Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 17026-5889-PB

17026-5889-PB

Published by sucheerapanyasai, 2021-12-25 05:21:10

Description: 17026-5889-PB

Keywords: วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ

Search

Read the Text Version

143 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มูล TCI กล่มุ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) ตารางที่ 1 ลักษณะท่ัวไปของผสู้ งู อายทุ ่ีมภี าวะเสยี่ งหกล้ม (ตอ่ ) ปัจจัย จานวน มีภาวะเสยี่ งหกล้ม ไมม่ ภี าวะเส่ียงหกล้ม P-value (รอ้ ยละ) (ร้อยละ) (รอ้ ยละ) < 0.001* < 0.001* ภาวะเส่ยี งขอ้ เข่าเสื่อม 0.440 ไมม่ ี 3,403 (94.53) 35 (1.03) 3,368 (98.97) 0.298 มี 197 (5.47) 91 (46.19) 106 (53.81) ความสามารถในการดาเนนิ ชีวติ ประจาวนั (activity of daily living) กลุ่มตดิ สังคม 3,566 (99.06) 116 (3.25) 3,450 (96.75) กลมุ่ ตดิ บ้าน 34 (0.94) 10 (29.41) 24 (70.59) คดั กรองระดบั ความดันโลหิต ปกติ 2,850 (79.17) 103 (3.61) 2,747 (96.39) มีความเส่ยี ง 400 (11.11) 15 (3.75) 385 (96.25) สงสยั ปว่ ย 350 (9.72) 8 (2.29) 342 (97.71) คัดกรองระดับน้าตาลหลงั อดอาหาร ปกติ 3,353 (93.14) 122 (3.64) 3,231 (96.36) มีความเสีย่ ง 208 (5.78) 4 (1.92) 204 (98.08) สงสัยปว่ ย 39 (1.08) 0 (0.00) 39 (100.00) * p-value < .05 จากตารางที่ 1 ผ้สู งู อายทุ งั้ หมดจานวน 3,600 คน พบภาวะเส่ยี งหกล้ม 126 คน (ร้อยละ 3.50) ปัจจยั ดา้ นเพศ อายุ ดัชนมี วลกาย ภาวะเสย่ี งสมองเสื่อม ภาวะเสยี่ งซมึ เศรา้ ภาวะเสย่ี งข้อเข่าเสอื่ ม และความสามารถใน การดาเนนิ ชีวิตประจาวัน มคี วามสมั พนั ธ์กับภาวะเสย่ี งหกล้มอย่างมนี ัยสาคญั ทางสถิติ สว่ นการคดั กรองร ะดับ ความดันโลหิต และระดบั น้าตาลหลังอดอาหารไมม่ ีความสัมพันธ์กับภาวะเสีย่ งหกลม้ ลกั ษณะประชากรผสู้ งู อายุทเ่ี ป็นเพศหญงิ พบภาวะเสย่ี งหกล้ม 93 คน (รอ้ ยละ 4.85) พบภาวะเสยี่ งหกล้ม ในช่วงอายุ 60 – 69 ปี, 70 – 79 ปี และ มากกว่าเทา่ กบั 80 ปี เทา่ กบั 70 คน (ร้อยละ 2.91),30 คน (รอ้ ยละ 3.70) และ 26 คน (ร้อยละ 6.84) ตามลาดับ ดชั นีมวลกายอย่ใู นช่วง 18.5 – 22.9 กิโลกรมั /เมตร2 พบภาวะเส่ยี งหกล้ม 67 คน (รอ้ ยละ 4.10) ภาวะเสี่ยงหกล้มในผู้สงู อายุทม่ี ีภาวะเสยี่ งสมองเสอ่ื ม ภาวะเสยี่ งซึมเศรา้ และภาวะเสย่ี งข้อ วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีที่ 8 ฉบบั ที่ 2 เดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

144 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI และอยูใ่ นฐานขอ้ มลู TCI กลุม่ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) เข่าเส่ือม เท่ากับ 14 คน (ร้อยละ 50.00), 3 คน (ร้อยละ 50.00) และ 91 คน (ร้อยละ 46.19) ตามลาดับ ความสามารถในการดาเนินชีวิตประจาวนั พบกลุม่ ติดบา้ น 34 คน (ร้อยละ0.94)มภี าวะเส่ียงหกล้ม10 คน (ร้อยละ29.41) ตารางท่ี 2 ปจั จัยท่มี ีความสัมพันธก์ ับภาวะเสยี่ งหกล้มในผูส้ งู อายุ ปัจจัย Adjusted Odds Ratio (95% CI) P-value เพศ 0.014* ชาย ref หญิง 1.86 (1.13-3.03) 0.643 อายุ (ปี) 0.23 60 - 69 ref 0.742 70 - 79 0.88 (0.51-1.51) 0.187 ≥ 80 1.50 (0.77-2.89) 0.105 0.105 ดัชนมี วลกาย (กโิ ลกรมั /เมตร2) 0.728 < 0.001* < 18.5 ref 18.5 - 22.9 1.12 (0.58-2.14) < 0.001* 23.0 - 24.9 0.58 (0.25-1.30) ≥ 25.0 0.52 (0.24-1.15) ภาวะเส่ียงสมองเส่อื ม 2.36 (0.84-6.71) ภาวะเส่ียงซมึ เศรา้ 1.65 (0.98-27.61) ภาวะเส่ียงข้อเขา่ เส่อื ม 80.16 (50.11-128.23) งานกิจวตั รประจาวนั (activity of daily living) กลุม่ ติดสังคม ref 12.96 (4.16-40.32) กลุม่ ตดิ บ้าน * p-value < .05 จากการวิเคราะห์แบบพหุตัวแปร (multiple logistic regression) พบวา่ ผสู้ ูงอายเุ พศหญิง ภาวะเส่ียง ข้อเข่าเสอ่ื ม และความสามารถในการดาเนนิ ชวี ิตประจาวนั ในกลุ่มติดบ้านมคี วามสัมพนั ธ์กับภาวะเส่ียงหกลม้ อย่าง มีนัยสาคญั ทางสถิติ โดยเพศหญงิ พบภาวะเสี่ยงหกล้ม 1.86 เทา่ (ORadj=1.86, 95% CI 1.13 – 3.03) เมอ่ื เทียบ กับเพศชาย ผู้สงู อายทุ ่มี ีภาวะเสยี่ งขอ้ เข่าเส่ือมมีภาวะเสี่ยงหกล้ม 80.16 เท่า (ORadj=80.16, 95% CI 50.11- 128.23) เม่ือเทยี บกบั ผสู้ งู อายุทไี่ ม่มภี าวะเส่ยี งข้อเข่าเส่อื ม และผสู้ ูงอายุที่มีความสามารถในการดาเนินชีวิตประจาวัน เป็น วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีท่ี 8 ฉบบั ที่ 2 เดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

145 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มลู TCI กลุ่มที่ 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) กลุ่มติดบา้ นพบภาวะเสีย่ งหกล้ม 12.96 เทา่ (ORadj=12.96, 95% CI 4.16 – 40.32) เม่อื เทียบกบั ผู้สูงอา ยุที่ มี ความสามารถในการดาเนนิ ชวี ติ ประจาวนั เปน็ กลุม่ ตดิ สังคม ส่วนชว่ งอายุ ดัชนีมวลกาย ภาวะเส่ยี งสมองเสอื่ ม และ ภาวะเส่ียงซึมเศร้าไม่พบความสัมพนั ธ์กบั ภาวะเส่ยี งหกล้มในผู้สงู อายุอยา่ งมีนัยสาคญั ทางสถิติ ดังตารางท่ี 2 อภปิ รายผล จากการศกึ ษาพบภาวะเสี่ยงหกล้มในผสู้ ูงอายุจังหวดั ลาปางเท่ากบั ร้อยละ 3.50 ซึ่งน้อยกวา่ การศึกษา ก่อนหน้าที่พบภาวะเสี่ยงหกล้มในผู้สูงอายุอยู่ท่ีรอ้ ยละ 12.6 – 23.7 (Noopud et al., 2020; Trongsakul & Vimolratana, 2018) อาจเน่อื งมาจากปจั จัยหลายอยา่ งทท่ี าให้ภาวะเส่ยี งหกล้มในผู้สูงอายุพบนอ้ ย เชน่ สดั ส่วน ผ้สู ูงอายุในชว่ งอายุนอ้ ย การออกกาลงั กายต่างๆ การเขา้ ร่วมชมรม และกิจกรรมของชมรมสูงอายุ (Gillespie et al., 2012; Noopud et al., 2020; Trongsakul & Vimolratana, 2018) ในงานวจิ ยั น้ีพบช่วงอายุของผู้สูงอายุ อยทู่ ่ี 60 – 79 ปี ถึงรอ้ ยละ 89.45 รวมถงึ จังหวัดลาปางเปน็ จังหวดั ทม่ี ชี มรมสูงอายุครอบคลุมเกือบทุ กพื้น ที่ มกี จิ กรรมในชมรมสาหรับผู้สงู อายุที่สามารถลดภาวะเสี่ยงหกล้มของผู้สงู อายุไดห้ ลากหลาย เช่น การเต้นลีลาศ การเตน้ บาสโลบ ราไทจชิ ีก่ ง เปน็ ต้น จึงอาจทาใหพ้ บภาวะเส่ียงหกล้มในจังหวัดลาปาง ทนี่ ้อยกว่าการศกึ ษากอ่ นหนา้ และจงั หวัดอน่ื ได้ ในงานวิจยั นี้พบปจั จยั เร่ืองเพศเป็นปัจจัยท่ีมีความสัมพนั ธต์ ่อภาวะเสี่ยงหกล้มในผู้สูงอายุ พบว่า เพศหญิง มภี าวะเส่ียงหกลม้ 1.86 เทา่ เม่ือเทียบกบั เพศชาย สอดคลอ้ งกับการศกึ ษาในอดีตที่พบผู้สงู อายุเพศหญงิ มีควา ม เส่ียงหกล้มมากกว่าเพศชาย (Campbell, Spears, & Borrie, 1990; Robbins et al., 1989) ดังน้ันผู้สงู อายทุ ี่ ได้รับการคัดกรองภาวะเสยี่ งหกล้มแลว้ มีภาวะเส่ยี ง โดยเฉพาะในเพศหญิงควรไดร้ บั การเฝา้ ระวงั และป้องกันภาวะหกลม้ มาก ยิง่ ข้นึ นอกจากนี้ยัง พบว่า ผู้สงู อายุทีม่ ีภาวะเส่ียงขอ้ เข่าเส่อื มพบภาวะเสีย่ งหกลม้ เท่ากับ 80.16 เทา่ เมือ่ เทียบ กบั ผ้สู งู อายุทไ่ี มม่ ภี าวะเส่ียงข้อเข่าเสือ่ ม ซ่งึ ไปในแนวทางเดยี วกันกับการศกึ ษาก่อนหน้า (Saelee & Suttanon, 2018; van Schoor et al., 2020) ที่พบวา่ ผสู้ ูงอายุทีม่ ีภาวะขอ้ เขา่ เสื่อมและการมีกล้ามเน้ือบริเวณเข่า อ่อนแร ง มคี วามเสี่ยงต่อการหกล้มมากกว่าผู้สูงอายทุ ี่ไมม่ ีภาวะดงั กล่าว ดังนน้ั ในผู้สงู อายุที่คัดกรองพบภาวะเส่ียงข้อเข่า เสื่อม ควรมีกจิ กรรมการออกกาลังกายที่มีการเสรมิ สร้างความสามารถในการทรงตวั และเพิ่มความแข็งแร งของ กล้ามเนื้อบริเวณข้อเข่า เช่น การออกกาลังกายโดยการเดิน การออกกาลังกายแบบยืดกลา้ มเนอ้ื ราไทจิชีก่ ง (Howe, Rochester, Neil, Skelton, & Ballinger, 2011) เพอื่ ป้องกนั ภาวะหกลม้ ความสามารถในการดาเนินชีวิตประจาวันยังเป็นอีกหนึ่งปจั จัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะเสี่ยงหกล้ม โดย พบว่าผู้สูงอายทุ อ่ี ยู่ในกลุ่มติดบ้านมีภาวะเส่ียงหกล้มเปน็ 12.96 เท่าเม่ือเทียบกับผู้สูงอายุที่อยู่ในกลุ่มติดสังคม ซึง่ คล้ายกบั การศึกษาของ Dawn A. Skelton (Skelton, 2001) กล่าววา่ การลดลงของกจิ วตั รทางกายสา มารถ เพ่ิมความเสี่ยงต่อการหกล้ม ดังน้ันผู้สูงอายุที่พบภาวะเสี่ยงหกล้มร่วมกับมีความสา มารถในการดา เนิน ชีวติ ประจาวันเป็นกลุ่มติดบ้าน ควรมมี าตรการในการเฝา้ ระวงั ป้องกนั การหกลม้ ภายในบ้านอยา่ งเข้มงวด และ สง่ เสริมใหผ้ ูส้ งู อายุกลมุ่ นเ้ี ขา้ ร่วมกิจกรรมทางสังคมมากย่ิงข้ึน วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีท่ี 8 ฉบบั ที่ 2 เดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

146 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มูล TCI กลมุ่ ที่ 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) จ า กกา ร ศึกษา ใน จังหวัดพัทลุงและจังหวัดเชียงรา ย (Noopud et al., 2 0 2 0 ; Trongsakul & Vimolratana, 2018) พบว่า ช่วงอายุท่มี ากขึน้ มีผลต่อภาวะเส่ยี งหกล้มอย่างมนี ัยสาคญั ทางสถิติ งานวจิ ัยนี้พบ ภาวะเสยี่ งหกลม้ ในชว่ งอายุ 60 – 69 ป,ี 70 – 79 ปี และมากกว่าเทา่ กับ 80 ปอี ยทู่ ร่ี อ้ ยละ 2.91, รอ้ ยละ 3.70 และร้อยละ 6.84 ตามลาดับ ซง่ึ มีแนวโน้มทมี่ ากข้ึน แต่ไม่มคี วามสัมพนั ธ์ในทางสถติ ิเมื่อวิเคราะห์แบบพหตุ ัวแปร อาจเนอ่ื งมาจากรอ้ ยละของภาวะเส่ียงหกลม้ ที่พบนอ้ ยกว่าการศึกษากอ่ นหนา้ ทาให้ร้อยละของภาวะเสี่ยงหกล้มใน แต่ละชว่ งอายมุ คี วามตา่ งกนั ไม่มากจนไม่พบความสัมพันธท์ างสถิติ ดงั นั้นจึงควรมจี านวนประชากรในการศึกษาท่ี มากขน้ึ ในกรณีทป่ี ระชากรพบรอ้ ยละของภาวะเสย่ี งหกล้มนอ้ ย การคดั กรองในการศกึ ษาน้ปี ระเมนิ โดยเจา้ หน้าท่ีสาธารณสขุ ไดแ้ ก่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมูบ่ ้าน นกั วชิ าการสาธารณสุข และพยาบาล ทไี่ ด้รับการอบรมประเมนิ การคัดกรองผู้สงู อายจุ ากโรงพยาบาลลาปาง และ แบ่งพนื้ ท่คี ดั กรองผสู้ ูงอายุตามการดูแลของเจ้าหน้าท่ีสาธารณสขุ เนื่องจากประชากรผสู้ ูงอายใุ นจังหวัดลา ปางมี จานวนมาก รว่ มกบั การคดั กรองมีเวลาจากัด จงึ จาเปน็ ตอ้ งใช้บคุ ลากรทางสาธารณสุขจานวนมากในการคัดกร อง ผู้สงู อายุ ทาให้การสอบเทยี บผู้ประเมนิ เป็นข้อจากดั ของการศึกษานี้ ข้อเสนอแนะในการนาผลการศึกษาไปใช้ 1. หนว่ ยงานทเี่ กี่ยวข้องกับการดแู ลผู้สงู อายุควรมีมาตรการในการส่งเสริมการออกกาลังกายในผูส้ ูงอายุให้ มากขน้ึ เพ่อื เพมิ่ ความสามารถในการทรงตัว และปอ้ งกันภาวะหกลม้ ท่ีอาจจะเกิดข้ึนไดใ้ นผู้สูงอายุ โดยเน้นยา้ ใน กลมุ่ ผสู้ ูงอายทุ ีเ่ ป็นเพศหญงิ มภี าวะเสยี่ งขอ้ เข่าเส่อื ม และความสามารถในการดาเนนิ ชีวิตประจาวันเป็นกลุ่มติด บ้านใหม้ ีการเขา้ รว่ มมากยง่ิ ขน้ึ 2. บคุ ลากรทางสาธารณสุขควรมีการดูแลผ้สู ูงอายทุ ่ีได้รับการคัดกรองพบภาวะเสย่ี งหกล้ม โดยเฉพาะใน เพศหญิง มีภาวะเสย่ี งขอ้ เข่าเสื่อม และความสามารถในการดาเนนิ ชีวติ ประจาวันเปน็ กล่มุ ติดบา้ นให้มีการติดตา ม เยยี่ มบ้าน ชักชวนเขา้ กจิ กรรมทีม่ ใี นชุมชน อาทิเช่น การออกกาลังกาย การเข้าร่วมชมรมตา่ งๆ ขอ้ เสนอแนะในการวิจยั ครัง้ ตอ่ ไป เนอื่ งจากการศกึ ษานี้เป็นการศึกษาแบบภาคตดั ขวาง (cross-sectional study) โดยใช้ข้อมลู ในอดีต จงึ มี ข้อจากดั ด้านขอ้ มูลท่ีอาจมีความสัมพันธก์ บั ภาวะเสีย่ งหกลม้ ในผสู้ งู อายุ เชน่ การมีโรคประจาตัวต่างๆ การมผี ู้ดูแล การรับประทานยาบางประเภท การเขา้ รว่ มชมรมสูงอายุ การออกกาลงั กายในหลายรปู แบบ เพ่ือลดขอ้ จากดั ด้าน ขอ้ มลู ดังทก่ี ล่าวมาควรมีการเพม่ิ เติมตัวแปรที่อาจมีผลต่อภาวะเส่ียงหกล้มในการศึกษาต่อไป เอกสารอ้างองิ Assantachai, P. (2011). Common health problems in the elderly and their prevention (2 ed.). Bangkok: Union Creation Co., Ltd. (in Thai) Bischoff, H. A., et al. (2003). Identifying a cut off point for normal mobility: a comparison of the timed up and go test in community-dwelling and institutionalised elderly women. Age and Ageing, 32(3), 315-320. doi:10.1093/ageing/32.3.315 %J Age and Ageing Campbell, A. J., Spears, G. F., & Borrie, M. J. (1990). Examination by logistic regression modelling of the variables which increase the relative risk of elderly women falling compared to elderly men. Journal of clinical epidemiology, 43(12), 1415-1420. วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปีท่ี 8 ฉบับที่ 2 เดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

147 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มูล TCI กลุ่มที่ 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) Department of medical services ministry of public health. guide to screening / assessing the elderly (2 ed.). Office of Printing Welfare, Veterans Organization. (in Thai) Gillespie, L. D., et al. (2012). Interventions for preventing falls in older people living in the community. Cochrane database of systematic reviews(9). Howe, T. E., Rochester, L., Neil, F., Skelton, D. A., & Ballinger, C. (2011). Exercise for improving balance in older people. Cochrane database of systematic reviews(11). Institute for Population and Social Research Mahidol University Thailand. (2021). Thailandometers. (online) Retrieved from http://www.thailandometers.mahidol.ac.th/. (inthai) Lampang provincial statistical office. (2021). Analyze and summarize the situation of the Lampang elderly. (online) Retrieved from http://lampang.nso.go.th/index.php?option=com_content&view=article&id=423:2020-09- 14-21-39-28&catid=105:2012-01-09-07-07-49&Itemid=657. (in Thai) Limpawattana, P., Sutra, S., Thavompitak, Y., Chindaprasirt, J., & Mairieng, P. (2012). Geriatric hospitalizations due to fall-related injuries. Journal of the medical association of thailand, 95(7), 235-239. Noopud, P., Phrom-On, D., Woradet, S., & Chaimay, B. (2020). Prevalence of fall risk and factors associated with fall risk among elderly people. Journal of sports science and health, 21(1).(inThai) Phelan, E. A., Mahoney, J. E., Voit, J. C., & Stevens, J. A. (2015). Assessment and management of fall risk in primary care settings. Medical clinics, 99(2), 281-293. Robbins, A. S., Rubenstein, L. Z., Josephson, K. R., Schulman, B. L., Osterweil, D., & Fine, G. (1989). Predictors of falls among elderly people: results of two population-based studies. Archives of internal medicine, 149(7), 1628-1633. Saelee, P., & Suttanon, P. (2018). Risk Factors for Falls in People with Knee Osteoarthritis: Systematic Review. Vajira medical journal: Journal of urban medicine, 62(4), 281-288. Skelton, D. A. (2001). Effects of physical activity on postural stability. Age ageing, 30(suppl_4), 33-39. Trongsakul, S., & Vimolratana, O. (2018). Prevalence and associated factors of fall risk in Thai older people: a primary care based study in Chiang Rai. Journal of current science and technology, 8(2), 99-106. van Schoor, N. M., et al. (2020). Clinical osteoarthritis of the hip and knee and fall risk: the role of low physical functioning and pain medication. Paper presented at the Seminars in arthritis and rheumatism. World Health Organization. (2015). World report on ageing and health: World Health Organization. วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปีท่ี 8 ฉบบั ท่ี 2 เดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

148 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มูล TCI กลมุ่ ที่ 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) Effectiveness of The Project-based learning on life skills of Nursing Students Adul Wuttijurepan* , Kanlayanee No-in* , Chulawaree Chaiwongnakkapun* (Received August 23, 2021, Revised: October 9, 2021, Accepted: October 18, 2021) Abstract The purpose of this quasi-experimental research, one-group pre-test and post-test design, aimed to study the effectiveness of the project-based learning on life skills of nursing students. Forty-nine second year nursing students participated in this study. The research instruments were 1) the project- based lesson plan on life skills of a 15-week of the learning by activities subject, 2) the life skills questionnaires of nursing students, and 3) the satisfaction questionnaires of the project-based learning. Data collection took place during June to October 2020. Descriptive statistics, and paired t-test were used for data analysis. The results were revealed that the overall mean scores and each part mean scores of nursing students’ life skills before and after the project-based study were not different (p >.05). When considering the average life skills scores of nursing students for each item in each part, it was found that the mean scores of the three life skills (empathetic skill, decision-making skill and problem- solving skill) after project- based learning were significantly higher than before project- based learning at .05. The overall mean scores of nursing students’ satisfaction of the project- based study were high. Suggestions: Project- based learning is an effective teaching strategy for developing of nursing students' life skills. It should be promoted as a teaching strategy in general education subjects and nursing subjects to improve and develop nursing students to increase life skills. Keywords: Effectiveness; Project based learning; Nursing students; Life skills * Nurse Instructor, Boromarajjonani College of Nursing, Phare Faculty of Nursing, Praboromarajchanok Institute, Ministry of Public Health วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปีท่ี 8 ฉบับที่ 2 เดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July-December 2021, Vol.8 No.2

149 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มูล TCI กลุ่มที่ 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) ประสิทธผิ ลของการเรยี นโดยใช้โครงงานเป็นฐานต่อทกั ษะชวี ติ ของนักศกึ ษาพยาบาล อดุลย์ วุฒจิ รู ีพนั ธ์ุ*, กัลยาณี โนอนิ ทร์*, จฬุ าวรี ชยั วงคน์ าคพันธ์* (วันรบั บทความ: 23 สงิ หาคม 2564, วันแกไ้ ขบทความ : 9 ตลุ าคม 2564, วันตอบรับบทความ : 18 ตุลาคม 2564) บทคัดยอ่ การวิจยั กึง่ ทดลองแบบกลุ่มเดยี ววัดผลกอ่ นและหลังการทดลอง มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พ่ือศกึ ษาประสิทธิผลของ การเรียนโดยใชโ้ ครงงานเปน็ ฐานต่อทักษะชีวิตของนักศึกษาพยาบาล ประชากรเปน็ นกั ศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิต ชน้ั ปที ่ี 2 จานวน 49 คน เคร่ืองมือในการวจิ ยั ประกอบดว้ ย 1) แผนการสอนการเรยี นโดยใชโ้ ครงงานเป็นฐาน ต่อ ทักษะชวี ติ ในรายวิชาการเรยี นรู้ผ่านกิจกรรมมรี ะยะเวลา 15 สปั ดาห์ 2) แบบประเมนิ ทกั ษะชีวิตของนักศึกษา พยาบาล และ 3) แบบประเมินความพึงพอใจต่อการเรยี นโดยใชโ้ ครงงานเป็นฐาน เก็บรวบรวมข้อมลู ระหวา่ งเดือน มิถนุ ายนถงึ ตุลาคม พ.ศ.2563 วเิ คราะหข์ อ้ มลู โดยใช้สถิตเิ ชิงพรรณนา และการทดสอบความแตกตา่ งค่าเฉล่ียของ กลมุ่ ตัวอย่าง 2 กลมุ่ ทไ่ี ม่เป็นอิสระต่อกนั ผลการวิจยั พบวา่ คา่ เฉลีย่ คะแนนทกั ษะชีวติ โดยรวมและรายดา้ นกอ่ นและหลังการเรียนฯ ไม่แตกต่างกัน (p >.05) เมื่อพจิ ารณาคา่ เฉลย่ี คะแนนทกั ษะชีวิตของนักศกึ ษาพยาบาลเป็นรายข้อแตล่ ะด้าน พบว่า ทกั ษะด้าน การเห็นอกเห็นใจบคุ คลอน่ื ทกั ษะด้านการตดั สินใจ และทกั ษะด้านการแก้ไขปัญหา มีคา่ เฉล่ียคะแนนทกั ษะชีวิต สูงกวา่ ก่อนการเรยี นแบบโครงงานเปน็ ฐานอยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถติ ิท่รี ะดับ .05 สว่ นค่าเฉลย่ี คะแนน ความพึงพอใจต่อ การเรียนโดยรวมอยใู่ นระดับมาก ข้อเสนอแนะ: การเรียนโดยใชโ้ ครงงานเปน็ ฐานเป็นกลวธิ กี ารสอนท่มี ปี ระสทิ ธิภาพสาหรับการพัฒนาทกั ษะ ชวี ติ ของนักศึกษาพยาบาล ควรส่งเสรมิ ให้เป็นกลวธิ กี ารสอนในวชิ าหมวดวิชาศึกษาท่ัวไป และหมวดวชิ าชีพการพยาบาล เพื่อสง่ เสริมและพัฒนาให้นักศึกษาพยาบาลมที ักษะชวี ิตเพมิ่ ขน้ึ คาสาคัญ: ประสิทธิผล; การเรยี นโดยใช้โครงงานเปน็ ฐาน; นักศกึ ษาพยาบาล; ทกั ษะชวี ติ * อาจารยพ์ ยาบาล, วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี แพร่ คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสขุ วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปีที่ 8 ฉบบั ท่ี 2 เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July-December 2021, Vol.8 No.2

150 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มูล TCI กลมุ่ ที่ 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) บทนา ทกั ษะชีวิต มคี วามจาเป็นสาหรับการดารงชวี ิตของวัยรนุ่ ในสงั คมโลกยคุ ศตวรรษท่ี 21 เนือ่ งจากวัยร่นุ ต้อง เผชิญกับการเปลี่ยนแปลงทางดา้ นสงั คม เศรษฐกจิ การเมือง ฯลฯ อยา่ งรวดเรว็ อนั เป็นผลมาจากการใชเ้ ทคโนโลยีทนั สมัย ในการขบั เคล่ือน วยั รนุ่ เปน็ วัยหวั เลีย้ วหวั ตอ่ ของชวี ิตที่กาลังจะเข้าสู่วยั ผูใ้ หญ่ ทาให้เปน็ วัยแห่งความสบั สน มคี วาม เข้มแข็งทางจติ ใจ ความมเี หตผุ ล และความทันตอ่ โลกนอ้ ย ซ่งึ เปน็ ผลสบื เนอ่ื งมาจากการมีประสบการณ์น้อยในการ ตดั สนิ ใจในการดาเนนิ ชวี ติ (Phanjawattanakun, J., 2018) การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจงึ เป็นทง้ั ปัจจัยทเี่ อือ้ ต่อการ พัฒนาและเพมิ่ ความเสย่ี งต่อการเกิดปัญหาในวยั รุ่น ทกั ษะชวี ติ จึงเหมอื นภูมคิ ุม้ กนั ท่ีมสี ว่ นชว่ ยสนับสนนุ และลดปัญหา ที่เข้ามาคุกคามชีวิตของวัยรุ่นให้สามารถปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงการดาเนนิ ชวี ิตประจาวันด้านตา่ งๆ ไม่ว่าดา้ นสว่ นตวั ด้านครอบครวั ดา้ นสงั คมใหส้ มบรู ณย์ ิ่งข้นึ เพอ่ื ใหก้ ารดารงชวี ติ มีความสขุ ท้ังในปัจจุบันและอนาคต (Im-iam, S.& Makmee, P.,2019) หากขาดทักษะชวี ติ ก็จะนาไปส่กู ารเผชิญกับความเสีย่ งท่ี เกิดขนึ้ เช่น การตดิ เกมส์ การใช้สารเสพตดิ การตัง้ ครรภ์ไม่พรอ้ ม ฯลฯ อนั นาไปสปู่ ัญหาต่างๆ ตามมา อาทิ ปัญหา สขุ ภาพ ปญั หาการเรยี น ปญั หาครอบครวั และปญั หาสังคม นักศึกษาพยาบาลส่วนใหญ่มีอายุ 18 – 21 ปี ถือวา่ เปน็ วัยรนุ่ ตอนปลายถึงวัยผู้ใหญต่ อนต้น นอกจากได้รบั อทิ ธพิ ลจากการเปล่ียนแปลงเชน่ เดียวกับวัยรนุ่ โดยทัว่ ไปปัจจัยดา้ นการเรยี นการสอนในหลกั สตู รพยาบาลศาสตรบัณฑิต การปฏบิ ตั ิบทบาทตามความคาดหวังของสงั คมหรือวชิ าชีพ การปรบั ตัวเพอ่ื ใช้ชวี ิตในมหาวทิ ยาลัยและ อยรู่ ว่ มกับผู้อนื่ ในสังคม ลว้ นถือวา่ มีสว่ นสาคัญต่อความสามารถในการปรบั ตัวเพ่ือเผชิญปญั หา หากนักศึกษาไม่สามารถปรับตัวได้ สง่ ผลใหน้ ักศึกษาเกดิ ปัญหาความวิตกกังวล ภาวะเครียด ภาวะซมึ เศรา้ ทาให้ตอ้ งพกั การเรียน การเรยี นซ้าช้ัน หรือ ลาออกกลางคัน และผลกระทบท่ีรุนแรงท่ีสุดของภาวะซึมเศร้าในนักศึกษาคือการฆ่าตัวตาย (Bundasak,T.,etal.,2021) สอดคลอ้ งกบั การศกึ ษาของ Khamwong, W., et al., (2016) เกีย่ วกบั ความเครียดและสาเหตุของความเครยี ดของ นกั ศกึ ษาพยาบาลในวิทยาลยั พยาบาล สังกัดสถาบันพระบรมราชชนก พบวา่ กลุ่มตัวอย่างมีความเครียดอย่ใู นระดับสงู กว่าปกติเล็กนอ้ ย ร้อยละ 38.79 และมีความเครยี ดอยู่ในระดับสูงกวา่ ปกตมิ าก รอ้ ยละ 4.24 โดยสาเหตุของความเครยี ด ได้แก่ ปจั จัยด้านครอบครัว การเรียน ระเบยี บของสถานศึกษา เพอื่ น อาจารย์ การจดั สรรเวลา เศรษฐกจิ และสาเหตใุ น อนาคต (กลัวทาผิดระเบียบ กลัวสอบตก กลัวผิดหวังในการเรียน กังวลเร่ืองชีวิตส่วนตัว) ซึ่งสาเหตุทั้งหมดมี ความสมั พันธท์ างบวกกับระดบั ความเครยี ดของนกั ศกึ ษาพยาบาลอยา่ งมนี ัยสาคญั (p < .01) ดังน้ันการพฒั นาทักษะชีวติ จงึ มคี วามจาเป็นสาหรบั นักศึกษาพยาบาล แนวทางการพัฒนาทักษะชวี ิตสามารถพัฒนาให้เกดิ ขีน้ ในตัวบุคคลไดด้ ว้ ยวธิ ีการสาคญั 2 วิธี ได้แก่ การพัฒนา ทเ่ี กดิ เองตามธรรมชาติ เปน็ การเรียนรู้ทีข่ นึ้ อยกู่ บั ประสบการณแ์ ละการมแี บบอย่างท่ีดีจากสมาชกิ ในครอบครวั และ การพัฒนาโดยกระบวนการเรยี นการสอน เป็นการเรียนร้ใู ห้ผูเ้ รียนได้เรยี นรรู้ ว่ มกันในกลมุ่ ผา่ นกิจกรรมรปู แบบต่างๆ ได้ ลงมอื ปฏิบตั ิ ได้ร่วมคดิ อภิปรายแสดงความคิดเหน็ ไดแ้ ลกเปลีย่ นความคดิ และประสบการณซ์ ่ึงกันและกัน ได้สะท้อน ความรสู้ ึกนึกคดิ มุมมอง เชื่อมโยงสวู่ ิถีชวี ติ ของตนเอง เพอื่ สร้างองค์ความรใู้ หม่และปรับใชก้ ับชวี ิต (Pipattanawong, W., 2014) สาหรับสถาบันการศกึ ษาทางการพยาบาล พบว่ามดี าเนินการพฒั นาและสร้างทักษะชีวิตแกน่ ักศึกษาพยาบาลผ่าน วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีท่ี 8 ฉบบั ท่ี 2 เดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July-December 2021, Vol.8 No.2

151 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มลู TCI กลมุ่ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) กระบวนการเรียนการสอนในหลกั สูตรและกจิ กรรมเสรมิ หลกั สตู ร ภายใต้กรอบแนวคิดเชิงมโนทัศนส์ าหรบั ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 (Model of 21st Century Outcomesand Support Systems) โดยเนน้ ผลลัพธท์ เ่ี กิดกบั ผเู้ รียนทั้งดา้ น ความรู้สาระหลักและทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 ซ่งึ มีผลการศึกษาทกั ษะชีวิตของนักศกึ ษาพยาบาล พบวา่ มที กั ษะชวี ิต โดยรวมอยู่ในระดับสูง (Jiramanaswong, A., Howharn, C., & Wannatawee, P., 2020 ; Sarakshetrin, A., et al., 2021) โดยมผี ลการศึกษาสว่ นหนง่ึ พบว่าทกั ษะชวี ิตลดลงเมอื่ อยรู่ ะดบั ช้นั ปีท่ีสงู ข้นึ ผวู้ จิ ยั จงึ ได้แนวคิดวา่ นกั ศึกษา พยาบาลควรได้รบั การสง่ เสรมิ และพัฒนาด้านทักษะชวี ติ อย่างต่อเนื่อง ในการศึกษาที่ผ่านมามงี านวิจยั ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การพัฒนาทกั ษะชวี ติ สาหรับนักศกึ ษาพยาบาล โดยมุ่งไปที่การ ฝกึ อบรม ดงั การศึกษาของ Saichamchan, S., et al., (2015) เกี่ยวกับการพฒั นาหลกั สูตรฝกึ อบรมเพอื่ เสริมสร้าง ทักษะชีวิตสาหรบั นักเรยี นพยาบาล และการศึกษาของ Surangsee, S., Leungratanamart, L., & Pookitsana, S., (2019) เกยี่ วกบั โปรแกรมการฝกึ ทักษะชีวติ เพ่ือเสรมิ สร้างความแขง็ แกร่งในชวี ิตของนักศึกษาพยาบาล ซึง่ จากผล การศึกษาดังกล่าว ผู้วิจัยได้แนวคิด ว่ารูปแบบกิจกรรมการฝึกอบรมในช่วงระยะเวลา 1 - 3 สัปดาห์อาจทาให้ ประสิทธิผลเกิดข้ึนในช่วงระยะเวลาอันสั้น จึงควรเชื่อมโยงการพัฒนาทักษะชีวิตเขา้ กับการเรียนการสอนโดยใช้ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน (project-based learning) ท่ีมุ่งให้ผู้เรียนได้เช่ือมโยง ประสบการณจ์ ากชวี ิตจริงสู่การเรียนรู้คน้ หาคาตอบดว้ ยการลงมือ คน้ ควา้ ปฏิบัติจริง เพ่อื เตรียมควา มพร้อม ตอ่ การดารงชีวิตในอนาคต (Khammani, T., 2018 ; Pangsri, S., 2018) ซ่ึงมีผลการศึกษาการเรยี นแบบโครงงานเปน็ ฐาน เกีย่ วขอ้ งกบั การพฒั นาทกั ษะชีวิตสาหรบั นักศึกษาพยาบาล พบว่า ทาให้นักศึกษามีทักษะด้านการคิดสูงขึ้น (Suvithayasiri , K., et al., 2020 ; Sarakshetrin, N., et al., 2021) แต่ยังมีงานวิจัยจานวนน้อยที่ศึกษาผลตอ่ การ พัฒนาทักษะชวี ติ โดยภาพรวม สาหรับวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีแพร่ มีการพฒั นาทกั ษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ใหม้ กี ารใฝร่ ู้ แสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเอง คิดอย่างมวี ิจารณญาณและการมีความคิดสรา้ งสรรค์ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ อยา่ งรเู้ ทา่ ทันรวมถึงการทางานรว่ มกับผอู้ ืน่ ได้ โดยกาหนดเป็นผลลพั ธก์ ารเรยี นร้ใู นกจิ กรรมเสรมิ หลักสตู ร และการ จดั การเรียนในหลักสตู รผา่ นรายวชิ าต่างๆ ซ่งึ รายวชิ าการเรยี นรผู้ า่ นกิจกรรม มีวตั ถุประสงค์เพื่อให้นักศึกษาเกิด ประสบการณ์ภาคทดลองดา้ นกิจกรรมเสริมสร้างทกั ษะชีวติ บุคลกิ ภาพ จติ สาธารณะและการดารงชวี ติ อยา่ งพอเพียง สาหรับนักศึกษาหลักสตู รพยาบาลศาสตรบณั ฑิต ช้ันปีที่ 2 มรี ะยะเวลาเรยี น 15 สัปดาห์ (90 ชั่วโมง)ซึ่งเหมาะแกก่ ารเรียนรู้ โดยใชโ้ ครงงานเปน็ ฐาน ท่ีผ่านมาแม้วา่ มกี ารจดั การเรียนการสอนโดยใชโ้ ครงงานเป็นฐาน แตย่ ังไม่มีขอ้ มูล ทเ่ี ปน็ หลกั ฐานเชิงประจกั ษส์ าหรับนาไปพัฒนาต่อยอดในรายวชิ าอนื่ ๆ ดังนั้นผ้วู จิ ัยจึงไดพ้ ัฒนาการเรียนโดยใช้โครงงานเปน็ ฐานตอ่ ทักษะชีวิตของนักศกึ ษาพยาบาลโดยใช้ขั้นตอนการเรียนแบบโครงงานตามแนวคดิ ของ Panich, V. (2012) ท่ี แบ่งขั้นตอนการเรียนแบบโครงงานเป็นฐานออกเป็น 5 ขั้นตอน ไดแ้ ก่ การกาหนดปญั หา การวางแผนดาเนินโครงงาน การลงมอื ปฏบิ ตั ดิ ้วยตนเอง การทบทวนกระบวนการเรยี นรู้ และการนาเสนอตอ่ ชนั้ เรียนหรือท่ปี ระชุม อนั จะนาไปสู่ การพัฒนาทักษะชีวิตของนักศึกษาพยาบาลให้มีคุณภาพ ในการดารงชวี ิตของตนเอง และการประกอบวิชาชีพ สถาบนั การศกึ ษาทางการพยาบาล นาไปใช้เป็นแนวทางการพัฒนาทกั ษะชีวิตนักศึกษาพยาบาล รวมท้ังเป็นแนวทางการ พฒั นางานวิจยั ด้านการเรยี นเพื่อพัฒนาทักษะชีวติ ในนกั ศกึ ษาระดับอุดมศกึ ษาตอ่ ไป วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื ปที ่ี 8 ฉบับท่ี 2 เดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July-December 2021, Vol.8 No.2

152 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มูล TCI กลมุ่ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) วตั ถุประสงค์ เพ่ือศกึ ษาประสทิ ธผิ ลของการเรยี นโดยใชโ้ ครงงานเป็นฐานตอ่ ทักษะชีวติ ของนักศึกษาพยาบาล สมมตฐิ านการวิจยั 1. หลังเข้ารว่ มการเรียนโดยใชโ้ ครงงานเป็นฐานนักศกึ ษาพยาบาลมีค่าเฉล่ียทักษะชีวติ ดกี ว่าก่อนการเรียน โดยใชโ้ ครงงานเป็นฐาน 2. หลงั เข้ารว่ มการเรียนโดยใชโ้ ครงงานเปน็ ฐานนักศกึ ษาพยาบาลมีค่าเฉลย่ี ระดบั ความพึงพอใจตอ่ การ เรยี นฯ ในรายวิชาการเรียนรู้ผ่านกจิ กรรมในระดับมาก ขอบเขตงานวจิ ัย ขอบเขตการวิจยั มี 4 ดา้ นดังน้ี 1. ด้านตวั แปรท่ีศกึ ษา ตัวแปรตน้ ไดแ้ ก่ การเรียนโดยใชโ้ ครงงานเป็นฐาน ตัวแปรตาม ไดแ้ ก่ ทักษะชีวติ ของนกั ศึกษาพยาบาล และความพึงพอใจตอ่ การจัดการเรียนการสอนโดยใชโ้ ครงงานเปน็ ฐาน 2. ดา้ นประชากร/กลุ่มตัวอยา่ ง เป็นนักศึกษาพยาบาลชนั้ ปีท่ี 2 วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี แพร่ ทลี่ งทะเบยี นเรยี นในรายวิชาการเรียนรู้ผ่านกิจกรรม ภาคการศึกษาท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 จานวน 49 คน เลือก แบบเจาะจง (purposive sampling) 3. ดา้ นพ้ืนที่ วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี แพร่ 4. ดา้ นระยะเวลา ใช้ระยะเวลา 15 สัปดาห์ ระหว่างเดอื น มถิ นุ ายน ถึง ตลุ าคม พ.ศ.2563 กรอบแนวคิดในการวิจยั ตวั แปรต้น ตัวแปรตาม การเรียนโดยใชโ้ ครงงานเปน็ ฐาน ประกอบดว้ ย 5 ข้นั ตอน ไดแ้ ก่ 1. การกาหนดหวั ขอ้ โครงการ (define) 1. ทักษะชวี ิตของนกั ศึกษาพยาบาล 1.1 ระบุสถานการณป์ ญั หา 1) องค์ประกอบดา้ นสงั คม มี 3 ดา้ น 1.2 วิเคราะห์สาเหตุ และหาแนวทางแกไ้ ข 1.1) ทักษะการตดิ ต่อสอื่ สาร 2. การวางแผนทาโครงการ (plan) 1.2) ทกั ษะการเห็นอกเหน็ ใจบุคคลอนื่ 2.1 สืบคน้ ขอ้ มลู จากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ 1.3) ทักษะการสรา้ งสัมพันธภาพระหวา่ งบุคคล 2.2 ออกแบบโครงการและเคร่ืองการประเมินผล 2) องคป์ ระกอบด้านความคดิ มี 2 ดา้ น 3. การลงมือปฏบิ ัตดิ าเนนิ งานโครงการ (do) 2.1) ทกั ษะการตัดสินใจ 3.1 ฝกึ ปฏิบัติการจดั ทาโครงการ 2.2) ทักษะการแกป้ ญั หา 4. การประเมินผลโครงการ (review) 3) องคป์ ระกอบดา้ นการเผชิญทางอารมณ์ มี 2 ด้าน 4.1 ถอดบทเรียนความกา้ วหน้าของโครงการ 3.1) ทกั ษะการจดั การกบั อารมณแ์ ละความเครียด 4.2 เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลประเมนิ ผล 3.2) ทกั ษะความตระหนกั รใู้ นตนเอง 4.3 วิเคราะหผ์ ลข้อมูลประเมนิ ผล 2. ความพงึ พอใจต่อการจัดการเรยี นการสอนโดยใช้ 5. การเผยแพรโ่ ครงการ (presentation) โครงงานเป็นฐาน 5.1 จดั ทารายงานสรุปโครงการ 5.2 การนาเสนองานรายงานหนา้ ชนั้ เรยี น ภาพที่ 1 กรอบแนวคดิ ในการวิจยั วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ่ี 8 ฉบบั ที่ 2 เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July-December 2021, Vol.8 No.2

153 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคุณภาพของ TCI และอยใู่ นฐานข้อมูล TCI กล่มุ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) วธิ ีดาเนินการวจิ ยั รูปแบบการวิจยั เป็นการวจิ ยั กึ่งทดลอง (quasi-experimental research) ท่ีใชแ้ ผนการวิจยั แบบกลมุ่ เดยี ววัดกอ่ นและหลงั การทดลอง (one group pretest-posttest design) ประชากรและกลุม่ ตวั อย่าง ประชากรและกลุม่ ตัวอย่างเป็นนกั ศึกษาพยาบาลศาสตรบณั ฑติ ชั้นปที ี่ 2 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนแี พร่ ที่ลงทะเบียนเรยี นวิชาการเรียนรู้ผ่านกจิ กรรมในภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563 จานวน 49 คน และยนิ ดเี ข้ารว่ มใน การวิจยั เครอื่ งมือทใี่ ช้ในการวจิ ยั ประกอบดว้ ย 1. เครือ่ งมอื ในการดาเนนิ การวจิ ยั ไดแ้ ก่ แผนการสอนการเรยี นโดยใชโ้ ครงงานเป็นฐานต่อทกั ษะชีวิตใน รายวชิ าการเรียนร้ผู ่านกจิ กรรม มีวตั ถปุ ระสงค์เพือ่ ใหน้ ักศกึ ษาเกิดประสบการณภ์ าคทดลองด้านกิจกรรมเสริมสร้าง ทกั ษะชวี ิต บคุ ลกิ ภาพ จติ สาธารณะและการดารงชีวติ อยา่ งพอเพียงสาหรับนกั ศึกษาหลักสตู รพยาบาลศาสตรบัณฑิต ชนั้ ปีท่ี 2 มีระยะเวลาเรียน 15 สัปดาห์ (90 ชวั่ โมง) เรียนในวนั อังคาร เวลา 09.00-12.00 น.และวันพุธ เวลา 14.00-17.00 น. ซ่ึงแผนการสอนนี้ได้ออกแบบกิจกรรมที่พัฒนาทักษะชีวิตของผู้เรียนโดยพัฒนามาจากการ ทบทวนวรรณกรรมจากนักวิชาการหลายท่าน อาทิ Panich, V. (2012) ;Saichamchan, S., et al., (2015) ; Surangsee, S., Leungratanamart, L., & Pookitsana, S. (2019) โดยสรุปได้ดังนี้ ข้ันตอนการเรียนแบบ โครงงาน ประกอบด้วย 5 ข้ันตอน ได้แก่ 1) การกาหนดหวั ข้อโครงการ 2) การวางแผนทาโครงการ 3) การลงมอื ปฏิบัติ ดาเนินงานโครงการ 4) การประเมนิ ผลโครงการ และ5) การเผยแพรโ่ ครงการ ลกั ษณะกจิ กรรมการจัดการเรียนการสอน ไดแ้ ก่ การบรรยายแบบมีส่วนร่วม การจดั กจิ กรรมกลุ่ม การสะท้อนคิด การมอบหมายจัดทาโครงการ ฝึกปฏิบตั ิการ จดั ทาโครงการ การนาเสนองานรายงานหน้าชั้นเรยี น เปน็ ตน้ บทบาทอาจารยผ์ ูส้ อนทาหนา้ ทเี่ ปน็ ท่ีปรึกษา กระตุ้น ให้กาลังใจ กากับติดตามและประเมนิ ผลอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง 2. เครือ่ งมือทใ่ี ช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล ได้แก่ 2.1 แบบประเมินทักษะชีวิตของนักศึกษา พยาบาล โดยผู้วิจัยดัดแปลงใช้แบบประเมิน ของ Voracharoensri, S. (2007) ที่พฒั นาแบบประเมินทักษะชวี ิตในนกั เรียนวัยรุน่ ซง่ึ เปน็ วยั เดียวกันกบั นกั ศึกษาพยาบาล แบ่งเป็น 2 ส่วนดังน้ี ส่วนท่ี 1 ข้อมูลพื้นฐานส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ เพศ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น ลักษณะของคาถา ม เป็นแบบปลายปิดจานวน 3 ขอ้ สว่ นที่ 2 แบบประเมนิ ทักษะชีวติ ของนักศึกษาพยาบาล มี 3 องคป์ ระกอบ ไดแ้ ก่ 1) องค์ประกอบ ดา้ นสังคม (ทักษะการติดตอ่ ส่อื สาร ทกั ษะการเห็นอกเห็นใจบุคคลอ่นื และทกั ษะการสรา้ งสัมพันธภาพระหว่าง บคุ คล) 2) องคป์ ระกอบด้านความคดิ (ทักษะการตัดสนิ ใจ และทักษะการแกป้ ัญหา) และ 3) องค์ประกอบดา้ นการ เผชิญทางอารมณ์ (ทกั ษะการจดั การอารมณ์และความเครยี ด ทกั ษะความตระหนักร้ใู นตนเอง) มขี ้อคาถามจานวน 22, 9 และ 14 ขอ้ ตามลาดับ รวมมขี อ้ คาถามท้ังหมดจานวน 45 ขอ้ แบบสอบถามมีลักษณะคาตอบเป็นแบบ วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีท่ี 8 ฉบบั ท่ี 2 เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July-December 2021, Vol.8 No.2

154 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมูล TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) ประมาณคา่ 5 ระดบั โดยข้อคาถามเชงิ บวก 5 คะแนน หมายถงึ จรงิ ทส่ี ดุ ถึง 1 คะแนน หมายถึง ไม่จรงิ เลย และ ส่วนข้อคาถามเชิงลบ 1 คะแนน หมายถึง จรงิ ท่ีสดุ ถงึ 5 คะแนน หมายถึง ไม่จริงเลย การแปลความหมายคะแนนเฉลีย่ ของทกั ษะชวี ติ ทั้งรายด้านและโดยรวม ดงั น้ี คะแนนเฉล่ีย 4.50 – 5.00 หมายถงึ นกั ศึกษาพยาบาลมีทกั ษะชวี ิตสูงมาก คะแนนเฉล่ีย 3.50 – 4.49 หมายถึง นักศึกษาพยาบาลมที กั ษะชีวติ สงู คะแนนเฉลี่ย 2.50 – 3.49 หมายถงึ นกั ศกึ ษาพยาบาลมที ักษะชวี ติ ปานกลาง คะแนนเฉลย่ี 1.50 – 2.49 หมายถึง นกั ศึกษาพยาบาลมที กั ษะชวี ติ ตา่ คะแนนเฉลี่ย 1.00 – 1.49 หมายถึง นักศึกษาพยาบาลมีทกั ษะชีวิตตา่ มาก 2.2 แบบประเมินความพึงพอใจตอ่ การเรยี นโดยใชโ้ ครงงานเป็นฐานในรายวิชาการเรยี นรผู้ ่านกจิ กรรม ใช้แบบประเมนิ ของ Kusirirat, K., & Nuchprayoon, N. (2019) ความพึงพอใจมี 3 ดา้ น ได้แก่ ด้านการจัดการ เรียนรู้ ด้านกิจกรรมการเรียน และดา้ นประโยชน์ท่ไี ดร้ ับ มขี ้อคาถามจานวน 5, 7 และ 8 ข้อตามลาดบั รวมมขี ้อ คาถามทั้งหมดจานวน 20 ข้อ แบบสอบถามมีลักษณะคาตอบเปน็ แบบประมาณค่า 5 ระดับ โดย 5 คะแนน หมายถงึ พึงพอใจมากที่สดุ ถงึ 1 คะแนน หมายถึง พึงพอใจนอ้ ยท่ีสดุ การแปลความหมายคะแนนเฉล่ียของความพงึ พอใจท้ังรายด้าน และโดยรวมดงั น้ี คะแนนเฉลย่ี 4.21 –5.00 หมายถึง นกั ศึกษาพยาบาลมคี วามพงึ พอใจต่อการเรยี นโดยใชโ้ ครงงานเปน็ ฐานในรายวชิ าการเรียนรผู้ ่านกจิ กรรมมาก ท่สี ดุ คะแนนเฉลยี่ 3.41 – 4.20 หมายถงึ นกั ศึกษาพยาบาลมคี วามพงึ พอใจต่อการเรยี นฯ มาก คะแนนเฉลยี่ 2.61 – 3.40 หมายถงึ นักศกึ ษาพยาบาลมคี วามพึงพอใจต่อการเรยี นฯ ปานกลาง คะแนนเฉลี่ย 1.81– 2.60 หมายถงึ นักศึกษา พยาบาลมคี วามพงึ พอใจต่อการเรยี นฯ น้อย คะแนนเฉล่ยี 1.00 – 1.80 หมายถึง นกั ศกึ ษาพยาบาลมีความพึงพอใจตอ่ การเรียนฯ น้อยทส่ี ุด การตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือ นาเครอื่ งมือในการดาเนินการวจิ ยั ไดแ้ ก่ แผนการสอนการเรียนโดยใช้ โครงงานเป็นฐานต่อทักษะชีวิตในรายวิชาการเรียนรู้ผ่านกิจกรรม และเครอื่ งมือท่ีใช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล ไดแ้ ก่ แบบประเมินทักษะชวี ติ ของนกั ศึกษาพยาบาลและแบบประเมนิ ความพึงพอใจตอ่ การเรยี นฯ ใหผ้ ู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 5 ท่าน ประกอบด้วยผู้เชีย่ วชาญด้านการศึกษาพยาบาลจานวน 3 ท่านและผู้เช่ียวชาญด้านจิตวทิ ยา จานวน 2 ทา่ น ตรวจสอบความตรงเชงิ เนอ้ื หา (content validity) จากน้นั ทาการวเิ คราะห์คา่ ดัชนีความตรงเชิงเนื้อหา ด้วยคา่ ดชั นคี วามสอดคล้อง (item objective congruence: IOC) ซง่ึ แผนการสอนการเรยี นโดยใชโ้ ครงงาน เป็น ฐานตอ่ ทกั ษะชีวิตในรายวิชาการเรียนรผู้ า่ นกจิ กรรม ได้คา่ IOC เท่ากบั 0.92 แบบประเมนิ ทักษะชีวิตของนักศึกษา พยาบาล ไดค้ ่า IOC เทา่ กบั 0.88 และแบบประเมนิ ความพึงพอใจตอ่ การเรยี นฯ ได้คา่ IOC เทา่ กับ 0.88 ส่วนการ ตรวจสอบความเท่ียงของเครื่องมือ (reliability) ใช้ค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาค (cronbach’s alpha coefficient) ได้ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามทกั ษะชวี ิตของนกั ศึกษาพยาบาล และแบบสอบถามความพึงพอใจ ตอ่ การเรยี นฯ เทา่ กบั 0.87 และ 0.94 ตามลาดับ วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปที ่ี 8 ฉบบั ท่ี 2 เดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July-December 2021, Vol.8 No.2

155 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มูล TCI กลุม่ ท่ี 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) วธิ ีเก็บรวบรวมขอ้ มูล แบง่ เปน็ 3 ระยะ ดงั นี้ 1. ระยะก่อนการทดลอง โดยการประเมนิ ขอ้ มลู ท่วั ไป และทกั ษะชวี ติ ของผเู้ รียนในวันเดยี วกนั กับกิจกรรมการเตรยี มความพรอ้ มของผู้เรียน 2. ระยะดาเนนิ การทดลอง สัปดาหท์ ี่ 1 เป็นกจิ กรรมการเตรียมความพร้อมของผู้เรยี น ประกอบดว้ ยกจิ กรรม การปฐมนเิ ทศ เก่ยี วกับรายวิชา รปู แบบการเรยี นโดยใช้โครงงานเป็นฐาน กจิ กรรมเพ่อื พัฒนาทักษะการสือ่ สารและการสร้าง สัมพนั ธภาพระหวา่ งบุคคล รวมทั้งกจิ กรรมฝกึ ทักษะการฟังดว้ ยกระบวนการสุนทรียสนทนา สปั ดาห์ท่ี 2 ข้นั การกาหนดหัวข้อโครงการ โดยจัดกิจกรรมใหผ้ ู้เรยี นระบุสถานการณ์ปัญหาของ นักศึกษาพยาบาลภายใต้บรบิ ทของวทิ ยาลัยฯ เพ่อื นาไปสู่การวิเคราะหส์ าเหตุ และวิธีการแก้ไข สัปดาห์ที่ 3-5 ข้ันการวางแผนทาโครงการ โดยจัดกิจกรรมมอบหมายให้ผู้เรยี นสืบค้นข้อมูล หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์เพือ่ นามาใช้ในการแก้ไขปัญหา กจิ กรรมนาเสนอขอ้ มูลจากการสบื คน้ โดยใช้หลกั ฐานเชิงประจักษ์ กิจกรรมนาเสนอการออกแบบกจิ กรรมโครงการและเคร่ืองมือการประเมินผลโครงการกจิ กรรม รวมท้ังผสู้ อนให้ ข้อมูลป้อนกลับตอ่ การนาเสนอผลงานกลุ่ม สปั ดาหท์ ่ี 6-12 ข้นั ลงมอื ปฏิบัติดาเนินงานโครงการ โดยจัดกจิ กรรมฝกึ ปฏบิ ตั ดิ าเนินงานโครงการ ใน/นอกชว่ั โมงเรยี น กลมุ่ ละ 2 ครง้ั ๆละ 2-3 ช่ัวโมง ผูส้ อนให้ขอ้ มูลปอ้ นกลบั ต่อการปฏิบตั ิงานโครงการเพอ่ื สร้าง ความตระหนกั รู้ของผู้เรียน ในสัปดาหท์ ่ี 10 กลุม่ ตวั อย่างแต่ละกลุ่มมีการรายงานความกา้ วหนา้ ของการดา เนิน กิจกรรมโครงการ พร้อมกิจกรรมถอดบทเรยี น (AAR) ระหว่างดาเนนิ งานร่วมกันในช่วั โมงเรยี น สปั ดาหท์ ่ี 13-14 ขั้นประเมินผลโครงการ โดยจดั กจิ กรรมมอบหมายให้ผู้เรยี นเกบ็ รวบรวมข้อมูล และวเิ คราะห์ผลภายหลงั จัดทาโครงการ สปั ดาหท์ ี่ 15 ขั้นการเผยแพร่โครงการโดยจัดกิจกรรมมอบหมายใหผ้ ู้เรยี นจัดทาเป็นรายงานสรุป และนาเสนอโครงการกิจกรรม ผู้สอนให้ขอ้ มูลป้อนกลบั ต่อการนาเสนอผลงานกล่มุ เพื่อสร้างความตระหนกั รขู้ องผู้เรยี น 3. ระยะหลงั การทดลอง สัปดาห์ที่ 16 การประเมนิ ผลภายหลังการจัดการเรียนการสอนและการวิจัย โดยการประเมิน ทักษะชวี ิตของผู้เรยี น และความพึงพอใจต่อการจดั การเรยี นการสอนโดยใช้โครงงานเป็นฐานในรายวิชาการเรยี นรู้ ผ่านกิจกรรม การวเิ คราะห์ขอ้ มลู 1. ข้อมลู ท่ัวไป และระดบั ความพงึ พอใจต่อการเรียนแบบโครงงานเปน็ ฐานด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลีย่ และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 2. การเปรียบเทียบคา่ เฉล่ียทกั ษะชีวติ ของนกั ศกึ ษาพยาบาลก่อนและหลงั การเรียนแบบโครงงานเป็นฐาน ดว้ ยการทดสอบความแตกตา่ งคา่ เฉล่ยี ของกลมุ่ ตัวอย่าง 2 กลุม่ ทีไ่ มเ่ ปน็ อสิ ระต่อกัน (paired t-test) วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีท่ี 8 ฉบับท่ี 2 เดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July-December 2021, Vol.8 No.2

156 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมูล TCI กลมุ่ ที่ 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) การพทิ กั ษส์ ิทธิก์ ลุ่มตวั อยา่ งและจรยิ ธรรมการวิจัย การวิจัยน้ีไดร้ บั การพจิ ารณาอนุมตั ิจากคณะกรรมการจรยิ ธรรมในมนษุ ย์ สานกั งานสาธารณสขุ จังหวัด แพร่ (PPH No.013/2563 ลงวันที่ 18 มถิ นุ ายน 2563) และได้ให้ขอ้ มูลในการเขา้ ร่วมกจิ กรรมแก่กลุ่มตัวอย่าง พรอ้ มเปดิ โอกาสให้ซักถามปัญหา ตัดสนิ ใจเขา้ รว่ มการวจิ ัยดว้ ยตนเอง สามารถถอนตัวจากการเปน็ อาสาสมัคร โครงการวิจัยนี้ไดต้ ลอดเวลาโดยไม่มผี ลกระทบใด ๆ ตอ่ กลุม่ ตวั อยา่ ง รวมท้งั ไดข้ อคายินยอมเป็นลายลักษณ์อักษร จากกลุ่มตัวอย่างทุกคนก่อนศึกษา ข้อมูลท่ีได้นาเสนอข้อมูลแกส่ าธารณะในภาพรวมของผลการวิจัยและใช้ ประโยชนท์ างวชิ าการเทา่ นั้น ผลการวจิ ยั 1.ข้อมลู พื้นฐานส่วนบุคคลของกล่มุ ตัวอย่าง ตารางท่ี 1 จานวน และร้อยละของข้อมูลพืน้ ฐานส่วนบคุ คลของกลุ่มตัวอยา่ ง (n=49) ข้อมลู พ้ืนฐานสว่ นบุคคล จานวน (n=49) ร้อยละ 1. อายุ 24 48.90 น้อยกว่า 20 ปี 23 46.90 20 – 29 ปี 2 4.20 มากกว่า 30 ปี (Mean= 20.2 ปี S.D. = 2.79 ปี min = 19 ปี max = 33 ป)ี 2 4.10 2. เพศ 47 95.90 ชาย หญิง 32 65.30 3. ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน 17 34.70 2.00 – 2.99 มากกวา่ 3.00 จากตารางที่ 1 กล่มุ ตัวอยา่ งสว่ นใหญม่ ีอายนุ ้อยกว่า 20 ปี รอ้ ยละ 48.9 เป็นเพศหญิงร้อยละ 95.9 และ มีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นระหว่าง 2.00-2.99 ร้อยละ 65.3 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปที ี่ 8 ฉบบั ที่ 2 เดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July-December 2021, Vol.8 No.2

157 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมูล TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) 2. การเปรียบเทยี บทกั ษะชีวติ ของนกั ศึกษาพยาบาลกอ่ นและหลังการเรียนแบบโครงงานเปน็ ฐาน ตารางท่ี 2 เปรยี บเทียบทักษะชีวิตรายข้อ รายดา้ นและโดยรวมของนักศึกษาพยาบาลก่อนและหลังการเรยี น แบบ โครงงานเปน็ ฐาน (n=49) ทักษะชวี ติ ของ กอ่ นการเรยี น หลังการเรยี น t p-value นักศกึ ษาพยาบาล Mean S.D. ระดับ Mean S.D. ระดับ 1. ด้านการสอื่ สาร 3.91 0.31 สงู 3.98 0.46 สงู -1.266 0.212 - ฉันสอื่ สารพูดคยุ กับบุคคลอื่นได้อย่าง 3.67 0.56 สงู 3.85 0.65 สงู -1.844 0.071 ราบรื่น - เพื่อนๆเข้าใจฉัน เวลาฉันพดู คุยกบั เขา 3.77 0.51 สูง 3.83 0.72 สงู -0.651 0.518 - เม่อื เพ่อื นมาเลา่ ปญั หาครอบครัวให้ 4.06 0.56 สูง 4.22 0.72 สงู -1.385 0.173 ฉนั ฟงั ฉนั รบั ฟงั และแสดงสีหนา้ ท่าทาง ไดอ้ ย่างเหมาะสม 4.10 0.59 สูง 4.22 0.63 สูง -1.062 0.294 - ฉนั เป็นผูฟ้ ังท่ีดเี ม่ือพูดคยุ กบั คนอื่นๆ 4.36 0.60 สงู 4.34 0.69 สงู 0.198 0.844 - ฉันรบั ฟงั เร่ืองราวต่างๆ ทีเ่ พือ่ นๆ 4.16 0.62 สูง 4.16 0.66 สงู 0.000 1.000 เลา่ ใหฉ้ นั ฟังได้ทุกๆ เรอ่ื ง 3.18 0.67 ปาน 3.06 0.78 ปาน 0.948 0.348 - เวลาเพ่อื นพดู คุยกบั ฉัน ฉนั สามารถ รบั ฟังดว้ ยความต้ังใจ กลาง กลาง - เมื่อจาเป็นต้องพูดขอ้ เสียของเพือ่ นๆ ใน 3.55 0.77 สงู 3.53 0.79 สงู 0.198 0.844 หอ้ ง ฉันสามารถบอกข้อเสยี ของเพือ่ นได้ 3.95 0.61 สงู 4.04 0.68 สงู -0.814 0.420 โดยทเ่ี พ่ือนไม่ร้สู ึกโกรธหรอื ไม่พอใจได้ 3.93 0.59 สงู 4.10 0.65 สูง -1.741 0.088 - เวลาฉันจะตักเตือนเพอ่ื นฉันจะใช้ 4.18 0.65 สูง 4.24 0.63 สูง -0.685 0.497 คาพดู ทไ่ี ม่ทารา้ ยความรูส้ ึกของเพ่อื น 3.93 0.49 สูง 4.05 0.51 สูง -1.633 0.109 - เมือ่ เพ่อื นๆ แนะนาฉนั ฉนั จะตัง้ ใจฟงั 4.44 0.58 สงู 4.51 0.62 สงู -0.651 0.518 - ฉนั นาสิง่ ทเี่ พอื่ นแนะนามาเป็น 4.04 0.68 สูง 4.32 0.59 สงู -2.376 0.022* แนวทางในการปรับปรงุ ตนเอง 3.81 0.86 สูง 3.83 0.83 สูง -0.198 0.844 - ฉนั เปดิ ใจรบั ฟงั เรื่องราวตา่ งๆ 3.42 0.74 ปาน 3.63 0.78 สงู -1.808 0.077 เกีย่ วกบั ข้อบกพร่องของตัวฉนั 2. ดา้ นการเหน็ อกเห็นใจบคุ คลอนื่ กลาง - เมือ่ เพื่อนสอบตก ฉนั สามารถรับรแู้ ละ 3.93 0.63 สูง 3.93 0.66 สงู 0.000 1.000 เขา้ ใจความร้สู กึ เสียใจของเพ่ือนได้ - เมอ่ื เพื่อนรู้สึกผิดหวัง ฉันสามารถเข้าใจ ความรสู้ ึกของเพ่ือนวา่ เขารสู้ กึ อย่างไร - ฉนั รสู้ ึกถึงอาการประหม่าของเพ่ือนได้ เม่อื เขาตอ้ งออกไปพูดหน้าชั้นเรียน - ฉนั สามารถเขา้ ใจว่าเพื่อนของฉัน ตอ้ งการอะไร เวลาเพื่อนฉันเจอปัญหา - ฉันเขา้ ใจความรูส้ ึกของเพื่อนบางคน ท่ไี ม่สมหวังจากสิง่ ทค่ี าดหวงั ไว้ วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปที ี่ 8 ฉบับท่ี 2 เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July-December 2021, Vol.8 No.2

158 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มลู TCI กลุ่มที่ 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) ตารางท่ี 2 เปรียบเทยี บทกั ษะชีวิตรายข้อ รายด้านและโดยรวมของนกั ศกึ ษาพยาบาลก่อนและหลังการเรียนแบบโครงงาน เป็นฐาน (n=49) (ต่อ) ทกั ษะชวี ติ ของ กอ่ นการเรียน หลังการเรยี น t p-value นกั ศกึ ษาพยาบาล Mean S.D. ระดบั Mean S.D. ระดบั 0.672 3. ด้านการสร้างสัมพันธภาพระหว่าง 3.43 0.39 ปาน 3.40 0.43 ปาน 0.426 0.067 บุคคล กลาง 0.124 - ฉันทาความรจู้ ักกบั ผอู้ ่ืนได้งา่ ย กลาง 3.95 0.74 สูง -1.872 0.844 - เพื่อนในชนั้ เรียนมคี วามเป็นมติ รที่มี 3.75 0.75 สงู 3.75 0.69 สูง 1.566 0.903 ความจรงิ ใจต่อกัน 3.95 0.64 สงู 0.254 - ฉนั สามารถทางานรว่ มกบั เพือ่ นในชัน้ 4.06 0.56 สงู 4.04 0.54 สงู 0.198 0.844 เรยี นได้อย่างมคี วามสุข 2.91 0.86 ปาน - ฉันไม่ชอบพูดคยุ ซกั ถามกับอาจารย์ 2.89 1.03 ปาน 0.123 0.142 ผู้สอนทั้งในและนอกชน้ั เรียน กลาง กลาง 0.837 - เป็นการยากสาหรับฉันทีจ่ ะโตแ้ ย้งกบั 2.67 0.88 ปาน อาจารย์ แม้จะมีเหตุผลเพยี งพอ 2.53 0.74 ปาน 1.155 0.040* - ฉนั สามารถแก้ไขความขัดแยง้ ที่ กลาง กลาง เกิดขน้ึ ในห้องเรยี นด้วยบรรยากาศ 3.20 0.61 ปาน 0.850 ความเปน็ มิตร 3.22 0.10 ปาน -0.198 0.017* 4. ด้านการตดั สินใจ กลาง กลาง 0.278 - เมอื่ จาเปน็ ต้องตัดสินใจ ฉนั จะรวบรวม 3.82 0.50 สงู ขอ้ มูลท่ีจาเป็นตา่ งๆ ทีเ่ กยี่ วขอ้ งกับเรื่อง 3.95 0.61 สูง 3.92 0.64 สงู -1.495 0.650 นัน้ ๆ เพื่อนามาใช้ประกอบการตัดสินใจ 3.97 0.78 สงู -0.206 0.267 - ฉันมกั จะวิเคราะห์สถานการณแ์ ละ 3.67 0.69 สูง 0.436 ข้อมลู ต่างๆ อยา่ งรอบคอบ เพอ่ื ลดความ 3.89 0.68 สูง -0.011 0.005* เส่ยี งตอ่ การตัดสนิ ใจ 3.93 0.80 สูง - ก่อนจะตดั สนิ ใจเลอื กทางเลอื กใด ฉนั จะ 3.63 0.78 สงู 3.91 0.84 สงู -0.038 วิเคราะหข์ ้อดี/ขอ้ เสียของทางเลือกน้นั 3.70 0.86 สงู 3.83 0.80 สงู -2.478 - ฉนั สามารถประเมินผลของการ 3.82 0.96 สงู -1.098 ตดั สินใจของฉนั ได้ว่าเปน็ อย่างไร 3.64 0.45 สงู - เม่อื ต้องทาอะไรหลายอย่างในเวลา 3.89 0.65 สูง 3.67 0.48 สงู -0.456 เดยี วกนั ฉนั ตัดสนิ ใจไดว้ า่ จะทาอะไร 3.71 0.76 สูง 3.75 0.86 สงู 1.124 ก่อนหลัง 3.53 0.58 สูง 3.59 0.91 สงู 0.785 5. ดา้ นการแกไ้ ขปัญหา 3.79 0.58 สูง -2.910 - เมื่อฉันประสบปญั หา ฉันสามารถ บอกไดว้ ่าปัญหานัน้ ๆ คอื อะไร - เมื่อฉันประสบปัญหา ฉันไม่สามารถ ระบุได้ว่าอะไรคอื สาเหตขุ องปัญหา - ฉนั จะวิเคราะห์แนวทางตา่ งๆ ในการ แกป้ ัญหาดว้ ยเหตแุ ละผล วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีที่ 8 ฉบับท่ี 2 เดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July-December 2021, Vol.8 No.2

159 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มูล TCI กลมุ่ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) ตารางที่ 2 เปรียบเทียบทักษะชีวิตรายข้อ รายดา้ นและโดยรวมของนักศกึ ษาพยาบาลก่อนและหลงั การเรียนแบบ โครงงานเปน็ ฐาน (n=49) (ต่อ) ทกั ษะชวี ิตของ กอ่ นการเรียน หลังการเรียน t p-value นกั ศึกษาพยาบาล Mean S.D. ระดับ Mean S.D. ระดับ 0.224 - เมอ่ื มปี ญั หาเกดิ ข้ึน ฉันสามารถกาหนด 3.40 0.57 ปาน 3.53 0.71 สงู -1.231 0.916 แนวทางในการแก้ปญั หาต่างๆ ได้ดี 0.390 6. ดา้ นการจัดการกับอารมณ์และ กลาง 3.92 0.44 สูง 0.106 ความเครียด 3.93 0.33 สูง 0.728 - ฉันจะมองปัญหาหรืออปุ สรรคท่ี 4.14 0.71 สูง 4.04 0.76 สูง 0.868 เกิดข้นึ กบั ตัวเองว่าเป็นบทเรียนทส่ี าคัญ 0.485 ของชวี ติ มากกวา่ จะมองวา่ เปน็ ความ 4.00 0.65 สูง 4.04 0.74 สูง -0.350 0.455 โชครา้ ยของตัวฉนั 0.341 - ฉันเรยี นรแู้ ละได้ประโยชน์จากความ 4.06 0.63 สงู 4.14 0.65 สงู -0.703 0.894 ผิดพลาดทเ่ี กิดขึน้ กับตัวฉนั มากกว่าท่ีจะ 3.89 0.68 สงู 3.97 0.60 สูง -0.753 0.169 กลา่ วโทษหรอื ตาหนิตนเอง 3.85 0.71 สูง 3.75 0.84 สงู 0.961 0.132 - เมอ่ื รสู้ ึกเครียดจากการเรยี นฉันสามารถหา 3.65 0.75 สูง 3.63 1.00 สงู 0.133 0.322 อะไรทาเพอ่ื ให้ตวั เองรูส้ กึ ผอ่ นคลาย 3.92 0.37 สงู 3.84 0.43 สงู 1.398 0.710 - เมือ่ เกดิ ความเครยี ด ฉนั สามารถระบุถงึ 4.00 0.68 สงู 3.83 0.59 สงู 1.533 1.000 สาเหตุ/ทม่ี าของความเครยี ดที่เกิดข้นึ ได้ 4.22 0.56 สูง 4.12 0.57 สูง 1.000 - เม่อื ถูกขัดใจจากผูอ้ ่ืน ฉันมักรสู้ กึ 3.79 0.58 สูง 3.75 0.69 สูง 0.260 0.404 หงุดหงิดจนควบคุมอารมณ์ไม่ได้ 3.67 0.63 สูง 3.67 6.30 สูง 0.000 0.471 - เม่อื รสู้ กึ กังวล ฉนั ไมส่ ามารถขจดั ความ 0.789 กังวลท่ีเกิดข้นึ ได้ 4.30 0.68 สูง 4.20 0.87 สงู 0.843 0.685 7. ดา้ นความตระหนักรใู้ นตนเอง 3.89 0.71 สงู 3.81 0.78 สงู 0.727 0.405 - ฉนั ร้วู า่ ตนเองมจี ดุ ออ่ นจุดแข็ง 3.24 0.95 ปาน 3.20 0.84 ปาน 0.270 อะไรบา้ งในรายวชิ าทีฉ่ ันเรียนอยู่ - ฉันยอมรบั ขอ้ บกพร่องในการเรยี นรู้ กลาง กลาง ของตนเองอยู่เสมอ 4.14 0.76 สงู 4.08 0.95 สงู 0.409 - ฉนั มั่นใจว่าตนเองสามารถทางานท่ี 3.82 0.25 สูง 3.85 0.35 สงู -0.841 ได้รบั มอบหมายได้อยา่ งสมบูรณ์ - ฉันม่ันใจว่าตนเองจะทาโครงงาน ที่ได้รบั มอบหมายไดอ้ ย่างเตม็ ที่เพอ่ื ให้ เกิดผลลพั ธเ์ ปน็ ทีน่ ่าพอใจ - ฉนั คิดวา่ ตัวเองคงไม่สามารถทาอะไร เพื่อพัฒนาไปในทางท่ดี ขี ึ้นได้ - ฉันสามารถบอกความรูส้ ึกทีแ่ ทจ้ ริง ไดว้ า่ ชอบหรือไมช่ อบอะไร - ฉันไม่มัน่ ใจในการทางานทีย่ ากลาบาก - ฉันยอมรับไมไ่ ดห้ ากมีคนตาหนสิ ่ิงทฉ่ี นั ทา โดยรวม วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปที ่ี 8 ฉบบั ท่ี 2 เดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July-December 2021, Vol.8 No.2

160 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมลู TCI กลุม่ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) จากตารางท่ี 2 พบว่า ค่าเฉลย่ี คะแนนทักษะชีวติ โดยรวมและรายด้าน 7 ด้าน ได้แก่ ด้านการสื่อสาร ด้านการ เหน็ อกเหน็ ใจบคุ คลอื่น ด้านการสร้างสัมพันธภาพระหวา่ งบุคคล ดา้ นการตดั สนิ ใจ ดา้ นการแกไ้ ขปัญหา ด้านการ จดั การกับอารมณ์และความเครียด ด้านความตระหนักร้ใู นตนเองของนักศกึ ษาพยาบาลก่อนและหลงั การเรียนแบบ โครงงานเป็นฐานไมม่ ีความแตกตา่ งกัน คา่ เฉลยี่ คะแนนทกั ษะชวี ติ รายข้อสว่ นใหญข่ องนกั ศึกษาพยาบาลกอ่ นและหลัง การเรียนแบบโครงงานเป็นฐานไม่มีความแตกต่างกัน ยกเว้นค่าเฉล่ียคะแนนทักษะชีวิต ด้านความเหน็ อกเห็นใจ บคุ คลอนื่ ในข้อท่ถี ามวา่ “เมอ่ื เพอ่ื นรูส้ ึกผิดหวงั ฉันสามารถเข้าใจความรู้สึกของเพอ่ื นว่าเขารู้สึกอย่างไร” ทกั ษะชีวิต ด้านการตัดสนิ ใจ ในข้อท่ีถามว่า “ฉันมกั จะวเิ คราะห์สถานการณ์และข้อมูลตา่ งๆ อย่างรอบคอบ เพื่อลดความเสยี่ งต่อ การตัดสินใจ” และ “ฉันสามารถประเมินผลของการตัดสินใจของฉนั ได้ว่าเป็นอย่างไร ” และทักษะชีวิตด้าน การแกป้ ัญหา ในข้อทถ่ี ามว่า “ฉนั จะวเิ คราะห์แนวทางต่างๆ ในการแกป้ ัญหาด้วยเหตุและผล” หลงั การเรยี นแบบ โครงงานเปน็ ฐานมคี ่าสงู กวา่ กอ่ นการเรียนแบบโครงงานเปน็ ฐานอยา่ งมนี ัยสาคญั ทางสถติ ทิ รี่ ะดับ .05 3. ความพงึ พอใจของนกั ศึกษาพยาบาลต่อการเรียนโดยใชโ้ ครงงานเป็นฐานในรายวิชาการเรยี นรูผ้ า่ นกจิ กรรม ตารางท่ี 3 ความพงึ พอใจรายขอ้ รายดา้ น และโดยรวมของนกั ศกึ ษาพยาบาลตอ่ การเรียนโดยใช้โครงงานเป็นฐาน ในรายวชิ าการเรียนรผู้ ่านกจิ กรรม (n=49) ความพงึ พอใจ Mean S.D. ระดับ 1. ดา้ นการจดั การเรียนรู้ 4.23 0.65 มากที่สดุ 0.52 มากทส่ี ดุ 1.1 การชี้แจงวตั ถปุ ระสงคก์ อ่ นการเรยี น 4.35 0.66 0.68 มาก 1.2 การจัดลาดับขนั้ ตอนการเรยี นการสอน 4.06 0.61 มากท่สี ดุ 0.76 1.3 การให้คาปรกึ ษาหรอื คาแนะนาของอาจารยผ์ สู้ อนในการทาโครงงาน 4.49 0.66 มาก 0.60 มาก 1.4 การประเมนิ ผลโครงงาน 4.04 0.72 มาก 0.68 มาก 1.5 การให้ข้อมูลปอ้ นกลบั จากอาจารย์ผู้สอน 4.19 0.76 มาก 0.69 มากท่สี ดุ 2. ดา้ นกิจกรรมการเรยี น 4.16 0.63 มาก 0.60 มากทีส่ ดุ 2.1 กจิ กรรมการเรยี นรู้มีความเหมาะสมกับเน้อื หา 4.02 มาก มากที่สดุ 2.2 กิจกรรมการเรยี นรสู้ ่งเสรมิ ให้ทา่ นไดแ้ ลกเปลยี่ นความรกู้ บั บุคคลอน่ื 4.16 2.3 กิจกรรมการเรยี นรูส้ ่งเสรมิ ใหท้ ่านพฒั นากระบวนการคดิ เพ่อื การตัดสนิ ใจ 4.31 2.4 กจิ กรรมการเรียนรทู้ าใหท้ ่านกลา้ คิดกลา้ ตอบ 4.08 2.5 กิจกรรมการเรียนรู้ทาใหท้ ่านมโี อกาสแสดงความคิดเห็น 4.22 2.6 กจิ กรรมการเรยี นรู้ทาใหท้ า่ นเข้าใจในเนือ้ หามากข้ึน 4.02 2.7 กจิ กรรมการเรยี นร้สู ง่ เสรมิ ใหท้ า่ นเกดิ การเรียนรูร้ ว่ มกนั 4.33 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปที ่ี 8 ฉบับท่ี 2 เดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July-December 2021, Vol.8 No.2

161 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานข้อมลู TCI กลมุ่ ที่ 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) ตารางท่ี 3 ความพึงพอใจรายข้อ รายดา้ น และโดยรวมของนักศึกษาพยาบาลต่อการเรยี นโดยใช้โครงงาน เปน็ ฐานในรายวชิ าการเรยี นรู้ผ่านกจิ กรรม (n=49) (ตอ่ ) ความพึงพอใจ Mean S.D. ระดบั 3. ด้านประโยชนท์ ไ่ี ดร้ ับ 4.15 0.63 มาก 3.92 0.79 มาก 3.1 การจัดการเรียนร้ทู าใหเ้ ข้าใจเนอื้ หาไดง้ ่าย 3.78 0.65 มาก 3.2 การจดั การเรียนรูท้ าใหจ้ าเนอื้ หาไดน้ าน 4.16 0.59 มาก 3.3 การจดั การเรียนรชู้ ่วยให้ท่านสรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจด้วยตนเองได้ 4.18 0.57 มาก 3.4 การจดั การเรียนรู้ทาให้ทา่ นนาวิธีการเรียนร้ไู ปใชใ้ นวชิ าอน่ื ๆ ได้ 4.20 0.58 มาก 3.5 การจัดการเรยี นรทู้ าใหท้ า่ นพัฒนาทักษะการคดิ ที่สูงขึ้น 4.24 0.60 มากท่ีสุด 3.6 การจดั การเรยี นรชู้ ว่ ยใหท้ ่านตัดสนิ ใจโดยใช้เหตุผล 4.27 0.70 มากทีส่ ุด 3.7 การจัดการเรียนรูท้ าใหเ้ ข้าใจและรจู้ ักเพอ่ื นมากขึ้น 4.43 0.58 มากท่สี ุด 3.8 กจิ กรรมการเรยี นการสอนน้ที าใหไ้ ด้ทางานร่วมกับผูอ้ ืน่ 4.17 0.64 มาก โดยรวม จากตารางท่ี 3 พบวา่ คา่ เฉลี่ยคะแนนความพงึ พอใจโดยรวม รายดา้ นและรายข้อของนกั ศกึ ษาพยา บาล ต่อการเรยี นโดยใชโ้ ครงงานเปน็ ฐานในรายวชิ าการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมอยใู่ นระดับมากถงึ มากที่สดุ อภิปรายผล ผลการวิจัยเรอื่ งประสทิ ธิผลของการเรยี นโดยใช้โครงงานเป็นฐานต่อทักษะชีวิตของนักศึกษาพยา บาล ผู้วิจัยอภิปรายผลตามวตั ถปุ ระสงค์ของการวิจยั ดังน้ี 1. เปรยี บเทยี บทักษะชีวิตของนักศึกษาพยาบาลก่อนและหลังการเรียนโดยใช้โครงงานเปน็ ฐาน พบว่า ค่าเฉลย่ี ทักษะชวี ิตโดยรวมและรายดา้ น 7 ด้านกอ่ นและหลงั การเรียนฯ ไมแ่ ตกตา่ งกัน (p >.05) สามารถอภปิ ราย ได้วา่ อาจเนือ่ งมาจากปัจจยั ดา้ นอายุของกลมุ่ ตัวอย่าง ท่ีส่วนใหญ่มีอายอุ ยู่ในช่วงน้อยกว่า 20 ปี ร้อยละ 48.9 (Mean= 20.2, S.D. = 2.79, min = 19, max = 33) แสดงให้เหน็ วา่ กลุ่มตัวอยา่ งอยู่ในชว่ งที่คาบเก่ยี วระหว่าง วัยร่นุ ตอนปลายกบั วยั ผู้ใหญต่ อนตน้ ซึง่ ยังผา่ นประสบการณ์ตา่ งๆ ในชวี ิตไม่มากนกั จงึ สง่ ผลใหม้ ีทกั ษะชีวิตก่อน และหลังการเรยี นฯ ไม่แตกต่างกัน และอีกปัจจัยหน่งึ ได้แก่ ปัจจยั ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น กลุ่มตัวอยา่ ง สว่ นใหญ่มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ระหว่าง 2.00-2.99 รอ้ ยละ 65.3 ซ่งึ สะทอ้ นใหเ้ หน็ ว่าการเรยี นรู้ของนักศึกษา พยาบาลอยู่ในระดบั ปานกลาง ถึง ระดับออ่ นที่อาจส่งผลต่อการเรยี นรู้ดา้ นทักษะชีวิตของนักศึกษาพยาบาล ด้วย คล้ายคลึงกับการศึกษาของ Tunjaroen, P., Anusasananan, S., & Wongtheerathorn, D. (2020) เร่ือง การพัฒนาโมเดลความสัมพนั ธ์เชิงสาเหตุท่ีส่งผลต่อทักษะชวี ิตของนักศึกษาครู พบวา่ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปีท่ี 8 ฉบับท่ี 2 เดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July-December 2021, Vol.8 No.2

162 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มูล TCI กลมุ่ ที่ 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) ส่งอิทธิพลทางบวกต่อทักษะชีวิตของนักศึกษาครูโดยผ่านตัวแปรอัตมโนทัศน์ ลกั ษณะมุ่งอนาคต การสนับสนุน ทางสงั คม การอบรมเลีย้ งดู และสมั พนั ธภาพในมหาวทิ ยาลัยของนักศึกษาครู เม่อื พจิ ารณาค่าเฉลยี่ ทักษะชวี ิตของนกั ศึกษาพยาบาลกอ่ นและหลงั การเรยี นโดยใช้โครงงานเปน็ ฐาน เป็น รายข้อในแต่ละดา้ นตามองค์ประกอบทักษะชีวิตท้ัง 3 องค์ประกอบ พบวา่ องคป์ ระกอบด้านสงั คม ได้แก่ ทักษะ ดา้ นการเหน็ อกเห็นใจบุคคลอน่ื ในข้อที่ถามวา่ “เมอื่ เพือ่ นรูส้ ึกผิดหวัง ฉนั สามารถเข้าใจความรู้สกึ ของเพอื่ นว่าเขา รู้สึกอย่างไร” มีค่าเฉล่ียคะแนนทักษะชีวิตหลังการเรยี นแบบโครงงานเป็นฐานมีค่าสูงกว่าก่อนการเรียนแบบ โครงงานเป็นฐานอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติท่รี ะดับ .05 (p=.022) สามารถอภิปรายได้ว่า กลุ่มตวั อยา่ งเป็นนักศกึ ษา พยาบาลซึ่งโดยพ้ืนฐานของบุคคลท่ีจะเข้าสู่วิชาชีพพยาบาล มักจะมีลักษณะเข้าใจและเห็นอกเห็นใจผู้อื่น อยากชว่ ยเหลอื ผ้อู ื่นให้พน้ จากความทกุ ขก์ ายทกุ ข์ใจ ส่วนองค์ประกอบดา้ นความคิด ได้แก่ ทักษะด้านการตัดสินใจ ในข้อทถ่ี ามว่า “ฉันมักจะวิเคราะหส์ ถานการณแ์ ละข้อมูลต่างๆ อย่างรอบคอบ เพ่ือลดความเสี่ยงตอ่ การตัดสินใจ” และ “ฉันสามารถประเมินผลของการตัดสินใจของฉันได้ว่าเปน็ อยา่ งไร” มคี ่าเฉล่ยี คะแนนทักษะชีวติ หลังการเรียน แบบโครงงานเป็นฐานมีค่าสูงกว่าก่อนการเรยี นแบบโครงงานเป็นฐานอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 (p=.040 และ p=.017 ตามลาดับ) และทกั ษะดา้ นการแกไ้ ขปัญหา ในข้อที่ถามวา่ “ฉนั จะวิเคราะหแ์ นวทางต่างๆ ในการแก้ปญั หาดว้ ยเหตุและผล” มคี า่ เฉลย่ี คะแนนทักษะชีวิตหลังการเรียนแบบโครงงานเปน็ ฐานมีค่าสูงกว่า ก่อน การเรียนแบบโครงงานเปน็ ฐานอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่รี ะดับ .05 (p=.005) สามารถอภปิ รายได้ว่าวชิ า การ เรยี นรู้ผ่านกิจกรรมไดอ้ อกแบบการเรียนการสอนโดยใช้โครงงานเปน็ ฐาน เปน็ การจัดทาโครงงานทเ่ี ปิดโอกาสให้ นักศกึ ษาพยาบาลแต่ละกลุ่มสามารถคน้ หาปัญหาต่างๆ และออกแบบกิจกรรมเพอื่ แก้ไขปัญหาที่พบด้วยตน เอง ภายใต้บรบิ ทของวิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี แพร่ โดยยึดขั้นตอนในการจดั ทาโครงงานตามกรอบแนวคิดของ Panich, V. (2012) ได้แก่ ขั้น define เปน็ ขัน้ ตอนทผ่ี เู้ รียนและผสู้ อนรว่ มกนั กาหนดปญั หา รวมถงึ ส่งิ ทตี่ อ้ งการให้ ผู้เรียนเกดิ การเรยี นรู้ ขั้น plan เป็นขน้ั ตอนท่ีผู้เรียนมีการวางแผนดาเนินโครงงานดว้ ยตนเอง และผู้สอนทาหน้าท่ี เปน็ แนะนาและให้คาปรึกษา ขน้ั do เป็นขน้ั ตอนทผี่ ้เู รยี นลงมือทากจิ กรรมตา่ งๆ ทีว่ างแผนไว้ด้วยตนเอง ซ่ึงจะ ช่วยให้ผู้เรียนจะได้เรียนรทู้ ักษะในการวเิ คร าะห์และแก้ปัญหา การประสานงาน การทางานร่วมกันเป็นทีม การจัดการความขัดแย้ง การทางานภายใต้ทรัพยากรท่ีจากัด และการค้นหาความรู้เพ่ิมเติม ขั้น review เป็นข้นั ตอนทผ่ี ูเ้ รยี นทบทวนการเรียนรู้ โดยทบทวนเกย่ี วกบั ผลของกจิ กรรมท่เี กดิ ข้ึน การเรียนรพู้ ฤติกรรมในแต่ละ ขน้ั ตอน รวมท้ังทบทวนข้ันตอนที่เป็นอุปสรรคและแนวทางแก้ไข และขัน้ presentation เปน็ ขนั้ ตอนทผ่ี ู้เรียน นาเสนอผลของโครงการท่ีเกดิ ข้ึนต่อชน้ั เรยี นหรือที่สาธารณะ ซงึ่ การนาเสนอนเ้ี ป็นการเรียนรูเ้ ชงิ ทกั ษะทา งปัญญา การเรียนรทู้ งั้ 5 ขัน้ ตอนน้ชี ่วยส่งเสริมให้นกั ศกึ ษาพยาบาลได้เรยี นรู้ในทักษะการตัดสนิ ใจและทักษะการแก้ปัญหา เก่ยี วกบั โครงงานของตนเอง สอดคล้องกับการศึกษาของ Bussabokkaew, N., et al., (2018) พบว่าการเรียน โดยใช้โครงงานเป็นฐานชว่ ยพัฒนาทกั ษะชวี ิตด้านการคิดวิเคราะห์ การตดั สินใจ การแก้ปัญหาอยา่ งสรา้ งสรร ค์ ในขน้ั ตอนการคดิ หัวข้อ คน้ หาข้อมลู และลงมือปฏบิ ัติ เกิดการสรา้ งสมั พันธภาพที่ดีกบั ผอู้ นื่ โดยการทางาน กลุ่ม วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July-December 2021, Vol.8 No.2

163 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมูล TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) เพอื่ ขอขอ้ มูล ขอคาแนะนา แลกเปลีย่ นความคิดเห็นในการทาโครงงาน เมื่อโครงงานสาเร็จเกดิ ความภาคภูมิใจ ตระหนกั รู้และเหน็ คุณค่าในตนเองและผู้อนื่ จากการทางานร่วมกัน 2. ความพึงพอใจต่อการเรียนโดยใช้โครงงานเป็นฐานในรายวิชาการเรยี นรผู้ ่านกิจกรรม พบว่า ค่าเฉลี่ย คะแนนความพึงพอใจโดยรวม รายดา้ น และรายข้อของนักศึกษาพยาบาลต่อการเรียนโดยใชโ้ ครงงานเป็น ฐาน ในรายวชิ าการเรยี นรู้ผา่ นกิจกรรมอยู่ในระดับมากถึงมากท่สี ุด อาจเนื่องจากแผนการสอนการเรียนโดยใช้โครงงาน เปน็ ฐานฯ ถูกออกแบบบนพน้ื ฐานหลกั การให้ผูเ้ รียนเลือกทาโครงงานทเี่ ช่ือมโยงกบั บริบทจริงตามความสนใจของ ตนเอง เปดิ โอกาสให้ผู้เรยี นได้แสดงศักยภาพต่างๆ ทมี่ ีอยอู่ อกมาใช้ประโยชน์ จนไดผ้ ลิตงานท่ีออกมาอย่า งเป็น รปู ธรรม ทาใหเ้ กิดแรงจงู ใจในการเรยี นรู้และการทางาน มคี วามใสใ่ จ กระตือรอื ร้น ความอดทนในการแสวงหา และใชค้ วามรู้ในแก้ไขปญั หาจนประสบความสาเร็จเกิดความภาคภมู ิใจในตนเอง (Khammani, T.,2018) โดยแผน การสอน ฯ จัดกิจกรรมการจดั การเรยี นการสอนทหี่ ลากหลาย ไดแ้ ก่ การบรรยายแบบมีสว่ นร่วม การจัดกิจกรรม กลุ่ม การสะท้อนคิด การมอบหมายจัดทาโครงการ ฝึกปฏิบัติการจัดทาโครงการ การนาเสนองานรายงาน หนา้ ชั้นเรียน เป็นต้น โดยบทบาทอาจารย์ผู้สอนทาหน้าท่ีเป็นท่ปี รึกษา กระต้นุ ใหก้ าลงั ใจ กากบั ตดิ ตามและ ประเมินผลอยา่ งตอ่ เนื่อง ซึ่งการจดั กิจกรรมในรปู แบบน้ีสอดคล้องกับงานวจิ ัยการเรียนแบบโครงงานเป็นฐานของ นักศึกษาพยาบาลในหลายเรอื่ ง(Thummakul,D.,Thunjareanrat,W., & Lapjeam,P., 2014; Ginggeaw, S., et al., 2017) พบวา่ ผูเ้ รียนมีความพึงพอใจตอ่ การเรยี นแบบโครงงานในระดบั มาก ดงั นน้ั ผลการศึกษาท่ีได้ในคร้งั นี้สามารถสรปุ ได้ว่า การเรยี นโดยใชโ้ ครงงานเป็นฐานในรายวชิ าเรียนรู้ผ่าน กิจกรรมชว่ ยส่งเสรมิ ให้นกั ศกึ ษาพยาบาลมีทกั ษะชวี ิตในด้านการเห็นอกเห็นใจบุคคลอ่นื ซึ่งเปน็ องคป์ ระกอบด้าน สงั คม ทกั ษะด้านการตัดสนิ ใจและทกั ษะดา้ นการแก้ไขปัญหาซึง่ เป็นองค์ประกอบด้านความคิด จงึ มปี ระโยชน์ สาหรบั นาไปประยุกตใ์ ชใ้ นการเรยี นการสอนแกน่ กั ศึกษาพยาบาล ข้อเสนอแนะในการนาผลการศึกษาไปใช้ 1. การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน ควรใหค้ วามสาคญั ของการพัฒนาทกั ษะชีวิตด้านการสรา้ ง สัมพันธภาพระหว่างบุคคล ทัง้ ระหว่างผู้สอนกบั ผเู้ รียน และระหว่างผเู้ รยี นดว้ ยกนั ในทกุ ขน้ั ตอนของการเรยี นแบบ โครงงานเป็นฐาน 2. การจดั การเรยี นการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน ในขนั้ กาหนดหัวข้อโครงการ (define) และการวางแผน ทาโครงการ (plan) เป็นการจดั การเรียนรู้ทาให้เขา้ ใจเน้ือหาได้ยากสาหรับนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 2 ซง่ึ ยงั ไมม่ ีความรูพ้ ืน้ ฐานการสืบค้นหลกั ฐานเชิงประจักษ์เพื่อนาไปสู่การพัฒนาโครงงาน ผูส้ อนจึงควรเตรยี มควา ม พร้อมด้านการเสรมิ สร้างทักษะการสืบคน้ หลักฐานเชงิ ประจกั ษ์แก่ผเู้ รียน 3. การจดั การเรียนการสอนแบบโครงงานเปน็ ฐาน เปน็ รปู แบบการเรียนทเ่ี หมาะสมกับการพฒั นาทกั ษะชีวติ ผู้เรยี นในศตวรรษท่ี 21 โดยเฉพาะการพัฒนาทกั ษะเพ่อื การทางาน ได้แก่ ด้านการตัดสินใจ ด้านการแกไ้ ขปญั หา และ การเห็นอกเหน็ ใจบุคคลอืน่ ในการทางานเปน็ ทมี วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปที ่ี 8 ฉบับที่ 2 เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July-December 2021, Vol.8 No.2

164 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคุณภาพของ TCI และอย่ใู นฐานข้อมูล TCI กลุม่ ที่ 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) ข้อเสนอแนะในการศกึ ษาครง้ั ต่อไป 1. ควรมกี ารศึกษาเปรยี บเทยี บการจัดการเรยี นการสอนแบบโครงงานเป็นฐานตอ่ ทักษะชีวิตของนกั ศกึ ษา พยาบาลระหว่างกลมุ่ ควบคมุ และกลุม่ เปรยี บเทยี บเพื่อการศกึ ษามีประสิทธิผลท่ชี ัดเจนข้นึ 2. ควรมกี ารศึกษาการพฒั นาทกั ษะชีวิตของนักศกึ ษาพยาบาลในหมวดวิชาเฉพาะกล่มุ วชิ าพื้นฐานวิชาชพี และกลมุ่ วิชาชีพ เอกสารอา้ งอิง Bundasak, T., Jungasem, N., Supsung, A., & Chaichanarungruang, W. (2021). Prevention of Depression among Nursing Students. Boromarajonani college of nursing, uttaradit journal, 13(1), 62-70. (in Thai). Bussabokkaew, N., Jiawiwatkul, A., Kleebpung, N., & Yossatorn, D., (2018). Project–Based Learning and Life Skills of High School Students: A Case Study of a Welfare Education School. Kasem bundit journal, 19(Special Edition), 1-14. (in Thai). Ginggeaw, S., Prapasanon, Y., Nadoon, W., & Poo-arsa, B. (2017). Development Model of Project Based Learning for Enhancing Health Promotion and Teamwork Competencies in Course of Health Promotion Practicum among Sophomore Nursing Students. Journal of health science boromarajonani college of nursing sunpasitthiprasong, 1(3), 29-45. (in Thai). Im-iam, S.,& Makmee, P. (2019). A Comparison of the Life Skills of Vocational Students in Eastern Special Development Zone between Genders and Learning Styles. Research methodology & cognitive science, 17(1), 191-203. (in Thai). Jiramanaswong, A., Howharn, C., & Wannatawee , P. (2020). A Study on Life Skills of Undergraduate Nursing Students Boromarajonani College of Nursing, Surin. Nursing public health and education journal, 21(1), 139-148. (in Thai). Khammani, T. (2018).Education Science : Knowledge for Efficiently Learning Process Management.22thed. Bangkok : Chulalongkorn University Press. (in Thai). Khamwong, W., Plangpongpan, S, & Yamboonruang, T. (2016). The relationships between levels of stress, causes of stress and stress management in nursing students of nursing colleges under the jurisdiction of Praboromarajchanok Institute for Health Workforce Development. Nursing Journal of the Ministry of Public Health, 10(1), 78-87. (in Thai). วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปที ี่ 8 ฉบบั ท่ี 2 เดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July-December 2021, Vol.8 No.2

165 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มูล TCI กลุ่มที่ 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) Kusirirat, K., & Nuchprayoon, N. (2019). The Effects of Learning Activities by Project Based Learning in Sound and Video Editing Course of Undergraduate Students. Dhonburi Rajabhat University Journal, 13(1), 139-153. (in Thai). Pangsri, S. (2018). Project-based Instruction: Application to Practice in Nursing Education. Journal of Phrapokklao Nursing College, 29(1), 215-222. (in Thai). Panich, V. (2012). The 21st Century Skills : Learning skills. Bangkok. Sodsri-Saritwong Foundation. (in Thai). Phanjawattanakun, J. (2018). Four Noble Truths and Teenagers of 21st Century. Journal of philosophical vision, 23(1), 1-15. (in Thai). Pipattanawong, W., (2014). Life Skill of Thai Teen in 21st Century. Payap university journal, 24(2), 39-63. (in Thai). Saichamchan, S., Skulkhu, J., Potisuk, A., & Yongsorn, C. (2015). A Development of Training Program to Enhance Life Skills for The Royal Thai Air Force Nursing Students. Journal of the royal thai army nurses, 16(2), 21-29. (in Thai). Sarakshetrin, A., Sriyasak, A., Howharn, C., & Kunlaka, S. (2021). A Study on Life Skills of Undergraduate Nursing Students Prachomklao College of Nursing, Phetchaburi Province. Hua hin medical journal, 6(1), 22-32. (in Thai). Surangsee, S., Leungratanamart, L., & Pookitsana, S. (2019). Development of Life Skills Training Program to Promote Resilience among Nursing Students. Nursing journal of the ministry of public health, 29(3), 195-204. (in Thai). Suvithayasiri , K., Wadyim, N., Techamuanwaiwit, S. & Padklang, S. (2020). The Effects of Project Based-Learning to Create Innovation for Developing of Reflective Thinking Ability of Nursing Students. Journal of health and nursing research, 36(3), 164-177. (in Thai). Thummakul, D., Thunjareanrat, W. & Lapjeam, P. (2014). Effects of project-based learning on learning developmentofnursing students.Journalofhealthscienceresearch,8(1),46-53.(inThai). Tunjaroen, P., Anusasananan, S., & Wongtheerathorn, D. (2020). A development of causal relationship model of life skills among teacher. The Journal of pacific institute of management science humanities and social sciences, 6(2), 121-132. (in Thai). Voracharoensri, S. (2007). A Study of life skills and a training group model construction for developing life skills of adolescent students. Unpublished Doctor,s thesis, Srinakharinwirot University. (in Thai). วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื ปที ่ี 8 ฉบบั ที่ 2 เดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July-December 2021, Vol.8 No.2

166 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมูล TCI กลุม่ ท่ี 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) The Effect of applying the Dance posture to Lampang on increasing Muscle mass of the Old women in Lampang Province Puangpet Jain*, Chompunut Sangwichitr* ,Jitaree Chatmontree*, Weerachai Khenkew* (Received August 9,2021, Revised: October 15, 2021, Accepted: October 19, 2021) Abstract This quasi-experimental research aimed to study the effect of using the Lampang dance posture to increase the muscle mass of elderly women living in Lampang province, Thailand.The study sample consisted of 40 sedentary older women was obtained from Lampang municipality, Muang district, Lampang province, using a purposive random sampling technique. The sample was divided into two equal groups (experimental and control groups). The control group received routine care, while the experimental group received the Lampang dance posture to increase muscle mass regarding self-care behaviors, which was based on an education supportive and nutrition therapy for the elderly women who had low physical performance. This instruments consisted of personal data questionnaire, body composition meter, SARC-F scores correlating with low physical performance. Data analyzed and presented in forms of frequency, mean, percentage, standard deviation, the inferential statistics including t-test and Repeated measurement ANOVA were used to compare mean scores muscle mass of the elderly. As a result, the experimental group's mean muscle mass scores after one month, three months, and six months were significantly higher than those in the control group (p = .01). Similarly, the mean muscle mass of the elderly after one month, three months, and six months in the experimental group was significantly higher than before intervention (p = .01). Therefore, exercise should be encouraged by teaching the Lampang dance posture in term knowledge of self-care and nutrition therapy to elderly and those with low muscle mass in order increase muscle mass. Keywords: Dance posture to Lampang; Muscle mass; Elderly * Nurse Instructor, Boromarajjonani College of Nursing, lampang Faculty of Nursing, Praboromarajchanok Institute, Ministry of Public Health วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ี่ 8 ฉบับที่ 2 เดือน มกราคม – มถิ นุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.2

167 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมูล TCI กลมุ่ ที่ 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) ผลของการประยุกตท์ ่าการฟอ้ นร่าเปิงล่าปางต่อการเพ่ิมมวลกลา้ มเนื้อ ของผู้สงู อายุหญิงในจังหวัดลา่ ปาง พวงเพชร มีศริ ิ*, ชมพนู ุท แสงวจิ ติ ร*, จติ อารี ชาติมนตร*ี , วีระชัย เขือ่ นแกว้ * (วนั รับบทความ : 9 สิงหาคม 2564, วนั แกไ้ ขบทความ 15 ตลุ าคม 2564 : , วนั ตอบรบั บทความ : 19 ตุลาคม 2564 บทคัดยอ่ การวิจัยกึ่งทดลองครัง้ นี้ มวี ัตถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ศกึ ษาผลของการประยุกตท์ า่ การฟ้อนร่าเปิงลา่ ปางต่อการเพิ่ม มวลกลา้ มเน้อื ของผสู้ ูงอายใุ นจังหวัดล่าปาง กลุ่มตัวอย่าง คอื ผู้สูงอายเุ พศหญงิ ท่อี าศัยในเขตเทศบาลนครล่าปาง อ่าเภอเมอื ง จังหวัดล่าปาง จ่านวนทัง้ หมด 40 คน เลอื กกลุ่มตัวอยา่ งแบบเฉพาะเจาะจง แบ่งเป็นกล่มุ ควบคุม จ่านวน 20 คน และกลมุ่ ทดลอง จ่านวน 20 คน กล่มุ ควบคมุ ได้รับการดูแลแบบปกติ กลมุ่ ทดลองไดร้ ับโปรแกรม การเพมิ่ มวลกลา้ มเนื้อในผู้สงู อายโุ ดยประยกุ ตท์ ่าร่ารา่ เปิงลา่ ปาง เปน็ ระยะเวลา 6 เดือน ร่วมกับ การใหค้ วามรู้ เรอ่ื งการดแู ลตนเองและ โภชนาการบ่าบดั ส่าหรับผู้สูงอายุที่มภี าวะมวลกลา้ มเน้ือน้อย เคร่อื งมอื ในการรวบรวม ข้อมลู ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมลู ส่วนบุคคล เคร่อื งวัดองคป์ ระกอบของรา่ งกาย และแบบสอบถามคัดกรอง ภาวะมวลกล้ามเนือ้ น้อยชนิด SARC-F วเิ คราะหข์ ้อมูลส่วนบุคคล โดยใชว้ ธิ กี ารแจกแจงความถี่ ร้อยละ คา่ เฉลี่ย ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน และเปรยี บเทยี บความแตกต่างของคา่ เฉลีย่ มวลกลา้ มเน้ือของผู้สูงอายุระหวา่ งกลุ่มควบคุม และกลุ่มทดลอง ในระยะก่อนและหลังการทดลองด้วยสถติ ิทีอิสระ ( Independent t-test) และเปรียบเทยี บ คา่ เฉลี่ยมวลกล้ามเน้อื ของผู้สงู อายุ ในกล่มุ ทดลอง ระยะก่อนและหลงั การทดลองดว้ ยสถิติเปรียบเทยี บคา่ เฉล่ียที่ ไมเ่ ป็นอิสระต่อกัน Repeated measurement ANOVA ผลการวจิ ัย พบว่า 1) ค่าเฉลยี่ มวลกล้ามเนื้อของผู้สูงอายุ ในกลุ่มทดลอง ภายหลังทดลองสูงกว่า กลุ่ม ควบคุม อยา่ งมีนยั สา่ คัญทางสถิตทิ ่ีระดบั p<.01 (t = 3.416 ,p=.000) 2) ค่าเฉลยี่ มวลกล้ามเนือ้ ของผสู้ ูงอายุ ใน กลุ่มทดลองภายหลังการทดลอง ระยะ 1 เดือน, 3 เดอื น, 6 เดอื น สูงกวา่ กอ่ นทดลองอย่างมีนัยสา่ คญั ทางสถิติท่ี ระดบั .01 (F= 71.685, p=.000) ดงั นั้นควรมกี ารสง่ เสริมการออกก่าลงั กาย โดยประยกุ ตใ์ ชท้ ่ารา่ ร่าเปงิ ลา่ ปางร่วมกับความรู้เรื่องการ ดูแล ตนเองในผสู้ ูงอายแุ ละ โภชนาการบา่ บดั ส่าหรบั ผ้สู ูงอายุท่มี ภี าวะมวลกลา้ มเนื้อนอ้ ยอย่างตอ่ เนอื่ ง สอดคลอ้ งกบั วิถี ชวี ิตความเป็นอยู่ เพอื่ เพมิ่ มวลกลา้ มเน้ือใหก้ บั ผสู้ งู อายุ คา่ สา่ คัญ: การฟ้อนร่าเปงิ ลา่ ปาง; มวลกล้ามเนอ้ื ; ผู้สูงอายุ *อาจารยพ์ ยาบาล วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือน มกราคม – มถิ นุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.2

168 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มูล TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) บทนา่ ความเจรญิ ก้าวหน้าทางเทคโนโลยีตา่ ง ๆ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ การแพทยแ์ ละการสาธารณสุขส่งผลให้ ประชาชนมีสุขภาพดีขนึ้ อายขุ ัยเฉลย่ี สงู ข้นึ กวา่ ในอดีต จา่ นวนผู้สูงอายมุ ีมากข้ึน น่ามาสู่การเขา้ สู่สังคมผู้สูงอายุ ของโลกอย่างตอ่ เนอ่ื ง ในปี 2568 ประเทศไทยจะกา้ วเข้าสู่การเป็นสังคมผูส้ ูงอายโุ ดยสมบรู ณ์ (aged society) ซ่งึ ประเทศท่ีเขา้ สู่สงั คมผู้สูงอายจุ ะมีรายจา่ ยด้านสขุ ภาพเพ่ิมขนึ้ การให้ความส่าคญั ในการพฒั นาคุณภาพชีวิตของ ผสู้ งู อายุ โดยเฉพาะดา้ นสุขภาพรา่ งกายเปน็ สิ่งส่าคัญ ซง่ึ ปญั หาหลกั ดา้ นสุขภาพของผสู้ ูงอายุ คือ การเส่ือมของ รา่ งกาย (Thai elderly, 2020) ผสู้ ูงอายมุ คี วามเสอื่ มตามวยั จากกระบวนการ ชรา ภา พ (aging process ) ท่ีสัมพนั ธก์ บั ความแข็งแรง และความสามารถในการท่ากิจกรรมทางกาย ความแข็งแรงของกลา้ มเนอื้ จะลดลงร้อยละ 3 ตอ่ ปี เมือ่ อายุ 65 ปี ขนึ้ ไป การมมี วลกล้ามเนื้อทล่ี ดลง อาจน่าไปสู่การเกิดภาวะมวลกลา้ มเน้ือน้อย (sarcopenia) ท่ีเป็นกลุม่ อาการท่ีพบบ่อยของผสู้ ูงอายุ ซึ่งจะน่าไปสู่การสูญเสียการท่าหน้าทข่ี องรา่ งกาย ภาวะมวลกล้ามเน้ือท่ี ลดลงในผสู้ ูงอายุส่งผลใหม้ ีความเสี่ยงตอ่ การหกล้ม ลดความสามารถในการท่าหนา้ ท่ี และกอ่ ให้เกดิ ความพกิ ารทาง ร่างกาย เกดิ ความวติ กกังวล มีภาวะซมึ เศรา้ และอัตราการเสียชวี ิตเพ่ิมข้ึนอีกด้วย (Cruz-Jentoft AJ, Baeyens JP, Bauer JM, et al., 2010) สอดคลอ้ งกับการศึกษาของ แลนดี (Landi F. et al ,2013) พบว่าผ้สู ูงอายทุ มี่ ีอายุ มากกวา่ 80 ปขี ้ึนไป และมีภาวะมวลกล้ามเน้ือน้อย มอี ัตราการตายสูงกว่าผสู้ ูงอายุในวยั เดียวกันถงึ 2.32 เท่า จาก ปญั หาดังกลา่ วท่าให้เห็นความสา่ คัญของภาวะมวลกลา้ มเนื้อลดลงท่ีส่งผลตอ่ คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ จากการ ทบทวนวรรณกรรมปจั จยั ทีม่ คี วามสมั พันธก์ ับการเกิดภาวะมวลกลา้ มเน้อื น้อยในผูส้ งู อายุ ประกอบดว้ ย ปัจจัยสว่ น บุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดบั การศึกษา และรายไดข้ องครอบครวั และปจั จัยดา้ นสุขภาพ ไดแ้ ก่ การสูบบุหรี่ การ บรโิ ภคเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ ประวตั กิ ารหกล้ม ภาวะน่า้ หนกั ลด ดชั นมี วลกาย กจิ กรรมทางกาย และภาวะโรค เรอ้ื รงั ร่วม (Gray M., Jordan M. G., Binns A., 2016) จากปัจจัยดังกล่าว พบว่า ปจั จัยท่หี ลีกเล่ียงไดแ้ ละหลีกเล่ียงไม่ได้ทีจ่ ะกอ่ ให้เกดิ ภาวะมวลกล้า มเนื้อ ลดลง ดังน้นั การหาวิธีการชะลอภาวะมวลกลา้ มเนื้อเน้ือลดลงจึงมีความส่าคญั อย่างย่ิงตอ่ การป้องกันความเสื่อม และการบาดเจบ็ ท่ีอาจเกดิ ขน้ึ ในผสู้ ูงอายุ ปจั จุบันการป้องกนั ภาวะมวลกล้ามเน้อื น้อยใช้การรักษาโดยไม่ใช้ยา เป็น หลกั ประกอบด้วย การออกก่าลังกาย การให้โภชนบ่าบดั และการปรับเปลยี่ นพฤตกิ รรมเส่ียง การออกก่าลังกาย ถอื เปน็ วิธีท่มี ีประโยชนช์ ดั เจนต่อภาวะมวลกล้ามเนื้อนอ้ ย จากการทบทวนวรรณกรรมการออกก่าลังกายท่ีมีผลต่อ การเพ่มิ มวลกล้ามเนอ้ื คอื การออกกา่ ลงั กายชนิดเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนือ้ (resistive exercise) ควรทา่ อยา่ งน้อย 2-3 ครั้งตอ่ สปั ดาห์ จะทา่ ให้สามารถเพมิ่ ท้งั ความแขง็ แรงและเพิ่มมวลกล้ามเนื้อ โดยการกระตุ้นการ สร้างโปรตีนโดยตรง (Anton SD. et al., 2018) ร่วมกับการออกก่าลังกายชนิดเพิ่มความทนทาน ( aerobic exercise) ซึง่ จะชว่ ยให้มีการสร้างโปรตีนของกลา้ มเนื้อและช่วยใหไ้ ขมันในกล้ามเนื้อลดลง (Su-ZiYoo,etal.,2018) ปจั จบุ ันมีการศกึ ษารูปแบบการออกกา่ ลงั กายทเี่ หมาะสมสา่ หรับผู้สงู อายุหลายรปู แบบ ซ่ึงการศกึ ษารปู แบบการ ออกกา่ ลังกายท่ีเปน็ ประเพณีดั้งเดิม ตามวิถีการ ดา่ เนิน ชีวิตของชุมชน เร่ิมได้รับควา มนิยมเพิ่มมา ก ขึ้น จากการศึกษาของ ณัฐิกา ราชบตุ ร จุลจรี า จันทะมุงคุณ และจารภุ า แซ่ฮ่อ ( Rachabootr N., et al., 2018) วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีท่ี 8 ฉบบั ท่ี 2 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.2

169 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอยูใ่ นฐานขอ้ มูล TCI กลมุ่ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) ศึกษาโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพจติ และป้องกันโรคซึมเศร้าเชงิ สังคมและวัฒนธรรมในผสู้ ูงอายุ ต่าบลดอนมน ต์ อ่าเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย์ โดยให้ผู้สูงอายุออกก่าลังกายประกอบเพลงพ้ืนเมืองประยุกต์ พบว่า มีคะแนน สขุ ภาพจติ เฉลยี่ เพิ่มขน้ึ ความเสีย่ งต่อการเกดิ โรคซึมเศรา้ ลดลง สอดคล้องกับการศกึ ษาของ ทิติภา ศรสี มัย และ คณะ (Srisamai T., et al. 2560) ศกึ ษาผลของการออกกา่ ลังกายดว้ ยร่ามวยโบราณประยกุ ตต์ ่อสมรรถภาพทาง กายในผู้สงู อายุชายไทย : การศกึ ษานา่ ร่อง พบวา่ ผลการทดสอบสมรรถภาพทางกายก่อนและหลัง 8 สปั ดาห์ ใน กลมุ่ ทดลองมคี วามแข็งแรงของกล้ามเน้อื ขา การทรงตัว และคะแนนคณุ ภาพชวี ิตเพิ่มขนึ้ อยา่ งมีนัยสา่ คัญทางสถิติ ที่ .05 ผลการวจิ ัยของณัฐธร ขนุ ทอง (Khuntong N., Tammatisthan C., Rombanloa P., 2016). ได้ศกึ ษาและ เปรยี บเทยี บความแข็งแรงของแขน ความแข็งแรงของขา และความสามารถในการทรงตัวของผู้สงู อายุ กอ่ นและ หลงั ฝึกโดยใชโ้ ปรแกรมการฝึกร่ามโนราห์จ่านวน 30 คนหลังการฝึกสปั ดาหท์ ี่ 8 คา่ เฉลย่ี ความแข็งแรงของแขน ความแข็งแรงของขา และความสามารถในการทรงตัวของผูส้ ูงอายุ ดีกวา่ กอ่ นการฝึกอย่างมนี ยั ส่าคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดบั .05 จากการพัฒนารูปแบบกจิ กรรมนาฏศลิ ป์บา่ บัด พบวา่ ในปจั จบุ ันมีการให้ความสนใจในการบริหารกล้ามเน้ือใน รูปแบบตา่ ง ๆ โดยการนา่ เอานาฏศิลป์บา่ บดั ท่ีมีความสัมพนั ธก์ บั การเคลื่อนไหวร่างกายกับความรสู้ ึกอารมณ์ เพือ่ ท่าการบา่ บัดผู้ทบี่ กพรอ่ งในด้านตา่ ง ๆ ซงึ่ มคี วามสอดคล้องกับระวิวรรณ วรรณวิไชย (Wanwichai R., 2011) ท่ี กลา่ วถึงนาฏศลิ ป์บา่ บดั คือการน่าหลักการดา้ นการเคลอื่ นไหวรา่ งกายท่ีเปน็ อิสระอยา่ งมคี วามสัมพันธก์ ับอารมณ์ ความรสู้ ึก และพืน้ ทีร่ อบตัวเพือ่ ใหเ้ กิดการรับรู้ได้ด้วยตนเอง เพ่ือช่วยใหบ้ ุคคลสามารถแสดงความรู้สึกที่ไม่อาจส่ือ ออกมาเปน็ ถ้อยค่า เปน็ การพฒั นาภาพลักษณไ์ ปในทางบวก พัฒนาความร้สู กึ เห็นคุณคา่ ในตนเอง ลดความเครียด ความวติ กกงั วลและเศรา้ ซึม ลดการแยกตัว การเจ็บป่วยเร้ือรังและการเกร็งกลา้ มเนอ้ื เพิ่มทักษะในการสอื่ สาร และ สง่ เสรมิ ให้ร้ถู ึงชวี ิตความเป็นอยทู่ ่ีดี จากการศกึ ษาท่ีผา่ นมา พบว่า รูปแบบการออกก่าลังกายในเชิงอนุรักษ์ศิลปวฒั นธรรมไทยพน้ื บ้าน ได้รับ ความสนใจในการประยกุ ตใ์ ชก้ ารออกก่าลังกายเพื่อสุขภาพมากขึ้น ซง่ึ ทางคณะผู้วจิ ัยมีความสนใจในการศึกษาการ ประยุกตท์ ่ารา่ ร่าเปิงลา่ ปาง ซงึ่ เปน็ ศิลปวัฒนธรรมการฟ้อนร่าของจังหวัดล่าปาง ท่มี ีท่าทางการเคลื่อนไหวของ ร่างกายแขนขาที่ผสานสัมพนั ธ์กันคล้ายรูปแบบการออกก่าลังกาย ประกอบกบั การออกก่าลงั กายที่ช่วยเพ่ิมมวล กลา้ มเน้อื ในผสู้ ูงอายยุ ังมีการศึกษาทีไ่ ม่ชัดเจน ดงั นั้นทางคณะผูว้ จิ ยั จึงต้องการศึกษาผลของการประยุกต์ท่าการ ฟอ้ นร่าเปิงลา่ ปางโดยคาดว่าผลของการประยกุ ต์การออกก่าลังกายโดยใชท้ า่ การฟ้อนรา่ เปงิ ล่าปาง จะช่วยเพิ่มมวล กล้ามเนอื้ ในผสู้ งู อายุ ลดความเส่อื มของรา่ งกาย ลดอตั ราการเสียชีวติ ในผู้สูงอายุ และเปน็ ประโยชน์ต่อนักศึกษา พยาบาลศาสตร์ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครล่าปาง สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข ในการพัฒนาศกั ยภาพการดูแลผู้สงู อายุ ตามอตั ลักษณ์ของวิทยาลัยตอ่ ไป วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปีที่ 8 ฉบับท่ี 2 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.2

170 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยูใ่ นฐานขอ้ มลู TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) วัตถุประสงค์ เพ่ือศึกษาผลของการประยุกต์ท่าการฟ้อนร่าเปิงล่าปางต่อการเพิ่มมวลกล้ามเนื้อผู้สูงอายุ โดยมี วัตถุประสงคเ์ ฉพาะ ดังนี้ 1. เปรยี บเทยี บค่าเฉล่ยี มวลกลา้ มเนื้อของผู้สงู อายุระหวา่ งกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง ในระยะก่อนและ หลังการทดลอง 2. เปรยี บเทยี บค่าเฉล่ยี มวลกลา้ มเนื้อของผู้สูงอายุ ในกลุม่ ทดลอง ระยะก่อนและหลงั การทดลอง สมมุตฐิ าน 1. กลมุ่ ทดลองทไี่ ดร้ บั โปรแกรมการเพ่ิมมวลกลา้ มเนื้อในผู้สูงอายโุ ดยประยุกต์ทา่ รา่ ร่าเปิงล่าปาง หลังการ ทดลองมคี ่าเฉลี่ยมวลกลา้ มเน้ือสูงกว่ากลุ่มควบคุม 2. กลมุ่ ทดลองทไ่ี ดร้ ับโปรแกรมการเพ่ิมมวลกล้ามเนื้อในผสู้ ูงอายุโดยประยกุ ตท์ า่ รา่ ร่าเปิงลา่ ปาง หลงั การ ทดลองมีค่าเฉล่ียมวลกล้ามเนือ้ สงู กว่าก่อนการทดลอง วธิ ดี า่ เนนิ การวจิ ยั การศึกษาวจิ ยั คร้งั น้ี เป็นวิจยั กึ่งทดลอง (quasi–experimental research design) แบบสองกลุม่ ทดสอบ ก่อน และหลังการทดลอง (two group pretest- posttest design) ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง ประชากร คือ ผสู้ งู อายุเพศหญิง อายุต้งั แต่ 60 ปขี น้ึ ไปท่ีอาศัยในเขตเทศบาลนครล่าปาง อ.เมอื ง จ.ลา่ ปาง กลุ่มตัวอยา่ ง คือ ผสู้ งู อายเุ พศหญงิ ทอ่ี าศยั ในเขตเทศบาลนครลา่ ปาง อ. เมอื ง จ.ล่าปาง และตามหลัก ของ Polit & Hungler (1991) ทีก่ ลา่ วว่า ถ้าเป็นการวจิ ยั กึง่ ทดลองควรมีกลุม่ ตัวอย่างนอ้ ยท่ีสุด 20-30 ราย ผูว้ ิจัย ได้กา่ หนดกลุ่มตวั อย่าง จา่ นวน 40 คน แบง่ เป็นกลมุ่ ทดลอง 20 คน และกลุ่มควบคมุ 20 คน โดยวิธกี ารเลือกกลุ่ม ตวั อยา่ งแบบสุ่มแบบแบง่ กลุ่ม (cluster random sampling) ในเขตเทศบาลนครลา่ ปางมีทง้ั หมด จ่านวน 8 ตา่ บล ซึ่งมีสภาวะทางเศรษฐกจิ สังคม วัฒนธรรม ทคี่ ลา้ ยคลงึ กันมากทส่ี ุด และอย่ภู ายใตม้ าตรฐานการบริการทางด้าน สาธารณสขุ เดยี วกนั คอื โรงพยาบาลล่าปาง ท่าการสมุ่ ได้ 2 ต่าบล จากน้นั คดั เลือกกลุ่มตัวอยา่ งแบบเจา ะจง (purposive sampling) ตามเกณฑ์ เกณฑก์ ารคัดเข้ากลมุ่ ตัวอยา่ ง (inclusion criteria) 1.ผูส้ ูงอายุ เพศหญงิ ท่ีมีอายุมากกวา่ หรือเทา่ กับ 60 ปี ที่มคี ะแนนการประเมินความรู้ ความเขา้ ใจจีพีค๊อก 9 คะแนนขน้ึ ไป โดยผา่ นการคัดกรองความบกพร่องดา้ นการรับรสู้ ่าหรบั กลุม่ ตวั อย่างท่อี ายุ 60 ปขี ึ้นไป จากการใช้ แบบประเมินความรู้ ความเข้าใจ จีพีคอ๊ กของ Brodaty และคณะ (2002) แปลภาษาไทยของ จริ นนั ท์ กรฟิ ฟิทส์ สภุ าวดี พฒุ ิหน่อย และ เมธศิ า พงษ์ศักด์ศิ รี (2014) โดยคะแนนรวมตา่ กว่า 9 คะแนน หมายถงึ มคี วามผิดปกติ ดา้ นการรบั รู้ วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปที ่ี 8 ฉบับท่ี 2 เดอื น มกราคม – มถิ นุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.2

171 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมูล TCI กลุม่ ท่ี 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) 2.มีคะแนนการคดั กรองภาวะมวลกล้ามเน้ือน้อยชนิด SARC-F ได้คะแนนมากกว่าหรือเทา่ กับ 4 คะแนน โดยใช้แบบสอบถามคัดกรองภาวะมวลกลา้ มเนื้อน้อยชนดิ SARC-F (Thanasupakornkul P., 2018) เพื่อใช้ใน การวินิจฉัยภาวะมวลกล้ามเน้ือน้อย (sarcopenia) ตามเกณฑ์การวินิจฉัยของ Asian Working Group of Sarcopenia (AWGS) (Chen L-K et al., 2020) โดยมีเกณฑก์ ารวินจิ ฉัย ดังน้ี มวลกลา้ มเน้ือต่า (low muscle mass) คือ มีค่ามวลกลา้ มเนื้อท่ีได้จากการวัดด้วยเครือ่ งวัดองค์ประกอบของร่างกาย เพศชาย ตา่ กวา่ 7.0 kg/m2 เพศหญิง ต่ากว่า 5.7 kg/m2 ประกอบกบั คะแนนแบบสอบถามคัดกรองภาวะมวลกล้ามเน้ือนอ้ ยชนิด SARC-F คะแนนรวมของ SARC-F มากกว่า 4 คะแนนข้นึ ไป จะไดร้ ับการวนิ ิจฉยั วา่ มภี าวะมวลกลา้ มเนอ้ื น้อย 3.ไม่มขี ้อจา่ กดั ในการใช้เครือ่ งวัดองค์ประกอบของรา่ งกาย (body composition analyzer) ในการ วดั มวลกลา้ มเนือ้ เชน่ มภี าวะบวม ได้รบั การผา่ ตัดใสโ่ ลหะในรา่ งกาย ใชเ้ ครอ่ื งกระตุ้นการเตน้ ของหัวใจ 4.ไมม่ ีปญั หาการมองเห็นและการได้ยิน 5.ไม่ไดน้ อนพกั รักษาตวั ในโรงพยาบาล 3 เดอื นกอ่ นเข้าร่วมโครงการ เกณฑ์การคัดออกกล่มุ ตัวอย่าง (exclusion criteria) 1. กลุม่ ตวั อย่างบอกเลิกโครงการวจิ ยั 2. ไม่สามารถเข้าร่วมไดต้ ามระยะเวลาท่โี ปรแกรมกา่ หนด 3. ผ้ทู ่ีไม่มีความสามารภตอบแบบสอบถามได้ ไดแ้ ก่ ได้รับการวนิ จิ ฉัยเปน็ โรคสมองเส่ือม มีความผิดปกติ ทางจิตประสาท มคี วามบกพร่องทางภาษา วธิ ีการเกบ็ ขอ้ มลู ครัง้ ท่ี 1 ช้แี จงวัตถปุ ระสงค์ การดา่ เนนิ งานโครงการวิจยั ในกลุ่มตวั อยา่ ง จ่านวน 40 คน โดย แบง่ ออกเป็น 2 กล่มุ คือ กลมุ่ ควบคุมจา่ นวน 20 คน ใช้ชีวิตตามปกติ และกลมุ่ ทดลอง จา่ นวน 20 คน ประเมินมวลกลา้ มเนื้อ ทง้ั กลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง ผ่านเครอ่ื งวัดองค์ประกอบของรา่ งกาย (body composition analysis) โดยใน กลุ่มทดลองได้รับความรู้เรื่องพฤติกรรมการดูแลตนเองในผู้สูงอายุ โภชนบ่าบัดส่าหรบั ผ้สู ูงอายทุ ี่มีภาวะมวล กล้ามเน้ือลดลง และได้รับการสอนทา่ รา่ ร่าเปงิ ลา่ ปางประยุกต์รว่ มกับการใชย้ างยดื ในการออกกา่ ลงั กาย โปรแกรม การออกก่าลังกาย ประกอบด้วยการอบอุ่นร่างกายและการยืดเหยียดกลา้ มเนอ้ื 5 นาที หลงั จากนนั้ ท่าการออก ก่าลงั กายด้วยการประยุกต์ทา่ ร่าร่าเปิงล่าปาง 30 นาทีและผ่อนคลายกล้ามเน้ือดว้ ยการยืดเหยยี ด 5 นาที โดย ผู้เข้าร่วมการวิจยั ตอ้ งเข้าร่วมกิจกรรมการออกกา่ ลังกายด้วย วธิ ีการประยุกตท์ า่ การฟ้อนร่าเปิงลา่ ปาง จ่านวน 3 คร้ัง / สัปดาห์ เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์ ซึ่งผูว้ จิ ยั ตดิ ตามผลการออกก่าลังกาย เป็นจ่านวน 3 ครัง้ ดังน้ี ครงั้ ที่ 1 ติดตามผลและประเมินมวลกล้ามเนื้อในผสู้ ูงอายหุ ลังให้โปรแกรม 1 เดอื น ครง้ั ท่ี 2 ติดตามผลและประเมนิ มวลกลา้ มเนื้อในผสู้ ูงอายหุ ลังใหโ้ ปรแกรม 3 เดือน คร้งั ที่ 3 ตดิ ตามผลและประเมินมวลกลา้ มเน้ือในผู้สูงอายุหลังให้โปรแกรม 6 เดอื น ทัง้ กลมุ่ 2 กลุ่ม วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปที ี่ 8 ฉบบั ที่ 2 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.2

172 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคุณภาพของ TCI และอย่ใู นฐานข้อมูล TCI กล่มุ ที่ 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) เครอื่ งมอื ทีใ่ ช้ในการวจิ ยั การศึกษาวิจัยครั้งนี้ ใชเ้ ครือ่ งมือในการวจิ ยั แบบสอบถามมที ง้ั หมด 2 สว่ น ดังนี้ สว่ นที่ 1 เคร่ืองมือทีใ่ ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมลู 1.1 แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล สว่ นท่ี 2 เครื่องมอื ท่ีใช้ในการประเมนิ ภาวะโภชนาการและสัดสว่ นของร่างกาย ไดแ้ ก่ เครื่องวัด องค์ประกอบของร่างกาย เคร่อื งวดั สว่ นสูง 2.1 เคร่อื งวัดองคป์ ระกอบของร่างกาย (body composition analysis) ตรวจวเิ คราะห์ องคป์ ระกอบในรา่ งกาย ดว้ ยการสง่ กระแสไฟฟ้าระดับต่าทไ่ี ม่เป็นอันตรายเข้าส่รู ่างกาย โดยผา่ นแผน่ รองเท้าข้ั ว อเิ ล็กโทรด ใชป้ ระเมนิ นา่้ หนักตัว และมวลกล้ามเนือ้ 2.2 เครือ่ งวัดส่วนสูง การตรวจสอบคณุ ภาพของเครอ่ื งมอื 1.การทดสอบความเท่ียงตรง (validity) เครอ่ื งมือท่ีใช้ในการวจิ ัย มี 2 ชดุ โดยผู้วิจัยสรา้ งข้ึนจากการทบทวนวรรณกรรมและวจิ ยั ทีเ่ กี่ยวข้อง ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล และโปรแกรมการประยุกต์ท่าการฟ้อนร่าเปงิ ล่าปางต่อการเพ่ิมมวล กล้ามเน้ือของผู้สูงอายุหญิง หาความเท่ียงตรงด้านเนื้อหา โดยให้ผู้ทรงคุณวุฒิจ่านวน 3 ท่าน ประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านเวชศาสตร์การกีฬา ผู้ทรงคุณวุฒิด้านท่าการฟ้อนร่าเปิงล่าปาง และอาจารย์พ ยาบาล ผเู้ ช่ยี วชาญด้านผ้สู งู อายุ พิจารณาตรวจสอบความถูกต้อง สอดคล้องกบั วตั ถุประสงค์ ความเหมาะสมของภาษา และความชัดเจน ของเนือ้ หา ครอบคลุมเน้ือหา ได้ค่าความตรงเชิงเน้ือหา CVI เทา่ กบั 0.86 หลงั จากปรับปรุง โปรแกรมการประยกุ ตท์ ่าการฟ้อนร่าเปิงล่าปางต่อการเพม่ิ มวลกลา้ มเนอ้ื ของผ้สู ูงอายุหญิง ไปทดลองใช้ (try out) กับผูส้ งู อายุในเขตเทศบาลเขลางค์นคร อา่ เภอเมือง จังหวัดล่าปาง ทม่ี ีคุณสมบัตใิ กล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่าง จ่านวน 10 คน แล้วนา่ มาคา่ นวณหาค่าความเชอ่ื มน่ั ไดค้ า่ สัมประสิทธ์อิ ัลฟาครอนบาค (cronbach’alpha coefficient)0.85 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล คณะผ้วู ิจัยเปน็ ผเู้ กบ็ รวบรวมขอ้ มูล โดยมีข้นั ตอนในการเก็บขอ้ มลู ดังน้ี 1. ส่งโครงร่างวจิ ยั ใหค้ ณะกรรมการวจิ ัยของวทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลา่ ปาง 2. ท่าเรือ่ งขออนญุ าตการเก็บข้อมลู จากคณะกรรมการจริยธรรมการวจิ ัย 3. รวบรวมข้อมูลสถิตทิ เี่ กยี่ วข้อง 4. จัดประชมุ ชี้แจงวตั ถปุ ระสงคแ์ ละแนวทางในการจัดกิจกรรมตามโปรแกรมการเพ่มิ มวลกลา้ มเน้ือ ในผสู้ ูงอายโุ ดยประยุกตท์ า่ รา่ ร่าเปิงลา่ ปาง 5. คดั เลือกกลุ่มตวั อยา่ งผูส้ งู อายุทอี่ าศยั อย่ใู นเขตเทศบาลนครลา่ ปาง อา่ เภอเมอื ง จังหวดั ล่าปาง 6. ดา่ เนินการรวบรวมข้อมลู ตามเคร่อื งมอื ท่ใี ช้ในการเก็บขอ้ มูล 7. ดา่ เนินกิจกรรมโปรแกรมการเพ่มิ มวลกลา้ มเน้ือในผู้สูงอายุโดยประยกุ ต์ท่ารา่ รา่ เปิงลา่ ปาง 8. ด่าเนินการรวบรวมข้อมลู ตามเครอ่ื งมอื ท่ใี ชใ้ นการเก็บข้อมูลหลังการจดั กิจกรรมตามโปรแกรม วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปที ่ี 8 ฉบบั ท่ี 2 เดอื น มกราคม – มิถนุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.2

173 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มูล TCI กลุม่ ที่ 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) การวเิ คราะหข์ ้อมูล ผูว้ จิ ัยได้น่าข้อมลู ทัง้ ก่อน และหลังการทดลองของกลุ่มตวั อยา่ งมาวเิ คราะห์ข้อมูลทางสถติ โิ ดยใช้โปรแกร ม สา่ เร็จรูป มีรายละเอียดดงั น้ี 1. ข้อมลู ส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอยา่ งใชส้ ถิติพรรณนา วิเคราะห์โดยจา่ นวน การแจกแจง ความถี่ ร้อยละ คา่ เฉลย่ี และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน 2. การเปรียบเทยี บลักษณะข้อมลู ส่วนบุคคลระหว่างกล่มุ ควบคุมกับกลมุ่ ทดลองโดยการวเิ คราะห์ สถิติดว้ ย Chi-square test และการทดสอบฟชิ เชอร์ (Fisher’s exact probability test) 2.1 เปรียบเทียบค่าเฉล่ียมวลกล้ามเนื้อของผู้สงู อายรุ ะหว่างกลุ่มควบคุมและกล่มุ ทดลอง ในระยะกอ่ นและหลังการทดลอง โดยการวเิ คราะห์ด้วยสถิติ Independent t-test 2.2 เปรยี บเทยี บความแตกตา่ งของคา่ เฉลี่ยมวลกลา้ มเน้ือของผู้สงู อายุ ในกลมุ่ ทดลอง ระหว่างก่อน และหลงั การทดลอง 1 เดือน, 3 เดือนและ 6 เดอื น ใชส้ ถิตทิ ดสอบกรณี 2 กลุ่ม สัมพนั ธก์ นั (pairedt-test) ในการแจกแจงประชากรแบบปกติ แต่เน่ืองจากมีการวดั ซา่้ มากกว่า 2 ครง้ั ขนึ้ ไป จะใช้สถติ เิ ปรยี บเทียบคา่ เฉลยี่ ทไ่ี ม่ เปน็ อสิ ระต่อกนั Repeated measurement ANOVA การพิทกั ษ์สิทธิของกล่มุ ตัวอยา่ งและจริยธรรมวิจัย การศึกษาวจิ ัยครง้ั นี้ ผา่ นการพิจารณาและอนุมัติใหด้ ่าเนินการวจิ ัยจากคณะกรรมการจรยิ ธรรมการวิจัยใน คนของวทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลา่ ปาง หมายเลข E 2562/017 วนั ทอ่ี นมุ ตั ิ 12 กรกฎาคม 2562 กลมุ่ ตวั อยา่ งได้รับการชแี้ จงวตั ถุประสงค์ของการวจิ ัยขัน้ ตอนในการเก็บขอ้ มลู และแจ้งสิทธขิ องกลมุ่ ตัวอย่างในการเข้า ร่วมการวิจยั เปน็ ไปโดยสมคั รใจข้อมลู ที่ไดจ้ ะถูกเกบ็ เป็นความลบั และนา่ เสนอในภาพรวม สา่ หรบั กล่มุ ควบคมุ ทาง คณะผวู้ จิ ยั ได้ดา่ เนินการจัดกิจกรรมการออกก่าลังกาย โดยใชโ้ ปรแกรมการประยุกตท์ ่าการฟอ้ นรา่ เปงิ ล่าปาง ให้กบั ผู้ที่ สนใจเมื่อการดา่ เนินงานวจิ ยั แลว้ เสร็จ ผลการศกึ ษา การศึกษาวจิ ัยครั้งนี้ วัตถปุ ระสงค์เพือ่ ศึกษาผลของการประยกุ ต์ท่าการฟ้อนร่าเปิงลา่ ปางต่อการเพ่ิมมวล กลา้ มเนอื้ ผ้สู ูงอายุ ในจงั หวดั ล่าปาง จา่ นวน 40 คน ผลการวจิ ัยน่าเสนอในรูปแบบตาราง และ อภปิ รายผลตาม รายละเอียด ดงั ต่อไปนี้ สว่ นท่ี 1 ข้อมลู ส่วนบุคคลทว่ั ไป กลุ่มตวั อย่างทั้งสองกล่มุ มีอายุอยู่ในชว่ ง 60-75 ปี มากท่ีสุดในช่วงอายุ 71-75 ปี (รอ้ ยละ 20) เพศหญิง ร้อยละ 100 สถานภาพสมรสคู่ (ร้อยละ 55) ระดับการศกึ ษาประถมศึกษา (รอ้ ยละ 42.50) นบั ถือศาสนาพุทธ (ร้อยละ 100) ไม่ได้ประกอบอาชพี (ร้อยละ 45) รายไดอ้ ยู่ในชว่ ง 5,000 – 10,000 บาท / เดือน (รอ้ ยละ 47.5) มี วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีท่ี 8 ฉบบั ท่ี 2 เดอื น มกราคม – มิถุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.2

174 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มูล TCI กล่มุ ที่ 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) โรคประจ่าตัวอยา่ งนอ้ ย 1 โรค (รอ้ ยละ 100) สว่ นใหญ่ คือโรคความดนั โลหิตสูงและไขมันในเส้นเลือด (รอ้ ยละ55) ส่วนสงู เฉลย่ี 153.60 เซนติเมตร น้่าหนกั เฉล่ีย 58 กโิ ลกรัม ค่าเฉลี่ยดัชนมี วลกายกลุม่ ทดลองเท่ากับ 22.15 (3.29) กลุม่ ควบคมุ มีค่าเฉลย่ี เท่ากบั 22.47 (3.43) ไม่มปี ระวตั ินา่้ หนักลด (รอ้ ยละ 75) การประเมนิ ภาวะมวลกลา้ มเนอ้ื นอ้ ย ดว้ ยแบบประเมนิ SARC-F สว่ นใหญอ่ ย่ใู นระดับมวลกล้ามเนอ้ื ปกติ (รอ้ ยละ 55) เมือ่ เปรยี บเทยี บลกั ษณะข้อมูล สว่ นบุคคลระหวา่ งกลุ่มควบคุมกบั กลมุ่ ทดลอง โดยการทดสอบไคสแควร์ (chi-square test) และการทดสอบฟิช เชอร์ (fisher’s exact probability test) ผลการทดสอบพบวา่ กลมุ่ ตวั อยา่ งทง้ั 2 กล่มุ ไมแ่ ตกตา่ งกัน ดังแสดงใน ตารางที่ 1 ตารางที่ 1 แสดงข้อมลู ทวั่ ไปของกลมุ่ ตวั อย่าง (n = 40) ลักษณะตวั อยา่ ง กลมุ่ ทดลอง กล่มุ ควบคุม χ2 p-value 0.675 อายุ (ป)ี (n =20) (n =20) 0.856 61-65 66-70 จ่านวน (ร้อยละ) จา่ นวน (รอ้ ยละ) 0.654 71-75 0.926 0.786 0.828 การศกึ ษา ไม่ได้เรียน 2 (10.00) 4 (20.00) ประถมศกึ ษา มัธยมศึกษา 10 (50.00) 9 (45.00) อนปุ ริญญา/ปวส. 8 (40.00) 7 (35.00) สถานะ โสด 1.333 สมรส หมา้ ย หยา่ ร้าง แยกกนั อยู่ 2 (10.00) 3 (15.00) อาชีพ 8 (40.00) 9 (45.00) ไมไ่ ด้ประกอบอาชพี / เกษยี ณ เกษตรกร 6 (30.00) 5 25.00) คา้ ขาย / ธุรกิจสว่ นตวั / รับจ้าง 4 (20.00) 3 (15.00) 0.848 รายได้ตอ่ เดอื น (บาท) <5,000 4 (20.00) 2 (10.00) 5,000-10,000 10 (50.00) 12 (60.00) 10,001-15,000 6 (30.00) 6 (30.00) >15,001 0.889 8 (40.00) 10 (50.00) 8 (40.00) 7 (35.00) 4 (20.00) 3 (15.00) 0.889 6 (30.00) 3 (15.00) 9 (45.00) 10 (50.00) 4 (20.00) 5 (25.00) 1 (5.00) 2 (10.00) วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีท่ี 8 ฉบบั ท่ี 2 เดอื น มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.2

175 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มลู TCI กลมุ่ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) ตารางที่ 1 แสดงขอ้ มลู ทั่วไปของกลมุ่ ตัวอย่าง (n = 40) (ตอ่ ) ลกั ษณะตัวอย่าง กล่มุ ทดลอง กลมุ่ ควบคุม χ2 p-value โรคประจ่าตวั (n =20) (n =20) มี ระบโุ รค จา่ นวน (ร้อยละ) จ่านวน (รอ้ ยละ) ความดนั โลหิตสูง / ไขมนั ในเสน้ 20 (100.00) 20 (100.00) เลอื ด 12 (60.00) 0.848 0.654 เบาหวาน ปอดอดุ กนั เรือ้ รงั / หืด 10 (50.00) ดัชนีมวลกาย (กก./ม.2) < 18.5 6 (30.00) 8 (40.00) 0.234 0.972 18.5 – 22.90 2 (10.00) 2 (10.00) 23 – 24.90 3 (15.00) 3 (15.00) 25 – 29.90 8 (40.00) 9 (45.00) กลุ่มทดลอง 22.15 (3.29) 6 (30.00) 7 (35.00) กลุ่มควบคุม 22.47 (3.43) 3 (15.00) 1 (5.00) ภาวะนา่้ หนกั ลดในชว่ ง 1 เดือน (>5%) น่้าหนกั ลด >5% 4 (20.00) 6 (30.00) 0.533 0.465 ไม่มีภาวะนา้่ หนักลด 16 (80.00) 14 (70.00) *p-value <.05 2. เปรยี บเทยี บคา่ เฉลี่ยมวลกลา้ มเน้ือของผสู้ ูงอายุระหวา่ งกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง ในระยะกอ่ นและ หลังการทดลอง ด้วยสถิติการทดสอบทีอิสระ (independent t-test) พบว่า ก่อนการทดลองค่าเฉลี่ยมวล กลา้ มเนอื้ ระหว่างกลุม่ ควบคุมและกลุม่ ทดลอง ไมแ่ ตกต่างกนั อย่างมนี ัยสา่ คญั ทางส ถติ ิ (t = 0.018, p<.05) และ หลังการทดลองค่าเฉลี่ยมวลกลา้ มเนอ้ื ของกลุ่มทดลองมากกวา่ กลุ่มควบคมุ อย่างมีนยั ส่าคญั ทางสถิติ (t= 3.416,p<.01) ดงั แสดงในตารางที่ 2 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ี่ 8 ฉบบั ท่ี 2 เดอื น มกราคม – มิถุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.2

176 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมลู TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) ตารางที่ 2 การเปรียบเทยี บคา่ เฉลยี่ มวลกล้ามเนื้อของผู้สูงอายรุ ะหวา่ งกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง ในระยะก่อน และหลงั การทดลอง (n=40) ค่าเฉล่ียมวลกลา้ มเนอื้ กลุม่ ทดลอง กลุ่มควบคุม t p-value (กิโลกรัม) Mean (S.D.) Mean (S.D.) 0.018 0.986 25.92 (2.27) 25.91 (2.26) 3.416 0.001* ก่อนการทดลอง 28.24 (1.89) 26.03 (2.19) หลงั การทดลอง * p-value <.05 3. เปรยี บเทียบความแตกตา่ งของค่าเฉลีย่ มวลกลา้ มเนือ้ ของผู้สงู อายุ ในกล่มุ ทดลองระหวา่ งกอ่ น และ หลังการทดลอง 1 เดือน, 3 เดือนและ 6 เดือนด้วยสถิติเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยที่ไม่เป็นอิสระต่อกัน repeated measurement ANOVA พบว่า ค่าเฉลีย่ มวลกลา้ มเน้ือของผสู้ ูงอายุ ในกลมุ่ ทดลองระหว่างก่อน และหลังการ ทดลอง 1 เดือน, 3 เดอื นและ 6 เดอื น แตกตา่ งกันอยา่ งมีนัยสา่ คัญทางสถิติ (p<.0001) ดงั แสดงในตารางท่ี 3 ตารางท่ี 3 การเปรียบเทยี บความแตกตา่ งของคา่ เฉลย่ี มวลกล้ามเน้อื ของผ้สู ูงอายุ ในกลมุ่ ทดลองระหวา่ งกอ่ น และ หลังการทดลอง 1 เดอื น, 3 เดอื นและ 6 เดือน (n=40) รายการ ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง หลังการทดลอง หลงั การทดลอง Fa เดือนท่ี 6 71.685* เดือนที่ 1 เดอื นที่ 3 Mean (S.D) Mean (S.D) Mean (S.D) Mean (S.D) 28.24 (0.42) คา่ เฉล่ยี มวล 25.92 (0.50) 25.95 (0.43) 27.45 (0.40) กล้ามเน้ือ (กโิ ลกรมั ) * p-value < .05 a = Greenhouse-Geisser correction was used to reduce type I error ตารางท่ี 4 การเปรยี บเทยี บค่าเฉล่ยี มวลกล้ามเน้ือของผู้สูงอายุ ในกลุ่มทดลองระหวา่ งกอ่ น และหลังการทดลอง 1 เดือน, 3 เดือนและ 6 เดอื น แบบรายคู่ (n=40) ระยะเวลา Mean S.D. p-value ก่อนการทดลอง – หลงั การทดลอง 1 เดือน -0.91* 0.11 0.000 ก่อนการทดลอง – หลงั การทดลอง 3 เดือน กอ่ นการทดลอง – หลงั การทดลอง 6 เดือน -1.53* 0.17 0.000 หลงั การทดลอง 1– หลังการทดลอง 3 เดอื น หลังการทดลอง 1– หลงั การทดลอง 6 เดอื น -2.32* 0.23 0.000 หลงั การทดลอง 3– หลงั การทดลอง 6 เดือน -0.61* 0.12 0.000 * p-value < .05,MD = mean difference -1.40* 0.18 0.000 -0.79* 0.12 0.000 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปที ่ี 8 ฉบบั ที่ 2 เดือน มกราคม – มิถนุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.2

177 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคุณภาพของ TCI และอย่ใู นฐานขอ้ มูล TCI กลุม่ ท่ี 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) อภิปรายผล งานวจิ ัยน้เี ป็นการศกึ ษาผลของการประยุกตท์ ่าการฟอ้ นร่าเปงิ ล่าปางตอ่ การเพ่ิมมวลกลา้ มเน้ือผสู้ งู อายุ โดยในกลุ่มทดลองได้รับความรู้เรือ่ งพฤติกรรมการดูแลตนเองในผสู้ งู อายุ โภชนบ่าบดั สา่ หรับผสู้ งู อายุทม่ี ีภาวะมวล กล้ามเนอ้ื ลดลง และไดร้ บั การสอนทา่ รา่ รา่ เปงิ ล่าปางประยุกต์รว่ มกับการใชย้ างยดื ในการออกก่าลงั กาย โปรแกรม การออกกา่ ลังกาย ประกอบดว้ ยการอบอุ่นร่างกายและการยืดเหยียดกลา้ มเนอ้ื 5 นาที หลงั จากนน้ั ทา่ การออก กา่ ลังกายดว้ ยการประยกุ ต์ท่ารา่ ร่าเปิงล่าปางรว่ มกบั การใช้ยางยืด 30 นาทีและผอ่ นคลายกลา้ มเน้ือด้วยการ ยืด เหยยี ด 5 นาที โดยผู้เข้าร่วมการวิจยั ตอ้ งเข้าร่วมกจิ กรรมการออกก่าลงั กายดว้ ยทา่ รา่ ร่าเปิงล่าปางประยกุ ต์จ่า นวน 3 คร้ัง / สัปดาห์ เปน็ ระยะเวลา 12 สัปดาห์ ผ้วู ิจัยติดตามผลการออกก่าลังกาย เปน็ จ่านวน 3 คร้งั คอื เดือนท่ี 1 เดือนที่ 3 และเดอื นท่ี 6 พบว่าสามารถเพิ่มค่าเฉล่ียมวลกล้ามเนื้อของผู้สูงอายุในกลุ่มทดลองไดด้ ีกว่า กลุ่ม ควบคมุ อยา่ งมีนยั สา่ คญั ทางสถิติ สอดคล้องกับงานวิจัยของแซนนา (Sanna Vikberg, et al. ,2019) ทศี่ กึ ษา ประสิทธิภาพของการออกกา่ ลังกายแบบออกแรงต้าน (resistance training) ตอ่ การทา่ งานของความแข็งแรงของ กล้ามเนอ้ื และมวลกลา้ มเนอ้ื ของผ้สู งู อายทุ ม่ี ภี าวะมวลกลา้ มเนือ้ น้อยระยะแรก พบวา่ การออกก่าลงั แบบออกแรง ตา้ น เปน็ ระยะเวลา 10 สัปดาห์ ๆ ละ 3 ครั้ง ๆ ละ 45 นาที สามารถเพมิ่ มวลกลา้ มเนื้อในผสู้ ูงอายุทมี่ ีภาวะมวล กลา้ มเนื้อน้อยระยะแรกได้อยา่ งมีนัยส่าคัญทางสถิติ จากโปรแกรมการออกก่าลังกายดว้ ยท่ารา่ รา่ เปิงลา่ ปางปร ะยุกต์ ร่วมกบั การใชย้ างยืด เป็นลักษณะการออกก่าลังกายท่ใี ช้การออกแรงตา้ นกบั แรงภายนอก การออกก่าลงั กายแบบมี แรงต้านคอื การรบกวน (stress) ระบบกล้ามเนื้อ เมอ่ื มีการรบกวนจนถงึ จุดที่กลา้ มเน้ือเริ่มไม่ไหว ระบบกล้ามเน้ือ และกระดูกจะปรับตัวให้สามารถสู้กับแรงต้านบริเวณนั้นได้ ท่า ให้ความทนทาน (endurance) ความแข็งแรง (strength) และมกี ่าลงั (power) เพม่ิ ขึ้นได้ (Timothy D. Law, et al., 2016) และจากการศึกษาของรนี าโต(Renato Gorga Bandeira de Mello, et al. ,2019) ที่ทบทวนวรรณกรรมเก่ยี วกับประสิทธิภาพของการออกก่าลงั กา ยท่ี สามารถจัดการกบั ภาวะมวลกลา้ มเนอ้ื น้อยในผู้สูงอายุ พบวา่ การศกึ ษาส่วนใหญ่ใช้รูปแบบการออกก่าลังกายแบบออก แรงตา้ น ระยะเวลา 10-12 สปั ดาห์ สามารถเพ่มิ มวลกลา้ มเนอ้ื ในผู้สูงอายุไดอ้ ยา่ งมีนัยส่าคัญทางสถิติ และการ ออกกา่ ลังกายด้วยท่าการร่าร่าเปง่ิ ล่าปางประยุกต์เปน็ การออกก่าลงั กายแบบแอโรบิค ซึง่ เปน็ การออกกา่ ลงั กายที่ ใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ มีการเคลอ่ื นไหวอย่างต่อเน่ือง อย่างมแี บบแผนและจังหวะ ครอบคลุมทง้ั 3 ระยะของการ ออกก่าลงั กาย ไดแ้ ก่ ระยะอบอุน่ ร่างกาย ระยะออกกา่ ลงั กาย และระยะผ่อนคลาย โดยฝกึ 3 คร้งั /สัปดาห์ เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์ เป็นการออกก่าลังกายที่มีความหนักระดับปานกลาง ซึ่งเป็นระดับที่เหมาะสมส่าหรับผู้ สูงอายุ (American College of Sports Medicine:ACDM, 2021) จากการศึกษาน้ี กลุ่มตัวอยา่ งเข้ารว่ มโปรแกรมเปน็ ระยะเวลา 12 สปั ดาห์ เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยมวล กล้ามเนอ้ื ในระยะ 4 สัปดาหแ์ รก มคี า่ เฉล่ียอยู่ท่ี 25.95 (0.50) โดยเพ่ิมจากครั้งท่ี 1 ท่ีมีค่าเฉลย่ี 25.92 (0.43) เพียงเลก็ นอ้ ย ซึง่ แตกต่างจากคา่ เฉลย่ี มวลกล้ามเนือ้ ในระยะ 12 สปั ดาห์ ทม่ี ีค่าเฉลี่ยอยูท่ ี่ 27.45 (0.40) สอดคล้อง กับการศึกษาของ ทิตภิ า ศรีสมยั (Srisamai T., et al. ,2017) ทศ่ี ึกษาผลของการออกก่าลังกายด้วยการร่ามวย โบราณประยกุ ต์ต่อสมรรถภาพทางกายในผสู้ ูงอายุชาวไทย พบวา่ ในกลมุ่ ทดลอง หลังจากออกกา่ ลังกายแบบรา่ มวย โบราณประยกุ ต์ 40 นาทต่อครั้ง 3 คร้ังต่อสปั ดาห์ เปน็ ระยะเวลา 8 สปั ดาห์ สมรรถภาพในการออกกา่ ลังกาย วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปีท่ี 8 ฉบบั ที่ 2 เดือน มกราคม – มถิ นุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.2

178 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยใู่ นฐานข้อมูล TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) ความแข็งแรงของกล้ามเน้ือขา การทรงตวั และคะแนนคุณภาพชวี ิตเพ่ิมขึ้นอย่างมนี ัยส่าคัญ เน่ืองจากการออกก่าลัง กายที่เหน็ ผลการเปลี่ยนแปลงท่ีดคี วรมรี ะยะเวลานานพอ และมคี วามถีท่ ่ีเหมาะสมและสอดคล้องกบั งานวิจัย ของ กัตตกิ า ธนะขว้าง และ จันตนา รตั นวฑิ รู ย์ (Thanakwang K & Rattanawitoon J ,2013) ท่ีศึกษาผลของการร่าไม้ พลองมองเซิงเมอื งน่าน ต่อสมรรถภาพทางกายและคุณภาพชีวติ ด้านสุขภาพของผ้สู ูงอายหุ ญงิ ที่ไม่ไดอ้ อกก่าลังกาย เปน็ ประจา่ โดยใหผ้ ้สู งู อายุหญิงออกก่าลังกายแบบรา่ ไม้พลองมองเซงิ เมืองนา่ น สปั ดาห์ละ 3 คร้ัง เป็นเวลา 12 สัปดาห์ พบวา่ ความยดื หยุ่นของกลา้ มเน้อื และข้อตอ่ ความทนทานของปอดและหัวใจในผู้สงู อายุหญงิ ที่มกี ารออก กา่ ลังกายแบบรา่ ไมพ้ ลองมองเซิงเมอื งนา่ นมากกวา่ ผู้สงู อายกุ ลุ่มท่ีไม่ไดอ้ อกกา่ ลังกาย และพบว่าคุณภาพชีวิตด้าน สขุ ภาพ ความปวดทางกาย ความมพี ลัง และสุขภาพจิตของผู้สูงอายหุ ญิงกลุ่มที่ออกก่าลังกายแบบรา่ ไม้พลองมอง เซงิ เมอื งนา่ นดีกวา่ กลุม่ ทีไ่ ม่ไดอ้ อกก่าลังกายอย่างมีนัยสา่ คญั ทางสถิติ ประกอบกับงานวิจยั น้ีกลุ่มตวั อยา่ งเป็นผู้ที่มี คา่ ดชั นมี วลกายอยูใ่ นระดบั ปกติ โดยกล่มุ ทดลองมีคา่ เฉลีย่ ดัชนีมวลกาย เท่ากบั 22.15 และกลมุ่ ควบคุมมคี ่า เฉลี่ย ดัชนีมวลกายเท่ากับ 22.47 จากการทบทวนวรรณกรรมพบว่าค่าดัชนีมวลกายเป็นปัจจัยหนงึ่ ที่มีผลต่อมวล กลา้ มเนอ้ื โดยคา่ ดัชนมี วลกายท่มี ีค่าปกติมีผลตอ่ ประสิทธิภาพการออกกา่ ลังกายในวัยผสู้ งู อายุ จากการศึกษาของ จสิ เลน และคณะ (Gislaine Cristina Vagetti, et al, 2017) ท่ีศึกษาความสมั พันธข์ องดัชนีมวลกายกบั สมรรถภาพ ทางกายของสตรสี ูงอายุทเี่ ขา้ ร่วมโปรแกรมการออกกา่ ลังกาย ผลการศึกษา พบว่า ผู้สงู อายหุ ญิงที่มีภาวะน่้า หนัก เกิน และมภี าวะอ้วน มีคะแนนความสามารถในการออกก่าลังกายต่ากวา่ ผสู้ ูงอายุหญิงที่มีคา่ ดัชนีมวลกายที่ปกติ ซงึ่ สัมพนั ธก์ บั งานวจิ ัยฉบับน้ีทผี่ ู้สูงอายุทเ่ี ขา้ รว่ มงานวิจัยเปน็ กลุม่ ท่ีมีดัชนีมวลกายท่ีปกติ จึงสง่ ผลให้ประสิทธิกาย การออกกา่ ลังได้ผลดีขน้ึ ดงั นั้นควรมีการส่งเสริมการออกกา่ ลังกาย โดยใช้ท่ารา่ ร่าเปงิ ลา่ ปางประยุกต์ ประกอบกับการให้ควา มรู้ เรอื่ งการดแู ลตนเองในผู้สงู อายุและ โภชนาการบา่ บดั ส่าหรบั ผสู้ ูงอายุท่ีมีภาวะมวลกลา้ มเน้ือน้อย อยา่ งต่อเนื่อง สอดคล้องกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ เพ่ือเพม่ิ มวลกล้ามเน้ือใหก้ ับผู้สูงอายุ สง่ ผลใหค้ ุณภาพชีวิตของผู้สูงอา ยุดีข้ึน ต่อไป ขอ้ เสนอแนะในการน่าผลการศึกษาไปใช้ 1.หากมีการน่าผลของการวิจยั ไปประยุกตใ์ ช้บริบทอ่ืน เชน่ ในกลมุ่ ผู้สงู อายทุ ่ีมคี า่ ดชั นมี วลกายเกนิ หรือ ในผู้ป่วยโรคเร้ือรังอน่ื ๆ อาจมีขอ้ จ่ากัดอ่ืนที่ต้องเฝ้าระวัง เน่ืองจากการออกก่าลังกายดว้ ยทา่ ร่ารา่ เปิงล่าปาง ประยุกต์ มีลักษณะการออกก่าลังกายท่ีเป็นทั้งแบบแอโรบิค และการใช้แรงต้าน ท่ีต้องอาศัยการออกแรง พอสมควรเพอ่ื ใหเ้ กดิ ประสิทธภิ าพ ข้อเสนอแนะในการวจิ ัยคร้ังต่อไป 1.ควรมีการศึกษาถึงผลของการออกกา่ ลังกายดว้ ยทา่ รา่ รา่ เปิงล่าปางประยุกต์ ท่เี ป็นการศกึ ษาระยะยาว เพ่ือใหไ้ ดผ้ ลทชี่ ดั เจนมากยงิ่ ข้นึ 2.ควรมีการศกึ ษาผลของการออกก่าลงั กายด้วยทา่ ร่าร่าเปิงล่าปางประยุกต์ ตอ่ สมรรถนะด้านต่าง ๆของ ผ้สู งู อายุ เชน่ ผลต่อการทรงตวั เพื่อปอ้ งกันการหกลม้ เนอ่ื งจากการออกก่าลงั กายด้วยทา่ ร่ารา่ เปิงลา่ ปางปร ะยุกต์ เป็นการออกกา่ ลงั กายแบบใชแ้ รงตา้ น เพม่ิ มวลกล้ามเนือ้ ได้ ซงึ่ นา่ จะมีผลตอ่ การป้องกนั ภาวะหกลม้ ในผ้สู ูงอายุได้ วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปีที่ 8 ฉบบั ท่ี 2 เดือน มกราคม – มถิ นุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.2

179 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคุณภาพของ TCI และอย่ใู นฐานข้อมูล TCI กลมุ่ ที่ 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) เอกสารอา้ งองิ American College of Sports Medicine. (2021). ACSM's guidelines for exercise testing and prescription, 11th edition. (online). Retrieved from: https://www.acsm.org/read- research/trending-topics-resource-pages/physical-activity- guidelines. Anton S. D., Hida A., Mankowski R., Layne A., Solberg L. M., Mainous A. G., Buford T. (2018). Nutrition and exercise in sarcopenia. (online). Retrieved from: https://www.eurekaselect.com/148738/article. Chan D. C., Chang C. B., Han D. S., Hong C. H., Hwang J. S., Tsai K. S., Yang R. S. (2018). Effects of exercise improves muscle strength and fat mass in patients with high fracture risk: A randomized control trial. (online). Retrieved from: https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S0929664617301018?via%3Dihub. Chen L.K., et al. (2020). Asian working group for sarcopenia: 2019 consensus update on sarcopenia diagnosis and treatment. (online). Retrieved from: https://www.jamda.com/article/S1525-8610(19)30872-2/fulltext. Cruz-Jentoft A. J., Baeyens J. P., Bauer J. M., Boirie Y., Cederholm T., Landi F., Finbarr C. M., Jean- Pierre M., Rolland Y., Schneider S. M., Topinková E., Vandewoude M., Mauro Z. (2010). Sarcopenia: European consensus on definition and diagnosis: report of the european working group on sarcopenia in older people. (online). Retrieved from: https://academic.oup.com/ageing/article/39/4/412/8732. Gray M., Jordan M. G., Binns A. (2016). Predicting sarcopenia from functional measures among community-dwelling older adults. (online). Retrieved from: https://link.springer.com/article/10.1007%2Fs11357-016-9887-0. Khuntong N., Tammatisthan C., Rombanloa P. (2016). The training effect of 14 poses of applied manora dancing towards the elders balance. (online). Retrieved from: https://www.lib.ku.ac.th/KU/2561/KRKPS000S0000210c1.pdf. (in Thai) Landi F., Cruz-Jentoft A. J., Liperoti R., Russo A., Giovannini S., Tosato M., Capoluongo E., Bernabei R., Onder G. (2013). Sarcopenia and mortality risk in frail older persons aged 80 years and older: results from ilSIRENTE study. (online). Retrieved from: https://academic.oup.com/ageing/article/42/2/203/27621. Law T. D., Clark L. A. and Clark B. C. (2016). Resistance Exercise to Prevent and Manage Sarcopenia and Dynapenia. (online). Retrieved from: https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC4849483/pdf/nihms756840.pdf. Promklang D., Piaseu n., Jarupat M. S., Tantiprasoplap S. (2018). Factors Associated with Sarcopenia Amongst Older Adults in Congested Communities in Bangkok. (online). Retrieved from: วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปีท่ี 8 ฉบับที่ 2 เดือน มกราคม – มถิ นุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.2

180 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/TJONC/article/view/115005/96392. (in Thai) Rachabootr N., et al. (2018). The Study of Socio-Cultural Program for Mental Health Promotion and Depressive Prevention in the Elderly Donmon Sub-district, Satuek District, Buriram Province. (online). Retrieved from: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/HCUJOURNAL/article/view/149592/109791. (in thai) Renato Gorga Bandeira de Mello, Roberta Rigo Dalla Corte, Joana Gioscia and Emilio Hideyuki Moriguchi. (2019). Effects of Physical Exercise Programs on Sarcopenia Management, Dynapenia, and Physical Performance in the Elderly: A Systematic Review of Randomized Clinical Trials. (online). Retrievedfrom:https://ownloads.hindawi.com/journals/jar/2019/1959486.pdf. Srisamai T, Nakmareong S, Yonglitthipagon P, Siritaratiwat W, Auvichayapat P, Sawanyawisuth K, Janyacharoen T. (2017). Effects of traditional Thai boxing exercise program on physical performance in elderly Thai subjects: A pilot study. Chulalongkorn medical journal.61(6):745– 755. (in Thai) Thai Elderly. (2020). Situation of the Thai elderly. (online). Retrieved from: https://thaitgri.org/?p=39772 (2020,23,Jan). (in Thai). Thanakwang K & Rattanawitoon J. (2013). Effect of Ram Mi-Plong Mong Soeng Muang Nan on Physical Fitness and Health-Related Quality of life in sedentary older women. (online). Retrieved from: https://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/download/33069/28099.(inThai) Thanasupakornkul P., Wongsuttilert A., Jaidee W., Punyamana U., Thararam S. (2018). SARC-F scores correlated with low physical performance and muscle strength in older Thai adults. (online). Retrieved from: http://ojslib3.buu.in.th/index.php/BJmed/article/view/5930/3105.(inThai) Vikberg S., Sörlén N., Brandén L., Johansson J., Nordström A., Hult A., Nordström P. (2019). Effects of Resistance Training on Functional Strength and Muscle Mass in 70-Year-Old Individuals With Pre-sarcopenia: A Randomized Controlled Trial. (online). Retrieved from: https://www.jamda.com/action/showPdf?pii=S1525-8610%2818%2930502-4. Wanwichai R., (2011). Dance for the hearing impaired children. (online). Retrieved from: https://www.car.chula.ac.th/display7.php?bib=b1933828. (in Thai) Yoo S. Z., Hyun M., Heo J. W., Park D. H., Kang J. H., Kim S. H., Kwak H. B. (2018). Role of exercise in age-related sarcopenia. (online). Retrieved from: https://www.e-jer.org/journal/view.php?number=2013600543. วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีที่ 8 ฉบับท่ี 2 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.2

181 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มลู TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) Predictors of Self-Management Behavior in Pre- Dialysis Chronic Kidney Disease Patients Ruedeerat Suebwongpat*, Oratai Tumtong**, Pannee Paisarntuksin***, Kanokchat Saidaungkaew**, Kruawan Santhuankaew*** (Received August 30, 2021, Revised: October 28, 2021, Accepted: November 6, 2021) Abstract The purpose of this descriptive study was to identify predictors of personal factors, knowledge, and self-care behaviors on self-management in patients with chronic kidney disease before dialysis. 120 persons with chronic kidney disease were purposively selected from the NCDs department at Mae Tha Hospital in Lampang. Five assessment tools for patients with chronic kidney disease were used to collect data: 1) a demographic data form 2) a health status 3) knowledge and health behaviors 4) self-care behaviors, and 5) a self-management scale. Cronbach's Alpha coefficients for knowledge and self-care behaviors sale, self-care behaviors, and self-management scale were 0.70, 0.70, and 0.74, respectively. Data were analyzed using percentage, mean, standard deviation, Spearman’ Rank correlation coefficient and Stepwise Multiple Regression. As a result, knowledge and self-care behaviors significantly predicted self-management behavior variances among patients with chronic kidney disease before renal replacement therapy stage, 23.5% (R2 = 0.23, F = 17.97, p < .01). The self-care behavior was the highest statistically significant influencing factor on the variance of self-management behavior and knowledge respectively (β=0.33, p<.01, β = 0.23, p<.05). The disease stage had no effect on the variability of self-management behavior. (β =-0.02, p <.05). This study could serve as a guide for health care workers in terms of improving self-management’s information for patients with chronic kidney disease patients in order to slow the progression of the the kidney replacement therapy phase. Keywords: Chronic Kidney Disease; Pre- Dialysis Chronic Kidney Disease Patients; Self-Management Behavior * Medical Docter, Maetha Hospital, Lampang,**Professional Nurse, Maetha Hospital, Lampang *** Nurse Instructor, Boromarajjonani College of Nursing, lampang Faculty of Nursing, Praboromarajchanok Institute, Ministry of Public Health

182 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมูล TCI กลุม่ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) ปจั จยั ทานายพฤติกรรมการจดั การตนเองในผู้ป่วยโรคไตวายเร้อื รงั ในระยะก่อนการบาบดั ทดแทนไต ฤดรี ัตน์ สบื วงศแ์ พทย*์ , อรทยั ทำทอง**, พรรณี ไพศำลทักษนิ ***, กนกฉตั ร สำยดวงแกว้ **, เครอื วัลย์ สำรเถ่ือนแก้ว*** (วันรับบทความ : 30 สิงหาคม 2564, วันแก้ไขบทความ : 28 ตลุ าคม 64, วนั ตอบรบั บทความ: 6 พฤศจกิ ายน 2564) บทคดั ย่อ การวิจัยเชงิ พรรณนาคร้งั น้ีมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาปัจจัยทานายพฤตกิ รรมการจัดการตนเองในผู้ปว่ ยโรค ไตวายเร้ือรังในระยะก่อนการบาบัดทดแทนไต ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคล ความรู้เกี่ยวกับโรคและการปฏิบัติตัว และ พฤติกรรมการดแู ลตนเอง กลุมตัวอยางเป็นผปู้ ่วยโรคไตวายเร้อื รังในระยะก่อนการบาบดั ทดแทนไต มารับบรกิ ารท่ี แผนกผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โรงพยาบาลแม่ทะ จ. ลาปาง จานวน 120 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง รวบรวมขอ้ มลู โดยใช้เครื่องมือประเมนิ ผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง ไดแ้ ก่ 1) ข้อมลู ส่วนบุคคล 2) ขอ้ มลู สุขภาพ 3) แบบ ประเมินความรู้เกี่ยวกับโรคและการปฏิบัติตัว 4) แบบประเมินพฤติกรรมการดูแลตนเอง และ 5) แบบประเมิน พฤติกรรมการจัดการตนเอง ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเน้ือหาและหาค่าความเชื่อม่ันของเครื่องมือ 0.70,0.70 และ 0.74 ตามลาดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ความสัมพันธ์โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมนและการถดถอยพหุคูณแบบขัน้ ตอน (stepwise multiple regression analysis) ผลการวจิ ัย พบว่า ความรู้เกยี่ วกบั โรคและการปฏบิ ตั ิตัว พฤตกิ รรมการดูแลตนเอง สามารถร่วมกันอธิบาย ความแปรปรวนของพฤติกรรมการจัดการตนเองในผปู้ ่วยโรคไตเร้ือรังในระยะก่อนการบาบัดทดแทนไตได้ คิดเป็น ร้อยละ 23.50 (R2=0.23,F = 17.97,p<.01) โดยพฤติกรรมการดูแลตนเองมีอิทธิพลต่อความแปรปรวนของ พฤติกรรมการจัดการตนเองมากที่สุดอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (β=0.33,p <.01) รองลงมา คือความรู้ (β = 0.23 , p < .05) ส่วนระยะของโรคไม่มีอิทธิพลต่อความแปรปรวนของพฤติกรรมการจัดการตนเอง (β =-0.02 , p >.05) ผลการศึกษาคร้ังน้ีได้ข้อมูลการจัดการตนเองในผู้ป่วยโรคไตเร้ือรังใช้เป็นแนวทางในการจัดการข้อมูลและวาง แผนการดแู ลผปู้ ว่ ยโรคไตเร้อื รงั เพื่อช่วยชะลอการเข้าสู่ระยะบาบดั ทดแทนไตใหช้ า้ ลง คาสาคญั : ผู้ปว่ ยโรคไตวายเรอ้ื รัง; ระยะก่อนการบาบัดทดแทนไต; พฤติกรรมการจัดการตนเอง * นายแพทยช์ านาญการ โรงพยาบาลแม่ทะ จงั หวดั ลาปาง ** พยาบาลวชิ าชพี ชานาญการ โรงพยาบาลแมท่ ะ จงั หวัดลาปาง *** อาจารยพ์ ยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสขุ วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปที ่ี 8 ฉบับที่ 2 เดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

183 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมูล TCI กลมุ่ ที่ 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) บทนา โรคไตเร้อื รัง (chronic kidney disease; CKD) เปน็ ปัญหาสาธารณสุขทสี่ าคัญทว่ั โลกรวมทง้ั ประเทศไทย มีอัตราความชุกและเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเน่ือง ปีค.ศ. 2016 พบอุบัติการณ์การเจ็บป่วยด้วยโรคไตเรื้อรังในประเทศ สหรัฐอเมริกา วัยผู้ใหญ่ถึงร้อยละ15 หรือประมาณ 37 ล้านคน (EDC, 2019) โดย Nationnal Kidney Foundation ได้จาแนกความรุนแรงของการดาเนินโรคไตวายเรื้อรังเป็น 5 ระยะ ตามอัตราการกรองของไต (Estimated glomerular filtration rate, eGFR) (Rani, 2011) ได้แก่ ระยะที่ 1 ผู้ป่วยยังไม่มีอาการของโรคแต่ ตรวจเลือดพบ Serum creatinine <1.2 mg/dl และตรวจปัสสาวะพบโปรตีนไข่ขาว (Microalbuminuria) ซึ่ง ประมาณค่า eGFR > 90 ml/mim/1.73 m2 ระยะท2่ี ผูป้ ่วยยังไม่มีอาการแต่ไตจะเส่ือมเรว็ ข้ึน eGFR อยู่ระหวา่ ง 60-89 ml/mim/1.73 m2 มีโปรตีนรั่วในปัสสาวะเป็นครั้งคราว ระยะที่ 3 eGFR อยู่ระหว่าง 30-59 ml/mim/1.73 m2 ในระยะนี้ผู้ป่วยเริ่มมีอาการซีด เนื่องจากไตไม่สามารถสร้างฮอร์โมน erythropoietin ซ่ึงเป็น สารที่ชว่ ยกระตุน้ ให้ไขกระดูกผลิตเม็ดเลือดแดงจึงทาใหผ้ ู้ปว่ ยซดี และไตขับของเสยี ที่มไี นโตรเจนจากการเผาผลาญ ของโปรตีนลดลงต่ากว่าครึ่ง ระยะท่ี 4 ผู้ป่วยเร่ิมอ่อนเพลีย มีอาการซีดมากข้ึน และอัตราการกรองของไตลดลง มาก ค่า eGFR อยรู่ ะหวา่ ง 15 - 29 ml/mim/1.73 m2 มีอาการบวมและภาวะเลือดเปน็ กรด ระยะที่ 5 คา่ eGFR ลดลงต่ากว่า 15 ml/mim/1.73 m2 เป็นระยะที่ไตทาหน้าท่ีเสื่อมลงอย่างชัดเจน ผู้ป่วยจึงมีอาการอ่อนเพลียมากขึ้น มีอาการบวมเพราะไตขับน้าและเกลือลดลง เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ซีด หอบเหน่ือย สับสน ซึม อาการ ดงั กลา่ วเกดิ จากภาวะยรู ีเมียคั่ง ต้องทาการบาบดั ทดแทนไตโดยวธิ ีลา้ งไต (dialysis) ระยะแรกของโรคไตเร้ือรังมักไม่พบอาการผิดปกติเกิดขึ้น ทาให้ผู้ป่วยส่วนใหญ่ไม่ทราบและมักตรวจพบ เม่ือมีการดาเนินของโรคมากแล้ว เมื่อดาเนินของโรคเข้าสู่ระยะสุดท้าย (End Stage Renal Disease; ESRD) (Thanakitjaru, 2015) ผู้ป่วยจาเป็นต้องได้รับการรักษาโดยการบาบดั ทดแทนไต เช่น การฟอกเลือดด้วยเครื่องไต เทียม การลา้ งไตทางชอ่ งท้องแบบต่อเนื่อง และการผา่ ตัดปลูกถา่ ยไต ซ่งึ ไมว่ า่ จะเป็นการรกั ษาโดยวธิ ใี ดจะส่งผลทา ให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยลดลง รวมถึงค่าใช้จ่ายท่ีใช้ในการรักษาเพ่ิมขึ้น จากการศึกษาของ Thai SEEK ปี ค.ศ.2010 พบอุบัติการณ์ของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังร้อยละ 17.50 หรือประมาณ 8 ล้านคน และประชากรส่วนใหญ่ไม่ทราบว่า ตนเองเจ็บป่วยด้วยโรคไตเรื้อรัง ซึ่งผู้ป่วยร้อยละ 1.9 เท่าน้ันท่ีทราบว่าตัวเองป่วยโรคไตเร้ือรัง (Nephrol Dial Transplant, 2010) ทั้งนี้เป้าหมายที่สาคัญในการรักษาโรคไตเร้ือรังคือการป้องกันการเส่ือมของไต ไม่ให้เข้าสู่ไต เรื้อรังระยะสุดท้าย (end stage renal disease; ESRD) ดังนั้นการตรวจคัดกรอง การวินิจฉัยต้ังแต่ระยะเริ่มแรก เพ่อื ควบคุมปจั จัยเสีย่ งและการดูแลรักษาจงึ มีความสาคัญอย่างย่ิง (Jantarametakune, 2011) จากสถิติของจังหวัดลาปาง ปีพ.ศ. 2562 มีผู้ป่วยท่ีโรคไตเรื้อรังต้ังแต่ระยะท่ี 1-5 จานวน 22,655 คน แบ่งเป็นระยะท่ี 1 รอ้ ยละ 15.56 ระยะท่ี 2 รอ้ ยละ 25.80 ระยะท่ี 3 ร้อยละ 40.08 ระยะท่ี 4 รอ้ ยละ 11.83 และ ระยะท่ี 5 ร้อยละ 6.74 ทั้งน้ีจากข้อมูลจานวนผู้ป่วยโรคไตเร้ือรังในเขตอาเภอแม่ทะ ทั้งหมดจานวน 1,386 คน วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื ปที ่ี 8 ฉบับท่ี 2 เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

184 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มลู TCI กลมุ่ ท่ี 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) แบง่ เปน็ ระยะที่ 1 รอ้ ยละ 10.60 ระยะท่ี 2 ร้อยละ 19.19 ระยะท่ี 3 รอ้ ยละ 43.29 ระยะที่ 4 รอ้ ยละ 17.32 และ ระยะที่ 5 ร้อยละ 9.60 และการรายงานตัวช้ีวัดการชะลอไตเร้ือรัง ปี พ.ศ. 2562 ของอาเภอแม่ทะและจังหวัดลาปาง พบผู้ป่วยไตเรื้อรังท่ีมีอัตราการกรองของไตลดลง (Glomerular Filtration Rate; GFR) < 4 ml/min/1.73 m2 /yr ถึงร้อยละ 67.68 และ 57.39 ตามลาดับ (HDC Lampang, 2019) นอกจากนี้งานคลินิกโรคไตเร้ือรังของ โรงพยาบาลแม่ทะ ปี พ.ศ. 2562 (Out Patient custom search result: MaeTha Hospital, 2019) มีผ้ปู ่วยขึ้น ทะเบียนโรคไตเรื้อรังและรับการรักษาคิดเป็นร้อยละ 70.21 ของผู้ป่วยโรคไตเร้ือรังท้ังหมด โดยเป็นกลุ่มผู้ป่วยไต เรื้อรังระยะ 3-5 ท้ังหมด 1,161 ราย แบ่งเป็นผู้ป่วยระยะท่ี 3 จานวน 547 คน ระยะท่ี 4 จานวน 338 คน และ ระยะท่ี 5 จานวน 276 คน ตามลาดับ โดยมีระบบการให้ความรู้ในคลินิกโรคไม่ติดต่อเรื้อรังยังไม่ได้แยกคลินิกท่ี ชัดเจน เน้นเฉพาะผู้ป่วยที่พบปัญหาของโรคท่ีซับซ้อนและควบคุมโรคไม่ได้ รวมท้ังยังไม่มีแนวทางในการให้การ ดแู ลสขุ ภาพผปู้ ่วยเพื่อส่งเสริมในการจัดการตนเองทีเ่ หมาะสม การทบทวนวรรณกรรมพบวา่ ความรเู้ ก่ยี วกบั โรคไตเร้ือรงั เปน็ ส่งิ ท่ผี ู้ปว่ ยต้องรบั รู้และทาความเข้าใจเพื่อให้ ข้อมูลดังกล่าวเป็นส่วนประกอบในการแสดงพฤติกรรมหรือการปฏิบัติตนให้เหมาะสมกับโรค โดยความรู้เกี่ยวกับ โรคในด้านต่างๆเปน็ ปัจจัยท่ีสาคัญส่งผลต่อพฤติกรรมการดูแลสขุ ภาพและการจัดการตนเองจะสาเรจ็ ได้น้นั ผู้ป่วย ต้องมีความรู้เก่ียวกับอาการของโรค การปฏิบัติตัว และการรักษา เพ่ือช่วยตัดสินใจในการดูแลตนเอง (Gage & Berliner, 1992) นอกจากน้ี พบว่า พฤติกรรมการดูแลตนเองซึ่งเป็นการปฏิบัติเพ่ือดูแลสุขภาพของผู้ป่วยร่วมกับ ทีมสุขภาพในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังจะได้รับการรักษาท่ีเน้นการดูแลตนเองเป็นสาคัญ สามารถจัดการตนเองเพ่ือเกิด ผลลพั ธ์ท่ดี แี ละชะลอการเกดิ ไตเร้อื รงั ระยะสุดท้ายได้ (Ardkhitkarn, Pothiban, & Lasuka, 2013) จากแนวคิดการจัดการตนเองมีพื้นฐานมาจากกระบวนการคิด การตัดสินใจ และการเรียนรู้ทางสังคม แนวคิดการจัดการตนเองของ Lorig และ Holman (2003) กล่าวถึงการท่ีบุคคลเลือกแนวทางในการปรับมุมมอง และทักษะที่สามารถนาไปประยุกต์ใช้เพ่ือแก้ปัญหาและปฏิบัติพฤติกรรมใหม่ รวมถึงรักษาความมั่นคงทางอารมณ์ ประกอบด้วย การจัดการทางการแพทย์หรือปฏิบัติตามแผนการรักษา (medical management) การจัดการ เก่ียวกับบทบาทที่ดารงอยู่ในชีวิตประจาวัน (role management) และการจัดการด้านอารมณ์ (emotional management) ซึ่งบุคคลจะมีการจัดการตนเองท่ีดีได้นอกจากจะต้องมีความรู้ที่ดีแล้วยังต้องได้รับการสนับสนุน ทางสังคมที่ดี ดังนั้นการจัดการตนเอง (self-management) เป็นความรับผดิ ชอบในการปฏิบัติกิจกรรมของผู้ปว่ ย ในการจัดการกับโรคและการรักษาตนเอง เพ่ือป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน ส่งเสริมสุขภาพ และหาแนว ทางแก้ไขปัญหาร่วมกันระหว่างผู้ป่วยและบุคลากรสุขภาพ โดยใช้ความรู้ ความเชื่อ ทักษะ และความสามารถใน การกากับตนเอง (Seephom, 2013) ปรับเปล่ียนแบบแผนการดาเนินชีวิต เช่น การควบคุมอาหาร ควบคุมโรค และปฏบิ ัตติ วั ตามแผนการรักษาของแพทย์ เพื่อใหเ้ กิดการชะลอความเส่ือมของไตและคงไวซ้ ึ่งการทาหน้าที่ของไต และเพมิ่ คุณภาพชีวติ ของผปู้ ่วยโรคไตให้ดีขนึ้ และยาวนานทีส่ ดุ วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปีท่ี 8 ฉบบั ท่ี 2 เดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

185 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมูล TCI กล่มุ ที่ 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) จากการศึกษาที่ผ่านมาของ Chaiyasung & Meetong (2018) พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยด้าน สขุ ภาพมผี ลต่อการจัดการตนเองในผู้ปว่ ยโรคไตเรื้อรัง ไดแ้ ก่ อายุ การออกกาลงั กาย การเจ็บปว่ ยดว้ ยโรคความดันโลหิตสงู สามารถทานายความรุนแรงของโรคไตเรื้อรังท่ีเพ่ิมข้ึนได้ถึงร้อยละ 45.90 สอดคล้องกับการศึกษาของ Maneesri (2010) พบว่า ระยะของโรค และ โรคร่วม เป็นปัจจัยสาคัญท่ีมีผลต่อการดูแลจัดการตนเองที่ไม่เหมาะสม รวมท้ัง ผ้ปู ว่ ยโรคไตเร้ือรังในระยะแรกถึงระยะปานกลางจะมีพฤติกรรมการดูแลตนเองท่ีไมเ่ หมาะสมกับโรค เนื่องจากเป็น ระยะที่ยังไม่ปรากฏอาการผดิ ปกตทิ ี่ชดั เจน ทาให้ผู้ป่วยไม่เห็นความสาคัญและไม่ตระหนกั ถึงการปฏิบัติพฤติกรรม สุขภาพท่ีเหมาะสม จนสง่ ผลใหผ้ ปู้ ว่ ยโรคไตเรือ้ รังต้องเข้ารับการบาบัดทดแทนไต นอกจากน้ีการมปี ัญหาดา้ นภาวะ สุขภาพและมีโรคร่วม เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ทาให้ความสามารถในการจัดการตนเองและแสดง พฤตกิ รรมการดูแลสุขภาพของผปู้ ว่ ยโรคไตเร้ือรังน้อยลง จากความสาคัญของพฤติกรรมการจัดการตนเองและปัจจัยท่ีมีอิทธิพลเกี่ยวกั บพฤติกรรมการจัดการ ตนเองต่อการวางแผนการปฏิบัติการพยาบาลและการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วยในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังก่อนการ บาบัดทดแทนไตและปัญหาการดาเนินงานในคลินิกโรคไตเรื้อรังของโรงพยาบาลแม่ทะ ผู้วิจัยมีความสนใจศึกษา พฤติกรรมการจัดการตนเองในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในระยะก่อนการบาบัดทดแทนไตเป็นอย่างไร และต้องการศึกษา ปัจจัยทานายที่ส่งผลต่อการจัดการตนเองในผู้ป่วยโรคไตเร้ือรัง ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคล ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตัว พฤติกรรมสุขภาพ สามารถทานายพฤติกรรมการจัดการตนเอง ซ่ึงผลท่ีได้จากการศึกษาในครั้งนี้ สามารถนามา พัฒนาโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในระยะก่อนบาบัดทดแทนไต อันจะช่วยส่งเสริมการชะลอความเส่ือม ของไต และคงไว้ซ่ึงคุณภาพชีวิตท่ีดีของผู้ป่วยช่วยยืดระยะเวลาการดาเนินโรคเข้าสู่ภาวะโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย ใหน้ านทีส่ ุด วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาความรู้เก่ียวกับโรคและการปฏิบัติตัว พฤติกรรมการดูแลตนเองและพฤติกรรมการจัดการ ตนเองในผู้ปว่ ยโรคไตเรื้อรงั ในระยะก่อนการบาบดั ทดแทนไต 2. เพ่ือศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความรู้เกี่ยวกับโรคและการปฏิบัติตัว พฤติกรรมการ ดแู ลตนเองและพฤติกรรมการจดั การตนเองในผปู้ ่วยโรคไตเรื้อรังในระยะก่อนการบาบดั ทดแทนไต 3. เพือ่ ศกึ ษาปจั จยั ทานายพฤติกรรมการจัดการตนเองในผูป้ ว่ ยโรคไตเร้ือรังในระยะก่อนการบาบัดทดแทนไต สมมติฐานการวจิ ัย 1. ปัจจัยส่วนบุคคล ความรู้เกี่ยวกับโรคและการปฏิบัติตัว พฤติกรรมการดูแลตนเองมีความสัมพันธ์กับ พฤติกรรมการจัดการตนเองในผ้ปู ว่ ยโรคไตเรอ้ื รังในระยะก่อนการบาบัดทดแทนไต วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื ปีท่ี 8 ฉบบั ท่ี 2 เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

186 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มลู TCI กลุม่ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) 2. ปัจจัยส่วนบุคคล ความรู้เก่ียวกับโรคและการปฏิบัติตัว พฤติกรรมการดูแลตนเองสามารถทานาย พฤติกรรมการจัดการตนเองในผ้ปู ว่ ยโรคไตเรอื้ รังในระยะกอ่ นการบาบดั ทดแทนไต ขอบเขตการวจิ ยั การวิจัยครั้งน้ีเป็นการศึกษาปัจจัยทานายพฤติกรรมการจัดการตนเองในผู้ป่วยโรคไตเร้ือรังในระยะก่อน การบาบัดทดแทนไตเกี่ยวกับปัจจัยต่างๆ ความรู้เก่ียวกับโรคและการปฏิบัติตัว พฤติกรรมการดูแลตนเอง และ พฤติกรรมการจดั การตนเองในผปู้ ่วยโรคไตเร้อื รัง กลมุ่ ตัวอย่างในการศึกษาคร้ังน้เี ป็นผปู้ ว่ ยโรคไตเรื้อรังที่ไดร้ ับการ วินิจฉยั ดว้ ยการคานวณค่า GFR ตง้ั แตร่ ะยะ 3b ถึงระยะที่ 5 เก็บขอ้ มูลต้งั แต่เดอื นเมษายน - มถิ ุนายน 2564 วธิ ดี าเนนิ การวจิ ัย การวจิ ัยครงั้ น้ีเปน็ การศกึ ษาปัจจัยทานาย (predictive study) พฤติกรรมการจดั การตนเองในผู้ปว่ ยโรค ไตเรอื้ รงั ในระยะก่อนการบาบัดทดแทนไต ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง ประชากร คือผู้ป่วยที่มารับบริการเป็นผู้ป่วยนอก ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคไตเรื้อรัง ระยะ 3b คือ eGRF ระยะ 4 eGRF และระยะ 5 eGRF ของโรงพยาบาลแม่ทะ ปงี บประมาณ 2562 จานวน 1,161 ราย กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังต้ังแต่ระยะที่ 3b-5 มีชื่ออยู่ในข้อมูลประวัติทะเบียน ผู้ป่วย โรงพยาบาลแม่ทะ ในโปรแกรม Hos xp เลือกแบบเฉพาะเจาะจง (purposive sampling) ในผู้ป่วยโรคไตเร้ือรัง ท้ังหมด ในปีงบประมาณ 2562 โดยคานวณขนาดตัวอย่างจากสูตร Thorndike (Sristitnarangune, 2010) สูตร n = 10k + 50 โดยท่ี n คือ ขนาดตัวอย่าง และ k คือ ปัจจัยส่วนบุคคล ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตัว พฤติกรรม การดูแลตนเอง และพฤตกิ รรมการจัดการตนเอง ทาให้ไดข้ นาดกลุ่มตวั อยา่ งจานวน 100 คน คณะผวู้ จิ ยั เพ่ิมขนาด ของกลุ่มตัวอย่างอีก 20% เพอื่ ปอ้ งกันการสูญหายของกลุ่มตวั อย่างระหว่างการดาเนนิ การวจิ ยั ดงั นน้ั กลุม่ ตัวอย่าง ทีใ่ ช้ในการศึกษาครัง้ นจ้ี านวน 120 คน โดยมเี กณฑก์ ารคัดเข้าและเกณฑ์คัดออก ดังน้ี เกณฑค์ ดั เขา้ (inclusion criteria) ผู้ป่วยอายุมากกว่าหรือเท่ากับ 18 ปี สามารถช่วยเหลือตนเองได้และไม่ต้องพึ่งพาผู้ดูแลใน ชีวติ ประจาวนั สามารถสื่อสาร ฟงั พูด อ่าน และเขยี นภาษาไทยได้ และยนิ ดใี ห้ขอ้ มลู วจิ ยั เกณฑ์คดั ออก (exclusion criteria) ขณะท่ีเข้าร่วมโครงการ ผู้ป่วยมีอาการกาเริบของโรคไตวายท่ีรุนแรงข้ึนท่ีมีผลต่อการเข้าร่วม โครงการ หรือผู้ปว่ ยจาเปน็ ตอ้ งเขา้ รบั การรักษาโดยการบาบดั ทดแทนไต หรอื ขอถอนตัวออกจากโครงการวิจัย เครื่องมือท่ีใช้ในการวจิ ัย วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

187 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคุณภาพของ TCI และอย่ใู นฐานขอ้ มลู TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) เครือ่ งมือท่ีใชใ้ นการรวบรวมข้อมูลในวิจัยนี้ ประกอบด้วย 5 ตอน ได้แก่ สว่ นท่ี 1 แบบบันทึกข้อมูลส่วน บุคคล ส่วนที่ 2 แบบบันทึกข้อมูลด้านสุขภาพ ส่วนท่ี 3 แบบวัดความรู้เร่ืองโรคและการปฏิบัติตัวของผู้ป่วยโรคไต เรื้อรังระยะก่อนบาบัดทดแทนไต ส่วนท่ี 4 แบบสอบถามพฤติกรรมการดูแลตนเองของผูป้ ่วยโรคไตเร้ือรังระยะกอ่ น บาบัดทดแทนไต และส่วนที่ 5 แบบวัดพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้ป่วยโรคไตเรอ้ื รังระยะก่อนบาบัดทดแทน ไต มรี ายละเอยี ดดังน้ี 1. แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล คณะผู้วิจัยสร้างเอง ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพสมรส สิทธิการ รกั ษา และระดบั การศึกษา 2. ข้อมลู ด้านสุขภาพ คณะผูว้ ิจยั สร้างเอง ได้แก่ ผลการตรวจทางห้องปฏบิ ัติการ คา่ serum BUN serum creatinine, อัตราการกรองของไต (GFR), ระดบั โรคไตเร้ือรัง, โรคอน่ื รว่ ม เช่น โรคเบาหวาน โรคความดัน โลหิตสูง โรคหัวใจ, ประวัติน่ิวในไต, BMI, การใช้ยา NSAIDs, การได้รับยา ACEI/ARB, ผลการตรวจค่า CHO, LDL, albumin ในปัสสาวะ, ยาท่ีรับประทานในแต่ละวัน, การออกกาลังกาย, การสูบบุหร่ี การดื่มสุรา และการตรวจทาง หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารอ่ืนๆ ไดแ้ ก่ albumin ในเลอื ดและ uric acid 3. แบบวัดความรู้เก่ยี วกับโรคและการปฏิบัตติ วั ของผูป้ ว่ ยโรคไตเร้ือรงั ระยะก่อนบาบัดทดแทนไต คณะผู้วิจัยได้พัฒนาจากทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยทีเก่ียวข้อง และดัดแปลงในบางข้อคาถามจากคาแนะนา สาหรับการดูแลผ้ปู ่วยโรคไตเรือ้ รังก่อนการบาบดั ทดแทนไต พ.ศ. 2558 ของสมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย (The Nephrology Society of Thailand, 2015) ร่วมกับประสบการณ์การทางานทางคลินิกโรคไตเร้ือรัง ประกอบด้วย 3 ด้าน ได้แก่ ด้านความรู้เกี่ยวกับโรค จานวน 5 ข้อ ด้านความรู้เกี่ยวกับการปฏบิ ัติตวั แบ่งออกเปน็ ด้านร่างกาย จานวน 8 ข้อ ด้านอารมณ์ จานวน 2 ข้อ รวมทัง้ หมดจานวน 15 ขอ้ แบบสอบถามมีลักษณะเปน็ การ เลือกคาตอบ ใช่ กับ ไม่ใช่ ตามความรู้ความเข้าใจของผู้ป่วย โดยมีเกณฑ์ให้คะแนนคือ ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบ ผิดได้ 0 คะแนน แบบสอบถามชุดน้ีมีคะแนนรวมท่ีเป็นไปได้ระหว่าง 0-15 คะแนน การแปลผลแบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ ด้านความรู้เก่ียวกับการปฏิบัติตัวระดับต่า (0 - 5 คะแนน) ด้านความรู้เก่ียวกับการปฏิบัติตัวระดับปานกลาง (6 - 10 คะแนน) ด้านความรเู้ กยี่ วกับการปฏิบตั ติ วั ระดบั สูง (10 - 15 คะแนน) 4. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการดแู ลตนเองของผปู้ ่วยโรคไตเรอื้ รงั ระยะก่อนบาบัดทดแทนไต คณะผู้วจิ ยั ดัดแปลงจากงานวิจัยของภทรพรรณ อุณาภาค และ ขวัญชัย รัตนมณี ศึกษาการสารวจพฤติกรรมการดูแลตนเอง เพ่ือป้องกันภาวะแทรกซ้อนทางไตของผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะท่ี 1-5 ของโรงพยาบาลสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า จงั หวัดสมุทรสงคราม (Unaphak & Rattanamanee, 2558) ข้อคาถามประกอบดว้ ย การรับประทานอาหาร การ รับประทานยา การป้องกันโรค การออกกาลังกาย การตรวจวัดความดันโลหิต และพฤติกรรมเสี่ยง ประกอบด้วย ข้อคาถามจานวน 22 ข้อ การให้คะแนนเป็นมาตราส่วนประมาณค่าตั้งแต่ 1–4 โดย 0 คะแนน หมายถึง ไม่เคย ปฏิบัติเกย่ี วกับข้อความนั้นเลย จนถงึ 4 คะแนน หมายถงึ เคยปฏบิ ตั ิเก่ยี วกบั ข้อความนนั้ เปน็ ประจา คะแนนรวมท่ี เปน็ ไปได้ระหวา่ ง 0-66 คะแนน การแปลผลแบง่ เปน็ 3 ระดับ คือ พฤติกรรมการดแู ลตนเองของผู้ป่วยโรคไตเร้ือรัง วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปที ี่ 8 ฉบับที่ 2 เดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

188 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคุณภาพของ TCI และอย่ใู นฐานขอ้ มูล TCI กลุ่มที่ 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) ระยะก่อนบาบัดทดแทนไตในระดับต่า (0-22 คะแนน) ระดับปานกลาง (23–44 คะแนน) และระดับสูง (45–66 คะแนน) 5. แบบวัดพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ระยะก่อนบาบัดทดแทนไต คณะผู้วิจัยพัฒนาจากกรอบแนวความคิดการจัดการตนเองของ Lorig และ Holman (2003) ซึ่งพัฒนาและ ดัดแปลงมาจากเครื่องมืองานวิจัยของ Ardkhitkarn, Pothiban, & Lasuka (2013) ร่วมกับการทบทวนวรรณกรรมที่ เก่ียวข้อง ประกอบด้วยข้อคาถาม จานวน 22 ข้อ แบ่งเป็น 3 ด้าน คือ ด้านการแพทย์ 17 ข้อ ด้านบทบาทท่ีดารงอยู่ใน ชีวิตประจาวนั 2 ข้อ ด้านอารมณ์ 3 ข้อ แบบสอบถามชุดน้ีมีคะแนนรวมที่เป็นไปได้ระหว่าง 0-88 คะแนน การแปล ผลแบง่ ออก เปน็ 3 ระดบั คือ พฤตกิ รรมการจดั การตนเองระดบั ต่าต่า (0-29 คะแนน) ระดับปานกลาง(30-60คะแนน) ระดบั สงู (61-88 คะแนน) การตรวจสอบคุณภาพเครอ่ื งมือ การตรวจสอบความตรงเชิงเน้ือหา (content validity) คณะผู้วิจัยนาแบบสอบถามฉบับร่างให้ ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ 3 ทา่ นตรวจสอบความเท่ยี งตรงเชิงเนือ้ หาและนาไปคานวณหาคา่ IOC ของแบบวดั ความรู้เก่ียวกับโรค และการปฏิบัติตัวของผู้ป่วยโรคไตเร้ือรัง เท่ากับ 0.93 แบบประเมินพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคไตเร้ือรัง เทา่ กบั 0.88 และแบบวัดพฤตกิ รรมการจดั การตนเองของผ้ปู ่วยโรคไตเรือ้ รัง เทา่ กบั 0.88 การหาความเชื่อม่ัน (reliability) คณะผู้วิจัยนาแบบสอบถามที่หาความตรงตามเนื้อหาและปรับแก้ตาม ข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิ นาไปทดลองใช้กับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังท่ีมีลักษณะคล้ายคลึงกับกลุ่มตัวอย่างจานวน 30 ราย แล้วนามาคานวณหาความเช่ือมั่นของเคร่ืองมือโดยใช้สูตรคูเดอร์ริชาร์ดสัน 21 (Kuder Richartson 21) ของแบบวัดความรู้เก่ียวกับโรคและการปฏิบัตติ ัวของผู้ปว่ ยโรคไตเร้ือรัง ไดค้ า่ ความเชือ่ มั่นเท่ากับ 0.70 โดยใชส้ ตู ร สมั ประสทิ ธิอ์ ลั ฟ่าครอนบาค (Cronbach’s Alpha Coefficient) ได้คา่ ความเชื่อม่ันของแบบประเมินพฤติกรรมการ ดูแลตนเองของเท่ากับ 0.70 และแบบวัดพฤติกรรมการจดั การตนเองของผูป้ ว่ ยโรคไตเรือ้ รัง เทา่ กับ 0.74 การวิเคราะห์ข้อมูล สถิติทีใ่ ช้ในการวเิ คราะห์ ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมลู ดว้ ยโปรแกรมคอมพวิ เตอรส์ าเร็จรปู SPSS ดังนี้ 1. สถิติเชิงพรรณนา (descriptive statistic) โดยใช้สถิติการแจกแจงความถ่ี ร้อยละ ค่าเฉล่ีย และส่วน เบยี่ งเบนมาตรฐาน 2. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความรู้เก่ียวกับโรคและการปฏิบัติตัว พฤติกรรมการ ดูแลตนเองและพฤติกรรมการจัดการตนเองในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในระยะก่อนการบาบัดทดแทนไต โดยใช้สถิติ สหสัมพนั ธ์แบบสเปยี รแ์ มน (spearman’ rank coefficient of correlation) 3. วิเคราะห์ปัจจัยทานายพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้ป่วยไตเรื้อรัง โดยใช้สถิติวิธีการวิเคราะห์ ถดถอยพหุแบบขน้ั ตอน (stepwise multiple regression analysis) วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

189 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอย่ใู นฐานขอ้ มูล TCI กลมุ่ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) การพิทักษส์ ทิ ธ์ิกล่มุ ตัวอย่างและจรยิ ธรรมการวิจยั การวิจัยครั้งนี้ผ่านการพิจารณาและได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการวิจัยในมนุษย์ของ วิทยาลัยพยาบาล บรมราชชนนี นครลาปาง ได้รับเอกสารรับรองเลขท่ี E 2564-01 ผู้วิจัยได้ชี้แจงวัตถุประสงค์ ข้ันตอนการเก็บ รวบรวมขอ้ มูล และสทิ ธิของกลุ่มตัวอย่างในการตอบรบั หรือปฏเิ สธการเข้าร่วมการวิจัย ข้อมูลท่ีได้จากการวิจัย ถือเป็นความลับ ไม่มีการเปิดเผยชื่อที่แท้จริง หากมีข้อสงสัยเก่ียวกับการวิจัยสามารถสอบถามผู้วิจัยได้ตลอดเวลา เมื่อกลุ่มตัวอย่างตอบรับเข้าร่วมการวิจยั ผู้วิจัยให้กลุ่มตัวอย่างลงนามในเอกสารยินยอมเข้าร่วมการวิจยั และกลุ่ม ตัวอย่างสามารถจะออกจากการวจิ ยั เมื่อใดก็ได้ โดยไมม่ ีผลกระทบใดๆ ตอ่ กลมุ่ ตวั อยา่ งจรยิ ธรรมการวจิ ยั ในมนษุ ย์ ผลการวจิ ัย 1.ขอ้ มลู ท่ัวไปของกลมุ่ ตัวอย่าง 1.1 ข้อมูลส่วนบุคคล พบว่า ร้อยละ 58.33 เป็นเพศชาย อายุระหว่าง 24–95 ปี (Mean=70.68 ,S.D.=10.50) ส่วนใหญ่ อายุ 71-80 ปี คิดเป็นร้อยละ 35.8 รองลงมา อายุระหว่าง 61–70 ปี คิดเป็น ร้อยละ 33.30 ส่วนน้อยที่อายุน้อยกว่า 50 ปี คิดเป็นร้อยละ 2.50 มีสถานภาพสมรสคู่ ร้อยละ 75 จบการศึกษาระดับ มัธยมศึกษาตอนต้นมากทส่ี ุด 85 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 70.80 ใชส้ ทิ ธิการรักษาพยาบาลบัตรประกันสุขภาพถว้ นหน้า (บตั รทอง) มากทีส่ ดุ ร้อยละ 83.30 รองลงมาใชส้ ิทธเิ บิกได้ คิดเปน็ รอ้ ยละ 12.50 1.2 ขอ้ มลู ด้านสขุ ภาพ พบวา่ กลมุ่ ตัวอย่างสว่ นใหญ่เปน็ ผู้ปว่ ยโรคไตเรือ้ รังระยะ 3b คดิ เป็นร้อยละ 50 รองลงมา คือ ระยะที่ 4 และ 5 คิดเป็นร้อยละ 37.50 และ 12.50 ตามลาดับ ส่วนใหญ่มีโรคประจาตัว คือ โรค ความดันโลหิตสูง รองลงมา คือ โรคเบาหวาน และไขมันในเลือดสูง คิดเป็นร้อยละ 89.20, 65.80 และ 22.50 ตามลาดับ ส่วนใหญ่มีจานวนโรคร่วม 2 โรค คิดเป็นร้อยละ 48.30 สาหรับภาวะสุขภาพกลุ่มตัวอย่างมีค่าดัชนีมวลกาย (BMI) ระหว่าง 13.62 – 33.91 (Mean= 22.43,S.D.=4.20) ส่วนใหญ่คา่ ดชั นมี วลกายอยู่ในระดบั ปกติ 47 คน คิดเป็น ร้อยละ 39.20 ส่วนใหญ่ออกกาลังกายเป็นประจาคิดเป็นร้อยละ 79.20 นอกจากนี้ส่วนใหญ่เป็นผู้ไม่สูบบุหร่ีและ ดมื่ สุรา คดิ เปน็ ร้อยละ 83.30 และ 80.80 ตามลาดับ 1.3 ข้อมูลผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ พบว่า กลุ่มตัวอย่างทุกคนได้รับการตรวจค่า serum BUN ค่า serum creatinine และค่าอัตราการกรองของไต (GFR) โดยค่า serum BUN อยู่ระหว่าง 14.80– 101.70 mg/dL (Mean=30.86 mg/dL) ค่า serum creatinine ระหว่าง 1.28–99.00 mg/dL (Mean=3.27 mg/dL) ค่าอัตราการกรองของไต (GFR) ระหว่าง 2. 71–51. 27 ml/min/ 1. 73m2 (Mean= 29. 32 ml/min/1.73m2 ) นอกจากนก้ี ล่มุ ตัวอย่างทุกคนได้รับการตรวจระดับไขมันในเลือด ไดแ้ ก่ คา่ cholesterol, LDL ,HDL และการตรวจค่า albumin ในปัสสาวะ พบว่า cholesterol อยู่ระหว่าง 82-703 mg/dL (Mean=174.45 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ่ี 8 ฉบับที่ 2 เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

190 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มลู TCI กลมุ่ ที่ 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) mg/dL) ค่า LDL อยู่ระหว่าง 18-226 mg/dL (Mean=93.48 mg/dL) ค่า HDLอยู่ระหว่าง 27-89 mg/dL (Mean= 46.61 mg/dL) และค่า albumin ในปสั สาวะ รอ้ ยละ 39.20 ไมพ่ บ albumin ในปสั สาวะ รองลงมาพบ ผล trace คิดเป็นร้อยละ 17.50 ท้ังน้ียังกลุ่มตัวอย่าง 17 คน ตรวจหาค่า albumin มีค่าระหว่าง 2.70–4.40 mg/dL และจานวน 27 คน ได้รับการตรวจหาระดับ uric acid ในเลือด คิดเป็นร้อยละ 22.50 พบค่า uric acid ระหว่าง 1.46 – 11.00 mg/dL ดังแสดงในตารางท่ี 1 ตารางท่ี 1 คา่ พิสยั และค่าเฉลี่ย ของผลการตรวจทางห้องปฏบิ ัติการตา่ งๆของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังต้ังแตร่ ะยะท่ี 3b–5 ผลการตรวจทางห้องปฏบิ ตั ิการ (เลอื ด) Range Mean N = 120 serum BUN 14.80 – 101.70 30.86 1.28 – 99.00 3.27 serum creatinine 2.71 – 51.27 29.32 อตั ราการกรองของไต (GFR) 174.45 cholesterol 82 - 703 93.48 LDL 18 - 226 46.61 HDL 27 - 89 3.44 N = 17 albumin 2.70 – 4.40 7.28 N = 27 uric acid 1.46 – 11.00 2. ความรเู้ กยี่ วกับโรคและการปฏบิ ัติตวั พฤตกิ รรมการดแู ลตนเองของผูป้ ่วย และพฤตกิ รรมการ จดั การตนเองของผู้ป่วย ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีคะแนนการวัดความรู้เร่ืองโรคและการปฏิบัติตัว ที่ 9–15 คะแนน เต็ม 15 คะแนน ส่วนใหญ่ ร้อยละ 80.80 ได้ 13 คะแนนขึ้นไป (Mean=13.71,S.D.=1.42) แสดงถึงกลุ่ม ตัวอย่างมีคะแนนเฉล่ียความรู้ในระดับสูง สาหรับพฤติกรรมการดูแลตนเองอยู่ระหว่าง 39–65 คะแนน จาก 66 คะแนน (Mean=49.66, S.D.=4.81) แสดงว่า มีพฤติกรรมการดูแลตนเองในระดับสูง และพฤติกรรมการจัดการ ตนเองอยรู่ ะหว่าง 45–83 คะแนน จาก 88 คะแนน (Mean=64.13,S.D.=10.39) แสดงว่า มีพฤติกรรมการจดั การ ตนเองในระดบั สูง ดังแสดงในตารางท่ี 2 ตารางที่ 2 ค่าช่วงคะแนน ค่าเฉล่ีย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการแปรผลของ ความรู้ เก่ียวกับโรคและการ ปฏิบตั ติ วั พฤตกิ รรมการดแู ลตนเอง และพฤตกิ รรมการจัดการตนเอง ของผปู้ ่วยโรคไตเรื้อรงั ระยะก่อนบาบัด ทดแทนไต (n = 120) ตัวแปร ชว่ งคะแนน Mean(S.D.) การแปลผล ความรู้ คา่ ทีเ่ ป็นไปได้ คา่ ทเ่ี ป็นจรงิ 13.71 (1.42) สงู พฤติกรรมการดูแลตนเอง 49.66 (4.81) สงู 0 – 15 9 - 15 0 - 66 39 - 65 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปีท่ี 8 ฉบับที่ 2 เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

191 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มลู TCI กลุ่มที่ 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) พฤติกรรมการจดั การตนเอง 0 - 88 45 - 83 64.13 (10.39) สูง 3. ความสัมพนั ธร์ ะหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความรู้เกย่ี วกับโรคและการปฏบิ ัติตัว พฤติกรรมการดูแล ตนเองและพฤตกิ รรมการจดั การตนเองในผู้ปว่ ยโรคไตเรอื้ รงั ในระยะก่อนการบาบัดทดแทนไต ความรู้เกยี่ วกบั โรคและการปฏบิ ัตติ วั พฤติกรรมการดูแลตนเอง มีความสัมพนั ธท์ างบวกกับพฤติกรรมการ จัดการตนเองของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะก่อนบาบัดทดแทนไตอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ โดยมีค่าสัมประสิทธ์ิ สหสัมพันธ์ดังนี้ ความรู้เกี่ยวกับโรคและวิธีการปฏิบัติตัว (r =.39, p <.01) พฤติกรรมการดูแลตนเอง(r=.44,p<.01) นอกจากน้ีการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ของข้อมูลส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพสมรส สิทธิการรักษา ระดับการศึกษา รวมถึงข้อมูลด้านสุขภาพ ได้แก่ ระยะของโรค จานวนโรคร่วม ค่าดัชนีมวลกาย โดยใช้สถิติ สหสัมพนั ธแ์ บบสเปยี รแ์ มน (Spearman’ Rank coefficient of correlation) พบว่า ระยะของโรคมีความสัมพันธ์ ทางลบกบั พฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้ป่วยโรคไตเร้ือรังระยะก่อนบาบัดทดแทนไต อย่างมนี ยั สาคัญทางสถิติ (r=-.18, p<.05) ดงั แสดงในตารางท่ี 3 ตารางที่ 3 แสดงความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งตวั แปรท่ีศกึ ษาได้แก่ ปัจจยั ส่วนบคุ คล ความรู้เกยี่ วกับโรคและการปฏบิ ัตติ วั พฤตกิ รรมการดูแลตนเอง และพฤตกิ รรมการจัดการตนเองของผปู้ ว่ ยโรคไตเรื้อรังระยะก่อนบาบัดทดแทนไต (n = 120) ตัวแปร 1 23 4 1. ระยะของโรค 1.00 1.00 2. ความรู้เกยี่ วกับโรคและการปฏบิ ัติตวั 0.33** 1.00 3. พฤตกิ รรมการดูแลตนเอง 0.19* 0.46** 1.00 4. พฤติกรรมการจดั การตนเอง -0.18* 0.39** 0.44** **. Correlation is significant at the 0.01 level (2-tailed). *. Correlation is significant at the 0.05 level (2-tailed). 3. ปัจจัยทานายท่ีมีผลตอ่ พฤตกิ รรมการจัดการตนเองในผู้ปว่ ยโรคไตเรอื้ รงั ในระยะกอ่ นการบาบดั ทดแทนไต ความรู้เก่ียวกับโรคและการปฏิบัติตัว พฤติกรรมการดูแลตนเอง สามารถร่วมกันอธิบายความแปรปรวน ของพฤตกิ รรมการจดั การตนเองในผู้ป่วยโรคไตเร้ือรังในระยะก่อนการบาบัดทดแทนไตได้อย่างมนี ัยสาคัญทางสถิติ คิดเป็นร้อยละ 23.50 ของพฤติกรรมการจัดการตนเอง (R2=0.23,F=17.97,p<.01) โดยพฤติกรรมการดูแลตนเอง มอี ิทธพิ ลต่อความแปรปรวนของพฤติกรรมการจัดการตนเองมากทีส่ ุดอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (β =0.33,p<.01) วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื ปีที่ 8 ฉบับท่ี 2 เดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

192 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคุณภาพของ TCI และอย่ใู นฐานขอ้ มลู TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) รองลงมาคือความรู้เกี่ยวกับโรคและการปฏิบัติตัว (β=0.23,p<.05) ส่วนระยะของโรคไม่มีอิทธิพลต่อความ แปรปรวนของพฤติกรรมการจัดการตนเอง (β=-0.02,p>.05) ดังแสดงในตารางท่ี 4 ตารางที่ 4 ค่าสัมประสิทธิ์การทานายของความรู้เก่ียวกับโรคและการปฏิบัติตัว พฤติกรรมการดูแลตนเองต่อ พฤตกิ รรมการจดั การตนเองในผู้ป่วยโรคไตเร้อื รงั ในระยะกอ่ นการบาบัดทดแทนไต (n = 120) ลาดับ ตัวแปร B SE β t 1 ความรู้เกี่ยวกับโรคและการปฏบิ ตั ิตัว 1.70 0.67 0.23 2.56* 2 พฤตกิ รรมการดูแลตนเอง 0.71 0.20 0.33 3.64** คา่ คงท่ี 5.24 9.87 - 0.53 R2 = .24, SEE = 9.17, F = 17.97, Sig of F = .000, * p < .05, ** p < .01 การอภปิ รายผล 1. ลักษณะท่ัวไปของกลุ่มตัวอย่างจานวน 120 คน มีอายุเฉล่ีย (Mean=70.68,S.D.=10.50) พบว่า ใกล้เคียงกับข้อมูลจากสถิติการเจ็บป่วยโรคไตเร้ือรังของประเทศ พบว่า เมื่ออายุเพิ่มมากขึ้น ไตจะมีการ เปลี่ยนแปลงท้ังด้านโครงสร้างและการทางานโดยรวม ไตจะมีขนาดเล็กลง น้าหนักและปริมาตรจะลดลง ทาให้ไต สูญเสียการทาหน้าที่มากขึ้น (Leesmidt, V., et al., 2020) ในด้านระดับการศึกษาส่วนใหญ่ถึงระดับมัธยมศึกษา ตอนต้นคิดเป็นร้อยละ 70.8 และใช้สิทธิการรักษาพยาบาลบัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้า (บัตรทอง) ถึงร้อยละ 83.30 ในส่วนข้อมูลทั้งสองด้านสามารถอธิบายได้จากกลุ่มตัวอย่างที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลแม่ทะ ส่วนใหญ่เป็น ประชากรในพื้นท่ี บริบทสภาพสังคมยังเป็นการใช้ชีวิตตามวิถีชนบท โอกาสการเข้าถึงแหล่งประโยชน์ท้ังด้าน การศึกษาและการรักษาจึงน้อยกว่าสังคมเมือง ทาให้ระดับการศึกษาส่วนใหญ่อยู่ในระดับมัธยมต้นและใช้สิทธิ ประกันสุขภาพถ้วนหน้าซึ่งเป็นสิทธิการรักษาท่ีอยู่ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพที่รัฐบาลจัดให้เป็นสวัสดิการ พ้นื ฐานดา้ นสุขภาพสาหรับประชาชนชาวไทย 2. ความรู้เกี่ยวกับโรคและการปฏิบัติตัว พฤติกรรมการดูแลตนเองและพฤติกรรมการจัดการตนเองใน ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในระยะก่อนการบาบัดทดแทนไต พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีค่าคะแนนเฉล่ียความรู้เกี่ยวกับโรคและ การปฏิบัติตัว พฤติกรรมการดูแลตนเอง และพฤติกรรมการจัดการตนเองอยู่ในระดับสูง (Mean=13.71,S.D.=1.42, Mean=49.66,S.D.=4.81 และ Mean=64.13,S.D.=10.39 ตามลาดับ) อธิบายได้จากระบบการดาเนินการและ ให้บริการของคลินิกเฉพาะโรคของโรงพยาบาลแม่ทะ ซึ่งจัดให้ผู้ป่วยที่มีโรคประจาตัว ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และโรคไขมันในเลือดสูง ได้เข้ารับบริการตรวจรักษาในคลินิกเฉพาะโรค (NCD clinic) และมี case manager ของโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน มีบทบาทในการให้ความรู้ คาแนะนาในการปฏิบัติตัวท่ี วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีท่ี 8 ฉบบั ท่ี 2 เดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook