Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชา TO BE NUMBER ONE

วิชา TO BE NUMBER ONE

Published by Patong. CLC., 2020-09-29 00:35:40

Description: หนังสือวิชา TO BE NUMBER ONE นี้เป็นหนังสือสำหรับนักศึกษาระดับ มัธยมศึกษาตอนปลายไว้สำหรับเรียนรู้และนำไปสอบปลายภาคเรียน ที่ 1 / 2563

Search

Read the Text Version

1. เร่ือง ควำมหมำยและควำมสำคัญของชมรม TO BE NUMBER ONE “ยาเสพติด” ปัญหาสาคัญระดับชาติที่รัฐบาลถือเป็นนโยบายที่ต้องเร่งดาเนินการแก้ไขอย่างจริงจัง ทั้งน้ี เพราะปัญหายาเสพติดท่ีมีการแพรร่ ะบาดในทุกพื้นที่ของประเทศไทยและทวคี วามรนุ แรงมากขึ้น ส่งผล กระทบต่อการพัฒนาประเทศท้ังด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งด้านการเมืองและความม่ันคง ของประเทศ ต้ังแต่ ปี 2542 เป็นต้นมา สภาพปัญหายาเสพติดเปล่ียนแปลงไปจากที่เป็นอยู่ในอดีตอย่าง สิ้นเชงิ จากเดมิ ท่ี \"เฮโรอีน” เป็นปัญหาสาคัญที่ตารวจตอ้ งเร่งปราบปรามให้สิ้นซาก กลายเปน็ “ยาบ้า” หรือ สารเสพติดหลากหลายประเภท อาทิ สารเมทแอมเฟตามีนที่กาลังระบาดตั้งแต่ระดับครอบครัว โรงเรียน ชุมชน สังคม และประเทศ จากข้อมูลการสารวจพบว่าเยาวชนและประชาชนหลงเข้าสู่วังวนของยาเสพติด จานวนมาก “ทลู กระหม่อมหญิงอบุ ลรตั นราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ทรงมคี วามห่วงใยต่อประชาชน” การดาเนินงานโครงการ TO BE NUMBER ONE ยึดวัยรุ่นและเยาวชนเป็นศูนย์กลางบน พื้นฐานความเข้าใจธรรมชาติ พัฒนาการ ความต้องการ ความสนใจและพฤติกรรมเฉพาะของวัยรุ่น กล่าวคือ ช่วงวัยรุ่นเป็นช่วงชีวิตระหว่างเด็กกับผู้ใหญ่ ซ่ึงเป็นหัวเล้ียวหัวต่อที่สาคัญยิ่ง เพราะมีการเปลี่ยนแปลง อัน ซบั ซอ้ นทงั้ ดา้ นร่างกาย อารมณ์ สตปิ ัญญาและสังคม โดย ด้ำนร่ำงกำย จะมีอัตราการเจริญเติบโตของร่างกายเพ่ิมขึ้นอย่างรวดเร็ว สัดส่วนต่างๆ ของร่างกาย เปล่ียนแปลงไปสกู่ ารเป็นผู้ใหญ่ ด้ำนอำรมณ์ จะมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วและรุนแรงเป็นวัยท่ีมีความรู้สึกรุนแรง ไม่วา่ จะเป็น ความโกรธ ความรัก ความอิจฉาริษยา บางครั้งมีความเชื่อมั่นในตัวเองสูง ไม่เชื่อฟังใคร บางครั้งก็เกิดความ กังวลใจ และรู้สึกหดหู่ มีความอยากรู้อยากเห็น ต้องการความเป็นอิสระ มีจินตนาการและความเพ้อฝันสูง เพราะลักษณะอารมณ์ของวัยรุ่นเป็นเช่นน้ี จึงเข้ากับบุคคลต่างวัยยาก วัยรุ่นจึงเกาะกลุ่มกันได้ดีมากกว่าวัย อ่นื ๆ เพราะเขา้ ใจและยอมรับกันได้งา่ ย ด้ำนสติปัญญำ เมื่อเข้าสู่วัยรุ่นร่างกายมีการเจริญเติบโตอย่างเต็มท่ี ส่งผลให้เซลล์สมองได้รับการ พัฒนาทาให้วัยรุ่นมีความสามารถในการคิดอ่านมากข้ึน มีความจาดีสามารถใช้ความคิดของตนได้อย่างเป็น เหตุ เป็นผล และลึกซึ้ง แต่จะขาดความรอบคอบและการยับยั้งชั่งใจ ตลอดจนขาดประสบการณ์ ความ ชานาญ และคุณภาพ เม่อื เทียบกับความคิดของผู้สงู วยั ชุดวิชา TO BE NUMBER ONE “เปน็ หนง่ึ โดยไม่พง่ึ ยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย 91

ด้ำนสังคม พัฒนาการ จะเปล่ียนแปลงไปตามร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา ที่สาคัญคือ สังคมกลุ่ม เพ่ือนรว่ มวัย การคบเพอื่ นร่วมวัยเปน็ พฤติกรรมสงั คมท่ีสาคัญยงิ่ ต่อจิตใจของเด็กวยั รุ่น เพราะสามารถร่วมสุข ร่วมทุกข์ แก้ไข และเข้าใจปัญหาของกันและกันดีกว่าคนต่างวัย ซ่ึงมีความคับอกคับใจต่างกัน กลุ่มยังสนอง ความต้องการ ทางสังคมด้านต่างๆ ซึ่งเด็กต้องการมากในระยะน้ี เด็กที่เข้ากลุ่มมีความจงรักภักดีต่อกลุ่ม ยอมรับเอาค่านิยม ความเชื่อ ความสนใจของกลุ่มด้วยความเต็มใจ และสนิทสนมกบั เพื่อนรว่ มกลุ่มแน่นแฟ้น การรวมกลุ่มทาให้เด็ก มีความรู้สึกอบอุ่นใจ กล้าแสดงความขดั ขืนผู้ใหญ่ ต่อต้านกรณีที่เขาเห็นว่าไม่ยุตธิ รรม การชักนาให้วัยรนุ่ รวมกลุ่มกันเพอ่ื ปฏิบตั ิกิจกรรมท่ีวัยรุ่นชอบน้ัน ทาได้ง่ายมากกว่าวัยอื่นๆทัง้ หมด ดงั น้ันการ จัดกิจกรรมหรือชมรมต่างๆ ที่สร้างสรรค์ จึงเป็นส่ิงที่ควรส่งเสริมเพ่ือสนองความต้องการของเด็กในด้านการ เข้ากลุ่มและเรียนรูพ้ ฤติกรรมสังคมที่สาคัญอีกประการหนึ่งคือ การนับถือวีรบุรุษ เป็นการแสวงหาแบบอย่าง เพื่อดาเนินชีวิตอย่างผู้ใหญ่ นอกจากความเปลี่ยนแปลงทั้ง 4 ด้านแล้ว วัยรุ่นยังมีธรรมชาติความต้องการ ความสนใจและพฤติกรรมซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะ ได้แก่ ความตอ้ งการความรักในทุกรูปแบบในฐานะท่ีเป็นผ้ใู ห้ และผู้รับ ความตอ้ งการความสนุกสนานเพลิดเพลิน ความต้องการความเป็นอิสระ ความต้องการไดร้ ับการยก ยอ่ ง ต้องการมีชื่อเสียง ความต้องการมีปรชั ญาชวี ิตหรอื มีอุดมคติของตนเอง ความตอ้ งการเก่ียวกับเรื่องเพศ โดยมากมกั เปน็ วัยที่มคี วามรักแบบหลงใหลใฝ่ฝัน ความตอ้ งการประสบการณ์ใหม่ๆ ส่วนมากเป็นความอยาก ลองและอยากเรียนรู้ในสิ่งแปลกใหม่ท่ีตนเองไม่เคยกระทามาก่อน ความต้องการความปลอดภัยและม่ันคง อยากพึ่งพาตนเองได้ มีความฝันและมีจุดมุ่งหมายในอนาคต สนใจช่วยเหลือบุคคลอ่ืน สนใจกิจกรรม สรา้ งสรรคท์ ่เี ปน็ ของใหมแ่ ละมีประโยชน์ ชมรม TO BE NUMBER ONE เป็นชมรมที่รวบรวมคนดี คนเก่ง และคนท่ีมีอุดมการณ์ท่ีจะสร้าง กิจกรรมดีๆ เพ่ือป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดร่วมกัน สามารถจัดต้ังข้ึนได้ทั้งในสถานศึกษา สถาน ประกอบการ และชุมชน โดยชมรมในสถานศึกษาสมาชิกได้แก่ นักเรียน นักศึกษาในสถานศึกษาน้ันๆ ชมรม ในสถานประกอบการสมาชิก ไดแ้ ก่ พนกั งาน/ลูกจา้ งในสถานประกอบการน้นั ๆ ชมรมในชุมชน สมาชิก ได้แก่ เดก็ และเยาวชนตลอดจนประชาชนท่วั ไปในชุมชนนนั้ ๆ ควำมหมำยของชมรม TO BE NUMBER ONE โครงการทูบีนัมเบอร์วัน (อังกฤษ: TO BE NUMBER ONE) คือ โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไข ปัญหายาเสพติด ใน ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ทรงเป็นองค์ประธาน อานวยการโครงการรณรงค์ป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติด ซ่ึง ประกอบด้วย 3 ก โดยภายใต้ 3 ยทุ ธศาสตร์ ไดแ้ ก่ 1. การรณรงคป์ ลุกจิตสานึกและสร้างกระแสนยิ มทีเ่ อื้อตอ่ การปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหายาเสพติด ชุดวิชา TO BE NUMBER ONE “เป็นหน่งึ โดยไมพ่ ึ่งยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 92

2. การเสรมิ สร้างภมู คิ มุ้ กันทางจติ ใหแ้ ก่เยาวชน 3. การสร้างและพฒั นาเครือข่ายเพอ่ื การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ควำมสำคญั ของชมรม TO BE NUMBER ONE พระดำรัสโครงกำรไวว้ ำ่ องคป์ ระธำนโครงกำรทบู นี มั เบอร์วนั “การป้องกันและแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ ให้หมดจากสังคมไทย ไมส่ ามารถดาเนนิ งานให้ สาเร็จได้ ดว้ ยการ ทางานองคก์ รใดองค์กรหน่งึ แตท่ กุ องค์กรทุกฝ่ายต้องชว่ ยกัน และการรวมตัวกันของผู้ท่ีมีความตง้ั ใจ ทีจ่ ะไม่ไปยุ่งเก่ยี วกบั ยาเสพติด จะทาให้เกดิ พลงั ในการรว่ มกันป้องกนั ปัญหายาเสพติด อย่างเข้มแขง็ ” การดาเนินงานโครงการ TO BE NUMBER ONE เป็นโครงการ ยึดวัยรุ่นเป็นศูนย์กลาง จึงดาเนินหลักในการดาเนินงาน ท่ีส่งเสริมการแสดงความสามารถ กล้าคิด กล้าทา กล้าแสดงออก และช่วย สร้างเสริมความภาคภูมใิ จให้แกเ่ ยาวชน เกิดเป็นภมู ิคุ้มกันทางจิตใจใหแ้ ก่เยาวชน ไม่เข้าไปยงุ่ เกี่ยวกับยาเสพ ติด ใช้สื่อดนตรี กีฬา ศิลปะในการเข้าถึงเยาวชน และกระตุ้นให้เข้ามารวมกลุ่มกันทากิจกรรมที่สนใจอย่าง สร้างสรรค์ เสริมสร้างความรู้และทักษะในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ซ่ึงเป็นภูมิคุ้มกันที่สาคัญ สาหรับเยาวชนให้ปลอดภัยจากปัญหายาเสพติด หลักการ “เพื่อนช่วยเพ่ือน” เพราะวยั รุ่นเป็นวัยที่ “เพ่ือน” มีความสาคัญมาก ดังน้ันโครงการ TO BE NUMBER ONE จึงเน้นไปที่ “การทาโดยเยาวชน เพ่ือเยาวชน” การทาโครงการ TO BE NUMBER ONE จะมีการจัดต้ังชมรม TO BE NUMBER ONE และ/หรือ ศูนย์เพื่อน ใจ TO BE NUMBER ONE จะเป็นการสร้างศนู ย์รวมใหว้ ัยรุ่นรวมกลมุ่ กันทากิจกรรมท่ีสนใจ สรา้ งสรรค์และ เกดิ สขุ ไมว่ า่ จะอย่ทู ่ไี หน ไม่ว่าจะเปน็ ใคร ทุกคนก็สามารถจดั ตัง้ ชมรม TO BE NUMBER ONE ได้ ไมว่ า่ จะเปน็ ชมรม TO BE NUMBER ONE ในโรงเรียน ชมรม TO BE NUMBER ONE ในโรงงาน ชมรม TO BE NUMBER ONE ในชุมชน เกดิ เป็นเครือขา่ ย TO BE NUMBER ONE ทีม่ ีศักยภาพ จะทาใหก้ ารดาเนินงาน ป้องกนั และแก้ไขปัญหาเสพ ตดิ เปน็ ไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพ ตอ่ เน่ืองและย่ังยนื ชดุ วชิ า TO BE NUMBER ONE “เปน็ หนงึ่ โดยไมพ่ งึ่ ยาเสพติด” สค3300166 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 93

ชมรม TO BE NUMBER ONE มีความสาคญั เพอื่ ต้องการแกไ้ ขปัญหาสาหรับเดก็ และเยาวชนในเร่ือง ของยาเสพติด และใชเ้ วลาว่างใหเ้ กิดประโยชน์ สง่ เสริมการแสดงความสามารถ กล้าคดิ กลา้ ทา กล้า แสดงออก มภี าวะการเปน็ ผนู้ า และช่วยสรา้ งเสรมิ ความภาคภมู ใิ จให้แกเ่ ยาวชน เกิดเปน็ ภมู คิ มุ้ กันทางจิตใจ ให้แกเ่ ยาวชน ไม่เขา้ ไปยุ่งเก่ียวกับยาเสพติด กิจกรรมท้ำยเรอื่ งท่ี 1 ควำมหมำยและควำมสำคัญของ TO BE NUMBER ONE (ให้ผู้เรียนทำกิจกรรมท้ำยเรอ่ื งท่ี 1 สมดุ บันทกึ กจิ กรรมกำรเรยี นรูป้ ระกอบชุดวิชำ) เรือ่ งที่ 2 หลักเกณฑก์ ำรตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE ตำมองค์ประกอบ “3 ก” ชมรม TO BE NUMBER ONE เกิดจากการรวมตวั กนั ของสมาชิก TO BE NUMBER ONE จัดตงั้ เปน็ ชมรม โดยมอี งคป์ ระกอบ ในการดาเนนิ งานของชมรม TO BE NUMBER ONE ประกอบด้วย 3 ก ไดแ้ ก่ ก กรรมการ ก กองทนุ ก กิจกรรม 2.1 ก ที่ 1 กรรมกำร โดยสมาชิก TO BE NUMBER ONE คัดเลือกกรรมการเพื่อบริหารจดั การ ชมรม มบี คุ คลท่ีได้รับแตง่ ตง้ั อยา่ งน้อย 5 คน เพื่อเป็นกรรมการชมรมประกอบด้วย 1. ประธาน 1 ตาแหนง่ 2. รองประธาน 1 ตาแหน่ง 3. เลขานุการ 1 ตาแหนง่ ชดุ วิชา TO BE NUMBER ONE “เปน็ หนึง่ โดยไมพ่ ง่ึ ยาเสพติด” สค3300166 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 94

4. กรรมการ 3 ตาแหน่งขึน้ ไป 5. เหรญั ญิก 1 ตาแหนง่ และจะต้องมีการประชมุ ปรกึ ษาหารือรว่ มกนั ในการจดั ทาแผนงาน โครงการ งบประมาณ และกจิ กรรมของชมรม อยา่ งน้อย 2 ครง้ั ต่อปี คณะกรรมการ ไดม้ าจาก 1. การคดั เลอื ก 2. การเลือกตง้ั 3. อาสาสมคั ร ตัวอย่าง การแบ่งคณะกรรมการ เช่น 1. ฝ่ายจัดหาทุน 2. ฝา่ ยกิจกรรม 3. ฝ่ายประชาสัมพันธ์ 4. ฝ่ายรบั เรื่องราวรอ้ งทุกข์ 5. ฝา่ ยสอดส่องดแู ลและประเมนิ ผล หมายเหตุ การแบง่ ฝ่ายของคณะกรรมการขึ้นอยู่กบั ความต้องการ / ดลุ ยพินจิ ของแต่ละชมรม ไม่จาเปน็ ต้องเหมือนกนั แผนผังคณะกรรมกำร คณะกรรมกำรชมรม TO BE NUMBER ONE (เดก็ และเยำวชน) ประธาน เลขานกุ าร รองประธาน เหรญั ญิก กรรมการฝา่ ย กรรมการฝา่ ย กรรมการฝา่ ยรับ กรรมการฝา่ ย กจิ กรรม สอดสอ่ งดูแล เร่อื งราวรอ้ งทกุ ข์ จัดหาทุน ชดุ วชิ า TO BE NUMBER ONE “เป็นหน่ึงโดยไม่พ่ึงยาเสพติด” สค3300166 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย 95

คณะทป่ี รกึ ษำ (เจำ้ หนำ้ ท่ี) ผู้อานวยการ ผู้ชว่ ยผอู้ านวยการ/หัวหนา้ สถานแรกรับ หวั หนา้ กลุม่ งาน เลขานกุ าร (ผ้รู บั ผิดชอบ) ชดุ วิชา TO BE NUMBER ONE “เปน็ หน่งึ โดยไมพ่ งึ่ ยาเสพติด” สค3300166 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 96

ใบสมคั ร หมายเลขบตั รประชาชน ---- ใบสมคั รสมาชกิ TO BE NUMBER ONE (นักเรียน นักศกึ ษำ) ชมรม TO BE NUMBER ONE กลุ่ม กศน.ตาบล ................................ สถานศึกษา กศน.อาเภอ................................. ประวตั ิส่วนตัวสมำชิก ช่ือ................................………..นามสกุล..........................….……….. อายุ..............ปี เพศ  ชาย  หญิง ท่อี ย่ทู ่สี ามารถติดต่อได้................................................................................................... ........................................................................................................................................ ระดับกำรศกึ ษำ ระดบั ช้นั  ประถมฯ  อาชีวศึกษา  มัธยม ฯ  อดุ มศึกษา/ปริญญาตรี  สูงกวา่ ปรญิ ญาตรี  อื่นๆ…………………………………. เหตุผลท่ีเข้ารว่ ม  ต้องการเขา้ รบั การบาบัดรักษาในชมรม “ ใครตดิ ยา ยกมือขน้ึ ” ชมรม  ตอ้ งการรว่ มรณรงค์ปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หายาเสพติด  อ่นื ๆ............................................................................................. ………………………………………………………………… ....................................... ( ลายมอื ชอื่ ) ชุดวิชา TO BE NUMBER ONE “เปน็ หนง่ึ โดยไมพ่ ง่ึ ยาเสพติด” สค3300166 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 97

2.2 ก ที่ 2 กองทุน หมายถึง กรรมการและสมาชิกร่วมดาเนินการจัดตั้งกองทุนเพื่อนาเงินรายได้ หมุนเวียนใช้จ่ายในชมรม ซึ่งเป็นแนวทางสู่ความย่ังยืนของชมรม รวมถึงทรัพย์สินของชมรมด้วย ซ่ึงหมายถึง สงิ่ ใดสิ่งหน่ึงดังต่อไปนี้ 1) เงินซ่งึ ไดจ้ ากการบริจาค การจดั กจิ กรรมเพ่อื หาทุน หรอื ไดร้ ับสนับสนุนจากภาครัฐหรือเอกชน ต่างๆ 2) ทรพั ย์สนิ - ประเภทไม่สามารถเคลื่อนย้ายได้ เช่น ห้องประกอบกิจกรรมชมรมสถานที่ได้รับการอนุญาตให้ใช้ ในกจิ กรรมของชมรม เป็นต้น - ประเภทสามารถเคล่ือนยา้ ยได้ เชน่ โต๊ะ เก้าอ้ี อปุ กรณส์ านกั งาน คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์กีฬา ดนตรี ศลิ ปะ เป็นตน้ ตัวอย่ำงแหล่งทมี่ ำของกองทุน 1. งบสนับสนุนจากสถานศึกษา/สถานประกอบการ 2. งบสนับสนนุ จากภาคราชการ 3. การระดมทุน เช่น - คา่ สมัครสมาชกิ - การปลกู ไมป้ ระดับพชื ผักสวนครวั จาหนา่ ย - เงนิ รางวัลจากการประกวด - การบริจาคของสมาชกิ และผูส้ นบั สนนุ - จาหนา่ ยผลิตภัณฑ์ TO BE NUMBER ONE - จาหนา่ ยผลิตภัณฑท์ ่สี มาชิกนามาฝากจาหน่าย - จาหน่ายสินคา้ ตามเทศกาลต่างๆ เชน่ วนั วาเลนไทน์ วนั ปีใหม่ - กิจกรรมตลาดนดั TO BE NUMBER ONE - กิจกรรมขายสินค้าเม่ือจัดนิทรรศการ - สมาชิกแสดงความสามารถในงานต่างๆ และยังมีการเชญิ ชวนผ้มู ีจิตศรัทธา บริจาคเขา้ ชมรม - กิจกรรมเปดิ หมวก -กิจกรรมธนาคารขยะรีไซเคิล ดงั นน้ั กองทนุ จะต้องทาใหเ้ ห็นเปน็ รูปธรรม ทีช่ ดั เจน และ ถกู ต้อง ชดุ วชิ า TO BE NUMBER ONE “เปน็ หนงึ่ โดยไม่พง่ึ ยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย 98

ตัวอย่ำง ตวั อยา่ ง ตวั อย่ำง บัญชรี ำยรับ-รำยจ่ำย ของชมรม TO BE NUMBER ONE ตัวอยา่ ง ชุดวิชา TO BE NUMBER ONE “เปน็ หนึ่งโดยไมพ่ ึง่ ยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 99

2.3 ก 2.3 ก ที่ 3 กิจกรรม หมายถึง “การทาอะไรก็ได้ที่เป็นประโยชน์ต่อตนเองและผู้อ่ืน” เป็นสิ่งท่ีชมรมจัดขึ้นเพ่ือสมาชิกภายในชมรม หรือ มอบหมายสมาชิกเข้าร่วมดาเนินการกับหน่วยงาน/ องค์กรภายนอก การนับจานวนตามเกณฑ์ชี้วัดว่าชมรมดาเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องให้นับรวมกิจกรรมท้ัง ภายในและภายนอกไม่น้อยกว่า 3 คร้งั / ปี ท่ีสาคัญตอ้ งเป็นกิจกรรมทสี่ นับสนุนให้สมาชิกใช้ เวลาวา่ งให้เป็น ประโยชน์เกิดความภาคภูมิใจ และมองเห็นคุณค่าของตนเอง อันเป็นหนทางห่างไกลยาเสพติด รวมท้ังให้ โอกาสและสนับสนุนการคนื คนดสี ู่สังคมของสมาชิก “ใครติดยายกมือขนึ้ ” กิจกรรมภายใน เช่น การจัดกีฬาสี การจัดประกวดต่างๆ การจัดนิทรรศการ ฯลฯ ส่วนกิจกรรมภายนอก เช่น การไปร่วมเดินรณรงค์โครงการ เพื่อสังคมต่างๆ การไปช่วยทาความสะอาด เก็บขยะ ทาสีกาแพงวัด หรือ ดูแลผู้สงู อายุ เป็นต้น กิจกรรมของ ชมรมต่างจากกิจกรรมของศูนย์เพ่ือนใจ TO BE NUMBER ONE เพราะกิจกรรมของศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE จดั ไดเ้ ฉพาะภายในศูนย์และเพือ่ สมาชกิ ท่ีมาใช้บริการท่ศี นู ยภ์ ายใต้กรอบ \" ปรับทุกข์ สร้างสขุ แก้ปัญหา และพัฒนา EQ \" เท่านน้ั “ทุกกิจกรรมของชมรม TO BE NUMBER ONE ต้องสอดคลอ้ งตำมยทุ ธศำสตร์หลัก TO BE NUMBER ONE” ภำยใต้กรอบ 3 ยุทธศำสตร์ ชุดวชิ า TO BE NUMBER ONE “เปน็ หนง่ึ โดยไม่พึ่งยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย 100

กิจกรรมท้ำยเร่อื งที่ 2 หลักเกณฑก์ ำรต้ังชมรม TO BE NUMBER ONE ตำมองคป์ ระกอบ “3 ก” (ให้ผูเ้ รียนทำกจิ กรรมทำ้ ยเร่อื งท่ี 2 สมุดบันทกึ กิจกรรมกำรเรยี นรู้ประกอบชดุ วชิ ำ) เรอ่ื งที่ 3 มีสว่ นร่วม หรือ กำรจัดตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE การมีส่วนร่วม หมายถึง การเข้าร่วมอย่างแข็งขันของกลุ่มบุคคลในข้ันตอนต่างๆ ของการดาเนิน กจิ กรรมอยา่ งหนึ่ง การมีส่วนในการสนับสนนุ ท่ีเป็นไปในรูปของผูเ้ ข้าร่วมมีส่วนกระทาให้เกดิ ผลของกิจกรรม ทีเ่ ขา้ รว่ มมิใชเ่ ป็นผู้ร่วมคดิ ตดั สนิ ใจหรอื ผ้ไู ด้รับประโยชน์เทา่ นัน้ การมีส่วนร่วม (participation) คือ เป็นผลมาจากการเห็นพ้องกันในเร่ืองของความ ต้องการและ ทิศทางของการเปลี่ยนแปลงและความเห็นพ้องต้องกัน จะต้องมีมากจนเกิด ความคิดริเร่ิมโครงการเพื่อการ ปฏิบัติ เหตุผลเบื้องต้น ของการท่ีมีคนมารวมกันได้ควร จะต้องมีการตระหนักว่าปฏิบัติการทั้งหมดหรือการ กระทาท้ังหมด ที่ทาโดยกลุม่ หรือใน นามกลุ่มน้ัน กระทาผ่านองค์การ (organization) ดังน้ันองค์การจะต้อง เปน็ เสมือนตัวนาให้บรรลุถึงความเปลี่ยนแปลงได้ ซง่ึ ผเู้ รยี นสามารถมสี ว่ นร่วมในการจัดตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE ไดด้ งั น้ี 1. โดยการเขา้ ร่วมเป็นสมาชิกชมรม TO BE NUMBER ONE และการชกั จงู เพื่อนให้เขา้ ร่วม โครงการ เพ่ือเปน็ การสร้าง และพฒั นาเครือข่ายสมาชิกในการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพตดิ ให้ กวา้ งขวางมากข้นึ 2. เขา้ รว่ มกิจกรรมกับชมรม ในการรณรงคโ์ ครงการอยา่ งต่อเนื่อง 3. สอดสง่ ดูแลเพื่อนทีเ่ ป็นกลมุ่ เสี่ยงให้ห่างไกลยาเสพติด ชดุ วิชา TO BE NUMBER ONE “เปน็ หน่งึ โดยไมพ่ ่ึงยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 101

4. ทาหน้าทค่ี อย “ปรับทุกข์ – ผูกมติ ร” และเป็นกาลงั ใจให้เพ่อื นท่เี สพ หรอื ติดยากลับตวั เปน็ คนดี เพ่ือให้ก้าวสสู่ งั คมได้อย่างมั่นใจ 5. ใหค้ าปรกึ ษาแนะนา และช่วยเหลือกรณีเพ่ือเสพ หรือตดิ ยา 6. ประพฤติปฏบิ ัติเป็นแบบอย่างท่ีดีแก่ เพื่อนสมาชิก 7. รู้จกั แบ่งเวลา และใช้เวลาว่างให้เปน็ ประโยชน์ กิจกรรมทำ้ ยเรอ่ื งที่ 3 มีสว่ นร่วม หรอื กำรจัดต้ังชมรม TO BE NUMBER ONE (ใหผ้ ูเ้ รียนทำกจิ กรรมท้ำยเรือ่ งที่ 3 สมุดบันทกึ กิจกรรมกำรเรยี นรปู้ ระกอบชดุ วชิ ำ) เรอื่ งท่ี 4 กำรดำเนินงำนโครงกำร TO BE NUMBER ONE และกำรส่งประกวด 4.1 ประเภทกำรประกวดผลกำรดำเนินงำนในโครงกำร TO BE NUMBER ONE 4.1.1 จงั หวดั TO BE NUMBER ONE 4.1.2 ชมรม TO BE NUMBER ONE ในชมุ ชน 4.1.3 ชมรม TO BE NUMBER ONE ในสถานศึกษาระดับการศึกษาขน้ั พื้นฐาน 4.1.4 ชมรม TO BE NUMBER ONE ในสถานศกึ ษาระดบั อาชีวศกึ ษาและอดุ มศึกษา 4.1.5 ชมรม TO BE NUMBER ONE ในสถานประกอบการ 4.1.6 ชมรม TO BE NUMBER ONE ในสถานพนิ ิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน 4.1.7 ชมรม TO BE NUMBER ONE ในทณั ฑสถานและเรอื นจา 4.1.8 ชมรม TO BE NUMBER ONE ในสานกั งานคุมประพฤติ 4.2 กำหนดกำรประกวดผลกำรดำเนินงำนในโครงกำร ชมรม TO BE NUMBER ONE สิงหาคม ระดับจังหวดั กมุ ภาพนั ธ์ ระดบั ภาค พฤษภาคม – มิถนุ ายน ลงพนื้ ท่ี (ชมรมฯ ท่ีผ่านเข้าส่รู ะดับประเทศ) ชุดวชิ า TO BE NUMBER ONE “เป็นหนึง่ โดยไม่พ่งึ ยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย 102

4.3 กำรนำเสนอ 4.3.1 ใช้องค์ประกอบ 3 ก 4.3.2 ใช้การบรรยายและใช้ Power Point ประกอบเทา่ นั้น หา้ มใช้ VTR หรือ Power Point อย่างเดยี ว 4.3.3 ผบู้ รรยายขึน้ เวทีไมเ่ กิน 4 คน 4.3.4 รปู แบบการนาเสนอได้หลายรูปแบบ 4.3.5 คะแนนการนาเสนอ 100 คะแนน 4.4 กำรดำเนนิ งำนประเภทต้นแบบ กำรรักษำมำตรฐำน 4.4.1 ระดบั ยอดเพชร (รกั ษามาตรฐาน 5 ปี) 4.4.2 ระดบั เพชร (รักษามาตรฐาน 3 ปี) 4.4.3 ระดับทอง (รกั ษามาตรฐาน 3 ปี) 4.4.4 ระดับเงิน (รักษามาตรฐาน 3 ปี) 4.4.5 ดเี ดน่ กำรดำเนินงำนประเภทต้นแบบ กำรรกั ษำมำตรฐำน ระดับยอดเพชร (รักษำมำตรฐำน 5 ปี) ประปดปับปเพ)ี ชร (รกั ษำมำตรฐำน 3 ป)ี ระดบั ทอง (รักษำมำตรฐำน 3 ป)ี ระดบั เงนิ (รกั ษำมำตรฐำน 3 ป)ี ชดุ วิชา TO BE NUMBER ONE “เป็นหนึง่ โดยไม่พึง่ ยาเสพตดิ ” สค3300166ดระเี ดดับน่ มธั ยมศึกษาตอนปลาย 103

4.5 กำรลงประเมินระดับพ้ืนท่ี 4.5.1 ชมรมท่ไี ดร้ ับการคัดเลอื กเขา้ สู่ระดบั ประเทศใหเ้ ตรียมความพร้อมเพอื่ คณะกรรมการชุดพ้ืนที่จะลงไปตรวจเยี่ยมและให้คะแนน ประมาณช่วงเดือนพฤษภาคม – มิถุนายน ของทุกปี 4.5.2 ยกเลิกคะแนนการนาเสนอระดับภาค 4.5.3 คะแนนพนื้ ที่ 50 คะแนน (เปน็ คะแนนเกบ็ ไปรวมกบั คะแนนการนาเสนอ ระดับประเทศอีก 50 คะแนน รวมเปน็ 100 คะแนน) 4.5.4 คณะกรรมการพน้ื ทเี่ ป็นคนละชดุ กบั ระดับภาค โดยเฉพาะระดบั เพชร คณะกรรมการเป็นชุดพเิ ศษ 4.5.5 คณะกรรมการพ้ืนทใี่ ชเ้ วลาตรวจเยยี่ มชม และประเมนิ ผลงาน ชมรมละไมเ่ กนิ 1 ชั่วโมง 30 นาที 4.6 เกณฑก์ ำรให้คะแนน 4.6.1 คะแนนการประกวดลงพืน้ ที่ ประเภทชมรม TO BE NUMBER ONE - ระดับพน้ื ที่ คะแนนเตม็ 50 คะแนน - ระดบั ประเทศ คะแนนเต็ม 50 คะแนน (การนาเสนอ 35 คะแนน ความประทับใจ 5 คะแนน นทิ รรศการ 10 คะแนน) ประเภทชมรม TO BE NUMBER ONE ตวั ช้วี ดั /เกณฑ์ ดเี ด่น เงิน ทอง เพชร/ยอด เพชร ชุดวิชา TO BE NUMBER ONE “เปน็ หนงึ่ โดยไมพ่ ง่ึ ยาเสพติด” สค3300166 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย 104

ปฏบิ ัตงิ านจรงิ 20 15 13 10 ดาเนินงานตามแนวทางโครงการฯ 20 15 12 10 มคี วามต่อเนื่อง 10 10 10 10 มกี ารพัฒนา - เครือขา่ ย - 10 76 - นวตั กรรม -- 87 - องคค์ วามรู้ -- -7 50 50 50 50 รวม 4.6.2 คะแนนการประกวดระดบั ประเทศ คะแนนกำรนำเสนอ ประเภทชมรม ระดบั ประเทศ ตวั ช้วี ดั /เกณฑ์ ดเี ด่น เงนิ ทอง เพชร/ยอด เพชร 1. การนาเสนอผลงาน 20 12 10 7 - ดาเนินงานตามแนวทางโครงการ 5 5 43 - ความตอ่ เน่อื ง 10 10 10 10 - วธิ ีการนาเสนอ 55 55 - ความประทบั ใจ -8 44 - พัฒนานวัตกรรม -- 74 - พฒั นาองค์ความรู้ -- -7 2. นทิ รรศการ 10 10 10 10 ชดุ วชิ า TO BE NUMBER ONE “เป็นหน่งึ โดยไม่พึ่งยาเสพติด” สค3300166 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 105

รวม 50 50 50 50 คะแนนนทิ รรศกำร ประเภทชมรม นิทรรศกำร (10 คะแนน) ตวั ชว้ี ดั /เกณฑ์ ดเี ดน่ เงนิ ทอง เพชร/ยอด เพชร 1. การดาเนนิ งานตามแนวทางโครงการฯ 6 3.5 2 1 2. ความสวยงาม 2 22 2 3. ความคดิ รเิ ร่มิ สร้างสรรค์ 2 22 2 4. การสรา้ ง/พัฒนาเครอื ขา่ ย - 2.5 2 1.5 5. นวตั กรรม - -2 1.5 6. องค์ความรู้ - - 2 10 10 10 10 รวม กจิ กรรมท้ำยเรอื่ งท่ี 4 กำรดำเนินงำนโครงกำร TO BE NUMBER ONE และกำรส่งประกวด (ใหผ้ ู้เรยี นทำกิจกรรมทำ้ ยเรือ่ งท่ี 4 สมุดบนั ทึกกจิ กรรมกำรเรยี นรปู้ ระกอบชุดวชิ ำ) ชดุ วิชา TO BE NUMBER ONE “เป็นหนงึ่ โดยไม่พ่งึ ยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 106

หนว่ ยกำรเรยี นรู้ที่ 5 3 ยุทธศำสตร์ TO BE NUMBER ONE สู่กำรปฏิบัติ สำระสำคัญ การดาเนินงานโครงการ TO BE NUMBER ONE มีแนวทางการดาเนินงานในรูปแบบของชมรม TO BE NUMBER ONE ศูนย์เพ่ือนใจ TO BE NUMBER ONE โดยมีคณะกรรมการ และสมาชิกของชมรม เปน็ ผู้ขบั เคล่อื นโครงการกิจกรรมของชมรม ภายใต้ 3 ยุทธศาสตร์การดาเนินงาน TO BE NUMBER ONEเพื่อ ป้องกนั และแกไ้ ขปัญหายาเสพติดในกลมุ่ วัยร่นุ และเยาวชน การนายุทธศาสตร์ทั้ง 3 ยุทธ์ศาสตร์มาใช้ในการรณรงค์ปลุกจิตสานึกและสร้างกระแสนิยม ที่เออื้ ต่อการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพตดิ การเสรมิ สร้างภูมคิ มุ้ กนั ทางจิตใจให้แก่เยาวชน การเสริมสร้าง และพั ฒ น าเครือข่ายเพื่ อการป้ องกัน มาขับ เคล่ือน กิจกรรมโค รงการ TO BE NUMBER ONE ให้สมาชิกชมรมมีความรู้ความเข้าใจและปฏิบัติกิจกรรมตามยุทธศาสตร์การดาเนินงานโครงการ TO BE NUMBER ONE ตัวชว้ี ัด 1.อธบิ ายและฝึกปฏบิ ตั ิกิจกรรมตามยทุ ธศาสตร์ที่ 1 การรณรงค์ปลุกจิตสานึกและสรา้ งกระแสนิยมท่ี เอ้ือต่อการป้องกัน และแก้ไขปญั หายาเสพติด 2. อธบิ ายและฝกึ ปฏบิ ตั ิกิจกรรมยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 การเสริมสรา้ งภูมคิ ุม้ กนั ทางจิตใจให้แก่เยาวชน 3. อธิบายและฝึกปฏบิ ตั ิกจิ กรรมตามยุทธศาสตร์ท่ี 3 การสรา้ งและพัฒนาเครือขา่ ยเพ่อื การปอ้ งกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติด ขอบขำ่ ยเนื้อหำ เรือ่ งท่ี 1 ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 การรณรงคป์ ลุกจติ สานึกและสร้างกระแสนยิ มทเ่ี อือ้ ต่อการป้องกัน และ แก้ไขปญั หายาเสพตดิ 1.1 วัตถุประสงค์ ชุดวชิ า TO BE NUMBER ONE “เปน็ หนึง่ โดยไม่พ่ึงยาเสพติด” สค3300166 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย 107

1.2 รูปแบบการดาเนนิ งาน 1.2.1 การรณรงคโ์ ดยการประชาสัมพนั ธผ์ ่านสื่อ 1.2.2 การรณรงคโ์ ดยการจัดกจิ กรรม 1.3 ตัวอย่างกิจกรรมการสรา้ งกระแสในยทุ ธศาสตร์ที่ 1 เช่น 1.3.1 การรบั สมัครสมาชกิ ชมรม 1.3.2 ประชาสมั พนั ธ์ชมรม 1.3.3 จดั กจิ กรรมดนตรี กีฬา การประกวดกจิ กรรมสรา้ งสรรคต์ า่ งๆ 1.3.4 การตรวจหาสารเสพตดิ 1.3.5 เขา้ รว่ มกจิ กรรมในวันสาคญั ตา่ งๆ รว่ มกับภาครัฐ 1.3.6 จัดแขง่ ขันกฬี าภายใน และ หรอื กบั หน่วยงานภาครัฐ เอกชน และชมุ ชน 1.3.7 สนบั สนนุ ทุนการศกึ ษา อปุ กรณ์ แก่ สถานศึกษา ชุมชน 1.3.8 รว่ มกบั ชมุ ชนในการดูแลสง่ิ แวดลอ้ ม เร่ืองท่ี 2 ยุทธศาสตร์ที่ 2 การเสริมสร้างภมู ิค้มุ กันทางจิตใจใหแ้ ก่เยาวชน 2.1 วตั ถปุ ระสงค์ 2.2 รูปแบบการดาเนินงาน 2.2.1 การจดั กิจกรรมเสริมสร้างภมู คิ ้มุ กนั ทางจิตใจใหแ้ ก่เยาวชน 2.2.2 การจดั ตง้ั ศนู ย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE (TO BE NUMBER ONE FRIEND CORNER) 2.3 ตัวอยา่ งกจิ กรรมการสร้างความคุ้มกันทางจิตใจ ในยทุ ธศาสตร์ที่ 2 เช่น 2.3.1 การจัดตั้งศนู ย์เพอื่ นใจ TO BE NUMBER ONE 2.3.2 การอบรมใหค้ วามรู้เรื่องยาเสพติด 2.3.3 การทาบุญทางศาสนา ฟงั เทศน์ 2.3.4 การจดั กิจกรรมทใี่ ชเ้ วลาว่างให้เป็นประโยชน์ เช่น ฝกึ อาชีพเพื่อหารายได้ เรอ่ื งที่ 3 ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 การสร้างและพัฒนาเครือข่ายเพ่อื การปอ้ งกันและแก้ไขปญั หายาเสพติด 3.1 วตั ถปุ ระสงค์ 3.2 การดาเนนิ งาน 3.3 กจิ กรรมสาคัญ 3.4 ตวั อย่างกจิ กรรมการสร้างและพัฒนาเครือขา่ ย ในยุทธศาสตรท์ ี่ 3 เช่น ชดุ วชิ า TO BE NUMBER ONE “เปน็ หนง่ึ โดยไม่พง่ึ ยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 108

3.4.1 สนบั สนนุ วทิ ยากร อบรมใหค้ วามรู้ เงินทนุ และอปุ กรณ์แก่ชุมชนและสถานศึกษา ในการจดั ตงั้ ชมรมTO BE NUMBER ONE ศูนย์เพ่ือนใจ TO BE NUMBER ONE 3.4.2 เป็นพ่ีเล้ียง ทีป่ รึกษาในการจัดตง้ั ชมรม TO BE NUMBER ONE แกช่ มรมอน่ื 3.4.3 สนบั สนุนวทิ ยากรในการอบรมใหค้ วามรเู้ รื่องยาเสพติด 3.4.4 เปิดโอกาสใหผ้ ูท้ ผี่ ่านการบาบัดยาเสพติดเข้ามาทางานได้ เวลำท่ีใช้ในกำรศึกษำ จานวน 36 ชวั่ โมง สอ่ื กำรเรียนรู้ 1. ชดุ วชิ าการเรยี นรู้ TO BE NUMBER ONE เป็นหนึง่ โดยไมพ่ ่ึงยาเสพติด รหัสวิชา สค 3300166 2. สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดวิชา 3. สอื่ เสริมการเรยี นรอู้ ่นื ๆ เรอื่ งท่ี 1 ยทุ ธศำสตร์ที่ 1 กำรรณรงคป์ ลกุ จิตสำนึกและสร้ำงกระแสนิยมทเ่ี อื้อต่อกำรป้องกนั และ แกไ้ ขปัญหำยำเสพติด การรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดเป็นเรื่องยากทั้งในการทางานและการวัดความสาเร็จ ที่ผ่านมาฝ่ายบาบัดรักษา และปราบปรามได้ทุ่มเทงบประมาณเพ่ือการนี้มาโดยตลอด แต่ผู้เสพ ผู้ติด ผู้ขาย ก็ยังไมล่ ดลงการหันมาเนน้ การป้องกันในกลุ่มเส่ียง โดยเฉพาะในกลุ่มวัยรุน่ และเยาวชน ซึ่งจะเปน็ กาลงั สาคัญ ของชาติในอนาคต ย่อมดีกว่าไม่ทาอะไรเลย การมุ่งแก้ที่ปลายเหตุอย่างเดียว คงไม่สามารถช่วยให้ปั ญหา ยาเสพติดเบาบางลงได้ และอาจเพ่ิมจานวนผู้เสพ ผู้ติด ผู้ขาย มากกว่าเดิมอีกหลายเท่า หากเราไม่ช่วยกัน ดึงกลุ่มเสยี่ งให้พน้ ออกมาจากสถานการณร์ อบๆ ตวั เขาเหล่าน้ัน ชุดวิชา TO BE NUMBER ONE “เป็นหนง่ึ โดยไม่พ่ึงยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 109

ยุทธศาสตร์การรณรงค์ด้วยกิจกรรม สื่อต่างๆ ในโครงการ TO BE NUMBER ONE ก็เพื่อสร้าง กระแสให้วัยรุ่นและเยาวชนเปลี่ยนทัศนคตแิ ละค่านิยมเดิมๆ ที่คิดว่าเสพติดเป็นของเท่ หรือช่วยแก้ปัญหาได้ มา In Trend กับคาขวัญที่ว่า “เป็นหน่ึงโดยไม่พ่ึงยาเสพติด” ถ้ากระแสนี้แรงขึ้นเรื่อยๆ แผ่ขยายไปในกลุ่ม วัยรุ่นอย่างกว้างขวาง ทุกคนก็อยากมุ่งม่ันสู่ความเป็นหนึ่ง เพราะความหมายของความเป็นหนึ่งในโครงการ TOBE NUMBER ONE คือความรู้สึกเป็น Somebody มีอะไรให้ทา ให้เลือก มีโอกาส มีเพ่ือน มีสังคม มีความสุข ได้รับการยอมรับ โครงการ TO BE NUMBER ONEจึงจัดกิจกรรมหลากหลายท่ีเข้าถึงธรรมชาติ ของวัยรุ่น อาจดูไม่มีสาระกับเรื่องดนตรี กีฬา ศิลปะ ร้อง เล่น เต้น รา ที่ดูแค่เปลือกนอกเหมือนไม่มี ประโยชน์ เมื่อเทียบกับการศึกษาเล่าเรียนภายในห้องเรียน ซึ่งสว่ นใหญ่จะเน้นด้านวชิ าการ แต่กิจกรรมต่างๆ ในโครงการ TO BE NUMBER ONE เป็นเพียงกิจกรรมที่ต้องการใชส้ ื่อกลางดงึ เด็กวัยรุ่นให้เข้าร่วมโครงการฯ แก่นของโครงการฯ คือ ให้วัยรุ่นกลุ่มเส่ียงหันมาใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ขอเน้นว่า เวลาว่าง ดังน้ันส่วน ใหญ่จึงเป็นกิจกรรมเสริมทักษะทางด้านจติ ใจ อารมณ์และสังคม แต่โดยที่ธรรมชาติของวัยรุ่นจะช่นื ชอบและ สนใจในกิจกรรมที่ทาแล้วมีความสุข จึงปรากฏว่าสมาชิก TOBE NUMBER ONEจานวนมาก เป็นเด็กวัยรุ่น ท่ัวไป ท่ีมาเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ด้วยการท่ีเด็กทั่วไปและเด็กกลุ่มเส่ียง (ซึ่งเราไม่รู้แน่ชัดว่าบุคคลใดบ้าง) มาร่วมกจิ กรรมในโครงการด้วยกนั ถอื เป็นความสาเร็จสูงสุด เพราะทาให้เกดิ การโน้มนากันในหมูส่ มาชกิ เด็ก ท่ีไม่มีเพื่อน ขี้อาย ไม่กล้าแสดงออก เรียนอ่อน ขาดโอกาส ไม่เคยเข้าสังคม EQ ต่า ก็จะมีการเรียนรู้ มีเพ่ือน และมสี ังคม ชว่ ยใหส้ ามารถปรับตัว และอยรู่ ว่ มกบั ผอู้ น่ื ได้ดว้ ยความม่นั ใจ สนุก และมคี วามสุข 1.1 วัตถุประสงค์ 1. เพอื่ สร้างกระแสนิยมในกลุ่มเยาวชนไม่ยุ่งเกี่ยวกบั ยาเสพตดิ 2. เพ่ือสนบั สนุนใหเ้ ยาวชนและชุมชนได้จดั กจิ กรรมสรา้ งสรรค์ โดยการสนบั สนุนของสงั คม 3. เพ่ือสร้างความเข้าใจและยอมรบั ผู้มีปญั หายาเสพตดิ และให้โอกาสกลบั มาเปน็ ส่วนหน่งึ ของ สังคม 4. เพื่อเผยแพร่ความรเู้ ก่ียวกบั การป้องกันสารเสพตดิ ในกล่มุ เยาวชนและประชาชนท่วั ไป 1.2 รูปแบบกำรดำเนินกำร ชุดวิชา TO BE NUMBER ONE “เปน็ หนง่ึ โดยไม่พงึ่ ยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 110

ใช้การรณรงค์และประชาสมั พันธผ์ า่ นส่อื และกจิ กรรม โดยเฉพาะกิจกรรมด้านดนตรี กีฬา ศิลปะและ อื่นๆ ท่วี ยั รนุ่ และเยาวชนช่นื ชอบและให้ความสนใจ ท้ังน้ีเพ่ือใหเ้ ข้าถึงกลุ่มเป้าหมายหลักซ่งึ เปน็ วยั รุ่นและ เยาวชนไดง้ า่ ย 1.2.1 กำรรณรงค์โดยกำรประชำสมั พันธผ์ ่ำนสื่อ 1. สอื่ วิทยุโทรทศั น์ สอื่ สงั คมออนไลน์ (Social media) 2. สื่อสงิ่ พมิ พ์ ส่ือหนังสือพิมพ์ แผ่นพับ โปสเตอร์ ประกาศ ป้ายไวนลิ 3. สื่อนิทรรศการ เม่ือออกกิจกรรมรณรงค์ตา่ งๆ 4. สอ่ื CD VCD DVD และ VDO 5. ส่อื สัญลกั ษณ์ ได้แก่ เข็ม TOBE NUMBER ONEนิตยสาร TOBE NUMBER ONE นิตยสาร TOBE NUMBER ONEIDOL เพลง TOBE NUMBER ONEสายรัดข้อมูล ฯลฯ 6. ผลติ ภณั ฑ์ของโครงการ เช่น เส้ือ กระเปา๋ ถุงเท้า รองเทา้ อปุ กรณ์เครื่องเขียน 1.2.2 กำรรณรงค์โดยกำรจัดกจิ กรรม 1. องค์ประธานโครงการเสด็จเย่ียมติดตามผลการดาเนินงาน โครงการเสด็จเปิดชมรม และศูนย์เพ่ือนใจTO BE NUMBER ONE ในจงั หวดั ภมู ิภาค และเขตกรุงเทพมหานคร 2. จัดตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE ในสถานศึกษาสถานประกอบการ และชุมชน ทว่ั ประเทศ เพือ่ ใหด้ าเนนิ กจิ กรรมตลอดปี 3. จดั การแข่งขัน TO BE NUMBER ONE TEEN DANCERCISE CHAMPIONSHIP ประจาทุกปี 4. จัดประกวดผลงานในโครงการ TO BE NUMBER ONE ระดบั จังหวดั ระดับภาค และ ระดบั ประเทศ 5. จัดงานมหกรรมรวมพล TO BE NUMBER ONE 6. จดั ประกวดเยาวชนต้นแบบเกง่ และดี TO BE NUMBER ONE (TO BE NUMBER ONE IDOL) ประจาทุกปี ชุดวชิ า TO BE NUMBER ONE “เปน็ หนึ่งโดยไมพ่ ง่ึ ยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย 111

7. จัดนิทรรศการ คอนเสริ ์ต และกจิ กรรมอ่นื ๆ เนือ่ งในโอกาสพิเศษตา่ งๆ 8. จัดประกวดกิจกรรมสรา้ งสรรค์ และพัฒนา EQ สาหรับกล่มุ วัยรุ่นและเยาวชน 1.3 ตัวอยำ่ งกิจกรรมสร้ำงกระแสในยุทธศำสตรท์ ่ี 1 1.3.1 การรบั สมคั รสมาชิกชมรม จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์โครงการ/ประชาสัมพันธ์ชมรม และรับสมัครสมาชิกผ่าน กิจกรรมเสียงตามสายโรงเรียน/ชุมชน ผ่านผู้บริหาร ผู้นาชุมชน ใช้ขบวนรถแห่ป้ายประชาสัมพันธ์ ในชุมชน ตามบรบิ ทของแต่ละชมรมโดยเปิดโอกาสให้นักศึกษาทุกคนสมัครเป็นสมาชิก เพื่อร่วมกจิ กรรมของ ชมรม ด้วยความสมัครใจ เพ่ือรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด โดยสามารถยื่นใบสมัครสมาชิกชมรมได้ที่ คณะกรรมการชมรม 1.3.2 ประชาสัมพันธช์ มรม จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ชมรม TO BE NUMBER ONE ให้สมาชิกและบุคคลท่ัวไป ทราบ เพ่ือสร้างกระแสผ่านสื่อ Social Network โดยจัดตั้งกลุ่ม Line Facebook เพ่ือใช้เป็นช่องทางการ ส่ือสารสร้างกระแส/การส่ือสาร/การเผยแพร่ความเคล่ือนไหว เพ่ือประชาสัมพันธ์ชมรมสู่สมาชิกและ เครือข่าย เชน่ 1. โครงการสาระดๆี จากเด็ก TO BE NUMBER ONE เป็นการจัดรายการเสยี งตามสาย แจง้ ขา่ วสาร ความเคลื่อนไหวของชมรมสอดแทรกความรู้เรื่องยาเสพตดิ โดยอาจใชเ้ วลาชว่ งพักเที่ยง หรือ ช่วั โมงกิจกรรม 2. โครงการผลิตแผ่นพับ TO BE NUMBER ONE เป็นการสร้างกระแสของชมรม ผ่าน แผน่ พับประชาสัมพนั ธก์ ารใหค้ วามรู้ ขอ้ มูล ข่าวสารตามโอกาสตา่ งๆ 1.3.3 จัดกจิ กรรมดนตรี กีฬา การประกวดกิจกรรมสร้างสรรคต์ า่ งๆ จัดกิจกรรมประกวดความสามารถด้านดนตรี กีฬา กิจกรรมสร้างสรรค์เพ่ือให้สมาชิก ชมรม TO BE NUMBER ONE ได้มีโอกาสแสดงความสามารถของตนเองในทางที่สร้างสรรค์ เป็นการจุด ประกายให้เกิดการพัฒนาทักษะความสามารถและความกล้าแสดงออก ตลอดจนการใช้เวลาว่างให้เกิด ประโยชน์ 1. กิจกรรมประกวดวงดนตรีลูกทุ่ง TO BE NUMBER ONE สู่ฝันเด็กไทย เป็นการจัด ประกวดวงดนตรีลูกทุ่งของสมาชิกชมรม TO BE NUMBER ONE โดยให้สมาชิกคัดเลือกสมาชิกท่ีมีทักษะ ความสามารถมารวมตวั กันตัง้ วงดนตรลี ูกท่งุ เพ่ือส่งเข้ารว่ มประกวดในโอกาสต่างๆทเี่ หมาะสม 2. กิจกรรมประกวดวาดภาพ TOBE NUMBER ONE เป็นหนึ่งโดยไม่พ่ึงยาเสพติดโดย เปิดรับสมัครสมาชิกชมรม TO BE NUMBER ONE ที่จะเข้าร่วมประกวดวาดภาพ ภายใต้หัวข้อเกี่ยวกับการ ชุดวชิ า TO BE NUMBER ONE “เปน็ หนง่ึ โดยไม่พงึ่ ยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 112

ดาเนินงาน TO BE NUMBER ONE โดยจัดให้มีการมอบโล่รางวัล และเงินรางวัลให้แก่ผู้ชนะ พร้อมท้ังนา ผลงานภาพวาดทช่ี นะ ในกจิ กรรมประกวดวาดภาพเพื่อสร้างความภาคภูมใิ จ 1.3.4 การตรวจหาสารเสพติด จดั กิจกรรมคัดกรองตรวจหาสารเสพติดผูเ้ รียน เพอ่ื คดั กรอง หากลมุ่ เสี่ยงทีเ่ สพยาเสพติด โดยสถานศึกษาประสานขอความร่วมมือจากหน่วยงานทีม่ ีหน้าทรี่ ับผิดชอบมาช่วยดาเนินการในส่วนของการ ตรวจปัสสาวะหาสารเสพติด และดาเนินการแก้ไขตามขัน้ ตอน เพ่ือรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด การตรวจหาสารเสพตดิ ในรา่ งกาย จะใชก้ ารตรวจจากตัวอย่างปัสสาวะ ซ่ึงจะได้ผลดีที่สุดและเป็นทีย่ อมรับใน กระบวนการยุติธรรมในระดับสากล เพราะเม่ือเข้าสู่ร่างกายโดยการกิน ฉีด สูบ หรือสูดดมควัน ยาและสาร เสพติดเหล่าน้ีจะถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือด ต่อมาประมาณ 2–3 ชั่วโมง ร่างกายจะขับสารเสพติดออกทาง ปสั สาวะ ซง่ึ มคี วามเขม้ ข้นมากพอทาใหต้ รวจพบไดง้ ่ายและถูกต้อง 1. กจิ กรรมตรวจหาสารเสพติดในวันเปดิ เทอมโดยจดั กิจกรรมการตรวจหาสารเสพติดใน วันเปิดเทอมวันแรก โดยดาเนินการตรวจหาสารเสพติดผู้เรียนทุกคน เพ่ือคัดกรองกลุ่มเส่ียง และหากพบผู้ เสพ สถานศึกษาจะดาเนินการช่วยเหลอื ด้วยการสง่ ผู้เสพเข้าสู่ระบบการบาบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดให้กลับตัว กลับใจเลิกยงุ่ เก่ยี วกับยาเสพตดิ 2. กิจกรรมตรวจหาสารเสพติดในระหว่างเปิดเรียน กิจกรรมน้ีจะจัดโดยไม่ระบุช่วงวัน เวลาที่แน่นอน ผ้เู รยี นจะไม่ทราบล่วงหน้าว่าจะมีการตรวจคัดกรองหาสารเสพติด ซึ่งกิจกรรมน้ีจะทาให้ได้ผล ใกลเ้ คยี งความจรงิ และเป็นประโยชน์ในการดาเนนิ การแก้ไขปญั หายาเสพตดิ ในสถานศึกษา 1.3.5 เขา้ รว่ มกจิ กรรมในวันสาคญั ต่างๆ ร่วมกับภาครฐั 1.จัดกิจกรรมรณรงค์เน่ืองในวันงดสูบบุหร่ีโลกในวันที่ 31 พฤษภาคมของทุกปี โดยจัด กิจกรรมดังนี้ ทาป้ายคาขวัญวันงดสูบบุหรี่จัด/ประกวดบอร์ดรณรงค์จัดรายการเสียงตามสาย ป้ายไวนิล รณรงค์วันงดสูบบุหรี่โลก การแสดงละครต้านภัยบุหรี่ ประกวดเรียงความยาเสพติด ทาแผ่นพับความรู้ ประชาสมั พนั ธ์ฯลฯ 2. กิจกรรมเนื่องในวันต่อต้านยาเสพติดสากลในวันท่ี 26 มิถุนายนของทุกปี โดยจัด กิจกรรมดังน้ี ทาป้ายคาขวัญต่อต้านยาเสพติดจัด/ประกวดบอร์ดรณรงค์จัดรายการเสียงตามสายป้ายไวนิล รณรงค์ต่อต้านยาเสพติดการแสดงละครรณรงค์แก้ปัญหายาเสพติดประกวดเรียงความยาเสพติดทาแผ่นพับ ความรูป้ ระชาสัมพนั ธ์ ฯลฯ 1.3.6 จดั แขง่ ขันกีฬาภายใน กบั หนว่ ยงานภาครฐั เอกชน และชมุ ชน จัดแข่งขันกีฬาต้านภัยยาเสพติดประจาทุกปี เพื่อเสริมสร้างความแข็งแรงด้านร่างกาย และความเข้มแข็งด้านจิตใจให้กับผู้เรียน ได้พัฒนาความสามารถของตนเองในด้านกีฬา การออกกาลังกาย ใช้ ชุดวชิ า TO BE NUMBER ONE “เป็นหน่ึงโดยไม่พ่ึงยาเสพติด” สค3300166 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 113

เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ โดยไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด นอกจากน้ีการจัดกิจกรรมแข่งขันกีฬาเป็นการสร้าง มิตรภาพ ความรกั ความสามัคคี การรู้แพ้ร้ชู นะ มนี ้าใจนกั กีฬา 1. โครงการแขง่ ขนั กีฬา ตา้ นยาเสพตดิ กิจกรรมน้ี เป็นการจดั แขง่ ขันกฬี าสากลให้ ครอบคลุมทกุ ประเภท เพอ่ื เปิดโอกาสใหผ้ เู้ รียนได้แสดงความสามารถดา้ นกฬี า และสง่ เสรมิ การออกกาลงั กายให้มสี ขุ ภาพร่างกายแข็งแรง และเสริมสรา้ งความเข้มแขง็ ดา้ นจติ ใจให้มภี มู ิคุ้มกันปัญหายาเสพตดิ และ ปัญหาอน่ื ๆ 2. โครงการแข่งขนั กีฬาพื้นบ้าน สืบสานวฒั นธรรม กจิ กรรมนี้เปน็ การจัดแข่งขันกฬี า พื้นบ้าน เพื่อสร้างความสนกุ สนาน และสอดแทรกความรู้เกี่ยวกับการรณรงค์แกป้ ัญหายาเสพติด โดยจะเน้น ประเภทกีฬาทมี่ ีความสนุกสนานบนั เทิงและเสรมิ สรา้ งความรว่ มมอื รว่ มใจในการแขง่ ขนั 1.3.7 สนบั สนุนทนุ การศึกษา อปุ กรณ์ แก่สถานศกึ ษา ชุมชน จัดกิจกรรมมอบทุนการศึกษา อุปกรณ์การศึกษาให้กับสมาชิก TO BE NUMBER ONE ท่ีมีความประพฤติดี ไม่ยุ่งเก่ียวกับยาเสพติด และร่วมกิจกรรมของชมรม TO BE NUMBER ONE แต่มีฐานะยากจนโดยชมรมจะดาเนินการจัดหาทุนจากผู้มีจติ ศรัทธา เพื่อมอบให้สมาชิกท่ไี ด้รับมอบ พรอ้ มท้ัง ติดตามผลทเ่ี กดิ หลงั จากการรับมอบทุน เพื่อประเมินผลโครงการ 1.3.8 ร่วมกับชุมชนในการดแู ลสิง่ แวดลอ้ ม กิจกรรมการอนรุ ักษ์สิ่งแวดลอ้ ม เป็นการสง่ เสริมใหส้ มาชกิ ชมรม TO BE NUMBER ONE จัดหรือเขา้ รว่ มกับชุมชนเพื่ออนรุ ักษส์ ่ิงแวดล้อม โดยการให้สมาชิกชมรมฯ ประสานของบสนับสนนุ จากชมรม ฯ/หรือจากหน่วยงานอ่ืนๆ เพ่ือดาเนินกิจกรรมอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมและเกิดความ ภาคภูมิใจ 1. กิจกรรม“รักษ์โลก กับ TO BE NUMBER ONE”โดยให้สมาชิกชมรมร่วมกันทา กจิ กรรมอนรุ กั ษ์ส่ิงแวดล้อมในชุมชนของตนเอง ซง่ึ จะช่วยสร้างความรักความสามคั คีใหก้ ับสมาชกิ เปิดโอกาส เรยี นรูก้ ารทางานรว่ มกนั การทากิจกรรมสรา้ งสรรค์เพ่ือประโยชน์ของสว่ นรวม 2. กิจกรรมประกวดคาขวัญ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม โดยเปิดรับสมัครสมาชิกชมรม TO BE NUMBER ONE ท่สี นใจเข้าร่วมประกวดคาขวญั ภายใตห้ ัวข้อการอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อม โดยจัดใหม้ ีการ มอบโล่รางวัล และเงินรางวัลให้กับผู้ชนะ พร้อมทั้งเผยแพร่ผลงานที่ชนะการประกวด เพื่อสร้างความ ภาคภมู ใิ จ ชดุ วิชา TO BE NUMBER ONE “เป็นหน่ึงโดยไมพ่ ่งึ ยาเสพติด” สค3300166 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย 114

กิจกรรมท้ำยเร่ืองท่ี 1 ยุทธศำสตร์ท่ี 1 กำรรณรงค์ปลูกจิตสำนึกและสร้ำงกระแสนิยมท่ีเอื้อต่อกำร ป้องกัน และแก้ไขปัญหำยำเสพติด (ให้ผู้เรียนทำกิจกรรมท้ำยเร่ืองที่ 1 สมุดบันทึกกิจกรรมกำรเรียนรู้ ประกอบชุดวิชำ) เรอื่ งที่ 2 ยุทธศำสตรท์ ่ี 2 กำรเสรมิ สรำ้ งภมู คิ ุ้มกนั ทำงจติ ใจให้แกเ่ ยำวชน โครงการ TO BE NUMBER ONE ได้กาหนดยุทธศาสตร์การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจให้แก่ เยาวชน โดยการถ่ายทอดความรู้และฝึกทักษะให้แก่แกนนาเยาวชนทั้งในและนอกสถานศึกษา เพ่ือให้ สามารถจัดกิจกรรมพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) ให้แก่เพ่ือนเยาวชน และสมาชิกชมรม TO BE NUMBER ONE ใหม้ สี ุขภาพจิตท่ดี มี ีจติ ใจท่ีเขม้ แขง็ อันจะเป็นการป้องกนั ปัญหายาเสพติดในอนาคต 2.1 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อถ่ายทอดความรู้ และฝึกทักษะการพัฒนา EQ ให้แก่แกนนาเยาวชนท้ังใน และนอก สถานศึกษา 2. เพื่อให้แกนนาเยาวชน สามารถจัดกิจกรรมพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) ให้แก่เพื่อน สมาชิก 3. เพ่ือให้สมาชิก TO BE NUMBER ONE มีสุขภาพจิตที่ดี มีจิตใจที่เข้มแข็ง ปลอดภัยจาก ปัญหายาเสพตดิ 2.2 รูปแบบกำรดำเนินงำน ชดุ วชิ า TO BE NUMBER ONE “เปน็ หนึ่งโดยไมพ่ ึง่ ยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 115

รูปแบบการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์ที่ 2 การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจให้แก่เยาวชน ดาเนินการจัดกิจกรรมต่างๆ ได้แก่ การจดั กิจกรรมเสรมิ สร้างภูมิค้มุ กันทางจิตใจให้แก่เยาวชน และการจดั ต้ัง ศนู ย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE (TO BE NUMBER ONE FRIEND CORNER) โดยมีรายละเอยี ดดังนี้ 2.2.1 กำรจดั กิจกรรมเสริมสร้ำงภูมิคุ้มกันทำงจิตใจให้แก่เยำวชน วัตถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือให้แกนนาเยาวชนสามารถเสริมสร้างภมู ิค้มุ กันทางจติ ใจให้แก่เพื่อนเยาวชน ซ่ึงจะ ชว่ ยป้องกันและแกไ้ ขปัญหายาเสพตดิ ในอนาคต 2. เพอ่ื ให้แกนนาเยาวชนสามารถจดั กจิ กรรมพฒั นาความฉลาดทางอารมณ์ใหแ้ ก่เพอื่ น เยาวชนได้อย่างเหมาะสม 3. เพื่อให้แกนนาเยาวชนได้รับการเสรมิ สรา้ งทกั ษะในการช่วยเหลือเพือ่ นเยาวชนใหม้ ี กาลงั ใจท่ีเข้มแขง็ สามารถดแู ลตวั เองให้ปลอดภัยจากยาเสพตดิ 4. เพ่ือพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจให้แก่สมาชิก ชมรม TO BE NUMBER ONE วิธีดำเนนิ กำร 1.จัดค่ายพฒั นาแกนนาอาสาสมัคร TO BE NUMBER ONE (TO BE NUMBER ONE CAMP FOR LEADERS) สาหรบั แกนนาอาสาสมคั รในชมรม TO BE NUMBER ONE และศูนยเ์ พ่ือนใจ TO BE NUMBER ONE 2.จัดคา่ ยพัฒนาสมาชกิ TO BE NUMBER ONE สูค่ วามเปน็ หนง่ึ (TO BENUMBERONE CAMP FOR MEMBERS) สาหรับสมาชกิ ชมรม TO BE NUMBER ONE และศูนยเ์ พื่อนใจ TO BE NUMBER ONE ในสถานศกึ ษา ในชุมชนทวั่ ประเทศ ทง้ั ในกรุงเทพมหานครและจงั หวดั ภูมิภาค โดย องคป์ ระธานเสด็จทรงปดิ ค่ายและพระราชทานเกียรตบิ ตั ร 3. ผลติ และพฒั นาเทคโนโลยกี ารเสริมสร้างภมู คิ ุ้มกันทางจติ ใจใหแ้ กเ่ ยาวชน 4. สนับสนุนองค์ความรู้และสื่อในการจัดกิจกรรมเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจให้แก่ เยาวชน 2.2.2 ก ำรจั ด ตั้ งศู น ย์ เพ่ื อ น ใจ TO BE NUMBER ONE (TO BE NUMBER ONE FRIEND CORNER) ก าร ตั้ งจั ด ศู น ย์ เพ่ื อ น ใจ TO BE NUMBER ONE เป็ น กิ จ ก ร ร ม ห นึ่ งข อ งช ม ร ม TO BE NUMBER ONE ซ่ึงแกนนาอาสาสมัคร(เยาวชน) ประจาศูนย์จะเป็นผู้บริหารจัดการจัดกิจกรรมและ ใหบ้ ริการต่างๆภายในศูนย์ฯเป็นกจิ กรรมซ่งึ จัดบริการให้กบั สมาชิก TO BE NUMBER ONE ทีเ่ ข้ามาในศูนย์ฯ ชุดวชิ า TO BE NUMBER ONE “เป็นหนึง่ โดยไม่พึง่ ยาเสพติด” สค3300166 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 116

เท่าน้ัน หากกิจกรรมใดก็ตามท่ีจัดขึ้นนอกศูนย์ฯ จะดาเนินการโดยชมรม TO BE NUMBER ONE ซ่ึงบริหาร จดั การโดยคณะกรรมการชมรม (ดูรายละเอียดในการจัดตง้ั ศนู ย์เพอ่ื นใจ TO BE NUMBER ONE) วัตถปุ ระสงค์ 1. เพื่อใหเ้ ยาวชนที่มีปัญหา หรือต้องการความชว่ ยเหลอื ไดร้ บั คาปรกึ ษาแนะนาที่ ถกู ต้องเหมาะสมจากผู้เชี่ยวชาญหรอื เพื่อนอาสาสมัครทผ่ี า่ นการอบรม 2. เพื่อใหเ้ ยาวชนได้รับประสบการณ์ และเพมิ่ พูนทกั ษะจากการฝึกแก้ปัญหาและ พัฒนา ความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) ทงั้ ดว้ ยตนเองและจากกลมุ่ เพ่อื นวยั เดียวกัน 3. เพ่อื ใหเ้ ยาวชนได้มโี อกาสใช้เวลาวา่ งให้เปน็ ประโยชน์ โดยเขา้ ร่วมกิจกรรมท่ี สรา้ งสรรคแ์ ละเสรมิ สร้างความสุขให้กบั ตนเอง ดว้ ยการฝกึ ทกั ษะดา้ นดนตรี กีฬา ศลิ ปะ ฯลฯ จาก ผู้เชยี่ วชาญ 4. เพอื่ ใหโ้ อกาสแก่เยาวชนไดม้ สี ถานที่ๆเหมาะสมและเป็นท่ียอมรับจากทกุ ฝา่ ยใน การทากิจกรรมท่สี นใจรว่ มกนั 5. เพื่อให้เยาวชนกลุ่มหน่ึงทีม่ ีความสามารถ เขา้ รับการอบรมเปน็ อาสาสมัครให้ คาปรึกษาเพ่ือนชว่ ยเพอื่ น วิธีดำเนินกำร 1. จดั ตงั้ ศูนย์เพ่อื นใจ TO BE NUMBER ONE ในสถานศึกษา 2. จดั ตงั้ ศูนยเ์ พือ่ นใจ TO BE NUMBER ONE ในสถานประกอบการ 3. จัดต้ังศูนย์เพ่ือนใจ TO BE NUMBER ONE ในสถานพินิจฯ และศูนย์ฝึกอบรมฯใน สงั กัดกรมพินิจ และคุ้มครองเด็กและเยาวชน ทัณฑสถาน และเรอื นจาในสังกัดกรมราชทัณฑ์ และสานักงาน คมุ ประพฤติจงั หวัด ในสังกัดกรมคุมประพฤติ 4. จัดตั้งศูนย์เพ่ือนใจ TO BE NUMBER ONE ในศูนย์การค้า(เฉพาะเมืองใหญ่ท่ีมี สถานที่เหมาะสม) เช่น ศูนย์เพ่ือนใจ TO BE NUMBER ONE ในศูนย์การค้าแฟชั่นไอซ์แลนด์ ซีคอนสแควร์ ฟิวเจอร์พาร์ครังสิต และเดอะมอลล์บางแค ซ่ึงทั้ง 4 แห่ง กรมสุขภาพจิตเป็นผู้รับผิดชอบดาเนินงานโดย จัดหาแกนนาอาสาสมัครมาเป็นผู้บริหารจัดการสนับสนุน กรมสุขภาพจติ เป็นผู้ผลิตและพัฒนาส่ือเทคโนโลยี ในการจัดต้ังและดาเนินงานศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE รวมท้ังสนับสนุนวิทยากร องค์ความรู้ ตลอดจนคมู่ อื และส่อื ทเี่ กี่ยวข้องทุกประเภท 2.3 ตัวอย่ำงกจิ กรรมกำรสร้ำงควำมคมุ้ กนั ทำงจติ ใจ ในยทุ ธศำสตร์ที่ 2 เช่น 2.3.1 การจดั ต้ังศนู ย์เพอ่ื นใจ TO BE NUMBER ONE ชุดวชิ า TO BE NUMBER ONE “เป็นหนง่ึ โดยไม่พ่ึงยาเสพติด” สค3300166 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย 117

กิจกรรมที่ 1 ศูนย์สหายคลายทุกข์สร้างสุขสร้างรอยย้ิม บริการให้คาปรึกษาแก่ สมาชิกชมรมหรือเยาวชนอ่ืนๆ ที่มปี ญั หาโดยคณะกรรมการท่ผี า่ นการอบรมการใหค้ าปรึกษาเบือ้ งตน้ กิจกรรมที่ 2 สหาย TO BE NUMBER ONE ปรับทุกข์ สร้างสุขสร้างรอยย้ิม สร้าง เสริมภูมิคมุ้ กันทางจิตใหก้ ับสมาชิกในชุมชนแนวคิด เป็นกิจกรรมสร้างเสริมภูมคิ ุ้มกันทางจิตใจให้กับเยาวชน ภายใต้หลกั การ คลายทุกข์ สร้างสุขแกป้ ัญหา พัฒนาอีคิว เป็นกิจกรรมในศูนย์เพ่ือนใจวัยรุ่นหรือศูนย์สหาย TO BE NUMBER ONE คลายทกุ ข์ สร้างสขุ สร้างรอยยิ้ม ของชมรม วตั ถุประสงค์ เพื่อให้เยาวชนได้มีโอกาสและสถานทใ่ี นการคลายทุกข์ สร้างสขุ แก้ปัญหา พัฒนาอคี วิ และบรกิ ารคลายทกุ ข์ ผูกมติ ร กจิ กรรมดำเนินกำรของชมรม 1.บริการให้คาปรึกษา แก่สมาชิกชมรมหรือเยาวชนอ่ืนๆ ท่ีมีปญั หาโดยผใู้ หค้ าปรึกษา ทุกคนผ่านการอบรมการให้คาปรึกษาเบื้องต้นมาแล้ว 3 คร้ังและฟ้ืนฟูปีละ 1 คร้ัง ตารางเวลาปฏิบัติงาน 17.00 - 20.00น. ผใู้ หค้ าปรกึ ษาวนั ละ 3 คนบริการใหค้ าปรึกษาท้ังรายกลุ่ม และรายบุคคล 2.กิจกรรมฝึกคิดแก้ปัญหาและพัฒนาอีคิว สาหรับสมาชิกผู้ท่ีต้องการพัฒนาความ ฉลาดทางอารมณ์ของตนเองชมรมชมรม TO BE NUMBER ONE ชุมชนกระจาย มีกิจกรรม 2 ลกั ษณะ 3.ให้เรยี นร้ดู ว้ ยตนเองจากแบบประเมินอีควิ ด้วยตนเองหรอื คู่มอื การเรยี นรู้ท่ีวเิ คราะห์ และประเมนิ ได้ 4.เรียนรู้ทางอินเตอร์เนต็ จากโรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตาบลกระจาย และองค์การ บริหารส่วนตาบลกระจาย ที่เปิดให้บรกิ ารฟรีในตอนเย็นทาให้สนุกสนานได้รู้จักเพื่อน ทาให้ไดพ้ ัฒนาอีคิวของ ตนเองเรยี นรู้ทจี่ ะอยใู่ นสงั คมอยา่ งมคี วามสขุ ปลอดภยั จากยาเสพติด 5.กิจกรรมเชิงสร้างสรรค์เพื่อสร้างสุข เป็นการแนะนาให้เข้ากลุ่มกิจกรรมต่างๆของ ชมรม ตามความสนใจของเยาวชน เช่นกลุ่มเล่นดนตรี กลุ่มเล่นกีฬา กลุ่มศิลปะ กลุ่มร้องเพลง เต้นรา จติ อาสา 2.3.2 การอบรมใหค้ วามรเู้ ร่ืองยาเสพติด 1.โครงการรณรงค์การป้องกนั และแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศกึ ษา TO BE NUMBER ONE 2.โครงการ “เยาวชนรุ่นใหม่ ร่วมใจตา้ นภัยยาเสพตดิ ” 3.ชมรมฯ จดั กจิ กรรมทศั นศึกษาในสถานที่บาบัดผู้ติดยาเสพติด 2.3.3 การทาบญุ ทางศาสนา ฟงั เทศน์ ชุดวชิ า TO BE NUMBER ONE “เป็นหน่ึงโดยไมพ่ ่งึ ยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย 118

1. ชมรมฯจัดกจิ กรรม โครงการนาสมาชิกTO BE NUMBER ONE เข้าวัดทกุ วนั พระ และสอนธรรมศึกษาโดยการฟงั เทศน์ 2. ชมรมฯจัดกิจกรรมทาบุญเลยี้ งพระ ใสบ่ าตร ในโอกาสวันสาคัญต่างๆ 3. ชมรมฯจัดกจิ กรรมตามวัฒนธรรมประเพณี เชน่ แห่เทยี นเขา้ พรรษา สรงนา้ พระวัน สงกรานต์ 4. ชมรมฯจัดกจิ กรรมบรรพชาสามเณรภาคฤดรู ้อน 5. ชมรมฯจดั กิจกรรมน่งั สมาธทิ ุกวันตอนเยน็ 2.3.4 การจัดกิจกรรมท่ใี ชเ้ วลาวา่ งให้เปน็ ประโยชน์ 1. เล่นดนตรีแบบศิลปินขงจื๊อได้กล่าวไว้ว่า “ดนตรีมอบความพึงพอใจที่ธรรมชาติ ของมนุษย์ไมส่ ามารถทาได้”และจากผลการวิจัยก็ระบุว่าดนตรหี รือเสียงเพลงสามารถกระตุ้นสมองของมนษุ ย์ ได้ดี และนักวิจัยหลายคนก็ได้แสดงผลงานวิจัยที่บ่งบอกว่า ผู้ที่ท้ังฟังดนตรีแ ละเป็นผู้เล่นเองมีพ้ืนที่ หน่วยความจาทมี่ ากข้ึน 2. อา่ นหนังสือใหเ้ หมอื นเป็นโอกาสสุดท้ายท่ีจะได้แตะมันการอ่านหนังสอื จะช่วยเพิ่ม ระดับความฉลาดได้ แต่หมายถึงว่าต้องอ่านแบบไม่ลืมหูลืมตาและอ่านหลากหลายแนวตั้งแต่ นวนิยาย ชีวประวัติ ไปจนถึงบทประพันธ์ต่างๆการอ่านหนังสือช่วยลดความเครียด ช่วยให้คุณเผชิญหน้ากับอารมณ์ ความรู้สึกที่หลากหลายและทาให้มีความรู้ในเรื่องต่างๆ เพ่ือเตรียมพร้อมสาหรับการรับมือในสถานการณ์ หลากหลาย และเขา้ ใกล้กบั เป้าหมายชีวิตในอนาคตมากขึน้ 3. ฝกึ สมาธิเปน็ กจิ วัตรประโยชน์ทสี่ าคญั ทส่ี ดุ ของการฝึกสมาธิ คือ การช่วยใหม้ ีโฟกสั และรู้จกั เน้ือแท้ของตวั เอง ชว่ ยลดระดบั ความเครียดและขจัดความกงั วลทั้งหลาย การฝึกสมาธเิ ป็นประจาทุก วนั ผ้ฝู กึ จะมจี ิตใจท่ีสงบ รู้จกั ควบคมุ ตวั เอง มคี วามหยั่งรู้ ทาให้สามารถเรียนรู้ คดิ และวางแผนส่ิงตา่ งๆ ได้มี ประสิทธภิ าพมากขน้ึ 4. ออกกาลังสมองการท้าทายสมองให้ทาสิ่งใหม่ๆ ทุกวันจะช่วยเพ่ิมความสามารถ และทาให้ฉลาดข้ึน คุณสามารถฝึกสมองได้ด้วยหลากหลายวิธี ไม่ว่าจะเป็น การเล่นโซโดกุ ปริศนาตามหน้า หนังสือพิมพ์ เกมกระดาน และปรศิ นาคาทาย กจิ กรรมดังกล่าวจะชว่ ยสรา้ งความเชอ่ื มโยงของสมอง ผู้เล่นจะ ได้เรียนรู้การตอบสนองต่อสถานการณ์ต่างๆ ในลักษณะที่มีความสร้างสรรค์ พัฒนาความสามารถในการ มองเหน็ ให้มองไดห้ ลายมมุ มอง และสมองมีประสิทธภิ าพมากยงิ่ ขน้ึ 5. ออกกาลังกายก็เป็นเร่ืองสาคัญการมีร่างกายที่แข็งแรงก็เป็นเคร่ืองการันตีว่า สุขภาพสมองดี การออกกาลังอย่างเป็นประจานอกจากจะช่วยให้สุขภาพดีแล้วยังช่วยลดความตึงเครยี ดและ ชดุ วชิ า TO BE NUMBER ONE “เปน็ หน่ึงโดยไมพ่ งึ่ ยาเสพติด” สค3300166 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย 119

ทาให้นอนหลับง่าย จากการศึกษาทดลองในหนูและมนุษย์ ได้แสดงใหเ้ ห็นวา่ การออกกาลังกายสามารถสร้าง เซลลส์ มองใหม่ และทาใหป้ ระสิทธภิ าพการทางานโดยรวมของสมองดีขนึ้ 6.ลองทาเมนูอาหารหลากหลายคนท่ีลองทาอาหารเมนูแปลกไปจากปกติ มักเป็นคน ท่ีมคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ กล้าที่จะลองส่ิงใหม่ๆ และเป็นคนที่มคี วามใสใ่ จในเรื่องของรายละเอียด สิ่งที่คุณจะได้ จากการทาอาหาร คือ สามารถทาส่งิ ตา่ งๆ ไดห้ ลากหลาย มคี วามแม่นยา และตดั สินใจไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ 7.ระบายความรู้สกึ ผ่านตัวหนังสือนอกจากการเขียนบอ่ ยๆ จะเป็นการเพ่มิ ทกั ษะทาง ภาษาแล้ว ยังช่วยพฒั นาความสามารถในเร่ืองของการโฟกัส ความคดิ สร้างสรรค์ จนิ ตนาการ และความเขา้ ใจ ไม่จาเป็นต้องเขียนลงในกระดาษเท่าน้ัน สามารถเขียนที่ไหนก็ได้ตามต้องการ ไม่ว่าจะเขียนลงบนมือ หรือ แมแ้ ต่สร้างบลอ็ กของตวั เองขึ้นมา กิจกรรมท้ำยเร่ืองที่ 2 ยุทธศำสตร์ที่ 2 กำรเสรมิ สร้ำงภมู คิ ุ้มกันให้เด็กและเยำวชน (ใหผ้ ู้เรียนทำกิจกรรมทำ้ ยเร่อื งที่ 2 สมดุ บนั ทกึ กิจกรรมกำรเรียนรู้ประกอบชดุ วชิ ำ) เร่ืองท่ี 3 ยุทธศำสตร์ท่ี 3 กำรสรำ้ งและพัฒนำเครือขำ่ ยเพ่ือกำรป้องกนั และแก้ไขปญั หำยำเสพตดิ 3.1 วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพือ่ พฒั นาศกั ยภาพสมาชิกเครือข่ายTO BE NUMBER ONE ผปู้ ฏบิ ัติงานในโครงการฯ และ เก่ียวขอ้ งใหส้ ามารถดาเนินงานปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ ภายใต้โครงการฯ ได้อย่างเข้มแข็ง และมี ประสิทธิภาพ 2. เพอ่ื ผลิตและพัฒนาองค์ความรู้ในการป้องกนั และแก้ไขปัญหายาเสพติดภายใตโ้ ครงการ TO BE NUMBER ONE สาหรับเครอื ข่าย TO BE NUMBER ONE ท่ัวประเทศ 3. เพื่อใหส้ มาชิกเครือข่าย TO BE NUMBER ONE ได้มโี อกาสแลกเปลยี่ นเรียนรู้ประสบการณ์ ในการทางานซึ่งกันและกนั อนั จะนาไปสู่การขยายผลและพัฒนาประสทิ ธภิ าพการป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพตดิ อย่างย่งั ยนื 4. เพือ่ ใหส้ มาชิกเครือขา่ ย TO BE NUMBER ONE ทวั่ ประเทศมกี าลงั ใจ มคี วามผูกพนั พรอ้ ม ที่จะชว่ ยเหลอื กนั รว่ มแรงร่วมใจกนั ทางานภายใต้โครงการ TO BE NUMBER ONE อยา่ งจริงจงั ตอ่ เนื่อง ซ่งึ จะทาใหเ้ กดิ เปน็ พลังแผ่นดินอย่างแทจ้ ริง ชดุ วิชา TO BE NUMBER ONE “เปน็ หน่ึงโดยไม่พงึ่ ยาเสพติด” สค3300166 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 120

3.2 กำรดำเนนิ งำน 1. พฒั นาระบบการจัดเก็บและรายงานข้อมลู การดาเนินงานโครงการ TO BE NUMBER ONE ตอ่ คณะกรรมการอานวยการระดับจังหวัด 2. พัฒนาช่องทางการติดต่อส่ือสารระหว่างเครือข่ายสมาชิก TO BE NUMBER ONE และ ผู้ปฏิบัติงานในโครงการ TO BE NUMBER ONE และผู้เก่ียวข้อง ได้แก่ Fanpang. facebook. TO BE NUMBER ONE กศน.จังหวัดพังงา/Line สมาชิก TO BE NUMBER ONE พังงา/Line ผู้บริหาร TO BE NUMBER ONE จังหวัดพงั งา/Line TO BE NUMBER ONE กศน.พังงา 3. การศกึ ษาดงู านชมรม TO BE NUMBER ONE ตน้ แบบ 4. การจัดนิทรรศการแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกับเครอื ขา่ ย 5. การแลกเปล่ียนกจิ กรรมสร้างสรรค์ 6. เครือขา่ ยเขม้ แขง็ ดว้ ย Social 7. เขา้ รว่ มกจิ กรรมการประกวด TO BE NUMBER ONE ระดับภาค/ระดบั ประเทศ 8. เปิดโอกาสใหเ้ ยาวชนผทู้ ี่ถูกควบคมุ ความประพฤตดิ า้ นยาเสพตดิ เขา้ มาทากิจกรรม/ ศึกษา ต่อกบั กศน. 9. สนบั สนนุ วทิ ยากร เงนิ ทุน ในการอบรมให้ความรูเ้ ร่อื งยาเสพตดิ แกห่ นว่ ยงานเครอื ขา่ ย 10. สนับสนุนการจัดต้งั ชมรม TO BE NUMBER ONE กศน.ทกุ ตาบล/อาเภอ หมำยเหตุ การจดั กจิ กรรมแต่ละครัง้ อาจจดั อยู่ในหลายๆยุทธศาสตร์ หรืออาจอยูใ่ นยุทธศาสตร์ทตี่ า่ งกนั ในแต่ ละครัง้ ทจี่ ัด ทั้งนี้ข้ึนอย่กู บั วตั ถุประสงค์ในการจัดแต่ละครงั้ 3.3 กจิ กรรมกำรดำเนนิ งำนในโครงกำร TO BE NUMBER ONE ประกอบด้วย 1. กิจกรรมแลกเปลีย่ นเรยี นรู้การรณรงค์ป้องกนั และแก้ไขปัญหายาเสพติด 2. จดั เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลของเหลา่ สมาชิกผา่ นเครือข่ายอนิ เตอรเ์ น็ตเพ่ือเป็นการเชื่อมโยง เครือข่าย 3. ประชาสัมพันธก์ จิ กรรมชมรมทางWebsite /facebook ของชมรม 4. การแลกเปล่ียนประสบการณข์ องเหลา่ สมาชิกระหวา่ งชมรมในเครือขา่ ย 5. เข้ารว่ มมหกรรมชมรม TO BE NUMBER ONE ระดบั จงั หวัด ระดับภาคและระดับประเทศ 6. การผลิตและจาหน่ายผลติ ภัณฑใ์ นโครงการ 7. การจดั คา่ ย TO BE NUMBERONEสาหรบั แกนนา (TO BE NUMBERONE FOR LEADERS) ชดุ วิชา TO BE NUMBER ONE “เปน็ หนงึ่ โดยไมพ่ ึง่ ยาเสพติด” สค3300166 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 121

8. การจดั ค่าย TO BE NUMBERONE สาหรับสมาชกิ (TO BE NUMBERONE FOR MEMBERS) 9. การผลติ และเผยแพร่รายการวิทยุและโทรทัศน์ 10. การจดั มหกรรมรวมพล TO BE NUMBER ONE ระดับภาค /ประเทศ 11. การจัดกิจกรรมการประกวด 3.4 ตวั อย่ำงกิจกรรมกำรสร้ำงและพัฒนำเครอื ข่ำยในยุทธศำสตร์ท่ี 3 เชน่ 3.4.1 สนบั สนุนวิทยากรอบรมให้ความรู้ เงินทนุ และอุปกรณแ์ ก่ชมุ ชน และสถานศึกษาในการ จดั ตัง้ ชม TO BE NUMBER ONE ศนู ย์เพือ่ นใน TO BE NUMBER ONE การสนบั สนนุ วทิ ยากรอบรมใหค้ วามรเู้ ร่อื งการรณรงค์ตอ่ ต้านยาเสพติดให้กบั เครือข่าย ชมรม TO BE NUMBER ONE เพอื่ สรา้ งและพฒั นาเครือข่าย แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ และชว่ ยเหลอื ในการ ดาเนินงานของชมรมฯ ตลอดจนการสนับสนนุ เงินทนุ และอุปกรณแ์ กช่ ุมชน และสถานศกึ ษา 3.4.2 เป็นพี่เลี้ยง ที่ปรึกษาในการจัดต้ังชมรม TO BE NUMBER ONE แก่ชมรมอ่ืน การ ดาเนินงานโครงการ TO BE NUMBER ONE มียุทธศาสตรใ์ นเร่อื งการสรา้ งและพัฒนาเครอื ข่ายชมรมฯ ท่ีต้ัง ขึ้นท้ังในสถานศึกษา สถานประกอบการ และในชุมชน เพื่อร่วมกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในเยาวชน ซึ่ง เป็นอนาคตของชาติ การร่วมมือกันของเครือข่ายทุกภาคส่วน จะช่วยให้การดาเนินงานประสบความสาเร็จ และมปี ระสทิ ธิภาพ 3.4.3 เปิดโอกาสให้ผู้ท่ีผ่านการบาบัดยาเสพติด เข้ามาทางานได้โครงการ TO BE NUMBER ONE มีเป้าหมายในการแก้ปัญหายาเสพติดในกลุ่มเยาวชน ซ่ึงเป็นกลุ่มเส่ียงในเรื่องการเข้าไปยุ่งเก่ียวกับยา เสพติดมากท่ีสุด เยาวชนมีความสาคัญต่อการพัฒนาประเทศในทุกๆด้าน เรียกได้ว่าทิศทางการพัฒนา การ แขง่ ขนั กับประเทศอ่ืนๆ ข้นึ อยู่กับคนกลุ่มนี้ การแก้ปญั หายาเสพติดมีระบบการดาเนินงานที่ครอบคลมุ ตั้งแต่ การให้ความรู้ รณรงค์ป้องกันและแก้ปัญหาผู้เสพ ซ่ึงรวมถึงการให้โอกาสผู้เสพท่ีผ่านการบาบัดได้กลับคืนสู่ สังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการให้โอกาสผู้เสพท่ีผ่านการบาบัดมาช่วยการจัดกิจกรรมแก้ไขปัญหายาเสพติด นอกจากจะสง่ ผลดตี ่อการดาเนินงานของโครงการแล้ว ยังเป็นการให้กาลังใจแกผ่ ู้เสพท่ีผ่านการบาบัด ให้เห็น คุณคา่ ในตัวเอง คณุ ค่าในการทาความดี กจิ กรรมท้ำยเรอ่ื งท่ี 3 ยทุ ธศำสตรท์ ่ี 3 กำรสร้ำงและพัฒนำเครอื ข่ำยเพอื่ กำรป้องกันและแก้ไขปญั หำยำ เสพติด(ใหผ้ ้เู รียนทำกิจกรรมท้ำยเรื่องท่ี 3 ทส่ี มดุ บนั ทกึ กิจกรรมกำรเรียนรู้ประกอบชุดวชิ ำ) ชุดวิชา TO BE NUMBER ONE “เปน็ หนึง่ โดยไม่พงึ่ ยาเสพติด” สค3300166 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 122

หนว่ ยกำรเรยี นรทู้ ี่ 6 TO BE NUMBER ONE กับภำวะผ้นู ำและกำรทำงำนเป็นทีม สำระสำคญั ผู้ทป่ี ระสบความสาเร็จมักจะมีส่ิงหนึ่งทแ่ี ตกตา่ งไปจากคนท่ัวๆไปคือภาวะผู้นา (Leadership) เพราะ สิ่งน้ีจะเป็นขุมพลังในการขับเคลื่อนให้ชีวิตของคนมุ่งไปข้างหน้าพลังดังกล่าวนี้ไม่ได้เกิดจากพลังภายในตัว คนๆนั้นเพียงอย่างเดียวแต่เป็นพลังร่วม (Synergy) ระหว่างพลังภายในของคนๆน้ันกับพลังของคนอ่ืนๆรอบ ขา้ งทเ่ี ป็นผู้ตามซ่ึงมีส่วนช่วยสง่ เสริมให้พลังงานท่ีขับเคลือ่ นมีเพ่มิ มากข้ึนเป็นทวคี ูณเราจะเห็นคนบางคนไมไ่ ด้ เป็นคนเก่งงานไปกวา่ คนอนื่ ๆพูดง่ายๆว่าฝีมือในการทางานก็ไม่ได้ดีมากเท่าไหร่ แต่ทาไมเขาจึงสามารถชักจูง โน้มน้าวนาเสนอให้ผู้บริหารเห็นด้วย และอนุมัติโครงการท่ีเขาเสนออยเู่ สมอ รวมทั้งคนที่ทางานรอบๆ ตวั เขา ก็ยินยอมพร้อมใจและรู้สึกยินดีท่ีได้ทางานร่วมกับเขา แต่บางคนที่ทางานให้เขามีความสามารถในการทางาน เก่งกว่าคนอื่นๆ ต้ังหลายเท่าคาถามเหล่าน้ีเป็นคาถามที่จะเฉลยคาตอบให้ส้ันๆง่ายๆแต่สร้างได้ยาก น่ันก็คือ เขาท่ีถูกกล่าวถึงมีคุณสมบัติของการเป็นผู้นา คุณสมบัติการเป็นผู้นา ไม่ได้หมายถึงความกล้าแสดงความ ชดุ วิชา TO BE NUMBER ONE “เปน็ หนง่ึ โดยไม่พึง่ ยาเสพติด” สค3300166 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย 123

คิดเห็นเวลาอยู่ในท่ีประชุม พูดมากกว่าคนอื่นเสมอ ชอบแสดงตนเป็นผู้นาอยู่เสมอ แต่หมายถึงความ เหนือกว่าบคุ คลอ่ืน ในด้านจติ วทิ ยา การคดิ วิเคราะห์ การควบคุมอารมณ์ บุคลิกภาพรวมถึงปฏิภาณไหวพริบ ในการแก้ปัญหาต่างๆภาวะผู้นาเปรียบเสมือนคุณภาพของผลไม้ กระบวนการในการพัฒนาภาวะผนู้ าก็น่าจะ หมายถึง การคัดเลือกเมล็ดพันธ์ุที่ดี การคัดเลือกดินที่สมบูรณ์ การรดน้าพรวนดินอย่างถูกต้อง รวมถึงการ กาจดั แมลงทเ่ี ปน็ ศตั รพู ืช ในปัจจุบันการทางานเป็นทีมมีความสาคัญอย่างย่ิง ในยุคท่ีมีการแข่งขันทางด้านเศรษฐกิจสูงมีการ เปลี่ยนแปลงทางด้านสังคม และชีวิตความเป็นอยู่อย่างมาก ซึ่งทาให้การทางานมีความยุ่งยากและซับซ้อน องค์กรจาเป็นต้องปรับปรุง และพัฒนาหรืออาจต้องปรับเปล่ียนเพื่อให้สอดคล้องกับสภาพทางด้านสังคม ปัจจุบันการทางานเป็นทีมทาให้บุคคลเกิดความปลอดภัยทางจิตวิทยา เน่ืองจากทาให้รู้สึกว่ามีผู้คอย ช่วยเหลือเกอ้ื กูล และให้คาปรกึ ษาหารอื ช่วยกนั คิดชว่ ยกันทา องค์กรมีความคาดหมายให้พนักงานร่วมมอื กัน ทางานเป็นทมี เพ่อื ใหบ้ รรลุเปา้ หมายขององค์กรไปในทิศทางเดียวกัน สาหรับบคุ คลอาจมจี ุดประสงคข์ องการ ทางานเพียงเพอ่ื ต้องการการยอมรับในความสามารถและการมีศักดิ์ศรี แต่แทท้ ี่จริงแลว้ การทางานเปน็ ทีมน้ัน ยงั เป็นการพฒั นาศักยภาพในการทางานให้สงู ขึ้นการกระจายความรับผิดชอบและอานาจส่ังการใหก้ ารทางาน เบ็ดเสร็จในทีมงานทั้งระดับการจัดการช้ันสูง ผู้บริหารลงไปจนถึงการจัดการระดับล่าง และผู้ปฏิบัติงานเป็น การสรา้ งความรู้สึกว่าได้เข้ามาเป็นส่วนหน่ึงขององค์กร ข้อสาคัญในการบริหารจัดการคือ บทบาทและหน้าท่ี ของทีมงานในแต่ละทีมงาน ต้องประสานสอดคล้องกันเพ่ือให้มีบรรยากาศที่ดีในการท่ีจะร่วมมือร่วมใจกันใน การทางานท่ีดีในทีมงาน การทางานเป็นทีม เป็นการทางานท่ีต้องการความร่วมมือกัน ของบุคคลหลายคน หรือหลายกลุ่ม โดยแต่ละคนหรือแต่ละกลุ่ม จะมีความรู้ความสามารถหรือความเชี่ยวชาญท่ีแตกต่างกันไป เพือ่ ตอบสนองงานที่ตอ้ งทาร่วมกันทุกคน มคี ุณค่ามศี ักด์ิศรแี ละมีความสาคัญสาหรบั งาน และทมี งานถึงแมว้ ่า การร่วมกลุ่มกันของบุคคลน้ันมาจากเหตุผลที่แตกต่างกัน การทาให้กลุ่มได้รับความพอใจทางด้านจิตวิทยา และสงั คมคือการยอมรบั และให้การสนบั สนนุ ในทางสังคมช่วยลดความหวาดกลัวและลดความขดั แยง้ เปน็ ต้น ส่งิ เหลา่ น้ีจะชว่ ยทาให้สมาชิกของกลมุ่ หรอื ทีมชว่ ยกันทาให้ผลงานมคี วามหมายสาหรบั องค์กร ตวั ชีว้ ัด 1.อธบิ ายและยกตัวอย่าง TO BE NUMBER ONE กบั ภาวะผนู้ า 2. อธิบาย และยกตวั อย่าง TO BE NUMBER ONE กบั การทางานเปน็ ทีม ขอบขำ่ ยเนอื้ หำ 124 เรอื่ งที่ 1 TO BE NUMBER ONE กบั ภาวะผู้นา 1.1 ความหมาย และความสาคญั ของภาวะผนู้ า 1.2 การสรา้ งภาวะผนู้ า ชุดวชิ า TO BE NUMBER ONE “เป็นหน่ึงโดยไม่พ่งึ ยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย

1.2.1 กล้าคดิ และกลา้ นาเสนอ 1.2.2 ทกั ษะการสื่อสาร 1.2.3 ความรบั ผดิ ชอบ 1.2.4 บคุ ลิกภาพ เรื่องท่ี 2 TO BE NUMBER ONE กับการทางานเป็นทมี 2.1 ความหมาย และความสาคญั ของการทางานเปน็ ทมี 2.2 ลกั ษณะของการทางานเปน็ ทมี ที่มีประสทิ ธิภาพ 2.3 กลยทุ ธ์ในการสรา้ งทีมงาน เวลำท่ีใช้ในกำรศึกษำ จานวน 14 ชว่ั โมง สื่อกำรเรยี นรู้ 1. ชุดวิชา TO BE NUMBER ONE เป็นหน่ึงโดยไมพ่ ง่ึ ยาเสพติด รหัสวชิ า สค3300166 2. สมดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรปู้ ระกอบชดุ วชิ า 3. สอ่ื เสริมการเรียนรอู้ ่นื ๆ เรือ่ งที่ 1 TO BE NUMBER ONE กับภำวะผูน้ ำ ภาวะผู้นา (Leadership) เป็นปัจจัยที่สาคัญอย่างยิ่งต่อการบริหารงานซ่ึงเป็นจุดรวมแห่งพลังของ สมาชิกในองค์การคุณลักษณะทักษะและพฤติกรรมของผู้นามีส่วนสัมพันธ์อย่างแนบแน่นกับปริมาณคุณภาพ และภาพพจน์ขององค์การซึ่งจะมีผลสะท้อนให้เห็นถึงประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการปฏิบัติงานใน หน่วยงานน้ันๆได้เป็นอย่างดีนอกจากนี้ผู้นายังเป็นตัวอย่างในการปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชาและ ผู้ร่วมงานดังน้ันภาวะผู้นาจึงมีความสาคัญต่อผู้ร่วมงานผู้ใต้บังคับบัญชาสถาบันและความสาเร็จขององค์การ เป็นอย่างยิ่งเพราะฉะน้ันการได้เรียนรู้ถึงคุณลักษณะทักษะและพฤติกรรมของผู้นาจึงเป็นแนวทางในการ พฒั นาภาวะผนู้ าของตนเองได้ดใี นระดับหนงึ่ 1.1 ควำมหมำยและควำมสำคญั ของภำวะผนู้ ำ ภาวะผู้นา (Leadership) เป็นการกระทาที่มอี ิทธิพลจูงใจให้ผู้อ่ืนร่วมมอื ปฏบิ ัตงิ านเพื่อให้งาน สาเรจ็ ตามความมุ่งหมายเป็นการใช้อทิ ธิพลที่ไม่ใช่การบังคับชกั นากิจกรรมของกลมุ่ ให้บรรลุเปา้ หมายร่วมกัน เป็นความสามารถที่จะสรา้ งความเช่ือม่นั และใหก้ ารสนับสนุนบุคคลเพื่อใหบ้ รรลุเป้าหมายขององค์กร ควำมหมำยของภำวะผู้นำ (Leadership) ชดุ วิชา TO BE NUMBER ONE “เปน็ หน่ึงโดยไมพ่ งึ่ ยาเสพติด” สค3300166 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 125

คาว่า “ภาวะผู้นา” ซึ่งเก่ียวข้องกับพฤติกรรมการแสดงออกอย่างใดอย่างหนึ่งของผู้นาในเชิง ขอบข่ายของความหมายของคาว่า“ภาวะผู้นา” ได้มีผู้ให้ความคิดเห็นแตกต่างกันออกไปหลายลักษณะ (รังสรรค์ ประเสริฐศรี, 2544 ; สมศกั ด์ิ ขาวลาภ, 2544 ; อาคม วดั ไธสง, 2547) ดงั นี้ 1. ภาวะผู้นาในฐานะที่เป็นศูนย์กลางของกระบวนการกลุ่มเป็นศูนย์รวมของอานาจในการ กาหนดจุดมุ่งหมายและกจิ กรรมกลมุ่ 2. ภาวะผู้นาในฐานะทเ่ี ป็นบุคลิกภาพและผลของบคุ ลิกภาพที่แตกต่างจากผู้อน่ื ทาใหเ้ ปน็ ที่น่า ยกย่องนบั ถอื และพร้อมทจ่ี ะใหค้ วามรว่ มมือ 3. ภาวะผู้นาในฐานะที่มีศลิ ปะของการโน้มน้าวจิตใจผู้อืน่ เป็นศิลปะของผู้นาที่จะทาให้ผู้ตาม เกดิ ความรว่ มมอื เคารพนับถอื ใหค้ วามจงรักภักดี 4. ภาวะผู้นาในการใช้อิทธิพลเพ่ือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมผู้อ่ืนทาให้บรรลุจุดมุ่งหมายของ องคก์ าร 5. ภาวะผู้นาในฐานะของพฤติกรรมที่นามาใช้ในการทากิจกรรมกลุ่มเพื่อให้คนอื่นตอบสนอง ต่อบทบาทของการนากลมุ่ 6. ภาวะผู้นาในฐานะท่ีเป็นรูปแบบของการชักชวน เกลี้ยกล่อมให้เกิดความร่วมมือในการ ปฏิบัติภารกจิ เพอื่ ใหบ้ รรลุวัตถปุ ระสงค์ 7. ภาวะผู้นาในฐานะที่เป็นความสัมพันธ์ของพลังอานาจท่ีผู้นาจะใช้ในการปฏิบัติงานเพื่อให้ บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ 8. ภาวะผู้นาในฐานะท่ีเป็นเครื่องมือในการปฏิบัติงานและประสานงาน ตลอดจนการจัด ระเบียบการปฏบิ ัตงิ านให้บรรลตุ ามเปา้ หมาย 9. ภาวะผู้นาในฐานะที่เป็นผลของปฏิกิริยาโต้ตอบ ได้กระตุ้นให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคลของสมาชกิ ภายในกลุม่ ท่ียอมทาตามความประสงค์ของผนู้ าโดยไม่เป็นการบงั คับให้กระทา 10. ภาวะผู้นาในฐานะความแตกต่างของบทบาทซ่ึงมีความแตกต่างระหว่างบทบาทผู้นาและ บทบาทผ้ตู ามและมงุ่ เนน้ ให้เหน็ ถงึ บทบาทของผ้นู าองคก์ รให้บรรลุเป้าหมาย 11. ภาวะผู้นาในฐานะที่เป็นความคิดริเร่ิมในการทางานซึ่งครอบคลุมถึงความคิดริเริ่มทั้งใน ความคิดและการกระทาการบารุงรักษาโครงสร้างของหน่วยงาน การก่อให้เกิดความคาดหวังและปฏิกิริยา โตต้ อบระหว่างกัน อาคม วัดไธสง (2547:3) กล่าวว่าภาวะผู้นาคือพฤติกรรมที่ผู้นาแสดงออกในรูปของ กระบวนการความสามารถหรือกิจกรรมซ่ึงก่อให้เกิดอิทธิพลต่อพฤติกรรมของบุคคลอื่นโดยท่ีบุคคลอ่ืน จะคล้อยตามหรอื ปฏิบัติตามผ้นู า เพ่อื ใหก้ ารดาเนินการบรรลุวัตถปุ ระสงค์ ในสถานการณใ์ ด สถานการณห์ น่งึ ชุดวชิ า TO BE NUMBER ONE “เป็นหนงึ่ โดยไมพ่ ึง่ ยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 126

เฮอร์เซย์และบลังชาร์ด (Hersey and Blanchard,1982 ; อ้างถึงใน อาคม วัดไธสง, 2547:3) ให้ความหมายว่า ภาวะผู้นา คือ กระบวนการสร้างอิทธิพลจูงใจคนหรือกลุ่มเพ่ือให้เกิดความพยายามร่วมกัน ดาเนินการให้บรรลวุ ตั ถปุ ระสงคใ์ นสถานการณใ์ ดสถานการณห์ น่ึง ควำมสำคัญของภำวะผนู้ ำ ภาวะผนู้ าเมื่อพิจารณาโดยภาพรวมแล้วจะเห็นว่าเป็นเร่อื งทส่ี าคัญมากตอ่ การจัดการชวี ิตและ หน้าท่ีการงานทั้งปวงของบุคคลทุกคนท่ีกล่าวเช่นน้ีก็เพราะว่าโดยธรรมชาติความเป็นจริงของชีวิตมนุษย์เรา ต้องการยอมรบั ในความเป็นจรงิ ทีม่ ิอาจปฏเิ สธไดอ้ ยหู่ ลายประการ ได้แก่ 1. ทกุ ชีวิตมีพน้ื ฐานความเปน็ มาที่แตกตา่ งกนั 2. พฤตกิ รรมการแสดงออกอันเนื่องมาจากวธิ คี ดิ ท่ตี ่างกันก็ไมเ่ หมือนกนั 3. ความคาดหวังและอุดมคติในชวี ติ แตกต่างกัน 4. ปญั หาของแต่ละองค์การที่จะต้องจัดการแตกตา่ งกนั 5. เปา้ หมายความสาเร็จขององค์การก็แตกต่างกัน ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้นจึงมีความจาเป็นอย่างย่ิงที่จะต้องทาให้บุคคลทุกคนมีคุณลักษณะ ภาวะผู้นาเพื่อให้แต่ละคนสามารถจัดการปัญหาของตนเองได้ให้ความร่วมมือกับผู้อ่ืนเป็นและมองเห็น ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าส่วนตนสาหรับบุคคลที่มีหน้าที่การงานเป็นหัวหน้าองค์การย่ิงต้องฝึกปฏิบัติ และ เรียนรเู้ กี่ยวกับภาวะผนู้ าใหม้ ากขน้ึ แบบทวีคูณเพ่ือจูงใจให้ผู้อ่ืนคลอ้ ยตามไปในทิศทางทผ่ี ูน้ าประสงค์ 1.2 กำรสร้ำงภำวะผ้นู ำ การเปล่ียนแปลงที่รวดเร็วของเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่การแข่งขันในตลาดโลกทีเ่ ขม้ ข้น และการทางานในสถานที่ทางานที่มีบุคลากรท่ีมีความหลากหลายเป็นปัจจัยท่ีทาให้ความเป็นผู้นาหรือทักษะ ภาวะผู้นา(Leadership Skill) ของผู้นาเป็นสิ่งท่ีจาเป็นพ้ืนฐานสาหรับงานด้านบริหารไม่ว่าจะเป็นเร่ืองของ การบริหารคนและบริหารงานต้องปฏิบัติควบคู่กันไปการจัดองค์การ(Organization) เป็นการผสมผสาน ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดเข้าด้วยกันเพื่อแปรแผนให้เป็นการกระทาในทางปฏิบัติทักษะของผู้นาจะเป็นตั ว สร้างความผูกพันและความกระตือรือร้นร่วมกันของสมาชิกในองค์ การที่จะใช้ศักยภาพของตนอย่างเต็มท่ี ในการช่วยใหแ้ ผนบรรลุเปา้ หมายอย่างมีประสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ล 1.2.1 กลำ้ คิด และกลำ้ นำเสนอ ความกล้าคิดกล้านาเสนอนอกจากจะเป็นการแสดงความต้ังใจในการทางานแล้วยังเป็น การแส ดงออกว่ามีความต้องการให้ งาน ออกมาดียิ่ งๆ ขึ้น ซ่ึงถือเป็ น คุณ ส มบั ติส าคัญ ของคน ท่ีเป็ น ผู้ น า ชุดวชิ า TO BE NUMBER ONE “เป็นหน่งึ โดยไมพ่ งึ่ ยาเสพติด” สค3300166 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 127

นอกจากน้ันหากคุณสามารถแสดงออกได้ว่างานยากหรืองานใหญ่ไม่เคยหว่ันมีส่ิงที่เรียกว่า Can Do Attitude คนอื่นก็จะเห็นวา่ เราเปน็ คนท่ีชอบความท้าทาย และไม่หว่ันเกรงต่อปัญหาใดๆ เป็นโอกาสแสดงซึ่ง ศกั ยภาพและภาวะผ้นู าการเปลี่ยนแปลงได้อย่างชดั เจน 1.2.2 ทักษะกำรสื่อสำร ไม่ว่าคุณจะเป็นผู้จัดการพนักงานผู้ประสานงานหรือแม้แต่เป็นหัวหน้าครอบครัวก็ตาม ทักษะความเป็นผู้นาของคุณน้ันจะขึ้นอยู่กับความสามารถในการติดต่อส่ือสารกับผู้อื่นว่ามีประสิทธิภาพมาก น้อยเพียงใดซึ่ง ทักษะต่อไปน้ีจะช่วยให้คุณเป็นผู้นาที่ดีข้ึนและจะช่วยพัฒนาความสัมพันธ์ของคุณกับผู้อ่ืนอีก ทัง้ ยงั ช่วยเพ่มิ ขวัญกาลงั ใจให้กบั คนในทีมหรือคนในครอบครัวของคุณได้เป็นอยา่ งดี 1. รจู้ ักตวั เองการติดต่อสื่อสารท่ีดีควรเร่ิมต้นจากการร้จู ักตนเองก่อนเมื่อใดก็ตามที่คุณ ติดต่อส่ือสารกับคนอ่ืนสิ่งสาคัญคือคุณจะต้องรู้จักและสามารถจัดการกับอารมณ์ความรู้สึกของตัวเองให้ได้ ก่อนคุณไม่ควรเผยอารมณ์แย่ๆ ของคุณให้คนอนื่ ได้เห็นเพราะพวกเขาเหล่าน้ันอาจจะตัดสินคุณได้ว่าคุณอาจ เป็นคนลังเลและไม่ค่อยมีความม่ันใจและส่ิงที่สาคัญท่ีควรตระหนักไว้ก็คือถ้าคุณหวังอยากจะให้คนอ่ืนแสดง ท่าทางทีด่ ตี ่อคุณอย่างไร คณุ กค็ วรแสดงท่าทางท่ีดตี ่อเขาแบบนน้ั กอ่ น 2. รู้จักและเข้าใจผู้ฟังการสื่อสารท่ีดีที่สุดมักเกิดจากการที่เรารู้จักและเข้าใจผู้ฟัง รู้ว่า วิธีไหนท่ีจะทาให้ผู้ฟังสนใจในส่ิงที่เราพูด รู้ว่าผู้ฟังเขาสนใจอะไร รวมไปถึงการดูแลเอาใจใส่และการสร้าง ความไว้วางใจให้กับผู้ฟังด้วย ทักษะนี้จะทาให้คุณสามารถซื้อใจพวกเขาได้ส่ิงเหล่าน้ีจะช่วยรักษา ความสมั พนั ธ์อนั ดีระหวา่ งคณุ และผ้ฟู งั ใหด้ าเนินไปในระยะยาวได้ 3. พูดให้ตรงประเด็นชัดเจนและเจาะจงการส่ือสารอย่างตรงไปตรงมาและชัดเจนนั้น สามารถกระตุ้นใหผ้ ู้ฟงั ร้สู ึกคล้อยตามมีความเข้าใจ และให้ความร่วมมือในส่ิงทคี่ ุณกาลังขอได้ง่ายขึ้นเพราะถ้า หากคุณได้อธิบายสิ่งต่างๆไว้ชัดเจนและไมค่ ลมุ เครอื แล้วก็นบั เป็นสิ่งที่ดีกว่าการทิ้งให้ผฟู้ งั รู้สกึ สงสยั หรือเข้าใจ ผิดไปได้และเมื่อใดก็ตามท่ีมีใครสักคนขอความคิดเห็นจากคุณควรเน้นการให้คาแนะนาด้วยวิธีง่ายๆ และ สามารถนาไปใช้ได้จริงคุณควรจะให้คาแนะนากับผู้อ่ืนอย่างเป็นมิตรและเปิดโอกาสให้ผู้อื่นได้ตอบคาถามกับ คุณดว้ ย 4. ให้ความสาคัญกับภาษากายและสีหน้าหน้าท่าทางมีงานวิจัยหลายชิ้นท่ีกล่าวว่า ภาษากาย และสีหน้าท่าทางน้ันสาคัญพอๆกับคาพูด หรือในบางคร้ังอาจจะสาคัญกว่าด้วยซ้า เพราะการ แสดงออกทางสีหน้าท่าทางทางภาษามือ และทางสายตาน้ันเป็นการช่วยยืนยันคาพูดของคุณหรือแม้แต่ สามารถทาลายคาพูดของคุณได้เลยทีเดียวเม่ือใดท่ีคุณกาลังพูดอยู่กับคนอ่ืนโปรดระมัดระวังภาษากายของ คุณและหมั่นสังเกตภาษากายของผู้ฟังด้วยโดยเฉพาะอย่างย่ิงควรให้ความสาคัญกับภาษากายของคุณว่ามัน สมั พันธห์ รือเก่ยี วข้องกบั ส่งิ ทค่ี ุณกาลังพดู อยู่หรอื เปลา่ ส่ิงนี้จะช่วยใหค้ ณุ ดูเปน็ ผู้พดู ที่มีความนา่ เช่ือถอื อีกท้งั ยัง ช่วยให้คณุ มีความมั่นใจในตัวเองเพ่ิมมากข้นึ ด้วย ชุดวิชา TO BE NUMBER ONE “เปน็ หน่ึงโดยไม่พ่ึงยาเสพติด” สค3300166 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 128

5. ฟังมากกว่าพูดอีกหน่ึงส่ิงท่ีสาคัญท่ีจะกระตุ้นให้เกิดการสื่อสารที่เปิดกว้างและ เทีย่ งตรงภายในองค์กรกค็ ือการเปน็ ผฟู้ ังทีด่ ีเมื่อมีใครสักคนกาลงั พูดกับคุณอยู่น้นั จงตั้งใจฟังในส่งิ ที่เขาพดู ให้ดี ถามคาถามไปบ้างเพื่อแสดงให้เห็นถึงความสนใจของคุณพร้อมทั้งเปิดใจรับฟังในสิ่งต่างๆ ใหม้ ากและไมแ่ สดง ท่าทีปฏิเสธแม้ว่าคุณจะไม่เห็นด้วยก็ตามน่ีแหละคือสิ่งท่ีจะช่วยสร้างความสามัคคีในหมู่คณะและยังสร้าง ความเขา้ ใจระหว่างผพู้ ูดกับผูฟ้ ังเปน็ อยา่ งดีดว้ ย 1.2.3 ควำมรบั ผิดชอบ หน้ าท่ี แล ะความรับ ผิ ดช อบ เป็ นส่ิ งควบคู่กัน ไม่ส ามารถแยกออกจากกัน ได้ คว าม รบั ผิดชอบเกดิ ขึน้ และมอี ย่กู ับบคุ คลโดยไมอ่ าจมอบหมายใหก้ ันได้เพราะเป็นเรื่องของทัศนคติความรับผิดชอบ จะมีขีดจากัดอยู่ที่ความน่าเช่ือถือท้ังน้ีจะข้ึนอยู่กับความซ่ือตรงต่อข้อผูกพันท่ีปรากฏขึ้น หน้าท่ีและความ รบั ผดิ ชอบของผนู้ ามอี ย่มู ากมายโดยท่วั ไปจะมีหนา้ ทหี่ ลกั อยู่ 3 ประการ ดังนี้ 1.หน้ำที่ในด้ำนควำมสัมพันธ์ระหว่ำงบุคคล (Interpersonal Functions) ผู้นามี หน้าท่ีหลักในการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคลต่างๆที่เก่ียวข้องด้วยทั้งภายในและภายนอกองค์การ โดยเฉพาะผู้นาจะทาหน้าที่เป็นตัวแทนอย่างเป็นทางการของหน่วยงานจะต้องออกงานพิธหี รอื ออกหน้าแทน สมาชิกอื่นๆเพื่อส่งเสริมผลประโยชน์ขององค์การและสมาชิกและปกป้องเมื่อมีการกล่าวถึงองค์การในแง่ร้าย ผู้นาในบทบาทหน้าท่ีเป็นสัญลักษณ์ท่ีบ่งบอกถึงคุณภาพขององค์การต่อสาธารณชนในด้านคว ามสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลในองค์การผู้นาจะทาหน้าที่เป็นสื่อกลางในการติดต่อรับส่งข้อมูลข่าวสารระหว่างหน่วยงานซึ่ง ช่วยให้ทราบความเคลื่อนไหวที่เกิดข้ึนในองค์การการกาหนดเป้าหมายทิศทางการดาเนินงานต่างๆจาเป็นที่ จะต้องอาศัยข้อมูลความต้องการของสมาชิกการสร้างความสัมพันธ์ท่ีดีให้เกิดข้ึนในองค์การก็เป็นการสร้าง บรรยากาศการทางานท่ีดีด้วยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีน้ีผู้นาอาจต้องใช้เวลาค่อนข้างมากในการติดต่อ พูดคยุ แตก่ ค็ ุ้มคา่ ในการใช้เวลานนั้ 2.หน้ำที่ด้ำนข่ำวสำร (Informational Functions) กล่าวได้ว่าผู้นาเป็นจดุ ศูนย์รวม ของข้อมูลข่าวสารต่างๆในองค์การสิ่งต่างๆท่ีเกิดขึ้นหรือข้อมูลที่เก่ียวข้องจะถูกรายงานไปยังผู้นาเพ่ือทราบ และตัดสนิ ใจผู้นาที่ฉลาดจึงต้องมีข้อมูลใหม้ ากท่ีสุดเพอื่ ใช้ประกอบการพิจารณาและตัดสนิ ใจซงึ่ นอกจากได้มา จากการรับรายงานทีเ่ ป็นทางการจากส่วนต่างๆ ขององค์การและการเข้าไปพบปะพูดคุยกับพนักงานอื่นๆแล้ว ผู้นายังตอ้ งเสาะแสวงหาขอ้ มูลจากแหลง่ ข่าวภายนอกเชน่ วิทยโุ ทรทศั นห์ นังสอื พิมพแ์ ละวารสารวิชาการตา่ งๆ ในหน้าท่ีน้ีผู้นาจึงเท่ากับเป็นเคร่ืองรับข่าวสารและยังมีหน้าที่ในการกระจายข่าวไปยังผู้อื่นด้วยแต่จะเกิด ประโยชน์แก่องค์การมากท่ีสุดขณะเดียวกันยังต้องทาหน้าท่ีเป็นผู้ประกาศหรือโฆษกขององค์กรท่ีจะทาให้ บุคคลทั้งภายในและภายนอกองค์กรได้ทราบว่าองค์การของตนมีเป้าหมายนโยบายหรือแผนงานอะไรผู้นา อาจทาหนา้ ทดี่ ว้ ยตนเองหรือประกาศผา่ นสื่อมวลชนตา่ งๆ ก็ได้ ชุดวิชา TO BE NUMBER ONE “เปน็ หนึง่ โดยไม่พึ่งยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 129

3.หน้ำท่ีด้ำนตัดสินใจ (Decision-making Functions) ผู้นาจะต้องมีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์นาส่ิงใหม่ๆและเปล่ียนแปลงองค์การให้ทันสมัยอยู่เสมอ ผู้นาจะต้องวเิ คราะห์แนวโน้มของสังคมท่ี มีตอ่ งานท่ตี นรบั ผิดชอบและหาทางปรับปรุงผลงานใหด้ ีอยเู่ สมอ 1.2.4 บุคลิกภำพ ความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในปัจจุบันทั้งด้านเศรษฐกิจสังคมการเมืองเทคโนโลยี ต่างๆมีอิทธิพลต่อวิถีชีวิตทัศนคติการปรับตัวของคนในสังคมเกิดความสับสนไม่ แน่ใจไม่สามารถปรับตัว ทัศนคติพฤติกรรมให้เหมาะสมสอดคล้องกับสภาวะแวดล้อมต่างๆในสังคมจึงเกิดความขัดแย้ง และการ แสดงออกเกิดปัญหาในการอยู่ร่วมกันท้ังในครอบครัวสถาบันการศึกษาองค์การท่ีทางานการร่วมมือ ทากิจกรรม ต่างๆการศึกษาการพั ฒ นาบุคลิกภาพหรือการปรับตัวให้สามารถมี ชีวิตท่ีมีความสุขประสบ ความสาเร็จ ทั้งในหน่วยงานสังคมชีวิตส่วนตัวความสาเร็จในการพัฒนาบุคลิกภาพของแต่ละบุคคลข้ึนกับ ความต้ังใจแน่วแน่ในการสารวจตนเองอยู่เสมอและปรับปรุงเปลี่ยนแปลงข้อบกพร่องท่ีเป็นปัญหาหรือเป็น อุปสรรคต่อการติดต่อกับบุคคลอ่ืนการยอมรับข้อบกพร่องที่จะต้องปรับปรุงแก้ไขของตัวเองซ่ึงต้องอาศัย ระยะเวลา (1) ควำมหมำยของคำว่ำบุคลิกภำพ บุคลิกภาพหมายถึงคุณลักษณะท่ีเป็นเอกลักษณ์ของแต่ละบุคคลแสดงออกโดย พฤติกรรมท่ีบุคคลน้ันมีต่อส่ิงแวดล้อมที่ตนกาลังเผชิญอยู่และพฤติกรรมน้ีจะคงเส้นคงวาพอสมควรลักษณะ ของแบบแผนพฤติกรรมและแบบแผนการคิดที่เป็นตัวกาหนดลักษณะเฉพาะบุคคลในการปรับตัวกับ สิ่งแวดล้อมมนุษย์แต่ละคนมีบุคลิกภาพที่แตกต่างกัน ไม่มีใครเหมือนกันไปทุกอย่างแม้พี่น้อง หรือฝาแฝด ก็ตาม ทั้งนเ้ี พราะมนุษย์แต่ละคนมีความพเิ ศษและความเปน็ หนง่ึ ในตวั ขอแต่ละคน (Unique) (2) ควำมสำคญั ของกำรมีบุคลกิ ภำพดี ผู้มีบุคลิกภาพดีต้องเป็นผู้มีสุขภาพจิตดีเป็นเบื้องต้นมองเห็นสิ่งต่าง ๆตามที่เป็น จริงอย่างถูกต้องไม่ต่อต้านหรือยอมรับทุกส่ิงทุกอย่างโดยไร้หลักการไม่ว่าอยู่ในสถานการณ์ใดก็ประพฤติ ปฏิบัติได้อย่างเหมาะสม คือสามารถปรับตัวได้ดีเป็นผลให้บุคคลนั้นมีลักษณะสาคัญที่เป็นประโยชน์ต่อการ ดาเนนิ ชวี ติ ในแง่มุมตา่ งๆดังนี้ 1. สามารถรับร้เู ข้าใจสภาพความจรงิ ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง 2. การแสดงอารมณอ์ ยู่ในลกั ษณะและขอบเขตท่เี หมาะสม 3. สามารถสรา้ งความสมั พันธก์ ับบุคคลอืน่ และสังคมไดด้ ี ชดุ วิชา TO BE NUMBER ONE “เป็นหนงึ่ โดยไม่พ่งึ ยาเสพติด” สค3300166 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 130

4. สามารถทางานทอ่ี านวยประโยชนต์ อ่ ผู้อน่ื และสังคมได้ 5. มีความรักและความผูกพันต่อผอู้ น่ื 6. สามารถพัฒนาตนเองการแสดงออกของตนต่อผอู้ ่นื ได้ดขี ึ้น (3) แนวทำงกำรพัฒนำบคุ ลิกภำพ พจนานุกรมไทยบัญญัตคิ าวา่ บุคลิกภาพหมายถึงสภาพนิสยั จาเพาะคนหรือในบาง แหง่ ลักษณะเฉพาะประจาตวั ของแต่ละบุคคลท่ปี รากฏให้เห็นการมีบคุ ลิกภาพดมี ิใช่การปรบั ปรุงเปลีย่ นแปลง เพียงภายนอกด้วยการแต่งกายหรือพฤติกรรมท่ีแสดงออกจาเป็นต้องปรับปรุงหรือพัฒนาบุคลิกภาพภายใน เสียก่อนจึงจะทาให้การพัฒนาบุคลิกภาพภายนอกประสบความสาเร็จได้ซึ่งต้องใช้ความอดทนและแน่วแน่ใน ความพยายามอย่างมุ่งมั่นการพัฒนาบุคลิกภาพแบง่ เป็น ๒ ลักษณะ คอื 1.การพัฒนาบุคลิกภาพภายใน (Internal Personality) จะต้องพัฒนาเป็นลาดับ แรกเพ่ือนาไปสู่การมีบุคลิกภาพภายนอกหรือการประพฤติปฏิบัติในด้านต่างๆอย่างถูกต้องเหมาะสมกับ สถาน ภ าพ ของต น ส ภ าวการณ์ แวด ล้ อมบุ คคลท่ีติ ด ต่อเกี่ย ว ข้องการต้ังความคิด ใน การมองโลก ที่จ ะเป็ น ตวั กาหนดท่าทีพฤติกรรมกิริยาท่าทางทเี่ ราแสดงออกในด้านต่างๆให้บุคคลอ่ืนเห็นและรบั รู้รวมทงั้ ประเมินว่า เรามีบุคลิกภาพเป็นอย่างไร สิ่งท่ีต้องพิจารณาได้แก่การสร้างความเช่ือมั่นในตนเองความกระตือรือร้นความ รอบรู้ความคิดรเิ ร่มิ ความจรงิ ใจความรกู้ าลเทศะปฏิญาณไหวพริบความรบั ผิดชอบและมีคุณธรรม 2.การพัฒนาบุคลิกภาพภายนอก (External Personality) เม่ือพัฒนาบุคลิกภาพ ภายในดีแล้วจะทาให้พฤตกิ รรมท่าทีการแสดงออกในด้านต่างๆงดงามเหมาะสมได้รับความช่ืนชมการยอมรับ และศรัทธาจากบุคคลอื่นได้เป็นอย่างดีบุคลิกภาพภายนอกท่ีจาเป็นต้องพัฒนาได้ แก่รูปร่างหน้าตาการแต่ง กายการปรากฏตัวกริ ยิ าทา่ ทางการสบสายตาการใชน้ ้าเสยี งการใช้ถ้อยคาภาษามศี ิลปะการพูด (4) กำรพัฒนำบุคลิกภำพกับกำรสรำ้ งควำมสำเรจ็ ในชีวติ 1.ความสามารถในการครองตนคือจะต้องดูแลตนเองให้กินดีอยู่ดีมีความพอใจใน ชวี ติ และลขิ ติ ชีวิตตวั เองได้ 2. ความสามารถในการครองคนคือสามารถทางานร่วมกับผู้อ่ืนได้เป็นผู้นาและผู้ ตามทดี่ เี ป็นทรี่ กั ใคร่ของญาติมิตรรจู้ ักเอาใจเขามาใส่ใจเราให้ความสาคัญกับผู้อ่นื จนชนะใจผู้อน่ื ได้ 3. ความสามารถในการครองงานคือสามารถทางานให้ประสบความสาเร็จในงาน อาชพี มคี วามคดิ ริเรมิ่ สร้างสรรคม์ คี วามกา้ วหน้าในงานทีร่ ับผิดชอบ (5) กำรเสริมสรำ้ งบคุ ลิกลักษณะของบุคคล บุคลิกลักษณะของบุคคลสามารถดดั แปลงแก้ไขเสรมิ สรา้ งให้ดขี ้ึนได้โดยอาศยั การ ฝึกหดั ปรับปรุงกริ ิยาทา่ ทางและลกั ษณะตา่ งๆดังน้ี ชดุ วชิ า TO BE NUMBER ONE “เปน็ หน่งึ โดยไม่พง่ึ ยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 131

1. The way you look การมองด้วยสายตาจะแสดงความรสู้ ึกออกมาใหเ้ หน็ ต้อง มองด้วยความสุภาพเรยี บรอ้ ยมองดว้ ยความรักเมตตาปรานีไม่มองอยา่ งเหยียดหยามดูหมิ่นดูแคลน 2. The way you dress การแต่งกายสะอาดเรียบร้อยใช้สีถูกต้องและเหมาะสม แกก่ าลเทศะตลอดทั้งสว่ นอ่ืนๆของรา่ งกายเชน่ หนา้ ตาจมูกเล็บให้พอดีไม่มากเกินไป 3. The way you talk การพูดเป็นส่ิงสาคัญท่ีสุดที่จะทาให้เราเข้ากับบุคคลได้ ทุกเพศทกุ วัยและทุกชนช้ันตอ้ งมีศลิ ปะในการพดู ใชค้ าพูดท่ีมีเหตผุ ลสภุ าพเรียบร้อยไพเราะอ่อนหวาน 4. The way you walk การเดินระวังไม่ให้มีเสียงดังเกินไปรบกวนผู้อ่ืนควรเดิน ตัวตรงอกผายไหล่ผ่งึ 5. The way you acts การแสดงท่าทางน่าดูน่าชมเช่นท่าทางในการพูดสุภาพ ไมใ่ หม้ กี ารแสดงประกอบมากไป 6. The skill with which you do thing ทักษะในการทางานในหน้าที่การงาน ทีด่ ีหรอื ทางานอย่างใดอย่างหน่ึงมคี วามชานาญคลอ่ งแคลว่ ว่องไว 7. Your health สุขภาพดีร่างกายแข็งแรงไม่มีโรคภัยไข้เจ็บเป็นผู้มีสุขภาพดีอยู่ เสมอเป็นผู้มบี ุคลิกภาพดีด้วยการปรากฏและวางตนใหเ้ หมาะสมและมีมารยาทดี (Good Manner) (6) หลกั ในกำรปรบั ปรงุ บุคลิกภำพ 1. พยายามสารวจบุคลกิ ภาพของตนเองอยู่เสมอวา่ มีสิง่ ใดสงิ่ หนึง่ บกพร่อง 2. พยายามสังเกตบุคลิกภาพท่ีตนเองช่ืนชอบซ่ึงมีอยู่ในตัวบุคคลอ่ืนพยายาม ปรับปรงุ บุคลกิ ภาพไปตามทต่ี นพอใจซงึ่ บุคลิกภาพน้นั ควรจะเป็นทีย่ อมรับของสงั คม 3. พยายามฝกึ ฝนตนเองอยเู่ สมอระวงั การเดินการพดู จาและพฤตกิ รรมอน่ื ๆ 4. พยายามปรับปรุงการแต่งกายให้เหมาะสมเครื่องแต่งกายมีความสาคัญในการ เสริมสร้างบคุ ลกิ ภาพของมนษุ ย์ 5. พยายามสรา้ งความม่นั ใจในตนเองจะช่วยเสริมสรา้ งบคุ ลิกภาพที่ดี 6. พยายามทาตนให้เป็นคนท่ีเท่าทันต่อเหตุการณ์ฉลาดรอบรู้ไม่ล้าหลังสามารถ แลกเปลี่ยนความคดิ เหน็ กบั ผ้อู ่นื ได้ 7. พยายามทาจิตใจให้สบายไม่มีความกระวนกระวายใจความวิตกกังวลรวมทั้ง ความอิจฉารษิ ยาผูอ้ ่ืน 8. ระวังไม่ให้เกิดอารมณ์ขุ่นมัว รู้เท่าทันสาเหตุมาจากสภาพแวดล้อม การรู้ตัว เองอยเู่ สมอ จะสามารถปรับปรุงบุคลกิ ภาพได้ ชดุ วชิ า TO BE NUMBER ONE “เป็นหนึ่งโดยไม่พงึ่ ยาเสพติด” สค3300166 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 132

กจิ กรรมท้ำยเรือ่ งที่ 1 TO BE NUMBER ONE กับภำวะผ้นู ำ (ใหผ้ เู้ รียนไปทำกิจกรรมท้ำยเร่ืองท่ี 1 สมุดบนั ทกึ กิจกรรมกำรเรียนรปู้ ระกอบชดุ วิชำ) เร่อื งท่ี 2 TO BE NUMBER ONE กับกำรทำงำนเปน็ ทมี 2.1 ควำมหมำยและควำมสำคัญของกำรทำงำนเปน็ ทมี การทางานเป็นทีมหมายถึงการร่วมกันทางานของสมาชิกที่มากกว่า1 คนโดยท่ีสมาชิกทุกคน น้ันจะต้องมีเป้าหมายเดียวกันจะทาอะไรแล้วทุกคนต้องยอมรับร่วมกันมีการวางแผนการทางานร่วมกัน การทางานเป็นทีมมีความสาคัญในทุกองค์กรการทางานเป็นทีมเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับการเพ่ิมประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของการบริหารงานการทางานเป็นทีมมีบทบาทสาคัญที่จะนาไปสู่ความสาเร็จของงานที่ต้อง อาศยั ความร่วมมอื ของกลุ่มสมาชิกเปน็ อย่างดี ลักษณะท่ีสำคัญของทีม4 ประกำรได้แก่ 1. การมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมของบุคคล หมายถึง การท่ีสมาชิกตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปมีความ เก่ียวข้องกันในกิจการของกลุ่ม/ทีม ตระหนักในความสาคัญของกันและกัน แสดงออกซึ่งการยอมรับ การให้ เกียรติกนั สาหรับกลุ่มขนาดใหญ่มักมปี ฏิสมั พนั ธก์ นั เปน็ เครอื ขา่ ยมากกวา่ การตดิ ต่อกนั ตวั ต่อตวั 2. มีจุดมุ่งหมายและเป้าหมายร่วมกัน หมายถึง การที่สมาชิกกลุ่มจะมีส่วนกระตุ้นให้เกิด กิจกรรมร่วมกันของทีม/กลุ่ม โดยเฉพาะจุดประสงค์ของสมาชิกกลุ่มที่สอดคล้องกับองค์การ มักจะนามาซึ่ง ความสาเร็จของการทางานได้งา่ ย ชดุ วิชา TO BE NUMBER ONE “เป็นหนง่ึ โดยไม่พง่ึ ยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย 133

3. การมีโครงสร้างของทีม/กลุ่ม หมายถึง ระบบพฤติกรรม ซ่ึงเป็นแบบแผนเฉพาะกลุ่ม สมาชิกกลุ่มจะต้องปฏิบัติตามกฎหรือมติของกลุ่ม ซ่ึงอาจจะเป็นกลุ่มแบบทางการ (Formal Group) หรือ กลุ่มแบบไม่เป็นทางการ (Informal Group) ก็ได้ สมาชิกทุกคนของกลุ่มจะต้องยอมรับและปฏิบัติตามเป็น อย่างดี สมาชิกกลุ่มย่อย อาจจะมีกฎเกณฑ์แบบไม่เป็นทางการ มีความสนิทสนมกันอย่างใกล้ชิดระหว่าง สมาชกิ ดว้ ยกัน 4. สมาชิกมีบทบาทและมีความรู้สึกร่วมกัน การรักษาบทบาทที่มั่นคงในแต่ละทีม/กลุ่ม จะมี ความแตกต่างกันตามลักษณะของกลุ่ม รวมทั้งความรู้ความสามารถของสมาชิก โดยการจัดแบ่งบทบาทและ หน้าท่ี ความรับผิดชอบ กระจายงานกนั ตามความรู้ ความสามารถ และความถนัดของสมาชิก การทางานเปน็ ทีมเปน็ แรงจูงใจสาคัญท่ีจะผลกั ดนั ให้เป็นผู้นาที่ดถี ้าทา่ นประสงค์ท่ีจะนาทีมให้ ประสบความสาเร็จในการทางานผู้นาจาเป็นต้องค้นหาคุณลักษณะของการทางานเป็นทีมให้ระลึกไว้เสมอว่า ทกุ คนมีอิสระในตวั เองขณะเดยี วกันก็เป็นส่วนหน่ึงของทีมแล้วจึงนาเอากลยุทธใ์ นการสร้างทมี เข้ามาใชเ้ พือ่ ให้ ทกุ คนทางานร่วมกันและประสบความสาเรจ็ 2.2 ลักษณะของกำรทำงำนเปน็ ทมี ที่มปี ระสทิ ธิภำพ ทีมที่จะประสบความสาเร็จในการทางานคือกลุ่มของบุคคลท่ีทางานร่วมกันเพื่อให้บรรลุ เป้าหมายของทีมโดยมีลกั ษณะของการทางานต่อไปน้ี 1. มวี ตั ถุประสงค์ และเปำ้ หมำยทชี่ ัดเจนและไปในทิศทำงเดียวกัน เพื่อใช้เป็นแนวทางการปฏิบัติงาน ท่ีต้องการทาให้องค์กรบรรลุผลสาเร็จท่ีคาดหวังไว้ใน การดาเนนิ งานให้เป็นไปตามภารกิจขององค์กร - การกาหนดวัตถุประสงค์ที่ดี โดยผู้นาและสมาชิกภายในทีม มีส่วนร่วมในการกาหนด หน้าทีค่ วามรบั ผิดชอบ และวัตถปุ ระสงค์ร่วมกนั ควรกาหนดจุดมุง่ หมายไว้ใหช้ ัดเจน - ประโยชน์ของการกาหนดวัตถปุ ระสงค์ เพ่ือใช้เปน็ แนวทางในการปฏบิ ัติ ใชเ้ ป็นเครอ่ื งมือ ในการรวมพลังในการทางาน และใช้เป็นเครอื่ งมือวดั ความสาเรจ็ หรอื ความล้มเหลวในงาน - คุณลักษณะของวัตถุประสงค์ที่ดี คือ เขียนเป็นลายลักษณ์อักษร เข้าใจง่าย สามารถ ปฏบิ ัติไดจ้ รงิ ไม่ขดั ต่อขอ้ บังคบั และ นโยบายอื่นๆ ในหนว่ ยงาน 2. ไมม่ ีควำมลับต่อกนั และกำรเผชิญหนำ้ เพอ่ื แก้ปญั หำ ชุดวิชา TO BE NUMBER ONE “เป็นหน่ึงโดยไม่พ่ึงยาเสพติด” สค3300166 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 134

เป็นสิ่งสาคัญต่อการทางานเป็นทีม ที่มีประสิทธิภาพสมาชิกจะต้องการแสดงความคิดเห็น อย่างเปดิ เผย ตรงไปตรงมา แก้ปญั หาอย่างเต็มใจและจริงใจ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกนั และทางานร่วมกนั เป็น อย่างดี โดยมีการเรยี นรู้เก่ยี วกบั บคุ คลอืน่ ในด้านความต้องการ ความคาดหวัง ความชอบหรอื ไม่ชอบ ความรู้ ความสามารถความสนใจความถนัด จดุ เดน่ จดุ ดอ้ ยของแตล่ ะบคุ คล 3. กำรสนับสนนุ และควำมไว้วำงใจตอ่ กนั สมาชิกในทมี จะต้องไว้วางใจซึง่ กนั และกัน โดยแตล่ ะคนมีเสรีภาพแสดงความคดิ เห็นอย่าง ตรงไปตรงมา โดยไม่ต้องกลัวว่าได้รับผลร้ายท่ีจะมีต่อเนื่องมาภายหลัง สามารถทาให้เกิดการเปิดเผยต่อกัน และกลา้ ทจ่ี ะเผชิญหนา้ เพ่ือแกป้ ญั หาต่างๆ ได้เป็นอย่างดี 4. ควำมรว่ มมือและกำรให้ควำมขัดแย้งในทำงสร้ำงสรรค์ ผู้นากลุ่มหรือทีมจะต้องทางานอย่างหนักที่จะทาให้เกิดความร่วมมือคือการสร้างความ ร่วมมือกับบุคคลอื่น ในการสร้างความร่วมมือเพื่อความเข้าใจซ่ึงกันและกัน และ มีบุคคลอยู่สองฝ่ายคือ ผู้ขอ ความร่วมมือ และ ผู้ให้ความร่วมมือ ความร่วมมือจะเกิดข้ึนได้เมือฝ่ายผู้ให้เต็มใจและยินดีจะให้ความ ร่วมมือ เหตุผลที่ทาให้ขาดความร่วมมือไม่ช่วยเหลือกัน คือ การขัดผลประโยชน์ ไม่อยากให้คนอื่นได้ดีกว่า สัมพันธภาพไม่ดี วัตถุประสงค์ของท้ังสองฝ่ายไม่ตรงกัน ไม่เห็นด้วยกันวิธีทางานขาดความพร้อมที่จะร่วมมือ หรืองานท่ขี อความรว่ มมอื นน้ั เสีย่ งภัยมากเกินไป หรือเพราะความไมร่ ับผิดชอบต่อผลงานสว่ นรวม - การขัดแย้ง หมายถึง ความไม่ลงรอยกันตามความคิด หรือ การกระทาท่ีเกิดข้ึนระหว่าง สองคนข้นึ ไปหรือระหว่างกลุ่ม โดยมีลกั ษณะท่ีไม่สอดคลอ้ ง ขัดแย้ง ขดั ขวาง ไม่ถูกกัน จึงทาให้ความคดิ หรือ การทากิจกรรมร่วมกันน้ันเสียหาย หรือดาเนินไปได้ไม่ราบรื่น ทาให้การทางานเป็นทีมลดลง นับเป็นปัญหา อุปสรรคที่สาคัญย่ิงสาเหตุของความขัดแย้ง ผลประโยชน์ขัดกันความคิดไม่ตรงกัน หรือ องค์กรขัดแย้งกัน ความรู้ความสามารถต่างกัน ทาให้มีลักษณะการทางานต่างกันการเรียนรู้ต่างกัน ประสบการณ์ที่มีไม่ เหมือนกันมีเปา้ หมายต่างกัน - วิธีแก้ความขัดแย้ง การแก้ความขัดแย้งเป็นเร่ืองของทักษะเฉพาะบุคคล การแก้ปัญหา ความขัดแย้งในการทางานเป็นทีม ควรใช้วิธีการแก้ปัญหาร่วมกันไม่พูดในลักษณะท่ีแปลความหรือมุ่งตัดสิน ความไม่พูดในเชิงวิเคราะห์ไม่พูดในลักษณะท่ีแสดงตนเหนือกว่าผู้อื่น หรือไม่พูดในลักษณะที่ทาให้ผู้อื่น เจ็บปวด เสียหน้า อับอาย เจบ็ ใจ หรอื การพยายามพดู หาประเดน็ ความขดั แย้ง ไมก่ ล่าวโจมตีว่าใครผดิ ใครถกู 5. กระบวนกำรทำงำน และกำรตัดสินใจท่ีถูกต้องและเหมำะสม งานทีม่ ีประสิทธิภาพนั้นทุกคนควรคานึงถึงเรื่องงานหรอื คดิ ถงึ ผลงานเป็นอันดบั แรก ต่อมา ควรวางแผนว่าทาอย่างไรงานจึงจะออกมาดีได้ดังท่ีเราต้องการ อย่างไรก็ตามก่อนท่ีจะตัดสินใจน้ัน ควรมี ความเข้าใจในจดุ มุ่งหมายของการทางานเป็นอย่างดี จดุ มุ่งหมายที่ชัดเจนถือเป็นหัวใจสาคัญ เพราะจะนาไปสู่ แนวทางในการทางานว่าต้องทาอย่างไร จึงจะบรรลุตามเป้าหมายของงาน ให้ได้ผลของงานออกมาได้อย่างดี ชดุ วชิ า TO BE NUMBER ONE “เป็นหนึง่ โดยไมพ่ ่ึงยาเสพติด” สค3300166 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 135

ท่ีสุด การตัดสินใจสั่งการเป็นกระบวนการข้ันพ้ืนฐานของการบริหารงาน ผู้บริหารหรือผู้นาทีมเป็นบุคคล สาคัญในการท่ีจะมีส่วนในการตัดสินใจ วิธีการท่ีผู้บรหิ ารใช้ในการตัดสนิ ใจหลายวิธีคือ ผู้บริหารตัดสินใจเพื่อ แก้ปัญหา โดยไมต่ ้องซักถามคนอื่น หรือ ผู้บรหิ ารจะรับฟังความคิดเห็นกอ่ นตัดสนิ ใจ กล่าวคอื ผู้บริหารยังคง ตัดสินใจด้วยตนเองแต่ขึ้นอยู่กับความคิดเห็นและข้อมูลอื่นๆ ท่ีผู้บริหารได้รับมาจากสมาชิกของทีม บางคร้ัง ผู้บริหารอาจจะตัดสินใจร่วมกับทีมงานท่ีคัดเลือกมา โดยท่ีผู้บริหารนาเอาปัญหาให้ทีมงานอภิปราย แล้วให้ ทมี งานตัดสินใจหรือทีมงานอาจจะมอบหมายการตัดสินใจให้คนใดคนหนึ่งหรือกลุ่มย่อม ที่เห็นวา่ เหมาะสมก็ ได้ขั้นตอนในการตดั สนิ ใจท่มี ีประสิทธ์ิภาพ ประกอบดว้ ยขั้นตอนท่ีสาคญั 4 ขัน้ ตอน คอื 1. ทาความเข้าใจอย่างชัดเจนในเหตุผล สาหรบั การตัดสินใจ 2. วเิ คราะหล์ ักษณะของปัญหาทจ่ี ะตดั สนิ ใจ 3. ตรวจสอบทางเลือกตา่ งๆ ในการแกป้ ัญหาโดยพจิ ารณาถึงผลที่อาจเกิดตามมาดว้ ย 4. การนาเอาผลการตัดสินใจไปปฏบิ ัติ 6. ภำวะผนู้ ำทีเ่ หมำะสม ในการทางานตามบทบาทของผู้นา คือการแบ่งงานกระจายงานให้สมาชิกทุกกลุ่มตาม ความรู้ ความสามารถสาหรับสมาชิกของทีมงานที่ได้รับการคัดเลือกให้เป็นผู้นา ต้องพร้อมที่จะทาหน้าท่ีให้ เหมาะสมกบั งานทไ่ี ด้รับมอบหมายโดยการให้การสนับสนุนนาทีมให้ประสบผลสาเร็จ ส่งเสริมให้มีบรรยากาศ ทีด่ ีในการทางานเป็นทีม มกี ารพฒั นาบคุ ลากรและทีมงาน 7. กำรตรวจสอบทบทวนผลงำนและวิธใี นกำรทำงำน ทีมงานท่ีดีไม่เพียงแต่ดูจากลักษณะของทีมและบทบาทที่มีอยู่ในองค์กรเท่าน้ัน แต่ต้อง ดูวิธีการที่ทางานด้วยการทบทวนงาน แนะนาให้ทีมงานได้เรียนรู้จากประสบการณ์ที่ทารู้จักคิด การได้รับ ขอ้ มูลปอ้ นกลบั เก่ยี วกบั การปฏิบัตงิ านของแตล่ ะคนหรือของทมี 8. กำรพัฒนำตนเอง การทางานเป็นทีมท่ีมีประสิทธิภาพพยายามท่ีจะรวบรวมทักษะต่างๆของแต่ละคน การ พัฒนาบุคคลากรในองค์กรมักจะมองในเรื่องทักษะและความรู้ท่ีแต่ละคนมีอยู่แล้ว ก็ทาการฝึกอบรมพัฒนา คนใหม้ ีความสามารถสูงขนึ้ อันจะมผี ลดใี นการทางานให้ดขี ึ้น ทีมท่ีจะประสบความสาเร็จในการทางานคอื กลุ่ม ของบุคคลท่ีทางานร่วมกันเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายของทีม ต่อไปน้ีเป็นสิ่งท่ีผู้เรียนและเพ่ือนร่วมทีมจะต้อง ยดึ ถอื เปน็ กรอบเพือ่ ทางานรว่ มกันมคี วามเป็นหน่ึงเดยี วกันสมาชิกของทีมท่ีประสบความสาเร็จ โดยทวั่ ไปแล้ว งาน หรือเป้าหมายอาจบรรลุได้เมื่อทางานร่วมกันแทนท่ีจะต่างคนต่างทา ทีมงานท่ีมีประสิทธิภาพจะมี ลกั ษณะโดดเด่นและสมาชกิ ทุกคนมีความรูส้ ึกวา่ ตนเองมีส่วนรว่ มในความสาเร็จดว้ ยจัดการดว้ ยตนเองทีมงาน ที่ประสบความสาเร็จในการทางานมีแนวโน้มว่าจะสร้างโครงสร้างเฉพาะตนขึ้นมา เน่ืองจากสมาชิกยอมรับ บทบาท ของตนในเวลาต่าง ๆ กัน คล้อยตามความจาเป็นความตอ้ งการและความสามารถของตนบางคนอาจ ชดุ วิชา TO BE NUMBER ONE “เป็นหนึ่งโดยไมพ่ ่งึ ยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 136

มีประสบการณ์ในงานเฉพาะอย่างจึงอาจเป็นผู้นาให้คนอ่ืน ๆ ทาตาม ผู้ตามก็จะทาหน้าท่ีในกิจกรรมของตน ไปในงานท่ีเขาถนัดพฤติกรรมเหล่านี้จะถูกพัฒนาไปในแนวของโครงสร้างองค์กรและสมาชิกทุกคนจะต้อง ปฏิบัติตามพ่ึงพาตัวเองและสมาชิกของทีมที่ประสบความสาเร็จในการทางานจะร่วมมือกับคนอื่นๆ เพ่ือ ทางานชิ้นใดช้ินหนึ่งหรือทาให้เป้าหมายสาเร็จอย่างไม่หลีกเล่ียงร่วมกันทางานตามกาลังความสามารถของ ตนเอง ให้คาปรึกษาแนะนาและชักจูงเม่ือจาเป็นร่วมประสานงานในหน้าท่ีและแก้ไขปัญหาอุปสรรคร่วมกัน ทุกคนต่างเอื้ออาทรช่วยเหลือกันและมีความเป็นหน่ึงเดียวกันถ้ามีบุคคลหนึ่งบุคคลใดทางานเกินกาลังหรือ ประสบปัญหายุ่งยากอันใดพวกเขาจะร่วมมือกันเช่น อาจปกปิดคนที่มาทางานสายหรือ เลิกงานก่อน เวลา ขนาดของกลุ่มที่พอเหมาะโดยท่ัวไปแล้วทีมงานที่ประสบความสาเร็จในการทางานมักจะมีขนาด พอเหมาะไม่ใหญ่โตเกินไปนักเพ่ือให้สมาชิกทุกคนในกลุ่มสามารถเข้ามามีส่วนร่วมสร้างสรรค์และจัดการด้วย ตัวเองได้แบ่งงานกันทาอย่างยุติธรรม แบ่งปันความคิดเห็นและความรู้สึกอย่างเปิดเผยร่วมกันคิดแก้ปัญหา อย่างฉับไวและทันกาล สมาชิกสัก 5 คนต่อทีมเป็นขนาดที่กาลังพอดีถ้ามากไปกว่านั้นอาจเสียเวลาในการ อภิปรายกลุ่มในขณะท่ีสมาชิกคนหน่ึงหรือสองคนกาลังทางาน คนอ่ืนๆ อาจไม่เข้าไปมีส่วนร่วมมากนักอาจมี การจัดกลุ่มที่มีสมาชิกน้อยกว่า 5 คน ซ่ึงจะมีบุคคลที่มีความสามารถไม่เพียงพอหรือมีความรู้ไม่เพียงพอ รวมท้ังความเชี่ยวชาญในงานก็อาจไม่เพียงพอที่จะทาให้งานสาเร็จอย่างเรียบร้อยแต่ไม่ว่ากลุ่มจะมีสมาชิก มากน้อยเพียงใดก็ตามท่านอาจไม่อยู่ในสถานะที่จะคัดเลือกได้จานวนสมาชิกเลขคี่จะดูสมเหตุสมผลกว่าเพื่อ หลีกเล่ียงการเผชิญปัญหาเสียงครึ่งหนึ่งเห็นอย่างหนึ่งเสียงอีกคร่ึงหนึ่งเห็นอีกแบบหนึ่งในการตัดสินปัญหา ใดๆการรู้จักเพื่อนร่วมทีมอีกอย่างหนึ่งท่ีควรจาก็คือทุกคนจะมีบุคลิกภาพที่แตกต่างกันไป จึงควรพิจารณาให้ ตามความเหมาะสม สมาชกิ ของทมี มกั จะเป็นดงั ตอ่ ไปน้ี เป็นนักคิด : สมาชิกประเภทน้ีอาจเรียกว่าเป็น \"คนเจ้าความคิด\"เขามักเข้าไปยุ่งเก่ียวกับ สิ่งท่ีจะต้องกระทาและมักจะมีความคิดความอ่านและมีข้อเสนอแนะต่างๆ มากมาย นักคิดมักไม่ค่อยสนใจ ในรายละเอียดมากนักโดยปกติแล้วสมาชิกของทีมประเภทน้ีจะต้องถูกจัดการอย่างระมัดระวัง ให้เกียรติให้ กาลงั ใจและแมแ้ ตก่ ารยกย่องใหเ้ กดิ ความภาคภูมใิ จเพอื่ ป้องกันไม่ให้เขาถอนตัวออกไปจากทีมเสยี ก่อน เป็นนักจัดองค์กร : การทางานร่วมกับนักคิดท่ีสร้างสรรค์ย่ิงข้ึนซ่ึงอาจเป็นนักจัดองค์กร ผู้ซึ่งชอบเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับการทางานของทีมงานเสมอเพื่อไปจัดการและจัดสรรงานและหน้าท่ีต่างๆ เป็นคน เจ้าหลักการและเจ้าระเบียบแต่ก็เป็นผู้ทางานท่ีมีประสิทธิภาพดีนักจัดองค์กรบางครั้งก็ได้รับการยอมรับว่า เป็นผู้มีความคิดกว้างไกลแต่ไม่ค่อยยืดหยุ่นนักในการทางานเขามักจะประสบกับปัญหาสภาพแวดล้อม ที่เปลี่ยนแปลงและและมีความไม่แน่นอนท่านจะต้องมีแผนการปฏิบัติงานท่ีชัดเจนเพื่อประสาน งานกับเขา อย่างสม่าเสมอ เป็นนักปฏิบัติกำร : สมาชิกประเภทน้ีเป็นนักสร้างงานและมีทัศนคติที่จะตั้งใจทางาน เพื่อให้มีผลงานเกิดข้ึน เป็นคนเปิดเผย ไม่อดทนหากการตัดสินใจล่าช้าหรือถูกดูแลควบคุมการปฏิบัติงาน ชุดวชิ า TO BE NUMBER ONE “เปน็ หน่ึงโดยไม่พึง่ ยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 137

อย่างใกล้ชิดและมกั จะผิดหวังเมื่อทุกสิ่งทุกอย่างไม่เป็นไปตามท่ีตงั้ ใจผู้นาจะต้องใช้ความพยายามควบคุมเขา ไวเ้ พือ่ ไม่ใหร้ ับผลกระทบจากความรนุ แรงที่เกิดขึ้น เป็นสมำชิกของทีม : ไม่น่าแปลกใจนักท่ีสมาชิกของทีมจะเป็นผู้ท่ีกระตือรือร้นในการ ทางานเพื่อให้ทีมงานประสบความสาเร็จและมีการกระทาท่ีสนับสนุนและสามัคคีต่อเพ่ือนร่วมทีมเป็ นอันดี พยายามท่ีจะพัฒนาและเสนอแนวความคิดของกลุ่มมากกว่าแนวความคดิ ของตัวเองสมาชกิ ของทีมมกั ไม่ชอบ การเผชิญหน้าและการทะเลาะเบาะแว้งกันไม่ต้องการต่อต้านใครคนใดคนหน่ึง บางครั้งสมาชิกของทีมก็ไม่ ค่อยได้รับความสนใจ เท่าที่ควรจึงพยายามปลีกตนเองออกจากคนอื่นๆ ผู้นาจะต้องกระตุ้นและชักจูงให้เขา เสนอความคดิ เห็นหรอื ให้ขอ้ แนะนาและมองในด้านบวกอยูเ่ สมอ เป็นนักตรวจสอบ : นักตรวจสอบหรือนักตรวจซ้ามักชอบจับตาดูว่ามีงานอะไรบ้างที่ ก้าวหน้าเขามักคิดว่าตนเองเป็นคนยุติธรรมและมีความพิถีพิถัน แต่คนอ่ืน ๆอาจมองว่าเขาเป็นคนชอบใช้ อานาจและเป็นพวกเผด็จการนักตรวจสอบมีบทบาทท่ีต้องคอยเตือนให้ทีมงานรู้สึกถึงความจาเป็นต้องใช้ ความรีบด่วนปฏิบัติงานอย่างจริงจังเพ่ือให้งานก้าวหน้าและบรรลุเป้าหมายทันเวลาท่านอาจต้องเข้าไป ประสานกบั นักตรวจสอบหรือทาหน้าทปี่ ระนปี ระนอมเม่ือเขามีความขดั แย้งกับเพอ่ื นร่วมทมี คนอื่นๆ เป็นนักประเมินผล : สมาชิกประเภทนี้เป็นผู้ท่ีสร้างสมดุลอย่างดีย่ิงระหวา่ งนักคิดและนัก ปฏิบัติการชอบความเป็นอิสระและมักจะแยกตัวออกจากทีมมีความระมัดระวังและรอบคอบในการเข้าไป ประเมินหรือวิเคราะห์ข้อมูลหรือสถานการณ์ถึงแม้ว่านักประเมินผลจะไม่เป็นท่ีชื่นชอบของสมาชิกบางคนแต่ ทศั นะของเขากไ็ ดร้ บั การยอมรบั นับถือจากสมาชิกร่วมทีมคนอื่นๆ 2.3 กลยทุ ธ์ในกำรสร้ำงทมี โดยแนวความคิดแล้วท่านและเพ่ือนร่วมทีมย่อมต้องการเป็นทีมที่ประสบความสาเร็จในการ ทางานโดยมีทา่ นเป็นผู้นาทมี มีขัน้ ตอนหลายข้นั ตอนที่ทา่ นควรนามาใช้เพื่อใหบ้ รรลุกระบวนการ อนั ได้แก่ 1. สรำ้ งทีมยอ่ ยๆ ขน้ึ มำ เห็นได้ชัดว่าผู้นาสามารถช่วยได้ในการกระตุ้นให้ทีมท่ีประสบความสาเร็จสามารถพัฒนา สมาชิกอันมีจากัดได้เม่ือต้องการบางทีก็สัก 5 คน ซ่ึงอาจเป็นตัวเลขท่ีดีที่สุดสาหรับสภาพแวดล้อมท่ัว ๆ ไป ผนู้ าจาเปน็ ต้องคานงึ ถึงบคุ คลซ่ึงประกอบกนั เข้าเปน็ ทีมคงไมเ่ หมาะสมที่จะให้มีพนักงานสองคนซึ่งเป็นนักคิด เข้าร่วมทีมจะทาให้เกิดกรณีพิพาทข้ึนภายในทีมเพราะการริเริ่มและทัศนะที่ไม่สอดคล้องกันเราไม่ควรมีนัก ปฏิบัติการมากนัก เพราะแต่ละคนจะทางานไปคนละทางสองทางดังนั้นจึงควรนาเอาอัตราส่วนผสมที่ เหมาะสมเข้ามาใช้ในการสร้างทมี ให้มี นกั คิดนักจัดองค์กร นักปฏิบัติการ และอื่นๆซง่ึ จะสนับสนุนซ่ึงกันและ กนั และตรวจสอบกนั เองเปน็ ไปตามความเหมาะสม ชุดวิชา TO BE NUMBER ONE “เปน็ หนงึ่ โดยไมพ่ ึ่งยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 138

2. เหน็ ชอบในเปำ้ หมำย ให้แน่ใจว่าสมาชิกทุกคนรู้ว่างานของตนคืออะไรมาตรฐานและเป้าหมายคืออะไร และจะ ก้าวไปในทิศทางใดบุคลากรแต่ละหน่วยงานจะต้องพยายามรวมกลุ่มเข้าด้วยกันเพ่ือทางานในหน้าที่อย่างดี ท่ีสุดและให้อยู่ในทีมเดียวกันส่ิงเหล่าน้ีจะกระตุ้นให้สมาชิกทุกคนจัดรูปงานของตนเข้ากับงานของคนอ่ืน ๆ เพื่อให้บรรลุเปา้ หมายรวมอย่างมีประสิทธิภาพและทนั เวลาตอ้ งใหส้ มาชิกทุกคนเห็นดว้ ยกบั ส่ิงท่ีตนกระทาอยู่ ว่ากาลังทาอะไร ทาเม่ือใดทาอย่างไร เพราะจะช่วยให้เกิดการประสานงานและทางานด้วยกันอย่างสามัคคี กลมเกลยี ว 3. ร้จู กั สมำชกิ เป็นรำยตัว เป็นที่กระจ่างชัดว่าผู้นาจะต้องรู้จักสมาชิกแต่ละคนในทีมเป็นอย่างดีท่ีสุดเท่าที่จะเป็นไป ได้เพ่ือที่จะสามารถระบุได้ว่าสมาชิกแต่ละคนมีลักษณะสาคัญและองค์ประกอบอย่างใดทราบจุดแข็งและ จุดอ่อนของแต่ละคน ผู้นาต้องติดต่อกับแต่ละคนในลักษณะที่แตกต่างกันยกตัวอย่างเช่น นักปฏิบัติการ จะต้องถูกกระตุ้นให้ทางานช้าลง รับฟังคนอื่นก่อนท่ีจะทางานต่อในบางครั้งจะต้องเข้าไปไกล่เกล่ียสมาชิก เชน่ ระหวา่ งนกั ปฏิบัติการกับนักตรวจสอบ ให้ทั้งสองฝ่ายนง่ั ลงเจรจากนั รับฟังความคดิ เหน็ ของแต่ละฝา่ ยและ ยอมรับทศั นะคตขิ องอกี ฝ่ายหนง่ึ บ้าง 4. รักษำไว้ซ่งึ กำรตดิ ตอ่ ส่ือสำรทดี่ ี การติดต่อสื่อสารระหว่างผู้นาและทีมงานและระหว่างทีมด้วยกันเองมีความสาคัญในการ พัฒนาเพ่ือนาไปสู่การเป็นทีมท่ีจะประสบความสาเร็จในการทางานการติดต่อส่ือสารสองทางอย่างต่อเน่ือง และผลที่ได้รับกลับมาจะช่วยหยุดการซุบซิบนินทาลดความสับสน ระงับปัญหาต่างๆ ได้อย่างรวดเร็วและ ฟื้นฟูสัมพันธภาพโดยรวมนับเป็นความจาเป็นท่ีทุกคนในองค์กรจะต้องพูดจากับคนอ่ืนๆ ท้ังในการประชุม ปกติที่เป็นทางการและอย่างไม่เป็นทางการ เพ่ือก้าวไปข้างหน้ายอมรับฟังคาแนะนาต่างๆ และแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นระหว่างกันแบบสอบถามต่อไปน้ีจะช่วยให้ท่านตัดสินใจได้ว่าผู้นาและทีมงานมีการติดต่อส่ือสาร กันดพี อหรอื ไมอ่ ยา่ งใดท่จี ะต้องปรบั ปรุงบา้ ง กจิ กรรมท้ำยเรอื่ งท่ี 2 TO BE NUMBER ONE กบั กำรทำงำนเป็นทมี (ใหผ้ ูเ้ รยี นไปทำกจิ กรรมท้ำยเรอ่ื งท่ี 2 สมุดบันทกึ กจิ กรรมกำรเรยี นรู้ประกอบชดุ วชิ ำ) ชุดวชิ า TO BE NUMBER ONE “เปน็ หนึง่ โดยไม่พง่ึ ยาเสพติด” สค3300166 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย 139

หน่วยกำรเรียนรทู้ ่ี 7 TO BE NUMBER ONE กับกำรแก้ปัญหำชุมชนดว้ ยโครงงำน สำระสำคญั ในการจัดทาโครงงาน TO BE NUMBER ONE กับการแก้ปัญหาชุมชนด้วยโครงงานหรือโครงการ รณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ผู้เรียนจะต้องทราบความหมายและความเป็นมา ความสาคัญของโครงงาน ซ่ึงสามารถท่ีจะอธิบายประเภท ของโครงงาน ได้อย่างถูกต้อง มีการลงมือปฏิบัติการทาโครงงานแบบมีขั้นตอน เช่นมีการคิดและคัดเลือก หัวข้อในการทาโครงงาน ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องมีการเขียนเค้าโครงของโครงงานการลงมือปฏิบัติโครงงาน การเขียน รายงาน การแส ด งผ ลงาน โด ย มียุ ทธศาส ต ร์แล ะวิธีการด าเนิ น โครงการท่ียึ ดวั ยรุ่น แล ะเยาวช น เป็นศูนย์กลางบนพ้ืนฐานการเข้าถึงสาเหตุของปัญหา เข้าใจธรรมชาติพฤติกรรมและความต้องการของ เยาวชน วัยรุ่นและกลุ่มเสี่ยงอื่นๆ โดยมีกลยุทธ์สาคัญคือการใช้สโลแกน “เป็นหน่ึงโดยไม่พึ่งยาเสพติด” ก่อให้เกิดความท้าทาย และจูงใจเยาวชนไม่ให้ยุ่งกับยาเสพติด ในลักษณะส่งเสริมการแข่งขันกันทาความดี เปน็ สิง่ จูงใจให้เยาวชนอยากเขา้ ร่วมกิจกรรมอยา่ งตอ่ เนื่อง ตวั ช้ีวัด 140 1. อธบิ ายความหมายและความสาคัญของโครงงาน ชุดวิชา TO BE NUMBER ONE “เปน็ หนึ่งโดยไม่พง่ึ ยาเสพติด” สค3300166 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook