Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอน ม.ต้น 2ทับ63

แผนการสอน ม.ต้น 2ทับ63

Published by kukkai27112519, 2021-01-19 08:26:51

Description: แผนการสอน ม.ต้น 2ทับ63

Search

Read the Text Version

แผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน ภาคเรยี นที่ 2 ปก ารศกึ ษา ๒๕6๓ หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กศน.ตําบล.................................... ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอเสนา สาํ นักงานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา

แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ภาคเรยี นท่ี 2 ปการศึกษา ๒๕6๓ หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กศน.ตาํ บล......................................... ศนู ยก ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาํ เภอเสนา สํานักงานสง เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา

สถานศกึ ษาพิจารณาการจดั ทาํ แผนการสอนแบบรายวชิ าของ ....................................................... เหน็ สมควร อนุมตั ิ เน่อื งจากแผนการสอนครอบคลุมเน้อื หาสาระของสถานศกึ ษา และยดึ ผเู รียนเปนศูนยกลางในการเรยี นการสอน สามารถพัฒนาผูเ รยี นใหคิดเปน ทาํ เปน และแกป ญ หาได ไมอ นมุ ตั ิ เนอื่ งจากแผนการสอนยังไมครอบคลมุ เนอ้ื หาสาระของสถานศกึ ษา ตองปรบั ปรุงแกไขใหม (นายวันชยั เท่ียงตรง) ประธานกรรมการสถานศกึ ษา (นางวนั ดี วรรณธนะ) งานการศกึ ษาพ้นื ฐานนอกระบบ (นายบญุ รอด แสงสวา ง) ผูอ ํานวยการ กศน.อําเภอมหาราช รักษาการในตาํ แหนง ผูอ ํานวยการ กศน.อําเภอเสนา

คาํ นํา แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบรายวิชา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ฉบับนี้ จัดทําขึ้นโดย ครู กับผูเรียนรวมกันวิเคราะหองคประกอบของหลักสูตร สาระ มาตรฐานในทุกรายวิชาท่ีลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา ๒๕6๓ โดยนําเนื้อหาที่วิเคราะหแลวเห็นเหมาะสมเพื่อ นํามาจัดทําแผนการเรียนรู แบบรายวชิ า โดยใหผ เู รยี นเปนผดู ําเนนิ การวางแผนการเรียนรูจากแหลงเรียนรูและส่ือการเรียนรู ท่ีหลากหลาย เพ่ือกิจกรรม และทําบันทึกผลการเรียนรู สงครูผูสอน เพ่อื วดั ผลและประเมนิ ผลหลังการทํากจิ กรรมการเรียนรูแบบรายวิชา หากแผนการจดั กิจกรรมการเรียนรูแ บบรายวิชา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ฉบับนี้ไดนําไปจัดการเรียนการสอนแลวพบขอดี ขอเสียประการใด ผูสอนจะ นาํ ขอเสนอแนะมาปรับปรุงแกไข พัฒนาแผนการจัดกจิ กรรมการเรียนรใู หด ียง่ิ ขน้ึ เพื่อใหสามารถนําไปใชในการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนใหเ กดิ ประสทิ ธภิ าพ คณะผจู ัดทํา

สารบัญ หนา เรือ่ ง 5 ข้นั ตอนการจดั ทาํ หนวยการเรียนรแู บบรายวชิ า 6 สรปุ สภาพปญหาและความตอ งการของชมุ ชน 15 แผนการลงทะเบียนในภาคเรยี นท่ี 2 ปการศกึ ษา 256๓ 17 คาํ อธิบายรายวชิ า 44 ตารางวิเคราะหหลกั สูตร 63 ปฏทิ ินจดั การเรยี นการสอน 66 ปฏทิ นิ การจัดกิจกรรมการเรยี นรรู ายภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 256๓ 77 แผนการจัดการเรยี นการสอนแบบพบกลมุ รายสัปดาห 119 แผนการสอนเสรมิ 124 แผนการจดั กิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผเู รียน

ข้นั ตอนการจดั ทําหนวยการเรียนรูแบบรายวชิ า ขัน้ ตอนที่ ๑ วเิ คราะหสภาพปญหาและความตอ งการของชมุ ชน ในพ้ืนทอี่ ําเภอเสนา ขน้ั ตอนท่ี ๒ จดั กลมุ ปญ หา/ ความตองการ ข้ันตอนที่ ๓ นาํ มาวเิ คราะหอ งคป ระกอบของหลกั สตู ร ขั้นตอนที่ ๔ นํามาวิเคราะหส าระและมาตรฐานการเรยี นรู ข้นั ตอนท่ี ๕ กําหนดแผนรายภาคเรยี น ขั้นตอนท่ี ๖ กาํ หนดแผนการพบกลมุ รายสัปดาห ขน้ั ตอนท่ี ๗ กําหนดแผนการจัดกิจกรรมพฒั นาคุณภาพผูเรยี น

หลงั จากวเิ คราะหส ภาพปญหาออกมาแลว สรุปออกมาได ๗ ดา น ๑. ดา นสงั คม ๒. ดา นเศรษฐกิจ ๓. ดานการเมอื งการปกครอง ๔. ดานการศึกษา ๕. ดา นสขุ ภาพอนามยั ๖. ดานสิ่งแวดลอ ม ๗. ดานคณุ ธรรม

วเิ คราะหส ภาพปญหาในชุมชน ๑. ขาดทุนการศกึ ษา ๒. เยาวชนขาดจิตสํานกึ รักในศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวันสาํ คญั ตาง ๆ ๓. ขาดการมีสว นรว มในการทาํ กจิ กรรมในหมบู า น ๔. เยาวชนวัยเรยี น เรียนไมจ บการศกึ ษาภาคบงั คบั ๕. สถานศึกษาในพน้ื ทีม่ ไี มเ พียงพอ ตอ งไปศกึ ษาในพ้ืนทใ่ี กลเคยี ง ๖. ประชาชนวยั ตงั้ แต 50 ปข ้นึ ไป สวนใหญจบการศกึ ษาระดับประถมศึกษาปท่ี 4 ๗. ประชาชนสวนใหญยังขาดความรแู ละทักษะในการประกอบอาชีพ ๘. นักเรียนท่จี บการศกึ ษาประถมศกึ ษาปที่ 6 ไมศกึ ษาตอ ๙. วฒั นธรรมการแตง กายไมส ภุ าพของวัยรนุ ๑๐.การมีเพศสัมพันธก อ นวยั อนั ควร ๑๑.ประชาชนขาดความรูและทักษะในการประกอบอาชีพเสริม ๑๒.เยาวชนขาดคุณธรรมจริยธรรม ๑๓.ขาดสถานท่ใี หความรใู หกบั ประชาชนในชมุ ชน ไดแก ศนู ยการเรยี นชมุ ชน ที่อานหนงั สอื ขอมูลชุมชน หอ งสมดุ ประชาชน และหอกระจายขาวชุมชน ๑๔.ประชาชนไมใหความสําคัญทางการศกึ ษาและศาสนาเทาที่ควร ๑๕.ประชาชนไมสง เสรมิ อนุรักษ และดํารงไวซ งึ่ ภมู ิปญ ญาทองถิน่ ๑๖.ประชาชนขาดความรแู ละทักษะดานเทคโนโลยี ๑๗.ประชาชนขาดจิตสํานกึ ดา นส่ิงแวดลอ ม ๑๘.ประชาชนขาดความรู ความเขาใจ ในการจัดทําบัญชี รายรับ – รายจา ย ครัวเรอื น การคิดเปน กําไร – ขาดทุน ๑๙.เยาวชนขาดการปฏิบัติธรรม

แบง สภาพปญหาในชมุ ชนออกเปน ๗ ดา น ๑.วิเคราะหสภาพปญ หาดานสังคม ๑. ยาเสพตดิ ๒. ความยากจน ๓. ครอบครวั แตกแยก ๔. ตดิ เพ่ือน ๕. รสนิยมสูง ๖. ของแพง ๗. คา ครองชพี สูง ๘. วา งงาน ๙. ตดิ การพนัน ๑๐. ชมุ ชนแออดั ๑๑. แตกแยกความคิด ๑๒. เดก็ แวน ๑๓. วัฒนธรรมเส่ือมโทรม ๑๔. เปลยี่ นงานบอย ๑๕. ตดิ โทรศพั ท ๑๖. ทะเลาะววิ าท ๑๗. หนนี้ อกระบบ ๑๘. ติดเกมส

๒.วเิ คราะหส ภาพปญหาดานเศรษฐกิจ ๑. การลกั ขโมย ๒. ผสู งู อายุถกู ทอดท้ิง ๓. หน้ีนอกระบบ ๔. มแี รงงานตางดา ว ๕. มีการเปลี่ยนงานบอ ย ๖. เลือกงาน ๗. ตนทนุ การผลติ สูง ๘. ปญ หาคอรปั ช่นั ๙. ปญหาทางการเมอื ง ๑๐.การขาดงบประมาณ ๑๑.ประชากรขาดแหลง ทํากนิ

๓.วเิ คราะหส ภาพปญหาดานการเมืองการปกครอง ๑. คอรปั ช่นั ๒. งบประมาณ ๓. การกระจายงบประมาณไมเทาเทยี มกนั ๔. ซ้อื สทิ ธ์ิ ขายเสียง ๕. ประชาชนไมไปใชสทิ ธิ์เลือกตงั้ ๖. ประชาชนไมเขา ใจบทบาทหนาทีก่ ารปกครอง ๗. ประชาชนไมเขา ใจบทบาทหนาที่ของนกั การเมอื งทอ งถ่นิ ๘. นํางบประมาณไปใชผดิ ประเภท ๙. ขาดการอบรมใหความรเู รือ่ งประชาธิปไตย การสรา งจติ สาํ นกึ ประชาธปิ ไตย ๑๐. ประชาชนในพืน้ ทตี่ ดิ อยูก บั คา นิยมเคารพผอู าวโุ ส เกรงใจกัน จนขาดเหตุผล ๑๑. การปกครองทอ งถ่นิ ไมยุตธิ รรม เลนพกั เลน พวก ๑๒. ความแตกแยกทางการเมือง

๔.วเิ คราะหส ภาพปญ หาดา นการศึกษา ๑. โดดเรยี น ๒. อา นเขียนไมอ อก ๓. การใชภาษาไมถกู ตอ ง ๔. ผไู มร หู นังสือ ๕. ขาดการสง เสรมิ อาชีพ ๖. ความยากจน ๗. ครอบครัวแตกแยก ๘. คา ครองชีพสูง ๙. รายไดต่ํา ๑๐.วางงาน ๑๑.ใชคําพูดไมสุภาพ ๑๒.ขาดจติ สาธารณะ ๑๓.ไมร กั ษาวฒั นธรรมประเพณี ๑๔.ไมเ คารพกฎกติกา

๕.วเิ คราะหส ภาพปญ หาดา นสุขภาพอนามัย ๑. สถานพยาบาลไมเพียงพอ ๒. คารกั ษาพยาบาลแพง ๓. ไมร ขู อ มูลโภชนาการ ๔. ไมม ีสวนสาธารณสําหรับออกกําลังกาย ๕. มลภาวะในชุมชนเปนพษิ ๖. น้ําสะอาดราคาแพง ๗. ไมมีศนู ยสําหรับดแู ลผูสงู อายุโดยตรง ๘. รพ.สต.ยังขาดตวั ยา บางตัว ไมสามารถบริการประชาชนที่เปน โรครา ยแรงได ๙. ขาดส่ือในเร่ืองสขุ ภาพ ๑๐.คนไมส นใจเร่ืองสขุ ภาพเทา ทีค่ วร

๖.วเิ คราะหสภาพปญ หาดานส่ิงแวดลอม ๑. ปญ หาขยะมากเกนิ ไป ๒. มลภาวะเปนพษิ ๓. สารเคมี ๔. ภาวะโลกรอน ๕. อากาศแปรปรวน ๖. ภัยธรรมชาติ ๗. ขยะ ๘. ปญ หาการจราจร ๙. โรคระบาด ๑๐.นํา้ ทว ม ๑๑.เผาขยะ/เผาฟาง

๗.วเิ คราะหสภาพปญ หาดานคณุ ธรรม ๑. เดก็ และเยาวชน ขาดความเคารพผอู าวุโส ๒. ประชาชนขาดความมีนา้ํ ใจ เอื้ออาทร ๓. ประชาชนสวนใหญข าดความรบั ผิดชอบ ๔. เดก็ และเยาวชน ขาดความละอายตอบาป ไมเ ช่ือในบาปบญุ คุณโทษ ๕. สื่อไมสรางสรรคทําใหคุณธรรมเสอ่ื ทราม ๖. สังคมลม เหลว ขาดผูใหญท ีม่ คี ุณธรรมดแู ล ๗. เด็กๆและเยาวชน มกั จะข้เี กยี จ เฉยเมย ไมส นใจสงิ่ แวดลอ ม ๘. เกดิ ความแตกแยกในสังคม ขาดความสามัคคี ๙. ไมมรี ะเบียบวินัยในการจลาจล และทกุ ๆเรื่อง ขอมูลจากผูเ ขา รวมวิเคราะหสภาพปญหาและความตอ งการของชมุ ชน นายสุชาติ การลึกสม นายกองคการบรหิ ารสว นตาํ บลบานโพธิ์ ประธานกรรมการ กศน.ตาํ บล นายพิสิฐฎ สมัยมาก กาํ นันตาํ บลบา นโพธ์ิ ประธานกรรมการ ศส.ปชต.ตาํ บลบานโพธ์ิ นางบุญธรรม คลายวง สมาชิก อบต. อาสาสมัคร กศน. นายกฤษ เทพชยุตมิ ันถ ประธานองคก รนกั ศึกษา ประธานองคกร นศ. กศน.ตําบลบา นโพธิ์ นายฉลอง สุขพรอ ม ประชาชน ผใู หญบานหมู 7 นางศศวิ ิมล เกดิ ทรัพย ประชาชน ประธานบทบาทสตรหี มู ๗ นางสาวขนษิ ฐา ศรีลกู หวา ครู กศน.ตําบล นางวันดี วรรณธนะ ครชู าํ นาญการพเิ ศษ รกั ษาการในตําแหนง ผอ. กศน.อาํ เภอเสนา

แผนการลงทะเบยี นเรยี น กศน.อาํ เภอเสนา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน ภาคเรยี นท่ี 2 ปก ารศึกษา 256๓ สาระการเรียนรู วชิ าบังคับ ชื่อรายวชิ า วชิ าเลือก รหสั รหัส ช่ือรายวิชา หนวยกติ รหสั - หนว ยกติ - 1. ทักษะการเรียนรู -- - - - - อช22001 2. ความรพู ื้นฐาน พค คณติ ศาสตร 4 พค21001 - - 3. การประกอบอาชีพ อช ทกั ษะการพฒั นาอาชีพ - 4 อช21001 การพัฒนาแผนและโครงการอาชพี 3 4. ทักษะการดาํ เนนิ ชวี ิต ทช สขุ ศึกษา พลศึกษา สค22016 2 ทช21002 - - 5. การพัฒนาสังคม - - - - การเงินเพอ่ื ชวี ิต 2 3 วิชาบังคับ 10 หนวยกติ วชิ าเลือก 6 หนวยกติ

แผนการเรยี น ภาคเรียนที่ 2 ปก ารศกึ ษา 256๓ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน รหสั วชิ า รายวชิ าบังคับ หนว ยกิต ชวั่ โมง เรยี นรู รหัสวิชา รายวชิ าเลอื ก หนวยกิต ชวั่ โมง เรยี นรู พค21001 คณติ ศาสตร 3 120 3 คร้ัง อช21002 ทกั ษะพฒั นาอาชีพ 4 160 6 ครงั้ อช22001 การพฒั นาแผนและโครงการอาชพี 3 120 3 ครั้ง ทช21002 สขุ ศึกษา พลศึกษา 4 160 4 ครง้ั สค22016 การเงินเพอ่ื ชีวติ 2 2 80 2 ครง้ั วชิ าบังคับ 10 400 12 คร้งั วิชาเลอื ก 6 240 6 ครง้ั

คาํ อธิบายรายวชิ าและรายละเอียดคําอธิบายรายวชิ า 1. คณิตศาสตร (พค21001) 2. ทักษะการพัฒนาอาชีพ (อช21001) 3. สขุ ศกึ ษา พลศึกษา (ทช21002) 4. การพฒั นาแผนและโครงการอาชีพ (อช22001) 5. การเงนิ เพอื่ ชวี ิต2 (สค22016) ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน ภาคเรยี นที่ 2 ปการศึกษา ๒๕6๓ หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

คําอธบิ ายรายวชิ า พค 21001 คณิตศาสตร จํานวน 4 หนวยกิต ระดับมัธยมศึกษาตอนตน มาตรฐานการเรยี นรูระดับ มคี วามรู ความเขาใจเก่ยี วกับจาํ นวนและการดาํ เนินการ เศษสวนและทศนิยม เลขยกกาํ ลงั อัตราสว น สดั สวน และรอ ยละ การวัด ปรมิ าตรและ พน้ื ทีผ่ วิ คูอนั ดับและกราฟความสมั พันธระหวา งรปู เรขาคณติ สองมิติและเรขาคณติ สามมิติ สถติ ิและความนาจะเปน ศกึ ษาและฝกทกั ษะเกยี่ วกบั เร่อื งดังตอ ไปนี้ จํานวนและการดาํ เนนิ การ จํานวนเตม็ บวก จํานวนเตม็ ลบ และศนู ย การเปรียบเทยี บจํานวนเต็ม การบวกลบ คูณและหารจํานวนเต็ม สมบัตขิ องจํานวนเต็มและการ นาํ ไปใช เศษสวนและทศนยิ ม ความหมายของเศษสวนและทศนยิ ม การเขยี นเศษสว นและทศนยิ ม และเขียนทศนิยมซา้ํ เปน เศษสวน การเปรยี บเทียบเศษสวนและทศนิยม การบวก ลบ คูณ หาร เศษสวนและทศนิยมโจทยป ญหาหรือสถานการณเกยี่ วกับเศษสวนและทศนยิ ม เลขยกกําลัง ความหมายของเลขยกกําลัง การเขียนแสดงจาํ นวนในรปู สญั ลักษณวิทยาศาสตร การคูณและการหารเลขยกกําลังทมี่ ีฐานเดยี วกัน และเลขชกี้ ําลงั เปนจํานวน เตม็ อตั ราสวน สดั สวน และรอยละ การแกโ จทยป ญ หาเกีย่ วกบั อตั ราสว น สดั สว นและรอ ยละ การวดั หนวยความยาว พืน้ ที่ การหาพ้ืนท่ีของรปู เรขาคณิต การแกป ญ หา หรือสถานการณในชีวติ ประจาํ วัน โดยใชความรเู กีย่ วกับพื้นทแ่ี ละการคาดคะเน ปริมาตรและพนื้ ทผ่ี ิว การหาพื้นท่ีผิว และปรมิ าตรของปริซมึ ทรงกระบอก การหาปรมิ าตรของพรี ะมดิ กรวย และทรงกลม การเปรียบเทียบหนว ยปริมาตร การแกโจทย ปญ หาเกย่ี วกับพื้นที่ผวิ และปริมาตรคอู ันดับและกราฟ คูอนั ดบั และกราฟ การนําไปใช ความสัมพันธข องรปู เรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ภาพของรูปเรขาคณติ สองมติ ิท่เี กดิ จากการคลี่รปู เรขาคณิตสามมิติ ภาพทไี่ ดจ ากการมองทางดานหนา ดานขางหรอื ดานบนของรปู เรขาคณิตสามมติ ิ การวาดหรอื ประดษิ ฐรูปเรขาคณิตทีป่ ระกอบข้ึนจากลกู บาศก สถิติ การเก็บรวบรวมขอ มูล การนําเสนอขอ มลู การหาคากลางของขอ มูล การเลอื กใชคากลางของขอมูล การอาน การแปลความหมายและการวเิ คราะหข อ มูล การใช ขอ มลู สารสนเทศ ความนาจะเปน การทดลองสุมและเหตุการณ การหาความนา จะเปน ของเหตกุ ารณและการนําไปใช

รายละเอยี ดคาํ อธบิ ายรายวิชา พค 21001 คณิตศาสตร จํานวน 4 หนวยกิต (๑๖๐ ชวั่ โมง) ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน มาตรฐานการเรยี นรูระดับ มีความรู ความเขาใจ เก่ียวกับจํานวนและการดําเนินการ เศษสวนและทศนิยม เลขยกกําลัง อัตราสวน และรอยละ การวัด ปริมาตรและพื้นท่ีผิว คูอ นั ดับและกราฟ ความสมั พนั ธระหวางรปู เรขาคณติ สองมติ ิ และเรขาคณติ สามมติ ิ สถิติและความนาจะเปน ท่ี หวั เร่อื ง ตวั ชีว้ ัด เน้ือหา จํานวน 1 จาํ นวนและการ (ชั่วโมง) 1 ระบหุ รือยกตวั อยา งจาํ นวนเตม็ บวก 1 จํานวนเตม็ บวก จํานวนเต็มลบ และศูนย ดําเนินการ จํานวนเต็มลบ และศนู ย 2 การเปรียบเทยี บจํานวนเต็ม 3 2 เปรียบเทยี บจาํ นวนเตม็ 3 การบวก ลบ คูณ และหาร จํานวนเตม็ 3 ๒ เศษสว นและทศนิยม 3.บวก ลบ คูณ หาร จํานวนเต็ม และอธบิ ายผลท่ี 4 สมบตั ิของจาํ นวนเต็ม และการนาํ ไปใช 3 เกิดขน้ึ 6 4. บอกสมบัติของจาํ นวนเต็ม และนําความรเู กยี่ วกบั สมบตั ิของจํานวนเต็มไปใช 1 2 1 บอกความหมายของเศษสว นและทศนยิ ม 1 ความหมาย ของเศษสว น และทศนิยม 2 2 เขียนเศษสว นในรปู ทศนิยมและเขยี นทศนยิ มซ้ําใน 2 การเขียนเศษสว นในรูปทศนยิ มและเขยี นทศนิยมซา้ํ ใน 6 รูปเศษสว น รปู เศษสวน 3 เปรยี บเทียบเศษสว นและทศนิยม 3 การเปรียบเทียบเศษสว นและทศนยิ ม 4 บวก ลบ คณู หาร เศษสวน และทศนยิ มได 4บวก ลบ คูณ หาร เศษสวน และทศนิยม และอธิบายผลท่ีเกิดขนึ้ 5 นาํ ความรูเก่ียวกบั เศษสว น และทศนยิ มไปใช แกโ จทยป ญหา รวมท้งั สถานการณเ ก่ียวกบั ความ นาจะเปน

ท่ี หัวเร่อื ง ตวั ช้ีวัด เนอ้ื หา จํานวน ๓ เลขยกกําลัง 1 บอกความหมายและเขยี นเลขยกกาํ ลังท่ีมีเลขช้ี 1 ความหมายและเขยี นเลขยกกาํ ลงั (ชว่ั โมง) กําลงั เปนจํานวนเตม็ แทนจาํ นวนท่กี าํ หนดให 2 การเขยี นแสดงจํานวนในรปู สัญกรณวทิ ยาศาสตร ๔ อตั ราสว นและรอยละ 2บอกและนาํ เลขยกกาํ ลงั มาใชใ นการเขยี นแสดง 3 การคณู และหารของเลขยกกาํ ลงั ท่มี ีฐานเดยี วกนั 1 จาํ นวน และเลขชก้ี าํ ลงั เปน จํานวนเต็ม 11 3 คูณและหารของเลขยกกาํ ลังทมี่ ีฐานเดยี วกัน 8 และเลขช้ีกาํ ลงั เปน จํานวนเต็ม 1 อตั ราสวน 3 1 กําหนดอตั ราสว น 2 สัดสว น 3 2 กําหนดสดั สวน 3 รอยละ 5 3 หาคารอยละ 4 การแกโ จทยปญหาเก่ียวกับอัตราสว น สดั สว น 7 4 แกโ จทยป ญ หาในสถานการณตา งๆเกยี่ วกับ และรอ ยละ อัตราสวน สัดสวน และรอ ยละ

ท่ี หวั เร่อื ง ตวั ช้วี ัด เนือ้ หา จาํ นวน ๕ การวัด (ชัว่ โมง) 1 เปรยี บเทยี บหนว ยความยาวพื้นท่ใี นระบบเดียวกนั 1 การเปรียบเทยี บหนวยความยาวพ้นื ที่ ๖ ปริมาตรและพ้ืนที่ผวิ และตางระบบ 2 การเลอื กใชหนวยการวดั เก่ียวกับความยาวและพ้นื ท่ี 2 2เลอื กใชห นวยการวัดเก่ยี วกับความยาวและพ้นื ท่ไี ด 3 การหาพื้นท่ีของรูปเรขาคณติ 2 อยา งเหมาะสม 4 การแกโ จทยป ญหาเกี่ยวกบั พ้ืนท่ีสถานการณต างๆ 2 3 หาพืน้ ท่ีของรปู เรขาคณติ 5 การคาดคะเนเวลา ระยะทาง ขนาด นํา้ หนัก 2 4 แกโจทยป ญ หาเกีย่ วกับพ้ืนท่สี ถานการณตางๆ 4 ในชีวิตประจาํ วัน 5 อธิบายวิธกี ารคาดคะเนและนาํ วธิ กี ารไปใชใ นการ 3 คาดคะเนเวลา ระยะทาง ขนาด นํา้ หนัก 4 1 อธบิ ายลักษณะและสมบัติของปริซึม พีระมิด 1 ลักษณะและสมบัติการหาพื้นที่ผิว และปริมาตรของ 5 ทรงกระบอก กรวย ทรงกลม หาปริมาตรและพ้ืนที่ ปริซึม 2 ผวิ ของปรซิ มึ 2 การหาปรมิ าตรและพ้ืนทผี่ ิวของทรงกระบอก 2 2หาปริมาตรและพน้ื ท่ผี วิ ของทรงกระบอก 3 การหาปริมาตรของพีระมิด กรวย และทรงกลม 2 3 หาปริมาตรของพีระมดิ กรวย และทรงกลม 4 การเปรยี บเทยี บหนว ยปริมาตร 4 เปรียบเทยี บหนว ยความจุ หรือหนว ยปรมิ าตร 5 การแกโจทยป ญ หาเก่ียวกับปรมิ าตรและพื้นท่ีผิว ในระบบเดยี วกัน หรอื ตา งระบบ และเลือกใชห นวย 6 การคาดคะเนเกีย่ วกับปริมาตร และพ้ืนที่ผิว การวัดเก่ียวกบั ความจุหรอื ปรมิ าตรไดอยา งเหมาะสม 5 ใชความรูเกยี่ วกบั ปรมิ าตรและพ้ืนที่ผิว แกป ญหา ในสถานการณตา งๆ 6 ใชการคาดคะเนเกี่ยวกบั ปรมิ าตร และพ้ืนที่ผวิ ในสถานการณตา งๆ ไดอ ยา งเหมาะสม

ที่ หวั เรือ่ ง ตัวช้ีวัด เนอื้ หา จํานวน ๗ คอู ันดบั และกราฟ (ชัว่ โมง) 1 อา นและอธิบายความหมายคูอันดบั 1 คูอนั ดบั 2อานและแปลความหมายกราฟบนระนาบพกิ ัดฉาก 2 กราฟ 2 ทก่ี ําหนดให 3 การนําคูอ นั ดบั และกราฟไปใช 3 3 เขียนกราฟแสดงความเกยี่ วขอ งของปรมิ าณ 3 สองชดุ ท่ีกาํ หนด 3 ๘ ความสมั พนั ธระหวา ง 1 อธบิ ายลกั ษณะของรูปเรขาคณิต สามมิติจาก 1 ภาพของรปู เรขาคณิตสองมติ ิทีเ่ กดิ จากการคล่ีรปู 11 รปู เรขาคณิตสองมิติ ภาพสองมิตทิ ี่กําหนดให เรขาคณิตสามมิติ 2 และสามมิติ 2 ระบุภาพสองมติ ทิ ีไ่ ดจ ากการมองดานหนา 2 ภาพสองมติ ทิ ไ่ี ดจ ากการมองดา นหนา ดา นขา ง ดา นขา ง ดา นบน ของรปู เรขาคณิตสามมิตทิ ่ี ดา นบน ของรปู เรขาคณิตสามมิติ กาํ หนดให 3 การวาดหรอื ประดิษฐร ปู เรขาคณิตทีป่ ระกอบขึ้น 3 วาดหรอื ประดษิ ฐรปู เรขาคณิตทปี่ ระกอบข้ึน จากลูกบาศก จากลกู บาศก เมื่อกําหนดภาพสองมิติท่ีไดจากการ มองทางดา นหนา ดา นขาง หรือดานบน

ที่ หัวเรอ่ื ง ตัวชี้วัด เนอื้ หา จาํ นวน ๙ สถิติ 1 เก็บรวบรวมขอมลู ท่ีเหมาะสม 1 การรวบรวมขอมูล (ชว่ั โมง) 2 นาํ เสนอขอมูลในรูปแบบที่เหมาะสม 2 การนาํ เสนอขอ มูล 3 การหาคากลางของขอ มูลที่ไมแจกแจงคาความถี่ 3 การหาคากลางของขอ มูล 3 4 เลือกและใชคากลางของขอ มลู ทีก่ ําหนดใหไดอ ยา ง 4 การเลือกใชคา กลางของขอ มูล 5 เหมาะสม 5 การอาน การแปลความหมาย และการวเิ คราะห 11 5 อาน แปลความหมาย และวเิ คราะหข อมลู ขอมูล 2 จากการนาํ เสนอขอ มลู ที่กําหนดให 6 การใชข อมูลสารสนเทศ 2 6 อภิปรายและใหขอ คิดเห็นเกยี่ วกับขอ มูลขาวสาร 2 ทางสถติ ิทีส่ มเหตสุ มผล ๑๐ ความนา จะเปน 1 อธิบายเกยี่ วกบั การทดลองสุม และเหตุการณได 1 การทดลองสุม และเหตุการณ 3 2 หาคาความนาจะเปน ของเหตุการณได 2 การหาความนา จะเปนของเหตุการณ 5 3 ใชความรเู ก่ียวกับความนา จะเปน ในการคาดการณ 3 การนาํ ความนาจะเปนของเหตุการณตางๆ ไปใช 5 ไดอ ยางสมเหตสุ มผล

ท่ี หวั เรื่อง ตวั ชว้ี ัด เนอ้ื หา จํานวน ๑๑ การใชทักษะกระบวนการ 1 สามารถวิเคราะหงานอาชีพในสังคมท่ีใชทักษะ 1 ลกั ษณะ ประเภทของงานอาชพี ที่ใชทกั ษะ (ชวั่ โมง) ทางคณติ ศาสตร ทางคณิตศาสตร ทางคณิตศาสตร 2 มคี วามสามารถในการเชอ่ื มโยงความรู ตา งๆ 2 การนาํ ความรทู างคณิตศาสตรไ ปเชอ่ื มโยงกบั งาน 2 ในงานอาชพี ทางคณิตศาสตรก บั งานอาชพี ได อาชีพในสังคม 2

คําอธบิ ายรายวชิ า อช 21002 ทักษะการพฒั นาอาชพี จํานวน 4 หนว ยกติ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน มาตรฐานการเรียนรูระดบั 1. มคี วามรู ความเขาใจทักษะในการพัฒนาอาชีพทีต่ ัดสนิ ใจเลอื กบนพนื้ ฐานความรู กระบวนการผลิต กระบวนการตลาดทใ่ี ชนวตั กรรม เทคโนโลยีท่ีเหมาะสม และประยุกตใ ชภูมิปญญา 2. มคี วามรู ความเขา ใจ และสามารถจดั ทําแผนงานและโครงการธรุ กิจ เพ่ือพัฒนาอาชีพเขาสูตลาดการแขง ขันตาม ศกั ยภาพ 5 ดานไดแก ศกั ยภาพของ ทรัพยากรธรรมชาติในแตละพืน้ ทศ่ี กั ยภาพของพน้ื ท่ตี ามลกั ษณะภมู อิ ากาศ ศกั ยภาพของภมู ิประเทศและทําเลที่ตั้งของแตล ะพื้นที่ ศักยภาพของศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวิถีชวี ิตของแตล ะพืน้ ที ศักยภาพของทรพั ยากรมนษุ ยในแตล ะพ้นื ท่ี และแนวคดิ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพอื่ สคู วามเขมแข็ง ศกึ ษาและฝกทกั ษะเก่ียวกบั ทักษะอาชพี ทตี่ อ งการพฒั นาอาชีพ ดงั นีค้ อื ความจําเปนในการฝกทักษะเพอื่ พัฒนาอาชพี กระบวนการผลติ กระบวนการตลาด ท่ีใชนวัตกรรมเทคโนโลยี ความหมาย ความสําคัญของการจดั การเพือ่ พฒั นา อาชีพ และระบบการจัดการเพื่อการพัฒนาอาชีพ ทีต่ ัดสินใจเลือก แหลง เรยี นรูในการฝก วิธกี ารฝก การตดั สินใจเลือกแหลง และวธิ กี ารฝก การบนั ทึกรายงานการฝกทักษะ การพฒั นาอาชพี โดยประยกุ ตใชภ ูมิปญญา ความหมาย ความสาํ คัญของการจัดทาํ และหรือปรบั ปรงุ การจดั การอาชพี การทําแผนธรุ กจิ แผนธุรกจิ เปน แผนแมบทในการประกอบอาชีพของทกุ คนในครอบครัว ชุมชนซ่ึงเปน กระบวนการในการระดมความคดิ จากการวิเคราะหชุมชนที่ กําหนดดวยวสิ ยั ทศั น พันธกิจ รายไดค านยิ มของชุมชน ตามศักยภาพ 5 ดานไดแก ศกั ยภาพของทรพั ยากรธรรมชาติในแตละพ้ืนที่ ศกั ยภาพของพ้ืนท่ีตามลักษณะ ภูมิอากาศ ศกั ยภาพของภูมิประเทศและทําเลทต่ี ้ังของแตล ะพน้ื ที ศักยภาพของศิลปะวัฒนธรรม ประเพณีและวิถชี ีวติ ของแตล ะพน้ื ท่ี ศักยภาพของทรัพยากรมนษุ ยใ นแต ละพนื้ ท่ี และแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เพอื่ สูความเขมแขง็ เปน ผลสําเร็จ โดยกําหนดเปาหมายและกลยุทธ การดําเนินงานที่จะดําเนนิ การไปตามแผนธรุ กจิ การจัดการความเสี่ยง เปนการวิเคราะหศ ักยภาพและจัดการเกีย่ วกบั ผลการดําเนนิ การในอดีตที่ผานมาในชวงระยะเวลา 2-3 ป จนถงึ ปจจุบัน เนนยอดขายของ ประเภทสินคา คาใชจ า ยตา งๆ ผลกําไร วิเคราะหค ูแขง ขัน วิเคราะหสวนครองตลาดสมั พันธ วเิ คราะหสมรรถนะของธรุ กิจ วิเคราะหส ภาวะแวดลอมภายในดานจุดแขง็ จดุ ออ น วเิ คราะหส ภาพแวดลอมภายนอกดานโอกาสและอุปสรรค วา ประเด็นใดจะ ทําใหเกิดความเสี่ยงในการประกอบอาชพี ตอ งจดั การแกป ญ หาความเสย่ี งนนั้ เพอ่ื ความ เขม แขง็ ในอาชีพ การจดั การการผลติ หรือการบรกิ าร เปน การจัดการเก่ยี วกบั การควบคุมคณุ ภาพใหไ ดมาตรฐานตามความตองการของตลาด การใชน วตั กรรม เทคโนโลยี การลด ตนทนุ การผลิต หรือการบริการ การจดั การการตลาด เปน การน าผลผลติ เขา สูตลาด ซ่ึงดําเนินการโดยการโฆษณา การประชาสัมพันธ การวจิ ัยตลาด การสงเสริมการขาย การจดั ทําขอมลู ฐาน ลูกคา ความสามารถกระจายสนิ คาใหถ งึ ลกู คา ปฏิบตั ิการ จดั ทาํ แผนและโครงการพัฒนาธุรกิจ

การจัดประสบการณการเรียนรู สํารวจ วิเคราะหทักษะทต่ี องการพฒั นาอาชีพแหลง ฝกและวธิ กี ารฝก กระบวนการผลิตกระบวนการตลาดที่ใชนวัตกรรม เทคโนโลยี การถอดบทเรียนจากการฝก ทักษะเพ่ือการพฒั นาอาชีพโดยประยุกตใชภ ูมิปญญา เปน การศกึ ษาปฏบิ ตั ิจริงดว ยการทําแผนธรุ กิจของชมุ ชน หรือของผเู รียนตาม ศกั ยภาพ 5 ดานไดแกศ กั ยภาพของทรพั ยากรธรรมชาติในแตล ะพน้ื ที่ ศักยภาพของ พ้นื ทตี่ ามลักษณะภมู ิอากาศ ศักยภาพของภูมิประเทศและทําเลทต่ี ัง้ ของแตละพ้นื ที่ ศกั ยภาพของศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณแี ละวถิ ีชีวิตของแตละพืน้ ที่ ศักยภาพของ ทรัพยากรมนุษยใ นแตล ะพนื้ ที่ และแนวคิดปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง การจัดการความเสย่ี ง การจดั การการผลิต การจดั การการตลาด อาจสรา งสถานการณจําลอง ข้ึนมาหรอื พาไปศกึ ษาของจริง เพ่ือฝกปฏบิ ตั แิ ละนาํ แผนปฏบิ ัติการตา งๆ เขา สูว ถิ ีชีวิต หรือดําเนนิ การจรงิ ตามวิถีชีวิต เพ่ือผูเรียนจะเกดิ ความรู ความสามารถในการบรหิ าร จดั การธุรกิจอยางแทจริง การวดั และประเมนิ ผล ประเมินจากสภาพจรงิ จากผลงานการเรียนรู และผลการเรียนรู การทาํ แผนงาน และโครงการพฒั นาอาชพี โดยการนาํ ภมู ปิ ญญาในชมุ ชนมาประยุกตใช

รายละเอียดคําอธบิ ายรายวชิ า อช 21002 ทักษะการพฒั นาอาชพี จํานวน 4 หนว ยกิต ระดับมัธยมศึกษาตอนตน มาตรฐานการเรยี นรรู ะดับ 1. มีความรู ความเขาใจทักษะในการพัฒนาอาชีพท่ีตัดสินใจเลือกบนพื้นฐานความรู กระบวนการผลิต กระบวนการตลาดท่ีใชนวัตกรรม เทคโนโลยีที่เหมาะสม และประยกุ ตใ ชภ มู ิปญญา 2. มคี วามรู ความเขาใจ และสามารถจัดทาํ แผนงานและโครงการธุรกิจ เพื่อพัฒนาอาชีพเขาสูตลาดการแขงขันตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือสู ความเขม แข็ง ที่ หวั เร่อื ง ตวั ชว้ี ัด เน้ือหา จํานวน 1 ทกั ษะในการพัฒนา (ชว่ั โมง) 1.อธบิ ายความจาํ เปนในการฝกทกั ษะ 1.ความจาํ เปน ในการฝกทกั ษะ กระบวนการผลิต อาชีพ กระบวนการผลิต กระบวนการตลาดทใ่ี ช กระบวนการตลาดท่ีใช นวัตกรรม เทคโนโลยเี พอื่ พัฒนา 80 นวตั กรรม เทคโนโลยี อาชีพ 2.อธบิ ายความหมาย ความสําคญั ของการจดั การ 2.ความหมาย ความสําคญั ของการจดั การอาชีพ อาชีพ และระบบการจดั การ เพอ่ื การพฒั นา อาชพี โดยประยุกตใ ชภูมิปญ ญา 3.สาํ รวจแหลง เรยี นรู และสถานทฝ่ี ก ทกั ษะใน 3.แหลงเรียนรู และสถานท่ีฝกอาชพี การพฒั นาอาชพี 4.วางแผนในการฝก ทกั ษะอาชพี โดยพัฒนาตอ 4.การวางแผนโดยกาํ หนดสงิ่ ตา งๆดังนี้ ยอด และประยกุ ตใชภมู ปิ ญญา - ความรแู ละทกั ษะท่ีตอ งฝก - วิธีการฝก - แหลง ฝก - วัน เวลาในการฝก ฯลฯ 5.ฝก ทักษะอาชีพตามแผนทกี่ าํ หนดไวไ ดโ ดยมี 5.การฝก ทักษะอาชพี การบันทึกขั้นตอนการฝก ทกุ ข้ันตอน - การจดบันทึก

ท่ี หวั เร่ือง ตัวชีว้ ัด เนอ้ื หา จาํ นวน (ชวั่ โมง) - ปญหาและการแกปญ หา - ขอเสนอแนะ 10 2 การทาํ แผนธุรกจิ 1.วเิ คราะหชุมชน 1.การวเิ คราะหชุมชน เพอื่ การพฒั นาอาชีพ โดยการระดมความคดิ เห็นของคนในชมุ ชน และ - จุดแข็ง 20 กําหนดวิสยั ทศั น พันธกจิ รายได คานยิ มของ - จุดออน ชมุ ชน เปา หมาย และกลยทุ ธ ตามแนวคิด - โอกาส ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง - อปุ สรรค 2.วางแผนปฏิบตั ิการ 2.การกาํ หนดวสิ ัยทศั นพ นั ธกิจ เปา หมาย และกลยทุ ธ ในการกําหนดแผนพัฒนาธุรกจิ ของชุมชน 3.การวางแผนปฏิบัตกิ าร 3 การจดั การความเสย่ี ง 1.วเิ คราะหศ กั ยภาพ และจัดการเก่ยี วกับผลการ 1.การวิเคราะหศ กั ยภาพ และการจัดการความเสี่ยงกบั ผล ดาํ เนนิ การในอดตี ที่ผานมา 2-3 ป จนถงึ ปจจุบัน การดําเนินงาน - ประเภทสนิ คา - คาใชจายตางๆ - ผลกาํ ไร - คแู ขงขนั - สวนครองตลาด - สมรรถนะของธุรกจิ - สภาวะแวดลอ มภายใน จดุ แข็ง จุดออน - สภาวะแวดลอ มภายนอกดานโอกาสและอุปสรรค 2. อธิบายวิธแี กป ญหาความเส่ยี งเพือ่ ความมน่ั คง 2.การแกป ญหาความเสยี่ ง ของอาชพี 3.สามารถวางแผนปฏบิ ัตกิ าร 3.การวางแผนปฏบิ ตั กิ าร

ท่ี หวั เร่อื ง ตวั ชี้วัด เน้อื หา จาํ นวน (ชวั่ โมง) 4 การจัดการการผลิต/ 1.จดั การเก่ียวกบั การควบคุมคณุ ภาพ 1.การจัดการเกี่ยวกบั การควบคมุ คุณภาพ บริการ 2.อธบิ ายวิธกี ารใชน วตกรรมเทคโนโลยใี นการ 2.การใชนวตกรรม/เทคโนโลยีในการผลิต 10 ผลติ 3.การลดตน ทุนการผลิตหรอื การบริการ 10 3.อธบิ ายขั้นตอนการลดตน ทุนการผลิตหรือการ 4.การจัดทําแผนปฏบิ ตั ิการ บริการ 20 4.จดั ทาํ แผนการผลิตหรือการบรกิ าร 10 5 การจดั การการตลาด 1.จัดการการตลาดเพ่ือนาํ ผลผลิตเขา สตู ลาด 1.การจัดการการตลาด - การโฆษณา - การประชาสมั พนั ธ - การวิจัยตลาด - การสง เสริมการขาย - การทําขอ มูลฐานลูกคา - การกระจายสนิ คา 2.สามารถจัดทําแผนการจัดการการตลาด 2.การจัดทําแผนปฏบิ ัติการ 6 การขับเคลือ่ นเพ่อื 1.วิเคราะหค วามเปนไปไดของแผนพัฒนาธรุ กิจ 1.การวิเคราะหความเปนไปไดของแผนพัฒนาอาชพี พฒั นาธรุ กจิ 2.พฒั นาแผนพัฒนาอาชพี 2.การพัฒนาแผนพัฒนาอาชีพ 3.ขน้ั ตอนการขับเคลื่อนแผนพัฒนาอาชพี 3.ขนั้ ตอนการขบั เคล่อื นแผนพฒั นาอาชีพ 4.อธิบายปญหา อปุ สรรค และแนวทางแกไ ขที่ 4.ปญหา อุปสรรค และแนวทางแกไขทเ่ี กิดจากการ เกิดจากการขบั เคลื่อนแผนธุรกจิ ขับเคลื่อนแผนธุรกิจ 7 โครงการพัฒนาอาชีพ 1.อธบิ ายความสําคัญของการทําโครงการพฒั นา 1.ความสาํ คญั ของโครงการพัฒนาอาชีพ อาชีพ 2.เขยี นโครงการ 2.ขน้ั ตอนการเขยี นโครงการ 3.เขยี นแผนปฏบิ ัตกิ าร 3.การเขยี นแผนปฏิบัตกิ าร 4.ตรวจสอบโครงการไดถ ูกตอง และเหมาะสม 4.การตรวจสอบโครงการ

คาํ อธบิ ายรายวชิ า ทช 21002 สุขศึกษา พลศึกษา จํานวน 2 หนวยกติ ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน มาตรฐานการเรยี นรูระดบั รู เขา ใจ มคี ุณธรรม จริยธรรมและเจตคติทด่ี ี มีทักษะในการดูแล และสรา งเสรมิ การมพี ฤตกิ รรมสุขภาพทีด่ ี ปฏิบัตจิ นเปน กิจนิสยั หลีกเลีย่ งพฤติกรรมเส่ยี งตอ สขุ ภาพ ตลอดจนสง เสรมิ สขุ ภาพพลานามยั และสภาพ แวดลอมท่ีดีในชุมชน ศึกษา ฝก ปฏบิ ตั ิ และประยกุ ตใช สขุ ศึกษา พลศกึ ษา ดงั น้คี ือ สขุ ศกึ ษา พลศึกษา เกย่ี วกับเร่ืองพฒั นาการของรางกาย ความสมั พันธในครอบครวั และชุมชน สุขภาพทางเพศ สารอาหาร สุขภาพกาย โรคระบาด ยาแผนโบราณ และสมุนไพร การปองกันสารเสพติด อันตรายจากการประกอบอาชีพ ทักษะชีวิตเพื่อการส่ือสาร เพ่ือใหมีความรู ความเขาใจ มีเจตคติที่ดี และสามารถดูแลสุขภาพ พลานามัย สรา งเสริมพฤตกิ รรมสุขภาพท่ีดี มสี รรถภาพทางกายและทางจติ ปอ งกนั โรคได ปฏบิ ตั ิเปนกจิ นิสยั ดาํ รงสุขภาพท่ีดีและประยุกตใชในการดําเนินชีวิตของตนเอง ครอบครัว ชุมชนไดอยา งเหมาะสม ปลอดภัย มีความสุข มสี วนรว มในการสงเสรมิ สุขภาพ พลานามยั และส่งิ แวดลอ มทีด่ ใี นชุมชน การจัดประสบการณการเรียนรู ศึกษาเอกสาร ส่ือทุกประเภท วิเคราะห อภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู ศึกษาจากสภาพจริง สาธิต ทดลองฝกปฏิบัติ คนควา สรุป บันทึก ตรวจสอบ การ ประเมินตนเอง จัดทําชิ้นงาน/ผลงาน จดั แสดงนทิ รรศการ ศกึ ษาดูงาน กิจกรรมคาย ฯลฯ การวัดและประเมินผล ประเมนิ ความรู ความเขา ใจ ตรวจสอบ ชนิ้ งาน/ผลงานและประเมนิ การปฏบิ ตั ิจรงิ โดยวธิ กี ารทดสอบ สังเกต สมั ภาษณ ประเมนิ สภาพจรงิ มาตรฐานการเรยี นรูระดับ รู เขาใจ มีคุณธรรม จริยธรรมและเจตคติท่ีดี มีทักษะในการดูแล และสรางเสริมการมีพฤติกรรมสุขภาพท่ีดี ปฏิบัติจนเปนกิจนิสัย หลีกเลี่ยงพฤติกรรมเส่ียงตอ สขุ ภาพ ตลอดจนสง เสรมิ สขุ ภาพพลานามยั และสภาพ แวดลอมทีด่ ใี นชุมชน

รายละเอยี ดคําอธิบายรายวชิ า ทช 21002 สขุ ศึกษา พลศกึ ษา จาํ นวน 2 หนว ยกติ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน ท่ี หัวเรือ่ ง ตัวชวี้ ัด เนื้อหา จาํ นวน 1 พัฒนาการของ 1.อธบิ ายโครงสรา ง หนาท่ี และการทาํ งาน 1.โครงสรา ง หนาท่ี การทาํ งาน และการดแู ลรักษาระบบ (ชั่วโมง) ของระบบอวยั วะสาํ คัญของรา งกาย 5 ระบบ ตางๆท่สี าํ คญั ของรา งกาย 5 ระบบ รางกาย ไดอ ยางถูกตอ ง 10 2.ปฏบิ ตั ติ นในการดูแลรักษาและปองกัน -ระบบผิวหนัง 20 2 การดแู ลรักษา อาการผิดปกติของระบบอวยั วะสาํ คญั 5 -ระบบกลามเนือ้ สุขภาพ ระบบไดอ ยางถกู ตอ ง -ระบบกระดกู -ระบบไหลเวียนโลหติ 3. อธบิ ายพฒั นาการและการ -ระบบหายใจ เปลยี่ นแปลงตามวัยของมนุษย 2. พัฒนาการและการเปลยี่ น แปลงตามวัยดา นรางกาย ดา นรา งกาย จติ ใจ อารมณ จติ ใจ อารมณ สงั คม สติปญ ญา สงั คม สติปญญาไดอ ยา ง - วัยทารก ถูกตอ ง - วยั เด็ก 1. อธิบายประโยชนของการออกกําลงั กาย - วัยรนุ และโทษของการขาดการออกกําลงั กาย - วัยผใู หญ 2. อธบิ ายรปู แบบและวธิ ีการออกกําลงั กาย เพื่อสขุ ภาพ - วยั ชรา 1. หลักการดแู ลสุขภาพเบื้องตน การดแู ลสุขภาพตามหลัก 5 อ ไดแก อาหาร อากาศ อารมณ อจุ จาระ อนามยั 2. การออกกําลงั กาย รูปแบบ และวิธกี ารออกกาํ ลังกายเพอ่ื สขุ ภาพ - ประโยชนแ ละโทษของ การออกกาํ ลังกาย

ท่ี หัวเร่อื ง ตวั ชว้ี ัด เน้อื หา จาํ นวน 3 สารอาหาร (ชว่ั โมง) - รูปแบบและวิธกี ารออกกําลงั กายเพื่อสขุ ภาพ - การเดนิ เรว็ 10 - การวงิ่ เหยาะ - การขจี่ ักรยาน - การเลนโยคะ - เตน แอโรบคิ - วา ยน้ํา ฯลฯ 3. ระบุการเปลีย่ นแปลงเมือ่ เขาวัยหนมุ สาว 3. สุขภาพทางเพศ - การคุมกาํ เนิด - การทองไมพรอ ม - การทาํ แทง - การติดเช้อื HIVS 4. อธิบายวิธกี ารหลกี เลย่ี งพฤตกิ รรมท่ีนาํ ไปสู 4. พฤติกรรมท่ีนาํ ไปสูการลว งละเมดิ ทางเพศ การมี การมีเพศสมั พันธ การลว งละเมดิ ทางเพศและ เพศสมั พันธ และการตงั้ ครรภท ่ไี มพงึ ประสงค การตง้ั ครรภท่ไี มพงึ ประสงค - การเปล่ยี นแปลงเม่ือเขาสวู ยั หนมุ สาว 5. อธบิ ายวิธีการดูแลสุขภาพทางเพศท่ี - การปองกันและหลีกเลย่ี งพฤติกรรมเสยี่ งตอการลวง เหมาะสมและไมทาํ ใหเ กิดปญ หาทางเพศ ละเมิดทางเพศและการตั้งครรภ ท่ไี มพึงประสงค 1. วิเคราะหป ญ หาสขุ ภาพที่เกดิ จากการ 1. ปญ หาสขุ ภาพที่เกิดจากการบริโภคอาหารไมถ ูกหลัก บรโิ ภคอาหารที่ไมถ ูกหลักโภชนาการ โภชนาการ - ภาวะทพุ โภชนาการ - ภาวะโภชนาการเกนิ อาหาร 2. บอกปรมิ าณสารอาหารทร่ี า งกายตอ งการ 2. ปริมาณความตอ งการ

ที่ หวั เร่ือง ตัวชี้วัด เนอ้ื หา จาํ นวน (ชั่วโมง) ตามเพศ วัย และสภาพรางกาย สาร อาหารตาม เพศ วยั และ 3. อธิบายวิธกี ารประกอบอาหารเพอ่ื รกั ษา สภาพรา งกาย 6 คณุ คาของสารอาหาร 3. วธิ ีการประกอบอาหารเพอื่ คงคุณคาของสารอาหาร 6 4 โรคระบาด อธิบายสาเหตุ อาการ การปอ งกันและการ สาเหตุ อาการ การปองกนั และการรกั ษาโรคทีเ่ ปนปญ หา 6 รกั ษา โรคท่ีเปนปญหาตอ สุขภาพไดอ ยาง สาธารณสขุ ถูกตอ ง - โรคไขเลอื ดออก - โรคมาลาเรยี - โรคไขห วัดนก โรคซาร - โรคอหวิ าตกโรค ฯลฯ 5 ยาแผนโบราณและ 1. บอกหลกั และวิธกี ารใชย าไดอยา งถกู ตอ ง 1. หลกั และวธิ กี ารใชยา สมนุ ไพร 2. อธิบายอันตรายจากการใชย าประเภท - ยาแผนโบราณ ตา งๆไดอ ยา งถูกตอ ง - ยาสมนุ ไพร 2. อันตรายจากการใชยา 6 การปองกนั สารเสพ 1.อธบิ ายปญหา สาเหตุ ประเภทและชนิด 1. ปญ หา สาเหตุ ประเภท และชนดิ ของสารเสพติด และ ตดิ ของสารเสพตดิ และการปองกันแกไ ข การปอ งกันแกไข 2. บอกลกั ษณะอาการของ 2. ลักษณะอาการของผตู ิด ผูตดิ สารเสพติด สารเสพติด 3. อธิบายอันตราย วิธีการปอ งกนั และ 3. อันตราย การปอ งกันและการหลีกเลีย่ งพฤติกรรมเส่ยี ง หลีกเล่ียงพฤตกิ รรมเสย่ี งตอสารเสพติด ตอ สารเสพตดิ

7 อุบตั ิเหตุ อุบัตภิ ัย 1. อธิบายปญ หา สาเหตุของการเกดิ อุบัตเิ หตุ 1. ปญหา สาเหตุของการเกดิ อุบัติเหตุ อบุ ัติภัย และภยั 12 อุบตั ิภยั และภยั ธรรมชาติ ธรรมชาติ 10 2. วเิ คราะหพฤติกรรมเสย่ี งท่จี ะนาํ ไปสคู วาม 2. การปองกนั อนั ตรายและหลีกเล่ียงพฤตกิ รรมเสีย่ งท่ี ไมปลอดภยั ในชวี ติ และทรพั ยส ิน จะนาํ ไปสคู วามไมปลอดภยั จากอบุ ัติเหตุ อุบัติภยั และภัย ธรรมชาติ 3. เทคนิค วิธีการขอความชวยเหลอื และการเอาชีวิตรอด 3. บอกเทคนิค วธิ กี ารขอความชวยเหลือและ เมือ่ เผชญิ อันตรายและสถานการณค ับขัน การเอาชีวิตรอดเม่ือเผชญิ อันตรายและสถาน 4. การปฐมพยาบาลเมอ่ื ไดรบั อนั ตรายจากอุบัติเหตุ การณค บั ขันไดอ ยา งเหมาะสม อุบตั ภิ ยั และภยั ธรรมชาติ 4. อธบิ ายวิธกี ารปฐมพยาบาลเมอื่ ไดร บั อนั ตรายจากอุบัตเิ หตุ อบุ ัติภัยไดอยางถกู ตอ ง 8 ทักษะชีวิตเพอื่ การ 1. บอกความหมายและความสําคัญของ 1. ความหมาย ความสําคญั ของทกั ษะชีวติ 10 สื่อสาร ทกั ษะชวี ิต (Life Skill) ไดท ้งั 10 ประการ ประการ 2. บอกทักษะชวี ิตที่จําเปนไดอยางนอย 3 ประการ 2.ทกั ษะชีวิตท่ีจาํ เปน 3ประการ - ทกั ษะการสอ่ื สารอยา งมปี ระสิทธิภาพ - ทกั ษะการสรา งสมั พันธภาพระหวา งบุคคล 3. ประยุกตใชกระบวนการทกั ษะชีวิตในการ - ทักษะในการเขาใจและเห็นใจผอู ่นื ดําเนินชวี ิตไดอ ยา งเหมาะสม 4. แนะนาํ ผูอืน่ ในการนาํ ทักษะการแกป ญหา ในครอบครวั และการทาํ งาน

คาํ อธิบายรายวชิ า การพัฒนาแผนและโครงการอาชีพ รหัส อช 22001 จํานวน 3 หนวยกิต ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน มาตรฐาน ท่ี 3.4 มีความรู ความเขา ใจในการศกึ ษาอาชีพใหม ีความมัน่ คง ศึกษาและฝกปฏบิ ัติ ทกั ษะทเี่ กี่ยวกบั เรอื่ งตอไปนี้ ศึกษา วเิ คราะหแผนและโครงการพัฒนาอาชีพใหม ีความเขมแขง็ ทบทวนองคความรใู นอาชีพ ทักษะในอาชีพที่ตอ งฝก เพ่มิ เตมิ วิเคราะหผลติ ภัณฑท้งั ดานความตอ งการ และคุณภาพ ระบบการจัดการดานการผลิต การจัดการ การตลาด ระบบบัญชี ประเมินผลการประกอบอาชีพ พฒั นาแผนปฏบิ ัตกิ ารเพ่ือพฒั นาอาชพี ให มรี ายได และเหลือเงินออมตามศักยภาพ การจดั ประสบการณการเรียนรู เนน การศึกษา วเิ คราะหการพฒั นาแผนและโครงการอาชีพเพอ่ื ใหม คี วามเขม แขง็ มรี ายได และเหลือเงนิ ออมตามศักยภาพ การวัดและประเมนิ ผล ประเมินจากแผนและโครงการพฒั นาอาชพี ทีไ่ ดรับการพฒั นามาจากการปฏบิ ตั กิ ารศึกษา วเิ คราะหเพื่อใหม คี วามเขมแขง มีรายได และเหลือเงินออมตาม ศักยภาพวเิ คราะหแ ผนและโครงการพัฒนาอาชีพ

รายละเอยี ดคําอธิบายรายวิชา การพัฒนาแผนและโครงการอาชพี รหัส อช 22001 จํานวน 3 หนวยกิต ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน มาตรฐาน ที่ 3.4 มคี วามรู ความเขา ใจในการศึกษาอาชีพใหมีความมั่นคง ท่ี หัวเรอื่ ง ตัวชี้วัด เน้อื หา จํานวน (ชั่วโมง) 1 การวเิ คราะหแผน 1. วเิ คราะหเหตุผลของแผนและโครงการ 1. ความสมั พันธของเหตุผลของแผนและโครงการสัมพันธ และโครงการพัฒนา สัมพันธตอ การมีรายไดแ ละเหลือเงนิ ออม ตอ การมรี ายไดแ ละเหลือเงินออม 20 อาชพี ใหมีรายได 2. วเิ คราะหเ ปา หมายของแผนและโครงการ 2. ความสัมพนั ธข องเปาหมายของแผนและโครงการกบั 20 และเหลอื เงินออม สัมพันธตอการมีรายไดแ ละเหลือเงนิ ออม การมรี ายไดและเหลือเงินออม 20 ตามศักยภาพ 3. วิเคราะหว ัตถุประสงคข องแผนและ 3. ความสมั พันธของวัตถปุ ระสงคข องแผนและโครงการ 20 โครงการสมั พนั ธต อการมรี ายได และเหลือ กับการมรี ายไดแ ละเหลอื เงินออม เงินออม 4. ความสัมพนั ธของวธิ กี ารและขั้นตอนของแผนและ 20 4. วิเคราะหวิธกี ารและขนั้ ตอนของแผนและ โครงการกบั การมีรายไดและเหลอื เงนิ ออม 20 โครงการสัมพันธตอการมีรายได และเหลอื เงนิ ออม 2 การทบทวนองค 1. ทบทวน ระบุความรูท่จี ําเปนตองใชในการ 1. การทบทวนองคค วามรูที่จําเปนตองใชในการเรียนรู ความรทู ีจ่ าํ เปน ตอ เรียนรพู ัฒนาอาชพี ใหม รี ายได และเหลือเงิน 2. การจัดลําดบั ความสําคัญ/จาํ เปน ขององคความรู การพัฒนาอาชีพตอ ออม การมีรายไดและ 2. จัดลําดับความสําคัญจาํ เปน ของความรทู ี่ เหลือเงนิ ออม ใชในการเรยี นพฒั นาอาชพี ใหม ีรายได และ เหลอื เงนิ ออม

คาํ อธิบายรายวชิ า สค ๒๒๐๑๖ การเงนิ เพื่อชีวติ ๒ จํานวน ๓ หนวยกติ (๑๒๐ชั่วโมง) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน มาตรฐานการเรียนรรู ะดับ มคี วามรคู วามเขาใจตระหนกั เกี่ยวกบั ภูมิศาสตรป ระวัตศิ าสตรเ ศรษฐศาสตรการเมอื งการปกครองในทวีปเอเชียและนํามาปรับใชในการดาํ เนนิ ชวี ติ เพื่อความ ม่ันคงของชาติ ศกึ ษาและฝกทักษะเก่ยี วกับเรื่องดังตอไปน้ี ๑. วาดว ยเร่ืองของเงนิ ความหมายและประโยชนประเภทของเงนิ เงนิ ฝากและการประกันภัยการชําระเงนิ ทางอิเล็กทรอนกิ สโ ครงสรา งระบบสถาบนั การเงินของประเทศไทย ๒. การวางแผนทางการเงนิ การรจู ักฐานะการเงนิ ของตนเองบนั ทกึ รายรับ-รายจา ยเปาหมายการเงนิ ในชีวิตการออม ๓. สนิ เชอ่ื ความหมายของสนิ เชอ่ื ลกั ษณะของสินเชื่อรายยอ ยประเภทและการคาํ นวณดอกเบี้ยเงนิ กวู ิธกี ารปอ งกันปญหาหนเี้ ครดิตบโู รวธิ กี ารแกไขปญหาหนี้ หนว ยงานท่ใี หค าํ ปรึกษาเรอ่ื งวิธแี กไ ขปญหาหนี้ ๔. สทิ ธแิ ละหนา ที่ของผใู ชบริการทางการเงนิ สิทธขิ องผใู ชบ ริการทางการเงนิ ๔ประการหนาทข่ี องผูใชบ รกิ ารทางการเงิน 5 ประการรูจ กั ศูนยค ุมครองผูใชบริการทางการเงิน (ศคง.) และหนว ยงานท่รี ับ ทรี่ ับเรื่องรองเรียนอน่ื ๆการเขยี นหนงั สือรองเรียนและขั้นตอนที่เกีย่ วของ ๕. ภยั ทางการเงนิ ลักษณะการปองกันตนเองและการแกป ญ หาภัยทางการเงนิ การจัดประสบการณการเรยี นรู ๑. จดั กลุมอภิปรายในเน้อื หาท่ีเก่ียวของ ๒. ศกึ ษาจากเอกสารและสื่อทกุ ประเภทที่เกย่ี วของเว็บไซตข องธนาคารแหง ประเทศไทยและเวบ็ ไซตข องศคง. ๓. จดั ทาํ โครงการนิทรรศการฐานการเรียนรู ๔. เชญิ วทิ ยากรผูร มู าใหความรูเก่ยี วกับการกอหน้ีอยา งเหมาะสมและการวางแผนการเงนิ ในชวี ิต การวัดและประเมินผล ๑. สงั เกตพฤติกรรมระหวางการเรยี นรู ๒. วดั ความรูจากการทํากิจกรรมใบงาน ๓. การวดั ผลสัมฤทธิ์ปลายภาค

คําอธิบายรายวชิ า สค ๒๒๐๑๖ การเงินเพือ่ ชีวิต ๒ จาํ นวน ๓ หนว ยกติ (๑๒๐ ชว่ั โมง) ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน มาตรฐานการเรยี นรรู ะดบั มีความรคู วามเขาใจตระหนักเกี่ยวกับภูมศิ าสตรประวัติศาสตรเ ศรษฐศาสตรการเมืองการปกครองในทวีปเอเชยี และนาํ มาปรับใชในการดาํ เนินชวี ิตเพื่อความ มนั่ คงของชาติ ที่ หัวเรื่อง ตัวชวี้ ัด เนอื้ หา จํานวน ๑ วา ดว ยเร่ืองของเงิน ๑. อธิบายความหมายและประโยชนข องเงิน ๑. ความหมายและประโยชนของเงนิ ช่ัวโมง ๒. บอกความหมายและความแตกตางของการใหเ งนิ ๒. ความหมายความแตกตางของการใหเงนิ และการใหย ืม ๒๔ ๑.๑ความหมายและประโยชน และการใหย ืมเงนิ เงนิ ๑. บอกประเภทและลักษณะของเงินไทย ๑. เงินไทย ๑.๒ประเภทของเงนิ ๒. อธิบายวิธีการตรวจสอบธนบตั ร - ธนบัตร ๓. บอกสกุลเงินของประเทศในทวปี เอเชยี - เหรยี ญกษาปณ ๔. คํานวณอตั ราแลกเปล่ียนเงินตราตางประเทศ ๒. เงินตราตางประเทศ ๕. บอกชองทางการแลกเปลยี่ นเงินตราตางประเทศ - สกุลเงนิ ของประเทศในทวีปเอเชีย - อตั ราการแลกเปลยี่ นและวธิ ีการคํานวณอตั ราแลกเปลี่ยน เงนิ ตรา ตา งประเทศ - ชองทางการแลกเปลี่ยนเงนิ ตราตา งประเทศ

ท่ี หัวเรอื่ ง ตัวชีว้ ัด เนือ้ หา จาํ นวน ๑.๓ เงินฝาก และการ ชว่ั โมง ประกันภยั ๑. บอกลกั ษณะบัญชเี งนิ ฝากแตละประเภท ๑. ประเภท ลกั ษณะประโยชน ขอจํากดั ของการฝากเงนิ ๒. บอกประโยชนแ ละขอจาํ กัดการฝากเงนิ ประเภท - บญั ชีเงนิ ฝากออมทรัพย ๑.๔ การชําระเงินทาง ตา ง ๆ - บัญชีเงนิ ฝากประจาํ อเิ ล็กทรอนิกส ๓. บอกความหมายของดอกเบ้ยี เงินฝาก - บัญชเี งินฝากประจํารายเดือนปลอดภาษี ๑.๕โครงสรางระบบสถาบัน ๔. คาํ นวณดอกเบย้ี เงนิ ฝากอยา งงา ย - สลากออมทรัพย/สลากออมสนิ การเงินของประเทศไทย ๕. บอกความหมายของการคมุ ครองเงินฝาก ๒. ความหมายและวิธีการคาํ นวณดอกเบ้ยี เงนิ ฝาก ๖. บอกประเภทของเงินฝากทไ่ี ดร บั การคมุ ครอง ๓. การคุมครองเงนิ ฝาก ๗. อธบิ ายความหมายและประโยชนข องการ ๔. การประกนั ภัย ประกนั ภยั ๘. บอกประเภท และลกั ษณะการประกันภัยแตละ ๑ ความหมาย และประโยชนข องการชําระเงนิ ทาง ประเภท อิเล็กทรอนิกส ๑. บอกความหมาย และประโยชนข องการชําระเงิน ๒. ลกั ษณะของบัตร ATMบัตรเดบิต บตั รเครดิต ทางอเิ ล็กทรอนกิ ส ๑. โครงสรางระบบสถาบนั การเงินของประเทศไทย ๒. บอกลกั ษณะของบตั ร ATMบตั รเดบติ บัตรเครดติ ๒. สถาบันการเงินและหนว ยงานอน่ื ภายใตก ารกํากับของ ๓. เปรียบเทยี บความแตกตางบตั ร ATM บัตรเดบิต ธนาคารแหงประเทศไทย บตั รเครดติ - ประเภท ๑. บอกโครงสรางระบบสถาบันการเงินของ - บทบาทหนาที ประเทศไทย ๒. บอกประเภทของสถาบนั การเงินและหนว ยงานอน่ื ภายใตก ารกํากบั ของธนาคารแหง ประเทศไทย ๓. อธิบายบทบาทหนา ท่ีของสถาบนั การเงนิ และ หนว ยงานอน่ื ภายใตการกํากบั ของธนาคารแหง ประเทศไทย

ที่ หัวเรอ่ื ง ตัวชว้ี ัด เนอื้ หา จาํ นวน ๒ การวางแผนการเงิน ๑. อธิบายหลักการประเมนิ ฐานะการเงิน ๑. หลักการประเมนิ ฐานะทางการเงนิ ของตนเองโดย ชว่ั โมง ๒. คาํ นวณฐานะการเงนิ ของตนเอง คาํ นวณจาํ นวนและอตั ราสวนดงั น้ี ๓๕ ๒.๑การรจู กั ฐานะการเงิน ๓. อธบิ ายลักษณะของการมีสุขภาพการเงินทดี่ ี - ความมั่งค่ังสทุ ธิ ของตนเอง ๔. ประเมนิ สขุ ภาพการเงินของตนเอง - อัตราสวนภาระหน้ีสินตอ รายได (ตอเดือน) - จํานวนเงนิ ออมเผอื่ ฉกุ เฉิน ๒.๒บันทกึ รายรบั -รายจาย ๑. บอกความแตกตางของ - อตั ราสวนเงินออมตอรายได (ตอเดือน) “ความจาํ เปน” และ “ความ ๒. การมีสขุ ภาพการเงินท่ีดี ตองการ” - ความหมาย ๒. จัดลําดับความสาํ คัญของ - ลกั ษณะการมีสุขภาพการเงินทด่ี ีไดแก รายจา ย - มีภาระชําระหนไี มเ กิน ๑ใน๓ของรายไดต อ เดอื น - ออมอยา งนอย ๑ใน ๔ ของรายไดต อ เดอื น - มเี งินออมเผือ่ ฉกุ เฉนิ ประมาณ๖ เทาของรายจา ย จําเปนตอ เดอื น ๑. ความหมายของความจาํ เปน และความตอ งการ ๒. การจดั ลําดับความสําคัญของรายจา ย ๓. ลักษณะและประโยชนข องบันทกึ รายรบั -รายจาย ๔. วิธบี ันทึกรายรับ-รายจาย

ท่ี หวั เร่อื ง ตวั ชวี้ ัด เน้อื หา จํานวน ๑. ประโยชนของการมเี ปาหมายการเงนิ ในชีวิต ชวั่ โมง ๓. บอกลักษณะของการบันทึกรายรับ-รายจาย ๒. เปา หมายการเงินที่ควรมีในชวี ิต ๔. บอกประโยชนของการบนั ทกึ รายรบั -รายจา ย ๓. ประเภทของเปาหมายการเงนิ ๕. จดบันทึกรายรบั -รายจาย - ระยะสั้น (ไมเกิน๑ป) ๒.๓เปา หมายการเงินในชีวิต ๑. บอกประโยชนของการมเี ปา หมายการเงินในชวี ติ - ระยะกลาง (๑ – ๓ป) ๒. บอกเปาหมายการเงินท่ีควรมีในชวี ิต - ระยะยาว (มากกวา ๓ป) ๓.อธิบายวิธีการตงั้ เปาหมายการเงนิ ตามหลกั SMART ๔. วิธีการตัง้ เปา หมายการเงินตามหลกั SMART ๔. วางแผนการเงินตามเปาหมายท่ีตั้งไว ๕. การวางแผนการเงนิ ใหเปน ไปตามเปา หมายทีต่ ั้งไว ๑. ความหมายและประโยชนของการออม ๒.๔การออม ๑. อธิบายความหมายและประโยชนของการออม ๒. เปา หมายการออม ๒. ต้งั เปาหมายการออม ๓. หลกั การออมใหสําเร็จ ๓. บอกหลกั การออมใหสาํ เรจ็ ๔. ความรูเบอ้ื งตน เกี่ยวกับกองทนุ การออมแหง ชาติ ๔. อธบิ ายบทบาทหนา ที่และหลกั การของกองทุนการออม (กอช.) แหงชาติ (กอช.)

ท่ี หวั เรือ่ ง ตัวชว้ี ัด เนอ้ื หา จํานวน ๓ สนิ เชอื่ ๑. บอกความหมายของ “หน้ดี ี”และ “หน้ีพึงระวงั ” ช่วั โมง ๒. บอกลักษณะของสินเช่อื รายยอ ย ๑. การประเมนิ ความเหมาะสมกอนตดั สนิ ใจกอหน้ี ๓๖ ๔ สทิ ธแิ ละหนาทข่ี อง ๓. บอกประเภทดอกเบย้ี เงนิ กู ๒. ลักษณะของสนิ เช่ือรายยอ ยและการคาํ นวณดอกเบยี้ ผูใชบริการทางการเงิน ๔. คาํ นวณดอกเบี้ยเงินกู ๓. เครดิตบโู ร ๕. บอกความหมายและบทบาทหนา ท่ีของเครดิตบูโร ๔. วธิ กี ารปอ งกันปญ หาหน้ี ๖. บอกวิธีการตรวจสอบขอ มูลเครดิตของตนเอง ๕. วธิ กี ารแกไขปญหาหนี้ ๗. บอกวธิ กี ารปอ งกันปญ หาหน้ี ๖. หนวยงานทีใ่ หคําปรึกษาเก่ียวกบั การแกไขปญ หาหน้ี ๘. บอกวิธีการแกไขปญ หาหน้ี ๙. บอกหนวยงานท่ีใหคาํ ปรึกษาเร่อื งวิธีแกไ ขปญ หาหนี้ ๑. บอกสทิ ธิของผใู ชบรกิ ารทางการเงนิ ๑. สิทธขิ องผูใชบ รกิ ารทางการเงนิ ๑๐ ๒. บอกหนา ที่ของผูใชบ ริการทางการเงนิ - ไดร ับขอมลู ท่ีถกู ตอ ง ๓. บอกบทบาทหนา ท่ีของศนู ยค ุมครองผูใชบริการทางการ - เลือกใชผลิตภัณฑและบริการไดอยางอิสระ เงิน (ศคง.) และหนว ยงานที่รบั เรอ่ื งรองเรียนอน่ื ๆ - รอ งเรียนเพือ่ ความเปนธรรม ๔. บอกขัน้ ตอนการรองเรยี น - ไดร บั การพิจารณาคาชดเชยหากเกิดความเสียหาย ๕. บอกหลกั การเขยี นหนังสอื รองเรียน ๒. หนาทีข่ องผูใ ชบ ริการทางการเงนิ - วางแผนการเงิน - ตดิ ตามขอมูลขา วสารทางการเงินอยางสม่ําเสมอ - เขาใจรายละเอียดและเปรียบเทยี บขอมูลกอนเลือกใช - ตรวจทานความถูกตองของธุรกรรมทางการเงนิ ทุกครง้ั - เมอ่ื เปนหนี้ตองชาํ ระหน้ี

ท่ี หัวเรอื่ ง ตัวชี้วัด เนื้อหา จาํ นวน ๕ ภยั ทางการเงนิ ๑. บอกประเภทและลักษณะของภยั ทางการเงนิ ๓. บทบาทศูนยคมุ ครองผใู ชบริการทางการเงิน ชั่วโมง ๒. บอกวธิ ีการปอ งกนั ตนเองจากภยั ทางการเงิน (ศคง.) และหนวยงานทีร่ บั เรอื่ งรอ งเรยี นอน่ื ๆ ๑๕ ๓. บอกวธิ ีการแกป ญหาท่เี กิดจากภยั ทางการเงิน ๔. ขัน้ ตอนการรองเรยี นและการเขียนหนงั สือรอ งเรยี น ๑. ประเภทลักษณะการปองกนั ตนเองและการแกไ ข ปญ หาของภัยทางการเงิน - หนน้ี อกระบบ - แชรลูกโซ - ภยั ใกลต วั เชน การหลอกลวงใหจายเบี้ยประกนั งวดสุดทายตกทอง /ลอ็ ตเตอรป่ี ลอม - แกงคอลเซ็นเตอร - ภัยออนไลน (ท่ีไมใ ชธ นาคารออนไลน) เชน ภยั ทมี่ าทางสอ่ื สังคมออนไลน

ตารางวิเคราะหห ลกั สตู ร 1. คณติ ศาสตร (พค 21001) 2. ทักษะการพัฒนาอาชีพ (อช 21001) 3. สุขศึกษา พลศึกษา (ทช 21002) 4. การพฒั นาแผนและโครงการอาชีพ (อช 22001) 5. การเงินเพอื่ ชีวิต 2 (สค 22016) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน ภาคเรยี นที่ 2 ปการศกึ ษา ๒๕6๓ หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551

ตารางวเิ คราะหห ลกั สูตร ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน ภาคเรยี นท่ี 2 ปก ารศกึ ษา 256๓ สาระความรพู น้ื ฐาน รายวชิ า คณติ ศาสตร รหัส พค 21001 จาํ นวน 160 ชั่วโมง 4 หนวยกติ วิเคราะหเน้ือหา วิธกี ารจดั การเรียน เนื้อหา งาย ยาก เนื้อหา กรต. ครสู อน สอนเสรมิ โครงงาน จาํ นวน ยากมาก ลกึ ซึ้ง ชวั่ โมง จาํ นวนและการดาํ เนินการ  (4) (1) 5 1. จาํ นวนเตม็ บวก จาํ นวนเต็มลบ และศนู ย (4 (1) 5 2. การเปรียบเทียบจํานวนเตม็  (0.30) (0.30) 1 3. การบวก ลบ คณู และหารจาํ นวนเต็ม  (0.30) (0.30) 1 4. สมบตั ขิ องจํานวนเต็มและการนาํ ไปใช  3 1 เศษสวนและทศนิยม   (2.30) (0.30) 1 1. ความหมายของเศษสวนและทศนยิ ม   (0.30) (0.30) 2 2. การเขยี นเศษสวนดว ยทศนยิ ม และการเขียนทศนิยม 3 ซํ้าเปน เศษสว น 1 3. จํานวนเฉพาะและตวั ประกอบเฉพาะ   (0.30) (0.30) 4. การเปรียบเทียบเศษสวนและทศนิยม   (1.30) (0.30) 5. การบวก ลบ คูณ หารเศษสว นและทศนิยม   (2.30) (0.30) 6. โจทยป ญหาหรือสถานการณเกีย่ วกับการบวก ลบ คณู   (0.30) (0.30) หารเศษสว นและทศนยิ ม

เน้ือหา วเิ คราะหเนอื้ หา วธิ กี ารจัดการเรยี นรู เลขยกกาํ ลัง 1. ความหมายและการเขียนเลขยกกาํ ลงั งา ย ยาก ยากมาก เนือ้ หา กรต. ครูสอน สอนเสรมิ โครงงาน จํานวน 2. การเขยี นแสดจํานวนในรูปสัญลกั ษณว ิทยาศาสตร ลึกซ้งึ ชั่วโมง 3. การคูณและการหารเลขยกกําลงั ที่มีฐานเดียวกันและเลข  ชก้ี าํ ลงั เปน จํานวนเตม็   (1) 1 อัตราสวนและรอ ยละ   (1) 1 1. อตั ราสวน   (1) 1 2. สดั สวน 3. รอยละ  (3) (1) 4 4. การแกโ จทยปญหาเก่ยี วกับอตั ราสวนสัดสวน และรอย  (2.30) (0.30) 3 ละ  3  (2.30) (0.30) 4 (3) (1) (40)

เนอื้ หา วเิ คราะหเ น้อื หา วิธกี ารจดั การเรยี นรู งาย ยาก เน้ือหา กรต. ครูสอน สอนเสรมิ โครงงาน จาํ นวน ยากมาก ลกึ ซง้ึ ชัว่ โมง  การวัด  (1) 1 1. การเปรียบเทยี บหนวยความยาวพืน้ ที่   (1) 1 2. การเลอื กใชหนวยการวดั เกย่ี วกบั ความยาวและพื้นที่   (1) 1 3. การหาพ้ืนทขี่ องรปู เรขาคณิต 1 4. การแกโจทยป ญหาเกยี่ วกับพื้นท่ีในสถานการณ  (1) 4 ตางๆ  (2) (2) (8) 5. การคาดคะเนเวลาระยะทาง ขนาดนํา้ หนกั 2 ปรมิ าตรและพื้นท่ผี ิว  (1) (1) 4 1. ลกั ษณะสมบัติและการหาพื้นที่ผิวและปรมิ าตรของ  (2) (2) 7 ปริซมึ  2 2. การหาปริมาตรและพน้ื ท่ผี วิ ของทรงกระบอก  (1) 3 3. การหาปริมาตรของพีระมดิ กรวยและทรงกลม (0.30) 5 4. การเปรียบเทียบหนว ยปริมาตร (0.30) (23) 5. การแกโจทยป ญหาเกี่ยวกับปริมาตรและพื้นทีผ่ ิว 6. การคาดคะเนปรมิ าตรและพื้นท่ผี วิ (1)

เนือ้ หา วิเคราะหเ นื้อหา วธิ ีการจัดการเรยี นรู คูอนั ดบั และกราฟ 1. คอู ันดับ งาย ยาก เนือ้ หา กรต. ครสู อน สอนเสรมิ โครงงาน จาํ นวน 2. กราฟ ยากมาก ลึกซงึ้ ชวั่ โมง 3. การนาํ คูอนั ดับและกราฟไปใช ความสัมพันธระหวางรูปเรขาคณิตสองมติ แิ ละสามมิติ  (1) 1 1. ภาพของรปู เรขาคณิตสองมิตทิ เี่ กิดจากการคลี่รปู  (1) 1 เรขาคณิตสามมิติ  (1) 1 2. ภาพของมิติที่ไดจากการมองดา นหนา ดา นขางหรอื 1 ดา นบนของรูปเรขาคณิตสามมติ ิ  (0.40) (0.20) 2 3. การวาดหรอื ประดษิ ฐรปู เรขาคณติ ที่ประกอบขึ้นจาก 2 ลกู บาศก  (1.40) (0.20) สถติ ิ 1. การรวบรวมขอมลู  (1.40) (0.20) 2. การนําเสนอขอมลู 3. การหาคา กลางของขอ มลู   (2.40) (0.20) 3 4. การเลอื กใชคากลางของขอ มูล   (2.40) (0.20) 3 5. การอา น การแปลความหมายและการวเิ คราะหขอมูล   (2.40) (0.20) 3 6. การใชขอมูลสารสนเทศ   (2.40) (0.20) 3   (2.40) (0.20) 3   (2.40) (0.20) 3 (26)

เนอ้ื หา วิเคราะหเนอ้ื หา วิธีการจัดการเรียนรู ความนาจะเปน 1. การทดลองสมุ และเหตกุ ารณ งาย ยาก เน้อื หา กรต. ครูสอน สอนเสรมิ โครงงาน จาํ นวน 2. การหาความนา จะเปน ของเหตุการณ ยากมาก ลกึ ซึ้ง ชว่ั โมง 3. การนําความนา จะเปน ของเหตุการณต างๆไปใช  (1) 1  (1) (1) 2 1  (1) (4) รวม 130 18 12 160


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook