Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทางการดำเนินงานคลินิก 64

แนวทางการดำเนินงานคลินิก 64

Published by KAMON Story, 2021-04-07 09:49:30

Description: แนวทางการดำเนินงานคลินิก 64

Search

Read the Text Version

แนวทางการดาํ เนินงาน โครงการพัฒนาศกั ยภาพคลนิ ิกอาชีวเวชศาสตร์ สําหรบั การบริการทุติยภมู ใิ นโรงพยาบาล สงั กัดกระทรวงสาธารณสุข: คลนิ กิ โรคจากการทาํ งาน ระยะที 15 ป 2564 โดย ศู น ย์ พั ฒ น า แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น คุ ณ ภ า พ ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร อ า ชี ว เ ว ช ก ร ร ม แ ล ะ เ ว ช ก ร ร ม สิ ง แ ว ด ล้ อ ม ก ร ม ค ว บ คุ ม โ ร ค ก ร ะ ท ร ว ง ส า ธ า ร ณ สุ ข

คาํ นาํ ภายหลังการลงนามตามบันทึกขอตกลงความรวมมือการจัดตั้ง “โครงการศูนยโรคจากการทํางาน” (ปจจุบันคือคลินิกโรคจากการทํางาน) เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 ระหวางกระทรวงแรงงาน และกระทรวงสาธารณสุข (โดยกรมควบคุมโรค ซ่ึงปจจุบันศูนยพัฒนาและประเมินคุณภาพการใหบริการ อาชีวเวชกรรมและเวชกรรมส่ิงแวดลอม เปน ผูรบั ผิดชอบหลัก) ปพ .ศ.2564มีโรงพยาบาลเขารวมโครงการฯ รวมจํานวนทั้งส้ิน 111 แหง ประกอบดวย โรงพยาบาลศูนย/ท่ัวไปจํานวน 97 แหง โรงพยาบาลชุมชน จํานวน 13 แหง และสถาบันราชประชาสมาสัย กรมควบคุมโรค มีโรงพยาบาลแมขายเขตสุขภาพ จํานวน 13 แหง และโรงพยาบาลที่มีความพรอมเพ่ือพัฒนาเปนโรงพยาบาลเชี่ยวชาญดานอาชีวเวชศาสตรฯ จํานวน 15 แหง การดําเนินงานของโรงพยาบาลทุกแหงท่ีเขารวมโครงการ จะไดรับการสนับสนุนเงินคาใชจายจาก สํานักงานประกันสังคม ผานการโอนเงินจากกรมควบคุมโรค ตามศักยภาพการดําเนินงานของโรงพยาบาล แตละแหงอยางตอเนื่องทุกป เพ่ือใชสนับสนุนการตรวจวินิจฉัยยืนยันโรคจากการทํางาน การใหบริการ อาชีวอนามัยทั้งเชงิ รุกและเชิงรับแกล ูกจางในขายความคุมครองของกองทุนเงินทดแทน การเฝาระวังโรค จากการทํางาน การพัฒนาบุคลากรดานอาชีวอนามัย รวมถึงการพัฒนาเครือขายของโรงพยาบาลแมขาย และการพัฒนาศักยภาพและตามความเชี่ยวชาญของโรงพยาบาลเช่ียวชาญ เพ่ือสนับสนุนการใหบริการ อาชวี อนามัยในเครอื ขา ยสุขภาพ ศูนยพัฒนาและประเมินคุณภาพการใหบริการอาชีวเวชกรรมและเวชกรรมสิ่งแวดลอม ไดจัดทํา แนวทางการดําเนินโครงการพัฒนาคลินิกโรคจากการทํางานฉบับนข้ี ้ึน เพื่อเปนแนวทางในการสรางความรู ความเขาใจแกผูปฏิบัติงานของโรงพยาบาลท่ีเขารวมโครงการ ใหสามารถดําเนินโครงการไปในทิศทาง เดียวกัน โดยเฉพาะ เร่ืองการดําเนินงานตามตัวช้ีวัดของโครงการ การรายงานผลการดําเนินงาน ท้ังรายงานรายส่ีเดือน และรายงานฉบับสมบูรณ การใชจายเงิน การจัดทําขอเสนอโครงการเพ่ือรับเงิน จัดสรรรายป ฯลฯ อนึ่ง หากทานมีขอเสนอแนะ โปรดติดตอไปยัง ศูนยพัฒนาและประเมินคุณภาพการ ใหบริการอาชวี เวชกรรม ฯ คณะผจู ัดทาํ ศูนยพัฒนาและประเมินคุณภาพการใหบริการอาชวี เวชกรรมและเวชกรรมสง่ิ แวดลอม เมษายน 2564 ก

สารบญั หนา 1 เรื่อง 3 บทท่ี 1 บทนาํ 18 บทท่ี 2 กจิ กรรม และวิธีการดาํ เนินงาน 21 บทท่ี 3 หลักเกณฑการใชจายเงนิ สนบั สนุนโครงการ 28 บทท่ี 4 แนวทางการรายงานผลการดําเนินงานโครงการฯ 30 ภาคผนวก 33 1. บันทึกความรว มมือการจัดต้ังโครงการศูนยโรคจากการทํางาน กระทรวงแรงงาน 54 และกระทรวงสาธารณสุข 56 2. หลักเกณฑก ารใชจายงบประมาณคลนิ ิกโรคจากการทํางาน(ป 2556) 3. หลกั เกณฑ วิธกี ารและเงื่อนไขการจายเงินคา ตอบแทนแนบทา ยขอบงั คบั 57 75 กระทรวงสาธารณสขุ วาดวยการจายเงินคาตอบแทนเจาหนา ท่ีท่ีปฏิบตั งิ าน 76 ใหก ับหนวยบรกิ ารในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข(ฉบบั ที่ 5 พ.ศ. 2552) 78 85 4. ประกาศคณะกรรมการ ควบคมุ โรคจากการประกอบอาชีพและสงิ่ แวดลอม เรอื่ งหลกั เกณฑว ิธกี ารและเง่ือนไขการแตงตงั้ วาระการดาํ รงตาํ แหนง และ การพนจากตาํ แหนงของกรรมการในคณะกรรมการควบคมุ โรคจากการ ประกอบอาชีพและสิง่ แวดลอมจังหวัด และคณะกรรมการควบคุมโรคจาก การประกอบอาชีพ และโรคจากสง่ิ แวดลอมกรงุ เทพมหานคร พ. ศ. 2562 5. เวบ็ ไซตสําหรบั รายงานผลการดาํ เนนิ งานโครงการพัฒนาศักยภาพคลินิก อาชวี เวชศาสตรสาํ หรบั การบริการทุตยิ ภูมิ ในโรงพยาบาลสงั กัดกระทรวง สาธารณสขุ :คลนิ ิกโรคจากการ 6. รายชือ่ โรงพยาบาลที่เขารว มโครงการป 2564 7. รายช่ือโรงพยาบาลแมขายและโรงพยาบาลที่กําลงั พฒั นาเปนโรงพยาบาล เชยี่ วชาญดานอาชวี เวชศาสตร (updateความเชีย่ วชาญ) 8. ใบสมัครเขารว มโครงการพัฒนาคลนิ กิ โรคจากการทํางาน 9. แบบรายงานการนิเทศตดิ ตามความกา วหนาผลการดําเนินโครงการพัฒนา คลินกิ โรคจากการทํางานฯ 10. กรอบการนําเสนอในการประชุมติดตามความกาวหนาผลการดาํ เนนิ งาน โครงการพฒั นาคลินกิ โรคจากการทาํ งานรายภาค ข

11. ตวั อยา งกรอบการประชุมระหวางสํานกั งานประกันสังคม สาํ นักงาน 88 สวสั ดกิ ารและคุมครองแรงงาน และโรงพยาบาลคลินิกโรคจากการทํางาน 89 12. แบบเสนอโครงการเพ่ือรับเงินคาใชจา ยโครงการพัฒนาศักยภาพคลินกิ อาชวี 93 เวชศาสตรส ําหรับการบรกิ ารทุติยภูมิในโรงพยาบาลสงั กดั กระทรวง สาธารณสขุ (คลินกิ โรคจากการทาํ งานระยะท่ี 16 ป พ.ศ. 2565) 13. การติดตอ ประสานงาน ค

บทที่ 1 บทนํา ปจ จุบันประเทศไทยมีผูที่อยใู นกําลังแรงงานหรือผูท่ีพรอม จะทํางาน 37.87 ลานคน ซ่ึงประกอบดวย ผมู งี านทํา37.18 ลานคน ผวู า งงาน 4.10 แสนคน (สาํ นกั งานสถิติแหงชาติ ป พ.ศ. 2563) โดยในป พ.ศ. 2561 มีผูประกันตนทอ่ี ยูในความคุมครอง ของกองทุนประกนั สังคมทง้ั สนิ้ 15.99 ลา นคนและมีสถานประกอบการที่ ข้นึ ทะเบียนกับ กองทุนประกันสังคมท้ังสิน้ 471,406แหง (รายงานประจําป 2561 สํานักงานประกันสังคมฉบับ ลา สดุ ) ซ่ึงแรงงานดังกลาวมคี วามเสี่ยงท่ีจะเกดิ โรคหรือการบาดเจ็บท้ังจากการทํางาน และโรคทั่วไปทเี่ ปน ปญ หาสาธารณสุขของประเทศ สง ผลกระทบตอ การทาํ งานทั้งสน้ิ แมว า ในระยะ 10 ป ทผ่ี า นมา (พ.ศ.2552 - 2561) จํานวนผูประสบอันตรายจากการทํางาน จะมีแนวโนมลดลงก็ตาม (รายงานประจําป พ.ศ. 2561 สํานักงานกองทุนเงินทดแทน) ปญหาสุขภาพเหลาน้ีกระทรวงแรงงานรวมกับกระทรวงสาธารณสุข ไดลงนามความรวมมือในการจัดตั้ง “ศูนยโรคจากการทํางาน” (ปจจุบันคือ คลินิกโรคจากการทํางาน) ตั้งแตป 2548 เพื่อจัดชองทางใหลูกจางไดเขาถึงบริการอาชีวอนามัยครบวงจร ตั้งแตการไดรับการปองกัน โรคและการบาดเจ็บจากการทํางาน การสงเสริมสุขภาพ การคัดกรอง การวินิจฉัยโรคจากการทํางาน การรักษาพยาบาล และการฟนฟูสมรรถภาพ โดยเนนการเขาถึงบริการอาชีวอนามัยท่ีมีคุณภาพของกลุม ลูกจางทัว่ ประเทศ ป 2564 มีโรงพยาบาลศูนย/ท่ัวไป และโรงพยาบาลชุมชนเขารวมโครงการ จํานวน 111 แหง มีสํานักงานปองกันควบคุมโรคท้ัง 12 เขต โรงพยาบาลแมขายเขตสุขภาพ 13 แหง เปน พี่เล้ียงสนับสนุนการ ดําเนินงานท้ังในดานวิชาการ และดานบริหารจัดการ รวมกับศูนยพัฒนาและประเมินคุณภาพการใหบริการอา ชีวเวชกรรมและเวชกรรมสิ่งแวดลอมและนับตั้งแต ป 2557 เปนตนมา ไดเริ่มมีการพัฒนาโรงพยาบาลที่ ศูนยเช่ียวชาญดานอาชีวเวชศาสตร (ปจจุบันมีจํานวน 15 แหง) โดยเนนความเช่ียวชาญดานโรคจากการทํางาน ตางๆ เชน โรคระบบโครงรางกระดูกและกลามเน้ือ โรคประสาทหูเสื่อม โรคปอดจากการทํางาน และความ เชี่ยวชาญดานพิษวิทยาฯลฯ เพื่อใหการสนับสนุนแกโรงพยาบาลคลินิกโรคจากการทํางานภายในเขตสุขภาพ อยางไรก็ตามการดําเนินงานศูนยเช่ียวชาญฯ และโรงพยาบาลคลินิกโรคจากการทํางานที่ผานมา ยังจําเปนตอง ไดร ับการสนับสนนุ เพื่อการพัฒนาใหม ผี ลการดาํ เนนิ งานเปน รูปธรรมมากยิ่งข้ัน นอกจากนี้กระทรวงแรงงาน รว มกับกระทรวงสาธารณสุขทาํ ขอตกลงความรว มมอื ในการขบั เคลอ่ื น ดําเนินงานเพื่อสรางเสริมความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยที่ดีใหเกิดข้ึนกับคนทํางาน ภายใตโครงการ ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของประเทศไทย (Safety Thailand) รวมท้ังการดําเนินงานตามกรอบ แนวทางยุทธศาสตรชาติระยะ 20 ป ดานการพัฒนาและเสริมศักยภาพคน และดานการสรางโอกาสความ เสมอภาค และเทาเทียมกันทางสังคม และการขับเคล่ือนระเบียบวาระแหงชาติ “แรงงานปลอดภัยและ สุขภาพอนามัยดี” ระยะที่ 2 (พ.ศ.2560-2569) จากแนวคิดดังกลาวตองอาศัยการทํางานรวมกันระหวาง กระทรวงแรงงาน และกระทรวงสาธารณสุข ท้ังในระดับสวนกลางและระดับพื้นท่ี โดยเฉพาะประเด็นการ แนวทางการดาํ เนนิ โครงการพฒั นาศกั ยภาพคลนิ กิ อาชีวเวชศาสตรส ําหรบั การบริการทุตยิ ภูมใิ นโรงพยาบาลสงั กดั กระทรวงสาธารณสุข:คลนิ กิ โรคจากการทาํ งาน ระยะที่ 15 ป 2564 |1

Share ขอมูลซึ่งกันท้ังในสวนของโรงพยาบาลคลินิกโรคจากการทํางาน สํานักงานประกันสังคมจังหวัด สํานักงานสวัสดกิ ารและคุมครองแรงงานจังหวัด ในรปู แบบของคณะกรรมการที่เก่ียวขอ ง และรวมกบั สถาน ประกอบการในพน้ื ท่ี เพ่ือใหเกิดความเชอ่ื มโยงและเครอื ขา ยการดําเนินงาน ระหวา งโรงพยาบาล (Hospital based) และสถานประกอบการ (Factory based) สนับสนุนยุทธศาสตรโ ลก Vision Zero: Safety Health Wellbeing นั่นคือการใหความสําคัญกับการบูรณาการเร่ือง ความปลอดภัย การมีสุขภาพที่ดี เพ่ือการ ปองกนั การเกดิ โรคและอบุ ัตเิ หตใุ นสถานประกอบการ ทุกระดบั นอกจากน้ียังสอดคลองกับการดูแลสุขภาพ ผปู ระกอบอาชพี แบบองคร วม Total worker Health ดวย วตั ถปุ ระสงค 1. เพ่ือสนับสนุนใหโรงพยาบาลท่ีเขารวมโครงการคลินิกโรคจากการทํางาน สามารถดําเนินการ จัดบริการอาชีวอนามัยเชิงรุกและเชิงรับ แกลูกจางท่ีเจ็บปวยหรือสงสัยโรคจากการทํางาน ไดรับบริการ ตรวจ คดั กรอง วนิ จิ ฉยั โรค การรกั ษา การปอ งกนั โรค และการฟน ฟูสขุ ภาพ 2. เพ่อื สนับสนุนใหโรงพยาบาลท่เี ขา รว มโครงการคลินกิ โรคจากการทํางาน ดําเนนิ การเฝาระวงั โรค ทม่ี ีสําคัญตามบริบทของพื้นที่แกลูกจาง ไดแก โรคซิลิโคสิส (silicosis) โรคพิษตะก่ัว โรคท่ีเกิดจากแรใยหิน (Asbestos-related diseases: ARDs) โรคระบบโครงรางกระดูกและกลามเน้ือ โรคพิษสารตัวทําละลาย อินทรีย การสญู เสยี การไดย ินจากเสียงดัง รวมทัง้ การบาดเจ็บจากการทํางาน เปนตน 3. เพื่อสรางความรวมมือในการดําเนินงานจัดบริการอาชีวอนามัยระหวางเครือขายกระทรวง แรงงานและกระทรวงสาธารณสุข ทั้งในระดับประเทศและระดับพืน้ ที่ 4. เพ่ือพัฒนาคุณภาพการจัดบริการอาชีวอนามัยของโรงพยาบาลคลินิกโรคจากการทํางาน ตามมาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดลอมสําหรับโรงพยาบาลศูนย/ท่ัวไป และโรงพยาบาลชุมชน แนวทางการดาํ เนินโครงการพฒั นาศักยภาพคลินิกอาชีวเวชศาสตรส ําหรบั การบรกิ ารทุติยภมู ใิ นโรงพยาบาลสงั กดั กระทรวงสาธารณสุข:คลินิกโรคจากการทาํ งาน ระยะท่ี 15 ป 2564 |2

บทท่ี 2 กจิ กรรม และวิธกี ารดําเนินงาน กรมควบคุมโรค ไดกําหนดบทบาท กิจกรรม การดําเนินงานของหนวยงานที่เก่ียวของใน การดําเนินงานโครงการคลนิ ิกโรคจากการทาํ งานดงั นี้ 2.1 บทบาท กิจกรรม การดาํ เนนิ งานของหนว ยงานทเี่ กีย่ วของ 2.1.1 กิจกรรม/วิธีการดําเนินงานของโครงการสําหรับศูนยพัฒนาและประเมินคุณภาพการ ใหบริการอาชีวเวชกรรมและเวชกรรมสิ่งแวดลอม กรมควบคุมโรค (เปนหนวยงานหลักในการดูแล รบั ผดิ ชอบโครงการ) 1) สรางความรวมมือในการดําเนินงานจัดบริการอาชีวอนามัยระหวางเครือขายกระทรวง สาธารณสุขและกระทรวงแรงงานทั้งในระดับประเทศและระดับพ้ืนที่ รวมทั้งกําหนด แผน เปาหมาย แนวทางและผลลพั ธท จ่ี ะเกิดจากการดําเนินงานรวมกนั 2) ผลักดันโรงพยาบาลใหมีการเช่ือมตอการจัดบริการอาชีวอนามัยระหวางสถาน ประกอบการ (Factory Based) กับโรงพยาบาลคลินิกโรคจากการทํางาน (Hospital Based) เพ่ือการเฝา ระวังโรคสาํ คัญและการบาดเจบ็ จากการทํางานในพืน้ ท่ี 3) พฒั นาแนวทางการดําเนินงานศูนยเ ชยี่ วชาญอาชวี เวชศาสตรรว มกับโรงพยาบาลที่สนใจ 4) พัฒนาคุณภาพการจัดบริการอาชีวอนามัยของคลินิกโรคจากการทํางานใหเปนไปตาม มาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดลอม สําหรับโรงพยาบาลศูนย/ท่ัวไป และ โรงพยาบาลชมุ ชน 5) ขยายเปาหมายการใหบริการคลินิกโรคจากการทํางานในโรงพยาบาลศูนย/ท่ัวไป และ โรงพยาบาลชุมชนพ้ืนทีเ่ ฉพาะ 6) ประสานการดําเนินงาน การนิเทศ ติดตาม ใหคําปรึกษาแนะนํา สนับสนุนวิชาการ และเผยแพรประชาสัมพันธการจัดบริการของโรงพยาบาลคลินิกโรคจากการทํางาน รวมกับ สํานักงาน ปอ งกันควบคุมโรคเขต 1-12 และโรงพยาบาลแมข า ยเขตสุขภาพ 7) รวบรวม วิเคราะห สรปุ ผลการดาํ เนินงานของโรงพยาบาลคลินกิ โรคจากการทาํ งาน 2.1.2 กิจกรรม/วิธีการดําเนนิ งานสาํ หรบั สาํ นกั งานปองกนั ควบคุมโรค 1) สนับสนุนการดําเนนิ งานจัดบริการอาชีวอนามัยระหวางเครอื ขายกระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงแรงงานในระดับพน้ื ท่ี รวมท้ังรวมกาํ หนด แผนเปาหมาย แนวทางในการดําเนนิ งานรวมกัน 2) ผลักดันใหโรงพยาบาลพัฒนาคุณภาพการจัดบริการอาชีวอนามัยตามมาตรฐานการ จัดบรกิ ารอาชีวอนามยั และเวชกรรมสิ่งแวดลอม แนวทางการดาํ เนินโครงการพฒั นาศกั ยภาพคลนิ ิกอาชีวเวชศาสตรส าํ หรบั การบรกิ ารทตุ ิยภูมใิ นโรงพยาบาลสงั กัดกระทรวงสาธารณสุข:คลินกิ โรคจากการทาํ งาน ระยะท่ี 15 ป 2564 |3

3) สนับสนุนวชิ าการดานการปองกันควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและสง่ิ แวดลอมใน พ้ืนท่ี 4) รวมกับศูนยพัฒนาและประเมินฯ และโรงพยาบาลแมขายเขตสุขภาพคัดเลือก โรงพยาบาลใหมเ ขา รวมโครงการ 5) นเิ ทศติดตามผลการดาํ เนินงานโรงพยาบาลคลนิ กิ โรคจากการทาํ งานในพนื้ ท่ี 6) สนับสนุนการตรวจประเมินสภาพแวดลอมการทํางานแกโรงพยาบาล สถาน ประกอบการในพนื้ ท่ี 2.1.3 กิจกรรม/วธิ ีการดาํ เนนิ งานของโครงการสาํ หรบั โรงพยาบาล จดั ระบบการรับและสง ตอลูกจางเพือ่ การตรวจเพิ่มเตมิ และยืนยันการวินจิ ฉยั โรค (กรณจี าํ เปน) 1) นํามาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมส่ิงแวดลอมไปใชเพ่ือประเมิน คณุ ภาพการจดั บริการอาชีวอนามัยของโรงพยาบาล 2) จดั บริการอาชีวอนามัยเชงิ รุกและเชิงรับ คดั กรอง วินจิ ฉัย และใหการรักษาพยาบาล โรคจากการทาํ งาน รวมท้ังการฟน ฟูสมรรถภาพ โดยเนนสถานประกอบกิจการ (ประเด็นอัคคภี ัย เครอ่ื งจักร ท่อี บั อากาศ และรังส)ี กจิ การกอ สราง และกจิ การขนสง (เนนประเด็นการขนสงผูโดยสารทางบก) 3) ดําเนินการเฝาระวังโรคสําคญั ไดแก โรคซลิ ิโคสิส (silicosis) โรคพิษตะกั่ว โรคท่ีเกิด จากแรใยหิน (Asbestos Relates Diseases : ARDs) โรคกระดูกและกลามเน้ือ โรคพิษสารทําละลาย อินทรีย การสญู เสยี การไดยินจากเสียงดัง และการบาดเจบ็ จากการทํางาน 4) สรางเครือขายการดําเนินงานจัดบริการอาชีวอนามัยระหวางเครือขายกระทรวง สาธารณสขุ และกระทรวงแรงงาน ในระดบั พน้ื ท่ี รวมทง้ั กําหนด แผน เปา หมาย ในการดาํ เนินงานรวมกนั 5) เผยแพรประชาสมั พันธการจดั บริการคลนิ ิกโรคจากการทํางาน 6) จัดตงั้ /ขยายจํานวนวนั ใหบรกิ ารคลินกิ โรคจากการทาํ งานในโรงพยาบาล 7) พัฒนาศักยภาพบคุ ลากรทปี่ ฏิบัตงิ านอาชีวอนามยั 8) รายงานผลการดําเนินงานรายสี่เดือน และสรุปรายงานผลการดําเนินงานฉบับ สมบูรณตามกาํ หนดเวลา 9) 2.1.4 กิจกรรม/วิธีการดําเนินงานของโครงการสาํ หรับแมข า ยระดับเขตสุขภาพ ดําเนินกิจกรรม ขอ 2.1.3. เพิ่มเตมิ กจิ กรรมสําหรบั โรงพยาบาลในขายดังน้ี 1) สนับสนุนวิชาการ เปนท่ีปรึกษาดานวิชาการ รวมทั้งจัดประชุมเพื่อพัฒนาองคความรู วชิ าการตาง ๆ ท่ีเกยี่ วขอ ง 2) พัฒนาแนวทางในการรับ-สง ตอ ผูปว ยโรคจากการทาํ งานภายในเครอื ขาย 3) สนับสนุนและ เปนที่ปรึกษาในการบริหารจัดการโครงการพัฒนาคลินิกโรค จากการทาํ งาน แนวทางการดาํ เนนิ โครงการพฒั นาศกั ยภาพคลนิ ิกอาชีวเวชศาสตรสําหรบั การบริการทตุ ยิ ภมู ิในโรงพยาบาลสงั กัดกระทรวงสาธารณสขุ :คลนิ ิกโรคจากการทาํ งาน ระยะท่ี 15 ป 2564 |4

4) เตรียมความพรอมดา นทรัพยากรตาง ๆ และดําเนินกิจกรรมตามท่ีกําหนดเพ่ือพัฒนาสู การพฒั นา เปน ศนู ยเ ช่ยี วชาญดานอาชวี เวชศาสตรและเวชศาสตรส งิ่ แวดลอม 2.1.5 สาํ หรบั โรงพยาบาลศูนยเชีย่ วชาญดานอาชีวเวชศาสตร ดาํ เนนิ กิจกรรมระดับโรงพยาบาล ขอ 2.1.3 เพม่ิ เติมกิจกรรมสําหรบั โรงพยาบาลศนู ยเ ชี่ยวชาญดังน้ี 1) การศกึ ษาวิจัยหรือการทํา R to R ประเดน็ ทเี่ กยี่ วของกบั ความเช่ียวชาญ 2) การประสานงานกับแพทยเชี่ยวชาญเฉพาะทาง ตามความเช่ียวชาญของโรงพยาบาล เชน การจัดทาํ Clinical Practice Guideline การทําระบบการสง ตอ ภายในโรงพยาบาล 3) ฝกอบรมดา นอาชีวอนามยั ในหลกั สตู รท่ีเก่ยี วของตามความเชย่ี วชาญ แนวทางการดําเนนิ โครงการพฒั นาศักยภาพคลินิกอาชวี เวชศาสตรสําหรบั การบริการทตุ ยิ ภูมิในโรงพยาบาลสงั กดั กระทรวงสาธารณสขุ :คลนิ ิกโรคจากการทํางาน ระยะที่ 15 ป 2564 |5

2.2 ตวั ชี้วัดการดาํ เนินงาน เพื่อใหการดําเนินงานโครงการคลินิกโรคจากการทํางานเปนไปในทิศทาง ลกู จา งมากทสี่ ดุ กรมควบคุมโรค สํานักงานกองทุนเงนิ ทดแทน และคณะอนุกรรมกา เกณฑ ตวั ชี้วัด โรงพยาบาลศูนย โรงพยาบาล โร เดมิ 1. การจัดต้ังคลินกิ โรคจากการทํางาน 1.1 การวินิจฉัยโรคจากการทํางาน และมีการ มกี ารวนิ ิจฉยั ม ลงรหัสสาเหตุภายนอกวาเกิดจากการทํางาน (Y96) และ แ หรอื รหัสสาเหตุภายนอก หลักท่ี 5 ลงทา ยดวย 2 กรณี การลงรหัส บาดเจบ็ หรอื พษิ Y96 1.2 การเปดคลนิ ิกใหบริการเชงิ รบั ใน อยางนอย โรงพยาบาล 2 วัน ตอ สัปดาห ต 1.3 การติดต้ังปายคลินิกโรคจากการทํางาน - ณจุดใหบริการอยางชัดเจน และการจัดทําปายบอก ทางการไปรับบริการ ณ คลินิกโรคจากการทํางาน แกผรู บั บรกิ าร แนวทางการดําเนนิ โครงการ

งเดียวกัน และสามารถนําเงินคาใชจายท่ีไดรับการสนับสนุนไปใชใหเกิดประโยชนแก ารพฒั นาสงเสริมดา นความปลอดภยั ไดก ําหนดตัวช้วี ดั ของโครงการดงั นี้ ฑการดําเนินงาน ย/ทัว่ ไป โรงพยาบาล คําอธิบาย รงพยาบาล ชุมชน ใหม มกี ารวนิ ิจฉัย มกี ารวนิ จิ ฉยั โรงพยาบาลทุกแหงบันทึกรหัสการวินิจฉัยผูปวยหรือ และการลง และการลง ผูสงสัยโรค/บาดเจ็บจากการทํางานโดยมีการลงรหัส รหัส Y96 รหัส Y96 สาเหตุภายนอกวาเกิดจากการทํางาน (Y96 : Work- related condition) หรือ รหัสสาเหตุภายนอก หลักท่ี อยา งนอย อยา งนอย 5 ลงทายดวย 2 กรณีบาดเจบ็ หรอื พิษ 1 วัน ครึ่งวนั ตอ สัปดาห โรงพยาบาลทุกแหงเปดใหบริการคลินิกโรคจากการ ตอ สปั ดาห อยา งนอย ทาํ งานเชิงรับในโรงพยาบาลอยางนอยตามเกณฑ อยา งนอย 1 จุด ที่กําหนด 1 จดุ โรงพยาบาลทุกแหงติดตั้งปายการใหบริการคลินิกโรค จากการทํางาน ณ จุดใหบริการอยางชัดเจน และการ จดั ทําปายส่ือสารบอกเสนทางการไปรบั บรกิ าร ณ รพฒั นาศกั ยภาพคลนิ กิ อาชวี เวชศาสตรสําหรบั การบริการทุติยภูมใิ นโรงพยาบาลสงั กดั กระทรวงสาธารณสขุ :คลินิกโรคจากการทาํ งาน ระยะที่ 15 ป 2564 |6

ตวั ชีว้ ดั เกณฑ โรงพยาบาลศูนย โรงพยาบาล โร เดมิ 1.4 การประชาสัมพันธการใหบริการทั้งใน มีการ โรงพยาบาลและนอกโรงพยาบาล ประชาสัมพนั ธ ปร 2. การสรา งเครอื ขายระหวางหนว ยงานภายในและภายนอกโรงพยาบาล 2.1 การจัดประชุม/อบรมรวมกับแผนกตางๆ อยา งนอย ท่ีเก่ียวของในโรงพยาบาลเพื่อสรางเครือขายการ 2 ครงั้ คัดกรองการรับ-สงตอผูปวยโรค/การบาดเจ็บจากการ ทาํ งาน แนวทางการดาํ เนนิ โครงการ

ฑการดําเนินงาน ย/ ท่วั ไป โรงพยาบาล คําอธิบาย รงพยาบาล ชมุ ชน ใหม คลินิกโรคจากการทํางานแกผูรับบริการอยางนอยตาม เกณฑท กี่ าํ หนด มีการ มกี าร โรงพยาบาลทุกแหงจัดทําสื่อประชาสัมพันธการ ระชาสัมพันธ ประชาสมั พันธ ใหบริการคลินิกโรคจากการทํางานท้ังภายในและ ภายนอกโรงพยาบาล รวมท้ังหนวยงานเครือขาย ภายนอกโรงพยาบาล เชน ปา ยประชาสมั พนั ธ โปสเตอร เสียงตามสาย แผนพับ ฯลฯ เพื่อใหเขาถึงกลุมเปาหมาย ในจังหวดั อยา งนอย อยางนอย โรงพยาบาลทุกแหงจัดการประชุม/อบรมรวมกับแผนก 2 ครั้ง 1 คร้งั ตาง ๆ ที่เก่ียวของในโรงพยาบาลเชน จุดคัดกรองแผนก ผูปวยนอก คลินิกเฉพาะทาง เชน อายุกรรม ผิวหนัง ตา ศัลยกรรมกระดูก ฯลฯเพ่ือสรางเครือขายการ คัดกรอง การรับ-สงตอผูปวยโรค/การบาดเจ็บจากการ ทํางาน ภายในโรงพยาบาล อยางนอยตามเกณฑ ท่กี าํ หนด รพฒั นาศกั ยภาพคลินกิ อาชีวเวชศาสตรสาํ หรบั การบรกิ ารทุติยภูมิในโรงพยาบาลสงั กัดกระทรวงสาธารณสขุ :คลินิกโรคจากการทํางาน ระยะที่ 15 ป 2564 |7

ตัวชี้วัด เกณฑ โรงพยาบาลศนู ย 2.2 การจัดประชุม/อบรมเพ่ือสรางเครือขาย โรงพยาบาล โร การคดั กรองการรบั -สงตอ และดแู ลผปู ว ยโรค/บาดเจ็บ เดมิ จากการทํางานจากหนวยบริการสุขภาพภายนอก อยา งนอย โรงพยาบาล เชน รพ.เอกชน รพ.ชุมชน รพ.สต. ฯลฯ 1 ครง้ั และสถานประกอบการ อยางนอย 2.3 การจัดกิจกรรมบูรณาการจัดบริการอาชี 15 แหง วอนามัยเชิงรุก แกสถานประกอบการ รวมกับ คณะทํางานเครือขายคลินิกโรคจากการทํางานระดับ จังหวัด โดยเฉพาะ สํานักงานสวัสดิการและคุมครอง แรงงานจงั หวัด สาํ นกั งานประกนั สงั คมจงั หวดั ฯลฯ 3.การจัดบริการอาชีวอนามัยเชิงรุกเชงิ รับ มีการ 3.1 การจัดบริการอาชีวอนามัย เชิงรับ เชน จัดบรกิ าร การตรวจสุขภาพตามปจจัยเสี่ยง ( โดยมีการบันทึก ขอมูลการตรวจสุขภาพตามปจจัยเสียงจากการทํางาน ในแฟม SPECIALPP ในระบบ HDC ตามแนวทางที่ แนวทางการดาํ เนินโครงการ

ฑก ารดาํ เนนิ งาน คําอธิบาย ย/ทว่ั ไป โรงพยาบาล รงพยาบาล ชุมชน โรงพยาบาลทุกแหงจัดประชุม/อบรมเพอื่ สรางเครือขาย การคดั กรอง การรับ-สงตอ และดูแลผูปวยโรค/บาดเจ็บ ใหม จากการทํางานจากหนวยบริการสุขภาพภายนอก อยา งนอย อยางนอย โรงพยาบาล เชน รพ.เอกชน รพ.ชุมชน รพ.สต. และ สถานประกอบการฯลฯ อยา งนอ ยตามเกณฑทกี่ ําหนด 1 คร้ัง 1 คร้ัง โรงพยาบาลทุกแหงจัดบริการอาชีวอนามัยเชิงรุก แกสถานประกอบการ โดยรวมกับคณะทํางานเครือขาย อยางนอย อยางนอย คลินิกโรคจากการทํางานระดับจังหวัด โดยเฉพาะ 10 แหง 6 แหง ผูแทนจากสํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงาน จังหวัด สํานักงานประกันสังคมจังหวัด ฯลฯ อยางนอย ตามเกณฑท ีก่ าํ หนด มีการ มกี าร โรงพยาบาลทุกแหงจัดบริการอาชีวอนามัย เชิงรับ เชน จัดบริการ จดั บริการ การตรวจสุขภาพตามปจจัยเสี่ยง ฯลฯ โดยมีการบันทึก ขอมูลการตรวจสุขภาพตามปจจัยเสียงจากการทํางาน ในแฟม SPECIALPP ในระบบ HDC รวมทั้งมีการการให รพฒั นาศกั ยภาพคลินกิ อาชีวเวชศาสตรสําหรบั การบรกิ ารทุติยภมู ใิ นโรงพยาบาลสงั กัดกระทรวงสาธารณสขุ :คลนิ กิ โรคจากการทํางาน ระยะท่ี 15 ป 2564 |8

เกณฑ ตัวช้ีวัด โรงพยาบาลศูนย โรงพยาบาล โร เดมิ กําหนด) การใหอาชีวสุขศึกษา การใหคําปรึกษา ทางดานอาชวี อนามยั ฯลฯ 3.2 การจัดบริการอาชีวอนามัยเชิงรุกใน สถาน สถานประกอบการ(เชน การตรวจสุขภาพตามปจจัย ประกอบการ ปร เส่ียง การใหอาชีวสุขศึกษา การใหคําปรึกษา 30 แหง จํานวน 20 ทางดานอาชีวอนามัย การสงเสริมสุขภาพ ฯลฯ) โดย ผรู ับบริการ ผ เปนสถานประกอบการกลุมเส่ียงปจจัยทางเคมี อยางนอย อ กายภาพ การยศาสตร 1,000 ราย 3.3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมการสงเสริม อยางนอย อ สุขภาพและการปองกันโรคแกลูกจางรวมกับ “ศูนย 10 แหง สุขภาพคนทาํ งานองครวมของสถานประกอบการ” แนวทางการดาํ เนนิ โครงการ

ฑการดาํ เนนิ งาน ย/ ทั่วไป โรงพยาบาล คาํ อธิบาย ชมุ ชน รงพยาบาล ใหม อาชีวสุขศึกษา การใหคําปรึกษาทางดานอาชีวอนามัย แกล กู จา ง สถาน สถาน โรงพยาบาลทุกแหงจัดบริการอาชีวอนามัยเชิงรุก ระกอบการ ประกอบการ ในสถานประกอบการ เชน การตรวจสุขภาพตามปจจัย แหง จํานวน อยา งนอย เส่ียง ฯลฯ โดยเปนสถานประกอบการกลุมเส่ียงปจจัย ผูรบั บริการ 10 แหง ทางเคมี กายภาพ การยศาสตร อยางนอยตามเกณฑ อยางนอย ผรู ับบริการ ที่กําหนด และมีการบันทึกขอมูลการตรวจสุขภาพตาม 600ราย อยา งนอย ปจ จัยเสียงจากการทํางานในแฟม SPECIALPP ในระบบ HDC นอกจากนี้ยังรวมถึงการใหอาชีวสุขศึกษา 300ราย ใหคําปรึกษาทางดานอาชีวอนามัย การสงเสริมสุขภาพ ในสถานประกอบการดว ย ฯลฯ อยางนอย อยา งนอย โรงพยาบาลทุกแหงใหการสนับสนุน เปนพี่เล้ียงการจัด 5 แหง 2 แหง กิ จ ก ร ร ม ก า ร ส ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ แ ล ะ ก า ร ป อ ง กั น โ ร ค แกลกู จางรวมกับ “ศนู ยสุขภาพคนทํางานองครวม/ศูนย สุ ข ภ า พ ดี วั ย ทํ า ง า น ข อ ง ส ถ า น ป ร ะ ก อ บ ก า ร ใ น เ ข ต รบั ผิดชอบ เชน การคัดกรองพฤติกรรมสุขภาพทม่ี ีความ เส่ียง การคัดกรองความเส่ียงจากสภาพแวดลอมการ รพฒั นาศักยภาพคลินกิ อาชีวเวชศาสตรสาํ หรบั การบรกิ ารทุตยิ ภมู ิในโรงพยาบาลสงั กดั กระทรวงสาธารณสุข:คลินิกโรคจากการทํางาน ระยะท่ี 15 ป 2564 |9

ตัวชว้ี ัด เกณฑ โรงพยาบาลศูนย โรงพยาบาล โร เดมิ 3.4 จัดทําโครงการเฝาระวัง ปองกัน ควบคุม อยางนอย อ โรค/การบาดเจ็บจากการทํางานอยางตอเน่ืองตาม 2 แหง ความเส่ียงของสถานประกอบการในพื้นที่พิจารณาจาก โรคและการบาดเจ็บที่ตองเฝาระวัง 7 กลุมโรค (โรคที่ เกดิ จากแรใยหิน โรคปอดฝุน หิน โรคพิษสารโลหะหนัก โรคระบบโครงรางกระดูกและกลามเนื้อ โรคปอดฝุน ฝา ย โรคพษิ สารตัวทําละลาย และการบาดเจ็บจากการ ทํางาน) แนวทางการดําเนินโครงการพฒ

ฑก ารดาํ เนนิ งาน คําอธิบาย ย/ ทว่ั ไป โรงพยาบาล ทํางาน การจัดกิจกรรมการสงเสริมสุขภาพและปองกัน รงพยาบาล ชมุ ชน โรคทค่ี รอบคลุมการปรับพฤติกรรมเสยี่ ง และการจดั การ สภาพแวดลอมการทํางาน ฯลฯ อยางนอยตามเกณฑท่ี ใหม กําหนด (สามารถศึกษาแนวทางการดําเนินงานโดย ประสาน ศูนยพัฒนาและประเมินคุณภาพการใหบริการ อยา งนอย อยา งนอย อาชีวเวชกรรมฯ หรือสํานักงานปองกันควบคุมโรค 2 แหง 2 แหง สํานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัด) โรงพยาบาลทุกแหงจัดทําโครงการเฝาระวัง ปองกัน ควบคุมโรค/การบาดเจ็บจากการทํางาน ตามความเส่ียง ข อ ง ส ถ า น ป ร ะ ก อ บ ก า ร ใ น พื้ น ที่ อ ย า ง ต อ เ น่ื อ ง โ ด ย พิจารณาจาก -โรคและการบาดเจบ็ ท่ีกรมควบคมุ โรคเฝาระวงั 7 กลุม โรค ไดแก (โรคที่เกิดจากแรใยหิน โรคปอดฝุนหิน โรคพิษสาร โลหะหนัก โรคระบบโครงรางกระดูกและกลามเน้ือ โรคปอดฝุนฝา ย โรคพิษสารตัวทําละลาย และการบาดเจ็บ จากการทาํ งาน) พฒั นาศักยภาพคลินิกอาชวี เวชศาสตรส ําหรบั การบริการทุติยภมู ใิ นโรงพยาบาลสงั กดั กระทรวงสาธารณสุข:คลินิกโรคจากการทาํ งาน ระยะท่ี 15 ป 2564 | 10

ตวั ชวี้ ดั เกณฑ โรงพยาบาลศนู ย โรงพยาบาล โร เดมิ 4.การพฒั นาบคุ ลากรดานอาชวี อนามยั อย 4.1 การพัฒนาศักยภาพดานอาชีวอนามัยของ ทมี งานอาชวี เวชกรรม /ผรู ับผดิ ชอบงาน แนวทางการดําเนนิ โครงการพฒ

ฑก ารดาํ เนนิ งาน คําอธบิ าย ย/ทว่ั ไป โรงพยาบาล -ขอเสนอคณะทํางานเครือขายคลินิกโรคจากการทํางาน รงพยาบาล ชมุ ชน จังหวัด หรอื นโยบายของจงั หวดั -ตามโครงการ Safety Thailand เนนประเด็นอัคคีภัย ใหม เครื่องจักร ท่อี ับอากาศ สารเคมี และรังสี ฯลฯ โดยลักษณะของโครงการเฝาระวังจะตองมีการประเมิน สภาวะสุขภาพและสภาพแวดลอมการทํางาน รวมท้ังแปล ผลเพ่ือเชื่อมโยงขอมูลท้ังสองสวน และมีการวางแผน จัดการปญหาดานสุขภาพ สภาพแวดลอมการทํางาน อยางเปนรูปธรรม และตอ เนอื่ ง) างนอย 1 คน โ ร ง พ ย า บ า ล ทุ ก แ ห ง มี ก า ร พั ฒ น า บุ ค ล า ก ร โ ด ย ก า ร สง บคุ ลากรที่ปฏบิ ตั ิงานของกลมุ งานอาชีวเวชกรรม หรือ เครือขายที่เก่ียวของในโรงพยาบาล เขารับการฝกอบรม หลักสูตรท่ีเกี่ยวของทางดานอาชีวอนามัย/ อาชีวเวช ศาสตร อยา งนอ ยตามเกณฑท ก่ี ําหนด พฒั นาศักยภาพคลินิกอาชวี เวชศาสตรส าํ หรบั การบรกิ ารทตุ ยิ ภมู ิในโรงพยาบาลสงั กดั กระทรวงสาธารณสขุ :คลินกิ โรคจากการทํางาน ระยะที่ 15 ป 2564 | 11

ตัวชว้ี ัด เกณฑ 5.การจดั ทาํ ขอ มูลและการรายงาน โรงพยาบาลศูนย 5.1 การรายงานผลการดําเนินงานรายสี่เดือน โรงพยาบาล โร ภายในระยะเวลากาํ หนด (รายงานแบบออนไลน) เดมิ 5.2 การจัดทํารายงานสรุปผลการดําเนินงาน จาํ นวน 1 ช ประจําปฉบับสมบูรณ พรอมสถานการณโรคและการ บาดเจ็บจากการทํางานของผูประกันตน ตามกรอบ การจัดทํารายงานที่กําหนด สงภายในวันที่ 31 มกราคมของปถ ัดไป แนวทางการดาํ เนินโครงการพฒ

ฑการดําเนินงาน คําอธบิ าย ย/ทัว่ ไป โรงพยาบาล รงพยาบาล ชุมชน ใหม 3 ครั้ง/ป โรงพยาบาลทุกแหงรายงานผลการดําเนินงานรายสี่ ชดุ พรอ มแผนซีดีขอ มูล เดือน(รายงานแบบออนไลน) ครบทุกคร้ังภายใน ระยะเวลากําหนดดังน้ี รอบท่ี 1. มกราคม – เมษายน ไมเ กินวันที่ 5 พฤษภาคม รอบท่ี 2. พฤษภาคม – สงิ หาคม ไมเกินวนั ที่ 5 สงิ หาคม รอบท่ี 3. สิงหาคม - ธันวาคม ไมเกนิ วนั ที่ 5 มกราคม หมายเหตุ กรณีมกี ารเปล่ียนแปลงรอบการรายงานใหถ ือ ปฏบิ ตั ติ ามท่แี จงเปล่ียน โรงพยาบล จัดทํารายงานสรุปผลการดําเนินงาน ประจําปฉบับสมบูรณตามแนวทางที่กําหนด พรอม รายละเอียดการจํานวนเงินที่ใชจ ริง หากมีเงินคงเหลือให สงคืนกรมควบคุมโรค พรอมหนังสือนําสงมายังศูนย พฒั นาและประเมินคุณภาพการใหบรกิ ารอาชีวเวชกรรม และเวชกรรมสิ่งแวดลอม เพื่อรวบรวมสงสํานักงาน กองทุนเงนิ ทดแทน พฒั นาศกั ยภาพคลินิกอาชีวเวชศาสตรส าํ หรบั การบริการทตุ ิยภูมิในโรงพยาบาลสงั กดั กระทรวงสาธารณสุข:คลนิ กิ โรคจากการทาํ งาน ระยะท่ี 15 ป 2564 | 12

ตัวชี้วดั เกณฑ 6.การพัฒนาคุณภาพ ตามมาตรฐานการจัดบริการ โรงพยาบาลศนู ย อาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดลอมสําหรับ โรงพยาบาล โร โรงพยาบาลศนู ย/ ท่ัวไป และโรงพยาบาลชมุ ชน 7. การพัฒนาโรงพยาบาลเช่ียวชาญดา นการจัดบริการ เดิม อาชีวอนามัยระดับตติยภูมิ (เฉพาะโรงพยาบาลศูนย ผา นการรับรองตามม เช่ียวชาญอาชวี เวชศาสตร) นามัยและเวชกรร 7.1 การศึกษาวิจัยหรือการทํา R to R อยา งนอย ประเดน็ ทเี่ ก่ียวขอ งกับความเชี่ยวชาญ 1 เร่อื ง 7.2 การประสานงานกับแพทยเชี่ยวชาญ อยางนอย เฉพาะทาง ตามความเชี่ยวชาญของโรงพยาบาล เชน 1 กจิ กรรม การจัดทาํ Clinical Practice Guideline การทาํ ระบบ การสงตอภายในโรงพยาบาล การจัดทํา Clinical แนวทางการดําเนนิ โครงการพฒ

ฑการดําเนนิ งาน คาํ อธิบาย ย/ ทวั่ ไป โรงพยาบาล ผานการรับรองตามมาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัย รงพยาบาล ชุมชน และเวชกรรมสง่ิ แวดลอม ระดับดีข้ึนไป ใหม มาตรฐานการจัดบริการอาชีวอ รมส่ิงแวดลอ ม ระดบั ดีขึ้นไป มีการดําเนนิ งานตามแผนพัฒนาการจดั บริการ อาชีวอนามัยของโรงพยาบาล และสงรายงานผลการ ดําเนินงานศูนยเชี่ยวชาญมาพรอมกับรายงานรายสี่ เดือน ย โรงพยาบาลแมขายเขตสุขภาพ และโรงพยาบาลท่ี พัฒนาเปนโรงพยาบาลเชี่ยวชาญ มีรายงานผลการ ศึกษาวิจัย หรือการทําวิจัย R to R ประเด็นท่ีเก่ียวของ กับความเช่ียวชาญในรอบ 3 ปท่ีผานมา ตามเกณฑท่ี กําหนด ย โรงพยาบาลแมขายเขตสุขภาพ และโรงพยาบาล ม ที่พัฒนาเปนโรงพยาบาลเช่ียวชาญ จัดทํา Clinical Practice Guideline หรือการทําระบบการสงตอ ภ า ย ใ น โ ร ง พ ย า บ า ล ต า ม ป ร ะ เ ด็ น ค ว า ม เ ช่ี ย ว ช า ญ อยางนอยตามเกณฑที่ระบุ พฒั นาศกั ยภาพคลนิ ิกอาชีวเวชศาสตรส าํ หรบั การบริการทุติยภมู ิในโรงพยาบาลสงั กัดกระทรวงสาธารณสุข:คลนิ ิกโรคจากการทาํ งาน ระยะท่ี 15 ป 2564 | 13

ตวั ชี้วัด เกณฑ โรงพยาบาลศูนย Practice Guideline การทําระบบการสงตอภายใน โรงพยาบาล โร โรงพยาบาล เดิม 7.3 ฝกอบรมดานอาชีวอนามัยในหลักสูตร อยางนอย 1 หล ท่เี กี่ยวของตามความเชย่ี วชาญ และจดั ทาํ สรปุ ราย 8.การพัฒนาศกั ยภาพแกโ รงพยาบาลในเครอื ขา ย โดยโรงพยาบาลแมข ายเข 8. 1 พั ฒ น า อ ง ค ค ว า ม รู บุ ค ล า ก ร ข อ ง อยางนอย 1 เรื่อง โรงพยาบาลในเครือขาย เชน การจัดประชุมวิชาการ/ สรุปรายงาน 1 ชุด การแลกเปล่ียนเรียนรู/ถอดบทเรียนการดําเนินงาน รายงานฉบบั สม ภายในเครือขา ย 8.2 นิเทศติดตาม สนับสนุนการดําเนินแก อยางนอย 1 คร โรงพยาบาลในขาย โรงพยาบาลภายใน และจัดทาํ สรุปราย แนบในรายงานฉบ แนวทางการดําเนินโครงการพฒ

ฑก ารดาํ เนินงาน คําอธิบาย ย/ ท่ัวไป โรงพยาบาล รงพยาบาล ชมุ ชน ใหม ลักสูตร โรงพยาบาลแมขายเขตสุขภาพ และโรงพยาบาลที่ ยงาน 1 ชดุ พัฒนาเปนโรงพยาบาลเชี่ยวชาญ พัฒนาหลักสูตร และใหการฝกอบรมหลักสูตรท่ีเก่ียวของตามความ เชี่ยวชาญ ของโรงพยาบาล อยางนอยตามเกณฑท่ี กําหนด ขตสุขภาพ เพ่ิมดงั นี้ และจัดทํา โรงพยาบาลแมขายทุกแหง จัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาองค ด แนบใน ความรูบุคลากรของโรงพยาบาลในเครือขาย เชน การ มบูรณ จดั ประชุมวิชาการ/การแลกเปลี่ยนเรียนร/ู ถอดบทเรียน การดําเนินงานอาชีวเวชกรรมภายในเครือขาย ฯลฯ ตามเกณฑท่ีกาํ หนด รั้ง (ทุก โรงพยาบาลแมขายทุกแหง นิเทศติดตาม สนับสนุนการ นเครือขาย) ดาํ เนินแกโรงพยาบาลในขา ย อยา งนอ ยตามเกณฑที่กาํ หนด ยงาน 1 ชุด โดยมีประเด็นตางๆ เชน การรับสงตอ การวินิจฉัยโรคจาก บบั สมบูรณ พฒั นาศักยภาพคลินิกอาชวี เวชศาสตรสําหรบั การบริการทตุ ยิ ภูมใิ นโรงพยาบาลสงั กัดกระทรวงสาธารณสุข:คลินิกโรคจากการทํางาน ระยะท่ี 15 ป 2564 | 14

ตัวช้วี ัด เกณฑ โรงพยาบาลศูนย โรงพยาบาล โร เดมิ หมายเหตุ โรงพยาบาลใหม หมายถงึ โรงพยาบาลท่เี ขา รว มโครงการป2564 แนวทางการดําเนินโครงการพฒ

ฑก ารดําเนนิ งาน คําอธิบาย ย/ทั่วไป โรงพยาบาล การทํางาน การเฝาระวัง สอบสวนโรค รวมถึงการรายงาน รงพยาบาล ชมุ ชน ผลการดําเนนิ งาน การใชเ งินโครงการ ฯลฯ ใหม พฒั นาศกั ยภาพคลนิ กิ อาชวี เวชศาสตรส ําหรบั การบรกิ ารทุตยิ ภมู ใิ นโรงพยาบาลสงั กดั กระทรวงสาธารณสขุ :คลนิ ิกโรคจากการทํางาน ระยะที่ 15 ป 2564 | 15

2.3 การนเิ ทศ ติดตาม ใหค าํ ปรึกษาแนะนํา สนบั สนนุ วชิ าการ แกโ รงพยาบาล การนเิ ทศ ตดิ ตาม ใหค ําปรกึ ษาแนะนํา และสนับสนนุ วิชาการ แกโ รงพยาบาล จะมีการดําเนินงาน ทกุ ป โดยจะแบงเปน 2 รปู แบบ คือ 2.3.1 การนิเทศติดตามผลการดําเนินงานรายภาคโดยคณะอนุกรรมการพัฒนาสงเสริมดานความ ปลอดภยั สาํ นกั งานประกนั สงั คม และ กรมควบคมุ โรค การนิเทศติดตามผลการดําเนินงานโครงการพัฒนาคลินิกโรคจากการทํางานรายภาคโดย คณะอนุกรรมการพัฒนาสง เสริมดา นความปลอดภัย ผูแ ทนสํานกั งานประกันสงั คม และ ผูแทนกรมควบคุม โรค (ศูนยพัฒนาและประเมินคณุ ภาพการใหบริการอาชีวเวชกรรมและเวชกรรมสิ่งแวดลอม และสํานักงาน ปองกันควบคุมโรค) เปนการจัดประชุมรายภาค ซึ่งสํานักงานประกันสังคมเปนแกนหลักในการจัดประชุม ทาํ หนังสือแจงรายโรงพยาบาล โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือใหโรงพยาบาลที่เขารวมโครงการ ไดนําเสนอผลการ ดาํ เนินงานในรอบปท่ีผานมา และเปนเวทีการประชุมรวมกันระหวา งผูแทนสํานักงานสวัสดิการและคุมครอง แรงงานจังหวัดสํานักงานประกันสังคมจังหวัด และโรงพยาบาลคลินิกโรคจากการทํางาน เพ่ือทบทวน วางแผนการดําเนินงานการดูแลสุขภาพและความปลอดภัยของลูกจางในจังหวัด โดยคณะอนุกรรมการ พัฒนาสงเสริมดานความปลอดภัย เปนผูใหขอเสนอแนะตอการดําเนินงาน นอกจากนี้คณะอนุกรรมการ พฒั นาสงเสริมดานความปลอดภัยจะเยี่ยมโรงพยาบาลคลินิกโรคจากการทาํ งานจังหวดั ท่ีจัดประชุม เพื่อพบ ผูบริหารโรงพยาบาล รับฟงผลการดําเนินงาน และขอเสนอแนะตาง ๆ พรอมทั้งเย่ียมชมการใหบริการ คลนิ ิกโรคจากการทํางานดว ย ทั้งน้ีกรอบเน้อื หาการนําเสนอ สามารถศกึ ษารายละเอยี ดจากภาคผนวกที่ 10 2.3.2 การนิเทศติดตามโดยศูนยพัฒนาและประเมินคุณภาพการใหบริการอาชีวเวชกรรมและเวช กรรมสิ่งแวดลอ ม เปนการการนิเทศติดตามโรงพยาบาลที่เขารวมโครงการ เพ่ือสนับสนุนดานวิชาการ และการ บริหารจัดการ กลุมเปาหมายคือโรงพยาบาลใหมที่เขารวมโครงการ โรงพยาบาลทีม่ ีผลการดําเนินงานยังไม สอดคลองกับตัวชี้วัดโครงการ โดยศูนยพัฒนาและประเมินคุณภาพการใหบริการอาชีวเวชกรรมและเวช กรรมส่ิงแวดลอม จะประสานสํานักงานปองกันควบคุมโรค โรงพยาบาลแมขายเขตสุขภาพ เขารวมการ นิเทศติดตามโรงพยาบาลดังกลาว ทั้งนี้โรงพยาบาลท่ีรับการนิเทศตองทําหนังสือประสานสํานักงาน สาธารณสุขจังหวัด สํานักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานจังหวัด สํานักงานประกันสังคมจังหวัด โรงพยาบาลคลินิกโรคจากการทาํ งานในจังหวัด (กรณีมีมากกวา 1 โรงพยาบาลท่ีเขารวมโครงการ) เขารวม รับการนิเทศติดตาม เพื่อรวมกันบริหารจัดการโครงการคลินิกโรคจากการทํางานใหบรรลุวัตถุประสงค กาํ หนดการ และประเด็นการนิเทศ สามารถศึกษารายละเอียดไดตามภาคผนวกท่ี 9 2.3.3 การนเิ ทศติดตามโดยโรงพยาบาลแมขา ยเขตสุขภาพ เปนการนิเทศติดตามโรงพยาบาลลูกขายในเขตสุขภาพ โดยกําหนดเปนตัวช้ีวัดของ โรงพยาบาลแมขายทุกแหงดําเนินการ อยางนอย 1 คร้ัง อาจเปนการติดตามที่โรงพยาบาล หรือ แนวทางการดําเนินโครงการพฒั นาศักยภาพคลินิกอาชวี เวชศาสตรส ําหรบั การบริการทตุ ยิ ภมู ิในโรงพยาบาลสงั กัดกระทรวงสาธารณสขุ :คลนิ กิ โรคจากการทาํ งาน ระยะท่ี 15 ป 2564 | 16

การประชุมเครือขายเพื่อสนับสนุนวิชาการและการบริหารจัดการโครงการใหบรรลุตามวัตถุประสงค ท้งั น้ีขอใหโรงพยาบาลแมขายทุกแหง เชิญผูแ ทนจากสํานกั งานปองกันควบคมุ โรคเขารวมการนิเทศติดตาม ดวย เพอ่ื ชวยผลกั ดนั และขับเคลอื่ นการดาํ เนินงานใหเปนรูปธรรมมากขึน้ แนวทางการดําเนินโครงการพฒั นาศักยภาพคลนิ ิกอาชวี เวชศาสตรส ําหรบั การบรกิ ารทตุ ิยภมู ใิ นโรงพยาบาลสงั กดั กระทรวงสาธารณสุข:คลินกิ โรคจากการทํางาน ระยะที่ 15 ป 2564 | 17

บทท่ี 3 หลักเกณฑก ารใชจายเงนิ สนับสนุนโครงการ เนื่องจากท่ีมาของเงินคาใชจายท่ีโรงพยาบาลไดรับน้ี เปนเงินท่ีเรียกเก็บจากของนายจางท่ีผานมติ เห็นชอบจากคณะอนุกรรมการกองทุนเงินทดแทน สํานักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน จัดสรรให แตละโรงพยาบาลเพ่ือการดูแลสุขภาพ เฝาระวัง ปองกันโรค/การบาดเจ็บจากการทํางานของลูกจาง ในขายความคุมครองของกองทุนเงินทดแทน โดยเนนลูกจางในสถานประกอบการเปนลําดับแรก ดังน้ันขอใหโ รงพยาบาลคํานึงถึงความคุมคา เทา เทียม และเกิดประโยชนสูงสดุ แกล ูกจาง โดยคาใชจายตา ง ๆ ในการดําเนินงานสามารถใชตามระเบียบของกระทรวงการคลัง หรือตามระเบียบอ่ืน ๆที่โรงพยาบาล ดําเนนิ การ 3.1 หลักการใชเ งนิ โครงการ 3.1.1 การรับ-จา ยเงนิ ตอ งมีความโปรงใส ตรวจสอบได 3.1.2 การใชจายเงินตองเปนไปตามวัตถุประสงคและตัวชี้วัดของโครงการโดยคํานึงถึงประโยชน สูงสดุ ทลี่ กู จา งในขา ยความคุม ครองของกองทุนเงนิ ทดแทนของสถานประกอบการจะไดรบั 3.1.3 เอกสาร หลักฐาน การเบิกจายเงินตองมีความครบถวน ถูกตองตามระเบียบ ตามระเบียบของ กระทรวงการคลัง หรือตามระเบียบอื่น ๆท่ีโรงพยาบาลดําเนินการ และเก็บเอกสารไวใชในการตรวจสอบจาก สาํ นกั งานการตรวจเงนิ แผนดนิ 3.2 การเปดบญั ชีโครงการ 3.2.1 การเปดบัญชีโครงการ ใหเปดบัญชี ธนาคารกรุงไทย โดยใหใชช่ือบัญชี “โครงการคลินิกโรค จากการทาํ งานโรงพยาบาล....................................” 3.2.2 กรณีเปนโรงพยาบาลเขารวมโครงการใหม ใหเปดบัญชี และสงสําเนาหนาสมุดบัญชี พรอม รับรองสําเนาและสงไปยังศูนยพัฒนาและประเมินคุณภาพการใหบริการอาชีวเวชกรรมและเวชกรรม สิ่งแวดลอม 3.3 การจัดสรรเงนิ คา ใชจ าย 3.3.1 โรงพยาบาลเดิมที่เขารวมโครงการฯ จะไดรับเงินสนับสนุนชวงตนปปฏิทิน และมีระยะเวลา การเบกิ จายเงนิ ตั้งแต เดอื นมกราคม - ธันวาคม ของปปฏิทนิ น้นั ๆ 3.3.2 โรงพยาบาลใหมที่สมัครเขารวมโครงการฯ จะตองสมัครภายในเดือนมีนาคมของปเพื่อท่ีจะ ไดร ับการพิจารณาจัดสรรเงนิ การดาํ เนนิ งานในปถ ัดไป 3.3.3 หลังจากไดรับโอนเงิน ทางศูนยพัฒนาและประเมินคุณภาพการใหบริการอาชีวเวชกรรมและ เวชกรรมสิ่งแวดลอมจะทําหนังสือแจงการโอนเงินใหกับทางโรงพยาบาล และทางโรงพยาบาลจะตองสง แนวทางการดําเนนิ โครงการพฒั นาศักยภาพคลนิ กิ อาชีวเวชศาสตรส ําหรบั การบริการทุติยภมู ิในโรงพยาบาลสงั กดั กระทรวงสาธารณสุข:คลินิกโรคจากการทาํ งาน ระยะที่ 15 ป 2564 | 18

ใบเสร็จรับเงินไปยังศูนยพัฒนาและประเมินคุณภาพการใหบริการอาชีวเวชกรรมและเวชกรรมส่ิงแวดลอม โดยจะตอ ง ใบเสร็จรับเงินของโรงพยาบาลเทา นนั้ โดยระบุขอ ความวา ไดรับเงนิ จาก “ กรมควบคมุ โรค ” รายการ “เงนิ สนบั สนนุ คา ใชจายโครงการพัฒนาคลินิกโรคจากการทาํ งานป 2564” 2564 ตัวอยาง 2564 ใบเสรจ็ รบั เงนิ 3.4 หลักเกณฑใ นการใชจ ายเงิน 3.4.1 ขอควรระวงั ในการใชจายทสี่ นบั สนุนโครงการคลินิกโรคจากการทาํ งาน เงินคาใชจายท่ีสนับสนุนโครงการคลินิกโรคจากการทํางาน ไมสามารถ นําไปใชเปน คาใชจายในกิจกรรมดงั ตอไปนี้ 1) คาใชจา ยในการจดั ซ้ือครุภัณฑท ี่มวี งเงนิ เกนิ 5,000 บาท/ป (การจําแนกประเภท รายจายคาครุภัณฑอ า งองิ จากมาตรฐานสาํ นักงบประมาณ) 2) คา จาง เงินเดือน หรอื คา ตอบแทนในลกั ษณะเงนิ เดือน 3) คาใชจายในการศึกษาดูงาน/แลกเปลย่ี นเรียนรใู นตางประเทศ 3.4.2 ขอเสนอแนะในการจัดทาํ โครงการ เพื่อใหการดําเนินงานเปน ไปตามตัวชว้ี ัด สดั สวนการใช จา ยเงนิ ควรเปน ดังนี้ 1) การจัดบริการอาชวี อนามัยเชงิ รกุ ไมนอยกวารอ ยละ 40 ของวงเงนิ ที่ไดร ับการจดั สรร 2) การจัดบรกิ ารอาชีวอนามยั เชงิ รับ ไมนอ ยกวา รอ ยละ 30 ของวงเงนิ ที่ไดรบั การจัดสรร 3) กิจกรรมอน่ื ๆ ไมเกนิ รอยละ 30 ของวงเงนิ ท่ีไดรับการจัดสรร โรงพยาบาลสามารถดําเนินกิจกรรมในกลุมบุคลากรของโรงพยาบาล(เฉพาะสิทธิ์ ประกันสังคม)ไดไ มเ กินรอยละ 10 ของวงเงนิ ภาพรวมโครงการ/ป แนวทางการดาํ เนนิ โครงการพฒั นาศักยภาพคลนิ ิกอาชวี เวชศาสตรสําหรบั การบริการทุตยิ ภูมใิ นโรงพยาบาลสงั กัดกระทรวงสาธารณสุข:คลนิ กิ โรคจากการทํางาน ระยะท่ี 15 ป 2564 | 19

3.4.3 รายการคาใชจา ยทส่ี ามารถเบกิ ในโครงการ ดงั นี้ ลําดบั รายการคา ใชจ ายทส่ี ามารถเบกิ ในโครงการ 1 คาใชจายในการตรวจสุขภาพเพื่อประกอบการวินิจฉัยกรณีสงสัยวาเปนโรคจากการทํางาน กรณีที่ลูกจางไมไดเลือกประกันสังคม ณ โรงพยาบาลคลินิกโรคจากการทํางานที่มารับบริการ เชน คา ตรวจทางหองปฏิบตั กิ าร คา ตรวจพเิ ศษอน่ื ๆ เปนตน 2 คาตอบแทนแพทย หรือผูเชี่ยวชาญ ภายนอก กรณีใหคําปรึกษาเพ่ือการวินิจฉัยโรค (หลักเกณฑ วิธีการ และเง่ือนไข แนบทายขอบังคับกระทรวงสาธารณสุข วาดวยการจายเงินคาตอบแทนฯ (ฉบับ ท่ี 5) พ.ศ. 2552 3 คา พฒั นาบคุ ลากรหลักสูตรท่ีเก่ยี วของกับงานดา นอาชีวอนามยั มขี อกําหนดดังนี้ - การฝก อบรมหลักสูตรตั้งแต 5 วันขนึ้ ไป สามารถเบกิ คา ใชจ ายไดเฉพาะคา ลงทะเบยี น - การประชมุ อบรม ทีม่ ีระยะเวลาไมเ กิน 5 วัน สามารถเบิกคา ใชจา ยไดทงั้ หมด 4 คาใชจายในการจัดอบรม/ประชมุ /สมั มนา ใหป ฎิบตั ติ ามระเบยี บโรงพยาบาล 5 คาใชจายในการจดั กิจกรรมเชิงรกุ เชน คา น้ํามนั เช้อื เพลิง คาเบี้ยเลยี้ ง คา อปุ กรณ วสั ดุตา ง ๆ ที่ใชใน การจัดกิจกรรม ไมรวมคาตรวจสุขภาพประจําป และตรวจสุขภาพตามปจจัยเสี่ยงจากการทํางาน เนอ่ื งจากเปนบทบาทของนายจางที่ตองสนับสนนุ คาใชจายสว นน้ตี ามกฎหมาย 6 คาจัดทาํ สือ่ ประชาสมั พนั ธ เชน ปายคลินิกโรคจากการทํางาน เอกสารแผน พบั คมู ือ โปสเตอร ฯลฯ 7 คา สอบเทยี บเครื่องมือดานอาชวี เวชศาสตร และดานอาชีวเวชศาสตร 8 คา วสั ดุสาํ นักงาน 9 คา ใชจ า ยอืน่ ๆ (คา สง ไปรษณีย คาจัดทําเลม รายงาน คาธรรมเนียมการโอนเงนิ ฯลฯ) 3.5 การสง คืนเงนิ (กรณีมเี งินคงเหลอื ) หากมีเงินสนับสนุนคาใชจายจากการดําเนินงานเหลือในรอบปปฏิทินน้ัน ๆ ใหโรงพยาบาลนําเงิน คาใชจายสงคืนกรมควบคุมโรค โดยโอนเงินเขาบัญชีเลขท่ี 142-0-15600-4 ชื่อบัญชี กรมควบคุมโรค ธนาคารกรุงไทย ระหวางวันท่ี 1 ธันวาคม 2564 ถึงวันที่ 31 มกราคม 2565 และไมรับคืนเงินหากพน ระยะเวลาท่ีกําหนด พรอมทําหนังสือนําสงหลักฐานการโอนเงนิ โดยใหระบุจํานวนเงินท่ีไดรับ และจํานวน เงินท่ีสงคืน นําสงไปยังศูนยพัฒนาและประเมินคุณภาพการใหบริการอาชีวเวชกรรมและเวชกรรม สง่ิ แวดลอ ม ท้ังน้กี อนการโอนเงินคืนใหต ิดตอเจาหนา ทศ่ี นู ยพัฒนาและประเมินคุณภาพการฯ ทุกครั้ง แนวทางการดาํ เนนิ โครงการพฒั นาศกั ยภาพคลนิ ิกอาชวี เวชศาสตรส ําหรบั การบริการทุตยิ ภมู ใิ นโรงพยาบาลสงั กัดกระทรวงสาธารณสขุ :คลินกิ โรคจากการทํางาน ระยะท่ี 15 ป 2564 | 20

บทที่ 4 แนวทางการรายงานผลการดําเนนิ งานโครงการฯ การรายงานผลการดาํ เนินงานโครงการฯ แบง เปน 1. แบบรายงานผลการดําเนินงานคลนิ ิกโรคจากการทาํ งานระบบออนไลน 2. รายงานผลการดําเนินงานฉบับสมบูรณ (รายป) 4.1 การรายงานผลการดําเนนิ งานคลินิกโรคจากการทํางานรายส่ีเดือนระบบออนไลน (ขอมูลท่ีรายงาน เปนขอมูลของลูกจา งท่ใี ชส ทิ ธิกองทุนเงนิ ทดแทนเทา น้ัน) รายงานผลการดําเนินงานคลินิกโรคจากการทํางานมีวัตถุประสงคเพื่อเก็บรวบรวมขอมูล ผลการ ดําเนินงานโครงการคลินิกโรคจากการทํางาน ท่ีเขารวมโครงการพัฒนาศักยภาพคลินิกอาชีวเวชศาสตร สําหรับการบริการทุติยภูมิในโรงพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข (คลินิกโรคจากการทํางาน) และรวบรวมผลการดาํ เนินงานจดั ของโรงพยาบาลสําหรบั นําเสนอในภาพรวมของประเทศ และใชเ ปนขอมูล ประกอบการนําเสนอโครงการเพ่ือขอรับเงินสนับสนุนคาใชจายการดําเนินงานจากกองทุนเงินทดแทน สาํ นกั งานประกนั สงั คมในปถัดไป รายงานผลการดําเนินงานคลินิกโรคจากการทํางาน กําหนดใหมีการรายงานทุก ๆ 4 เดือน และ ตองรายงานกอนวนั ท่ี 5 ของเดือนถัดไป โดยแบงออกเปน 3 รอบดงั น้ี • รายงานรอบที่ 1. มกราคม - เมษายน ไมเ กินวันที่ 5 พฤษภาคม • รายงานรอบที่ 2. พฤษภาคม - สงิ หาคม ไมเกินวันที่ 5 กนั ยายน • รายงานรอบที่ 3. กนั ยายน - ธันวาคม ไมเ กนิ วันท่ี 5 มกราคม รายงานผลการดําเนินงานคลินกิ โรคจากการ แบง ออก เปน 3 สว น ไดแ ก สว นท่ี 1. ผลการดําเนินงานคลินิกโรคจากการทาํ งาน เปนสวนท่ีทุกโรงพยาบาลท่ีเขารวม โครงการพัฒนาศักยภาพคลินิกอาชีวเวชศาสตร สาํ หรับการบริการทุติยภูมิในโรงพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข(คลินิกโรคจากการทํางาน) จะตองทํา การบนั ทึกขอ มลู ผลการดาํ เนนิ งานคลนิ กิ โรคจากการทํางาน สว นท่ี 2. ผลการดาํ เนนิ งานของโรงพยาบาลแมขายระดับภาค เปนสวนสําหรับโรงพยาบาลแมขายระดับภาค ท่ีจะตองบันทึกผลการดําเนินงานของ โรงพยาบาลแมขา ยระดบั ภาคเพ่ิมเตมิ จากสว นท่ี 1 สวนที่ 3. ผลการดําเนินงานเพ่อื พฒั นาสูศ นู ยเ ช่ียวชาญดา นโรคจากการทํางาน เปนสวนสําหรับโรงพยาบาลท่ีกําลังจะพัฒนาสูศูนยเชี่ยวชาญดานโรคจากการทํางาน ที่ จะตอ งบนั ทึกผลการดําเนนิ งานของโรงพยาบาลเพิ่มเตมิ แนวทางการดําเนนิ โครงการพฒั นาศักยภาพคลินิกอาชวี เวชศาสตรสาํ หรบั การบรกิ ารทตุ ยิ ภูมใิ นโรงพยาบาลสงั กัดกระทรวงสาธารณสุข:คลินิกโรคจากการทาํ งาน ระยะที่ 15 ป 2564 | 21

ก า ร เ ข า ใ ช ร ะ บ บ ร า ย ง า น อ อ น ไ ล น ส า ม า ร ถ เ ข า ใ ช ไ ด จ า ก ลิ้ ง http://occhealth.ddc.moph.go.th/envocc_new2/index.php และคลิกเลอื กไอคอนระบบรายงาน และคลิกเขาไปในระบบ สําหรับรหัสผานหากเปนหนว ยบรกิ าร ใหมท่ียังไมเคยเขาระบบใช รหัส 5 หลักของหนวยบริการในการเขาระบบท้ังในสวนของ Username และ Password เมอื่ เขาระบบ หนว ยบรกิ ารสามารถเปล่ยี นรหัสผานของหนวยบรกิ ารตวั เองได แนวทางการดําเนินโครงการพฒั นาศกั ยภาพคลินกิ อาชีวเวชศาสตรสําหรบั การบรกิ ารทุติยภมู ิในโรงพยาบาลสงั กดั กระทรวงสาธารณสขุ :คลินกิ โรคจากการทํางาน ระยะที่ 15 ป 2564 | 22

4.2 การรายงานผลการดําเนินงานคลินิกโรคจากการทํางานรายงานผลการดําเนินงานฉบับ สมบรู ณ แนวทางการจัดทํารายงานผลการดําเนินงานคลินิกโรคจากการทํางานฉบับสมบูรณหรือ สรปุ ผลการดําเนนิ งานประจาํ ป การจดั ทํารายงานสรปุ ผลการดําเนินงานฉบับสมบูรณกาํ หนดกรอบไวดงั น้ี 1) รปู เลม ประกอบดว ย - ปก - คาํ นาํ - สารบญั - บทสรุปยอ สาํ หรับผูบ รหิ าร 2) เนอ้ื หา ประกอบดว ย สว นที่ 1 รายละเอยี ดขอ มูลของโรงพยาบาล ประกอบดวย 1)ขอมูลทั่วไปของโรงพยาบาล เชน ท่ีต้ัง ประวัติโรงพยาบาลโดยสังเขป วิสัยทัศน พนั ธกิจ ฯลฯ 2)โครงสรางการบริหารงานขององคกรโรงพยาบาล อัตรากําลังภาพรวมของ โรงพยาบาล โครงสรางการบริหารงาน/บทบาทหนาท่ี ภารกิจ ของกลุมงานอาชีวเวชกรรมประกอบดวย โครงสรางการบริหารงาน ภารกจิ /บทบาทหนา ที่ อตั รากําลังในกลมุ งานอาชีวเวชกรรม สว นท่ี 2 เครอ่ื งมืออาชีวเวชศาสตรและอาชีวสุขศาสตรทใ่ี ชในการดาํ เนนิ งาน เครือ่ งมอื รุน จํานวน สภาพการใชงาน แหลงท่ีมา (เครื่อง) ปกติ รอซอม รอจาํ หนา ย สวนท่ี 3 ผลการดาํ เนินงาน ตามตวั ชี้วัด ดงั น้ี ตัวชวี้ ัด กิจกรรม งบประมาณทีใ่ ช (บาท) หมายเหตุ สามารถสรปุ จากรายงานผลการดําเนนิ งานราย 4 เดอื นที่สงใหสศูนยฯโปรดให รายละเอยี ดผลการดาํ เนนิ งานในแตล ะกิจกรรม หากกจิ กรรมใดท่ที ําไมไดตามเกณฑใหระบปุ ญ หา อุปสรรค และแนวทางการแกไข แนวทางการดําเนินโครงการพฒั นาศกั ยภาพคลนิ กิ อาชีวเวชศาสตรส ําหรบั การบรกิ ารทตุ ิยภมู ใิ นโรงพยาบาลสงั กดั กระทรวงสาธารณสขุ :คลินกิ โรคจากการทํางาน ระยะท่ี 15 ป 2564 | 23

สว นท่ี 4 เปรยี บเทียบผลการดําเนินงานตามตวั ช้ีวัด 3 ปยอนหลังสําหรับโรงพยาบาลเดิม กรณโี รงพยาบาลใหมใ หแสดงผลการดาํ เนินงานเมื่อเทยี บกบั ปกอน สวนที่ 5 สรปุ ผลโครงการเฝา ระวงั โรคจากการทาํ งานในพนื้ ท่ี สถานการณป ญหาและการเฝาระวังโรคจากการทํางานในพื้นท่ี วิธีการดําเนินงาน ผลการ ดาํ เนนิ งานโครงการอยา งนอย 2 โครงการ สว นที่ 6 ปญ หาอปุ สรรคและแนวทางการดําเนนิ การแกไข ปญหาอุปสรรคและแนวทางการดําเนินการแกไข ความตองการสนับสนุนดานตาง ๆเพ่ือ พฒั นาคลนิ ิกในระยะตอไป แนวทางการพัฒนา/รูปแบบการดําเนินงานคลนิ ิกโรคจากการทาํ งานอยา งยง่ั ยืน ขอ เสนอแนะอืน่ ๆ สําหรับหนว ยงานทีเ่ กย่ี วของนาํ ไปพัฒนาโครงการ สวนที่ 7 สรุปขอมูลสถานการณโรคและการบาดเจ็บจากการทํางานของลูกจางใน ความคมุ ครองกองทนุ เงินทดแทน นาํ เสนอในรูปของตาราง กราฟ หรือ แผนภมู ิ แยกตามตัวแปรตาง ๆ เชน เพศ อายุ โรค (ระบุตามมาตรฐานการวินิจฉัยโรคจากการทํางานฉบับเฉลิมพระเกียรติฯ) และการบาดเจ็บจากการทํางาน (สามารถสรุปจากผลการดําเนินงานรายส่ีเดือนในสวนของการวินิจฉัยโรคจากการทํางาน) อาชีพ ลักษณะ งาน รวมทั้งสิทธิที่เบิกจาย เชน จากกองทุนประกันสังคม หรือกองทุนเงินทดแทน หรือขอมูลอ่ืน ๆของ ท่มี ารับบริการ โดยมกี ารอธิบายขอมูลประกอบ (ความยาวประมาณ 3 - 5 หนา ) ภาคผนวก ประกอบดวย 1. สําเนาโครงการ พรอมแผนปฏิบัติการโครงการ 2. สําเนารายงานการประชุม/การพัฒนาเครือขายภายใน/ภายนอกโรงพยาบาล รวมถึง คณะทาํ งานพฒั นาคลนิ กิ โรคจากการทํางานระดบั จงั หวัด(ถา ม)ี 3. สําหรบั โรงพยาบาลแมข าย ใหเ พิ่มสําเนาสรุปรายงานผลการพัฒนาโรงพยาบาลในขาย สาํ เนาสรปุ ผลการนเิ ทศติดตามโรงพยาบาลในขาย 4. สาํ เนารายงานผลการดาํ เนินงานราย 4 เดอื นแตละงวด 5.แบบฟอรม ตาง ๆทีใ่ ชในการดาํ เนินงาน 6.อ่ืน ๆ เชน ภาพถาย รายช่อื สถานประกอบกจิ การที่โรงพยาบาลใหบริการ หมายเหตุ : สง รายงานพรอมเน้ือหาบรรจใุ สแผน ซดี ี 1 ชดุ การทํารายงานฉบับสมบรู ณน ที้ างโรงพยาบาลสามารถเพิ่มเติมขอมูล/กจิ กรรม/สถานการณโรคจาก การทํางานท่ีไดดําเนินงานในสวนของผูประกอบอาชีพกลมุ อน่ื ๆท่ีมารับบริการท่ีนอกเหนือจากผูประกันตน แนวทางการดําเนนิ โครงการพฒั นาศกั ยภาพคลนิ ิกอาชวี เวชศาสตรสาํ หรบั การบริการทุตยิ ภูมิในโรงพยาบาลสงั กดั กระทรวงสาธารณสุข:คลินกิ โรคจากการทาํ งาน ระยะที่ 15 ป 2564 | 24

ในขายความคุมครองของกองทุนเงินทดแทน (แตควรแยกขอมูลใหชัดเจน) เพ่ือใหเห็นภาพรวมของการ จัดบริการอาชีวอนามัยของโรงพยาบาลท้ังระบบ ซ่ึงจะเปนขอมูลท่ีมีประโยชนมากในการผลักดันเชิง นโยบาย รวมทั้งการปรับอัตรากําลังตาง ๆ เพื่อความกาวหนาของบุคลากรท่ีปฏิบัติงานทางดาน อาชวี อนามัยของโรงพยาบาล 4.3 การจดั ทําขอเสนอโครงการพัฒนาคลนิ กิ โรคจากการทาํ งานรายป สาํ นกั งานกองทนุ เงนิ ทดแทนจะเปด ใหหนวยงานตาง ๆ ทม่ี ีประสงคจะขอรบั จัดสรรเงินดอกผลของ กองทุนเงินทดแทนเพ่ือเปนคาใชจายในการสงเสริมหรือปองกันเก่ียวกับความปลอดภัยในการทํางาน ประจําป ประมาณชวงเดือนมีนาคม-เมษายน ซึ่งศูนยพัฒนาและประเมินคุณภาพการใหบริการอาชีวเวช กรรมและเวชกรรมสิ่งแวดลอม ในฐานะผูรับผิดชอบโครงการพัฒนาคลินิกโรคจากการทํางานในภาพรวม จะทําหนังสือแจงโรงพยาบาลทุกแหงท่ีเขารวมโครงการและมีความประสงคจะรับเงินจัดสรรดังกลาว เพื่อ ใหบริการดานอาชีวอนามัยแกลูกจางในขายความคุมครองของกองทุนเงินทดแทน ใหสงขอเสนอโครงการ พัฒนาคลินิกโรคจากการทํางาน (ตามภาคผนวกท่ี 12) ท่ีประกอบดวยกิจกรรมการดําเนินงานตามตัวช้ีวัด โครงการ และลงนามรบั รองโดยผูบรหิ ารของโรงพยาบาล โดยสง มายังศนู ยพฒั นาและประเมนิ คุณภาพการ ใหบริการอาชีวเวชกรรมและเวชกรรมสิ่งแวดลอม เพื่อรวบรวมและนําเสนอตอคณะอนุกรรมการพัฒนา สงเสริมดานความปลอดภัย เพื่อพิจารณากลั่นกรอง เพื่อนําเสนอตอคณะกรรมการกองทุนเงินทดแทน พิจารณาอนุมัติตอไป ดังน้ัน ประเด็นสําคัญของการจัดทําขอเสนอโครงการ โรงพยาบาลควรดําเนินการ ดังนี้ 1. โรงพยาบาลที่เขารวมโครงการทุกแหง(รวมโรงพยาบาลแมขายเขตสุขภาพ โรงพยาบาลศูนย เช่ียวชาญ) ที่ประสงครับเงินคาใชจายควรพิจารณาวงเงินท่ีจะรับจัดสรรภายใตศักยภาพท่ีสามารถ ดําเนนิ การไดจ ริง (โดยไมม ีเงินเหลือคนื สํานักงานประกันสังคม เมือ่ ส้ินป) 2. กิจกรรมการดาํ เนินงาน ตอ งสอดคลอ งกับตวั ช้วี ดั โครงการท่กี ําหนด 3. กลุมเปาหมายหลักคือ ลูกจางในขายความคุมครองของกองทุนเงินทดแทนเนนในสถาน ประกอบการ (ไมรวมประชาชนทั่วไป ประชาชนท่ีอาจไดรับผลกระทบจากมลพิษส่ิงแวดลอม และบคุ ลากร ของโรงพยาบาลทไี่ มมีสทิ ธิป์ ระกันสงั คม) 4. คาใชจา ยทุกกิจกรรม ใหแสดงรายละเอยี ดตัวคูณ เชน จาํ นวนคน จํานวนสถานประกอบการ จํานวน วัน จํานวนคร้ัง อัตราคาใชจาย ฯลฯ เพื่อประกอบการนําเสนอขอมูลรายโรงพยาบาลตามท่ีสํานักงานกองทุน เงินทดแทนรองขอ 5. ควรประมาณคาใชจายการตรวจสุขภาพเพื่อประกอบการวินิจฉัยกรณีสงสัยวาเปนโรคจากการ ทํางาน แกลูกจางท่ีไมไดเลือกสิทธิประกันสังคมจากโรงพยาบาลของทาน เพ่ือมิใหลูกจางตองจายเงินคารับ บริการ แนวทางการดาํ เนนิ โครงการพฒั นาศักยภาพคลินิกอาชวี เวชศาสตรส ําหรบั การบริการทตุ ิยภูมิในโรงพยาบาลสงั กัดกระทรวงสาธารณสุข:คลินกิ โรคจากการทํางาน ระยะท่ี 15 ป 2564 | 25

6. โครงการเฝาระวังเชิงรุกในสถานประกอบการตามสภาพปญหาของพื้นท่ี สามารถขอสนับสนุน คาใชจาย เชน การตรวจสุขภาพประจําป ตรวจสขุ ภาพตามปจ จัยเส่ียงจากการทาํ งาน ฯลฯ จากโครงการได ในปแ รกที่ดําเนนิ การเทา นนั้ เนอ่ื งจากคา ใชจายสวนนเ้ี ปน ความรบั ผิดชอบของนายจา งตามกฎหมาย 7. สดั สวนการใชจา ยเงินควรเปน ดังนี้ 7.1 การจัดบรกิ ารเชิงรุกในสถานประกอบการ ไมน อ ยกวารอ ยละ 40 7.2 การจดั บรกิ ารเชงิ รบั ในโรงพยาบาล ไมนอยกวารอ ยละ 30 7.3 กจิ กรรมอ่ืนๆ เชน การพัฒนาบุคลากร ไมเ กนิ รอยละ 30 โรงพยาบาลสามารถดําเนินกิจกรรมในกลุมบคุ ลากรของโรงพยาบาล(เฉพาะสิทธิ์ประกันสังคม) ไดไ มเ กินรอ ยละ 10 ของวงเงินภาพรวมโครงการ 8. สงแบบเสนอโครงการกลับไปยังศูนยพัฒนาและประเมินคุณภาพการใหบริการอาชีวเวชกรรม และเวชกรรมส่ิงแวดลอม ภายในวันที่กําหนดทางEmail: [email protected] สําหรับเอกสาร ฉบับจริง โปรดสงทางไปรษณีย และไมรับพิจารณาหากเกินกําหนดวันที่ระบุ เนื่องจากอาจสงผลกระทบตอ การเสนอโครงการในภาพรวม 9. กรณีโรงพยาบาลไมประสงคขอรับเงินคาใชจาย /ลาออกจากโครงการ โปรดทําหนังสือแจงเปน ลายลกั ษณอ ักษร เพอื่ พจิ ารณาสนบั สนุนใหโรงพยาบาลแหงใหมท มี่ คี วามสนใจตอไป 10. ศูนยพัฒนาและประเมินคุณภาพการใหบริการอาชีวเวชกรรมฯ ขอสงวนสิทธิ์ในการพิจารณา วงเงินของโรงพยาบาลทุกแหง กอนการจัดทําขอเสนอโครงการในภาพรวมทั้งประเทศ แกสํานักงาน ประกันสังคม โดยพิจารณาตัดคาใชจายกรณี เชน กิจกรรมไมตรงกลุมเปาหมาย ไมสอดคลองตามตัวช้ีวัด ไมเปนไปตามสัดสวนการใชจายเงินตามที่กําหนด ไมแสดงรายละเอียดคาใชจายรายกิจกรรม (แตกตัวคูณ) และพิจารณาลดคาใชจายกรณีมีเงินเหลือคืนในปท่ีผานมาเกินกวารอยละ 30 หรือไมสงรายงานรายสี่เดือน และรายงานฉบับสมบูรณตามเวลาท่ีกาํ หนด 11. เม่ือโรงพยาบาลไดรับการสนับสนุนเงินคาใชจายแลว ตองสงหลักฐานใบเสร็จรับเงินของ โรงพยาบาล พรอมสําเนาโครงการ และแผนปฏิบัติที่ไดรับการอนุมัติ ตามวงเงินที่ไดรับ กลับไปยังศูนย พัฒนาและประเมนิ คุณภาพการใหบ ริการอาชีวเวชกรรมฯ ภายในระยะเวลาที่กาํ หนด แนวทางการดาํ เนนิ โครงการพฒั นาศกั ยภาพคลินิกอาชีวเวชศาสตรส ําหรบั การบริการทตุ ิยภูมใิ นโรงพยาบาลสงั กดั กระทรวงสาธารณสขุ :คลินกิ โรคจากการทํางาน ระยะท่ี 15 ป 2564 | 26

ภาคผนวก แนวทางการดาํ เนินโครงการพฒั นาศกั ยภาพคลนิ กิ อาชวี เวชศาสตรสาํ หรบั การบริการทุตยิ ภมู ใิ นโรงพยาบาลสงั กัดกระทรวงสาธารณสุข:คลนิ ิกโรคจากการทาํ งาน ระยะท่ี 15 ป 2564 | 27

1. บนั ทกึ ความรว มมือการจดั ตงั้ โครงการศนู ยโรคจากการทาํ งาน กระทรวงแรงงาน และกระทรวงสาธารณสุข แนวทางการดําเนนิ โครงการพฒั นาศกั ยภาพคลนิ ิกอาชีวเวชศาสตรสําหรบั การบริการทตุ ยิ ภูมใิ นโรงพยาบาลสงั กัดกระทรวงสาธารณสขุ :คลินกิ โรคจากการทาํ งาน ระยะที่ 15 ป 2564 | 28

แนวทางการดาํ เนนิ โครงการพฒั นาศกั ยภาพคลินกิ อาชวี เวชศาสตรส ําหรบั การบริการทตุ ยิ ภมู ใิ นโรงพยาบาลสงั กัดกระทรวงสาธารณสขุ :คลนิ กิ โรคจากการทาํ งาน ระยะท่ี 15 ป 2564 | 29

2.หลกั เกณฑการใชจ า ยงบประมาณคลินิกโรคจากการทาํ งาน(ป 2556) แนวทางการดําเนนิ โครงการพฒั นาศักยภาพคลนิ ิกอาชวี เวชศาสตรส ําหรบั การบริการทุตยิ ภมู ิในโรงพยาบาลสงั กัดกระทรวงสาธารณสขุ :คลินกิ โรคจากการทาํ งาน ระยะท่ี 15 ป 2564 | 30

แนวทางการดาํ เนนิ โครงการพฒั นาศกั ยภาพคลินกิ อาชวี เวชศาสตรส ําหรบั การบริการทตุ ยิ ภมู ใิ นโรงพยาบาลสงั กัดกระทรวงสาธารณสขุ :คลนิ กิ โรคจากการทาํ งาน ระยะท่ี 15 ป 2564 | 31

แนวทางการดาํ เนนิ โครงการพฒั นาศกั ยภาพคลินกิ อาชวี เวชศาสตรส ําหรบั การบริการทตุ ยิ ภมู ใิ นโรงพยาบาลสงั กัดกระทรวงสาธารณสขุ :คลนิ กิ โรคจากการทาํ งาน ระยะท่ี 15 ป 2564 | 32

3. หลกั เกณฑ วิธีการและเงื่อนไขการจายเงนิ คา ตอบแทนแนบทา ยขอ บังคับกระทรวงสาธารณสขุ วา ดวยการจายเงนิ คา ตอบแทนเจา หนาทท่ี ่ปี ฏบิ ัติงานใหกับหนว ยบรกิ ารในสังกดั กระทรวงสาธารณสุข (ฉบับ ท่ี 5 พ.ศ. 2552) แนวทางการดําเนินโครงการพฒั นาศกั ยภาพคลนิ ิกอาชวี เวชศาสตรส าํ หรบั การบรกิ ารทตุ ิยภูมิในโรงพยาบาลสงั กดั กระทรวงสาธารณสขุ :คลินกิ โรคจากการทํางาน ระยะท่ี 15 ป 2564 | 33

แนวทางการดาํ เนนิ โครงการพฒั นาศกั ยภาพคลินกิ อาชวี เวชศาสตรส ําหรบั การบริการทตุ ยิ ภมู ใิ นโรงพยาบาลสงั กัดกระทรวงสาธารณสขุ :คลนิ กิ โรคจากการทาํ งาน ระยะท่ี 15 ป 2564 | 34

แนวทางการดาํ เนนิ โครงการพฒั นาศกั ยภาพคลินกิ อาชวี เวชศาสตรส ําหรบั การบริการทตุ ยิ ภมู ใิ นโรงพยาบาลสงั กัดกระทรวงสาธารณสขุ :คลนิ กิ โรคจากการทาํ งาน ระยะท่ี 15 ป 2564 | 35

แนวทางการดาํ เนนิ โครงการพฒั นาศกั ยภาพคลินกิ อาชวี เวชศาสตรส ําหรบั การบริการทตุ ยิ ภมู ใิ นโรงพยาบาลสงั กัดกระทรวงสาธารณสขุ :คลนิ กิ โรคจากการทาํ งาน ระยะท่ี 15 ป 2564 | 36


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook