Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กฎและมาตรฐานทางไฟฟ้า

กฎและมาตรฐานทางไฟฟ้า

Published by Jakkrapan Pitak, 2022-07-05 11:33:26

Description: กฎและมาตรฐานทางไฟฟ้า

Search

Read the Text Version

ระบบปอ้ งกนั ฟา้ ผา่ (Lightning Protection System) หรอื ท่ีเรยี กท่วั ไปวา่ ระบบลอ่ ฟ้า ประกอบดว้ ย ระบบปอ้ งกนั ฟ้าผ่าภายนอก และระบบป้องกนั ฟ้าผ่าภายใน ตามมาตรฐานการป้องกนั ฟ้าผ่าสาหรบั ส่ิง ปลกู สรา้ ง ซ่งึ กล่าวถึงเฉพาะระบบปอ้ งกนั ฟ้าผ่าภายนอก (External Lightning Protection System: LPS) ประกอบดว้ ยระบบตวั นาลอ่ ฟา้ ระบบตวั นาลงดนิ และระบบรากสายดนิ ดงั รูป ส่วนประกอบของระบบป้องกันฟ้าผ่า

9.2.1 ระบบตัวนาล่อฟ้า (Air Termination System) มาตรฐานท่ีเก่ียวขอ้ ง: มาตรฐานการปอ้ งกนั ฟ้าผา่ ของ วสท., IEC 62305 ขอ้ มลู ท่วั ไป: 1. ระบบตวั นาล่อฟ้า เป็นส่วนประกอบของระบบฟ้าผ่าภายนอกซ่ึงใชช้ ิน้ ส่วน โลหะเช่น แท่งตวั นา ตวั นาแบบตาข่าย หรือสายตวั นาขึง ทาหนา้ ท่ีตวั ดกั รบั วาบฟ้าผ่าท่ีลงส่ิงปลกู สรา้ ง ตวั นาลอ่ ฟ้าเรยี กท่วั ไปว่า หวั ล่อฟ้าหรอื เสาลอ่ ฟ้า ดงั รูปท่ี 9.3 ทาดว้ ยโลหะท่ีมีคณุ สมบตั เิ ป็นตวั นาไฟฟ้า ท่ีดี ทนต่อการหลอมละลาย เช่น แท่งทองแดง แท่งสเตนเลส แท่งทองแดงชบุ ดีบกุ และแท่งเหล็ก เป็นตน้ มีหลายแบบ เช่น แท่งแฟรงคลินส์ กรงฟาราเดย์ และแบบทาใหอ้ ากาศโดยรอบเกิดการแตกตัวของ ไอออน เป็นตน้ 2. วสั ดุ รูปแบบ และพืน้ ท่ีหนา้ ตดั ขนั้ ต่าของแทง่ ตวั นาลอ่ ฟ้า เป็นตวั อย่าง ดงั นี้ (1) ทองแดง แท่งกลมตนั พืน้ ท่ีหนา้ ตดั ขนั้ ต่า 50 ตร.มม. (2) อะลมู ิเนียม แท่งกลมตนั พืน้ ท่ีหนา้ ตดั ขนั้ ต่า 50 ตร.มม. (3) เหลก็ อาบสงั กะสีแบบจมุ่ รอ้ น แท่งกลมตนั พืน้ ท่ีหนา้ ตดั ขนั้ ต่า 50ตร.มม. 3. การจดั วางตาแหน่งตวั นาล่อฟ้า ส่วนประกอบของตวั นาล่อฟ้าท่ีติดตงั้ บนส่ิง ปลูกสรา้ งตอ้ งวางในตาแหน่งหัวมุม จุดท่ีเปิดโล่งและริมขอบ (โดยเฉพาะระดับบนของส่วนปิดหนา้ อาคาร) ตาแหนง่ ระบบตวั นาล่อฟ้า ใชว้ ธิ ีหน่งึ หรอื หลายวธิ ี วธิ ีท่ียอมรบั คอื วิธีมมุ ปอ้ งกนั วิธีทรงกลมกลิง้ และวธิ ีตาขา่ ย

4. การติดตัง้ ตัวนาล่อฟ้า ถ้าตัวนาล่อฟ้าไม่แยกอิสระจากส่ิงปลูกสรา้ งท่ีจะ ป้องกันเช่น ถา้ หลงั คาทาดว้ ยวสั ดุไม่ติดไฟ อาจวางตาแหน่งตวั นาล่อฟ้าบนพืน้ ผิวของหลงั คา เป็นตน้ ดงั รูป ตาแหน่งตวั นาล่อฟ้าบนพนื้ ผิวของหลังคา 9.2.3 ระบบรากสายดนิ (Earth Termination System or Lightning Ground) มาตรฐานท่ีเก่ียวขอ้ ง: มาตรฐานการปอ้ งกนั ฟ้าผา่ ของ วสท., IEC 62305 ขอ้ มลู ท่วั ไป: 1. ระบบรากสายดิน เป็นส่วนประกอบของระบบป้องกนั ฟ้าผ่าภายนอก ซ่งึ ใชส้ าหรบั นาหรอื กระจายกระแสฟ้าผ่าลงสดู่ ิน เม่ือทาการเก่ียวขอ้ งกบั การกระจายกระแสฟ้าผ่าลงสู่ดนิ (มีลกั ษณะ ความถ่ีสงู ) ขณะเดียวกบั การลดการเกิดแรงดนั เกินอนั ตรายใด ๆ ใหน้ อ้ ยท่ีสดุ เกณฑท์ ่ีสาคญั คือรูปรา่ ง และมิติของระบบรากสายดิน โดยท่ัวไปแนะนาให้ใช้รากสายดินท่ีมีความต้านทานดินต่า (ถา้ เป็นไปไดค้ วรมีค่านอ้ ยกว่า 10 โอหม์ เม่ือวดั ท่ีความถ่ีต่า)

2. การจดั วางระบบรากสายดิน มีการจดั วางแบบพืน้ ฐาน 2 แบบ (1) การจดั วางแบบ ก ประกอบดว้ ยรากสายดินตามแนวระดบั หรือแนวด่ิง ไม่นอ้ ยกว่า 2 ชุด ติดตงั้ ดา้ นนอกส่ิงปลูกสรา้ งท่ีจะป้องกันและต่อเขา้ กับตวั นาลงดินทุกเสน้ อย่างนอ้ ยเสน้ ละ 1 ชุด ตวั อยา่ งการจดั วางรากสายดินแบบ (2) การจดั วางแบบ ข อาจจะเป็นตวั นาวงแหวนติดตงั้ ภายนอกส่ิงปลกู สรา้ งท่ีจะป้องกัน และมีสว่ นสมั ผสั กบั ดินอย่างนอ้ ยรอ้ ยละ 80 ของความยาวรวม หรอื รากสายดินฐานราก รากสายดินแบบ นีอ้ าจมีการตอ่ กนั เป็นตาขา่ ยไดด้ ว้ ย และจานวนรากสายดินมีอยา่ งนอ้ ย 2 ชดุ ต่อตวั นาลงดนิ 1 ชดุ 3. การติดตงั้ รากสายดิน รากสายดินวงแหวน (การจัดวางแบบ ข) ควรฝังท่ีความลึกอย่าง นอ้ ย 0.5 เมตร และท่ีระยะห่าง 1 เมตร จากผนงั ดา้ นนอกโดยรอบ และรากสายดินอ่ืน ๆ (การจดั วางแบบ ก) ตอ้ งตดิ ตงั้ ใหค้ วามลกึ ของปลายบนมคี า่ อยา่ งนอ้ ย 0.5 เมตร ติดตงั้ ใหก้ ระจายอย่างสม่าเสมอ รากสาย ดินตอ้ งติดตงั้ ในลกั ษณะท่ีสามารถตรวจสอบไดใ้ นระหว่างการก่อสรา้ ง และตอ้ งไดร้ บั ผลการกดั กร่อน นอ้ ยท่ีสดุ 4. การจบั ยึด ตวั นาล่อฟ้าและตวั นาลงดินตอ้ งมีการจบั ยึดอย่างม่นั คง เพ่ือไม่ใหแ้ รงกระทาท่ี เกิดจากไฟฟ้าพลวตั หรือแรงทางกลอ่ืนท่ีอาจเกิดขึน้ เช่น แรงจากการส่นั การเล่ือนของแผ่นหิมะ การ ขยายตวั ทางความรอ้ น เป็นตน้

5. การต่อ จานวนการต่อตลอดความยาวของตวั นาตอ้ งมีนอ้ ยท่ีสดุ การต่อตอ้ งทาใหแ้ ข็งแรง โดยใช้ การแล่นประสาน การเช่ือมดว้ ยวธิ ีหลอมละลายเนือ้ โลหะเขา้ ดว้ ยกนั ดว้ ยความรอ้ น (Exothermic Welding) การขนั ดว้ ยแคลมป์ การบีบอดั การเช่ือมตะเข็บ การยึดดว้ ยสกรู หรือการสลกั เกลียวตวั อย่าง การตอ่ ตวั นา และอปุ กรณต์ อ่ ตวั นาดว้ ยแคลมป์

1. มาตรฐานการป้องกนั ฟ้าผ่า ตามมาตรฐานของสมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระ บรมราชูปถมั ภ์ ประกอบดว้ ยภาคท่ี 1 ขอ้ กาหนดท่วั ไป ภาคท่ี 2 การบริหารความเส่ียง ภาคท่ี 3 ความ เสยี หายทางกายภาพตอ่ ส่ิงปลกู สรา้ งและอนั ตรายตอ่ ชีวิต และภาคท่ี 4 ระบบไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกสใ์ น ส่งิ ปลกู สรา้ ง โดยอา้ งอิงตามมาตรฐาน IEC 2. ระบบปอ้ งกนั ฟา้ ผา่ ภายนอก (LPS) ประกอบดว้ ย (1) ระบบตวั นาลอ่ ฟา้ ใชช้ ิน้ สว่ นโลหะ เช่น แท่ง ตวั นา ตวั นาแบบตาข่าย หรือสายตวั นาขึง ทาหนา้ ท่ีตวั ดักรบั วาบฟ้าผ่าท่ีลงส่ิงปลูกสรา้ ง การจัดวาง ตาแหน่งตวั นาล่อฟ้า ใชว้ ิธีหน่ึงหรอื หลายวธิ ี วธิ ีท่ียอมรบั คอื วิธีมมุ ปอ้ งกัน วธิ ีทรงกลมกลิง้ และวิธีตาข่าย (2) ระบบตวั นาลงดิน จะนากระแสฟ้าผ่าจากระบบตวั นาลอ่ ฟ้าลงส่รู ะบบรากสายดิน และระบบรากสาย ดนิ ซง่ึ ใชส้ าหรบั นาหรอื กระจายกระแสฟ้าผา่ ลงสดู่ นิ 3. การจัดวางระบบรากสายดิน มีการจัดวางแบบพื้นฐาน 2 แบบ (1) การจัดวางแบบ ก ประกอบดว้ ยรากสายดินตามแนวระดบั หรือแนวด่ิง ไม่นอ้ ยกว่า 2 ชุด (2) การจดั วางแบบ ข อาจจะเป็น ตวั นาวงแหวนติดตงั้ ภายนอกส่ิงปลกู สรา้ งท่ีจะป้องกนั และมีส่วนสมั ผสั กบั ดินอย่างนอ้ ยรอ้ ยละ 80 ของ ความยาวรวม และจานวนรากสายดินมีอย่างนอ้ ย 2 ชดุ ตอ่ ตวั นาลงดนิ 1 ชดุ