Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ไฟฟ้ามาจากไหน

ไฟฟ้ามาจากไหน

Published by Patong. CLC., 2020-06-09 10:09:36

Description: ไฟฟ้ามาจากไหน ไฟฟ้าเดินทางอย่างไร ไฟฟ้ามาถึงบ้านเราด้วยวิธีการไหน

Search

Read the Text Version

SCIENCE ไ ฟ ฟ้ า น่ า รู้ ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ เรือ่ ง ไฟฟา้ นา่ รู้ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 วงจรไฟฟา้ สมหมาย จิตรแกว้

SCIENCE ไ ฟ ฟ้ า น่ า รู้ ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ เรือ่ ง ไฟฟา้ นา่ รู้ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 วงจรไฟฟา้ สมหมาย จิตรแกว้

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ เร่อื ง ไฟฟา้ นา่ รู้ คานา ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 วงจรไฟฟ้า เป็นชุดกิจกรรม การเรียนรู้ท่ีครูและนักเรียนใช้ร่วมกัน จัดทาขึ้นเพื่อประกอบแผนจัดการเรียนรู้ท่ี 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 ไฟฟ้าน่ารู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เร่ือง วงจรไฟฟ้า โดยใช้กระบวนการเรียนการสอนแบบ สืบเสาะหาความรู้ 7 ข้ันตอน (7E) เป็นชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน เป็นสาคัญ มุ่งเน้นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยให้นักเรียนได้คิด ได้เรียนรู้และลง มือปฏิบตั กิ ารทดลองดว้ ยตนเอง นอกจากน้ันยงั เน้นการเรยี นรู้โดยใชก้ ระบวนการกลุ่ม จะช่วยส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะกระบวนการทาง วทิ ยาศาสตร์และจิตวทิ ยาศาสตร์ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 8 เร่ือง ไฟฟ้าน่ารู้ มีท้ังหมด 6 ชุด ดงั น้ี ชุดที่ 1 วงจรไฟฟา้ ชุดที่ 2 ตวั นาและฉนวนไฟฟ้า ชดุ ที่ 3 การต่อเซลล์ไฟฟา้ ชุดท่ี 4 การตอ่ หลอดไฟฟา้ ชดุ ที่ 5 แมเ่ หล็กไฟฟ้า ชดุ ที่ 6 มหัศจรรย์ไฟฟ้ากบั สะเต็มศกึ ษา ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แต่ละชุดมีแผนการจัดการเรียนรู้เป็นคู่มือ ในการฝึกทักษะ ซึ่งสอดแทรกในการเรียนการสอน ผู้จัดทาหวังว่า ชุดกิจกรรม การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เร่ือง ไฟฟ้าน่ารู้ จะเป็นแนวทางหน่ึงในการจัดการเรียนรู้ ใหก้ ับผู้เรียนไดต้ ามเจตนารมณข์ องหลักสตู ร และเปน็ ประโยชนต์ ่อการจดั กระบวนการ เรยี นรู้ของครใู นกลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตรไ์ ดเ้ ป็นอย่างดี สมหมาย จติ รแกว้ ชุดที่ 1 วงจรไฟฟา้

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ เร่อื ง ไฟฟา้ นา่ รู้ สารบญั  คาชี้แจงการใชช้ ุดกิจกรรมการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ เร่ือง ไฟฟา้ นา่ รู้ 1  คาชีแ้ จงสาหรบั ครผู สู้ อน 2  คาชี้แจงสาหรบั นกั เรยี น 3  สาระการเรียนรู้ 4  แนวคิดหลกั 5  มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตวั ชวี้ ดั 6  จุดประสงค์การเรยี นรู้ 7  แบบทดสอบกอ่ นเรียน : ชุดที่ 1 วงจรไฟฟ้า 8  ใบกิจกรรมท่ี 1 : ไฟฟ้ามาจากไหน? 11  ใบกจิ กรรมท่ี 2 : ไฟฟ้านนั้ สาคัญอย่างไร 13  ใบความรู้ท่ี 1 : เรื่องของไฟฟ้า 15  ใบกิจกรรมท่ี 3 : สนุกกับการทดลอง : มาต่อวงจรไฟฟ้าอย่างงา่ ยกนั เถอะ 20 ใบความรทู้ ่ี 2 : วงจรไฟฟา้ 24 สมหมาย จิตรแกว้ ชดุ ท่ี 1 วงจรไฟฟา้

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เรอ่ื ง ไฟฟา้ นา่ รู้ สารบญั (ตอ่ )  ใบกจิ กรรมท่ี 4 ฝกึ สมองประลองความรู้ : ปรศิ นาหาเส้นทาง 28 29  ใบกจิ กรรมท่ี 5 : ฝึกสมองประลองความรู้ : ของใช้ใดมวี งจรไฟฟ้า 31  ใบกิจกรรมที่ 6 : วงจรอักษรไขว้ 32  ใบกิจกรรมท่ี 7 : สนกุ กบั การทดลอง : การต่อสวิตชใ์ นวงจรไฟฟา้ 36  ใบกิจกรรมท่ี 8 : ฝึกสมองประลองความรู้ : เปิด หรือ ปดิ 38  ใบกจิ กรรมท่ี 9 : นาไปใช้ ไดป้ ระโยชน์ : ตอ่ วงจรไฟฟา้ 39  แบบทดสอบหลงั เรียน : ชุดที่ 1 วงจรไฟฟา้ 42  แบบบนั ทึกคะแนนการทากจิ กรรม 43  บรรณานกุ รม  ภาคผนวก 45 65 เฉลยแบบทดสอบและแนวคาตอบการทากจิ กรรรม ประกาศโรงเรยี นวัดไตรสามคั คี 66 เรื่อง อนญุ าตใหใ้ ชช้ ุดกิจกรรมการเรยี นรู้ในสถานศึกษา ประวตั ิผู้จัดทา สมหมาย จิตรแก้ว ชดุ ท่ี 1 วงจรไฟฟา้

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ เร่ือง ไฟฟา้ นา่ รู้ คาชแี้ จง การใช้ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ เรือ่ ง ไฟฟ้าน่ารู้ กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 6 1. ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เร่ือง ไฟฟ้านา่ รู้ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ประกอบดว้ ยชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ทงั้ หมด 6 ชดุ ดังนี้ 1.1 ชดุ ท่ี 1 วงจรไฟฟ้า 1.2 ชดุ ที่ 2 ตัวนาและฉนวนไฟฟา้ 1.3 ชุดท่ี 3 การตอ่ เซลลไ์ ฟฟา้ 1.4 ชดุ ท่ี 4 การต่อหลอดไฟฟ้า 1.5 ชดุ ที่ 5 แมเ่ หล็กไฟฟ้า 1.6 ชุดที่ 6 มหัศจรรยไ์ ฟฟา้ กับสะเต็มศกึ ษา 2. ในชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เร่ือง ไฟฟ้าน่ารู้ แต่ละชุด ประกอบดว้ ยสว่ นประกอบตา่ ง ๆ ตามลาดบั ดังนี้ 2.1 คาชี้แจงการใชช้ ดุ กิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรอื่ ง ไฟฟ้านา่ รู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 6 2.2 คาช้ีแจงสาหรับครผู สู้ อน 2.3 คาชี้แจงสาหรับนกั เรียน 2.4 สาระการเรยี นรู้ 2.5 แนวคดิ หลัก 2.6 มาตรฐานการเรียนรู้ / ตวั ช้ีวดั 2.7 จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 2.8 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 2.9 ใบความรแู้ ละใบกิจกรรม 2.10 แบบทดสอบหลงั เรียน 2.11 บรรณานกุ รม 2.12 ภาคผนวก สมหมาย จิตรแกว้ ชุดที่ 1 วงจรไฟฟา้

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ เร่อื ง ไฟฟา้ นา่ รู้ คาชแ้ี จง สาหรบั ครผู สู้ อน 1. ชุดกจิ กรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ เรือ่ ง ไฟฟ้าน่ารู้ เลม่ นี้ คือ ชดุ กิจกรรม การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรอ่ื ง ไฟฟ้าน่ารู้ ชดุ ที่ 1 เรื่อง วงจรไฟฟ้า ใช้เป็นส่ือการเรียนรู้ ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1 เรอ่ื ง วงจรไฟฟา้ หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 8 ไฟฟา้ นา่ รู้ 2. ครูควรใช้ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เร่ือง ไฟฟ้าน่ารู้ ชุดนี้ ร่วมกบั คูม่ อื การจัดการเรียนร้โู ดยใช้ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ เร่ืองไฟฟ้าน่ารู้ กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ซึ่งได้กาหนดแนวทาง รวมทั้ง การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้รายชั่วโมงไวอ้ ยา่ งมลี าดับขน้ั ตอน 4. ครูควรศึกษาคาช้ีแจงในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เข้าใจก่อน จดั กจิ กรรม 5. ครูต้องชี้แจงขั้นตอนการเรียนโดยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักเรียนเข้าใจ ทกุ คนกอ่ นดาเนนิ กจิ กรรมตา่ งๆ 6. ก่อนและหลังให้นักเรียนศึกษาโดย ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เร่ือง ไฟฟ้าน่ารู้ ชุดที่ 1 เร่ือง วงจรไฟฟ้า ให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน และ แบบทดสอบหลงั เรียน จานวน 10 ข้อ 7. ครคู วรแนะนาเพิ่มเติมให้นักเรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมทั้งในและนอกเวลาเรียน จะทาให้ผ้เู รียนมีทักษะและความรคู้ วามเข้าใจมากย่งิ ขนึ้ สมหมาย จติ รแกว้ ชดุ ที่ 1 วงจรไฟฟา้

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เรอื่ ง ไฟฟา้ นา่ รู้ คาชแี้ จง สาหรบั นกั เรยี น 1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เร่ือง ไฟฟ้าน่ารู้ เล่มน้ี เป็นชุดกิจกรรม การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ไฟฟ้าน่ารู้ ชุดที่ 1 วงจรไฟฟ้า มีเน้ือหา และกิจกรรม เกี่ยวกับเรื่องของวงจรไฟฟา้ อย่างง่าย 2. ขน้ั ตอนการใช้ชุดกิจกรรม 2.1 ศกึ ษามาตรฐาน/ตัวชว้ี ัดและจดุ ประสงค์การเรียนรู้ 2.2 ทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น จานวน 10 ข้อ 2.3 ศึกษาใบความรู้และปฏบิ ัติกจิ กรรมในใบกจิ กรรม 1 - 9 ตามลาดบั 2.4 ทาแบบทดสอบหลงั เรียน จานวน 10 ขอ้ 3. นักเรียนศึกษาโดยใช้ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง ไฟฟ้าน่ารู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ด้วยความซ่ือสัตย์และ มีความรบั ผิดชอบ 4. นักเรียนให้ความร่วมมือในการจัดการเรียนรู้ การปฏิบัติงานกลุ่ม การแสดง ความคดิ เห็นด้วยความเต็มใจ 5. นักเรียนใช้และเก็บรักษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เร่ือง ไฟฟ้าน่ารู้ เลม่ นี้ดว้ ยความระมัดระวัง ไมท่ าสูญหาย เสยี หายในระหวา่ งการเรยี น สมหมาย จิตรแก้ว ชดุ ที่ 1 วงจรไฟฟา้

ชุดกิจกรรมการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เร่อื ง ไฟฟา้ นา่ รู้ สาระการเรยี นรู้ ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ เร่ือง ไฟฟา้ น่ารู้ ชดุ ท่ี 1 วงจรไฟฟ้า กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 มสี าระการเรียนรู้ ดงั น้ี กจิ กรรมท่ี 1 : ไฟฟา้ มาจากไหน กจิ กรรมที่ 2 : ไฟฟ้านน้ั สาคัญอย่างไร  ใบความร้ทู ่ี 1 : เรื่องของไฟฟ้า  กจิ กรรมท่ี 3 : สนุกกบั การทดลอง : มาต่อวงจรอย่างงา่ ยกันเถอะ  ใบความรทู้ ี่ 2 : วงจรไฟฟา้  กจิ กรรมที่ 4 : ฝกึ สมองประลองความรู้ : ปริศนาหาเส้นทาง  กิจกรรมท่ี 5 : ฝกึ สมองประลองความรู้ : ของใช้ใดมีวงจรไฟฟา้  กิจกรรมที่ 6 : วงจรอกั ษรไขว้  กจิ กรรมท่ี 7 : สนุกกบั การทดลอง : การต่อสวิตชใ์ นวงจรไฟฟา้  กจิ กรรมท่ี 9 : ฝกึ สมองประลองความรู้ : เปดิ หรอื ปิด  กจิ กรรมที่ 8 : นาไปใช้ ไดป้ ระโยชน์ : ต่อวงจรไฟฟา้ สมหมาย จติ รแกว้ ชุดที่ 1 วงจรไฟฟา้

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ เรอื่ ง ไฟฟา้ นา่ รู้ แนวคดิ หลกั วงจรไฟฟ้า เป็นการต่อสายไฟจากแหล่งกาเนิดเข้าเคร่ืองใช้ไฟฟ้าทาให้เกิด เส้นทางการไหลของกระแสไฟฟา้ วงจรไฟฟา้ อย่างง่าย ประกอบด้วย 1. แหล่งกาเนิดไฟฟ้า คอื แหลง่ จ่ายไฟฟา้ เชน่ ถา่ นไฟฉาย แบตเตอร่ี เป็นตน้ 2. ตัวนาไฟฟ้า คือ สายไฟฟ้าหรือสื่อท่ีจะเป็นตัวนาให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านไป ยงั เคร่ืองใช้ไฟฟา้ ซงึ่ ต่อระหวา่ งแหลง่ กาเนดิ กบั เครื่องใช้ไฟฟ้า 3. เครื่องใช้ไฟฟ้า คือ เคร่ืองใช้ท่ีสามารถเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงาน รปู อ่นื ได้ การต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่ายที่ถูกวิธี กระแสไฟฟ้าไหลครบวงจร เรียกว่า วงจรปิด ทาให้หลอดไฟฟ้าสว่าง แต่ถ้าต่อวงจรไฟฟ้าไม่ถูก วิธี กระแสไฟฟ้า ไหลไม่ครบวงจร เรียกวา่ วงจรเปิด หลอดไฟฟา้ จะไม่สว่าง สวิตช์ ทาหน้าท่ี เปิดและปิดวงจรไฟฟ้า ถ้าเปิดสวิตช์จะทาให้เป็นวงจรปิด และถ้าปิดสวิตชจ์ ะทาใหเ้ ปน็ วงจรเปิด สมหมาย จติ รแก้ว ชุดที่ 1 วงจรไฟฟา้

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เรอื่ ง ไฟฟา้ นา่ รู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตวั ชว้ี ดั สาระที่ 5 พลงั งาน มาตรฐาน ว 5.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้ พลังงานต่อชีวิตและ ส่ิงแวดล้อม มีกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ สอ่ื สารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ ไปใช้ประโยชน์ ตวั ชว้ี ดั ว. 5.1 ป.6/1 ทดลองและอธบิ ายทดลองและอธิบายการต่อวงจรไฟฟ้าอยา่ งง่าย สาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหา ความรู้การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้น ส่วนใหญ่มีรูปแบบท่ีแน่นอนสามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ ข้อมูลและเคร่ืองมือที่มีอยู่ในช่วงเวลาน้ัน ๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดลอ้ มมคี วามเกยี่ วขอ้ งสัมพันธ์กนั ตัวช้ีวัด ว 8.1 ป.6/1 ตั้งคาถามเกี่ยวกับประเด็น หรือเร่ือง หรือสถานการณ์ท่ีจะ ศึกษาตามทก่ี าหนดใหแ้ ละตามความสนใจ ว 8.1 ป.6/2 วางแผนการสังเกต เสนอการสารวจ ตรวจสอบ หรือศึกษา คน้ ควา้ และคาดการณ์สงิ่ ทจ่ี ะพบจากการสารวจตรวจสอบ ว 8.1 ป.6/3 เลือกอุปกรณ์ และวิธีการสารวจตรวจสอบที่ถูกต้องเหมาะสม ให้ไดผ้ ลท่ีครอบคลุมและเชอ่ื ถือได้ ว 8.1 ป.6/4 บันทกึ ข้อมูลในเชิงปริมาณและคุณภาพ วิเคราะห์ และตรวจสอบผล กับสงิ่ ท่ีคาดการณไ์ ว้ นาเสนอผลและข้อสรปุ ว 8.1 ป.6/5 สรา้ งคาถามใหม่เพือ่ การสารวจตรวจสอบตอ่ ไป ว 8.1 ป.6/6 แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ อธิบาย ลงความเห็นและสรุป สิ่งที่ได้เรยี นรู้ ว 8.1 ป.6/7 บันทึกและอธิบายผลการสารวจตรวจสอบตามความเป็นจริง มีเหตผุ ลและประจักษ์พยานอา้ งอิง ว 8.1 ป.6/8 นาเสนอ จัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจา และเขียนรายงานแสดง กระบวนการและผลของงานให้ผอู้ ่นื เข้าใจ สมหมาย จติ รแกว้ ชุดที่ 1 วงจรไฟฟา้

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ เรอื่ ง ไฟฟา้ นา่ รู้ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ด้านความรู้ (K) 1. ระบุได้วา่ อุปกรณ์ใดประกอบด้วยวงจรไฟฟา้ 2. ระบุแหล่งท่ีมาและความสาคญั ของไฟฟ้าได้ ​ 3. ระบุสว่ นประกอบของวงจรไฟฟ้าอยา่ งงา่ ย ​ 4. อธบิ ายการตอ่ วงจรไฟฟา้ อยา่ งง่ายได้ ​ 5. อธบิ ายลักษณะของวงจรปดิ และวงจรเปดิ ได้ ดา้ นกระบวนการ (P) 6. ทดลองและสรุปผลการต่อวงจรไฟฟ้าอยา่ งง่ายได้ 7. เขียนแผนภาพแสดงวงจรไฟฟ้าด้วยสญั ลกั ษณ์ทางไฟฟ้าได้ 8. ทดลองและสรุปผลการต่อสวิตช์ในวงจรไฟฟา้ ได้ 9. นาความรเู้ รอื่ งวงจรไฟฟ้าไปใช้ในชวี ติ ประจาวนั ดา้ นจติ พสิ ยั (A) 10. มีความซื่อสัตยส์ ุจริต ใฝเ่ รยี นรู้ มุ่งม่ันและมรี ะเบียบวินัยในการทางาน สมหมาย จติ รแกว้ ชดุ ท่ี 1 วงจรไฟฟา้

ชุดกิจกรรมการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ เรอ่ื ง ไฟฟา้ นา่ รู้ แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ชดุ ที่ 1 วงจรไฟฟา้ คาชี้แจง 1. แบบทดสอบน้ีเปน็ แบบทดสอบปรนยั 4 ตัวเลือก 2. แบบทดสอบนีม้ ที ้ังหมด 10 ข้อ 10 คะแนน เวลา 10 นาที 3. ให้ทาเครื่องหมายกากบาท (X) ลงชอ่ ง ก ข ค หรอื ง ลงในกระดาษคาตอบทเี่ หน็ ว่าถกู ต้องท่ีสดุ เพยี งคาตอบเดยี ว 1. ข้อใดเปน็ แหล่งท่มี าของไฟฟ้าทีใ่ ชใ้ นบ้านเรือนของนักเรยี นน้อยทสี่ ดุ ก. เขือ่ น ข. กังหนั ค. โรงไฟฟา้ ง. แบตเตอร่ี 2. กระแสไฟฟา้ ถูกสง่ จากแหลง่ ผลิตมาถึงบา้ นเรือนของผใู้ ชไ้ ดอ้ ย่างไร ก. กระแสไฟฟ้าถูกส่งใหไ้ หลไปตามสายไฟ ข. กระแสไฟฟา้ ถูกสง่ ให้ไหลไปตามอากาศ ค. กระแสไฟฟ้าถูกส่งให้ไหลไปตามเสาไฟฟ้า ง. กระแสไฟฟ้าถูกส่งให้ไหลไปตามกระแสนา้ 3. เครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้าชนดิ ใดเปลยี่ นพลังงานไฟฟา้ เป็นพลงั งานความรอ้ น ก. วทิ ยุ ข. โทรทัศน์ ค. หมอ้ หงุ ข้าว ง. เคร่ืองซักผา้ 4. อปุ กรณใ์ นขอ้ ใดไมม่ วี งจรไฟฟ้า ก. ข. ค. ง. สมหมาย จิตรแก้ว ชดุ ที่ 1 วงจรไฟฟา้

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ เรือ่ ง ไฟฟา้ นา่ รู้ 5. ข้อใดไมจ่ าเป็นต้องมใี นวงจรไฟฟ้าอยา่ งง่าย ก. แหล่งกาเนดิ ไฟฟา้ ข. ตัวนาไฟฟ้า ค. เครือ่ งใช้ไฟฟ้า ง. สวติ ช์ไฟ 6. ถ้านกั เรยี นต้องการให้หลอดไฟสวา่ งตอ้ งสรา้ งวงจรตามข้อใด ก. วงจรเปดิ ข. วงจรปดิ ค. วงจรลัด ง. ถกู ทงั้ ก และ ข 7. เราต่อสวติ ชไ์ ฟเขา้ ไปในวงจรเพ่อื จุดประสงคใ์ ด ก. ลดแรงดันไฟฟา้ ข. ช่วยลดการกินไฟฟ้า ค. เปิด-ปิดวงจรไฟฟ้า ง. เพ่มิ กระแสไฟฟ้าในวงจร 8. ถา้ นักเรียนต้องการให้หลอดไฟสวา่ งควรตอ่ อุปกรณ์ตามข้อใด ก. ข. ค. ง. 9. ไฟฟา้ ชอ็ ตเกดิ จากวงจรไฟฟา้ มีลกั ษณะอย่างไร ก. วงจรเปดิ ข. วงจรปิด ค. วงจรลัด ง. ไมม่ ขี อ้ ถูก 10. จากแผนภาพวงจรไฟฟ้า ประกอบด้วยอปุ กรณใ์ ดบา้ งและเปน็ วงจรประเภทใด ก. เซลลไ์ ฟฟา้ หลอดไฟ สายไฟ เป็นวงจรปดิ ข. เซลลไ์ ฟฟา้ หลอดไฟ สายไฟ เป็นวงจรเปิด ค. เซลลไ์ ฟฟา้ หลอดไฟ สายไฟ สวทิ ช์ไฟ เปน็ วงจรปิด ง. เซลลไ์ ฟฟา้ หลอดไฟ สายไฟ สวทิ ชไ์ ฟ เปน็ วงจรเปดิ สมหมาย จติ รแกว้ ชุดท่ี 1 วงจรไฟฟา้

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เร่อื ง ไฟฟา้ นา่ รู้ ทดสอบกอ่ นเรียน ชดุ ท่ี 1 วงจรไฟฟา้ ช่อื -สกุล ........................................................................ เลขท่ี ........ ขอ้ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 คะแนนเตม็ ................................ คะแนน คะแนนทไี่ ด้ ................................ คะแนน ................................ ผ้ตู รวจ ลงช่ือ สมหมาย จิตรแก้ว ชดุ ท่ี 1 วงจรไฟฟา้

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ เรื่อง ไฟฟา้ นา่ รู้ ใบกจิ กรรมที่ 1 จดุ ประสงค์ 1. ระบแุ หลง่ ท่ีมาและความสาคญั ของไฟฟา้ ได้ (K) 2. มีความซ่อื สตั ย์สจุ รติ ใฝ่เรียนรู้ มงุ่ ม่ันและมีระเบยี บวินัยในการทางาน (A) ตอนท่ี 1 : จงระบชุ ่ือแหลง่ กาเนิดไฟฟ้าจากภาพตอ่ ไปนี้ สมหมาย จติ รแก้ว ชุดที่ 1 วงจรไฟฟา้

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เรือ่ ง ไฟฟา้ นา่ รู้ ตอนที่ 2 : จากภาพทก่ี าหนด จงเขียนแผนผงั แสดงการส่งกระแสไฟฟา้ มายงั ครัวเรอื น หมอ้ แปลง เสาไฟฟ้า โรงไฟฟา้ บ้าน เครื่องใช้ไฟฟา้ ภาพแสดงการส่งกระแสไฟฟา้ มายังครัวเรือน สมหมาย จิตรแกว้ ชดุ ท่ี 1 วงจรไฟฟา้

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เรอื่ ง ไฟฟา้ นา่ รู้ ใบกิจกรรมท่ี 2 จุดประสงค์ 1. ระบุแหล่งท่มี าและความสาคญั ของไฟฟา้ ได้ (K) 2. มีความซ่อื สตั ย์สจุ รติ ใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ มนั่ และมรี ะเบียบวินัยในการทางาน (A) ตอนท่ี 1 : สารวจการใช้ไฟฟ้าในกิจวัตรประจาวันของนักเรียน เกี่ยวข้องกับไฟฟ้า อย่างไรบ้าง กิจกรรมประจาวนั การใชไ้ ฟฟา้ / อปุ กรณท์ ใี่ ชไ้ ฟฟา้ อาบนา้ แตง่ ตวั กนิ ข้าว เรยี นหนงั สอื ทาการบา้ น กิจกรรมยามว่าง / พักผ่อน ถ้าไม่มีไฟฟ้าใช้ จะเกิดผลกระทบกบั นักเรยี นอย่างไรบ้าง สมหมาย จิตรแกว้ ชดุ ท่ี 1 วงจรไฟฟา้

ชุดกิจกรรมการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เร่อื ง ไฟฟา้ นา่ รู้ ตอนที่ 2 : เขียนผลกระทบท่ีเกิดขึ้นกับนักเรียน หากไม่มีไฟฟ้าใช้ในการ ทากิจวัตรประจาวนั ต่อไปน้ี กจิ กรรมประจาวนั ผลกระทบทเี่ กดิ ขน้ึ อาบน้า แต่งตัว กินขา้ ว เรียนหนังสอื ทาการบ้าน กจิ กรรมยามว่าง / พกั ผ่อน สมหมาย จติ รแกว้ ชดุ ที่ 1 วงจรไฟฟา้

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เร่ือง ไฟฟา้ นา่ รู้ ใบความรูท้ ี่ 1 ไฟฟา้ คืออะไร ไฟฟ้า คือ การเคล่ือนท่ีของอิเล็กตรอนบนผิวของตัวนา ซ่ึงตัวอิเล็กตรอน จะถูกผลักด้วยสนามแม่เหล็กให้เคล่ือนท่ีหลุดออกมาจากวงโคจรของอะตอมของโลหะ เช่น ทองแดงอย่างต่อเนื่อง เมื่อเอาตัวนาที่มีอิเล็กตรอนไหลผ่านมาต่อให้ครบวงจรจะมี กระแสไฟฟา้ เกดิ ขน้ึ ไฟฟ้าเป็นพลังงานรูปหน่ึง ซ่ึงนับได้ว่าเป็นพลังงานท่ีถูกนามาใช้เพ่ือประโยชน์ ของมนุษย์ชาติมากกว่าพลังงานรูปอ่ืนๆ ทั้งนี้เน่ืองจากพลังงานไฟฟ้าน้ันมีความสะดวก ในการใช้งานมากกว่าพลังงานรูปอ่ืนน่ันเอง เป็นต้นว่าสามารถส่งไปตามสายไฟได้ ซ่ึงพลังงานรูปอ่ืนทาไม่ได้ โดยสามารถแปลงเป็นพลังงานรูปอื่นได้ง่าย เช่น แปลงเป็น พลังงานกลโดยใช้มอเตอร์ แปลงเป็นพลังงานเสียงโดยใช้ลาโพง แปลงเป็นพลังงานความ ร้อนโดยใช้ลวดความร้อน แปลงเป็นพลงั งานแสงโดยใช้หลอดไฟฟ้า และแปลงเป็นพลังงาน แมเ่ หลก็ โดยใชข้ ดลวดนอกจากน้ีเรายังแปลงพลงั งานรูปอื่นมาเปน็ พลังงานไฟฟ้าได้โดยง่าย ด้วยเหตุน้ีเองจึงนิยมแปลงพลังงานรูปอื่นมาเป็นพลังงานไฟฟ้าก่อนท่ีจะนาไปใช้งานใน รูปแบบต่างๆ ต่อไป สมหมาย จติ รแกว้ ชดุ ที่ 1 วงจรไฟฟา้

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ เรื่อง ไฟฟา้ นา่ รู้ แหล่งทมี่ าของไฟฟา้ ในบา้ น โรงงานผลติ ไฟฟ้า ผลิตกระแสไฟฟ้าโดยใช้เชื้อเพลิงที่มีอยู่ตาม ธรรมชาติ เช่น ถ่านหิน ก๊าซและน้ามันใน โรงงานผลิตไฟฟ้า โดยใช้หลักการท่ีว่า เม่ือ เช้ือเพลงิ ถูกเผาไหมจ้ ะมคี วามรอ้ นเกดิ ขึ้น ความ ร้อนนี้จะถกู นาไปตม้ นา้ จนเดือด เกิดไอน้าทม่ี ี แรงดันมหาศาลท่ีสามารถหมุนเครื่องกาเนิด ไฟฟา้ (ไดนาโม)ได้ จนเกิดเปน็ กระแสไฟฟ้าในที่สุด แบตเตอร่ี แบตเตอร่ี เป็นแหล่งกาเนิดไฟฟ้าท่ีอาศัยหลักการเปล่ียนแปลง พลังงานเคมีให้เป็นพลังงานไฟฟ้า ประกอบด้วยเซลล์ไฟฟ้า ต้ังแต่ 2 เซลล์ ขึ้นไป ซ่ึงจะประกอบด้วยอุปกรณ์พ้ืนฐาน 4 ส่วน ได้แก่ ข้ัวบวก ขัว้ ลบ อเิ ล็กโทรไลต์ และ ตวั ข้ันเซลล์ เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าที่มีประโยชน์มาก เครื่องใช้ไฟฟ้าขนาดเล็กหลายอย่าง ของเล่นหลาย ชนิดจาเป็นต้องใช้พลังงานเพ่ือให้มันทางานหรือเคล่ือนท่ี ซึ่งถูกออกแบบให้ใช้พลังงาน จากถา่ นไฟฉาย แมแ้ ตย่ านพาหนะหลายชนิดก็ใชพ้ ลังงานจากไฟฟา้ เช่นกนั เช่น รถไฟฟ้า รถยนต์ท่ีออกแบบมาให้เป็นรถพลังไฟฟ้าสามารถใช้ไฟฟ้า ในการเคลื่อนท่ีแทนการใช้ น้ามัน เปน็ ตน้ สมหมาย จติ รแก้ว ชุดที่ 1 วงจรไฟฟา้

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ เรือ่ ง ไฟฟา้ นา่ รู้ กงั หนั ผลติ ไฟฟ้า เมื่อมีลมพัดผ่านใบกงั หนั พลงั งาน จลนท์ ี่เกดิ จากลมจะ ทาใหใ้ บพดั ของกงั หนั เกิดการหมนุ และได้เปน็ พลงั งานกลออกมา พลังงานกลจากแกนหมุนของกงั หันลมจะถกู เปลยี่ นรปู ไปเป็นพลังงานไฟฟ้า โดยเครือ่ ง กาเนดิ ไฟฟ้าทีเ่ ช่อื มต่ออยูก่ ับแกนหมุนของ กังหนั ลม จ่ายกระแสไฟฟ้าผ่านระบบ ควบคุมไฟฟา้ และจา่ ยกระแสไฟฟ้าเขา้ สู่ ที่มาhttp://www.student.chula.ac.th/~56370490/page5.html ระบบต่อไป เขื่อน ท่มี า http://egat2.kapook.com/zone1.php http://www.soccersuck.com/boards/topic/1424695 หลักการกาเนิดไฟฟ้าของเข่ือน คือ ใช้แรงดันน้าที่ปล่อยลงมาจากเขื่อนไป หมุนกังหัน พลังงานกลจากแกนหมุนของกังหันจะถูกเปล่ียนรูปไปเป็นพลังงานไฟฟ้า โดยเคร่ืองกาเนิดไฟฟ้าที่เชื่อมต่ออยู่กับแกนหมุนของกังหันกระแสไฟฟ้า ผ่านระบบ ควบคมุ ไฟฟา้ และจา่ ยกระแสไฟฟา้ เข้าสรู่ ะบบเช่นกนั สมหมาย จิตรแก้ว ชุดท่ี 1 วงจรไฟฟา้

ชุดกิจกรรมการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เรอ่ื ง ไฟฟา้ นา่ รู้ ไฟฟ้าสาคญั อย่างไร ไฟฟา้ เป็นปัจจัยสาคญั ปัจจัยหน่งึ ทใ่ี ชก้ ารพฒั นาประเทศในดา้ นตา่ ง ๆ มากมาย เช่น การสอ่ื สาร การคมนาคม การให้ความรู้ การศึกษา ในการดารงชีวติ ประจาวนั เรานาไฟฟา้ มามนุษยน์ ามาใช้ประโยชนห์ ลายอย่าง ผา่ นอปุ กรณ์ เครือ่ งใช้ไฟฟ้า หลากหลายรปู แบบ เคร่ืองใชไ้ ฟฟา้ เปน็ เครื่องอานวยความ สะดวกท่สี ามารถเปลีย่ นรปู พลงั งานไฟฟา้ เป็น พลงั งานรูปอนื่ เช่น พลังงานแสง ได้แก่ หลอดไฟฟา้ พลงั งานความร้อน ไดแ้ ก่ เตารีด ไฟฟ้า หม้อหุงข้าวไฟฟ้า พลงั งานกล ไดแ้ ก่ พัดลม เครอื่ งซักผา้ เป็นตน้ เครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละชนิดจะต่อเข้ากับแหล่งกาเนิดไฟฟ้า โดยมีสายไฟเป็นทางผ่าน ของกระแสไฟฟา้ จากแหลง่ กาเนดิ ไฟฟ้ามายงั เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้า เรยี กวา่ วงจรไฟฟา้ ซ่ึงวงจรไฟฟ้าในบ้านนอกจากจะมีเครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดต่างๆ แล้วยังต้องมีอุปกรณ์ท่ี จาเปน็ อื่นๆ อกี เช่น สายไฟ ฟิวส์ สวิตช์ เตา้ รบั -เตา้ เสยี บ สมหมาย จติ รแกว้ ชุดที่ 1 วงจรไฟฟา้

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ เรอ่ื ง ไฟฟา้ นา่ รู้ การเดนิ ทางของไฟฟ้า ไฟฟ้า จากแหล่งผลิตไฟฟ้าจะไหลตามสายไฟไปยังบ้านเรือนและสถานท่ีต่าง ๆ ท่ีบ้านเรือนจึงต้องมีสวิตซ์หรือปลั๊กไฟเพื่อเป็นจุดเชื่อมต่อกระแสไฟฟ้าจากสายไฟไปยัง หลอดไฟและเคร่ืองใช้ไฟฟ้าในบ้าน เม่ือเรากดสวิทซ์หรือเสียบปล๊ักก็เหมือนเป็นการเปิด ประตูให้ไฟฟา้ เข้ามาทาให้เครอ่ื งใช้ไฟฟา้ มีพลงั งานเพือ่ ทางานน่ันเอง หม้อแปลง สายไฟฟา้ โรงไฟฟ้า บา้ น เครอื่ งใช้ไฟฟา้ ภาพแสดงการส่งกระแสไฟฟ้ามายงั ครัวเรือน สมหมาย จิตรแก้ว ชดุ ท่ี 1 วงจรไฟฟา้

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ เรอ่ื ง ไฟฟา้ นา่ รู้ ใบกิจกรรมที่ 3 จดุ ประสงค์ 1. ระบุส่วนประกอบของวงจรไฟฟา้ อย่างง่าย (K) 2. อธบิ ายการต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่ายได้ (K) 3. ทดลองและสรุปผลการตอ่ วงจรไฟฟา้ อย่างงา่ ยได้ (P) 4. มคี วามซอ่ื สตั ย์สุจรติ ใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ มั่นและมีระเบยี บวนิ ัยในการทางาน (A) การทดลองเร่อื ง : วงจรไฟฟา้ อยา่ งงา่ ย ปัญหา : สมมตฐิ าน : เตรียมอปุ กรณ์ : อปุ กรณ์ท่ีตอ้ งใช้ มีดงั น้ี 1 ถ่านไฟฉาย 1 ก้อน 2 สายไฟ 3 หลอดไฟ สมหมาย จติ รแก้ว ชุดที่ 1 วงจรไฟฟา้

ชุดกิจกรรมการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เร่อื ง ไฟฟา้ นา่ รู้ ขน้ั ตอน / วธิ ีทา : ทาการทดลองตามข้นั ตอนต่อไปนี้ 1 แบ่งกล่มุ นักเรียน กล่มุ ละ 4 - 5 คน 2 นาสายไฟเส้นที่ 1 ตอ่ เข้ากบั ขั้วบวกของ ถา่ นไฟฉาย 3 นาปลายสายไฟเส้นท่ี 1 อกี ด้านหนง่ึ ตอ่ เขา้ กับขัว้ หลอด 4 นาสายไฟเสน้ ท่ี 2 ต่อเขา้ กบั ข้ัวลบของ ถา่ นไฟฉาย สงั เกตผลทเ่ี กิดขึ้น 5 นาปลายสายไฟเส้นท่ี 2 อกี ดา้ นหนง่ึ ต่อ กับขั้วหลอด สังเกตผลท่ีเกิดข้ึน 6 ปลดสายไฟออกหน่งึ เส้น สังเกตผลที่เกดิ ขน้ึ 7 ทดลองตอ่ หลอดไฟกับถา่ นไฟฉาย ตามรูปแบบในแบบบันทกึ กจิ กรรมการ ทดลอง สงั เกตผลทเ่ี กิดข้ึน บันทึกผล การทดลอง ขอ้ ควรระวงั !!! 1. ห้าม! นาอปุ กรณ์ทีใ่ ชใ้ นการทดลองไปใชก้ ับไฟฟา้ ในบ้าน 2. ห้าม! เล่น หรอื ทาการทดลองด้วยตนเองโดยไมม่ คี ณุ ครหู รอื ผปู้ กครองแนะนา 3. ขณะทาการทดลอง ต้องใชอ้ ุปกรณต์ ่าง ๆ ด้วยความระมัดระวัง สมหมาย จิตรแก้ว ชุดท่ี 1 วงจรไฟฟา้

ชุดกิจกรรมการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เร่ือง ไฟฟา้ นา่ รู้ แบบบนั ทกึ กจิ กรรมการทดลอง : บนั ทกึ การทดลอง : ผลจากการทดลอง การตอ่ วงจรไฟฟา้ อย่างงา่ ย เป็นดังน้ี (ทาเครือ่ งหมาย  ลงใน ตามผลการทดลองท่ีเกดิ ข้นึ ) การทดลอง ความสวา่ งของหลอดไฟ สว่าง ไมส่ วา่ ง ชดุ ที่ 1 วงจรไฟฟา้

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เรื่อง ไฟฟา้ นา่ รู้ สรปุ ผลการทดลอง : สรปุ ผลการทดลองไดด้ งั นี้ ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… คาถามหลังกจิ กรรม : 1.อุปกรณใ์ ดทาหน้าที่เปน็ แหลง่ กาเนดิ ไฟฟา้ ตอบ ............................................................................................... 2.อปุ กรณใ์ ดเป็นเส้นทางใหก้ ระแสไฟฟา้ ไหลผ่านไปยังหลอดไฟ ตอบ ............................................................................................... 3.ถ้าต้องการใหห้ ลอดไฟสวา่ งตอ้ งตอ่ อุปกรณ์ตา่ งๆอย่างไร ตอบ ............................................................................................... 4.เมือ่ ต่อถา่ นไฟฉาย สายไฟ และหลอดไฟ เรยี งกนั ตามลาดบั ทาให้เกดิ เสน้ ทางเดนิ ของกระแสไฟฟา้ เรยี กเส้นทางเดนิ ของกระแสไฟฟ้านว้ี า่ อย่างไร ตอบ ............................................................................................... 5.วงจรไฟฟา้ อย่างงา่ ยตอ้ งประกอบดว้ ยอุปกรณ์ใดบา้ ง ตอบ ............................................................................................... ............................................................................................... สมหมาย จติ รแก้ว ชดุ ที่ 1 วงจรไฟฟา้

ชุดกิจกรรมการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เรื่อง ไฟฟา้ นา่ รู้ ใบความรทู้ ่ี 2 วงจรไฟฟ้า เป็นการนาเอาสายไฟฟ้าหรือตัวนาไฟฟ้าที่เป็นเส้นทางเดินให้ กระแสไฟฟ้าสามารถไหลผ่านต่อถึงกันได้นั้นเราเรียกว่า วงจรไฟฟ้า การเคลื่อนที่ของ อเิ ลก็ ตรอนที่อยูภ่ ายในวงจรจะเริ่มจากแหลง่ จ่ายไฟไปยงั อุปกรณ์ไฟฟ้า วงจรไฟฟา้ ประกอบดว้ ยสว่ นทส่ี าคญั 3 ส่วน คอื 1. แหลง่ กาเนดิ ไฟฟ้า หมายถึง แหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้า ไปยังวงจรไฟฟา้ เช่น แบตเตอรี่ 2. ตัวนาไฟฟ้า หมายถึง สายไฟฟ้าหรือส่ือที่จะเป็น ตัวนาให้กระแสไฟฟ้า ไหลผ่าน ไปยังเครื่องใช้ไฟฟ้าซึ่งต่อระหว่าง แหลง่ กาเนดิ กับเคร่ืองใช้ไฟฟา้ 3. เคร่ืองใช้ไฟฟา้ หมายถึง เครื่องใช้ท่ีสามารถ เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นพลังงาน รูปอ่ืน ซ่ึงจะเรียกอีกอย่างหน่ึงว่า โหลด สมหมาย จิตรแก้ว ชุดที่ 1 วงจรไฟฟา้

ชุดกิจกรรมการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เร่ือง ไฟฟา้ นา่ รู้ วงจรปดิ วงจรปดิ คือ วงจรไฟฟ้าที่กระแสไฟฟา้ ไหลได้ครบวงจร ทาให้โหลดหรอื เครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้าทตี่ อ่ อยู่ในวงจรนนั้ ๆ ทางาน วงจรเปดิ วงจรเปิด คือ วงจรไฟฟ้าท่ีกระแสไฟฟ้าไม่สามารถไหลได้ครบวงจร ซ่ึงเป็นผล ทาให้เครื่องใช้ไฟฟ้าท่ีต่ออยู่ในวงจรไม่สามารถจ่ายพลังงาน ออกมาได้ สาเหตุของวงจรเปิด อาจเกิดจากสายหลุด สายขาด สายหลวม สวิตซ์ไม่ต่อวงจร หรือเคร่ืองใช้ไฟฟ้าชารุด เป็นตน้ สมหมาย จิตรแกว้ ชดุ ท่ี 1 วงจรไฟฟา้

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เร่ือง ไฟฟา้ นา่ รู้ วงจรไฟฟา้ ในบ้าน ภายในบ้านของเราก็มีการต่อวงจรไฟฟ้าด้วยเช่นกันเราจึงสามารถใช้งาน เครื่องใช้ไฟฟ้าต่าง ๆ ได้ โดยการนาเต้าเสียบของเครื่องใช้ไฟฟ้าต่อเข้ากับเต้ารับ และ เปิดสวิตช์เคร่ืองใช้ไฟฟ้า เกิดวงจรไฟฟ้าท่ีมีไฟฟ้าไหลผ่านทาให้เคร่ืองใช้ไฟฟ้าทางานได้ สวติ ช์ สวิตช์ไฟฟ้าใช้ในการเปิด-ปิดอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ โดยใช้หลักการท่ีสวิตช์เปิด หรือปดิ หน้าสัมผสั ซึ่งคล้ายกับสะพานท่เี ชอื่ มให้กระแสสามารถไหลได้ในวงจรไฟฟ้า เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ตัดต่อวงจรไฟฟ้า ทาให้เกิดความปลอดภัยกับผู้ใช้ไฟฟ้า ถ้าเปน็ ชนิดทอ่ี อกแบบโดยใช้ความร้อนและแม่เหล็กควบคุม เม่ือเกิดการลัดวงจรหรือการ ใช้กระแสไฟฟา้ มากเกนิ ไปในวงจร ก็สามารถทจี่ ะตัดวงจรไฟฟา้ ได้ สวิตซ์ สมหมาย จิตรแก้ว เต้ารบั - เตา้ เสยี บ ชุดท่ี 1 วงจรไฟฟา้

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ เรอ่ื ง ไฟฟา้ นา่ รู้ สัญลักษณแ์ ทนอปุ กรณไ์ ฟฟา้ วงจรไฟฟ้า ประกอบไปดว้ ยอุปกรณไ์ ฟฟ้า ซึ่งสามารถเขยี นสญั ลกั ษณ์แทนได้ ดังน้ี อปุ กรณไ์ ฟฟา้ สญั ลักษณ์ ความหมาย ถ่านไฟฉายหรือเซลลไ์ ฟฟ้า หลอดไฟฟ้า สายไฟ สวิตช์ ออดไฟฟา้ สมหมาย จิตรแก้ว ชดุ ท่ี 1 วงจรไฟฟา้

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เรื่อง ไฟฟา้ นา่ รู้ ใบกิจกรรมที่ 4 จุดประสงค์ 1. นักเรียนสามารถระบสุ ่วนประกอบของวงจรไฟฟ้าอยา่ งงา่ ย (K) 2. นักเรียนสามารถอธิบายการตอ่ วงจรไฟฟ้าอย่างง่ายได้ (K) 3. นักเรยี นสามารถอธบิ ายลกั ษณะของวงจรปดิ และวงจรเปิดได้ (K) คาชีแ้ จง ขีดเส้น ระบุเสน้ ทางการเดินทางของไฟฟา้ ไปยงั หลอดไฟให้ครบวงจร สมหมาย จติ รแกว้ ชุดท่ี 1 วงจรไฟฟา้

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เรือ่ ง ไฟฟา้ นา่ รู้ ใบกิจกรรมท่ี 5 จดุ ประสงค์ 1. ระบุไดว้ า่ อุปกรณใ์ ดประกอบดว้ ยวงจรไฟฟา้ (K) 2. ระบุส่วนประกอบของวงจรไฟฟา้ อย่างง่าย ​(K) ตอนที่ 1 : ให้ขีดเครอื่ ง ลงในชอ่ ง  หน้าภาพที่เป็นเครอื่ งใช้ไฟฟา้ สมหมาย จติ รแกว้ ชดุ ที่ 1 วงจรไฟฟา้

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เรอ่ื ง ไฟฟา้ นา่ รู้ ตอ น ท่ี 2 : วา ดภาพ วงจร ไฟฟ้า ท่ี ปร ะก อบ ด้ว ย หล อด ไฟ ส ายไ ฟ และถ่านไฟฉาย ดงั ต่อไปน้ี สมหมาย จิตรแก้ว ชดุ ท่ี 1 วงจรไฟฟา้

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เรอื่ ง ไฟฟา้ นา่ รู้ ใบกิจกรรมท่ี 6 จดุ ประสงค์ 1. ระบุส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย (K) คาชแ้ี จง เติมคาในชอ่ งวา่ งตามความหมายท่ีกาหนดให้ 1 แนวตงั้ 4 1. ตัวนากระแสไฟฟา้ ให้ไหลผ่าน ไปยงั อปุ กรณ์ไฟฟา้ 2 3 2. อปุ กรณ์ทใี่ ช้ไฟฟ้าเพอ่ื ทาใหเ้ กิด 2 แสงสวา่ ง 3. วงจรท่ีกระแสไฟฟ้าไหลไดค้ รบ วงจร ทาให้เครื่องใช้ไฟฟา้ ท่ตี อ่ อยสู่ ามารถจ่ายพลังงาน ได้ 3 4. แหล่งพลงั งานไฟฟ้าขนาดเล็ก ท่ใี ชก้ ับอปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ พกพา 4 แนวนอน 1. อุปกรณท์ ที่ าหนา้ ทค่ี วบคมุ การไหลของกระแสไฟฟ้าภายในวงจร หรือ อุปกรณเ์ ปดิ ปิดกระแสไฟฟา้ ภายในวงจรไฟฟ้า 2. พลังงานรปู หนึ่งที่เกิดจากการเคลอ่ื นท่ขี องอิเลก็ ตรอนบนผิวของตวั นา 3. วงจรทก่ี ระแสไฟฟ้าไมส่ ามารถไหลไดค้ รบวงจร ทาให้เคร่ืองใชไ้ ฟฟา้ ทตี่ อ่ อยูไ่ ม่สามารถ จา่ ยพลังงานออกมา ได้ 4. อปุ กรณ์ท่ีทาหน้าทจ่ี ดั เกบ็ พลังงานเพอื่ ไวใ้ ช้ต่อไป สมหมาย จิตรแกว้ ชดุ ท่ี 1 วงจรไฟฟา้

ชุดกิจกรรมการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เร่ือง ไฟฟา้ นา่ รู้ ใบกจิ กรรมที่ 7 จดุ ประสงค์ 1. ทดลองและสรุปผลการต่อสวิตช์ในวงจรไฟฟ้าได้ (P) 2. มีความซอ่ื สตั ยส์ ุจริต ใฝเ่ รยี นรู้ มุ่งม่ันและมีระเบยี บวนิ ยั ในการทางาน (A) การทดลองเร่อื ง : การตอ่ สวติ ชใ์ นวงจรไฟฟา้ ปญั หา : สมมตฐิ าน : เตรยี มอปุ กรณ์ : อปุ กรณ์ที่ต้องใช้ มีดงั น้ี 1 ถ่านไฟฉาย 1 ก้อน 2 สายไฟ 3 หลอดไฟ 4 สวติ ช์ไฟ สมหมาย จติ รแก้ว ชดุ ที่ 1 วงจรไฟฟา้

ชุดกิจกรรมการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ เรอื่ ง ไฟฟา้ นา่ รู้ ข้ันตอน / วธิ ที า : ทาการทดลองตามข้นั ตอนตอ่ ไปนี้ 1 แบง่ กลมุ่ นักเรยี น กล่มุ ละ 4 - 5 คน 2 นาสายไฟเส้นท่ี 1 ตอ่ เข้ากับขั้วบวกของ ถา่ นไฟฉาย 3 นาปลายสายไฟอกี ด้านหน่ึง ของเส้นที่ 1 ตอ่ เขา้ ด้านหน่งึ ของหลอดไฟ 4 นาสายเส้นที่ 2 ตอ่ เข้ากับขว้ั ลบของถ่านไฟฉาย 5 นาปลายสายไฟเสน้ ที่ 2 อกี ดา้ นหนึ่งตอ่ กับ ขวั้ ของสวิตชไ์ ฟ 6 นาสายไฟเส้นที่ 3 ต่อเขา้ กบั อกี ข้วั หนึง่ ของ สวิตชไ์ ฟ 7 เปิด-ปดิ สวติ ช์แล้วสังเกตความสว่างของ หลอดไฟ บนั ทกึ ผลในแบบบนั ทกึ กจิ กรรม การทดลอง สมหมาย จติ รแกว้ ชุดท่ี 1 วงจรไฟฟา้

ชุดกิจกรรมการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ เรือ่ ง ไฟฟา้ นา่ รู้ แบบบนั ทกึ กจิ กรรมการทดลอง : บันทกึ การทดลอง : ผลจากการทดลอง การต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย เป็นดังน้ี (ทาเครือ่ งหมาย  ลงใน ตามผลการทดลองที่เกดิ ข้นึ ) การทดลอง ความสวา่ งของหลอดไฟ สวา่ ง ไม่สวา่ ง ปดิ สวติ ช์ไฟ เปิด สวติ ชไ์ ฟ สมหมาย จติ รแก้ว ชุดท่ี 1 วงจรไฟฟา้

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เรื่อง ไฟฟา้ นา่ รู้ สรุปผลการทดลอง : สรปุ ผลการทดลองไดด้ งั น้ี ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… คาถามหลงั กิจกรรม : 1.จากการทดลองในวงจรไฟฟา้ ประกอบด้วยอุปกรณใ์ ดบา้ ง ตอบ ............................................................................................... 2.เมื่อเปดิ -ปดิ สวติ ช์ไฟ หลอดไฟฟา้ มีการเปล่ียนแปลงอย่างไร ตอบ ............................................................................................... 3.ลกั ษณะของวงจรไฟฟ้าแตกต่างกันอยา่ งไรเมื่อเปดิ และปิดสวิตช์ ตอบ ............................................................................................... 4.สวติ ชท์ าหนา้ ท่ีอย่างไรในวงจร ตอบ ............................................................................................... สมหมาย จิตรแก้ว ชดุ ท่ี 1 วงจรไฟฟา้

ชุดกิจกรรมการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เร่อื ง ไฟฟา้ นา่ รู้ ใบกิจกรรมที่ 8 จุดประสงค์ 1. อธิบายลักษณะของวงจรปิดและวงจรเปดิ ได้ (K) 2. เขยี นแผนภาพแสดงวงจรไฟฟา้ ด้วยสญั ลักษณท์ างไฟฟา้ ได้ (P) 3. มีความซื่อสตั ย์สจุ รติ ใฝเ่ รยี นรู้ มงุ่ ม่ันและมีระเบยี บวนิ ัยในการทางาน (A) ตอนท่ี 1 : ทาเครอ่ื งหมาย ใน หนา้ ภาพท่แี สดงถึงลักษณะของวงจรไฟฟา้ วงจรปดิ สมหมาย จิตรแกว้ ชุดที่ 1 วงจรไฟฟา้

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เรอ่ื ง ไฟฟา้ นา่ รู้ ตอนท่ี 2 : ใช้สญั ลักษณท์ กี่ าหนดเขียนแผนภาพแสดงวงจรไฟฟา้ ต่อไฟนี้ พรอ้ มระบลุ ักษณะของวงจร และความสวา่ งของหลอดไฟ วงจรไฟฟ้า สัญลกั ษณ์ วงจรเปดิ หรือ ปิด สว่าง / ไม่สวา่ ง ปดิ สวิตช์ ชุดท่ี 1 วงจรไฟฟา้ เปิด สวิตช์ สมหมาย จิตรแกว้

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เรื่อง ไฟฟา้ นา่ รู้ ใบกจิ กรรมที่ 9 จุดประสงค์ 1. นาความรเู้ ร่ืองวงจรไฟฟา้ ไปใช้ในชวี ิตประจาวนั ได้ (P) ตอนที่ 1 : วาดภาพวงจรไฟฟ้าท่ีประกอบด้วย มอเตอร์ สายไฟและถ่านไฟฉาย ดงั ตอ่ ไปน้ี ตอนท่ี 2 : เขียนแผนภาพสัญลักษณ์ วงจรไฟฟ้าของออดไฟฟ้า โดยใช้สวิตช์ควบคุม ไดอ้ ย่างไร สมหมาย จติ รแก้ว ชุดท่ี 1 วงจรไฟฟา้

ชุดกิจกรรมการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เรือ่ ง ไฟฟา้ นา่ รู้ แบบทดสอบหลังเรยี น ชุดท่ี 1 วงจรไฟฟา้ คาช้ีแจง 1. แบบทดสอบนีเ้ ปน็ แบบทดสอบปรนัย 4 ตัวเลือก 2. แบบทดสอบนม้ี ีท้งั หมด 10 ขอ้ 10 คะแนน เวลา 10 นาที 3. ใหท้ าเครือ่ งหมายกากบาท (X) ลงช่อง ก ข ค หรอื ง ลงในกระดาษคาตอบทเ่ี ห็นว่าถูกต้องทส่ี ุดเพียงคาตอบเดยี ว 1. กระแสไฟฟ้าถูกสง่ จากแหล่งผลติ มาถงึ บา้ นเรอื นของผ้ใู ช้ไดอ้ ยา่ งไร ก. กระแสไฟฟา้ ถกู สง่ ให้ไหลไปตามสายไฟ ข. กระแสไฟฟา้ ถกู ส่งใหไ้ หลไปตามอากาศ ค. กระแสไฟฟา้ ถกู สง่ ใหไ้ หลไปตามเสาไฟฟ้า ง. กระแสไฟฟ้าถูกสง่ ให้ไหลไปตามกระแสนา้ 2. ข้อใดเปน็ แหล่งท่ีมาของไฟฟ้าที่ใช้ในบา้ นเรอื นของนักเรียนน้อยที่สดุ ก. เข่ือน ข. กังหนั ค. โรงไฟฟ้า ง. แบตเตอร่ี 3. เคร่อื งใชไ้ ฟฟา้ ชนดิ ใดเปล่ยี นพลังงานไฟฟา้ เป็นพลังงานความรอ้ น ก. วทิ ยุ ข. โทรทศั น์ ค. หม้อหุงขา้ ว ง. เครอ่ื งซกั ผา้ 4. อปุ กรณ์ในขอ้ ใดไมม่ ีวงจรไฟฟา้ ก. ข. ค. ง. สมหมาย จิตรแกว้ ชดุ ท่ี 1 วงจรไฟฟา้

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ เรื่อง ไฟฟา้ นา่ รู้ 5. ขอ้ ใดไมจ่ าเปน็ ต้องมใี นวงจรไฟฟ้าอยา่ งง่าย ก. แหล่งกาเนิดไฟฟ้า ข. ตัวนาไฟฟ้า ค. เคร่อื งใชไ้ ฟฟา้ ง. สวิตชไ์ ฟ 6. ไฟฟ้าชอ็ ตเกดิ จากวงจรไฟฟา้ มีลกั ษณะอยา่ งไร ก. วงจรเปดิ ข. วงจรปิด ค. วงจรลดั ง. ไม่มีขอ้ ถกู 7. เราตอ่ สวติ ชไ์ ฟเข้าไปในวงจรเพือ่ จดุ ประสงคใ์ ด ก. ลดแรงดนั ไฟฟา้ ข. ช่วยลดการกนิ ไฟฟา้ ค. เปิด-ปิดวงจรไฟฟ้า ง. เพ่มิ กระแสไฟฟา้ ในวงจร 8. ถา้ นักเรยี นตอ้ งการให้หลอดไฟสวา่ งควรต่ออุปกรณ์ตามข้อใด ก. ข. ค. ง. 9. ถ้านักเรยี นตอ้ งการใหห้ ลอดไฟสวา่ งต้องสร้างวงจรตามข้อใด ก. วงจรเปดิ ข. วงจรปิด ค. วงจรลัด ง. ถูกทั้ง ก และ ข 10. จากแผนภาพวงจรไฟฟ้า ประกอบดว้ ยอุปกรณใ์ ดบ้างและเป็นวงจรประเภทใด ก. เซลล์ไฟฟ้า หลอดไฟ สายไฟ เปน็ วงจรปิด ข. เซลล์ไฟฟ้า หลอดไฟ สายไฟ เปน็ วงจรเปิด ค. เซลล์ไฟฟ้า หลอดไฟ สายไฟ สวิทช์ไฟ เปน็ วงจรปิด ง. เซลล์ไฟฟ้า หลอดไฟ สายไฟ สวิทช์ไฟ เป็นวงจรเปิด สมหมาย จติ รแก้ว ชุดท่ี 1 วงจรไฟฟา้

ชุดกิจกรรมการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เรือ่ ง ไฟฟา้ นา่ รู้ ทดสอบหลงั เรียน ชดุ ที่ 1 วงจรไฟฟา้ ชอื่ -สกุล ........................................................................ เลขท่ี ........ ขอ้ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 คะแนนเตม็ ................................ คะแนน คะแนนทไ่ี ด้ ................................ คะแนน ................................ ผู้ตรวจ ลงชือ่ สมหมาย จติ รแก้ว ชุดท่ี 1 วงจรไฟฟา้

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ เรอื่ ง ไฟฟา้ นา่ รู้ แบบบนั ทกึ คะแนนการทากิจกรรม กจิ กรรม คะแนนเตม็ คะแนนทไี่ ด้ ร้อยละ ทดสอบกอ่ นเรียน กจิ กรรมท่ี 1 กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมท่ี 3 กจิ กรรมท่ี 4 กจิ กรรมท่ี 5 กิจกรรมท่ี 6 กจิ กรรมท่ี 7 กจิ กรรมท่ี 8 กจิ กรรมท่ี 9 ทดสอบหลงั เรียน บันทึกหลังการทาชุดกิจกรรม ............................................................................................................................. ....... ............................................................................................................................. ....... .................................................................................................................................... สิ่งทต่ี อ้ งปรบั ปรงุ แกไ้ ข / พัฒนาตนเอง ............................................................................................................................. ....... .................................................................................................................................... ขอ้ คดิ เหน็ / ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................. ....... .................................................................................................................................... สมหมาย จิตรแก้ว ชดุ ที่ 1 วงจรไฟฟา้

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เรอ่ื ง ไฟฟา้ นา่ รู้ บรรณานกุ รม กรมวิชาการ. (2546). การจัดสาระการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลกั สตู รการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2544. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพค์ ุรสุ ภาลาดพร้าว. กระทรวงศึกษาธิการ. ( 2546). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และทแี่ กไ้ ขเพม่ิ เตมิ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ.2545 พรอ้ มกฎกระทรวงท่เี ก่ยี วข้อง และ พระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ.2545. กรุงเทพฯ : สานักงาน คณะกรรมการกฤษฎีกา. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนอนุบาลเชียงใหม่. ( ม . ป . ป . ) . ว ง จ ร ไ ฟ ฟ้ า . [ อ อ น ไ ล น์ ] . เ ข้ า ถึ ง ไ ด้ จ า ก : http://webhtml.horhook.com/wbi/ec/1circuit-02.htm (วันทีค่ น้ ขอ้ มลู : 25 มนี าคม 2556). ชาตรี เกิดธรรม. (2542). การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ท่ีเน้นนักเรียนเป็น ศูนย์กลาง. กรุงเทพฯ : เซ็นเตอร์ดสิ คพั เวอ นคร มีแก้ว. (ม.ป.ป.). คู่มือเตรียมสอบรู้วิทยาศาสตร์ ป.6. กรุงเทพมหานคร : ภมู บิ ณั ฑติ ย์การพมิ พ์. บุญเก้ือ ควรหาเวช. (2543). นวัตกรรมการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : หจก.เอส อาร์ พริน้ ตง้ิ . บุญธรรม ภัทราจารุกุล. (ม.ป.ป.). สวิตช์ไฟฟ้า. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://web.ku.ac.th/schoolnet/snet7/elec2.htm. ( วั น ที่ ค้ น ข้อมูล : 30 มนี าคม 2556). ประสาท เนืองเฉลิม. (2550, ตุลาคม-ธันวาคม). การเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบ สืบเสาะ 7 ขั้น.วารสารวชิ าการ. 10(4) : 25-30. สมหมาย จติ รแกว้ ชดุ ที่ 1 วงจรไฟฟา้

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เร่ือง ไฟฟา้ นา่ รู้ รัตนา ใจซื่อสมบูรณ์. (2548). เสริมสาระการเรียนรู้พ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ป.6. กรุงเทพมหานคร :เดอะบคุ๊ ส์. วีระ อินศรี. (2553). แบบประเมินผลตามตัวช้ีวัดวิทยาศาสตร์ 6.กรุงเทพมหานคร: ฟิสกิ สเ์ ซนเตอร์. ศิริรัตน์ วงศ์ศิริและคณะ. (2551). เอกสารประกอบคู่มือครู กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 6. กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทศั น์ อจท. จากัด. สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2555). หนังสือเรียนรายวิชา พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6. กรุงเทพมหานคร : สกสค. ลาดพรา้ ว. สมศักด์ิ ปญั ญาแกว้ . (ม.ป.ป.). วงจรไฟฟ้า. ฟิสิกสร์ าชมงคล. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้ จาก :http://www.rmutphysics.com/charud/scibook/electric4 /topweek8.htm. (วนั ที่คน้ ข้อมลู 25 มีนาคม 2556). สุกิจ ศรีพรหม. (2541). ชุดการสอนกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน. วารสารวิชาการ, 41(8), 70. สุนทร โคตรบรรเทา. (2549). สารานุกรมวิทยาศาสตร์ของคิงฟิชเชอร์: ไฟฟ้าและ อเิ ล็กทรอนิกส์. เดอะมาสเตอรก์ รปุ๊ แมเนจเมนท์. กรงุ เทพมหานคร. TruePlookpanya คลังความรู้ออนไลน์ท่ีใหญ่ท่ีสุดของประเทศไทย. (2556). แผนการสอน หน่วยการเรียนรู้ท่ี 5 พลังงาน. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.trueplookpanya.com/true/lesson_plan_detail.php ?lesson_plan_id=1533. (วันทคี่ น้ ขอ้ มลู 25 มนี าคม 2556). สมหมาย จติ รแก้ว ชดุ ที่ 1 วงจรไฟฟา้

ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ เรอื่ ง ไฟฟา้ นา่ รู้ ภาคผนวก เฉลยแบบทดสอบ และ แนวการตอบใบกจิ กรรม สมหมาย จิตรแก้ว ชุดท่ี 1 วงจรไฟฟา้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook