หนงั สอื แบบเรียนรายวิชาเลอื ก สาระความรู้พื้นฐาน ภาษาไทย พท. ๓๒๐๐๖ การอา่ นเพอ่ื การเรียนรู้ตลอดชวี ติ หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สาหรับคนไทยในตา่ งประเทศ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย สานกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย สานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธกิ าร
สาระความรู้พืน้ ฐาน ภาษาไทย การอา่ นเพือ่ การเรียนรตู้ ลอดชีวิต พท. ๓๒๐๐๖
หนงั สอื เรยี นเรยี นสาระความรพู ้นื ฐาน (ภาษาไทย) ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย รายวิชาเลอื ก การอานเพ่ือการเรียนรูตลอดชีวิต พท ๓๒๐๐๖ หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สําหรบั คนไทยในตา งประเทศ ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั กลมุ่ เปา้ หมายพเิ ศษ สํานกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย สํานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวชิ าการลําดบั ท่ี ๕๖/๒๕๕๔
ชือ่ หนังสือ หนงั สอื เรยี นสาระความรพู้ นื้ ฐาน (ภาษาไทย) รายวชิ าเลอื ก การอา่ นเพอื่ การเรียนรตู้ ลอดชีวิต พท ๓๒๐๐๖ หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ สาํ หรบั คนไทยในตา่ งประเทศ ISBN : พิมพ์คร้ังท่ี : ๑/๒๕๕๔ ปีท่ีพมิ พ์ : ๒๕๕๔ จํานวนพมิ พ์ : ๑๐๐ เล่ม เอกสารทางวชิ าการลาํ ดบั ท่ี ๕๖/๒๕๕๔ จัดพมิ พ์และเผยแพร่ : ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยกล่มุ เปา้ หมายพิเศษ สาํ นกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั สาํ นกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธกิ าร โทร. ๐ ๒๒๘๑ ๗๒๑๗ - ๘, ๐ ๒๖๒๘ ๕๓๒๙, ๐ ๒๖๒๙ ๕๓๓๑ โทรสาร ๐ ๒๖๒๘ ๕๓๓๐
คาํ นาํ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกลุ่มเป้าหมายพิเศษ ได้ดําเนินการจัดทํา หนังสือเรียนสาระความรู้พ้ืนฐาน (ภาษาไทย) รายวิชาเลือก การอ่านเพ่ือการเรียนรู้ตลอดชีวิต พท ๓๒๐๐๖ ขึ้น เพ่ือใช้ในการเรียนการสอน ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สําหรับคนไทยในต่างประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปัญญาและศักยภาพ สามารถดํารงชีวิตอยู่ได้อย่างมีความสุข โดยผู้เรียนสามารถศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และปฏิบัติกิจกรรมเพ่ือทดสอบความรู้ ความเข้าใจในสาระเน้ือหานี้ รวมท้ังหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้หรือ สื่ออ่ืน ๆ เพ่มิ เตมิ ได้ ในการดําเนนิ การจัดทาํ หนงั สือเรียนเล่มนี้ ไดร้ ับความรว่ มมอื ที่ดีจากผ้ทู รงคุณวฒุ ิและผเู้ กี่ยวข้อง ที่ร่วมคน้ คว้าและเรียบเรยี งเนอื้ หาสาระจากสอื่ ตา่ ง ๆ เพอ่ื ให้ไดส้ ่อื ทีส่ อดคล้องกบั หลกั สูตร และเปน็ ประโยชน์ ต่อผเู้ รยี นทอี่ ยนู่ อกระบบอยา่ งแท้จรงิ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยกลมุ่ เปา้ หมายพิเศษ ขอขอบคุณคณะท่ปี รกึ ษา คณะเรียบเรยี ง ตลอดจนผจู้ ัดทําทุกทา่ นที่ใหค้ วามร่วมมอื ดว้ ยดีไว้ ณ โอกาสน้ี ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกลุ่มเป้าหมายพิเศษ หวังว่าหนังสือเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียนและการจัดการเรียนการสอน หากมีข้อเสนอแนะประการใดจะขอน้อมรับไว้ด้วย ความขอบคุณยิง่ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกล่มุ เปา้ หมายพเิ ศษ ๒๕๕๔
สารบัญ หน้า คํานาํ ๑ สารบญั ๓ คําแนะนําการใชห้ นงั สือเรียน ๘ โครงสรา้ งรายวชิ า ๘ แบบทดสอบกอ่ นเรียน ๑๒ ๑๔ บทท่ี ๑ การอ่านเพ่อื ศกึ ษาค้นควา้ และนาํ ไปใชใ้ นชีวติ ๒๐ ๒๐ บทท่ี ๒ การอา่ นตคี วาม แปลความ และสรปุ ใจความสาํ คัญ ๒๐ - การอา่ นตคี วาม ๒๑ - การอา่ นแปลความ ๓๑ - การอา่ นสรปุ ใจความ ๓๑ ๓๑ บทที่ ๓ การอา่ นขา่ ว ๔๕ - การอ่านข่าว ๔๕ - การตีความขา่ ว ๔๕ - การวิเคราะห์คณุ คา่ ขา่ ว ๕๖ ๕๖ บทที่ ๔ การอา่ นบทความ ๖๑ - สว่ นประกอบของบทความ - ประเภทของบทความ บทท่ี ๕ การอา่ นสารคดี - ประเภทของสารคดี - แนวทางการพจิ ารณาคณุ ค่าของสารคดี บทที่ ๖ การอ่านบทประพนั ธ์ / กวีนิพนธ์ - การอา่ นบทประพันธ์ - การอ่านกวีนิพนธ์
สารบญั หนา้ บทท่ี ๗ การอา่ นเพลง ๗๒ - การอ่านเพลงกล่อมเด็ก ๗๒ - การอ่านเพลงลูกทุ่งไทย ๗๕ - การวิเคราะห์บทเพลงของสนุ ทราภรณ์ ๗๖ บทที่ ๘ การอา่ นตาํ ราเชงิ วชิ าการ ๘๑ - สว่ นประกอบของหนังสือเชงิ วิชาการ ๘๑ - การเลอื กอา่ นหนงั สอื เชงิ วิชาการ ๘๒ - แนวการอ่านตําราเชิงวิชาการ ๘๓ บทท่ี ๙ การอ่านและคน้ ควา้ หาความร้ทู างอินเตอรเ์ นต็ ๘๗ - เวบ็ ไซต์ ๘๘ - ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ ๙๑ - ฐานข้อมูลออนไลน์ ๙๓ - ประโยชน์จากการสบื ค้นข้อมูล ๙๖ บทที่ ๑๐ แหลง่ คน้ ควา้ หาขอ้ มูลห้องสมดุ ประชาชน / หอ้ งสมุดเฉพาะ ๑๐๐ - ห้องสมุดประชาชนและเว็ปไซตห์ อ้ งสมุด ๑๐๐ - สํานักงานอุทยานการเรยี นรู้ ๑๐๒ - หอสมุดแห่งชาตแิ ละห้องสมดุ เฉพาะ ๑๐๒ บทที่ ๑๑ การอ่านเพื่อการประกอบอาชพี ๑๐๘ - ช่างเชอ่ื ม ๑๐๘ - ช่างกอ่ สร้าง ๑๐๘ - ช่างเครอื่ งปรับอากาศ ๑๐๙ แบบทดสอบหลงั เรยี น ๑๑๔ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรยี น ๑๑๖ เฉลยแบบทดสอบ ๑๑๗ บรรณานุกรม ๑๒๐ คณะผ้จู ัดทาํ ๑๒๒
คําแนะนาํ การใช้หนงั สอื เรียน หนังสือเรียนสาระความรู้พื้นฐาน (ภาษาไทย) รายวิชาเลือก การอ่านเพ่ือการเรียนรู้ตลอดชีวิต พท ๓๒๐๐๖ (๑ หน่วยกิต) ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สาํ หรบั คนไทยในตา่ งประเทศ ประกอบดว้ ยสาระสาํ คัญ ดังนี้ ส่วนท่ี ๑ คําช้ีแจงก่อนเรียนรู้รายวชิ า สว่ นที่ ๒ เนือ้ หาสาระและกจิ กรรมทา้ ยบท สว่ นท่ี ๓ แนวตอบกิจกรรมท้ายบท และหรือแบบทดสอบยอ่ ยทา้ ยบท สว่ นท่ี ๑ คําช้ีแจงก่อนเรยี นรู้รายวิชา ผู้เรียนต้องศึกษารายละเอียดในคํานําและคําแนะนําการใช้หนังสือเรียน เพื่อสร้างความเข้าใจ และเพ่ือให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ของรายวิชา ซึ่งการเรียนรู้เน้ือหาและการปฏิบัติกิจกรรมท้ายบท ควรปฏิบัตดิ งั น้ี ๑. หารอื ครปู ระจํากลมุ่ / ครผู ้สู อน เพื่อรว่ มกันวางแผนการเรยี น (ใช้เวลาเรยี น ๔๐ ชั่วโมง) ๒. ศึกษาเน้ือหาจากหนังสือเรียน หากมีข้อสงสัยเร่ืองใดสามารถศึกษาค้นคว้าเพ่ิมเติมได้จาก ส่ือตา่ ง ๆ หรอื หารอื ครปู ระจาํ กลุ่ม / ครูผู้สอน เพ่อื ขอคาํ อธบิ ายเพม่ิ เติม ๓. ทาํ กิจกรรมท้ายบทเรียนตามทก่ี ําหนด ๔. เขา้ สอบวดั ผลการเรียนรปู้ ลายภาคเรียน ๕. สรา้ งความเขา้ ใจเกี่ยวกับการประเมนิ ผลรายวิชา ซ่ึงมีคะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน โดยแบ่งสัดสว่ นคะแนนเป็นระหว่างภาคเรียน ๖๐ คะแนน และปลายภาคเรียน ๔๐ คะแนน ดงั น้ี ๕.๑ คะแนนระหวา่ งภาคเรยี น ๖๐ คะแนน แบง่ ส่วนคะแนนตามกจิ กรรม ได้แก่ ๑) ทาํ กจิ กรรมท้ายบทเรยี น ๒๐ คะแนน โดยทาํ กิจกรรมท้ายบทใหค้ รบถว้ น ๒) ทาํ บนั ทึกการเรยี นรู้ ๒๐ คะแนน โดยสรปุ ยอ่ เน้อื หาหรือวเิ คราะห์เนือ้ หาจาก การศกึ ษาหนังสือแบบเรียนรายวชิ าน้ี เพ่ือแสดงให้เหน็ กระบวนการเรยี นรู้ ประโยชน์ และการนําความรูไ้ ปใช้ โดยทําตามที่ครกู ําหนด และจัดทําเป็นรูปแบบเอกสารความรู้ ดงั น้ี - ปก (รายละเอียดเก่ียวกับตัวผู้เรียน: ช่ือ-นามสกุล รหัสประจําตัว ระดับ การศึกษา ศกร.กศน. ของผู้เรียน และศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกลุ่มเป้าหมาย พเิ ศษ) - ส่วนบันทึกการเรียนรู้ (เนื้อหาประกอบด้วย : หัวข้อ/เรื่องที่ศึกษา และ จุดประสงคท์ ีศ่ กึ ษา และข้ันตอนการศึกษาโดยระบุว่ามวี ิธรี วบรวมข้อมูลอยา่ งไร นําขอ้ มลู มาใชอ้ ยา่ งไร) - ส่วนสรปุ เน้อื หา (สรุปสาระความรสู้ าํ คญั ตามเน้อื หาทไี่ ดบ้ ันทกึ การเรียนร)ู้ - ประโยชน์ท่ีเกิดกับตัวผู้เรียน (บอกความรู้ท่ีรับและนํามาพัฒนาตนเอง/การนําไป ประยุกตใ์ ช้ในรายวิชาอนื่ ๆ หรือในชวี ิตประจําวัน)
๓) ทํารายงานหรือโครงงาน ๒๐ คะแนน โดยจัดทําเนื้อหาเป็นรายงานหรือโครงงาน ตามทค่ี รูกําหนดรปู แบบเอกสารรายงาน หรือโครงงาน ดังนี้ ๓.๑)การทํารายงานหรือโครงงานตามที่ครูมอบหมาย ให้ดําเนินการตามรูปแบบ กระบวนการทํารายงาน หรือโครงงาน ตามรูปแบบเอกสาร ดังน้ี - ปก (เรื่องท่ีรายงาน รายละเอียดเก่ียวกับตัวผู้เรียน : ช่ือ-นามสกุล รหัสประจําตัว ระดับการศึกษา ศกร.กศน. ของผู้เรียน และศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศัยกลุ่มเปา้ หมายพเิ ศษ) - คํานํา - สารบัญ - สว่ นเนอ้ื หา (หัวขอ้ หลัก หัวขอ้ ย่อย) - ส่วนเอกสารอ้างองิ ๓.๒)การทําโครงงาน ตามท่ีครูมอบหมาย และดําเนินการตามกระบวนการ ทาํ รายงาน โดยจัดทําตามรปู แบบเอกสารดังนี้ - ปก (ชื่อโครงงาน รายละเอียดเก่ียวกับตัวผู้เรียน : ชื่อ-นามสกุล รหัสประจําตัว ระดับการศึกษา ศกร.กศน. ขอผู้เรียน และศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั กลุ่มเปา้ หมายพิเศษ) - หลกั การและเหตุผล - วตั ถุประสงค์ - เป้าหมาย - ขอบเขตของการศึกษา - วธิ ดี ําเนนิ งานและรายละเอยี ดของแผน - ระยะเวลาดาํ เนนิ งาน - งบประมาณ - ผลทคี่ าดวา่ จะไดร้ ับ ๕.๒ คะแนนปลายภาคเรียน ๔๐ คะแนน ผู้เรียนต้องเข้าสอบวัดความรู้ปลายภาคเรียน โดยใช้เครื่องมือ (ขอ้ สอบแบบปรนยั หรือ อัตนัย) ของศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศัยกลมุ่ เป้าหมายพเิ ศษ
สว่ นท่ี ๒ เน้อื หาสาระและกจิ กรรมท้ายบท ผ้เู รียนตอ้ งวางแผนการเรียน ให้สอดคลอ้ งกบั ระยะเวลาของรายวชิ า และตอ้ งศกึ ษาเนื้อหาสาระ ตามท่ีกําหนดในรายวิชาให้ละเอียดครบถ้วน เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานการเรียนรู้ของรายวิชา ซ่ึงใน รายวิชานี้ไดแ้ บง่ เนื้อหาออกเป็น ๑๑ บท ดังน้ี บทท่ี ๑ การอ่านเพือ่ ศกึ ษาคน้ ควา้ และนําไปใชใ้ นชวี ติ ประจําวนั บทที่ ๒ การอา่ นตคี วาม แปลความ และสรปุ ใจความสาํ คัญ บทที่ ๓ การอา่ นข่าว บทที่ ๔ การอ่านบทความ บทท่ี ๕ การอ่านสารคดี บทที่ ๖ การอ่านบทประพนั ธ์ / กวนี พิ นธ์ บทท่ี ๗ การอา่ นเพลง บทที่ ๘ การอ่านตาํ ราเชงิ วชิ าการ บทที่ ๙ การอ่านและค้นควา้ หาขอ้ มลู ทางอนิ เทอร์เน็ต บทท่ี ๑๐ แหลง่ ศึกษาค้นควา้ หาข้อมลู หอ้ งสมุดประชาชน บทที่ ๑๑ การอ่านเพื่อนําไปใชใ้ นการประกอบอาชพี ต่าง ๆ ส่วนกิจกรรมท้ายบทเรียน เมื่อผู้เรียนได้ศึกษาเน้ือหาแต่ละบท/ตอนแล้ว ต้องทํากิจกรรมท้าย บทเรียนหรอื แบบฝึกหดั ตามท่ีกําหนดให้ครบถ้วน เพ่อื สะสมเปน็ คะแนนระหวา่ งภาคเรยี น (๒๐ คะแนน) ส่วนที่ ๓ แนวตอบกจิ กรรมทา้ ยบทเรียนหรือแบบฝึกหดั และหรอื เฉลยแบบทดสอบยอ่ ย (ถ้ามี) แนวตอบกิจกรรมท้ายบทเรียนหรือแบบฝึกหัด และหรือเฉลยแบบทดสอบย่อย จัดทําแยกไว้ เป็นบทเรยี งลําดับ
โครงสรา้ งรายวชิ าการอา่ นเพ่ือการเรียนรู้ตลอดชวี ติ รหสั วิชา พท ๓๒๐๐๖ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สาระสาํ คญั ศึกษากระบวนการอ่านและฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ อ่านเพื่อตีความ แปลความ สรุป ความและขยายความของเรอื่ งที่อา่ น โดยสามารถเลือกอ่านหนังสือ และสื่อสารสนเทศ จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ สามารถแสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์ วิจารณ์และประเมินคุณค่าเรื่องที่อ่าน โดย ศึกษาในแง่มุมต่าง ๆ ทั้งด้านรูปแบบการเรียน เนื้อหา และศิลปะการใช้ภาษา รวมท้ังนําข้อความหรือบท ประพันธ์ท่ีอ่านแล้วประทับใจ นําไปใช้ในการสื่อสาร อ้างอิงได้อย่างเหมาะสม พัฒนาทักษะการอ่าน เพื่อให้ เกิดความรอบรแู้ ละเป็นประโยชน์ในการศึกษาตอ่ การประกอบอาชพี และมีนสิ ัยรักการอา่ น ผลการเรยี นรทู้ ่ีคาดหวงั ๑. อธบิ ายความหมายของการอา่ นเพือ่ ศึกษาคน้ คว้าได้ ๒. บอกความแตกต่างระหว่างการอา่ นตคี วาม การอ่านแปลความ และการอา่ นสรปุ ใจความได้ ๓. บอกความหมายของการอ่านข่าว การตีความขา่ ว และการวเิ คราะห์คณุ คา่ ข่าวได้ ๔. บอกส่วนประกอบและประเภทของบทความได้ ๕. บอกประเภทของสารคดีและแนวทางการพจิ ารณาคณุ ค่าของสารคดไี ด้ ๖. บอกความแตกต่างระหว่าง บทประพนั ธ์ กับ กวีนิพนธ์ ได้ ๗. บอกความหมายของเพลงกลอ่ มเดก็ เพลงลกู ทุ่งไทย ได้ ๘. สามารถวเิ คราะห์บทเพลงของสนุ ทราภรณ์ได้ ๙. บอกประโยชน์และวิธีการหาข้อมลู ทางอินเตอรเ์ น็ตและสามารถนําไปใช้ในชวี ิตประจําวนั ได้ ๑๐. สามารถบอกขอ้ มลู ในการใหบ้ รกิ ารของหอ้ งสมดุ ประชาชน สาํ นกั งานอุทนยานการเรยี นรู้ หอสมดุ แห่งชาติ และห้องสมดุ เฉพาะ ได้ ๑๑. บอกคําศพั ท์เฉพาะของอาชีพต่าง ๆ ได้ ขอบข่ายเนอื้ หา บทที่ ๑ การอ่านเพอื่ ศึกษาค้นคว้าและนําไปใช้ในชวี ติ ประจาํ วัน บทที่ ๒ การอา่ นตีความ แปลความ และสรุปใจความสาํ คญั บทที่ ๓ การอ่านข่าว บทที่ ๔ การอา่ นบทความ บทที่ ๕ การอ่านสารคดี บทที่ ๖ การอ่านบทประพนั ธ์ / กวีนิพนธ์
บทท่ี ๗ การอ่านเพลง บทที่ ๘ การอ่านตาํ ราเชงิ วิชาการ บทท่ี ๙ การอ่านและค้นควา้ หาขอ้ มลู ทางอินเทอรเ์ น็ต บทท่ี ๑๐ แหลง่ ศึกษาค้นคว้าหาขอ้ มูลหอ้ งสมุดประชาชน บทท่ี ๑๑ การอ่านเพื่อนาํ ไปใช้ในการประกอบอาชีพตา่ ง ๆ
การอ่านเพอื่ การเรียนร้ตู ลอดชวี ิต | ๑ แบบทดสอบกอ่ นเรียน คาํ ชแี้ จง ให้นักศกึ ษาเลอื กข้อที่ถกู ต้องที่สดุ เพยี งขอ้ เดยี ว ๑. การอ่านเพอ่ื ใหไ้ ดภ้ าพรวมของเน้อื หาเรอ่ื งตอนนัน้ ๆ เรยี กว่าการอ่านแบบใด ก. การอา่ นอยา่ งตั้งใจและมีจดุ มุ่งหมาย ข. การอ่านแบบกวาดสายตา ค. การอ่านแบบคร่าว ๆ ง. การอา่ นอย่างละเอียด ๒. การอ่านตีความ หมายถงึ อะไร ก. เป็นการอา่ นและความสามารถเฉพาะตัวผเู้ รียน ผอู้ ่าน ข. เม่ืออา่ นแลว้ สามารถนาํ ไปเลา่ เร่อื งใหผ้ ู้อน่ื ฟังได้ ค. การอ่านอยา่ งละเอียด อาศยั การวเิ คราะหแ์ ยกแยะได้ ง. การรู้เร่อื งในการอ่านหนังสือแตล่ ะประเภท ๓. “ข่าว” ตามพจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑิตยสถานคือขอ้ ใด ก. การตพี มิ พใ์ นหนังสือพิมพ์ทกุ วัน ข. คําบอกเลา่ เรือ่ งโดยปกติมักเป็นเรอื่ งทเ่ี กิดขึน้ ใหม่ทน่ี ่าสนใจ ค. เหตกุ ารณ์ทเ่ี กิดขึน้ ในอดตี ท่นี า่ สนใจมาให้ผอู้ ่านทราบ ง. การคัดเลอื กเหตุการณส์ ําคญั จรงิ ๆ ในช่วงระยะเวลาหน่ึง ๔. ส่วนประกอบของบทความมี ๓ ส่วน คือ ก. สารคด-ี บทความ-หนังสือพิมพ์ ข. เนื้อเรอื่ ง-สรุป-บรรณานุกรม ค. คาํ นาํ -สารบัญ-เน้ือเรอ่ื ง ง. ส่วนนํา-เน้อื เร่ือง-สรปุ ๕. ข้อใดไมใ่ ชป่ ระเภทของสารคดี ก. บทความ ข. การค้า ค. วิชาการ ง. การท่องเทีย่ ว
การอ่านเพ่อื การเรียนร้ตู ลอดชวี ิต | ๒ ๖. องคป์ ระกอบทส่ี ําคัญของงานประพันธ์ คอื อะไร ก. จุดมุง่ หมายและภาษา ข. แนวคดิ และรูปแบบ ค. เนอื้ หาและรปู แบบ ง. ภาษาและแนวคิด ๗. เพลงกล่อมเดก็ ภาคใตเ้ รียกว่าอะไร ก. เพลงชาน้อง ข. เพลงอ่ือ อ่อื จา จา ค. เพลงสกิ จุงจา ง. เพลงร้องเรอื ๘. การอ่านตําราเชงิ วิชาการ เปน็ การอ่านตามขอ้ ใด ก. การอา่ นเพือ่ ความเพลดิ เพลินบนั เทงิ ใจ ข. เปน็ การอา่ นเพื่อสอบเลือ่ นชนั้ หรือระดับ ค. เป็นการอา่ นเพ่ือการศึกษาคน้ คว้าดา้ นวิชาการ ง. การอ่านเพือ่ ฝึกทกั ษะการเจริญเตบิ โตของรา่ งกาย ๙. “อินเตอรเ์ น็ต” มีขอ้ เปรยี บเทียบไดต้ ามข้อใด ก. เครือ่ งสมองกล ข. การศกึ ษาตลอดชวี ติ ค. ขมุ ทรพั ยข์ อ้ มลู ขา่ วสาร ง. ขุมทรพั ยส์ ดุ ขอบฟ้า ๑๐. ส่ิงทส่ี าํ คญั ท่ีสดุ ในการคน้ คว้าหาความร้ทู ี่หอ้ งสมดุ ประชาชนคอื อะไร ก. ศกึ ษาเจา้ หน้าท่ีบรรณารกั ษ์ ข. ระยะทางเดนิ ทางไปห้องสมดุ ค. จะตอ้ งมีความรู้เร่ืองแหลง่ ขอ้ มลู ง. จาํ นวนหนังสอื ของห้องสมุด
การอา่ นเพ่ือการเรยี นร้ตู ลอดชีวติ | ๓ บทที่ ๑ การอ่านเพอ่ื ศึกษาค้นคว้าและนําไปใช้ในชวี ิต การอ่านเพ่ือการศึกษาค้นคว้าและนําความรู้จากการอ่านไปใช้ในชีวิตประจําวันนั้น ใน ขั้นตอนแรก ควรกลา่ วถงึ วิธีการอ่านแบบต่าง ๆ ๓ แบบ คือ ๑. การอ่านแบบครา่ ว ๆ คอื การอา่ นเพอ่ื ให้ไดภ้ าพรวมของเนอื้ หา เรื่องตอนนัน้ หรือสํารวจ เนอื้ หากว้าง ๆ เปน็ การอ่านอย่างรวดเรว็ แตต่ อ้ งจับใจความสาํ คญั ของเนือ้ หาตอนนน้ั ๆ ได้ ครบถ้วน ข้ันแรก คือ การสํารวจรูปเล่ม เช่น ช่ือเร่ือง ช่ือผู้แต่ง เลขมาตรฐานสากลประจําหนังสือ (ISBN) ครั้งทพ่ี มิ พ์ สาํ นักพมิ พ์ ราคา และหวั ข้อเรื่อง เพื่อใช้ในการเลอื กหนงั สือ ข้ันต่อมา คือ การอ่านเนื้อหาทั้งหมดอย่างรวดเร็ว โดยหาใจความสําคัญของเร่ืองการอ่าน แบบครา่ ว ๆ ทาํ ใหเ้ ราสามารถอ่านหนงั สอื ไดจ้ ํานวนเล่มมากขึน้ ๒. การอ่านแบบกวาดสายตา คือการอ่านเพื่อค้นคว้าเร่ืองที่อ่านโดยใช้วิธีกวาดสายตาอย่าง รวดเร็วทีละ ๒-๓ บรรทัด เพื่อหาแบบเจาะจงในสิ่งที่ตนต้องการ เช่น การค้นหาคําในพจนานุกรม การค้นหาหวั ข้อหนงั สือในสารบัญ การอ่านแบบกวาดสายตาชว่ ยใหห้ าสิง่ ทตี่ ้องการเรว็ ขึ้น ๓. การอ่านอย่างละเอียด คือ การอ่านอย่างละเอียด เป็นการอ่านขั้นสุดท้าย หลังจากที่ ผู้อ่านใช้วิธีการแบบคร่าว ๆ การอ่านแบบกวาดสายตา การอ่านอย่างพินิจพิเคราะห์ คือ การตีความ เนื้อหาอยา่ งละเอียด การอ่านหนงั สอื เพือ่ ศึกษาค้นควา้ หนงั สือหรอื เอกสารเพื่อศกึ ษาค้นคว้ามีหลกั การอ่าน ดงั นี้ ๑. ตําราเรียน ใช้เป็นส่ือกลางระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน เพ่ือประกอบการเรียนการสอน ควรเลือกตําราที่ทันสมัยและมีเนื้อหาครบถ้วน ผู้อ่านควรมีสมาธิในการอ่าน และอ่านมากกว่าหนึ่ง เท่ียวเพอื่ ที่จะทบทวนและจดบันทกึ สาระสาํ คญั ไว้ด้วย ๒. หนังสืออ่านประกอบ เป็นหนังสือที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับวิชาในหลักสูตรที่เรียน การอ่าน หนังสือประกอบช่วยให้ผเู้ รียนหรอื ผู้อา่ นมคี วามรู้ และมโี ลกทรรศน์กว้างไกลมากกว่าความรู้ท่ีได้รับใน ตําราเรียน การอ่านควรเลือกอ่านหัวข้อที่เก่ียวข้องหรือประโยชน์ต่อวิชาที่เรียน รวมทั้งจดบันทึกท่ีมา ของขอ้ มลู ไวด้ ว้ ย ๓. หนังสืออ้างอิง ได้แก่ พจนานุกรม สารานุกรม นามานุกรม ดรรชนีวารสาร หนังสือ ประจําปี ฯลฯ ซ่ึงผู้อ่านควรเลือกใช้ตามความต้องการ และตามความเหมาะสม เพื่อค้นคว้าข้อมูล นําไปเป็นหลักฐานอ้างอิงการอ่านหนังสือประเภทนี้ จึงจําเป็นต้องค้นคว้าและจดบันทึกข้อมูลให้ ถกู ตอ้ งเป็นสําคัญ
การอ่านเพื่อการเรยี นรู้ตลอดชวี ิต | ๔ วิธีอา่ นเพ่ือต้องการศึกษาคน้ ควา้ เม่ือเราต้องการศึกษาค้นคว้า หนังสือท่ีต้องการ เราจะต้องรู้ว่าต้องการศึกษาอะไร แล้วจึง เลือกหาหนังสือที่จะค้นคว้า โดยการพิจารณาจากประเภทของหนังสือ เม่ือได้หนังสือที่ต้องการแล้ว จะตอ้ งพจิ ารณาจากสว่ นประกอบท่สี าํ คญั ของหนงั สือ เพอ่ื ให้เกิดประโยชน์ทางการศกึ ษาโดยตรง ดงั นี้ ๑. คํานํา จะเป็นส่วนท่ีผู้แต่งหนังสือจะบอกถึงจุดมุ่งหมายในการแต่ง สาระสําคัญของเรื่อง และบางครงั้ ยังบอกวธิ กี ารใช้หนังสอื ไวใ้ นคาํ นาํ จงึ ทําให้ร้จู ักผแู้ ต่งไดม้ ากขน้ึ ๒. สารบัญ จะเป็นตัวบอกขอบเขต ของเนื้อหา ว่ากล่าวถึงอะไรบ้างลําดับก่อนหลังของ เนอื้ หา และสว่ นประกอบของหนังสือ เช่น ภาคผนวก ดัชนี เป็นต้น ดังนั้น หน้าสารบัญที่ละเอียดจึงมี สว่ นช่วยอาํ นวยความสะดวกในการศกึ ษาคน้ ควา้ แก่ผอู้ า่ น หนังสือไม่จําเป็นจะต้องมีสารบัญทุกเล่ม แต่สารบัญจําเป็นต้องมีในหนังสือท่ีมีเน้ือหา หลากหลายเร่ืองรวมอยู่ในเล่มเดียวกัน เช่น นิตยสาร วารสาร หรือหนังสือเพ่ือการค้นคว้า เป็นต้น หนงั สือท่ไี มจ่ าํ เปน็ ต้องมีสารบญั เช่น นวนิยาย บทละคร นิทาน เป็นต้น ๓. บัญชีตารางและบัญชีภาพ มีหนังสือบางประเภท เช่น รายงานการวิจัย ตํารา และ เอกสารทางวิชาการ เพ่ือบอกให้ผู้อ่านทราบว่า ตารางแสดงสถิติ ตัวเลข แผนภูมิ หรือภาพประกอบ อยูใ่ นหน้าใดของหนังสอื จะช่วยให้ศกึ ษาไดส้ ะดวกยิ่งขน้ึ ๔. เนื้อหา สําหรับการอ่านเพื่อการศึกษาค้นคว้า ผู้ศึกษาจะต้องรู้ว่า ตนเองต้อการท่ีจะ ค้นคว้า อย่างละเอียดทั้งเร่ืองหรือต้องการค้นคว้าเฉพาะเรื่อง หากจะค้นคว้าท้ังเรื่อง ผู้อ่านจะต้อง พยายามจับใจความสําคัญในแต่ละย่อหน้าและแต่ละบทให้ได้ เมื่ออ่านจบต้องสามารถสรุปเน้ือหาใน แต่ละยอ่ หน้าเรยี บเรยี งเป็นหนึง่ บท และสามารถเรียบเรียงแต่ละบทสรปุ เป็นเรอื งเดยี่ วกนั ได้ การอ่านท่ีค้นคว้าเฉพาะเร่ือง หมายถึงเร่ืองย่อย ๆ ที่กล่าวในบางตอนของหนังสือหรือ วารสารผอู้ า่ นต้องเลอื กเน้อื หาโดยอาศัยสารบญั เปน็ สําคัญ สิง่ ทีค่ วรจะฝกึ ให้เป็นนิสัยคือ อ่านให้ตลอด ทีละย่อหน้า จับใจความของย่อหน้าน้ัน ๆ ให้ได้เม่ืออ่านจบจึงค่อยสรุปใจความสําคัญออกมาเป็นหน่ึง บท เชน่ เดียวกบั การคน้ คว้าทั้งเร่อื ง การค้นคว้าท้ังสองแบบ น้ัน ควรจะใช้การบันทึกประกอบด้วย เพื่อให้เกิดการศึกษาท่ีเป็น ระบบ จะช่วยอํานวยความสะดวกแกก่ ารลาํ ดบั ความสาํ คญั และการจดจํา ๕. ภาคผนวก รวบรวมเนื้อหาท่ีอ้างอิงและข้อเขียนท่ีหาอ่านได้ยากไว้ท้ายเล่ม แม้ไม่ใช้ เนอ้ื หาโดยตรงทแี่ ท้จริง แต่จะชว่ ยขยายความรู้ ความเข้าใจ และความคิด เกี่ยวกับเนื้อหาได้มาก ๖. บรรณานุกรม คือหนังสืออ้างอิงท่ีผู้แต่งใช้ประกอบในการเขียนหนังสือเรื่องนั้น เรยี งลาํ ดับไวต้ ามตัวอักษรช่อื ผแู้ ต่ง ผศู้ ึกษาคน้ คว้า ควรดูรายละเอียดในส่วนนีด้ ้วย ๗. ดัชนี คือ ส่วนสุดท้ายของหนังสือ ช่วยการในการหาเนื้อหาท่ีต้องการศึกษา สําหรับ ผูศ้ ึกษาท่มี เี วลาน้อย จะรวบรวมเอาช่ือและคําต่าง ๆ ทีม่ ีในหนงั สือ พร้อมกบั บอกหมายเลขหนา้ เอาไว้
การอา่ นเพื่อการเรียนร้ตู ลอดชีวิต | ๕ แบบฝึกหดั ทบทวนบทท่ี ๑ คาํ ชี้แจง จงเติมคาํ ลงในช่องว่างใหไ้ ด้ใจความทสี่ มบูรณ์ ๑. วิธีอา่ นมี ๓ รูปแบบ คอื อะไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. การอ่านหนังสือเพอ่ื ศกึ ษาคน้ คว้า มี ๓ อยา่ ง คอื ๒.๑…………………………………………………………………………………………………………………………......... ๒.๒…………………………………………………………………………………………………………………………......... ๒.๓………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓. วิธีอ่านเพ่ือการศกึ ษาคน้ คว้า มี ๗ ประการ คอื ๓.๑…………………………………………………………………………………………………………………………......... ๓.๒…………………………………………………………………………………………………………………………......... ๓.๓…………………………………………………………………………………………………………………………......... ๓.๔…………………………………………………………………………………………………………………………......... ๓.๕…………………………………………………………………………………………………………………………......... ๓.๖…………………………………………………………………………………………………………………………......... ๓.๗………………………………………………………………………………………………………………………….........
การอา่ นเพือ่ การเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ | ๖ แบบทดสอบบทท่ี ๑ เรอ่ื ง การอ่านเพ่ือศึกษาคน้ คว้าและนําไปใช้ในชวี ิต คาํ ช้ีแจง จงเลอื กคาํ ตอบทีถ่ กู ต้องท่ีสุด ๑. การอา่ นเพ่อื ให้ได้ภาพรวมของเนอื้ หาเรอ่ื งตอนน้ัน ๆ เรียกว่าการอ่านแบบใด ก. การอ่านอย่างตั้งใจและมจี ดุ ม่งุ หมาย ข. การอ่านแบบกวาดสายตา ค. การอา่ นแบบคร่าว ๆ ง. การอา่ นอย่างละเอยี ด ๒. การอ่านแบบใดควรอ่านทลี ะ ๒-๓ บรรทดั ก. การอา่ นอย่างตงั้ ใจ ข. การอ่านแบบกวาดสายตา ค. การอา่ นแบบคร่าว ๆ ง. การอ่านอย่างละเอยี ด ๓. การอ่านแบบใดเป็นการอา่ นอย่างพนิ ิจพิเคราะห์ ก. แบบคร่าว ๆ ข. แบบกวาดสายตา ค. การอา่ นอย่างต้งั ใจ ง. การอ่านอย่างละเอียด ๔. ถา้ หากนกั ศึกษาจะเลอื กอ่านหนงั สือเป็นสอื่ กลางระหวา่ งผสู้ อนกบั ผเู้ รยี นควรอา่ นตามข้อใด ก. ตาํ ราเรียน ข. หนงั สอื อ้างอิง ค. หนงั สอื อ่านประกอบ ง. หนงั สือสารานกุ รม ๕. หนงั สือทมี่ เี น้ือหาเก่ียวขอ้ งกบั วชิ าในหลกั สูตรท่ีเรยี น แตช่ ว่ ยให้ผ้เู รียนมคี วามรเู้ พม่ิ ข้นึ จาก ตําราเรยี น คอื ขอ้ ใด ก. หนงั สืออา้ งองิ ข. หนงั สอื พจนานุกรม ค. หนังสอื สารานุกรม ง. หนงั สอื อา่ นประกอบ
การอา่ นเพือ่ การเรยี นรตู้ ลอดชีวติ | ๗ ๖. หนงั สอื อ้างอิง ไดแ้ ก่ หนงั สอื ประเภทใด ก. นามานุกรม ข. วารสาร ค. นวนยิ าย-เรอื่ งสั้น ง. หนังสอื อา่ นประกอบ ๗. การอา่ นหนังสอื เพอื่ การศึกษาคน้ ควา้ ควรอ่านสว่ นใดของหนังสือกอ่ น ก. บรรณานกุ รม-ดชั นี ข. บัญชีตาราง ค. คาํ นาํ ง. สารบญั ๘. หนังสอื ทีไ่ มจ่ ําเปน็ ตอ้ งมีสารบญั คอื เล่มใด ก. วิทยานิพนธ์ ข. นวนยิ าย ค. วารสาร ง. ตํารา ๙. “บัญชีตารางและบญั ชภี าพ” จะมีปรากฏอยใู่ นตําราประเภทใด ก. ตาํ ราอาหาร ข. ทาํ เนยี บรนุ่ ค. วารสาร ง. รายงานการวจิ ยั ๑๐. สว่ นใดของหนังสือวชิ าการใชส้ ําหรับอา่ นเพ่ือศกึ ษาคน้ คว้า ก. สารบัญ ข. เนือ้ เร่ือง ค. ภาคผนวก ง. บรรณานกุ รม
การอ่านเพื่อการเรียนร้ตู ลอดชีวิต | ๘ บทที่ ๒ การอ่านตคี วาม แปลความ และสรปุ ใจความสาํ คญั การอ่านตคี วามเป็นการอ่านขั้นที่ต้องใช้ความคิดสูงอีกระดับหน่ึง กล่าวคือ เม่ืออ่านวิเคราะห์ แลว้ ผู้อา่ นจะต้องพิจารณาอีครั้งหนึ่งว่าสาระสําคัญท่ีสุดซึ่งผู้เขียนต้ังใจจะบอกแก่ผู้อ่านน้ันได้แก่อะไร เป็นเร่ืองเกี่ยวกับอะไร ทั้งน้ีผู้เขียนอาจใช้กลวิธีต่าง ๆ กันไป เช่น อาจกําหนดให้ตัวละครแสดง พฤติกรรมต่าง ๆ ออกมาแล้วแต่การจินตนาการของผู้เขียน อน่ึง ในการอ่านตีความ นอกจากจะต้อง ตีความท้ังเรื่องแล้ว ในแต่ละช่วงก็อาจต้องตีความด้วย โดยเฉพาะอย่างย่ิงผู้เขียนได้แฝงจุดสําคัญท่ี จําเป็นจะต้องตีความไว้ แต่ถ้าในช่วงใดเป็นเพียงการบอกเร่ืองราวท่ีเป็นข้อเท็จจริงล้วน ๆ มี ความหมายตรงไป ตรงมา กไ็ ม่จําเปน็ ต้องตีความ เพาะเน้ือความชดั เจนอย่แู ลว้ การอ่านตคี วาม การอ่านตีความเป็นการอ่านขั้นสําคัญที่ทําให้เข้าใจงานเขียนทุกชนิด เพราะเป็นการอ่านละเอียด จะต้องอาศัยความรู้ การสังเกตประสบการณ์และการวิเคราะห์วิจารณ์ของผู้อ่านใช้จินตนาการช่วยใน การแสวงหาความหมายซ่อนเร้นทีก่ วีแฝงไวใ้ นวรรณกรรม การอา่ นตคี วาม ผอู้ า่ นต้องอาศยั ความรรู้ อบตัว คือ ต้องเปน็ คนทันโลก ทันเหตุการณ์ ตอ้ งอาศยั ความรนู้ อกเหนือจากเรอื่ งทีอ่ ่านดว้ ยจึงจะเขา้ ใจได้ง่ายข้นึ ลักษณะสําคัญของการอ่านตีความ คือ การอ่านอย่างละเอียดทุกตัวอักษรไม่ข้ามแม้แต่ บรรทัดเดียว และยังต้องพยายามอ่าน “ความหมายระหว่างบรรทัด” รวมทั้งสามารถแยกแยะสิ่งท่ี เป็นความคิดเห็น อารมณ์ และความรู้สึกของผู้เขียนท่ีปรากฏในงานเขียนให้ชัดเจนอีกด้วย ผู้ท่ีอ่าน หนงั สือและร้จู ักการตีความจะไดร้ ับประโยชน์จากการอา่ นอย่างคุม้ ค่า” การอา่ นตคี วามจึงเปน็ การอา่ นทมี่ ปี ระโยชน์ ทาํ ให้ผู้อ่านเขา้ ใจเนื้อหาสาระของเร่ืองได้ถูกต้อง และลึกซึ้งขึ้น โดยเฉพาะงานเขียนท่ีมีความหมายแฝงหรือความหมายหลายนัย ซ่ึงส่วนใหญ่จะเป็นกวี นิพนธ์ เร่ืองส้ัน หรือนวนิยาย ถือว่าเป็นงานเขียนท่ีมีคุณค่าทางวรรณศิลป์ การตีความงานเขียน ประเภทนอ้ี าจตอ้ งอาศยั อารมณ์ นาํ้ เสยี งและจนิ ตนาการของผ้เู ขียนประกอบ ความหมายของการอา่ นตีความ การอ่านตีความ คือ การอ่านที่ผู้อ่านจะต้องใช้สติปัญญาตีความหมายของคําและข้อความ ทั้งหมด โดยพิจารณาถึงความหมายโดยนัย ซ่ึงผู้อ่านจะตีความหมายของคําสํานวนได้ถูกต้องหรือไม่ นั้นจําเป็นต้องอาศัยเน้ือความแวดล้อมของข้อความนั้น บางครั้งต้องอาศัยความรู้เกี่ยวกับเหตุการณ์ ปัจจุบนั เปน็ เครอื่ งชว่ ยตัดสิน
การอ่านเพื่อการเรยี นรูต้ ลอดชีวิต | ๙ หลักเกณฑ์การอา่ นตคี วาม มดี ังนี้ ๑. อ่านเรอื่ งตคี วามนน้ั ให้ละเอยี ด แลว้ พยายามจับประเดน็ สําคัญให้ได้ ๒. ขณะอ่านต้องพยายามคิดหาเหตุผล และใคร่ครวญอย่างรอบคอบ แล้วนํามาประมวลเข้า กับความคดิ ของตนเองวา่ ข้อความหรือเร่ืองนัน้ มีความหมายถึงสิง่ ใด ๓. พยายามทําความเข้าใจกับถ้อยคําที่เห็นว่ามีความสําคัญและจะต้องไม่ลืม ตรวจดูบริบท หรือสิ่งแวดล้อมดว้ ยว่าได้กาํ หนดความหมายของคาํ น้นั อย่างไร ๔. ต้องระลึกไว้เสมอว่า การตีความไม่ใช่การถอดคําประพันธ์เพราะการตีความเป็นการจับ เอาแต่ใจความสําคญั และคงไวซ้ ึ่งคาํ ของข้อความเดิม ๕. การเขียนเรยี บเรยี งถ้อยคําที่ได้จากการตคี วามนัน้ จะตอ้ งให้มคี วามหมายชัดเจน ๖. การตคี วาม ควรตคี วามตามความรู้ ความคดิ ของเราเอง คนอ่นื ไมจ่ าํ เปน็ ตอ้ งเห็นด้วย ตวั อย่างการตคี วาม “เห็นช้างขี้ อยา่ ขี้ตามชา้ ง” ตีความได้วา่ จะทาํ อะไรควรดฐู านะของตน ไมค่ วรเอาอยา่ งคนทม่ี ฐี านะดีกว่าเรา ตวั อยา่ งการตคี วามข่าว เรอ่ื ง “คนหวั คิดทนั สมัย” โพธิพงษ์ ล่ําซํา ประธานกรรมการ บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จํากัด และนางจันทรา บูณฤกษ์ เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับและดูแลส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) เป็นประธานในพิธีจัดพิธีมอบรางวัลเกียรติยศ ฝ่ายขายประจําปี ๒๕๕๓ ให้แก่ ยอดนักขายบริษัท ทโ่ี รงแรม รอยัล คลิฟ บชี พทั ยา จงั หวัดชลบรุ ี เมือ่ เรว็ ๆ นี้ (ไทยโพสต์ ศกุ รท์ ่ี ๑๘ มนี าคม ๒๕๕๔) ขอ้ ความตีความขา่ ว คนหัวคิดทันสมัย หมายถึง คนท่ีมีความคิดสร้างสรรค์ทันยุคทันสมัยเหตุการณ์ในงานท่ีตนเอง ทาํ อยู่ ยอดนักขาย หมายถึง ผู้ที่มีอาชีพการขายประกันชีวิตที่มียอดขายตามเป้าหมายที่บริษัทได้ ตั้งเกณฑ์ไว้ รางวัลเกียรติยศ หมายถึง รางวัลท่ีบริษัทเมืองไทยประกันชีวิตจํากัดได้จัดทําข้ึนเพื่อมอบให้ ยอดนกั ขายบรษิ ทั ตามที่กาํ หนดไว้
การอา่ นเพือ่ การเรียนรู้ตลอดชวี ติ | ๑๐ ตวั อยา่ งการตคี วามบทประพนั ธ์ “เพราะฉันช่อื วทิ ยากร เชยี งกลู ” เพราะฉนั ชือ่ วทิ ยากร เชยี งกลู วนั หน่งึ ฉันน่ังอยู่ท่ีเนินเขาลกู เลก็ ๆ บนเกาะและมองเหน็ ฟา้ สฟี ้า ทะเลสนี ้ําทะเล เมฆสเี มฆ นกสีนก เมฆลอยไปชา้ ๆ นกบินอยา่ งมิรเู้ หน็ดเหนอื่ ย ทะเลไหวเปน็ ระลอกน้อย ๆ ฟา้ สว่างสดใส ทะเลอาจจะลาํ้ เขา้ ไปในอาณาจกั รของฟา้ ดอกไมส้ ีดอกไมช้ ชู ่ออยบู่ นแผ่นดนิ กอ้ นหนิ สีก้อนหนิ ท่ชี ายนํ้า โผลส่ ่วนบนออกมารบั แสงแดดทรายสที ราย ระยับอยู่บนหาด กง่ิ มะพร้าวสมี ะพรา้ วแกวง่ ไปตามสายลม ทกุ สงิ่ ทกุ อยา่ งดชู ่างสะอาด ดชู ่างงดงามราวกับยนิ ดี ในคนื ท่ีอากาศเย็นสบาย ไมม่ ีความขัดแยง้ ไม่มีความเหลอ่ื มลํ้า ไม่มีการรบกวน สอดแทรกกัน ต่างคนตา่ งสามารถท่จี ะอยอู่ ยา่ งทเี่ ขาอยากอยู่ ต่างคนต่างมสี งิ่ เก่ียวข้องพง่ึ พากัน แต่ต่างคนกเ็ ป็นอิสระ แตว่ นั นี้ ฉนั น่ังอย่บู นอาคารคอนกรตี ช้ันส่ี สมี วั ซัว มองลงไปสูค่ วามสบั สบั สนว่นุ วายข้างล่าง และเห็นคนท่ีไม่ใชส่ ีคน วิทยากร เชยี งกูล การตีความ “เพราะฉนั ช่อื วทิ ยากร เชยี งกูล” งานประพันธ์นี้เป็นงานกลอนเปล่า ใช้คําศัพท์สามัญท่ีเข้าใจง่าย มีวิธีบอกสีที่แปลกไปจากภาษาที่ เข้าใจกัน โดยท่ัวไป ได้แก่ฟ้าสีฟ้า ทะเลสีทะเล เมฆสีเมฆ นกสีนก ดอกไม้สีดอกไม้ ก้อนหินสีก้อนหิน ทรายสีทราย กิ่งมะพร้าวสีมะพร้าว การใช้คําบอกสีเช่นน้ีเป็นการอธิบายว่า ปรากฏการณ์แห่งธรรมชาติ ดําเนินไปตามภาวะธรรมชาติ และขยายความ ได้ว่า สรรพส่ิงในธรรมชาติเป็นไปในลักษณะพ่ึงพาอาศัยกัน ผู้ประพันธ์จึงแสดงความหวังว่า คนควรปฏิบัติต่อกันเฉกเช่นน้ัน มิใช่สภาพปัจจุบันที่ “คนท่ีไม่ใช่สีคน” ซึ่งแสดงใหเ้ ห็นว่า มนษุ ย์เบยี ดเบียนมนษุ ยด์ ว้ ยกนั ภาษาทก่ี ลา่ วถงึ ในการตคี วามนน้ั มิไดร้ ะบุเฉพาะภาษาท่ีใช้กันเท่าน้ัน แต่รวมถึงภาษาท่าทาง โดยเฉพาะภาษาที่ใช้คําพูด (ภาษาท่าทาง) บางครั้ง “เล่าถึง” มากกว่าถ้อยคําคําบรรยาย ปัจจุบันนัก
การอา่ นเพ่อื การเรียนรู้ตลอดชวี ติ | ๑๑ ประดิษฐ์บางคน นําภาษาท่าทาง (อวัจนภาษา) และภาษาพูดมาสื่อสารรวมกัน ซึ่งเป็นความแปลก ใหม่ท่นี า่ สนใจ ตวั อย่างการยอ่ ความ ตคี วามและสรุปความ ขอ้ ความ: ฝรั่งชอบเลน่ จง้ิ หรีด.....เรยี กจง้ิ หรีดวา่ Cricket คนจีนเรียกจิง้ หรดี วา่ ...ซีสวย แตจ้ ้ิวเรียก...เล็กสุก กวา้ งตงุ้ เรียก...ซิกซดหรอื เจก็ จ๊ด ท่เี รียกกันตา่ ง ๆ นานา นนั้ ขน้ึ อยู่กับวา่ ใครจะได้ยนิ จิ้งหรดี กรีดเสียงออกมาอย่างไร จากปีกของมันที่กระทบ จนเป็นเสยี งดังล่ัน (สุขสนั ต์ วิเวกเมธากร) ย่อความ : ชาวตะวันตกและชาวตะวนั ออก ล้วนชอบเล่นจ้งิ หรดี และมคี าํ เรียกจงิ้ หรีด แตกต่างกนั ตามเสยี งกรดี ปกี ที่ไดย้ นิ ตีความ : มนษุ ย์สนใจสตั ว์ทมี่ เี สยี งไพเราะ สรปุ ความ : คนแตล่ ะชาติ มคี าํ เรียกจิง้ หรีดต่างกนั
การอ่านเพ่อื การเรยี นรตู้ ลอดชีวิต | ๑๒ การอ่านแปลความ การอ่านแปลความ คือ การเปลี่ยนแปลงจากความหนึ่งไปสู่อีกความหนึ่งโดยแปลงเรื่องท่ีได้ อ่านหรือได้ฟังออกมาเป็นคําพูดใหม่หรือถ้อยคําใหม่โดยยังรักษาเนื้อหาและความสําคัญของเร่ืองเดิม ไวไ้ ด้อยา่ งครบถ้วน การแปลความจะไม่คํานึงถึงรปู แบบแผนเดิมของข้อความด้วย ความสามารถในการแปลความหมาย เป็นพ้ืนฐานของความสามารถในการตีความ การขยาย ความ การนําไปใช้ การวิเคราะห์และการสังเคราะห์ กับการประเมินค่า ถ้าอ่านหรือฟังแล้วแปล ความผิดไปจากเนือ้ ความเดมิ ก็จะทําให้การตคี วาม ขยายความหรอื อืน่ ๆ ผดิ ไปดว้ ย ข้อความ ถ้อยคํา เรื่องราวท่ีได้ยินได้อ่านที่เป็นถ้อยคําสามัญธรรมดา ก็ไม่จําเป็นต้องแปล ความ เพราะเปน็ เร่อื งงา่ ย ๆ ท่ที กุ คนสามารถทําความเข้าใจเร่อื งได้ทันทีท่ีอ่าน จึงรู้ความหมายได้แจ่ม แจง้ ตรงกัน การแปลความหมายมีหลายรปู แบบ คอื ๑. แปลศัพท์เฉพาะให้เป็นภาษาธรรมดา เป็นการแปลความหมายจากระดับหนึ่งไปสู่อีก ระดับหนึง่ เปน็ ทรงพระราชดําเนนิ = เดิน พระราชหตั ถเลขา = จดหมาย พระพกั ตร์ = ใบหน้า บปุ ผา = ดอกไม้ ถา้ ผู้อ่านไม่รู้ความหมายของศัพท์เฉพาะในข้อความตอนใดก็อาจไม่รู้ความหมายของข้อความ ตอนนัน้ ได้ ๒. แปลข้อความเดิมที่เป็นสํานวนโวหารเป็นข้อความใหม่ท่ีเข้าใจได้ง่ายข้ึน หรือ เปล่ียนแปลงใหเ้ ปน็ อกี ระดับหน่ึง เช่น ยิว – ปาเลสไตน์เจรจายงั ไมก่ ้าวหนา้ สหรฐั ฯ ลุน้ จนสุดใจได้ “โอเค” การเจรจาระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์ไม่คืบหน้า สหรัฐอเมริกา พยายามอย่างเต็มท่ีใน การไกลเ่ กลย่ี เพ่อื จะให้ตกลงกันได้ กระดกู สนั หลงั ของประเทศเจอโรคจขู๋ องขา้ ว ชาวนาประสบปัญหาโรคข้าวชะงักการเจริญเตบิ โต
การอา่ นเพอื่ การเรยี นรูต้ ลอดชวี ติ | ๑๓ ๓. แปลสาํ นวน สภุ าษติ คาํ พังเพย หรอื คาํ ร้อยกรอง คาํ ภาษาบาลี สันสกฤตทไี่ ทยนํามาใช้ ใหเ้ ปน็ ภาษาสามญั หรอื ในทางกลับกัน เช่น ธมฺโม หเว รกขฺ ติ ธมมฺ จารี = ธรรมยอ่ มรกั ษาผูป้ ระพฤตธิ รรม พศิ พกั ตร์ผ่องเพยี งบหุ ลนั ฉาย = ใบหนา้ ยคุ ผอ่ งราวกับแสงจันทร์ ความร้ทู ่วมหัวเอาตัวไมร่ อด = มวี ชิ าความรู้มากแต่ไมส่ ามารถพาตนเองให้ รอดพน้ จากความจนได้ ๔. แปลสัญลกั ษณต์ ่าง ๆ เชน่ หมายถึง เพศชาย > หมายถงึ มากกวา่ หมายถงึ เพศหญิง • • หมายถึง ตัว ก •• °° (อกั ษรเบรลล)์
การอ่านเพ่ือการเรียนร้ตู ลอดชีวิต | ๑๔ การอา่ นสรุปใจความ การอ่านสรุปใจความสําคัญ คือ อ่านแล้วสามารถจับใจความสําคัญในเนื้อเรื่องท่ีอ่าน แล้วสรุปสาระสําคัญเป็นข้อความสั้น ๆ ได้ และสามารถถ่ายทอดให้ผู้อ่านเข้าใจได้โดยการพูดหรือ การเขยี น การสรุปความ คือ การย่อความชนิดหนึ่ง แต่เป็นการย่อโดยมีจุดมุ่งหมายเฉพาะเรื่อง ซ่ึงวธิ กี ารใดทีใ่ ช้ในการยอ่ ความ ก็อาจจะนาํ มาใชไ้ ด้กบั การสรุปความเหมือนกนั วิธสี รปุ ใจความสาํ คัญ มลี ําดับข้นั ต่อไปนี้ ๑. ข้ันอ่าน อ่านข้อความของเรื่องทั้งหมดให้เข้าใจตั้งแต่ต้นจนจบอย่างน้อย ๒ เท่ียว เพ่ือให้ ไดใ้ จความสาํ คญั ทผ่ี ้อู า่ นจะตอ้ งจบั ประเดน็ ใหไ้ ด้ ๒. ขน้ั คิด ๑) คิดออกมาเป็นคาํ ถามในใจวา่ อะไร คอื จดุ สาํ คญั ของเรอ่ื ง ๒) คิดต่อไปว่าจุดสําคัญของเรื่องมีความสัมพันธ์กับสิ่งใดบ้าง จดสิ่งน้ันไว้เป็น ขอ้ ความสนั้ ๆ ๓) คิดวธิ ีการทีจ่ ะเขียนสรุปความใหก้ ะทดั รัด และชดั เจน ๓. ขนั้ เขียน ๑) เขยี นรา่ งจากข้อความสนั้ ๆ ทจี่ ดไว้ ๒) ขัดเกลาและแต่งเติมแก้ไขข้อความที่สรุปให้เป็นภาษาท่ีสละสลวย ใช้ส่ือ ความหมายไดแ้ จม่ แจ้ง หลกั การอา่ นสรุปใจความสําคญั การอ่านสรุปใจความสําคัญ เป็นทักษะเบื้องต้นของการอ่านหนังสือ เพื่อที่จะเข้าถึงแก่นของ เร่ืองที่ผู้เขียนต้องการสื่อให้ผู้อ่านทราบ ข้อความที่สําคัญท่ีสุดเราเรียกว่า ใจความและส่วนท่ีเป็น ข้อความประกอบเรียกว่า พลความ ผู้อ่านจึงควรพิจารณาถึงส่ิงนี้จะช่วยให้การอ่านเพ่ือจับใจความ ด้วยความรวดเรว็ ขนึ้ วธิ สี รปุ ใจความสําคญั ๑. สรุปใจความจากชอื่ เรื่อง เพราะชอื่ เรือ่ งมกั จะสัมพนั ธ์กับเน้อื เรอ่ื ง ๒. หาใจความสําคัญแต่ละย่อหน้า เพราะแต่ละย่อหน้ามักจะมีใจความสําคัญเพียงใจความ เดียว หรืออาจไม่มีใจความสําคัญเลยก็ได้ ทั้งน้ีใจความสําคัญมักจะอยู่ท่ีต้นย่อหน้าหรือไม่ก็ท้ายย่อ หน้า ๓. นําใจความสําคัญ ของเรื่องมาเรียบเรียง เพื่อให้ได้เน้ือความท่ีสั้น ครบถ้วนและเนื้อหา สมบรู ณ์
การอา่ นเพอ่ื การเรียนรู้ตลอดชวี ติ | ๑๕ ตวั อยา่ งการสรปุ ความสาํ คญั เรอื่ ง เร่งวจิ ัยแมลงหนอนปลอกนํา้ ตรวจสอบคณุ ภาพนาํ้ ชีวภาพ การตรวจสอบคุณภาพนํ้าที่ใช้อยู่ในปัจจุบันมีหลากหลายรูปแบบ ทั้งการวัดค่าทางฟิสิกส์ และเคมี รวมถึงการใช้ข้อมลู ด้านความหลากหลายทางชีวภาพ หรือ การตรวจสอบคุณภาพนํ้าในเชิง ชีวภาพ หรือ การตรวจสอบคุณภาพนํ้าในเชิงชีวภาพ ซึ่งสามารถสะท้อนคุณภาพโดยรวมของปัจจัย ในแหล่งนํ้าไดเ้ ป็นอย่างดี ซ่ึงการตรวจสอบคุณภาพน้ําในเชิงชีวภาพน้ันสามารถใช้ส่ิงมีชีวิตเป็นตัวบ่งช้ีคุณภาพน้ํา โดยเฉพาะการใช้แมลงน้ํา ซึ่งเป็นสัตว์ที่มีจํานวนและชนิดมากท่ีสุด เน่ืองจากแมลงนํ้าสามารถอยู่ อาศัยได้ในน้ําแหล่งนํ้าทุกรูปแบบ มีความทนต่อสภาวะมลพิษได้แตกต่างกัน ทําให้ประเมินผล กระทบที่เกิดขึ้นในแต่ละพื้นท่ีได้ บางชนิดมีวัฏจักรชีวิตท่ียาวนาน ทําให้เห็นความแตกต่างของ ปญั หามลพษิ ที่มีตอ่ สิง่ มชี ีวติ ในชว่ งเวลาทตี่ า่ งกัน นักวิจัยด้านสิ่งแวดล้อมเห็นความสําคัญดังกล่าว จึงเร่งศึกษาชนิดของแมลงนํ้าโดยเฉพาะ “แมลงหนอนปลอกน้ํา” เพื่อความแม่นยําในการตรวจสอบคุณภาพนํ้า หวังใช้ข้อมูลชีวภาพ ประเมินคุณภาพนํ้าร่วมกับปัจจัยกายภาพและเคมี และเป็นนโยบายในการตัดสินคุณภาพน้ําผิวดิน ในอนาคต นางสาวเพ็ญศรี บรรลือ นักศึกษาปริญญาเอก ด้านความหลากหลายของแมลงหนอน ปลอกนํ้า คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหมก่ ลา่ วว่า การใช้แมลงหนอนปลอกนํ้าตัวเต็มวัย ที่ สามารถระบุชนิดได้จะทําให้ข้อมูลแม่นยําและเช่ือถือได้มากยิ่งข้ึน ซึ่งการศึกษาแมลงหนอนปลอก นํ้าในประเทศไทยถือว่ามีก้าวหน้ามาก เมื่อเทียบกับแมลงกลุ่มอ่ืน ๆ ปัจจุบันสามารถจําแนกชนิด ของแมลงหนอนปลอกน้ําที่พบทั้งหมดในประเทศได้ถึง ๑,๐๐๐ ชนิด กว่า ๗๕ % เป็นชนิดที่ค้นพบ ใหมโ่ ดยสมาชกิ ในหน่วยวิจยั ตดิ ตามตรวจสอบคณุ ภาพสงิ่ แวดลอ้ ม ด้าน นางสาวอรอุมา ศุภศรี นักศึกษาปริญญาโทด้านแมลงน้ําและคุณภาพนํ้าสาขาวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโยลีส่ิงแวดล้อม สายวิชาวิทยาศาสตร์ และคณะศิลปศาสตร์และ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกําแพงแสน ได้วิจัยความหลากหลายของชนิด ของแมลงหนอนปลอกน้ําในบริเวณลุ่มแม่น้ําแม่กลองตอนบน และตอนล่าง ระหว่างเดือนกันยายน ๒๕๕๒ ถึงเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๕๓ พบแมลงหนอนปลอกนํ้าท้ังสิ้น ๖๙ ชนิด จาก ๑๒ วงศ์ ๓๐ สกุล สามารถเชื่อมโยงตัวอ่อนท่ีไม่รู้จักชนิดกับตัวเต็มวัยที่ทราบชนิดแล้ว ๑๑ ชนิด ซึ่งเป็นการช่วยเติม เต็มองคค์ วามรเู้ กีย่ วกบั ตัวออ่ นแมลงหนอนปลอกนํ้า ทีย่ ังมกี ารศึกษาอย่างมากนกั ในประเทศไทย
การอา่ นเพอ่ื การเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ | ๑๖ “ไม่เพียงการเชื่อมโยงชนิดของตัวอ่อนกับตัวเต็มวัยเท่าน้ัน แต่การสํารวจเก็บตัวอย่างคร้ังนี้ ยังพบ ความผิดปกติของสัญฐานวิทยาของกลุ่มเหงือกในตัวอ่อนของแมลงหนอนปลอกนํ้า โดยเกิดมีจุดดํา ขึ้นบนกลุ่มเหงือกและทีจํานวนเส้นเหงือกลดลง ทั้งน้ี ความผิดปกติดังกล่าวมีความสัมพันธ์กับ คุณภาพนํ้าทางกายภาพและชีวภาพ เช่นค่าการนําไฟฟ้า ปริมาณของแข็งที่ละลายนํ้า ค่าความเป็น ด่างของน้ํา ซ่งึ ยังตอ้ งมกี ารศึกษาปจั จัยท่ที าํ ใหเ้ กิดลักษณะผิดปกติเหลา่ น้ตี อ่ ไป” อรอมุ า กล่าว อรอุมา ยังได้กล่าวอีกว่า องค์ความรู้ในเรื่องของความหลากหลายของแมลงกลุ่มนี้จะเป็น ประโยชน์สําหรับผู้ท่ีสนใจงานทางด้านส่ิงแวดล้อม เพราะได้มีการประมวลความรู้ในเร่ืองของการใช้ ขอ้ มลู ทางชวี ภาพร่วมกับข้อมลู ทางกายภาพและเคมใี นการประเมนิ คณุ ภาพนาํ้ และถ้ามีการทํางานอย่างต่อเน่ืองทําให้ทราบข้อมูลทางด้านกายภาพ เคมีและชีวภาพของ แหลง่ น้ําทีเ่ ฉพาะเจาะจงมากยิง่ ขน้ึ ในอนาคตอาจจะนําไปใช้เปน็ นโยบายในการตัดสินคุณภาพน้ําผิว ดินสําหรับประเทศไทยได้บ้าง (เดลนิ ิวส์ วนั ที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๕๓) สรุปใจความสําคัญ เรื่อง “เร่งวิจัยแมลงหนอนปลอกน้ําตรวจสอบคุณภาพน้ํา เชงิ ชีวภาพ” การตรวจสอบคุณภาพนํ้าท่ีใช้อยู่ในปัจจุบัน มีหลากหลายรูปแบบซ่ึงการตรวจสอบคุณภาพ นํ้าในเชิงชีวภาพนั้น สามารถใช้สิ่งมีชีวิตเป็นตัวบ่งชี้คุณภาพน้ํา คือโดยใช้แมลงน้ํา ซึ่งเป็นสัตว์ท่ีมี จํานวนและชนิดมากที่สุด นักวิจัยด้านสิ่งแวดล้อมเร่งศึกษา “แมลงหนอนปลอกน้ํา” เพื่อความ แม่นยําในการตรวจสอบคุณภาพน้ําด้านชีวภาพ ประเมินคุณภาพนํ้า องค์ความรู้ในเรื่องน้ีจะเป็น ประโยชน์สําหรับผู้สนใจงานทางด้านสิ่งแวดล้อม และในอนาคตอาจจะนําไปเป็นนโยบายในการ ตดั สนิ ใจกาํ หนดคณุ ภาพนํ้าผิวดินสําหรับประเทศไทย
การอ่านเพื่อการเรยี นร้ตู ลอดชีวิต | ๑๗ แบบฝึกหดั ทบทวนบทที่ ๒ คาํ ชี้แจง จงเตมิ คําในช่องว่างใหไ้ ดใ้ จความทส่ี มบรู ณ์ ๑. การอ่านตคี วาม คือ …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. หลักเกณฑ์การอา่ นตีความ มอี ะไรบ้าง …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓. จงบอกวธิ กี ารสรปุ ความสําคญั ตามลาํ ดบั ใหค้ รบทุกขั้นตอน …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………
การอ่านเพื่อการเรยี นร้ตู ลอดชีวิต | ๑๘ แบบทดสอบบทที่ ๒ เรอ่ื ง การอ่านตีความ การอา่ นแปลความและการอ่านสรุปใจความสาํ คัญ คําชแ้ี จง จงเลอื กคําตอบท่ถี กู ตอ้ งท่ีสดุ ๑. การอ่านตีความ หมายถึงอะไร ก. เปน็ การอ่านและความสามารถเฉพาะตัวผเู้ รียน ผอู้ ่าน ข. เมื่ออ่านแลว้ สามารถนําไปเลา่ เรือ่ งให้ผอู้ นื่ ฟังได้ ค. การอา่ นอย่างละเอยี ด อาศัยการวิเคราะหแ์ ยกแยะได้ ง. การรู้เร่ืองในการอา่ นหนงั สือแตล่ ะประเภท ๒. หลักเกณฑก์ ารอ่านตคี วาม ประการแรกจะต้องทําตามข้อใด ก. อา่ นเรอื่ งนั้นให้ละเอียด ข. จดบันทึกการอา่ นอยา่ งละเอียด ค. อ่านเฉพาะตอนสําคัญของเรื่องเท่าน้ัน ง. อา่ นเทยี่ วเดียวและจดบนั ทกึ ความจาํ ๓. ขอ้ ใดไมส่ าํ คัญในการอ่านตคี วาม ก. การศกึ ษาภาษาต่างประเทศดว้ ย ข. สิง่ แวดลอ้ มของถอ้ ยคาํ นนั้ ๆ ค. การเขยี นเรียบเรยี งถ้อยคาํ ง. นาํ ความคดิ มาใครค่ รวญอย่างรอบคอบ ๔. จงตคี วามขอ้ ความตอ่ ไปนี้ “เหน็ ชา้ งข้ี อย่าขต้ี ามช้าง” ก. เหน็ ผู้อ่นื ทาํ อะไรสําเรจ็ ควรนํามาเป็นตัวอย่างได้ ข. การทาํ ตามใครตอ้ งรอบคอบให้ดี เพราะอาจผดิ หวงั ได้ ค. การจะเรยี นหนังสอื ใหฉ้ ลาด ควรเอาตวั อยา่ งผูอ้ ่นื ด้วย ง. จะทําอะไรควรดฐู านะของตน ไมค่ วรเอาอยา่ งคนทมี่ ฐี านะดีกว่าเรา ๕. การเปลี่ยนแปลงจากความหนึง่ ไปสู่อกี ความหนงึ่ คอื อะไร ก. การแปลความ ข. การตคี วาม ค. การขยายความ ง. การสรุปใจความ
การอา่ นเพ่อื การเรียนร้ตู ลอดชวี ติ | ๑๙ ๖. “พระราชหัตถเลขา” แปลคําศัพทเ์ ป็นภาษาธรรมดาคือ ก. การอา่ นหนังสอื ข. เขยี นหนังสอื ค. หนงั สอื ง. จดหมาย ๗. “ความรู้ท่วมหวั เอาตัวไมร่ อด” หมายถงึ อะไร ก. การลงทุนนอ้ ย แต่ได้ผลกาํ ไรไมม่ าก ข. มคี วามรู้มากแต่ไม่สามารถพาตวั เองรอดพน้ จากความจนได้ ค. การจบการศกึ ษาสูงแตเ่ กิดอุบตั เิ หตรุ ถยนตเ์ สียหลัก ง. มคี วามรู้มากมายสามารถแนะนําผู้อืน่ จนสอบไล่ได้ ๘. เครอ่ื งหมาย แปลวา่ อะไร ก. ญาติ ข. เพศ ค. ผู้ชาย ง. ผ้หู ญิง ๙. การอ่านสรปุ ใจความสําคญั ควรอา่ นให้จบอยา่ งนอ้ ยก่เี ท่ียว ก. ๒ เที่ยว ข. ๓ เทยี่ ว ค. ๔ เทีย่ ว ง. ๕ เทย่ี ว ๑๐. ขอ้ ใดไมใ่ ชว่ ิธีสรปุ ใจความสาํ คญั ก. สรุปใจความจากชื่อเร่อื ง ข. สรปุ ใจความย่ิงยาว ยิ่งดี ค. สรุปใจความสําคัญแตล่ ะยอ่ หน้า ง. สรุปใจความสําคญั ของเรือ่ งมาเรยี บเรยี งใหม่
การอา่ นเพื่อการเรยี นรตู้ ลอดชีวิต | ๒๐ บทที่ ๓ การอา่ นขา่ ว การอ่านข่าวเป็นส่ิงจําเป็นในชีวิตประจําวันท่ีเราจะต้องรู้ข่าวสารบ้านเมืองของประเทศไทย และของโลก ในบทนม้ี หี วั ข้อสาํ คัญที่จะตอ้ งเรียนรู้ ๔ ประเด็น คอื ๑. การอ่านข่าว ๒. การตคี วามขา่ ว ๓. การวิเคราะหข์ า่ ว ๔. การสรปุ ใจความสําคญั ของขา่ ว ต่อไปนีจ้ ะได้กล่าวถงึ หัวข้อ ๔ ประเดน็ ในรายละเอยี ดดังตอ่ ไปนี้ ๑. การอา่ นข่าว พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๕๒ ให้ความหมายของ “ข่าว” ว่า “คําบอกเล่าเร่ือง โดยปกติ มกั เปน็ เร่อื งทเ่ี กิดขึ้นใหม่ หรอื เปน็ เรอื่ งท่ีน่าสนใจ คาํ บอกเลา่ คําเล่าลอื ” การอ่านข่าว ทําให้ผู้อ่านทราบเหตุการณ์หรือเรื่องราวที่สาธารณชนผู้อ่านให้ความสนใจ มีความสําคัญ และมีความใหม่สด รวดเร็วและทันสมัย เป็นเร่ืองท่ีประชาชนจะต้องพูดถึง ให้ข้อคิด แนวคิดใหมก่ บั ผอู้ า่ น ความสาํ คญั ของขา่ วก็ขน้ึ อยกู่ บั สังคมหรือแต่ละประเทศ ลกั ษณะสําคัญของข่าว มี ๕ ประเภท คอื ๑. ขา่ วเปน็ เหตุการณห์ รอื ขอ้ คิดเหน็ ของบุคคลทีเ่ กดิ ข้นึ ในสังคมหนงึ่ ๆ ๒. ข่าวเป็นส่งิ ทผี่ คู้ นในสังคมติดตามโดยมิไดจ้ าํ กดั วา่ เปน็ จาํ นวนเท่าใด ๓. ข่าวเปน็ ข้อเทจ็ จรงิ ท่ีได้รบั การรายงานจากหนงั สอื พิมพไ์ ปยังผอู้ ่าน ๔. ข่าวเปน็ รายงานทอี่ ย่บู นความสุจริตและมีความถกู ต้องครบถ้วน ๕. ข่าวเป็นสิ่งที่น่าสนใจอันเกิดจากความแปลกประหลาดของเหตุการณ์ ความทันสมัยต่อ เหตกุ ารณท์ น่ี าํ เสนอ ความมชี อื่ เสยี งของบคุ คลหรือสิ่งท่ีเปน็ ข่าว สรุปว่า “ข่าว” หมายถึง รายงานของเหตุการณ์หรือความคิดเห็น ซึ่งผู้สื่อข่าวและ บรรณาธิการในฐานะท่ีเป็นตัวแทนสาธารณชนได้พิจารณาเลือกสรรแล้ว ด้วยความเช่ือม่ันว่า เหตุการณ์หรอื ความคิดเหน็ ดังกลา่ วจะเปน็ ท่สี นใจของผู้อา่ นหรอื ผ้ไู ด้รับสาร
การอา่ นเพ่อื การเรยี นร้ตู ลอดชีวติ | ๒๑ ๒. การตีความขา่ ว ขอ้ ความขา่ ว “นกกางเขนทํารังบนตน้ ไม้ ไกฟ่ ้าทํารงั ใต้ต้นไม้ นกกระจอกทํารังที่ชายคา” การตคี วามขา่ ว : สตั ว์โลกเรยี นรู้ความอยู่รอด ๓. การวเิ คราะห์คณุ ค่าข่าว สงั คมในแตล่ ะวนั มีเหตกุ ารณ์ หรอื เร่ืองราวเกิดขนึ้ มากมาย หากแต่จะมีเพียงไม่กี่เหตุการณ์ที่ เกดิ ขน้ึ แลว้ สอ่ี มวลชนให้ความสนใจและจะทาํ มาตีพมิ พ์เผยแพรแ่ กส่ าธารณะชนผู้รบั สาร ซงึ่ เรอ่ื งราวที่ ถูกคัดเลือกเหล่าน้ันย่อมต้องมีคุณค่า ความเป็นข่าวสูงกว่าเหตุการณ์อื่น ดังน้ันการวิเคราะห์คุณค่า ของข่าว จึงเป็นสิง่ สําคัญท่ผี ู้รบั สารจะตอ้ งพิจารณา หลกั หรอื ขอ้ สาํ คัญของการวเิ คราะห์ขา่ ว (๑) ความสดใหม่และทนั ต่อเหตกุ ารณ์ ซ่ึงองค์ประกอบนี้เองทาํ ใหผ้ รู้ บั สาร เกดิ ความรู้สึกว่า ข่าวสารที่ได้รับนั้นมีความใหม่สด และทันสมัย บางคร้ังเรื่องราวทีนํามารายงานก็ไม่จําเป็นว่าต้องเป็น เรอื่ งท่ีเกิดขึ้นภายในเวลาไม่นานเท่านั้น แต่อาจเปน็ เรือ่ งราวท่เี กิดขึน้ มานานแล้ว แตพ่ ่งึ ถกู ค้นพบ (๒) ความมีช่ือเสียง ความสําคัญ หรือความเด่น ส่วนใหญ่แล้วผู้อ่านหรือผู้รับสารมักรู้สึก สนใจเรื่องราวที่มีบุคคลที่มีช่ือเสียง สถานที่โด่งดัง รวมถึงช่วงเวลาที่สําคัญที่เข้าไปเกี่ยวข้องมากกว่า เพราะถอื วา่ เร่ืองเหล่านนั้ จะมคี ณุ คา่ ของความเป็นขา่ วสูง (๓) ความใกล้ชิด ถือเป็นองคป์ ระกอบสาํ คญั ท่ีมีผลต่อผู้รบั สารในแง่กายภาพ และความรู้สึก ท้งั นวี้ ิสัยมนษุ ย์ยอ่ มมีความสนใจในเร่อื งท่ีใกล้ตัวมากกว่าเรือ่ งหา่ งไกลจากตัวเอง (๔) ข่าวกระทบกระเทือนความรู้สึก ประชาชนจะมีความต่อเน่ือง โดยพิจารณาเหตุการณ์ สําคัญก่อให้เกิดความเสียหายหรือสูญเสียต่อชีวิต ทรัพย์สิน เสรีภาพ หรือส่งผลกระทบต่อส่วนรวม เชน่ ขา่ วปญั หาโลกรอ้ น นาํ้ ท่วม แผน่ ดินไหว เปน็ ตน้ (๕) ความมีเงื่อนงําลึกลับ เช่น ข่าวอาชญากรรมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับบุคคลหรือส่วนรวม จน ทาํ ใหผ้ ู้สอ่ื ขา่ วตอ้ งรบี ไปคน้ คว้าหาคําตอบมาเปดิ เผยให้กระจา่ งอย่างรวดเร็ว (๖) ความขัดแย้ง เป็นองค์ประกอบท่ีมีโอกาสเกิดข้ึน ได้ต้ังแต่ระดับบุคคล ครอบครัว สถาบัน หรอื ประเทศ เชน่ ความขัดแย้งในสงั คมไทย การแบ่งฝ่าย แบง่ สี เป็นต้น
การอ่านเพือ่ การเรยี นรู้ตลอดชวี ิต | ๒๒ (๗) เป็นข่าวที่ปุถุชนสนใจ สําหรับเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนแล้ว สามารถไปกระตุ้นความสนใจ และความรูส้ ึกผู้รบั สารไดด้ ี เชน่ ขา่ วเรือ่ งเพศ ข่าวพาดหัวประจาํ วนั ในหนังสอื พมิ พ์ฉบบั ต่าง ๆ (๘) ข่าวความสําเร็จและความก้าวหน้า ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ถือเป็นข่าวดี สําหรับคนส่วนใหญ่ ย่ิงความสําเร็จนั้น นําประโยชน์มาให้คนส่วนใหญ่ เช่น การค้นพบความก้าวหน้า การรกั ษาโรคต่าง ๆ ในวงการแพทย์ การคน้ พบเมลด็ พนั ธ์พชื ใหมท่ ส่ี ามารถเพมิ่ ผลผลิตได้มากข้ึน เป็นตน้ นอกจากนั้นหัวข้อการวิเคราะห์ข่าว ควรให้ความสําคัญคุณภาพของข่าวด้วย ซึ่งข่าวที่ดี หรือ คณุ ภาพของขา่ วมคี ณุ สมบัติที่เช่อื ถือได้ ดังนี้ (๑) ความถูกต้อง ผู้สื่อข่าว ต้องรายงานข่าวท่ีเป็นจริงของเหตุการณ์อย่างถูกต้อง ครบถ้วน ค้นหาแหล่งข่าวบุคคลหรือเหตุการณ์ต้นตอของข่าวที่มีความรู้และน่าเชื่อถือ เขียนข่าวให้มีความ ชดั เจน ถกู กาลเทศะ และน่าสนใจด้วยการอา้ งองิ คําพูด หลักฐาน ตัวอยา่ ง เปน็ ตน้ (๒) ความสมดลุ ควรให้ความเสมอภาคในการเสนอข้อเท็จจริงทุกด้าน เพื่อให้ผู้รับสารเข้าใจ อย่างถูกต้อง ให้ความเป็นธรรมแก่บุคคลในข่าว ในกรณีเสนอข่าวท่ีมีความขัดแย้ง ควรเปิดโอกาสให้ ท้งั สองฝ่ายไดม้ ีโอกาสช้แี จงด้วย (๓) ความเป็นกลาง หมายถึง การรายงานข่าวอย่างตรงไปตรงมา ไม่มีอคติ หรือใส่ความ คิดเห็นของผู้เขียนลงไป พยายามเสนอข่าวให้ครบทุกแง่ทุกมุมมากที่สุด ไม่เอาความรู้สึกตัวเองเข้าไป ผูกพนั กบั เหตกุ ารณ์อยา่ งสนิ้ เชงิ (๔) ความกระชับชดั เจน ข่าวทด่ี ีควรเขียนสั้น กะทัดรัด ชัดเจนในตัวเอง เข้าใจง่าย ใช้ภาษา อยา่ งตรงไปตรงมา ตอ้ งให้คนอา่ น เข้าใจได้ทนั ทใี นเวลาอันรวดเร็ว (๕) ความรวดเร็วของข่าวทม่ี คี วามทนั สมยั ทางเทคโนโลยีในปัจจบุ นั (๖) การอ้างอิง ผู้ส่ือข่าวจะต้องมีการอ้างอิงโดยบุคคลผู้เป็นแหล่งข่าวเป็นผู้กล่าว มีถ้อยคํา และขอ้ มูลแหล่งข่าว (๗) การตรวจสอบ ผู้สือ่ ข่าว ตรวจสอบถ้อยคําต่าง ๆ ให้ถกู ตอ้ ง (๘) การย่อเรื่องราว ควรมีวิธีย่อเร่ืองในการเขียนข่าว โดยใช้คํา จุดสําคัญของเหตุการณ์ อย่างรวดเร็วในรูปของการสรุป การวิเคราะห์ข่าว มีความสําคัญมากของผู้อ่าน หรือผู้รับสาร หลักท่ีควรพิจารณาข่าว คือ ความสดใหม่ของข่าว ความสําคัญ ความเด่น ความใกล้ชิดกระทบกระเทือนใจต่อผู้อ่าน ความมี เงื่อนงาํ ลกึ ลับ ความขัดแย้ง อารมณ์ความรสู้ กึ ข่าวความสําเร็จ นอกจากน้ันควรพิจารณาคุณภาพของ ข่าวด้วย คือ ความถูกต้อง ความสมดุล ความเป็นกลาง ความกระซับชัดเจน ความชัดเจนของข่าว และการตรวจสอบข่าวก่อนจากหัวข้อข่าวดังกล่าว ทําให้ผู้อ่านหรือผู้รับสารสามารถนํามาเป็นหัวข้อ การวเิ คราะห์ขา่ วได้เปน็ อยา่ งดี
การอา่ นเพื่อการเรยี นร้ตู ลอดชวี ติ | ๒๓ ตัวอยา่ งการวิเคราะห์คุณคา่ ขา่ ว เร่ือง “สิ่งทีไ่ มม่ ใี นละครทวี ไี ทย” งานเปน็ เงา “ส่ิงที่ไมม่ ีในละครทีวไี ทย” ความจริงต้ังแต่หลายปีก่อน ที่สถานีโทรทัศน์ช่อง ๓ นําหนังจีนชุดมาเผยแพร่ภาพเป็นลํ่า เป็นสัน จนผชู้ มคนุ้ เคยทาํ ให้เกิดการเปรยี บเทียบ เร่ืองหน่ึงซึ่งเห็นได้ชัดเจนจากหนังชุดหักเหล่ียมในวงธุรกิจ หรือพฤติกรรมคมเฉือนคม ระหว่างพี่น้อง ทําให้ย้อนกลับมามองงานที่ดูกันในบ้านตัวเอง ก็เห็นว่า ตัวละครไทยไม่เคยทํางานให้ เหน็ เลย จะมีฉากที่ (ส่วนใหญ่เป็น) พระเอกทํางาน ก็คือฉากซ่ึงนั่งอยู่ในห้องทํางาน แล้วมีเลขาฯ นํา แฟม้ มาใหอ้ า่ นหรอื ลงช่อื กอ่ นจะออกไปกินข้าวเทีย่ งข้างนอกเพราะผู้หญิงมารอ หรือเช้าข้ึนมา มีฉากถือกระเป๋าไปข้ึนรถหน้าคฤหาสน์เพื่อไปทํางาน แล้วฉากรถมาจอดหน้าบ้าน กลับจากทที่ ํางาน แตจ่ นแล้วจนรอดกไ็ มร่ ู้ว่าวนั ๆ ทาํ มาหากนิ อะไร จนหลงั ๆ กพ็ ยายามใหม้ ีขึ้นมาบ้าง ส่วนผู้หญิงท่ีเห็นเป็นส่วนใหญ่ก็คือ เป็นเลขาฯ ให้ตัวอิจฉาโขกสับ หรือเป็นประชาสัมพันธ์ หรอื เป็นนกั ตกแตง่ หรือขายดอกไม้ วนเวียนอยู่อยา่ งน้ี แม้ฉากจะอยู่กลางทุ่งต่างจังหวัด ก็ยากท่ีจะเห็นมีเน้ือหาให้ลงแรงทําอะไร ถ้าไม่ถูกนักเลง บา้ นนอกขม่ เหง ก็จะมชี าวกรงุ ไปชว่ ยส้นู ักเลงบา้ นนอก ทําให้เหน็ วา่ ส่ิงท่ผี ชู้ มตอ้ งการ ไม่วา่ จะโดยตรงหรือค่อย ๆ ซึมซับ คือสติปัญญาท่ีเป็นเน้ือหา ในงานหรือท่ีแฝงอยูใ่ นงานนัน้ แทบไม่มใี ห้เลย นอกจากความมัน ความฮา ซ่ึงหากรําลึกย้อนไปเรื่อย ๆ ก็อาจเห็นว่า ความบันเทิง สนุกสนานซง่ึ มนั และฮาอย่นู นั้ ขาดเมตตากรุณาเป็นส่วนมากเสียด้วยซาํ้ ย่ิงเหน็ ไดช้ ดั หากเปรยี บเทยี บกบั หนังสือชดุ ญป่ี นุ่ เกาหลีใตท้ นี่ ิยมกันอยู่มากสมัยน้ี จับมาสักเร่อื งคอื วิธีการที่ปฏิบตั ติ อ่ สตรี การยาํ่ ยผี ู้หญงิ ในละครหลังข่าวไทยนั้น แทบเป็นเร่ืองธรรมดาไปทีเดียว กระทั่งพระเอกก็ยัง สามารถตบจูบ-นางเอก จนบางเร่ืองฝ่ายชายถึงกับถีบฝ่ายหญิงกระเด็นตกเรือไปก็มี แต่พระเอกก็ยัง เปน็ พระเอกอยนู่ ัน่ และนางเอกก็ต้องรกั พระเอกอยู่ดี ซ่งึ เปน็ เรื่องที่ประหลาดมาก ตัวละครฝ่ายผู้ร้าย หากตอ้ งการนางเอกก็สรรหาวิธกี ารหยาบช้าตา่ ง ๆ มา ตั้งแต่ฉุดกระชาก ลากถไู ปจนวางยาเพ่อื มอมเมาข่มขืน
การอ่านเพ่ือการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ | ๒๔ ทํากันจนเป็นเรอื่ งปกติ ซึ่งแทบจะไม่เห็นเลยในหนังชุดญ่ีปุ่นกับเกาหลี แม้หนังโหดแบบมาเฟียของเกาหลีจะมี เห้ียมๆ อยู่บ้าง กเ็ ป็นหนังอกี ประเภทท่ีเขา้ ใจไดว้ า่ ไม่ใชห่ นงั ชวี ติ สามญั ธรรมดา จะเก่ียวกันหรือไม่เกี่ยวก็ตาม แต่การท่ีสังคมไม่ถูกหล่อหลอมมา (ด้วยเงื่อนไขต่าง ๆ ) แต่ต้น ทําให้ปราศจากสตปิ ัญญาความคดิ อ่าน ตลอดจนจิตใจท่เี มตตากรณุ า เวลาพูดอะไรกัน ถกอะไรกันที ก็มีแต่จะให้ถึงจุดแตกหักซึ่งสามารถตีรันฟันแทงเกิดความ รุนแรงระหว่างกันได้ เพ่ือเอาชนะกันเพราะไม่มีใครยอมแพ้ ไม่อาจใช้ปัญญาถึงจุดท่ีสามารถยุติ ในระดบั เหน็ พอ้ งตอ้ งกนั บ้าง สละกันบา้ ง อาจฟังดูมั่วหรือจับแพะชนแกะไปหน่อย ท่ีถือเอาละครหลังข่าวเป็นตัวอย่างเดียว ท้ังที่มี เงือ่ นไขเร่ืองอน่ื ๆ ประกอบอยอู่ ีกเยอะ แตล่ องคิดเอาง่าย ๆ อยา่ งน้ดี กู อ่ นเถอะ ยงั ไมต่ ้องคดิ ยาก ๆ มติชน วนั ที่ ๘ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๕๔ ตวั อยา่ งการวิเคราะห์ขา่ ว เรอ่ื ง “ส่ิงที่ไมม่ ีในละครทีวีไทย” ๑. ความสดใหม่และทันต่อเหตุการณ์ ข่าวงานเป็นเงา เร่ือง ส่ิงที่ไม่มีในละครทีวีไทยเป็นเรื่องสดใหม่ และทันต่อ เหตุการณ์ เพราะไดล้ งตีพมิ พ์ใน หนงั สือพิมพ์ มตชิ นรายวนั วนั ท่ี ๘ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๔ น่เี อง ๒. ความมชี ่ือเสียง ความสําคัญ และความเดน่ ผู้อ่านได้รบั สาร เป็นคาํ บอกเล่านา่ สนใจของเรอ่ื ง “ส่ิงที่ไมม่ ีในละครทีวีไทย” ทําให้ อ่านแล้ว มีความรู้สึกว่าน่าสนใจ และอยากรู้ว่าละครโทรทัศน์หลังข่าวของไทย ไม่มีสาระสําคัญ อะไรบ้าง เพราะคนไทยส่วนใหญ่ได้ดูละครหลังข่าวมาบ้างแล้ว จึงคิดว่าเร่ืองนี้น่าจะเป็นเรื่องเด่นที่มี ผูอ้ า่ นสนใจและให้ความสาํ คัญชวนติดตาม ๓. ความใกล้ชดิ เร่ืองละครทีวี เป็นเรื่องที่มีความใกล้ชิดคนไทยส่วนใหญ่มาช้านาน คนไทยชอบดู และติดตามละครหลังข่าวสองทุ่มมาก สังเกตจากละครหลังข่าว มีเกือบทุกช่องโทรทัศน์ ดังน้ัน เร่ืองนจ้ี งึ คดิ วา่ เป็นเรือ่ งที่ใกลช้ ดิ และใกล้ตวั กับผู้อา่ น ๔. ข่าวกระทบกระเทือนความร้สู ึกของผูอ้ า่ น (ประชาชน) ข่าวนี้ถึงแม้ไม่กระทบกระเทือนและรู้สึกเหมือนข่าวอุบัติเหตุ ไฟไหม้ แผ่นดินไหว หรือข่าวอย่างการเกิดภัยธรรมชาติ น้ําท่วมในภาคใต้ แต่เป็นเร่ืองของความรู้สึกว่าละครไทย ด้อยค่ามาก เม่ือเปรียบเทียบกับเกาหลี หรือญ่ีปุ่น เม่ือผู้เขียนวิเคราะห์ให้ผู้อ่านดูกรณี การปฏิบัติต่อสตรี ก็ยงั ขาดความเปน็ มนษุ ยธรรม ความเมตตา กรณุ า ภาพที่ออกมแี ตต่ บตี เช่น
การอ่านเพื่อการเรยี นรูต้ ลอดชีวติ | ๒๕ “การยาํ่ ยผี ้หู ญงิ ในละครหลงั ข่าวไทยน้ัน แทบเป็นเรื่องธรรมดาไปทีเดียว กระท่ังพระเอก ก็ยังสามารถตบจบู นางเอก จนบางเรอ่ื งฝา่ ยชายถงึ กับถีบฝ่ายหญงิ กระเดน็ ตกเรอื ไปก็มี...” จากข้อความนี้ ผู้อ่านอ่านแล้วรู้สึกกระทบกระเทือนความรู้สึกไม่ใช่น้อย และหาก คิดต่อไปในทางสร้างสรรสังคมไทยให้น่าอยู่ปรองดองแล้ว คิดว่า ยังน่าเป็นห่วงมากอาจจะเป็น ตวั อย่างท่ไี มด่ ีต่อเยาวชนไทยในอนาคตได้ ๕. ความมีเงื่อนงําลึกลบั แม้ไม่ใช้เป็นเร่ือง อาชญากรรมที่สําคัญท่ีผู้สื่อข่าวต้องไปสืบค้น แสวงหาข้อมูลมาตี แผใ่ ห้ผู้อา่ นทราบอยา่ งไรกต็ าม แต่มีเง่อื นงําใน ละครเหล่าน้ี ทั้ง ๆ ที่เป็นตัวอย่างไม่ดีแก่เยาวชนไทย แตย่ งั มภี าพตวั ละครหลงั ข่าวแสดงออกมาอยา่ งน้อี ยู่อกี ๖. ความขัดแยง้ ความขดั แย้งของผู้เขียนในขา่ วนี้ ยงั ไมม่ ีใหเ้ หน็ มีอยู่ก็ คือความขัดแย้งในสังคมไทย มีมากอยู่แล้วใน พ.ศ. น้ี แต่ผู้อ่านอ่านแล้วต้ังคําถามว่า ทําไมละครไทยเหล่าน้ีไม่ทําเป็นตัวอย่างท่ีดี ในการสมานฉันท์เสียเล่า ปล่อยให้ผู้อ่าน (ผู้ดู) เห็นความไม่ดีออกมาอยู่อย่างต่อเน่ือง ดังที่ผู้เขียน เรอื่ งนไ้ี ดเ้ สนอแนวคดิ ว่า “เวลาพูดอะไรกัน ถกอะไรกันที ก็มีแต่จะให้ถึงจุดแตกหักซ่ึงสามารถตีรันฟันแทง เกิดความรนุ แรงระหว่างกนั ได้ เพ่ือเอาชนะกันเพราะไม่มใี ครยอมแพ้....” ๗. เป็นข่าวทป่ี ุถชุ น สนใจหรือมอี ารมณค์ วามรูส้ ึก ผ้อู ่าน อ่านเร่ืองนี้แล้ว จะตอ้ งกลับไปคดิ วิเคราะหว์ า่ ทําไมเร่อื งดี ๆ ในละครไทยยัง ไม่ค่อยปรากฏให้เห็นมากเมื่อเปรียบเทียบกับละครของเกาหลีและญ่ีปุ่น จึงต้ังคําถามอะไรต่อมิอะไร มากเร่อื ย ๆ ดงั ท่ผี ้เู ขยี นกลา่ วไว้อยา่ งน่าสนใจว่า “เรื่องหนึ่งท่ีเห็นได้ชัดเจนคือ ตัวละครไทยไม่เคยทํางานให้เห็นเลย จะมีฉากซ้ําๆ พระเอกทํางานก็คือฉากซึ่งน่ังอยู่ในห้องทํางาน แล้วมีเลขาฯ นําแฟ้มมาให้อ่านหรือลงช่ือ ก่อนจะ ออกไปกินข้าวเท่ยี งขา้ งนอกเพราะมีผู้หญงิ มารอ...” ๘. ความสาํ เร็จของข่าว ผู้อ่าน คิดว่า เร่ืองน้ีเป็นความสําเร็จอย่างย่ิงของผู้เขียน งานเป็นเงา ส่ิงที่ไม่มีใน ละครทีวีไทย ความสําเร็จของข่าวน้ี ถึงแม้ไม่ใช่ความสําเร็จทางด้านวิจัยทางวิทยาศาสตร์หรือทาง การแพทย์ แต่ผู้อ่านยกย่องในความกล้าหาญและมีความสามารถในการช้ีนําความคิด ปลุกจิตสํานึก ของคนทําละครไทยให้สะดุ้ง มีสติมากขึ้นในการทําละคร อย่างน้อย ควรนึกถึงเยาวชนเด็กไทย ที่เติบโตเป็นผู้ใหญ่ในวันหน้า ให้มีช่องทางสว่าง บํารุงสติปัญญาให้เห็นตัวอย่างที่ดี ๆ จากส่ือท่ีมา จากละครทีวบี ้าง จึงสรุปวา่ ผูเ้ ขียนขา่ วนม้ี ีความสาํ เร็จในการเขียนขา่ วอย่างแน่นอน กล่าวสรุปในภาพรวมการเขียนช่วงน้ีให้ผู้อ่านทราบข้อมูลต่าง ๆ เป็นความถูกต้อง มีการ เสมอภาคในการนําเสนอเพราะผ้เู ขยี นวเิ คราะห์จากละครส่วนใหญ่ในภาพรวมของสังคม มีความเป็น กลาง และเขียนอย่างกระชับรัดกุม ชัดเจน ที่สําคัญเป็นข่าวสั้นแต่กินความลึกซ้ึงตรงไปตรงมา ทนั สมยั ตอ่ เหตุการณ์ควรทจี่ ะนาํ เร่อื งน้ีเข้าพิจารณาต่อประชาสังคม
การอา่ นเพ่ือการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ | ๒๖ ๔. การสรุปใจความของขา่ ว การอ่านสรุปใจความสําคัญของข่าวเป็นส่ิงสําคัญสิ่งแรกเราจะต้องอ่านข่าวเรื่องที่เราสนใจ ตัง้ แต่ตน้ จนจบก่อน อย่างน้อย ๒ เท่ียว เพื่อให้ได้ใจความสําคัญ เราจะต้องคิดคําว่าอะไรคือจุดสําคัญ ของข่าวเร่ืองนั้น ๆ แล้วให้จดสิ่งนั้น ๆ เป็นข้อความส้ัน ๆ จากน้ันจึงสรุปใจความให้กะทัดรัดและ ชัดเจน เมื่อจะเขียนร่างจากข่าวท่ีเราสนใจและจดไว้ เอามาขัดเกลาและแต่งเติมอีกคร้ังหน่ึง เพ่ือให้ เปน็ ภาษาที่สละสลวย สามารถสอื่ ความหมายข่าวได้อยา่ งชดั เจน ตัวอยา่ งการสรุปใจความสําคญั ข่าว เรอ่ื ง “ดีทอกซด์ ว้ ยนาํ้ ” “ดที อ็ กซ์ด้วยน้าํ คืนความสดใสให้ ผวิ สวย” สร้างชีวิต ชีวาให้กับร่างกายและอารมณ์ด้วยการ “ดีท็อกซ์” หรือการล้างพิษออกจาก ร่างกาย เพื่อป้องกันการเส่ือมก่อนวัยง่าย ๆ ด้วยการดื่มนํ้า โดย “มิเนเร่” ได้เผยเคล็ดลับด้วยการ “เดลี-่ ดที อ็ กซ์ ดว้ ยนํา้ แร่ธรรมชาติ” เพอื่ เตรียมผิวใหส้ วยสดใสจากภายในสภู่ ายนอก นพ.กฤษดา ศิรามพุช ผู้อํานวยการศูนย์เวชาศาสตร์อายุรเวชกรรมนานาชาติ บอกว่า อยากผิวสวยแลดูสุขภาพดี สามารถทําได้ด้วยดีท็อกซ์ ซ่ีงไม่จําเป็นต้องไปสวนล้างลําไส้หรือใช้ เครื่องมอื ราคาแพง ด้วยการด่ืมนํ้าแร่ธรรมชาติ ๑๐๐ % เพราะแร่ธาตุจากน้ําแร่ท่ีด่ืมเข้าไปจะช่วย ลดการสะสมสารพิษและสร้างสมดุลใหม่ให้กับร่างกาย เนื่องจากในนํ้าแร่จะมีส่วนผสมของแร่ธาตุ หลัก ๆ อยู่ ๕ ชนดิ คอื แคลเซียม โซเดยี ม แมกนีเซยี ม โพแทสเซยี ม และกาํ มะถนั ด้าน ธิดารัตน์ วิเศษจินดาวัฒน์ ผู้เชี่ยวชาญด้านโภชนาการ บริษัท เนสเล่ (ไทย) จํากัด แนะนําเคล็ดลับด้วยว่า ตอนเช้าหลังต่ืนนอนให้ดื่มน้ําแร่ธรรมชาติ ๑๐๐ % จะช่วยล้างพิษใน ร่างกาย คืนความสดใส เปล่งปลั่งสู่ผิวพรรณ และช่วยให้การขับถ่ายเป็นไปอย่างสมํ่าเสมอ ส่วน ในขณะทาํ งานพยายามดื่มน้ําแร่เป็นประจํา จะช่วยให้นัยน์ตาสดใส ผิวพรรณชุ่มชื่นเปล่งปลั่ง หาก เครียด ลองหยุดพักแล้วหายใจเข้าออกลึก ๆ และดื่มน้ําแร่ธรรมชาติระหว่างวัน จะช่วยให้ความ เหนื่อยล้าลดลง “นอกจากน้ี นา้ํ แร่ธรรมชาติยังช่วยฟิตแอนด์ เฟิร์ม ให้ดื่มน้ําแร่ธรรมชาติสักแก้วก่อนทาน อาหาร จะช่วยลดความรู้สึกอยากอาหารลงและแร่ธาตุในนํ้าแร่ยังช่วยกระตุ้นให้ระบบการเผา ผลาญไขมันทํางานได้ดีข้ึน พอถึงช่วงเวลานอน หากต่ืนมากลางดึก ดื่มน้ําแร่สักแก้วเพ่ือช่วยลด อาการคอแหง้ พรอ้ มเติมแรธ่ าตใุ หร้ ่างกายด้วย” เพียงเทา่ นจ้ี ะไดผ้ วิ ผ่องใสแล้ว (มตชิ น วนั ที่ ๘ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๕๔)
การอ่านเพ่ือการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ | ๒๗ สรุปใจความสาํ คัญของขา่ ว เรอื่ ง “ดีทอ็ กซ์ด้วยน้ํา” การรักษาสุขภาพร่างกายและอารมณ์ ด้วยการดีท็อกซ์ หรือล้างพิษออกจากร่างกาย เพ่ือ ป้องกันการเสื่อมก่อนวัยง่าย ๆ ด้วยการด่ืมน้ําแร่ธรรมชาติ ทําให้ผิวสวยและสุขภาพดี เพราะแร่ธาตุ จากนํ้าแร่ธรรมชาติ ๑๐๐ % ช่วยลดการสะสมสารพิษ สร้างสมดุลให้ร่างกายลดความเหน่ือยล้า ลด ความอยากอาหารลงและช่วยกระตุน้ ให้ระบบการเผาผลาญไขมันทาํ งานได้ดขี ้ึน
คาํ ชี้แจง การอา่ นเพ่ือการเรียนรูต้ ลอดชีวิต | ๒๘ แบบฝกึ หัดทบทวน บทท่ี ๓ จงเตมิ คาํ ในช่องว่างให้ไดใ้ จความทีส่ มบรู ณ์ ๑. ข่าว หมายถึง ........................................................................................................................... …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. ลักษณะความสาํ คญั ของขา่ ว มี ๕ ประการ คือ ๒.๑…………………………………………………………………………………………………………………………...... ๒.๒……………………………………………………………………………………………………………………………… ๒.๓……………………………………………………………………………………………………………………………… ๒.๔……………………………………………………………………………………………………………………………… ๒.๕……………………………………………………………………………………………………………………………… ๓. จงสรุปความสาํ คญั ของข่าวมา ๑ เร่ือง .......…………………………………………………………………………………………………………………………………… .......…………………………………………………………………………………………………………………………………… .......…………………………………………………………………………………………………………………………………… .......…………………………………………………………………………………………………………………………………… .......…………………………………………………………………………………………………………………………………… .......…………………………………………………………………………………………………………………………………… .......…………………………………………………………………………………………………………………………………… .......…………………………………………………………………………………………………………………………………… .......…………………………………………………………………………………………………………………………………… .......…………………………………………………………………………………………………………………………………… .......……………………………………………………………………………………………………………………………………
การอ่านเพ่อื การเรยี นรู้ตลอดชวี ิต | ๒๙ แบบทดสอบบทท่ี ๓ เรอ่ื ง การอา่ นขา่ ว คาํ ช้ีแจง จงเลือกคําตอบท่ีถกู ตอ้ งทส่ี ดุ ๑. “ขา่ ว” ตามพจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถานคอื ข้อใด ก. การตพี ิมพใ์ นหนังสือพิมพท์ ุกวนั ข. คําบอกเล่าเรอ่ื งโดยปกติมักเปน็ เร่อื งที่เกิดขนึ้ ใหม่ที่นา่ สนใจ ค. เหตกุ ารณ์ทเี่ กดิ ขนึ้ ในอดตี ที่นา่ สนใจมาให้ผอู้ ่านทราบ ง. การคดั เลอื กเหตุการณ์สาํ คัญจรงิ ๆ ในชว่ งระยะเวลาหน่ึง ๒. สาระสาํ คญั การเสนอข่าวมี ๕ ประเภท ยกเวน้ ขอ้ ใด ก. เหตกุ ารณ์สาํ คัญ ข. ส่ิงที่ผู้คนตดิ ตาม ค. ข้อเทจ็ จริง ง. การคาดการณ์ ๓. ข้อใดควรนาํ มาเป็นข่าวมากทสี่ ุด ก. ข่าวทม่ี ีช่อื เสียงของบคุ คลสําคญั ข. ขา่ วดงั ในอดีต ค. ข่าวจานบนิ นอกโลก ง. ขา่ วจับการพนนั ในต่างประเทศ ๔. หวั ข้อใดไม่ควรนํามาวิเคราะห์ข่าว ก. ความสดใหม่ ข. ข่าวทขี่ ายดี ค. ความมชี ือ่ เสยี ง ง. ความใกลช้ ดิ ผู้อา่ น ๕. ขา่ วใดเปน็ ข่าวความสาํ เร็จและความก้าวหน้า ก. ขา่ วคน้ พบแก้ไข้หวดั นก ข. ขา่ วการทาํ ลายสัตว์ติดเชื้อ ค. ขา่ วแผน่ ดินไหว ง. สถติ ิอาชญากรรม
การอ่านเพอื่ การเรียนร้ตู ลอดชีวิต | ๓๐ ๖. การอ่านข่าว “ส่งิ ท่ไี มม่ ใี นละครทีวีไทย” สาระสาํ คญั ของเรื่องคอื อะไร ก. พฤติกรรมตวั ละคร ข. ละครญป่ี ุน่ และเกาหลี ค. การลงทุนสรา้ งละครทด่ี ี ง. ละครไทยยงั ไม่มีความคดิ สรา้ งสรรค์ ๗. จากขอ้ ๖ ผอู้ ่านควรจะเสนอแนวคดิ อะไร ก. ควรใหพ้ ระเอกนางเอกไม่ทะเลาะกัน ข. ไมค่ วรมฉี ากรบราฆ่าฟันกนั ในละคร ค. การปรับปรงุ เนื้อหาละครให้มคี ณุ ภาพมากข้นึ ง. การลงทุนท่นี ้อยไม่ตอ้ งการใช้ตัวละครมาก ๘. จากขอ้ ๓ ผู้เขียนยกตวั อย่างเร่อื งอะไรใหผ้ อู้ า่ นทราบ ก. การทาํ งานของตัวละครและวิธีปฏิบตั ิต่อผหู้ ญงิ ข. การชื่นชมละครประเทศเกาหลแี ละญี่ป่นุ ค. การตบตจี บู ระหว่างพระเอก-นางเอก ง. ตวั ละครไม่ชดั เจนเรือ่ งการทํางาน ๙. จากการอ่าน “ดีทอ็ กซด์ ว้ ยน้ํา” หมายถงึ ขอ้ ใด ก. การสรา้ งชวี ิตชีวาใหก้ ับรา่ งกาย ข. การลา้ งพษิ ออกจากร่างกายใหส้ ะอาด ค. การลา้ งพิษด้วยการดม่ื นํ้าแรธ่ รรมชาติ ง. การด่มื นํา้ มาก ๆ ชว่ ยใหร้ า่ งกายมีพลังงาน ๑๐. ข่าวใดท่ีผอู้ า่ นควรอ่านมากท่ีสดุ ก. ขา่ วสง่ เสรมิ สุขภาพ ข. ข่าวการแย่งแฟนกนั ค. ข่าวการฉกชงิ วง่ิ ราว ง. การท่องเทีย่ วตา่ งประเทศ
การอา่ นเพื่อการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ | ๓๑ บทท่ี ๔ การอา่ นบทความ บทความ หมายถงึ การเขยี นรปู แบบหน่ึงทีเ่ รยี บเรยี งขึ้นเพื่อสื่อสารไปยังผู้อา่ น อาจเปน็ การ ใหค้ วามรูต้ ่างๆ หรือเปน็ การเสนอแนวคิดของผู้เขียน สว่ นประกอบของบทความ บทความมีส่วนประกอบ ๓ สว่ นด้วยกันคอื ๑. สว่ นนาํ หรือสว่ นเร่มิ ต้น เปน็ ส่วนทเี่ ขียนเพ่อื เร้าความสนใจใหผ้ ู้อ่านอยากอ่านตอ่ ไปหรือ เป็นการชีแ้ นะให้ผู้อา่ นเขา้ ใจบทความไดง้ ่ายขึ้น ๒. ส่วนท่เี ป็นตวั เรอื่ งหรือเนือ้ หา ประกอบด้วยข้อเทจ็ จริง ข้อคิดเห็น ๓. สว่ นลงท้าย เป็นการลงทา้ ยก่อนจบบทความส่วนลงทา้ ย หรือสรุปอาจเนน้ ให้เห็น ความสาํ คัญของเร่อื ง พรอ้ มท้ังเสนอขอ้ คิดให้ผอู้ ่านไปขบคิด ประเภทของบทความ ๑. บทความบรรยาย หมายถึง บทความท่ีเขียนขึ้นเพ่ือเล่าเรื่องหรือเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่ ผู้เขียนได้ประสบมาเพื่อต้องการให้ผู้อ่านได้มีส่วนร่วมรู้เห็นประสบการณ์ดังกล่าว ภาษาที่ใช้ในการ เขียนบทความบรรยายจะเน้นท่คี วามเรียบง่าย เพือ่ ให้ผู้อ่านเข้าใจถูกตอ้ งชดั เจนตามเจตนาของผู้เขียน ๒. บทความเสดงความคิดเห็น หมายถึง บทความที่เขียนข้ึนเพ่ือแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับ เรอ่ื งตา่ ง ๆ บทความประเภทนี้ผู้เขียนอาจเสนอความคิดเห็นเป็นเชิงโต้แย้งคัดค้าน หรือสนับสนุนก็ได้ แต่ควรเป็นความคิดที่แปลกใหม่มีลักษณะสร้างสรรค์เพื่อให้เกิดการปฏิบัติหรือเปลี่ยนแปลงไปใน แนวทางทด่ี ีข้ึน ๓. บทความวิเคราะห์ หมายถึง บทความที่เขียนข้ึนเพื่อวิเคราะห์เร่ืองราวหรือเหตุการณ์ใด เหตุการณ์หนึ่ง ผู้เขียนควรมีความรู้ดีในเร่ืองที่เขียน สามารถวิเคราะห์แยกแยะประเด็นต่าง ๆ ของ เร่อื งได้อย่างละเอยี ด ภาษาทีใ่ ช้ควรเป็นภาษาที่ชัดเจนอ่านเขา้ ใจง่าย ๔. บทความวิจารณ์ หมายถึง บทความท่ีเขียนข้ึนเพ่ือจุดมุ่งหมายวิจารณ์เหตุการณ์เร่ืองราว ต่าง ๆ เช่น ข่าววิจารณ์การเมือง เศรษฐกิจ สังคม วรรณกรรม ศิลปกรรม ภาพยนตร์ การเขียน บทความวจิ ารณผ์ ้เู ขียนควรมีความรู้ มีเหตผุ ลและหลกั วิชา บทความน้ัน ๆ จึงจะได้รับความสนใจและ น่าเชือ่ ถือ ๕. บทความสารคดี หมายถึง บทความท่ีมีเนื้อหาสาระมุ่งเน้นการให้ท้ังความรู้และ สอดแทรกความเพลิดเพลินแก่ผู้อ่าน บทความสารคดีมีหลายประเภท เช่น สารคดีชีวประวัติ สารคดี ทอ่ งเท่ียว เปน็ ต้น ในการเขียนสารคดนี นั้ ผู้เขยี นต้องมีความรู้ มปี ระสบการณ์ มีขอ้ มลู ท่ีถกู ต้อง
การอ่านเพือ่ การเรยี นรูต้ ลอดชวี ติ | ๓๒ ๖. บทความวิชาการ หมายถึง บทความที่เขียนข้ึนเพื่อถ่ายทอดความรู้ เร่ืองใดเรื่องหนึ่ง โดยตรงแก่ผู้อ่าน ผู้เขียนจะต้องมีความรู้ในด้านน้ัน ๆ ดีข้ึน มีข้อมูล สถิติ เพื่อให้บทความของตนเป็น ที่น่าเช่อื ถอื มกี ารอา้ งอิง บรรณานุกรม เชิงอรรถ ภาษาท่ีใช้เป็นภาษาระดับแบบแผน ถูกต้อง กระชับ ชดั เจน การอ่านวเิ คราะหบ์ ทความ การอ่านวิเคราะห์บทความเป็นการอ่านที่ต้องใช้ทักษะความชํานาญ การอ่านวิเคราะห์ บทความ หมายถึง การอ่านโดยการแยกแยะเนื้อความที่อ่าน ออกเป็นส่วนอื่น ๆ ซึ่งผู้อ่านต้องเข้าใจ ตีความประเมนิ คา่ ของสาร โดยใช้วจิ ารณญาณของตน วธิ ีการอ่านวิเคราะหบ์ ทความ มดี งั นี้ ๑. พิจารณาจุดประสงค์ของผู้เขียนบทความว่าต้องการเสนออะไรแก่ผู้อ่าน เช่น ความรู้ ความคดิ หรอื ขอ้ เสนอแนะ ๒. พิจารณาเสนอข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นหรือความรู้สึกของผู้เขียน ซ่ึงแต่ละส่วนน้ันมีความ แตกต่างกัน ผู้อ่านจึงควรแยกแยะข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นและความรู้สึกของผู้เขียนออกจากกันด้วย ตวั อย่างดงั ต่อไปน้ี
การอา่ นเพอ่ื การเรียนรู้ตลอดชีวิต | ๓๓ ตวั อย่างการวเิ คราะหห์ าขอ้ เท็จจริง ความคิดเหน็ และความรูส้ ึก วดั ใหญส่ วุ รรณาราม จงั หวัดเพชรบุรี ความคิดเห็น วัดท่ีมีช่ือเสียงเป็นท่ีรู้จัดกันท่ัวไปวัดหน่ึงใน จ.เพชรบุรีคือ “วัดใหญ่ ขอ้ เทจ็ จริง ความคิดเห็น สุวรรณาราม” ไปเยือนเมืองเพชรแล้วไม่ไปชมวัดน้ี ก็เหมือนไปไม่ถึงเพชรบุรี เพราะเหตุท่ีวัดน้ีเป็นศูนย์รวมสิ่งท่ีน่าดูและประวัติศาสตร์ท่ีสําคัญไว้หลายอย่าง ขอ้ เท็จจรงิ ชาวบ้านนิยมเรียกกันว่า “วัดใหญ่” เป็นวัดที่มีบริเวณกว้างขวางใหญ่โตมาก เป็นพระอารามหลวงสร้างในสมยั กรงุ ศรีอยุธยา ตัวพระอุโบสถมีพระวิหารครอบ ความรูส้ ึก แบบวดั เบญจมบพิตร ความคิดเห็น ส่ิงท่ีน่าชมที่สุดในวัดก็คือ “ศาลาการเปรียญ” ซึ่งสมเด็จเจ้าแตงโมหรือ พระสุวรณมุนี ได้รับพระราชทานและนํามาประดิษฐานเป็นศาลาการเปรียญมา จนปัจจุบันนี้ ตัวศาลาเป็นหลังยาวเสาแปดเหล่ียม เขียนลายรดน้ําไม้ซํ้ากันทุกคู่ มลี วดลายและฝีมือการแกะสลักของช่างสมัยโบราณท่ีงดงามมาก ฝาประกบข้าง นอกเขยี นลายทอง ขา้ งในเขียนดว้ ยสีฝ่นุ ในศาลามีธรรมาสน์และเตียงลังเค็ด เป็นของเก่า ท่ีบานประตูจําหลัก เป็นลายด้านขดปิดทองงดงามย่ิง ด้านทิศตะวันออกมีรอยขวานฟันแตกเป็นทาง ยาวและยังคงรักษาไว้เป็นรอยประวัติศาสตร์จนทุกวันน้ี เพราะเป็นรอยท่ีพม่า ฟันไว้ต้งั แต่คร้ังตีเมืองเพชร และเที่ยวไล่จับผู้คนชาวเมืองเอาไปเป็นเชลย และมี พวกคนไทยหนีเข้าไปซ่อนอยู่ในศาลานี้ พร้อมปิดประตูล่ันดานแน่นหนา ทหาร พม่าเข้าไม่ได้จ้ึงใช้ขวานฟันประตู แต่ก็ไม่สําเร็จเพราะทัพจากกรุงยกมาช่วยทัน พม่าเลยแตกหนีไป ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ทรงพอพระทัยในวัดใหญ่สุวรรณารามมาก ได้เสด็จฯ ทอดพระเนตรวัดน้ีหลายครั้ง นอกจากนี้ ในวัดยังมีส่ิงท่ีน่าชื่นชมอีกอย่างคือ “หอไตร” ซ่ึงเป็นของแปลก เพราะแทนท่ีจะมีเสา ๔ เสา ตามแบบหอไตรทั่ว ๆ ไป กลับมีเพียง ๓ เสา ตั้งเรียงกัน หอต้ังอยู่กลางสรพน้ํามีสะพานไม้ทอดเป็น ทางขึ้นไปบนบก และตัง้ แต่สรา้ งมายงั ไม่เคยปรากฏว่าปลวกขนึ้ เลย
การอ่านเพ่ือการเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต | ๓๔ ตัวอยา่ งบทความเร่ือง โรงเรียนกาสรกสิวทิ ย์ เชือ่ มโยงชวี ิต “คน” กับ “ควาย”... ใต้รม่ พระบารมี “ควายถอนสายบัว” คนหลายคนอาจนึกภาพไม่ออกว่าควายจะถอนสายบัวได้อย่างไร แต่สําหรับควายอย่าง “คุณแรมเดือน” ความแม่ลูกอ่อนท่ึผ่านการฝึกฝนมาอย่างดี การถอนสายบัวนั้นทําไม่ยาก เพียงแค่ ทรดุ ขาหนา้ ท้งั สองข้างลงกบั พื้น ตามท่ไี ดร้ บั การฝึกฝนมา ก็จะไดร้ บั คําชมว่าเปน็ ควายที่ “เกง่ ” ในมุมมองของคน “ควายถอดสายบัว” อาจเป็นเรื่องที่ฟังดูขําๆ แต่ความจริงแล้วไม่ใช่เรื่องที่ ทํากันเล่น ๆ เพราะนี่คือการทดสอบอย่างง่ายๆ ว่าควายสามารถเช่ือฟังคําสั่งของคนหรือไม่ ซ่ึงจะเป็น พื้นฐานในการเล่าเรยี นวชิ าต่าง ๆ ของควายในชัน้ สูงขน้ึ ต่อไป สําหรับคุณแรมเดือน การถอนสายบัวน้ันเป็นเร่ืองง่ายมากถ้าเทียบกับการไถนา นวดข้าว หีบอ้อยท่ีทํามาแล้วอย่างโขกโชนจนอาจเรียกได้ว่าเป็นควายท่ีมีวิชาความรู้ในระดับปริญญาตัวหนึ่ง ทเี ดยี ว ครงั้ หนง่ึ คุณแรมเดือนได้รบั โอกาสอันยงิ่ ใหญซ่ ี่งไม่มีควายตวั ใดในประเทศเคยได้รับมากอ่ น นั่น คือการทําหน้าท่ีกระบือไถนาเมื่อครั้งท่ีสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระ ราชดําเนินไปในงานโคเน้ือและกระบือแห่งชาติ คร้ังท่ี ๑ ท่ีจังหวัดนครราชสีมา และได้ทรงไถนาเป็น ครั้งแรกโดยมีคุณกุ๊กทําหน้าที่กระบือไถนาภาพน้ันเป็นภาพท่ีประทับอยู่ในความทรงจําของพี่น้อง เกษตรกรไทยอย่างไม่มีวันลืมเลือนด้วยความสํานึกในพระมหากรุณาธิคุณที่ทรงใส่พระทัยในงานด้าน เกษตรกรรม โดยเฉพาะอย่างยงิ่ “การทาํ นา” ซ่งึ เปรียบเสมอื นอขู่ ้าวอนู่ ํ้าของประเทศ อาจารยท์ องทวี ดีมะการ นายกสมาคมอนุรักษ์และพัฒนาควายไทยและที่ปรึกษากรมปศุสัตว์ เล่าถึงทีม่ าของภาพประทับใจนี้ว่า “สืบเนื่องมาจากปีท่ีแล้วที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระชนมพรรษา ๘๐ ปี ธนาคารโคกระบือ มีความคิดที่จะถวายเงิน ๘๑ ล้านแด่พระองค์ท่าน หลังจากทําเร่ืองไป ก็ได้รับ คําตอบจากสํานักพระราชวังว่าพระองค์ท่านโปรดฯให้นําเงินจํานวนนี้ไปทําประโยชน์เพ่ือพ่ีน้อง เกษตรกร จากนั้นผมได้เข้าเฝ้าฯ สมเด็จพระเทพฯ เพื่อทูลรายงานผลงานของธนาคารโคกระบือ พระองค์ท่านก็รับสั่งว่าพระเจ้าอยู่หัวรับสั่งว่า ถ้าจะให้ควายเลี้ยวซ้ายต้องไถข้างขวาใช่ไหม แล้ว พระองค์ท่านก็รับสั่ง ฉันจะลองไถนาดู เม่ือปี ๒๕๓๘ ท่ีไปท่ีโคราช ที่ควายว่ิง นึกว่าฉันกลัวหรือ ท่ี รับส่ังอย่างนี้เพราะปี ๒๕๓๘ พระองค์เสด็จฯไปที่จังหวัดสุรินทร์ เราก็เอาควายมาสาธิตเข้าหีบอ้อย พระองคท์ ่านเสด็จฯมาถึง กาํ ลังหีบอ้อยกนั อยู่ วงดนตรีปี่พาทย์ก็ขึ้น นักข่าวก็วิ่งมาถ่ายรูปทุกคนใส่เสื้อ สีขาว ควายมนั กต็ ่นื วิ่งผา่ นหน้าพระองคท์ ่านไปเลย รับส่งั ว่าเสด็จฯเมืองนอกเมอื งนา ข่อี ฐู มาแลว้ ขบั แทรกเตอร์ไถนาก็เคยแล้ว แตย่ งั ไม่เคยทรง ไถนาดว้ ยควายเลย ลองดสู ิ มคี วาย-ไถนาได้ไหม กรมปศสุ ัตวก์ ร็ ับใสเ่ กลา้ มา ผมก็ไปหาอยู่หลายจงั หวดั ตอนทดลองบางตัวเชื่องนะ แตพ่ อเหน็ กลอ้ งก็เอาไม่อยู่เลย มี ๒ ตัว คือคณุ ก๊กุ กับคณุ แรมเดอื นน่แี หละ ทีไ่ มต่ ืน่ กล้อง ผลกเ็ อาคุณกุก๊ กับคุณแรมเดือนมาใหท้ รงไถนาในงานโคกระบือแหง่ ชาติ ครง้ั ที่ ๑ ทรงไถ ได้ ๓ รอบ กไ็ ม่มปี ญั หาใด ๆ เกดิ ขึ้น
การอา่ นเพ่ือการเรียนรตู้ ลอดชีวติ | ๓๕ ขณะน้ีคุณแรมเดือน อาศัยอยู่ในคอกใต้ร่มไม้ใหญ่ที่สถานีวิจัยและทดสอบพันธ์ุสัตว์สระแก้ว ร่วมกับคุณกุ๊ก (น้องสาว) คุณสร้อยทอง-ลูกควายวัย ๘ เดือนของคุณกุ๊ก และเทพพร พ่อพันธุ์ตัวใหญ่ น้ําหนักเกือบหนึ่งพันกิโลกรัม แต่เดิมคุณกุ๊กและคุณแรมเดือนเป็นควายของ นายคํา ปีวิไล เกษตรกร และปราชญ์ชาวบ้านของจังหวัดสกลนคร ควายท้ังสองตัว เป็นควายที่เช่ือง มีลักษณะดีและได้รับการ ฝกึ ฝนมาแล้วอย่างดเี ยยี่ ม จงึ ได้รับการคัดเลือกใหเ้ ป็นกระบือทีส่ มเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ทรงใช้ใน การไถนาครั้งนั้น ซ่ึงต่อมา นายคํา ปีวิไล ได้น้อมเกล้าฯถวายคุณกุ๊กและคุณแรมเดือนแด่ สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ระหว่างน้ีคุณกุ๊กและคุณแรมเดือนรวมท้ังกระบือท่ีได้รับ การน้อมเกล้าถวายอีกจํานวน ๑๖ ตัว อยู่ในระหว่างปฏิบัติหน้าที่ “ครูควาย” ใน “โรงเรียนกาสรกสิ วิทย์” ซ่ึงสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มีพระราชดําริให้ก่อต้ังขึ้นที่ตําบลศาลา ลําดวน อาํ เภอเมอื ง จังหวัดสระแก้ว และโปรดเกลา้ ฯใหม้ ลู นธิ ชิ ัยพัฒนาดําเนนิ การจดั ต้ังโรงเรียนกาสร กสิวิทย์ให้เป็นสถานท่ีท่ีจะ “ติดปัญญา” ให้แก่ควายรวมท้ังให้ความรู้แก่ “คน” ในการใช้ประโยชน์ จากควายเพ่อื ประกอบอาชีพ โรงเรยี นกาสรกสวิ ิทย์ต้ังอยู่บนพื้นท่ีเกือบ ๑๒๐ ไร่ ซึ่งนายสมจิตต์ และนางมณี อิ่มเอิบ ได้ น้อมเกลา้ ฯถวายแด่ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯสยามบรมราชกุมารี เม่ือครั้งเสด็จพระราชดําเนินไป ที่จังหวัดสระแก้วเมื่อปี พ.ศ.๒๕๔๔ เวลาน้ีอยู่ในระหว่างการดําเนินการก่อสร้าง ทั้งนี้ คุณลลิต ถนอมสิงห์ ผู้ช่วยเลขาธิการสํานักงานมูลนิชัยพัฒนา ได้กล่าวถึงความเป็นมาของโครงการก่อนที่จะมาเป็น “โรงเรยี นกาสรกสิวทิ ย”์ วา่ “หลังจากที่คุณสมจิตต์กับคุณมณีถวายท่ีดินมา ทางมูลนิธิฯ ก็จะไปตรวจสอบตามขั้นตอนว่า พื้นที่เป็นอย่างไร มีความเหมาะสมหรือไม่อย่างไร เรามีข้อกําหนดของเราอยู่ว่าต้องไม่ติดขัดอยู่ ๔-๕ เรื่อง มีข้อแม้ว่าถ้าเราจะรับท่ีดินมาทําอะไรสักอย่าง ต้องมีพระราชวินิจฉัยแล้วเราถึงทํา สําหรับที่ดิน ตรงน้นี บั ว่าเปน็ แปลงใหญ่ ๑๐๐ กวา่ ไร่ตามโฉนด แต่ของจรงิ คือ ๑๒๐ ไร่ รวมที่งอกตามริมคลอง เป็น ท่ตี ิดคลองพระสะทึง ปัญหามีอยู่ว่าเม่ือโปรดฯให้รับท่ีมาแล้ว จะต้องนําท่ีดินน้ันไปใช้ประโยชน์ การใช้ ประโยชน์ก็ตอ้ งดูวา่ ภมู สิ ังคมแถวนน้ั เปน็ อย่างไร ในขัน้ แรกคดิ ว่าการทํากจิ กรรมในดา้ นการพัฒนาแบบ ผสมผสานในเร่ืองของโครงการในพระราชดําริ แต่ปรากฏว่าพอผู้เชี่ยวชาญลงไปดู ทุกคนก็ส่ายหัว เพราะถนนกับพ้ืนที่ห่างกันเกือบ ๓ เมตร สอบถามละเอียดแล้วพบว่าที่ตรงนั้นเป็นทางนํ้าผ่านของ สระแก้ว ฝนตกมาก็จะไหลผ่านพ้ืนที่ ทําให้บริเวณเขาต้องทําถนนสูงข้ึนมา ๓ เมตร จึงไม่สามารถทํา โครงการได้ ต่อมาเราพบว่าสระแก้วเป็นจังหวัดใหญ่แล้วเลี้ยงกระบือเยอะ ที่ที่เป็นทางนํ้าผ่าน ตรงไหนที่ เป็นหลุมเป็นบ่อ ก็จะมีน้ําท่วมขัง เหมาะแก่การเล้ียงกระบือ ประกอบกับที่กรมปศุสัตว์เขามีศูนย์ใหญ่ ท่ีเก่ียวกับปศุสัตว์อยู่ ๒ ศูนย์ อย่างธนาคารโค กระบือ ท่ีท่ากระบากก็เป็นธนาคารโคกระบือแห่งแรก ซ่ึงเป็นโครงการพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว น่าจะเป็นการต่อยอดท่ีดี พระองค์ท่าน จงึ มีพระราชวินิจฉัยวา่ ถ้าทําเรอ่ื งกระบอื กน็ ่าจะสมควร เพราะปัจจบุ ันคนใช้ประโยชนจ์ ากกระบอื นอ้ ยลง
การอ่านเพอื่ การเรยี นรู้ตลอดชวี ิต | ๓๖ ก็เลยนําเร่ืองนี้มาคุยกับทางกรมปศุสัตว์ เขาบอกว่าเหมาะสมเลย พื้นท่ีทําได้และมีแหล่งมีองค์กรท่ีจะ สนับสนุน หลังจากที่ได้ตกลงกันว่าน่าจะเลี้ยงกระบือ เราก็ไปทําการบ้านและถวายรายงานไปยัง พระองค์ท่าน พระองค์ท่านก็มีพระราชกระแสว่า ส่ิงเหล่าน้ีเป็นสิ่งดี ได้ทรงกราบบังคมทูล พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ วั ทรงเห็นชอบ เพราะเปน็ โครงการตอ่ ยอดจากทีไ่ ด้ทําโครงการโค กระบอื เดิมทีธนาคารโค กระบือ เขาทําเร่ืองไถ่ชีวิตสัตว์ คนท่ีถวายเขาอยากให้คนใช้งานควายดีกว่า เล้ียงไปฆ่าเวลามีคนบริจาคเงินมาไถ่โค เขาก็เก็บเงินไว้ ถึงเวลาเขาก็ไปซ้ือจากโรงฆ่ามา แล้วก็ทําบัญชี จ่ายคืนให้เกษตรกร เม่ือเกษตรกรนําไปเลี้ยงก็ต้องส่งคืนลูกโค กระบือ ให้ธนาคาร ก็เป็นวงจร อย่างนี้ ไปเร่ือย ๆ แต่ปัญหาคือในปัจจุบันคนท่ีเล้ียงกระบือเพื่อใช้งานน้อยลงเรื่อย ๆ คนรุ่นหลังๆ ก็ไม่รู้จัก ภูมิปัญญาในเรื่องน้ี ถ้าไม่ได้รับการถ่ายทอดการท่ีได้กระบือใหม่ ๆ ไป เขาก็ไม่สามารถไปฝึกได้พอฝึก ไม่ได้เขาก็ทอ้ กป็ ลอ่ ย ก็กลายเป็นกระบือเลี้ยงซ่ึงไม่สามารถทํางานได้ ท้ัง ๆ ท่ีศักยภาพของกระบือมีสูง พอสมควร” ปัจจุบันการใช้ควายในการทํานา ทําไร่ลดลงจากในอดีตมาก เนื่องจากเกษตรกรนิยมใช้ เคร่ืองจักรทางการเกษตรเข้ามาทดแทน แรงงานควายจนในบางพ้ืนที่เราแทบจะไม่เห็นการใช้ควาย ทํานาอีกแล้ว ซ่ึงในความเป็นจริงแล้วเป็นเร่ืองน่าเสียดายอย่างย่ิงหากเรามองข้ามคุณค่าของบรรดา เหล่ากระบือในท้องทุ่งนาท้ังหลายที่เป็นเสมือนทรัพย์สินอันมีค่าของแผนดิน หรือเป็น “ครุภัณฑ์เดิน ได”้ ในคํากลา่ วของผู้ช่วยเลขาธกิ ารสํานกั งานมลู นิธิชัยพัฒนา “จริง ๆ แล้วการใช้ควายไถนาดีกว่าใช้เครื่องจักร เพราะมูลค่าเขาเป็นประโยชน์ทางตรงกับ ดิน เน้ือของการไถกับควายเนื้อมันเนียนผิดกันคนท่ีทําบ่อย ๆ จะรู้ว่าตัวรายละเอียดของดิน ใช้ควาย ดีกว่ารถไถ ประเด็นอกี อนั หนึง่ กข็ ้นึ อยกู่ บั คอนเซ็ปต์ ถา้ คณุ ใช้เพ่ือการพาณิชย์ อุตสาหกรรม ทํานาเป็น ร้อยไร่ ก็ลําบากที่จะใช้ควาย แต่ถ้ามองถึงความพอเพียง ใช้ประโยชน์จากควายให้พอเพียงกับ ครอบครัวระดับหนึ่ง ใชค้ วามประหยดั กว่าเยอะเพราะคุณไมต่ อ้ งเสยี ค่านํา้ มนั ไมต่ อ้ งเสียค่าบํารุงรักษา หรอื อาหารสัตวแ์ พง ๆ เพราะควายไม่จาํ เป็นต้องกนิ ของดี แล้วก็มีผลผลิตคือมีลูกให้อีกปีละตัวมันมีแต่ ได้จากการใช้ ไม่มีเสีย เพราะฉะนั้นในครอบครัวขนาดพอเหมาะ ขนาด ๓๐-๔๐ ไร่ ก็เหมาะท่ีจะใช้ควาย อย่างทางใต้เขามีความสนใจมากที่จะใช้ควาย เพราะว่าปาล์มนํ้ามัน ยางพารา เวลาขนเขาต้องใช้รถ หรือไม่ก็ต้องแบก การขนปาล์มโดยการใช้ควาย ก็ประหยัดได้เยอะ ให้ควายลาก ไม่ต้องเสียค่าน้ํามัน แล้วอาหารที่เขากินก็คือหญ้าข้างๆ น่ังกินไปเร่ือย ๆ เขาก็อยู่กันได้ ของแบบน้ีเป็นเรื่องที่ควรจะ เผยแพรใ่ หเ้ กษตรกรเข้าใจ มนั เหมอื นทรัพยส์ นิ นะ ปศสุ ัตว์เขาขึ้นทะเบียนควายเป็นครุภัณฑ์เดินได้ ถือ วา่ เป็นส่ิงมีค่า แตค่ นไทยเราละเลยไมไ่ ด้สนใจ โรงเรียนกาสรกสิวิทย์ เป็นชื่อพระราชทานจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราช กุมารี โดยความหมายของชื่อก็มีนัยะในตัวเองอยู่แล้ว ในการเป็นโรงเรียนที่ให้ความรู้แก่ควาย แต่ขณะเดียวกันก็จะให้ความรู้แก่คนท่ีจะนําควายไปใช้งาน รวมถึงการฝึกฝนบุคลากรให้มีความรู้ใน การฝึกควายดว้ ย วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการโดยหลัก ๆ มอี ยู่ ๓ ประการ คือ
การอ่านเพอ่ื การเรียนรู้ตลอดชวี ติ | ๓๗ ๑. ฝึกกระบือให้กระบือมีความรู้พอที่จะส่ังงานได้ สามารถไถนาได้ ยกร่อง และทํางานท่ีเป็น ประโยชน์ในดา้ นการเกษตร ๒. ฝึกคนทีจ่ ะใชก้ ระบอื ให้สามารถใชก้ ระบือทาํ งานได้ โดยมีหลักสูตรสาํ หรับฝึกการใชก้ ระบอื ๓. ฝึกคนให้ฝึกกระบือได้ โดยจะใช้ชาวนา ชาวไร่ ท่ีมีภูมิปัญญาด้านการฝึกกระบือมาร่วม ฝกึ อบรมกับเกษตรกรทสี่ นใจจะฝกึ กระบือดว้ ยตนเอง ๔. จัดต้ังผลิตภัณฑ์เก่ียวกับกระบือ ในลักษณะ Live Museum โดยจัดแสดงสิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ เกี่ยวกับกระบือ เช่น คราดโบราณหรือเกวียนซึ่งส่วนใหญ่เป็นของโบราณและมีค่าจากผู้มีจิตศรัทธาซ่ึงได้ นํามาทลู เกลา้ ฯถวาย และในอนาคตจะพัฒนาเปน็ สถานท่ที ่องเทยี่ วให้เยาวชนหรือผสู้ นใจเขา้ เยีย่ มชมได้ ท้ังน้ี หลักสูตรของโรงเรียนกาสรกสิวิทย์ได้จัดทําขึ้นตามวัตถุประสงค์ดังกล่าวข้างต้นโดยแบ่ง การเรยี นการสอนเปน็ หมวดหมู่ ดังน้คี ือ การเรยี นรู้เรือ่ งการเลย้ี งควาย ซ่ึงจะให้ความรู้ในเร่ืองของพันธ์ุ และการคัดเลือกควาย อาหาร โรคและการดูแลสุขภาพควายด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น การใช้แรงงาน ควาย ใหค้ วามรู้ในเร่อื งการคัดเลือกควายเพ่ือฝึกใช้งานตามภูมิปัญญาไทย ขั้นตอนการฝึกควายทํางาน ขั้นต้น เช่น การสร้างความคุ้นเคยการฝึกควาย การฝึกควายให้รู้จักกับเชือก การบังคับ และการรับ คําส่ังง่าย ๆ และการสนตะพาย จากน้ันจึงฝึกโดยอุปกรณ์เทียม ฝึกเทียม การเข้าไถ ตามด้วย การฝึก ข้ันสูงโดยใช้อุปกรณ์จริงและทํางานจริง เครื่องมืออุปกรณ์การใช้แรงงานควาย ให้ความรู้ในการ ประดิษฐ์อุปกรณ์ที่ใช้แรงงานควาย การเรียนรู้เรื่องอุปกรณ์การเกษตรท่ีใช้แรงงานจากควาย เช่น การ เข้าระหัดวิดน้าํ เครอื่ งหบี อ้อย เปน็ ต้น ในความเห็นของ อาจารย์ทองทวี ดีมะการ ซ่ึงเป็นผู้หนึ่งที่มีส่วนสําคัญในการร่างหลักสูตรนี้ คือ การฝึกควายไม่ใช่เร่ืองยากอย่างท่ีใครๆ คิด เพราะคนส่วนใหญ่มักมีทัศนคติว่าควายเป็นสัตว์ท่ีโง่เขลาและ ด้ือ แต่ความจริงแล้วควายเป็นสัตว์ท่ีฉลาดเพียงแต่ต้องรู้จักธรรมชาติของมัน และที่สําคัญควายมักไม่ชอบ ให้ดดุ า่ วา่ กลา่ ว “จากประสบการณ์ของผม ผลขอยืนยันว่าควายฟังภาษาคนรู้เรื่อง รับรองพันเปอร์เซ็นต์เลย คนจะฝึกมนั ไดต้ ้องใจเย็น ถา้ ไปตีหรือดดุ ่าเรียกไอ้ควาย เขาจะจํา แล้วบางทีก็ไม่เช่ือฟัง ต้องยอเขาการ เล้ียงควายเราต้องรู้จักธรรมชาติของเขา พูดถึงแล้วควายดีกว่าวัว แรงควายตัวหนึ่งเท่ากับวัว ๒ ตัว และอดทนมาก แต่ต้องให้ควายทํางานตั้งแต่เช้า ตีห้าซักแปดโมงนี่ต้องหยุดแล้วเพราะเขาไม่ชอบแดด เวลาทํางานตอนกลางวันตอ้ งหยุด แตว่ ัวอดทนแดดมากกวา่ ข้ันตอนการฝึก ก่อนจะมาฝึก อายุสัก ๑ ปี เราก็จะเจาะจมูก เม่ือเจาะแล้ว กว่าแผลจะหายก็ สักเดือนหนึ่ง แล้วเราก็เอาเชือกสนสะพายใส่สําหรับบังคับให้หยุด เล้ียวขวา เลี้ยวซ้าย คือเขารู้แล้วว่า เขามีจุดอ่อนแล้ว พอเราจับตรงนี้เขาก็ไปไหนไม่ได้แล้ว บอกให้หยุดเขาก็หยุด เดินหน้าก็เดิน แล้วแต่ เรากระตุก หลังจากสนตะพาย เอาเชือกมาผูก ข้ันตอนนี้ฝึกให้เป็นเชือก ต่อมาก็ฝึกใช้แรงงาน ฝึกให้ ไถนา ฝึกลากล้อ ลากเกวียน ถ้าไถนาได้ อย่างอื่นมันจะง่ายแล้ว เบสิกข้ันพื้นฐาน เช่นให้ลาก ก็เป็น เบสิกขั้นพื้นฐานเหมือนกัน ถ้าเราฝึกใช้แรงงานไถนา ไถสวน แล้วแต่แขนง เหมือนนักกีฬา คุณจะเล่น ปิงปองหรือเตะบอล ถ้าตัวไหนเป็นหลาย ๆ อย่างก็ถือว่าตัวนั้นมีความสามารถพิเศษ เป็นควายที่มี ความรรู้ ะดบั ปริญญาตรี และอาจจะต้องเพิม่ คา่ วิชาชีพใหเ้ ขาดว้ ย
การอ่านเพือ่ การเรียนรตู้ ลอดชวี ติ | ๓๘ ในปีการศึกษาแรกของโรงเรียนกาสรกสิวิทย์ท่ีจะเปิดในปีหน้าน้ัน จะรับนักศึกษารุ่นแรก ประมาณ ๑๕-๒๐ ตัว โดยมีข้อกําหนดว่าจะต้องเป็นกระบือท่ีมีอายุสองถึงสองปีคร่ึง และต้องเป็นเพศ เมียเท่านั้น เนื่องจากเกรงข้อจํากัดในเรื่องการผสมพันธ์ุหลังจากท่ีควายผ่านหลักสูตรการฝึกฝนจาก โรงเรียนกาสรกสิวิทย์แล้ว ก็จะส่งกลับไปยังธนาคารโค-กระบือ จากน้ันธนาคารก็จะแจกจ่ายให้แก่ เกษตรกรที่ต้องการใช้กระบือ สําหรับเกษตรกรที่สนใจโรงเรียนจะเปิดรับเกษตรกรที่มีความสนใจจะ เรียนรู้ภมู ปิ ญั ญาในการฝกึ ควาย โดยสามารถตดิ ต่อมาไดท้ ่มี ูลนธิ ชิ ัยพัฒนา เวลาน้ีโรงเรียนกาสรกสิวิทย์กําลังอยู่ในระหว่างการก่อสร้าง โดยเร็ว ๆ น้ี สมเด็จพระเทพ- รัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จพระราชดําเนินมาทรงวางศิลาฤกษ์อาคารอํานวยการของ โรงเรียนไปเม่ือเร็ว ๆ น้ี และได้มีพระมหากรุณาธิคุณพระราชทานคําแนะนําหลายประการเพื่อ ความกา้ วหนา้ ของโรงเรียนกาสรกสวิ ิทยด์ ว้ ย “พระองค์ท่านโปรดเกล้าฯ ให้นักศึกษาเร่ืองพันธุ์กระบือ ความเป็นไปได้ท่ีจะนําควายจาก ประเทศอ่ืน ๆ มาฝกึ ดวู า่ พันธ์ตุ า่ งประเทศมีส่วนดีอยา่ งไร เม่ือมาผสมกับของเราแล้วเป็นอย่างไรรับส่ัง ว่าให้นํามูลของกระบือมาใช้ประโยชน์ในการทําแก๊สชีวภาพ ซ่ึงเราก็ได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจาก กระทรวงพลังงาน อีกเรื่องหน่ึงคือรับส่ังให้ไปศึกษาว่านกเอ้ียงมีปฏิสัมพันธ์กับควายอย่างไร ทําไม โบราณตอ้ งบอกวา่ นกเอ้ยี งเล้ยี งควายเฒา่ ...อีกประการหนึ่ง ก่อนหน้านี้มูลนิธิฯ ได้ขอพระราชทานตราสําหรับใช้ทําเป็นของที่ระลึก พระองค์ท่านก็ได้พระราชทานมา เป็นตราท่ีพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าอาทิตยาทรกิตติคุณ ทรงออกแบบด้วยพระองค์เอง ในวันท่ีเสด็จพระราชดําเนินมาวางศิลาฤกษ์ มูลนิธิได้จัดทําฉลอง พระองค์ซ่ึงติดตรานี้ด้วย อีกวันหนึ่งพวกเราไปเฝ้าฯ พระองค์ท่านก็รับสั่งว่ามีคนเขาอยากได้เส้ือยืด และของท่ีระลึกอีก เม่ือไรจะทํา พวกเราก็คิดกันว่าจะทําของที่ระลึกออกมาโดยใช้ตรานี้ ของที่ออกมา ก็จะเป็นพวกของท่ีระลึก เช่น แก้วนํ้า หมวก เส้ือ ฯลฯ ซึ่งเป็นการสร้างให้คนมีความรู้สึกที่ดีต่อ กระบอื มากข้ึน” คุณลลติ กล่าว อีกไม่ช้าไม่นาน เม่ือโรงเรียนกาสรกสิวิทย์ ก่อสร้างเสร็จสมบูรณ์ ครอบครัวเล็ก ๆ ของคุณกุ๊ก คณุ แรมเดอื น สรอ้ ยทอง และเทพพร ก็จะได้ย้ายมาอยู๋ในบ้านใหม่ในเน้ือท่ีกว้างนับร้อยไร่ของโรงเรียน กาสรกสิวิทย์เช่นเดียวกับเพ่ือน ๆ “ครูควาย” อีก ๑๖ ตัว ความรู้จากครูควายรุ่นบุกเบิก ท้ังหมดนี้จะ เป็นส่วนหน่ึงในการเชื่อมโยงชีวิตคนกับควายท่ีนับวันจะห่างจากกันไปทุกที ให้กลับมาเป็นเหมือนเม่ือ คร้ังหนึ่งในอดีตที่ท้องทุ่งนาในชนบท มีคนและควายเดินเคียงกันไปบนเส้นทางของการเก้ือกูลชีวิตซึ่ง กันและกัน ท้ังหมดทั้งสิ้นน้ีเกิดข้ึนภายใต้ร่มพระบารมีและพระอัจฉริยภาพของสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ท่ีทรงเล็งเห็นความสําคัญของชีวิตเล็ก ๆ กลางทุ่งนา แต่มี ความสําคญั อยา่ งยง่ิ ต่อวถิ ชี วี ติ ของเกษตรกรไทย รวมถึงภมู ปิ ัญญาของชาติท่ีควรรักษาไว้ให้คงอยตู่ อ่ ไป ...เพื่อที่ว่าวันหน่ึงลูกหลานของเราจะได้เห็นและรู้จักควายไทยในท้องทุ่งนาในฐานะ “ทรัพย์สินลํา้ ค่าของแผน่ ดิน” ไมใ่ ช้ร้จู ักควายจากหนังสือหรอื ในพิพิธภัณฑ์เทา่ น้นั ... (พชิ ามญธุ์ “โรงเรียนกาสรกสวิ ิทย์....” สกุลไทยปีท่ี ๕๔ ฉบับ ๒๗๙๐)
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134