงเกี่ยวข้องกับการจำ และการเข้าใจ การจำคำ กลุ่มคำ หลักเกณฑ์ และทฤษฎีที่ได้จากการอ่าน ส่วนการเข้าใจจะเรียงลำดับเหตุการณ์ แล้วสรุปเป็นใจความสำคัญ อย่างไรก็ตาม ก่อนที่ผู้อ่านจะสรุปเป็นใจความสำคัญได้ ต้องพบกับคำต่าง ๆ ที่ปรากฏอยู่ในสาร ซึ่งมีทั้งความหมายในทางตรง และความหมายในทางนัย ผู้อ่านจึงต้องอาศัยความรู้พื้นฐานและ ประสบการณ์เดิม ช่วยในการตัดสินความหมาย ก่อนที่จะเป็นใจความสำคัญ กระบวนการดังกล่าว จงึ เกีย่ วข้อง กบั ความสามารถทางการผูอ้ า่ นนั่นเอง 6. การทำงานของสายตา การอ่านจับใจความจะเกี่ยวข้องกับการทำงานของ สายตา การอ่านสารที่มีความยากง่ายเหมาะสมกับความสามารถของผูอ้ ่าน จะช่วยลดปัญหาการอ่าน จับใจความ แต่ปัญหาทางสายตาที่ เกี่ยวข้องกับการอ่านจับใจความคือ สายตาที่ผิดปกติ ซึ่งได้แก่
28 การมองเห็นไม่ชัด สายตาสั้น สายตายาว และ สายตาเอียง จึงควรได้รับการตรวจรักษาจากจักษุ แพทย์ ด้วยเหตุนสี้ ายตาจงึ เปน็ องค์ประกอบท่สี ำคญั ของ การอา่ นจับใจความ 7. พื้นฐานทางภามา พื้นฐานทางภาษา เป็นสิ่งสำคัญสำหรับผู้อ่าน ถ้ามีพื้นฐาน ทางภาษาถูกต้องในเรื่อง เกี่ยวกับคำ ความหมายของคำ และหลักภาษา ก็จะช่วยให้ผู้อ่านสามารถ จับใจความสารที่อ่านได้ถูกต้อง ด้วยเหตุนี้ พื้นฐานทางภายาจึงเป็นองค์ประกอบที่สำคัญอย่างหน่ึง ของการอ่านจับใจความ จากการศึกษาพบว่าองค์ประกอบที่มีผลต่อการอ่านจับใจความสำคัญ พบว่ามี ปัจจัยต่าง ๆ ที่เป็นองค์ประกอบสำคัญที่มีผลต่อการอ่านจับใจความสำคัญ ไม่ว่าจะเป็นปัจจัย ที่เกิดจากตวั ของผู้อา่ น และสิ่งแวดล้อมของผ้อู ่าน 2.3.6 เกณฑ์การวดั และประเมนิ ผลความเข้าใจในการอา่ นจบั ใจความสำคญั บันลือ พฤกษะวัน (2545 : 9-10) อธบิ ายถงึ การตรวจสอบความเข้าใจในการอ่าน ของนักเรียน ได้หลายทาง ดงั นี้ 1. ตอบคำถามจากเรอ่ื งทอี่ า่ นไดถ้ ูกต้อง 1.1 ตอบคำถามจากข้อเท็จจริงของทอ้ งเรื่อง 1.2 ตอบคำถามโดยการวิเคราะหห์ าเหตุผลของเร่อื ง 1.3 ตอบคำถามจากการสรุปเรือ่ ง หรือวิจารณ์ ไตร่ตรอง 2. เลา่ เรอื่ งและสรุปเรื่องที่อา่ นได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 3. ประเมินและเลือกแบบจากตวั ละคร ใหเ้ หตผุ ลประกอบการเลือกหรือไมเ่ ลือก 4. แสดงประกอบนิทาน แสดงท่าใบป้ ระกอบประโยค วลี หรือคำศัพท์ได้ 5. หาความสัมพันธข์ องคำ เช่น กระต่ายกระโดด เต่า-คลาน 6. หาคำตรงข้ามเชิงความหมาย เชน่ ย้มิ -ปิ้ง 7. อธบิ ายคำคม คำพังเพย แล้วแตง่ นิทานประกอบ 8. ตอ่ นทิ านท่เี ล่าไม่จบอยา่ งมีความตอ่ เนื่องและสมเหตสุ มผล 9. สรุป ตง้ั ชอื่ เรอ่ื งได้ครอบคลุมเนือ้ เรอ่ื ง พร้อมอธบิ าย 10. ปฏิบัตติ ามขัน้ ตอนการประกอบอาหาร ประดิษฐ์ หรอื ดำเนินการทดลองทาง วิทยาศาสตร์ 11. นำความเข้าใจจากสิ่งที่อ่านมาใช้ในการพยากรณ์แนวโน้มเก่ี ยวกับ สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ สังคม เศรษฐกจิ 12. วจิ ารณ์ ใหข้ อ้ คิดและเสนอแนะแก้ไขเชิงยอมรบั ไม่ยอมรับ โตแ้ ยง้ ดว้ ยเหตุผล ของตน
29 สุนันทา มั่นเศรษฐวิทย์ (2545 : 148-150) ได้เสนอการประเมินการอ่าน จบั ใจความโดยใชเ้ กณฑ์ มาตรฐานพิจารณาเน้ือเรือ่ งทผี่ ้อู ่านจับใจความ ไว้ 2 วิธี คือ 1. การใช้เครื่องมือที่เป็นแบบทดสอบ ผู้อ่านจะต้องตอบคำถามได้ร้อยละ 70 ขึ้นไป การยึดเกณฑ์นี้ นักการศึกษามีความเห็นว่าผู้อ่านได้พลาดเนื้อเร่ืองบางตอนไปร้อยละ 30 แล้ว หากยึดเกณฑ์ประเมินที่ต่ำกว่านี้ จะทำให้มีความเข้าใจคลาดเคลื่อนในเหตุการณ์สำคัญของเรื่อง นักการศึกษาบางคนกำหนดเกณฑ์ที่แตกต่างไปจากนี้ คือ Kress and John โดยเสนอแนะเกณฑ์ใน การประเมนิ การอา่ นจับใจความไวด้ งั นี้ 1.1 ผู้อ่านที่สามารถตอบคำถามหรือเล่าเรื่องได้ถูกต้องในขอบเขตร้อย 8-100 มีความสามารถ ในการอา่ นจบั ใจความอยใู่ นระดับที่ 1 1.2 ผู้อ่านที่ตอบคำถามหรือเล่าเรื่องได้ถูกต้องในขอบเขตร้อยละ 75-89 มคี วามสามารถในการ อา่ นจับใจความอยู่ในระดับที่ 2 1.3 ผู้อ่านที่ตอบคำถามหรือเล่าเรื่องได้ถูกต้องต่ำกว่าร้อยละ 75 แสดงว่ายังมี ข้อบกพร่องในการ อ่านจับใจความ พลาดประเด็นสำคัญของเนื้อเรื่อง ควรมีการอ่านทบทวนลกั ษณะ การประเมินการอ่าน จับใจความของภาษาไทยควรใช้เกณฑ์การจับใจความได้ร้อยละ 70 เป็น อย่างน้อยแล้วใช้หลักส่งเสริมให้ ผู้อ่านมีพัฒนาการในการจับใจความให้มากขึ้นควบคู่กับการพัฒนา อัตราเรว็ ในการอ่าน 2. การใช้แบบประเมินค่า โดยใช้ระดับตัวอักษรแล้วดีค่าออกมาเป็นคะแนน เช่น เมอ่ื ผูอ้ า่ นประเมินการ อ่านจับใจความของตนแล้วรวมคะแนนทั้งหมดในแตล่ ะข้อมีมติใหแ้ บบประเมิน มีทัง้ หมด 20 ข้อถ้าทำ เคร่ืองหมาย ในชอ่ ง \"มาก\" ทุกช่องจะได้คะแนนเต็ม80 คะแนน ระดับคะแนน ท่ีได้มขี อบเขตดงั น้ี 72-80 = 4 ดี 52-71 = 3 ค่อนขา้ งดี 32-51 = 2 พอใช้ 0-31 = 1 ปรับปรุง ผูอ้ า่ นท่ีประเมนิ การอา่ นจับใจความของตนแลว้ หากรวมคะแนนแลว้ อยู่ในระดับ 4 และ 3 แสดงว่ามีความสามารถในการอ่านขับใจความที่น่าพอใจ แต่ถ้าผลที่ได้อยู่ในระดับ 2 หรือ 1 ผู้อา่ นควรปรับปรงุ เพื่อพฒั นาคณุ ภาพการอ่านจบั ใจความให้ดีขน้ึ จากการการศึกษาการวัดและประเมินผลการอ่านจับใจความ พบว่า เป็นการวัด ความสามารถในการอ่านจับใจความให้ตรงตามเนื้อหาและจุดประสงค์ ซึ่งสามารถวัดได้หลายวิธี คือ แบบอตั นยั แบบทดสอบปรนัย แบบทคสอบแบบเลอื กตอบ แบบถกู ผดิ แบบจบั คูแ่ ละแบบทดสอบกึ่ง ปรนยั ซงึ่ เปน็ แบบทดสอบท่ีต้องการคำตอบสน้ั ๆ ใหเ้ ตมิ หรอื ต่อให้สมบรู ณ์
30 2.4 แบบฝึก 2.4.1 ความหมายของแบบฝึก พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2542 (2546 : 489) ได้อธิบาย ความหมายของแบบฝึกไว้ว่า แบบฝึก หมายถึง ตัวอย่างปัญหาหรือคำสั่งที่ตั้งขึ้นเพื่อให้นักเรียน ฝึกตอบ เป็นเครื่องมือทางการเรียนชิ้นหนึ่งสำหรับนักเรียน โดยในแบบฝึกจะประกอบด้วยข้อคำถาม หรือกิจกรรมและมีช่องว่างให้นักเรียนเขียนคำตอบหรือฝึกทำบทเรียนในชั้นเรียน ฉะนั้นแบบฝึก จงึ ควรมสี ว่ นประกอบทส่ี ำคัญ คอื ผู้เรยี นเปน็ ผเู้ รยี นด้วยตนเอง เชาวนี คำเลิศลักษณ์ (2542: 35) กล่าวว่า แบบฝึกเป็นสิ่งที่นักเรียนต้องใช้ควบคู่ กับการเรียน มีลักษณะเป็นแบบฝึกที่ครอบคลุมกิจกรรมพึงกระทำอาจกำหนดแยกเป็นหน่วยหรือ อาจรวมเลม่ กไ็ ด้ ไพทูลย์ มูลดี (2546: 48) กล่าวว่า แบบฝึกทักษะคือ ชุดฝึกการเรียนรู้ที่ครูสร้าง ขึ้นให้นักเรียนได้ทบทวนเนื้อหาที่เรียนรู้มาแล้วเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ ช่วยเพิ่มทักษะ ความชำนาญ และฝึกกระบวนการคิดให้มากขึ้น ทั้งยังมีประโยชน์ในการลดภาระการสอนให้กับครู พัฒนาความสามารถของผู้เรียน และทำให้ผู้เรียนสามารถมองเห็นความก้าวหน้าจากผลการเรียนรู้ ของตนเองได้ สนุ นั ทา สนุ ทรประเสริฐ (2543: 1-2) กลา่ วว่า แบบฝึกเป็นส่ือท่ีใช้ในการฝกึ ทักษะ การคิด การวิเคราะห์ การแก้ปัญหาการปฏิบัติของนักเรียน นิยมใช้ในกลุ่มภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ การงานและพื้นฐานอาชีพ และกล่าวอีกว่าความสำคัญของการฝึกฝนว่า เมื่อครูได้สอน แนวคิด หลักการให้กับนักเรียน และนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องนั้นแล้ว ขั้นต่อไปครูต้อง จัดกิจกรรมให้นักเรียนได้ฝึกฝน เพื่อให้มีความชำนาญคล่องแคล่วแม่นยำ และรวดเร็วหรือที่เรียกว่า ฝกึ ฝนเพอ่ื เกดิ ทักษะ นอกจากน้ีแบบฝึกยังเปน็ ส่ือการสอนทำขึน้ เพ่ือให้ผู้เรียนได้ศึกษาให้เข้าใจฝึกฝน จนรู้และชำนาญ มีทกั ษะในเรือ่ งใดเรอื่ งหนงึ่ จากความหมายของแบบฝึกสรุปได้ว่า แบบฝึก หมายถึงเครื่องมือที่ใช้ในการฝึก ทกั ษะและกระบวนการตา่ ง ๆ ช่วยสง่ เสริมและพฒั นาความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ให้กับผู้เรียน 2.4.2 ความสำคัญของแบบฝกึ สุวทิ ย์ มูลคำ (2550 : 53) ไดส้ รุปความสำคญั ของแบบฝึกวา่ แบบฝกึ มคี วามสำคัญ ต่อผู้เรยี นไมน่ อ้ ย ในการทจี่ ะชว่ ยสง่ เสริมสร้างทักษะใหก้ ับผู้เรียนได้เกิดการเรยี นรูแ้ ละเข้าใจได้เร็วข้ึน ชัดเจนขึ้น กว้างขวางขึ้น ทำให้การสอนของครูและการเรียนของนักเรียนประสบผลสำเร็จอย่างมี ประสทิ ธิภาพ
31 ถวลั ย์ มาศจรัส และคณะ (2550 : 19) ไดก้ ลา่ วถงึ ความสำคญั ของแบบฝึกทักษะ ไว้ดงั นี้ 1. เปน็ ส่วนเพม่ิ เติมหรอื เสริมในหนงั สือเรยี น 2. ช่วยเสริมทักษะการใช้ภาษาให้ดีขึ้น แต่ทั้งนี้ต้องอาศัยการส่งเสริม และ ความเอาใจใส่ของครผู ้สู อนด้วย 3. ชว่ ยในเร่อื งความแตกต่างระหว่างบุคคล 4. การฝึกช่วยเสริมให้ทักษะทางภาษาคงทน ลักษณะการฝึกที่ช่วยให้เกิดผล ดังกลา่ ว 4.1 ฝกึ ทันทีหลงั จากท่ีนักเรยี นได้เรียนร้ใู นเรือ่ งน้ัน ๆ 4.2 ฝึกซ้ำหลาย ๆ คร้ัง 4.3 เนน้ เฉพาะในเรอ่ื งทีฝ่ กึ 4.4 การให้นักเรียนทำแบบฝึก ช่วยให้ครูมองเห็นจุดเด่น หรือจุดบกพร่อง ของนกั เรยี นได้ 4.5 แบบฝกึ ทกั ษะจะช่วยใหค้ รปู ระหยดั แรงงานและเวลา ธนิดา เรืองวเิ ศษ (2550 : 32) กลา่ วถงึ ความสำคญั ของแบบฝึกทักษะไว้ว่า ในการ เรยี นการสอนถ้ำขาดแบบฝึกทักษะท่ีใช้ในการฝึกทักษะความรู้ตา่ ง ๆ หลงั จากเรยี นไปแล้วเด็กอาจจะ ลืมเลอื นความรู้ทีเ่ รยี นไปได้ อันจะส่งผลใหก้ ารเรียนการสอนไม่มีประสิทธิภาพเทา่ ที่ควร จากการศึกษาความสำคัญของแบบฝึก สรุปได้ว่า แบบฝึกคือส่วนสำคัญที่ช่วยใน การแก้ไข ส่งเสริมและพัฒนาให้การเรียนรู้ของนักเรียนดีขึ้น ช่วยผ่อนแรงและประหยัดเวลาของ กระบวนการจดั เรียนการสอนในหอ้ งเรยี น 2.4.3 องค์ประกอบของแบบฝึก สุวทิ ย์ มูลคำ และสนุ ันทา สุนทรประเสริฐ (2550 : 61-62) ไดก้ ำหนด สว่ นประกอบของแบบฝกึ ทักษะไดด้ ังนี้ 1. คู่มือการใช้แบบฝึก เป็นเอกสารสำคัญประกอบการใช้แบบฝึก ว่าใช้เพื่ออะไร และมีวิธีใช้อย่างไร เช่น ใช้เป็นงานฝึกท้ายบทเรียน ใช้เป็นการบ้าน หรือใช้สอนซ่อมเสริม ประกอบด้วย 1.1 ส่วนประกอบของแบบฝึก จะระบวุ ่าในแบบฝึกชุดน้ี มแี บบฝึกท้ังหมดก่ีชุด อะไรบ้าง และมสี ่วนประกอบอื่น ๆ หรือไม่ เช่น แบบทดสอบ หรอื แบบบนั ทึกผลการประเมิน 1.2 สง่ิ ทค่ี รูหรือนักเรียนต้องเตรียม (ถา้ มี) จะเปน็ การบอกให้ครหู รือนกั เรยี น เตรียมตัวให้พร้อมลว่ งหน้าก่อนเรยี น 1.3 จดุ ประสงคใ์ นการใช้แบบฝึก
32 1.4 ขั้นตอนในการใช้ บอกข้อตามลำดับการใช้ และอาจเขียนในรูปแบบของ แนวการสอนหรือแผนการสอนจะชัดเจนยง่ิ ขน้ึ 1.5 เฉลยแบบฝึกในแตล่ ะชดุ 2. แบบฝึก เป็นสื่อที่สร้างขึ้นเพื่อใหผ้ ูเ้ รียนฝกึ ทักษะ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ที่ถาวร ควรมีองค์ประกอบ ดังนี้ 2.1 ชอ่ื ชดุ ฝกึ ในแตล่ ะชดุ ย่อย 2.2 จุดประสงค์ 2.3 คำส่งั 2.4 ตัวอย่าง 2.5 ชุดฝึก 2.6 ภาพประกอบ 2.7 ข้อทดสอบก่อนและหลงั เรียน 2.8 แบบประเมินบันทกึ ผลการใช้ 2.4.4 ลักษณะของแบบฝึกที่ดี ถวัลย์ มาศจรัส และคณะ (2550 : 20) ได้อธิบายถึงลักษณะของแบบฝึกหัด หรือแบบฝึก ทกั ษะทีด่ ี ดังนี้ 1. จุดประสงค์ 1.1 จุดประสงค์ชดั เจน 1.2 สอดคลอ้ งกับการพฒั นาทักษะตามสาระการเรยี นรู้และกระบวนการเรียนรู้ ของกล่มุ สาระการเรียนรู้ 2. เนอื้ หา 2.1 ถกู ตอ้ งตามหลกั วชิ า 2.2 ใชภ้ าษาเหมาะสม 2.3 มคี ำอธบิ ายและคำสัง่ ทชี่ ดั เจน งา่ ยตอ่ การปฏิบัติตาม 2.4 สามารถพัฒนาทักษะการเรียนรู้ นำผู้เรียนสู่การสรุปความคิดรวบยอด และหลักการสำคัญของกลุ่มสาระการเรียนรู้ 2.5 เป็นไปตามลำดับขั้นตอนการเรียนรู้สอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้และความ แตกต่างระหวา่ งบคุ คล 2.6 มีคำถามและกิจกรรมที่ท้าทายส่งเสริมทักษะกระบวนการเรียนรู้ ของธรรมชาติวชิ า
33 2.7 มีกลยทุ ธก์ ารนาเสนอและการตง้ั คำถามท่ชี ัดเจนน่าสนใจปฏิบัตไิ ด้สามารถ ใหข้ ้อมลู ยอ้ นกลับ เพือ่ ปรบั ปรงุ การเรียนได้อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง สุวิทย์ มูลคำ และสุนันทา สุนทรประเสริฐ (2550 : 60-61) ก็ได้สรุปลักษณะ ของแบบฝึกที่ดีควรคำนึงถึงหลักจิตวิทยาการเรียนรู้ผู้เรียนได้ศึกษาด้วยตนเอง ความครอบคลุม ความสอดคล้องกับเน้อื หา รปู แบบนา่ สนใจ คำสงั่ ชดั เจน และไดส้ รุปลักษณะของแบบฝึกไวด้ งั นี้ 1. ใชห้ ลักจติ วิทยา 2. สำนวนภาษาไทย 3. ให้ความหมายต่อชวี ิต 4. คิดไดเ้ รว็ และสนุก 5. ปลุกความน่าสนใจ 6. เหมาะสมกบั วยั และความสามารถ 7. อาจศึกษาได้ด้วยตนเอง และได้แนะนำใหผ้ ูส้ รา้ งแบบฝกึ ใหย้ ึดลักษณะของแบบฝกึ ไว้ดังน้ี 1. แบบฝึกที่ดีควรมีความชัดเจนทั้งคำสั่งและวิธีทำคำสั่งหรือตัวอย่างวิธีทำที่ใช้ ไม่ควรยาวเกินไป เพราะจะทำให้เข้าใจยาก ควรปรับให้ง่ายเหมาะสมกับผู้ใช้ทั้งนี้เพื่อให้นักเรียน สามารถศึกษาดว้ ยตนเองได้ถ้าตอ้ งการ 2. แบบฝึกที่ดีควรมีความหมายต่อผู้เรียนและตรงตามจุดมุ่งหมายของการฝึก ลงทนุ นอ้ ยใชไ้ ดน้ าน และทนั สมัยอยเู่ สมอ 3. ภาษาและภาพที่ใช้ในแบบฝึกหัดควรเหมาะสมกับวัยและพื้นฐานความรู้ ของผู้เรียน 4. แบบฝกึ ทด่ี คี วรแยกฝกึ เปน็ เรือ่ งๆ แต่ละเร่อื งไม่ควรยาวเกินไปแตค่ วรมกี จิ กรรม หลายรูปแบบ เพื่อเร้าให้นักเรียนเกิดความสนใจและไม่น่าเบื่อหน่ายในการทำ และเพื่อฝึกทักษะใด ทักษะหนงึ่ จนเกดิ ความชำนาญ 5. แบบฝกึ ทดี่ คี วรมที งั้ แบบกำหนดใหโ้ ดยเสรี การเลอื กใชค้ ำ ข้อความหรือรูปภาพ ในแบบฝึก ควรเป็นสง่ิ ทนี่ กั เรียนคนุ้ เคยและตรงกับความในใจของนักเรยี นเพ่อื ว่าแบบฝึกหดั ท่ีสร้างข้ึน จะได้ก่อให้เกิดความเพลิดเพลินและพอใจแก่ผู้ใช้ ซึ่งตรงกับหลักการเรียนรู้ได้เร็วในการกระทำ ทก่ี ่อใหเ้ กดิ ความพึงพอใจ 6. แบบฝึกที่ดีควรเปิดโอกาสให้ผเู้ รยี น ได้ศึกษาด้วยตนเองให้รู้จักค้นคว้ารวบรวม สิ่งที่พบเห็นบ่อย ๆ หรือที่ตนเองเคยใช้ จะทำให้นักเรียนสนใจเรื่องนั้น ๆ มากยิ่งขึ้น และจะรู้จัก ความรู้ในชีวิตประจำวันอย่างถูกต้อง มีหลักเกณฑ์และมองเห็นว่าส่ิงที่เขาได้ฝึกฝนนั้นมีความหมาย ต่อเขาตลอดไป
34 7. แบบฝกึ ท่ดี ีควรจะสนองความแตกต่างระหวา่ งบุคคล ผเู้ รยี นแตล่ ะคนจะมคี วาม แตกต่างกันหลาย ๆ ด้าน เช่น ความต้องการ ความสนใจ ความพร้อม ระดับสติปัญญา และประสบการณ์ ฯลฯ ฉะนน้ั การทำแบบฝกึ หดั แตล่ ะเรือ่ ง ควรจดั ทำให้มากพอและมที กุ ระดบั ตง้ั แต่ ง่าย ปานกลาง จนถึงระดับค่อนข้างยาก เพื่อว่าทั้งเด็กเก่ง กลาง และอ่อน จะได้เลือกท ำได้ ตามความสามารถ ทงั้ นีเ้ พอ่ื ให้เดก็ ทุกคนประสบความสำเร็จ ในการทำแบบฝกึ หัด 8. แบบฝึกที่ดีควรสามารถเร้าความสนใจของนักเรียนได้ตั้งแต่หน้าปกไปจนถึง หนา้ สดุ ท้าย 9. แบบฝึกที่ดีควรได้รับการปรับปรุงไปคู่กับหนังสือแบบเรียนอยู่เสมอและ ควรใช้ไดด้ ีทั้งในและนอกบทเรยี น 10. แบบฝึกที่ดีควรเป็นแบบที่สามารถประเมิน และจำแนกความเจริญงอกงาม ของเด็กได้ดว้ ย ฐานิยา อมรพลัง (2548: 78) ได้เสนอลักษณะที่ดีของแบบฝึก คือ แบบฝึก ที่เรียงลำดับจากง่ายไปหายาก มีรูปภาพประกอบ มีรูปแบบน่าสนใจ หลากหลายรูปแบบ โดยอาศัย หลักจิตวิทยาในการจัดกิจกรรมหรือจัดแบบฝึกให้สนุก ใช้ภาษาเหมาะสมกับวัย และ ระดับช้ัน ของนักเรียน มีคำสั่ง คำชี้แจงสั้น ๆ ชัดเจน เข้าใจง่าย มีตัวอย่างประกอบ มีการจัดกิจกรรม การฝึก ทเี่ ร้าความสนใจ และแบบฝกึ น้นั ควรทนั สมัยอยูเ่ สมอ River (1968: 97-105 ไดส้ รปุ ลกั ษณะของแบบฝกึ ทีส่ ำคัญไวด้ ังน้ี 1. ตอ้ งมีการฝกึ นักเรยี นมากพอสมควรในเรอ่ื งหนง่ึ ๆ ก่อนทจ่ี ะมกี ารฝึกเรอ่ื งอืน่ ๆ ตอ่ ไป ท้ังน้ที ำข้ึนเพ่ือการสอนมิใช่ทำข้ึนเพอ่ื การสอบ 2. แต่ละบทควรฝึกโดยใช้แบบประโยคเพยี งหนง่ึ แบบเท่านนั้ 3. ฝกึ โครงสรา้ งใหมก่ ับส่ิงทีเ่ รยี นรู้แลว้ 4. ประโยคทีฝ่ กึ ควรเป็นประโยคสัน้ ๆ 5. ประโยคและคำศพั ท์ควรเปน็ แบบที่ใช้พูดกันในชวี ิตประจำวันที่นักเรียนรู้จกั ดีแลว้ 6. เป็นแบบฝึกทนี่ กั เรยี นใชค้ วามคดิ ดว้ ย 7. แบบฝกึ ควรมีหลายๆ แบบ เพื่อไม่ใหน้ ักเรียนเกดิ ความเบอ่ื หนา่ ย 8. ควรฝึกให้นกั เรยี นสามารถนำสิ่งที่เรยี นไปแล้วไปใชใ้ นชวี ิตประจำวนั ได้ จากการศึกษาลักษณะของแบบฝึกที่ดีสรุปได้ว่า เป็นแบบฝึกที่องค์ประกอบของเนื้อหา ที่ครบถ้วน ชัดเจน มีการนำหลักจิตวิทยาและหลักการออกแบบแบบฝึกที่ถูกต้อง สามารถช่วยให้ ผูเ้ รยี นเกิดการการเรียนรแู้ ละการพฒั นา
35 2.4.5 ประโยชนข์ องแบบฝึก ไพทูลย์ มูลดี(2546: 52) ได้อธิบายประโยชน์ของแบบฝึกไว้ดังนี้ คือ แบบฝึก มีความสำคัญและจำเป็นต่อการเรียนทักษะทางภาษามากเพราะจะช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจในบทเรียน ได้ ดขี ้นึ สามารถจดจำเนือ้ หาในบทเรียนและคำศัพท์ตา่ ง ๆ ได้คงทน ทำให้เกิดความสนุกสนาน ในขณะเรียน ทราบความก้าวหน้าของตนเอง สามารถนำแบบฝึกมาทบทวนเนื้อหาเดิมด้วยตนเอง ได้ นำมาวัดผลการเรียนหลังจากที่เรียนแล้ว ตลอดจนสามารถทราบข้อบกพร่อง ของนักเรียนและนำไปปรับปรุงแก้ไขได้ทันท่วงทีซึ่งจะมีผลทำให้ครูประหยัดเวลา ค่าใช้จ่ายและ ลดภาระไดม้ าก และยงั ให้นกั เรียนสามารถนำภาษาไปใชส้ อ่ื สารได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพด้วย วรรณภา ไชยวรรณ (2549: 41) ได้อธิบายถึงประโยชน์ของแบบฝึกทักษะไว้ว่า แบบฝกึ ชว่ ยในการฝึกหรอื เสรมิ ทกั ษะทางภาษา การใช้ภาษาของนักเรยี นสามารถนำมาฝึกซำ้ ทบทวน บทเรียน และผู้เรียนสามารถนำไปทบทวนด้วยตนเอง จดจำเนื้อหาได้คงทน มีเจตคติที่ดีต่อการเรียน ภาษาไทย แบบฝึกถือเป็นอุปกรณ์การสอนอย่างหนึ่งซึ่งสามารถทดสอบความรู้ วัดผลการเรียน หรอื ประเมินผลการเรียนกอ่ นและหลังเรียนไดเ้ ป็นอย่างดี ทำให้ครูทราบปัญหาขอ้ บกพร่องของผู้เรียน เฉพาะจดุ ได้ นักเรียนทราบความก้าวหน้าของตนเอง ครปู ระหยดั เวลา คา่ ใช้จา่ ยและลดภาระได้มาก ถวัลย์ มาศจรัส และคณะ (2550: 21) ได้อธิบายถึงประโยชน์ของแบบฝึกหัด และแบบฝึกทักษะเป็นสือ่ การเรียนรู้ ที่มุ่งเน้นในเรือ่ งของการแกป้ ัญหา และการพัฒนาในการจดั การ เรียนรใู้ นหน่วยการเรยี นรแู้ ละสามารถเรยี นรู้ได้ โดยสรปุ ได้ดังนี้ 1. เปน็ สอ่ื การเรยี นรู้ เพื่อพฒั นาการเรยี นรู้ใหแ้ กผ่ ู้เรยี น 2. ผูเ้ รียนมีสื่อสาหรบั ฝึกทักษะดา้ นการอ่าน การคดิ การคิดวเิ คราะห์ และการเขยี น 3. เปน็ สื่อการเรียนรสู้ าหรบั การแก้ปญั หาในการเรียนร้ขู องผู้เรียน 4. พัฒนาความรู้ ทกั ษะ และเจตคตดิ า้ นต่าง ๆ ของผเู้ รียน วรนุช บปุ ผา (2548: 8) ได้กล่าวประโยชนข์ องแบบฝกึ ไว้ดงั นี้ 1. เป็นส่วนเพิ่มเติมหรือเสริมหนังสือเรียนในการเรียนทักษะ เป็นอุปกรณ์ การสอนทีช่ ว่ ยลดภาระครไู ด้มาก เพราะแบบฝกึ เปน็ ส่ิงทจี่ ดั ทำข้ึนอย่างเปน็ ระบบและมรี ะเบยี บ 2. ชว่ ยเสรมิ ทักษะ แบบฝึกหดั เปน็ เครอื่ งมือทีช่ ว่ ยเด็กในการฝึกทักษะ แต่ท้ังนี้ จะตอ้ งอาศยั การสง่ เสริมและความเอาใจใส่จากครผู ้สู อนด้วย 3. ช่วยเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคล เนื่องจากเด็กมีความสามารถ ทางภาษาแตกต่างกัน การให้เด็กทำแบบฝึกหัดที่เหมาะสมกับความสามารถของเขา จะช่วยให้เด็ก ประสบผลสำเร็จในด้านจิตใจมากขึ้น ดังนั้นแบบฝึกหัดจึงไม่ใช่สมุดฝึกที่ครูจะให้เด็กลงมือทำหนา้ ตอ่ หน้า แต่เป็นแหล่งประสบการณ์เฉพาะสำหรับเด็กที่ต้องการความช่วยเหลือพิเศษ และเป็นเครื่องมือ ชว่ ยท่มี คี ่าของครทู ี่สนองความตอ้ งการเปน็ รายบุคคลในช้ันเรยี น
36 4. แบบฝึกช่วยเสริมทักษะให้คงทนลักษณะการฝึกเพื่อช่วยให้เกิดผลดังกล่าว นั้น ได้แก่ ฝึกทันทีหลังจากทีเ่ ด็กไดเ้ รียนร้ใู นเรื่องนนั้ ๆ ฝึกซ้ำหลาย ๆ ครง้ั เนน้ เฉพาะในเรอ่ื งท่ผี ิด 5. แบบฝกึ หัดทใี่ ช้จะเปน็ เคร่อื งมือวัดผลการเรียนหลังจากจบบทเรยี นในแตล่ ะครง้ั 6. แบบฝึกหัดที่จัดทำขึ้นเป็นรูปเล่ม เด็กสามารถเก็บรักษาไว้ใช้เป็นแนวทาง เพ่อื ทบทวนดว้ ยตนเองไดต้ อ่ ไป 7. การให้เด็กทำแบบฝึกหัด ช่วยให้ครูมองเห็นจุดเด่นหรือปัญหาต่าง ๆ ของเด็กได้ชัดเจน ซง่ึ จะช่วยให้ครดู ำเนินการปรบั ปรุงแกไ้ ขปญั หานนั้ ๆ ได้ทนั ทว่ งที 8. แบบฝึกที่จัดขึ้นนอกเหนือจากที่มีอยู่ในหนังสือเรียนจะช่วยให้เด็กได้ฝึกฝน อย่างเต็มท่ี 9. แบบฝึกที่จัดพิมพ์ไว้เรียบร้อยแล้ว จะช่วยทำให้ครูประหยัดทั้งแรงงาน และเวลาในการที่จะต้องเตรียมสร้างแบบฝึกอยู่เสมอ ในด้านผู้เรียนก็ไม่ต้องเสียเวลาในการลอก แบบฝกึ หัดจากตำราเรยี นหรือกระดานดำทำให้มีเวลาและโอกาสไดฝ้ ึกฝนทกั ษะต่าง ๆ มากขึน้ 10. แบบฝึกชว่ ยประหยัดค่าใชจ้ ่าย เพราะการจดั พิมพข์ ้ึนเป็นรูปเล่มท่ีแน่นอน ยอ่ มลงทนุ ต่ำกว่าการทจ่ี ะใช้วิธีพิมพ์ลงในกระดาษไขทุกครง้ั นอกจากนีย้ งั มปี ระโยชน์ในการที่ผู้เรียน สามารถบนั ทกึ และมองเหน็ ความกา้ วหนา้ ของตนเองได้อย่างมีระบบและเป็นระเบียบ จากการศึกษาประโยชน์ของแบบฝึกสรุปได้ว่า แบบฝึกเป็นเครื่องมือที่ช่วย แกป้ ญั หาการเรยี น ช่วยส่งเสรมิ และพฒั นาทักษะและกระบวนการต่าง ๆ ของผเู้ รียน
37 2.4.6 ทฤษฎี จิตวทิ ยาในการสร้างแบบฝกึ วรรณภา ไชยวรรณ (2549: 45) ได้สรุปหลักการสร้างแบบฝึกทักษะดงั น้ี 1. ความใกล้ชิด คือ ถ้าใช้สิ่งเร้าและการตอบสนองเกิดขึ้นในเวลาใกล้เคียงกัน จะสรา้ ง ความพอใจใหก้ ับผู้เรยี น 2. การฝึก คือ การให้นักเรียนได้ทำซ้ำ ๆ เพ่ือชว่ ยสร้างความรู้ ความเขา้ ใจท่ีแมน่ ยำ 3. กฎแห่งผล คือ การท่ีผเู้ รยี นได้ทราบผลการทำงานของตนดว้ ยการเฉลยคำตอบ จะชว่ ยให้ผู้เรยี นทราบข้อบกพรอ่ งเพื่อปรับปรงุ แก้ไขและเป็นการสร้างความพอใจแก่ผเู้ รยี น 4. การจูงใจ คือ การสร้างแบบฝึกเรียงลำดับจากแบบฝึกง่ายและสั้นไปสู่แบบฝึก เรือ่ งทยี่ ากและยาวขนึ้ ควรมีภาพประกอบและมหี ลายรสหลายรูปแบบ สุวิทย์ มูลคำ และสนุ นั ทา สุนทรประเสรฐิ (2550: 54-55) ได้สรุปหลักในการสรา้ ง แบบฝึกว่าต้องมีการกำหนดเงื่อนไขที่จะช่วยใหผ้ ู้เรียนทุกคนสามารถผ่านลำดับขั้นตอนของทุกหน่วย การเรียนได้ ถ้านักเรียนได้เรียนตามอัตราการเรียนของตนก็จะทำให้นักเรียนประสบความสำเร็จ มากขนึ้ อกนิษฐ์ กรไกร (2549: 17) ได้ดำเนินการสร้างแบบฝึกทักษะ ยึดหลักให้นักเรียน ไดเ้ รียนรู้ด้วยตนเองตามศักยภาพของแต่ละบุคคล ในความคาดหวัง ตอ้ งการให้เด็กที่ใช้แบบฝึกทักษะ มพี ฤติกรรม ดังน้ี 1. Active Responding ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียนอย่างกระฉับกระเฉง ไม่ว่าจะเป็นคิดในใจหรือแสดงออกมาด้วยการพูดหรือเขียน นักเรียนอาจเขียนรูปภาพเติมค ำแต่ง ประโยคหรือหาคำตอบในใจ 2. Minimal Error ในการเรียนแต่ละครั้งเราหวังว่า นักเรียนจะตอบคำถาม ไดถ้ ูกตอ้ งเสมอ แตใ่ นกรณีทีน่ ักเรียนตอบค าถามผดิ นักเรยี นควรมโี อกาสฝึกฝนและเรียนรู้ในสิ่งที่เขา ทำผิด เพือ่ ไปส่คู ำตอบทถ่ี กู ต้องต่อไป 3. Knowledge of Results เมื่อนักเรียนสามารถตอบถูกต้องเขาควรได้รับ เสริมแรง ถ้านักเรียนตอบผิดเขาควรได้รับการชี้แจง และให้โอกาสที่จะแก้ไขให้ถูกต้องเช่นเดียวกับ ประสบการณ์ที่เป็นความสำเร็จสำหรับมนุษย์แล้ว เพียงได้รู้ว่าทำอะไรสำเร็จก็ถือเป็นการเสริมแรง ในตัวเอง 4. Small Step การเรียนจะต้องเปิดโอกาสให้นักเรียนได้เรียนรู้ไปทีละน้อยด้วย ตนเอง โดยใหค้ วามรู้ตามลำดับขั้นและเปิดโอกาสให้ผู้เรียนใคร่ครวญตามซ่ึงจะเป็นผลดีต่อการเรียนรู้ ของเดก็ อย่างมาก แม้ทีเ่ รียนอ่อนก็จะสามารถเรยี นได้ สุวิทย์ มูลคำ และสุนันทา สุนทรประเสริฐ (2550: 54-55) ได้อธิบายแนวคิด และหลักการสร้างแบบฝึกว่า การศึกษาในเรื่องจิตวิทยาการเรียนรู้ เป็นสิ่งที่ผู้สร้างแบบฝึกมิควร
38 ละเลยเพราะการเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ต้องขึ้นอยู่กับปรากฏการณ์ของจิตและพฤติกรรมที่ตอบสนอง นานาประการ โดยอาศัยกระบวนการทเี่ หมาะสมและเปน็ วิธีที่ดีทสี่ ดุ การศกึ ษาทฤษฎีการเรยี นรู้ จากขอ้ มูลทนี่ ักจิตวิทยาได้ทำการค้นพบ และทดลองไว้แลว้ สำหรบั การสร้างแบบ ฝึกในสว่ นท่ีมีความสัมพันธก์ นั ดังนี้ สุจริต เพียรชอบ และสายใจ อินทรัมพรรย์ (2523: 52-62)กล่าวว่าการสร้าง แบบฝกึ ต้องยดึ หลกั ทฤษฎีการเรยี นรทู้ างจิตวิทยาดงั นี้ 1. ทฤษฎีการลองถูกลองผิดของธอร์นไดค์ ซึ่งได้สรุปเป็นกฎเกณฑ์การเรียนรู้ 3 ประการ คือ 1.1 กฎความพร้อม หมายถงึ การเรยี นร้จู ะเกดิ ข้นึ เม่ือบคุ คลพรอ้ มท่ีจะกระทำ 1.2 กฎผลทไี่ ด้รบั หมายถึง การเรียนร้ทู เ่ี กิดข้นึ เพราะบุคคลกระทำซำ้ ง่าย 1.3 กฎการฝึกหัด หมายถึง การฝึกหัดให้บุคคลทำกิจกรรมต่าง ๆ นั้น ผู้ฝึก จะต้องควบคุมและจัดสภาพการให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของตนเองบุคคลจะถูกกำหนดลักษณะ พฤติกรรมท่ีแสดงออก ดงั น้ัน ผสู้ รา้ งแบบฝกึ จึงจะตอ้ งกำหนดกิจกรรมตลอดจนคำส่ังตา่ ง ๆ ใบแบบฝึกให้ ผฝู้ กึ ได้แสดงพฤตกิ รรมสอดคลอ้ งกับจดุ ประสงค์ทีผ่ สู้ ร้างต้องการ 2. ทฤษฎีพฤติกรรมนิยมของสกินเนอร์ ซึ่งมีความเชื่อว่า สามารถควบคุมบุคคล ให้ทำตามความประสงค์หรือแนวทางที่กำหนดโดยไม่ต้องคำนึงถึงความรู้สึกทางด้านจิตใจของบุคคล ผู้นั้นว่าจะรู้สึกนึกคิดอย่างไร เขาจึงได้ทดลองและสรุปว่าบุคคลสามารถเรียนรู้ด้วยการกระทำ โดยมกี ารเสริมแรงเป็นตัวการ เปน็ บุคคลตอบสนองการเร้าของสิ่งเร้าควบคู่กันในช่วงเวลาท่ีเหมาะสม สง่ิ เร้านนั้ จะรกั ษาระดบั หรือเพ่มิ การตอบสนองใหเ้ ข้มขน้ึ 3. วิธีการสอนของกาเย่ ซึ่งมีความเหน็ ว่าการเรียนรู้มลี ำดบั ขั้น และผู้เรียนจะต้อง เรียนรเู้ น้ือหาทง่ี ่ายไปหายาก การสร้างแบบฝกึ จึงควรคำนึงถึงการฝึกตามล าดับจากงา่ ยไปหายาก 4. แนวคิดของบลูม ซึ่งกล่าวถึงธรรมชาติของผู้เรียนแต่ละคนว่ามีความแตกต่าง กันผู้เรียนสามารถเรียนรู้เนื้อหาในหน่วยย่อยต่าง ๆ ได้โดยใช้เวลาเรียนที่แตกต่างกันจากการศึกษา คน้ คว้าของผู้เรยี น
39 2.4.6 การสรา้ งแบบฝึก สุวิทย์ มูลคำ และสุนันทา สุนทรประเสริฐ(2550: 65) ได้เสนอแนะการสร้างแบบ ฝึกว่าขั้นตอนการสร้างแบบฝึก จะคล้ายคลึงกับการสร้างนวัตกรรมทางการศึกษาประเภทอื่น ๆ ซ่งึ มีรายละเอยี ดดงั นี้ 1. วเิ คราะหป์ ญั หาและสาเหตุจากการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน เชน่ 1.1 ปญั หาท่ีเกิดขนึ้ ในขณะท าการสอน 1.2 ปัญหาการผ่านจดุ ประสงคข์ องนกั เรยี น 1.3 ผลจากการสังเกตพฤติกรรมที่ไมพ่ งึ ประสงค์ 1.4 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น 2. ศึกษารายละเอยี ดในหลกั สูตร เพอ่ื วิเคราะห์เน้ือหา จดุ ประสงคแ์ ละกจิ กรรม 3. พิจารณาแนวทางแก้ปัญหาที่เกิดขึน้ จากข้อ 1 โดยการสร้างแบบฝึก และเลือก เน้ือหาในส่วนที่จะสรา้ งแบบฝึกนั้นว่าจะทำเรอื่ งใดบา้ ง กำหนดเปน็ โครงเรอ่ื งไว้ 4. ศึกษารูปแบบของการสร้างแบบฝกึ จากเอกสารตัวอยา่ ง 5. ออกแบบชุดฝึกแต่ละชุดใหม้ ีรูปแบบท่ีหลากหลายนา่ สนใจ 6. ลงมือสร้างแบบฝึกในแต่ละชุด พร้อมทั้งข้อทดสอบก่อนและหลังเรียนให้ สอดคลอ้ งกบั เน้ือหาและจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 7. สง่ ใหผ้ ู้เชย่ี วชาญตรวจสอบ 8. นำไปทดลองใช้ แล้วบนั ทึกผลเพื่อนำมาปรบั ปรงุ แกไ้ ขส่วนทบี่ กพร่อง 9. ปรับปรงุ จนมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ท่ตี ั้งไว้ 10. นำไปใช้จริงและเผยแพร่ต่อไป ถวลั ย์ มาศจรัส และคณะ (2550 : 21) ไดอ้ ธิบายข้ันตอนการสรา้ งแบบฝึก ดังน้ี 1. ศึกษาเนอื้ หาสาระสำหรับการจัดทำแบบฝกึ หดั แบบฝกึ ทักษะ 2. วิเคราะห์เนื้อหาสาระโดยละเอยี ดเพ่ือกำหนดจุดประสงค์ในการจัดทำ 3. ออกแบบการจัดทำแบบฝึกหัด แบบฝึกทักษะตามจุดประสงค์ 4. สรา้ งแบบฝึกหัด และแบบฝึกทกั ษะและสว่ นประกอบอ่ืน ๆ เชน่ 4.1 แบบทดสอบก่อนฝกึ 4.2 บตั รคำส่งั 4.3 ขั้นตอนกิจกรรมทีผ่ ้เู รยี นตอ้ งปฏิบัติ 4.4 แบบทดสอบหลงั ฝกึ 5. นำแบบฝกึ หัด แบบฝกึ ทกั ษะไปใชใ้ นการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 6. ปรับปรงุ พัฒนาใหส้ มบูรณ์
40 รชั นี ศรไี พรวรรณ (2520 : 30 - 31 ได้ใหข้ อ้ คดิ เกย่ี วกบั หลกั การสรา้ งแบบฝกึ ท่ดี ีไว้ดงั น้ี 1. ต้องสร้างแบบฝึกให้สอดคล้องกับหลักจิตวิทยา และพัฒนาการของเด็ก ตามลำดบั ขน้ั การเรียนรู้ แบบฝึกเสรมิ ทกั ษะนั้นต้องอาศัยรปู ภาพจูงใจนกั เรียนและควรจัดเรียงเน้ือหา ตามลำดบั จากงา่ ยไปยากเพอื่ ให้นักเรยี นมีกำลงั ใจทำแบบฝกึ 2. มีจุดมุ่งหมายที่แน่นอนว่าจะฝึกทักษะในด้านใด แล้วจัดเนื้อหาให้ตรงกับ จดุ มงุ่ หมาย 3. ต้องคำนึงถึงความแตกต่างระหวา่ งบุคคลของนักเรียน ถ้าสามารถแบ่งนักเรยี น ออกเป็นกลมุ่ ย่อยตามความสามารถ แล้วจึงจดั ทำแบบฝกึ เพ่ือส่งเสรมิ นกั เรยี นแต่ละกลุ่ม 4. แบบฝึกทดี่ ีต้องมคี ำชแ้ี จงงา่ ย สนั้ ๆ ที่นักเรียนอ่านเข้าใจแบบฝกึ ไดด้ ้วยตนเอง 5. แบบฝึกต้องมีความถูกต้อง ครูต้องพิจารณาให้รอบคอบโดยการทดลองทำดว้ ย ตนเองทีก่ ำหนดไวเ้ สียกอ่ นเพื่อไม่ให้มขี ้อผิดพลาด 6. การใหน้ ักเรียนทำแบบฝึกแต่ละครง้ั ต้องใช้เวลาใหเ้ หมาะกับช่วงความสนใจขอ 7. แบบฝึกควรมีหลายรูปแบบ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้อย่างกว้างขวางส่งเสริม ความคิดสร้างสรรค์และเมื่อฝึกเรื่องเดียวซำ้ ๆ กันหลายครั้ง เด็กไม่เบื่อหน่าย แต่พอใจที่ได้ทำแบบฝึก นนั้ ดว้ ยความเพลิดเพลนิ สุจริต เพียรชอบ และ สายใจ อินทรมั พรรย์ (2522 : 52-62) ได้สรปุ วา่ การจัดทำ แบบฝึกทักษะ ต้องยึดตามทฤษฎีการเรียนรู้ทางจติ วทิ ยาดังนี้ 1. กฎการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ เกี่ยวกับการลองผิดลองถูก นำไปสู่การเชื่อมโยง ระหวา่ งสิ่งเรา้ และการตอบสนองเกิดเปน็ การเรียนนรู้ 2. กฎแหง่ การฝึกหดั คือ ส่ิงใดท่ไี ด้ทำบอ่ ยๆ จะทำได้ดี ถา้ นาน ๆ ทำทกี จ็ ะเกิดลืม และทำได้ไม่ดี 3. ความแตกต่างระหว่างบุคคล คือ ต้องไม่ยากและไม่ง่ายเกินไป และมีความ เหมาะสมกบั ผู้เรยี นรายบคุ คล 4. มกี ารจงู ใจผู้เรียนโดยให้ทำแบบฝกึ จากงา่ ยไปยากเพ่อื ดงึ ดูดความสนใจ 5. ใช้แบบฝกึ สน้ั ๆ เพอื่ ไมใ่ หเ้ บ่ือหน่าย จากการศึกษาหลักการสร้างแบบฝึกสรุปได้ว่า หลักการสร้างแบบฝึกต้องอาศัยหลักการ ต่าง ๆ ในการสร้าง ไม่ว่าจะเป็นหลักทฤษฎีการเรียนรู้ทางจิตวิทยา หลักสูตรการศึกษา และวัตถปุ ระสงค์ จึงจะไดแ้ บบฝกึ ที่ดแี ละมีประสิทธภิ าพ
41 2.4.7 การหาประสิทธภิ าพของแบบฝึก ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2523 : 495) ได้เสนอแนะการกำหนดประสิทธิภาพและขั้นตอน การหา ดงั น้ี 1. การกำหนดเกณฑ์ประสิทธิภาพ การกำหนดเกณฑ์ประสิทธิภาพ โดยใช้เกณฑ์ มาตรฐานทำได้โดยการประเมินผลพฤติกรรมของผู้เรียน 2 ประเภท คือ พฤติกรรมต่อเนื่อง และพฤติกรรมสุดท้ายซึ่งค่าประสิทธิภาพจะกำหนดเป็นค่า E1 คือ ประสิทธิภาพของกระบวนการ (process) และ E2 คือประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (product) คิดเป็นร้อยละของผลเฉลี่ยคะแนนที่ได้ ดังนั้น E1/E2 หมายถึงประสิทธิภาพของกระบวนการและประสิทธิภาพของผลลัพธ์ โดยปกติแล้ว การกำหนดเกณฑ์ E1/E2 ขึ้นอยู่กับเนื้อหา ถ้าเป็นความรู้ความจำ มักกำหนดเกณฑ์ไว้ที่ 80/80, 85/85 หรือ 90/90 ส่วนเนื้อหาที่เป็นทักษะหรือด้านจิตใจจะกำหนดเกณฑ์ต่ำกว่า เช่น 75/75 หรือ 70/70 อยา่ งไรก็ตามไม่ต่ำกวา่ นี้ เพราะกำหนดไวเ้ ท่าใดมักจะไดผ้ ลเทา่ นั้น 2. การกำหนดเกณฑ์โดยการทดสอบทางสถิติ ทำได้โดยการนำแบบฝึกที่สร้างข้ึน ไปทดลองใชแ้ ลว้ หาคา่ ความแตกต่างของคะแนนก่อนเรียนและหลังเรยี น หากมีความแตกต่างกันอย่าง มีนัยสำคญั ทางสถิติกถ็ อื วา่ แบบฝึก มปี ระสิทธิภาพ สามารถนำไปใชพ้ ัฒนาผู้เรยี นได้ การทดลองหาประสทิ ธิภาพ การทดลองเพื่อหาประสิทธิภาพของสื่อจะต้องนำสื่อไปทดลองใช้ (Try Out) เพื่อปรับปรุงแก้ไขแล้วนำไปทดลอง สอนจริง (Trial Run) เพื่อนำผลที่ได้มาปรับปรุงแก้ไข เสร็จแล้ว จึงนำไปใชส้ อนในชนั้ เรียนตามปกติได้ ซงึ่ การทดลองใชม้ ขี ้ันตอนดังนี้ 1. ทดลองแบบเดี่ยว (1:1) เป็นการทดลอง ครู 1 คน ต่อเด็ก 1 คน ให้ทดลอง กับเด็กอ่อนเสียก่อน ทำการปรับปรุง แล้วนำไปทดลองกับเด็กปานกลางและนำไปทดลองกับเด็กเก่ง อย่างไรกต็ ามหากเวลาไม่อำนวย และสภาพการณ์ไมเ่ หมาะสมกใ็ ห้ทดลองกับเดก็ อ่อนหรอื ปานกลาง 2. การทดลองแบบกลุ่มเล็ก (1:10) เป็นการทดลองที่ครู 1 คน ต่อเด็ก 5-10 คน โดยใหเ้ ดก็ คละกนั ท้งั เกง่ ปานกลาง ออ่ น ไม่ควรทดลองกับเด็กออ่ นลว้ นหรอื เก่งทั้งหมด 3. การทดลองแบบกลุ่ม ( 1:100) เป็นการทดลองที่ครู 1 คน ต่อเด็ก 30-40 คน หรอื ทัง้ หอ้ งเรียน โดยใหเ้ ด็กคละกันท้ัง เก่ง ปานกลาง ออ่ น ไมค่ วรเลือกห้องเรียนทีม่ ีเด็กเก่งหรืออ่อน ลว้ น หลงั การทดลองแลว้ จงึ คำนวณหาประสทิ ธิภาพ แล้วปรับปรุงแก้ไขสือ่ ใหไ้ ดค้ า่ ประสิทธภิ าพ ตาม เกณฑท์ ีต่ ง้ั ไว้ โดยมเี กณฑท์ ย่ี อมรับได้ 3 ระดับ คือ 3.1 ระดับสูงกว่าเกณฑ์ เมื่อประสิทธิภาพของแบบฝึกสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ มี 2.5 ขน้ึ ไป 3.2 ระดับเท่าเกณฑ์ เมื่อประสิทธิภาพของแบบฝึกเท่ากับหรือสูงกว่าเกณฑ์ ทต่ี ั้งไวแ้ ต่ไมเ่ กินร้อยละ 2.5
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217