2. มอร์ฟีน (Morphine) เป็นแอลคาลอยด์จากฝ่ินดิบ มีฤทธ์ิทั้งกดและกระตุ้นระบบประสาท ส่วนกลาง ทาให้ศูนย์ประสาทรับความรู้สึกชา อาการเจ็บปวดต่าง ๆ หมดไป กล้ามเน้ือคลายตัว มคี วามรู้สึกสบายหายกังวล นอกจากนย้ี ังมีฤทธ์กิ ดศูนยก์ ารไอทาให้ระงับอาการไอ กดศูนย์ควบคุมการหายใจ ทาให้ร่างกายหายใจช้าลง เกิดอันตรายถึงแก่ชีวิตได้ ส่วนฤทธ์ิกระตุ้นระบบประสาทส่วนกลาง จะทาให้คลื่นไส้ อาเจียน ม่านตาหร่ี บางรายมีอาการตื่นเต้นด้วย กระเพาะอาหารและลาไส้ทางานน้อยลง หู รูดตา่ ง ๆ หดตวั เลก็ ลง จึงทาให้มีอาการทอ้ งผกู และปัสสาวะลาบาก 3. เฮโรอีน (Heroin) สกัดได้จากมอร์ฟีนโดยกรรมวิธีทางเคมี ซ่ึงเกิดปฏิกิริยาระหว่างมอร์ฟีนและ นา้ ยาอะซิติค แอนไฮไดรด์ เป็นยาเสพติดที่ติดได้ง่ายมาก เลิกไดย้ าก มีความแรงสูงกว่ามอรฟ์ ีนประมาณ 5-8 เท่า แรงกว่าฝน่ิ 80 เท่า และถา้ ทาใหบ้ รสิ ุทธิจ์ ะมฤี ทธแ์ิ รงกว่าฝนิ่ ถงึ 100 เท่าตัว เฮโรอีนเปน็ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ ทร่ี ้ายแรงทสี่ ุด ใช้ได้ทั้งวธิ ีสบู ฉีดเขา้ กล้ามเนื้อหรือเส้นเลือดดา ละลายไดด้ ีในน้า เฮโรอนี มีฤทธิ์ทาให้งว่ งนอน ชุดวิชา TO BE NUMBER ONE “เป็นหน่ึงโดยไม่พ่งึ ยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย 41
งุนงง คล่ืนไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ร่างกายผอมลงอย่างรวดเร็ว อ่อนเพลีย ไม่กระตือรือร้น ไม่อยากทางาน หงดุ หงิด โกรธงา่ ย มกั กอ่ อาชญากรรมได้เสมอ มักตายดว้ ยมีโรคแทรกซ้อน หรอื ใช้ยาเกนิ ขนาด 4. บำรบ์ ิทเู รต (Barbiturates) ยาที่จัดอยู่ในพวกสงบประสาทใช้เป็นยานอนหลับ ระงับความวติ ก กังวล ระงับอาการชักหรือป้องกันการชัก ที่ใช้กันแพร่หลายได้แก่ เซโคบาร์บิตาล ออกฤทธ์ิกดสมอง ทาให้ สมองทางานน้อยลง ใช้ยาเกินขนาดทาให้มีฤทธกิ์ ดสมองอยา่ งรุนแรง ถงึ ขนาดหมดความรู้สึกและเสียชีวติ จะ มีอาการมึนงงในคอหงุดหงิด เล่ือนลอย ขาดความรับผิดชอบ มีความกล้าอย่างบ้าบ่ิน ชอบทะเลาะวิวาท ก้าวร้าว ทาร้ายตนเอง คลุ้มคล่ัง พูดไม่ชัด เดินโซเซคล้ายกับคนเมาสุรา ขาดความอาย อาทิ สามารถเปลื้อง เสอื้ ผา้ เพ่ือเตน้ โชวไ์ ด้ 5. ยำกล่อมประสำท (Tranquilizers) เป็นยาที่มีฤทธิ์กดสมอง ทาให้จิตใจสงบหายกังวล แต่ฤทธิ์ไม่รุนแรงถึงขั้นทาให้หมดสติหรือกดการหายใจ การใช้ยาเป็นเวลานาน จะทาให้ร่างกายเกิดความ ต้านทานต่อยา และเกิดการเสพติดได้และมีแนวโน้มจะป่วยด้วยโรคความดันโลหิตต่า โรคกระเพาะทางเดิน อาหาร ฯลฯ 6. แอมเฟตำมีน (Amphetamine) มีช่ือที่บุคคลทั่วไปรู้จัก คือ ยาบ้า หรือยาขยันเป็นยาที่มีฤทธ์ิ กระตุ้นประสาทส่วนกลาง และระบบประสาทส่วนปลาย ทาให้มีอาการต่ืนตัว หายง่วง พูดมาก ทาให้หลอด เลือดตีบเล็กลง หัวใจเต้นเร็วขึ้น ความดันเลือดสูง มือส่ันใจส่ัน หลอดลมขยาย ม่านตาขยาย เหง่ือออกมาก ปากแห้ง เบื่ออาหาร ถ้าใช้เกินขนาดจะทาให้เวียนศีรษะนอนไม่หลับ ตัวสั่น ตกใจง่าย ประสาทตึงเครียด โกรธง่าย จิตใจสับสน คล่ืนไส้ อาเจียน ท้องเดินและปวดท้องอย่างรุนแรง มีอาการชักหมดสติ และตาย เนอ่ื งจากหลอดเลือดในสมองแตกหรือหัวใจวาย ชดุ วิชา TO BE NUMBER ONE “เปน็ หน่งึ โดยไม่พ่ึงยาเสพติด” สค3300166 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย 42
7. กัญชำ (Cannabis) เป็นพืชล้มลุกชนิดหน่ึง ข้นึ ได้ง่ายในเขตร้อน อาทิ ไทย อินเดยี เม็กซโิ ก ผลที่ เกิดข้ึนต่อร่างกายจะปรากฏหลังจากสูบ 2-3 นาที หรือหลังจากรับประทานคร่ึงชั่วโมง ถึง 1 ช่ัวโมง ทาให้มี อาการตื่นเต้น ช่างพูด หัวเราะส่งเสียงดัง กล้ามเนื้อแขนขาอ่อนเปลี้ยคล้ายคนเมาสุรา ถ้าได้รับ ในขนาดสูง ความรู้สึกนึกคิดและการตัดสินใจเสียไป ความจาเส่ือม ประสาทหลอน หวาดระแวง ความคิด สับสน ไม่สนใจส่ิงแวดล้อม การสูบกัญชา ยังทาให้เกิดหลอดลมอักเสบเรื้อรัง โรคหืดหลอดลม มะเร็ง ท่ีปอด บางรายมีอาการท้องเดิน อาเจียน มือส่ันเป็นตะคริว หลอดเลือดอุดตัน หัวใจเต้นเร็ว ความรู้สึกทาง เพศลดลงหรือหมดไป และเปน็ หนทางนาไปสกู่ ารเสพตดิ ยาชนดิ อ่นื ๆ ไดง้ า่ ย 8. ยำหลอนประสำท (Hallucinogen) เป็นยาที่ทาให้ประสาทการเรียนรู้ผิดไปจากธรรมดา ยาท่ี แพร่หลายในปัจจุบัน ได้แก่ แอลเอสดี ดีเอ็มที เอสทีพี เมสคาลีน เห็ดข้ีควาย ต้นลาโพง หัวใจเต้นเร็วขึ้น ความดันเลือดสูง ม่านตาขยาย มือเท้าส่ัน เหง่ือออกมากท่ีฝ่ามือ บางรายคลื่นไส้ อาเจียน ส่งผลต่อจิตใจ คือ มอี ารมณ์ออ่ นไหวง่าย ประสาทรับความรูส้ ึกแปรปรวน ไม่สามารถควบคุมสติได้ ท้ายสุดผูเ้ สพมักปว่ ยเปน็ โรค จติ 9. สำรระเหย สารระเหยจะถูกดูดซึมผ่านปอด เข้าสู่กระแสโลหิต แล้วเข้าสู่เนื้อเยื่อต่างๆ ของ ร่างกาย เกิดพิษซง่ึ แบ่งไดเ้ ป็น 2 ระยะ คอื - พิษระยะเฉียบพลัน ตอนแรกจะรู้สึกเป็นสุข ร่าเริง ควบคุมตัวเองไม่ได้ คล้ายกับคนเมาสุรา ระคายเคืองเยื่อบุภายในปากและจมูก น้าลายไหลมาก ต่อมามีฤทธ์ิกดประสาททาให้ง่วงซึม หมดสติ ถา้ เสพในปริมาณมากจะไปกดศูนยห์ ายใจทาใหต้ ายได้ - พิษระยะเร้ือรัง หากสูดดมสารระเหยเป็นระยะเวลานานติดต่อกัน จะเกิดอาการทางระบบ ประสาท วิงเวียนศีรษะ เดินโซเซ ความคิดสับสน หัวใจเต้นผิดปกติ เกิดการอักเสบของหลอดลม ถ่ายทอด ชุดวิชา TO BE NUMBER ONE “เปน็ หนึง่ โดยไมพ่ ึง่ ยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย 43
ทางพันธุกรรม เป็นเหตุให้เด็กท่ีเกิดมามีความพิการได้ เซลล์สมองจะถูกทาลายจนสมองฝ่อ จะเป็นโรคสมอง เส่อื มไปตลอดชวี ิต 10. ยำบ้ำ เป็นชื่อท่ีใช้เรียกยาเสพติดท่ีมีส่วนของสารเคมีประเภทแอมเฟตามีน (Amphetamine) สารประเภทนี้แพรร่ ะบาดอยู่ 3 รูปแบบด้วยกัน คือ 1) แอมเฟตำมนี ซัลเฟต (Amphetamine Sulfate) 2) เมทแอมเฟตำมีน (Methamphetamine) 3) เมทแอมเฟตำมีนไฮโดรคลอไรด์ (Methamphetamine Hydrochloride) ซึ่งจากผลการตรวจพิสูจน์ยาบ้าปัจจุบันท่ีพบอยู่ในประเทศไทยมักพบว่า เกือบท้ังหมดมีเมทแอมเฟตามีน ไฮโดรคลอไรดผ์ สมอยู่ ยาบ้า จัดอยู่ในกลุ่มยาเสพติดที่ออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท มีลักษณะเป็นยาเม็ดกลมแบนขนาดเล็ก เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 6-8 มิลลิเมตร ความหนาประมาณ 3 มิลลิเมตร น้าหนักเม็ดยาประมาณ 80-100 มิลลิกรัม มีสีต่างๆ กัน เช่น สีส้ม สนี ้าตาลสีม่วง สเี ทา สีเหลอื ง และสีเขียว มีสัญลกั ษณ์ท่ีปรากฏบน เมด็ ยา เชน่ ฬ, M, PG, WY สัญลักษณ์รปู ดาว, รปู พระจนั ทรเ์ สี้ยว, 99 หรือ อาจเป็นลกั ษณะของเสน้ แบง่ คร่ึง เม็ด ซึ่งลักษณ ะเหล่าน้ีอาจปรากฏบนเม็ดยาด้านหน่ึงหรือทั้งสองด้านหรือ อาจเป็นเม็ดเรียบ ทง้ั สองดา้ นก็ได้ ชดุ วิชา TO BE NUMBER ONE “เปน็ หน่งึ โดยไมพ่ ึ่งยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 44
อำกำรผู้เสพ เม่ือเสพเข้าสู่ร่างกาย ในระยะแรกจะออกฤทธ์ิทาให้ร่างกายต่ืนตัว หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิต สงู ใจส่ัน ประสาทตงึ เครียด แตเ่ ม่อื หมดฤทธ์ยิ า จะร้สู ึกออ่ นเพลยี มากกวา่ ปกติ ประสาทลา้ ทาใหก้ ารตดั สนิ ใจ ช้า และผิดพลาด เป็นเหตุให้เกิดอุบัติเหตุร้ายแรงได้ ถ้าใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน จะทาให้สมองเส่ือม เกิด อาการประสาทหลอน เห็นภาพลวงตา หวาดระแวงคลุ้มคล่ัง เสียสติ เป็นบ้าอาจทาร้ายตนเองและผู้อื่นได้ ห รือ ใน ก รณี ท่ี ได้ รับ ยาใน ป ริม าณ ม าก (Overdose) จะไป ก ด ป ระส าท แล ะระบ บ ก ารห ายใจ ทาใหห้ มดสติ และถึงแก่ความตายได้ กำรเสพยำบ้ำกอ่ ให้เกิดผลรำ้ ยหลำยประกำร ดังนี้ 1. ผลต่อจิตใจ เม่ือเสพยาบ้าเป็นระยะเวลานานหรือใช้เป็นจานวนมาก จะทาให้ผู้เสพมีความ ผิดปกตทิ างด้านจติ ใจกลายเป็นโรคจิตชนิดหวาดระแวง ส่งผลให้มีพฤติกรรมเปล่ียนแปลงไป เช่น เกิดอาการ หวาดหวั่น หวาดกลัว ประสาทหลอน ซ่ึงโรคน้หี ากเกดิ ขึน้ แล้ว อาการจะคงอยู่ตลอดไป แม้ในช่วงเวลาท่ีไมไ่ ด้ เสพยาก็ตาม 2. ผลต่อระบบประสำท ในระยะแรกจะออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท ทาให้ประสาทตึงเครียด แต่เมื่อ หมดฤทธ์ิยาจะมีอาการประสาทล้า ทาให้การตัดสินใจในเร่ืองต่างๆ ช้า และผิดพลาด และหากใช้ติดต่อกัน เป็นเวลานานจะทาให้สมองเสื่อม หรือกรณีท่ีใช้ยาในปริมาณมาก (Overdose) จะไปกดประสาทและระบบ การหายใจ ทาให้หมดสติและถึงแก่ความตายได้ 3. ผลต่อพฤติกรรม ฤทธ์ิของยาจะกระตุ้นสมองส่วนท่ีควบคุมความก้าวร้าว และความกระวน กระวายใจ ดังนั้นเม่ือเสพยาบา้ ไปนานๆ จะกอ่ ให้เกิดพฤติกรรมที่เปล่ียนแปลงไป คือ ผู้เสพจะมีความก้าวรา้ ว เพิม่ ข้นึ และหากยังใช้ต่อไปจะมีโอกาสเป็นโรคจิตชนิดหวาดระแวง เกรงวา่ จะมคี นมาทาร้ายตนเอง จึงต้องทา รา้ ยผ้อู ืน่ กอ่ น 11. ยำอี, ยำเลฟิ ยาอี ยาเลิฟ เอ็คซ์ตาซี (Ecstasy) เป็นยาเสพติดกลุ่มเดียวกัน จะแตกต่างกันบ้างในด้านโครงสร้าง ทางเคมี ลักษณะของยาอี มีทั้งที่เป็นแคปซูลและเป็นเม็ดยาสีต่างๆ แต่ท่ีพบในประเทศไทย ส่วนใหญ่ มีลักษณะเป็นเมด็ กลมแบน เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.8-1.2 ซม. หนา 0.3-0.4 ซม. ผิวเรียบ และปรากฏสัญลักษณ์ ชดุ วิชา TO BE NUMBER ONE “เป็นหน่ึงโดยไม่พึ่งยาเสพติด” สค3300166 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 45
บนเมด็ ยา เป็นรูปต่างๆ เช่น กระต่าย ค้าวคาว นก ดวงอาทิตย์ PT ฯลฯ เสพโดยการรับประทานเป็นเม็ด จะออกฤทธภิ์ ายในเวลา 45 นาที และฤทธิย์ าจะอยู่ในรา่ งกายไดน้ านประมาณ 6-8 ซม. ยาอี ยาเลิฟ เอ็คซ์ตาซี เป็นยาที่แพร่ระบาดในกลุ่มวัยรุ่นที่ชอบเที่ยวกลางคืน ออกฤทธิ์ใน 2 ลักษณะ คือ ออกฤทธ์ิกระตุ้นระบบประสาท ในระยะส้ันๆ หลักจากนั้น จะออกฤทธ์ิหลอกประสาทอย่าง รนุ แรง ฤทธข์ิ องยาจะทาใหผ้ ู้เสพรู้สกึ รอ้ น เหง่ือออกมาก หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูง การได้ยินเสียง และ การมองเห็นแสงสีต่าง ๆ ผิดไป จากความเป็นจริง เคลิบเคล้ิม ไม่สามารถควบคุมอารมณ์ของตนเองได้ อัน เป็นสาเหตุท่ีจะนาไปสู่พฤติกรรมเส่ือมเสียต่าง ๆ และจากการค้นคว้าวิจัยของแพทย์ และนักวิทยาศาสต ร์ หลายท่าน พบว่า ยาชนดิ นี้มีอันตรายร้ายแรง แม้จะเสพเพียง 1-2 ครง้ั ก็สามารถทาลายระบบภูมิค้มุ กันของ ร่างกาย ส่งผลให้ผู้เสพมีโอกาสติดเช้ือโรคต่าง ๆ ได้ง่าย และยังทาลายเซลล์สมองส่วนท่ีทาหน้าที่ส่งสาร ซีโรโทนิน (Serotonin) ซ่ึงเป็นสาระสาคัญในการควบคุมอารมณ์ให้มีความสุข ซ่ึงผลจากการทาลายดังกล่าว จะทาให้ผูเ้ สพเข้าสูส่ ภาวะของอารมณ์ทเี่ ศร้าหมองหดหู่อยา่ งมาก และมีแนวโนม้ การฆา่ ตัวตายสงู กวา่ ปกติ อำกำรผูเ้ สพ เหง่ือออกมาก หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูง ระบบประสาท การรับรู้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งหมด (Psychedelic) ทาให้การได้ยินเสียงและการมองเห็นแสงสีต่างๆ ผิดไปจากความเป็นจริง ควบคุมอารมณ์ ไมไ่ ด้ อนั ตรำยท่ไี ด้รบั การเสพยาอี ก่อใหเ้ กดิ ผลรา้ ยหลายประการดังนี้ 1. ผลต่ออารมณ์ เมื่อเร่ิมเสพในระยะแรกยาอีจะออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท ให้ผู้เสพรู้สึกต่ืนตัว ตลอดเวลา ไม่สามารถควบคุมอารมณข์ องตนเองได้ เป็นสาเหตุใหเ้ กิดพฤติกรรม สาสอ่ นทางเพศ 2. ผลตอ่ การร้สู กึ การรับรจู้ ะเปลี่ยนแปลงไปจากความเปน็ จรงิ 3. ผลต่อระบบประสาท ยาอีจะทาลายระบบประสาท ทาให้เซลล์สมองส่วนท่ีทาหน้าที่หล่ังสาร ซีโรโทนิน (Serotonin) ซ่ึงเป็นสาระสาคัญในการควบคุมอารมณ์น้ัน ทางานผิดปกติคือ เม่ือยาอีเข้าสู่สมอง แล้ว จะทาให้เกิดการหลั่งสาร “ซีโรโทนิน” ออกมามากเกินกว่าปกติ ส่งผลให้จิตใจสดช่ืนเบิกบาน แต่เมื่อ ระยะเวลาผ่านไปสารดังกล่าวจะลดน้อยลง ทาให้เกิดอาการซึมเศร้าหดหู่อย่างมาก อาจกลายเป็นโรคจิต ชุดวชิ า TO BE NUMBER ONE “เป็นหนึ่งโดยไมพ่ ่ึงยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 46
ป ระเภ ท ซึ ม เศ ร้า (Depression) แ ล ะ อ าจ เกิ ด ส ภ าว ะ อ ย าก ฆ่ าตั วต าย น อ ก จ าก น้ี ก ารท่ี ส าร ซีโรโทนินลดลง ยังทาให้ธรรมชาติของการหลับนอนผิดปกติ จานวนเวลาของการหลับลดลง นอนหลับ ไม่สนิท จึงเกิดอาการอ่อนเพลียขาดสมาธิในการเรียน และการทางานอ่อนเพลีย ขาดสมาธิในการเรียน และ การทางาน 4. ผลต่อสภาวะการตายขณะเสพ มักเกิดเมื่อผู้เสพสูญเสียเหง่ือมาก ทาให้เกิดสภาวะขาดน้าอย่าง ฉบั พลัน หรอื กรณีทเ่ี สพยาอีพร้อมกบั ดืม่ แอลกอฮอลเ์ ข้าไปมาก หรอื ผทู้ ป่ี ่วยเปน็ โรคหัวใจ จะทาใหเ้ กดิ อาการ ชอ็ กและเสยี ชวี ติ ได้ สรุป ยาเสพตดิ มีหลายชนดิ มฤี ทธ์ริ า้ ยแรงทาลายสุขภาพ มีผลต่อระบบประสาทเป็น อย่างมาก ผ้เู สพจะมี อาการในลักษณะที่ควบคุมตนเองไม่ค่อยได้ เป็นไปตามฤทธ์ิของยาเสพติดแต่ละชนิดเมื่อเสพติดต่อกันไป ระยะหนึ่ง จะทาให้มีความต้องการโดยขาดไม่ได้ และจะมีความต้องการเพิ่มข้ึนเร่ือย ๆ ในที่สุดร่างกายจะ ทรุดโทรมลงและเสียชีวิตในที่สุด ยาเสพติดเหล่าน้ีได้แก่ ฝ่ิน มอร์ฟีน เฮโรอีน ยากล่อมประสาท กัญชา ยาอี ฯลฯ ไมค่ วรรลิ อง เพราะจะทาให้เกดิ การเสพติดโดยงา่ ย ทาให้เสยี การเรียนและเสยี อนาคตในทส่ี ุด ลักษณะอำกำรของผตู้ ิดยำเสพติด ลักษณะกำรติดยำเสพตดิ ยาเสพติดบางชนิดก่อให้เกิดการติดได้ทั้งทางรา่ งกายและจิตใจ แต่ยาเสพติดบางชนิดก็ก่อใหเ้ กิดการ ตดิ ทางดา้ นจิตใจเพยี งอยา่ งเดียว ลักษณะทัว่ ไป 1. ตาโรยขาดความกระปรก้ี ระเปร่า น้ามูกไหล น้าตาไหล ริมฝีปากเขียวคล้าแห้ง แตก (เสพโดยการ สบู ) 2. เหง่ือออกมาก กลน่ิ ตัวแรง พดู จาไมส่ มั พันธก์ บั ความจรงิ 3. บริเวณแขนตามแนวเส้นโลหิต มรี ่องรอยการเสพยาโดยการฉีดให้เห็น ชดุ วิชา TO BE NUMBER ONE “เป็นหนึ่งโดยไมพ่ ่งึ ยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 47
4. ท่ีท้องแขนมีรอยแผลเป็นโดยกรีดด้วยของมีคมตามขวาง (ติดเหล้าแห้ง ยากล่อมประสาท ยาระงบั ประสาท) 5. ใส่แว่นตากรอบแสงเข้มเป็นประจา เพราะม่านตาขยาย 6. มักสวมเสื้อแขนยาวปกปิดรอยฉีดยา โปรดหลีกให้พ้นจากบุคคลท่ีมีลักษณะดังกล่าว ชีวิต จะสขุ สนั ตต์ ลอดกาล 7. มคี วามตอ้ งการอยา่ งแรงกล้าท่ีจะเสพยาน้ันต่อไปอีกเรอ่ื ย ๆ 8. มคี วามโนม้ เอียงทจ่ี ะเพมิ่ ปริมาณของสิ่งเสพติดใหม้ ากขึ้นทุกขณะ 9. ถ้าถึงเวลาท่ีเกิดความต้องการแล้วไม่ได้เสพจะเกิดอาการขาดยาหรืออยากยาโดยแสดงออกมาใน ลักษณะอาการตา่ ง ๆ เช่น หาว อาเจียน น้ามูกนา้ ตาไหล ทรุ นทุราย คลุ้มคลง่ั ขาดสติ โมโห ฉุนเฉียว ฯลฯ 10. ส่ิงเสพติดนั้นหากเสพอยู่เสมอ ๆ และเป็นเวลานานจะทาลายสุขภาพของผู้เสพท้ังทางร่างกาย และจิตใจ 11. ทาใหร้ ่างกายซบู ผอมมีโรคแทรกซอ้ น และทาให้เกิดอาการทางโรคประสาทและจิตไม่ปกติ กำรติดยำทำงกำย เป็นการติดยาเสพติดท่ีผู้เสพมีความต้องการเสพอย่างรุนแรง ท้ังทางร่างกายและจิตใจ เมื่อถึงเวลา อยากเสพแล้วไม่ได้เสพ จะเกิดอาการผิดปกติอย่างมาก ท้ังทางร่างกายและจิตใจ ซ่ึงเรียกว่า “อาการขาดยา” เชน่ การติดฝน่ิ มอร์ฟีน เฮโรอีน เมื่อขาดยาจะมีการคลื่นไส้ อาเจยี น หาว น้ามูก น้าตาไหล นอนไม่หลบั เจ็บปวดท่วั รา่ งกาย เปน็ ตน้ กำรติดยำทำงใจ เป็นการติดยาเสพติดเพราะจิตใจเกิดความต้องการหรือเกิดการติดเป็นนิสัย หากไม่ได้เสพร่างกายก็ จะไม่เกิดอาการผิดปกติ หรือทุรนทุรายแตอ่ ย่างใด จะมีบ้างก็เพียงเกิดอาการหงุดหงิดหรือกระวนกระวายวิธี สังเกตอาการผู้ติดยาเสพติด จะสังเกตว่าผู้ใดใช้หรือเสพยาเสพติด ให้สังเกตจากอาการและการเปล่ียนแปลง ท้งั ทางรา่ งกายและจิตใจ ตอ่ ไปน้ี 1. การเปลย่ี นแปลงทางร่างกาย จะสังเกตไดจ้ าก - สุขภาพรา่ งกายทรุดโทรม ซูบผอม ไม่มีแรง อ่อนเพลยี - ริมฝีปากเขียวคลา้ แห้ง และตก - ร่างกายสกปรก เหงื่อออกมาก กลิน่ ตวั แรงเพราะไม่ชอบอาบนา้ ชุดวชิ า TO BE NUMBER ONE “เปน็ หนง่ึ โดยไม่พ่งึ ยาเสพติด” สค3300166 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 48
- ผิวหนงั หยาบกร้าน เปน็ แผลพพุ อง อาจมีหนองหรือน้าเหลือง คล้ายโรคผวิ หนัง - มรี อยกรีดดว้ ยของมคี ม เป็นรอยแผลเป็นปรากฏท่บี รเิ วณแขน และ/หรอื ท้องแขน - ชอบใสเ่ ส้ือแขนยาว กางเกงขายาว และสวมแว่นตาดาเพอื่ ปิดบังม่านตาทข่ี ยาย 2. การเปลย่ี นแปลงทางจติ ความประพฤตแิ ละบคุ ลกิ ภาพ สังเกตได้จาก - เป็นคนเจ้าอารมณ์ หงุดหงิดง่าย เอาแตใ่ จตนเอง ขาดเหตผุ ล - ขาดความรบั ผิดชอบตอ่ หนา้ ท่ี - ขาดความเชอื่ ม่ันในตนเอง - พูดจาก้าวร้าว แม้แตบ่ ิดามารดา ครู อาจารย์ ของตนเอง - ชอบแยกตวั อยูค่ นเดียว ไมเ่ ขา้ หนา้ ผ้อู น่ื ทาตัวลึกลบั - ชอบเข้าหอ้ งนา้ นาน ๆ - ใชเ้ งนิ เปลืองผิดปกติ ทรัพย์สนิ ในบา้ นสูญหายบ่อย - พบอุปกรณ์เกย่ี วกบั ยาเสพตดิ เชน่ หลอดฉีดยา เขม็ ฉดี ยา กระดาษตะกั่ว - มว่ั สมุ กับคนท่มี พี ฤตกิ รรมเกีย่ วกับยาเสพติด - ไม่สนใจความเป็นอยขู่ องตนเอง แต่งกายสกปรก ไมเ่ รยี บร้อย ไมค่ อ่ ยอาบน้า - ชอบออกนอกบา้ นเสมอ ๆ และกลบั บ้านผดิ เวลา - ไมช่ อบทางาน เกียจคร้าน ชอบนอนตื่นสาย - อาการวติ กกงั วล เศรา้ ซึม สหี น้าหมองคล้า 3. การสงั เกตอาการขาดยา ดังต่อไปน้ี - น้ามกู นา้ ตาไหล หาวบ่อย - กระสับกระส่าย กระวนกระวาย หายใจถ่ี ปวดท้อง คล่ืนไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร น้าหนักลด อาจมอี ุจาระเปน็ เลอื ด - ขนลกุ เหงื่อออกมากผิดปกติ - ปวดเมือ่ ยตามรา่ งกาย ปวดเสยี วในกระดกู - มา่ นตาขยายโตข้ึน ตาพร่าไม่ส้แู ดด - มกี ารสัน่ ชัก เกรง็ ไข้ขึ้นสงู ความดันโลหติ สงู - เปน็ ตะครวิ - นอนไม่หลับ - เพอ้ คลุ้มคล่ัง อาละวาด ควบคมุ ตนเองไมไ่ ด้ ชุดวิชา TO BE NUMBER ONE “เปน็ หน่งึ โดยไมพ่ ง่ึ ยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 49
1.3 กำรป้องกันและหลีกเลี่ยงกำรติดยำเสพตดิ การดาเนินงานป้องกันยาเสพติด จาเป็นต้องสร้างให้กลุ่มเป้าหมายมี “ภูมิคุ้มกัน” เกิดข้ึนกับตัวเอง มีทักษะชีวิต (Life Skill) เพียงพอท่ีจะไม่ให้ตนเองต้องติดยาเสพติดและสามารถ เฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยง ปรบั เปล่ียนพฤตกิ รรมเส่ียง เพอ่ื ป้องกันมิใหบ้ ุคคลที่ตนรักติดยาเสพตดิ ได้ โดยสามารถดาเนนิ การได้ดงั น้ี 1. ป้องกันตนเอง ไม่ใช้ยาโดยมิได้รับคาแนะนาจากแพทย์ และจงอย่าทดลองเสพยาเสพติด ทุกชนิดโดยเด็ดขาด เพราะตดิ ง่ายหายยาก 2. ป้องกันครอบครัว ควรสอดส่องดูแลเด็กและบุคคลในครอบครัวหรือท่ีอยู่ร่วมกันอย่าให้เก่ียวข้อง กับยาเสพติด ต้องคอยอบรมสั่งสอนให้รู้สึกโทษและภัยของยาเสพติด หากมี ผู้ เสพยาเสพติด ในครอบครัว จงจัดการให้เข้ารักษาตัวท่ีโรงพยาบาล ให้หายเด็ดขาด การรักษาแต่แรกเร่ิมติดยาเสพติด มโี อกาสหายไดเ้ ร็วกว่าท่ปี ล่อยไว้นานๆ 3. ป้องกันเพื่อนบ้าน โดยช่วยชี้แจงให้เพื่อนบ้านเข้าใจถึงโทษและภัยของยาเสพติด โดยมิให้เพ่ือน บ้านรู้เท่าไมถ่ ึงการณ์ ต้องถกู หลอกลวง และหากพบว่าเพื่อนบ้านติดยาเสพติด จงช่วยแนะนาให้ไปรักษาตัวที่ โรงพยาบาล 4. ป้องกันโดยให้ความร่วมมือกับทางราชการ เมื่อทราบว่าบ้านใด ตาบลใด มียาเสพติดแพร่ระบาด ขอให้ แจ้งเจ้าห น้ าที่ตารวจทุกแห่ งทุ กท้ องที่ท ราบ ห รือที่ ศูน ย์ปราบป รามยาเสพ ติดให้โท ษ กรมตารวจ (ศปส.ตร.) โทร. 0-2252-7962 0-2252-5932 และที่สานักงานคณะกรรมการป้องกันและ ปราบปรามยาเสพตดิ (สานกั งาน ป.ป.ส.) สานกั นายกรัฐมนตรี โทร. 0-2245-9350-9 การปอ้ งกนั และหลีกเลี่ยงยาเสพตดิ ในชุมชน มีแนวทางดังน้ี 1. ปอ้ งกันตนเอง ทาไดโ้ ดย - ศกึ ษาหาความรเู้ พ่ือให้รูเ้ ท่าทันโทษพษิ ภัยของยาเสพตดิ - ไมท่ ดลองใชย้ าเสพตดิ ทุกชนิดและปฏิเสธเม่ือถูกชกั ชวน - ระมดั ระวังเรื่องการใชย้ า เพราะยาบางชนดิ อาจทาใหเ้ สพติดได้ - ใช้เวลาว่างใหเ้ ป็นประโยชน์ - เลือกคบเพอื่ นดี ทช่ี กั ชวนกนั ไปในทางสร้างสรรค์ - เม่อื มีปญั หาชวี ิตควรหาหนทางแก้ไขทไ่ี ม่ขอ้ งเกี่ยวกบั ยาเสพตดิ หากแกไ้ ขไม่ไดค้ วรปรกึ ษาผใู้ หญ่ 2. ป้องกนั ครอบครวั ทาได้โดย - สรา้ งความรัก ความอบอุ่นและความสัมพันธอ์ ันดีระหว่างสมาชกิ ในครอบครวั - รแู้ ละปฏิบตั ิตามบทบาทหน้าท่ีของตนเอง ชุดวชิ า TO BE NUMBER ONE “เป็นหนึง่ โดยไม่พึ่งยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย 50
- ดูแลสมาชกิ ในครอบครัวไม่ให้ขอ้ งเก่ยี วกบั ยาเสพติด - ใหก้ าลังใจและหาทางแกไ้ ข หากพบว่าสมาชิกในครอบครัวติดยาเสพติด 3. ปอ้ งกันชมุ ชน ทาไดโ้ ดย - ชว่ ยชมุ ชนในการต่อตา้ นยาเสพตดิ - เมื่อทราบแหล่งเสพ แหล่งค้า หรือผลิตยาเสพติด ควรแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบทันที ท่ีสานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด โทร. 0-2245-9414 หรือ 0-2247-0901-19 ต่อ 258 โทรสาร 0-2246-8526 - ศูนย์รบั แจง้ ข่าวยาเสพติด สานกั งานตารวจแห่งชาติ โทร. 1688 สรุป ยาเสพติดได้แพร่ระบาดเข้าไปถึงกลุ่มคนทุกกลุ่ม ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของกลุ่มคนเหล่าน้ัน และมีผลตอ่ ประเทศชาติในที่สุด การดาเนินงานป้องกันยาเสพติด จึงควรใหภ้ ูมิคมุ้ กันแก่กลุ่มเป้าหมาย โดยมี หลักการ รูปแบบกจิ กรรมเพื่อปอ้ งกันยาเสพตดิ ให้โทษทชี่ ัดเจน 1.4 กฎหมำยท่ีเกี่ยวข้องกบั ยำเสพติด “ยำเสพติดเป็นภยั ต่อชีวิต เป็นพิษต่อสงั คม” เป็นคากล่าวท่ีแสดงถึงภาพของยาเสพติดเป็นอยา่ งดี ใน ปัจจุบัน ปัญ ห าเรื่องยาเส พ ติดเป็ นปั ญ ห าที่ทุ กช าติ ให้ ความส าคัญ เป็ นอย่ างมากใน การป้ องกัน แล ะ ปราบปรามซ่ึงถือว่าเป็นความผิดสากลโดยแต่ละชาติสามารถจับกุมและลงโทษผู้กระทาความผิดเก่ียวกับยา เสพติดได้ทนั ที กฎหมายเก่ียวกับยาเสพติดได้ให้ความหมายของคาว่ายาเสพตดิ ไวด้ งั นี้ “สารเคมีหรือวัตถุชนิด ใดๆ ซึ่งเม่ือเสพเข้าสู่ร่างกายไม่ว่าจะรับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือด้วยประการใดๆ แล้วทาให้เกิดผลต่อ ร่างกายและจิตใจในลักษณะสาคัญ เช่น ต้องเพิ่มขนาดการเสพข้ึนเป็นลาดับ มีอาการถอนยาเม่ือขาดยา มี ความต้องการเสพท้ังทางร่างกายและจิตใจอย่างรุนแรงตลอดเวลา และสุขภาพโดยท่ัวไปจะทรุดโทรมลง รวมถึงพืชหรือส่วนของพืชทีเ่ ปน็ หรอื ให้ผลผลิตเป็นยาเสพตดิ ให้โทษ หรอื อาจใช้ผลติ เปน็ ยาเสพติดให้โทษและ สารเคมีท่ีใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษด้วย” จากความหมายของยาเสพติดทาให้ทราบว่าอะไรบ้างท่ีเข้า ลักษณะของยาเสพติด พืชอาจเป็นยาเสพติดได้ ถ้าเสพแล้วเกิดผลต่อร่างกายและจิตใจจนขาดไม่ได้ มิใช่ เฉพาะแต่เฮโรอนี ซ่งึ เปน็ ส่ิงสงั เคราะหเ์ ท่านนั้ ท่เี ป็นยาเสพตดิ ให้โทษ ประเภทของยำเสพตดิ และบทลงโทษตำมกฎหมำย ชุดวิชา TO BE NUMBER ONE “เป็นหน่ึงโดยไม่พง่ึ ยาเสพติด” สค3300166 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 51
ตามกฎหมายไดแ้ บ่ง ประเภทของยาเสพตดิ ใหโ้ ทษแบ่งออกเป็น 5 ประเภท ประเภท 1 ยาเสพติดให้โทษชนิดร้ายแรง เช่น เฮโรอีน ฝิ่น ห้ามมิให้ผู้ใด ผลิต จาหน่าย นาเข้า ส่งออก หรือมีไว้ในครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษประเภท 1 เว้นแต่เพ่ือประโยชน์ทางราชการตามท่ี รมต.ฯ อนุญาตเป็นหนังสือเฉพาะราย ผู้ฝ่าฝืนระวางโทษต้ังแต่ 1 ปีถึงประหารชีวิต แล้วแต่จานวนยาเสพติดท่ี จาหนา่ ยหรือมีไว้ในครอบครอง ประเภท 2 ยาเสพติดให้โทษท่ัวไป เช่น มอร์ฟีน กฎหมายหา้ มมิให้ผใู้ ดผลิต นาเข้า หรอื ส่งออกซ่ึงยา เสพติดให้โทษประเภท 2 แต่สามารถจาหน่ายหรือมีไว้ในครอบครองได้เม่ือได้รับอนุญาตจากเลขาธิการ คณ ะกรรมการอาหารและยาหรือผู้ซ่ึงได้รับมอบหมายหรือสาธารณสุขจังหวัด สาหรับการมีไว้ ในครอบครองที่ไม่เกินจานวนท่ีจาเป็นสาหรับใช้รักษาโรคเฉพาะตัว โดยมีหนังสือรับรองของผู้ประกอบ วชิ าชีพเวชกรรมไม่ต้องขออนุญาต ผู้ฝ่าฝืนระวางโทษจาคุกไม่เกิน 5 ปี ถึงจาคุกตลอดชีวิตแล้วแต่ความหนัก เบาของความผิด ประเภท 3 ยาเสพติดให้โทษทม่ี ียาเสพตดิ ประเภท 2 เป็นส่วนผสมอยู่ด้วย เช่น ยาแก้ไอผสมโคเคอีน กฎหมายห้ามมิให้ผูใ้ ดผลิต นาเข้า หรอื สง่ ออกซึ่งยาเสพติดใหโ้ ทษประเภท 3 เว้นแต่ได้รบั อนุญาต ซึ่งต้องเป็น ร้านค้าท่ีได้รับอนุญาตให้ผลิต ขายนาหรือส่งเข้าในราชอาณาจักรประเภทยาแผนปัจจุบันและมีเภสัชกร ประจาตลอดเวลาท่เี ปิดทาการ ผ้ฝู ่าฝนื ระวางโทษจาคุกไมเ่ กิน 1 ปี ถงึ จาคุกไม่เกิน 3 ปี ประเภท 4 สารเคมีท่ีใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษประเภท 1 หรือประเภท 2 กฎหมายห้าม มใิ ห้ผู้ใดผลิต นาเขา้ หรอื ส่งออกหรอื มีไว้ในครอบครองซ่งึ ยาเสพตดิ ให้โทษประเภท 4 เว้นแต่รัฐมนตรอี นญุ าต ผฝู้ ่าฝนื ระวางโทษจาคกุ ตงั้ แต่ 1 ปี – 10 ปี ประเภท 5 ยาเสพติดให้โทษทีม่ ิได้เข้าอยใู่ นประเภท 1 ถึงประเภท 4 เชน่ กัญชา พืชกระท่อม กฎหมายมิใหผ้ ใู้ ดผลิต จาหน่าย นาเข้า ส่งออก หรอื มไี วใ้ นครอบครองซง่ึ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษประเภท 5 เวน้ แต่รฐั มนตรีอนุญาต ผ้ฝู า่ ฝืนระวางโทษจาคุกต้ังแต่ 2 ปี – 15 ปี บทลงโทษเกี่ยวกบั สำรระเหย ตำมพระรำชกำหนดป้องกันกำรใช้สำรระเหย พ.ศ. 2533 กาหนด มาตรการควบคุมไม่ให้นาสาร ร ะ เห ย ม า ใ ช้ ใน ท า ง ท่ี ผิ ด ไว้ ห ล า ย ป ร ะ ก า ร แ ล ะ ก า ห น ด ใ ห้ ผู้ ฝ่ า ฝื น ไม่ ป ฏิ บั ติ ต า ม ม า ต ร ก า ร ดั ง ก ล่ า ว มีความผิดและตอ้ งรับโทษ ซ่ึงมรี ายละเอียดดงั นี้ ชุดวชิ า TO BE NUMBER ONE “เป็นหน่ึงโดยไม่พึ่งยาเสพติด” สค3300166 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 52
1. กาหนดให้ผู้ผลิต ผู้นาเข้า หรือผู้ขายสารระเหย ต้องจัดให้มีภาพหรอื ข้อความท่ีภาชนะบรรจุหรือ หีบห่อบรรจุสารระเหย เพ่ือเป็นการเตือนให้ระวังการใช้สารระเหยดังกล่าว ผู้ฝ่าฝืนต้องรับโทษจาคุกไม่เกิน สองปีหรือปรับไมเ่ กนิ สองหม่นื บาท หรือท้งั จาทั้งปรับ 2. ห้ามไม่ให้ผู้ใดขายสารระเหยแก่ผู้ที่มีอายุไม่เกินสิบเจ็ดปี เว้นแต่เป็นการขายโดยสถานศึกษาเพื่อ ใช้ในการเรียนการสอน ผู้ฝ่าฝืนต้องรับโทษจาคุกไม่เกินหน่ึงปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งหม่ืนบาท หรือท้ังจาทั้ง ปรับ 3. ห้ามไม่ให้ผู้ใดขาย จัดหา หรือให้สารระเหยแก่ผู้อ่ืนซ่ึงตนรู้หรือควรรู้ว่าเป็นผู้ติดสารระเหย ผ้ฝู ่าฝืนต้องรบั โทษจาคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสองหมืน่ บาท หรือท้งั จาทั้งปรบั 4. ห้ามไม่ให้ผู้ใดจูงใจ ชักนา ยุยงส่งเสริม หรือใช้อุบายหลอกลวงให้บุคคลอ่ืนใช้สารระเหย บาบัด ความต้องการของร่างกายหรือจิตใจ ผฝู้ ่าฝืนต้องรับโทษจาคุกไม่เกินสองปี หรือปรบั ไม่เกนิ สองหม่ืนบาท หรือ ทัง้ จาทง้ั ปรับ 5. ห้ามไม่ให้ผู้ใดใชส้ ารระเหยบาบัดความต้องการของร่างกายหรอื จิตใจ ไม่ว่าโดยวิธีสูดดมวิธีอ่ืนใด ผู้ฝ่าฝืนตอ้ งรบั โทษจาคุกไมเ่ กนิ สองปหี รือปรบั ไมเ่ กินสองหม่นื บาท หรอื ทั้งจาทั้งปรับ พึงระลึกเสมอว่า การเสพติดสารระเหยนอกจากจะเป็นโทษต่อร่างกายแล้ว ยังเป็นการกระทาที่ผิด กฎหมายด้วย ท้ังน้ี กฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับยาเสพติด ท่ีมีการออกพระราชบัญญัติและระเบียบต่างๆ ใช้กันอยู่ใน ปจั จุบันมหี ลายฉบบั ซ่ึงสามารถจัดเปน็ กลมุ่ ๆ ได้ คอื 1. กฎหมายทเ่ี กยี่ วกับตัวยา ไดแ้ ก่ 1.1 พระราชบัญญตั ยิ าเสพติดใหโ้ ทษ พ.ศ. 2522 1.2 พระราชบัญญัตยิ าเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบับท่ี 5) พ.ศ. 2545 1.3 พระราชบัญญตั ิวัตถุทอ่ี อกฤทธิต์ ่อจิตและประสาท พ.ศ. 2528 แก้ไขเพิม่ เตมิ พ.ศ. 2535 1.4 พระราชกาหนดปอ้ งกันการใชส้ ารระเหย พ.ศ. 2533 1.5 พระราชบญั ญัติควบคุมโภคภัณฑ์ พ.ศ. 2495 2. กฎหมายทีเ่ กี่ยวกบั มาตรการ ไดแ้ ก่ 2.1 พระราชบญั ญตั ปิ ้องกนั และปราบปรามยาเสพติด พ.ศ.2519 2.2 พระราชบัญญตั ิปอ้ งกันและปราบปรามยาเสพตดิ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2545 2.3 พระราชบญั ญตั ฟิ ้นื ฟูสมรรถภาพผ้ตู ิดยาเสพตดิ พ.ศ.2545 ชดุ วิชา TO BE NUMBER ONE “เป็นหนง่ึ โดยไม่พงึ่ ยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 53
ประชาชน นักเรียน นักศกึ ษาจงึ ควรศึกษาทาความเข้าใจถึงขอ้ กาหนดการกระทาผิดและบทลงโทษที่ เกี่ยวกับยาเสพติด เพ่ือหลีกเลี่ยงการกระทาผิดพร้อมทั้งควรแนะนาเผยแพร่ความรู้ดังกล่าวแก่เพ่ือน สมาชิก ในครอบครัว และประชาชนในชุมชน ให้ตระหนักถึงโทษภัยของยาเสพติด รวมทั้งร่วมกันรณรงค์ป้องกันการ แพรร่ ะบาดสู่เดก็ และเยาวชนในชุมชน ตอ่ ไป ทั้งน้ี การกระทาความผิดเก่ียวกับยาเสพติดไม่ว่าจะกระทาในหรือนอกประเทศต้องรับโทษ ในประเทศซึ่งถ้ารับโทษจากต่างประเทศมาแล้ว ศาลอาจลดหย่อนโทษให้ตามสมควรและตามท่ีกล่าวไว้ ในตอนต้น จึงมีการกาหนดให้การกระทาบางอย่างต้องรับโทษหนักกว่ากฎหมายอื่น เช่น กาหนดโทษให้ผู้ พยายามกระทาความผดิ ต้องระวางโทษเสมือนกระทาความผิดสาเรจ็ ซ่ึงตามกฎหมายอาญาผพู้ ยายามกระทา ความผิดจะรับโทษเพียง 2 ใน 3 ของโทษมีกาหนดสาหรับความผิดน้ันเท่าน้ัน นอกจากนี้ผู้สนับสนุน ช่วยเหลือ ให้ความสะดวกผู้กระทาความผิด ต้องระวางโทษเช่นเดียวกับผู้กระทาความผิด และทรัพย์สินท่ี ได้มาจากการกระทาความผิด จะต้องถูกศาลส่ังริบ นอกจากพิสูจน์ได้ว่าทรัพย์สินนั้นไม่เกี่ยวข้องกับการ กระทาความผิด และในเร่ืองการสืบทราบการกระทาผิดเจ้าหน้าท่ีมีอานาจเรียกบุคคลใดให้ถ้อยคาส่งบัญชี เอกสารหรือหลักฐานใด ๆ ประกอบการพิจารณาและมีอานาจเข้าไปในเคหสถานเม่ือตรวจค้นหลักฐานใน กรณีมีเหตุอันควรสงสัยวา่ มีการกระทาความผดิ เกี่ยวกับยาเสพติด เมื่อตรวจสอบและพบหลักฐานการกระทา ความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดเจ้าหน้าที่มีอานาจจับกุมและสอบสวนผู้กระทาผิดและทาสานวนฟ้อ งศาลต่อไป ตามกระบวนพจิ ารณาของศาล ซึ่งโทษท่จี ะได้รบั สาหรับผู้กระทาความผดิ คงเป็นโทษท่ีหนักเนือ่ งจากความผิด เกีย่ วกบั ยาเสพติดเปน็ ความผดิ รา้ ยแรงทีแ่ ต่ละชาติไดใ้ ห้ความสาคัญตามทก่ี ลา่ วไว้ในข้างตน้ กิจกรรมทำ้ ยเรอื่ งที่ 1 ควำมรูเ้ ก่ยี วกับยำเสพตดิ (ให้ผู้เรยี นทำกจิ กรรมทำ้ ยเรื่องที่ 1 กจิ กรรมที่ 1.1-1.4 ท่ีสมุดบันทกึ กิจกรรมกำรเรยี นรู้ประกอบชุดวิชำ) เรอื่ งท่ี 2 กำรวเิ ครำะหป์ ัญหำ สำเหตุ ผลกระทบ และกำรแพรร่ ะบำดของยำเสพตดิ ในปจั จบุ ันของ ประเทศไทย สถำนกำรณย์ ำเสพตดิ ในปจั จบุ ัน ปัจจุบันปัญหาการแพร่ระบาดของสารเสพติดนับว่ารุนแรงมากยิ่งข้ึน โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กและ เยาวชน จากสถติ ิของกระทรวงสาธารณสุขพบว่า จานวนผเู้ สพและผู้ติดยาเสพติดในกลุ่มเด็กนกั เรียนเพ่ิมมาก ขนึ้ จนหน้าเป็นห่วง ซึ่งการท่ีเด็กวัยเรียนมกี ารเสพติดยอ่ มส่งผลกระทบต่อสุขภาพ สติปัญญาและสมาธิในการ เรียนรู้ทาให้คุณภาพประชากรลดลง เป็นปัญหาต่อการพัฒนาประเทศ และการแข่งขันในระดับโลกต่อไป ในอนาคต ชดุ วชิ า TO BE NUMBER ONE “เปน็ หนงึ่ โดยไมพ่ งึ่ ยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย 54
ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาความม่ันคงปลอดภัยของมนุษยชาติ (Human security) และ ยาเสพติดเป็นตัวการที่สาคัญในการบ่อนทาลายกาลังทรัพยากรบุคคลของชาติ ความรุนแรงของสถานการณ์ ยาเสพติดจะเป็นตัวแปรท่ีสาคัญให้มีการกาหนดนโยบายและยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไข ปัญหายาเสพ ตดิ ของรัฐบาลและหน่วยงานทเี่ ก่ียวข้อง ทกุ รัฐบาลท่ผี ่านให้ความสาคัญตอ่ การแก้ไขปัญหายาเสพตดิ ในระดับ ที่สูงมาก โดยการกาหนดเป็นวาระแห่งชาติ (National agenda) การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดเป็น น โ ย บ า ย ส า ธ า ร ณ ะ ท่ี เก่ี ย ว ข้ อ ง กั บ ก า ร ค ว บ คุ ม พ ฤ ติ ก ร ร ม ข อ งบุ ค ค ล เพ่ื อ ป ร ะ โย ช น์ ต่ อ สั งค ม ส่ ว น ร ว ม (Protective regulatory policy) ในอนาคตปัญหายาเสพติดยังคงมีแนวโน้มรุนแรงอยู่และนับวันจะทวีความซับซ้อนมากย่ิงข้ึน ประชาชนได้คาดหวังให้ทุกหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องเร่งรัดในการควบคุม ป้องกัน ปราบปราม และแก้ไขปัญหา อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อจะได้มีความรู้สึกม่ันคงปลอดภัยในการดารงชีวิต ด้วยเหตุน้ีการจัดทาแผน ยุทธศาสตร์เพ่ือใช้เป็นกรอบทิศทางในการดาเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดของทุกหน่วยงาน ทเ่ี กย่ี วขอ้ งจึงเป็นเร่ืองทมี่ ีความสาคัญและเปน็ อย่างย่ิง ชดุ วิชา TO BE NUMBER ONE “เปน็ หนึง่ โดยไมพ่ ่ึงยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 55
แนวโน้มสถำนกำรณ์ยำเสพตดิ ในประเทศไทย 1. สถำนกำรณก์ ำรลกั ลอบผลติ ยำเสพตดิ 1.1 ด้านสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ ยังคงมีสถานะเป็นประเทศผู้ผลิตยาเสพติดหลักใน ภูมิภาคอาเซียนทั้งฝิ่น เฮโรอีน ยาบ้า และไอซ์ โดยเฉพาะยาบ้าซึ่งผลิตเพื่อส่งตลาดในประเทศไทยเป็นหลัก แม้ว่ารัฐบาลเมียนมาร์จะได้มีความพยายามในการเจรจาหยุดยิงกับชนกลุ่มน้อยกลุ่มต่างๆ เพ่ือให้เกิดความ สงบสุขภ ายในประเทศตล อดจนมีกระบวนการเดินหน้าทางประชาธิปไตย สิ่งเหล่าน้ีคาดว่า จะไม่ส่งผลกระทบตอ่ สถานการณย์ าเสพติดในสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมยี นมารม์ ากนกั เนอ่ื งจากกลุ่มว้ามักจะ ไมเ่ ข้ารว่ มในการเจรจาทสี่ าคญั นอกจากนี้หากสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ต้องการกวาดล้างแหล่งผลิตยาเสพติดต้องใช้ท้ัง งบประมาณอาวุธและกาลังพลจานวนมาก จึงไม่ใช่เร่ืองสาคัญลาดับต้นๆ ของนโยบายของสาธารณรัฐแห่ง สหภาพเมียนมาร์และรัฐบาลเองก็ไม่มีงบประมาณเพียงพอที่จะดูแลชนกลุ่มน้อยท่ีขาดรายได้จากยา เสพตดิ และอาจกอ่ ใหเ้ กดิ ภาพลกั ษณท์ ่ีไม่ดหี ากใช้ความรนุ แรงในการปราบปราม 1.2 ด้านสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ยังคงเป็นประเทศที่ผลิตกัญชาแล้วส่งผลกระทบ ต่อประเทศไทยมากที่สุดในอาเซียน รวมท้ังมีการปลูกฝิ่นในพื้นที่ทางตอนเหนือของประเทศเพ่ิมสูงข้ึนทุกปี สะท้อนถึงความต้องการฝ่ินดิบจานวนมากเพื่อส่งโรงงานผลิตเฮโรอีน นอกจากน้ันยังมีสถานะเป็ นประเทศ ทางผ่านยาเสพติดสาคัญจากประเทศเมียนมาร์มายังไทย เวียดนาม และกัมพูชา ก่อนที่จะลาเลียงต่อไปยัง ประเทศตา่ งๆ รวมถึงเปน็ ทางผา่ นสารตงั้ ตน้ เขา้ ส่แู หล่งผลิตในพื้นทส่ี ามเหล่ยี มทองคา 1.3 ด้านประเทศกมั พูชา มีความเป็นไปได้ที่จะยังคงมีการผลิตไอซ์ สารต้ังต้นซาฟโรลสาหรับผลิต เอ็กซ์ตาซีหรือยาอี และจะยังเป็นฐานการค้าของเครือข่ายนักค้ายาเสพติดชาวแอฟริกันซึ่งกระจา ย ชดุ วชิ า TO BE NUMBER ONE “เปน็ หน่ึงโดยไมพ่ ึ่งยาเสพติด” สค3300166 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 56
ยาเสพติด ได้แก่ ไอซ์ และโคเคน เป็นไปยังประเทศต่างๆ ในภูมิภาคอาเซียน โดยเฉพาะประเทศไทย รวมถึง ยังมสี ถานะเปน็ ทางผา่ นยาเสพตดิ ทัง้ เฮโรอีน ไอซ์ และยาบา้ จากพื้นที่สามเหลย่ี มทองคา ไปยังประเทศทสี่ าม 1.4 ด้านพ้ืนท่ีภาคเหนือของประเทศไทย การลักลอบปลูกฝิ่นมีแนวโน้มทรงตัว การเพ่ิมข้ึนหรือ ลดลงของพื้นท่ีปลูกในแต่ละปีมีไม่มากนักสามารถควบคุมปัญหาได้ ในแต่ละปีสามารถดาเนินการตัดทาลาย ต้นฝ่ินได้มากกว่าร้อยละ 95 ผลผลิตท่ีได้ส่วนใหญ่เหลือเพียงใช้เสพในพื้นที่เท่านั้น แม้ว่าผลผลิตที่ได้จะไม่ ส่งผลต่อสถานการณ์ยาเสพติดภายในประเทศ แต่ต้องมีการเฝ้าระวังและป้องปรามในพ้ืนที่เดิมที่มีการปลูก โดยเฉพาะพ้ืนทีท่ ่ีทุรกันดารยากต่อการเข้าถึงของเจ้าหน้าที่ มีโอกาสลักลอบปลูกเพ่ิมข้ึน ปัญหาฝิ่นมีลักษณะ ซบั ซอ้ นและเกีย่ วขอ้ งกับปัญหาด้านอ่นื ๆ ของประเทศด้วย 1.5 ด้านพื้นที่ทั่วไป การลักลอบปลูกกัญชาและพืชกระท่อมยังมีการกระจายตัวไปในทุกภูมิภาค ของประเทศ การค้นหาแหล่งเพาะปลูกกัญชาและพืชกระท่อมเพื่อทาการปราบปรามตัดทาลายเป็นไปได้ อยา่ งยากลาบาก 1.6 เมื่อมีการปราบปรามจับกุมและสกัดกั้นอย่างเข้มงวด องค์กรการผลิตยาเสพติดจะพัฒนา ตัวเองและกระบวนการสังเคราะห์ทางเคมีให้มีความซับซ้อนมากข้ึน มีความพยายามแสวงหาเคมีภัณฑ์ชนิด ใหม่ๆ รวมทั้งสารต้ังต้นประเภทอื่นๆ มาใช้มากข้ึนโดยลาดับ ประกอบกับอุปกรณ์การผลิตยาเสพติดบาง ประเภทยังไม่ผิดกฎหมายแต่อย่างใด โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุปกรณ์การผลิต เคร่ืองอัดเม็ด (tableting rotary) โดยสภาพปกติแล้วสามารถครอบครอง ซ้ือขาย และเคลื่อนย้ายได้โดยทั่วไป จึงมีความเป็นไปได้ท่ีจะมีการ ลักลอบผลิตเกิดขึ้น โดยมีลักษณะที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อน เป็นการอัดเม็ดใหม่เพ่ือเพ่ิมกาไรในการจาหน่ายแก่ ผ้ผู ลิตยาบา้ หรอื การลกั ลอบผลิตยาบ้าและไอซ์ภายในประเทศในลักษณะ kitchen lab โดยมีความพยายาม เปลี่ยนพ้นื ทไี่ ปไมเ่ ลอื กพืน้ ทเ่ี ดมิ ทเี่ ป็นทีเ่ พง่ เลง็ ของเจา้ หนา้ ท่ี 1.7 พฒั นาการในกระบวนการสงั เคราะห์ทางเคมีทาให้ศกั ยภาพในการผลิตยาเสพติดสงู ขน้ึ ตามไป ด้วย มียาเสพติดชนิดใหม่ๆ เข้ามาแพร่หลายในท้องตลาดมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งยาเสพติดประเภท สังเคราะห์ (designer drugs) ชดุ วชิ า TO BE NUMBER ONE “เป็นหนงึ่ โดยไม่พ่ึงยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 57
2. สถำนกำรณ์กำรลกั ลอบนำเข้ำยำเสพติด 2.1 การลักลอบนาเข้ายาเสพติดทางบก ด้วยเหตุท่ีประเทศไทยมีพื้นท่ีชายแดนทางบกติดต่อกับ ประเทศเพ่ือนบ้านเป็นระยะทางยาวมาก ปัจจัยด้านสภาพภูมิประเทศจึงยังคงเอื้ออานวยต่อการลักลอบ นาเข้ายาเสพติดอยู่ พ้ืนท่ีนาเข้าหลัก (เกินกว่าร้อยละ 80) ยังคงเป็นพื้นท่ีชายแดนภาคเหนือโดยเฉพาะพ้ืนที่ จังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ และแม่ฮ่องสอน เน่ืองจากเป็นพื้นท่ีท่ีอยู่ใกล้กับแหล่งเก็บพักยาเสพติดของกลุ่ม ผู้ผลิตและเป็นเขตอิทธิพลของชนกลุ่มน้อยในประเทศเพื่อนบ้าน อย่ างไรก็ตามหากการสกัดกั้น ในพื้นที่ชายแดนภาคเหนือมีความเข้มข้นและเป็นไปอย่างต่อเน่ือง จะเปลี่ยนเส้นทางมานาเข้าในพ้ืนท่ีภาคะ วันออกเฉียงเหนือเพิ่มมากข้ึน พื้นท่ีที่ควรเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิดเน่ืองจากมีการนาเข้าในปริมาณมากอย่าง ต่อเน่ือง หรือเป็นพื้นท่ีใหม่ที่เริ่มปรากฏการนาเข้าในปริมาณมาก ได้แก่ อาเภอแม่สาย แม่ฟ้าหลวง แม่จัน จังหวัดเชียงราย อาเภอฝาง ไชยปราการ เชียงดาว แม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ อาเภอเมือง จังหวัดหนองคาย อาเภอเมือง จังหวัดบึงกาฬ อาเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี อาเภอชานุมาน จังหวัดอานาจเจริญ อาเภอ เมือง ท่าอุเทน ธาตุพนม บ้านแพงจังหวัดนครพนม อาเภอท่าลี่ จังหวัดเลย อาเภออรัญประเทศ จังห วัด สระแกว้ และอาเภอสังขละบุรี จงั หวดั กาญจนบรุ ี เป็นต้น 2.2 การลักลอบนาเข้ายาเสพติดทางน้า การลักลอบนาเข้ายาเสพติดผ่านทางแม่น้าระหว่าง ประเทศและน่านนา้ ระหว่างประเทศมแี นวโน้มยังคงอยู่อย่างตอ่ เน่ือง 2.3 การลักลอบนาเข้ายาเสพติดทางอากาศ เน่ืองจากประเทศไทยมีระบบการคมนาคมขนส่งทาง อากาศท่ีเช่ือมโยงกับท่ัวทุกภูมิภาคของโลก สถานะของประเทศไทยจึงเป็นไปได้ท้ังเป็นประเทศ ต้นทาง (Source country) ประเทศทางผ่าน (Transit country) และประเทศปลายทาง (Destination country) ของการลักลอบลาเลียงยาเสพติด การลักลอบนาเข้ายาเสพติดจากต่างประเทศโดยทางเครื่องบิน มักจะใช้สนามบินสุวรรณ ภูมิเป็นหลัก หลังจากท่ีมีการเข้มงวดของเจ้าหน้าที่ในการตรวจค้น ชดุ วชิ า TO BE NUMBER ONE “เป็นหนึ่งโดยไมพ่ ึง่ ยาเสพติด” สค3300166 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 58
ทาให้กลุ่มเครือข่ายการค้ายาเสพติดระหว่างประเทศปรับเปล่ียนเส้นทางการลาเลียงโดยการนาผ่านประเทศ เพอ่ื นบ้านก่อนนาเขา้ ประเทศไทยโดยทางบก การใชส้ นามบินนานาชาติในภูมภิ าค ได้แก่ สนามบินนานาชาติภูเก็ต สมุย และเชียงใหม่ การปรับเปล่ียนการเดินทางโดยใช้สายการบิน Low Cost รวมทั้งการเปล่ียนแปลงผู้ลาเลียงให้หลากหลายสัญชาติ ข้อมูลดังกล่าวเหล่านี้จาเป็นต้อง มีการประสานกับหน่วยงานท่เี กยี่ วขอ้ งเพอื่ ประโยชนใ์ นการวางแผนเฝ้าระวงั รว่ มกนั 2.4 การพัฒนาเส้นทางคมนาคมขนส่งรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนท่ีคาดว่าอาจจะส่งผล กระทบต่อการลักลอบลาเลียงยาเสพติดในอนาคตท่ีต้องเฝ้าระวังได้แก่ โครงการพัฒนาท่าเรอื น้าลึกและนิคม อุตสาหกรรมทวาย โดยจะมีการพฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐานทางถนนท่ีสาคญั 2.5 มีปริมาณยาเสพติดจานวนมากที่รอดพ้นไปจากการสกัดก้ันปราบปรามและจับกุมของ เจ้าหนา้ ทีแ่ ละถูกกระจายไปสู่กล่มุ ผเู้ สพผู้ตดิ ในประเทศ 3. สถำนกำรณก์ ำรลักลอบสง่ ออกยำเสพติด 3.1 การลักลอบส่งออกยาเสพติดทางบก ความตกลงว่าด้วยการขนส่งข้ามพรมแดนใน ภูมิภาคลุ่มน้าโขง และความตกลงอาเซียนว่าด้วยการอานวยความสะดวกในการขนส่งผู้โดยสารทางบกข้าม พรมแดนอาจจะเป็นช่องทางและโอกาสของการลักลอบส่งออกยาเสพติดมากขึ้นได้ 3.2 การลักลอบส่งออกยาเสพติดทางน้า แนวโน้มการขนส่งสินค้าทางท่าเรือยังคงมีมากอย่าง ตอ่ เน่ือง ในแต่ละวันมีสินค้าไหลเวียนผ่านทางคลังสินค้าเพื่อการส่งออกไปยังต่างประเทศเปน็ ปริมาณมากจน ไม่สามารถทาการตรวจตู้บรรจุสินค้าได้โดยละเอียดและท่ัวถึง ย่ิงไปกว่าน้ันสภาพชายฝั่งท ะเลที่ยาว ทาให้ยากต่อการตรวจตราดูแลให้ทั่วถึง ยังมีปัญหาในการตรวจตราและควบคุมเรือ เพราะมีการใช้พาหนะ หลากหลายรูปแบบทั้งเรือหางยาว เรือประมง เคลื่อนไหวเข้าออกได้ทุกจุด เรือบรรทุกสินค้าก็สามารถจอด แวะที่ทา่ เทียบเรือระหว่างการเดินทางท่ีใดก็ได้หลายจุดเปน็ พ้ืนท่ีอทิ ธิพล เป็นท่าเรือเอกชน ในการปฏบิ ัติการ ท างท ะเลเพื่ อสกัดก้ัน การลักลอบ ลา เลียงยาเสพ ติดโดยเฉพ าะอย่างย่ิงพ้ื น ที่ ท่ี เป็ น รอยต่ อ เขตเหล่ือมทับ และเขตพื้นท่ีทับซ้อนทางทะเลอาจจะกลายเป็นการเผชิญหน้ากัน และกระทบต่อ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งประเทศกบั ประเทศเพ่ือนบ้าน 3.3 การลักลอบส่งออกยาเสพติดทางอากาศ เนื่องจากพื้นท่ีท่าอากาศยานแต่ละแห่งกวา้ งขวาง มี ชอ่ งทางเข้าออกหลายแห่ง มีท้ังผู้โดยสารและผู้ใช้บริการเป็นจานวนมากในแต่ละวัน ในการควบคุมดูแลและ ตรวจตราผู้โดยสารเคร่ืองบินก่อนออกเดินทางก็มีเวลาค่อนข้างจากัด ยิ่งไปกว่านั้นหากเจ้าหน้าที่ไม่มี ประสบการณห์ รอื ไมม่ ขี ่าวสารที่ชดั เจนก็ยากที่จะดาเนินการสกัดกน้ั จบั กุม ชดุ วชิ า TO BE NUMBER ONE “เป็นหน่ึงโดยไม่พ่ึงยาเสพติด” สค3300166 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย 59
3.4 การลักลอบนาสารต้ังต้นและเคมีภัณฑ์จากประเทศไทยเข้าไปยังประเทศเพื่อนบ้านยังคง เกิดข้ึน ทั้งการกว้านซื้อในประเทศและการใช้ประเทศไทยเป็นทางผ่านเพื่อส่งออกโดยเฉพาะยาแก้หวัดสูตร ผสมซูโดอีเฟดรีน กรดอาเซติก โซเดียมคาร์บอเนต กรดไฮโดรคลอริก กาเฟอีน และฟอสฟอรัส ทมี่ ีการระบวุ า่ เปน็ สารท่ีสามารถใชเ้ ป็นสารต้งั ต้นในการผลิตยาบ้าและไอซ์ 3.5 การควบคุมยาเสพติดสารตั้งต้นและเคมีภัณฑ์เป็นปัญหาระดับชาติและนานาชาติทุกประเทศ ต้องหามาตรการป้องกันการยักย้าย การเปล่ียนแปลง และการลักลอบลาเลียงเพื่อนนาไปใช้ในทางท่ีผิด กฎหมาย 4. สถำนกำรณก์ ำรลกั ลอบค้ำยำเสพตดิ 4.1 กลุ่มนักค้าชาวแอฟริกันยังคงมีบทบาทสาคัญในการบงการค้ายาเสพติดระหว่างประเทศ โดยเฉพาะการเข้าดาเนินการในประเทศเพื่อนบ้านอาศัยการเปิดประเทศเข้าสู่ประชาคมอาเซียนซ่ึงจะเอื้ อ ประโยชนใ์ นการลาเลียงยาเสพตดิ รวมท้ังการพัฒนาตนเองเป็นนกั คา้ ยาเสพติด 4.2 ในช่วงท่ีผ่านมายังไม่สามารถตัดวงจรการค้ารายสาคัญท่ีอยู่ในและนอกเรือนจา รวมถึง เจ้าหน้าท่ีรัฐที่เข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดได้จากสถิติการจับกุมพบว่ากลุ่มนักค้ารายใหญ่ยังคงมีบทบาทใน การบงการการค้าอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง รวมถึงกลุ่มนักโทษรายสาคัญในเรอื นจาและเจ้าหน้าท่ีรัฐถือเปน็ ตัวจักรสาคัญ ตอ่ สถานการณป์ ญั หายาเสพตดิ ในอนาคต 4.3 แม้ว่ากลุ่มการค้าส่วนใหญ่มักจะใช้วิธีการเดิมๆ ในการซุกซ่อนยาเสพติด แต่ช่วงหลังพบการ ลักลอบขนส่งโดยรถโดยสารประจาทาง รถไฟ บริษัทขนส่งสินค้า การส่งทางพัสดุไปรษณียบ์ ่อยครั้งขึ้นจาเป็น จะต้องประสานความรว่ มมือกับบริษัทไปรษณีย์ไทยจากัด การรถไฟแห่งประเทศไทย และกรมการขนส่งทาง ชุดวชิ า TO BE NUMBER ONE “เปน็ หน่ึงโดยไม่พ่งึ ยาเสพติด” สค3300166 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 60
บก เพื่อกาหนดมาตรการในการป้องกัน ตรวจสอบ และพิจารณาดาเนินการเพ่ือให้เหมาะสมและสอดคล้อง กบั สถานการณ์ทเ่ี กิดขน้ึ 4.4 จากการจับกุมคดีผลิตไอซ์ในช่วงปี 2552 - 2553 มีผู้ต้องหาระบุว่าได้เรียนรู้การผลิตและ ส่ังซื้อสารตั้งต้นจากอินเตอร์เน็ต นอกจากนี้ยังปรากฏว่ามีหลายเว็บไซต์ที่มีการโฆษณาเชิญชวนและจาหน่าย ยาเสพติด หน่วยงานที่เก่ียวข้องและกระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารต้องร่วมมอื กันแก้ไขอย่าง ใกล้ชดิ 4.5 เน่ืองจากขบวนการค้ายาเสพติดมีเงินจานวนมากเข้ามาเก่ียวข้อง แม้ว่าภาครัฐจะได้มีมาตรการ ในการยดึ ทรพั ยส์ ินและพยายามสืบสาวไปถึงผู้บงการทอ่ี ยเู่ บ้ืองหลัง แต่การเปิดเสรีด้านการเงินในอนาคตอาจ ส่งผลให้การดาเนินงานด้านธุรกรรมการเงินของผู้ค้ามีความซับซ้อนมากข้ึน ทั้งนี้เพื่อป้องกันหรือตัดตอนมิให้ สามารถจับกุมผู้คา้ ยาเสพตดิ รายใหญห่ รือผอู้ ยู่เบอื้ งหลงั ได้ 4.6 ในกรณีที่มีการปราบปรามยาเสพติดอยา่ งรุนแรงและตอ่ เน่ืองจะนาไปสู่ภาวะขาดแคลนยาเสพ ติด สภาพยาเสพติดที่หายากทาให้ราคายาเสพติดสูงข้ึน ผลของราคายาเสพติดที่แพงกลายเป็นแรงจูงใจให้มี คนบางกลมุ่ หันมาคา้ ยาเสพตดิ มากขึน้ เพื่อหวงั ผลกาไร 4.7 เมื่อใดท่ีมีการมุ่งเน้นปราบปรามยาเสพติดชนิดใดเข้มงวดมาก มีแนวโน้มจะทาให้เกิดการ หลีกเลี่ยงหันไปสู่ยาเสพตดิ ชนิดใหม่เกิดข้ึน เกิดการแตกตัวของยาเสพติดขึ้นมามากมาย (Diversification of drug) หรอื ไม่ก็หนั ไปคา้ ยาเสพติดในพ้ืนที่อน่ื ๆ (Displacement effect) มากย่งิ ขึ้น 5. แนวโนม้ สถำนกำรณป์ ญั หำเสพตดิ ในระดบั พ้ืนที่ จากการประมวล วิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูลที่มีทาให้เห็นแนวโน้มปัญหายาเสพติดในระดับพื้น ทวี่ า่ มีความรุนแรงมากขึ้น กลา่ วคือ 5.1 พ้นื ทภี่ าคเหนอื ตอนบน ปริมาณยาเสพติดภายนอกประเทศยังคงมีอยู่ล้นเหลือ มียาเสพติดจานวนมากพักรอตามแนวชาย แดนเพื่อคอยจังหวะโอกาสที่จะนาเข้ามาในประเทศไทย พ้ืนท่ีนาเข้ายาเสพติดหลักยังคงเป็นพื้นท่ีจังหวัด เชียงใหม่และเชียงราย ถึงแม้จะได้มีการสกัดก้ันปราบปรามจับกุมการลักลอบลาเลียงยาเสพติดตามแนว ชายแดนไดม้ ากขน้ึ ก็ตาม แต่เชื่อวา่ ยังมียาเสพติดทห่ี ลดุ รอดเขา้ มายงั พ้ืนทต่ี อนในได้อกี เป็นจานวนมากเช่นกัน ยังพยายามลกั ลอบลาเลยี งยาเสพตดิ จากพ้ืนที่ชายแดนเข้ามายงั พื้นทตี่ อนในอยา่ งตอ่ เน่ือง เครือข่ายการค้ายา เสพติดจะเปลี่ยนแปลงไปเป็นลักษณะองค์กรอาชญากรรมที่ขยายตัวกว้างขวางยิ่งข้ึน เครือข่ายนักโทษใน ชดุ วิชา TO BE NUMBER ONE “เปน็ หน่งึ โดยไม่พ่งึ ยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย 61
เรือนจายังคงเป็นกลุ่มหลักในการเช่ือมโยงการค้ากับกลุ่มนักค้ายาเสพติดในพ้ืนท่ีภาคเหนือตอนบน การค้า ระดับรายย่อยยงั คงมอี ยู่ในชุมชนเมอื ง โครงสรา้ งการค้าและการเสพมกี ารขยายตัวเข้าไปในกลมุ่ เด็กและ เยาวชนท้ังในและนอกสถานศึกษามากข้ึน ยาเสพติดจะมีความหลากหลายมากข้ึน มีการดัดแปลงตัวยาเสพ ติดในรูปแบบต่างๆ มากข้ึน ยาบ้ายังคงเป็นตัวยาหลัก รองลงมาได้แก่ ฝิ่น ส่วนตัวยาท่ีมีแนวโน้มเพมิ่ ขึ้นได้แก่ ไอซ์ เฮโรอนี และสารระเหย พ้ืนท่ีกระทาความผิดเก่ียวกับยาเสพติดส่วนใหญ่เป็นท่ีพักอาศัยเชิงพาณิชย์ท้ังหอพัก บ้านเช่า รองลงมาไดแ้ ก่ สถานบันเทงิ โต๊ะสนุก๊ เกอร์/โตะ๊ พนนั บอล/รา้ นค้าแอบแฝง และร้านเกมส์/อนิ เตอร์เน็ต 5.2 พื้นที่ภาคเหนือตอนลา่ ง พ้ืนที่ภาคเหนือตอนล่างเป็นทางผ่านของเส้นทางลาเลียงยาเสพติดเข้าสู่พ้ืนท่ีตอนในของประเทศ การค้ายาเสพติดยังคงมีแนวโน้มสูงข้ึน โดยเฉพาะอย่างย่ิงเครือข่ายการค้าในพ้ืนท่ีอาเภอแม่สอด อาเภอพบ พระ และอาเภอวังเจ้า จังหวัดตาก อาเภอนครไทยและอาเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก และอาเภอเขา คอ้ จังหวัดเพชรบูรณ์ ผู้เสพยกระดบั ขน้ึ ไปเป็นผู้ค้ารายยอ่ ยในระดบั หมู่บ้าน/ชมุ ชน ยาบ้ายังคงเป็นตัวยาหลัก ท่มี กี ารแพร่ระบาด โดยเฉพาะในเขตตัวเมอื งของทุกจงั หวดั 5.3 พ้ืนทภี่ าคตะวนั ออกเฉียงเหนือตอนบน สถานการณ์การผลิตยาเสพติดจากภายนอกประเทศเพิ่มปริมาณมากข้ึนเนื่องจากเป็นปัจจัย ภายนอกท่ีควบคุมไม่ได้ เป็นเหตุให้ยังคงมีความต้องการระบายยาเสพติดจากกลุ่มผู้ผลิตและนักค้ายาเสพติด ในประเทศเพ่ื อนบ้าน และยังคงมีความพยายามลักลอบ นาเข้ายาเสพ ติดตามแนวชายแดน อยู่ตลอดเวลา สืบเนื่องจากพื้นท่ีนาเข้าทางภาคเหนือถูกกดดันอย่างหนักจากเจ้าหน้าที่ การลักลอบนาเข้า ยาเสพติดในพ้ืนที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนมีแนวโน้มเพ่ิมสูงขึ้นเรื่อย ๆ โดยเฉพาะจังหวัดเลยและ หนองคาย หมู่บ้านชุมชนตามแนวชายแดนถูกใช้เป็นแหล่งพักยาเสพติด ยังมีกลุ่มนักค้ารายย่อยในพ้ืนท่ีตอน ในของภาค รวมท้ังกลุ่มรับจ้าง/ขนและลาเลียงยาเสพติดตามความต้องการของกลุ่มนายทุนท้ังในและนอก พ้ืนท่ี การค้าและแพร่ระบาดยาเสพติดยังคงมีแนวโน้มเพ่ิมสูงข้ึน กลุ่มผู้เสพรายใหม่ยังคงเพ่ิมสูงขึ้น กลุ่มผู้ใช้ แรงงาน ใน ภ าคเกษ ตร กรรมยังมีความเช่ือว่าการเสพ ยาบ้ าสามารถช่วยให้ มีแรงท างาน ได้ ซึ่งส่งผลตอ่ รายไดท้ ่ีเพมิ่ ข้ึน มีนกั ค้ารายยอ่ ยในพ้ืนที่เพ่ิมขึน้ โดยเฉพาะเยาวชนท้งั ในและนอกสถานศึกษา 5.4 พน้ื ทภ่ี าคตะวนั ออกเฉยี งเหนือตอนลา่ ง พน้ื ท่ีแหลง่ พักยาเสพติดยงั ปรากฏในประเทศเพ่ือนบ้าน (สปป.ลาว) ทาให้มีการลักลอบนาเขา้ ผา่ น มาทางพ้ืนที่ชายแดน และพักไว้ตามหมู่บ้านแนวชายแดน ยาเสพติดที่ลักลอบนาเข้าพบทั้งยาบ้า ไอซ์ และ กญั ชาแหง้ การค้าและแพร่ระบาดของยาเสพติดยงั คงมีอยู่โดยเฉพาะในเขตพ้ืนทอ่ี าเภอเมอื งและอาเภอขนาด ชดุ วิชา TO BE NUMBER ONE “เป็นหนง่ึ โดยไม่พึง่ ยาเสพติด” สค3300166 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 62
ใหญ่ในจังหวัด โดยยาบ้า กัญชา สารระเหย และไอซ์ ยังคงพบการแพร่ระบาดมากในพื้นท่ีผู้เสพรายใหม่ (มีการใช้ยาเสพติดระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี) มีอัตราสูงเฉล่ียร้อยละ 10.36 กลุ่มเยาวชนที่ไม่อยู่ในระบบ การศกึ ษาจะมีความเสยี่ งสงู ตอ่ การเขา้ ไปเก่ียวข้องกบั ยาเสพติดมากกว่ากล่มุ ทีอ่ ยู่ในระบบการศึกษาถงึ 5 เท่า 5.5 พืน้ ทภี่ าคกลาง กลุม่ ผลิตอดั เมด็ ยาบา้ ยังคงสรา้ งตัวแทนใหมท่ ดแทนบุคคลในเครอื ข่ายทถี่ ูกจับกุมไปแลว้ อยา่ ง ต่อเนอ่ื ง การคา้ ยาเสพติดรายสาคัญระดบั ภาค ระดับจังหวัด แม้จะมีปฏบิ ตั ิการและจบั กุมไปแล้วหลายราย แตเ่ ครือขา่ ยการค้ายงั คงสามารถจัดหายาเสพตดิ ทุกชนิดได้จากพนื้ ท่ีชายแดน ซุกซ่อนลาเลียง และพักยาเสพ ตดิ ในพ้นื ที่ปริมณฑล เพื่อนาส่งปลายทางไดอ้ ย่างต่อเนื่อง โดยพบว่าส่วนใหญเ่ ชอ่ื มโยงกับผตู้ ้องขัง และนายทุนทุกภาคยาบ้ายังคงเป็นตัวยาที่แพร่ระบาดหลัก และมีปริมาณมากทาให้ผู้เสพผู้ติดหาซื้อได้ง่าย ด้วยราคาที่ไม่สูงข้ึน เฉล่ียเม็ดละไม่เกิน 200 บาท เด็กและเยาวชนท่ีเข้าไปเก่ียวข้องกับยาเสพติด มีแนวโน้มมากขึ้นและมีสัดส่วนกระทาผิดซ้าเพิ่มข้ึนต่อเน่ือง พ้ืนที่เศรษฐกิจสาคัญมีการขยายตัวของ ภาคอุตสาหกรรมในเขตปริมณฑล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และจังหวัดสระบุรี โดยมีจานวนโรงงานและ แรงงานเขา้ ส่พู นื้ ทีเ่ พ่มิ ขนึ้ 5.6 พนื้ ท่ีภาคตะวันออก ยังมกี ารนาเข้ายาเสพติดจากประเทศเพ่ือนบ้าน การค้าและแพร่ระบาดในพ้ืนที่ส่วนใหญ่อยใู่ นเขต พื้นท่ีชุมชนเมือง พื้นท่ีท่องเที่ยว และพ้ืนท่ีนิคมอุตสาหกรรม กลุ่มผู้เสพท่ีพัฒนาตัวเองเป็นผู้ค้ารายย่อย การ แพร่ระบาดยาเสพติดส่วนใหญ่เป็นกลุ่มผู้ใช้แรงงาน ทั้งการรับจ้างท่ัวไป ลูกจ้างในภาคเกษตรและ อุตสาหกรรม ว่างงาน ค้าขาย และเยาวชนท้ังในสถานศึกษาและนอกสถานศึกษา ยาเสพติดที่แพร่ระบาด ได้แก่ ยาบ้า ไอซ์ กญั ชา และพชื กระท่อม 5.7 พนื้ ที่ภาคตะวนั ตก พื้ น ท่ี ภ า ค ต ะ วั น ต ก ยั ง ค ง ถู ก ใ ช้ เป็ น พื้ น ที่ พั ก ย า เส พ ติ ด แ ล ะ ก ร ะ จ า ย ย า เส พ ติ ด ไป ยั ง พ้ื น ที่ กรุงเทพมหานครและปริมณฑล กลุ่มเครือข่ายการค้ายาเสพติดในพ้ืนท่ีภาคตะวันตกเป็นเส้นทางในการ ลักลอบลาเลียงยาเสพติดท้ังจากภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง ลงสู่พ้ืนที่ภาคใต้ การ พัฒนาขยายเส้นทางถนนหมายเลข 87 จากอาเภอพญาตองซู สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์เชื่อมต่อกับ ถนนสายหลักหมายเลข 8 และการเปิดชอ่ งทางชายแดนด้านบ้านพนุ ้าร้อนอาเภอเมืองจังหวัดกาญจนบุรี เพ่ือ รองรับการขยายตัวของเศรษฐกิจการค้าของโครงการทวายส่งผ ลให้การลักลอบนาเข้ายาเสพติดตามแนว ชายแดนด้านอาเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี มีแนวโน้มเพิม่ ขน้ึ กลุ่มผู้เก่ียวข้องรายใหมท่ ้ังผู้ค้าและผู้เสพ ชดุ วิชา TO BE NUMBER ONE “เปน็ หน่งึ โดยไมพ่ ง่ึ ยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย 63
ยังคงเป็นปัญหาหลัก มีกลุ่มแรงงานต่างด้าวบุคคลสามสัญชาติเข้ามากระทาความผิดเก่ียวกับยาเสพติดทั้งคดี คา้ และคดีเสพมากข้ึน 5.8 พนื้ ท่กี รุงเทพมหานคร เครือข่ายการค้ายาเสพติดยังคงนายาเสพติดท่ีมีปริมาณมากมาพักคอยในพ้ืนที่กรุงเทพมหานคร และปรมิ ณฑลเพ่ือนาไปจาหน่ายให้กับผู้คา้ ระดับกลางและรายย่อยในชุมชน นักค้ารายกลางและรายสาคญั ท่ี ยังไม่ถูกจับกุมยังอยู่ในพื้นท่ีและยังมีการเคล่ือนไหวอยู่อย่างต่อเน่ือง กลุ่มนักค้ายาเสพติดท่ียังคงมีบทบาท สาคัญได้แก่เครือข่ายนักโทษในเรือนจา กลุ่มนักค้ารายเก่า ยังมีเจ้าหน้าท่ีรัฐท่ีเข้าไปมีผลประโยชน์และ เกี่ยวข้องกับขบวนการค้ายาเสพติดในพ้ืนท่ีกลุ่มการค้ายาเสพติดใหม่ๆ เกิดขึ้นอย่างต่อเน่ืองโดยเฉพาะผู้เสพ พฒั นาตนเองเป็นนักค้ารายใหม่ยังมีพ้ืนทเี่ ส่ียงมากมายหลายแหลง่ ที่เอื้ออานวยต่อการแพร่ระบาดของยาเสพ ติด อย่างเช่น สถานบริการ สถานบันเทิง หอพัก ที่พักอาศัยเชิงพาณิชย์ ร้านเกมส์ อินเตอร์เน็ต และมีปัจจัย เส่ียงหลายประการท่นี าไปสู่วงจรปัญหายาเสพติด ยังมีชุมชน ที่เป็นแหล่งจาหน่ายและแพร่ระบาดยาเสพติดกระจายครอบคลุมท่ัวพ้ืนท่ีกรุงเทพมหานคร จานวน 621 ชุมชน หรือร้อยละ 30 ของชุมชนท้ังหมดในพ้ืนท่ีกรุงเทพมหานคร นอกจากนั้นพื้นท่ี กรุงเทพมหานคร ยังถูกใช้ในการลักลอบลาเลียงยาเสพติดจากประเทศไทยไปยังตลาดต่างประเทศและ นายาเสพติดจากต่างประเทศเขา้ มาจาหน่ายในประเทศไทยอกี ดว้ ย 5.9 พืน้ ทีภ่ าคใต้ตอนบน ยังคงมีความเคลื่อนไหวของเครือข่ายการค้ายาเสพติดท่ีเชื่อมโยงกับเครือข่ายภาคเหนือและ ภาคใต้อย่างต่อเน่ือง ผู้เสพรายใหม่ยังมีโอกาสเกิดข้ึนได้อย่างต่อเน่ือง นอกจากนั้นพื้นที่ภาคใต้ตอนบน ยังเป็นพื้นที่ท่ีมีชาวต่างชาติเข้ามาจานวนมาก ท้ังการเข้ามาท่องเท่ียวและการเข้ามาทางาน โดยเฉพาะ แรงงานชาวพมา่ ซึง่ พบการเขา้ มากระทาผดิ ในคดยี าเสพติดมากกวา่ สัญชาติอืน่ ๆ 5.10 พนื้ ทภี่ าคใตต้ อนลา่ ง ยงั คงมีการลักลอบลาเลียงยาเสพตดิ จากภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลางเข้าสู่ พ้ืนที่ภาคใต้ตอนล่าง การค้าและแพร่ระบาดมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึน โดยเฉพาะในเขตพ้ืนท่ีอาเภอเมืองและเมือง สาคัญ เช่น อาเภอสุไหงโก–ลก จังหวัดนราธิวาส อาเภอสะเดาและหาดใหญ่จังหวัดสงขลา มีการลักลอบ นาเข้ายาเสพติด โดยเฉพาะ Club Drugs และไอซ์จากประเทศมาเลเซีย ส่วนมากนาเข้ามาเสพเพื่อการไป เท่ี ยวใน สถาน บ ริการ/ สถานบั น เทิ ง ตัวยาที่ แพ ร่ระบ าดห ลักยังคงเป็ น ยาบ้ า รองลงมาคือ พชื กระท่อม ไอซ์ กัญชาแหง้ และเฮโรอีน ชดุ วิชา TO BE NUMBER ONE “เปน็ หน่งึ โดยไมพ่ ง่ึ ยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 64
2. สำเหตกุ ำรติดยำเสพติด 1. สำเหตุที่เกิดจำกควำมรู้เท่ำไม่ถึงกำรณ์ จาแนกตามการออกฤทธิ์ต่อระบบประสาท แบ่งเป็น 4 ประเภท 1.1 อยำกทดลอง เกิดจากความอยากรู้อยากเห็นซึง่ เป็นนิสยั ของคนโดยท่ัวไป และโดยทไ่ี ม่ คิดว่าตนจะตดิ สงิ่ เสพตดิ น้ีได้จึงไปทาการทดลองใช้สงิ่ เสพตดิ นน้ั ในการทดลองใช้คร้งั แรกๆ อาจมีความรู้สึกดี หรือไม่ดีก็ตาม ถ้ายังไม่ติดส่ิงเสพติดนั้น ก็อาจประมาท ไปทดลองใช้สิ่งเสพติดน้ันอีก จนใจที่สุดก็ติดส่ิงเสพย์ ติ ด น้ั น ห รือ ถ้ าไป ท ด ล อ งใช้ ส่ิ งเส พ ย์ ติ ด บ างช นิ ด เช่ น เฮ โรอี น แ ม้ จ ะ เส พ เพี ย งค รั้งเดี ย ว ก็อาจทาให้ตดิ ได้ 1.2 ควำมคึกคะนอง คนบางคนมีความคึกคะนอง ชอบพูดอวดเก่งเป็นนิสัย โดยเฉพาะ วัยรุ่นมักจะมีนิสัยดังกล่าว คนพวกนี้อาจแสดงความเก่งกล้าของตน ในกลุ่มเพื่อนโดยการแสดงการใช้ สง่ิ เสพติดชนิดต่างๆ เพราะเห็นแก่ความสนุกสนาน ตืน่ เต้น และให้เพื่อนฝูงยอมรับว่าตนเก่ง โดยมไิ ด้คานึงถึง ผลเสียหาย หรือ อนั ตรายทจ่ี ะเกิดขึ้นภายหลังแต่อย่างไร ในทีส่ ดุ ตนเองก็กลายเป็นคนติดส่ิงเสพติดน้นั 1.3 กำรชักชวนของคนอ่ืน อาจเกิดจากการเชื่อตามคาชักชวนโฆษณาของผู้ขายสินค้า ที่เป็นสิ่งเสพติดบางชนิด เช่น ยากระตุ้นประสาทต่างๆ ยาขยัน ยาม้า ยาบ้า เป็นต้น โดยผู้ขายโฆษณา สรรพคุณของสิ่งเสพติดนั้นว่ามีคุณภาพดีสารพัดอย่าง เช่น ทาให้มีกาลังวังชา ทาให้มีจิตใจแจ่มใส ทาให้ มีสุขภาพดี ทาให้มีสติปัญญาดี สามารถรักษาโรคได้บางชนิด เป็นต้น ผู้ที่เชื่อคาชักชวนโฆษณาดังกล่าว จึงไปซ้ือตามคาชักชวนของเพื่อนฝูง ซึ่งโดยมากเป็นพวกท่ีติดส่ิงเสพติดนั้นอยู่แล้ว ด้วยความเกรงใจเพื่อน หรือ เชอื่ เพือ่ น หรอื ต้องการแสดงวา่ ตัวเป็นพวกเดยี วกับเพอ่ื น จงึ ใช้ส่ิงเสพตดิ น้นั 2. สำเหตุท่ีเกิดจำกกำรถูกหลอกลวง ปจั จุบันน้ีมผี ูข้ ายสนิ ค้าประเภทอาหาร ขนม หรือเครื่องดื่มบางรายใช้ส่งิ เสพตดิ ผสมลงในสินคา้ ทข่ี าย เพื่อให้ผู้ซื้อสินค้าน้ันไปรับประทานเกิดการติด อยากมาซื้อไปรับประทานอีก ซึ่งในกรณีน้ี ผู้ซ้ืออาหารนั้นมา รับประทาน จะไม่รู้สึกว่าตนเองเกิดการติดส่ิงเสพติดขึ้นแล้ว รู้เพียงว่าอยากรับประทานอาหาร ขนม หรือ เคร่ืองดม่ื ท่ีซื้อจากรา้ นนั้น ๆ กว่าจะทราบก็ตอ่ เมื่อตนเองรสู้ ึกผิดสังเกตตอ่ ความตอ้ งการจะซื้ออาหารจากรา้ น นน้ั มารบั ประทาน หรือตอ่ เมอ่ื มีอาการเสพติดรุนแรง และมสี ุขภาพเสอื่ มลง 3. สำเหตุทีเ่ กิดจำกควำมเจ็บป่วย 3.1 คนที่มีอาการเจ็บป่วยทางกายเกิดขึ้นเพราะสาเหตุต่างๆ เช่นได้รับบาดเจ็บรุนแรง เป็นแผล เรื้อรังมีความเจ็บปวดอยู่เป็นประจา เป็นโรคประจาตัวบางอย่าง เป็นต้น ทาให้ได้รับทุกข์ทรมานมาก หรือ ชดุ วชิ า TO BE NUMBER ONE “เปน็ หนง่ึ โดยไมพ่ ่ึงยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 65
เป็นประจา จึงพยายามแสวงหาวิธีท่ีจะช่วยเหลือตนเองให้พ้นจากความทุกข์ทรมานนั้นซ่ึงวิธีหนึ่งท่ีทาได้ง่าย คือการรับประทานยาทีม่ ีฤทธร์ิ ะงับอาการเจ็บปวดน้นั ได้ ซ่ึงไม่ใช่เปน็ การรกั ษาท่ีเป็นต้นเหตุของความเจ็บปว่ ย เพียงแต่ระงับอาการเจ็บปวดให้หมดไปหรือลดน้อยลงได้ช่ัวขณะ เมื่อฤทธ์ิยาหมดไปก็จะกลับเจ็บปวดใหม่ ผู้ปว่ ยก็จะใชย้ านนั้ อีก เมอื่ ทาเช่นน้ไี ปนานๆ เกิดอาการติดยาน้ันขนึ้ 3.2 ผู้ท่ีมีจิตใจไม่เป็นปกติเช่น มีความวิตก กังวล เครียด มีความผิดหวังในชีวิต มีความเศร้าสลด เสียใจ เป็นต้น ทาให้สภาวะจิตใจไม่เป็นปกติจนเกิดการป่วยทางจิตขึ้น จึงพยายามหายาหรือสิ่งเสพติดท่ีมี ฤทธิ์สามารถคลายความเครียดจากทางจิตได้ช่ัวขณะหนึ่งมารับประทาน แต่ไม่ได้รักษาท่ีต้นเหตุเม่ือยาหมด ฤทธ์ิ จติ ใจก็จะกลับเครียดอีก และผู้ป่วยกจ็ ะเสพสิ่งเสพตดิ ถ้าทาเช่นน้ีไปเรื่อยๆ ก็จะทาให้ผู้นน้ั ติดยาเสพติด ในที่สุด 3.3 การไปซ้ือยามารับประทานเองโดยไม่ทราบสรรพคุณยาที่แท้จริงขนาดยาท่ีควรรับประทาน การ รับประทานยาเกินจานวนกว่าที่แพทย์ได้ส่ังไว้ การรับประทานยาบางชนิดมากเกินขนาด หรือรับประทาน ติดตอ่ กันนานๆ บางครัง้ อาจมีอาการถงึ ตายได้ หรือบางครัง้ ทาให้เกดิ การเสพติดยาน้ันได้ 3.4 สาเหตุอ่ืนๆ การอยู่ใกล้แหล่งขายหรือใกล้แหล่งผลิต หรือ เป็นผู้ขายหรือผู้ผลิตเอง จึงทาให้มี โอกาสติดสิ่งเสพติดให้โทษนนั้ มากกว่าคนทั่วไป เมอื่ มีเพื่อนสนิทหรอื พี่น้องท่ตี ิดสง่ิ เสพติดอยู่ ผู้นั้นย่อมได้เห็น วิธีการเสพ ของผู้ที่อยู่ใกล้ชิด รวมทั้งใจเห็นพฤติกรรมต่างๆ ของเขาด้วย และยังอาจได้รับคาแนะนาหรือ ชักชวนจากผู้เสพด้วย จึงมโี อกาสติดได้ (1) คนบางคนอยู่ในสภาพท่ีมีปัญหา เช่น ว่างงาน ยากจน ค่าใช้จ่ายเพิ่มโดยมีรายได้ลดลง หรือคงท่ี มหี น้ีสนิ มาก ฯลฯ เมื่อแกป้ ัญหาต่าง ๆ เหล่าน้ไี มไ่ ด้ก็หนั ไปใช้สง่ิ เสพติด ชว่ ยผอ่ นคลายความรสู้ กึ ใน ความทุกข์ยากตา่ งเหล่าน้ี แมจ้ ะรู้ว่าเป็นช่ัวครู่ช่ัวยามก็ตาม เช่น กลุ้มใจท่ีเป็นหนี้คนอื่นก็ไปกินเหล้า หรอื สูบ กญั ชาใหเ้ มาเพ่ือทีจ่ ะไดล้ ืมเรื่องหน้ีสิน บางคนตอ้ งการรายไดเ้ พิ่มขึ้น โดยพยายามทางานใหห้ นัก และ มากข้ึน ทั้ง ๆ ที่ร่างกายอ่อนเพลียมากจึงรับประทานยากระตุ้นประสาทเพ่ือให้สามารถทางานต่อไปได้ เป็นต้น ถ้าทา อยูเ่ ปน็ ประจาทาใหต้ ิดส่งิ เสพติดนนั้ ได้ (2) การเลียนแบบ การท่ีไปเห็นผู้ท่ีตนสนิทสนมรักใคร่หรือเพื่อน จึงเห็นว่าเป็นส่ิงน่าลอง เปน็ ส่ิงโกเ้ กเ๋ ป็นสิ่งแสดงความเปน็ พวกเดยี วกนั จงึ ไปทดลองใช้สงิ่ เสพย์ตดิ นนั้ จนติด (3) คนบางคนมีความผิดหวังในชีวิตตนเอง ผิดหวังในชีวิตครอบครัว หรือผิดหวังในชีวิต สงั คม เพื่อเปน็ การประชดตนเองหรอื คนอื่น จงึ ไปใชส้ ิง่ เสพติดจนติด ท้ังๆ ทท่ี ราบวา่ เปน็ สง่ิ ไม่ดี ก็ตาม 3.ผลกระทบของยำเสพติดในปัจจุบัน ชดุ วชิ า TO BE NUMBER ONE “เปน็ หน่งึ โดยไม่พ่งึ ยาเสพติด” สค3300166 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย 66
3.1 โทษของกำรตดิ ยำเสพตดิ 3.1.1 โทษตอ่ ร่างกายและจิตใจ 1.ทาลายประสาทสมอง จิตใจเส่ือม ซึมเศร้า กังวล เล่ือนลอย และเป็นโรคจิตจากพิษยา นนั้ ๆ 2.เสียบุคลกิ ภาพ ขาดความสนใจตนเอง ขาดสติสมั ปชญั ญะ 3.ร่างกายซบู ซดี ออ่ นเพลีย 4.พษิ ยาทาลายอวัยวะต่างๆ ให้เส่อื มลง มโี รคแทรกได้งา่ ย 5.ประสบอุบัติเหตุได้ง่าย เพราะการควบคุมทางกล้ามเนื้อและระบบประสาทบกพร่องโทษ ตอ่ ครอบครัว 6.ขาดความรับผดิ ชอบต่อครอบครวั และญาตพิ ่นี อ้ ง 7.เสียทรัพยท์ จ่ี ะตอ้ งซอื้ ยามาเสพ และรกั ษาตวั 8.ขาดหลักประกันของครอบครัว ทางานไม่ได้ ไม่เป็นที่วางใจ ของคนท่ัวไป นาภัยมาสู่บุตร ภรรยา ญาติพ่นี ้อง 3.2 โทษตอ่ สงั คม 1.เป็นภยั ตอ่ สังคม 2.มีโอกาสเป็นอาชญากรประเภทลักขโมยได้ง่ายเนื่องจากมีรายจ่ายสูงโทษต่อส่วนรวมและ ประเทศชาติ 3.เป็นภัยอันตรายต่อผู้อ่ืน ชุมชนและประเทศชาติ เพิ่มงบประมาณของประเทศในการ ปอ้ งกันปราบปรามและบาบัดรักษา 4.สง่ ผลกระทบต่อเศรษฐกจิ และวฒั นธรรมของประเทศ ชุดวิชา TO BE NUMBER ONE “เปน็ หน่งึ โดยไม่พง่ึ ยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 67
4. แนวทำงกำรป้องกนั กำรแพร่ระบำดของสำรเสพติด ปัญหายาเสพติดเกิดข้ึนได้เพราะมีสถานการณ์สองอย่างประกอบกันคอื มีผ้ตู ้องการใชย้ าอยู่ในสังคม (Demand) กับมียาเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ (Supply) ซึ่งองค์ประกอบท้ังสองน้ี ต่างฝ่ายต่าง สง่ เสริมสนบั สนุนซ่ึงกันและกันแบบลูกโซ่ ดังน้ันการแก้ไขปัญหายาเสพตดิ จงึ ต้องดาเนินการกับองค์ประกอบ ทง้ั สองอยา่ งไปพรอ้ มๆกนั คือจะต้องลดปรมิ าณความต้องการยาเสพติดลงในขณะเดียวกันก็จะต้องลดปรมิ าณ ของยาเสพติดในตลาดด้วย ในทางปฏิบัติระหว่างมาตรการสองอย่างนี้ ดูเหมือนว่ามาตรการลดความต้องการ จะได้รบั ความสนใจน้อยกวา่ เพราะคนส่วนใหญ่จะนกึ ถงึ การลดปรมิ าณยาในตลาดเสยี มากกว่า ปัญหายาเสพ ติด คือ ปัญหาท่ีเกิดจากการใช้ยาเสพติดหรือใช้ยาในทางท่ีผิดซ่ึงเป็นปัญหาพฤติกรรมของมนุษย์อัน เนื่องมาจากความคาดหวังที่จะได้รับประโยชน์จากฤทธ์ิของยาหรือจากความคิดท่ีจะอาศัยฤทธ์ิยาเป็นที่พ่ึงใน สถานการณ์ต่างๆ องค์ประกอบสาคัญของปัญหาคือ ยากับคน เป็นองค์ประกอบหลัก โดยมีแรงจูงใจให้ใช้ยา กับโอกาสท่ีเอื้อต่อการใช้ยาเป็นองค์ประกอบเสริมถ้าองค์ประกอบอย่างใดอย่างหน่ึงขาดไปปัญหาเสพติดจะ ไม่เกิดขึ้น มีแต่คนแต่ไม่มียา หรือมีแต่ยาแต่ไม่มีคนใช้ยา ปัญหาไม่เกิด หรือมีคนมียาแต่ไม่มีแรงจูงใจให้คน เอายามาใช้ ปัญหาไม่เกิด หรือแมจ้ ะมีแรงจูงใจ ให้ใชย้ า มีคนที่อยากใช้ยา และมียาให้ใช้ แต่ไม่มีโอกาสจะใช้ เชน่ สถานท่ีไม่เหมาะสม ไมม่ ีอุปกรณ์ มีตารวจตรวจตราเข้มงวด หรืออยู่ในสายตาพ่อแม่ ครูอาจารย์การใช้ยา จะเกิดขน้ึ ไม่ได้ ปญั หายาเสพตดิ ไม่เกิด ดงั น้นั การป้องกนั ปัญหายาเสพติดจงึ ได้แกก่ ารปอ้ งกนั พฤตกิ รรมการใชย้ าของมนุษย์ทเี่ กดิ จากการคิด พึ่งยาและหวังผลจากฤทธิ์ยาน้ันเอง ซ่ึงบุคคลในข่ายที่ต้องป้องกันไม่ให้ทาพฤติกรรมใช้ยาเสพติดอาจแบ่ง ออกเปน็ 3 กลมุ่ ดว้ ยกนั คอื 1. กลมุ่ ท่ียงั ไมเ่ คยใช้ยาและยงั ไม่เรม่ิ ใช้ยา ชุดวิชา TO BE NUMBER ONE “เปน็ หนง่ึ โดยไม่พ่งึ ยาเสพติด” สค3300166 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย 68
2. กลุ่มท่ีเคยใช้ยาซ่ึงจาแนกออกได้เป็นพวกท่ีเคยลองใช้แล้วเลิก พวกท่ีใช้เป็นคร้ังคราว พวกที่ใช้ บ่อยๆ เป็นประจาแต่ยังไมถ่ งึ ข้นั ตดิ ยา และพวกตดิ ยาใชย้ าแล้ว 3. กล่มุ ท่ีใช้ยาเป็นประจาหรอื ตดิ ยาทผี่ า่ นการบาบัดรักษาและเลิกใช้ยาตดิ ยามาแลว้ เน่ืองจากบคุ คลท้ังสามกลุ่มที่กล่าวมานี้มโี อกาสทจ่ี ะเปน็ ผู้ใชย้ า และติดยาในอนาคตได้ เช่นเดียวกัน กิจกรรม ของข่ายงานป้องกันจึงจาเป็นต้องครอบคลุมบุคคลทั้งสามกลุ่ม โดยท่ีผู้ดาเนินงานป้องกัน เป้าหมายแต่ละ กลุ่มจะต้องกาหนดมาตรการและวิธีการใช้แตกต่างกันออกไป เพ่ือให้เหมาะสมกับลักษณะเฉพาะของ เปา้ หมายแต่ละกลุ่ม ลักษณะงำนด้ำนป้องกนั (Prevention) จึงมี 3 ระดบั ด้วยกนั คือ การปอ้ งกันขน้ั พื้นฐาน (Primary Prevention) การป้องกนั ขนั้ ทสี่ อง (Secondary Prevention) การปอ้ งกนั ข้นั ท่สี าม (Tertiary Prevention) 1. กำรป้องกนั ข้ันพ้ืนฐำน (Primary Prevention) การป้องกันพ้ืนฐานหรือบางคนเรียกว่าการป้องกันเบื้องต้น หมายถึง การดาเนินการใด ๆ เพื่อสร้าง ภูมิคุ้มกันให้เยาวชนปิดประตูที่จะนาไปสู่การใช้ยาเสพติดอย่างถาวร ให้เยาวชนตัดสินใจด้วยตนเอง ท่ีจะไม่ใช้ยาเสพติด ไม่คิดจะเสี่ยงทดลอง เป็นการมุ่งป้องกันคนส่วนใหญ่ของแผ่นดินไม่ให้เข้าไป หายาเสพตดิ เปน็ การปอ้ งกนั อยา่ งถาวร งานป้องกันข้ันพ้ืนฐานจึงนับเป็นงานที่มีความสาคัญท่ีสุด และเป็นกุญแจสาคัญนาไปสู่ความสาเร็จ ของการป้องกันและแก้ไขปญั หายาเสพติดของชาติ แตใ่ นขณะเดียวกันเป็นงานทมี่ ีความสลับซบั ซ้อนทาได้ยาก เพราะเป็นงานท่ีเก่ียวข้องกับการวางรากฐานให้กับคนส่วนใหญ่ของประเทศ ซึ่งต้องเริ่มปลูกฝังตั้งแต่ยัง เยาวว์ ัยต่อเนอ่ื งกนั ไปจนพ้นวยั เรียน โดยอาศัยความร่วมมอื จากหลายฝ่ายให้ชว่ ยกันทา 2. กำรปอ้ งกนั ขนั้ ทส่ี อง (Secondary Prevention) การป้องกันข้นั ท่ีสองน้ีใช้กันในความหมายท่แี บ่งเป็น 2 นยั นยั หนึง่ หมายถึง การปอ้ งกนั โดยทางอ้อม ซึ่งหมายถึงการกระทาใดๆ ที่เป็นการขัดขวางไม่ให้ยาเข้าไปสู่คน โดยมีจุดมองท่ีเร่ิมจากตัวยาเสพติดท่ีเป็น ปัญหาหลัก ซ่ึงตรงกันข้ามกับการป้องกันขั้นพื้นฐานที่มุ่งป้องกันไม่ให้คนเข้าไปหายา ด้วยการมองภาพท่ีคน เป็นจดุ ตั้งต้น ชดุ วชิ า TO BE NUMBER ONE “เป็นหนึง่ โดยไม่พึง่ ยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 69
ดังนั้นการป้องกันขั้นท่ีสองตามความหมายนี้จึงครอบคลุมถึงงานเก่ียวกับการปราบปรามยึดอายัด เผาทาลายยาเสพติด การสกัดกั้น การตรวจเข้ม การตรวจปัสสาวะหาสารเสพติด การส่งเจ้าหน้าท่ีตารวจเข้า ไปประจาทาการสอดแนมในโรงเรียน รวมถึงมาตรการตรวจจับจาแนกเพื่อแยกผู้ใช้ยาเสพติดไปรับการ บาบัดรักษาฟื้นฟู หรือป้องกันไม่ให้ผู้ติดยาสามารถเผยแพร่ยาเสพติดไปสู่ผู้ไม่ใช้เสพติดด้วย ส่วนอีกนัยหน่ึง เป็นความหมายที่มักใช้กันในวงการของผู้มีอาชีพแนะแนว ในความหมายของการดาเนินการช่วยเหลือให้ผู้ที่ เคยลองใช้ยาเสพติด หรือผู้ที่ใช้ยาเสพติดชนิดใดชนิดหนึ่งเป็นครั้งคราวหรือใช้บ่อยๆ แต่ยังไม่ติดยา ให้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเลิกใช้ เลิกเกี่ยวข้องกับยาเสพติดชนิดนั้นๆ เป็นมาตรการแยกคนออกจากยา หรือดึง คนติดยาออกจากยาเสพติดด้วยมาตรการแนะแนวให้คาปรึกษาและจิตเวชบาบัด เป็นการป้องกันที่เน้นการ สกัดกน้ั เพื่อหยดุ ย้ังพฤติกรรมการใช้ยาเสพติดของกลุ่มผู้ทีใ่ ช้ยาเสพติดหรือมีประสบการณ์เกี่ยวข้องกับยาเสพ ตดิ มาแล้ว 3. กำรปอ้ งกันขนั้ ทส่ี ำม (Tertiary Prevention) การป้องกันขนั้ ที่สามคอื การป้องกนั การตดิ ซ้า (Relapse) เป็นมาตรการที่ใช้สาหรับผู้ติดยาเสพติดท่ีไดร้ ับการ บาบัดรักษาด้วยการถอนพิษยาแล้วไม่ให้กลับไปติดยาซ้าใหมอ่ ีก เปน็ มาตรการเสรมิ ที่สนับสนุนมาตรการทาง การแพทย์ เพ่ือให้ผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาให้หายขาดจากยาแล้วอยู่อย่างปลอดภัยจากยาเสพติด ได้ยาวนาน ขึ้นก่อนทีจ่ ะหวนกลับไปติดยาอกี การป้องกันข้ันที่สามจะอาศัยมาตรการทุกชนิดที่มุ่งให้ผู้ติดยาหายจากอาการติดยาทางจิตด้วย มาตรการฟื้นฟูจิตใจ (Rehabilitation) ด้วยวิธีจิตเวชบาบัด (Psychological therapy) การให้คาปรึกษา (Social counseling) กลุ่มบาบัด (Group therapy) และนันทนาการบาบัด (Recreational therapy) เป็น ตน้ การป้องกันผู้ติดยาเสพติดที่บาบัดแล้วไม่ให้กลับไปติดยาใหม่อีกถือเป็นส่วนหนึ่งของงานด้านการ ป้องกันท่ีมุ่งลดความต้องการยาลงด้วยการสกัดกน้ั ไม่ให้กลับไปใช้ยาอกี ซ่ึงจะเป็นการปอ้ งกันไม่ให้พวกเขานา ยาไปเผยแพร่ต่อให้คนอื่นได้ด้วย โดยสรุปแล้ว การป้องกันขั้นพ้ืนฐาน นั้นเป็นการป้องกันมิให้มีการทดลองใช้ยา การใช้ยาในทางท่ีผิด หรือมิให้มีผูเ้ สพติดรายใหม่ๆ เกิดขึ้น การป้องกันขั้นท่ีสองเป็นการเร่งรีบนาผู้ที่ติดยาแล้วไปบาบัดรักษา และ การท่ีจะทาการป้องกันการเสพติดได้อย่างมีประสิทธิภาพน้ันจาเป็นต้องมีความเข้าใจในสาเหตุและ องค์ประกอบของปญั หาการเสพตดิ เสยี ก่อน องค์ประกอบท่ีทาให้เกิดการตดิ ยานัน้ ได้แก่ คน ยา และปัจจัยท่ี ชุดวชิ า TO BE NUMBER ONE “เป็นหน่งึ โดยไม่พึง่ ยาเสพติด” สค3300166 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 70
เอ้ืออานวยใหม้ ีการตดิ ยา การวางแผนแก้ไขและป้องกัน จึงจาต้องศึกษาหาสาเหตเุ ฉพาะและให้การปอ้ งกนั ให้ ตรงกบั สาเหตุหลกั ดงั นน้ั การป้องกันการเสพตดิ ทเ่ี จาะจงถงึ สาเหตุน้นั มแี นวทาง 3 แนวทาง ไดแ้ ก่ 1. กำรป้องกันในวงกว้ำง เป็นการป้องกันโดยเน้นเป้าหมายที่สังคมโดยทั่วไปมุ่งสร้างสังคมให้ ตระหนักถึงพิษและภัยของยา ลดความต้องการของสังคม และลดการตอบสนองของยาเสพติด ซึ่งการ ดาเนินงานมีหลายรูปแบบ เช่น การพัฒนาสุขภาพ การสร้างเสริมศีลธรรม การใช้กฎหมาย การพัฒนาสังคม ฯลฯ กลวิธขี องการปอ้ งกนั ในแนวกว้าง ไดแ้ ก่ 1.1 การให้การศึกษา ในการถา่ ยทอดความรู้ เพ่ือใหเ้ กิดการเรียนรู้ทักษะและประสบการณ์ในการ สรา้ งคุณภาพชีวิตและการไม่พึง่ พายาเสพตดิ โดยเนน้ ถึงการพฒั นาตนเองและจิตใจให้มีความเช่ือมั่นวา่ ตนเอง มคี ุณค่า สร้างสขุ นสิ ยั และฝกึ ทักษะในการประกอบอาชีพ 1.2 การให้ข้อมูลและข่าวสาร เป็นการให้ข้อมูลและข่าวสารที่ถูกต้องของปัญหายาเสพติด เพื่อให้ ชุมชนได้วเิ คราะห์ เลอื กขอ้ มูลและตดั สินใจด้วยตนเองในการนาไปใช้ให้เกดิ ประโยชน์ตอ่ ตนเอง 1.3 การจัดกิจกรรมทางเลือก ดว้ ยการส่งเสรมิ และสนับสนุนให้เกดิ กิจกรรมตา่ ง ๆ ที่เหมาะสมกับ พื้ น ฐ าน ขอ งบุ คค ล แล ะชุม ช น เพ่ื อ เป็ น ท างเลื อ กใน ก าร ใช้ เวล าช่ วย เบี่ ย งเบ น คว าม ส น ใจ จ ากพ ฤติ กร ร ม ทีไ่ ม่เหมาะสมและเป็นการช่วยพฒั นาทง้ั ร่างกายและจติ ใจ 2. กำรป้องกันในวงแคบ มุ่งเน้นเฉพาะบุคคลบางกลุ่ม หรือชุมชนบางแห่งท่ีเส่ียงต่อปัญหาการเสพ ตดิ กลวิธใี นการดาเนนิ งาน การปอ้ งกนั ในวงแคบ ไดแ้ ก่ 2.1 การฝกึ อบรม เปน็ การฝึกอบรมแก่กลุ่มแกนนาและกลมุ่ ประชาชนให้มีความรู้ดา้ นการป้องกัน การเสพติด การใช้ยาในทางทถี่ ูก โดยมีจุดประสงคใ์ ห้กลุ่มแกนนาประยุกตค์ วามรูน้ ้นั ไป ปฏิบัติในชุมชนให้สอดคล้องกับสภาพของท้องถิ่น ส่วนกลุ่มประชาชนนั้นให้มีความรู้และมีพฤติกรรมต่อต้าน การเสพตดิ โดยตรง 2.2 การรณรงค์ เป็นการเผยแพร่ข่าวสารโดยการระดมสื่อต่าง ๆ ภายใต้ขอบเขตที่กาหนดไว้ ให้ ประชาชนเกดิ การต่ืนตวั ตระหนักถงึ ปัญหาและเข้ามามสี ่วนร่วมในการแกป้ ัญหา 2.3 การปฏิบัติการทางสังคม เป็นวิธีการท่ีหวังผลของการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว เช่น ขจัด แหล่งมัว่ สมุ กวาดลา้ งแหลง่ ผลิต ฯลฯ ชดุ วชิ า TO BE NUMBER ONE “เปน็ หนึ่งโดยไม่พง่ึ ยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย 71
3. กำรป้องกันกรณีพิเศษ เป็นการป้องกันที่เน้นในวงแคบที่สุด โดยเป้าหมายอยู่ท่ีผู้ค้า ผู้ติดยาเสพ ติด หรือผู้ที่มีความเส่ียงสูง และครอบครัว เช่น บุคคลที่กาลังเผชิญกับปัญหาของตนเอง บุคคลที่ครอบครัว แตกแยก ผตู้ ิดยาท่ผี ่านการถอนพษิ ยามาแลว้ กลวธิ ใี นการป้องกนั ในกรณพี เิ ศษน้ี ได้แก่ 3.1 การวิเคราะห์ปัญหา เพ่ือให้ผู้ติดยาได้ทราบเก่ียวกับพฤติกรรมและปัญหาของตนในการ ติดยา 3.2 การให้คาปรึกษาแนะนา เป็นการให้แนวทางปฏิบัติสาหรับเลือกปฏิบัติในกรณีที่เกิดปัญหา เพ่อื หลกี เลยี่ งการใช้ยาเสพติด 3.3 การให้คาปรึกษาแก่ครอบครัว เพ่ือลดความกดดันในครอบครัวลงและให้แนวปฏิบัติ แกค่ รอบครวั ของผ้ตู ิดยาเสพตดิ หรอื ผ้ทู ม่ี คี วามเสย่ี งสูงเพื่อลดปญั หาของตนเอง 3.4 การให้สุขศึกษา เป็นการให้ความรู้เร่ืองยาและสุขภาพอย่างถูกต้อง เพื่อป้องกันการกลับไป ใช้ยาในทางท่ีผิดอีก 3.5 การให้กาลังใจ เพ่ือเพ่มิ กาลังใจให้แกผ่ ู้ตดิ ยาในขณะที่กาลังเผชิญปัญหาทีอ่ าจนาไปใช้ในทาง ท่ผี ดิ อีก 3.6 การฝกึ อาชีพ เพื่อเป็นแนวทางในการดารงชีวิตตามความสามารถและความถนัดของตนเป็น การลดความกดดันด้านเศรษฐกจิ และใช้เวลาวา่ งให้เป็นประโยชน์ กลวิธีทุกอย่างสามารถนาไปปฏิบัติพร้อมๆ กันได้หลายกลวิธีไม่ว่าจะเป็นการป้องกันในระดับไหน หรือ มีวัตถุประสงค์เพ่ือป้องกันมิให้เกิดการใช้ยาในทางท่ีผิด หรือป้องกันการติดซ้าซึ่งเป็นหัวใจสาคัญของการ ปอ้ งกันและแก้ปัญหาการติดสารเสพตดิ ทุกฝา่ ยทเ่ี ก่ียวข้องควรเข้ามามสี ว่ นรว่ มดาเนนิ การอย่างจรงิ จัง กิจกรรมท้ำยเร่ืองที่ 2 กำรวิเครำะห์ปัญหำ สำเหตุ ผลกระทบและกำรแพร่ระบำดของยำเสพติด ในปัจจุบันของประเทศไทย (ให้ผู้เรียนทำกิจกรรมท้ำยเร่ืองที่ 2 ที่สมุดบันทึกกิจกรรมกำรเรียนรู้ประกอบ ชุดวชิ ำ) เรือ่ งที่ 3 กำรวิเครำะห์ปัญหำ สำเหตุ ผลกระทบ และกำรแพร่ระบำดของยำเสพตดิ ในปจั จบุ นั ของ ประเทศไทย สถำนกำรณ์ปญั หำยำเสพติดในพ้ืนท่จี ังหวัดพังงำ สถานการณ์ยาเสพติดในภาพรวมของจังหวัดพังงา ยังคงไม่เปล่ียนแปลงมากนัก และยังคงอยู่ใน สถานะท่ีมีปัญหาการค้าและการแพร่ระบาดอยู่ในระดับเบาบางเม่ือเปรียบเทียบกับพ้ืนท่ีจังหวัดอื่นๆ ในพื้นท่ี ภาคใต้ตอนบน อย่างไรก็ดีจากการประเมินสถานการณ์แวดล้อมจากฐานข้อมูลทางสถิติ และข้อมูลการข่าว ชุดวิชา TO BE NUMBER ONE “เป็นหนงึ่ โดยไมพ่ ึ่งยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย 72
ประกอบกับรายงานข่าวสารจากหน่วยงานในพ้ืนท่ี พบว่าพื้นทจ่ี ังหวัดพังงายงั คงมปี ัญหาที่ควรให้ความสาคัญ และเฝา้ ระวงั ดังน้ี 1. สถานการณ์ยาเสพติดพื้นทจ่ี ังหวัดพังงาอยูใ่ นระดับเบาบางเม่ือเปรียบเทียบจากสถติ ิ แต่ในเดือนท่ี ผ่านมาพบการจับกุมและของกลางยาเสพติดจานวนมากและพบกับการลั กลอบลาเลียงยาเสพติดเข้าพ้ืนท่ี จังหวดั พังงา เพม่ิ มากข้นึ สอดคลอ้ งกับการจบั กุมในพน้ื ทีใ่ กลเ้ คียงเชน่ จงั หวัดกระบี่ และ จงั หวัดระนอง 2. การจบั กมุ พบยาเสพตดิ จานวนมากอาจส่งผลให้มีผู้ใช้ยาเสพตดิ ในพื้นที่ จังหวัดพงั งาเพมิ่ มากขนึ้ 3. การดาเนินการมาตรการเฉพาะพ้ืนท่ีเช่น อาเภอตะก่ัวป่า อาเภอเมือง และ อาเภอตะกั่วทุ่ง ซึ่ง เป็นพื้นที่มสี ถานการณ์ปัญหายาเสพตดิ อยใู่ นระดับสงู กว่าพ้ืนท่ีอื่นพ้ืนท่คี วรต้องเฝ้าระวงั เป็นพเิ ศษ ซ่ึงปจั จุบัน มีแนวโน้มปริมาณยาบ้าและไอซ์เพ่มิ มากข้นึ ในทกุ พน้ื ที่ และราคาลดลงมาก เม่อื เปรยี บเทยี บกบั ปกี อ่ น 4. พืชกระท่อม ยังคงมีการแพร่บาดในทุกพ้ืนท่ี โดยเฉพาะ อาเภอตะก่ัวทุ่ง พบกระท่อมจับกุมได้ จานวนมาก ซง่ึ จากากรสัมภาษณ์ผู้เขา้ ค่ายปรับเปล่ียนพฤติกรรมในหลายพ้ืนที่ ระบุว่ามีการใช้ร่วมกับยาเสพ ติดชนิดอื่นในบางรายเช่นยาบา้ ยาไอซ์ 5. อาชีพท่ีมีผู้เข้ารับการบาบัดรักษายาเสพติดสูงในพื้นท่ีได้แก่ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพรับจ้าง รองลงมาได้แก่ กลุ่มผปู้ ระกอบอาชพี ค้าขาย เกษตร กลุ่มผู้ใช้แรงงาน รวมถึงกลุ่มผู้ว่างงาน ตามลาดบั ซง่ึ การ เสพยามักใช้ในกลุ่มผู้ใช้แรงงานหรือรับจ้างซึ่งเป็นกลุ่มผู้มีรายได้น้อย หรือว่างงาน ซ่ึงเป็นปัญหาหนึ่งของ สังคมท่ีนอกจากมาตรการเฉพาะพื้นท่ี แล้วควรมีมาตรการเฉพาะกลุ่มที่พบปัญหาชัดเจน เช่นกลุ่มเยาวชน กลุ่มอาชีพ กลุ่มผู้ประกอบการ ปัญหายาเสพติดยังส่งผลกระทบต่อการพัฒนาในด้านอื่น เช่นการศึกษา เนือ่ งจากพบผู้เสพรายใหม่เพิม่ ขนึ้ ในกล่มุ เยาวชนทงั้ ในและนอกสถานศึกษาเข้าไปเกยี่ วข้องจานวนมาก 2. สำเหตุกำรตดิ ยำเสพติด 1. สำเหตุที่เกิดจำกควำมรู้เท่ำไม่ถึงกำรณ์ จาแนกตามการออกฤทธ์ิต่อระบบประสาท แบ่งเป็น 4 ประเภท 1.1 อยำกทดลอง เกิดจากความอยากรู้อยากเห็นซึ่งเป็นนิสยั ของคนโดยทั่วไป และโดยท่ีไม่ คดิ ว่าตนจะตดิ ส่งิ เสพตดิ นี้ได้จึงไปทาการทดลองใช้ส่ิงเสพติดนั้น ในการทดลองใช้ครง้ั แรกๆ อาจมีความรู้สึกดี หรือไม่ดีก็ตาม ถ้ายังไม่ติดสิ่งเสพย์ติดน้ัน ก็อาจประมาท ไปทดลองใช้สิ่งเสพย์ติดนั้นอีก จนใจท่ีสุดก็ติด ส่ิงเสพตดิ นน้ั หรอื ถา้ ไปทดลองใช้สงิ่ เสพตดิ บางชนดิ เช่น เฮโรอีน แม้จะเสพเพียงครัง้ เดยี ว ก็อาจทาให้ติดได้ 1.2 ควำมคึกคะนอง คนบางคนมีความคึกคะนอง ชอบพูดอวดเก่งเป็นนิสัย โดยเฉพาะ วัยรุ่นมักจะมีนิสัยดังกล่าว คนพวกนี้อาจแสดงความเก่งกล้าของตน ในกลุ่มเพ่ือนโดยการแสดงการใช้ ชุดวิชา TO BE NUMBER ONE “เป็นหน่ึงโดยไมพ่ ่งึ ยาเสพติด” สค3300166 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย 73
ส่ิงเสพติดชนิดต่าง ๆ เพราะเห็นแก่ความสนุกสนาน ตื่นเต้น และให้เพ่ือนฝูงยอมรับว่าตนเก่ง โดยมิได้คานึง ถงึ ผลเสยี หาย หรอื อันตรายที่จะเกิดขนึ้ ในภายหลังแต่อย่างไร ในท่ีสดุ จนเองกก็ ลายเปน็ คนตดิ สิ่งเสพติดนน้ั 1.3 กำรชักชวนของคนอื่น อาจเกิดจากการเชื่อตามคาชักชวนโฆษณา ของผู้ขายสินค้าท่ี เป็นสิง่ เสพติดบางชนดิ เชน่ ยากระตุ้นประสาทตา่ งๆ ยาขยนั ยามา้ ยาบ้า เปน็ ตน้ โดยผู้ขายโฆษณาสรรพคุณ ของสิ่งเสพตดิ นั้นวา่ มคี ณุ ภาพดสี ารพดั อย่างเช่น ทาใหม้ ีกาลังวังชา ทาใหม้ จี ิตใจแจ่มใส ทาให้มีสุขภาพดี ทาให้มีสติปัญญาดี สามารถรักษาโรคได้บางชนิด เป็นต้น ผู้ที่เชื่อคาชักชวนโฆษณาดังกล่าวจึงไปซ้ือตามคา ชักชวนของเพื่อนฝูง ซ่ึงโดยมากเป็นพวกที่ติดส่ิงเสพติดน้ันอยู่แล้ว ด้วยความเกรงใจเพื่อน หรือ เชื่อเพ่ือน หรือต้องการแสดงวา่ ตัวเป็นพวกเดยี วกับเพ่อื น จึงใช้ส่งิ เสพตดิ นัน้ 2. สำเหตุทเ่ี กดิ จำกกำรถูกหลอกลวง ปัจจุบันน้ีมีผู้ขายสินค้าประเภทอาหาร ขนม หรือเคร่ืองดื่มบางรายใช้สิ่งเสพติดผสมลงใน สินค้าที่ขายเพื่อให้ผู้ซ้ือสินค้านั้นไปรับประทานเกิดการติด อยากมาซื้อไปรับประทานอีก ซ่ึงในกรณีนี้ ผู้ซื้อ อาหารนั้นมารับประทาน จะไม่รู้สึกว่าตนเองเกิดการติดส่ิงเสพติดขึ้นแล้ว รู้แต่เพียงว่าอยากรับประทาน อาหาร ขนม หรือเคร่ืองด่ืมที่ซ้ือจากร้านน้ัน ๆ กว่าจะทราบก็ต่อเม่ือตนเองรู้สกึ ผิดสงั เกตต่อความต้องการจะ ซื้ออาหารจากรา้ นนน้ั มารบั ประทาน หรอื ต่อเม่อื มีอาการเสพตดิ รุนแรง และมสี ขุ ภาพเสือ่ มลง 3. สำเหตทุ ีเ่ กดิ จำกควำมเจ็บปว่ ย 3.1 คนท่ีมีอาการเจ็บป่วยทางกายเกิดข้ึนเพราะสาเหตตุ ่าง ๆ เช่นไดร้ บั บาดเจบ็ รุนแรง เป็น แผลเร้ือรังมีความเจ็บปวดอยู่เป็นประจา เป็นโรคประจาตัวบางอย่าง เป็นต้น ทาให้ได้รับทุกข์ทรมานมาก หรือ เป็นประจา จึงพยายามแสวงหาวิธีที่จะช่วยเหลือตนเองให้พน้ จากความทุกข์ทรมานน้ันซึ่งวิธหี นง่ึ ทีท่ าได้ ง่ายคือ การรับประทานยาท่ีมีฤทธิ์ระงับอาการเจ็บปวดนั้นได้ ซ่ึงไม่ใช่เป็นการรักษาที่เป็นต้นเหตุของความ เจ็บปว่ ยเพยี งแต่ระงบั อาการเจ็บปวดใหห้ มดไปหรือลดน้อยลงไดช้ ั่วขณะ เม่ือฤทธิ์ยาหมดไปก็จะกลับเจ็บปวด ใหม่ผู้ป่วยกจ็ ะใช้ยานัน้ อีก เมอ่ื ทาเช่นนี้ไปนานๆ เกิดอาการตดิ ยานน้ั ขึน้ 3.2 ผทู้ ่ีมีจิตใจไม่เป็นปกติเช่น มีความวิตก กังวล เครียด มีความผิดหวงั ในชีวิต มีความเศร้า สลดเสียใจ เป็นต้น ทาให้สภาวะจิตใจไม่เป็นปกติจนเกิดการป่วยทางจิตข้ึน จึงพยายามหายาหรือสิ่งเสพติด ที่มีฤทธิ์สามารถคลายความเครียดจากทางจิตได้ชั่วขณะหน่ึงมารับประทาน แต่ไม่ได้รักษาที่ต้นเหตุเมื่อยา หมดฤทธ์ิ จิตใจก็จะกลับเครียดอีก และ ผู้ป่วยก็จะเสพส่ิงเสพติด ถ้าทาเช่นนี้ไปเร่ือยๆ ก็จะทาให้ผู้น้ันติดยา เสพติดในที่สุด ชุดวิชา TO BE NUMBER ONE “เป็นหนึ่งโดยไม่พง่ึ ยาเสพติด” สค3300166 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย 74
3.3 การไปซื้อยามารับประทานเองโดยไม่ทราบสรรพคุณ ยาท่ีแท้จริงขนาดยาที่ควร รับประทาน การรับประทานยาเกินจานวนกว่าที่แพทย์ได้สั่งไว้ การรับประทานยาบางชนิดมากเกินขนาด หรอื รับประทานติดตอ่ กันนานๆบางครงั้ อาจมีอาการถึงตายได้ หรือบางครั้งทาให้เกิดการเสพตดิ ยานนั้ ได้ 3.4 สาเหตุอื่นๆ การอยู่ใกล้แหล่งขายหรือใกล้แหล่งผลติ หรอื เป็นผู้ขายหรอื ผู้ผลิตเอง จึง ทาให้มโี อกาสติดสง่ิ เสพติดใหโ้ ทษนั้นมากกว่าคนท่ัวไป เมื่อมีเพ่ือนสนิทหรือพี่น้องที่ติดสิ่งเสพตดิ อยู่ ผนู้ ั้นย่อม ได้เห็นวิธีการเสพ ของผู้ที่อยู่ใกล้ชิด รวมท้ังใจเห็นพฤติกรรมต่างๆ ของเขาด้วย และยังอาจได้รับคาแนะนา หรือชักชวนจากผู้เสพด้วย จงึ มโี อกาสติดได้ (1) คนบางคนอยู่ในสภาพที่มีปัญหา เช่น ว่างงาน ยากจน ค่าใช้จ่ายเพิ่มโดยมีรายได้ลดลง หรือคงที่ มีหน้ีสินมาก ฯลฯ เมื่อแก้ปัญหาต่าง ๆ เหล่าน้ีไม่ได้ก็หันไปใช้สิ่งเสพติด ช่วยผ่อนคลายความรู้สึก ในความทุกข์ยากต่างเหล่าน้ี แม้จะรู้ว่าเป็นชั่วครู่ชั่วยามก็ตาม เช่น กลุ้มใจท่ีเป็นหน้ีคนอ่ืนก็ไปกินเหล้า หรือ สบู กัญชาใหเ้ มาเพ่ือท่ีจะไดล้ ืมเรื่องหน้สี นิ บางคนต้องการรายได้เพม่ิ ข้ึน โดยพยายามทางานใหห้ นัก และ มาก ข้ึนทั้ง ๆ ท่ีร่างกายอ่อนเพลียมากจึงรับประทานยากระตุ้นประสาทเพ่ือให้สามารถทางานต่อไปได้ เป็นต้น ถ้าทาอยู่เปน็ ประจาทาใหต้ ดิ สิง่ เสพตดิ นนั้ ได้ (2) การเลียนแบบ การท่ีไปเห็นผู้ที่ตนสนิทสนมรักใคร่ หรือเพ่ือนจึงเห็นว่าเป็นส่ิงน่าลอง เป็นส่ิงโก้เก๋ เปน็ สง่ิ แสดงความเป็นพวกเดยี วกนั จงึ ไปทดลองใช้ส่ิงเสพติดนน้ั จนตดิ (3) คนบางคนมีความผิดหวังในชีวิตตนเอง ผิดหวังในชีวิตครอบครัว หรือผิดหวังในชีวิต สงั คม เพอ่ื เปน็ การประชดตนเองหรอื คนอนื่ จงึ ไปใชส้ ่ิงเสพตดิ จนติด ทง้ั ๆ ทีท่ ราบวา่ เปน็ สง่ิ ไมด่ ี ก็ตาม 3.ผลกระทบของยำเสพตดิ 3.1 โทษของกำรตดิ ยำเสพตดิ ชดุ วชิ า TO BE NUMBER ONE “เป็นหนึง่ โดยไม่พึง่ ยาเสพติด” สค3300166 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย 75
3.1.1 โทษตอ่ รา่ งกายและจิตใจ 1.ทาลายประสาทสมองจติ ใจเสอื่ มซึมเศรา้ กงั วล เล่ือนลอย และเป็นโรคจิตจากพิษยานนั้ ๆ 2.เสียบคุ ลิกภาพ ขาดความสนใจตนเอง ขาดสตสิ มั ปชญั ญะ 3.รา่ งกายซบู ซดี ออ่ นเพลีย 4.พิษยาทาลายอวยั วะตา่ งๆใหเ้ ส่ือมลง มโี รคแทรกได้ง่าย 5.ประสบอุบัติเหตุได้ง่าย เพราะการควบคุมทางกล้ามเนื้อและระบบประสาทบกพร่อง โทษตอ่ ครอบครัว 6.ขาดความรับผิดชอบตอ่ ครอบครัวและญาตพิ ่ีน้อง 7.เสียทรัพย์ท่ีจะต้องซ้ือยามาเสพ และรักษาตัว 8.ขาดหลักประกันของครอบครัว ท างานไม่ได้ ไม่เปน็ ทวี่ างใจ ของคนทั่วไป นาภัยมาสูบ่ ุตร ภรรยา ญาตพิ น่ี อ้ ง 3.1.2 โทษตอ่ สงั คม 1.เปน็ ภยั ตอ่ สงั คม 2.มีโอกาสเป็นอาชญากรประเภทลักขโมยได้ง่ายเน่ืองจากมีรายจ่ายสูงโทษต่อส่วนรวมและ ประเทศชาติ 3.เป็นภัยอันตรายต่อผู้อื่น ชุมชนและประเทศชาติ เพิ่มงบประมาณของประเทศในการป้อง กนั ปราบปรามและบาบัดรักษา 4.สง่ ผลกระทบต่อเศรษฐกจิ และวฒั นธรรมของประเทศ 4. กำรแพรร่ ะบำดของยำเสพตดิ ในจังหวดั พงั งำ 1. เทคโนโลยีการติดต่อทางโซเชียลมีเดีย เอื้อประโยชน์ให้กลุ่มผู้ผลิตและผู้ค้าเข้าถึงกันได้โดยตรง ไม่ต้องผ่านตัวแทนหรือคนกลางในพ้ืนที่ชายแดนอย่างเช่นในอดีตอีกต่อไป จึงไม่ต้องเสียค่าส่วนต่างจานวน มาก การสัง่ ซ้ือยาเสพติดจงึ สามารถไดป้ ริมาณทม่ี ากข้ึนในจานวนเงนิ ทเ่ี คยส่ังซื้อเท่าเดมิ 2. กลมุ่ นักคา้ ทกุ ระดบั (รายยอ่ ย รายกลาง รายใหญ่) มีการใชส้ ่ือสังคมออนไลน์ และการขนส่งทง้ั ของ ภาครัฐ/เอกชน เออ้ื ประโยชนก์ ารค้า การลาเลยี งยาเสพตดิ สง่ ผลใหเ้ กดิ การขยายเครือข่ายอยา่ งรวดเรว็ ตัวอยำ่ งข่ำวกำรค้ำยำเสพตดิ ในพ้ืนทจ่ี งั หวดั พังงำ ชุดวิชา TO BE NUMBER ONE “เป็นหนึง่ โดยไม่พง่ึ ยาเสพติด” สค3300166 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 76
ตัวอยา่ งที่ 1 วันนี้ (24 พ.ค.) ท่ีหน้า สภ.หาดใหญ่ จ.สงขลา พ.ต.อ.เสกสันต์ ชูรงั สฤษฎ์ิ รอง ผบก.ภ.จ.สงขลา พร้อมด้วย พ.อ.สุรเทพ หนูแก้ว รอง ผบ.มทบ.42/รอง ผอ.รมน.จ.สงขลา และเจ้าหนา้ ที่ ป.ป.ส. รว่ มกนั แถลง ผลการจับกมุ เครือข่ายคา้ ยาเสพตดิ รายใหญใ่ นพ้ืนท่ี ภาคใต้ ไดผ้ ้ตู ้องหา 2 ราย ประกอบด้วย นายชัยสทิ ธิ์ หรอื จิ ปะรา อายุ 43 ปี อาชีพทาสวน ชาว อ.ควนเนียง จ.สงขลา และนายปะกิต หรอื โป้ ทองตนั อายุ 29 ปี อาชพี รับจา้ งเลี้ยงปลา ชาว อ.ทา้ ยเหมือง จ.พังงา พร้อม ของกลางยาบา้ 180,000 เม็ด มูลค่ากวา่ 9 ล้านบาท รวมทั้งยดึ ทรพั ย์รถยนตเ์ ก๋ง 3 คนั และรถจักรยานยนต์ อีก 1 คนั สาหรับการจับกุมในครั้งน้ี สืบเน่ืองมาจากเจ้าหน้ าท่ีทั้งจากตารวจภูธรภาค 9 ตารวจ สภ.หาดใหญ่ รวมทั้ง กอ.รมน.จ.สงขลา และเจ้าหน้าที่ ป.ป.ส. ได้สืบทราบและติดตามความเคลื่อนไหวของ ขบวนการค้ายาเสพติดในพ้ืนท่ีภาคใต้ และได้แกะรอยจนกระท่ังสามารถจับกุม นายชัยสิทธ์ิ หรือ จิปะรา ซึ่งทาหน้าท่ีเป็นนักบิน หรือคนเดินยาได้คาบ้านเช่า 2 ช้ัน ภายในซอย 17 ถนนรัตนอุทิศ เขตเทศบาลนครหาดใหญ่ จ.สงขลา เมื่อวันที่ 22 พ.ค.ที่ผ่านมา พร้อมของกลางยาบ้า 180,000 เม็ด ที่ใส่เอาไว้ในกระเป๋าผ้าซุกซ่อนเอาไว้ใต้บันไดช้ัน 1 หลังจากท่ีได้เดินทางไปรับยาเสพติดมาจากในพ้ืนท่ี อ.รตั ภมู ิ จ.สงขลา และนามาพกั เอาไวท้ ่ีบา้ นเช่าหลงั ดังกลา่ ว ตวั อย่างที่ 2 เม่ือเวลา 17.00 น.วนั น้ี (4 ธ.ค.) ที่กองบังคับการตารวจภูธรจังหวัดพังงา พล.ต.ต.วิมล พทิ ักษบ์ ูรพา ผบก.ตารวจภูธรจังหวัดพังงา พร้อมด้วย พ.ต.อ.โชติ ชิดไชย รอง ผบก.ตารวจภูธรจังหวัดพังงา พ.ต.อ.ประเทือง ศรีละมนตรี ผกก.สส.ภ.จว.พงั งา ร่วมแถลงข่าวการจับกุมเครือข่ายค้ายาเสพตดิ ในพื้นท่ีจังหวัดพังงา หลังจาก ตารวจ สภ.ทา่ ฉัตรไชย อ.ถลาง จ.ภเู กต็ ไดจ้ ับกมุ ตวั นายนายกติ ติ หรืออู๊ด เพอ่ื นรักษ์ อายุ 28 ปี อยู่ ต.ทา่ นา อ.กะปง จ.พังงา พรอ้ มด้วยของกลาง ยาบา้ 60,000 เมด็ และยาไอซ์ 1 กโิ ลกรมั คาด่านตรวจทา่ ฉตั รไชย จากน้ันชุดสืบสวนตารวจภูธรจังหวัดพังงา ร่วมกับสืบสวนตารวจภูธรจังหวัดภูเก็ต สภ.ท่าฉัตรไชย ป.ป.ส.ภาค 8 สภ.ตะก่ัวป่า กอ.รมน.จังหวัดพังงา และ สืบสวนภาค 8 ขยายผลเข้าจับกุมเครือข่ายในพ้ืนที่ จงั หวัดพังงา โดยได้จับกุมตัว นายอภิชาติ หรือเดียว กด ชุดวิชา TO BE NUMBER ONE “เป็นหนง่ึ โดยไมพ่ ึง่ ยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย 77
ทรัพย์ อายุ 35 ปี ชาว ต.ท่านา อ.กะปง จ.พังงา ได้พร้อมของกลาง ยาบ้า 38 ,000 เม็ด และยาไอซ์ 2 กิโลกรัม ซึ่งได้นาซุกซ่อนไวใ้ นป่าหลังบ้าน จากนั้นได้เข้าจับกุมตัว นายมานิต หรือเบส พรมจันทร์ อายุ 34 ปี ช า ว ต . ท่ า น า อ . ก ะ ป ง จ . พั ง ง า ซ่ึ ง จั บ กุ ม ไ ด้ ท่ี บ้ า น เ ช่ า ในหมู่บ้านไอทีวี ต.บางม่วง อ.ตะก่ัวป่า จ.พังงา พร้อมของกลาง ยาบ้า 44,000 เม็ด ซุกซ่อนอยู่ใต้ตู้โชว์ ภ า ย ใ น บ้ า น เ จ้ า ห น้ า จึ ง แ จ้ ง ข้ อ ห า มี ย า เ ส พ ติ ด ป ร ะ เ ภ ท 1 ( ย า บ้ า , ไ อ ซ์ ) ไ ว้ ใ น ค ร อ บ ค ร อ ง เ พื่ อ จ า ห น่ า ย โ ด ย ผดิ กฎหมาย กิจกรรมท้ำยเรื่องท่ี 3 กำรวิเครำะห์ปัญหำ สำเหตุ ผลกระทบและกำรแพร่ระบำดของยำเสพติดในปัจจุบัน ของจังหวดั พังงำ (ใหผ้ เู้ รยี นทำกิจกรรมท้ำยเรอื่ งท่ี 3 ทส่ี มุดบันทึกกจิ กรรมกำรเรยี นร้ปู ระกอบชุดวิชำ) หนว่ ยกำรเรยี นรูท้ ่ี 3 แนวทำงกำรดำเนนิ งำนโครงกำร TO BE NUMBER ONE สำระสำคญั โครงการ TO BE NUMBER ONE ยึดวัยรุ่นและเยาวชนเป็นศูนย์กลาง บนพ้ืนฐานความเข้าใจโดย ธรรมชาติ พัฒนาตามความต้องการ ความสนใจและพฤติกรรมเฉพาะของวัยรุ่น วัยรุ่นเป็นช่วงชีวิตระหว่าง เด็กกับผู้ใหญ่ซ่ึงเป็นหัวเล้ียวหัวต่อท่ีสาคัญยิ่ง เพราะมีการเปล่ียนแปลงท่ีซับซ้อนท้ังด้านร่างกาย อารมณ์ สติปัญญาและสังคม แต่เยาวชนและวัยรุ่นยังขาดความรอบ คอบและการยับย้ังช่ังใจ ตลอดจนขาด ประสบการณ์ ความชานาญและคุณภาพเมื่อเทียบกับความคิดของผู้ใหญ่ พัฒนาการทางสังคมจะ เปล่ียนแปลงไปตามร่างกายจิตใจ และสติปัญญาที่สาคัญคือสังคมกลุ่มเพ่ือนร่วมวัย การพบเพื่อนร่วมวัยเป็น พฤติกรรมท่ีสาคัญย่ิงต่อจิตใจของเด็กวัยรุ่น เพราะสามารถร่วมสุขร่วมทุกขแ์ ก้ไขและเข้าใจปัญหาของกันและ กันได้ดีกว่าคนต่างวัยซ่ึงมีความคับอกคับใจต่างกัน กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการ TO BE NUMBER ONE กลุ่มเป้าหมายหลักได้แก่กลุ่มเป้าหมายที่มีอายุระหว่าง 6 – 24 ปี เยาวชนและประชาชนกลุ่มเส่ียง และกลุ่ม เสพ สาหรบั ประชาชนทั่วไปเป็นกลุ่มเป้าหมายรอง ซ่ึงจากพื้นฐานความเข้าใจ และการยึดวัยรุ่นและเยาวชน ชดุ วิชา TO BE NUMBER ONE “เปน็ หนง่ึ โดยไม่พึง่ ยาเสพติด” สค3300166 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย 78
เป็นศูนย์กลางข้างต้น นาไปสู่หลักการดาเนินงานของโครงการ TO BE NUMBER ONE โดยการดาเนินงาน ภายใต้ 3 ยทุ ธศาสตร์หลกั คือ 1. การรณรงค์ปลกุ จิตสานกึ สร้างกระแสนยิ มที่เอือ้ ต่อการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หายาเสพติด 2. การเสริมสร้างภมู คิ ้มุ กนั ทางจติ ใจใหแ้ กเ่ ยาวชน 3. การสร้างและพัฒนาเครือข่ายเพ่อื การป้องกัน และแก้ปัญหายาเสพติด ตวั ช้วี ัด 1. อธิบายและยกตัวอย่างกลุ่มเป้าหมายผูเ้ ข้าร่วมโครงการ TO BE NUMBER ONE 2. อธิบายหลักการดาเนนิ งาน TO BE NUMBER ONE 3. อธบิ ายยทุ ธศาสตร์การดาเนนิ งาน TO BE NUMBER ONE ขอบข่ำยเนอ้ื หำ เรือ่ งที่ 1 กลมุ่ เปา้ หมายผเู้ ข้าร่วมโครงการ TO BE NUMBER ONE 1.1 กลุ่มเป้าหมายหลกั 1.2 กลุ่มเปา้ หมายรอง เรอ่ื งที่ 2 หลักการดาเนินงาน TO BE NUMBER ONE เรอ่ื งที่ 3 ยุทธศาสตร์การดาเนนิ งานโครงการ TO BE NUMBER ONE 3.1 ยุทธศาสตร์ที่ 1 การณรงค์ปลุกจิตสานึก สร้างกระแสนิยมท่ีเอื้อต่อการป้องกัน และแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ 3.2 ยุทธศาสตร์ที่ 2 การเสริมสรา้ งภมู คิ ุ้มกันทางจิตใจให้แกเ่ ยาวชน 3.3 ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างและพัฒนาเครือข่ายเพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติด เวลำที่ใชใ้ นกำรศึกษำ จานวน 4 ชว่ั โมง สอ่ื กำรเรยี นรู้ 1. ชดุ วิชา TO BE NUMBER ONE เปน็ หน่ึงโดยไมพ่ งึ่ ยาเสพตดิ รหสั สค3300166 2. สมุดบนั ทึกกิจกรรมการเรยี นรปู้ ระกอบชดุ วิชา 3. สอ่ื เสริมการเรียนรูอ้ นื่ ๆ ชดุ วชิ า TO BE NUMBER ONE “เปน็ หน่ึงโดยไมพ่ ึ่งยาเสพติด” สค3300166 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 79
ชดุ วิชา TO BE NUMBER ONE “เปน็ หน่งึ โดยไม่พ่งึ ยาเสพติด” สค3300166 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 80
เรือ่ งท่ี 1 กลุ่มเปำ้ หมำยผ้เู ข้ำร่วมโครงกำร TO BE NUMBER ONE 1.1 กลุ่มเปำ้ หมำยหลกั 1.1.1 กลุ่มเปา้ หมายทีม่ ีอายรุ ะหว่าง 6 – 24 ปี 1.1.2 เยาวชน และประชาชนกลุ่มเสย่ี ง และกลุ่มเสพ 1.2 กลุม่ เปำ้ หมำยรอง ประชาชนท่วั ไป เร่ืองที่ 2 หลกั กำรดำเนินงำน TO BE NUMBER ONE โครงการ TO BE NUMBER ONE ยึดวัยรุ่นเป็นศูนย์กลาง จึงมีหลักในการดาเนินงานที่ส่งเสริมการ แสดงความสามารถ กล้าคิด กลา้ ทา กล้าแสดงออก และชว่ ยสร้างเสริมความภาคภมู ิใจให้แก่เยาวชน เกิดเป็น ภมู ิคุ้มกนั ทางจิตใจใหแ้ ก่เยาวชน ไม่เข้าไปยุ่งเก่ยี วกับยาเสพติด ใช้สื่อดนตรี กีฬา ศิลปะในการเขา้ ถึงเยาวชน และกระตุ้นให้เข้ามารวมกลุ่มกันทากิจกรรมท่ีสนใจอย่างสร้างสรรค์ เสริมสร้างความรู้และทักษะในการ ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ซึ่งเป็นภูมิคุ้มกันท่ีสาคัญสาหรับเยาวชนให้ปลอดภัยจากปัญหายาเสพติด หลักการ “เพ่ือนช่วยเพื่อน” เพราะวัยรุ่นเป็นวัยที่ “เพื่อน” มีความสาคัญมาก ดังนั้นโครงการ TO BE NUMBER ONE จึงเน้นไปท่ี “การทาโดยเยาวชน เพ่ือเยาวชน” การทาโครงการ TO BE NUMBER ONE จะมีการจัดต้ังขมรม TO BE NUMBER ONE และ/หรือ ศูนย์เพ่ือนใจ TO BE NUMBER ONE จะเป็น การสร้างศูนย์รวมให้วัยรุ่นรวมกลุ่มกันทากิจกรรมท่ีสนใจ สร้างสรรค์และเกิดสุขซึ่งจากพื้นฐานความเข้าใจ และการยึดวัยรุ่นและเยาวชนเป็นศูนย์กลางข้างต้น นาไปสู่หลักการ การดาเนินงานของโครงการ TO BE NUMBER ONE ดังนี้ 1. ส่งเสริมการแสดงความสามารถ กลา้ คิด กลา้ ทา กลา้ แสดงออกและชว่ ยสร้างเสรมิ ความภาคภมู ใิ จ 2. ใช้สอื่ ดนตรี กีฬา ในการเข้าถงึ เยาวชน และกระตุน้ ใหเ้ ยาวชนเข้ามารวมกลุ่มกัน 3. สร้างความรู้และทักษะในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดซึ่งเป็นภูมิคุ้มกันท่ีสาคัญสาหรับ เยาวชน ในชุมชนให้ปลอดภัยจากปัญหายาเสพตดิ 4. เพอื่ นชว่ ยเพ่อื น 5. สร้างศนู ย์รวมใหว้ ยั ร่นุ รวมกลุ่มกัน ทากจิ กรรมที่สนใจ สรา้ งสรรคแ์ ละเกิดสุข 6. สร้างเครือข่าย TO BE NUMBER ONE ที่มีศักยภาพ จะทาให้เกิดการดาเนินงานป้องกันและ แก้ไขปัญหายาเสพติดเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ต่อเนื่องและย่ังยืน โดยการดาเนินงานภายใต้ 3 ยุทธศาสตรห์ ลักคือ 1. การรณรงคป์ ลกุ จติ สานกึ และสร้างกระแสนยิ มท่ีเอ้ือต่อการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพตดิ 2. การเสรมิ สร้างภมู ิคมุ้ กันทางจิตใจให้แก่เยาวชน 3. การสรา้ งและพัฒนาเครือข่ายเพ่ือการป้องกนั และแกป้ ัญหายาเสพติด ชุดวชิ า TO BE NUMBER ONE “เปน็ หน่งึ โดยไม่พึง่ ยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 81
เพื่อให้บรรลเุ ปา้ หมาย “วัยรุน่ และเยาวชนมีกระแสนิยม กำรเป็นหนึง่ โดยไม่พ่ึงยำเสพตดิ ตลอดจน วัยรุน่ และเยาวชนมีภูมิคมุ้ กนั ทางจติ ใจ สามารถดารงความเข้มแขง็ ในการต่อต้านยาเสพติดเพอื่ ปอ้ งกันปัญหา การแพร่ระบาดของยาเสพติด” มีแนวทางการดาเนินงานโดยการใช้วิธีบูรณาการความร่วมมือระหว่าง หนว่ ยงานที่เก่ียวข้อง ดังนี้ ระดับประเทศ ประกอบด้วยคณะกรรมการ 2 ชดุ ไดแ้ ก่ 1. คณะกรรมการอานวยการโครงการรณ รงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพ ติด ระดับประเทศโดยมีทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ทรงเป็นองค์ประธานคณะ กรรมการฯ และผู้บริหารจากหน่วยงานภาครัฐและเอกชนทั้งหน่วยงานหลักและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องเป็น กรรมการ ซงึ่ มอี านาจหน้าทีพ่ ิจารณาและให้ความเห็นชอบแผนงานโครงการ และกิจกรรมการรณรงค์ปอ้ งกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติด ควบคุมกากับและดาเนินกิจกรรมต่างๆ ตามแผนงานหรือโครงการน้ันๆ โดยมีอธิบดีกรม สุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข ทาหน้าท่ีเลขานุการคณะกรรมการอานวยการโครงการรณรงค์ป้องกันและ แก้ไขปญั หายาเสพตดิ 2. คณะอนุกรรมการบรู ณาการโครงการรณรงค์ป้องกันและแกไ้ ขปัญหายาเสพตดิ ประกอบด้วย อธิบดีกรมสุขภาพจติ เป็นประธาน และผ้แู ทนจากหน่วยงานหลักทเี่ กยี่ วข้องเปน็ คณะอนกุ รรมการ เพ่อื ประสานการดาเนินงานในระดบั ปฏบิ ัติให้เปน็ ไปตามนโยบายแผนงานและโครงการ ระดับพนื้ ที่ ในจังหวัด ภูมิภาค กระทรวงมหาดไทยได้ให้ความเห็นชอบจัดตั้งคณะกรรมการโครงการ TO BE NUMBER ONE ระดับจังหวดั เพื่อรว่ มกนั รณรงค์ปอ้ งกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดอยา่ งเข้มแข็งและ จริงจงั โดยผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเป็นเลขานุการประกอบด้วยผู้แทน จากหน่วยงานและเครือข่ายที่เก่ียวข้องภายในจังหวัดเป็นคณะกรรมการ มีหน้าที่รับผิดชอบดูแลโครงการทั้ง การจดั ทาแผนและงบประมาณเพอื่ สนบั สนนุ การดาเนนิ กจิ กรรม TO BE NUMBER ONE ของจังหวดั เรือ่ งที่ 3 ยุทธศำสตร์กำรดำเนนิ งำนโครงกำร TO BE NUMBER ONE โครงการ TO BE NUMBER ONE มยี ทุ ธศาสตร์ในการดาเนนิ งาน 3 ยุทธศาสตร์ ยุทธศำสตรท์ ่ี 1 การรณรงค์ปลกุ จติ สานึกสรา้ งกระแสนยิ มที่เอ้ือต่อการป้องกัน และแก้ไขปญั หา ยาเสพตดิ ยทุ ธศำสตร์ที่ 2 การเสรมิ สร้างภมู ิคมุ้ กันทางจิตใจให้แก่เยาวชน ยุทธศำสตรท์ ่ี 3 การสร้างและพัฒนาเครือข่ายการป้องกนั และแก้ไขปัญหายาเสพติด ชดุ วิชา TO BE NUMBER ONE “เป็นหนงึ่ โดยไม่พง่ึ ยาเสพติด” สค3300166 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย 82
ยุทธศำสตร์ TO BE NUMBER ONE ยทุ ธศำสตรท์ ี่ 1 การรณรงค์ปลูกจติ สานึก สร้างกระแสนิยมทเ่ี ออ้ื ต่อการป้องกันและแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ จากพระดารัสตอ่ ไปน้ี “บางครั้งการเกิดปัญหายาเสพติดมาจากหลายสาเหตุ จึงต้องสร้างค่านิยมใหม่ สร้างความม่ันใจให้ เขารู้สึกดีกับตัวเอง ให้เขาได้สนุก โดยพยายามหากิจกรรมต่างๆ มาใช้ เพราะสิ่งเหล่านี้ทาให้คนมีสังคม มี รา่ งกาย แข็งแรง มสี ุขภาพจิตดี และไม่ไปเกีย่ วขอ้ งกบั สิง่ เสพตดิ ” พระดำรสั ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรตั นรำชกัญญำ สริ วิ ัฒนำพรรณวดี วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อสรา้ งกระแสนิยมในกลุ่มเยาวชนไมย่ ุ่งเก่ยี วกับยาเสพติด 2. เพ่อื สนับสนุนใหเ้ ยาวชนและชมุ ชนไดจ้ ัดกิจกรรมสรา้ งสรรค์ โดยการสนบั สนุนของสงั คม 3. เพื่อสรา้ งความเขา้ ใจและยอมรบั ผมู้ ปี ญั หายาเสพตดิ และใหโ้ อกาสกลบั มาเป็นสว่ นหนึ่ง ของสังคม 4. เพื่อเผยแพร่ความรูเ้ กีย่ วกับการป้องกนั สารเสพติดในกลุ่มเยาวชนและประชาชนท่วั ไป วิธดี ำเนนิ กำร ชดุ วชิ า TO BE NUMBER ONE “เป็นหนงึ่ โดยไมพ่ ึ่งยาเสพติด” สค3300166 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย 83
ใช้การรณรงค์และประชาสัมพันธ์ผ่านส่ือและกิจกรรม โดยเฉพาะกิจกรรมด้านดนตรี กีฬา ศิลปะ และอนื่ ๆที่วยั รุ่นและเยาวชนชนื่ ชอบและให้ความสนใจ ท้ังน้เี พอื่ ให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายหลักซ่ึงเป็นวยั ร่นุ และ เยาวชนไดง้ ่าย กำรรณรงค์ โดยกำรประชำสัมพนั ธ์ผ่ำนสื่อ 1. สอ่ื วิทยุโทรทัศน์ เชน่ การจดั รายการวิทยุ ทอล์คทูบนี มั เบอรว์ ัน ทุกวนั พฤหัสบดี/ เสียงตามสายใน ชมุ ชน หมูบ่ า้ น 2. สื่อนิทรรศการ แผ่นพบั โปสเตอร์ ป้ายไวนลิ 3. ส่ือ VCD DVD และ VDO / TO BE NUMBER ONE E-BOOK ห้องสมดุ กศน.จังหวดั พงั งา 4. สอ่ื สญั ลกั ษณ์ ไดแ้ ก่ โลโก้ TO BE NUMBER ONE ของ กศน.จังหวดั พังงา และกศน.อาเภอ เข็ม TO BE NUMBER ONE นติ ยสาร TO BE NUMBER ONE นิตยสาร TO BE NUMBER ONE IDOL เพลง TO BE NUMBER ONE สายรัด ขอ้ มือ ฯลฯ 5. ผลิต และจาหน่ายผลติ ภณั ฑข์ องโครงการ เช่น นิตยสาร เสอื้ TO BE NUMBER ONE จงั หวดั พงั งา เป็นต้น กำรรณรงค์ โดยกำรจัดกิจกรรม 1. กิจกรรมรณรงค์เน่ืองในวันงดสูบบุหร่ีโลก จัดในวันที่ 31 พฤษภาคมของทุกปี กิจกรรม ประกอบด้วย - ทาปา้ ยคาขวญั วนั งดสูบบหุ รี่ - จัดบอร์ดรณรงค์ในหอ้ งเรียน - จัดรายการเสยี งตามสาย - ปา้ ยไวนลิ รณรงค์วนั งดสบู บหุ ร่ีโลก - การแสดงละครตา้ นภยั บุหร่ี - การประกวดจัดบอรด์ วนั งดสบู บุหรี่ - ประกวดเรยี งความยาเสพติด - ทาแผน่ พับแจกในโรงเรียน/ชุมชน ฯลฯ 2. กิจกรรมเน่ืองในวันต่อต้านยาเสพติดสากล จัดในวันที่ 26 มิถุนายนของทุกปี แนวทางในการจัด กิจกรรม มีลักษณะคล้ายกันกับวันรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด แนวทางปฏิบัติสามารถจัดกิจกรรมร่วมกัน ระหวา่ งแกนนาชมรม TO BE NUMBER ONE และคณะกรรมการนกั เรียน ชดุ วิชา TO BE NUMBER ONE “เปน็ หนง่ึ โดยไมพ่ ึง่ ยาเสพติด” สค3300166 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 84
3. การแขง่ ขนั กีฬาต้านภยั ยาเสพตดิ จดั ในช่วงเดือน มิถนุ ายน – กรกฎาคม ของทุกปี รูปแบบ กิจกรรม เดนิ รณรงค์ต่อต้านยาเสพติด แข่งขนั กีฬา ประกวดกองเชยี ร์และขบวนพาเหรด ประกวดเรยี งความ เพอ่ื ใหผ้ ูเ้ รียนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ หนั มาเล่นกฬี า ห่างไกลยาเสพติด 4. กระแส TO BE NUMBER ONE ผ่านสื่อ Social Network จัดต้ังกลุ่ม Line Facebook เพ่ือ สรา้ งกระแส/การสอ่ื สาร/การเผยแพรค่ วามเคลอื่ นไหวของชมรมสู่สมาชกิ และเครือข่าย 5. การทาเส้ือ TO BE NUMBER ONE ประจาชมรมของ กศน.แต่ละอาเภอ 6. บอร์ดประชาสัมพันธ์รเู้ ทา่ ทันปัญหายาเสพติด ของชมรมสาหรับเผยแพร่ความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง กบั ยาเสพตดิ หรอื อื่น ๆ 7. จดั การแขง่ ขนั TO BE NUMBER ONE ตอบปัญหายาเสพตดิ 8. การประชาสัมพันธ์โครงการ/การรับสมัครสมาชิก จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์โครงการ/ ประชาสัมพันธ์ชมรมและรับสมัครสมาชิกผ่านกิจกรรม เสียงตามสายโรงเรียน/ชุมชน ผ่านผู้บริหาร ผนู้ าชมุ ชน การใชข้ บวนรถแห่ ปา้ ยประชาสมั พนั ธ์ในชุมชน ตามบริบทของแตล่ ะชมรม 9. TO BE NUMBER ONE EXERCISE 10. การตรวจหาสารเสพติด กจิ กรรม Don’t do drug ดดู ี ชุดวชิ า TO BE NUMBER ONE “เปน็ หน่งึ โดยไมพ่ ึ่งยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 85
ยุทธศำสตร์ท่ี 2 การเสรมิ สร้างภูมิคมุ้ กันทางจิตใจให้แก่เยาวชน รปู แบบกำรดำเนินงำน 1. กำรจัดกจิ กรรมเสริมสรำ้ งภูมคิ มุ้ กันทำงจิตใจให้แก่เยำวชน วัตถปุ ระสงค์ 1.1 เพ่ือให้แกนนาเยาวชนสามารถเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจให้แก่เพื่อนเยาวชน ซึ่งจะช่วยป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพตดิ ในอนาคต 1.2 เพ่ือให้แกนนาเยาวชนสามารถจัดกิจกรรมพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ให้แก่เพ่ือน เยาวชน ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 1.3 เพ่ือให้แกนนาเยาวชนได้รับการเสริมสร้างทักษะในการช่วยเหลือเพ่ือนเยาวชนให้มี กาลงั ใจ ทเี่ ข้มแข็งสามารถดแู ลตัวเองให้ปลอดภัยจากยาเสพตดิ 1.4 เพ่อื พัฒนาศกั ยภาพและเสรมิ สรา้ งภูมคิ ุม้ กันทางจติ ใจให้แกส่ มาชิก TO BENUMBERONE กจิ กรรมทส่ี อดคล้องกบั ยุทธศำสตร์ เชน่ 1. พลงั TO BE จิตอาสา กศน.จังหวัดพังงา 2. กจิ กรรมคา่ ยยาเสพตดิ 3. การประชุมคณะกรรมการ TO BE NUMBER ONE 4. จัดกิจกรรมใหค้ วามรู้แกแ่ กนนา/คณะกรรมการ TO BE NUMBER ONE 5. กิจกรรม คณุ ธรรมจรยิ ธรรม “Kids Dee ธรรมดี” 6. เข้าคา่ ย TO BE NUMBER ONE CAMP 7. อบรมแกนนา TO BE NUMBER ONE กศน.ทกุ อาเภอ 2. กำรจัดต้ังศูนย์เพอ่ื นใจ TO BE NUMBER ONE (TO BE NUMBER ONE FRIEND CORNER) การต้ังจัดศูนย์เพ่ือนใจ TO BE NUMBER ONE เป็นกิจกรรมหนึ่งของชมรม TO BE NUMBER ONE ซ่ึงแกนนาอาสาสมัคร(เยาวชน) ประจาศูนย์จะเป็นผู้บริหารจัดการจัดกิจกรรมและให้บริการต่างๆ ภายใน ศนู ย์ เป็นกิจกรรมซ่ึงจัดบรกิ ารให้กับสมาชิก TO BE NUMBER ONE ท่ีเข้ามาในศูนย์เท่าน้ัน หากกิจกรรมใด กต็ ามทจ่ี ัดขึ้นนอกศูนย์ จะดาเนินการโดยชมรม TO BE NUMBER ONE ซ่งึ บริหารจัดการโดยคณะกรรมการ ชมรม (ดรู ายละเอียดในการจัดต้งั ศนู ย์เพ่ือนใจ TO BE NUMBER ONE) วตั ถปุ ระสงค์ ชดุ วิชา TO BE NUMBER ONE “เปน็ หน่ึงโดยไมพ่ ึ่งยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย 86
1. เพื่อให้เยาวชนท่มี ปี ัญหา หรอื ตอ้ งการความชว่ ยเหลอื ได้รับคาปรกึ ษาแนะนาทถี่ ูกต้องเหมาะสม จากผ้เู ชี่ยวชาญหรอื เพ่ือนอาสาสมคั รทผี่ า่ นการอบรม 2. เพอ่ื ใหเ้ ยาวชนได้รบั ประสบการณ์ และเพ่ิมพนู ทักษะจากการฝกึ แก้ปญั หาและพัฒนา EQ ทง้ั ด้วย ตนเองและจากกลุ่มเพอื่ นวยั เดียวกนั 3. เพือ่ ให้เยาวชนได้มโี อกาสใชเ้ วลาวา่ งให้เป็นประโยชน์ โดยเขา้ รว่ มกจิ กรรมท่ี สร้างสรรคแ์ ละ เสรมิ สร้างความสุขให้กบั ตนเอง ด้วยการฝึกทักษะดา้ นดนตรี กฬี า ศลิ ปะ ฯลฯ จากผ้เู ชยี่ วชาญ 4. เพื่อใหโ้ อกาสแก่เยาวชนได้มีสถานที่ท่ีเหมาะสมและเป็นทีย่ อมรบั จากทุกฝา่ ย ในการทากิจกรรมท่ี สนใจร่วมกัน 5. เพื่อให้เยาวชนกลุม่ หนึ่งที่มีความสามารถ เข้ารบั การอบรมเป็นอาสาสมัครให้ คาปรึกษาเพ่ือนชว่ ย เพ่ือน กำรดำเนนิ งำน โดยการจัดตัง้ ศูนยเ์ พื่อนใจ TO BE NUMBER ONE ใน กศน.ทุกตาบลทุกแห่ง ยุทธศำสตร์ท่ี 3 กำรสรำ้ งและพฒั นำเครือข่ำยเพื่อกำรป้องกันและแก้ไขปัญหำยำเสพตดิ วัตถุประสงค์ 1. เพอ่ื พัฒนาศักยภาพสมาชิกเครือขา่ ย TO BENUMBERONE ผปู้ ฏิบัตงิ านในโครงการ TO BENUMBER ONE และผู้เกี่ยวขอ้ งใหส้ ามารถดาเนินงานป้องกนั และแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ ภายใต้ โครงการ TO BE NUMBER ONE ได้อย่างเข้มแข็งและมปี ระสทิ ธิภาพ 2. เพอ่ื ผลิตและพัฒนาองค์ความรู้ในการป้องกนั และแก้ไขปัญหายาเสพตดิ ภายใต้โครงการ TO BE NUMBER ONE สาหรับเครือข่าย TO BE NUMBER ONE ท่ัวประเทศ 3. เพื่อใหส้ มาชกิ เครอื ขา่ ยTO BE NUMBER ONE ไดม้ โี อกาสแลกเปลยี่ นเรียนรู้ประสบการณ์ในการ ทางานซงึ่ กนั และกนั อันจะนาไปส่กู ารขยายผลและพฒั นาประสิทธภิ าพการป้องกันและแกไ้ ขปัญหา ยาเสพตดิ อย่างยั่งยืน 4. เพ่ือให้สมาชกิ เครือขา่ ย TO BE NUMBER ONE ท่วั ประเทศมีกาลังใจ มีความผกู พันพร้อมทีจ่ ะ ชว่ ยเหลอื กนั ร่วมแรงรว่ มใจกันทางานภายใตโ้ ครงการ TO BE NUMBER ONE อยา่ งจริงจังต่อเน่ือง ซงึ่ จะทาใหเ้ กิดเปน็ พลงั แผ่นดินอยา่ งแทจ้ รงิ กำรดำเนนิ งำน ชดุ วิชา TO BE NUMBER ONE “เป็นหน่งึ โดยไมพ่ ่ึงยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย 87
1. พฒั นาระบบการจดั เกบ็ และรายงานข้อมลู การดาเนนิ งานโครงการ TO BE NUMBER ONE ต่อคณะกรรมการอานวยการระดับจงั หวัด 2. พัฒนาชอ่ งทางการติดต่อส่ือสารระหว่างเครือข่ายสมาชกิ TO BE NUMBER ONE และ ผู้ปฏิบตั งิ านในโครงการ TO BE NUMBER ONE และผู้เกี่ยวข้อง ได้แก่ Fanpang facebook. TO BE NUMBER ONE กศน.จังหวดั พงั งา/ Line สมาชิก TO BE NUMBER ONE พงั งา/Line ผบู้ รหิ าร TO BE NUMBER ONE จงั หวดั พงั งา/Line TO BE NUMBER ONE กศน.พังงา 3. การศกึ ษาดูงานชมรม TO BE NUMBER ONE ตน้ แบบ 4. การจัดนิทรรศการแลกเปล่ียนเรยี นรู้รว่ มกับเครือข่าย 5. การแลกเปลีย่ นกจิ กรรมสร้างสรรค์ 6. เครอื ข่ายเขม้ แข็งด้วย Social 7. เข้ารว่ มกจิ กรรมการประกวด TO BE NUMBER ONE ระดับภาค/ระดับประเทศ 8. เปดิ โอกาสให้เยาวชนผู้ท่ถี ูกควบคมุ ความประพฤตดิ า้ นยาเสพติด เข้ามาทากิจกรรม/ศึกษาต่อ กับกศน. 9. สนบั สนนุ วทิ ยากร เงนิ ทนุ ในการอบรมให้ความรู้เรอ่ื งยาเสพตดิ แก่หนว่ ยงานเครอื ขา่ ย 10. สนบั สนุนการจัดตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE กศน.ทกุ ตาบล/อาเภอ หมำยเหตุ การจัดกิจกรรมแต่ละคร้ังอาจจัดอยู่ได้ในหลายยุทธศาสตร์ หรืออาจอยู่ในยุทธศาสตร์ที่ต่างกัน ในแต่ละครัง้ ทจี่ ดั ทงั้ นี้ขึน้ อยกู่ บั วตั ถปุ ระสงค์ในการจดั แตล่ ะครง้ั กจิ กรรมท้ำยเร่อื งที่ 1 แนวทำงกำรดำเนนิ งำนโครงกำร TO BE NUMBER ONE (ใหผ้ เู้ รยี นทำกิจกรรมทำ้ ยเรือ่ งที่ 1 สมุดบันทึกกิจกรรมกำรเรียนร้ปู ระกอบชดุ วิชำ) ชุดวชิ า TO BE NUMBER ONE “เปน็ หนึ่งโดยไมพ่ ึ่งยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย 88
หน่วยกำรเรยี นรู้ที่ 4 กำรจัดตง้ั ชมรม TO BE NUMBER ONE สำระสำคัญ TO BE NUMBER ONE เป็นโครงการท่ียึดวัยรุ่นเป็นศูนย์กลาง จึงดาเนินหลักในการดาเนินงาน ที่ส่งเสริมการแสดงความสามารถ กล้าคิด กล้าทา กล้าแสดงออก และช่วยสร้างเสริมความภาคภูมิใจให้แก่ เยาวชน เกิดเป็นความภูมิคุ้มกันทางจิตใจให้แก่เยาวชน ไม่เข้าไปยุ่งเก่ียวกับยาเสพติด ใช้สื่อดนตรี กีฬา ศิลปะในการเข้าถึงเยาวชน และกระตุ้นให้เข้ามารวมกลุ่มกันทากิจกรรมท่ีสนใจอย่างสร้างสรรค์เสริมสร้าง ความรู้และทักษะในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ซึ่งเป็นภูมิคุ้มกันท่ีสาคัญสาหรับเยาวชนให้ ปลอดภัยจากปัญหายาเสพติด หลักการ “เพ่ือนชว่ ยเพื่อน” เพราะวัยรุ่นเป็นวัยที่ “เพื่อน” มคี วามสาคญั มาก ดังนั้นโครงการ TO BE NUMBER ONE จึงเน้นไปที่ “การทาโดยเยาวชน เพ่ือเยาวชน” การทาโครงการ TO BE NUMBER ONE จะมีการจัดต้ังชมรม TO BE NUMBER ONE ตามองค์ประกอบ 3 ก ได้แก่ ก ที่ 1 คณะกรรมการ ก ท่ี 2 กองทุน และ ก ท่ี 3 กิจกรรม โดยการดาเนินงานภายใต้ 3 ยุทธศาสตร์หลัก ซึ่ง กิจกรรมทุกกิจกรรม เน้นการมีส่วนร่วม ของสมาชิกในชมรม แบ่งหน้าท่ีการทางานอย่างมีระบบ และมี ขัน้ ตอน ซงึ่ สามารถ เขา้ รว่ มการประกวดในระดบั ท่สี งู ขนึ้ ตัวชี้วัด 1. อธบิ ายความหมาย และความสาคัญของชมรม TO BE NUMBER ONE 2. อธบิ ายหลกั เกณฑก์ ารตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE ตามองคป์ ระกอบ 3 ก 3. อธิบายการมสี ่วนร่วมหรอื จัดตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE 4. อธบิ ายการดาเนนิ งานโครงการ TO BE NUMBER ONE และการส่งประกวด ขอบข่ำยเนื้อหำ เรอื่ งท่ี 1 ความหมาย และความสาคญั ของชมรม TO BE NUMBER ONE เร่อื งท่ี 2 หลักเกณฑก์ ารตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE ตามองคป์ ระกอบ 3 ก 2.1 ก ท่ี 1 คณะกรรมการ 2.2 ก ท่ี 2 กองทุน 2.3 ก ท่ี 3 กิจกรรม เรอ่ื งที่ 3 การมีส่วนร่วมหรอื จัดตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE เรอ่ื งท่ี 4 การดาเนินงานโครงการ TO BE NUMBER ONE และการส่งประกวด ชุดวิชา TO BE NUMBER ONE “เป็นหน่ึงโดยไมพ่ ่งึ ยาเสพตดิ ” สค3300166 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 89
4.1 ประเภทการประกวดผลในโครงการ TO BE NUMBER ONE 4.2 กาหนดการประกวดผลการดาเนินงานในโครงการ ชมรม TO BE NUMBER ONE 4.3 การนาเสนอ 4.4 การดาเนินงานประเภทตน้ แบบ การรกั ษามาตรฐาน 4.5 การลงประเมนิ ระดับพืน้ ท่ี 4.6 เกณฑ์การใหค้ ะแนน เวลำท่ีใช้ในกำรศกึ ษำ จานวน 6 ชั่วโมง ส่อื กำรเรียนรู้ 1. ชุดวชิ า TO BE NUMBER ONE เป็นหนงึ่ โดยไมพ่ ึง่ ยาเสพตดิ รหสั วชิ า สค3300166 2. สมุดบันทึกกจิ กรรมการเรยี นรู้ประกอบชดุ วชิ า 3. สอ่ื เสรมิ การเรยี นรอู้ ืน่ ๆ ชุดวชิ า TO BE NUMBER ONE “เปน็ หนงึ่ โดยไม่พึ่งยาเสพติด” สค3300166 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย 90
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210