Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการเรียน I30202 IS2 การสื่อสารและการนำเสนอ

เอกสารประกอบการเรียน I30202 IS2 การสื่อสารและการนำเสนอ

Published by stbuzzo, 2021-09-10 04:33:29

Description: ใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น - ห้ามใช้เชิงพาณิชย์ -

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการเรียน ตามหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล การสื่อสารและการนำเสนอ Iกลุ่มวิชาการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชื่อ-นามสกุล _______________________________ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 / _____ เลขที่______



คำนำ โรงเรียนวดั สทุ ธิวราราม เป็นโรงเรียนทไ่ี ด้รับคัดเลือกเขา้ รว่ มโครงการโรงเรยี นมาตรฐานสากล (World- Class Standard School) เป็นนวัตกรรมการจัดการศึกษาที่ใช้เป็นยุทธศาสตร์ในการขับเคลื่อนการพัฒนา ยกระดับการจดั การศกึ ษาใหม้ ีคณุ ภาพมาตรฐานเทียบเท่าสากล นักเรียนมีศักยภาพและความสามารถทัดเทียมกับ ผเู้ รยี นนานาประเทศ วิชา IS2 การส่ือสารและการนาเสนอ เป็นรายวิชาที่อยู่ในความรับผิดชอบของกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย โรงเรียนวัดสุทธิวราราม เป็นการจัดการเรียนรู้ในสาระการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent Study : IS) นับเป็นวิธีการที่มีประสิทธิภาพวิธีหน่ึงท่ีใช้อย่างกว้างขวางในการพัฒนานักเรียน เพราะเป็นการเปิด โลกกว้างให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าอย่างอิสระในเรื่องหรือประเด็นท่ีตนสนใจ เริ่มตั้งแต่การกาหนดประเด็นปัญหา ซง่ึ อาจเปน็ Public Issue และ Global Issue และดาเนินการค้นคว้าแสวงหาความรู้จากแหล่งข้อมูลท่ีหลากหลาย มุ่งให้ผู้เรียนนาความรู้ท่ีได้รับ มาพัฒนาวิธีการถ่ายทอด/ส่ือสารความหมาย/แนวคิด ข้อมูลและองค์ความรู้ ด้วยวิธีการนาเสนอที่เหมาะสมหลากหลายรปู แบบ และมปี ระสทิ ธิภาพ ดงั นัน้ เพื่อให้การจดั การเรียนสอนในรายวิชา IS2 การสื่อสารและการนาเสนอ เป็นไปในทิศทางเดียวกัน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยจึงจัดทาเอกสารประกอบการเรียนวิชา IS2 การส่ือสารและการนาเสนอเพ่ือเป็น เอกสารประกอบการศึกษาค้นควา้ สาหรับรายวชิ าน้ีและรายวิชาอนื่ ๆ ตอ่ ไป รัฐพล ศรีบูรณะพิทักษ์ และคณะ เรียบเรยี ง

สารบญั หนา้ 1 บทท่ี 2 คาอธิบายรายวิชา 2 บทที่ 1 ความรทู้ ว่ั ไปเก่ยี วกับรายงานวิชาการ 3 3 ความหมายของรายงานวชิ าการ 4 ความสาคัญของการเขยี นรายงานวชิ าการ 4 จดุ มงุ่ หมายของการเขยี นรายงานวชิ าการ 5 ประโยชนข์ องการเขียนรายงานวชิ าการ 5 องคป์ ระกอบทัว่ ไปของรายงานวิชาการ 6 ลกั ษณะทวั่ ไปของรายงานท่ดี ี 6 การใชภ้ าษา 7 บทท่ี 2 กระบวนการเขียนรายงานวิชาการ 8 การเลอื กเรื่อง 11 การจากัดขอบเขตของเรื่อง 15 การรวบรวมขอ้ มูลสารสนเทศ 16 การวางโครงเร่อื ง 16 การเรยี บเรยี งเนื้อหา 17 การจดั ทาบรรณานกุ รม 17 การจัดพมิ พร์ ายงาน 18 บทท่ี 3 การเขยี นอา้ งอิงและบรรณานกุ รม 18 การอ้างอิงเชงิ วชิ าการ 18 ความสาคัญของการอ้างองิ เชงิ วชิ าการ 21 รูปแบบการเขียนอ้างองิ เชงิ วชิ าการ 22 การเขยี นอา้ งอิง 26 การลงรายการอา้ งอิง 28 บรรณานุกรมและเอกสารอ้างองิ 29 การลงรายการบรรณานกุ รม 31 บทท่ี 4 การเขียนและเรยี บเรียงข้อมลู 32 วธิ กี ารเรยี บเรียงข้อมลู เบ้อื งตน้ 33 การใช้ภาษาในการเขยี นรายงานวิชาการ 34 ลกั ษณะของรายงานวชิ าการทด่ี ี 48 บทที่ 5 ส่วนประกอบของรายงานและการจดั พมิ พร์ ายงาน 50 ส่วนประกอบของรายงาน การจัดพิมพ์รายงาน บรรณานุกรม

คำอธิบำยรำยวิชำ รหัสวชิ า I30202 รายวิชา IS2 การสอ่ื สารและการนาเสนอ กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 เวลา 40 ชว่ั โมง จานวน 1.0 หน่วยกติ ศึกษา เรียบเรียงและถ่ายทอดความคิดอย่างสร้างสรรค์จากรายวิชา IS1 (Research and Knowledge Formation) เกยี่ วกับสถานการณป์ จั จบุ ันและสังคมโลก โดยเขียนโครงร่าง บทนา เน้อื เร่ือง สรปุ ในรูปของรายงาน การศึกษาค้นคว้าเชิงวิชาการเป็นภาษาไทยความยาว จานวน 4,000 คา หรือเป็นภาษาอังกฤษ ความยาว 2,500 คา มีการอ้างอิงแหล่งความรู้ท่ีเชื่อถือได้อย่างหลากหลายเชื่อถือได้ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เรียบเรียงและ ถ่ายทอดสื่อสาร นาเสนอความคิดอย่างชัดเจน เป็นระบบ มีการนาเสนอในรูปแบบเดี่ยว (Oral individual) หรือ กลมุ่ (Oral panel presentation) โดยใช้สื่อเทคโนโลยีที่หลากหลายและมีการเผยแพร่ผลงานสู่สาธารณะ เพื่อให้ เกิดทักษะในการเขียนรายงานเชิงวิชาการและทักษะการสื่อสารท่ีมีประสิทธิภาพ เห็นผลประโยชน์และคุณค่า ในการสรา้ งสรรคง์ านและถา่ ยทอดสง่ิ ท่ีเรียนร้ใู ห้เป็นประโยชนแ์ ก่สาธารณะ สามารถใชเ้ ทคโนโลยแี สวงหาความร้ดู ้วยตนเอง เพ่ือการเรียนรู้ แก้ปัญหา ตลอดจนการสื่อสารได้อย่าง สร้างสรรคต์ ามชว่ งวัย เสริมสร้างนักเรียนเกิดความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มีวินัยใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางานและรัก ความเปน็ ไทย ผลการเรยี นรู้ 1. วางโครงร่างการเขยี นตามหลกั เกณฑ์ องค์ประกอบและวธิ ีการเขยี นโครงร่าง 2. เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าเชิงวิชาการเป็นภาษาไทยความยาว 4,000 คา หรือภาษาอังกฤษ ความยาว 2,500 คา 3. นาเสนอข้อค้นพบ ข้อสรุปจากประเด็นที่เลือกในรูปแบบเด่ียว (Oral individual) หรือกลุ่ม (Oral panel presentation) โดยใช้ส่ือเทคโนโลยีท่หี ลากหลาย 4. เผยแพร่ผลงานสู่สาธารณะ โดยใช้การสนทนา / วิพากษ์ผ่านสื่ออิเลคทรอนิคส์ เช่น e-conference, Social media online 5. เหน็ ประโยชนแ์ ละคณุ คา่ การสร้างสรรค์งานและถา่ ยทอดสง่ิ ท่เี รยี นรใู้ หเ้ ห็นประโยชน์ รวม 5 ผลการเรยี นรู้ เอกสารประกอบการเรยี น กลุ่มวิชาการศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเอง 1

การเขยี นรายงานวิชาการเป็นกระบวนการหน่งึ ของการศึกษาค้นควา้ และนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้า นั้นในรูปแบบลายลักษณ์อักษร โดยมีการดาเนินการอย่างเป็นลาดับขั้นตอน และถ่ายทอดออกมาในรูปแบบ ที่ถูกตอ้ งตามหลักการเขยี นรายงานวิชาการ เพอื่ ให้กระบวนการศึกษาค้นคว้านั้นสมบูรณ์และน่าเชื่อถือ นักเรียน จงึ จาเป็นท่จี ะต้องมีความรคู้ วามเข้าใจในเรอ่ื งการเขียนรายงานวิชาการอยา่ งถกู ต้อง ความหมายของรายงานวิชาการ คาว่า รายงาน (Report) หรอื รายงานวชิ าการ มีนกั วชิ าการได้ใหค้ วามหมายไว้ ดงั นี้ ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2547: หน้า 2) กล่าวถึง รายงานวิชาการ ว่าหมายถึง รายงานผลการศึกษาค้นคว้าวิจัยในเร่ืองใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ เพ่ือประกอบการเรียนรายวิชาใด รายวชิ าหนงึ่ (ในรายวชิ าหนึ่งอาจมีรายงานวิชาการไดห้ ลายเรือ่ ง) โปรแกรมวิชาภาษาไทยและโปรแกรมวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ (2545: หน้า 216) ได้กล่าวว่า รายงานเปน็ การเรียบเรยี งผลจากการศึกษาค้นคว้าจากเอกสาร การสังเกต การทดลองเก่ียวกับ เรื่องต่าง ๆ ในแต่ละรายวิชา ซ่ึงผู้ศึกษาและผู้สอนจะมีการตกลงกันเก่ียวกับชื่อเรื่อง จานวนบุคคลที่ทารายงาน จานวนรายงาน โดยมีการพิมพห์ รอื เขยี นตามรปู แบบสถานศกึ ษากาหนด ดังนั้นจึงพอสรุปได้ว่า รายงานวิชาการ เป็นรายงานที่เกิดจากการศึกษาค้นคว้าเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง อย่างเป็นระบบ แล้วนามาเรียบเรียงโดยการอ้างอิงแหล่งข้อมูลท่ีใช้ศึกษาค้นคว้า ผู้เขียนต้องวางรูปแบบของ รายงานวิชาการให้เป็นไปตามท่ีสถานศึกษากาหนด นอกจากนั้นการนาเสนอรายงานอาจมีการนาเสนอผลการ วเิ คราะหข์ อ้ มลู และเสนอแนะแนวคดิ ทีน่ ่าสนใจและเป็นประโยชนเ์ พ่มิ เตมิ เอกสารประกอบการเรยี น กลุ่มวิชาการศกึ ษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง 2

ความสาคัญของการเขยี นรายงานวชิ าการ จากการที่พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 กาหนดไว้อย่างชัดเจนให้จัดการศึกษา โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ รูปแบบการเรียนจึงเปลี่ยนไป นักเรียนต้องกระตุ้นตัวเองให้เกิดการรับรู้ในทุกรูปแบบ อยู่ตลอดเวลา จะรอแต่ความรู้ที่จะได้รับจากการสอนของครูในห้องเรียนเพียงอย่างเดียวไม่ได้ สอดคล้องกับ การเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ท่ีเน้นทักษะการเรียนรู้ขั้นที่สูงข้ึน (Higher order Learning skills) โดยเฉพาะทักษะ การประเมนิ คา่ (Evaluating Skills) จะถูกแทนท่ีโดยทักษะการนาเอาความรู้ใหม่ไปใช้อย่างสร้างสรรค์ (Ability to use new knowledge in a creative way) ในอดีตท่ีผ่านมา นักเรียนไปโรงเรียนเพื่อใช้เวลาในการเรียนรายวิชา ต่าง ๆ เพื่อรับเกรดหรือเพ่ือให้สาเร็จการศึกษา แต่ในปัจจุบันจะพบปรากฏการณ์ใหม่ท่ีแตกต่างไป เช่น การเรียน การสอนท่ีช่วยให้นักเรียนได้เตรียมตัวเพื่อใช้ชีวิตในโลกที่เป็นจริง (Life in the real world) เน้นการศึกษาตลอด ชีวติ (Lifelong learning) ด้วยวิธีการสอนทมี่ คี วามยืดหยุ่น (Flexible in how we teach) มีการกระตุ้นและจูงใจ ให้ผู้เรียนมีความเป็นคนเจ้าความคิดเจ้าปัญญา (Resourceful) ที่ยังคงแสวงหาการเรียนรู้แม้จะจบการศึกษา ออกไป ดังนั้นนักเรียนจะต้องหมั่นศึกษาค้นคว้าแสวงหาความรู้เพ่ิมเติมด้วยตนเอง ซ่ึงสามรถทาได้นอกเวลาเรียน โดยอาศัยการอ่าน การทดลอง การสังเกต การเก็บข้อมูล โดยการสัมภาษณ์หรือสอบถาม ฯลฯ และเมื่อผ่าน ข้นั ตอนการศึกษาค้นควา้ แลว้ ควรจะมีการนาเสนอผลการศกึ ษาค้นคว้ามาสรปุ และเรียบเรียงเผยแพร่ให้ผู้อื่นทราบ ถอื เป็นการรายงานผลความก้าวหนา้ ทางวชิ าการทีน่ ักเรียนได้ศกึ ษาค้นควา้ มา ดังนั้น การเรียนรู้เก่ียวกับหลักการและข้ันตอนการศึกษาค้นคว้า จึงเป็นสิ่งที่จาเป็นเพื่อที่จะยึดหลัก ปฏบิ ัตใิ นการค้นคว้าหาความรเู้ พ่ือเขยี นรายงานวชิ าการประกอบการเรียนการสอนในทุกรายวิชาต่อไป สาหรับการ เรียนการสอนรายวิชา I30202 IS2 การส่ือสารและการนาเสนอ หลังจากท่ีนักเรียนนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้า ตามรูปแบบของนักเรียนแล้ว ผลงานของนักเรียนจะต้องนาไปเผยแพร่ความรู้ไปเผยแพร่แก่สาธารณชนอันเป็น สว่ นหนึง่ ของการประเมนิ ผลการเรยี นรายวชิ า IS3 การนาความรู้ไปใช้บริการสงั คม จดุ มุ่งหมายของการเขยี นรายงานวิชาการ การศึกษาเรื่องการเขียนรายงานวิชาการ มีความมุ่งหมายเพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้และปฏิบัติจนบรรลุ เปาู หมาย ดงั น้ี 1. เพอ่ื ให้มีความกระตอื รอื รน้ และมนี สิ ัยในการแสวงหาความรดู้ ้วยตนเองอยูต่ ลอดเวลา 2. เพื่อสร้างนิสัยรักการอ่าน เพราะการอ่านมากจะทาให้มีความรู้มากและนาไปสู่ความเป็นผู้รอบรู้ ทีช่ าญฉลาด 3. เพื่อสง่ เสรมิ ใหผ้ ้ศู ึกษาเป็นผมู้ ีความคดิ รเิ ร่ิม รู้จักคิดอย่างเป็นระบบและมีเหตุผล สามารถนาความรู้ ต่าง ๆ ท่ตี นเองศึกษาคน้ ควา้ มาเรียบเรียงใหเ้ ป็นระบบได้ 4. เพ่ือให้ผู้ศึกษามีความรู้ความเข้าใจในรูปแบบวิธีการเขียนรายงานแบบต่าง ๆ ได้อย่างมีหลักเกณฑ์ เปน็ การสรา้ งมาตรฐานของรายงานทางวชิ าการใหเ้ กดิ แก้ผู้ศึกษา 5. เพ่ือให้ผู้ศึกษาสามารถสร้างงานทางวิชาการในรูปแบบของรายงานวิชาการต่าง ๆ ได้ด้วยตนเอง โดนการค้นคว้าหาความรูจ้ ากแหลง่ สารนเิ ทศต่าง ๆ 6. เพอ่ื ส่งเสริมและเสริมสร้างให้ผู้ศึกษาเกิดแนวคิดเกี่ยวกับความซ่ือสัตย์ในการสร้างงานวิชาการด้วย ตนเอง ตลอดจนรู้จกั การให้เกยี รติผอู้ ่ืนเมอ่ื ตอ้ งการคัดลอกหรืออา้ งอิงงานเขยี นของผู้อื่นมาไวใ้ นรายงานของตน 7. เพ่ือฝึกทักษะการอ่านจับใจความ การเรียบเรียงหรือการเขียนด้วยการใช้ภาษาท่ีส่ือความหมาย เป็นภาษามาตรฐานและสื่อสารได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 8. เพื่อสร้างความคุ้นเคยให้เกิดแก่ผู้ศึกษา ในการที่จะนาประสบการณ์ท่ีได้รับจากการเขียนรายงาน ขน้ั ต้นไปใช้เปน็ พ้นื ฐานสาหรับการศกึ ษาค้นควา้ และการเขยี นรายงานวิชาการในระดับข้นั สงู ตอ่ ไป เอกสารประกอบการเรยี น กลมุ่ วิชาการศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเอง 3

ประโยชนข์ องการเขียนรายงานวิชาการ เม่ือผู้ศึกษาได้ศึกษาค้นคว้าความรู้และนามาเรียบเรียงเป็นรายงานจากการศึกษาค้นคว้าแล้ว จะได้รับ ประโยชน์ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ทาใหผ้ ูศ้ กึ ษามีนิสัยรักการอ่าน รกั การคน้ ควา้ ความรูจ้ ากแหล่งขอ้ มลู ตา่ ง ๆ 2. ทาให้ผู้ศึกษามคี วามรอบร้เู พิม่ พนู ในสรรพวทิ ยาการตา่ ง ๆ มากขึน้ 3. ทาใหผ้ ูศ้ กึ ษากระตือรือรน้ รู้จักวธิ ีแสวงหาความรู้ต่าง ๆ ด้วยตนเอง 4 ทาใหผ้ ู้ศกึ ษารู้จกั การใชค้ วามคดิ ทเ่ี ปน็ เหตเุ ปน็ ผล และสร้างทักษะในการแก้ไขปญั หาท่อี าจเกดิ ขึน้ ได้ 5. ทาให้ผ้ศู กึ ษามคี วามซอ่ื สัตยใ์ นการทางาน เปน็ ผู้มีมารยาทและให้เกยี รติผู้อนื่ เป็นอยา่ งดี 6. ทาให้ผู้ศึกษาสามารถคิดและเรียบเรียงความคิดได้อย่างเป็นระบบ สามารถนาเสนอความคิดน้ัน เพอ่ื ใหผ้ อู้ ่นื เข้าใจได้ง่าย และสรา้ งสรรค์ 7. ทาให้เกิดความรู้ ทฤษฎี หรือข้อเท็จจริงใหม่ ๆ สามารถนาไปประยุกต์ใช้เพ่ือแก้ปัญหาหรือพัฒนา ตนเอง สงั คม และประเทศชาติไดใ้ นท่ีสุด องคป์ ระกอบทว่ั ไปของรายงานวชิ าการ องคป์ ระกอบท่วั ไปของรายงานวชิ าการ ประกอบดว้ ย ส่วนประกอบสาคญั 3 สว่ น ไดแ้ ก่ สว่ นประกอบ ตอนต้น สว่ นเน้ือหา และสว่ นทา้ ย ดงั น้ี 1. ส่วนประกอบตอนต้น 1.1 ปกนอก คอื กระดาษปกทใ่ี ช้หุ้มเลม่ รายงาน ปกติจะใช้กระดาษหนากว่ากระดาษรายงาน 1.2 ใบรองปก คอื กระดาษเปล่าทีอ่ ยถู่ ดั จากปกนอก จะทาหน้าทีป่ กปูองความเสียหายอกี ชั้นหน่งึ ท่ีจะเกิดแก่หน้าปกใน เม่อื ปกนอกถูกทาลาย 1.3 หนา้ ปกใน คอื หน้าทอ่ี ย่ถู ดั จากใบรองปก ในหน้าน้ีจะมีรายละเอียดเช่นเดียวกับ ปกนอก ซงึ่ ประกอบด้วยช่อื เรอ่ื ง ชอ่ื ผจู้ ัดทา รายวชิ า ปีการศกึ ษาและสถานศกึ ษาสังกดั 1.4 หน้าคานา จะอยู่ถัดจากหน้าปกใน ในหน้าน้ีจะให้รายละเอียดเก่ียวกับความเป็นมาของ การศึกษาคน้ ควา้ ความมงุ่ หมาย และขอบเขตของรายงาน 1.5 สารบญั คือ บญั ชบี ทหรอื หวั ข้อเรื่องตา่ ง ๆ ซึง่ จะบอกเลขหน้าของหัวเรือ่ งน้นั ๆ ดว้ ย 2. สว่ นเน้อื เรอ่ื ง หรือ ส่วนประกอบตอนกลาง ประกอบดว้ ย 2.1 เนื้อหา หมายถึง ข้อความทีใ่ ห้รายละเอียดเกย่ี วกับเนอ้ื หา หรือเรือ่ งของรายงานที่จัดทา 2.2 อญั ประภาษ หรือ อัญพจน์ (ถ้ามี) เปน็ การอ้างขอ้ ความทีค่ ัดลอกมา 2.3 เชิงอรรถ (ถ้ามี) เป็นการอ้างอิงเน้ือหาเพ่ือใช้ประกอบเนื้อเรื่องรายงานโดยอ้างอิงไว้ ในส่วน ลา่ งสดุ ของแตล่ ะหน้า 3. ส่วนประกอบตอนท้าย ประกอบดว้ ย 3.1 บรรณานุกรม หมายถึง รายช่ือหนังสือ สิ่งพิมพ์ที่ใช้อ้างอิงถึงเมื่อนามาใช้ประกอบการทา รายงาน ซงึ่ การลงรายการในส่วนนจี้ ะต้องเปน็ ไปตามหลักเกณฑท์ ก่ี าหนด 3.2 ภาคผนวก (ถ้ามี) หมายถึง ส่วนทีเ่ พิม่ เตมิ พิเศษ เพ่ือใหร้ ายงานสมบรู ณย์ ่ิงขน้ึ เชน่ ประวัติผู้แต่ง ศพั ทค์ ายาก ความรเู้ พ่มิ เติม เป็นต้น เอกสารประกอบการเรยี น กลุ่มวชิ าการศกึ ษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง 4

ลกั ษณะทว่ั ไปของรายงานท่ีดี 1. มีการนาหลักการและ/หรือทฤษฎีมาใช้อย่างเหมาะสมเนื่องจากในการศึกษาค้นคว้า จะต้อง มีการวิเคราะห์เน้ือหา โดยมีหลักการหรือทฤษฎีมารองรับอย่างเหมาะสม หลักการหรือทฤษฎีดังกล่าวควรเป็น ทยี่ อมรับในแวดวงสาขาวชิ าการน้นั ๆ พอควรและตรงกบั เรอื่ งท่ีศึกษาค้นควา้ 2. มีการแสดงความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์อย่างเหมาะสม เช่น เสนอแนวทางการแก้ปัญหาท่ีไม่เคยมีผู้ทา มากอ่ น หรือเคยมผี ูท้ าแต่ไมช่ ัดเจนเพียงพอ 3. ความสมบรู ณ์และความถกู ต้องของเนอื้ หาสาระ เนื้อหาสาระต้องสมบูรณ์ตามชอื่ เรอ่ื งท่ีกาหนด และ ถูกต้องในข้อเท็จจริง การอ้างอิงที่มาหรือแหล่งค้นคว้าต้องถูกต้องเพ่ือแสดงจรรยามารยาทของผู้เขียน และ เป็นแหล่งชแ้ี นะให้ผูส้ นใจไดต้ ดิ ตามศกึ ษาค้นควา้ ตอ่ ไป การค้นคว้าควรศกึ ษามาจากหลายแหล่ง 4. ความชัดเจนของการเขียนรายงานจะต้องมีความชัดเจนในด้านลาดับการเสนอเรื่องมีความสามารถ ในการใช้ภาษา และการนาเสนอตาราง แผนภูมิ ภาพประกอบท้ังนี้เพ่ือให้การนาเสนอเน้ือหาชัดเจน เข้าใจง่าย เป็นระเบยี บไมซ่ ้าซอ้ นสบั สน พูลสขุ เอกไทยเจรญิ (2551: หนา้ 165-166) กล่าวถงึ การเขียนรายงานหรอื ทดี่ ี ควรมีลักษณะดงั นี้ 1. เนื้อเรื่อง ถูกต้องครบถ้วน ครอบคลุมประเด็นท่ีต้องการนาเสนอ มีการจัดลาดับเน้ือเรื่อง อยา่ งเหมาะสม ชัดเจน มีเอกภาพ สารัตถภาพ และสมั พนั ธภาพ มีวธิ ีการนาเสนอทดี่ ี อา่ นเข้าใจงา่ ย 2. ภาษา ใช้ภาษาได้ถูกต้องเหมาะสม เป็นภาษาเขียนที่เรียบง่ายอย่างพิถีพิถัน ไม่คลุมเครือ สั้น กะทดั รัด สละสลวย 3. รูปแบบ ถูกต้องตามสถานศึกษาหรือผู้สอนกาหนด พิมพ์ประณีต ส่วนประกอบทุกส่วน สวยงาม ถกู ตอ้ ง เรยี บร้อย มคี ุณภาพ ทุกข้นั ตอนในการจดั ทาต้องมีการตรวจทานแกไ้ ขอย่างละเอยี ดถี่ถว้ น 4. ความเป็นผลงานการค้นคว้า คือต้องแสดงให้เห็นถึงการศึกษาค้นคว้าอย่างจริงจัง ลึกซ้ึง กว้างขวาง ครบถ้วน มีความน่าเช่ือถือ มีหลักฐานอ้างอิงหลากหลาย ทันสมัย มีการเขียนอ้างอิงแหล่งที่มาของ ข้อมลู อย่างถูกตอ้ งและครบถ้วน 5. ความชัดเจนของผู้ทารายงาน แสดงให้เห็นว่าผู้ทารายงานมีความชัดเจนในแนวคิดและ ประเด็นสาคญั ของเรอื่ ง มคี วามเขา้ ใจอยา่ งแจม่ ชัดในประเดน็ ที่นาเสนอ เอาใจใสใ่ นการคัดสรรขอ้ มูลและนามาใช้ ได้ตรงตามจุดประสงค์ของเร่ือง อาจมีการนาเสนอส่วนท่ีเป็นความรู้ ประสบการณ์ ความคิด หรือความเห็น ท่ีแตกต่างหรอื แปลกใหม่ออกไป และอาจยา้ ถึงประโยชนท์ ี่ได้จากการทารายงานครง้ั นี้ การใช้ภาษาสาหรับรายงานวิชาการ 1. ควรใชภ้ าษาหรอื สานวนโวหารเปน็ ของตนเองทเี่ ข้าใจงา่ ยและถูกตอ้ ง 2. ใชป้ ระโยคส้ัน ๆ ให้ไดใ้ จความชัดเจน สมบรู ณ์ ตรงไปตรงมาไมว่ กวน 3. ใช้ภาษาทเี่ ปน็ ทางการไมใ่ ชภ้ าษาพูด คาผวน คาแสลง อกั ษรย่อ คายอ่ 4. ใชค้ าทีม่ ีความหมายชัดเจน ละเว้นการใช้ภาษาฟมุ เฟอื ย การเลน่ สานวน 5. ระมัดระวังในเรอ่ื งการสะกดคา การแบ่งวรรคตอน 6. ระมัดระวังการแยกคาด้วยเหตุที่เน้ือที่ในบรรทัดไม่พอหรือหมดเน้ือท่ีในหน้าที่นั้นเสียก่อน เช่น ไมแ่ ยกคาว่า “ละเอยี ด” ออกเปน็ “ละ” ในบรรทดั หน่ึงสว่ น “ละเอยี ด” อยอู่ กี บรรทดั ต่อไปหรือหน้าต่อไป 7. ให้เขียนเป็นภาษาไทยไม่ต้องมีคาภาษาอังกฤษกากับ ถ้าเป็นคาใหม่หรือศัพท์วิชาการในการเขียน คร้งั แรกใหก้ ากบั ภาษาองั กฤษไวใ้ นวงเล็บ ครั้งต่อ ๆ ไปไมต่ ้องกากบั ภาษาองั กฤษ เอกสารประกอบการเรยี น กลุม่ วิชาการศึกษาค้นควา้ ดว้ ยตนเอง 5

หลังจากที่นักเรียนได้เรียนรู้เรื่องส่วนประกอบของรายงานวิชาการมาแล้ว นับว่านักเรียนมีความพร้อม ท่ีจะเข้าสู่ขั้นตอนและวิธีการเขียนรายงานวิชาการได้ ซ่ึงขั้นตอนและวิธีการเขียนรายงานวิชาการถือเป็นหัวใจ สาคญั ในการทารายงานวชิ าการ เพราะหากนักเรยี นไม่ทราบว่าจะต้องทาอะไรก่อนหลัง ต่อไปจะเร่ิมหัวข้อใด และ ไม่รวู้ ธิ กี ารเขียนหรอื จัดทารายงาน ก็จะเกิดอุปสรรคต่อการทางานจนอาจกล่าวได้ว่า ท่านจะไม่สามารถทารายงาน วชิ าการไดส้ าเรจ็ ในขณะเดยี วกนั หากนักเรียนรวู้ ่าจะต้องปฏบิ ตั อิ ย่างไร จัดทาหรอื เขยี นอย่างไรก็จะทาให้การเขียน รายงานของนักเรยี นราบร่ืนไปดว้ ยดี สาเรจ็ ตามวัตถุประสงคแ์ ละตรงตามเวลาที่กาหนดไว้อย่างแนน่ อน การเขียนรายงานมีขั้นตอนที่ต้องปฏิบัติตาม โดยอาศัยระบบระเบียบซ่ึงได้มีการวางแผนไว้เป็นอย่างดี รายละเอียดบางอย่างของการปฏิบัติตามขั้นตอนอาจต้องใช้ เวลามากเกือบถึงคร้ังหนึ่งของกระบวนการเขียน รายงานทั้งหมด เช่น การกาหนดเอง การเขียนโครงเร่ือง การสืบค้นสารนิเทศ การอ่าน และจัดทาบัตรบันทึก การอ่าน เปน็ ต้น การเลือกเรื่อง ในการเลือกเรื่องเพือ่ จดั ทารายงานวิชาการนั้น นักวิชาการหลายท่านได้กล่าวถึงการเลือกเรื่องไว้เป็นไป ในทางเดียวกัน ท้งั นนี้ ักเรียนควรจะพจิ ารณาเลอื กทานน้ั ควรมีลักษณะดงั น้ี 1. เป็นเร่ืองท่ีน่าสนใจและมีประโยชน์ต่อตนเองและผู้อ่ืน สามารถนาผลจากการศึกษาค้นคว้าไปปรับ ใช้ในชวี ติ ประจาวันได้เปน็ อยา่ งดี 2. เปน็ เรอ่ื งท่ีเหมาะสมกบั ระดับความรู้และความสามารถของผทู้ า 3. เป็นเร่ืองท่เี หมาะกับระดบั ความรแู้ ละความสามารถของผทู้ า 4. เป็นเร่อื งท่ีเหมาะกบั ระยะเวลาทมี่ ีอยู่ เพ่ือจะได้เสรจ็ ตามกาหนดสง่ 5. เปน็ เรื่องที่สามารถสบื คน้ ข้อมลู สารนิเทศจากแหล่งตา่ ง ๆ โดยแนใ่ จวา่ มขี อ้ มลู มากพอในการอ้างอิง 6. เปน็ เรอ่ื งทใี่ ช้งบประมาณอยา่ งสมเหตุสมผล 7. เป็นเรอื่ งที่มีสว่ นสง่ เสรมิ ความรู้ในวงวิชาการให้กว้างมากขน้ึ ท้ังนี้นอกจากจะพิจารณาในหลักการเลือกเลือกท้ัง 7 ข้อข้างต้นแล้ว นักเรียนควรปรึกษาครูผู้สอนหรือ ครูทีป่ รกึ ษารายงานวิชาการ เพือ่ ให้แน่ใจว่าหัวข้อเรื่องของเราเหมาะสมกับการศึกษาค้นคว้าโดยความยินยอมของ ครูผู้สอนด้วย และเราจะได้รับประโยชน์จากการแนะนาการให้คาปรึกษาจากครูผู้สอนทาให้การเลือกเรื่องซึ่งเป็น ขั้นตอนที่ไม่น่าจะใชเ้ วลามากนัก ผ่านไปด้วยความรวดเร็ว และบรรลตุ ามความพงึ พอใจของทั้งสองฝา่ ย เอกสารประกอบการเรียน กลมุ่ วิชาการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง 6

การจากัดขอบเขตของเร่อื ง เมื่อนักเรียนได้เลือกเรื่องแล้ว ก่อนท่ีจะตั้งเป็นช่ือเรื่องควรจากัดของเขตของเรื่องก่อน เพ่ือให้เร่ืองนั้น กว้างหรือแคบจนเกินไป ซ่ึงหากกว้างเกินไปอาจจะส่งผลต่อการรวบรวมข้อมูล การเรียบเรียงรายงานอาจไม่เสร็จ ตามเวลาที่กาหนด หรอื งบประมาณอาจบานปลายได้ การจากัดขอบเขตและขยายขอบเขตของเรื่องทาได้ ดังนี้ 1. การจากัดขอบเขตโดยหัวข้อย่อย หรอื ประเดน็ สาคัญ เช่น กฬี า กีฬากลางแจ้ง กฬี าฟตุ บอล กีฬาฟตุ บอลโลก 2. การจากดั ขอบเขตโดยบุคคลเปน็ หลกั เชน่ การเรียนของเยาวชน การเรียนของเด็ก การเรียนของเด็กเลก็ การเรยี นของเดก็ อนบุ าล 3. การขยายขอบเขตหวั ข้อยอ่ ยหรอื ประเด็นสาคัญใหก้ วา้ งขึน้ เช่น การรกั ษาโรคหวดั การรกั ษาโรคตดิ เช้ือทางเดนิ หายใจ การรักษาโรคตดิ ต่อ เอกสารประกอบการเรียน กลมุ่ วิชาการศกึ ษาค้นควา้ ด้วยตนเอง 7

4. การขยายขอบเขตดว้ ยตัวบคุ คล เช่น ชาวเขาเผา่ กะเหรย่ี ง ชาวไทยภูเขา ชาวภเู ขา การเขียนรายงานวิชาการต้องมีจุดมุ่งหมายในการเขียน ว่าจะนาเสนอเกี่ยวกับอะไร เพ่ืออะไร และ มีขอบเจตท่ีจะศึกษามากน้อยแค่ไหน ซึ่งการกาหนดจุดมุ่งหมายและขอบเขตจะช่วยให้การทารายงานสะดวกข้ึน และลดขั้นตอนในการค้นคว้าข้อมูลให้สะดวกรวดเร็ว และยังเป็นสิ่งท่ีตีกรอบผู้เขียนให้สามารถเรียบเรียงเนื้อหา ได้ถูกต้องตามความสนใจ กล่าวโดยสรปุ การจากัดขอบเขตเป็นขนั้ ตอนทจ่ี าเปน็ ขน้ั ตอนหนง่ึ รายงานของเราจะยาว สน้ั หนา บาง ใช้เวลามาก น้อย ใช้งบประมาณ สูง ต่า อยู่ท่ีการจากัดขอบเขตของเรื่องให้เป็นไปอย่างเหมาะสมดังท่ีได้เสนอ ตัวอย่างไวแ้ ลว้ และในขณะเดียวกัน หากเราทารายงานทีม่ ขี อบเขตแคบจนเกนิ ไปกจ็ ะไม่ได้รบั ประโยชน์อย่างเต็มที่ เสียเวลา เสียงบประมาณโดยใช่เหตุ นกั เรียนจึงควรพิจารณาในเร่ืองดังกลา่ วให้รอบคอบ การรวบรวมข้อมูลสารสนเทศ เมื่อนักเรียนได้หัวข้อท่ีจะทารายงานแล้ว ขั้นต่อไปนักเรียนจะต้องศึกษาค้นคว้าเพ่ือให้มีความรู้พื้นฐาน สาหรับการเขยี นเรอ่ื งนั้น ๆ โดยการใชเ้ คร่ืองมอื สืบคน้ ชนดิ ต่าง ๆ ทมี่ ีในแหล่งทรัพยากรสารสนเทศ 1. การรวบรวม สารสนเทศ การรวบรวมสารนิเทศ อาจสืบคน้ ขอ้ มูลไดจ้ ากแหล่งสารนิเทศ ตอ่ ไปนี้ 1) ห้องสมุด 2) ศูนย์สารนิเทศของหนว่ ยงาน 3) หอจดหมายเหตุ 4) สานักข่าว 5) พพิ ธิ ภณั ฑ์ 6) โบราณสถาน 7) บคุ คล 8) แหล่งสารนเิ ทศอื่น ๆ เช่น สือ่ โสตทศั นวัสดุ ในการค้นคว้าข้อมลู ในขนั้ น้ี เป็นขนั้ แรกของการเข้าถงึ สารนเิ ทศ เราอาจใช้วธิ กี ารตา่ ง ๆ ในการได้มา ซ่ึงข้อมูล เช่น การค้นบัตรรายการ บัตรดรรชนีวารสาร หนังสืออ้างอิง สารวจดูไมโครฟิล์ม ภาพยนตร์ ซีดี-รอม หรอื แม้กระทง่ั อนิ เทอรเ์ น็ต ซึ่งการค้นควา้ ดงั กลา่ วจะสง่ ผลให้นักเรียนไดร้ ับประโยชน์โดยตรง 2. ประโยชนใ์ นการรวบรวมสารสนเทศ การทน่ี ักเรยี นได้อา่ นเอกสาร สิ่งพิมพ์ หรือได้เข้าถึงสารสนเทศเบื้องต้น โดยวิธีการต่าง ๆ แล้ว จะ พบว่าได้ประโยชน์สาหรบั การเขียนรายงาน ดงั ตอ่ ไปน้ี 1) ทาใหม้ องเหน็ ภาพของหวั ขอ้ เร่อื งรายงานได้ชดั เจนย่ิงขึ้น 2) ทาให้ทราบว่าเร่ืองท่ีเราเลอื กทาเคยมผี ทู้ ามากอ่ นหนา้ น้ีหรือไม่ 3) สรา้ งความเขา้ ใจอย่างกว้างขวางและลกึ ซ้ึงในหวั ขอ้ ท่ีจะศึกษา 4) ทาใหท้ ราบวา่ สารสนเทศมีเพยี งพอตอ่ การศึกษาคน้ คว้าตอ่ ไปหรือไม่เพียงใด หาก ไม่พอจะ ได้เปลย่ี นหวั ข้อใหม่ 5) เป็นการรวบรวมข้อมลู ทเี่ กี่ยวขอ้ งไว้ดว้ ยกัน เพอ่ื สะดวกในการศึกษาค้นคว้าตอ่ ไป 6) เปน็ แนวทางในการเขียนโครงเรือ่ งรายงาน 7) เป็นประโยชน์ตอ่ การอา่ นและทาบตั รบันทึกการอา่ นในขน้ั ตอนต่อไป ฉะนั้น ขั้นตอนการรวบรวมสารสนเทศเบื้องต้นจึงเป็นข้ันตอนที่สาคัญใน การช่วยให้นักเรียนได้ มองเห็นแนวทางในการรวบรวมและเรียบเรียงข้อมูลของตนเอง เอกสารประกอบการเรียน กลมุ่ วิชาการศกึ ษาค้นคว้าด้วยตนเอง 8

3. การประเมนิ สารสนเทศ • มจี านวนมาก ใชไ้ มไ่ ด้ • ไดส้ ารสนเทศทีส่ ามารถ • พิจารณา อ่านและบันทึก ทุกรายการ นาไปใช้งานได้จริง เน้ือหาของสารสนเทศ สารสนเทศทไี่ ด้ ประเมนิ วิเคราะห์ จากการสืบคน้ • จดั กลมุ่ และสรา้ ง ความสมั พนั ธข์ อง สารสนเทศท่ีอยู่ใน เร่ืองเดียวกนั สงั เคราะห์ 3.1 พิจารณาว่าเป็นเรือ่ งท่ตี รงกบั ความต้องการของเราอย่างแทจ้ ริงหรือไม่? เลือกเฉพาะรายการทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั เร่อื งท่เี ราศกึ ษาเทา่ นัน้  วิธีการ การอ่านช่ือเร่ือง คานา หน้าสารบัญ หรือเนื้อเร่ืองย่อๆ ส่ิงเหล่าน้ีช่วยให้ เราทราบว่าเปน็ เร่อื งทเี่ กี่ยวขอ้ งหรอื ไม่ เอกสารประกอบการเรียน กลมุ่ วชิ าการศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเอง 9

3.2 พิจารณาว่าเป็นสารสนเทศทมี่ คี วามน่าเช่ือถอื หรือไม่? ได้มาจากแหลง่ ทนี่ ่าเชอื่ ถอื  ตวั อย่าง สารสนเทศท่ไี ดจ้ ากห้องสมดุ มีความนา่ เช่ือถือมากกวา่ ทไ่ี ดม้ าจากเวบ็ ไซต์ ได้มาจากทรพั ยากรสารสนเทศ ทน่ี า่ เชอ่ื ถอื หรือไม่  ตวั อย่าง บทความท่ไี ด้จากวารสารวิชาการมคี วามนา่ เชอื่ ถือมากกวา่ นติ ยสาร หรอื หนังสือพมิ พ์ ผู้เขยี นมคี ณุ วุฒิ ความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ สอดคล้องกับ เรื่องทเี่ ขยี นหรอื ไม่  ตัวอย่าง สารสนเทศเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ที่แต่งโดย รศ.ยืน ภู่วรวรรณ มคี วามนา่ เชอื่ ถือมากกวา่ ทแ่ี ต่งโดยผูท้ ใ่ี ช้นามแฝงวา่ หนมุ่ ไอที  หากเปน็ บทความวิชาการ ให้พิจารณาว่า ตพี มิ พ์ในวารสารชอ่ื ใด  เป็นวารสารทเี่ กย่ี วข้องกบั บทความนั้น  มชี ื่อเสยี งทางวชิ าการ  ผู้จัดทาวารสารมคี วามนา่ เชอื่ ถอื  มคี วามตอ่ เน่ืองในการเผยแพร่  เปน็ ที่รจู้ ักและแพรห่ ลาย พจิ ารณาความทนั สมยั  ตัวอย่าง เลอื กรายการท่ีพิมพ์ในปปี ัจจบุ นั หรอื พิมพค์ รง้ั ใหม่ 3.3 พจิ ารณาวา่ เน้อื หาของสารสนเทศอยู่ในระดับใด? สารสนเทศปฐมภูมิ (Primary Information) มคี วามนา่ เชอ่ื ถอื มากทส่ี ุด  งานต้นฉบับหรืองานที่ผู้เขียนเผยแพร่ครั้งแรกมักปรากฏในวารสาร รายงานการ วิจัย สารสนเทศทุติยภูมิ (Secondary Information)  เปน็ การนาสารสนเทศปฐมภูมิมาเขียนใหม่หรือเป็นเคร่ืองมือช่วยค้นหรือติดตาม สา ร สนเ ทศป ฐมภู มิ เช่น บท คัดย่ องา นวิ จัย บทวิ จา ร ณ์หนั งสื อ ดรรชนวี ารสารและ วารสารสาระสังเขป เป็นตน้ ฉะนั้นการประเมินสารสนเทศเป็นข้ันตอนในการประเมินเพ่ือคัดเลือกสารสนเทศที่เราได้ จากการสืบค้น จากแหล่งต่าง ๆ ซึ่งอาจจะใช้ไม่ได้ทุกรายการ เช่น ไม่ตรงกับที่เราต้องการ เนื้อหาเก่าเกินไป หรือไม่มีความ น่าเชอ่ื ถอื ในทางวชิ าการ เพือ่ ให้ได้สารสนเทศท่มี คี ณุ คา่ และนาไปใชง้ านได้อยา่ งแทจ้ รงิ เอกสารประกอบการเรียน กลุ่มวชิ าการศกึ ษาค้นควา้ ด้วยตนเอง 10

การวางโครงเรื่อง เมือ่ นักเรยี นผ่านข้นั ตอนการรวบรวมสารสนเทศเบ้ืองต้นแล้ว จะพบว่า เราจะเกิดความคิดในการลาดับ เร่ืองทีจ่ ะเขยี น ซงึ่ การลาดับเร่ืองน้ันบางคร้ังอาจสลับสันสนบ้าง ฉะนั้นเพ่ือให้เน้ือหาในรายงานมีความสัมพันธ์กัน เป็นลาดับตั้งแต่ต้นจนจบเร่ือง จึงควรเขียนโครงเรื่องเพื่อใช้เป็นแนวทางในการเรียบเรียงรายงานก่อน ทั้งน้ีอาจมี การปรับลดหรือเพิ่มเติมหัวข้อโครงเรื่องภายหลังได้ เพราะเม่ือเข้าสู่ข้ันการอ่านและการทาบัตรบันทึก ผู้ศึกษา อาจมองเหน็ ประเด็นชัดมากขึน้ การทาเช่นนี้จะทาใหโ้ ครงเรอื่ งมคี วามสมบรู ณ์และสง่ ผลตอ่ คณุ ภาพของเน้อื หา ธนู ทดแทนคุณ (2553) เปรียบเทียบโครงเรื่องรายงานเหมือนกับเข็มทิศของทหาร ในการเข้าป่านั้น หากไม่มีเข็มทิศทหารจะไม่สามารถทราบตาบลพิกัดของตนเอง และไม่ทราบว่าจะต้องเดินทางต่อไปในทิศทางใด ทาให้หลงป่าได้ ผู้เขียนรายงานวิชาการก็เช่นเดียวกัน ดังน้ันหากนักเรียนไม่ประมวลความคิดจากการอ่านและ การรวบรวมสารสนเทศเทศเบ้ืองต้น เพ่ือมาจัดทาโครงเร่ืองรายงานแล้วนักเรียนก็อาจจะหลงทางได้ ในท่ีนี้คือ ไมส่ ามารถจะเรยี บเรยี งใหเ้ ป็นลาดับอยา่ งมเี อกภาพและสมั พนั ธภาพได้ เอกภาพ หมายถงึ การเรียงลาดับเร่ืองราวโดยท่ีสามารถสรุปประเด็นหัวใจที่สาคัญได้เพียงขอบเขต ทชี่ ดั เจนเพียงหน่ึงเดียว หรอื มองเห็นเป้าหมายและวัตถุประสงคใ์ หญ่ ๆ ไดช้ ัดเจนทส่ี ุด สัมพันธภาพ หมายถึง การเรียงลาดับเร่ืองราวโดยท่ีสามารถทาให้แต่ละเรื่องที่แยกกันอยู่มีความ เชื่อมโยงตอ่ เน่อื งกันจนเกิดความคดิ รวบยอดตอ่ เรอ่ื งนั้นเป็นหน่งึ เดยี ว (เอกภาพ) กลา่ วโดยสรุป การเขยี นโครงเร่ืองท่ีดคี วรตอ้ งพจิ ารณาถึงลกั ษณะดังต่อไปน้ี (อษุ า เชอื้ หอม, 2540: หน้า 31) 1) ควรมปี ระเด็นครบถ้วนและครอบคลมุ ชอ่ื รายงาน 2) หัวขอ้ ในแต่ละบทสอดคลอ้ งกับชือ่ รายงาน 3) การกาหนดหัวข้อในบทต่าง ๆ มีความเช่ือมโยมต่อเนื่องกันเป็นลาดับอย่างเหมาะสมทาให้เห็น ภาพรวมของรายงานชัดเจนขน้ึ และตอ้ งดงึ จดุ เดน่ เฉพาะตวั ของเรื่องออกมาให้ผู้อา่ นมองเหน็ ให้ได้ 4) หัวขอ้ ทกุ ระดบั คอื หัวข้อใหญ่ (ชื่อบท) หัวขอ้ รอง และหัวข้อย่อย สอดคล้องสัมพันธ์กันท้ังหมด โดยไม่ซา้ ซอ้ นกนั 5) การตงั้ ชอ่ื เรื่อง ช่อื บท ชื่อหัวข้อระดับตา่ ง ๆ ตรวจกะทดั รดั และส่อื ความหมายไดช้ ดั เจน วาณี ฐาปนวงศศ์ านติ (2539: หน้า 127) กล่าวถึงหลกั การวางโครงเรือ่ งไว้ดังนี้ 1) นาข้อมูลท่ีศกึ ษาจากการรวบรวมสารนเิ ทศเบื้องตน้ มาลาดับความสาคัญเพอ่ื วางโครงรา่ ง 2) ในขน้ั แรกควรกาหนดเปน็ หวั เร่อื งกว้าง ๆ ก่อน 3) การใช้ชื่อควรกะทัดรดั ไม่ยาวไป และต้องสัมพันธ์กันทกุ ระดับหัวขอ้ 4) ไม่ควรแบ่งหวั ขอ้ ยอ่ ยมาก ให้พจิ ารณาหวั ข้อทีม่ ีความสาคัญเกี่ยวข้องกันเทา่ นน้ั 5) ใช้ระบบตัวเลขในการแบง่ หวั ข้อตา่ ง ๆ เพื่อป้องกันความสบั สน การกาหนดใช้ระบบตัวเลขและทศนิยมในการลาดับหัวข้อโครงเรื่องจะสร้างความเข้าใจต่อ การเรียงลาดับหัวข้อได้อย่างเป็นรูปธรรม การใช้ตัวเลขและทศนิยมในการวางโครงเรื่องจะช่วยให้ผู้เขียนรายงาน ไม่สับสัน สามารถเชื่อมต่อความคิดได้อย่างมีระบบและต่อเน่ือง ไม่หลงประเด็น ไม่ลืมที่จะกล่าวถึงเน้ือหาใด ๆ ตลอดจนสามารถตรวจสอบได้บ่อยคร้ังเท่าท่ีต้องการ และท่ีสาคัญการปรับลดหรือเพ่ิมเติมหัวข้อในโครงเรื่อง กส็ ามารถทาไดง้ า่ ย ส่งผลดีต่อเนือ้ หาโดยรวมของรายงาน ท้งั นี้โครงเรือ่ งจะเป็นท่ีมาของสารบญั เรอื่ งดว้ ย เอกสารประกอบการเรียน กลมุ่ วิชาการศกึ ษาค้นคว้าด้วยตนเอง 11

แนวทางการเขียนโครงเรือ่ ง 1. โครงเร่อื ง ประกอบด้วย ชื่อเร่ือง หวั ข้อใหญ่ หัวข้อรอง และหวั ข้อย่อย ที่มีความสาคัญมากและ รองลงมาตามลาดับ 2. ไม่ควรแบ่งเนื้อเร่ืองออกเป็นหัวข้อย่อยหลายช้ันจนเกินไป การต้ังหัวข้อย่อย ๆ ควรพิจารณา แล้วว่าจะเป็นประโยชน์ต่อการเสนอความคิดและผลการศึกษาค้นคว้าเฉพาะเรื่องน้ัน ๆ เพราะการใช้หัวข้อย่อย มากเกนิ ไปจะทาให้เร่ืองสบั สนไดง้ า่ ย 3. การเขียนหัวข้อไม่ควรยาวเกินไป ควรเป็นข้อความกะทัดรัด ได้ใจความที่ครอบคลุมเนื้อหาใน ตอนน้นั ๆ และไม่ควรเป็นประโยคคาถาม เชน่ เศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร ทาไมต้องลดโลกร้อน เป็นต้น 4. เพ่ือความสะดวกและเป็นระเบียบในการทาโครงเรื่อง ควรแบ่งหัวข้อเป็นระบบที่สะดวกและ นยิ มกนั มากคือระบบตัวเลขท่ไี ม่ใช้เครอ่ื งหมายมหัพภาค (.) กากบั หรืออาจใช้ตัวเลขผสมกบั ตวั อกั ษรก็ได้ เช่น แบบท่ี 1 ใช้ตวั เลขสลับกบั ตวั อักษร ชอื่ เรื่อง/ชอื่ รายงาน 1. 2. ก. ข. 3 ก. ข. 1) 2) 11 แบบที่ 2 ใช้ตวั เลขลว้ น ชอื่ เร่ือง/ช่ือรายงาน 1. 2. 2.1 2.2 2.2.1 2.2.2 2.2.3 ff ประโยชน์ของโครงเรื่อง การวางโครงเร่อื งกอ่ นลงมือเขยี นมีประโยชนห์ ลายประการ คือ 1. ชว่ ยในการตดั สนิ ใจเกีย่ วกับวธิ ีที่จะนาเสนอเน้ือหา คอื ชว่ ยให้เราทราบ จุดมงุ่ หมายในการเขยี น รู้จักกาหนดขอบข่ายของเนื้อหา สามารถกาหนดความคิดหลักและความคิดสนับสนุนของเนื้อหาได้ชัดเจน และ ช่วยในการติดสินใจที่จะลาดับความคิดท่ีจะกล่าวก่อน หรือหลังออย่างไร รวมทั้งช่วยให้เห็นแนวทางการเรียบ เรียงความคิด วา่ ควรจะใช้แบบใด เช่น เรยี บเรยี งตามวัน เวลา ตามเนอื้ ที่ หรือตามเหตุผล เปน็ ต้น เอกสารประกอบการเรียน กลุ่มวชิ าการศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเอง 12

2. ช่วยให้ตัดสินใจในการเตรียมเน้ือหาได้อย่างเพียงพอ เมื่อบรรจุหัวข้อต่าง ๆ ลงในโครงเรื่อง ทาให้เราทราบว่าต้องการเนื้อหาอะไรบ้าง และมีเนื้อหาในประเด็นหรือหัวข้อใดท่ีเรายัง ไม่รู้ดีพอหรือยังหา รายละเอยี ดไมไ่ ด้เรากส็ ามารถเตรยี มความรเู้ หล่านี้เพม่ิ เติมไดอ้ กี จนเพยี งพอ 3. ช่วยในการวางสัดส่วนของเร่ืองได้เหมาะสม โครงเรื่องช่วยบอกให้ทราบว่าควรพูดในประเด็น อะไรบ้างมีประเด็นใดที่ไม่ควรพูดนั้น ควรนาความคิดหรือรายละเอียดมาสนับสนุนมากหรือน้อยแค่ไหน จึงจะ พอเหมาะกบั ความยาว ซง่ึ จะช่วยใหส้ ดั ส่วนของเรอื่ งงดงามตา 4. ช่วยให้เขียนเร่ืองอย่างมีเหตุผล คือมองเห็นความสัมพันธ์ของประเด็นต่าง ๆ ของเน้ือหาจาก โครงเร่ืองได้ชัดเจนว่ามีประเด็นหรือหัวข้อใดเกี่ยวข้องกันบ้าง และจะโยงสัมพันธ์ ความคิดของประเด็นต่าง ๆ เหลา่ นน้ั อยา่ งไร จงึ จะทาใหเ้ นอ้ื หาหามนี า้ หนกั และสมเหตสุ มผล เอกสารประกอบการเรยี น กลุม่ วชิ าการศึกษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง 13

ตัวอย่างโครงเรอ่ื ง 1 ววิ ฒั นาการของวรรณกรรมไทย 1. ความหมายของวรรณกรรมไทย 2. วรรณกรรมไทยสมยั สโุ ขทยั 2.1 ลักษณะท่ัวไปของวรรณกรรม 2.2 ลกั ษณะคาประพนั ธ์ 2.3 จดุ มงุ่ หมายการแตง่ 2.4 เนื้อเรอ่ื งยอ่ 2.5 แงค่ ิดทีไ่ ด้รับ 3. วรรณกรรมไทยสมัยอยุธยา 3.1 ลักษณะทัว่ ไปของวรรณกรรม 3.2 ลักษณะคาประพันธ์ 3.3 จุดมงุ่ หมายการแต่ง 3.4 เนอ้ื เรอ่ื งย่อ 3.5 แง่คิดท่ไี ด้รบั 4. วรรณกรรมไทยสมยั ธนบุรี 4.1 ลกั ษณะทวั่ ไปของวรรณกรรม 4.2 ลกั ษณะคาประพนั ธ์ 4.3 จุดม่งุ หมายการแต่ง 4.4 เน้อื เรอ่ื งย่อ 4.5 แงค่ ดิ ท่ีไดร้ บั 5. วรรณกรรมไทยสมยั รัตนโกสินทร์ 5.1 ลกั ษณะทว่ั ไปของวรรณกรรม 5.2 ลักษณะคาประพนั ธ์ 5.3 จดุ มุ่งหมายการแต่ง 5.4 เนอื้ เรือ่ งย่อ 5.5 แง่คดิ ที่ได้รับ สรุป เอกสารประกอบการเรยี น กลุม่ วชิ าการศึกษาค้นควา้ ดว้ ยตนเอง 14

ตัวอย่างโครงเรอ่ื ง 2 การเล่นฟตุ บอล บทท่ี 1 บทนา 1.1 ประวัตคิ วามเปน็ มาของกีฬาฟตุ บอล 1.2 ฟตุ บอลในต่างประเทศ 1.3 กฬี าฟุตบอลในประเทศไทย บทท่ี 2 อุปกรณก์ ารเล่นกฬี าฟุตบอล 2.1 ลูกฟตุ บอล 2.2 เสอื้ ผ้า 2.3 รองเท้า 2.4 สนามฟตุ บอล 2.5 อุปกรณอ์ ืน่ ๆ บทที่ 3 วิธีการเล่นกีฬาฟุตบอล 3.1 เทคนิคการเลน่ ฟุตบอล 3.2 การเลน่ เมอ่ื เป็นฝา่ ยรุก 3.3 การเลน่ เม่ือเปน็ ฝ่ายป้องกนั 3.4 การเลน่ ฟุตบอลอาชีพ บทท่ี 4 กติกาในการเลน่ กีฬาฟุตบอล 4.1 จานวนผู้เชน่ 4.2 ระยะเวลาในการแขง่ ขนั 4.3 การนบั ประตู 4.4 การแตะลูกโทษ 4.5 กติกาสากล 4.6 คาศัพท์เก่ียวกับกีฬาฟตุ บอล บทที่ 5 บทสรุป การเรียบเรียงเนอื้ หา การเรียบเรียงเนื้อหาน้ันต้องอาศัยข้อมูลท่ีได้จากการค้นคว้าและบันทึกไว้ในข้ันตอนท่ีแล้ว นามาเรียบ เรยี งโดยใช้ภาษาของตนเอง ทง้ั นใ้ี นการใช้ภาษานักเรียนจะตอ้ งคานึงถึงภาษาในการเขียนรายงานวิชาการ บางคร้ัง อาจต้องคัดลอกมาจากหนงั สอื เล่มอื่นดว้ ยการอา้ งองิ อยา่ งถูกตอ้ ง การลาดับเรอื่ งต้องเปน็ ไปตามโครงเรื่องที่กาหนด ไว้ดว้ ย เอกสารประกอบการเรียน กลุ่มวิชาการศึกษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง 15

การจดั ทาบรรณานุกรม ในการเขียนรายงานทุกครั้งต้องอาศัยข้อมูลหรือสารสนเทศเพ่ือการอ้างอิงให้เนื้อหามีความน่าเช่ือถือ ฉะน้ันเพ่ือเป็นการให้เกียรติผู้เขียนหรือเจ้าของสารสนเทศน้ันจึงต้องจัดทารายการอ้างอิงและบรรณานุกรม เพ่ือรวบรวมรายการสารสนเทศเข้าไว้ด้วยกัน ตามหลักการและรูปแบบการพิมพ์รายการบรรณานุกรม ท้ังน้ี การจัดทารายการบรรณานุกรมแตล่ ะประเภทต้องเปน็ ไปตามรปู แบบท่ีถกู ตอ้ งของประเภทน้นั ๆ ด้วย การจัดพมิ พ์รายงาน การพิมพ์รายงานเป็นขั้นตอนท่ีมีความสาคัญข้ันตอนหน่ึง เพราะเป็นขั้นตอนแสดงความคิดซึ่งผ่าน การเรียบเรียงและนามาพิมพ์เป็นลายลักษณ์อักษร เพ่ือส่ือความรู้ความคิดเห็นทางวิชาการไปสู่ผู้อ่าน แม้ว่า การเรยี บเรียงรายงานจะทาได้ดเี พยี งใด แตถ่ า้ กระบวนการพมิ พผ์ ดิ พลาด รูปแบบการพิมพ์ผิดหลักเกณฑ์ ก็อาจทา ให้รายงานน้ันด้อยคุณภาพไปอย่างน่าเสียดาย จึงจาเป็นอย่างย่ิงที่นักเรียนจะต้องให้ความสาคัญและประณีต ในการพมิ พเ์ พื่อให้รายงานมคี ุณภาพดีสมตามความมุง่ หมาย เอกสารประกอบการเรียน กล่มุ วิชาการศึกษาค้นควา้ ด้วยตนเอง 16

การเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรมเป็นเรื่องท่ีจาเป็นในการจัดทารายงานวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้า อิสระ เพราะผู้เขียนต้องมีการศึกษาค้นคว้าจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ เพ่ือสร้างความน่าเชื่อถือให้แก่ผู้อ่าน ว่าเป็น ผลงานที่ได้ผ่านการศกึ ษาค้นคว้าอย่างมหี ลักฐาน เม่ือนาข้อความของผู้อ่ืนมาไว้ในเนื้อหา ไม่ว่าจะคัดลอกข้อความ หรือสรุปความคิดเห็น ต้องให้เกียรติแก่เจ้าของผลงาน ด้วยการระบุว่าเป็นงานของใคร แทรกไว้ในเน้ือหาหรือ ลงเชิงอรรถไว้ และต้องลงไว้เป็นหลักฐานในบรรณานุกรมให้ถูกต้องตามหลักการอ้างอิงและการลงรายการ ในบรรณานุกรม ตามลกั ษณะผลงานทางวชิ าการนัน้ ๆ ดว้ ย การอา้ งองิ เชงิ วิชาการ ในการเขียนเอกสารทางวิชาการ ต้องมีการเขียนอ้างอิงเอกสารหรือเขียนบรรณานุกรม เพ่ือแจ้ง แหล่งท่มี าของสารสนเทศ ซงึ่ แสดงวา่ งานเขียนนั้นได้มกี ารศกึ ษาคน้ คว้ามาเป็นอย่างดี การอ้างอิง (Citation) หมายถึง การแสดงแหล่งท่ีมาของข้อมูลหรือหลักฐานท่ีนามาใช้ประกอบ การเขียนรายงานหรือเอกสารทางวชิ าการ เอกสารประกอบการเรยี น กลมุ่ วชิ าการศกึ ษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง 17

ความสาคญั ของการอา้ งอิงเชิงวิชาการ การอา้ งองิ มคี วามจาเปน็ และความสาคัญหลายประการด้วยกนั ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. เป็นการระบทุ มี่ าของขอ้ ความในเน้อื เร่ือง บอกใหท้ ราบวา่ ไดข้ อ้ มลู มาจากทใี่ ด เพ่ิมความน่าเชื่อถือ ให้แกร่ ายงานหรอื เอกสารทางวิชาการเร่อื งนั้น สามารถตรวจสอบหลักฐานเดิมได้ 2. เปน็ การให้เกียรติแก่เจ้าของข้อมูล แสดงถึงความเคารพในความรู้ความสามารถของเจ้าของข้อมูล นับเป็นมารยาทท่ดี ี และไม่ถอื เปน็ การละเมดิ ลิขสทิ ธ์ิ 3. เป็นการแนะนาแหล่งสารสนเทศสาหรับผู้อ่านท่ีสนใจจะศึกษาหาข้อมูลเพิ่มเติม นอกเหนือจาก ท่ีนามากลา่ วไวใ้ นรายงานหรอื เอกสารทางวชิ าการเรอ่ื งนน้ั 4. เป็นการแสดงให้เห็นว่ารายงานหรือเอกสารทางวิชาการเรื่องน้ัน เป็นผลงานที่ผ่านการศึกษา คน้ ควา้ การรวบรวมและเรียบเรียงอยา่ งมรี ะบบและมหี ลักฐาน รปู แบบการเขียนอา้ งองิ เชงิ วิชาการ รูปแบบการเขียนอ้างองิ และบรรณานกุ รม จะปรากฏอยู่ทัง้ สว่ นเนื้อหาและท้ายเล่ม คือ 1. ส่วนเน้ือหา คือ รายการอ้างอิง (Reference List) ซึ่งจะมีรูปแบบการอ้างอิงท่ีใช้อยู่ทั่วไป 3 แบบ ได้แก่ แบบเชิงอรรถ แบบแทรกในเน้ือหา และแบบอ้างองิ ท้ายบท 2. สว่ นทา้ ยเลม่ คอื บรรณานกุ รม (Bibliography) ซ่ึงไดแ้ ก่ รายละเอียดของแหล่งสารสนเทศที่ใช้ อ้างอิงในเน้ือหาทุกรายการ ทั้งที่ปรากฏชัดเจนโดยเขียนอ้างอิงไว้ และส่วนท่ีไม่ปรากฏชัดเจน แต่อาจจะเป็น เพยี งการรวบรวมความคิดหลายๆ แนวแลว้ นามาเรยี บเรียงใหม่ หมายเหตุ รปู แบบการเขยี นอ้างอิงและบรรณานกุ รมในเอกสารฉบบั น้ี จะอา้ งอิงตามแบบ APA Style ซึ่งเป็น สไตล์ในการลงรายการอา้ งองิ ท่ไี ดร้ ับความนยิ มมากทางดา้ นสงั คมศาสตร์ การเขียนอ้างอิง การอ้างอิง คือ การระบุถึงแหล่งสารสนเทศที่นามาใช่อย่างส้ัน ๆ ซึ่งมีข้อมูลเพียงพอท่ีผู้ใช้สามารถ นาไปหาแหลง่ สารสนเทศดังกลา่ วจากแหลง่ ต่าง ๆ ได้ วตั ถุประสงค์ของการอ้างอิง 1. เพ่อื เปน็ หลักฐานในการศึกษาค้นคว้า 2. เพอ่ื เป็นการให้เกยี รตเิ จา้ ของข้อมูลเดมิ 3. เพือ่ ปอ้ งกันการถูกฟ้องรอ้ งเรือ่ งลขิ สิทธิ์ เอกสารประกอบการเรยี น กลมุ่ วิชาการศกึ ษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง 18

ความจาเป็นในการอา้ งองิ การอ้างอิงมีความจาเป็นต้องทาทุกครั้งที่มีการนาสารสนเทศหรือข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ มาใช้ใน งานเขียน เนอ่ื งจากผอู้ ่านอาจทราบว่าใครเปน็ ผูเ้ ขยี นหรือพูดถงึ ไวแ้ ละจะหาต้นฉบับได้จากที่ใด ซึ่งมีหลักเกณฑ์ที่ ใช้สาหรับการอา้ งองิ คือ 1. เม่อื มกี ารยกคาพดู ความคิด ขอ้ ความ ฯลฯ ของผู้อ่ืนมา อาจเป็นเพียง 2 คา หรือมากกว่าและ ผ้อู ่านทราบได้ว่าข้อความดังกล่าวเปน็ การนาของผู้อ่ืนมา ต้องทาการอา้ งองิ เสมอ 2. ถา้ มีการกล่าวถึงสงิ่ ทอ่ี ้างมาแล้วซ้าอีก ไมจ่ าเป็นต้องทาการอ้างองิ ซ้าทุกคร้งั 3. การสรุปความคิด ความคิดเห็น การตีความ ท่ีเขียนโดยบุคคลอ่ืน จะต้องทาการอ้างอิงทุกคร้ัง เพอ่ื ให้ผ้อู ่านสามารถตรวจสอบต้นฉบบั ได้ 4. กรณีที่เปน็ เคร่อื งท่เี ปน็ เรอ่ื งทที่ ราบกนั โดยท่วั ไป เป้นความรูท้ ี่สามารถหาไดง้ ่ายจากแหลง่ ต่าง ๆ เป็นที่ยอมรับกันท่ัวไปและไม่ต้องอาศัยการตีความ ไม่ต้องทาการอ้างอิง เช่น การกล่าวถึงวันเฉลิมพระ ชนมพรรษา หรือ จังหวดั ลพบรุ อี ยใู่ นภาคกลาง เปน็ ต้น 5. กรณีท่ไี ม่แน่ใจวา่ อะไรเป็นเรือ่ งท่ีทราบกันโดยท่วั ไป ใหท้ าการอา้ งองิ ไวด้ ้วย รปู แบบการอ้างอิง การอ้างอิงมีหลายวิธีการ เช่น การอ้างอิงท้ายหน้า (เชิงอรรถ) การอ้างอิงท้ายบท การอ้างอิง แทรกในเน้ือหา (นาม-ปี) ซึ่งในการศึกษาวิชา IS2 การสื่อสารและการนาเสนอ จะสอนการเขียนอ้างอิงแทรก เนื้อหา (นาม-ปี) เพราะเป็นการอ้างองิ ทีน่ ิยมใช้กันปัจจบุ นั 1. การอ้างอิงทา้ ยหน้า (เชงิ อรรถ) 1.1 เชิงอรรถอ้างอิง (citation footnote) คือ เชิงอรรถท่ีอ้างถึงแหล่งที่มาของข้อมูลใน เนือ้ เร่ือง ดังตัวอยา่ ง หากจะพูดถงึ ภาษา …………………………………………………………………................................. ........................................................................................................................................................... .....................................................................................................................เปน็ ต้น1 _______________________________ 1 จรลั วไิ ล จรูญโรจน,์ ม.ล. (2548). ภาษาศาสตร์เบือ้ งตน้ , (กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร,์ หนา้ 90. 1.2 เชิงอรรถเสริมความ (content footnote) คือ เชิงอรรถที่อธิบายขยายความคาหรือ ขอ้ ความในเน้ือเร่อื ง ดงั ตวั อย่าง ภาษา …………………………………………………………………....................................................... ……………….…………………………………………………………………………...................................................... …............................………เช่นกนั 2 _______________________________ 2 นกั ภาษาศาสตรเ์ ชือ่ วา่ ภาษาญปี่ ่นุ และภาษาเกาหลเี ป็นภาษารว่ มเชือ้ สายกนั และอยู่ ตระกูล Altaic เอกสารประกอบการเรยี น กล่มุ วิชาการศกึ ษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง 19

1.3 เชิงอรรถเช่ือมโยง (cross reference footnote) คือ เชิงอรรถที่โยงให้ดูข้อความท่ีมี ความสมั พันธก์ ันหรอื ท่ีได้กลา่ วรายละเอยี ดไว้แลว้ ในบทอ่นื หรือหน้าอ่นื ๆ ของงานช้ินนน้ั ดงั ตวั อย่าง การสอื่ สาร ………………………………….........………………………………...................................... ……………….……………………………………………………..........……………………............................................. มารจู้ ักภาษา3 ดงั กล่าว ..................................................................................................................... _______________________________ 3 ดรู ายละเอยี ดเกยี่ วกบั การเรยี นรูภ้ าษา หนา้ 40 วธิ ีการอา้ งองิ ทา้ ยหนา้ (เชิงอรรถ) 1) เชิงอรรถจะอยสู่ ่วนทา้ ยของหน้าหรอื ท้ายบท 2) ก่อนลงรายการเชิงอรรถในแต่ละหน้าจะต้องขีดเส้นคั่นส่วนเน้ือหากับเชิงอรรถ โดยมี ความยาวประมาณ 2 น้วิ 3) ข้อความในเชงิ อรรถใหเ้ ริ่มตรงกบั การยอ่ หน้า 4) การเรียงลาดับเชิงอรรถให้นับหน่ึงใหม่เม่ือข้ึนหน้าใหม่ เชิงอรรถในแต่ละหน้าต้องลง รายการให้จบและครบถว้ นในหนา้ นนั้ ผพู้ ิมพจ์ ะตอ้ งกะเน้อื ที่สาหรับการพิมพ์เชิงอรรถในแตล่ ะหน้าใหเ้ พยี งพอ 5) หมายเลขกากับข้อความท่ตี อ้ งการทาเชงิ อรรถ ใหพ้ ิมพ์สูงกว่าขอ้ ความปกติ (ตัวยก) 2. การอ้างองิ ท้ายบท เป็นการอ้างองิ ทส่ี ะดวก เน่อื งจากไมต่ ้องพะวงการกะระยะเนื้อที่แต่ละหน้าของบทนิพนธ์เพ่ือ เผื่อเขียนอ้างอิงเหมอื นการอา้ งอิงแบบเชงิ อรรถ เพราะการอ้างองิ ท้ังหมดจะไปรวมอยหู่ นา้ สดุ ท้ายของแต่ละบท 3. การอ้างองิ แทรกเน้ือหา (อา้ งอิงนาม-ป)ี เป็นการอ้างอิงที่อยู่รวมกันกับเน้ือหา ไม่แยกกันคนละส่วนเหมือนการอ้างอิงแบบเชิงอรรถ หรอื แบบการอ้างอิงท้ายบท ทาให้รูปแบบการอ้างอิงกะทัดรัด และยืดหยุ่นกว่า เพราะสามารถเขียนชื่อผู้แต่งให้ กลมกลืนไปกับเน้อื หาได้ หรอื จะแยกใส่ไว้ในวงเลบ็ ก็ได้ การลงรายการอ้างอิงแทรกเนอ้ื หา (อา้ งอิงนาม-ป)ี (ช่ือ/นามสกลุ ,/ปที ่ีพมิ พ์:/หนา้ ท่อี ้างอิง) 3.1 ตาแหน่งการอา้ งอิงท้ายข้อความ รางวลั วรรณกรรมไทยบวั หลวงไดรั บั พระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงรับเป็นองค์อุปถัมภ์ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2531 และได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า พระราชทานพระวินิจฉัยวรรณกรรมที่ประกวด และพระราชทานรางวัลในการประกวดทุกคร้ังอีก ดว้ ย (เฉลียว สงั ฆมณี, 2541: หนา้ 4) เอกสารประกอบการเรยี น กลุ่มวชิ าการศึกษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง 20

3.2 ตาแหนง่ การอา้ งองิ ไวก้ ่อนข้อความ วิภา กงกะนันทน์ (2540, หน้า 14) กล่าวถึง ลักษณะทางวรรณศิลป์ท่ีเหมือนกันของเรื่องส้ัน และนวนิยายไว้ดงั น้ี .................. ท่านผู้หญิงเกนหลง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (2542: หน้า 20) ได้รวบรวมรายการรางวัลและ เหรยี ญสดดุ พี ระเกยี รติคุณท่ีมีผ้ทู ูลเกลา้ ทูลกระหมอ่ มถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวไว้ ดงั ต่อไปน้ี ........................... การลงรายการอ้างอิง 1) การอ้างเอกสารทีม่ ีผูแ้ ต่งคนเดียว 1.1) ผ้แู ต่งชาวไทย ใส่ ชื่อ-ช่ือสกุล โดยไม่ต้องใส่คานาหนา้ นาม ยศ หรอื ตาแหน่งทางวิชาการ (อัมพิกา เสนาวงศ์, 2535: หน้า 60-64) 1.2) ผแู้ ตง่ ชาวตา่ งประเทศ ใส่ เฉพาะชอื่ สกุล และตามดว้ ยเครือ่ งหมายจุลภาค (,) (Jensen, 1991: p. 8) 1.3) ผู้แตง่ ที่มฐี านนั ดรศกั ด์ิ บรรดาศกั ด์ิ สมณศักดิ์ (คกึ ฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว., 2528: หน้า 17) (ภูมีเสวิน, พระยา, 2511: หน้า 53) 2) การอ้างเอกสารท่มี ผี ู้แต่ง 2 คน ใสช่ อ่ื ผ้แู ตง่ ทั้งสอง คัน่ ดว้ ยคาว่า “และ” สาหรบั ภาษาไทย ส่วนภาษาองั กฤษใช้ “&” (รัฐพล ศรบี รู ณะพิทกั ษ์ และ อรณี ขวญั ตา, 2547: หนา้ 45) (Samit & Miller, 1997: p. 38) 3) การอา้ งเอกสารท่มี ีผู้แต่ง 3 คน ใส่ช่ือผู้แต่งทั้ง 3 คน โดยค่ันคนที่ 1-2 ด้วยเครื่องหมายจุลภาค (,) และคนรองสุดท้ายกับ คนสดุ ทา้ ย ค่นั ด้วยคาวา่ “และ” สาหรับภาษาไทย สว่ นภาษาองั กฤษใช้ “&” (พัชรี เนตรนอ้ ย, ปวติ ตา ทองลอง และธนวฏั ปรชี าจารย์, 2551: หนา้ 42) (Chao Wu-chi, Yoshida Shigeru. And Stephen V.Ballou, 1997: p.48) 4) การอา้ งเอกสารท่มี ผี แู้ ต่งจานวนมากกวา่ 3 คนข้นึ ไป ใหใ้ สเ่ ฉพาะผแู้ ตง่ คนแรก และตามด้วยคาว่า “และคณะ” สาหรับภาษาไทย ส่วนภาษาอังกฤษใช้ คาวา่ “et al.” (ธมลวรรณ หลิมวงศ์ และคณะ, 2539: หนา้ 69) (Sheridon, Marion C, et al., 1999: pp. 4-7) 5) การอา้ งเอกสารท่ีมีผูแ้ ตง่ เป็นสถาบัน 5.1) กรณที ่ผี ูแ้ ต่งเป็นสถาบนั ใส่ชือ่ เตม็ ของสถาบันน้นั ๆ ตามที่ปรากฏ (สมาคมครภู าษาไทยแหง่ ประเทศไทย, 2549: หน้า 107) (วัดบวรนเิ วศวิหาร, 2536: หนา้ 2-5) 5.2) สถาบันท่ีมผี ลงานมาก ให้ลงชอ่ื เฉพาะของสถาบันน้ัน (หอสมดุ แห่งชาติ, 2540: หนา้ 16) (ราชบณั ฑิตยสถาน, 2554: หน้า 52) เอกสารประกอบการเรียน กลุ่มวิชาการศกึ ษาค้นคว้าด้วยตนเอง 21

5.3) สถาบันที่มีอักษรย่อของสถาบันท่ีเป็นทางการ หรือเป็นที่ยอมรับกันแพร่หลายให้ใช้อักษรย่อ ของสถาบันนัน้ ได้ เพือ่ ไม่ให้ขอ้ ความในวงเล็บยาวเกินไป (ก.พ., 2538: หน้า 10-16) (ร.ส.พ., 2540: หนา้ 49) 6) การอา้ งเอกสารทไ่ี ม่ปรากฏชอ่ื ผู้แต่ง 6.1) ไมป่ รากฏชอ่ื ผ้แู ตง่ แต่มชี อ่ื ผูร้ วบรวม หรอื บรรณาธกิ าร (คณิภา ต้งั ถาวรกุลเดช, บรรณาธกิ าร. 2549: หน้า 60-68) (Licherman, Ed. 1988: p. 55) 6.2) ไมป่ รากฏชอ่ื ผู้แต่ง บรรณาธกิ าร หรือผู้รวบรวม ใสช่ ื่อเรื่องแทน (“คมั ภีร์ฉนั ทศาสตร์”, 2500: หน้า 49-62) (“Cooperative Learning”, 1983: p. 315) 7) การอ้างการส่อื สารระหว่างบุคคล การบรรยาย ปาฐกถา สัมภาษณ์ ใหล้ งชอื่ ผ้บู รรยาย ผูแ้ สดงปาฐกถา ผู้ให้สัมภาษณ์ (กุลทรัพย์ เกษแม่นกิจ, คุณหญงิ , สัมภาษณ์, 2542) (Erith, สัมภาษณ์, 2000) 8) การอา้ งเอกสารพเิ ศษหรอื สอ่ื ลกั ษณะอน่ื ๆ เอกสารที่นามาอ้างซึ่งไม่ใช่วัสดุสิ่งพิมพ์ ได้แก่ ต้นฉบับตัวเขียน รายการวิทยุโทร-ทัศน์ แผนที่ ภาพยนตร์ สไลด์ ฟิล์มสตริป เทป ตลับแผ่นเสียง เป็นต้น ให้ลงรายการชื่อเรื่องแล้วค่ันด้วยเครื่องหมายจุลภาค (Comma) “ , ” ตามดว้ ยคาระบุประเภทของวัสดนุ ้นั ๆ และปที ี่จดั ทา เลขหนา้ (ถา้ มี) 8.1) รายการวิทยโุ ทรทศั น์ (กรมพระยาดารงราชานุภาพ, รายการโทรทศั น์ ชุด “มรดกไทย”) 8.2) แผนท่ี ภาพยนตร์ สไลด์ ฟิลม์ สตรปิ เทป ตลบั แผ่นเสียง (กรมสง่ เสรมิ การเกษตร, สไลด์) (“การส่ือสารด้วยไปรษณยี ์อิเลก็ ทรอนกิ ส์,” เทปโทรทัศน์, 2540) 8.3) ข้อมูลหรอื เอกสารจากอนิ เทอรเ์ น็ต (รฐั พล ศรีบูรณะพิทักษ์,2552) บรรณานกุ รมและเอกสารอ้างอิง บรรณานุกรม หรือ รายการเอกสารอ้างอิง หรือ เอกสารอ้างอิง ซ่ึงอาจก่อให้เกิดข้อสงสัยว่าทั้งสอง คาน้นั หมายความวา่ อย่างไร เหมอื นหรือต่างกันประการใด และควรเลือกใช้คาไหน ซึ่งจากหนังสือ Publication Manual of the American Psychological Association (APA, 2009, p.215) ไดใ้ ห้คาอธบิ ายดังตอ่ ไปนี้ รายการเอกสารอ้างอิง (Reference List) คือ รายชื่อหนังสือ เอกสาร หรือแหล่งสารสนเทศท่ีใช้ คน้ ควา้ และนามาอา้ งองิ ในงานเขยี นทางวชิ าการทุกประเภท บรรณานุกรม (Bibliography) คือ รายช่ือหนังสือ เอกสาร หรือแหล่งสารสนเทศท่ีนอกจากจะใช้ ประกอบการคน้ ควา้ แลว้ ยังอาจใหข้ อ้ มูลเพม่ิ เติมสาหรับการติดตามอา่ นและศกึ ษาค้นคว้าต่อไป เอกสารประกอบการเรียน กลุม่ วิชาการศึกษาค้นควา้ ดว้ ยตนเอง 22

หลักเกณฑท์ ่ัวไปในการพิมพ์บรรณานุกรม หลักเกณฑ์ทั่วไปในการพมิ พ์อ้างอิงท้ายเล่ม 1. ก่อนถึงหน้าบรรณานุกรมจะต้องมีหน้าบอกตอน โดยพิมพ์คาว่า “บรรณานุกรม” อยู่ กลางหน้ากระดาษ หรอื “ REFERENCE” ดว้ ยตัวอักษรพมิ พใ์ หญ่ทงั้ หมด 2. หน้าแรกของบรรณานุกรมพิมพ์คาว่า “บรรณานุกรม” หรือ “REFERENCE” ไว้ กลางหนา้ กระดาษตอนบน หา่ งจากรมิ กระดาษขอบบน 1.5 นว้ิ 3. เริ่มรายการอ้างอิงแต่ละรายการให้พิมพ์ชิดขอบซ้าย หากรายการอ้างอิงมีความยาวเกิน บรรทัดให้ข้ึนบรรทัดใหม่โดยย่อหน้าเข้าไป 7 ตัวอักษร เร่ิมพิมพ์ในช่วงอักษรตัวท่ี 8 เท่ากันทุกบรรทัด จนจบ รายการอ้างองิ แตล่ ะรายการ 4. ถ้ารายการอ้างอิงนั้นมีผู้แต่งซ้ากันให้ขีดเส้น 7 ตัวอักษร แล้วจุด (.) ( .) ไม่ต้อง ลงชอื่ ผู้แต่งอีก 5. ไมต่ อ้ งใสเ่ ลขลาดับรายการอ้างองิ 6. การเรยี งลาดบั รายการอ้างอิง (1) เรียงรายการอ้างอิงตามลาดับอักษรตัวแรกของผู้แต่ง หรือของบรรณานุกรมรายการ นน้ั และเรยี งภาษาไทยกอ่ นภาษาองั กฤษ (2) กรณีรายการอ้างอิงที่มีผู้แต่งคนแรกเหมือนกัน ยึดหลักดังน้ี ผู้แต่งคนเดียวเรียงไว้ ก่อนผูแ้ ต่งหลายคน ผ้แู ตง่ คนแรกเหมือนกนั ใหเ้ รยี งลาดบั อกั ษรของผูแ้ ตง่ คนต่อมา (3) ผู้แต่งซ้ากันท้ังหมด ให้เรียงตามปีท่ีพิมพ์จากปีน้อยไปหาปีมาก กรณีไม่ปรากฏปีท่ี พิมพ์ ให้ใส่ ม.ป.ป. และเรยี งไว้อันดบั หลัง (4) ถา้ ปที พี่ ิมพซ์ า้ กัน ให้เรยี งตามลาดบั อักษรตวั แรกของชอื่ เรอ่ื ง (5) สาหรับภาษาอังกฤษ หากมีคาท่ีขึ้นต้นเป็น Article (A, An, The) ไม่ต้องนามาใช้ ในการเรียง ใหเ้ รยี งตามลาดบั อกั ษรของคาถดั มา 7. การเว้นระยะหลังเครอ่ื งหมายวรรคตอน มดี ังน้ี (1) หลังเคร่ืองหมายมหัพภาค (. period) เว้น 1 ระยะ (หลัง) (2) หลงั เครือ่ งหมายจลุ ภาค (, comma) เว้น 1 ระยะ (หลงั ) (3) หลังเครื่องหมายอัฒภาค (; semi-colon) เว้น 1 ระยะ (หลัง) (4) หลงั เคร่ืองหมายมหพั ภาคคู่ (: colons) เว้น 1 ระยะ (หลงั ) วิธีการเรียงบรรณานุกรม การเรยี งบรรณานุกรมใช้หลกั เดียวกันกบั การเรียงคาในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน โดยคาที่มี ตวั สะกดจดั เรียงไว้กอ่ นคาท่ีมรี ูปสระตามลาดบั ตัง้ แต่ กก - กฮ ดงั น้ี กขคฅฆงจฉชซฌญฎฏฐฑฒณดตถทธนบปผฝพฟภม ย ร ฤ ฤๅ ล ฦ ฦๅ ว ศ ษ ส ห ฬ อ ฮ คาท่ชี ้นึ ตน้ ดว้ ยพยัญชนะตวั เดยี วกนั เรยี งลาดบั ตามรูปสระ ดังน้ี อะ อวั อัวะ อา อา อิ อี อื อุ อู เอะ เอ เอาะ เอา เอิน เอีย เอียะ เออื เอือะ แอ แอะ โอ โอะ ใอ ไอร ฤ ฤๅ ล ฦ ฦๅ ว ศ ษ ส ห ฬ อ ฮ เอกสารประกอบการเรียน กลมุ่ วิชาการศกึ ษาค้นคว้าด้วยตนเอง 23

สว่ นประกอบในบรรณานุกรม บรรณานุกรมของส่ือประเภทต่างๆ ท้ังสื่อสิ่งพิมพ์ สิ่งไม่ตีพิมพ์และส่ืออิเล็กทรอนิกส์จะมีรูปแบบ และหลกั เกณฑ์การเขยี นบรรณานุกรมทค่ี ลา้ ยคลงึ กนั แตล่ ะมีรายละเอียดแตกตา่ งกนั ไปตามรปู แบบและประเภท ของสื่อ ซึ่งหลักเกณฑ์ในการลงบรรณานุกรมจะยึดตามรูปแบบการลงรายการหนังสือเป็นมาตรฐาน ส่วน สอ่ื ประเภทอนื่ ตะแตกตา่ งออกไปตามตวั อยา่ งที่จะนาเสนอตอ่ ไป 1. ช่อื ผู้แต่ง (Author) ชื่อ-ช่ือสกุล ผู้แต่งที่เป็นชาวไทย ไม่ต้องใส่คานาหน้า ถ้าผู้แต่งท่ีเป็นชาวต่างประเทศ ให้ลง ช่ือสกุลก่อนคั่นด้วยจุลภาค ( , ) ตามด้วยชื่อต้น และช่ือกลาง หากผู้แต่งชาวต่างประเทศท่ีมีคากากับช่ือแสดง ลาดับชั้นตระกูล เชน่ Sr. (Senior) Jr. (Junior) ให้ถือว่าคาเหลา่ นั้นเป็นส่วนหน่ึงของชื่อด้วย และปิดท้ายส่วนนี้ ด้วยเครื่องหมายมหพั ภาค ( . ) รฐั พล ศรีบูรณะพิทกั ษ์. Jensen, David L. วิธีการในการอ้างองิ ชอ่ื ผู้แต่งศึกษาตวั อยา่ งดังน้ี 1) ชอื่ ผู้แต่งท่มี ีฐานันดรศกั ด์ิ เชน่ ม.ร.ว. คุณหญงิ หลวง พระยา คกึ ฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว. ภูมเี สวิน, พระยา. 2) ช่ือผู้แต่งที่เป็นพระสังฆราชท่ีเป็นเช้ือพระวงศ์ ให้ลงนามจริงก่อน แล้วกลับเอคานาหน้า แสดงลาดับช้ันพระวงศไ์ ว้ข้างหลงั โดยค่นั ด้วยจุลภาค ( , ) ปรมานชุ ติ ชโิ นรส, สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมสมเดจ็ พระ. 3) ชือ่ ผู้แตง่ ทีเ่ ปน็ พระสังฆราชท่ีมาจากสามญั ชน พระราชาคณะช้ันต่าง ๆ เช่น พระครู พระมหา ใหล้ งพระนามหรือนามตามทปี่ รากฏในหนงั สือ แล้ววงเล็บนามเดมิ พระธรรมโกศาจารย์ (ปญั ญานันทภกิ ข)ุ . สมเดจ็ พระสังฆราช (วาสน์ วาสโน). 4) ชื่อผู้แต่ง 2 คน ให้ลงท้ังสองชื่อตามลาดับที่ปรากฏ โดยเชื่อมด้วยคาว่า “และ” สาหรับ ภาษาองั กฤษใหเ้ ช่อื มดว้ ยคาว่า “&” สโิ รตม์ อนจุ นั ทร์ และพมิ พสิ ทุ ธิ์ พนั ธุ์มณี Mayor, J., & Lionel Stebbing. 5) ชื่อผู้แต่งท้ัง 3 คน โดยค่ันคนที่ 1-2 ด้วยเครื่องหมายจุลภาค ( , ) และคนรองสุดท้ายกับ คนสุดท้าย คนั่ ด้วยคาวา่ “และ” สาหรบั ภาษาอังกฤษใหเ้ ช่อื มดว้ ยคาว่า “&” ศริ ินภา ศริ ริ าช, นิภาพร ภาคภูมิ และศภุ กร สทิ ธิทา Hart, Davies, Arnold, Linden & Morgan. 6) ช่ือผู้แต่งท่ีมากกว่า 3 คน ให้ลงชื่อผู้แต่งคนแรก และตามด้วยคาว่า “และคณะ” สาหรับ ภาษาองั กฤษให้ใชค้ าวา่ “et al.” จิรายุ ชูอิน และคนอน่ื ๆ. Jensen, David, et al. 7) ชื่อผู้แต่งที่เป็นผู้รวบรวมหรือบรรณาธิการให้ระบุไว้ท้ายชื่อโดยใส่เคร่ืองหมายมหัพภาค ( . ) คั่น สาหรบั ภาษาองั กฤษใหใ้ ช้ “ed(s). (editor(s) - บรรณาธกิ าร)” เสาวลกั ษณ์ ศรีภักดี. (บรรณาธิการ). Buck, Pearl S. (Ed.). เอกสารประกอบการเรยี น กลมุ่ วิชาการศึกษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง 24

8) ชื่อผู้แต่งที่เป็นสถาบัน กรณีหน่วยงานราชการระดับกระทรวง ถ้าเนื้อหานั้นกล่าว ครอบคลมุ งานส่วนใหญ่ให้ลงชื่อกระทรวงนั้นเป็นผู้แต่ง หากเจาะจงเฉพาะหน่วยงานย่อยที่รับผิดชอบมาด้วยให้ ลงช่ือหน่วยงานใหญ่ และค่ันด้วยเครื่องหมายมหัพภาค ( . ) ตามด้วยหน่วยงานย่อย หรือกรณีที่หน่วยงานน้ัน เป็นหนว่ ยงานอสิ ระ ให้ลงชอื่ หน่วยงานน้ันได้ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั , คณะครศุ าสตร์. ธนาคารแหง่ ประเทศไทย. 2. ปที ่ีพิมพ์ ปีท่ีพิมพ์ให้ลงรายการเฉพาะตัวเลขในเคร่ืองหมายวงเล็บ (......) และปิดท้ายส่วนนี้ด้วย เครอื่ งหมายมหัพภาค ( . ) หากในตัวเล่มของหนังสือไม่ได้ระบุปีที่พิมพ์ให้ประมาณว่าหนังสือเล่มนั้นน่าจะพิมพ์ ประมาณชว่ งปใี ด ใหใ้ สเ่ ครอ่ื งหมายคาถามไว้หลังปีพิมพ์ที่ประมาณในวงเล็บ (...?) กรณีท่ีไม่ปรากฏปีพิมพ์ และ ไม่สามารถตรวจสอบได้อย่างชัดเจนให้ลงรายการ คาว่า “ม.ป.ป.” ซึ่งย่อมาจาก ไม่ปรากฏปีท่ีพิมพ์ สาหรับ ภาษาองั กฤษให้ลงรายการคาว่า “n.d.” ซึ่งยอ่ มาจาก no date (2542) (2539?) (ม.ป.ป.) (n.d.) 3. ช่อื หนงั สือ (Title) ให้ลงรายการตามทปี่ รากฏในหน้าปกในของหนังสือ ช่ือหนังสือภาษาไทยหากมีชื่อรอง (Sub- Title) ซงึ่ เปน็ คาอธบิ ายให้ลงรายการด้วยโดยคัน่ ดว้ ยเครอ่ื งหมายมหัพภาคคู่ ( : ) แตถ่ า้ มกี ารระบชุ อื่ ภาษาองั กฤษ ควบคู่ด้วย ให้ลงรายการชื่อภาษาอังกฤษต่อท้ายช่ือภาษาไทย โดยค่ันด้วยเคร่ืองหมายเท่ากับ (=) สาหรับ ชอ่ื เร่อื งของหนงั สือภาษาอังกฤษต้อง ขึ้นตน้ ด้วยอกั ษรตวั พมิ พใ์ หญใ่ นคาแรก และคาต่อไปให้ใชอ้ ักษรตวั พิมพ์เล็ก ยกเวน้ ช่ือเฉพาะ และส่วนของชอ่ื หนังสอื น้ีจะใช้อักษร ตัวเอน และปดิ ท้ายส่วนนดี้ ว้ ยเคร่อื งหมายมหัพภาค ( . ) การอ่านเพอื่ พัฒนาปญั ญา การเขียน: ทกั ษะสมั พนั ธ์. การอา่ น = Reading 4. ครั้งทพี่ มิ พ์ (Edition) ให้ลงรายการคร้ังที่พิมพ์ของหนังสือที่พิมพ์ต้ังแต่ครั้งท่ี 2 ข้ึนไป โดยลงรายการต่อท้ายชื่อ หนงั สอื โดยใชค้ าวา่ “พมิ พค์ รงั้ ท/่ี X.” สาหรบั หนงั สือภาษาองั กฤษให้ลงรายการคาว่า “2 nd ed.”, “3 rd ed.” และ “..th ed.” ปดิ ท้ายสว่ นน้ีด้วยเคร่ืองหมายมหัพภาค ( . ) พมิ พค์ รัง้ ที่ 2. 2 nd ed. 5. เมืองที่พิมพ์ (Place) ให้ลงรายการชอ่ื เมอื งซงึ่ เป็นที่ต้ังของสานักพิมพ์ตามที่ปรากฏ ในกรณีช่ือเมืองต่างประเทศถ้า มหี ลายเมืองให้ใช้ช่อื เมอื งแรก ถา้ ชือ่ เมอื งซ้ากนั ให้ลงชื่อเมืองคั่นด้วยเคร่ืองหมายจุลภาค ( , ) และต่อด้วยอักษร ย่อชื่อรัฐ ถ้าในกรณีไม่ปรากฏชื่อเมืองถ้าให้ลงรายการคาว่า “ม.ป.ท.” ซึ่งย่อมาจากไม่ปรากฏสถานท่ีพิมพ์ สาหรับหนังสือภาษาอังกฤษให้ลงรายการคาว่า “n.p.” ซึ่งย่อมาจาก no place และปิดท้ายด้วยเครื่องหมาย มหัพภาคคู่ (:) กรงุ เทพฯ: ม.ป.ท. Englewood Cliffs, NJ: n.p. เอกสารประกอบการเรียน กล่มุ วชิ าการศกึ ษาคน้ คว้าด้วยตนเอง 25

6. สานักพมิ พห์ รอื ผจู้ ดั พมิ พ์ (Publisher) ใส่ลงรายการชื่อของสานักพิมพ์ตามที่ปรากฏในหน้าปกใน ถ้ามีหลายสานักพิมพ์ให้ใส่ชื่อ สานักพมิ พ์แรก สานักพิมพ์ของหนังสือภาษาอังกฤษก็เช่นเดียวกัน กรณีท่ีไม่ปรากฏช่ือสานักพิมพ์ให้ลงรายการ คาวา่ “ม.ป.พ.” ซง่ึ ย่อมาจาก ไมป่ รากฏสานกั พมิ พ์ สาหรบั หนงั สือภาษาอังกฤษใหล้ งรายการ คาว่า “n.p.” ซึ่ง ยอ่ มาจาก no place กรณีทเ่ี ป็นสิ่งพิมพร์ ฐั บาลใช้ชือ่ ของหน่วยราชการ สถาบันที่จัดพิมพ์ในรายการสานักพิมพ์ และปดิ ท้ายสว่ นนี้ด้วยเคร่อื งหมายมหัพภาค ( . ) คาที่ประกอบกับชื่อสานักพิมพ์ ซึ่งได้แก่ สานักพิมพ์ บริษัท ห้างหุ้นส่วน จากัด Incorporation Inc, Limited, Ltd. ให้ตัดออก ในกรณีท่ีไม่ปรากฏท้ังเมืองที่พิมพ์และสานักพิมพ์ ให้ลงรายการ ม.ป.ท. หรือ n.p. รวมกนั เพียงครั้งเดียว ไทยวฒั นาพานชิ . Longman Group. การลงรายการบรรณานุกรม หนังสอื ทวั่ ไป (หนงั สอื เลม่ ) ผแู้ ต่ง./(ปีท่พี ิมพ์)./ชือ่ เรือ่ ง./ครง้ั ท่ีพิมพ.์ /เมืองทพ่ี ิมพ์:/สานกั พมิ พ์. การอ้างอิง (รฐั พล ศรีบูรณะพทิ กั ษ,์ 2554: หน้า 9) บรรณานุกรม รัฐพล ศรบี รู ณะพิทกั ษ์. (2554). การเขียนเพื่อการสื่อสาร. พมิ พค์ ร้งั ท่ี 5. กรงุ เทพฯ: ไทยปริน้ ท.์ นิตยสาร/วารสาร ผเู้ ขยี นบทความ./(ปีทพี่ ิมพ์),/วัน,/เดือน/ “ช่ือบทความ”/ชอ่ื วารสาร. ปีที่ (ฉบบั ท่)ี :/หน้าท่อี ้างองิ . การอา้ งองิ (อมั พิกา เสนาวงศ,์ 2558: หน้า 16) บรรณานกุ รม อัมพิกา เสนาวงศ์. (2558), 14 กมุ ภาพันธ์. “การล้างพิษในร่างกาย” หมอชาวบา้ น. 18 (2): 24-25. อนิ เทอรเ์ นต็ หรือเวบ็ ไซต์ ผู้แต่ง./(ปที ข่ี ้อมลู )./ช่ือเรื่อง./สืบค้นเมอื่ /วัน/เดือน/ปี, จาก/ช่อื ยอ่ ยหรอื แหลง่ ทีม่ า หรือ URL. การอ้างอิง (กรมอุตินิยมวทิ ยา: 2554) บรรณานกุ รม กรมอุตนุ ิยมวิทยา. (2554). ภาวะเรือนกระจก. สืบคน้ เม่ือ 21 เมษายน 2563, จาก https://www.tmd.go.th/info/info.php?FileID=20. เอกสารประกอบการเรียน กลุม่ วชิ าการศึกษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง 26

หนงั สือพมิ พ์ ผูเ้ ขียนบทความ./ปที ่ีพิมพ์,/วนั ที่/เดอื น./ “ช่ือบทความ”/ชื่อหนงั สือพิมพ์. หน้าทอี่ า้ งอิง. การอ้างองิ (นรภทั ร อเนกธนโชติ, 2553: หน้า 12) บรรณานกุ รม นรภัทร อเนกธนโชต.ิ (2553), 23 มิถนุ ายน. “อาเซียนในเร็ววนั ” ไทยรัฐ. หนา้ 2. ซีดี-รอม ชื่อผบู้ รรยาย./ปที ผ่ี ลิต./ชือ่ เร่อื ง./(ซีดี-รอม)./สถานทผ่ี ลิต:/ผู้ผลิต การอ้างอิง (ขวัญชยั อุบลโพธ์ิ: 2554) บรรณานกุ รม ขวัญชัย อุบลโพธ์ิ. (2554). การละเล่นพน้ื บา้ นลพบุรี. (ซีด-ี รอม). ลพบรุ :ี สานกั งานวัฒนธรรมจงั หวดั ลพบุร.ี รายการวทิ ยุ/โทรทัศน์ ชือ่ ผู้ผลติ ./(หนา้ ทใ่ี นการผลิต)./(ป,ี /เดอื น/วนั ท่ีเผยแพร่)./ช่ือเรอ่ื ง-รายการ. สถานท่ีตงั้ สถานี:/ช่ือสถาน.ี การอ้างอิง (ณธพสิษฐ์ กมลสนิ มหดั : 2555) บรรณานุกรม ณธพสษิ ฐ์ กมลสนิ มหัด. (ดาเนนิ รายการ). (2555, มถิ นุ ายน 16). ทงุ่ แสงตะวนั . กรุงเทพฯ: สถานีโทรทศั นช์ ่อง 3. การสมั ภาษณ์ ผใู้ หส้ ัมภาษณ.์ /(ป,ี /เดือน/วันที่สัมภาษณ)์ . ตาแหน่งหรอื ท่ีอย.ู่ / สัมภาษณ.์ การอา้ งอิง (คุณานนท์ แซล่ ้ี: 2555) บรรณานุกรม คุณานนท์ แซ่ลี้. (2555, มถิ นุ ายน 26). นายอาเภอเมืองลพบรุ .ี สัมภาษณ.์ หรือ คณุ านนท์ แซ่ลี.้ (2555, มิถุนายน 26). 116 ถนนเจริญกรงุ 58 แขวงวดั พระยาไกร เขตสาทร กรงุ เทพฯ. สัมภาษณ์. การเขียนอ้างอิง บรรณานุกรมหรือเอกสารอ้างองิ ชว่ ยให้งานเขยี นทางวิชาการ มีความน่าเช่ือถือ และ เพื่อแสดงความเคารพเจ้าของข้อมูล รวมทั้งเป็นหลักฐาน ท่ีระบุว่าสารสนเทศที่นามาเรียบเรียงเป็นรายงานหรือ เอกสารทางวิชาการน้ัน ได้มาจากการศึกษาค้นคว้า รวบรวม และคัดลอกมาจากแหล่งใด ดังนั้นจึงต้องเรียนรู้ รปู แบบในการเขียนอา้ งองิ บรรณานกุ รมหรือเอกสารอา้ งอิง ทีเ่ ป็นแบบมาตรฐานสากล ซ่ึงมอี ยู่หลายแบบด้วยกัน ข้อสาคญั คือเมอื่ เลือกใชแ้ บบใดแลว้ ต้องใช้แบบนน้ั ใหต้ ลอดในรายงานเรอื่ งน้ัน เอกสารประกอบการเรียน กลมุ่ วิชาการศกึ ษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง 27

การเรียบเรียงรายงานควรเรียบเรียงเป็นลาดับตามโครงเร่ืองที่วางไว้ในส่วนท่ีเป็น บทนา ต้องชี้แจง เหตผุ ลวตั ถปุ ระสงคข์ อบเขตของเรื่อง และวธิ ีการศึกษาค้นคว้า เพอ่ื นาผู้อา่ นเขา้ สสู่ ว่ นเน้ือหาของรายงาน ในส่วน เนื้อหา นักเรียนจะต้องนาความรู้ความเข้าใจ ความคิดเห็น หรือข้อสรุป ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า จัดระเบียบ วเิ คราะห์และตคี วามข้อมูล มาเรียบเรียง ประมวล และนาเสนอตามลาดับข้ันตอน ด้วยสานวนภาษาของตนเอง ไมใ่ ช่คดั ลอกข้อความจากแหล่งข้อมลู ตา่ ง ๆ มาปะตดิ ปะต่อกันจนจบเร่ือง หากเนือ้ หาตอนใดเปน็ การคัดลอกหรอื ถอดความมาจากแหล่งขอ้ มูลอนื่ ๆ กต็ ้องอา้ งอิงแหล่งท่มี าของขอ้ มูลดว้ ยทุกคร้ัง มิฉะน้ันจะถือว่าเป็นการลักลอก ผลงาน (Plagiarism) เอกสารประกอบการเรียน กลุ่มวชิ าการศกึ ษาคน้ คว้าด้วยตนเอง 28

วิธกี ารเรยี บเรียงข้อมูลเบอื้ งตน้ 1. ข้อมลู แบบเป็นขอ้ หรือประเด็น ประโยชนข์ องกลว้ ยดา้ นการแพทย์ ภมู ิพิชญ์ สุชาวรรณ. 2554. พืชสมุทนไพรใชเ้ ปน็ บา. กรงุ เทพฯ: อักษรพพิ ัฒน.์ 1. ผลดบิ แก้ทอ้ งเดิน 2. ผลสุกช่วยระบายท้อง 3. ยางกล้วยใช้สมานแผล ห้ามเลือด รกั ษาแผลสด 4. รากกล้วยนามาตา พอกแกเ้ คล็ดขดั ยอก 5. หวั ปลีช่วยบารุงนา้ นม นิยมนามาทาแกงเลยี ง 6. เปลือกมาทาเทา้ ฝ่ามอื ปอ้ งกันระงบั เชอื้ แบคทีเรยี ประโยชน์ของกลว้ ยดา้ นการแพทย์ เตโช พทั ธศยั . 2543. 35 สมุนไพรใชเ้ ป็นยา. กรงุ เทพฯ: โปรเอส็ เอม็ ซี. 1. ผลดบิ รกั ษาอาการทอ้ งเดนิ 2. ผลสุกเป็นยาระบายอยา่ งออ่ น 3. ใบอ่อนอังไฟพอนม่ิ ใช้พอกแก้เคลด็ ขดั ยอก 4. กาบกล้วยพอกตวั ลดอาการไข้ 5. ยางจากใบใชร้ กั ษาแผล หา้ มเลือด 6. หวั ปลีแก้โลหิตจาง ลดน้าตาลในเลอื ด 1.1 เมอื่ ได้ขอ้ มูลมาจากแหล่งสารสนเทศแล้ว ให้จัดเรียงข้อมูลท้ังสองแหล่ง ถ้าข้อใดเหมือนกันให้ เอาไว้รวมกนั กอ่ น สว่ นข้อมลู ทแ่ี ตกต่างกนั ให้นามาตอ่ ท้าย ดงั น้ี (1+1) ผลดบิ รักษาอาการทอ้ งเดิน รกั ษาแผลในกระเพาะอาหาร (2+2) ผลสุกใชเ้ ปน็ ยาระบาย (3+5) ยางใชส้ มานแผล ห้ามเลือด รกั ษาแผลสด (5+6) หัวปลบี ารงุ นา้ นม แก้โลหติ จาง ลดนา้ ตาลในเลอื ด (4) รากกลว้ ยนามาตาพอกแก้เคล็ดขดั ยอก (6) เปลอื กมาทาเท้า ฝา่ มอื ป้องกนั ระงับเชอ้ื แบคทีเรีย (3) ใบออ่ นพอกแกเ้ คล็ดขัดยอก (4) กาบกล้วยพอกตวั ลดอาหารไข้ เอกสารประกอบการเรยี น กลมุ่ วิชาการศกึ ษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง 29

1.2 จัดเรียงข้อมูลใหม่ตามลาดับความสาคัญก่อนหลัง แล้วนักเรียนจะได้ข้อมูลท่ีเกิดจาก การผสมผสานเน้ือหาท่ีนักเรียนหามาจากแหล่งต่าง ๆ โดยมิใช่เป็นการคัดลอกทั้งหมด อย่างที่เคยทามา เมื่อจัดเรียงแลว้ จะไดด้ งั น้ี 1) ผลดิบรักษาอาการทอ้ งเดิน รกั ษาแผลในกระเพาะอาหาร 2) ผลสกุ ใชเ้ ป็นยาระบาย 3) เปลอื กมาทาเท้า ฝา่ มือ ปอ้ งกนั ระงับเช้อื แบคทเี รยี 4) หัวปลีบารุงนา้ นม แก้โลหติ จาง ลดน้าตาลในเลอื ด 5) ยางใชส้ มานแผล ห้ามเลือด รกั ษาแผลสด 6) ใบออ่ นพอกแก้เคล็ดขัดยอก 7) กาบกลว้ ยพอกตัวลดอาหารไข้ 8) รากกลว้ ยนามาตาพอกแกเ้ คล็ดขดั ยอก 2. ขอ้ มูลแบบบรรยาย พิจารณาข้อมูลที่เหมือนกัน คล้ายกัน หรือเป็นไปในทางเดียวกัน รวมเข้าด้วยกันแล้วจัดลาดับ ข้อมูลให้มีความสอดคลอ้ งต่อเนอื่ งกัน ควรเพ่ิมเติมขอ้ ความสานวนใหม้ ีความสมบรู ณย์ ง่ิ ขน้ึ ดังนี้ การเขียนสรา้ งสรรค์ การเขียนสรา้ งสรรค์ หมายถงึ การเขียนท่ีเกิดจากความคิดริเริ่ม ไม่เลียนแบบมีความแปลกใหม่ มีจินตนาการ ซงึ่ สอดประสานกับความงามทางภาษา สร้างสรรค์สติปัญหา ประเทืองอารมณ์ ผสมผสาน กับการนาเสนอความคดิ และถ้อยคาสานวนอันประกอบด้วยศิลปะ มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ทั้งรูปแบบ เนอ้ื หา สาระ กลวธิ ี ตลอดจนการใช้ถอ้ ยคา สานวนตา่ ง ๆ ความหมายของการเขยี นสร้างสรรค์ การเขียนสร้างสรรค์ หมายถึง งานเขียนทั้งประเภทสารคดีและบันเทิงคดีท่ีผู้เขียนมุ่งแสดง ความคดิ คานงึ และจินตนาการของตนด้วยสานวนภาษาสละสลวย กลวธิ ีการเขยี นไม่มขี อบเขตจากดั การ แสดงออกในทุกองค์ประกอบเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวของผู้เขียน และงานเขียนน้ัน ต้องมีคุณค่าทาง อารมณ์และสติปญั ญา จากตวั อย่างข้อมูล สามารถผสมผสานขอ้ มูลได้ ดงั นี้ การเขียนสร้างสรรค์ หมายถึง งานเขียนที่เกิดจากการผสมผสานความคิด จินตนาการ ริเริ่ม สร้างสรรค์ เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวของผู้เขียนโดยประมวลจากความคิด ความรู้ ประสบการณ์ แล้วแสดงออก อย่างไมจ่ ากดั รูปแบบ เน้อื หา ตลอดจนวิธกี ารใช้ภาษา เป็นผลงานที่มีคณุ ค่าทางอารมณแ์ ละสติปญั ญา เอกสารประกอบการเรียน กลมุ่ วชิ าการศกึ ษาคน้ คว้าด้วยตนเอง 30

การใชภ้ าษาในการเขียนรายงานวิชาการ ภาษาการเขียนรายงานมีลักษณะเป็นภาษาแบบแผน ไม่ใช้ภาษาปากหรือภาษาพูด แต่ควรเป็นภาษา สภุ าพและเหมาะกับผู้อ่าน การใชภ้ าษาในการเรียบเรยี งรายงานควรพิจารณาในประเด็นตา่ ง ๆ ดงั นี้ 1. ความถูกตอ้ งและสมบรู ณ์ 1.1 การสะกดคา ในการเขียนรายงานผู้จัดทาต้องพิถีพิถันในการตรวจสอบความถูกต้องของการ สะกดคาท่ีใชเ้ สมอ หากไมแ่ น่ใจควรเปิดพจนานกุ รมฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ไม่ควรเดาสุ่มหรือปล่อย ขา้ มไปโดยไมม่ ีการตรวจสอบ หากเปน็ คาทับศัพทซ์ งึ่ ปัจจุบันมกี ารเขียนท่ีตา่ งกันมาก ดังน้ันควรยึดหลักการเขียน ตามเกณฑ์ของราชบัณฑติ ยสถานจึงจะเป็นทยี่ อมรับในวงวชิ าการ เล่ียงการฉีกคา ออกจากกันเมื่อข้ึนบรรทัดใหม่ หากจาเป็นต้องฉีกคาแล้วก็ควรใส่เครื่องหมายยติภังค์หรือยัตติภังค์ ซึ่งเป็นเครื่องหมายขีดกลางบรรทัด (-) แสดงว่ามีส่วนของคาท่ีอยู่บรรทัดใหม่ เช่น มหาวิทยาลัยราชภัฏ-สวนสุนันทา กระทรวงวิทยาศาสตร์-และ เทคโนโลยี แต่ไม่ควรฉีกคาในกรณีที่คานั้นเป็นคาเดียวกัน แต่อ่านออกเสียงหลายพยางค์ เช่น สามา-รถ ปฏิสัง- ขรณ์ สวนสุ-นนั ทา เปน็ ต้น 1.2 การเขียนตัวเลข โดยปกติการแสดงจานวนนิยมเขียนด้วยตัวเลข ทั้งวันที่ เดือน ปี อายุ เลข หน้า เลขบท เลขตาราง จานวนเงิน จานวนนับหน้าคาลักษณนาม จานวนนับทางคณิตศาสตร์ และจานวนหน้า คาว่า เปอรเ์ ซน็ ต์ แตค่ วามนิยมเขียนจานวนด้วยตวั อักษรกพ็ บในกรณดี งั น้ี  สิ่งที่กล่าวถึงมีจานวนต่ากว่า 10 โดยเฉพาะ เลข 0 และ 1 เช่น หน่ึงในล้าน ค่าเป็นศูนย์ ส่ีครั้ง ภาพสามมิติ เป็นต้น แต่สาหรับข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีนิยมเขียนเป็นตัวเลข ไม่ว่าจะมีค่า เทา่ ใด เช่น อุณหภมู ิ 43 องศาเซลเซียส กาลังไฟ 220 โวลต์  ตัวเลขท่ีเปน็ คาแรกของประโยค ชื่อเรื่อง หรือหัวข้อในหนังสือ เช่น ชายสามโบสถ์ ส่ีสหาย ปราบโจร ร้อยแปดพนั เก้า เจ็ดดรณุ ี เป็นต้น  เศษส่วน เช่น หน่ึงในสามของรายได้ หนึ่งตอ่ หนง่ึ เศษสองส่วนสี่ เป็นต้น  สาหรบั ตัวเลขตั้งแต่หลักล้านขึ้นไปให้ใช้ตัวเลขและอักษรประสมกัน เช่น 7 หม่ืนล้านบาท 60 ลา้ นคน 200 ลา้ นบาท เปน็ ต้น 1.3 การเว้นระยะหลังเคร่ืองหมายวรรคตอน เพ่ือความเป็นระเบียบแบบแผนและสวยงาม เม่ือมี การพมิ พข์ อ้ ความหลงั เครือ่ งหมายจุลภาค (,) อฒั ภาค (;) ทวิภาค (:) และอัญประกาศ (“ ”) ให้เว้นวรรค 1 เคาะ แตถ่ ้ามีเคร่อื งหมายมหพั ภาค (.) นามากอ่ นใหเ้ ว้นวรรค 2 เคาะ 1.4 ความสม่าเสมอ ดังท่ีได้กล่าวแล้วว่าภาษาในการเขียนรายงานต้องเป็นภาษาแบบแผนดังน้ัน การใชภ้ าษาตลอดทง้ั เล่มรายงานต้องเป็นภาษาระดับเดียวกัน ไม่ควรนาภาษาระดับไม่เป็นทางการเข้ามาปะปน เชน่ การเดินทางโดยรถโดยสารประจาทางเปน็ ยานพาหนะท่ีสาคญั ของคนเมอื ง หากวนั ใดรถเมล์เกดิ การประท้วง ผคู้ นคงลาบาก 1.5 การใช้ประโยคและย่อหนา้ ทส่ี มบูรณ์ ประโยคท่ีสมบูรณ์เกิดจากการเรยี งคาได้ถกู ต้องตามหลัก ไวยากรณ์ไทย ไม่ใช้ประโยคกากวม ทาให้ตีความได้หลายอย่าง มีความเป็นเหตุเป็นผลสอดคล้องกัน และ ควรหลีกเลี่ยงสานวนภาษาต่างประเทศ ส่วนย่อหน้าท่ีสมบูรณ์เกิดจากข้ันตอนการวางโครงเร่ือง ทาให้แต่ละย่อ หนา้ มีเอกภาพ สารัตถภาพ คอื มีประเดน็ หลักทีต่ อ้ งการนาเสนอเพียงประเด็นเดียวเท่านั้น และข้อมูลที่เรียบเรียง มีความสัมพนั ธ์กนั เกย่ี วขอ้ งกันไปจนจบย่อหนา้ 1.6 หลกี เลย่ี งคาทไ่ี ม่ควรใช้ ได้แก่ การใช้ภาษาพูดหรือภาษาปาก คาหยาบ คาไม่สุภาพ คาสแลง คายอ่ ที่ไม่เปน็ ท่ีรจู้ กั คาโบราณที่ไมเ่ ปน็ ทไ่ี ม่เปน็ ทรี่ ูจ้ ักแล้ว คาท่ีมีความหมายกากวม ยกเว้นคาเหล่าน้ีจาเป็นต้อง นาเสนอเน่ืองจากเก่ียวข้องกับเน้ือหาหรือเป็นผลการค้นคว้า ส่วนคาศัพท์เทคนิคและคาศัพท์ยาก หากนามาใช้ ควรมีคาอธิบายกากับเสมอเพ่ือให้ผู้อ่านรายงานได้เข้าใจ โดยอาจรวบรวมไว้ในอภิธานศัพท์ในส่วนประกอบ ตอนท้ายของรายงาน เอกสารประกอบการเรยี น กลมุ่ วชิ าการศึกษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง 31

2. ความกะทัดรัด หลีกเล่ียงการเขียนรายงานด้วยการใช้คาฟุ่มเฟือยในประโยค ข้อความฟุ่มเฟือย ในย่อหน้า การทารายงานโดยการเขียนข้อความยืดยาวเพื่อให้มีปริมาณงานมากข้ึนไม่ใช่สิ่งที่ดีแต่หากเม่ือ มีการวางโครงเรื่องอย่างเหมาะสม ใช้ภาษากระชับ รัดกุมเพ่ือส่ือความหมายได้ชัดเจนจะทาให้รายงาน น่าอ่าน มากกวา่ 3. ความชดั เจน ภาษาไทยเป็นภาษาคาโดดซ่ึงคาแต่ละคามีความหมายโดยไม่ต้องมีการเปลี่ยนรูปคา เหมอื นภาษาองั กฤษ การเรยี งลาดับคาและการเวน้ วรรคตอน เป็นสงิ่ สาคัญทท่ี าให้ความหมายของคาเปลย่ี นไปได้ เช่น เขาสั่งให้ไปทา แตกต่างจาก เขาส่ังไปให้ทา และ เขาสั่งทาไปให้ หรือประโยคว่า น้อยซ้ือข้าวหมูแดงมากิน กับนิด ความหมายแตกตา่ งจาก นอ้ ยซ้ือข้าวหมู แดงมากินกับนิด เป็นต้น ดังน้ันต้องการส่ือความหมายอย่างใดก็ ควรพิจารณารูปภาษาให้ละเอยี ดถถ่ี ้วนเสมอ 4. การลาดับความ ก่อนลงมือเขียนต้องมีการจัดลาดับความ หรือกาหนดจุดมุ่งหมายในการนาเสนอ โดยการวางโครงเรอ่ื ง ทั้งนีเ้ พอ่ื เป็นการจัดกรอบความคดิ และลาดบั ความสาคัญของเนื้อหาให้เหมาะสมก่อนจะลง มอื เขียน และขณะทีเ่ ขยี นก็ใหห้ มั่นกลับไปดโู ครงเรอ่ื งที่กาหนดไว้เพ่ือจะไดไ้ มห่ ลงออกนอกประเด็น ลักษณะของรายงานวิชาการที่ดี พูลสุข เอกไทยเจริญ (2551: หน้า 165-166) กล่าวถึงการเขียนรายงานหรือภาคนิพนธ์ที่ดีควรมี ลักษณะดังน้ี 1. เนื้อเรื่อง ถูกต้องครบถ้วน ครอบคลุมประเด็นที่ต้องการนาเสนอ มีการจัดลาดับเน้ือเรื่องอย่าง เหมาะสม ชดั เจน มีเอกภาพ สารตั ถภาพ และสัมพนั ธภาพ มวี ธิ กี ารนาเสนอทดี่ ี อา่ นเขา้ ใจง่าย 2. ภาษา ใช้ภาษาได้ถูกต้องเหมาะสม เป็นภาษาเขียนที่เรียบง่ายอย่างพิถีพิถัน ไม่คลุมเครือ ส้นั กะทดั รัด สละสลวย 3. รูปแบบ ถูกต้องตามสถานศกึ ษาหรือผ้สู อนกาหนด พมิ พ์ประณตี ส่วนประกอบทุกส่วนสวยงาม ถูกต้อง เรยี บรอ้ ย มีคุณภาพ ทุกข้ันตอนในการจัดทาตอ้ งมกี ารตรวจทานแก้ไขอยา่ งละเอยี ดถีถ่ ้วน 4. ความเป็นผลงานการค้นคว้า คือต้องแสดงให้เห็นถึงการศึกษาค้นคว้าอย่างจริงจัง ลึกซ้ึง กว้างขวาง ครบถ้วน มีความน่าเชื่อถือ มีหลักฐานอ้างอิงหลากหลาย ทันสมัย มีการเขียนอ้างอิงแหล่งที่มาของ ข้อมลู อยา่ งถูกตอ้ งและครบถ้วน 5. ความชัดเจนของผู้ทารายงาน แสดงใหเ้ ห็นว่าผูท้ ารายงานมคี วามชัดเจนในแนวคิดและประเด็น สาคัญของเรือ่ ง มคี วามเข้าใจอย่างแจ่มชัดในประเด็นที่นาเสนอ เอาใจใส่ในการคัดสรรข้อมูลและนามาใช้ได้ตรง ตามจุดประสงค์ของเรื่อง อาจมีการนาเสนอส่วนที่เป็นความรู้ ประสบการณ์ ความคิด หรือความเห็นท่ีแตกต่าง หรือแปลกใหมอ่ อกไป และอาจยา้ ถงึ ประโยชนท์ ีไ่ ดจ้ ากการทารายงานคร้ังน้ี เอกสารประกอบการเรียน กลมุ่ วชิ าการศึกษาค้นควา้ ดว้ ยตนเอง 32

การเขียนรายงานวิชาการนั้นไม่ว่าจะเป็นรายงานประเภทใดเน้นในเรื่องส่วนประกอบและการจัด รูปเลม่ มาก ดังนน้ั ผูท้ จี่ ะเขียนรายงานจึงจาเป็นตอ้ งทราบถงึ รูปแบบ สว่ นประกอบตา่ ง ๆ ที่เป็นมาตรฐาน เพ่ือจะ ได้เขียนรายงานได้ถูกต้องตามแบบแผนอีกทั้งยังช่วยให้รายงานน้ันมีความสมบูรณ์เพิ่มคุณค่ายิ่งข้ึน การเขียน รายงานวิชาการแต่ละประเภทมีส่วนประกอบ แตกต่างกันออกไป ซึ่งสถานศึกษาแต่ละแห่งจะเป็นผู้กาหนด รายละเอียดย่อยเฉพาะข้ึนเอง นักเรียนต้องปฏิบัติตามท่ีกาหนด ซึ่งส่วนประกอบของรายงานทางวิชาการ และ รายงานการค้นคว้าท่ัวไป ทั้งนี้ในบทที่ 5 ส่วนประกอบและการจัดพิมพ์รายงาน ประกอบด้วยองค์ประกอบและ รูปแบบตามวิชา IS2 การสื่อสารและการนาเสนอ ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนวัดสุทธิวราราม ดังจะไดอ้ ธิบายต่อไป เอกสารประกอบการเรยี น กลมุ่ วิชาการศกึ ษาค้นควา้ ด้วยตนเอง 33

ส่วนประกอบของรายงาน รูปแบบของรายงานวิชาการมีส่วนประกอบ 3 ส่วนคือ ส่วนประกอบนา ส่วนประกอบเน้ือหาและส่วน อ้างอิง (วัฒนา ก้อนเช้ือรัตน์, 2535: หน้า 133-135) ในบทนี้จะกล่าวถึงวิธีเขียน ส่วนประกอบตอนต้น ส่วนประกอบเนื้อหา ส่วนสุดท้าย คือส่วนประกอบตอนท้ายหรือส่วนอ้างอิง ตามวิชา IS2 การสื่อสารและ การนาเสนอ ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนวัดสุทธิวราราม ดังนี้ 1. สว่ นประกอบตอนต้น 1.1 ปกนอก ควรจัดทาด้วยกระดาษเนื้อหนากว่ากระดาษด้านในท่ีเป็นเนื้อหารายงาน โดยมีรูปแบบและ รายละเอียดท่ีขึ้นอยู่กับสถาบันและผู้สอนกาหนด แต่โดยท่ัวไปหน้าปกรายงานจะประกอบด้วยช่ือรายงาน ช่ือผูจ้ ดั ทา ช่อื วิชา ชอ่ื สถาบนั ภาคเรียน และปกี ารศึกษา โดยจดั วางรปู แบบให้เหมาะสม นอกจากนี้ในบางสถาบัน ก็กาหนดให้ระบุช่ืออาจารย์ผู้สอนในหน้าปกด้วย หรือบางแห่งให้ระบุเพียงชื่อรายงานเท่าน้ัน ส่วนรายละเอียด อ่ืน ๆ ให้ใส่ไว้ในหน้าปกใน สาหรับกรณีท่ีช่ือเรื่องยาวเกินหนึ่งบรรทัดให้จัดพิมพ์ในรูปแบบสามเหล่ียมหัวกลับ เพอ่ื ความสวยงาม 1.2 ใบรองปก ใบรองปกเปน็ กระดาษเปล่าทวี่ างเรียงต่อจากปกนอก ผจู้ ดั ทารายงานส่วนใหญม่ กั ไม่มีใบรองปก เนอ่ื งจากเป็นกระดาษไม่มีข้อมูลใด ๆ ในการทารายงานวิชาการจะปรากฏการแทรกใบรองปกในตาแหน่ง ต่อจาก ปกหน้าและก่อนปกหลัง แมจ้ ะเป็นเพียงหน้ากระดาษเปลา่ แต่ใบรองปกกเ็ ป็นสว่ นประกอบที่ทาให้รายงานวิชาการ มีองค์ประกอบสมบรู ณ์ 1.3 ปกใน ปกในจะนาเสนอข้อมลู เหมือนกบั ปกนอกทกุ ประการ แต่พิมพข์ ้อมูลลงบนกระดาษสีขาวเหมือน การพิมพ์เนื้อหารายงาน ปกในมีประโยชน์เพราะหากปกนอกชารุดหรือขาดหาย ข้อมูลของผู้จัดทารายงานก็ยัง ปรากฏอยู่ในปกใน 1.4 บทคัดยอ่ บทคัดย่อ เป็นส่วนแสดงเน้ือหาสาคัญ โดยกล่าวถึงหัวข้อเร่ือง จุดประสงค์ ขอบเขตของเรื่อง และผลการศึกษา รวมถึงระบุประเด็นปัญหาในการศึกษาและข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งต่อไป การเขียน บทคดั ย่อทด่ี ีตอ้ งกระชับ สื่อความหมายให้เข้าใจไดง้ า่ ย 1.5 กติ ติกรรมประกาศ กิตตกิ รรมประกาศ เปน็ สว่ นท่ีนักเรียนเขียนขอบคุณผู้มีส่วนช่วยเหลือ ร่วมมือในการสอน หรือ การเขียนรายงาน ได้แก่ ครู อาจารย์ท่ีเคยสอน บุคคลที่ปรากฏชื่อในบรรณานุกรม ซึ่งนักเรียนนาแนวคิดมาใช้ ผู้ให้คาปรึกษา ผู้ช่วยให้ข้อมูล รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อนร่วมงาน ตลอดจนผู้สนับสนุนทุนใน การจดั ทารายงาน ทั้งนี้นักเรียนจะต้องเขียนข้อความส้ัน ๆ ช่ือ-สกุล ตาแหน่งของผู้ที่กล่าวถึง ต้องเขียนให้ถูกต้อง ระมัดระวังตัวสะกดการนั ต์ ไม่ควรอา้ งช่อื ใคร โดยท่ีผนู้ ั้นไม่มีส่วนเกยี่ วข้องตามทอี่ ้าง 1.6 คานา คานาเป็นส่วนที่แสดงถึงความสาคัญ อาจแบ่งการเขียนออกเป็นย่อหน้า ดังนี้ ย่อหน้าที่ 1 ความมุ่งหมายของการจัดทารายงาน วัตถุประสงค์ ขอบเขตของเน้ือหา ย่อหน้าที่ 2 เนื้อหาในรายงาน ประกอบด้วยอะไรบ้าง ย่อหน้าท่ี 3 การออกตัวและขอบคุณผู้ที่ช่วยเหลือให้การทารายงานสาเร็จเรียบร้อยด้วยดี ทั้งน้ีการเขียนคานาไม่ควรกล่าวถึงข้อบกพร่องหรือคาขอโทษท่ีจัดทารายงานไม่เรียบร้อยในส่วนท้ายของคานา จะระบุ ชื่อ-นามสกุลของผูจ้ ัดทารายงาน และวนั เดอื น ปี แตถ่ ้าผูจ้ ัดทามีหลายคนใหเ้ ขยี นว่า คณะผู้จัดทา แทน เอกสารประกอบการเรยี น กลมุ่ วิชาการศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเอง 34

1.7 สารบัญ สารบัญทาหน้าที่บอกหัวเร่ืองต่าง ๆ ท่ีมีอยู่ในรายงาน เรียงลาดับตั้งแต่ต้นจนจบ โดยระบุเลข หน้ากากับหัวข้อเร่ืองนั้นไว้ เร่ิมต้นหน้าท่ี 1 เมื่อเป็นส่วนเน้ือเร่ือง ส่วนหน้าท่ีเป็นส่วนประกอบรายงาน ได้แก่ คานา สารบัญ สารบัญภาพ สารบัญตาราง จะใช้ตัวเลขหรือตัวอักษรภายในวงเล็บ ในกรณีที่เน้ือหาของรายงาน มีภาพประกอบและตารางแสดงข้อมูลจานวนมาก ก็อาจจัดทาสารบัญภาพและสารบัญตารางเรียงต่อสารบัญ เน้ือหา ขอ้ ควรระวงั ในการจดั ทาสารบญั การจัดทาสารบญั ไม่ใชเ่ ร่ืองยากแต่มีข้อควรระวัง ดังนี้ 1) หัวข้อในสารบัญไม่ครบตามหัวเร่ืองในเล่มรายงาน ฉะนั้นควรตรวจสอบหัวข้อให้ถูกต้อง เพื่อทาใหส้ ารบญั สามารถแสดงเน้ือหาภายในเล่มได้สมบูรณ์ท่ีสุด และการพิมพ์หัวข้อในสารบัญอาจพิมพ์ท้ังหัวข้อ หลักกับหัวข้อรอง หรือหัวข้อหลักอย่างเดียว อย่างไรก็ตามหากพิมพ์ท้ังหัวข้อหลักและหัวข้อรอง ควรพิมพ์หัวข้อ รองเยอ้ื งไปด้านขวาของหัวข้อหลักเพือ่ แสดงลาดับชัดเจน 2) ช่ือหัวข้อในเล่มรายงานไม่ตรงกับหัวข้อในสารบัญ อาจเน่ืองมาจากการเปล่ียนแปลงหัวข้อ ในเนอ้ื หาภายหลังการจัดทาสารบญั แลว้ แตไ่ ม่ได้ปรับเปลี่ยนในหน้าสารบญั ด้วย 3) เลขหน้าไม่ตรงกับเน้ือหาภายในเล่ม หรือบางคร้ังไม่มีเลขหน้าตามที่กาหนดในสารบัญ ตอ้ งมีการตรวจสอบใหด้ กี ่อนจดั พิมพ์ 2. ส่วนเนื้อหา 2.1 บทนา บทนาหรือความนา เป็นขอ้ ความเรม่ิ ต้นในส่วนเนื้อหา ซ่ึงบทนาอาจเป็นเพียงย่อหน้าเดียวหรือ ขึ้นบทใหม่ทั้งบทก็ได้ ท้ังนี้ข้ึนอยู่กับขนาดของรายงาน หากเป็นรายงานฉบับเล็ก อาจมีบทนาเพียงย่อหน้าเดียว เป็นเพียงย่อหน้านา ซึ่งการเขียนบทนาสาหรับรายงานท่ัวไป ผู้จัดทาอาจกล่าวถึงความสาคัญของประเด็น ท่ีศึกษา หรืออาจเสนอข้อมูลทั้งหมดที่จาเป็นอันนาไปสู่ประเด็นในเน้ือเรื่องแต่หากผู้จัดทาต้องการนาเสนอข้อมูล เบ้ืองหลังการจัดทารายงานก็ควรให้รายละเอียดในประเด็นต่าง ๆ มากขึ้น ซึ่งการเขียนในลักษณะน้ีอาจทาเป็น บทนา 1 บทต่างหาก โดยกล่าวถึงความสาคัญของประเด็นที่ศึกษา วัตถุประสงค์ ขอบเขตของการศึกษา วิธี การศึกษา คานิยามเฉพาะท่ีใช้ในรายงาน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ (ถ้ามี) ปัญหาท่ีพบในการเก็บข้อมูล และ ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับ 2.2 เนือ้ หา การเรียบเรียงส่วนเน้ือหาในรายงานประกอบด้วยส่วนท่ีเป็นเนื้อความ การอ้างอิงในเนื้อหา การเขียนอญั ประภาษ และเชิงอรรถ ในส่วนเน้ือความ เมื่อผู้จัดทารายงานได้ผ่านกระบวนการค้นคว้า รวบรวมและบันทึกข้อมูลได้ ตามท่ีต้องการแล้ว ก่อนอ่ืนต้องตรวจสอบความถูกต้องและความน่าเช่ือถือของข้อมูลก่อน โดยพิจารณาถึง แหล่งข้อมูลท่ีนามา บุคคลหรือหน่วยงานที่จัดทาข้อมูลนั้น เช่น ถ้าผู้เขียนเป็นผู้เช่ียวชาญเฉพาะในสาขาวิชาย่อม น่าเชื่อถือกว่าบุคคลที่ไม่ใช่ผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชานั้น หรือเรื่องเก่ียวกับการศึกษา ควรอ้างอิงแหล่งท่ีมาจาก กระทรวงศึกษาธิการมากกว่ากระทรวงวัฒนธรรม เป็นต้น ปัจจุบันการนาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตมาใช้ประกอบ ในรายงานมีจานวนมากข้ึน เนื่องจากการสืบค้นสะดวก ไม่เสียเวลาและค่าใช้จ่ายมากเท่ากับการเข้าใช้บริการ หอ้ งสมดุ ต่าง ๆ แตข่ ้อควรระวังในการนาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตมาใช้ คือควรพิจารณาแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ เช่น เลือกใช้ฐานข้อมูลของมหาวิทยาลัย หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) หรือเนื้อหาที่แสดงข้อมูลผู้เขียนชัดเจน น่าเชื่อถือ และเราสามารถนามาอ้างอิงได้ ย่อมดีกว่าการนาข้อมูลของใครก็ได้ท่ีแสดงไว้ในเว็บไซต์ทั่ว ๆ ไป มาใช้ ประกอบการทารายงาน เพราะขอ้ มูลนน้ั อาจจะเป็นเพียงการถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ ข้อคิดเห็น ของบุคคล ทวั่ ไป แต่บังเอิญเป็นขอ้ มลู ที่ ตรงกับประเดน็ ในรายงานของเราเทา่ นน้ั เอกสารประกอบการเรียน กลุม่ วชิ าการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง 35

เมื่อพิจารณาและคัดเลือกข้อมูลท้ังหมดแล้ว ให้นาข้อมูลทั้งหมดมาเรียบเรียง โดยมีการนา แนวคดิ หรือทฤษฎตี ามหลกั วิชาน้ัน ๆ มาใช้ในการศกึ ษาและวิเคราะหข์ อ้ มูล สงิ่ ที่ผู้จัดทารายงานควรตระหนักกค็ ือการนาขอ้ มูลของผอู้ ืน่ มาใช้ในรายงาน ไม่ควรใชว้ ิธีคัดลอก หรือนามาตัดต่อ แต่ควรเป็นการเรียบเรียงใหม่โดยใช้สานวนภาษาของผู้ทารายงานเอง อาจใช้การบรรยาย การอธิบาย การยกตัวอย่างประกอบ และการนาเสนอผลในรูปแบบของตาราง รูปภาพ แผนภูมิ แผนภาพ ฯลฯ เพอื่ ใหผ้ ู้อา่ นเข้าใจเหมือนทีผ่ จู้ ัดทาเข้าใจ เรยี งลาดับเนื้อหาไปตามลาดับของโครงเร่ืองที่ได้กาหนดไว้ และในแต่ละ ย่อหน้าต้องคานึงถึงสารัตถภาพท่ีอาจจะเป็นข้อเท็จจริง การวิเคราะห์ข้อมูลการแสดงความคิดเห็น หรือ ขอ้ เสนอแนะ โดยเรยี บเรยี งใหม้ เี อกภาพและสัมพันธภาพ ตัง้ แตต่ ้นจนจบแตล่ ะหวั ขอ้ เร่ือง 2.3 บทสรปุ บทสรุป เป็นข้อความที่อยู่ตอนท้ายของเนื้อหา อาจเป็นเพียงย่อหน้าเดียวหรือแยกเป็นบท ต่างหากก็ได้ ซ่ึงขนาดของบทสรุปจะสัมพันธ์กับขนาดของบทนา ข้อความในส่วนนี้เป็นการสรุปรายละเอียดงาน วิชาการท่ีได้เรียบเรียงไว้ ประเด็นท่ีนามาสรุปอาจเป็นผลการศึกษาท่ีได้จากการค้นคว้าข้อมูล หรือเป็นข้อมูลเพ่ือ ตอบคาถามประเด็นต่าง ๆ เกี่ยวกับรายงานได้ครบถ้วนชัดเจน บทสรุป มีประโยชน์ในการทาให้ผู้อ่านจับประเด็น ของเรอ่ื งทง้ั หมดไดง้ ่ายข้นึ 3. สว่ นประกอบตอนทา้ ย 3.1 บรรณานกุ รม สว่ นทแ่ี สดงรายช่อื หนงั สือหรือสิ่งพิมพ์อนื่ ๆ ท่ีใช้สาหรับการค้นคว้าอ้างอิงประกอบการเขียน รายงาน โดยจะวางอยตู่ อ่ จากส่วนเนอ้ื หาและกอ่ นภาคผนวก 3.2 ภาคผนวก ภาคผนวก เป็นข้อความท่ีเกี่ยวข้องกับเนื้อหาในรายงาน อาจช่วยขยายเน้ือหาของรายงาน หรอื เปน็ ข้อความท่ียาวเกินกว่าจะนาไปใส่เป็นเชิงอรรถได้ นอกจากน้ันอาจเป็นเอกสารที่เกี่ยวข้องกับกับการทา รายงาน เชน่ แบบทดสอบ แบบสอบถาม แผนที่ แตถ่ า้ ขอ้ มลู น้นั ไม่จาเปน็ ก็ไม่ควรนามาประกอบในรายงาน เพยี ง เพ่ือใหต้ ัวเล่มมีปริมาณหนา้ เพิ่มขนึ้ 3.3 ประวัตผิ เู้ ขยี น ส่วนสุดท้ายของ รายงาน ซ่ึงเป็นการเขียนแนะนาประวัติส่วนตัวของผู้เขียนเท่าท่ีจาเป็นให้ ผอู้ น่ื ทราบ การเขียนประวัติผเู้ ขยี น ใหเ้ ขียนโดยจาแนกเป็นหวั ขอ้ ดังนี้ 1) ชอ่ื -นามสกุล 2) สถานทต่ี ิดต่อ 3) ประวัติการศึกษา ตั้งแต่ระดับมัธยมศึกษาหรือเทียบเท่าเป็นต้นไป โดยระบุชื่อ สถานศึกษา และปีการศึกษาท่ีสาเรจ็ ในแต่ละระดับดว้ ย เอกสารประกอบการเรยี น กลุ่มวชิ าการศกึ ษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง 36

ตัวอย่างปกนอก ช่ือเรือ่ ง ฟอนต์ขนาด 20 หนา ฟอนตข์ นาด 18 หนา โดย นาย .................................................... เลขท่ี .......... นาย .................................................... เลขท่ี .......... นาย .................................................... เลขท่ี .......... นาย .................................................... เลขท่ี .......... นาย .................................................... เลขที่ .......... ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 / ....... รายงานฉบบั น้ีเป็นสว่ นหนง่ึ ของการศกึ ษาวชิ า I30202 IS2 การสอ่ื สารและการนาเสนอ ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 กลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย โรงเรียนวดั สุทธวิ ราราม การตั้งคา่ หนา้ กระดาษ ขอบบน 1 นิ้ว ขอบล่าง 1 นิว้ ขอบซา้ ย 1 นว้ิ ขอบขวา 1 น้ิว เอกสารประกอบการเรยี น กลุม่ วิชาการศึกษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง 37

ตวั อยา่ งปกใน ฟอนตข์ นาด 20 หนา ชอื่ เรื่อง โดย นาย .................................................... เลขที่ .......... นาย .................................................... เลขที่ .......... นาย .................................................... เลขท่ี .......... นาย .................................................... เลขที่ .......... นาย .................................................... เลขท่ี .......... ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 / ....... เสนอ ฟอนต์ขนาด 18 หนา ครรู ฐั พล ศรีบรู ณะพทิ ักษ์ รายงานฉบบั นเ้ี ปน็ สว่ นหนงึ่ ของการศกึ ษาวชิ า I30202 IS2 การสอื่ สารและการนาเสนอ ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563 กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย โรงเรยี นวดั สทุ ธวิ ราราม การตงั้ ค่าหน้ากระดาษ ขอบบน 1.5 นิว้ ขอบลา่ ง 1 น้ิว ขอบซา้ ย 1.5 นวิ้ ขอบขวา 1 น้ิว เอกสารประกอบการเรียน กลมุ่ วชิ าการศกึ ษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง 38

ตัวอย่างบทคดั ยอ่ บทคดั ยอ่ ฟอนตข์ นาด 20 หนา ฟอชน่อื ตเรข์ อ่ืนงาด 16 ------------ เว้น 1 บรรทัด ------------ สมาชิก ครทู ีป่ รึกษา ............................................................................................. ปกี ารศกึ ษา นาย ................................................. เลขท่ี นาย ................................................. เลขที่ นาย ................................................. เลขท่ี นาย ................................................. เลขท่ี นักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 5 / ..... นายรฐั พล ศรีบรู ณะพทิ ักษ์ 2563 ------------ เว้น 1 บรรทดั ------------ รายงานเร่ือง ...................................................................... มจี ุดมุ่งหมายเพ่ือ ศกึ ษาค้นคว้าและนาเสนอข้อมูลเกี่ยวกบั ..................................................................... ...................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......... ............................................................................................................................. ......... จากการศึกษาพบว่า ....................................................................................... ...................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......... ............................................................................................................................. ......... ------------ เว้น 2 บรรทัด ------------ ลายมอื ชอื่ ครทู ปี่ รึกษา ............................ ลายมอื ชื่อนักเรยี น 1. ........................ 2. ....................... 3. . ....................... 4. ........................ 5. ....................... . การตง้ั คา่ หน้ากระดาษ ขอบบน 1.5 นิว้ ขอบลา่ ง 1 น้วิ ขอบซ้าย 1.5 น้ิว ขอบขวา 1 น้วิ เอกสารประกอบการเรียน กลุม่ วชิ าการศกึ ษาค้นคว้าด้วยตนเอง 39

ตวั อยา่ ง กิตตกิ รรมประกาศ ฟอนต์ขนาด 20 หนา กิตตกิ รรมประกาศ ฟอนตข์ นาด 16 ------------ เว้น 1 บรรทดั (ขนาด 16)------------ รายงาน เร่ือง ........................................................... ฉบับนี้ สาเร็จได้ด้วย ความเมตตาจาก ครูรัฐพล ศรีบูรณะพิทักษ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียน วัดสุทธิวราราม ครูผู้สอนวิชา I30202 IS2 การส่ือสารและการนาเสนอ ที่ให้ ความกรณุ าเปน็ ครทู ี่ปรึกษา ประสทิ ธป์ิ ระสาทความรแู้ ละทักษะด้านการเขียนรายงาน อีกท้ังได้สละเวลาให้คาแนะนา ข้อเสนอแนะ ตรวจและแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ ด้วย ความเอาใจใส่อย่างดีย่ิง ซึ่งทางคณะผู้จัดทารู้สึกซาบซ้ึงในพระคุณ จึงขอกราบ ขอบพระคุณเปน็ อย่างสูงไว้ ณ โอกาสน้ี ขอขอบคุณบิดา มารดา พี่ น้อง ตลอดจนเพ่ือนนักเรียนทุกคน ท่ีคอยเป็น แรงผลักดนั และแรงใจในการจัดทารายงานวิชาการฉบับนจี้ นสาเร็จลุล่วงได้ดว้ ยดี คุณค่าและประโยชน์ของ รายงาน เร่ือง .......................... ฉบับนี้ ทางคณะ ผู้จัดทาขอมอบให้แก่คณะครูที่มีส่วนในการวางรากฐานทางการศึกษา และประสิทธ์ิ ประสาทวชิ าความรแู้ กค่ ณะผู้จัดทาตลอดมา ------------ เวน้ 1 บรรทดั (ขนาด 16)------------ คณะผู้จัดทา 18 กุมภาพนั ธ์ 2563 . การตง้ั ค่าหน้ากระดาษ ขอบบน 1.5 นิว้ ขอบล่าง 1 น้วิ ขอบซา้ ย 1.5 นิ้ว ขอบขวา 1 นวิ้ เอกสารประกอบการเรียน กลุม่ วชิ าการศึกษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง 40

ตวั อย่าง คานา ฟอนตข์ นาด 20 หนา คานา ฟอนต์ขนาด 16 ------------ เวน้ 1 บรรทดั (ขนาด 16)------------ รายงาน เร่ือง ................................................................. ฉบับน้ี เป็นส่วนหน่ึง ของการศึกษาวิชา I30202 IS2 การสื่อสารและการนาเสนอ ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 จัดทาข้นึ โดยมีวัตถุประสงค์เพอื่ นาเสนอผลท่ีได้จากการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบ พัฒนาทักษะการแสวงหาความรู้ อันเป็นพ้นื ฐานสาคญั ต่อการศกึ ษาในระดับที่สงู ขน้ึ ตอ่ ไป รายงาน เรื่อง ................................................................. ฉบับนี้ มีความมุ่งหวัง นาเสนอเน้ือหาเก่ียวกับ ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ซ่ึงทางคณะผู้จัดทาได้เรียบเรียงขึ้น จากการศึกษาคน้ คว้าอยา่ งเปน็ ระบบ คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานเร่ืองนี้จะเอื้อประโยชน์ในการศึกษา ค้นคว้าแก่ผู้ท่ีสนใจได้เป็นอย่างดี ขอขอบคุณครูท่ีปรึกษาและท่านผู้รู้ท่ีกรุณาให้คาแนะนา จนเขียนรายงานได้สาเร็จและสมาชิกผู้จัดทาที่ให้ความร่วมมือแก้ไขปัญหาต่าง ๆ จนงาน สาเร็จลุล่วง และสามารถผา่ นอุปสรรคได้ดว้ ยดี ------------ เว้น 1 บรรทดั (ขนาด 16)------------ คณะผจู้ ดั ทา 18 กมุ ภาพันธ์ 2563 . การตัง้ คา่ หน้ากระดาษ ขอบบน 1.5 นิว้ ขอบล่าง 1 น้วิ ขอบซ้าย 1.5 น้วิ ขอบขวา 1 นว้ิ เอกสารประกอบการเรยี น กลมุ่ วชิ าการศึกษาค้นควา้ ด้วยตนเอง 41

ตวั อยา่ ง สารบัญ ฟอนต์ขนาด 20 หนา ฟอนต์ขนาด 16 สารบญั ------------ เว้น 1 บรรทัด (ขนาด 16)------------ เรื่อง หน้า บทคัดยอ่ ........................................................................................................ ก กิตติกรรมประกาศ .......................................................................................... ข คานา .............................................................................................................. ค สารบญั ........................................................................................................... ง สารบญั ตาราง (ถา้ มี) ....................................................................................... จ สารบัญภาพ (ถ้าม)ี .......................................................................................... ฉ บทนา ............................................................................................................. 1 เนอ้ื เร่ือง .......................................................................................................... 2 3 1. ............................................................................................... 4 1.1 .................................................................................... 5 1.2 .................................................................................... 6 7 2. ............................................................................................... 8 2.1 .................................................................................... 9 2.2 .................................................................................... 10 11 3. ............................................................................................... 12 3.1 .................................................................................... 13 3.2 .................................................................................... 14 15 บทสรปุ ........................................................................................................... บรรณานกุ รม ……………………………………………………………………………………… ภาคผนวก ………………………………………………………………………………………….. ประวตั ิผเู้ ขียน ................................................................................................. การตง้ั คา่ หนา้ กระดาษ ขอบบน 1.5 นวิ้ ขอบลา่ ง 1 น้วิ ขอบซ้าย 1.5 น้ิว ขอบขวา 1 นวิ้ เอกสารประกอบการเรยี น กลุม่ วิชาการศึกษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง 42

ตัวอย่าง สว่ นเน้ือหา ฟอนตข์ นาด 20 หนา หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ฟอนต์ขนาด 16 ------------ เวน้ 1 บรรทดั ------------ บทนา ......................................................................................................................... ............................................................................................................... ........................... 1.//หลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ......................................................................................................................... .......................................................................................................................................... 1.1// ......................................................... 1.1.1// ......................................................... ------------ เวน้ 1 บรรทัด ------------ 2.//การปรับใชห้ ลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งในการ .......................... ......................................................................................................................... .......................................................................................................................................... 2.1// ......................................................... 2.1.1// ......................................................... ------------ เวน้ 1 บรรทัด ------------ 3.//ผลของการปรับใช้ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง .......................... ......................................................................................................................... .......................................................................................................................................... 3.1// ......................................................... 3.1.1// ......................................................... ------------ เว้น 1 บรรทดั ------------ บทสรปุ ......................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............. การตง้ั ค่าหนา้ กระดาษ ขอบบน 1.5 นวิ้ ขอบล่าง 1 นิ้ว ขอบซา้ ย 1.5 น้ิว ขอบขวา 1 นว้ิ เอกสารประกอบการเรียน กลุ่มวิชาการศึกษาค้นควา้ ดว้ ยตนเอง 43

ตวั อยา่ ง บรรณานุกรม ฟอนตข์ นาด 20 หนา บรรณานกุ รม ฟอนตข์ นาด 16 ------------ เว้น 1 บรรทดั ------------ กรมอุตนุ ิยมวิทยา. (2554). ภาวะเรือนกระจก. สบื ค้นเมื่อ 18 ตลุ าคม 2563, จาก https://www.tmd.go.th/info/info.php?FileID=20. จิรายุ ชอู นิ . 2550. การอา่ นเพื่อพัฒนาปญั ญา. พมิ พ์ครง้ั ท่ี 4. กรุงเทพฯ: ไทยปริน้ ท์. รฐั พล ศรีบูรณะพทิ ักษ์. 2554. การเขียนเพ่อื การสือ่ สาร. พมิ พ์คร้ังท่ี 5. กรงุ เทพฯ: ไทยปร้ินท์. อรณี ขวญั ตา. (2560). วรรณกรรมไทยปัจจุบนั . พิมพ์ครั้งท่ี 2. กรุงเทพฯ: ไทยศึกษา. อมั พิกา เสนาวงศ์. 2558, 14 กุมภาพันธ์. “การลา้ งพิษในร่างกาย” หมอชาวบ้าน. 18 (2): 24-25. การตัง้ ค่าหน้ากระดาษ ขอบบน 1.5 น้ิว ขอบล่าง 1 น้ิว ขอบซ้าย 1.5 น้ิว ขอบขวา 1 นิ้ว เอกสารประกอบการเรียน กลมุ่ วชิ าการศกึ ษาค้นควา้ ดว้ ยตนเอง 44

ตวั อยา่ ง ภาคผนวก ฟอนตข์ นาด 20 หนา ภาคผนวก การต้งั คา่ หน้ากระดาษ ขอบบน 1.5 นวิ้ ขอบลา่ ง 1 นวิ้ ขอบซา้ ย 1.5 น้ิว ขอบขวา 1 นิว้ เอกสารประกอบการเรียน กล่มุ วชิ าการศึกษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง 45

ตัวอยา่ ง ภาคผนวก ฟอนต์ขนาด 20 หนา ภาคผนวก ก ภาพนิง่ ประกอบการนาเสนอ การต้งั คา่ หน้ากระดาษ ขอบบน 1.5 น้วิ ขอบลา่ ง 1 นวิ้ ขอบซ้าย 1.5 นว้ิ ขอบขวา 1 น้ิว เอกสารประกอบการเรยี น กลมุ่ วชิ าการศกึ ษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง 46


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook