เอกสารประกอบการเรียน ตามหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล กลุ่มวิชาการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง I กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชื่อ-นามสกุล ________________________________________ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 / _____ เลขที่ ______ ครูประจำวิชา _______________________________________
เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ าการศกึ ษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง (Independent Study : IS) ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 เรียบเรยี ง รฐั พล ศรบี ูรณะพิทกั ษ์ ฉบับปรับปรงุ อรณี ขวญั ตา จิรายุ ชอู ิน อมั พิกา เสนาวงศ์ สุจิตรา สุขชู ธนวฏั ปรชี าจารย์ พ.ศ. 2565 ใช้เพ่อื การศึกษาเทา่ นน้ั กลุ่มวิชาการศกึ ษาค้นควา้ ดว้ ยตนเอง (Independent Study) กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย โรงเรียนวัดสุทธิวราราม 252 ถนนเจรญิ กรุง แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 www.suthi.ac.th | เพจ IS: โรงเรียนวดั สทุ ธวิ ราราม
คำนำ โรงเรียนวัดสุทธิวราราม เป็นโรงเรียนที่ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล (World-Class Standard School) เป็นนวัตกรรมการจัดการศึกษาที่ใช้เป็นยุทธศาสตร์ในการขับเคล่ือน การพัฒนายกระดับการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพมาตรฐานเทียบเท่าสากล นักเรียนมีศักยภาพและ ความสามารถทัดเทียมกับผ้เู รยี นนานาประเทศ กลุ่มวิชาการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง เป็นรายวิชาที่อยู่ในความรับผิดชอบของกลุ่มสาระ การเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนวัดสุทธิวราราม เป็นการจัดการเรียนรู้ในสาระการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent Study: IS) เริ่มตั้งแต่การกาหนดประเด็นปัญหาซ่ึงอาจเป็น Public Issue และ Global Issue และดาเนินการค้นคว้าแสวงหาความรู้จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย มีการวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การอภปิ รายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เพื่อนาไปสู่การสรุปองค์ความรู้ จากน้ันก็หาวิธีการท่ีเหมาะสมในการ ส่อื สารนาเสนอให้ผู้อ่ืนไดร้ บั ทราบ และสามารถนาความรู้หรือประสบการณ์ท่ีได้จากการศึกษาค้นคว้าไปทา ประโยชนแ์ ก่สาธารณะ ซึง่ สงิ่ เหลา่ นเ้ี ป็นกระบวนการที่เชื่อมโยงต่อเนื่องกันตลอดแนว ภายใตส้ าระการศึกษา ค้นควา้ ดว้ ยตนเอง (Independent Study: IS) ซ่งึ แบง่ เป็น 3 สาระ ประกอบด้วย IS1 การศึกษาค้นคว้าและ สร้างองคค์ วามรู้ (Research and Knowledge Formation) เปน็ สาระทีม่ งุ่ ให้ผเู้ รียนกาหนดประเด็นปัญหา ตั้งสมมติฐาน ค้นคว้า แสวงหาความรู้และฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสร้างองค์ความรู้ IS2 การสื่อสารและการนาเสนอ (Communication and Presentation) เป็นสาระท่ีมุ่งให้ผู้เรียนนาความรู้ท่ี ได้รับ มาพัฒนาวิธีการถ่ายทอด/ส่ือสารความหมาย/แนวคิด ข้อมูลและองค์ความรู้ ด้วยวิธีการนาเสนอที่ เหมาะสมหลากหลายรูปแบบ และมีประสิทธิภาพ และ IS3 การนาองค์ความรู้ไปใช้บริการสังคม (Social Service Activity) เป็นสาระท่ีมุ่งให้ผู้เรียน นาองค์ความรู้/ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ไปสู่การปฏิบัติ หรือ นาไปใชใ้ ห้เกิดประโยชนต์ ่อสังคม เกดิ บริการสาธารณะ (Public Service) ดังน้นั เพ่ือให้การจดั การเรียนสอนในกลุ่มวิชาการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent Study: IS) เป็นไปในทิศทางเดียวกัน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย จึงจัดทาเอกสารประกอบการเรียนวิชา เพ่ือเป็นเอกสารประกอบการศึกษาค้นคว้าสาหรับรายวิชา และเป็นคู่มือประกอบการจัดทารายงาน การศกึ ษาคน้ คว้า รัฐพล ศรีบรู ณะพทิ ักษ์ และคณะ เรยี บเรยี ง
สารบญั หน้า การศึกษาค้นควา้ ดว้ ยตนเอง (Independent Study: IS) 1 คาอธิบายรายวชิ า 2 บทนา การแสวงหาความรู้ 4 4 ความหมายของการแสวงหาความรู้ 5 ความร้แู ต่ละระดับ 6 การเรยี นรู้ 8 วิธกี ารแสวงหาความรู้ 9 การพฒั นาทกั ษะการแสวงหาความรูด้ ้วยตนเอง 10 บทที่ 1 ประเดน็ ปัญหาและสมมติฐาน 10 ระดบั ของการตั้งคาถาม 13 ความหมายของสมมตฐิ าน 13 ลกั ษณะของสมมติฐาน 13 ความแตกตา่ งของสมมตฐิ านกบั การพยากรณ์ 13 การตัง้ สมมตฐิ านทดี่ ี 14 หลักการตั้งสมมุตฐิ าน 15 คาถามทา้ ยบท 16 บทที่ 2 ข้อมลู และการรวบรวมข้อมูล 16 ความหมายของขอ้ มูล 17 ประเภทของข้อมูล 19 กระบวนการเกบ็ รวบรวมข้อมูล 21 วธิ เี กบ็ รวบรวมขอ้ มลู 23 ปัญหาในการใชข้ อ้ มลู 24 บทที่ 3 แหล่งสารสนเทศ 24 แหลง่ สารสนเทศ 28 ทรัพยากรสารสนเทศ 34 คาถามท้ายบท 35 บทที่ 4 อนิ เทอร์เน็ตเพ่ือการสบื ค้น 35 รูปแบบการสืบค้น 35 ระดบั การคน้ หาขอ้ มูล (Search Engine)
สารบญั (ต่อ) หน้า บทท่ี 5 การประเมินสารสนเทศ 40 คุณลกั ษณะของสารสนเทศทีด่ ี 40 การประเมินสารสนเทศ 41 การวเิ คราะห์สารสนเทศ 44 การสังเคราะหส์ ารสนเทศ 45 46 บทที่ 6 การสังเคราะห์และสรปุ องคค์ วามรู้ 46 ความหมายขององค์ความรู้ 47 แหลง่ กาเนิดขององคค์ วามรู้ 47 ประเภทขององค์ความรู้ 47 การจัดการองค์ความรู้ 47 การสังเคราะห์และสรปุ องคค์ วามรู้ 48 ประโยชน์และคณุ คา่ ของการศึกษาคน้ คว้าและสร้างองค์ความร้ดู ว้ ยตนเอง 50 50 บทท่ี 7 การเขยี นรายงานวชิ าการ 51 การเลือกเรื่อง 52 การจากดั ขอบเขตของเรือ่ ง 54 การรวบรวมขอ้ มลู สารสนเทศ 59 การวางโครงเรือ่ ง 59 การเรยี บเรียงเน้อื หา 59 การจัดทาบรรณานุกรม 60 การจดั พมิ พ์รายงาน 60 60 บทที่ 8 การเขียนอ้างอิงและบรรณานกุ รม 61 การอา้ งองิ เชิงวิชาการ 61 ความสาคัญของการอ้างองิ เชิงวชิ าการ 64 รูปแบบการเขียนอ้างองิ เชงิ วชิ าการ 65 การเขียนอา้ งองิ 69 การลงรายการอ้างองิ 71 บรรณานกุ รมและเอกสารอ้างองิ 71 การลงรายการบรรณานกุ รม 86 88 บทท่ี 9 สว่ นประกอบและการจัดพิมพ์ 100 สว่ นประกอบของรายงาน การจัดพมิ พ์รายงาน กิจกรรมพัฒนาการเรียนรรู้ ายวิชาการศกึ ษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง บรรณานกุ รม
การศกึ ษาค้นควา้ ดว้ ยตนเอง (Independent Study: IS) การจัดกระบวนการเรียนรู้ตามบันได 5 ขั้น สามารถดาเนินการได้หลากหลายวิธีและการให้ เรียนได้ เรียนรู้ สาระการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent Study: IS) นับเป็นวิธีการท่ีมี ประสิทธิภาพวิธีหน่ึงที่ใช้อย่างกว้างขวางในการพัฒนาผู้เรียน เพราะเป็นการเปิดโลกกว้างให้ผู้เรียนได้ ศึกษาค้นคว้าอย่างอิสระในเรื่องหรือประเด็นที่ตนสนใจ เร่ิมต้ังแต่การกาหนดประเด็นปัญหาซึ่งอาจเป็น Public Issue และ Global Issue และดาเนินการค้นคว้าแสวงหาความรู้จากแหล่งข้อมูลท่ีหลากหลาย มีการวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การอภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็น เพ่ือนาไปสู่การสรุปองค์ความรู้ จากนั้นก็หาวิธีการที่เหมาะสมในการสื่อสารนาเสนอให้ผู้อื่นได้รับทราบ และสามารถนาความรู้หรือ ประสบการณ์ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าไปทาประโยชน์แก่สาธารณะ ซ่ึงส่ิงเหล่าน้ีเป็นกระบวนการ ท่ีเช่ือมโยงต่อเน่ืองกันตลอดแนว ภายใต้สาระการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent Study : IS) ซงึ่ แบง่ เป็น 3 สาระ ประกอบด้วย IS 1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (Research and Knowledge Formation) เป็นสาระทม่ี งุ่ ให้ผู้เรียนกาหนดประเด็นปัญหา ตงั้ สมมตฐิ าน ค้นคว้า แสวงหาความรู้และ ฝกึ ทกั ษะการคิดวิเคราะห์ สงั เคราะห์ และสร้างองคค์ วามรู้ IS 2 การสอื่ สารและการนาเสนอ (Communication and Presentation) เป็นสาระท่ีมุ่งให้ผู้เรียนนาความรู้ท่ีได้รับ มาพัฒนาวิธีการถ่ายทอด/ส่ือสารความหมาย/ แนวคิด ข้อมูลและองค์ความรู้ ด้วยวธิ ีการนาเสนอที่เหมาะสมหลากหลายรูปแบบ และมปี ระสทิ ธิภาพ IS 3 การนาองค์ความรู้ไปใช้บริการสังคม (Social Service Activity) เป็นสาระที่มุ่งให้ผู้เรียน นาองค์ความรู้/ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ไปสู่การปฏิบัติ หรือ นาไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนต์ ่อสังคม เกิดบรกิ ารสาธารณะ (Public Service) โรงเรียนต้องนาสาระการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent Study : IS) ไปสู่การเรียน การสอน ด้วยการจัดทารายวิชา ออกแบบหน่วยการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามแนวทาง ท่ีกาหนด โดยพิจารณาให้สอดคล้องกับบริบท วัยและพัฒนาการของผู้เรียน ซึ่งอาจแตกต่างกันในระดับ ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ และมัธยมศกึ ษาตอนปลาย เอกสารประกอบการเรียน กล่มุ วชิ าการศกึ ษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2565 1
คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ รหัสวชิ า I30201 รายวิชา IS1 การศึกษาค้นควา้ และสร้างองค์ความรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 5 จานวน 1.0 หนว่ ยกิต เวลา 40 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา การศึกษา วิเคราะห์ ฝึกทักษะ ตั้งประเด็นปัญหา/ตั้งคาถามเกี่ยวกับสถานการณ์ปัจจุบันและ สังคมโลก ต้งั สมมติฐานและใหเ้ หตผุ ลทสี่ นบั สนนุ หรือโตแ้ ย้งประเดน็ ความรู้ โดยใช้ความรู้จากศาสตร์สาขา ต่าง ๆ และมีทฤษฎีรองรับออกแบบ วางแผน รวบรวมข้อมูล ค้นคว้าแสวงหาความรู้เกี่ยวกับสมมติฐาน ที่ต้ังไว้จากแหล่งเรียนรู้ท้ังปฐมภูมิและทุติยภูมิและสารสนเทศ อย่างมีประสิทธิภาพและพิจารณา ความนา่ เช่ือถอื ของแหลง่ เรยี นรู้อย่างมวี จิ ารณญาณเพ่อื ให้ได้ข้อมูลท่ีครบถ้วนสมบูรณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดย ใช้วิธีการที่เหมาะสม สังเคราะห์ สรุปองค์ความรู้ร่วมกัน มีกระบวนการกลุ่มในการวิพากษ์ แลกเปลี่ยน ความคิดเห็นโดยใช้ความรู้จากสาขาวิชาต่าง ๆ เสนอแนวคิด วิธีการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบด้วย กระบวนการคดิ ฝึกกระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดทักษะในการค้นคว้า แสวงหาความรู้ สังเคราะห์ สรุป อภิปรายผลเปรียบเทียบเช่ือมโยงความรู้ ความเป็นมาของศาสตร์ เข้าใจหลักการและ วธิ คี ดิ ในสง่ิ ที่ศกึ ษา เห็นประโยชน์และคุณค่าของการศึกษาค้นควา้ ดว้ ยตนเอง เพ่ือให้เกิดความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์ มีมารยาท ในการส่อื สารและการสรา้ งสรรค์ผลงานเพอ่ื ให้เหน็ ประโยชนแ์ ละคุณค่าของการศกึ ษาคน้ คว้าด้วยตนเอง ผลการเรียนรู้ 1. ตงั้ ประเด็นปญั หา จากสถานการณป์ จั จุบนั และสังคมโลก 2. ตั้งสมมตฐิ านและให้เหตุผลที่สนบั สนุนหรอื โต้แยง้ ประเดน็ ความรโู้ ดยใชค้ วามรู้ จากสาขาวิชาตา่ ง ๆ และมที ฤษฎรี องรบั 3. ออกแบบ วางแผน ใช้กระบวนการรวบรวมขอ้ มลู อย่างมีประสิทธิภาพ 4. ศึกษา ค้นคว้า แสวงหาความรู้เกีย่ วกบั ประเด็นทเ่ี ลอื กจากแหล่งเรยี นรทู้ ่ีมีประสทิ ธิภาพ 5. ตรวจสอบความน่าเชื่อถอื ของแหล่งทีม่ าของข้อมูล 6. วเิ คราะหข์ ้อคน้ พบดว้ ยสถิติทีเ่ หมาะสม 7. สังเคราะห์ สรุปองค์ความรู้ด้วยกระบวนการกล่มุ 8. เสนอแนวคิด การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบดว้ ยองค์ความรูจ้ ากการคน้ พบ รวม 8 ผลการเรยี นรู้ เอกสารประกอบการเรยี น กลุ่มวิชาการศกึ ษาค้นควา้ ดว้ ยตนเอง ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2565 2
คำอธิบำยรำยวิชำ รหสั วิชา I30202 รายวชิ า IS2 การส่อื สารและการนาเสนอ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 เวลา 40 ช่ัวโมง จานวน 1.0 หน่วยกิต ศึกษา เรียบเรียงและถ่ายทอดความคิดอย่างสร้างสรรค์จากรายวิชา IS1 (Research and Knowledge Formation) เก่ียวกับสถานการณป์ ัจจุบนั และสังคมโลก โดยเขยี นโครงรา่ ง บทนา เนอ้ื เรอ่ื ง สรปุ ในรูปของรายงาน การศึกษาค้นคว้าเชิงวิชาการเป็นภาษาไทยความยาว จานวน 4,000 คา หรือเป็นภาษาอังกฤษ ความยาว 2,500 คา มีการอ้างอิงแหล่งความรู้ท่ีเช่ือถือได้อย่างหลากหลายเช่ือถือได้ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เรียบเรียงและ ถ่ายทอดสื่อสาร นาเสนอความคิดอย่างชัดเจน เป็นระบบ มีการนาเสนอในรูปแบบเด่ียว (Oral individual) หรือ กลุม่ (Oral panel presentation) โดยใช้สื่อเทคโนโลยีท่ีหลากหลายและมีการเผยแพร่ผลงานสู่สาธารณะ เพ่ือให้ เกิดทักษะในการเขียนรายงานเชิงวิชาการและทักษะการส่ือสารที่มีประสิทธิภาพ เห็นผลประโยชน์และคุณค่า ในการสรา้ งสรรค์งานและถ่ายทอดสิง่ ที่เรยี นร้ใู หเ้ ปน็ ประโยชน์แก่สาธารณะ สามารถใชเ้ ทคโนโลยแี สวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง เพ่ือการเรียนรู้ แก้ปัญหา ตลอดจนการสื่อสารได้อย่าง สรา้ งสรรคต์ ามช่วงวัย เสริมสร้างนักเรียนเกิดความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มีวินัยใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่ นในการทางานและ รักความเป็นไทย ผลการเรยี นรู้ 1. วางโครงรา่ งการเขยี นตามหลักเกณฑ์ องคป์ ระกอบและวธิ กี ารเขียนโครงรา่ ง 2. เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าเชิงวิชาการเป็นภาษาไทยความยาว 4,000 คา หรือภาษาอังกฤษ ความยาว 2,500 คา 3. นาเสนอข้อค้นพบ ข้อสรุปจากประเด็นที่เลือกในรูปแบบเด่ียว (Oral individual) หรือกลุ่ม (Oral panel presentation) โดยใชส้ ื่อเทคโนโลยที ห่ี ลากหลาย 4. เผยแพร่ผลงานสู่สาธารณะ โดยใช้การสนทนา / วิพากษ์ผ่านส่ืออิเลคทรอนิคส์ เช่น e-conference, Social media online 5. เหน็ ประโยชน์และคณุ คา่ การสรา้ งสรรคง์ านและถ่ายทอดสิ่งทเ่ี รยี นรูใ้ ห้เหน็ ประโยชน์ รวม 5 ผลการเรยี นรู้ เอกสารประกอบการเรยี น กลุม่ วชิ าการศกึ ษาค้นคว้าด้วยตนเอง ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2565 3
บทที่ บทนา การแสวงหาความรู้ ทุกคนมีโอกาสในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การเปิดโอกาสให้มนุษย์แสวงหาความรู้โดยมี แหล่งความรู้ไว้รองรับในแต่ละชุมชน เช่น ห้องสมุด ศูนย์ข้อมูล เป็นการสร้างสังคมแห่งภูมิปัญญา ในระบอบประชาธิปไตย การสร้างสังคมแห่งภูมิปัญญามีทั้งการศึกษาในระบบ นอกระบบ และการศึกษา ตามอัธยาศัย การรู้วิธีแสวงหาความรู้ การรักการเรียนรู้กับการมีแหล่งความรู้ที่ดีจึงเป็นเสมือนไก่กับไข่ วา่ สิง่ ใดควรเกดิ ก่อน ควรให้ความสาคญั กบั ส่งิ ใด แม้วา่ ทงั้ สามสงิ่ จะมคี วามสาคัญเหมือนกนั ความหมายของการแสวงหาความรู้ การแสวงหาความรู้ คือ ทักษะท่ีจะต้องอาศัยการเรียนรู้และวิธีการฝึกฝนจนเกิดความชานาญ ช่วยทาให้เกิดแนวความคิดความเข้าใจท่ีถูกต้องและกว้างขวางย่ิงข้ึน เพราะผู้เรียนจะเกิดทักษะใน การค้นคว้า ส่ิงท่ีต้องการและสนใจใคร่รู้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ จะทาให้ทราบข้อเท็จจริง และสามารถ เปรียบเทยี บขอ้ เทจ็ จริงทไ่ี ด้มาว่าควรเช่ือถอื หรือไม่ เกษม วัฒนชัย (2544) กล่าวถึงความรู้ว่าเป็นกระบวนการรวบรวมความคิดของมนุษย์ จัดให้ เป็นหมวดหมูแ่ ละประมวลสาระที่สอดคลอ้ งกัน โดยนามาใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ ดังนั้นสิ่งท่ีเป็นสาระในระบบ ขอ้ มลู ขา่ วสาร คือ ความรู้ ความรใู้ หม่ต้องสรา้ งขน้ึ บนฐานของความรูเ้ ดมิ ที่มีอยู่ ความรู้ใหม่จึงเกิดจากฐาน การวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ จากรูปแสดงความสัมพันธ์ของความรู้ ปัญหาและการวิจัย (สุภางค์ จันทวานิช, 2545: 3) ความรูเ้ ดมิ ปญั หา (กระบวนการวจิ ัย) ความรู้ใหม่ การแสวงหาความรู้ใหม่ จึงควรศึกษาฐานความรู้เดิมก่อน เพ่ือไม่ให้การศึกษาค้นคว้าใด ๆ ต้อง เริ่มต้นใหม่ทุกคร้ัง เป็นการประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย จากรูปแสดงถึงความรู้ใหม่ท่ีได้จะผนวกเข้ากับ ความรู้เดิม และเกิดปัญหาข้ึนใหม่ ทาให้มีการวิจัยเพื่อตอบปัญหาต่อไปอีก วิธีการหรือกระบวนการ แสวงหาความรู้ท่ีเป็นท่ียอมรับในทางวิชาการ เช่น วิธีการเชิงวิทยาศาสตร์และวิธีการถกเถียงกันอยู่ เช่น การคาดคะเน การหย่ังรู้ เป็นต้น กระบวนการหรือวิธีการเชิงวิทยาศาสตร์ เป็นการใช้ความคิดและ เอกสารประกอบการเรยี น กล่มุ วชิ าการศกึ ษาค้นคว้าด้วยตนเอง ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2565 4
การกระทาเพ่ือค้นหาประจกั ษ์พยาน หรอื ข้อมลู แล้วนามาแปลความ ตีความ และสร้างคาอธิยาย จึงต้องมี การวางแผน การออกแบบสารวจ การจดั สถานการณ์ การทดลอง เพอ่ื ให้ได้ความรใู้ หม่ ซึ่งได้มาจากการใช้ ประจักษ์พยาน จากการสังเกต การคน้ คว้า นามาแปลความให้สอดคล้องกับส่ิงท่ีสังเกตได้ สรุปออกมาเป็น ความรู้ที่นาเอามาใช้ประโยชน์ได้ ความรู้จากตาราเป็นความรู้ที่มีการศึกษาไว้แล้ว ตาราจึงมีไว้ใช้เป็น ฐานความรู้เดิม ที่จุดประกายความคิดที่จะค้นคว้าหาความรู้ต่อไป (สุนีย์ คล้ายนิล, 2546: 5) อาจกล่าว ได้วา่ ความรู้ใหมเ่ ป็นความรู้นอกตารา ดังนั้นการคิดค้นส่ิงใหม่หรือความคิดใหม่ไม่ได้หมายถึงเพียงการประดิษฐ์สิ่งใหม่ในรูปแบบของ เคร่ืองยนต์กลไกเท่านน้ั แต่ยงั รวมถงึ วธิ ีการทาสิ่งตา่ ง ๆ ท่ตี ่างไปจากเดิม เช่น การมีมุมมองใหม่ ๆ การจัด ระเบยี บสิง่ ต่าง ๆ ในแบบใหม่ วิธีการใหมใ่ นการนาเสนอ รวมถงึ การมคี วามคิดใหม่ ๆ ดว้ ย ซึ่งสามารถช่วย เพ่ิมประสิทธิภาพการทางานไดเ้ ชน่ กนั ความรู้แตล่ ะระดบั ความแตกต่างของภูมิปัญญาและความรู้มีหลายระดับ การมีปัญญาแตกต่างจากการมีความรู้ เพราะปัญญาเกิดจากการคิด การรอบรู้ การแสวงหาความรู้รอบด้าน รู้เหตุ รู้ผล และเชื่อมโยงภาพรวม ของทุกส่ิงท่ีสัมพันธ์กันได้ การแสวงหาความรู้เป็นขั้นตอนแรกของการจัดการความรู้ของแต่ละบุคคล เพอ่ื ให้เกดิ แนวคิดใหม่หรือการประดษิ ฐ์คิดคน้ สงิ่ ใหม่ ท่ีเรียกวา่ นวตั กรรม (Innovation) ภูมิปัญญา หมายถึง ความรู้ ความชานาญ และความสามารถในการเรียนรู้ การคิด และ การนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ความรู้มีอยู่มากมายรอบ ๆ ตัวเรา และสามารถจัดแบ่งออกได้เป็น 4 ระดับ (มนตรี จุฬาวัฒนทล, 2537: 2) ได้แก่ ระดับแรก ความรู้เก่ียวกับส่ิงรอบตัวเรา ซ่ึงสามารถรับรู้ได้โดยประสาทสัมผัส มองเห็น ได้ยิน ดมกล่ิน และลิ้มรสสัมผัส เช่น ความร้อน-ความเย็น ความสว่าง-ความมืด เสียงดัง-เสียงเบา กล่ินหอม-กลิ่นเหม็น และรสเคม็ -รสหวาน เป็นตน้ ความร้รู ะดับต้นนีอ้ าจเรียกว่า ความรสู้ ึก ระดับท่ีสอง ได้แก่ ความรู้ด้านภาษา ซึ่งจะทาให้อ่านและเขียนหนังสือได้ ฟังเข้าใจ ฟังวิทยุ และดูโทรทัศนร์ ู้เรอ่ื ง ตลอดจนมภี มู ปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ ทไ่ี ดส้ ะสมและตกทอดกนั มา ระดับที่สาม ได้แก่ ความรู้ด้านวิชาการ ซึ่งได้จากการศึกษาเล่าเรียน ทาให้คิดเลขเป็น คานวณดอกเบ้ียได้ ออกแบบอาคารได้ เขียนบทละครได้ ใช้คอมพิวเตอร์เป็น รู้กฎหมายบ้านเมือง รู้จัก กฎเกณฑ์ เป็นต้น ความรวู้ ชิ าการเหลา่ น้ี มักจะตอ้ งเรียนร้จู ากครู อาจารย์ เอกสาร ตาราทางวิชาการ หรือ ผทู้ รี่ ูเ้ รือ่ งนนั้ ๆ มากอ่ น ระดับท่ีส่ี ได้แก่ ความรู้ใหม่ เป็นความรู้ท่ีไม่เคยมีอยู่ก่อน ได้มาโดยการค้นคว้า วิจัย การคิดค้นกระบวนการใหม่ และควรจะหาแนวทางในการนาความรู้ใหม่ไปใช้ให้เป็นประโยชน์เพื่อให้เกิด การพฒั นา สังคมไทยจาเป็นต้องพัฒนาการศึกษาให้มีความก้าวหน้าทางวิชาการและการสร้างองค์ความรู้ ศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรสี อา้ น (2546: 17) กล่าววา่ “...ถ้าการศกึ ษาไม่สร้างคนให้ทาได้ ไม่สร้าง องค์ความรู้ให้รู้พอที่จะแก้ปัญหาของเราเอง เราจะแข่งกับใครได้ คนที่พึ่งตนเองไม่ได้ทาง ภูมิปญั ญา แขง่ กับใครไมไ่ ด.้ ..” เอกสารประกอบการเรยี น กลมุ่ วชิ าการศึกษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2565 5
การสร้างองค์กรหรือชุมชนแห่งการเรียนรู้จาเป็นต้องพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ของคนใน องคก์ ร เพื่อใหร้ ูว้ ่าความรพู้ น้ื ฐานทีต่ นมีหรือองคก์ รมนี นั้ มีอะไรบ้าง จะใช้ประโยชน์จากสิ่งท่ีมีอยู่ได้อย่างไร การรวบรวมความรไู้ ว้ในคลงั ความรู้ เชน่ ห้องสมุด ศนู ย์ข้อมูล ศูนย์สารสนเทศ ช่วยให้ค้นหาความรู้เดิมได้ ง่ายและเปน็ การต่อยอดความรู้ใหม่ ปัจจบุ ันการรูว้ ธิ กี ารแสวงหาความรู้ใหม่ ๆ มีความสาคัญยิ่งเพราะความร้มู ีการเปล่ียนแปลงอย่าง รวดเร็วตามสังคมโลกาภิวัตน์ และความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การรู้วิธี การแสดงความความรู้จึงมีความสาคัญกว่าการให้ความรู้เพียงอย่างเดียว ดังคากล่าวท่ีว่า “ถ้าเราให้ปลา เขากินอ่ิมไดเ้ พยี งมื้อเดียว ถ้าเราสอนวิธีหาปลา เขาจะหาปลารับประทานได้เองตลอดชีวิต” (Give a man a fish, he can eat for a day. Teach a man to fish, he can eat for the rest of his life.) การแสวงหาความรู้ใหม่และการใฝ่รู้เป็นทักษะที่จาเป็นสาหรับการทางานยุคใหม่ เพราะ การเรียนรู้เป็นพื้นฐานของการดาเนินชีวิต คนเราสามารถเรียนรู้ได้ตลอดเวลา ต่ังแต่เกิดจนตาย ดังคา กล่าวที่ว่า ไม่มีใครแก่เกินเรียน (No one is too old too learn) ซึ่งการเรียนรู้ช่วยให้เกิดความคิด สร้างสรรค์ เป็นการส่งเสริมการคิดให้ได้มาซ่ึงส่ิงแปลก ๆ ใหม่ ๆ ไม่ซ้าเดิมและมีการพัฒนาตัวเองอย่าง สม่าเสมอ การเรียนรู้มีหลายวิธี นอกจากการเรียนในสถานบันการศึกษาแล้ว ยังสามารถเรียนรู้ได้จาก การอ่าน การได้ยิน การได้ลงมือทา การสังเกต การมีปฏิสัมพันธ์กับส่ิงต่าง ๆ การมีประสบการณ์ตรง การเลียนแบบผู้อ่ืน การศึกษาค้นคว้า การเรียนรู้ด้วยตนเองโดยไม่ผ่านการสอนนี้ ทาให้มีผลต่อการรับรู้ หรือการจาหรือการเกิดความคิดในเชิงจินตนาการและสร้างสรรค์มากกว่า (อุทัย ดุลยเกษม, 2542: 86) เหนือส่ิงอืน่ ใด คือ การมีความรจู้ ากการเรียนรู้ นอกจากนี้การแสวงหาความรใู้ หม่มหี ลายระดับ ไดแ้ ก่ การศึกษาค้นคว้า หมายถึง การหาข้อมูลหรือการหาความรู้เพิ่มเติม เพื่อหาคาตอบจาก ปัญหาใดปัญหาหนึ่งโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ได้รับความรู้ในเรื่องน้ัน ๆ การศึกษาค้นคว้า จึงเป็นการ แสวงหาความรู้ เพ่อื ให้ได้คาตอบหรอื เพอื่ นาความรูน้ ัน้ ไปใชใ้ นการแก้ไขปญั หาและประกอบการตัดสินได้ การวิจัย (Research) หมายถึง การสบื สวนตรวจตรา (Investigate) เพ่ือหาคาตอบในเรื่อง ใดเรื่องหนึ่งอย่างมีระเบียบแบบแผนและมีขั้นตอน ตามระเบียบวิธีการวิจัย การศึกษาค้นคว้าอย่างเป็น ระบบ คอื ทมี่ าของการวจิ ัย ความสงสัยในเร่ืองที่ต้องการหาคาตอบ คือ ปัญหาในการวิจัย การหาคาตอบ เปน็ การเติมชอ่ งวา่ งระหว่างระบบความคดิ กบั ระบบข้อเทจ็ จรงิ รายงาน (Report) เป็นผลท่ีได้จากการศึกษาค้นคว้า วิจัย มีการเรียบเรียงตามระเบียบ ขน้ั ตอนทางวชิ าการ ตามรูปแบบการเขียนรายงาน การเรียนรู้ การเรียนรู้ (Learning) เป็นกระบวนการในการเปล่ียนพฤติกรรมอันเนื่องมาจากประสบการณ์ ท่ีแต่ละบคุ คลไดร้ ับมา (มาลี จฑุ า, 2544: 64) ดังนั้นการเรียนรู้จึงเป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในทางท่ี ดีขึ้น โดยการเรียนรทู้ าให้เกิดประสบการณ์ และประสบการณท์ าให้เกิดการพัฒนาคุณภาพชวี ติ วิธีการเรียนรู้ จึงเป็นการใชพ้ ลังงานของสมาธิ ความจาและความคดิ เพ่ือให้เกดิ ความเขา้ ใจ ขั้นท่ี 1 เปิดใจรับขอ้ มูล โดยการฟงั การอา่ น การสังเกต ขน้ั ท่ี 2 คดิ วิเคราะห์ ไตรต่ รองจนเขา้ ใจ ข้นั ที่ 3 ประยุกต์ใช้ในทางสรา้ งสรรค์ หรือเปลย่ี นแปลงทศั นคติ ค่านิยม เอกสารประกอบการเรียน กลมุ่ วิชาการศกึ ษาค้นคว้าด้วยตนเอง ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2565 6
ขั้นตอนของการคิดเป็น เป็นข้ันตอนสาคัญของการเรียนรู้ การคิดเป็นการใช้สมองของแต่ละ บุคคล โดยการคิดมีหลายลักษณะ เช่น การคิดแนวต้ังหรือการคิดแบบปกติ และการคิดแนวขวางหรือ การคิดนอกกรอบ กระบวนการเรียนรู้โดยใช้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง มีลักษณะที่ให้ผู้เรียนมีอิสรภาพในการเรียนรู้ ทงั้ ทางรา่ งกายและจิตใจ โดยใหผ้ ้เู รียนมีพฤติกรรม ดังนี้ 1. ทางานเป็นทีม 2. แสดงออกอิสระ 3. ปฏิบัติจรงิ 4. มีสว่ นรว่ ม 5. คดิ ด้วยตนเอง การทผ่ี ูเ้ รียนจะเกิดปญั ญานน้ั ผเู้ รียนจะต้องคดิ เปน็ และคิดดว้ ยตวั เอง 6. การแสวงหาความรู้อย่างอิสระ เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ส่ิงต่างๆ จาก ธรรมชาติ จนิ ตนาการ ความงาม ความจริง และการแสวงหาความรู้วิธีที่ง่ายท่สี ุด คอื การอ่านหนงั สือ พื้นฐานของการแสวงหาความรู้ 4 ประการ ซ่ึงเป็นพ้ืนฐานของการเรียนรู้ตลอดชีวิต ได้แก่ การอ่าน การฟัง การไต่ถาม และการจดบนั ทกึ ซึง่ สอดคลอ้ งกับหลกั หวั ใจนักปราชญ์ คอื สุ จิ ปุ ลิ สุ ไดแ้ ก่ สุต คือ การฟงั การฟังเป็นการเปิดใจเพ่ือรับฟังข้อมูลข่าวสารก่อนท่ีจะคิดว่าเร่ืองที่ รบั ฟังน้ัน มเี หตุผลนา่ เชอ่ื ถือหรือไม่เพยี งใด การฟังเป็นเคร่อื งมือของการแสวงหาความรูเ้ ชน่ กัน จิ ได้แก่ จินตนะ คือ การคิด การคิดเป็นการทางานของสมอง สมองของคนเรามี 2 ซีก ซีก ซ้ายและซีกขวาทาหน้าที่แตกต่างกัน โดยซีกซ้าย ทาหน้าท่ีควบคุมการใช้เหตุผล ใช้ตรรกะ การคานวณ เปรียบเทียบ การแจงนับ การวิเคราะห์เจาะลึก ส่วนซีกขวาทาหน้าที่ควบคุมความคิดสร้างสรรค์ อารมณ์ จิตใจ สัญชาตญาณและลางสงั หรณ์ ปุ ได้แก่ ปุจฉา คือ คาถาม การซักถามเร่ืองท่ีสงสัยและต้องการข้อมูลเพิ่มเติม เป็น การแสวงหาความรู้ หลังจากการอ่านและการฟัง เพื่อช่วยให้เกิดความเข้าใจได้ชัดเจนขึ้น เพ่ือให้เกิดความ กระจา่ ง และความเขา้ ใจท่ถี กู ตอ้ ง ลิ ได้แก่ ลิขิต คือ การเขียน การเขียนหรือจดบันทึก เป็นการบันทึกข้อความเพื่อเตือน ความจา เพื่อประโยชน์ในการนาบันทึกนั้นมาทบทวนภายหลัง ควรจดเฉพาะใจความสาคัญเป็นการจด สรุปความ เพ่ือความเข้าใจอกี ช้นั หน่ึง และป้องกันการสบั สนหรอื หลงลมื หากเราใช้หลกั หวั ใจนักปราชญ์ในการแสวงหาความรู้ย่อมทาให้ผลของการเรยี นรบู้ รรลุเป้าหมาย ผลท่ีไดจ้ ากการเรียนรคู้ อื ความใฝร่ ู้ ไดแ้ ก่ 1. ความคิด คือ ความคิด ความเข้าใจ และความจาในเนื้อหาสาระ ความรู้มี 2 ส่วน คือ ส่วน แรกเป็นความร้ใู นเนอื้ หาของเรื่องนน้ั ๆ อีกส่วนหนึ่ง คือ ความรู้ว่าจะหาความรนู้ ัน้ ได้จากท่ีใด 2. ทักษะ เชน่ การพูด การกระทา การเคลอื่ นไหว เปน็ ตน้ 3. เจตคติ หรือ ความร้สู กึ เชน่ 3.1 คุณธรรม หมายถงึ การยึดม่ันในความจรงิ ความดีงาม ความถูกตอ้ ง 3.2 จรยิ ธรรม หมายถึง ความรบั ผดิ ชอบในหน้าท่ี และปฏิบตั ิตามสัญญา 3.3 คา่ นยิ ม หมายถึง ความคดิ ความเช่อื เอกสารประกอบการเรียน กลมุ่ วชิ าการศกึ ษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565 7
วิธีการแสวงหาความรู้ ความรู้ ของมนษุ ย์ ประกอบดว้ ย ขอ้ เท็จจรงิ และทฤษฎีต่าง ๆ การแสวงหาความรู้ของมนุษย์เป็น กระบวนการที่ตอ้ งอาศัยสติปัญญาและการฝึกฝนตา่ ง ๆ วธิ ีเสาะแสวงหาความรู้ของมนุษย์ จาแนกไดด้ งั น้ี 1. การสอบถามจากผู้รู้ (Authority) เช่น ในสมัยโบราณ เมื่อเกิดน้าท่วมหรือโรคระบาด ผู้คน ก็จะถามผู้ท่ีเกิดก่อนว่าจะทาอย่างไร ซึ่งในสมัยน้ันผู้ท่ีเกิดก่อนก็จะแนะนาให้ทาพิธีสวดมนต์อ้อนวอนส่ิง ศักดิส์ ิทธ์ติ ่าง ๆ ปจั จบุ นั ก็มีการแสวงหาความร้ทู ใี่ ชว้ ธิ กี ารสอบถามจากผู้รู้ เช่น ผพู้ พิ ากษาในศาลเวลาตัดสิน คดีเกี่ยวกับการปลอมแปลงลายมือยังต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญทางด้านลายมือให้ช่วยตรวจสอบให้ ข้อควร ระมัดระวังในการเสาะแสวงหาความรู้โดยการสอบถามจากผู้รู้คือต้องมั่นใจว่าผู้รู้น้ันเป็นผู้รู้ในเร่ืองที่จะ สอบถามอย่างแท้จรงิ 2. การศกึ ษาจากขนบธรรมเนียมประเพณี (Tradition) วิธีการเสาะแสวงหาความรู้ของมนุษย์ อีกวิธีหนึ่งท่ีใกล้เคียงกันกับการสอบถามจากผู้รู้ก็คือการศึกษาจากขนบธรรมเนียมประเพณีหรือวัฒนธรรม ต่าง ๆ เช่น ในการศึกษาความรู้เก่ียวกับการแต่งกายประจาชาติต่าง ๆ ซึ่งผู้ใช้วิธีการแสวงหาความรู้แบบน้ี ต้องตระหนักว่า ส่ิงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในอดีตจนเป็นขนบธรรมเนียมน้ันไม่ใช่ว่าจะเป็นสิ่งที่ถูกต้องและ เท่ียงตรงเสมอไป ถ้าศึกษาเหตุการณ์ต่าง ๆ ทางด้านประวัติศาสตร์จะพบว่ามีข้อปฏิบัติหรือทฤษฎีต่าง ๆ ท่เี ปน็ ผลสืบเนื่องมาจากวฒั นธรรมหรือขนบธรรมเนียมประเพณีนั้นซึ่งได้ยึดถือปฏิบัติกันมาหลายปี และพบ ข้อเท็จจริงในภายหลังถึงความผิดพลาดข้อปฏิบัติหรือทฤษฎีเหล่าน้ันก็ต้องยกเลิกไป ดังน้ันผู้ที่จะใช้วิธีการ เสาะแสวงหาความรู้โดยการศึกษาจากขนบธรรมเนียมประเพณีน้ัน ควรจะได้นามาประเมินอย่างรอบคอบ เสียก่อนทจ่ี ะยอมรับวา่ เปน็ ข้อเทจ็ จริง 3. การใช้ประสบการณ์ (Experience) วิธีการเสาะแสวงหาความรู้ที่มนุษย์ใช้กันอยู่บ่อย ๆ คือ การใชป้ ระสบการณ์ตรงของตนเอง เมื่อเผชิญปัญหา มนุษย์พยายามที่จะค้นคว้าหาคาตอบในการแก้ปัญหา โดยใช้ประสบการณ์ตรงของตนเองท่ีเคยประสบมา เช่น เด็กมักจะมีคาถามมาถามครู บิดา มารดา ญาติ ผู้ท่ีมีอาวุโสมากกว่า บุคคลเหล่านั้นมักจะใช้ประสบการณ์ตรงของตนเองในการตอบคาถามหรือแก้ปัญหา ให้กับเด็ก การใช้ประสบการณ์ตรงนั้นเป็นวิธีการเสาะแสวงหาความรู้ แต่ถ้าใช้ไม่ถูกวิธีอาจจะทาให้ได้ ขอ้ สรปุ ที่ไม่ถูกต้องได้ 4. วิธีการอนมุ าน (Deductive method) การเสาะแสวงหาความรู้โดยใช้วิธีการอนุมานนี้เป็น กระบวนการคิดค้นจากเร่ืองท่ัว ๆ ไป ไปสู่เร่ืองเฉพาะเจาะจง หรือคิดจากส่วนใหญ่ไปสู่ส่วนย่อยจากส่ิงท่ีรู้ ไปสสู่ ง่ิ ท่ีไมร่ ู้ วธิ ีการอนมุ านนป้ี ระกอบด้วย 1) ข้อเทจ็ จริงใหญ่ ซึง่ เปน็ เหตกุ ารณท์ เี่ ป็นจรงิ อยู่แล้วในตวั มันเอง 2) ข้อเทจ็ จรงิ ย่อย ซึ่งมีความสมั พนั ธ์กับกรณีของข้อเท็จจริงยอ่ ย และ 3) ขอ้ สรปุ (Conclusion) ถา้ ข้อเท็จจรงิ ใหญ่และข้อเท็จจริงยอ่ ยเปน็ จรงิ ข้อสรปุ กจ็ ะต้องเปน็ จรงิ เช่น สตั ว์ทกุ ชนิดตอ้ งตาย สนุ ขั เป็นสตั ว์ชนดิ หนง่ึ ขอ้ สรปุ สุนขั ต้องตาย 5. วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific method) เป็นวิธีการแสวงหาความรู้โดยใช้หลักการ ของวิธีการอุปมานและวิธีการอนุมานมาผสมผสานกัน โดยมีข้ันตอนการเสาะแสวงหาความรู้โดยเริ่มจาก การท่ีมนุษย์เร่ิมเรียนรู้ทีละเล็กทีละน้อยจากประสบการณ์ตรงความรู้เก่า ๆ และการสังเกต เป็นต้น จนกระท่งั รวบรวมแนวความคิดเป็นแนวความรู้ต่าง ๆ ท่ีสมมติข้ึนมา ซ่ึงเป็นวิธีการอุปมานและหลังจากน้ัน ก็ใช้วิธีการอนุมานในการแสวงหาความรู้ทั่วไป โดยเริ่มจากสมมติฐานซึ่งเป็นส่วนรวม แล้วศึกษาไปถึง สว่ นย่อย ๆ เพ่ือทจ่ี ะศกึ ษาถึงการหาความสัมพันธร์ ะหวา่ งส่วนย่อยกับส่วนรวม เพ่ือให้ได้ข้อสรุปของความรู้ ตา่ ง ๆ เอกสารประกอบการเรียน กลมุ่ วิชาการศกึ ษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2565 8
วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific method) เป็นวิธีการแสะแสวงหาความรู้ที่ดีในการแก้ ปัญหาต่างๆ ไม่เพียงแต่ปัญหาที่เกิดข้ึนในห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์เท่านั้น แต่ยังสามารถนามา ประยุกตใ์ ช้ในการแกป้ ญั หาทางการศึกษาได้ด้วย การพฒั นาทักษะการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง กรมสามญั ศกึ ษา (2545: 12-20) กลา่ ววา่ การศกึ ษาหาความรู้มีขนั้ ตอน ดังน้ี 1. การกาหนดประเด็นคน้ คว้า ประกอบดว้ ย 1.1 การต้งั ประเด็นคน้ คว้า 1.2 การกาหนดขอบเขตของประเดน็ ค้นคว้า 1.3 การอธิบายประเด็นค้นควา้ ซง่ึ เป็นการนาเสนอรายละเอยี ดเกี่ยวกบั ประเดน็ ค้นคว้า 1.4 การแสดงความคิดเหน็ ตอ่ ประเด็นคน้ ควา้ 2. การคาดคะเน ประกอบดว้ ย 2.1 การตัง้ ประเดน็ คาดคะเน 2.2 การอธบิ ายรายละเอียดเกย่ี วกับประเดน็ คาดคะเนผล 2.3 การแสดงความคดิ เหน็ ต่อประเดน็ คาดคะเนผล 3. การกาหนดวิธคี น้ ควา้ และการดาเนนิ การ ประกอบด้วย 3.1 จาแนกวธิ กี ารค้นควา้ คอื การระบุแนวทางต่าง ๆ 3.2 เลอื กวิธกี ารคน้ ควา้ พร้อมระบุเหตผุ ล 3.3 วางแผนคน้ คว้าตามแนวทางท่ไี ด้แสดงข้นั ตอนการดาเนนิ การค้นควา้ 3.4 การคาดคะเนส่งิ ท่ีจะเปน็ อปุ สรรคในการคน้ ควา้ 3.5 ดาเนินการค้นควา้ 4. การวเิ คราะหผ์ ลการคน้ คว้า ประกอบดว้ ย 4.1 การจาแนก จัดกล่มุ และจดั ลาดับขอ้ มลู 4.2 การพจิ ารณาองคป์ ระกอบและความสมั พนั ธข์ องข้อมูล โดยจดั ลาดับความสาคัญ 5. การสรุปผลการคน้ คว้า ประกอบดว้ ย 5.1 การสงั เคราะหข์ อ้ มูล คือ การเรียบเรยี งขอ้ มูลที่ค้นพบจากการค้นควา้ และสรุปเปน็ ประเดน็ 5.2 การอภิปรายผลการค้นคว้า คอื การแสดงความเห็นอย่างมีเหตผุ ล เกี่ยวกับประเดน็ ทพ่ี บจากการคน้ คว้าพรอ้ มท้ังแสดงใหเ้ หน็ ความสมั พันธ์ของข้อมูลท่ีค้นพบที่สามารถ เรยี บเรยี งไปถึงประเด็นค้นคว้าใหม่ 5.3 การสรุปกระบวนการในการค้นควา้ คือ การระบุขน้ั ตอนหลักของกระบวนการคน้ ควา้ 5.4 การประเมนิ กระบวนการที่ใช้ในการค้นคว้า คือ การวเิ คราะห์ จดุ อ่อน จุดแขง็ และแนวทางแก้ไขกระบวนการคน้ ควา้ ที่กาหนด เอกสารประกอบการเรียน กลุม่ วิชาการศึกษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2565 9
บทท่ี 1 ประเดน็ ปัญหาและสมมติฐาน การใช้คาถามเป็นเทคนคิ สาคัญในการเสาะแสวงหาความรู้ที่มีประสิทธิภาพ ก่อให้เกิดการเรียนรู้ ท่ีพัฒนาทักษะการคิด การตีความ การไตร่ตรอง การถ่ายทอดความคิด สามารถนาไปสู่การเปลี่ยนแปลง และปรับปรุงการจัดกระบวนการเรียนรู้ได้เป็นอย่างดี การถามเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ ช่วยให้นักเรียนสร้างความรู้ ความเข้าใจ และพัฒนาความคิดใหม่ ๆ กระบวนการถามจะช่วยขยายทักษะ การคิด ทาความเข้าใจให้กระจ่าง ก่อให้เกิดการทบทวน การเชื่อมโยงระหว่างความคิดต่าง ๆ ส่งเสริม ความอยากรู้อยากเห็นและเกดิ ความท้าทาย ระดับของการตงั้ คาถาม การต้ังคาถามมี 2 ระดับ คอื คาถามระดบั พน้ื ฐาน และคาถามระดับสูง ซึ่งมีรายละเอียด ดังน้ี 1. คาถามระดับพ้ืนฐาน เป็นการถามความรู้ ความจา เป็นคาถามที่ใช้ความคิดทั่วไป หรือ ความคิดระดับต่า ใช้พ้ืนฐานความรู้เดิมหรือส่ิงที่ประจักษ์ในการตอบ เนื่องจากเป็นคาถามท่ีฝึกให้เกิด ความคล่องตัวในการตอบ คาถามในระดับนี้เป็นการประเมินความพร้อมของนักเรียนเรียนก่อนเรียน วินจิ ฉัยจดุ ออ่ น-จดุ แข็ง และสรุปเนื้อหาท่ีเรยี นไปแล้ว คาถามระดับพ้ืนฐาน ไดแ้ ก่ 1.1 คาถามให้สังเกต เป็นคาถามท่ีให้นักเรียนคิดตอบจากการสังเกต เป็นคาถามที่ต้องการ ให้นักเรียนใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้าในการสืบค้นหาคาตอบ คือ ใช้ตาดู มือสัมผัส จมูกดมกลิ่น ลิ้นชิมรส และหฟู ังเสยี ง ตัวอยา่ งคาถาม เชน่ เมื่อนกั เรียนอ่านบทประพนั ธ์นี้แลว้ รสู้ กึ อยา่ งไร แม่การะเกดในเรือ่ งบุพเพสนั นิวาสนี้มบี ุคลกิ ภาพอย่างไร นกั เรยี นโรงเรียนวัดสทุ ธวิ รารามร้องเพลงชาตแิ ละเพลงโรงเรียน เปน็ อยา่ งไร พน้ื ผวิ ของโตะ๊ ในห้องเรียนเปน็ อย่างไร 1.2 คาถามทบทวนความจา เป็นคาถามท่ีใช้ทบทวนความรู้เดิมของนักเรียน เพ่ือใช้ เช่อื มโยงไปสคู่ วามรู้ใหม่กอ่ นเรม่ิ บทเรยี น ตัวอย่างคาถาม เชน่ ดาวเคราะห์ดวงใดท่มี ขี นาดใหญท่ ส่ี ดุ ใครเป็นผแู้ ต่งเรอื่ งอเิ หนา เม่ือเกดิ อาการแพย้ าควรโทรศัพท์ไปทเ่ี บอร์ใด เอกสารประกอบการเรียน กลุ่มวชิ าการศึกษาค้นควา้ ดว้ ยตนเอง ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2565 10
1.3 คาถามที่ให้บอกความหมายหรือคาจากัดความ เป็นการถามความเข้าใจ โดยการให้ บอกความหมายของข้อมลู ตา่ ง ๆ ตัวอย่างคาถามเชน่ คาวา่ สิทธมิ นุษยชนหมายความวา่ อยา่ งไร ภาษเี งินไดบ้ คุ คลธรรมดาคืออะไร สถิติ (Statistics) หมายความว่าอย่างไร 1.4 คาถามบ่งชี้หรือระบุ เป็นคาถามที่ให้ผู้เรียนบ่งช้ีหรือระบุคาตอบจากคาถามให้ถูกต้อง ตัวอยา่ งคาถาม เชน่ คาใดต่อไปนี้เปน็ คาควบกลา้ ไมแ่ ท้ ระบุชอ่ื สตั ว์ท่มี ีกระดูกสนั หลงั ประเทศใดบา้ งทีเ่ ปน็ สมาชิก APEC 2. คาถามระดับสูง เป็นการถามให้คิดค้น หมายถึง คาตอบท่ีนักเรียนตอบต้องใช้ความคิด ซับซ้อน เปน็ การสง่ เสริมความคิดสร้างสรรค์และกระตุ้นให้นักเรียนสามารถใช้สมองทั้งซีกซ้ายและซีกขวา ในการคิดหาคาตอบ โดยอาจใช้ความรู้หรือประสบการณ์เดิมมาเป็นพื้นฐานในการคิดและตอบคาถาม ตัวอยา่ งคาถามระดับสงู ได้แก่ 2.1 คาถามให้อธิบาย เป็นการถามโดยให้นักเรียนตีความหมาย ขยายความ โดยการให้ อธิบายแนวคดิ ของขอ้ มูลต่าง ๆ ตัวอย่างคาถามเช่น นกั เรยี นควรมบี ทบาทหน้าท่ใี นโรงเรยี นอย่างไร ชาวพุทธทด่ี คี วรปฏิบัตติ นอยา่ งไร นกั เรยี นจะปฏบิ ัติตนอยา่ งไรจึงจะทาให้ร่างกายแขง็ แรง 2.2 คาถามให้เปรียบเทียบ เป็นการตั้งคาถามให้นักเรียนสามารถจาแนกความเหมือน ความแตกต่างของข้อมูลได้ ตัวอย่างคาถามเช่น จงเปรียบเทยี บวิถชี วี ิตของคนไทยในภมู ภิ าคตา่ ง ๆ ของประเทศไทย DNA กับ RNA แตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร สงั คมเมอื งกบั สังคมชนบทเหมือนและตา่ งกันอย่างไร 2.3 คาถามให้วิเคราะห์ เป็นคาถามให้นักเรียนวิเคราะห์ แยกแยะปัญหา จัดหมวดหมู่ วิจารณแ์ นวคิด หรอื บอกความสัมพนั ธแ์ ละเหตุผล ตวั อยา่ งคาถาม เช่น อะไรเปน็ สาเหตทุ ที่ าใหเ้ กิดภาวะโลกรอ้ น วฒั นธรรมแบ่งออกเป็นกป่ี ระเภท อะไรบ้าง สาเหตุใดทท่ี าใหน้ างวนั ทองถูกประหารชวี ติ การติดยาเสพติดของเยาวชนเกิดจากสาเหตใุ ด 2.4 คาถามให้ยกตัวอย่าง เป็นการถามให้นักเรียนใช้ความสามารถในการคิด นามา ยกตวั อยา่ ง ตวั อย่างคาถามเช่น ร่างกายขับของเสียออกจากส่วนใดบา้ ง ยกตัวอย่างการเคลือ่ นที่แบบโปรเจกไตล์ หนิ อคั นีสามารถนาไปใช้ประโยชนไ์ ด้อย่างไรบา้ ง อาหารคาวหวานในพระราชนพิ นธ์กาพยเ์ ห่ชมเคร่ืองคาวหวานไดแ้ กอ่ ะไรบ้าง เอกสารประกอบการเรยี น กลมุ่ วิชาการศึกษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2565 11
2.5 คาถามให้สรุป เป็นการใช้คาถามเม่ือจบบทเรียน เพื่อให้ทราบว่านักเรียนได้รับความรู้ หรือมีความก้าวหน้าในการเรียนมากน้อยเพียงใด และเป็นการช่วยเน้นย้าความรู้ที่ได้เรียนไปแล้ว ทาให้ สามารถจดจาเนอ้ื หาไดด้ ยี ิง่ ขึ้น ตัวอยา่ งคาถามเช่น จงสรุปเหตุผลท่ที าให้พระเจา้ ตากสนิ ทรงยา้ ยเมอื งหลวง เม่ือนักเรยี นอ่านบทความเรอ่ื งนแ้ี ลว้ นกั เรียนไดข้ ้อคิดอะไรบ้าง จงสรปุ แนวทางในการอนรุ ักษ์ทรพั ยากรน้าเพ่ือให้เกิดคุณคา่ สงู สดุ จงสรุปขนั้ ตอนการทาผ้าบาติค 2.6 คาถามเพือ่ ให้ประเมินและเลือกทางเลือก เป็นการใช้คาถามที่ให้นักเรียนเปรียบเทียบ หรอื ใช้วจิ ารณญาณในการตดั สนิ ใจเลือกทางเลือกที่หลากหลาย ตัวอยา่ งคาถาม เชน่ การว่ายนา้ กบั การวง่ิ เหยาะ อย่างไหนเป็นการออกกาลงั กายท่ีดีกว่ากัน ระหวา่ งน้าอดั ลมกับนมอย่างไหนมีประโยชน์มากกวา่ กัน เพราะเหตใุ ด ไก่ทอดกบั สลัดไก่ นกั เรยี นจะเลือกรับประทานอาหารชนดิ ใด เพราะเหตใุ ด 2.7 คาถามให้ประยุกต์ เป็นการถามให้นักเรียนใช้พ้ืนฐานความรู้เดิมที่มีอยู่มาประยุกต์ใช้ ในสถานการณ์ใหมห่ รือในชีวติ ประจาวนั ตัวอย่างคาถาม เช่น นกั เรียนมวี ธิ ีการประหยัดพลังงานอย่างไรบ้าง เมอ่ื นักเรียนเหน็ เพอ่ื นในหอ้ งขาแพลง นกั เรยี นจะทาการปฐมพยาบาลอยา่ งไร นักเรียนนาปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชวี ิต ประจาวนั อยา่ งไรบา้ ง นักเรียนจะทาการส่งขอ้ ความผ่านทางอเี มลได้อยา่ งไร 2.8 คาถามให้สร้างหรือคิดค้นสิ่งใหม่ ๆ หรือผลิตผลใหม่ ๆ เป็นลักษณะการถาม ให้ผเู้ รยี นคิดสรา้ งสรรค์ผลงานใหม่ ๆ ที่ไม่ซ้ากบั ผูอ้ ่ืนหรือที่มีอยู่แล้ว ตัวอยา่ งคาถามเชน่ กระดาษหนงั สอื พมิ พ์ท่ไี มใ่ ชแ้ ล้ว สามารถนาไปประดิษฐข์ องเล่นอะไรได้บ้าง กล่องหรอื ลังไม้เก่า ๆ สามารถดดั แปลงกลับไปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์ได้อย่างไร เส้ือผา้ ท่ไี ม่ใช้แลว้ นักเรียนจะนาไปดดั แปลงเปน็ ส่ิงใดเพอ่ื ใหเ้ กิดประโยชน์ นักเรยี นจะนากระดาษทีใ่ ช้เพยี งหน้าเดียวมาประดษิ ฐเ์ ป็นส่ิงใดบา้ ง การตั้งคาถามระดบั สูงจะทาให้นักเรียนเกิดทักษะการคิดระดับสูง และเป็นคนมีเหตุผล นักเรียน ไมเ่ พยี งแต่จดจาความรู้ ขอ้ เท็จจริงได้อยา่ งเดยี วแตส่ ามารถนาความรู้ไปใช้ในการแก้ปัญหา วิเคราะห์ และ ประเมนิ สิ่งท่ีถามได้ นอกจากน้ียังช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจสาระสาคัญของเรื่องราวท่ีเรียนได้อย่างถูกต้อง และ กระตนุ้ ใหผ้ ู้เรียนค้นหาข้อมลู มาตอบคาถามดว้ ยตนเอง การตอบคาถามระดับสูง ต้องให้เวลานักเรียนในการคิดหาคาตอบเป็นเวลามากกว่าการตอบ คาถามระดับพ้ืนฐาน เพราะนักเรียนต้องใช้เวลาในการคิดวิเคราะห์อย่างลึกซึ้งและมีวิจารณญาณใน การตอบคาถาม ความผิดพลาดอย่างหนึ่งของการต้ังคาถามคือ การถามแล้วต้องการคาตอบในทันที โดยไม่ให้เวลานกั เรียนในการคดิ หาคาตอบ เอกสารประกอบการเรยี น กลุ่มวิชาการศกึ ษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2565 12
ความหมายของสมมติฐาน พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 (ราชบัณฑิตยสถาน, 2556) ให้ความหมายของ คาว่า “สมมติฐาน” หรือ “สมมุติฐาน” ว่าหมายถึง ข้อคิดเห็นหรือถ้อยแถลงที่ใช้เป็นมูลฐานแห่งการหา เหตุผล การทดลอง หรือการวจิ ัย สมมติฐาน หมายถึง ความเชื่อของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง หรือ ของกลุ่มใดกลุ่มหน่ึงหรืออาจกล่าว ได้วา่ สมมตฐิ านเป็นสิง่ ที่บุคคลหรือกลมุ่ บุคคลคาดว่าจะเกิดขึ้นโดยท่ีความเชื่อหรือส่ิงที่คาดน้ันจะเป็นจริง หรอื ไมก่ ไ็ ด้ เช่น เจา้ ของร้านค้าสหกรณค์ าดว่าจะมกี าไรสุทธิจากการขายสินค้าตอ่ ปี ไมต่ ่ากว่า 500,000 บาท หวั หน้าพรรคการเมือง A …..คาดว่าการเลือกตง้ั สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎร ในคราวหน้า พรรคอ่ืน ๆ จะได้ท่นี งั่ ในสภาไมต่ า่ กว่าร้อยละ 50 ของทั้งหมด คาดว่ารายไดเ้ ฉลี่ยต่อเดือนของประชากรในจงั หวดั พษิ ณโุ ลกเท่ากับ 15,000 บาท จะเห็นได้ว่า การตั้งสมมติฐานเป็นการคาดคะเนหาคาตอบท่ีอาจจะเป็นไปได้อย่างมีเหตุผล สาหรับประเด็นปัญหาที่ตั้งไว้ ซ่ึงการคาดคะเนดังกล่าวจะเป็นจริงหรือไม่น้ัน ผู้ตั้งสมมติฐานจะต้องทา การพิสูจน์หรือทดลองเพื่อหาข้อเท็จจริงโดยอาศัยข้อมูลต่าง ๆ วิธีการทางสถิติ หลักการ ทฤษฎี หรือ ข้อค้นพบจากการศกึ ษาวิจยั ท่ีทามาก่อนหน้าน้ี ลักษณะของสมมติฐาน สมมติฐานเป็นการคาดเดาคาตอบของประเด็นปัญหาอย่างสมเหตุสมผลไว้ล่วงหน้า ซ่ึงคาตอบ ที่คาดเดาไว้น้ีจะถูกต้องหรือไม่ก็ได้ ดังน้ัน การคาดคะเนเพ่ือหาคาตอบจึงเป็นการกล่าวถึงสิ่งท่ีเป็นสาเหตุ และสิ่งท่ีเป็นผลอันเกิดจากสาเหตุน้ัน หมายความว่า จะต้องมีสิ่งใดส่ิงหนึ่งท่ีเป็นสาเหตุทาให้เกิด ปรากฏการณ์ คณุ ลักษณะ หรอื คุณสมบตั ิ และตวั เหตุน้ีเอาทาใหเ้ กิดผลตามมา ความแตกต่างของสมมตฐิ านกับการพยากรณ์ การต้ังสมมติฐาน คือ การทานายผลล่วงหน้าโดยไม่มีหรือไม่ทราบ ความสัมพันธ์เก่ียวข้อง ระหว่างข้อมูล การพยากรณ์ คือ การทานายผลล่วงหน้าโดยการมีหรือทราบความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล ทเี่ ก่ยี วขอ้ งในการทานายล่วงหนา้ การตั้งสมมตฐิ านทด่ี ี การตง้ั สมมตฐิ านทดี่ ี ควรมีลักษณะดังน้ี 1. เปน็ สมมตฐิ านท่ีเข้าใจง่าย มกั นยิ มใช้วลี “ถา้ …ดังน้นั ” 2. เปน็ สมมตฐิ านที่แนะลู่ทางที่จะตรวจสอบได้ 3. เป็นสมมติฐานท่ตี รวจได้โดยการทดลอง 4. เป็นสมมตฐิ านทส่ี อดคลอ้ งและอยู่ในขอบเขตข้อเท็จจริงที่ได้จากการสังเกตและสัมพนั ธ์ กับปัญหาท่ตี ง้ั ไว้ สมมติฐานที่เคยยอมรับอาจล้มเลิกได้ถ้ามีข้อมูลจากการทดลองใหม่ๆ มาลบล้าง แต่ก็มีบาง สมมติฐานที่ไม่มีข้อมูลจากการทดลองมาคัดค้านทาให้สมมติฐานเหล่านั้นเป็นที่ ยอมรับว่าถูกต้อง เช่น สมมติฐานของเมนเดลเกี่ยวกับหน่วยกรรมพันธ์ุ ซึ่งเปล่ียนกฎการแยกตัวของยีน หรือสมมติฐานของ อโวกาโดรซง่ึ เปล่ียนเปน็ กฎของอโวกาโดร เอกสารประกอบการเรยี น กลุม่ วชิ าการศกึ ษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565 13
หลกั การตงั้ สมมุติฐาน การตั้งสมมติฐานในประเด็นปัญหาหรือหัวข้อท่ีนักเรียนต้องการศึกษาสามารถตั้งสมมติฐาน ได้มากกว่าหนง่ึ สมมตฐิ าน ซึ่งการต้งั สมมติฐานน้ันจะพิจารณาจากวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของประเด็น ปัญหาหรอื หัวขอ้ ที่ต้องการศึกษาค้นควา้ นักเรียนจะสามารถต้ังสมมติฐานเพ่ือคาดคะเนคาตอบของประเด็นปัญหาได้อย่างสมเหตุ สมผล ตอ้ งทาการศึกษาค้นควา้ จากแหล่งข้อมูลตา่ ง ๆ ดังนี้ 1. การศึกษาเอกสาร ตารา บทความวชิ าการ และผลงานวจิ ยั 2. สนทนากบั ผรู้ ู้ ผู้เช่ียวชาญ หรือครทู ป่ี รึกษา 3. การแลกเปล่ยี นเรียนรู้ หรือปรกึ ษาหารือกับบุคคลอน่ื ๆ ในลกั ษณะการระดมสมอง วิธีการตงั้ สมมติฐาน มีวิธกี ารดงั น้ี เมื่อนักเรียนกาหนดประเด็นปัญหาหรือเร่ืองท่ีตนเองต้องการศึกษาค้นคว้าแล้ว การต้ัง สมมติฐานในเรอื่ งทนี่ กั เรียนสนใจศึกษามีดังน้ี 1. คาดเดาคาตอบจากเร่ืองที่ต้องการจะศึกษาว่านักเรียนต้องการได้รับอะไรจากการศึกษา ในครัง้ นี้ ซงึ่ นกั เรียนจะต้องทราบก่อนวา่ ตวั แปรอสิ ระ/ตัวแปรต้น ตัวแปรตามคอื อะไร 2. เขยี นสมมตฐิ านทนี่ ักเรยี นคิดวา่ จะไดจ้ ากการศกึ ษาค้นคว้า เขียนเป็นประโยคบอกเลา่ ให้สนั้ กระชบั อา่ นเขา้ ใจงา่ ย 3. สมมติฐานทนี่ ักเรียนเขยี นขึ้นมานัน้ จะต้องเขยี นใหส้ อดคล้องกับวตั ถุประสงค์หรอื เป้าหมายของการศกึ ษาความรู้ 4. ในการเขยี นสมมตฐิ านในแตล่ ะข้อน้ัน ใหน้ กั เรยี นเขยี นสมมตฐิ านตอบคาถาม เพยี งหน่ึงข้อต่อหน่ึงคาถาม ไมค่ วรเขยี นสมมติฐานครงั้ เดียวเพ่ือตอบคาถามหลาย ๆ ข้อ เพราะอาจจะทาให้ สับสนได้ 5. การเขียนสมมติฐานจะตอ้ งเขยี นโดยคานงึ ถึงความเปน็ ไปได้ของการได้มาของคาตอบ ทนี่ กั เรยี นจะตอ้ งไปศกึ ษาคน้ คว้า ตวั อยา่ งสมมตฐิ าน ไดแ้ ก่ ยอดงบประมาณในการใชจ้ ่ายเพื่อการโฆษณาน้าอดั ลมมีความสัมพนั ธ์กบั ยอดขาย ในทางบวก (หมายความวา่ ย่ิงใช้งบประมาณในการโฆษณามากกจ็ ะมยี อดขายนา้ อดั ลม มากขนึ้ ไปดว้ ย แสดงวา่ การโฆษณามีความสมั พันธ์กบั ยอดการจาหนา่ ยสนิ ค้า) ความรสู้ ึกเหน็ คุณค่าในตนเองของนกั เรียนมคี วามสัมพนั ธ์กบั ความกล้าแสดงออก ของนกั เรียน (หมายความว่า นักเรียนทมี่ คี วามรู้สกึ เหน็ คุณค่าในตนเองสงู จะมีความกลา้ แสดงสูง ตามไปด้วย) ตน้ พชื ท่ปี ลูกในบรเิ วณท่ไี ดร้ บั แสงแดดไมเ่ ทา่ กนั จะมีการเจรญิ เติบโตแตกตา่ งกัน (หมายความวา่ แสงแดดเป็นตัวแปรอสิ ระที่เปน็ สาเหตุทาใหเ้ กดิ ผลหรอื ตัวแปรตาม คอื การเจรญิ เตบิ โตของพืชตามมา แสดงวา่ พชื ท่ไี ดร้ ับแสงแดดมากจะมีการเจรญิ เตบิ โต มากกวา่ พชื ที่ไดร้ ับแสงแดดน้อย) สมมติฐานต้องเป็นข้อความที่บอกความสัมพันธ์ระหว่าง ตัวแปรต้น กับ ตัวแปรตาม ในสถานการณ์หน่ึง ๆ อาจตั้งหนง่ึ สมมติฐานหรือหลายสมมติฐานก็ได้ สมมติฐานที่ตั้งขึ้นอาจจะถูกหรือผิด กไ็ ด้ ดงั น้นั จาเปน็ ตอ้ งมกี ารทดลองเพ่ือตรวจสอบว่า สมมติฐานท่ีต้ังข้ึนน้ันเป็นท่ียอมรับหรือไม่ซึ่งจะทราบ ภายหลังจากการทดลองหาคาตอบแลว้ คาถามท้ายบท ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2565 14 เอกสารประกอบการเรยี น กลมุ่ วชิ าการศึกษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง
คาถามท้ายบท 1. เทคนคิ สาคัญในการเสาะแสวงหาความรู้ทมี่ ปี ระสิทธิภาพ เป็นกลวิธกี ารสอนทกี่ อ่ ให้เกดิ การเรียนรู้ ทีพ่ ฒั นาทกั ษะการคดิ การตีความ การไตรต่ รอง การถ่ายทอดความคดิ คือ 2. จากทก่ี ล่าววา่ \"การต้งั ปญั หานนั้ สาคัญกวา่ การแก้ปัญหา\" นกั เรียนเหน็ ด้วยกับคากล่าวข้างตน้ หรอื ไมเ่ พราะเหตุใด 3. ระดบั ของการตัง้ คาถามมีกร่ี ะดับ อะไรบ้าง 4. คาถามระดับพน้ื ฐาน หมายถึง 5. คาถามระดบั พืน้ ฐาน ได้แก่ 6. คาถามระดบั สงู เปน็ การถามให้คดิ ค้น หมายถงึ 7. จงยกตัวอยา่ งคาถามระดบั สงู ไดแ้ ก่ 8. นักเรียนคดิ วา่ การตงั้ ประเด็นปัญหา หรอื ประเดน็ คาถามมคี วามสาคัญอย่างไร จงอธิบายพรอ้ มยกตวั อย่าง 9. ใหน้ ักเรียนตอบคาถามตอ่ ไปนี้ 1) สมมตฐิ าน หมายถึง 2) การตง้ั สมมติฐาน คือ 3) การพยากรณ์ คือ 4) จงบอกหลกั ในการต้งั สมมติฐาน 5) จงบอกลกั ษณะการตัง้ สมมติฐานที่ดี 10. ให้นักเรยี นตงั้ สมมตฐิ านตามประเดน็ ปัญหาท่กี าหนดให้ 1) การสารวจพฤติกรรมการใชผ้ งชรู สในการประกอบอาหารของรา้ นอาหารโรงเรยี น 2) การสารวจพฤตกิ รรมการใช้โทรศพั ท์มือถือของนักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 3) การศึกษาสมุนไพรท่มี ผี ลต่อการดับกลิน่ เท้า 4) สารวจพฤตกิ รรมเกย่ี วกบั การบรโิ ภคอาหารกลางวันของนกั เรียน 5) การสารวจการเลน่ เกมออนไลนข์ องนกั เรียน เอกสารประกอบการเรยี น กลมุ่ วชิ าการศึกษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2565 15
บทท่ี 2 ขอ้ มูลและการรวบรวมข้อมูล กระบวนการรวบรวมข้อมูลถือเป็นขั้นตอนสาคัญของการศึกษาค้นคว้าความรู้ด้วยตนเองเป็น อย่างมาก เพราะเปน็ ข้ันตอนการเร่ิมต้นในการแสวงหาความรู้ การค้นคว้าหาคาตอบให้กับประเด็นปัญหา หรอื สมมตฐิ านที่นกั เรียนไดก้ าหนดไว้ ความหมายของข้อมูล ข้อมูล เป็นขอ้ ความจริงหรือสิ่งท่ีบ่งบอกถึงสภาพ สถานการณ์ หรือปรากฏการณ์ใดปรากฏการณ์ หน่ึง โดยที่ข้อมูลอาจเป็นตัวเลขหรือข้อความก็ได้ เช่น ในปี พ.ศ. 2547 คณะรัฐมนตรีกาหนดมาตรการ ควบคุมการแพร่ระบาดของเช้ือโรคไข้หวัดนก หรือในเดือนกันยายน 2547 น้ามันเบนซิน 91 จาหน่าย ในเขตกรุงเทพและปริมณฑลราคาลิตรละ 20.99 บาท โดยท่ัวไป ข้อมูลมักจะอยู่ในรูปตัวเลขซ่ึงมีหลาย ๆ จานวนท่ีสามารถนามาเปรียบเทียบขนาดกันได้ เช่น ต้ังแต่วันท่ี 1 มกราคม ถึง 30 กันยายน 2547 ไทยส่งออกข้าวไปยังประเทศหนึ่งรวม 2.88 ล้านตัน ลดลงจาก 5.00 ล้านตัน ของการส่งออกในช่วงเวลา เดียวกันของปกี ่อนร้อยละ 42.4 ข้อมูลเชิงสถิติเป็นข้อมูลที่สามารถนามาประมวลผลหรือวิเคราะห์ด้วยกระบวนการหรือวิธีการ ต่าง ๆ เพอ่ื ตอบคาถามในประเดน็ ต่าง ๆ ได้ เอกสารประกอบการเรียน กลุ่มวชิ าการศกึ ษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2565 16
ประเภทของขอ้ มลู ประเภทของขอ้ มลู สามารถจาแนกได้จากวธิ ีการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล และจากลกั ษณะของขอ้ มลู 1. การจาแนกขอ้ มูลตามวิธกี ารเก็บรวบรวมข้อมูล เม่ือจาแนกประเภทของข้อมูลตามวิธีการเก็บรวบรวมจะแบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ ข้อมูลปฐมภมู ิ (primary data) และ ข้อมลู ทุติยภมู ิ (secondary data) 1) ข้อมูลปฐมภูมิ คือข้อมูลท่ีผู้ใช้จะต้องเก็บรวบรวมจากผู้ให้ข้อมูลหรือแหล่งท่ีมาของ ขอ้ มลู โดยตรง ซ่งึ อาจทาได้โดยการสัมภาษณ์ วัด นับ หรือสังเกตจากแหล่งข้อมูลโดยตรง เนื่องจากข้อมูล เหลา่ นี้ไม่เคยมผี ใู้ ดเก็บรวบรวมไว้กอ่ น การเก็บรวบรวมข้อมูลประเภทนี้ทาได้ 2 วิธีคือ การสามะโน (census) และการสารวจ จากกลุ่มตวั อย่าง (sample survey) (1) การสามะโน คือการเก็บรวบรวมข้อมูลจากทุก ๆ หน่วยของประชากรหรือสิ่งที่เรา ต้องการศึกษา ซ่ึงการเก็บข้อมูลในลักษณะนี้ทาให้เสียเวลาและค่าใช้จ่ายในการเก็บรวบรวมข้อมูลมาก การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีนี้จึงไม่ค่อยนิยมใช้ในทางปฏิบัติ ยกเว้นกรณีที่ประชากรมีขนาดเล็กหรือมี ขอบเขตไม่กว้างขวางนกั (2) การสารวจจากกลุ่มตัวอย่าง คือการเก็บรวบรวมข้อมูลจากบางหน่วยท่ีเลือกมาเป็น ตัวแทนจากทุก ๆ หน่วยของประชากรหรือส่ิงที่เราต้องการศึกษาเท่านั้นเนื่องจากการเก็บรวบรวมข้อมูล จากทุกหน่วยของประชากร อาจทาให้เสียเวลาและค่าใช้จ่ายโดยไม่จาเป็น เพราะส่ิงที่ต้องการศึกษา อาจจะมบี างกลมุ่ ท่ีมีลักษณะท่ีต้องการศึกษาอยเู่ หมือน ๆ กัน หรอื ใกล้เคียงกันมาก การเลือกตัวอย่างหรือ ตัวแทนของแต่ละกลุ่มมาทาการศึกษาก็เป็นการเพียงพอท่ีจะทาให้สามารถประมาณค่าของส่ิงที่เรา ต้องการศึกษาทั้งหมดได้ เช่น การสารวจราคาเฉลี่ยของสินค้าชนิดหน่ึงที่มีขนาดบรรจุใกล้เคียงกันจาก ร้านค้าปลีกทั่วประเทศ ราคามักจะใกล้เคียงกันด้วย ดังนั้นเราอาจเลือกร้านค้าปลีกเพียงบางร้านมาเป็น ตัวแทนของร้านค้าปลีกทั้งหมดได้ แต่จานวนร้านค้าปลีกท่ีเลือกมาเป็นตัวแทนจะมีจานวนมากหรือน้อย เพียงใดขึ้นอยู่กับความต้องการของผู้เก็บรวบรวมข้อมูลว่าต้องการให้ราคาเฉล่ียของราคาสินค้าชนิดนั้นท่ี หาได้จากราคาสินค้าในร้านค้าตัวอย่างท่ีเลือกข้ึนมาเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลนี้ใกล้เคียงกับค่าท่ีควรเป็นจริง ซ่ึงได้จากการเก็บรวบรวมข้อมูลจากร้ายค้าปลีกทุก ๆ ร้านมากน้อยเพียงใด ถ้าต้องการให้ได้ผลใกล้เคียง มากกค็ วรเลอื กตัวอย่างรา้ นคา้ ปลกี มาเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นจานวนมาก 2) ข้อมูลทุติยภูมิ คือข้อมูลท่ีผู้ใช้ไม่ต้องเก็บรวบรวมจากผู้ให้ข้อมูลหรือแหล่งที่มาของ ข้อมูลโดยตรง แต่ได้จากข้อมูลท่ีมีผู้อ่ืนเก็บรวบรวมไว้แล้ว ข้อมูลประเภทน้ี ผู้ใช้ไม่ต้องเสียเวลาและ คา่ ใช้จ่ายในการเก็บรวบรวมข้อมูลเอง สามารถนาขอ้ มลู ทีม่ ผี ้อู ืน่ เก็บรวบรวมไว้แล้วมาใช้ได้เลย แต่อย่างไร ก็ตามผู้ใช้จะต้องระมัดระวังในการนาข้อมูลประเภทน้ีมาใช้ให้มาก เน่ืองจากมีโอกาสผิดพลาดได้มากหาก ผเู้ ก็บรวบรวมขอ้ มูลดังกลา่ วใชว้ ิธเี กบ็ รวบรวมข้อมลู ท่ไี ม่เหมาะสม แหลง่ ที่มาของข้อมูลทตุ ยิ ภูมิท่ีสาคัญ คอื (1) รายงานต่าง ๆ ของหน่วยงานราชการและองค์การของรัฐบาล โดยท่ัว ๆ ไป หนว่ ยงานราชการหรือองค์การของรัฐบาล มักจะมีรายงานแสดงข้อมูลพิมพ์ออกมาเผยแพร่เป็นประจาซึ่ง อาจเป็นรายงานรายเดือน รายสามเดือน หรือรายปี ข้อมูลท่ีได้จากรายงานต่าง ๆ ของหน่วยงานราชการ และองคก์ ารของรฐั บาลน้อี าจถอื ไดว้ ่าเป็นที่มาของข้อมูลทตุ ิยภมู ทิ ีส่ าคญั ท่สี ดุ เอกสารประกอบการเรียน กลุ่มวชิ าการศกึ ษาค้นควา้ ดว้ ยตนเอง ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2565 17
(2) รายงานและบทความจากหนังสือหรือรายงานจากหน่วยงานเอกชน หน่วยงานของ เอกชนบางแห่งโดยเฉพาะหน่วยงานใหญ่ ๆ จะพิมพ์รายงานเกี่ยวกับผลการดาเนินงานของตนออก เผยแพร่เช่นเดียวกับหน่วยงานของราชการ เช่น รายงานประจาเดือนของธนาคารพาณิชย์ นอกจากนี้ หนังสือพิมพร์ ายวัน หรอื สือ่ อ่นื ๆ มักจะมขี อ้ มลู ทุติยภูมปิ ระกอบบทความหรือรายงานดว้ ย 2. การจาแนกประเภทของขอ้ มูลตามลักษณะของข้อมูล เม่ือจาแนกประเภทของข้อมูลตามลักษณะของข้อมูลจะจาแนกเป็น 2 ลักษณะใหญ่ ๆ คือ ขอ้ มลู เชิงปริมาณ (quantitative data) และข้อมลู เชิงคุณภาพ (qualitative data) 1) ข้อมูลเชิงปริมาณ คือ ข้อมูลท่ีใช้แทนขนาดหรือปริมาณซ่ึงวัดออกมาเป็นจานวน ที่สามารถนามาใช้เปรียบเทียบกันได้โดยตรง เช่น ปริมาณการผลิตน้ามันดิบของกลุ่มโอเปกในแต่ละปี อัตราดอกเบย้ี เงนิ กู้ของธนาคารพาณชิ ย์ จานวนสมาชกิ โดยเฉลย่ี ของครอบครวั ไทย 2) ข้อมูลเชิงคุณภาพ คือ ข้อมูลท่ีไม่สามารถวัดออกมาเป็นจานวนได้โดยตรงแต่อธิบาย ลักษณะหรอื คุณสมบัตใิ นเชิงคณุ ภาพได้ เชน่ เพศของสมาชิกในครอบครัวสถานภาพสมรสของพนักงานใน บริษัทห้างร้านหรือความคิดเห็นของประชาชน การวิเคราะห์ข้อมูลประเภทนี้ส่วนใหญ่ทาโดยการนับ จานวนจาแนกตามลักษณะเชิงคุณภาพ เช่น นับจานวนพนักงานที่เป็นโสด ที่สมรสแล้ว ที่หย่าร้าง และที่ เปน็ หมา้ ยว่ามีอยา่ งละก่คี น ข้อมูลเชิงคณุ ภาพบางลักษณะสามารถวัดออกมาเป็นลาดับที่หรือตาแหน่งท่ีได้ เช่น ความชอบ วดั ในรูป ชอบมากที่สุด ชอบมาก ชอบปานกลาง ชอบนอ้ ย ไม่ชอบเลย ในกรณีท่ีข้อมูลเชิงคุณภาพใดไม่สามารถวัดออกมาเป็นลาดับที่หรือตาแหน่งที่ได้ เช่น กลุ่มนักเรียนของโรงเรียนรัฐบาลกับกลุ่มนักเรียนของโรงเรียนเอกชน หรือ กลุ่มพนักงานชายกับกลุ่ม พนกั งานหญิง หากมคี วามจาเป็นต้องกาหนดเป็นจานวนเพื่อใช้ในการวิเคราะห์ด้วยวิธีการทางสถิติอาจใช้ 0 แทนกลุ่มนักเรยี นของโรงเรียนรฐั บาลหรือกลมุ่ พนกั งานชาย และใช้ 1 แทนกล่มุ นักเรียนโรงเรียนเอกชน หรือกลุ่มพนักงานหญิง จานวนที่ใช้แทนข้อมูลเชิงคุณภาพเหล่านี้ไม่สามารถนาไปตีความหมายในเชิง ปริมาณได้ ความหมายของจานวนท่ีใช้แทนข้อมูลเหล่านี้เป็นเพียงสัญลักษณ์ท่ีใช้แทน “กลุ่ม” ต่าง ๆ เท่านัน้ 3. การจาแนกประเภทตามสภาพของข้อมลู ทเ่ี กี่ยวข้องกับกลุ่มตวั อยา่ ง 1) ข้อมูลส่วนบุคคล (Personal Data) คือ ข้อมูลที่เกี่ยวกับข้อเท็จจริงส่วนตัวของ กลุม่ ตัวอยา่ ง เชน่ ชื่อสกุล อายุ เพศ อาชพี ศาสนา เปน็ ตน้ 2) ข้อมูลส่ิงแวดล้อม (Environmental Data) คือ ข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ สง่ิ แวดล้อมของกลุ่มตัวอยา่ ง เชน่ ลกั ษณะทอ้ งถนิ่ ทก่ี ลุ่มตัวอยา่ งอาศยั 3) ข้อมูลพฤติกรรม (Behavioral Data) คือ ข้อมูลท่ีเป็นคุณลักษณะที่มีอยู่ในตัวของ กลุ่มตัวอย่าง เช่น คุณลักษณะด้านความสามารถสมอง ได้แก่ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการ หรือการเรียน เช่น ความรู้ความเข้าใจ การวิเคราะห์ ความถนัด สติปัญญา ความสนใจ ความวิตกกังวล แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ มโนภาพเก่ียวกบั ตนเอง การปฏบิ ัติ การกระทาสง่ิ ต่าง ๆ เอกสารประกอบการเรยี น กลมุ่ วชิ าการศกึ ษาค้นควา้ ด้วยตนเอง ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2565 18
4. การจาแนกประเภทตามการนาไปใชก้ ับคอมพวิ เตอร์ 1) ข้อมูลตัวเลข (Numeric Data) ได้แก่ ข้อมูลท่ีเป็นจานวนตัวเลข สามารถนาไป คานวณได้ เช่น จานวนเงินเดือนราคาสนิ คา้ 2) ข้อมูลตัวอักษร (Text Data) ได้แก่ ข้อมูลที่เป็นตัวอักษร และสัญลักษณ์ เช่น ชอ่ื สกลุ ทีอ่ ยู่ 3) ข้อมูลเสยี ง (Audio Data) ไดแ้ ก่ ข้อมลู ทีเ่ ปน็ เสยี งต่าง ๆ เช่น เสียงดนตรี เสียงพูด 4) ข้อมูลภาพ (Images Data) คือ ข้อมูลท่ีเป็นจุดสีต่าง ๆ เม่ือนามาเรียงต่อกันแล้วเกิด รูปภาพขึ้น เช่น ภาพถ่าย ภาพลายเสน้ เปน็ ตน้ 5) ข้อมูลภาพเคลื่อนไหว (Video Data) ได้แก่ ข้อมูลท่ีเป็นภาพเคลื่อนไหวต่าง ๆ เช่น ภาพเคลอื่ นไหวท่ีถ่ายด้วยกล้องวิดีโอ หรือภาพท่ที าจากโปรแกรมตา่ ง ๆ เปน็ ตน้ การรวบรวมข้อมูลเป็นจุดเริ่มต้นของการดาเนินงาน การรวบรวมข้อมูลท่ีดีจะได้ข้อมูล ที่รวดเรว็ ถูกต้อง แมน่ ยา ครบถว้ น กระบวนการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู การท่ีนักเรียนจะเก็บข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพและได้ข้อมูลที่ถูกต้องตรงกับประเด็น ปัญหา หรือข้อคาถาม การเก็บรวบรวมข้อมูลท่ีมีขั้นตอน มีกระบวนการท่ีดีจะส่งผลให้ได้ข้อมูลที่ เป็นประโยชน์ สามารถนาไปใช้กบั การศกึ ษาค้นคว้าความรูข้ องนักเรียนได้ 1. การออกแบบการเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูลท่ีมีประสิทธิภาพต้องดาเนินการในรูปแบบกระบวนการ หมายถึง การออกแบบเพ่ือวางแผนในการพิจารณาวิธีการหรือรูปแบบในการศึกษาค้นคว้า การกาหนดขอบเขต ของข้อมูล รวมทั้งการกาหนดข้ันตอน กระบวนการในการเก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่งมีกระบวนการเก็บ รวบรวมขอ้ มูล ดงั แผนภมู ิ การกาหนดขอบเขต ของขอ้ มลู การออกแบบ การวางแผน ดาเนินการ เก็บรวบรวมข้อมูล การกาหนดข้ันตอน ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองเป็นรายวิชาท่ีนักเรียนต้องรู้จักการวางแผนการเรียนอย่าง เป็น ระบบ เมื่อนักเรียนทาการสารวจความต้องการ ความสนใจ และความถนัดทางการเรียนของตนเอง และได้กาหนดประเด็นปัญหาหรือคาถามท่ีต้องการจะศึกษาค้นคว้าความรู้เป็นที่เรียบร้อยแล้ว นักเรียน จาเป็นต้องศึกษาหาแนวทางในการแสวงหาคาตอบภายใต้กระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูล ตามแผนผัง กระบวนการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู และดาเนินการออกแบบการเกบ็ รวบรวมข้อมูลก่อน การออกแบบการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นการนาเอาสิ่งท่ีเป็นแนวความคิดหรือจินตนาการ เก่ยี วกบั องคป์ ระกอบตา่ ง ๆ ทีเ่ กี่ยวข้องกบั การเก็บรวบรวมข้อมูลเพ่ือให้ได้คาตอบของประเด็นปัญหาหรือ ขอ้ คาถามท่ีเก่ียวข้องกับเร่ืองท่ีทาการศึกษาค้นคว้า โดยนาองคป์ ระกอบของความคิด ดังกล่าวมาจัดวางให้ เชอื่ มต่อสมั พันธก์ นั และมองเห็นความเปน็ ไปไดใ้ นการปฏบิ ตั ิตลอดแนว เอกสารประกอบการเรียน กล่มุ วชิ าการศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเอง ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2565 19
อย่างไรก็ตาม การจาแนกประเภทหรือชนิดของข้อมูลมีหลากหลายประเภท นักเรียนจะต้อง วางแผนการเลือกใช้ข้อมูลในการศึกษาค้นคว้าความรู้ด้วยตนเอง ออกแบบการเก็บรวบรวมข้อมูล แต่ละ ประเภทให้มีความเหมาะสม ตลอดจนการเลือกใช้เครื่องมือในการแสวงหาความรู้หรือการ เก็บรวบรวม ขอ้ มลู ไดอ้ ย่างเป็นระบบและมปี ระสิทธิภาพ ซึ่งยิน (Yin, 2003) กล่าวว่า ลักษณะของคาถามหรือประเด็น ปัญหามีความสัมพันธ์กับการเลือกใช้เคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล หรือการศึกษาค้นคว้าเพื่อให้ได้ คาตอบของประเด็นปัญหาและได้แนะนาว่า รูปแบบ (Form) ของประเด็นปัญหาหรือข้อคาถามจะเป็น ส่ิงที่กาหนดวา่ ผู้ทาการศกึ ษาคน้ คว้าควรเลือกใช้วิธีการใดในการเก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่งถือว่าเป็นจุดเร่ิมต้น ของการวางแผน การกาหนดขอบเขตของข้อมูล รวมถึงการกาหนดขั้นตอนในการเก็บรวบรวมข้อมูลและ ดาเนนิ การเก็บขอ้ มลู จะดาเนินการ อย่างไร ลกั ษณะของรูปแบบและวธิ ีการในการศกึ ษาคน้ คว้าเพ่ือตอบประเด็นปัญหา สรุปได้ดงั ตาราง รูปแบบของคาถาม/ประเด็นปัญหา วิธกี ารศึกษาคน้ ควา้ อย่างไร (How?) ทาไม (Why?) วิธกี ารทดลอง ใคร (Who?) อะไร (What?) ท่ีไหน วธิ กี ารสารวจ (Where?)จานวนเทา่ ไร (How many?) มากน้อยเพียงใด (How much?) อย่างไร (How?) ทาไม (Why?) วธิ กี ารทางประวตั ิศาสตร์ อยา่ งไร (How?) ทาไม (Why?) วธิ กี ารแบบกรณีศึกษา (Case Study) เมื่อนักเรียนได้คาตอบแล้วว่าจะใช้วิธีการใดในการศึกษาค้นคว้าเพ่ือหาคาตอบของประเด็น ปัญหาหรือประเดน็ คาถามแลว้ ในการดาเนินการข้ันตอนต่อไปคือ ข้ันตอนการออกแบบการเก็บ รวบรวม ข้อมูลในลักษณะของการคิดหรือสร้างจินตภาพว่าควรจะดาเนินการอย่างไร ใช้องค์ประกอบ ด้านใดบ้าง ท้ังน้ี วิธีการออกแบบการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู มีขั้นตอนง่าย ๆ ดังนี้ 1. ศึกษาวิเคราะห์รูปแบบของประเด็นปัญหาหรือประเด็นคาถามที่จะศึกษาค้นคว้าว่า เปน็ ประเดน็ ปญั หารูปแบบใดตามตารางการวิเคราะห์รูปแบบของคาถาม/ประเดน็ ปญั หา 2. เลือกวิธีการท่ีจะเก็บรวบรวมข้อมูล ซ่ึงอาจจะใช้วิธีการสารวจ การทดลอง กระบวนการ ทางประวตั ิศาสตร์ หรอื กรณศี กึ ษา ทงั้ น้ีแล้วแต่ความเหมาะสม 3. กาหนดเลอื กชนดิ ของข้อมูลท่ีจะจัดเก็บว่าเป็นข้อมูลเชิงปริมาณหรือข้อมูลเชิงคุณภาพ และ ควรเน้นขอ้ มลู ทเ่ี ป็นปฐมภูมเิ ปน็ หลกั หรือหากจาเป็นผสมผสานข้อมลู ทตุ ยิ ภมู ิดว้ ยก็ได้ 4. กาหนดขอบเขตของข้อมูลที่ต้องการหาคาตอบของประเด็นปัญหา เช่น จานวนนักเรียน ในระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 ทีเ่ ปน็ คนอ้วนเท่าน้ัน 5. เลือกวิธีการหรือเคร่ืองมือท่ีจะใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลให้เหมาะสม เช่น อาจจะใช้ วิธีการสงั เกต การสัมภาษณ์ การใช้แบบสอบถาม การศึกษาเอกสาร เป็นต้น 6. กาหนดขั้นตอนในการเก็บรวบรวมข้อมูล นั่นคือจะเก็บข้อมูลโดยติดต่อหน่วยงานใด เก็บ ขอ้ มูลจากใคร สถานที่ใด ใครเป็นผ้เู ก็บ เก็บขอ้ มูลอะไร เกบ็ ในชว่ งระยะเวลาใด จานวนกี่ครั้ง แต่ละคร้ังใช้ เวลาเทา่ ใด เอกสารประกอบการเรยี น กลมุ่ วชิ าการศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเอง ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2565 20
วิธีเก็บรวบรวมขอ้ มลู 1. วิธีเกบ็ รวบรวมข้อมลู ปฐมภูมิ การเก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิซึ่งอาจทาได้โดยการสามะโน หรอื สารวจสามารถทาไดห้ ลายวิธี แตว่ ิธีที่นิยมใช้กันท่ัว ๆ ไปมี 4 วธิ คี ือ ท่มี า: http://fbd.forest.go.th/th/?p=7217 1) การสัมภาษณ์ การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการ สัมภาษณ์ นิยมใช้กันมากกว่าการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธี อื่น ๆ เนื่องจากโอกาสท่ีจะได้คาตอบกลับคืนมามีมาก นอกจากน้ีหากผู้ตอบข้อถามไม่เข้าใจข้อถามใด ๆ ก็สามารถ ถามได้จากผู้สัมภาษณ์โดยตรง แต่การเก็บรวบรวมข้อมูลโดย วิธีนี้ผู้สัมภาษณ์ต้องมีความซ่ือสัตย์ ไม่ตอบข้อถามแทน ผู้ถูกสัมภาษณ์ ทาให้ข้อมูลท่ีรวบรวมได้มีความคลาดเคล่ือน จากทค่ี วรจะเป็นจริงมาก ทมี่ า: https://www.thumbsup.in.th/happi-survey- 2) การสอบถาม online-for-new-generation 2.1) การสอบถามทางไปรษณีย์ การเก็บรวบรวม ทีม่ า: https://www.m-culture.go.th/th/ โดยวิธีนีส้ ามารถประหยัดค่าใช้จ่ายในการเก็บรวบรวมได้มาก article_view.php?nid=52520 และคอ่ นข้างแนใ่ จไดว้ ่าผู้ตอบแบบสอบถามทุกคนได้รับความ สะดวกในการตอบข้อถาม กล่าวคือจะตอบข้อถามเม่ือไรก็ได้ ท่มี า: https://www.facebook.com/watch/ ภายในระยะเวลาท่ีผู้สารวจได้กาหนดไว้ คาตอบท่ีผู้สารวจ ?v=144786973480062 ได้รับจะมีความถูกต้องและเช่ือถือได้มาก เน่ืองจากผู้ตอบ แบบสอบถามไมจ่ าเป็นต้องระบุช่ือของตนลงในแบบสอบถาม กไ็ ด้ แตอ่ าจมีจดุ อ่อนถ้าผู้ตอบแบบสอบถามไม่เข้าใจปัญหาท่ี ถามอาจทาให้คาตอบผิดพลาดได้อีกประการหน่ึงผู้ถูกถาม อาจไม่ได้เป็นผู้ตอบข้อถามเองแต่ไปให้ผู้อื่นตอบแทน ข้อมูล ท่ีรวบรวมได้ก็อาจผิดพลาดได้เช่นเดียวกัน นอกจากน้ี ผู้สารวจยังไม่สามารถประมาณจานวนแบบสอบถามท่ีจะ ได้รับกลับคืนมาว่าจะมีจานวนมากน้อยเพียงใด ซึ่งบางคร้ัง ผู้สารวจได้แบบสอบถามกลับคืนมาไม่เพียงพอที่จะทาการ สรุปผลทัง้ หมดใหม้ ีความเช่ือถือได้ 2.2) การสอบถามทางโทรศัพท์ การสอบถามวิธีน้ี นิยมใช้น้อยกว่าวิธีอ่ืนถึงแม้ว่าการเลือกตัวอย่างผู้ตอบ สัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ทาได้ง่ายและเสียค่าใช้จ่ายในการเก็บ รวบรวมข้อมูลน้อยก็ตาม ทั้งน้ีเนื่องจากการเก็บรวบรวม ข้อมูลทาได้เฉพาะผู้ตอบสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์เท่านั้น การสอบถามทางโทรศัพท์โดยทั่ว ๆ ไป มักใช้กั บ แบบสอบถามท่ีไม่ใช้เวลาในการสัมภาษณ์มากนักและข้อมูล ที่ต้องการถามจากผู้ตอบสัมภาษณ์เป็นข้อมูลท่ีผู้ตอบ สัมภาษณ์สามารถตอบได้ทันทีโดยไม่ต้องไปค้นหาหลักฐาน หรือสอบถามจากผู้อื่น การสอบถามทางโทรศัพท์ท่ีใช้กันอยู่ เสมอ ๆ เช่น การสารวจความคิดเห็นเก่ียวกับเหตุการณ์ที กาลังไดร้ ับความสนใจ เอกสารประกอบการเรยี น กล่มุ วิชาการศกึ ษาคน้ คว้าด้วยตนเอง ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2565 21
ที่มา: https://www.gotoknow.org/posts/190496 3) การสังเกต การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสังเกต มักใช้ประกอบกับการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีอ่ืน ๆ เช่ือถือ ได้ ซ่ึงอาจจะมีสาเหตุมาจากความไม่ร่วมมือของผู้ให้ข้อมูล หรืออาจจะเกิดจากความรู้ข้ันพ้ืนฐานหรือความรู้เกี่ยวกับ เร่ืองน้ัน ๆ ของผู้ตอบไม่ดีพอ เช่น การสอบถามเกี่ยวกับ รายได้ของครอบครัวหรือกาไรของบริษัทห้างร้านต่าง ๆ ข้อมูลดังกล่าวนี้ผู้ตอบไม่ต้องการเปิดเผย นอกจากนี้อาจใช้ การสังเกตเม่อื ตอ้ งการรวบรวมข้อมูลในเชิงลึก เช่น ครูสังเกต พฤตกิ รรมนักเรยี นในการทางานร่วมกัน เป็นต้น ท่มี า: http://www.nsm.or.th/about-science-square- 4) การทดลอง การเก็บรวบรวมข้อมูลจากการทดลอง museum/education-science-square-museum/ เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ต้องมีการทดลองหรือปฏิบัติ science-laboratory-nsm-science-square-2.html เพ่ือให้ได้ข้อมูลที่ต้องการ ส่วนใหญ่จะเป็นการเก็บรวบรวม ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ เช่น การเปรียบเทียบประสิทธิภาพ ของยาแก้ปวดหลาย ๆ ชนิด ข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้จากการ ทดลองนี้ จะมีความถูกต้องและเช่ือถือได้มาก ถ้าไม่เกิดความ คลาดเคลื่อนจากการวัดหรือการวางแผนการทดลอง 2. วิธีเก็บรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ ซึ่งส่วนใหญ่มักจะอยู่ในหนังสือ รายงาน บทความหรือ เอกสารต่าง ๆ ควรดาเนนิ การดังตอ่ ไปนี้ 1) พิจารณาตัวบุคคลผู้เขียนรายงาน บทความ หรือเอกสารเหล่าน้ันเสียก่อนว่าเป็น ผู้มีความรู้และมีความเช่ียวชาญในเรื่องที่เขียนถึงขั้นพอท่ีจะเช่ือถือได้หรือไม่ การเขียนอาศัยเหตุผลและ หลักวิชาการมากน้อยเพียงใด ข้อมูลท่ีจะนามาใช้ซ่ึงรวบรวมจากรายงาน บทความ หรือเอกสารดังกล่าว ควรใช้ข้อมูลที่ผู้เขียนเก็บรวบรวมมาเองโดยตรง เช่น ข้อมูลท่ีได้จากการสารวจหรือสามะโน หากไม่มี ความจาเป็นไม่ควรใช้ข้อมูลท่ีผู้เขียนนามาจากแหล่งข้อมูลอ่ืน เนื่องจากอาจมีการคลาดเคลื่อนจากข้อมูล ท่ีควรจะเปน็ จริงไดม้ าก 2) ถ้าข้อมูลที่ต้องการเก็บรวบรวมสามารถหาได้จากหลาย ๆ แหล่ง ควรเก็บรวบรวม มาจากหลาย ๆ แหล่งเพื่อใช้ในการเปรียบเทียบว่าข้อมูลที่ต้องการมีความผิดพลาดเนื่องจากการลอกผิด พมิ พ์ผิด หรอื เข้าใจผิดบ้างหรือไม่ นอกจากน้ีผู้เก็บรวบรวมข้อมูลควรจะใช้ความรู้ความชานาญของตนเอง เกี่ยวกบั ข้อมลู เร่ืองน้ัน ๆ มาพจิ ารณาวา่ ขอ้ มลู ที่จะนามาใช้น้ันนา่ จะเป็นไปได้หรอื ไม่ เช่นจานวนประชากร ของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2546 ทน่ี าเสนออย่ใู นรายงานฉบบั หนง่ึ เป็น 36 ล้านคน จานวนดังกล่าว น่าจะ เป็นไปไม่ได้ ท่ีถูกต้องควรจะเป็น 63 ล้านคน ความผิดพลาดดังกล่าว อาจเน่ืองมาจากการคัดลอกของ ผูน้ าเสนอหรือการพิมพ์กไ็ ด้ กลา่ วคือคัดลอกหรอื พมิ พเ์ ลขโดดกลบั กนั 3) พิจารณาจากลักษณะของข้อมูลที่ต้องการเก็บรวบรวมว่าเป็นข้อมูลท่ีเป็นข้อความจริง ขอ้ มูลท่ีได้จากทะเบียน ข้อมูลท่ีเป็นความคิดเห็นหรือเจตคติ ข้อมูลประเภทความลับ หรือข้อมูลซึ่งผู้ตอบ อาจต้องเสียประโยชน์จากการตอบ ถ้าเป็นข้อมูลท่ีเป็นข้อความจริง ข้อมูลที่ได้จากทะเบียนหรือข้อมูล ทเ่ี ป็นความคิดเหน็ หรอื เจตคติส่วนใหญม่ กั จะมีความถกู ต้องเชื่อถือได้สูง แต่ถ้าเป็นข้อมูลประเภทความลับ หรอื ขอ้ มลู ซ่ึงผ้ตู อบอาจต้องเสียประโยชน์จากการตอบ ส่วนใหญ่มกั จะมีความถูกต้องเชื่อถอื ได้น้อย เอกสารประกอบการเรยี น กลมุ่ วิชาการศกึ ษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2565 22
4) ถ้าข้อมูลทีเก็บรวบรวมได้มาจากการสารวจจากกลุ่มตัวอย่าง หรือต้องผ่านขั้นตอน การวิเคราะห์โดยใช้วิธีการทางสถิติมาก่อน ควรจะต้องตรวจสอบวิธีการท่ีใช้ในการเลือกกลุ่มตัวอย่าง ขนาดกลมุ่ ตวั อยา่ ง และวิธีการวเิ คราะห์ว่าเหมาะสมทจ่ี ะใช้หรอื ไม่ ปัญหาในการใช้ข้อมลู 1. ปญั หาในการใช้ขอ้ มูลปฐมภมู ิ มกั จะมีปัญหาเก่ยี วกับเรอ่ื งตา่ ง ๆ ดังต่อไปนี้ 1) ไม่ทราบวา่ จะใช้วธิ ีเลอื กตัวอย่างหรือวธิ ีการวางแผนการทดลองแบบใดจึงจะเหมาะสม 2) ไมท่ ราบว่าจะประเมินความถกู ต้องเช่ือถือไดข้ องข้อมลู ทเ่ี กบ็ รวบรวมมาได้อยา่ งไร 3) ไม่ทราบว่าจะวเิ คราะหข์ อ้ มลู อย่างไรในกรณขี ้อมูลทเี่ ก็บรวบรวมได้ไม่ครบถ้วนหรอื ขาดหายไปมากเน่อื งจากไม่ได้รบั ความร่วมมือจากผใู้ หข้ ้อมูล 2. ปัญหาในการใช้ข้อมูลทุติยภูมิ การใช้ข้อมูลทุติยภูมิมักจะมีปัญหาเก่ียวกับเร่ืองต่าง ๆ ดังต่อไปน้ี 1) ความถกู ต้องเชอื่ ถอื ได้ของข้อมูล 2) ความทนั สมยั ของขอ้ มูล 3) การขาดหายไปของขอ้ มูลบางรายการ เอกสารประกอบการเรยี น กลุ่มวชิ าการศกึ ษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2565 23
บทที่ 3 แหล่งสารสนเทศ แหลง่ สารสนเทศ แหล่งสารสนเทศ (Information Sources) หมายถึง แหล่งท่ีมา แหล่งผลิต แหล่งเผยแพร่ และให้บริการสารสนเทศ ซึ่งอาจเป็นบุคคล สื่อมวลชน และสถาบันบริการสารสนเทศ แหล่งสารสนเทศ แยกประเภทตามท่ีมาและลาดบั การผลติ แบ่งได้เปน็ 3 ประเภทคอื 1. สารสนเทศปฐมภูมิ (Primary sources) หมายถึง สารสนเทศท่ีเรียบเรียงข้ึนจาก ประสบการณ์ของผู้เขียน หรือเป็นผลการค้นคว้าวิจัย นาเสนอความรู้ใหม่ ๆ ได้แก่ รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ เอกสารการปฏิบัติงาน รายงานการประชุมทางวิชาการ บทความวารสารวิชาการ เอกสาร สิทธิบัตร เอกสารมาตรฐาน เอกสารจดหมายเหตุ 2. สารสนเทศทุติยภูมิ (Secondary sources) หมายถึง สารสนเทศที่ได้จากการนา สารสนเทศปฐมภูมิมาสังเคราะห์และเรียบเรียงข้ึนใหม่ เพื่อเสนอข้อคิดหรือแนวโน้มบางประการ ได้แก่ หนังสือทัว่ ไป หนังสือตารา หนังสอื คู่มอื การทางาน รายงานความก้าวหนา้ ทางวทิ ยาการ บทคัดย่องานวิจัย บทวจิ ารณห์ นงั สือ วารสารสาระสงั เขป เปน็ ต้น 3. สารสนเทศตติยภูมิ (Tertiary sources) หมายถึง สารสนเทศท่ีชี้แนะแหล่งท่ีอยู่ของ สารสนเทศปฐมภูมิและทุติยภูมิ จะให้ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสารสนเทศ ได้แก่ หนังสือนามานุกรม บรรณานกุ รม และดัชนวี ารสาร เปน็ ตน้ แหล่งสารสนเทศมีความสาคัญต่อความน่าเชื่อถือของข้อมูล ในการอ้างอิงทางวิชาการถือว่า สารสนเทศจากแหล่งปฐมภูมิเป็นสารสนเทศท่ีดี มีความน่าเชื่อถือในเรื่องความถูกต้องตามข้อเท็จจริง มากกวา่ สารสนเทศทตุ ิยภูมแิ ละสารสนเทศตติยภูมิ เอกสารประกอบการเรยี น กลมุ่ วชิ าการศึกษาค้นควา้ ดว้ ยตนเอง ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2565 24
สถาบนั บรกิ ารสารสนเทศ สถาบันบริการสารสนเทศ หมายถึง องค์การที่ได้รับการจัดต้ังข้ึนเพื่อทาหน้าท่ีให้บริการ สารสนเทศตามความต้องของผู้ใช้ ซึ่งจาแนกได้หลายประเภทตามขอบเขต หน้าที่ และวัตถุประสงค์ ได้แก่ (ชตุ ิมา สัจจานันท์, 2531) 1. ห้องสมดุ หรอื หอสมดุ (Library) ห้องสมุดเป็นแหล่งสะสมทรัพยากรสารสนเทศท้ังที่เป็นวัสดุตีสิ่งพิมพ์และวัสดุไม่ตีพิมพ์ มีบริการครอบคลุมหลายด้าน แต่ส่วนใหญ่เน้นบริการด้านการอ่าน บริการยืม-คืน และบริการช่วย การค้นคว้า หอ้ งสมดุ จาแนกตามวตั ถุประสงค์และจดุ ม่งุ หมายในการจดั ต้งั แบง่ ได้เป็น 5 ประเภท ไดแ้ ก่ 1.1 ห้องสมุดโรงเรียน (School library) จัดตั้งข้ึนในโรงเรียนระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษา เพ่ือเป็นศูนย์กลางด้านวิชาการ อานวยความสะดวกด้านการศึกษาค้นคว้าของนักเรียน และจัดบรกิ ารสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการสอนของครูอาจารย์ ห้องสมุดโรงเรียนบางแห่งได้รับการจัดให้ เปน็ ศนู ย์สือ่ การศึกษานอกเหนือจากการบริการดา้ นส่ือส่ิงพิมพ์ ทมี่ า: ห้องสมดุ เฉลิมพระเกยี รติ ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ โรงเรียนวดั สุทธิวราราม 1.2 ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา (Academic library) เน้นการให้บริการ สารสนเทศครอบคลุมทุกสาขาวิชาที่มหาวิทยาลัยหรือสถาบันต้นสังกัดเปิดทาการสอน เพ่ือสนับสนุน การศึกษาค้นคว้าวิจัยของนกั ศกึ ษาและอาจารย์ ในปัจจบุ นั ห้องสมดุ สถาบนั อุดมศึกษาใช้ช่ือเรียกต่างกันไป เช่น สานกั หอสมดุ สานักบรรณสาร สานกั วทิ ยบรกิ าร ศนู ยบ์ รรณสาร และศูนย์ส่อื การศึกษา เป็นต้น สานกั หอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ทม่ี า: https://www.ku.ac.th/web2012/index.php?c=adms&m=selcon_th&time=20120717111043 เอกสารประกอบการเรียน กลุ่มวิชาการศกึ ษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565 25
1.3 ห้องสมุดเฉพาะ (Special library) เน้นให้บริการสารสนเทศเฉพาะสาขาวิชา ที่เกี่ยวข้องกับสถาบันต้นสังกัด มักสังกัดอยู่กับสมาคม หน่วยงานทางวิชาการ หรือสถาบันทางวิชาการ เฉพาะดา้ น เช่น หอ้ งสมดุ ธนาคาร ห้องสมุดคณะแพทยศาสตร์ หอ้ งสมุดสมาคมวิชาชีพ เปน็ ตน้ ห้องสมดุ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล ทมี่ า: https://vajiramedlib.wordpress.com/about-2/history-and-aim/ 1.4 ห้องสมุดประชาชน (Public library) เป็นห้องสมุดท่ีรัฐให้การสนับสนุน จัดตั้งขึ้นเพื่อให้เป็นแหล่งสารสนเทศของชุมชน ให้บริการแก่ประชาชนทั่วไปทุกระดับอายุและระดับ การศึกษา ทรัพยากรสารสนเทศและกิจกรรมท่ีจัดข้ึนมุ่งท่ีประโยชน์ของประชาชน ห้องสมุดประชาชนมี ให้บริการทกุ จังหวดั ทวั่ ประเทศ หอ้ งสมุดประชาชน สวนลุมพินี ทม่ี า: http://the-library4you.blogspot.com/p/blog-page_4966.html 1.5 หอสมุดแห่งชาติ (National library) เป็นแหล่งเก็บรวบรวมและบารุงรักษา ทรัพยากรสารสนเทศของชาติ ท้ังท่ีเป็นหนังสือต้นฉบับตัวเขียน เอกสารโบราณและจารึก ส่ือส่ิงพิมพ์ สื่อโสตทัศนวัสดุ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ท่ีผลิตขึ้นในประเทศและต่างประเทศ ให้บริการการอ่าน ศึกษาค้นคว้า และวิจัยแกป่ ระชาชนเพ่อื ใหเ้ ป็นแหล่งการเรียนรูต้ ลอดชีวิตและการศึกษาตามอัธยาศยั หอสมุดแห่งชาติทาหน้าที่เป็นศูนย์ประสานงานระบบสารนิเทศทางวิชาการ แห่งชาติ ได้แก่ ศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติแห่งประเทศไทยและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ศูนย์กาหนดเลขมาตรฐานสากลประจาหนังสือ (International Standard Book Number – ISBN) และ เลขมาตรฐานสากลประจาวารสาร (International Standard Serial Number – ISSN) ศูนย์กาหนด รายละเอียดทางบรรณานุกรมของหนังสือท่ีจัดพิมพ์ในประเทศ ศูนย์กลางแลกเปลี่ยนและยืมสิ่งพิมพ์ ในระดบั ชาตแิ ละนานาชาติ ศนู ย์รวบรวมส่ิงพมิ พ์ขององคก์ รสหประชาชาติ และจัดทาบรรณานุกรมแหง่ ชาติ เอกสารประกอบการเรยี น กลุ่มวิชาการศกึ ษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565 26
หอสมุดแห่งชาติปัจจุบันต้ังอยู่ท่ีท่าวาสุกรี ถนนสามเสน เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร สังกดั กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม และมสี าขาใหบ้ ริการในต่างจงั หวัด หอสมุดแห่งชาติ ทมี่ า: http://www.museumthailand.com/th/museum/National-Library-of-Thailand 2. ศูนย์สารสนเทศหรือศูนย์เอกสาร (Information center or documentation center) ศูนย์สารสนเทศหรือศูนย์เอกสารเป็นหน่วยงานให้บริการสารสนเทศเฉพาะด้าน แก่ผู้ใช้ เฉพาะกลุ่มสาขาวิชาหรือสาขาวิชาชีพ เช่น นักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย มีลักษณะคล้ายห้องสมุดเฉพาะ ให้ ข้อมูลที่จัดทาขึ้นโดยศูนย์สารสนเทศหรือศูนย์เอกสารน้ัน เช่น ข้อมูลสถิติ ตัวเลข รายงานการวิจัย สาระสงั เขปและดัชนี วารสารเฉพาะวชิ า 3. ศูนย์ข้อมูล (Data center) ศนู ยข์ ้อมูลทาหน้าท่ีรับผิดชอบการผลิตหรือรวบรวมข้อมูล ตัวเลข จัดระบบและเผยแพร่ สู่ผู้ใช้ท่ีอยู่ในเป้าหมาย มักเป็นส่วนหนึ่งของสถาบัน เช่น ศูนย์ข้อมูลธนาคารกรุงเทพ ศูนย์ข้อมูลธุรกิจ หลักทรัพย์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ศูนย์ข้อมูลพลังงานแห่งประเทศไทย สังกัดสานักงาน พลังงานแหง่ ชาติ เปน็ ตน้ 4. หน่วยงานทะเบยี นสถติ ิ (Statistical office) หน่วยทะเบียนสถิติเป็นศูนย์กลางรวบรวมหลักฐานการจดทะเบียนหรือลงทะเบียน และ รวบรวมสถิติท่ีเกี่ยวข้อง อาจเป็นหน่วยงานที่สังกัดอยู่ในกระทรวง ทบวง กรม เพ่ือรวบรวมสถิติเฉพาะ ภายในหน่วยงาน เช่น หน่วยเวชระเบียนของโรงพยาบาลต่าง ๆ กองการทะเบียนของกรมการปกครอง ศูนยส์ ถิตกิ ารพาณิชยข์ อง กระทรวงพาณิชย์ และสานักงานสถิติแหง่ ชาติ เป็นตน้ 5. ศูนยว์ ิเคราะห์สารสนเทศ (Information analysis center) ศูนย์วิเคราะห์สารสนเทศให้บริการสารสนเทศเฉพาะสาขาวิชา โดยนามาคัดเลือก วิเคราะห์ สรุปย่อและจัดเก็บในลักษณะของแฟ้มข้อมูล ใบข้อมูล (sheet) และปริทัศน์ (review) เพื่อใช้ใน การตอบคาถามและจัดสง่ ใหก้ บั ผู้ทส่ี นใจในรูปของบริการข่าวสารทันสมัย เนื่องจากกระบวนการทางานของ ศูนย์วิเคราะห์สารสนเทศ ต้องมีการวิเคราะห์และประเมินสารสนเทศ ผู้ปฏิบัติงานน้ีจึงต้องมีความรู้ ความสามารถเฉพาะด้าน ส่วนใหญ่จึงมักประกอบด้วยนักวิทยาศาสตร์ และนักวิชาการ ตัวอย่างของ ศูนยว์ ิเคราะห์สารสนเทศ เชน่ สมาคมสังคมศาสตร์แหง่ ประเทศไทย เปน็ ต้น 6. ศนู ยป์ ระมวลและแจกจา่ ยสารสนเทศ (Information clearing house) ศูนย์ประมวลและแจกจ่ายสารสนเทศทาหน้าที่ให้ความช่วยเหลือในการเข้าถึงแหล่ง สารสนเทศ แนะนาแหล่งสารสนเทศ (Referral service) ท่ีเหมาะสม หรือทาหน้าที่เป็นหน่วยงานรวบรวม ทรัพยากรสารสนเทศแล้วแจกจ่ายไปยังผู้ท่ีต้องการ โดยการจัดทาสหบัตรรายการค้น บรรณานุกรม ดัชนี และสาระสังเขป และรายชื่อเอกสารที่ศูนย์ทาหน้าที่ประสานการแจกจ่าย ได้แก่ ห้องสมุดยูเนสโก หอสมุด แห่งชาติประเทศอังกฤษ (British Library) หอสมุดรัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress) และหอสมุด แหง่ ชาตขิ องไทย เป็นต้น เอกสารประกอบการเรยี น กลมุ่ วชิ าการศกึ ษาค้นควา้ ดว้ ยตนเอง ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2565 27
7. ศนู ยแ์ นะแหล่งสารสนเทศ (referral centers) ศนู ยแ์ นะแหลง่ สารสนเทศ ทาหน้าที่รวบรวมแหล่งข้อมูลและแหล่งสารสนเทศ โดยจัดทา เป็นค่มู อื หรอื รายการบรรณานุกรมและดัชนี เพื่อให้คาแนะนาแหล่งข้อมูลสารสนเทศท่ีเหมาะสมตามที่ผู้ใช้ ต้องการ ส่วนใหญ่จะแนะแหล่งสารสนเทศเฉพาะสาขาวิชา เชน่ ศูนย์แนะแหล่งสารสนเทศวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ หอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ศูนย์แนะแหล่งสารสนเทศส่ิงแวดล้อมนานาชาติ เป็นต้น (ศรสี ภุ า นาคธน, 2548) 8. หนว่ ยงานจดหมายเหตุ (Archive) หน่วยงานจดหมายเหตุ ทาหน้าท่ีรวบรวมและอนุรักษ์เอกสารราชการ และเอกสารทาง ประวัติศาสตร์ ได้แก่ คาสั่ง ระเบียบ ข้อบังคับ บันทึก หนังสือโต้ตอบ รายงาน แผนที่ ภาพถ่าย แบบแปลน เพื่อเป็นหลักฐานการดาเนินงานของรัฐและหน่วยงานเอกชน ใช้เป็นแหล่งค้นคว้าอ้างอิงทั้ง เพ่ือการปฏิบัติงานและค้นคว้าทางวิชาการ ตัวอย่างเช่น หอจดหมายเหตุแห่งชาติ หอจดหมายเหตุ ส่วนภูมิภาคและท้องถ่ิน หอจดหมายเหตุของสถาบันทางศาสนา หอจดหมายเหตุของมหาวิทยาลัย และ หอจดหมายเหตขุ องสถาบันธุรกจิ และอตุ สาหกรรม เปน็ ตน้ 9. เครือขา่ ยบริการสารสนเทศ (Information services network) เครือข่ายบริการสารสนเทศเกิดข้ึนจากการรวมตัวกันของกลุ่มสถาบันบริการสารสนเทศ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดาเนินงานด้านการบริการทางบรรณานุกรม ได้แก่ การทาบัตรรายการ การพัฒนาทรัพยากร การยืมระหว่างห้องสมุด และการบริการฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เช่น เครือข่าย ยูนิเนต็ (UniNet) สรุปได้ว่า แหล่งสารสนเทศ หมายถึง แหล่งท่ีให้บริการสารสนเทศ ซ่ึงอาจเป็นบุคคล ส่ือมวลชน และสถาบันบริการสารสนเทศ ประเภทแหล่งสารสนเทศแบ่งตามลาดับการผลิตได้เป็น 3 ประเภท คือ สารสนเทศปฐมภูมิ สารสนเทศทุติยภูมิ สารสนเทศตติยภูมิ ในการอ้างอิงทางวิชาการถือว่า สารสนเทศจากแหล่งปฐมภูมิเป็นสารสนเทศที่ดี มีความน่าเช่ือถือในเรื่องความถูกต้องตามข้อเท็จจริง มากกว่าสารสนเทศในลาดับรอง ปัจจุบันสถาบันหลายแห่งได้ร่วมกันเป็นเครือข่ายบริการสารสนเทศ โดย เน้นการใช้ทรัพยากรสารสนเทศร่วมกัน เพื่อลดต้นทุนการดาเนินงาน และให้บริการผ่านทางอินเทอร์เน็ต เช่น เครอื ข่ายหอ้ งสมดุ ในประเทศไทย (ThaiLIS) ทรพั ยากรสารสนเทศ ทรัพยากรสารสนเทศ หมายถึง สื่อหรือวัสดุท่ีใช้เก็บบันทึกสารสนเทศ เราใช้วัสดุหลายรูปแบบ ในการบนั ทึก ทั้งนีเ้ น่ืองจากสารสนเทศมที งั้ ตวั อักษร ขอ้ ความ รปู ภาพ และเสียง ซ่ึงอาจจัดกลุ่มทรัพยากร สารสนเทศได้เปน็ 3 ประเภทคือ (มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ มหาสารคาม, 2549) 1. วสั ดตุ ีพิมพ์ (Printed materials) 2. วสั ดุไมต่ ีพิมพ์ (Non-printed material) 3. ฐานขอ้ มูลอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (Electronic database) เอกสารประกอบการเรียน กลุ่มวชิ าการศกึ ษาค้นควา้ ด้วยตนเอง ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2565 28
1. วสั ดตุ พี ิมพ์ วัสดุตีพิมพ์ หมายถึง วัสดุที่บันทึกสารสนเทศในรูปแบบของตัวอักษร ภาพและสัญลักษณ์ อ่ืน ๆ โดยผ่านกระบวนการตีพิมพ์ เช่น หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ กฤตภาค เป็นต้น วัสดุตีพิมพ์ จดั แยกประเภทตามลักษณะรูปเลม่ และวัตถปุ ระสงคใ์ นการจดั ทาได้ดังนี้ 1.1 หนังสอื หนังสือเป็นสิ่งพิมพ์ที่รวบรวมสารสนเทศท้ังทางด้านวิชาการ สารคดีและบันเทิงคดี ให้เนื้อหาท่ีจบบริบูรณ์ในเล่มเดียวหรือหลายเล่มที่ เรียกว่า หนังสือชุด ประเภทของหนังสือจัดแยกตาม ลักษณะเน้ือหา ไดด้ ังนี้ 1) หนังสือวิชาการหรือหนังสือตารา (Text book) หมายถึง หนังสอื ทีใ่ หค้ วามรูใ้ นสาขาวิชาใดวชิ าหน่ึง โดยผู้แต่งที่มีความรู้ ความเชยี่ วชาญเฉพาะสาขาวิชา การนาเสนอเน้ือหามักใช้คาศัพท์เฉพาะ ทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง มีภาพประกอบ ตาราง แผนภูมิ แผนท่ี แผนผัง เพอื่ การอธิบายเร่อื งราวใหล้ ะเอียดชัดเจน 2) หนังสือสารคดี หมายถึง หนังสือท่ีนาเสนอ เรอ่ื งราวก่ึงวชิ าการเพอ่ื ความเพลดิ เพลินในการอ่าน และหลีกเล่ียงการใช้ คาศัพท์เฉพาะทางวิชาการเพื่อให้เข้าใจเน้ือหาสาระได้โดยง่าย เช่น หนงั สือนาเทย่ี ว หนงั สอื สรรพสาระ (Reader Dijet) เป็นต้น 3) หนังสือแบบเรียน หมายถึง หนังสือที่จัดทาข้ึน ตามหลักสูตรรายวิชาเพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอนของนักเรียน นักศึกษาในระดับต่าง ๆ นาเสนอเนื้อหาตามข้อกาหนดในหลักสูตร ต่างจากหนังสือตาราท่ัวไปที่มีคาถามท้ายบทเพื่อให้ผู้เรียนได้ ประเมินผลการเรยี นและทบทวนบทเรยี น 4) หนังสืออ้างอิง (Reference books) หมายถึง หนังสือท่ีรวบรวมเรื่องราวข้อเท็จจริงในสาขาวิชาต่าง ๆ ท่ีเป็นประโยชน์ ต่อการศึกษาค้นคว้า เช่น หนังสือสารานุกรม พจนานุกรม นามานุกรม หนังสืออ้างอิงชีวประวัติ หนังสืออ้างอิงภูมิศาสตร์ หนังสือรายปี หนังสือ บรรณานกุ รม หนังสอื ดัชนแี ละสาระสังเขป และหนงั สือคมู่ อื เป็นตน้ 5) วิทยานิพนธ์หรือปริญญานิพนธ์ (Thesis or dissertation) เป็นรายงานผลการค้นคว้าวิจัยเพื่อขอรับปริญญาตาม หลักสูตรในระดับปริญญาโท (Thesis) และปริญญาเอก (Dissertation) เนื่องจากเป็นรายงานผลการค้นพบสาระความรู้ในสาขาวิชาต่าง ๆ ที่ได้ จากการสารวจ ทดลอง วิเคราะห์และสังเคราะห์อย่างเป็นระบบภายใต้ การใหค้ าปรึกษาจากอาจารยท์ ่ปี รึกษาและผูเ้ ชีย่ วชาญในสาขาวชิ าตา่ ง ๆ จึงเหมาะสาหรับการใช้เป็นข้อมูลประกอบการเขียนเอกสารตารา วิชาการ หรือรายงานภาคนพิ นธ์ เอกสารประกอบการเรยี น กลุ่มวิชาการศึกษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2565 29
6) รายงานการวิจัย (Research report) เสนอ สารสนเทศที่เป็นผลผลิตจากการศึกษาค้นคว้าวิจัย เนื้อหามัก ประกอบด้วย ช่ือเร่ือง ข้อความเก่ียวกับ ผู้เขียน สาระสังเขป บทนา วตั ถปุ ระสงค์ ขอบเขต และวิธดี าเนนิ การวจิ ัย ผลการวจิ ัย บทสรุป และ รายการอา้ งอิง 7) รายงานการประชุมทางวิชาการ (Proceedings) ให้สารสนเทศที่ได้จาก การแลกเปล่ียนประสบการณ์ของนักวิชาการที่เกี่ยวข้อง ซึ่งอาจเป็นข้อสรุปในการแก้ปัญหา ข้อเท็จจริง เกยี่ วกบั ความร้ใู หม่ทีค่ ้นพบ หรอื ข้อตกลงในแผนงานหรอื นโยบายใหม่ ท่ีนกั วชิ าการนาเสนอในการประชุม ทางวิชาการหรือวชิ าชีพ 8) นวนิยายและเรื่องส้ัน (Short story collection) เป็นหนังสือที่แต่งข้ึนตาม จินตนาการ เน้นความสนุกความเพลิดเพลิน และความซาบซึ้งในอรรถรสวรรณกรรม สารสนเทศจาก นวนยิ ายนามาใชเ้ ปน็ หลกั ฐานอา้ งองิ ขอ้ เท็จจริงไม่ได้ 1.2 วารสารและนติ ยสาร วารสารและนิตยสารมาจากคาในภาษาอังกฤษ 3 คา คือ Magazine, Journal และ Periodical มีความหมายแตกต่างกันตามลักษณะเนื้อหาท่ีนาเสนอ Magazine หรือเรียกว่า “นิตยสาร” มกั จะเนน้ เน้อื หาทางดา้ นบนั เทิงคดี Journal หรือเรียกว่า “วารสาร” จะเน้นเน้ือหาทางวิชาการ ส่วนคาว่า Periodical หมายถึงสิ่งพิมพ์ท่ีออกเป็นวาระ มีความหมายรวมท้ัง Magazine และ Journal เช่นเดียวกับ คาว่า “วารสาร” ในภาษาไทยที่มีความหมายรวมถึงสิ่งพิมพ์ที่ออกเป็นวาระ มีความหมายรวมท้ังนิตยสาร และวารสาร วารสารเป็นส่ิงพิมพ์ท่ีออกตามกาหนดระยะเวลาอย่างสม่าเสมอ เช่น รายสัปดาห์ รายปักษ์ (สองสัปดาห์) หรือรายเดือน ให้สารสนเทศในรูปแบบ “บทความ” จากผู้แต่งหลายคน เนื้อหา สาระอาจเปน็ เรื่องในสาขาวชิ าเดยี วกัน หรอื รวมเร่ือง ซึ่งอาจแบ่งประเภทวารสารตามลักษณะเน้ือหาเป็น 3 ประเภท คอื 1) วารสารวิชาการ (Journals or periodicals) เช่น ราชภัฏกรุงเก่า / จุฬาลงกรณ์ รีวิว / วารสารวิจัย / วารสารราชบัณฑิตยสถาน / พัฒนาชุมชน / วารสารกฎหมายเพ่ือชีวิต / Journal of Science, Technology and Humanities / Journal of Teacher Education / Educational Research / ASEANJournal on Science เปน็ ต้น 2) วารสารท่ัวไปหรือนิตยสาร (Magazine) เช่น เท่ียวรอบโลก / สารคดี / สมุนไพร เพ่ือชีวติ / รักลกู / สกลุ ไทย / หญิงไทย / สรา้ งเงินสรา้ งงาน / สานแสงอรุณ / ไฮ-คลาส / ต่วย’ตูนพิเศษ / National Geographic / Discover / Reader’s Digest เปน็ ตน้ 3) วารสารข่าวหรือวิจารณ์ข่าว (News magazine) เช่น มติชนสุดสัปดาห์/ สยามรฐั สปั ดาหว์ ิจารณ์ / เอกสารข่าวรฐั สภา / Time / Newsweek / AsiaNews เปน็ ตน้ เอกสารประกอบการเรยี น กลุม่ วิชาการศกึ ษาคน้ คว้าด้วยตนเอง ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2565 30
1.3 หนังสอื พิมพ์ หนังสือพิมพ์ (newspaper) เป็นสิ่งพิมพ์ที่ออกตามระยะเวลาท่ีกาหนด อาจเป็นรายวัน รายสัปดาห์ หรอื รายปักษ์ แต่สว่ นใหญ่จะพมิ พเ์ ผยแพร่เป็นรายวนั 1.4 จลุ สาร จุลสาร (pamphlets) คือ ส่ิงพิมพ์ท่ีมีขนาดเล็ก ปกอ่อน ความหนาอยู่ระหว่าง 2-60 หน้า เป็นส่ิงพิมพ์ท่ีหน่วยงานราชการ องค์การ บริษัท ห้างร้าน สถาบัน สมาคมและหน่วยงานต่าง ๆ จดั พมิ พเ์ ผยแพรเ่ รอื่ งราว ความรสู้ ้ัน ๆ เนื้อหาทันสมัย อ่านเข้าใจง่าย แม้จะให้รายละเอียดไม่มากนัก แต่ใช้ สาหรับค้นควา้ เพมิ่ เติมและอ้างอิงได้ 1.5 กฤตภาค กฤตภาค (clipping) เป็นวัสดุตีพิมพ์ที่เกิดจากการเลือกและจัดเก็บ บทความท่ีน่าสนใจ จากหนงั สอื พมิ พ์หรอื วารสารฉบบั ล่วงเวลา ซงึ่ อาจเป็นขา่ ว บทความวิชาการหรือรูปภาพ เรื่องใดเรื่องหน่ึง เฉพาะเรอื่ งทเ่ี ปน็ ประโยชนต์ ่อการศึกษาหาความรู้ 1.6 สงิ่ พิมพ์ลกั ษณะพเิ ศษ สิ่งพิมพ์ลักษณะพิเศษ หมายถึง ส่ิงพิมพ์ท่ีมีความพิเศษท่ีแตกต่างจากสิ่งพิมพ์ทั่วไป ทางด้านลักษณะรูปทรง วัสดุท่ีใช้ในการบันทึก และการนาเสนอเน้ือหาสารสนเทศในลักษณะพิเศษ เฉพาะเจาะจง ส่ิงพิมพ์ลักษณะพิเศษที่จัดให้บริการในห้องสมุดและสถาบันบริการสารสนเทศ ได้แก่ เอกสารสิทธิบัตร (patents) เอกสารมาตรฐาน (Standards) แผนภูมิ (charts) แผนภาพ (diagrams) แผนท่ี (maps) 2. วัสดไุ ม่ตพี ิมพ์ วัสดไุ มต่ ีพิมพ์ หมายถึง ทรัพยากรสารสนเทศทีบ่ นั ทกึ ไว้ในสื่อท่ีไม่ได้ผ่านกระบวนการตีพิมพ์ มหี ลายประเภทดังน้ี (ศรีสุภา นาคธน, 2548) 2.2 โสตวสั ดุ โสตวัสดุ (Audio materials) คือ วัสดุสารสนเทศท่ีใช้เสียงเป็นส่ือในการถ่ายทอด สารสนเทศ เช่น แผ่นเสียง (Phonodiscs) แถบบันทึกเสียงหรือเทปบันทึกเสียง (Phonotape) แผ่นซีดี (compact discs) เอกสารประกอบการเรยี น กลมุ่ วชิ าการศึกษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565 31
2.3 ทศั นวัสดุ ทัศนวัสดุ (Visual materials) คือ วัสดุสารสนเทศที่ต้องใช้สายตาเป็นสื่อในการรับรู้ สารสนเทศโดยการมองดู อาจดูโดยตาเปล่าหรือใช้เครื่องมือหรืออปุ กรณ์สาหรบั ฉายประกอบ เช่น รูปภาพ (Picture) ลกู โลก (Globe) ภาพเล่ือน หรอื ฟลิ ม์ สตรปิ (Filmstrips) ภาพน่ิง หรือสไลด์ (Slides) แผ่นภาพ โปรง่ ใส (Transparencies) หุ่นจาลอง (Model) ของจริง (Realia) 2.4 โสตทัศนวัสดุ โสตทัศนวัสดุ (Audiovisual materials) เป็นวัสดุสารสนเทศท่ีถ่ายทอดโดยการใช้ทั้ง ภาพและเสียงประกอบกัน เช่น ภาพยนตร์ ( Motion pictures) สไลด์ประกอบเสียง (Slide multivisions) วดี ิทัศน์หรือเทปบันทกึ ภาพ (Videotapes) 2.5 วัสดอุ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ วัสดอุ ิเลก็ ทรอนกิ ส์ (Electronic materials) เป็นวัสดุสารสนเทศที่จัดเก็บสารสนเทศใน รูปอักษร ภาพ และเสียงไว้โดยการแปลงสารสนเทศให้เป็นสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ ซ่ึงจะต้องมีเครื่องมือ สาหรับจดั เกบ็ และแสดงผลออกมา โดยการแปลงสญั ญาณอเิ ล็กทรอนกิ สใ์ ห้เป็นสญั ญาณภาพและเสียง อีก ครัง้ หน่งึ เชน่ เทปแม่เหล็ก (Magnetic tape) จานแม่เหล็ก/แผ่นดิสเก็ต (Disket) แผ่นจานแสง (Optical disc) เอกสารประกอบการเรยี น กลุม่ วชิ าการศึกษาค้นควา้ ดว้ ยตนเอง ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2565 32
3. ฐานขอ้ มูลอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง สารสนเทศท่ีจัดเก็บไว้ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ โดยมี ชดุ คาสั่งระบบจดั การฐานขอ้ มูล ทาหนา้ ทค่ี วบคุมการจดั การและการใช้ฐานขอ้ มลู ประเภทของฐานข้อมูลแบ่งตามลกั ษณะการใช้งานแบ่งได้ 2 ประเภทคือ ฐานข้อมูลออฟไลน์ และฐานข้อมูลออนไลน์ แบ่งตามเนื้อหาสารสนเทศที่ให้บริการแบ่งได้เป็น ฐานข้อมูลบรรณานุกรม และ ฐานข้อมูลฉบับเตม็ ประเภทของฐานขอ้ มูลแบ่งตามลักษณะการใช้งานแบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1) ฐานข้อมูลออฟไลน์ (Offline Database) หมายถึง ฐานข้อมูลที่จัดเก็บสารสนเทศ ไว้ในสื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ เช่น ซีดีรอม (CD-ROM) การปรับปรุงและการเรียกใช้งานฐานข้อมูลไม่ สามารถทาได้ตลอดเวลา 2) ฐานข้อมูลออนไลน์ (Online Database) หมายถึง ฐานข้อมูลท่ีให้บริการผ่านทาง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ที่ผู้จัดการฐานข้อมูลสามารถปรับปรุงฐานข้อมูลให้ทันสมัยและผู้ใช้สามารถ เขา้ ถงึ ได้ตลอดเวลา ซึง่ ในปัจจบุ นั จะให้บรกิ ารผา่ นทางอินเทอรเ์ นต็ ประเภทของฐานขอ้ มูลแบ่งตามเนื้อหาสารสนเทศที่ให้บริการแบ่งเปน็ 2 ประเภท ได้แก่ 1) ฐานข้อมูลบรรณานุกรม หมายถึง ฐานข้อมูลที่ให้สารสนเทศทางบรรณานุกรม เช่น ชื่อผแู ต่ง ชือ่ เรือ่ ง แหล่งผลิต และอาจมสี าระสังเขป เพ่ือแนะนาผู้ค้นคว้าให้ไปอ่านรายละเอียดจากต้นฉบับ จรงิ ได้แก่ ฐานข้อมูลโอแพค (OPAC) ของห้องสมุดฐานข้อมูล TIAC ให้ข้อมูลบรรณานุกรมและสาระสังเขป ของวิทยานิพนธ์ไทย ฐานข้อมูล DAO ให้ข้อมูลบรรณานุกรมและสาระสังเขปของวิทยานิพนธ์ต่างประเทศ หรือฐานข้อมูล ERIC ให้ข้อมูลบรรณานุกรมและสาระสังเขปของหนังสือและบทความจากวารสารด้าน การศกึ ษา เปน็ ตน้ 2) ฐานข้อมูลเน้ือหาฉบับเต็ม หมายถึง ฐานข้อมูลที่ให้สารสนเทศครบถ้วนเช่นเดียว เหมือนต้นฉบับ เช่น ฐานข้อมูล IEEE/IEE และ ACM เป็นฐานข้อมูลฉบับเต็มของบทความจากวารสาร นิตยสาร รายงานการประชุมความก้าวหน้าทางสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ เปน็ ต้น การเลือกใชท้ รพั ยากรสารสนเทศ เราสามารถเลือกใช้ทรัพยากรสารสนเทศได้อย่างเหมาะสมและเป็นประโยชน์ โดยมีหลักในการ พจิ ารณาดงั นี้ (มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น, 2549) 1. มคี วามสอดคล้องกับเน้อื หาสารสนเทศท่ีต้องการ เช่น ถ้าต้องการสารสนเทศเฉพาะวิชา ควรเลือกใช้ทรัพยากรสารสนเทศประเภทหนังสืออ้างอิง ตาราและวารสารวิชาการ มากกว่าประเภท หนังสือท่ัวไปและนิตยสาร หากต้องการสารสนเทศท่ีแสดงความสัมพันธ์ของเร่ืองราวอย่างชัดเจน ควรเลือกใช้ทรัพยากรสารสนเทศท่ีเป็นภาพเคลื่อนไหวเช่น วีดิทัศน์ วีซีดีหรือ ดีวีดี เป็นต้น หากต้องการ ฟังการบรรยาย เพลง ดนตรี ควรเลือกใช้ทรัพยากรสารสนเทศท่ีมีบันทึกเสียง เช่น เทป ซีดี หรือ วีซีดี เป็นต้น 2. การพิจารณาความน่าเช่ือถือในตัวทรัพยากร ผู้เรียนจะต้องพิจารณาจากช่ือเสียง ประสบการณห์ รอื คณุ วฒุ ขิ องผ้แู ตง่ สานักพิมพ์หรือผ้ผู ลิตทรัพยากรสารสนเทศด้วย เช่น หนังสืออ้างอิงจะ มีความน่าเช่ือถือมากกว่าหนังสือทั่วไป เพราะเขียนและรวบรวมโดยผู้ทรงคุณวุฒิหรือผู้เชี่ยวชาญใน สาขาวิชา เอกสารประกอบการเรยี น กล่มุ วิชาการศกึ ษาค้นควา้ ดว้ ยตนเอง ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565 33
3. ความสะดวกในการใช้งาน ทรัพยากรประเภทตีพิมพ์จะสามารถนามาใช้งานได้ง่ายกว่า ทรัพยากรประเภทไม่ตีพิมพ์ หรือทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ เพราะสามารถใช้งานได้ทันที ไม่จาเป็นต้องใช้ อปุ กรณใ์ นการแสดงผลเหมอื นกบั ทรัพยากรประเภทไมต่ ีพิมพห์ รือ ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ 4. ความทันสมัยของเน้ือหา เช่น หากผู้เรียนต้องการสารสนเทศที่ทันต่อเหตุการณ์แล้ว กส็ มควรเลือกพิจารณาสารสนเทศที่ได้จากทรัพยากรประเภทอินเทอร์เน็ต เพราะมีการเปล่ียนแปลงทาให้ ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา หรือเลือกใช้ทรัพยากรตีพิมพ์ประเภทหนังสือพิมพ์ท่ีมีการให้ข้อมูลที่กาลังเป็น ทนี่ า่ สนใจและได้รบั ความสนใจในปจั จุบัน สรุปได้ว่า ทรัพยากรสารสนเทศ หมายถึง วัสดุท่ีบันทึกสารสนเทศไว้ในส่ือต่าง ๆ เพื่อถ่ายทอด สารสนเทศส่ผู ู้ใชส้ ารสนเทศ ท้ังสื่อส่ิงพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ และส่ืออิเล็กทรอนิกส์ ผู้ใช้บริการสารสนเทศต้อง เลือกใช้ทรัพยากรสารสนเทศให้เหมาะสมจะสามารถประหยัดเวลาในการศึกษาและจะได้ข้อมูลตรงตาม ความต้องการ คาถามทา้ ยบท 1. แหล่งสารสนเทศมกี ป่ี ระเภท อะไรบ้างจงอธบิ าย 2. ห้องสมุดแบง่ เป็นก่ีประเภทอะไรบ้าง แตล่ ะประเภทมีจุดม่งุ หมายหรือวตั ถุประสงคต์ ่างกันอย่างไร 3. บรกิ ารสารสนเทศที่มีความสาคัญและมีประโยชนต่อการศกึ ษาคน้ คว้า มีอะไรบา้ ง จงอธิบายมาอยา่ งน้อย 5 บริการ 4. พิพิธภัณฑสถานแหง่ ชาติเป็นแหล่งสารสนเทศประเภทใด และรวบรวมอะไรบ้าง 5. หนงั สือทร่ี วบรวมความร้แู ละข้อเทจ็ จรงิ ส้ันๆ เพื่อคน้ ควา้ อ้างอิงเฉพาะด้าน เรยี กว่า 6. นักเรียนจงยกตวั อยา่ งวสั ดยุ ่อส่วน มี 5 ชนดิ 7. หนุ่ จาลอง เป็นทรพั ยากรสารสนเทศประเภทใด เอกสารประกอบการเรยี น กลมุ่ วชิ าการศึกษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2565 34
บทที่ 4 อนิ เทอร์เน็ตเพอื่ การสบื คน้ รูปแบบการสืบคน้ รูปแบบการสืบค้น เสริ ช์ เอนจิน (Search engine) หรือ โปรแกรมคน้ หาและคือ โปรแกรมท่ีช่วย ในการสืบค้นหาข้อมูล โดยเฉพาะข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต โดยครอบคลุมทั้งข้อความ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เพลง ซอฟต์แวร์ แผนที่ ข้อมูลบุคคล กลุ่มข่าว และอื่น ๆ ซึ่งแตกต่างกันไปแล้วแต่ โปรแกรมหรือผู้ให้บริการแต่ละราย เสิร์ชเอนจินส่วนใหญ่จะค้นหาข้อมูลจากคาสาคัญ (คีย์เวิร์ด) ท่ีผู้ใช้ ป้อนเข้าไป จากน้ันจะแสดงรายการผลลัพธ์ท่ีมันคิดว่าผู้ใช้น่าจะต้องการข้ึนมา ในปัจจุบันเสิร์ชเอนจิน บางตัว เช่น กูเกิลจะบันทึกประวัติการค้นหาและการเลือกผลลัพธ์ของผู้ใช้ไว้ด้วย และจะนาประวัติ ท่ีบันทึกไวน้ ้นั มาชว่ ยกรองผลลัพธ์ในการค้นหาคร้ังต่อ ๆ ไป ระดับการคน้ หาขอ้ มูล (Search Engine) แบง่ ออกเปน็ 2 ระดบั 1. ระดับ Basic Search คือ เครื่องมือในการค้นหาข้อมูลของแต่ละเว็บไซต์ ซ่ึงมีรูปแบบ การคน้ หาขอ้ มลู และฟังก์ชนั่ ในการคน้ หาข้อมลู แบบง่าย 2. ระดับ Advance Search คือ เครื่องมือในการค้นหาข้อมูลของแต่ละเว็บไซต์ ซึ่งช่วย ในการจากัดขอบเขตในการค้นหาข้อมูล จะมีส่วนช่วยในการบีบประเด็นหัวข้อ ให้แคบลง ซึ่งจะช่วยทาให้ นักเรยี นได้รายชื่อเว็บไซต์ที่ตรงกับความต้องการของนักเรยี นมากข้นึ ระดบั Basic Search เป็นการค้นหาข้อมูลอย่างง่ายไม่มีฟังก์ชั่นในการค้นหาท่ีสลับซับซ้อนมาก เหมาะสาหรับผู้ที่ เร่มิ ต้นใช้ ซงึ่ การค้นหาขอ้ มลู แต่ละเว็บไซต์ รวมถงึ รายละเอียดในการค้นหาข้อมูลน้ันแตกต่างกัน แต่ในที่น้ี ขอหยิบยก Search Engine ของ Google มาอธิบาย เพราะเป็นเว็บไซต์ท่ีได้รับความนิยมท่ีสุดใน การค้นหาขอ้ มูล เอกสารประกอบการเรียน กลุ่มวชิ าการศึกษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565 35
บรกิ ารของ Google มีดังต่อไปน้ี 1. บรกิ ารคน้ หาเวบ็ ไซต์ คือ การค้นหาข้อมลู ในเว็บไซตต์ ่างๆ โดยการใสข่ ้อความ 2. บรกิ ารค้นหารปู ภาพ คอื การคน้ หาไฟลร์ ปู ภาพในเว็บไซต์ 3. บรกิ ารคน้ หากลมุ่ ขา่ ว คอื การคน้ หากลมุ่ ข่าวทีต่ ้องการในเว็บไซต์ 4. บริการค้นหาสารบนเว็บ คือ การจัดหมวดหมู่ข้อมูลของ Google หรือการจัดให้เป็น Directory น่ันเอง ซงึ่ มกี ารจดั แยกโดยอาศัยแรงงานคนในการจัดแยก วิธีการค้นหาขอ้ มลู โดยใช้ Google.co.th 1. เข้าไปท่เี วบ็ ไซตข์ อง Google.co.th 2. นกึ ถึงคาท่มี คี วามเก่ยี วข้องกับเรื่องที่ต้องการ เช่น ต้องการข้อมูลเก่ียวกับสุขภาพ ก็ต้อง นกึ คาวา่ health fitness ปัญหาสขุ ภาพ การออกกาลังกาย เป็นตน้ 3. พิมพ์คาทค่ี ิดวา่ เก่ียวข้องในทนี่ ี้ คอื คาว่า “การออกกาลงั กาย” 4. คลิกท่ีปุ่ม ค้นหา หรอื กด Enter เพื่อใหเ้ ซิร์ฟเวอรค์ น้ หาขอ้ มลู 5. ผลของการค้นหาจะปรากฏเวบ็ เพจท่เี ก่ียวกบั คาวา่ “การออกกาลังกาย” ออกมา เอกสารประกอบการเรยี น กลุ่มวิชาการศกึ ษาค้นคว้าด้วยตนเอง ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2565 36
6. คลกิ เลือกเว็บเพจทตี่ อ้ งการ ระดบั Advance Search คอื เครอ่ื งมือในการค้นหาขอ้ มลู ของแต่ละเว็บไซต์ ซึ่งช่วยในการจากัดขอบเขตในการค้นหา ข้อมูล จะมีส่วนชว่ ยในการบีบประเด็นหวั ขอ้ ใหแ้ คบลง ซึ่งจะชว่ ยทาให้นกั เรียนได้รายช่ือเว็บไซต์ที่ตรงกับ ความต้องการของนักเรยี นมากขึน้ มหี ลกั การงา่ ยๆ ดงั นี้ 1. การบบี ประเดน็ ให้แคบลง หรือหวั ขอ้ เร่ืองที่ต้องการค้นหาให้แคบลง เช่น นักเรียน ตอ้ งการข้อมูลของการเต้นแอโรบิกนักเรียนลองใชค้ าว่า “การออกกาลังกาย” เอกสารประกอบการเรียน กลมุ่ วิชาการศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเอง ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2565 37
หลังจากนัน้ สมมติว่านกั เรยี นนกึ คาอ่นื ท่จี ะค้นหาได้ ในท่ีนี้สมมติว่านักเรียนนึกคาว่า “แอโรบิก” ได้ หลักจากน้นั นกั เรยี นกล็ องพมิ พค์ าวา่ “แอโรบิก” ตอ่ ท้ายคาวา่ “การออกกาลงั กาย” 2. หลีกเลยี่ งการใช้คา ขอ้ ความ หรือวลีท่ียาวเกนิ ไป เม่ือนักเรียนค้นหาข้อมูล นักเรียนคงเคยเจอ ท่ีนักเรียนค้นหาข้อมูลแล้วไม่เจอ เนื่องจากสาเหตุหลายประการ โดยหน่ึงในสาเหตุน้ันก็คือ การใช้คาสาคัญที่ยาวเกินไป สมมติว่านักเรียน ตอ้ งการคน้ หาข้อมูลเกยี่ วกับ “เครือขา่ ยคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีท่ีจาเป็นสาหรับระบบสานักงานอัตโนมัติ” แต่เซริ ฟ์ เวอรไ์ ม่สามารถคน้ หาขอ้ มูลได้ เนื่องจากขอ้ ความท่ใี ช้ในการคน้ หายาวเกินไป ฉะนั้นนักเรียนก็ลอง เปลย่ี นมาใชค้ าคน้ วา่ คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยี 3. การใช้เงื่อนไข AND ใช้เม่ือต้องการให้ผลการค้นหาประกอบด้วยคาสาคัญที่อยู่ติดกับคาว่า AND ท้ัง 2 คา เชน่ “คอมพิวเตอร์” AND “เทคโนโลยี” หมายความว่าให้คน้ หาคาที่มีคาว่า คอมพิวเตอร์ และคาว่า เทคโนโลยี ท้งั 2 คาอยูใ่ นเอกสารเดียวกัน 4. การใช้เงอ่ื นไข OR ใช้เม่ือต้องการให้ผลการค้นหาประกอบด้วยคาสาคัญตัวใดตัวหน่ึงที่ติดอยู่กับคาว่า OR เช่น “คอมพิวเตอร์” OR “เทคโนโลยี” หมายความว่าให้ค้นหาคาท่ีมีคาว่า คอมพิวเตอร์ หรือ เทคโนโลยี คาใดคาหนึ่งก็ได้ หรือ ค้นหาทั้ง 2 คา ซึ่งทั้ง 2 คาจะอยู่หน้าเดียวกัน หรือมีเพียงคาใดคาหน่ึง ในแต่ละหน้าก็ได้ 5. การใช้เงื่อนไข NOT ใช้เม่ือต้องการให้ผลการค้นหาประกอบด้วยคาสาคัญท่ีอยู่หน้าคาว่า NOT แต่ไม่ ตอ้ งการค้นหาคาท่ีอยูห่ ลงั คาวา่ NOT เช่น “คอมพิวเตอร์” NOT “เทคโนโลยี” หมายความว่า ให้ค้นหา ขอ้ มูลที่มีคาว่า คอมพวิ เตอร์ แต่ไม่มีคาวา่ เทคโนโลยี อยูด่ ้วย เอกสารประกอบการเรยี น กลุม่ วิชาการศกึ ษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2565 38
6. การใชเ้ คร่ืองหมาย +, - ช่วยในการค้นหา โดย + คือ การใช้กับคาที่นักเรียนต้องการให้ปรากฏอยู่บนหน้าจอ และ - คอื การใช้กบั คาที่นกั เรยี นไม่ตอ้ งการใหป้ รากฏอยู่บนหนา้ จอ ตัวอย่างเช่น ถ้านักเรียนต้องการให้ Office ปรากฏบนหน้าจอ แต่ไม่ต้องการให้ 97 ปรากฏบนหนา้ จอ ให้นักเรยี นใช้คาวา่ +office-97 7. ใช้หาคาศัพท์ โดยการใช้รูปแบบคาสงั่ ดงั น้ี define : ตามด้วยศัพท์ที่ต้องการ เช่น ต้องการรู้ความหมายของคาว่า boy ให้ นักเรียนใช้คาว่า define:boy ค้นหาข้อมูลมีข้อแม้ว่า ไม่สามารถหาคาศัพท์ และ คาแปลท่ีเป็นภาษาไทย ได้ 8. ใชใ้ นการคานวณคณติ ศาสตร์ คณุ สามารถป้อนตวั เลขและเครื่องหมาย + - * / เพื่อใชใ้ นการคานวณได้ เครอื่ งหมายดาเนนิ การ ความหมาย ตัวอย่าง + บวก 3+44=47 - ลบ 13-2=11 * คณู 5*8=40 / หาร 12/6=2 ^ ยกกาลงั 8^2=64 % หารเอาเศษ 8%7=1 % เปอร์เซ็นต์ 20% of 150=30 of Sqrt รากท่ี 2 sqrt(9)=3 คำถำมท้ำยบท เอกสารประกอบการเรียน กลุ่มวิชาการศึกษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565 39
บทท่ี 5 การประเมนิ สารสนเทศ การประเมินสารสนเทศได้อย่างมีวิจารญาณ สามารถสรุป แนวคิด ความสาคัญจากสารสนเทศ ท่ีรวบรวม โดยใช้เกณฑ์การประเมินสารสนเทศและแหล่งสารสนเทศ ได้แก่ ความน่าเชื่อถือ ความเท่ียงตรง ความถูกต้อง และความทันสมัย สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์แนวคิดหลักเพื่อสร้างแนวคิดใหม่ เปรียบเทียบความรู้ใหม่กับความรู้เดิมเพื่อพิจารณาว่า อะไรคือสิ่งท่ีเพิ่มขึ้น อะไรคือสิ่งที่ขัดแย้งกัน และ อะไรคอื สิ่งทีค่ ลอ้ ยตามกนั และตัดสินใจเลือกรับสารสนเทศที่นาเสนอไว้อย่างหลากหลาย โดยการพิจารณา ทบทวนถงึ เหตผุ ล จากส่ิงทเี่ คยจดจา คาดการณ์โดยยังไม่คล้อยตามสารสนเทศที่นาเสนอเรื่องน้ัน ๆ แต่ต้อง พิจารณาใครค่ รวญ ไตรต่ รองด้วยความรอบคอบและมเี หตผุ ลวา่ สิ่งใดสาคัญก่อนตัดสินใจนาไปใช้ คุณลักษณะของสารสนเทศทดี่ ี สารสนเทศท่ดี ีควรมคี ุณลักษณะดงั ต่อไปนี้ (เอกภพ อนิ ทรภู่, 2558: 72) 1. มีความนา่ เชอื่ ถอื เปน็ สารสนเทศทไี่ ดจ้ ากผู้แต่งหรือแหลง่ ท่เี ช่ือถอื ได้ 2. มคี วามถูกตอ้ ง เป็นสารสนเทศทใี่ หข้ อ้ เทจ็ จรงิ ไม่มีความผิดพลาด 3. เข้าถงึ ไดง้ ่าย เปน็ สารสนเทศทีม่ ีรปู แบบเหมาะสม เรียกใชไ้ ด้ง่าย 4. มคี วามชดั เจน เน้ือหาไม่คลุมเครอื 5. มคี วามสมบรู ณ์ครบถ้วน ให้เนือ้ หาสาคญั อย่างครบถ้วน 6. ตรงกับความตอ้ งการของผู้ใช้ 7. ทนั เวลา หรือทนั ต่อความต้องการของผใู้ ช้ 8. มีความทันสมัย เป็นปัจจุบนั (Up to Date) 9. สามารถพสิ ูจน์ได้ มหี ลกั ฐานอา้ งองิ ตรวจสอบได้ว่ามีความถกู ตอ้ ง เอกสารประกอบการเรียน กลุม่ วชิ าการศกึ ษาค้นควา้ ดว้ ยตนเอง ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2565 40
การประเมินสารสนเทศ คณุ ภาพของสารสนเทศน้ัน นอกจากจะข้นึ อยู่กับความต้องการของแต่ละบุคคลแล้ว ยังมีหลักการ ประเมนิ ประกอบการพจิ ารณา ดงั น้ี 1. หลกั การประเมนิ สารสนเทศ 1) ความเก่ียวข้อง (Relevance) เป็นการพิจารณาว่าสารสนเทศที่ได้รับนั้นมีความ เกี่ยวข้องความเหมาะสม ความเกี่ยวพันกัน หรือตรงกับหัวข้อที่ต้องการหรือไม่ โดยพิจารณาจากขอบเขต ความต้องการของตนเองว่าต้องการสารสนเทศประเภทใด เช่น บทความ หนังสือ เว็บไซต์ หรือสื่อประเภท อ่ืน ๆ ว่ามีเน้ือหาเกี่ยวกับเรื่องใด แล้วสารสนเทศท่ีค้นได้น้ัน ให้ข้อมูลตรงตามนั้นหรือไม่ มีการยกตัวอย่าง หรือให้ข้อมูลท่ีสนับสนุนเรื่องท่ีต้องการหรือไม่ มีจุดเชื่อมโยงไปยังข้อมูลที่เก่ียวข้องหรือไม่ กรณีสืบค้น รายการทางบรรณานุกรมในการเลือกรายการนั้น จะต้องพิจารณาจากช่ือเรื่องและคาสาคัญว่าตรงกับเร่ือง ทต่ี อ้ งการหรอื ไมเ่ ปน็ ลาดบั แรก 2) ความถูกต้อง (Accuracy) เป็นการตรวจสอบเน้ือหาของสารสนเทศที่ได้ว่ามี ความถกู ต้องหรือไม่โดยพิจารณาว่าสารสนเทศที่ได้นั้นมีลักษณะการเสนอข้อเท็จจริงหรือความคิดเห็น เป็น กลางหรอื มีอคตมิ ีหลกั ฐานอา้ งองิ หรอื ไม่ มกี ารสรปุ อยา่ งเป็นเหตเุ ปน็ ผล มกี ารอา้ งองิ ท่ชี ัดเจนไม่ว่าจะเป็นใน รปู เชงิ อรรถหรือบรรณานุกรม รวมท้งั พิจารณาวา่ สารสนเทศที่ได้นน้ั ประกอบไปดว้ ยสารสนเทศจากแหลง่ อื่น ๆ หรอื ไมก่ รณีประเภทของสารสนเทศ ท่ีได้รับน้ันแตกต่างกัน สารสนเทศปฐมภูมิซึ่งเป็นสารสนเทศต้นฉบับ จะมีความน่าเช่ือถือมากกว่าเพราะเป็นต้นกาเนิดของสารสนเทศเร่ืองนั้น ส่วนสารสนเทศทุติยภูมิเป็น สารสนเทศท่ีคัดลอกมาจาก สารสนเทศปฐมภูมิอีกชั้นหน่ึง ความน่าเช่ือจะมีไม่เท่าสารสนเทศปฐมภูมิ และ หากจาเปน็ จะตอ้ งใชส้ ารสนเทศทตุ ยิ ภูมิ จะต้องตรวจสอบกบั ตน้ ฉบับว่าตรงกันหรือไม่ 3) ความนา่ เชอื่ ถอื ของผูจ้ ดั ทา (Authority) เป็นการพิจารณาทีผ่ จู้ ดั ทาหรือผเู้ ขยี นวา่ เป็นผู้ ท่ีมีความรู้ ความเชี่ยวชาญมีประสบการณ์ และมีช่ือเสียง ตลอดจนมีความน่าเชื่อถือเป็นท่ียอมรับในหัวข้อ เร่ืองหรือสาขาวิชานั้น ๆ หรือไม่ โดยพิจารณาจากข้อมูลการศึกษา ประสบการณ์การทางาน และหน้าท่ี การงานของผู้เขียนที่รับผิดชอบ ซ่ึงมักมีระบุไว้ในส่วนหน่ึงหรือส่วนท้ายของสารสนเทศ นอกจากน้ียังควร พิจารณาถึงความน่าเชื่อถือของสถาบัน หรือหน่วยงานท่ีผลิตสารสนเทศ หรือหน่วยงานของเอกชน และ เป็นหน่วยงานท่ีมีชื่อเสียงหรือมีความเช่ียวชาญในสาขาวิชาที่นาเสนอสารสนเทศหรือไม่ เช่น เอกสารหรือ บทความเกี่ยวกับโรคมะเร็งท่ีเขียนโดยแพทย์ผู้เช่ียวชาญทางด้านมะเร็ง หรือผลิตโดยสถาบันมะเร็งก็ย่อมมี ความน่าเชื่อถอื มากกวา่ สถาบนั อนื่ เปน็ ตน้ 4) ความทันสมัย (Currency) เป็นการพิจารณาถึงความทันสมัย ความทันต่อเวลา หรือ การปรบั ปรุงครั้งล่าสุด และหลีกเล่ียงการใช้สารสนเทศที่ไม่มีการปรับปรุงแก้ไขเป็นเวลานาน โดยปกติแล้ว หากสารสนเทศมอี ายุเกิน 5 ปแี ลว้ อาจไมท่ นั สมัย ท้ังน้ีข้ึนอยู่กับเรื่องท่ีต้องการด้วย กล่าวคือ หากเป็นเรื่อง ทางด้านเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ หรือการแพทย์ ที่มีความก้าวหน้าและความเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว ก็จาเป็นจะต้องใช้สารสนเทศที่เป็นปัจจุบันหรือทันสมัยท่ีสุด แต่หากเป็นเร่ืองทางด้านประวัติศาสตร์ วรรณคดี ก็ไม่จาเป็นท่ีจะต้องมีความทันสมัยหรืออยู่ในปีที่เป็นปัจจุบัน ดังน้ันจึงควรพิจารณาความทันสมัย ของสารสนเทศใหเ้ หมาะสมกับลกั ษณะเนือ้ หาของเร่อื งท่ีต้องการ 5) ความครอบคลุม (Coverage) เป็นการพิจารณาว่าสารสนเทศน้ันมีความครอบคลุมใน หัวข้อที่ต้องการค้นหามากน้อยเพียงใด ตรงตามวัตถุประสงค์ท่ีต้องการหรือไม่ เขียนให้นักวิชาการหรือคน ทั่วไปอ่านให้ข้อมูลในเชิงลึกมากน้อยเพียงไร รวมท้ังให้ข้อมูลใหม่ ๆ เพิ่มเติมข้อมูลเดิมท่ีมีอยู่หรือไม่ ลักษณะของสารสนเทศเป็นอย่างไร เช่น สารสนเทศวิชาการ รายงานการประชุม ข่าว หรือโฆษณา ท้ังน้ี สามารถพจิ ารณาไดจ้ ากรายละเอียดในแต่ละหัวข้อของสารสนเทศ เช่น สารบัญ คานา บทนา วัตถุประสงค์ ดรรชนี สาระสงั เขป เปน็ ต้น เอกสารประกอบการเรยี น กลุม่ วิชาการศึกษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2565 41
6) พจิ ารณาเนื้อหาของสารสนเทศว่าอยู่ในระดับใด เป็นสารสนเทศปฐมภูมิ ทุติยภูมิ หรือ ตตยิ ภูมิ 6.1) สารสนเทศปฐมภูมิ (Primary Information) มีความน่าเชื่อถือมากที่สุด เน่ืองจากเป็นสารสนเทศท่ีได้จากการศึกษาค้นคว้าโดยตรงของผู้เขียนและตีพิมพ์เผยแพร่เป็นครั้งแรก เช่น ต้นฉบับตวั เขยี น จดหมายส่วนตัว รายงานการวิจยั วิทยานพิ นธ์ สง่ิ พมิ พร์ ัฐบาล สารสนเทศ ประเภทนี้ถือว่า มีความน่าเชื่อถือควรนามาอ้างอิงมากที่สุด เพราะเป็นข้อมูลจริงที่ได้จากผู้เขียน และยังไม่ได้ผ่านการ เรียบเรยี งหรอื ปรบั แต่งใหม่จากบุคคลอ่ืน 6.2) สารสนเทศทุติยภูมิ (Secondary Information) เป็นการนาสารสนเทศปฐม ภูมิมาเขียนใหม่ อธิบาย เรียบเรียง วิจารณ์ใหม่ให้เข้าใจง่ายเพื่อให้เหมาะกับผู้ใช้สารสนเทศ หรือเป็น เคร่ืองมือช่วยค้นหรือติดตามสารสนเทศปฐมภูมิ เช่น หนังสือ บทความวารสาร บทคัดย่องานวิจัย และบท วิจารณห์ นงั สือเป็นต้น 6.3) สารสนเทศตติยภูมิ (Tertiary Information) เป็นการชี้แนะแหล่งสารสนเทศ 2 ระดับแรกที่ไม่ได้ให้เนื้อหาสารสนเทศโดยตรงแต่เป็นการชี้แนะแหล่งสารสนเทศปฐมภูมิ และ ทุติยภูมิ เช่น บรรณานุกรมดรรชนีวารสาร และสาระสังเขปเนอื้ หา 2. การประเมินสารสนเทศจากเวบ็ ไซต์ 1) ตรวจสอบรายละเอียดเก่ยี วกบั ผ้รู ับผดิ ชอบจากหัวข้อ เชน่ About the author/ About us เปน็ ตน้ 2) ผ้รู ับผิดชอบควรเปน็ หนว่ ยงานของรัฐ หรือสถาบันการศึกษา ซ่ึงมียูอาร์แอลที่ลงท้ายด้วย .edu, .gov, .org, .net เพราะยอ่ มมีความเชอ่ื ถอื มากกวา่ เวบ็ ไซตท์ ่เี กีย่ วข้องกบั ธุรกิจ เช่น ยูอารแ์ อลท่ีลงทา้ ยดว้ ย .com เป็นต้น 3) มีการอา้ งอิงที่มาของสารสนเทศหรือไม่ ทัง้ สารสนเทศทเี่ ปน็ เน้อื หา ภาพ ส่อื มัลตมิ เี ดยี หรอื กราฟ 4) มโี ฆษณาที่เกีย่ วข้องกบั เนื้อหาบนเวบ็ หรือไม่ หากมี อาจทาให้การนาเสนอสารสนเทศ มคี วามลาเอยี งได้ 5) มกี ารระบวุ ัตถปุ ระสงคข์ องเวบ็ ไซต์ไวช้ ดั เจนหรือไม่ ซง่ึ ดูได้จากหัวขอ้ เชน่ วสิ ยั ทัศน์ (Mission), วัตถปุ ระสงค์ (Purpose) เปน็ ตน้ 3. การประเมินคณุ ภาพเวบ็ ไซต์ข้อมลู สารสนเทศ ปจั จัยทีเ่ ปน็ แนวทางในการตรวจสอบและประเมินคุณภาพเว็บไซต์ 9 ดา้ น มีดงั นี้ 1) ความทนั สมยั ความทนั สมยั ของเว็บไซต์ จัดเป็นหัวข้อสาคัญของการพัฒนาข้อมูลสารสนเทศผ่านระบบ อินเทอร์เน็ต เน่ืองจากข้อมูลสารสนเทศท่ีปรากฏอยู่ในเว็บไซต์จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้งานก็เม่ือข้อมูลน้ัน เป็นขอ้ มลู ที่ใหม่ ทันตอ่ สถานการณ์และได้รบั การปรบั ปรุงแก้ไขตามระยะเวลาอยา่ งเหมาะสม 2) เนื้อหาและขอ้ มูล เว็บไซต์ต้องมีเน้ือหาและข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ เป็นสิ่งที่ตรวจสอบและวัดความเป็น เว็บไซต์ที่ดีได้ง่าย รวมท้ังสามารถประเมินคุณค่าของเว็บไซต์ได้อย่างชัดเจน โดยเฉพาะถ้าเว็บไซต์มีเนื้อหา ขอ้ มลู ท่ีตรงตามหลักสูตรและการเรียนการสอนของนักศึกษา หรือทาให้เป็นเน้ือหาข้อมูลประกอบการเรียน ตามหลกั สูตรและนา่ สนใจชวนติดตามย่อมเป็นประโยชน์ โดยเฉพาะอย่างย่ิงถ้าเน้ือหาที่นาเสนอบนเว็บไซต์ เป็นเนื้อหาที่หาไม่ได้ในห้องสมุด ย่อมเป็นเน้ือหาท่ีมีคุณค่า นาไปใช้ประโยชน์ได้โดยตรง แสดงให้เห็นถึง ประโยชน์ของระบบอินเทอร์เน็ตได้อย่างชัดเจนว่าเป็นแหล่งเน้ือหาและข้อมูลเพ่ือการเรียนรู้ ท่ีแตกต่าง ออกไปจากแหลง่ เรยี นรู้เดิมๆ อย่างห้องสมดุ เนอ้ื หาทน่ี าเสนอนน้ั ย่อมมีความหมายและเปน็ ประโยชน์ เอกสารประกอบการเรยี น กล่มุ วิชาการศกึ ษาค้นคว้าด้วยตนเอง ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565 42
3) ความนา่ เชื่อถือ เว็บไซต์ท่ีมีคุณภาพไม่ใช่เพียงแต่ทันสมัย มีเน้ือหาและข้อมูลท่ีดี ความน่าเช่ือถือ ต่อเว็บไซต์เป็นเรื่องสาคัญในการจะนาเอาข้อมูลไปอ้างอิงหรือใช้ประโยชน์ เพราะข้อมูลและเน้ือหาจะได้ ถูกนาไปใช้ประโยชน์ก็ด้วยเหตุผลที่ว่าเว็บนั้นน่าเช่ือถือ เช่น ถ้าต้องการเร่ืองเก่ียวกับโรคติดต่อข้อมูล ที่น่าเชื่อถือท่ีสุดก็ควรเป็นข้อมูลของกระทรวงสาธารณสุข หรือโรงพยาบาลต่าง ๆ น่ันหมายความว่า ผู้เข้า ไปใช้ประโยชน์จากเว็บก็จะพยายามหาข้อมูลจากเว็บท่ีเก่ียวข้องกับเร่ืองที่ต้องการ ทันสมัยและมีข้อมูล เนื้อหาทดี่ ี 4) การเช่อื มโยงขอ้ มูล การประเมินเว็บไซต์ที่ดีควรจะแสดงการเชื่อมโยงไปยังส่วนต่างๆ ในรูปแบบท่ีเข้าใจง่าย และอา่ นได้อยา่ งชัดเจน การเช่ือมโยงภายในเว็บไซต์ จะมีชื่อเรียกว่า ลิงก์ (Link) การลิงค์หรือการเช่ือมโยง นั้น ถ้าหน้าแรกสามารถบอกได้ว่า เว็บไซต์น้ันมีการจัดการอย่างไร มีเงื่อนไขในการเช่ือมโยงอย่างไร และ มีหัวข้ออะไรท่ีจาเป็นต้องเชื่อมโยงไปบ้าง ลักษณะอย่างน้ีอาจจะมีหน้าพิเศษต่างหากที่เรียกว่าแผนภูมิ เว็บไซต์ หรอื site map 5) การนาไปใชง้ านจริง เว็บเพจท่ีดีควรจะมีเน้ือหาเป็นไปตามวัตถุประสงค์ท่ีกาหนดไว้ และมีการแสดงผลอย่าง รวดเร็ว ในเว็บเพจต้องทาให้ผู้เข้าชมรู้สึกว่าไม่เสียเวลา ไม่ไร้ประโยชน์หรื อเว็บเพจไม่เป็นไปตาม วัตถุประสงค์ ผู้ออกแบบต้องคานึงเสมอว่า ในการนาไปใช้งานจริง ผู้สืบค้นข้อมูล หรือผู้เข้าชมเว็บเพจ ยอ่ มเขา้ มาเพ่ือคิดว่าเวบ็ เพจทจ่ี ดั ทานนั้ มวี ตั ถปุ ระสงค์ตามหัวเรื่องของเวบ็ เพจ 6) ความเป็นมัลติมเี ดีย ความเป็น มัลติมีเดีย (multimedia) สาหรับเว็บไซต์เป็นเรื่องท่ีค่อนข้างยาก เน่ืองจาก เว็บไซต์ต้องออนไลน์อยู่ในระบบอินเทอร์เน็ต ในข้อจากัดของแบนด์วิท และความเร็วในการเสนอจึงยาก ทจ่ี ะทาใหเ้ ว็บไซต์แต่ละเวบ็ ไซตม์ ีความเปน็ มลั ติมีเดยี ดังนน้ั องค์ประกอบที่สาคัญของความเป็น มัลติมีเดีย ภายในเว็บไซต์ คือ เสียง ภาพ กราฟิก ภาพเคลื่อนไหว ควรสอดคล้องกับเน้ือหาภายในเว็บ นอกจากน้ีควร จะเป็น มัลติมีเดีย ท่ีเพิ่มความสนใจให้ผู้เข้าชม ภาพเคลื่อนไหวที่นาเสนอควรจะมีเวลาท่ีเหมาะสมและไม่ รบกวนเนื้อหา ภาพกราฟิกท่ีใช้ไม่ควรมีขนาดใหญ่เกินไปสามารถแสดงผลหรือโหลดขึ้นมาได้อย่างรวดเร็ว ส่ิงที่ต้องทาความเข้าใจในความเป็น มัลติมีเดียของเว็บก็คือ เว็บไซต์ไม่สามารถมีปฏิสัมพันธ์กับผู้เข้าชมได้ ทันที เนื่องจากการออกแบบเว็บไซต์ไม่สามารถทาให้ใช้เทคนิคหรือกระบวนการได้มากมายอย่างที่เป็น stand alone ภายในระบบดังน้ันความเป็น มัลติมีเดีย ของเว็บไซต์ จึงหมายถึงการจัดทาภาพประกอบ เสียง ภาพเคล่ือนไหว ภาพวีดีโอ หรือภาพน่ิง โดยเป็นการเสริมหรือเพ่ิมให้เว็บไซต์มีคุณค่า และที่สาคัญ มัลติมีเดีย ท่ีนามาใช้ต้องสอดคล้องกับเน้ือหา และเป็นประโยชน์ในการสร้างความเข้าใจให้กับผู้เข้าชม เวบ็ ไซต์ 7) การให้ข้อมูล การให้ข้อมูลภายในเว็บไซต์ ข้อมูลท่ีสาคัญควรจะเข้าถึงได้ง่ายและรวดเร็ว โดยไม่มีความ สลับซับซ้อน แต่การนาเสนอข้อมูลควรมีการจัดรูปแบบและหมวดหมู่ของข้อมูลอย่างเป็นระบบ เพ่ือให้ง่าย ต่อการตรวจสอบและการใช้งานข้อมูล นอกจากน้ีข้อมูลที่ใช้ควรมีเนื้อหาท่ีทันสมัยทันต่อเหตุการณ์ โดย แสดงได้จากวันเวลาท่ีปรับปรุง ขณะเดียวกันเมื่อจัดทาเว็บไซต์ตามวัตถุประสงค์แล้ว เว็บไซต์ควรจะ สอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมายของเว็บ ถ้าเว็บไซต์นั้นจัดทาได้ตรงกับกลุ่มเป้าหมาย เช่น กลุ่มนักศึกษา หรือ วัยรุน่ กจ็ ะทาให้เว็บนน้ั ไดร้ ับความนิยม แสดงถงึ คณุ ภาพของผู้ดาเนินการจัดทา เอกสารประกอบการเรยี น กลมุ่ วชิ าการศกึ ษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2565 43
8) การเข้าถึงข้อมลู สิ่งทีส่ าคัญท่ีสุดก็คือ เวบ็ ไซต์สามารถแสดงผลข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว เมื่อผู้ใช้เข้าสู่เว็บไซต์ หมายถึง เมื่อผู้ใช้ต้องการเข้าสู่เว็บไซต์โดยการพิมพ์ท่ีอยู่ของเว็บเช่น URL หรือโดเมนเนม (Domain Name) แลว้ กดปุ่ม Enter การแสดงผลของหนา้ แรกจะต้องปรากฏอย่างรวดเร็วโดยไม่เสียเวลานานจะทาให้ ผู้ใช้รู้สึกพึงพอใจ แต่ถ้าเว็บใดออกแบบให้มีกราฟิก ภาพเคล่ือนไหว และเน้ือหาจานวนมาก เว็บนั้นก็จะ แสดงผลได้ช้า ก็จะทาให้ผู้ใช้รอและเบื่อหน่าย การให้ผู้ใช้รอบ้างย่อมรับได้ แต่ถ้าผู้ใช้รอนานเกินไปก็อาจ เบ่ือหน่ายและเปลี่ยนไปเว็บอ่ืนในท่ีสุดการเข้าถึงข้อมูลในเว็บไซต์นอกจากจะแสดงผลรวดเร็วแล้ว เว็บไซต์ ควรหาได้สะดวกจากเว็บประเภทสืบค้นข้อมูลหรือ Search Engine หรือเว็บได้ Add URL เอาไว้ใน Search Engineเช่น Google หรือ Yahoo ถ้าเป็นในประเทศไทยก็เช่น Sanook, Sansarn ก็จะทาให้ผู้ใช้ สามารถสืบค้นจากเคร่ืองมือสืบค้นได้รวดเร็ว การโหลดของเว็บได้อย่างรวดเร็วทาให้เสียเวลาน้อยลงในการ ค้นหาขอ้ มลู เว็บไซต์ท่ีแสดงผลจากการค้นหาได้รวดเร็ว ย่อมเป็นท่ีนิยมของผู้ใช้เพราะค้นเจอเสมอแสดงว่า เขา้ ถงึ ขอ้ มูลไดร้ วดเรว็ 9) ความหลากหลายของข้อมลู ประเด็นสาคัญในส่วนของข้อมูลก็คือ เว็บควรมีความหลากหลายและมีเร่ืองที่เป็นประโยชน์ หลายๆ เรื่อง มีความน่าเช่ือถือและตรวจสอบข้อมูลได้ ข้อมูลน้ันก็จะได้ความนิยมและแนะนากันให้เข้ามา ชมอกี กรณที ่ีเว็บมีข้อมูลไม่มากมายนัก แต่เวบ็ มขี ้อมลู สาคญั เพียงพอไม่ยาวเกินไป ไม่ส้ันมากเกินไป ใช้ ประโยชน์ไดเ้ หมาะสม สรุปได้ว่า การดาเนินชีวิตประจาวันสารสนเทศมีความสาคัญนานับประการในการแก้ปัญหา การตัดสินใจ ซ่งึ จาเปน็ ตอ้ งใช้สารสนเทศที่ถูกต้องทันเหตุการณ์ ท้ังด้านการศึกษา การวิจัย การดาเนินชีวิต รวมถึงด้านวิทยาการและเทคโนโลยี การประเมินสารสนเทศจึงเป็นส่ิงจาเป็นอย่างย่ิงในการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตให้เกิดความรู้ความสามารถ ทักษะและกระบวนการอันเป็นประโยชน์ในการพัฒนาการเรียนรู้ทุก รูปแบบ การวเิ คราะหส์ ารสนเทศ การวิเคราะหส์ ารสนเทศ หมายถงึ การพิจารณาแยกแยะสารสนเทศแต่ละส่วนที่ประกอบกันเป็น เรื่องหรือหัวข้อ โดยเลือกเฉพาะประเด็นท่ีมีลักษณะเนื้อหาและคุณสมบัติตรงตามความต้องการ 1. วัตถุประสงคข์ องการวเิ คราะห์สารสนเทศ 1) ให้ร้วู า่ สารสนเทศมีลักษณะเนื้อหาใด ตรงตามความต้องการหรือไม่ 2) นาสารสนเทศทัง้ เร่อื ง หรือทุกเรื่องทีส่ ืบค้นได้ไปสรปุ หรือทาสาระสงั เขปเนื้อหา เพื่อใหส้ ามารถนาไปใชไ้ ด้โดยสะดวก และเขา้ ใจง่าย 3) เขยี นวิจารณ์ หรอื บรรณนิทัศน์ของเร่อื งที่อา่ น 4) กาหนดคาเพื่อเปน็ เครื่องมอื ชว่ ยคน้ หา เชน่ ดรรชนี คาสาคัญ เปน็ ตน้ 2. หลักการวิเคราะหส์ ารสนเทศ 1) สารสนเทศประเภทส่ิงพิมพ์ ให้ตรวจสอบรายละเอยี ดทางบรรณานกุ รม เช่น ประเภทสง่ิ พมิ พช์ ่ือผแู้ ต่ง ชือ่ เรอื่ ง ชื่อบทความ ภาษา ปที ีพ่ มิ พ์ หวั เรอื่ ง และคาสาคญั เป็นต้น 2) สารสนเทศท่ีได้จากขา่ วหนงั สอื พมิ พ์ ตรวจสอบหัวขอ้ ขา่ วทเ่ี ด่นทสี่ ดุ เนอื้ เร่อื งตรงกบั วัตถุประสงคข์ องหนว่ ยงานหรือไม่ 3) สารสนเทศทไ่ี ดจ้ ากการสบื คน้ ฐานข้อมลู ตรวจสอบรายละเอียดบรรณานกุ รม คาสาคญั สาระสงั เขป 4) สารสนเทศท่ไี ดจ้ ากเวบ็ ไซต์ ตรวจสอบว่าเนื้อหาถูกต้องหรอื ไม่ และมคี วามนา่ เชอ่ื ถือ หรอื ไม่เพียงใด หนว่ ยงานใดรบั ผิดชอบ วนั ที่ปรบั ปรงุ ขอ้ มลู ล่าสุดเม่อื ใด เอกสารประกอบการเรยี น กลุม่ วชิ าการศึกษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2565 44
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110