Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Placemat ต้นไหล

Placemat ต้นไหล

Published by radayapornpoompan, 2021-03-13 16:02:18

Description: Placemat ต้นไหล
นางสาวรดาญาพร ภูมิพันธ์

Search

Read the Text Version

Placemat ต้นไหล Sedge’s Placemat รดาญาพร ภูมิพันธ์ โครงการน้เี ปน็ ส่วนหน่ึงของการศกึ ษาตามหลักสตู ร ประกาศนยี บตั รวิชาชพี ช้ันสงู สาขาวชิ า การโรงแรม ประเภทวชิ า อตุ สาหกรรมทอ่ งเทีย่ ว วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาเชียงใหม่ ปกี ารศึกษา 2563

Placemat ต้นไหล Sedge’s Placemat รดาญาพร ภูมิพันธ์ โครงการน้เี ปน็ ส่วนหน่ึงของการศกึ ษาตามหลักสตู ร ประกาศนยี บตั รวิชาชพี ช้ันสงู สาขาวชิ า การโรงแรม ประเภทวชิ า อตุ สาหกรรมทอ่ งเทีย่ ว วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาเชียงใหม่ ปกี ารศึกษา 2563

ก ใบรบั รองโครงการ วิทยาลยั อาชวี ศึกษาเชียงใหม่ เรอ่ื ง Placemat ตน้ ไหล โดย นางสาวรดาญาพร ภูมิพนั ธ์ ไดร้ บั การรับรองให้นับเปน็ ส่วนหนึง่ ของการศกึ ษาตามหลกั สตู รประกาศนยี บัตรวชิ าชีพชั้นสงู สาขาวชิ าการโรงแรม ทวภิ าคี ประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเทีย่ ว หัวหน้าแผนกวิชาการโรงแรม รองผ้อู ำนวยการฝา่ ยวิชาการ (นางอปั สร คอนราด) (นายณรงคศ์ ักดิ์ ฟองศกั ดิ)์ วนั ที่ เดอื น พ.ศ. วนั ท่ี เดือน พ.ศ. คณะกรรมการสอบโครงการ ประธานกรรมการ (นายทินกร ติ๊บอนิ ถา) กรรมการ (นางสาวนพวรรณพ ดวงแกว้ กูล) กรรมการ (นางสาวนัชพร สาครธำรง)

ข กติ ติกรรมประกาศ โครงการ Placemat ตน้ ไหล ของนักศกึ ษาแผนกวชิ าการโรงแรม วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาเชียงใหม่ ฉบับนี้สำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดีเนื่องจากได้รับความกรุณา ความอนุเคราะห์ การสนับสนุน และการให้ คำแนะนำแนวทางในการดำเนนิ งานจากหลายทา่ น ขอขอบพระคณุ นายทนิ กร ตบ๊ิ อินถา ครทู ่ปี รึกษาวิชาโครงการ ท่ีให้คำปรึกษาโครงการ แนะนำ และให้ข้อคิดต่างๆ ในการทำโครงการ ตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่อง จนทำรายงานโครงการฉบับนี้เสร็จ สมบรู ณ์ ขอกราบพระคุณพอ่ คณุ แม่ ทใ่ี หก้ ำเนิดเลย้ี งดอู บรมส่งั สอนตลอดจนให้คำแนะนำคำปรึกษาต่าง ๆ ที่ทำให้โครงการฉบับนี้ลุล่วงไปได้ด้วยยดีรวมทั้งเป็นกำลังใจเสมอมา และขอขอบพระคุณ ผู้ตอบ แบบสอบถามความพงึ พอใจ ทกุ คนทีส่ ละเวลาอนั มีคา่ ช่วยเหลือและอนุเคราะห์ในการตอบแบบสอบถาม จนทำให้โครงการฉบับน้ีสำเรจ็ ลุล่วงไปดว้ ยดี รวมถึงผู้มสี ่วนเก่ียวข้องทุกท่านที่เป็นกำลังสำคัญในการให้ คำปรกึ ษา เป็นกำลังใจและให้ความช่วยเหลือตลอดมา จนทำรายงานเลม่ น้สี ำเรจ็ ลลุ ว่ งไปด้วยดี รดาญาพร ภูมิพันธ์

ค ชื่อ : นางสาวรดาญาพร ภมู พิ นั ธ์ ชื่อโครงการ : Placemat ตน้ ไหล สาขาวิชา : การโรงแรม ประเภทวิชา : อุตสาหกรรมทอ่ งเท่ียว อาจารย์ท่ีประจำวิชาโครงการ : นายทินกร ติบ๊ อนิ ถา อาจารย์ที่ปรกึ ษาวิชาโครงการ : นายทนิ กร ติ๊บอนิ ถา ปีการศกึ ษา : 2563 บทคัดย่อ ในการจัดทำโครงการในครัง้ นม้ี วี ัตถุประสงค์ เพอ่ื เผยแพร่วัฒนธรรมการตำ่ สาดของชาวอีสานให้ เป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น เพื่อศึกษาความรู้เกี่ยวกับต้นไหล และเพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจในผลิตภัณฑ์ แผ่นรองจานจากต้นไหล กลุ่มประชากรในการทดลองใช้ครั้งนี้ประกอบด้วยนักศึกษาระดับช้ัน ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ปีที่ 1, 2, และ 3 ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ปีที่ 1 และ 2 และระดับชั้นปริญญาตรี วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ จำนวน 50 คน ระยะเวลาดำเนินตั้งแต่ วนั ที่ 7 ธันวาคม 2563 ถึงวนั ท่ี 12 มีนาคม 2564 เคร่อื งมอื ท่ีใชใ้ นการศึกษาในคร้ังนไี้ ดแ้ ก่ แบบประเมิน ความพึงพอใจจากกูเกิลฟอร์ม (Google Form) โดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนแบ่งเบนมาตรฐาน ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปซึ่งผลการทดลองพบว่าการวเิ คราะห์ข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคลผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงคิดเป็นร้อยละ 80.00 ด้านการจำแนกอายุพบวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่อยู่ ในช่วงอายุ 19–20 ปคี ิดเป็นร้อยละ 72.00 ด้านการจำแนกระดับชน้ั พบวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ อยู่ในระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) 1 คิดเป็นร้อยละ 66.00 ผลการวิเคราะห์ความพงึ พอใจของผู้ใช้ Placemat ต้นไหล อยใู่ นระดบั มากท่ีสดุ (������̅=4.56) เม่ือสรปุ ผลออกมาเป็นรายข้อพบว่า ความเหมาะสมในการใชจ้ ดั บนโต๊ะอาหาร อยใู่ นระดบั มากทสี่ ดุ (������̅=4.66) ความพงึ พอใจทมี่ ตี อ่ ผลติ ภัณฑ์ อยู่ในระดับมากที่สุด (������̅= 4.66) ผลิตภัณฑ์สามารถจัดเก็บง่าย อยู่ในระดับมากที่สุด (������̅= 4.58) การ ออกแบบมีความสวยงาม อยใู่ นระดับมากท่สี ุด (������̅=4.54) ความสรา้ งสรรค์ของผลิตภัณฑ์ อยใู่ นระดบั มาก ท่ีสดุ (������̅= 4.52) สีสนั และลวดลายของผลิตภัณฑ์สวยงาม อยใู่ นระดับมาก (������̅= 4.48) ผลติ ภัณฑ์มีขนาด ที่เหมาะแก่การใช้งาน อยู่ในระดับมาก (������̅= 4.42) ผลิตภัณฑ์เหมาะสำหรับนำไปใช้กับห้องอาหาร พื้นเมืองภายในโรงแรม อยู่ในระดับมาก (������̅= 4.7) การตัดเย็บและการทอมีความประณีต อยู่ในระดับ มาก (������̅= 4.6) และแผน่ รองจานสร้างสีสนั บนโต๊ะอาหาร อยู่ในระดบั มาก (������̅= 4.4)

สารบญั ง เรอ่ื ง หน้า ใบรบั รองโครงการ ก กิตติกรรมประกาศ ข บทคัดย่อ ค สารบัญ ง สารบญั (ต่อ) จ สารบญั ตาราง ฉ สารบัญภาพ ช สารบัญภาพ ซ บทที่ 1 บทนำ 1 1.1 ความเปน็ มาและความสำคญั ของปญั หา 2 1.2 วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ 2 1.3 ขอบเขตโครงการ 3 1.4 ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะไดร้ บั 3 1.5 นยิ ามศพั ท์ บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีและงานวิจยั ทเ่ี ก่ยี วข้อง 4 2.1 แนวคิดและทฤษฎีความพึงพอใจ 11 2.2 ความรู้เกี่ยวกบั ตน้ ไหล 17 2.3 ความรู้เกย่ี วกับแผ่นรองจาน 23 2.4 ความรเู้ กยี่ วกับการตำ่ สาด 30 2.5 ความรเู้ กี่ยวกบั ลวดลายการทอเส่อื ไหล 32 2.6 งานวจิ ัยทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง บทที่ 3 วิธดี ำเนินการวิจยั 35 3.1 การคัดเลอื กกลุ่มตวั อยา่ ง 35 3.2 เครอื่ งมอื ในการวจิ ัย 36 3.3 การดำเนนิ การวิจัย 37 3.4 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 37 3.5 การวิเคราะหแ์ ละสรปุ ผล

สารบัญ (ต่อ) จ เรอื่ ง หนา้ บทที่ 4 ผลการศึกษา 39 4.1 สรุปขั้นตอนการทำผลิตภัณฑ์ Placemat ตน้ ไหล 42 4.2 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูลส่วนบุคคล 44 4.3 ผลการวเิ คราะหค์ วามพึงพอใจของผใู้ ช้ Placemat ตน้ ไหล 45 4.4 การจัดลำดับผลการวเิ คราะหค์ วามพงึ พอใจของผใู้ ช้ Placemat ตน้ ไหล 46 4.5 ผลสรุปข้อเสนอแนะ 47 บทท่ี 5 สรุปผล อภิปปรายและข้อเสนอแนะ 48 5.1 สรปุ ผลการศกึ ษา 49 5.2 อภิปรายผล 5.3 ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบนำเสนอขออนุมัติโครงการวชิ าชพี ภาคผนวก ข แบบบนั ทกึ การทดลอง ภาคผนวก ค แบบประเมินความพึงพอใจ ภาคผนวก ง การคำนวณค่าแบบประเมินความพงึ พอใจ ภาคผนวก จ รูปภาพประกอบโครงการ ภาคผนวก ฉ แบบรายงานผลการนำไปใชป้ ระโยชน์ ประวตั ิผจู้ ดั ทำ

สารบัญตาราง ฉ ตาราง หนา้ 1 ตารางแสดงผลการวิเคราะหข์ อ้ มูลส่วนบคุ คลด้านเพศ 42 2 ตารางแสดงผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูลส่วนบคุ คลด้านอายุ 43 3 ตารางแสดงผลการวิเคราะหข์ ้อมูลส่วนบุคคลด้านระดบั ชน้ั 43 4 ตารางแสดงผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของผู้ใช้ผลติ ภัณฑ์ 44 Placemat ตน้ ไหล 45 5 ตารางการจัดลำดับผลการวเิ คราะห์ความพงึ พอใจของผ้ใู ชผ้ ลติ ภณั ฑ์ Placemat ต้นไหล

สารบญั ภาพ ช ภาพ หน้า 2.1 ดอกของไหล 13 2.2 ไหลพนั ธ์ุ Carex 13 2.3 ไหลพนั ธ์ุ Cyperus 14 2.4 ไหลพันธุ์ Fimbristylis 15 2.5 การดำนาต้นไหล 16 2.6 กระดาษปาปิรสุ 17 2.7 แผ่นรองจาน PU หนงั ลายจระเข้ 18 2.8 แผ่นรองจานจาก PVC 19 2.9 แผน่ รองจานจาก Sponge 20 2.10 แผ่นรองจานจากฝ้าย 21 2.11 แผ่นรองจานจากไมไ้ ผ่ 21 2.12 แผ่นรองจานจากหวาย 21 2.13 แผ่นรองจานสีเ่ หล่ียม 22 2.14 แผ่นรองจานวงกลม 22 2.15 แผ่นรองจานสเ่ี หลีย่ มผนื ผา้ มมุ มน 22 2.16 เก่ียวตน้ ไหล 23 2.17 มัดไหลไว้ตามขนาดต่าง ๆ 23 2.18 ผา่ จักไหล 24 2.19 มดั ไหลไว้มาตากแดด 24 2.20 ตม้ น้ำให้เดอื ดและใสส่ ยี อ้ มไหล 25 2.21 มดั ไหลและแขวนไว้ในท่รี ่ม 25 2.22 กรรไกร 26 2.23 ไหลทต่ี ากแหง้ แลว้ เรยี บรอ้ ย 26 2.24 เสน้ เอน็ 26 2.25 ฟืมทอเสอื่ 27 2.26 โฮมทอเสอ่ื 27 2.27 ไม้สอดไหล 27 2.28 สียอ้ มไหล 28 2.29 ทอเสือ่ ไหล 29

สารบญั ภาพ (ต่อ) ซ ภาพ หน้า 2.30 ขณะทอเสือ่ 29 2.31 ลายคริสมาสต์ 30 2.32 ลายดอกกัลยา 30 2.33 ลายขอ้ 30 2.34 ลายดอกมะเฟอ่ื ง 31 2.35 ลายขันหมากเศรษฐี 31 2.36 ลายค้างคาว 31 2.37 ลายน้ำไหล 32 4.1 เกี่ยวต้นไหล 40 4.2 ตากต้นไหล 40 4.3 ต้มน้ำให้เดอื ดพรอ้ มใส่สไี หล 40 4.4 นำต้นไหลตม้ ย้อมสี 41 4.5 เรม่ิ การทอ 41 4.6 ตัดแบ่งเสื่อใหเ้ ป็นช้ินเล็กตามขนาดที่ต้องการ 42 4.7 ทำการเยบ็ ขอบและเพิม่ แถบรูปชา้ ง 42

1 บทท่ี 1 บทนำ 1.1 ความเป็นมาและความสำคญั ของปญั หา ต้นไหล เป็นวัชพืชที่เจริญได้ดีในช่วงฤดูฝนมีลักษณะแตกกอ ต้นเหนียว เหมือนหญ้า แต่มี ลกั ษณะทแี่ ตกต่างจากหญ้า คือใบแผ่ออกเป็นแฉกตรง ต้นสูง ไม่ห้อยลู่ลง เปน็ พชื ล้มลุก ชอบแดด ลำต้น เหนียว และสามารถอยู่ได้นาน เมื่อออกดอกปลายฤดูฝน เมล็ดก็จะร่วงลงดิน และจะเจริญในฤดูฝนปี ต่อมา ขยายพันธุ์ได้งา่ ย เพาะเมล็ด แยกกอ ต้นไหลจึงเหมาะสำหรบั การทอเสื่อหรือสานต่าง ๆ ต้นไหล มกั จะชอบอยู่ในดนิ ชน้ื หรือตามคลองหรือน้ำ จงึ สามารถนำมาหาปลกู ได้ง่ายในร้วั บ้าน ชาวบา้ นชาวอีสาน มีอาชีพหลักเป็นเกษตรกรรมเป็นส่วนมาก ในเวลาว่างจากการทำเกษตรชาวบ้านจึงได้ทำการทอเสื่อมา เป็นสิ่งของเครื่องใช้ในชีวิตประจำวัน เพื่อนำมาใช้ในบ้าน หรือในบางบ้านก็ทำเพื่อเพิ่มรายได้ให้กับ ครอบครัว จากที่ได้สำรวจข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่น ตำบลยายแย้มวัฒนา อำเภอเฉลิมพระ เกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์ พบว่าได้มีการปลูกต้นไหลเป็นจำนวนมาก ซึ่งสามารถหาได้ง่าย การทอเสื่อหรือ ภาษาอีสานเรียกว่า ต่ำสาด (เสื่อ) ได้มีมาอย่างยาวนาน โดยมีการใช้ต้นไหล มาทำการสานทอ ให้เป็น สิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ เช่น เสื่อ ได้นำต้นไหลมาแปรสภาพให้เป็นเส้นโดยนำมาตากแดดให้แห้งจากนนั้ ย้อมสีในถังปิบ๊ โดยการต้งั ไฟและใส่สีท่ีใช้ในการย้อมตน้ ไหล จากนั้นนำไปตากแดดหรอื ผึ่งลมให้แห้งสนิท แล้วทำการสานทอเป็นผืน เพื่อนำมาใช้ปูนั่งหรือนอน หรือนำมาทำพิธีกรรมทางศาสนาหรือความเช่ือ หลังจากนั้นได้พัฒนากลายเป็นผลิตภัณฑ์ OTOP ในท้องถิ่น เช่น กระเป๋าสานจากต้นไหล หมวก แจกัน เป็นต้น ที่ช่วยคนในท้องถิ่นให้ได้มีรายได้เพิ่มมากขึ้นจากการผลิตผลิตภัณฑ์สินค้า OTOP และแผ่นรอง จาน หรือ Placemat นน้ั จะทำหน้าทเี่ ป็นเหมือนพรมหรือเสอ่ื สำหรับปอ้ งกันคราบสกปรกต่าง ๆ บนโต๊ะ อาหาร และยังปกป้องโต๊ะของคุณจากความร้อนของอาหารอีกด้วย หากคุณเลือกได้อย่างถูกต้อง แผ่น รองจานก็จะกลายเปน็ อุปกรณ์เสรมิ ที่เพิ่มความโดดเด่นให้กับโต๊ะอาหารได้ หากแผน่ จานรองจานท่ีทำมา จากวัสดุคุณภาพดี ก็จะมีประโยชน์อย่างมากในการใช้สอยสำหรับพื้นที่รับประทานอาหาร เช่น เป็น ขอบเขตของจาน และบริเวณของผรู้ ับประทานอาหาร วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ได้มีการเปิดสอนวิชาการโรงแรมทั้งหมด 3 ระดับมีระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ระบบปกติและระบบ Mini English Program ระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ระบบปกติและระบบทวิภาคี และระดับปริญญาตรีเทคโนโลยีบัณฑิต (ต่อเนื่อง) ระบบทวิภาคี ภายในการเรียนการสอนใหม้ ีหลกั สูตรการสอนการบริการส่วนหนา้ การผสมเครอ่ื งดืม่ การ

2 จดั ประชมุ สัมมนา การประกอบอาหาร และการบรกิ ารอาหารและเครื่องดื่ม ภายในตกึ อาคารปฏิบัติการ โรงแรมไดม้ ีห้องพักจำนวน 12 หอ้ ง หอ้ งโถงล็อบบี้ 1 ห้อง หอ้ งเรียนสำหรับการฝกึ ผสมเครอ่ื งดม่ื 1 ห้อง ห้องประชุมสำหรับการเรียนจดั ประชมุ สมั มนา 1 ห้อง และหอ้ งอาหารสำหรบั การเรยี นบริการอาหารและ เครอ่ื งด่ืม 1 ห้อง ห้องอาหารวฒั นาตงั้ อย่ทู ีต่ กึ 8 ช้ันที่ 1 เปน็ หอ้ งอาหารสำหรบั การเรยี นการสอนวิชาการจัดเลี้ยง และการบริการอาหารและเครื่องดื่ม จะมีการสอน จัดอุปกรณ์บนโต๊ะอาหาร การบริการบนโต๊ะอาหาร การจัดสถานที่ต่าง ๆ ในบางครั้งได้จัดห้องอาหารสำหรับแขกที่พักอยู่ที่อาคารปฏิบัติการโรงแรม หรือ ภายในวิทยาลยั ได้มีการจัดอบรมหรือประชุมก็จะมีการจัดห้องอาหารสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมหรือเข้าร่วม ประชุมท่มี ีคนจำนวนมากเพราะห้องอาหารสามารถรับรองคนได้ 50-60 คน ส่วนใหญแ่ ลว้ ได้มกี ารจัดโต๊ะ อาหารโดยการปูผ้าโต๊ะ และจดั อปุ กรณ์บนผ้าปูโต๊ะอาหาร ในระหวา่ งการรบั ประทานอาหารบางท่านไม่ ทนั ระวงั จึงทำใหอ้ าหารตกหลน่ หรอื หกบนผ้าปูโตะ๊ อาหาร ทำให้ผา้ สกปรก จึงทำใหเ้ วลาทำความสะอาด ผา้ ปโู ตะ๊ นัน้ ยุ่งยากและเสียเวลา ดังนั้นทางผู้จัดทำโครงการจึงได้มีแนวคิดการทำ Placemat ต้นไหล เพื่อรองเศษอาหารที่ตก หลน่ จากจาน ลดเวลาทำความสะอาด สามารถทำความสะอาดไดง้ ่าย และสามารถลดปรมิ าณการใช้ผ้าปู โต๊ะ ซ่ึง Placemat ตน้ ไหล สามารถหาวัสดุในการทำได้ง่ายในตามท้องถนิ่ ตำบลยายแยม้ วัฒนา อำเภอ เฉลมิ พระเกียรติ จังหวดั บุรรี มั ย์ 1.2 วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ 1) เพือ่ เผยแพร่วฒั นธรรมการต่ำสาดของชาวอสี านใหเ้ ปน็ ท่รี ้จู ักมากยง่ิ ขึ้น 2) เพอื่ ศกึ ษาความรู้เก่ยี วกบั ต้นไหล 3) เพื่อศึกษาระดับความพงึ พอใจในผลติ ภัณฑ์แผ่นรองจานจากต้นไหล 1.3 ขอบเขตโครงการ 1) เชิงปรมิ าณ - แผน่ รองจานจากตน้ ไหล จำนวน 20 ช้นิ - กลุ่มตวั อย่างในการตอบแบบสอบถาม คือ กลมุ่ ผ้ทู ดลองใช้ Placemat ต้นไหล จำนวน 50 คน 2) เชิงคุณภาพ

3 - ผลิตภัณฑ์แผน่ รองจานทที่ ำมาจากต้นไหลมีการออกแบบสวยงาม และสามารถใชง้ าน ไดจ้ รงิ 3) ระยะเวลาและสถานที่ในการดำเนินงาน ระยะเวลาดำเนนิ งาน ระหวา่ งวนั ที่ 7 ธนั วาคม 2563 ถึงวันท่ี 12 มนี าคม 2564 สถานที่ดำเนนิ งาน วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ 167 ถนนพระปกเหลา้ ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200 1.4 ประโยชน์ทคี่ าดวา่ จะไดร้ บั 1) ไดเ้ รยี นรู้เกย่ี วกบั วัฒนธรรมของการตำ่ สาดมากขน้ึ 2) ได้ผลิตภัณฑแ์ ผ่นรองจานจากตน้ ไหล จำนวน 20 ชิน้ 3) ไดร้ เู้ ก่ยี วกับระดบั ความพงึ พอใจของผลติ ภัณฑ์แผน่ รองจานจากตน้ ไหล 1.5 นิยามศัพท์ 1) ต่ำสาด หรอื ตำ่ เส่อื คือ การทอเส่อื แบบชาวอีสานท่ีมมี าอย่างยาวนาน และได้มกี ารทำเปน็ ผลติ ภัณฑส์ นิ ค้า OTOP ของทอ้ งถน่ิ 2) Placemat คอื แผ่นรองจานท่ไี วส้ ำหรบั รองจาน ชอ้ น ส้อม เวลาทีไ่ ม่ได้ปูผ้าปูโต๊ะ เพ่ือป้อง ส่ิงสกปรกจากพ้ืนโต๊ะ 3) ต้นไหล คือ ต้นท่สี ามารถปลูกได้ในดินชน้ื ชอบแดด มีลำต้นที่เหนยี ว ใบแผอ่ อกมาเป็น เส้นตรง เปน็ พืชลม้ ลกุ และสามารถอยไู่ ดน้ าน ในภาษาทางการ เรยี กว่า ตน้ กก

4 บทท่ี 2 แนวคดิ ทฤษฎแี ละงานวิจัยท่เี ก่ยี วข้อง ในการจดั ทำโครงการ Placemat ต้นไหล ผจู้ ดั ทำไดร้ วบรวมแนวคิดทฤษฎตี ่าง ๆ จากเอกสาร และงานวิจัยทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ดงั น้ี 2.1 แนวคิดและทฤษฎีความพงึ พอใจ 2.2 ความรเู้ กย่ี วกบั ต้นไหล 2.3 ความรเู้ กี่ยวกับแผน่ รองจาน 2.4 ความรูเ้ กี่ยวกับการต่ำสาด 2.5 ความรเู้ กี่ยวกับลวดลายการทอเสือ่ ไหล 2.6 งานวจิ ยั ทเ่ี ก่ียวข้อง 2.1 แนวคิดและทฤษฎคี วามพงึ พอใจ กู๊ด (Good, 1973) กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึง สภาพ คุณภาพ หรือระดับความพึงพอใจ ซึง่ เป็นผลมาจาก ความสนใจต่าง ๆ และทัศนคตทิ บ่ี คุ คลนั้นมตี ่อสิ่งนน้ั โอลิเวอร์ (Oliver, 1997) ได้ให้ความหมายของความพึงพอใจ คือการตอบสนองท่แี สดงถึงความรู้ ประสงค์ของลูกค้าเปน็ วิจารณญาณของลูกค้าที่มีตอ่ สินคา้ และบรกิ าร ความพึงพอใจมีมุมมองที่แตกต่าง กนั แลว้ แต่มุมมองของแต่ละคน โวลแมน (Wolman, 1973) กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกที่มีความสุขเมื่อได้รับ ผลสำเรจ็ ตามจดุ มุ่งหมาย ความต้องการหรือแรงจงู ใจ เคลิร์ก (Quirk, 1987) ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้ที่มีความสุขหรือความพอใจเมื่อได้รับ ความสำเรจ็ หรอื ได้รับส่งิ ทีต่ ้องการ ฮอร์นบี้ (Hornby, 2000) ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกที่ดีเมื่อประสบความสำเร็จหรือ ไดร้ ับสงิ่ ท่ตี อ้ งการให้เกิดขึน้ เปน็ ความรู้สึกทีพ่ อใจ วิรุฬ พรรณเทวี (2542) ได้ให้ความหมายความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกภายในจิตใจของ มนุษย์ท่ีไม่เหมอื นกันขึน้ อยู่กับแต่ละบุคคลว่าจะคาดหวังกับสิ่งหนึ่งอยา่ งไรถ้าคาดหวังหรือมีความตั้งใจ มากและได้รับการตอบสนองด้วยดีจะมีความพึงพอใจมาก แต่ในทางตรงกันข้ามอาจผิดหวังหรือไม่พึง พอใจเป้นอย่างยิง่ เมื่อไม่ได้รบั การตอบสนองตามท่ีคาดหวังไวท้ ั้งน้ีขึ้นอยู่กบั สิง่ ทีต่ นตั้งใจไวว้ า่ มีมากหรือ นอ้ ย

5 สุริยะ วิริยะสวัสดิ์ (2530) ได้ให้ความหมายความพึงพอใจหลงั การให้บรกิ ารของหนว่ ยงานของรฐั ของเขาว่า ระดับผลที่ได้จากการพบปะ สอดคล้องกับปัญหาที่มีอยู่หรือไม่ ส่งผลดีและสร้างความภูมิใจ เพยี งใด และสรา้ งความภมู ใิ จเพียงใด สาโรช ไสยสมบัติ (2534) ความพึงพอใจ เป็นปัจจัยสำคัญประการหนึ่งที่ช่วยทำให้งานประสบ ผลสำเร็จ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ถ้าเป็นงานที่เกี่ยวกับการให้บริการ นอกจากผู้บรหิ ารจะดำเนินการใหผ้ ู้ทำ งานเกิดความพึงพอใจในการทำงานแล้ว ยงั จำเป็นตอ้ งดำเนนิ การท่ีจะทำให้ผู้ใช้บริการเกดิ ความพึงพอใจ ด้วยเพราะความเจริญก้าวหน้าของการบริการเป็นปัจจัยที่สำคญั ประการหนง่ึ ท่ีเป็นตวั บ่งช้ีถึงจำนวนผู้มา ใชบ้ รกิ าร ดงั น้ันผู้บริหารที่ชาญฉลาดจงึ ควรอย่างยง่ิ ท่ีจะศึกษาให้ลึกซึง้ ถงึ ปัจจัยและองค์ประกอบต่าง ๆ ทจี่ ะทำให้เกดิ ความพงึ พอใจ ทัง้ ผู้ปฏิบตั งิ านและผูม้ าใชบ้ รกิ าร ราณี เชาวนปรีชาศ์ (2538) กล่าวว่าความพึงพอใจ หมายถงึ ความร้สู กึ หรอื ทัศนคติของบุคคลที่ มีตอ่ สงิ่ ใดสิ่งหนึง่ หรือปัจจยั ตา่ ง ๆ ท่ีเกีย่ วขอ้ งความรู้สึกพงึ พอใจจะเกดิ เม่ือความตอ้ งการของบุคคลท่ีมีต่อ สิ่งใดสิ่งหน่ึงหรอื ปัจจัยตา่ ง ๆ ที่เกี่ยวข้องความรู้สึกพงึ พอใจจะเกิดขึ้นเมื่อความต้องการของบคุ คลได้รับ การตอบสนองหรือบรรลุตามจุดมุ่งหมายในระดับหนึ่ง ความรู้สึกดังกล่าวจะลดลงหรือไม่เกิดขึ้น หาก ความต้องการหรือจุดมุ่งหมายนัน้ ไมไ่ ด้รับการตอบสนอง ความพงึ พอใจตอ่ การใช้บริการจึงเป็นความรู้สึก ของผู้ที่มารับบริการมีต่อสถานบริการตามประสบการณท์ ีไ่ ดร้ ับจากการเข้าไปติดตอ่ ขอรับบรกิ ารในสถาน บรกิ ารนน้ั ๆ อรรถพร คำคม (2546) ได้สรุปวา่ ความพงึ พอใจ หมายถงึ ทศั นคติหรือระดบั ความพงึ พอใจของ บุคคลต่อกิจการรมตา่ ง ๆ ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงประสิทธิภาพของกิจกรรมนัน้ ๆ โดยเกิดจากพื้นฐานของ การรับร้คู ่านิยมและประสบการณ์ที่แต่ละบุคคลจะได้รับ ระดับของความพึงพอใจจะเกิดข้ึนเม่ือกิจกรรม นั้น ๆ สามารถตอบสนองความต้องการแก่บคุ คลน้นั ได้ วฤทธ์ิ สารฤทธคิ าม (2548) ได้ให้ความหมายความพงึ พอใจว่า เปน็ ปฏกิ ิรยิ าดา้ นความรู้สึกต่อส่ิง เร้าหรือสง่ิ กระต้นุ ทแ่ี สดงผลออกมาในลักษณะของผลลัพธ์สดุ ท้ายของกระบวนการประเมนิ โดยแบ่งออก ถึงทศิ ทางของผลการประเมนิ วา่ เป็นไปในลักษณะทศิ ทางบวกหรอื ทศิ ทางลบหรอื ไม่มีปฏกิ ริ ิยา วัลภา ชายหาด (2532) ได้ให้ความหมาย ความพึงพอใจของประชากรที่มีต่อการบริการ สาธารณะวา่ หมายถงึ ระดับของความพงึ พอใจของประชาชนท่ีมีตอ่ การไดร้ ับบรกิ ารในลักษณะของ 1) การใหบ้ รกิ ารอย่างเทา่ เทียมกัน 2) การให้บรกิ ารอย่างรวดเรว็ และทันเวลา 3) การใหบ้ ริการอย่างตอ่ เน่ือง 4) การให้บรกิ ารอย่างกา้ วหนา้ สุทธิชาติ อำมาตย์หิน (2543) ได้ให้ความหมายของความพึงพอใจของผู้รับบริการโดยแบ่ง ออกเป็น 2 นัย คือ

6 1) ความหมายที่ยึดสถานการณ์การซื้อหลัก ให้ความหมายว่า “ความพึงพอใจเป็นผลที่เกิดขึ้น เนือ่ งจากการประเมนิ สิ่งทไ่ี ดร้ บั ภายหลังสถานการณห์ นง่ึ ” 2) ความหมายที่ยึดประสบการณ์เกี่ยวกับเครื่องหมายการค้าเป็นหลักให้ความหมายว่า “ความ พึงพอใจเป็นผลที่เกิดขึ้นเนื่องจากการประเมินภาพรวมทั้งหมดของประสบการณ์หลายอย่างเกี่ยวกับ ผลิตภัณฑห์ รือการบริการในระยะหนงึ่ ” และไดใ้ หค้ วามหมายคำว่า ความพงึ พอใจของผบู้ รโิ ภค หมายถึง ภาวการณ์แสดงออกที่เกิดจากการประเมินประสบการณ์ซื้อและการใช้สินค้าและบริการและได้อธิบาย ความหมายเพิ่มเติมว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ภาวะที่แสดงออกถึงความรู้สึกในทางบวกที่เกิดขึ้นจาก การประเมนิ เปรยี บเทยี บ ประสบการณ์ ไดร้ ับบริการท่ตี รงกับส่งิ ท่ีลกู ค้าคาดหวังหรือดีกว่าความคาดหวัง ของลกู ค้าในทางตรงกนั ข้าม ความไม่พงึ พอใจ หมายถงึ ภาระการแสดงออกถงึ ความรู้สึกในทางลบท่ีเกิด จากการเปรียบเทียบประสบการณ์ได้รบั บริการท่ีต่ำกวา่ ความคาดหวังของลูกค้า 1) ทฤษฎคี วามพึงพอใจ เชลลี่ (Shelli, 1995) ได้ศึกษาแนวคดิ เก่ียวกบั ความพึงพอใจ สรุปได้ว่าเป็นความรู้สึกสองแบบ ของมนุษย์ คือ ความรู้สึกในทางบวกและความรู้สึกในทางลบ ความรู้สึกในทางบวกเป็นความรู้สึกที่เม่อื เกิดขึ้นแล้วทำให้ความรู้สึกที่มีระบบย้อนกลับและความสุขนี้สามารถทำให้เกิดความสุขหรือความรู้สึก ทางบวกเพม่ิ ขึน้ ได้อกี ดังน้นั จะเห็นได้ว่าความสุขเปน็ ความรู้สึกท่ีสลับซับซ้อนและความสุขนี้จะมีผลต่อ บุคคลมากกว่าความรู้สึกในทางบวกอื่น ๆ ความรู้สึกทางลบ ความรู้สึกทางบวกและความสุขมี ความสมั พนั ธ์กนั อย่างสลับซบั ซอ้ นและระบบความสัมพนั ธ์ของความรู้สกึ ทั้งสามน้ีเรยี กว่าระบบความพึง พอใจ โดยความพงึ พอใจจะเกิดขึน้ เมอื่ ระบบความพึงพอใจมคี วามร้สู ึกทางบวกมากกวา่ ความรู้สึกทางลบ ทฤษฎีความต้องการตามลำดับขั้นของ มาสโลว์ (Maslow, 1970) ได้เรียงลำดับสิ่งจูงใจ หรือ ความต้องการของมนุษย์ไว้ 5 ระดับโดยเรียงลำดบั ข้นั ของความตอ้ งการไว้ตามความสำคัญ ดงั น้ี 1) ความตอ้ งการพ้ืนฐานทางสรีระ 2) ความตอ้ งการความปลอดภัยรอดพน้ อันตรายและม่ันคง 3) ความต้องการความรัก ความเมตตา ความอบอนุ่ การมสี ว่ นรว่ มในกิจกรรมต่าง ๆ 4) ความต้องการเกยี รติยศช่อื เสยี ง การยกย่อง และความเคารพตวั เอง 5) ความต้องการความสำเร็จดว้ ยตนเองความพอใจในขั้นต่าง ๆ ของความต้องการของมนษุ ย์นี้ ความตอ้ งการขั้นสูงกวา่ บางครง้ั ได้ปรากฏออกมาให้เหน็ แล้วกอ่ นทคี่ วามต้องการ ขน้ั แรกจะไดเ้ ห็นผลเป็น ที่พอใจเสียด้วยซ้ำอย่างไรก็ตามบุคคลแต่ละคนส่วนมากแสดงให้เห็นว่า ตนมีความพอใจอย่างสูงสุด ใน ลำดบั ข้นั ความต้องการข้นั ต่ำ ๆ มากกว่าข้ันสูงจากการสำรวจ พบวา่ คนธรรมดาทัว่ ไปจะมีความพอใจใน ลำดับข้นั ตอนตา่ ง ๆ ดงั นี้

7 - ความตอ้ งการทางด้านกายภาพ 85% - ความตอ้ งการความปลอดภัย 70% - ความตอ้ งการทางดา้ นสังคม 50% - ความต้องการเดน่ ในสงั คม 40% - ความต้องการท่ีจะไดร้ บั ความสำเร็จในส่งิ ทต่ี นปรารถนา 10% พาราสุรามาน เซทเฮมท และแบรรี่ (Parasuraman, Zaithamal & Berry, 1994) กล่าวว่า หลกั การบริการทด่ี ี ตอ้ งประกอบด้วย 1) ความเชื่อมั่นไว้วางใจ บริการนั้นจะต้องมีความถูกตอ้ งมีความถูกต้องแม่นยำ และเหมาะสม ตั้งแต่ครัง้ แรก รวมทง้ั ต้องมคี วามสม่ำเสมอ คอื บริการทกุ ครง้ั จะต้องได้ผลเช่นเดิมทำใหผ้ ้มู ารบั บรกิ ารรู้สึก ว่า ผใู้ หบ้ ริการเป็นทพ่ี ่งึ ได้ เช่น มีความถูกต้องแม่นยำในการวนิ จิ ฉยั 2) สมรรถภาพในการให้บรกิ าร ผู้ใหบ้ ริการต้องมที กั ษะและความรู้ความสามารถในการบริการท่ี จะสามารถตอบสนองความต้องการของผู้มารับบริการได้ เช่น แพทย์มีความเชี่ยวชาญในการรักษาโรค เภสชั กรมีความเช่ยี วชาญในเรอ่ื งเกีย่ วกบั ยา ฯลฯ หรือบคุ คลอ่ืน ๆ มคี วามร้คู วามสามารถในสาขาของตน และสามารถนำมาใช้ในการบรกิ ารได้อย่างเตม็ ที่ 3) ความสามารถในการตอบสนองความต้องการของผู้มารับบริการ ผู้ให้บริการจะต้องมีความ พร้อมและเต็มใจทจี่ ะให้บรกิ ารสามารถตอบสนองความต้องการดา้ นต่าง ๆ ของผู้มารบั บรกิ ารให้ทนั ทว่ งที เช่น โรงพยาบาลมคี วามพร้อมทีจ่ ะรับผู้ปว่ ยจากเหตกุ ารณฉ์ ุกเฉนิ ต่าง ๆ ไดอ้ ย่างรวดเร็ว 4) ความมีอัธยาศัยไมตรี บุคลากรทุกคนในสถานบริการที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการจะต้องมี ความสุภาพ มีการเอาใจใส่และเห็นใจผู้มารับบริการ รวมทั้งต้องมกี ิรยิ ามารยาทการแต่งกายและการใช้ วาจาทเ่ี หมาะสมดว้ ย 5) การเข้าถึงบริการ ผู้มารับบริการจะต้องเข้าถงึ การบริการได้ง่าย และได้รับความสะดวกจาก การบริการ รวมถึงการบริการนั้นจะต้องมีการกระจายไปอย่างทั่วถึง เช่น การคมนาคมที่สะดวกการ บริการที่เป็นระเบยี บ รวดเรว็ ไม่ต้องนงั่ รอนาน การใหบ้ ริการเปน็ ไปอย่างเสมอภาค 6) ความนา่ เชอื่ ถอื เกดิ จากความซอ่ื สัตย์ ความจริงใจ ความสนใจอย่างแท้จริงของผู้ใหบ้ ริการท่ีมี ตอ่ ผ้รู บั บริการซงึ่ เป็นส่งิ สำคัญที่สุด โดยเฉพาะทางการแพทย์ และจะทำให้มีผู้รับบริการซ่ึงเป็นสิ่งสำคัญ ที่สุด โดยเฉพาะทางการแพทย์ และจะทำให้บริการนั้นอาจเกิดจากปจั จัยอื่นเสริมอีก เช่น ชื่อเสียงของ โรงพยาบาลและบคุ ลากรต่าง ๆ 7) การสื่อสาร ผ้ใู ห้บริการควรมกี ารใหข้ อ้ มูลดา้ นต่าง ๆ ทเ่ี กี่ยวข้องที่ผมู้ ารับบรกิ ารพงึ ทราบและ ประสงค์จะทราบ เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลที่ผู้ป่วยจะได้รับข้อมูลเรื่องค่าใช้จ่ายและ ทางเลือกในการรักษา ฯลฯ นอกจากนี้ยังต้องคำนึงถึงความเหมาะสมของผูใ้ ห้บริการและผู้รับบริการใน ด้านอ่ืน ๆ อกี เช่น ระดบั การศกึ ษา ฯลฯ

8 8) ความมัน่ คงปลอดภัย เป็นความรสู้ ึกท่มี นั่ ใจในความปลอดภัยในชวี ติ ทรพั ยส์ นิ รวมท้งั ช่ือเสียง ปราศจากความรู้สึกเส่ียงอันตรายและข้อสงสยั ตา่ ง ๆ เช่นการรกั ษา ความลบั ผู้ปว่ ย 9) ความเป็นรูปธรรมของการบริการ ซึ่งจะท าให้ผู้มารับบริการรับรู้ถึงการบริการนั้นได้อย่าง ชดั เจนและงา่ ยขึน้ เชน่ การทโ่ี รงพยาบาลมสี ถานทใ่ี หญ่ หรูหรา สะอาด มเี ครือ่ งมือเคร่อื งใช้ทันสมยั การ บริการมคี วามเหมาะสม ฯลฯ นอกจากน้ียังมสี ิง่ อ่ืนที่ชว่ ยสรา้ งรูปธรรมของการบริการได้อกี เช่น การใช้ รอยย้มิ เปน็ ส่ือที่แสดงอัธยาศัยไมตรขี องผู้ให้บริการ 10) ความเข้าใจและรู้จักผ้มู ารับบรกิ าร ผู้ใหบ้ รกิ ารควรจะมีความเข้าใจ และรู้จักผู้มารับบริการ ของตนเอง เชน่ การทแี่ พทยห์ รือพยาบาลสามารถจำช่อื ผู้ปว่ ยได้ ผใู้ ห้บริการสามารถจำลูกค้าของตนเองได้ ฯลฯ หลุย จำปาเทศ (2533) อธิบายวา่ ความพึงพอใจ หมายถึงความต้องการใหบ้ รรลเุ ปา้ หมาย สงั เกต ได้จากสายตาคำพูด และการแสดงออก แชลล่ี (Shelly,1985) สรุปไดว้ า่ ความพงึ พอใจเปน็ ความรู้สึกสองแบบของมนษุ ยค์ ือความรู้สกึ ใน ทางบวกและความรู้สึกทางลบ ความรู้สึกทางบวกเป็นความรู้สึกที่เมื่อเกิดขึ้นแล้วจะทำให้เกิดความสุข ความสุขนี้เป็นความรู้สึกที่แตกต่างจากความรู้สึกทางบวกอื่น ๆ กล่าวคือ เป็นความรู้สึกที่มีระบบ ย้อนกลบั ความสขุ เป็นความรู้สกึ ทีส่ ลบั ซับซ้อนและความสุขน้จี ะมีผลตอ่ บุคคลมากกว่าความรสู้ ึกทางบวก อน่ื ๆ ของบคุ คลจะเกดิ ขน้ึ เมื่อความต้องการได้รับการตอบสนองในระดบั หนึง่ เม่อื เกิดความต้องการบุคคล จะต้ังเป้าหมายเพอ่ื ให้บรรลุความต้องการความพงึ พอใจของบุคคลจะแตกต่างกันตามสภาพแวดล้อมทาง กายภาพและลักษณะสว่ นบคุ คล ศิริวรรณ เสรีรตั น์และคณะ (2538) ไดก้ ล่าววา่ ความพงึ พอใจของลูกคา้ เป็นระดับความรู้สึกของ ลูกค้าที่มีผลจากการเปรียบเทียบระหว่างผลประโยชน์จากคุณสมบัติผลิตภัณฑ์หรือการทำงานของ ผลิตภณั ฑ์กับการคาดหวงั ของลกู คา้ หรอื ระหว่างการรับร้ตู อ่ การปฏิบตั งิ านของผู้ใหบ้ รกิ ารกับการคาดหวัง ของลูกค้าหรือบริการที่ลูกค้าคาดหวังระดับความพึงพอใจของลูกค้าเกิดจากความแตกต่างระหว่าง ผลประโยชน์จากการบริการกับความคาดหวังของบุคคล ซึ่งความคาดหวังดังกล่าวนั้นเกิดจาก ประสบการณ์และความรู้ในอดีตของแต่ละบุคคล อาทิ จากเพื่อน จากนักการตลาด หรือจากข้อมูลคู่ แข่งขันเปน็ ต้น ฉะน้นั ส่ิงสำคัญทท่ี ำให้ผใู้ หบ้ ริการประสบความสำเรจ็ กค็ อื การเสนอบรกิ ารที่มีผลประโยชน์ สอดคล้องกับความคาดหวังของลูกค้าผู้ใช้บริการโดยยึดหลักการสร้างความพึงพอใจรวมสำหรับลูกค้า ส่วนผลประโยชน์จากการบริการเกิดจากการสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า ส่วนผลประโยชน์จากการ บริการเกิดจากการสร้างความพึงพอใจใหก้ ับลกู คา้ โดยการสร้างคุณคา่ เพิ่มเกิดจากการทำงานร่วมกันกับ ฝ่ายต่าง ๆ ของผู้ให้บริการโดยยึดหลักการสร้างคุณภาพรวม เกิดจากการสร้างความแตกต่างทางการ แขง่ ขันของการบริการโดยให้บริการท่ีแตกตา่ งจากคู่แขง่ ขันและความแตกต่างต้องมีคุณค่าในสายตาของ

9 ลูกค้าและสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าได้ซึ่งอาจเป็นความแตกต่างด้านผลิตภัณฑ์ด้านบริการ ด้าน บุคลากรและดา้ นภาพลักษณ์ซึง่ ความแตกต่างเหลา่ นี้จะเป็นตวั กำหนดคุณคา่ เพ่มิ สำหรบั ลูกคา้ ธรี กติ ิ นวรตั น ณ อยุธยา (2547) ได้กล่าวถึงแนวคิดแนวคิดความพงึ พอใจของลกู ค้าว่าความพึง พอใจของลกู คา้ จะเกิดจากประสบการณ์จากการใหบ้ ริการอย่างเต็มที่จนสุดความสามารถลกู คา้ จะรู้สึกว่า คุ้มค่าที่ได้มาใช้บริการความพึงพอใจสำหรับการบริการนั้นสร้างได้ยากกว่าสินค้าเน่ืองจากคุณภาพของ สินค้าที่เป็นสิ่งที่พัฒนามาแล้วอยู่นิ่งไม่เปลี่ยนแปลงแต่คุณภาพการบริการขึ้นกับพนักงาน ซึ่งแปร เปลี่ยนไปตามอารมณ์และสถานการณ์ต่าง ๆ หรือลูกค้าที่มาใช้บริการบางรายอาจจะมีความต้องการ เฉพาะที่มากเกินความต้องการที่ต้องการท่ีพนักงานจะให้บรกิ ารไดอ้ ยา่ งเต็มที่จึงทำให้เกดิ ความไมพ่ อใจ ดังนัน้ ปจั จยั หลกั ในการสรา้ งความพึงพอใจมี 3 ประการ ดังน้ี 1) ผู้รับบริการมีความตอ้ งการและความคาดหวังสำหรบั การบริการท่ีแตกต่างกันไปในแตล่ ะคน รวมทงั้ ความตอ้ งการนั้นยังเปลย่ี นไปสำหรบั การบรกิ ารแตล่ ะครัง้ 2) ผู้ให้บรกิ ารความพึงพอใจของลูกค้ามีผลจากความรู้ความสามารถความพรอ้ มในดา้ นกายและ อารมณ์ในขณะใหบ้ ริการรวมถงึ ความเตม็ ใจในการให้บริการใหบ้ ริการของพนักงาน 3) สภาพแวดล้อมอืน่ ๆ ตวั อยา่ งเช่น อากาศแสงแดด เก้าอ้ีโตะ๊ สิ่งเหล่านี้มีผลตอ่ ความพึงพอใจ ของลูกค้าที่มารับประทานอาหาร หรือเข้ามาใช้บริการในสถานที่ที่มาใช้บริการยิ่งไปกว่านั้น ความพึง พอใจของลูกค้ายังมีผลจากจำนวนลูกค้าที่มาใช้บริการด้วยแถวทีย่ าวเหยยี ดของธนาคารในวันศุกร์ย่อม สร้างความไมอ่ ยากใชบ้ รกิ าร หรอื หากจำเปน็ ตอ้ งใช้บรกิ ารธนาคารในวนั นั้นลูกค้าจะมีแนวโน้มของความ ไม่พอใจสูงกว่าปกติส่ิงทีท่ ำไดค้ ือต้องจัดการแถวอย่างมปี ระสิทธิภาพ สรชัย พิศาลบุตร (2551) ได้กล่าวถึงการวัดระดับความพึงพอใจของลูกค้าหรือผู้ให้บริการว่า สามารถทำได้ 2 วิธคี ือ 1) วัดจากการสอบถามความคิดเห็นของลูกค้าหรอื ผใู้ ช้บริการเปน็ การวดั ระดบั ความพงึ พอใจของ ลูกค้าหรือผู้ใช้บริการจากการสอบถามความคิดเห็นของลูกค้าหรือผู้ใช้บริการโดยตรงทำได้โดยกำหนด มาตรวัดระดับความพึงพอใจที่ลูกค้าหรือผู้ใช้บริการที่มีต่อคุณภาพของสินค้าหรือบริการนั้น ๆ และ กำหนดเกณฑช์ วี้ ดั ระดับความพึงพอใจจากผลการวัดระดับความพงึ พอใจเฉลีย่ ที่ลกู ค้าหรือผู้ใช้บริการท่ีมี ต่อคณุ ภาพของสนิ คา้ หรือบรกิ ารนัน้ ๆ 2) วัดจากตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการที่กำหนดขึน้ โดยการวัดระดับความพึงพอใจของลูกคา้ หรือผู้ใช้บรกิ ารจากเกณฑ์ชี้วัดระดบั คุณภาพสินค้าหรอื บรกิ ารท่ีกำหนดขึ้นนีอ้ าจใช้เกณฑค์ ุณภาพระดับ ตา่ ง ๆ ทีก่ ำหนดขน้ึ โดยผู้ให้บริการผ้ปู ระเมินผลการให้บริการและมาตรฐานกลางหรือมาตรฐานสากลของ การให้บริการนน้ั สรปุ ความพงึ พอใจ คือ การทำใหค้ วามรสู้ ึกของบคุ คลท่ีไดร้ ับบรกิ ารในส่ิงท่ดี ีเปน็ ที่พอใจ ประทับใจ ตามที่ผู้รับบริการตั้งใจไว้หรือมากกว่าที่คิดไว้ การจะทำให้เกิดความรู้สึกพึงพอใจได้หน่วย ใหบ้ รกิ ารต้องวางระบบโครงสรา้ งที่ดี สอดคล้อง สัมพันธ์กันทกุ ฝา่ ย เช่น ดา้ นเครอื่ งมือเครอื่ งใช้ที่ทันสมัย

10 ด้านบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถเข้าใจในหมีหน้าที่และต้องมีใจรักในการให้บริการ ด้านสถานที่ สะอาดพื้นที่เหมาะสมกับการให้บริการ มีความเชื่อมั่นและมั่นใจเมื่อมารับบริการ ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็น องค์ประกอบสว่ นหนึง่ จากองคป์ ระกอบอีกหลาย ๆ ดา้ นท่ีจะนำไปส่จู ุดสูงสุดในเรื่องความพึงพอใจ วรมู (Vroom, 1990) กลา่ ววา่ ทศั นคตแิ ละความพึงพอใจในสง่ิ หนึ่งสามารถใช้แทนกันได้เพราะ ทั้งสองคำน้ีจะหมายถงึ ผลท่ีได้รับจากการที่บุคคลเข้าไปมีสว่ นร่วมในส่งิ นนั้ ทศั นคติดา้ นบวกจะแสดงให้ เหน็ สภาพความพงึ พอใจในสงิ่ นน้ั และทัศนคตดิ า้ นลบจะแสดงใหเ้ หน็ สภาพความไม่พึงพอใจนนั้ เดวสิ (Davis, 1967) กล่าววา่ ความพึงพอใจเปน็ สิง่ ที่เกิดขึ้นกับบุคคลเมื่อความต้องการพื้นฐาน ท้ังร่างกายและจิตใจได้รับการตอบสนอง พฤตกิ รรมเกีย่ วกบั ความพึงพอใจของมนุษยเ์ ป็นความพยายามท่ี จะขจัดความตงึ เครียด หรอื ความกระวนกระวายหรอื สภาวะไม่สมดุลในรา่ งกายเม่อื สามารถขจดั สง่ิ ต่าง ๆ ดังกลา่ วออกไปได้ มนษุ ยย์ อ่ มจะได้รับความพึงพอใจในสิง่ ท่ตี อ้ งการ อเดย์ และแอนเดอร์สัน (Aday & Anderson, 1975) กล่าวว่า ความพึงพอใจเป็นความรู้สึก ความนึกคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับทัศนคติของคนที่เกิดจากประสบการณ์ที่ผู้รับบริการเข้าไปในสถานที่ท่ี ให้บรกิ ารนนั้ และประสบการณ์เปน็ ไปตามความคาดหวังของผู้รบั บริการและความพึงพอใจมากหรือน้อย ขน้ึ อยกู่ บั ปจั จัยทแี่ ตกตา่ งกัน ศริ พิ งศ์ พฤทธพิ ันธ์ุ และ พยตั วุฒิรงค์ (2547) สรปุ ประเด็นเก่ียวกับวามพงึ พอใจดังน้ี 1) ความพึงพอใจเป็นการเปรยี บเทยี บความรู้สกึ กับความคาดหวงั 2) ความพงึ พอใจเปน็ การเปรียบเทียบความรู้สกึ กบั ส่งิ เรา้ 3) ความพงึ พอใจเป็นการเปรียบเทยี บความรสู้ ึกหรอื ทัศนคตกิ ับส่ิงท่ีไดร้ บั 4) ความพึงพอใจเปน็ การเปรยี บเทียบประสบการณ์กบั การคาดหวัง กลั ธิมา เหลืองอร่าม, นธิ ิวดี เหลืองออ่ น และปัญญา มน่ั บำรุง (2545) ไดก้ ล่าวถึงความพึงพอใจ ต่อการให้บรกิ ารและการจูงใจว่าบุคคลส่วนใหญ่เข้าใจว่าเป็นส่ิงเดยี วกันซ่ึงในความเป็นจริงแล้วความพึง พอใจเป็นความรู้สกึ ต่อการใหบ้ ริการ ส่วนการจงู ใจมาใช้บริการน้ันเปน็ ผลที่เกิดจากความรู้สกึ ซึ่งกระตุ้น ให้เกิดพฤติกรรมการใช้บริการความแตกต่างที่เห็นได้ชัดเจนคือ ความพึงพอใจเป็นทัศนคติที่มีต่อการ ให้บริการของบุคคลในองค์กร เป็นเป้าหมายแต่แรงจูงใจนั้นมีจุดหมาย อย่างไรก็ตาม ทั้งสองเรื่องไม่ สามารถแยกออกจากกันไดอ้ ยา่ งชดั เจนด้วยเหตผุ ล สองประการคอื ประการท่ีหนง่ึ ความพงึ พอใจนนั้ เป็น ความพึงพอใจที่ตอบสนองสิ่งที่ชอบหรือไม่ชอบ และเราถือว่าคนเราพยายามเข้าใกล้สิง่ ที่ตนพอใจ และ ความพยายามหลกี เลย่ี งห่างสง่ิ ทตี่ นไมพ่ อใจ ซง่ึ เป็นผลใหค้ วามพึงพอใจเชอื่ มโยงกับพฤตกิ รรมในการจูงใจ มาใช้บริการประการที่สอง ทฤษฎีการจูงใจทั้งหลายอยู่ภายใต้ข้อสมมติฐานในเรื่องความพึงพอใจซ่ึง หมายความว่า แต่ละคนจะถูกจูงใจให้มุ่งหาสิ่งที่ตนพึงพอใจอันก่อให้เกดิ ผลที่ว่า ทฤษฎีการจูงใจนั้นยัง ตอ้ งพิจารณาในเร่ือง ความพงึ พอใจควบคไู่ ปดว้ ยความพงึ พอใจมคี วามหมายโดยท่วั ไปว่าระดับความรู้สึก ในทางบวกของบุคคลต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งความหมายของความพึงพอใจในการบริการ สามารถจำแนก

11 ออกเปน็ 2 ความหมายในความหมายท่ีเกย่ี วข้องกับความพงึ พอใจผูบ้ รโิ ภคหรือผู้รับบริการและความพึง พอในในงานของผู้ใหบ้ รกิ ารความพึงพอใจในการบริการเกดิ จากการประเมินคุณค่าการรบั รูค้ ุณภาพของ การบริการเกย่ี วกบั ผลติ ภณั ฑ์บริการตามลักษณะของการบริการและกระบวนการนำเสนอบริการในวงจร ของการให้บริการระหว่างผู้ให้บริการและผู้รับบริการ ซึ่งถ้าตรงกับสิ่งทีผู้รับบริการมีความตอ้ งการหรอื ตรงกับความคาดหวงั ที่มีอยูห่ รือประสบการณ์ที่เคยได้รบั บริการตามองคป์ ระกอบ ดังกล่าวยอ่ มนำมาซงึ่ ความพงึ พอใจในการบริการนนั้ หากเปน็ ไปในทางตรงกันข้าม การรับรู้ส่งิ ท่ีผู้รับบรกิ ารได้รบั จรงิ ไม่ตรงกับ การรับรู้สิ่งที่ผู้รับบริการคาดหวังผู้รับบริการย่อมเกิดความไม่พอใจต่อผลิตภัณฑ์บริการและน าเสนอ บริการนั้นได้จากแนวคิดของนักวิชาการข้างต้น สรุปว่า ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการคือ ความรู้สึก อารมณ์ ที่มีความสุข ความยินดี ทางจิตใจที่เกิดขึ้นเป็นผู้รับบริการ ซึ่งความรู้สึกดังกล่าวเกิดจากการท่ี ผ้รู ับบริการได้รบั การตอบสนองความตอ้ งการเปน็ ผู้ตอบสนองเองหรือผู้อน่ื ตอบสนองให้ความพึงพอใจจะ เกิดขึ้นระดับใดขึ้นอยู่กับปริมาณการรับสนองความต้องการที่เกิดขึ้นได้ครบถ้วนเพียงใด เช่นความพึง พอใจของผ้บู รโิ ภคข้นึ อย่กู ับคุณภาพของสินค้าและบริการ 2) การวัดความพงึ พอใจ โยธิน แสวงดี (2551) กล่าวว่า มาตรวัดความพงึ พอใจสามารถกระทำไดห้ ลายวธิ ีได้แก่ 1) การใช้แบบสอบถาม โดยผู้ตอบแบบสอบถามจะออกแบบสอบถามเพื่อต้องการทราบความ คิดเห็น ซึ่งสามารถทำได้ในลักษณะที่กำหนดคำตอบให้เลือกหรอื ตอบคำถามอิสระ คำถามดังกล่าวอาจ ถามถงึ ความพึงพอใจในดา้ นตา่ ง ๆ เชน่ การบรหิ าร และการควบคุมงาน และเง่ือนไขต่าง ๆ เปน็ ตน้ 2) การสมั ภาษณ์ เปน็ วธิ วี ดั ความพึงพอใจทางตรงทางหนึง่ ซึง่ ตอ้ งอาศยั เทคนคิ และวิธีการท่ีดีจึง จะทำให้ขอ้ มูลท่เี ป็นจริงได้ 3) การสังเกต เป็นวิธีการวัดความพึงพอใจโดยสังเกตพฤติกรรมของบุคคลเป้าหมาย ไม่ว่าจะ แสดงออกจากการพูด กิริยาท่าทาง วิธีนี้จะต้องอาศัยการกระทำอย่างจริงจังและการสังเกตอย่างมี ระเบยี บแบบแผน จากการศึกษาผ้จู ดั ทำจงึ ได้ใชแ้ บบสอบถาม เพอื่ เป็นมาตรการวดั ความพึงพอใจในครงั้ นี้ โดยท่ีให้ ผู้ตอบแบบสอบถามสแกนคิวอาโค๊ซเพื่อตอบแบบสอบถาม เพราะง่ายต่อการจัดเก็บขอ้ มูลและรวบรวม ผลลพั ธข์ องแบบประเมนิ 2.2 ความรเู้ กย่ี วกับตน้ ไหล เป็นไม้ล้มลุก มีประมาณ 4,000 ชนิดแพร่พันธุ์กระจายทั่วโลก ชอบที่ชื้นแฉะ ขึ้นในที่ระดับต่ำ ตามหนอง บึง ทางระบายคันคูนำ้ และโคลนเลน ใน 46 ประเทศจัดพืชวงศ์กกเป็นวัชพืช มีหลายชนิดใช้ เปน็ อาหาร และหลายชนดิ นำมาทำเครอื่ งจกั สานได้

12 ต้นไหลมีรูปร่างลักษณะและนิเวศวิทยาเหมือนหญ้ามาก มีลักษณะที่แตกต่างจากหญ้าคือ ต้น ไหลมักมีลำต้นตัน และเป็นสามเหลี่ยมหรือสามมุม บางชนิดมีผนังก้ันแบ่งเป็นห้องๆ มีกาบใบอยู่ชิดกนั มาก และทีส่ ำคญั คือเกอื บไมม่ ีล้นิ ใบ บางชนิดไม่มีเลย ลักษณะสำคัญอีกประการหนง่ึ ของไหลคอื ดอกแต่ ละดอกจะมกี าบชอ่ ย่อยห่อห้มุ หรือรองรับเพียงอันเดียว ต้นไหลมไี หลเล้อื ยไปใตด้ ินและจากไหลก็จะแตก เปน็ ลำตน้ ทต่ี นั โผล่พน้ ขึ้นมาเหนอื ดนิ และเม่อื ผา่ ลำตน้ ดตู ามขวาง จะมีลักษณะเปน็ สามเหลี่ยมหรือสาม มุมดังได้กลา่ วมาแลว้ ลำตน้ ไหลจะไม่แตกกิ่งเหมอื นพืชชนิดอ่นื ใบของไหลเหมือนกับใบของหญ้า แต่จะ เรยี งตัวอดั กนั แนน่ เปน็ สามมมุ หรอื สามตำแหนง่ รอบโคนตน้ และมีกาบห่อหมุ้ ลำตน้ และไม่มีลน้ิ ใบ ชอ่ ดอกไหลจะเกดิ ท่ีปลายลำตน้ เปน็ หลายแบบ และมีดอกขนาดเลก็ เป็นทงั้ ดอกที่สมบรู ณ์และไม่ สมบูรณ์เพศ โดยมีดอกรวมเรียกวา่ ชอ่ ดอกยอ่ ย ซง่ึ ประกอบดว้ ยดอกย่อยหนง่ึ หรอื หลายดอก แต่ละดอกมี ร้วิ ประดบั รองรบั ส่วนกลีบดอกน้นั ไม่มหี รืออาจมแี ต่เปล่ยี นรูปรา่ งไปเป็นเกล็ด หรอื ขนแข็งเลก็ ๆ ในดอก ไหลจะมเี กสรเพศผ้แู ยกกันอยู่ ส่วนเกสรเพศเมยี จะมีก้านแยกเป็นสอง – สาม แฉก หรือบางครง้ั แยกเป็น สอง - สามเส้น และมีรังไข่อยู่เหนือกลีบดอก ภายในมีห้องเดียวและมีหนึ่งเมล็ด สามารถพบทั่วไปตาม ชายรมิ บงึ ทีน่ ้ำต้นื ชนื้ แฉะและในนาข้าว 1) ลักษณะท่ัวไปของไหล ใบ : ใบเดี่ยว ลดรปู เปน็ เกล็ดหรือแผน่ สนี ้ำตาล เรียงตวั เปน็ กระจุกสามระนาบโคนตน้ ผล : ผลแห้ง รูปรีหรือรูปไข่ กว้าง 0.4 - 0.5 มิลลิเมตร ยาว 0.9 - 1 มิลลิเมตร สีเหลืองอม นำ้ ตาล เปลือกแข็ง มีเมล็ดเดียว ลำต้น : ไหลมักมีลำต้นตัน และเป็นสามเหลี่ยมหรือสามมุม บางชนิดมีผนังกัน้ แบง่ เป็นห้องๆ มี กาบใบอยูช่ ดิ กนั มากและท่สี ำคญั คอื เกือบไม่มลี ิ้นใบ บางชนิดไม่มีเลย ดอก : สีนำ้ ตาลปนแดงออกมาเปน็ ชอ่ แบบชอ่ ชร่ี ม่ ยอ่ ยที่ปลายกง่ิ ชื่อแตกแขนงยอ่ ย 100 - 200 แขนง ยาว 12 - 30 เซนตเิ มตร มใี บประดบั รองรบั ช่อดอก 4 - 10 ใบ กว้างประมาณ 15 มิลลิเมตร ยาว 15 - 35 เซนติเมตร แต่ละแขนงมีดอกย่อยช่อละ 20 - 30 ดอก ดอกย่อยมีกาบหุ้มกว้างประมาณ 1 มิลลเิ มตร ยาว 1.5 - 2 มลิ ลเิ มตร ดอกยอ่ ยบานเต็มท่กี วา้ ง 1.5 - 2 มิลลเิ มตร 2) สรรพคณุ ของไหลทเ่ี ปน็ สมุนไพร ต้น : รสจืดเยน็ ต้มเอาน้ำดื่ม รักษาโรคท่อน้ำดีอกั เสบ ขับนำ้ ดี ใบ : รสเย็นเบอ่ื ตำฟอกฆา่ พยาธิ บาดแผล ต้มเอานำ้ ด่ืม ฆ่าพยาธิ ฆา่ เช้อื โรคภายใน ดอก : รสฝาดเย็น ตม้ เอาน้ำอม แก้แผลเป่อื ยพุพองในปาก เหง้า : รสขม ต้มเอานำ้ ด่ืม หรือบดเปน็ ผง ละลายนำ้ ร้อนดมื่ บำรุงธาตุ เจริญอาหาร แก้เสมหะ เฟื่อง ขบั นำ้ ลาย ราก : รสขมเอียน ต้มเอานำ้ ดมื่ หรอื ตำกบั เหล้า ค้นั เอานำ้ ดื่ม แกช้ ้ำใน ขับโลหิตเน่าเสีย แก้ตก เลอื ดจากอวัยวะภายใน

13 รปู ท่ี 2.1 ดอกของไหล ทมี่ า : https://sites.google.com/a/mbw.ac.th/mbw-osop/home/tn-hil 3) ชนดิ ของไหล Carex เป็นไม้ลม้ ลกุ อายุหลายฤดู ลำตน้ ต้ังตรงเป็นสามเหลี่ยม บางชนดิ มีไหลเลือ้ ยไปใต้ดิน ใบ เรียวแคบช่อดอกมีทั้ง panicle, raceme และ spike มีดอกรวมหรือ spikelet ประกอบด้วยดอกย่อย (floret) เพียงดอกเดียว หรือ spikelet เท่ากับ floret มีทั้งดอกที่มกี ้านและไม่มีก้านดอก และไม่มีกลบี ดอกสว่ นดอกเป็นดอกไม่สมบรู ณ์เพศ หรอื มเี พศแยกกันอยคู่ นละดอก แตอ่ ยใู่ นชอ่ ดอกเดียวกันและเกสร เพศผู้มี 3 อัน เนื่องจากกกมีลักษณะคล้ายหญ้า จึงทำให้มีผู้เรียกเป็นหญ้าด้วยแต่ความจริงแล้วน่าจะ เรียกว่ากกมากกว่า ซง่ึ จะได้แยกออกไปจากหญา้ ได้บา้ ง เช่น - หญา้ คมบาง (ไหลคมบาง) - หญ้าคมบาง (ไหลคมบาง) - หญา้ คมบางเลก็ (ไหลคมบางเล็ก) - หญา้ คมบางขาว (ไหลคมบางขาว) - หญ้ากระทงิ (ไหลกระทงิ ) - หญา้ ดอกดนิ (ไหลดอกดิน) รูปที่ 2.2 ไหลพนั ธ์ุ Carex ท่ีมา : http://diewtokkok.blogspot.com/

14 Cyperus เป็นไม้ท่มี อี ายฤุ ดเู ดยี วและหลายฤดู มีทั้งต้นตัง้ ตรง ลำต้นตนั เป็นสามเหล่ยี ม บางครั้ง กก็ ลม ใบเหมือนใบหญ้า ใบทอี่ ยู่แถบโคนต้นจะเปล่ยี นเปน็ เกล็ดหรือแนน่ ห่อหุม้ โคนต้นและไหล ช่อดอก เกดิ ที่ปลายต้นเปน็ หลายแบบ ดอกรวม (spikeltet) ประกอบดว้ ยดอกย่อย (floret) ดอกเดยี วหรือหลาย ดอกและเป็นดอกที่สมบูรณ์เพศ มีเกสรเพศผู้ 1-3 อนั เกสรเพศเมีย 2-3 แฉก พืชสกลุ นี้มีหลายชนิดเป็น วัชพืช เป็นสมุนไพร ประกอบยารักษาโรค เป็นอาหารและใช้ทำภาชนะเครื่องใช้ต่างๆ Cyperus ชนิด ต่างๆ ไดแ้ ก่ -ไหลขนาก เป็นวัชพืชในนาข้าวและพืชไร่ ลักษณะคล้ายไหลทั่วไป แต่ที่สังเกตง่ายคือ ดอกมี ขนาดเลก็ จะรวมกนั อยเู่ ป็นกลมุ่ คลา้ ยหวั กลมๆ - ไหลทรายหรือไหลหัวแดง เป็นวัชพืชพบในนาข้าวและพืชไร่เช่นเดียวกับไหลขนาก ลักษณะท่ี เด่นของวัชพชื น้ีคอื รากมีสีแดงปนเหลือง ช่อดอกสีเหลืองกระจายกว้าง ใบประดับอันลา่ งสุดที่รองรับชอ่ ดอกมีความยาวกวา่ ชอ่ ดอก ไหลชนิดอื่นท่เี ปน็ วัชพืชยงั มี เช่น - ไหลขห้ี มา - ไหลนา - ไหลรงั กา - ไหลรังกาปา่ - ไหลลงั กา - ไหลเลก็ รูปท่ี 2.3 ไหลพันธ์ุ Cyperus ทีม่ า : http://diewtokkok.blogspot.com/ ไหลบางชนิดทใ่ี ช้เปน็ สมุนไพรประกอบยารักษาโรคได้ คอื - ไหลขีห้ มา และไหลสามเหลยี่ ม แก้โรคกระเพาะและแกอ้ าการท้องผูก ไหลหลายชนดิ ที่ใช้เปน็ อาหารไดแ้ ต่ไมม่ ใี นเมืองไทย เชน่ - Cyperus esculentus เปน็ ทเ่ี ก็บอาหารใช้กินได้

15 - ไหลอียิปต์ แพร่เข้ามาในเมืองไทยนานแล้ว ชอบขึ้นในที่มีน้ำขังมีลำต้นกลมผิวลำต้นเขียวเป็น มัน ดอกออกเป็นช่อกระจุกกลมๆ ที่ปลายต้นช่อดอกแต่ละช่อจะมีกา้ นเป็นเส้นเล็กฝอยชูชอ่ ยาวออกไป เหมอื นคนผมยุง่ ในอียิปต์ในโบราณใชล้ ำต้นทำกระดาษ แต่ในปจั จุบันเลิกใชแ้ ลว้ Fimbristylis เป็นไม้ล้มลุกอายุฤดเู ดียวและหลายฤดู มีไหลสั้นๆ ลำต้นตั้งตรงมีท้ังต้นกลมและ เป็นเหลี่ยม ใบรวมกันอยู่ที่โคนต้น ช่อดอกเกิดที่ปลายต้นคล้ายสกุล Cyperus มีดอกรวม (spikelet) ประกอบด้วยดอกย่อย (floret) ตั้งแต่หนึ่งถึงหลายดอกและเปน็ ดอกที่สมบูรณ์เพศมเี กสรเพศผู้ 1-3 อัน เกสรเพศเมียมี 2-3 แฉก กกสกลุ น้ีปว่ นมากเป็นวัชพชื พวกทใ่ี ชเ้ ปน็ สมนุ ไพรประกอบยารักษาโรค เชน่ - ไหลรัดเขียด (หญ้าหนวดแมว) - ไหลหวั ขอ (หญ้าหัวขอ) ใชท้ าแผลงกู ดั และแก้โรคผวิ หนัง สำหรบั พวกท่ีเปน็ วัชพชื และพบบอ่ ยในนาข้าวและแปลงปลกู พชื เช่น - ไหลเปลือกกระเทียมทราย - ไหลนิว้ หนู - ไหลกุกหมู รูปที่ 2.4 ไหลพนั ธ์ุ Fimbristylis ที่มา : http://diewtokkok.blogspot.com/ Scirpus เปน็ ไม้อายุฤดูเดียวและหลายฤดมู ไี หลใต้ดิน ลำต้นต้ังตรงเป็นเหลยี่ มบางครงั้ เกือบกลม บางชนดิ จมอยู่ใต้ดนิ หรือลอยที่ผวิ น้ำ ใบมรี ูปร่างแตกต่างกันออกไป บางครัง้ กไ็ มม่ ชี อ่ ดอกเกิดท่ีปลายต้น หรือบางครั้งเกิดที่ด้านข้างของลำต้นแต่ค่อนไปทางส่วนยอด ดอกรวม (spikelet) ประกอบด้วยหลาย ดอกย่อย (floret) และเป็นดอกที่สมบูรณ์เพศมีเกสรเพศผู้ 1-3 อัน และเกสรเพศเมีย 2-3 แฉก พวกท่ี เปน็ วชั พชื และรูจ้ กั กนั ดคี ือ - ไหลสามเหลี่ยมหรือกกไหลตะกรับ มีลำต้นตั้งตรงมีขนาดใหญ่และเป็นสามเหลี่ยม ผิวลำต้น เรยี บเปน็ มนั ช่อดอกเกดิ ทีป่ ลายต้น ในสมัยอินเดยี โบราณใช้เปน็ ยาแก้ท้องเสยี และลำตน้ ใชส้ านเส่ือและ ทำเชือกได้ - ไหลทรงกระเทียม ใช้เป็นยาระบายหรอื ยาขับถ่าย

16 - ไหลกลมหรือไหลยูนนาน มีปลูกกันมากในจังหวัดทางภาคเหนือของประเทศไทย ใช้ทำเชือก และสายเสอื่ โดยเฉพาะมีลำต้นเกือบกลม ตงั้ ตรงมีความสงู กว่าไหลกลมเล็กน้อย แตท่ ต่ี า่ งกันอย่างเห็นได้ ชดั คอื ช่อดอกจะเกดิ เป็นช่อกระจกทางดา้ นข้างของลำตน้ และคอ่ นไปทางส่วนปลายตน้ ชอ่ ดอกเกิดจาก จดุ เดยี วกันและกระจายออกไปรอบด้านเหมือนรูปดาว ชาวบา้ นจะแยกไหลจากคอเดมิ ไปขยายพันธ์ุและ จะตัดเมื่อมีอายรุ าว 3 เดือน กอ่ นท่ตี ้นจะออกดอกใช้เวลาตากแดด 4-5 วัน ในตา่ งประเทศ เช่น อเมริกาเหนอื และใชล้ ำต้นของ Scirpus lacustris สานทำกระจาดทีน่ ัง่ และสานเสอ่ื อีกชนิดหนึ่ง คือ Scirpus tatara ใช้ทำแพและเรือคานู (canoe) ส่วนในจีนและญี่ปุ่นใช้กินหัวของ Scirpus tuberosus ทัง้ สามชนิดดังกลา่ วไมม่ ใี นบา้ นเรา 4) วธิ ีการปลกู ตน้ ไหล - การเลอื กท่ีดิน ไหลชอบขนึ้ ในท่ีดินเลนแต่ตอ้ งอยู่ในที่ลมุ่ มนี ำ้ ขงั เสมอหรอื นำ้ ขึ้นถึงทุกวันได้ย่ิง ดรี ะดบั น้ำประมาณ 25 – 30 เซนตเิ มตร - การเตรียมท่ีดิน เมือ่ เลอื กหาพื้นทดี่ ินพอสำหรบั ปลูกตน้ ไหลไดแ้ ล้ว จดั การถางไถใหด้ นิ ซุย และ ให้หญ้าตาย เช่นเดียวกบั นาข้าว เพราะหญา้ เป็นศัตรูของตน้ ไหลเหมอื นกนั ทงั้ ตอ้ งทำคนั นาไว้สำหรับขัง น้ำได้ - การปักดำ การปลูกตน้ ไหลเหมอื นการดำนาข้าว ใช้หัวต้นไหลท่ตี ดิ อยกู่ ับลำตน้ ตัดปลายทิ้งแล้ว ให้เหลือยาวเพยี ง 50 เซนตเิ มตร มัดเปน็ กำ ๆ ไปยังนาไหลที่เตรียมแลว้ แยกออกเปน็ หัว ๆ ดำลง - การบำรงุ รกั ษา ควรทำร้วั ร้วั น้ีเปน็ รัว้ ปอ้ งกันววั ควายทจ่ี ะมาเหยียบย่ำในนาไหล หรือกดั กนิ ต้น ไหลท่ลี ัดขน้ึ มา ควรถอนหญา้ การถอนหญ้าในนาไหล นาน ๆ จะมีการถอนหญา้ สักคร้ัง เมอื่ เห็นว่ามีหญ้า ขึ้นมาก บางแห่งไม่ต้องถอนหญ้าเลย เพราะเมือ่ ไหลขึน้ แนน่ หนา หญ้าไมส่ ามารถจะขึ้นมาได้ การใส่ปยุ๋ ตามปกติบางแห่งไม่ต้องดำเลย 10 ปี ถึง 15 ปีก็มี เพราะตัดต้นไหลไปแล้วหัวของต้นไหลยังอยู่จะแทง หนอ่ ขึ้นมาเป็นลำต้นอีกปยุ๋ ท่ีตน้ ไหลชอบมากที่สุดคอื ปุ๋ยขเ้ี ป็ดปลาเนา่ และขน้ี ้ำปลา เปน็ ตน้ รปู ท่ี 2.5 การดำนาตน้ ไหล ทมี่ า https://www.alro.go.th/khonkaen/ewt_news.php?nid=164&filename=index

17 5) การขยายพนั ธ์ุไหล ขยายพันธุ์ด้วยหน่อหรือลำต้น เป็นพืชที่ชอบขึ้นตามหนองน้ำ คลอง บึง นาลุ่มที่มีน้ำขัง เจริญ งอกงามดีในดินโคลนสีดำ ดนิ เหนียว และดินรว่ นปนทราย การปลูกไหลจะได้ผลดีจะตอ้ งมกี ารเตรียมดิน ที่ดี การปลูกไหลนิยมปลูกในฤดูฝนประมาณเดือนพฤษภาคม – มิถุนายน โดยใช้หน่อของต้นไหลมาตดั สว่ นบนของลำตน้ ใหเ้ หลือประมาณ 30 เซนตเิ มตร 6) ประโยชน์ของต้นไหล ใช้ทำเป็นเสื่อ กระเป๋า เปลญวน ในสมัยโบราณเคยใช้ไหลทำกระดาษ เช่น ประเทศอียิปต์ใน โบราณได้ทำตน้ ไหลมาทำเปน็ กระดาษทเี่ รยี กว่า กระดาษปาปิรุส รูปท่ี 2.6 กระดาษปาปิรสุ ทมี่ า : http://worldcivil14.blogspot.com/2015/08/papyrus.html ผู้จัดทำจึงได้เลือกไหลพันธุ์ Carex เพราะเป็นไหลที่มีมากในภาคอีสาน สามารถหาได้ง่ายและ ปลกู งา่ ยแต่ตอ้ งใช้ในเวลาปลูกอย่างน้อย 5 - 6 เดือน และความยาวของไหลนน้ั จะยาวมากหรือน้อยอยู่ที่ กาลเวลาที่ใชใ้ นการปลกู 2.3 ความรเู้ กีย่ วกบั แผ่นรองจาน แผ่นรองจาน เปรียบได้กับเสื้อผ้าสำหรับโต๊ะอาหาร การแต่งตัวให้โต๊ะอาหารให้ดูดี และ เตรียมพร้อมรับในมือ้ พิเศษ ก็จะเป็นการเพิ่มลุคให้หน้ามอง การเลือกแผ่นรองจานหรือแผ่นรองแก้ว จึง เป็นสิ่งที่เราควรให้ความสำคัญไม่น้อย การเลือกแผ่นรองจานที่มีคุณภาพ วัสดุที่ดี คงทน และทำความ สะอาดไดง้ ่าย จึงเป็นสิ่งท่ีต้องใช้มาตัดสนิ ใจ แผ่นรองจานในท้องตลาด มีอยู่หลากหลายประเภท หลากหลายวสั ดุที่ใช้ผลิต จะดูที่ราคา หรือ ลวดลาย อยา่ งใดอยา่ งหนึ่งไม่ได้ ถา้ ธุรกิจเปน็ ร้านอาหาร ภตั ตคาร หรือ โรงแรม แผ่นรองจาน น้ันใช้อยู่ เปน็ ประจำจงึ จำเปน็ ต้องคำนึงถงึ เรอื่ งการทำความสะอาดได้งา่ ยดว้ ย

18 1) ประเภทวัสดุทใี่ ชท้ ำแผน่ รองจาน วัสดสุ งั เคราะห์ - แผ่นรองจานจาก PU PU เป็นผ้าที่อยู่ในหมวด เส้นใยโพลิเอสเตอร์ คือเกิดจากเส้นใยสังเคราะห์ 100% แต่จะ แตกต่างจากใยผ้าโพลีเอสเตอร์อ่ืน ตรงท่ีสารทใี่ ช้เคลือบ โดยสว่ นมาก สารท่ีใชเ้ คลอื บสว่ นใหญ่ และนิยม ใช้อยา่ งแพ่หลาย จะมี 2 ชนดิ ไดแ้ ก่ โพลยี รู เี ทน และ ซลิ ิโคน แตแ่ ทจ้ รงิ แล้วยงั มี Polyvinylchloride ( PVC ), กับ Acrylic ( Polyacrylonitrile : PAN ) แต่ทั้ง 2 ชนิดนี้ จะไม่ค่อยยืดหยุ่น โดยเฉพาะ เวลา เจออณุ หภูมิต่ำ ๆ นอกจากนน้ั PVC ยงั มีน้ำหนกั มาก อีกท้ังกระบวนการผลิต ก็ไมเ่ ป็นมิตรกบั สงิ่ แวดลอ้ ม จงึ ไมเ่ ป็นท่ีนิยมใช้ - โพลียรู ีเทน ( Polyurethane ) : หรือท่เี รียกวา่ PU สามารถเคลือบได้ ท้งั ผา้ โพลเี อสเตอร์ หรือ ไนลอน เป็นการเคลือบที่ทั่วไปใช้กัน สารเคลือบ PU มีหลากหลายสูตร มีทั้งแบบคุณภาพต่ำ และสูง คุณสมบตั ิการกันนำ้ และอายุการใช้งาน ก็แตกตา่ งกนั ดว้ ย ผา้ ทีค่ ุณภาพตำ่ ราคาถกู ก็มกั จะใช้ PU เกรด ต่ำ ท่กี ันนำ้ ไม่ดี และอายุส้ัน ข้อดี คือ ทำให้ตัวผ้าไม่แข็งเกินไป สามารถพับได้งา่ ย เหมาะสำหรบั ทำกระเป๋าท่ีพับได้ หรือทำ เป็นผา้ ซับใน ขอ้ เสีย คือ เพราะความบางของหลังผ้าชนดิ น้ี จงึ ทำให้รบั นำ้ หนักไดน้ อ้ ย และทนทานได้นอ้ ยกว่า หลังผ้าชนิดอ่นื ๆ รปู ท่ี 2.7 แผ่นรองจาน PU หนังลายจระเข้ ที่มา : http://www.maxbazaar.net/product/258

19 - แผน่ รองจาน PVC ผลติ จากพวี ซี ีที่มีคณุ ภาพสูง ตัวผา้ ใบมีนำ้ หนกั อมความร้อน เหมาะสำหรับการใชง้ านโดยทั่ว ๆ ไป สามารถนำมาใชเ้ ป็นผ้าคลมุ รถ มุงหลังคากนั สาด หลงั คาทจี่ อดรถ เต็นท์ ร่ม ผ้าใบชกั รอก กันสาดพับ เก็บ และอื่น ๆ กันน้ำ และแสงแดดได้ 100% อายุการใช้งานประมาณ 5 ปีขึ้นไป ขึ้นอยูก่ ับใช้งาน และ วิธกี ารดูรกั ษา ข้อดี ให้ความรู้สึกเหมือนหนังแท้ทั้งการสัมผัส และการมองเหน็ แต่อายุการใช้งานที่คงทนกวา่ PU โดยอายุการใชง้ านเฉลยี่ คอื 3 - 7 ปี แลว้ แตค่ ณุ ภาพของสินค้า และสภาพส่งิ แวดลอ้ ม นอกจากนน้ั ยงั ทำความสะอาดงา่ ย กันนำ้ ด้วยตวั วสั ดุเองอย่แู ลว้ ข้อเสีย จะมีผิวสัมผัสที่แข็งกว่า PU เล็กน้อย เมื่อเสื่อมสภาพจะเกิดการแข็งและแตกระแหง เหมือนดินแห้งแตก หลดุ แตกออกมาเป็นชนิ้ ๆ รปู ที่ 2.8 แผน่ รองจานจาก PVC ทม่ี า : https://www.facebook.com/tableplacemat/photos/ - แผ่นรองจาน EVA Sheet หรือ SPONGE เป็นผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจากยาง สามารถผลิตได้จากยางธรรมชาติและยางสังเคราะห์ มีความนิ่ม และมีความยืดหยุ่นสูงมาก คืนตัวได้ดี มีความนิ่มอยู่ระหว่าง 20-80 Shore OO น้ำหนักเบา เนื้อยางมี ลกั ษณะเป็นรูพรุน มที ง้ั แบบ Closed-Cell หรือ เซลลป์ ิด และ แบบ Opened-cell หรอื เซลล์เปดิ ยางฟองน้ำสามารถผ่านกระบวนการแปรรูปได้ทั้งแบบ Extrusion Process และ Molding Process นยิ มนำไปใช้งานดา้ นซีล ปะเกน็ แผ่นรอง แผน่ ฉนวนความรอ้ น แผน่ ซับเสียง แผน่ กนั เสยี ง ยาง ฟองน้ำติดเทปกาว ยางฟองน้ำกันน้ำกันฝุ่น ซีลตู้อบยางฟองนำ้ ยางฟองน้ำสำหรับงานอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ยาง ฟองน้ำสำหรับอุตสาหกรรมก่อสร้าง ยางฟองน้ำสำหรับอุตสาหกรรมยานยนต์ ยางฟองน้ำสำหรับ อตุ สาหกรรมอาหาร ขอ้ ดี คือ เวลานำไปผลติ สินค้า สนิ คา้ จะอย่ทู รงท่ีสดุ เหมาะสำหรบั สนิ คา้ ท่ีต้องการให้อยทู่ รง ขอ้ เสยี คือ พบั ยาก ทำใหช้ ิ้นงานหนา ผวิ สัมผัสดูแขง็

20 รูปที่ 2.9 แผ่นรองจานจาก Sponge ท่ีมา : http://www.quinl.com/th/ วสั ดธุ รรมชาติ - แผน่ รองจานแบบธรรมชาตทิ ำจากวัสดุเช่น ฝ้าย, ปา่ น, ลินิน, ไม้ไผ,่ กก และหวาย ผลติ ภัณฑจ์ ากธรรมชาตินน้ั คอื สง่ิ ทส่ี ร้างมาจากของจากธรรมชาตอิ ยา่ ง 100% จรงิ ๆ แล้วไม่ใช่ แบบน้ัน หากส่ิงของใดผลิตภัณฑ์ใด ทีส่ รา้ งมาจากธรรมชาตอิ ย่าง 100% เราจะเรียกสง่ิ นน้ั ว่าผลิตภัณฑ์ OG-ANIC สว่ นทางด้าน ผลิตภณั ฑ์จากธรรมชาติคอื เป็นผลิตภณั ฑ์ที่มีสว่ นผสมของวัตถุดิบ จากธรรมชาติ หรือพนื้ ฐานของผลิตภัณฑ์นั้น มาจากธรรมชาติเปน็ หลกั ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ของใช้ โดยไมม่ ีการปรุงแตง่ หรือเพิ่มสินได้เข้าไป ไม่มีสารปนเปื้อนใดใด เข้าไปโดยเฉพาะตัวเทคโนโลยีหรือสารเคมีใดใดที่เป็น อันตรายต่อตัวเรา ส่วนทางด้านสารเคมีหรือสารผลิตภัณฑ์ธรรมชาตินั้น จะต้องเป็นสารเคมี ที่มีความ บริสุทธิ์สูง อาจจะไม่จำเป็นว่า ต้องมีฤทธิ์ทางชีวภาพ หรือไม่มีโดยลิตภัณฑ์ ธรรมชาติเหล่านี้ สินค้า ธรรมชาติทำเอง จะต้องเปน็ ผลิตภณั ฑท์ ี่สกดั ออกมา จากทรัพยากรทางธรรมชาติเท่านน้ั ข้อดี ยอ่ ยสลายงา่ ย ระบายอากาศไดด้ ี ชว่ ยรักษาสภาพแวดล้อมธรรมชาติ ไม่เป็นพษิ เปน็ ฉนวน ความรอ้ น ข้อเสยี อายุการใชง้ านค่อนขา้ งสนั้ ไมท่ นต่อการซักล้าง เสยี หายง่ายระหว่างการผลติ ผู้จดั ทำจงึ ได้เลอื กวัสดุจากธรรมชาติ เพื่อเป็นมติ รต่อสงิ่ แวดล้อม และไดน้ ำภูมิปัญญาท้องถ่ินมา นำเสนอใหร้ ูปแบบผลติ ภณั ฑ์ เพื่อเพ่ิมมลู คา่ ใหก้ ับสนิ ค้า

21 รปู ที่ 2.10 แผน่ รองจานจากฝา้ ย ที่มา : https://shopee.co.th/ รูปท่ี 2.11 แผ่นรองจานจากไม้ไผ่ ทีม่ า : http://www.menucollections.com/ รปู ท่ี 2.12 แผน่ รองจานจากหวาย ท่ีมา : https://shopee.co.th

22 2) ขนาดและรูปแบบของแผน่ รองจาน โดยในมาตรฐานในการทำแผน่ จานจะอย่ใู นขนาด 45 x 30 เซนติเมตร - สี่เหล่ยี มผืนผ้า ขนาด 45 x 30 เซนตเิ มตร (แบบที่นยิ มใช้) รูปที่ 2.13 แผ่นรองจานสี่เหล่ียม ที่มา : https://bestreview.asia/best-placemats/ - วงกลม ขนาด 45 x 30 x 11 เซนตเิ มตร รูปท่ี 2.14 แผน่ รองจานวงกลม ทม่ี า : https://bestreview.asia/best-placemats/ - ส่ีเหลย่ี มผืนผ้ามมุ มน ขนาด 45 x 30 เซนตเิ มตร รูปท่ี 2.15 แผน่ รองจานสี่เหลีย่ มผนื ผ้ามมุ มน ที่มา : https://bestreview.asia/best-placemats/ ผู้จัดทำโครงการจึงได้เลอื กวัสดุจากธรรมชาติ เนื่องจากช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม รักษาวัฒนธรรม พื้นบ้าน และวิถีพื้นบ้านของชาวบ้าน และได้เลือกทำในรปู แบบสี่เหลี่ยม เพื่อในความสะดวกต่อการใช้ งานและกระบวนการทอ

23 2.4 ความรเู้ ก่ยี วกบั การตำ่ สาด 1) การเก็บเกี่ยวไหล ส่วนมากจะใชเ้ คีย่ วเกีย่ ว จะตัดลำต้นจนติดกับพื้นดนิ ให้เหลอื ตอสั้นที่สุด ขณะเก็บเกี่ยวน้ันนิยม กำจัดวัชพืช เพื่อให้ใช้หน่อไหลโตขึ้นมาได้อีก เมื่อตัดไหลเรียบร้อยแล้วก็ตัดส่วนใบทิ้ง แล้วนำไปแยก ขนาดความยาวของลำต้นใช้มีดตัดปลายไหลเพื่อให้มีขนาดเท่ากัน โดยใช้ไม้วัดทาบวัดขนาดของลำต้น ไหลก่อนทำการตัด ขนาดทีใ่ ชอ้ าจเปน็ 80, 100, 120, 140, หรือ 160 เซนติเมตร ตามแตข่ นาดของเสื้อท่ี จะทอ ไหลทม่ี ีความยาวเตม็ ทหี่ รือยงิ่ ได้ความยาวเท่าไหรย่ ิ่งดี หลงั จากการคัดเลือกแล้วจึงตดั ปลายทิง้ รปู ที่ 2.16 เกี่ยวต้นไหล ท่ีมา : https://web.facebook.com/ 2) การสลดั ไหล เป็นการจัดแยกขนาดตวามความยาวของต้นไหล การสลัดจะเอาต้นที่ยาวออกจากมัดไหล แล้ว สลัดเอาที่ยาวลดกลั่นกันลงไปเป็นคั่นๆ นับตั้งแต่ 10 คืบลงมาจนถึง 5 คืบ (คืบหนี่งยาวประมาณ 20 เซนติเมตร) แล้วมดั ไว้ตามขนาดตา่ ง ๆ ตัดดอกไหลท้ิง แลว้ นำไปจกั เป็นเส้นไหล รปู ที่ 2.17 มัดไหลไว้ตามขนาดต่าง ๆ ท่ีมา : https://web.facebook.com/

24 3) การผา่ จัก ชาวบา้ นเรียกวา่ “จกั ไหล” ใชม้ ีดเลก็ ปลายแหลมหรือจะใช้มีดพับปลายแหลมกไ็ ด้ เรยี กว่า “มีด จกั ไหล” การใชม้ ดี แทงลำโคนลำต้นผ่าแบง่ เป็นชนิ้ เล็ก ๆ จะผา่ ตน้ ละเท่าไหร่แลว้ แต่ขนาดความใหญ่หรือ เล็กของลำต้น ตามธรรมดาตน้ ขนาดกลางจะผ่า 4 ซีก เล็กลงมากจ็ ะเปน็ 3-2 ซีก ตามลำดับขนาดใหญ่ก็ จะมาเปน็ 5-6 ซกี ใช้มดี กรีดไปตวามความยาวของลำตน้ โดยตลอด แล้วใช้มีดเหลาขูดไสอ้ อกมาใหห้ มด รูปท่ี 2.18 ผ่าจักไหล ท่มี า : https://web.facebook.com/NBChanthaburi/ 4) การตากแหง้ นำไหลที่จกั มาแขวนผ่ึงลมไวใ้ นทีร่ ่ม เพื่อให้เสน้ ซกี ไหลหบุ เปน็ เส้นกลม จากนั้นนมาตากแดดให้ แหง้ การตากใช้แผบ่ าง ๆ บนพน้ื ดินลานปนู หมน่ั พลกิ วนั ละ 2-3 ครัง้ เมอ่ื แดดดี ๆ 3-4 วัน ไหลก็จะแห้ง สนิท สังเกตได้จากสขี องเสน้ ไหลขาวเป็นนวลแสดงว่าไหลน้ันแห้ง ถา้ ยงั เปน็ สเี ขยี วออ่ นแสดงวา่ ไหลนั้นยัง ไมแ่ หง้ ดี การตากไหลใหแ้ ห้งเป็นสีขาวน้ันจำเปน็ เพราะเวลายอ้ มสไี หล ไหลสขี าวจะย้อมไดส้ สี วยสดกว่า สเี ขยี ว รูปท่ี 2.19 มัดไหลไวม้ าตากแดด ทม่ี า : https://sites.google.com/site/wovenmats/home/withi-kar-thx-seux

25 5) การยอ้ มสี - ตอ้ งแช่ต้นไหลที่จะยอ้ มก่อน หรือจะพรมน้ำใหเ้ ปียกชมุ่ ก่อนประมาณ 1 ชัว่ โมง - ต้มน้ำใหร้ ้อนจัด ใสส่ ที ่เี ตรยี มไว้ คนให้สลี ะลายเติมเกลอื เลก็ นอ้ ย (เพื่อใหส้ ขี องไหลสดยงิ่ ขึน้ ) - ใสเ่ สน้ ไหลที่มัดเปน็ กำ ๆ ลงไป แลว้ ใชไ้ มค้ นใหท้ ว่ั ถงึ ประมาณ 5 นาที ตอ่ คร้งั เพื่อให้สีที่ได้ติด อย่างสมำ่ เสมอไม่ด่าง ทงิ้ ระยะให้น้ำเดือดอกี ครั้งแล้วย้อมใหมป่ ระมาณ 30 นาที แลว้ เอาไปแช่ในน้ำเย็น เพ่อื ลา้ งเสน้ ไหล ใหล้ ้างหลาย ๆ ครงั้ - นำไหลไปตากให้แห้งสนทิ อีกคร้ังหน่งึ ในการย้อมสีไหลนั้น ถ้าเส้นไหลมีความยาวมาก ๆ ก็จะทำให้การย้อมเป็นไปด้วยความลำบาก ดังนั้นเพอ่ื ความสะดวกจึงควรแบง่ ย้อมทีละครง่ึ สว่ นเสียก่อน รูปท่ี 2.20 ต้มน้ำใหเ้ ดือดและใส่สยี อ้ มไหล ที่มา : https://sites.google.com/site/kokdondang/withi-kar-thx-seux-kk/karyxmsi รูปที่ 2.21 มัดไหลและแขวนไว้ในท่ีร่ม ทมี่ า : https://sites.google.com/site/kokdondang/withi-kar-thx-seux-kk/karyxmsi

26 6) การทอ วัสดอุ ปุ กรณ์ในการทอ - กรรไกร (12 นวิ้ ) รูปท่ี 2.22 กรรไกร ท่มี า : https://www.rudeetoolshop.com/product/126/ - ไหล (ทีต่ ากแห้งเรียบร้อย) รูปท่ี 2.23 ไหลที่ตากแห้งแลว้ เรยี บร้อย ท่ีมา : https://www.facebook.com/maeboonfeum/photos/ - เชอื กเอ็น รปู ที่ 2.24 เส้นเอ็น ท่ีมา : https://www.homepro.co.th/m/p/1692

27 - ฟืมทอเส่ือ 1 เมตร รูปท่ี 2.25 ฟืมทอเสอื่ ที่มา : http://sirilakt1.blogspot.com/p/blog-page.html - โฮมทอเสอ่ื กวา้ ง 1 เมตร ยาว 2 เมตร รูปท่ี 2.26 โฮมทอเสือ่ ท่มี า : https://web.facebook.com/fuimtog/photos/ - ไม้สอดไหล รปู ที่ 2.27 ไม้สอดไหล ทม่ี า : http://202.29.22.167/newlocaldb/stdlocal/2554/nacky/ooo.html

28 - สีย้อมไหล รปู ที่ 2.28 สีย้อมไหล ทีม่ า : https://shopee.co.th เลือกขนาดของฟืมให้ได้ขนาดตามที่ต้องการ นำฟืมไปตั้งในโฮงที่จะทอแล้วตั้งให้ได้ระดับ ระยะห่างจากเหล็กตีนเสื่อประมาณ 2 ฟุต นำเชือกเอ็นมาขึงจามริมฟืมซี่แรก จะเริ่มจากดา้ นซ้าย หรือ ขวากอ่ นกไ็ ด้แล้วแต่ถนดั การขึงเชอื กใชค้ น 2 คน คนหนง่ึ นง่ั อยูท่ ห่ี ัวเสือ่ คอยมดั เชือกทขี่ งึ ใหต้ ึง และแน่น อีกคนนั่งอยู่ตีนเสื่อคอยสอดเชือกเข้ากับเหล็กตีนเสื่อ ใช้เชือกสอดเข้าไปในรูฟืมที่เจาะไว้ เป็นสองแถว แล้วดึงปลายเชือกไปเกาะติดกับตะปูที่เราตอกงอไว้ติดกับไม้อีกท่อนหนึ่ง แล้วยึดกันให้แน่น เชือกดึงให้ ยาวตามความยาวของเสื่อ พรมนำใส่ไหลที่จะทอ ในการทอเสื่อจะใช้คน 2 คน คนแรกเป็นคนทอ อีกคนหน่ึงเป็นคนคอยสอดเส้นไหล ไหลที่นำมา ทอจะใส่ถุงพลาสติกเพื่อให้ไหลนิ่มและทอได้แน่น การทอคนทอจะต้องคว่ำฟืมเพื่อให้มีช่องว่างสำหรบั สอดไหล คนสอดจะสอดเส้นไหลโดยแนบส่วนหัวของเส้นไหลกับไม้สอด สอดไปตามช่องระหว่างเชอื กท่ี แยกออกจากกันขณะท่ีคว่ำฟืม พอสอดไปสุดรมิ เชือกอกี ขา้ งดึงไม้สอดกลบั คืนคงเหลือแต่เส้นไหล คนทอ ก็กระทบฟืมเข้าหาตัวแล้วคนทอก็หงายฟืม คนสอดก็ใช้ส่วนปลายของเส้นไหลแนบกับไม้สอด สอดไหล เข้าไปอกี คนทอก็กระตกุ ฟมื เข้าหาตัว แล้วไพริมเสื่อทางด้านซ้ายมอื การไพริมเสือ่ คือ การใช้ปลายไหลม้วนงอลงแล้วสอดพับเชือก ขัดไว้ใหแ้ นน่ ตอ่ ไปควำ่ ฟมื ไพริมเสื่อทางดา้ นขวามือ ทำเชน่ นีไ้ ปเร่อื ย ๆ จนกวา่ จะได้ขนาดตามทตี่ อ้ งการ ในขณะทอหากต้องการให้การทองา่ ยยิ่งขึน้ ให้ใชเ้ ทยี นไขถกู บั เส้นเอ็นท่ีขงึ ไว้ให้ท่ัว เพื่อที่จะใหเ้ อน็ ลื่นไม่ ฝืด ตัดริมเสื่อทั้งสองด้านให้เรียบร้อย เสื่อจะมีความสวยงามมากยิ่งขึ้น ใช้มีดตัดเชือกเอ็นทางตีนเส่ือ เพอ่ื ให้เสอื่ ออกจากโฮง มดั เอ็นท่ีปลายเส่อื เพ่ือเปน็ การป้องกนั เสื่อร่ยุ นำเส่ือท่ที อเสร็จแล้วผึ่งแดดไว้จน แหง้ สนทิ จงึ พบั เกบ็ ไว้จำหน่ายหรอื แปรรูปตอ่ ไป

29 รปู ที่ 2.29 ทอเส่ือไหล ที่มา : http://weavinto.blogspot.com/ รูปที่ 2.30 ขณะทอเสอ่ื ทม่ี า : https://praew.com/

30 2.5 ความรเู้ กี่ยวกบั ลวดลายการทอเสื่อไหล - ลายสลับ หมายถึง การใช้ไหลสองสีหรือสามสี สีหนึ่งจะเป็นสีพื้นอีกสองสีเป็นสีทำตา การพุง่ จะใช้สีทำพุ่งสลับกันกับสีพื้น เวลาจะสลับตาก็พุ่งสีพื้นติดต่อกัน 2 เส้น ตาของเสื่อก็จะสลับลายสลับท่ี นิยมทอกนั ทว่ั ไป ได้แก่ ตาแดงดำ ตาแขก ลายคริสมาสต์ ลายดอกกัลยา เปน็ ต้น รปู ท่ี 2.31 ลายครสิ มาสต์ ที่มา : ศูนยผ์ ลิตภัณฑส์ ินค้า OTOP บ้านโคกเมืองจงั หวดั บุรีรัมย์ รปู ที่ 2.32 ลายดอกกลั ยา ทม่ี า : ศูนยผ์ ลติ ภัณฑ์สนิ คา้ OTOP บา้ นโคกเมืองจังหวดั บุรีรมั ย์ - ลายผสม หมายถึง การทอเปน็ ตาใหญ่ ๆ ทผ่ี สมผสานกันทัง้ สามลาย ได้แก่ ตาลกู โซ่ ตาก้างปลา ตาไม้กางเขน ตาตอกจนั ลายขอ้ ดอกมะเฟ่อื ง ขันหมากเศรษฐี ลายค้างคาว เป็นต้น รูปท่ี 2.33 ลายข้อ ที่มา : ศูนยผ์ ลิตภณั ฑ์สินค้า OTOP บ้านโคกเมืองจงั หวัดบุรรี มั ย์

31 รูปที่ 2.34 ลายดอกมะเฟ่ือง ทม่ี า : ศูนยผ์ ลติ ภณั ฑส์ ินค้า OTOP บา้ นโคกเมอื งจังหวดั บรุ รี ัมย์ รปู ที่ 2.35 ลายขันหมากเศรษฐี ทม่ี า : ศูนย์ผลิตภัณฑ์สินค้า OTOP บ้านโคกเมืองจังหวัดบรุ รี มั ย์ รูปท่ี 2.36 ลายค้างคาว ที่มา : ศูนยผ์ ลติ ภัณฑส์ ินคา้ OTOP บ้านโคกเมืองจังหวดั บุรรี ัมย์ - ลายพื้น หมายถึง การใช้สีไหลสีเดียว พุ่งสลับการคว่ำหงายของฟืมติดต่อกันก็จะได้เป็นสีพ้ืน เชน่ พนื้ เขยี ว พ้ืนแดง พื้นขาว เป็นต้น - ลายไหล หรือ ลายน้ำไหล หมายถึง การใช้ไหลสองสี พุ่งสลับกับคว่ำฟมื 1 สี หงายฟืม 1 สี ก็ จะไดท้ างสีสลบั กันตามเอ็นท่ขี ึง

32 รปู ท่ี 2.37 ลายน้ำไหล ทม่ี า : ศูนยผ์ ลิตภัณฑ์สินคา้ OTOP บา้ นโคกเมืองจงั หวัดบรุ รี ัมย์ ผจู้ ดั ทำโครงการจงึ ไดเ้ ลือกลายสลับหรือลายหมากฮอตน้อย เน่อื งจากไมค่ ่อยมคี วามสลบั ซบั ซอ้ น มากนักและยงั ดูเป็นลายพน้ื ๆ ทด่ี แู ลว้ รสู้ ึกวา่ สวยและไดต้ กแต่งขอบ เพ่มิ แถบลายชา้ งเขา้ ไปเพอ่ื ให้ดมู ี ลูกเลน่ มากข้ึน 2.6 งานวจิ ัยที่เกย่ี วข้อง ร่งุ นภา โยโพธ์ิ และสุภาวดี สสี วุ อ ไดศ้ ึกษาหวั ข้อ “การจัดการองคค์ วามร้ภู ูมิปัญญาท้องถ่ินการ ทอเสอ่ื กก บ้านทางขวาง อำเภอแวงนอ้ ยจงั หวัดขอนแกน่ ” ภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ เกดิ จากการดำเนนิ ชีวิตของ มนุษยท์ ม่ี กี ารสงั่ สมความรู้มวลประสบการณ์ตา่ ง ๆ ที่มกี ารสบื ทอดจากอดีตจนถงึ ปัจจุบนั ท่ีเป็นไปอย่าง ตอ่ เนอ่ื งไมข่ าดสายโดยมีความสัมพนั ธ์ระหว่างชาวบ้านกับชาวบ้าน สืบทอดจากคนรุน่ หน่ึงไปสู่คนอีกรุ่น หนึ่ง ชาวบ้านทางขวาง ในอำเภอแวงน้อย จังหวัดขอนแก่น ชาวบ้านมีอาชีพทำเกษตรกรรมเป็นอาชพี หลัก และมีอาชีพเสริมหลังการทำไร่ทำนา คือการทอเสื่อกกบางครัวเรือนก็ทอเสื่อกกเป็นอาชีพหลัก สร้างรายได้ให้กับครอบครัวซึ่งเป็นภูมิปัญญาชาวบ้านที่สืบทอดต่อกันมาตั้งแต่โบราณ มีการพัฒนา ลวดลายบนผืนเสื่อเป็นลวดลายต่างหลากหลายมีความสวยงาม โดดเด่น ดังนั้นเพื่อเป็นการอนุรักษ์ภูมิ ปัญญาทอ้ งถ่ิน ใหส้ ามารถยึดเป็นอาชีพหลกั และอาชีพรองได้ ทางกลุ่มทอเสื่อกก จึงมุ่งพัฒนาผลิตภัณฑ์ สินค้าชุมชนให้มีคุณภาพ และให้ได้มาตรฐานผลิตภัณฑ์ OTOP โดยใช้จุดแข็งของชุมชนด้านวัฒนธรรม วิถีชีวิตและภูมิปญั ญาเพื่อสร้างความเชื่อถอื ให้กับผูบ้ ริโภค และอยู่รอดไดท้ ่างกลางกระแสความผันแปร ของวัฒนธรรมและค่านิยมการใช้สอยเสื่อกกชาวบ้านทางขวางได้รับการตอบรับที่ดี ทำให้ชาวบ้าน ทางขวางเกดิ กำลงั ใจท่ีจะผลิตเสือ่ กกสง่ ออกในอนาคต สุทธติ า สพุ ลสงิ ห์ (2559) ได้ศึกษาหวั ข้อ “การสรา้ งมลู คา่ เพิ่มแปรรปู เส่ือกกเพือ่ เศรษฐกิจชุมชน บ้านทุ่งสะแบงหมู่ที่ 7 ตำบลมะเกลือใหม่ อำเภอสูงเนนิ จังหวัดนครราชสีมา” มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษา สถานการณก์ ารทอเสื่อกกของชุมชนทงุ่ สะแบง ชาวบา้ นในพ้ืนท่ปี ระกอบอาชพี ทอเสื่อกกเป็นรายได้เสริม และต้นทุนในการทอเสื่อกกแต่ละครั้งมีต้นทุนที่ค่อนข้างสูง เพราะมีการส่งไปตัดเย็บต่างจังหวัด เพื่อ

33 ศึกษากระบวนการเรยี นรู้ ปัจจัย เงือ่ นไขตา่ ง ๆ ของการประกอบอาชพี เสือ่ กกของชมุ ชน คนชุมชนยังขาด ความรู้ความสามารถในการเปลยี่ นแปลงสินค้าให้ทันยุคทนั สมัยและต้องการเงนิ ลงทุนที่เพยี งพอ และยัง ขาดแหล่งวัตถุดิบในชุมชน การพัฒนาทักษะฝีมือในการผลิตและเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มการทอเสื่อกกเพ่ือ เศรษฐกจิ ของชมุ ชนทุง่ สะแบง อำเภอมะเกลือใหม่ จงั หวดั นครราชสมี าให้เกดิ ความเข้มแขง็ ของชมุ ชน ได้ พัฒนาผลิตภณั ฑก์ กให้เป็นสนิ ค้าสำเร็จรูปในรูปแบบอืน่ ๆ อนั จะเป็นประโยชนท์ ่ีจะชว่ ยลดต้นทุนในการ ทำงาน และยงั เป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ของคนในชมุ ชนทงั้ เดก็ และผู้ใหญ่ ให้มีรายไดเ้ สรมิ ในการเล้ียง ครองครัว เป็นการสร้างชื่อเสียงของชุมชนได้อีกทางหนึ่งที่จะทำให้ชุมชนได้มีการพัฒนาตนเองให้ดีข้นึ อย่างต่อเนอ่ื งมวี ิธดี ำเนินการวจิ ัยคอื การศกึ ษาเอกสาร การศกึ ษาภาคสนาม เก็บข้อมลู ด้วยการสัมภาษณ์ การใชแ้ บบสอบถาม และการสงั เกตการณ์แบบมีส่วนร่วม กนกวรรณ กุลบก และศิริลักษณ์ มิตรชื่น (2558) ได้วิจัยในหัวข้อ “ที่รองจานจากเสื่อกก” มี วัตถปุ ระสงค์เพื่อจัดการเรียนการสอน และเพือ่ ประดษิ ฐข์ องใช้สำหรับที่รองจาน ใหใ้ ช้งานไดส้ ะดวกสบาย ซึ่งเปล่ยี นจากท่ีรองจานปกติ มาเปน็ ต้นกกทกั ทอเปรยี บเทยี บกบั แกว้ รองจานธรรมดาแล้ว ต้นกกทักทอมี ความเป็นธรรมชาติและสวยงาม มีความคิดสร้างสรรค์ เมื่อนำทั้งสองอย่างมาเปรียบเทียบกันแล้ว ก็จะ พบวา่ ตน้ กกทักทอท่ีเรานำมาทำเปน็ ที่รองจานของเราสามารถใชง้ านได้สะดวกมากกว่า และสวยงามเป็น ธรรมชาติทพี่ บวา่ ผใู้ ช้วสั ดชุ อบเปน็ จำนวนมากเนอ่ื งจากมีความแปลกใหมแ่ ละเป็นธรรมชาติ พัชรา ปราชญเ์ วทย์, ญาณศิ า ศรีบุญเรอื ง, พัฒนพงษ์ โพธปิ สั สา และจนั ทนา จินดาพนั ธ (2562) การวิจยั เรอื่ ง “การแปรรูปผลติ ภณั ฑจ์ ากเสือ่ กกและต้นไหลในจงั หวดั ศรีสะเกษ เพอื่ ขยายกลุ่มเป้าหมายสู่ ตลาดตา่ งประเทศ” มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ศึกษาแปรรปู ผลติ ภัณฑจ์ ากเสอ่ื กก ต้นไหล เพื่อจำหนา่ ยเปน็ สนิ ค้า OTOP เพื่อศึกษาอบรมการเพิม่ ช่องทางการตลาดด้านธุรกจิ ออนไลน์สินค้าของชุมชน และถ่ายทอดองค์ ความรู้เกี่ยวกับการแปรรูปในจังหวัดศรีสะเกษโดยใช้กระบวนการวิจัย 5 ขั้นตอนได้แก่1) ศึกษาสภาพ บริบทพ้นื ฐาน 2) จัดประชุมเสวนาผู้มีสว่ นเกี่ยวขอ้ ง 3) รา่ งแบบและสร้างผลิตภัณฑต์ ้นแบบ 4) จัดอบรม เชิงปฏิบัติการ 5) สรุปผล และประเมินผล กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ เจ้าอาวาสวัด ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น กำนัน หวั หนา้ สถานอี นามัย ผใู้ หญ่ ผู้อาวุโสของหมู่บ้าน กลมุ่ ทอผา้ และผู้ที่เป็นผู้น าแบบไม่เป็นทางการรวมถงึ แกนน าของชุมชนรวมทัง้ หมด 50 คน โดยการสุ่มแบบเจาะจง เคร่ืองมือที่ใช้ ในการวจิ ัย ได้แก่แบบสมั ภาษณ์ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใชว้ ิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติโดยใช้ ค่า ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการพรรณนาเนื้อหาผลการวิจัยพบว่า 1) แปรรูป ผลิตภัณฑ์จากเสื่อกกและต้นไหลในจังหวัดศรีสะเกษได้ผลิตภัณฑ์ประเภท กระเป๋าแฟ้มกล่าวรายงาน และชุดที่รองจานรองแก้ว 2) การเพิม่ ช่องทางการตลาดด้านธุรกจิ ออนไลน์สินค้าของชุมชนในจังหวดั ศรี สะเกษ พบว่าทุกด้านโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.69 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.38 3) ถา่ ยทอดองคค์ วามรเู้ กี่ยวกบั การแปรรูป เสือ่ กกและต้นไหลในจังหวัดศรีสะเกษ พบว่า ระดบั ความคิดเห็น ความพึงพอใจรวมทุกด้านโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุดมีคา่ เฉลี่ย 4.42 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.37

34 ซึ่งสามารถพัฒนาอาชีพและสร้างเอกลักษณ์ให้แก่สินค้า และพัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าให้เป็นสินค้าระดบั Premium OTOP (หัตถกรรม) เพื่อการบรกิ ารทีม่ ีมลู ค่าสงู ตลอดจนมกี ารขยายธุรกจิ ด้วย E–commerce และสร้างผปู้ ระกอบการด้วยสินคา้ ของชุมชนต่อไป ลกั ษณพร โรจน์พทิ กั ษ์กุล การวิจยั เรอ่ื ง “การต่อยอดภมู ิปัญญาการทอเสื่อกกโดยการออกแบบ และพัฒนาลวดลาย ด้วยรูปทรงเรขาคณิตของวิสาหกิจชุมชนแปรรูปเสื่อกกบางพลวง อำเภอบ้านสร้าง จังหวัดปราจีนบุรี” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบริบท แนวคิด หลักการ หลักฐานทางภูมิปัญญาตลอดจน การจดั การความรู้เกย่ี วกบั การทอเสื่อของกลุ่มผู้ประกอบอาชพี ทอเสื่อกก และเพ่อื ตอ่ ยอดภูมิปัญญาเดิม โดยการออกแบบและพัฒนาลวดลายเส่ือกกดว้ ยรปู ทรงเรขาคณิตท่ีของวิสาหกิจชุมชนแปรรูปเสื่อกกบาง พลวง อำเภอบ้านสร้าง จังหวัดปราจีนบุรีด้วยวิธีการวิจัยเชิงทดลอง เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ โปรแกรม คอมพิวเตอร์ AdobeIllustrator และ Adobe Photoshop CS ในการสร้างและตกแต่งต้นแบบลาย วิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารการศึกษาภาคสนาม สนทนากลุ่ม การสังเกต และการปฏิบัติการวิจยั แบบมี สว่ นร่วม แบบสอบถามความพงึ พอใจของกลมุ่ ผู้บริโภค จำนวน 50 คน สถติ ิท่ีใชค้ ือ ความถ่ี รอ้ ยละ และ ค่าเฉลี่ย ผลการวิจัยพบว่า บริบทแนวคิด หลักการ หลักฐานทางภูมิปัญญาเกี่ยวกับการทอเสื่อกกของ ชุมชนเปน็ วถิ ชี ีวติ ที่สบื ทอดตอ่ กันมาจากบรรพบุรุษ เป้าหมายของการผลิตคือ การดำรงอยูข่ องครอบครัว และชุมชนโดยการพึ่งแรงงานในครอบครัว พึ่งทรัพยากรท้องถิ่น พึ่งตัวเอง และพึ่งกันเองในชุมชน ด้าน จัดการความรู้ของกลุ่มผู้ทอเสื่อกกบางพลวงประกอบด้วย 7 ขั้นตอน คือ 1) การค้นหาความรู้ 2) การ สร้างและแสวงหาความรู้ 3) การจัดความรู้ให้เป็นระบบ 4) การประมวลและกลั่นกรองความรู้ 5) การ เข้าถึงความรู้ 6) การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ และ7) การเรียนรู้เพื่อให้เกิดความเข้าใจชัดเจนยิ่งขึ้น ด้านการต่อยอดภูมิปญั ญาการพฒั นาลวดลายเสื่อกกด้วยรูปทรงเรขาคณิต ได้รูปแบบลวดลายจำนวน 4 ลาย ได้แก่ 1) ลายหัวใจ 2) ลายเหลี่ยมซ้อน 3) ลายดอกปีบและ 4) ลายกระเบื้องดิน เป็นลายต้นแบบ ของวิสาหกิจชมุ ชนแปรรูปเส่อื กก ผลการสำรวจความพงึ พอใจ พบว่าดา้ นความทันสมยั ของสแี ละลวดลาย สีของลายตรงกบั ความนิยมของคนในยคุ ปัจจุบันและลายสามารถพัฒนาปรบั ปรุงให้มีลักษณะตามแต่ละ ยุคสมัยที่เปลี่ยนไปได้อยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.36 และ 4.32 ด้านความเหมาะสมในการใช้งาน พบวา่ ลักษณะของลายเหมาะสมทจี่ ะนำไปผลติ เพ่อื จำหนา่ ยจรงิ ระดับมากท่ีสุดคา่ เฉล่ีย 4.24 เส่ือไหลสามารถแปรรูปได้หลายหลายอยา่ ง สามารถสร้างรายได้หลายรูปแบบ และยังสามารถ นำไปใช้ประโยชน์ต่าง ๆ ได้มากมาย เชน่ นำไปประกอบพิธตี ่าง ๆ หรอื นำไปใชใ้ นชีวิตประจำวนั ผู้จัดทำ จึงไดเ้ ลอื กจะทำโครงการนี้เพ่ือใหว้ ฒั นธรรมของการทอไหลนัน้ เปน็ ทร่ี ู้จักมากยงิ่ ขึ้นและนำผลิตภัณฑ์น้ัน มาใช้กับอาคารปฏบิ ตั กิ ารโรงแรมวทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาเชียงใหม่

35 บทท่ี 3 วิธดี ำเนนิ การวิจยั การดำเนินโครงการ Placemat ต้นไหล มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเผยแพร่วัฒนธรรมการต่ำสาด ของชาวอีสานให้เป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น 2) เพื่อศึกษาความรู้เกีย่ วกับต้นไหล 3) เพื่อศึกษาระดับความพงึ พอใจในผลติ ภัณฑ์แผน่ รองจานจากตน้ ไหล ซง่ึ ผจู้ ัดทำโครงการได้ดำเนนิ การศึกษาดังนี้ 3.1 ประชากรและกล่มุ ตวั อย่าง 3.2 เคร่อื งมอื ในการวจิ ยั 3.3 การดำเนนิ การวจิ ัย 3.4 การเก็บรวบรวมขอ้ มลู 3.5 การวเิ คราะหแ์ ละสรุปผล 3.1 การคัดเลอื กกลมุ่ ตวั อยา่ ง - โครงการ Placemat ต้นไหล ผู้จัดทำโครงการได้ใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) เป็นการเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยพิจารณาการตัดสินใจของผู้วิจัยเอง ลักษณะของ กลุ่มที่เลือกเป็นไปตามวตั ถุประสงค์ของการวิจัย คือ กลุ่มทดลองใช้งาน Placemat ต้นไหล จำนวน 50 คน 3.2 เคร่อื งมอื ในการวจิ ัย 1) แบบบนั ทึกการทดลอง 2) แบบสอบถามความพงึ พอใจ ผู้จัดทำโครงการแบบบันทกึ การทดลอง แบบสอบถามความพงึ พอใจ เปน็ เครอ่ื งมอื เพื่อรวบรวม ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง เพื่อสอบถามความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่าง หลังจากนั้นผู้จัดทำโครางการจะ จัดทำแบบสอบถามความพึงพอใจเมื่อได้ลองใช้ Placemat ต้นไหล ดังนั้นผู้จัดทำโครงการได้แยก แบบสอบถาม ออกเปน็ 2 สว่ น ดงั นี้ ส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยสอบถามเกี่ยวกับเพศ อายุ ระดับช้ัน ส่วนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับความพึงพอใจของผู้ที่ได้ลองใช้ผลิตภัณฑ์ Placemat ต้นไหล ผู้จัดทำ โครงการได้ใชม้ าตราวัดแบบ Rating scale 5 ระดับตามมาตราวัดแบบลิเคิร์ท (Liket’Scale) ในการวัด ระดับความพงึ พอใจ ดงั นี้

36 วัดระดบั ความพึงพอใจดังนี้ 5 หมายถึง มากท่ีสุด 4 หมายถึง มาก 3 หมายถงึ ปานกลาง 2 หมายถึง นอ้ ยหรือต่ำกว่ามาตรฐาน 1 หมายถึง น้อยทสี่ ดุ หรือต้องปรบั ปรุงแกไ้ ข ส่วนท่ี 3 ข้อเสนอแนะซง่ึ เปน็ คำถามปลายเปิดเพอ่ื ใหผ้ ู้ตอบแบบสอบถามแสดงความคดิ เห็น เกณฑ์การประเมินแบบสอบถามความคิดเห็น มี 5 ระดับโดยผู้จัดทำโครงการได้เลือกวิธีการของ เร็นลสิ เอลิเคิร์ท ดงั น้ี (Likert’Scale,Rating Scale A 2504) 4.50-5.00 หมายถึง เหน็ ด้วยอยรู่ ะดับมากที่สดุ 3.50-4.49 หมายถึง เห็นด้วยอยูร่ ะดับมาก 2.50-3.49 หมายถงึ เหน็ ดว้ ยอยู่ระดบั ปานกลาง 1.50-2.49 หมายถงึ เห็นด้วยอยรู่ ะดบั น้อย 1.00-1.49 หมายถึง เหน็ ด้วยอย่รู ะดับน้อยมาก การสรา้ งเคร่อื งมอื ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ครั้งน้ี โดยมีการสรา้ งเครื่องมือดังน้ี 1) ศึกษาค้นคว้าเอกสารที่เกี่ยวข้อง เพื่อกำหนดแนวทางในการสร้างเครื่องมือในการศึกษาให้ ครอบคลมุ เนอ้ื หาที่กำหนด 2) จัดทำแบบสอบถามเพอื่ ใชใ้ นการเก็บขอ้ มูลเกย่ี วกับ ผลิตภณั ฑ์ Placemat ต้นไหล 3) ตรวจสอบแบบสอบถาม โดยปรึกษาอาจารย์ผู้สอนเกี่ยวกับความถูกต้องของแบบสอบถาม และขอ้ ความแก้ไขของแบบสอบถามเพ่ือนำไปใชใ้ นการเกบ็ ขอ้ มลู ท่ีถูกต้อง 4) ปรับปรุงแก้ไขสอบถามตามที่ควรแก้แล้วเสนอต่ออาจารย์อีกครั้งเพื่อตรวจเช็คความถูกต้อง อกี ครง้ั ก่อนท่จี ะนำไปใช้ในการเกบ็ ขอ้ มูล 3.3 การดำเนินการวิจัย 1) การวางแผน (P) - กำหนอช่ือเร่อื งและศกึ ษาขอ้ มลู ปญั หา ความสำคญั ของโครงการ - เขียนแบบนำเสนอโครงการ - ขออนุมัติโครงการ 2) ข้นั ตอนการดำเนนิ การ (D) - ศกึ ษาการทอ Placemat ตน้ ไหล ประเมนิ ผลและปรับปรงุ รูปแบบผลิตภณั ฑ์ ออกแบบลาย Placemat ต้นไหล

37 ทอ Placemat ต้นไหล ครงั้ ที่ 1 ทอ Placemat ต้นไหล ครงั้ ที่ 2 3) ขัน้ ตอนการตรวจสอบ (C) - กลมุ่ ประชากรของผใู้ ชผ้ ลิตภณั ฑ์ Placemat ตน้ ไหล - ประเมนิ ผลความพึงพอใจของผลติ ภณั ฑ์ Placemat ต้นไหล 4) ข้ันประเมินตดิ ตามผล (A) - สรปุ ผลการประเมินความพงึ พอใจผลติ ภัณฑ์ Placemat ต้นไหล - จัดทำเลม่ โครงการ - นำเสนอ และเผยแพร่ให้คนในทอ้ งถน่ิ ตำบลยายแย้มวัฒนา อำเภอเฉลิมพระ เกยี รติ จังหวดั บรุ ีรัมย์ 3.4 การเก็บรวบรวมขอ้ มูล ผ้จู ัดทำโครงการได้ดำเนนิ การเก็บรวบรวมขอ้ มูลการทำโครงการนี้ อยา่ งเป็นข้ันตอนดังน้ี 1) ผู้จดั ทำโครงการทำการแจกแบบสอบถามให้กับกลุม่ ตัวอย่าง โดยพิจารณาจากการตัดสินใจ ของผู้วจิ ยั เอง โดยวธิ ีการสแกนควิ อาโค๊ช ให้ผู้ตอบแบบสอบถามตอบแบบสอบถามออนไลนด์ ้วยตวั เอง 2) การรวบรวมแบบสอบถาม ผ้จู ดั ทำโครงการไดร้ วบรวมแบบสอบถามดว้ ยตวั เอง 3) ตรวจสอบความสมบรู ณ์ของแบบสอบถาม เพ่ือนำขอ้ มลู ไปวเิ คราะหท์ างสถิติ 3.5 การวเิ คราะหแ์ ละสรุปผล ข้อมูลที่ได้จากการรวบรวมข้อมูล ผู้จัดทำโครงการได้ทำการตรวจสอบความเรียบร้อยของ แบบสอบถาม และนำเสนอข้อมลู มาประมวลผลดว้ ยคอมพิวเตอร์สำเรจ็ รูป สำหรบั การคดิ ค่าร้อยละ การ หาค่าเฉล่ยี (������̅) และสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D) ดงั นี้ 1) การวิเคราะห์ข้อมูลส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยการแจกแจง ความถี่และรอ้ ยละ สูตรการหาคา่ รอ้ ยละ เม่อื P ������ = ������ ������ 100 ������ แทน ร้อยละ F แทน ความถที่ ่ีต้องการแปลคา่ ใหเ้ ป็นรอ้ ยละ N แทน จำนวนความถ่ีทัง้ หมด

38 2) การวิเคราะหข์ ้อมูลส่วนที่ 2 แบบสอบถามความพึงพอใจของกลุม่ ตัวอย่างคณะครู บุคลากร นกั เรียน-นกั ศกึ ษา ในวทิ ยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ ในการวิเคราะหไ์ ด้แก่ การหาคา่ เฉล่ีย (X̅) และส่วน เบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D) การหาค่าเฉลีย่ ���̅��� = ∑ ������ ������ เมื่อ ������̅ แทน ค่าเฉล่ีย ∑ แทน ผลรวมทง้ั หมดของความถี่ คณู คะแนน ������ แทน ผลรวมท้งั หมดของความถซ่ี ่ึงมีค่าเท่ากับจำนวนข้อมลู ทง้ั หมด สูตรการหาค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน √������ ∑ ������������ − (∑ ������������) ������������ = ������(������ − ������) เมื่อ ������������ แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ������ แทน จำนวนคทู่ ้ังหมด ������ แทน คะแนนแตล่ ะตวั ในกลุ่มข้อมูล ∑ ������ แทน ผลรวมของความแตกตา่ งของคะแนนแตล่ ะคู่

39 บทที่ 4 ผลการศกึ ษา ในการศกึ ษาผลิตภณั ฑ์ Placemat ตน้ ไหล มีวตั ถุประสงค์ 1) เพ่ือเผยแพรว่ ฒั นธรรมการต่ำสาด ของชาวอสี านใหเ้ ปน็ ที่รู้จักมากยงิ่ ขึน้ 2) เพ่อื ศกึ ษาความรู้เกย่ี วกับตน้ ไหล 3) เพื่อศกึ ษาระดับความพึง พอใจในผลิตภณั ฑ์แผน่ รองจานจากต้นไหล ในการศกึ ษามผี ลการดำเนนิ ดงั หวั ขอ้ ต่อไปนี้ ส่วนที่ 1 สรุปขั้นตอนการทำผลติ ภัณฑ์ Placemat ต้นไหล สว่ นท่ี 2 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลสว่ นบุคคล สว่ นท่ี 3 ผลการวิเคราะห์ความพงึ พอใจของผ้ใู ช้ Placemat ต้นไหล สว่ นที่ 4 การจัดลำดับผลการวเิ คราะหค์ วามพงึ พอใจของผู้ใช้ Placemat ต้นไหล สว่ นท่ี 5 ผลสรปุ ข้อเสนอแนะ สว่ นท่ี 1 สรปุ ข้ันตอนการทำผลิตภัณฑ์ Placemat ต้นไหล วัสดุ - ต้นไหล (ท่ไี ดท้ ำการตากแหง้ เรียบร้อย) อุปกรณ์ - กรรไกร - ไม้วัด - ฟมื ทอเสอื่ - โฮมทอเส่ือ - ไม้สอดไหล - สยี ้อมไหล - เชือกเอน็ - หมอ้ ตม้ ย้อมสีไหล

40 วิธกี ารทำ 1. เก่ียวต้นไหล ภาพที่ 4.1 เก่ียวต้นไหล 2. ตากต้นไหลใหแ้ ห้งจากสีเขยี วเป็นสขี าว ภาพที่ 4.2 ตากต้นไหล 3. ต้มนำ้ ใหเ้ ดือดใสส่ ีย้อมไหลและเกลือเล็กน้อย ภาพท่ี 4.3 ตม้ น้ำใหเ้ ดอื ดพร้อมใส่สีไหล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook