Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นำเสนอครูผู้ช่วยครั้งที่2-22-08-64

นำเสนอครูผู้ช่วยครั้งที่2-22-08-64

Description: นำเสนอครูผู้ช่วยครั้งที่2-22-08-64

Search

Read the Text Version

ON-AIR-2 วนั จนั ทร์ ที่ ๒๓ เดอื นสงิ หาคม พุทธศักราช ๒๕๖๔ การประเมินการเตรียมความพร้อม และพัฒนาอย่างเข้ม ตาแหนง่ ครผู ูช้ ว่ ย ครั้งท่ี ๒ นายเอกลกั ษณ์ แซ่ดา่ น ตาแหน่งครผู ชู้ ว่ ย วิชาเอกคอมพวิ เตอร์ โรงเรยี นนครศรีธรรมราชปัญญานุกูล จังหวัดนครศรธี รรมราช สานกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

ยินดตี ้อนรบั ทา่ นคณะกรรมการ การประเมินการเตรียมความพร้อม และพัฒนาอยา่ งเขม้ ตาแหน่งครผู ู้ชว่ ย ครงั้ ท่ี ๒ นางจิรวรรณ จนั ทรด์ ี นางสาวเพียงใจ หงษท์ อง นายสุพล บุญธรรม ครูชานาญการพเิ ศษ ผู้อานวยการ อดีตผูอ้ านวยการ โรงเรียนนครศรีธรรมราชปญั ญานุกลู โรงเรียนนครศรีธรรมราชปญั ญานุกลู ศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ เขตการศึกษา ๔ จงั หวดั ตรัง จังหวัดนครศรีธรรมราช ครพู ี่เล้ียง จังหวัดนครศรีธรรมราช ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ ด้วยคปวระธาานกมรรมกยาร ินดีย่ิง

ขอ้ มูลสว่ นตวั ชอ่ื -สกลุ : นายเอกลกั ษณ์ แซด่ า่ น เกดิ วันที่ : ๖ ก.พ. ๒๕๒๙ อายุ : ๓๕ ปี สญั ชาติ/เชอ้ื ชาติ : ไทย ศาสนา : พทุ ธ ตาแหน่งหนา้ ทใ่ี นปจั จุบัน : ตาแหนง่ ครูผู้ชว่ ย เลขทต่ี าแหนง่ ๑๑๘๑๐๕ ไดร้ ับเงนิ เดอื น ๑๕,๘๐๐ บาท สถานศึกษา : โรงเรยี นนครศรีธรรมราชปัญญานกุ ลู จงั หวัดนครศรธี รรมราช สงั กดั : สานักบริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ ต้ังอยู่เลขท่ี : ๑๔๗ ม.๘ ต.หนองหงส์ อ.ทุ่งสง จ.นครศรธี รรมราช ๘๐๑๑๐ โทรศัพท/์ โทรสาร : ๐๗๕-๓๐๒๑๙๘

ประวัติการศกึ ษา ปที ่จี บ ประถมศึกษา มัธยมศึกษา อนุปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาตรี ประกาศนยี บตั รบณั ฑติ ๒๕๔๒ ๒๕๔๘ ๒๕๕๐ ๒๕๕๒ ๒๕๕๔ การศกึ ษา โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะห์ โรงเรยี นศึกษาสงเคราะห์ วิทยาลยั เทคนคิ สรุ าษฎร์ธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏสรุ าษฎรธ์ านี มหาวิทยาลยั ราชภฏั สุราษฎรธ์ านี สุราษฎร์ธานี สุราษฎรธ์ านี

ประวัตกิ ารทางาน โรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะห์สรุ าษฎร์ธานี ปี โรงเรียนศึกษาสงเคราะหส์ ุราษฎร์ธานี สอนชน้ั ม.๕ ๒๕๕๘ สอนชน้ั ป.๖ ม.๒ ม.๔ ม.๕ วชิ า เทคโนโลยสี ารสนเทศ วิชาภาษาไทย ปี วชิ า ภาษาไทย ปี ปจั จบุ นั วชิ าประวตั ศิ าสตร์ วิชา การเขียน 1 ๒๕๖๓ วิชา การออกแบบและเทคโนโลยี โรงเรยี นนครศรธี รรมราชปญั ญานุกลู ๒๕๕๒ จังหวัดนครศรธี รรมราช สอนชั้น ม.๒/๒ โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์สรุ าษฎร์ธานี ปี โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะหส์ รุ าษฎรธ์ านี ปี วชิ า ทักษะวิชาการ(คณิตศาสตร์) สอนชั้น ป.๖ ม.๒ ม.๔ ม.๕ ๒๕๕๕ สอนชน้ั ป.๖ ม.๒ ม.๔ ม.๕ ๒๕๖๒ วชิ า ทักษะวชิ าการ(เทคโนโลยี) วิชา เทคโนโลยสี ารสนเทศ วชิ า เทคโนโลยีสารสนเทศ วชิ า ทักษะอาชีพเพม่ิ เติม วชิ า ภาษาไทย วิชา ภาษาไทย วิชา ทักษะภาษาและการสอ่ื สาร วิชา การเขยี น ๑,๒ วิชา การเขียน ๑,๒ วชิ าทกั ษะสงั คมและการดารงชวี ิต วิชา การออกแบบและเทคโนโลยี กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน ชมุ นุม ลูกเสือ แนะแนว และเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน์

ภาระหนา้ ทก่ี ารสอน ภาคเรียนท่ี ๑/๒๕๖๔ ท่ี รายวิชาทีส่ อน รหัสวิชา ระดับช้ัน จานวนชว่ั โมง ๑ ทักษะภาษาและการสื่อสาร 3 ทภ22101 ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๒/๒ ๔ ๒ ทักษะวิชาการ 3 (คณิตศาสตร)์ ทว22101 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๒/๒ ๒ ๓ ทักษะวิชาการ 3 (เทคโนโลย)ี ทว22101 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๒/๒ ๑ ๔ ทกั ษะสังคมและการดารงชีวิต 3 ทส22101 ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๒/๒ ๔ ๕ ทักษะอาชีพ เพมิ่ เติม 3 (ผเี สื้อแฟนตาซี) ทอ22277 ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ ๒/๒ ๓ ๖ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น ลกู เสอื ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๒/๒ ๑ ๗ กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน แนะแนว - ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๒/๒ ๑ ๘ กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน เพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ - ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ ๒/๒ ๑ ๙ กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน - ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ ๒/๒ ๓ ๑๐ PLC - กลมุ่ PLC ๒ - ๒๒ รวม

งานพเิ ศษทีไ่ ด้รบั ๑. ครปู ระจาชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๒/๒ ๒. ประจาหอนอนชายชมพูพันธ์ทิพย์ (หอนอนชายเล็ก) ๓. ผู้ชว่ ยงานประกันคณุ ภาพ ๔. ผู้ช่วยงานกิจกรรมงานส่อื -นวตั กรรม ๖. ครูเวรประจาวนั เวรชุดท่ี ๖ ๗. งานอน่ื ๆที่ได้รบั มอบหมาย

องคป์ ระกอบท่ี ๑ ด้านการปฏบิ ัตติ น...

๑.วินยั และการรักษาวนิ ัย โรงเรยี นนครศรธี รรมราชปัญญานุกูล จงั หวดั นครศรีธรรมราช สานกั บริหารงานการศึกษาพิเศษ

๑. วินัยและการรกั ษาวินยั ๑.๑ การแสดงออกทางอารมณ์ กิริยา ทา่ ทางและพดู สื่อสารไดเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะต่อผเู้ รยี น ข้าพเจา้ แสดงออกทงั้ ทาง กาย วาจา และอารมณ์ อย่างเหมาะสมกบั กาลเทศะ เพ่ือเปน็ แบบอยา่ งทด่ี ใี นการ ปฏิบตั ิตนขน้ั ต้นกบั ผู้เรยี น ท้งั ในหอ้ งเรียนและนอก หอ้ งเรยี น

๑. วินัยและการรักษาวนิ ัย ๑.๒ การแสดงออกทางอารมณ์ กิรยิ าท่าทางและพดู สอ่ื สารไดเ้ หมาะสมกับกาลเทศะต่อ ผ้บู งั คับบญั ชา เพื่อนร่วมงาน ผ้ปู กครอง และบคุ คลอ่นื ข้าพเจา้ แสดงออกท้ังทาง อารมณ์ กิรยิ าทา่ ทาง และ การพูดสอื่ สารได้เหมาะสม กับกาลเทศะตอ่ ผบู้ งั คบั บัญชา เพ่ือนรว่ มงาน ผู้ปกครอง และบุคคลอนื่ ๆ โดยปฏบิ ตั ิตนอย่างมสี มั มา คารวะ ออ่ นนอ้ มถอ่ มตน

๑. วนิ ัยและการรกั ษาวนิ ัย ๑.๓ มเี จตคตเิ ชงิ บวกกบั ประเทศชาติ ขา้ พเจา้ ปฏิบตั ิตนเปน็ ผ้มู ี คุณธรรม จริยธรรมเพ่อื การเป็นครทู ดี่ ีประกอบดว้ ย คณุ งามความดี มีจิตสานกึ ในการเทดิ ทนู สถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ เข้าร่วมกจิ กรรมสมา่ เสมอ

๑. วินัยและการรกั ษาวนิ ัย ๑.๔ การปฏิบตั ิตามกฎ ระเบียบ หลักเกณฑท์ ีเ่ กย่ี วขอ้ งกบั ความเปน็ ขา้ ราชการ - ขา้ พเจา้ รกั ษาวนิ ยั ในการเปน็ ข้าราชการทด่ี ที ง้ั ใน และนอก เวลาราชการ - ขา้ พเจา้ ไมข่ าดราชการ และ มาปฏบิ ตั หิ นา้ ทดี่ ว้ ยความเตม็ ใจตามวนั เวลาราชการอยา่ ง สม่าเสมอ รวมทง้ั สละเวลา นอกเวลาราชการ เพื่อรักษา ผลประโยชนข์ องทางราชการ

๑. วินยั และการรักษาวนิ ยั ๑.๕ การปฏบิ ัตติ ามกฎ ระเบียบ หลักเกณฑท์ ีเ่ กย่ี วขอ้ งกบั ความเป็นข้าราชการครู - ขา้ พเจา้ รกั ษาวนิ ัยทเี่ ปน็ ขอ้ หา้ ม และขอ้ ปฏบิ ตั ิอยา่ งเครง่ ครดั อยู่ เสมอโดยศกึ ษาพระราชบญั ญตั ิ ระเบยี บขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากร ทางการศกึ ษาเพอ่ื เตอื นตนมใิ ห้ กระทาความผดิ ทางวนิ ัยราชการ - ข้าพเจา้ เขา้ สอนตรงเวลา เอาใจใส่ นกั เรยี น มีความมงุ่ มน่ั ในการสอน และปฏิบตั หิ นา้ ที่ดว้ ยความเตม็ ใจ เพ่อื พฒั นาการศกึ ษาต่อไป

๑. วินัยและการรักษาวนิ ยั ๑.๖ การปฏิบัติตามกฎหมาย ขา้ พเจา้ ปฏบิ ตั ติ นตามกฎหมาย อย่างเครง่ ครดั ปลกุ จติ สานกึ ภายในใจตนเอง และหม่ัน เตือนสตติ นเองให้ปฏบิ ตั ิตามกฎ กฎหมายอย่างสมา่ เสมอ ปฏบิ ตั ิ ตนเปน็ พลเมอื งดตี ามวถิ ี ประชาธปิ ไตย โดยย่ืน ภาษีบคุ คลไดธ้ รรมดา ออนไลน์ ประจาปี 2563 ภ.ง.ด.90/91 และย่นื ชาระภาษรี ถประจาปี

๒.คุณธรรม จรยิ ธรรม โรงเรยี นนครศรธี รรมราชปัญญานกุ ูล จังหวดั นครศรธี รรมราช สานักบรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ

๒. คุณธรรม จริยธรรม ๒.๑ การปฏิบตั ติ นตามหลกั ศาสนาที่นบั ถอื อยา่ งเครง่ ครัด ขา้ พเจา้ ปฏบิ ตั ิตนเปน็ ผู้มี คณุ ธรรมจรยิ ธรรม เพ่ือการ เป็นครทู ป่ี ระกอบไปดว้ ยคณุ งามความดี ยดึ หลักพรหม วิหาร 4 ในการสอน ขอ้ ที่ 1 มีเมตตา ข้อที่ 2 มคี วามกรณุ า ข้อที่ 3 มมี ทุ ติ าจติ ข้อท่ี 4 มีอเุ บกขา

๒. คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ๒.๒ การเข้าร่วม ส่งเสริม สนับสนุน ศาสนกิจของศาสนาทน่ี ับถอื อยา่ งสม่าเสมอ ข้าพเจา้ ดารงตนตามหลักธรรม ทางพระพุทธศาสนา เขา้ ร่วมและปฏบิ ตั ติ ามกจิ กรรม ทางศาสนาขนบธรรมเนยี ม ประเพณี ตลอดจนคา่ นยิ ม ของสังคมอยเู่ สมอ อาทิ เข้ารว่ ม กจิ กรรมวนั สาคญั ทางศาสนา สนับสนนุ แรงกายและทนุ ทรพั ย์ เพือ่ ทานบุ ารงุ ศาสนาอยเู่ สมอ

๒. คุณธรรม จรยิ ธรรม ๒.๓ การเห็นความสาคญั เข้าร่วม ส่งเสรมิ สนับสนุน เคารพกิจกรรมทแี่ สดงถึงจารตี ประเพณี วฒั นธรรมท้องถน่ิ หรอื ชุมชน - ใหค้ วามสาคญั กับการเข้ารว่ ม กจิ กรรมในการส่งเสรมิ และ สนับสนนุ กจิ กรรมวนั สาคญั ตา่ ง ๆ ทางประเพณวี ฒั นธรรมและ ศาสนาที่ทอ้ งถน่ิ และชมุ ชนจดั ขน้ึ - เข้าร่วมเขา้ รว่ มกจิ กรรมต่าง ๆ ของทางชมุ ชน เพ่ืออนุรกั ษ์ ประเพณแี ละวัฒนธรรม รว่ ม กจิ กรรมเวยี นเทียนวนั มาฆบชู า

๒. คุณธรรม จริยธรรม ๒.๔ การเห็นความสาคัญ เขา้ ร่วม สง่ เสรมิ สนับสนุน กจิ กรรมที่แสดงถงึ จารีตประเพณี วัฒนธรรมของชาติ - ขา้ พเจา้ ใหค้ วาม ร่วมมอื ในการพัฒนา สง่ เสริม สนบั สนนุ กิจกรรมทแ่ี สดงถงึ จารตี ประเพณแี ละ วัฒนธรรมของชาตดิ ้วย ความเตม็ ใจทกุ คร้ัง

๒. คุณธรรม จริยธรรม ๒.๕ การมีจติ บริการและจิตสาธารณะ - ข้าพเจา้ มคี วามเต็มใจใน การใหบ้ รกิ ารแก่ ผู้รบั บรกิ าร เพื่อบรกิ าร ชมุ ชนและสังคม ให้ ขอ้ เสนอแนะ และให้ คาปรกึ ษากบั ผรู้ บั บรกิ าร ด้วยความเต็มใจ

๒. คณุ ธรรม จริยธรรม ๒.๖ การต่อตา้ นการกระทาของบุคคล หรอื กลุ่มบุคคลทสี่ ง่ ผลต่อความมน่ั คงของชาติ หรอื ผลกระทบเชิงลบต่อสังคมโดยรวม - ข้าพเจา้ ไมส่ นบั สนนุ การกระทา ของบคุ คลหรอื กลมุ่ บคุ คลท่สี ง่ ผล ต่อความมนั่ คงของชาตหิ รอื สง่ ผล กระทบเชงิ ลบตอ่ สงั คมโดยรวม - ข้าพเจา้ ไมเ่ ขา้ รว่ มการชมุ นมุ ทม่ี ี ผลตอ่ การขดั แยง้ ของคนหรอื กลมุ่ บคุ คล ทส่ี ง่ ผลตอ่ ความมนั่ คงของ ชาตหิ รอื ผลกระทบเชงิ ลบตอ่ สงั คม โดยรวม และเป็นกลางทางการ เมอื ง

๓. จรรยาบรรณวชิ าชีพ โรงเรยี นนครศรธี รรมราชปญั ญานุกลู จังหวดั นครศรีธรรมราช สานกั บริหารงานการศึกษาพเิ ศษ

๓. จรรยาบรรณวชิ าชีพ ๓.๑ การพฒั นาวิชาชพี และบุคลกิ ภาพอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ขา้ พเจา้ ไดเ้ ขา้ รว่ มการอบรม ออนไลน์ โครงการพฒั นา ข้าราชการครู และบคุ ลากร ทางการศกึ ษา ตามหลกั เกณฑ์ และวธิ กี ารประเมนิ ตาแหนง่ การเล่ือนวทิ ยฐานะขา้ ราชการ และบุคลากรทางการศกึ ษาตาม ข้อตกลงในการพฒั นางาน (RERFORMANCE AGREEMENT)

๓. จรรยาบรรณวิชาชพี ๓.๒ การมีวสิ ัยทัศน์ รู้และเขา้ ใจ สนใจ ตดิ ตาม ความเปลี่ยนแปลงดา้ นวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม การเมืองของไทย และนานาชาตใิ นปัจจุบัน - ข้าพเจ้ามคี วามมงุ่ มน่ั ต้งั ใจในการ ปรับตัวให้เทา่ ทนั ตอ่ การเปลย่ี นแปลง ดา้ นวทิ ยาการ เศรษฐกิจ สงั คมและ การเมืองของไทยและนานาชาตใิ น ปจั จุบนั เพื่อปรบั ปรุงการจดั การ เรียนการสอนให้เท่าทันตอ่ ยุคสมยั - ข้าพเจา้ มที กั ษะในการเรยี นรู้งาน ใหม่ ๆ พัฒนาตนเองและรปู แบบการ จัดกระบวนการเรียนการสอนอยู่ เสมอ

๓. จรรยาบรรณวชิ าชีพ ๓.๓ การไม่อาศยั วชิ าชีพแสวงหาผลประโยชน์ท่ไี ม่ถกู ต้อง - ข้าพเจา้ ไม่ปฏิบตั ิ ตน และไม่สนับสนนุ การแสวงหา ผลประโยชน์ใน ระบบการศึกษาและ ระบบราชการ

๓. จรรยาบรรณวชิ าชีพ ๓.๔ การมุง่ มนั่ ตอ่ การพัฒนาความรู้ ความสามารถของผเู้ รียน - มคี วามรู้ ความสามารถทมี่ ไี ปใช้ ในการจดั กระบวนการเรยี นรู้ เพื่อ เพม่ิ ทกั ษะและประสบการณ์ ให้กับผเู้ รยี นอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ - จดั กจิ กรรมการเรยี นรทู้ ่ี หลากหลายใหส้ อดคลอ้ งกับความ แตกตา่ งระหวา่ งบคุ คลของผเู้ รยี น เพือ่ พฒั นาความรคู้ วามสามารถ ของผเู้ รยี น ได้เตม็ ศกั ยภาพ

๓. จรรยาบรรณวชิ าชีพ ๓.๕ การใหค้ วามสาคญั ตอ่ การเขา้ ร่วม ส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมที่เก่ยี วข้องกบั วชิ าชพี ครู อยา่ งสมา่ เสมอ - เข้ารว่ มการประชมุ การอบรมความรู้ ทเี่ ก่ียวขอ้ งกับวิชาชพี ครู - ได้ผ่านการพฒั นาหลกั สตู ร การ พัฒนาสมรรถนะ ครูมอื อาชพี ดา้ นการ จดั การเรียนรู้ / อบรมออนไลน์ OBEC 2021 Webinar การจดั การเรยี นการ สอนออนไลนย์ คุ ปกติใหม่ : มมุ มอง ของผบู้ รหิ าร นักวชิ าการ และครู ใน หัวขอ้ เทคนคิ และวธิ กี ารสอนออนไลน์ แบบปฏิสมั พนั ธ์ และห้องเรยี น ออนไลนโ์ ดยใชโ้ ครงงานเปน็ ฐาน

๓. จรรยาบรรณวชิ าชพี ๓.๖ รัก เมตตา เอาใจใส่ ชว่ ยเหลือ สง่ เสรมิ สนับสนนุ ใหบ้ ริการผเู้ รียนทุกคนด้วยความเสมอภาค ข้าพเจา้ ใหค้ วามรกั ความ เมตตา เอาใจใส่ ชว่ ยเหลอื สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้ คาปรกึ ษาและใหบ้ ริการ ผ้เู รยี นทกุ คนดว้ ยความ เสมอภาคปฏบิ ัติตนตอ่ ผ้เู รียน โดยปราศจากอคติ

๓. จรรยาบรรณวิชาชีพ ๓.๗ การประพฤติปฏบิ ตั ติ นเปน็ ที่ยอมรับของผู้เรยี น ผบู้ ริหาร เพอื่ นรว่ มงาน ผู้ปกครอง และ ชุมชน - ปฏบิ ัติตนเปน็ แบบอย่างที่ดี ใหก้ ับผเู้ รยี น ผบู้ ริหาร เพอื่ น รว่ มงาน ผู้ปกครอง และชุมชน - เป็นผพู้ รอ้ มด้วยวชิ าการ ความรจู้ นได้รบั การยอมรบั จาก ผเู้ รยี นและเพอื่ นรว่ มงานโดย เผยแพร่และแบง่ ปนั ความรู้/ เอกสาร/ผลงานวชิ าการให้กบั ผรู้ ว่ มงาน ชุมชนและสังคม

๓. จรรยาบรรณวชิ าชีพ ๓.๘ การไม่ปฏบิ ตั ิตนท่สี ง่ ผลเชิงลบตอ่ กาย และใจผู้เรียน ให้คาปรกึ ษากบั ผเู้ รยี นในดา้ น ต่าง ๆ ด้วยความเตม็ ใจ ใชก้ าร เสรมิ แรงเพอื่ ใหผ้ ้เู รยี น เกิดพฤติกรรมท่ีพงึ ประสงคแ์ ละ ใชห้ ลักจติ วทิ ยาในการโนม้ นา้ ว จิตใจของผเู้ รยี นให้พรอ้ มด้วย ความรแู้ ละคณุ ธรรม คอย สง่ เสรมิ สนบั สนนุ และเสรมิ แรง บวกด้วยการกล่าวคาชนื่ ชม

๓. จรรยาบรรณวชิ าชีพ ๓.๙ การทางานกับผูอ้ ่ืนไดโ้ ดยยึดหลกั ความสามัคคเี กื้อกลู ซ่งึ กนั และกัน - ปฏิบตั งิ านกบั ผอู้ นื่ อย่างเต็มความสามารถ โดยยดึ หลกั ประชาธปิ ไตยและ ความสามคั คเี กอ้ื กูล ซง่ึ กันและกนั

๓. จรรยาบรรณวิชาชีพ ๓.๑๐ การใชค้ วามรูค้ วามสามารถที่มอี ยนู่ าให้เกดิ ความเปล่ยี นแปลงในทางพัฒนาให้กบั ผู้เรยี น โรงเรียน ชมุ ชน ในด้านใดด้านหน่ึง (ดา้ นการอนรุ ักษศ์ ลิ ปวัฒนธรรม ภมู ิปญั ญาและสิ่งแวดลอ้ ม) มคี วามรใู้ นการ ทาขนมทองพบั กล่ินใบเตยใส่งา โดยใช้วัตถุดบิ ธรรมชาติ ซงึ่ เปน็ ขนมในทอ้ งถ่นิ

๓. จรรยาบรรณวชิ าชพี ๓.๑๑ การยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมขุ ข้าพเจา้ มคี วามจงรกั ภกั ดี ต่อสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ ยึดม่ัน ในการปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตยโดยมี พระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็น ประมขุ

๔.การดารงชีวติ ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง โรงเรยี นนครศรีธรรมราชปญั ญานกุ ลู จังหวดั นครศรธี รรมราช สานักบรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ

๔. การดารงชวี ติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๔.๑ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ข้าพเจา้ มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ เกยี่ วกบั หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง โดยนอ้ มนาหลกั ปรชั ญา เศรษฐกจิ พอเพยี งมาประยุกตใ์ ช้ ในชวี ติ ประจาวนั ไดอ้ บรมเพม่ิ ความรผู้ ่านการทดสอบความรู้ วชิ าศาสตรพ์ ระราชา และหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ถา่ ยทอดความรไู้ ปสู่ผเู้ รยี นและ เพ่อื นรว่ มงาน

๔. การดารงชวี ติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๔.๒ มกี ารนาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปปรบั ประยกุ ตใ์ ช้กบั การจัดการเรยี นรู้ใน หอ้ งเรียน ข้าพเจา้ สนับสนนุ ผเู้ รยี นให้ ประหยัด อดออม ใช้ ทรพั ยากรอย่างคมุ้ คา่ นา วัสดทุ เ่ี หลอื ใช้กลบั มาใช้ใหม่ บรณู าการในการจดั ทา แผนการจดั การเรยี นรู้ “หอนอนพอเพยี ง” (เตยหอม)

๔. การดารงชวี ติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๔.๓ มีการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปรบั ประยุกตใ์ ชก้ ับภารกจิ ทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย ข้าพเจา้ นาหลกั ปรชั ญา เศรษฐกจิ พอเพยี งมา ประยุกตใ์ ช้กบั ภารกจิ ทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย ใชท้ รพั ยากรทมี่ ี อยู่อยา่ งจากดั ให้เกดิ ประสิทธภิ าพสงู สุด ใช้ กระดาษรไี ซเคลิ ในการสรา้ ง ใบงานเพอ่ื ใหน้ กั เรยี น ฝึก ทกั ษะ และแบบทดสอบ

๔. การดารงชวี ิตตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๔.๔ มกี ารนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปปรับประยุกต์ใช้กบั การดารงชวี ิตของตนเอง ปฏบิ ัตติ นตามหลกั ปรชั ญา เศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยยดึ หลักความพอเพียง ความ พอประมาณ ความมเี หตผุ ล และมีภมู คิ มุ้ กนั ทด่ี ีในชวี ิต โดยการเปดิ บญั ชอี อมทรพั ย์ ออมเงนิ ทกุ เดอื น และเป็น สมาชกิ สหกรณอ์ อมทรพยค์ รู

๔. การดารงชีวิตตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๔.๕ เป็นแบบอยา่ งในการนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปปรบั ประยุกตใ์ ชก้ บั ภารกิจ ตา่ งๆ หรือการดารงชวี ติ ของตนเอง ปฏิบตั ติ นเปน็ แบบอยา่ งทด่ี ี กบั ลูกศิษย์ ใช้ชวี ติ บนทาง สายกลาง ยึดมัน่ ในหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใชใ้ นการดาเนนิ ชีวิต โดยใฝร่ ใู้ ฝเ่ รยี น และใฝ่ พัฒนาตนเองอย่างตอ่ เนอ่ื ง

๕. จติ วิญญาณความเป็นครู โรงเรยี นนครศรธี รรมราชปญั ญานกุ ูล จังหวัดนครศรีธรรมราช สานกั บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ

๕. จิตวิญญาณความเปน็ ครู ๕.๑ การเข้าสอนตรงเวลา และสอนเต็มเวลา ข้าพเจ้าปฏบิ ตั หิ น้าท่ี ตามท่ีไดร้ บั มอบหมาย ดว้ ยความเตม็ รู้ เต็มใจ เต็มเวลา เตม็ คนและ เต็มพลงั เขา้ สอนตรง เวลาและเตม็ เวลาทุก ครั้ง

๕. จิตวิญญาณความเปน็ ครู ๕.๒ การตระหนักในความรู้ และทกั ษะที่ถูกตอ้ งรวมถึงสิ่งดๆี ให้กบั ผู้เรยี น - จัดทาสอ่ื ออนไลนว์ ธิ กี ารใช้ หนา้ กากอนามยั ทถี่ กู ตอ้ ง - ข้าพเจา้ จดั ทาสอื่ ออนไลน์ ๗ ขั้นตอนลา้ งมอื ใหส้ ะอาด - ขา้ พเจา้ รว่ มจดั ทาสื่อ ออนไลน์ วถิ สี ร้างสุขดว้ ยการ ออกกาลังกาย - จดั ทาสอ่ื หนังสอื เล่มเลก็ แบบ ฝกึ การอา่ นคาศพั ทพ์ นื้ ฐาน

๕. จติ วิญญาณความเป็นครู ๕.๓ การสรา้ งความเสมอภาคเป็นธรรมกบั ผ้เู รยี นทกุ คน ขา้ พเจา้ จดั เตรียมวสั ดุ อปุ กรณก์ ารเรยี น ใบ งาน เอกสารการ จดั การศกึ ษาและจัด กระบวนการเรียนรู้ ให้กับผเู้ รยี นทกุ คนดว้ ย ความเปน็ ธรรม

๕. จติ วญิ ญาณความเป็นครู ๕.๔ การรู้จักใหอ้ ภัยปราศจากอคติ ชว่ ยเหลอื ส่งเสริม สนับสนุนใหผ้ ู้เรียน ประสบความสาเร็จ ตามศักยภาพ ความสนใจ หรือความตั้งใจ ขา้ พเจา้ ปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ในการ ชว่ ยเหลอื ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ ผ้เู รียนใหป้ ระสบความสาเรจ็ ตาม ศกั ยภาพของตนเอง - ใหอ้ ภยั หากผู้เรยี นทาความผิด โดยใชก้ ารวา่ กลา่ วตกั เตือน เสริมแรงและลงโทษอย่าง เหมาะสม โดยปราศจากอคติ

๕. จิตวิญญาณความเปน็ ครู ๕.๕ การเป็นที่พึ่งใหก้ ับผู้เรียนได้ตลอดเวลา เสยี สละเวลาส่วนตวั ในการ ใหค้ าปรึกษาและ ใหค้ วาม ชว่ ยเหลอื กบั ผเู้ รยี นทปี่ ระสบ ปญั หาตา่ ง ๆ ให้กาลงั ใจและ คอยใหค้ าแนะนา ชแี้ นะ แนวทางในการแกไ้ ขปญั หา ประกอบการตดั สนิ ใจอยู่ เสมอ

๕. จติ วิญญาณความเปน็ ครู ๕.๖ การจัดกิจกรรมส่งเสรมิ การใฝร่ ู้ คน้ หา สร้างสรรค์ ถ่ายทอดปลูกฝังและเป็นแบบอยา่ งทดี่ ี ข้าพเจ้าปฏิบตั ิหนา้ ท่ดี ้วย จิตวิญญาณความเปน็ ครู ยดึ มน่ั ในอดุ มการณท์ าง วิชาชพี และปฏบิ ตั ิตนเปน็ แบบอย่างท่ีดขี องผู้เรยี น ฝกึ การไหวท้ กุ เชา้ -บา่ ย

๕. จิตวิญญาณความเปน็ ครู ๕.๗ การทุ่มเทเสียสละเวลาในการจัดการเรียนร้ใู หก้ บั ผู้เรยี น - อทุ ิศเวลาให้กบั ทางราชการใน การปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี งานสอนทั้งใน เวลาและนอกเวลาราชการ เพอ่ื พัฒนา ใหผ้ ู้เรียนมคี วามรู้ ความสามารถ - เสียสละเวลาและทุนทรพั ยส์ ว่ น ตนในการจดั ทาสื่อการเรยี นรู้ เพอ่ื ให้ผู้เรยี นไดร้ บั ความรูเ้ ตม็ ตามศกั ยภาพของตนเอง

๖. จติ สานึกความรับผิดชอบในวชิ าชพี ครู โรงเรยี นนครศรีธรรมราชปญั ญานกุ ลู จังหวดั นครศรธี รรมราช สานักบรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ

๖. จิตสานกึ ความรบั ผดิ ชอบในวชิ าชีพครู ๖.๑ การมเี จตคติเชิงบวกกบั วชิ าชีพครู ข้าพเจา้ มงุ่ มน่ั ในการปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ และใหบ้ รกิ ารผู้เรยี นผปู้ กครอง และผรู้ ่วมวชิ าชพี ในฐานะ ผรู้ ับบรกิ ารอยา่ งเทา่ เทียม ตลอดจนไม่สรา้ งความเสอ่ื มเสยี ใหก้ ับทางราชการ - พัฒนาตนเองและพฒั นา วชิ าชพี เพอ่ื เปน็ กาลงั สาคญั ใน การพฒั นาและขับเคล่อื น ประเทศต่อไป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook