Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 17026-5889-PB

17026-5889-PB

Published by sucheerapanyasai, 2021-12-25 05:21:10

Description: 17026-5889-PB

Keywords: วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ

Search

Read the Text Version

193 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มูล TCI กลมุ่ ที่ 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) เหมาะสมกับโรคแบบรายบุคคลอย่างต่อเนื่อง ทั้งในโรงพยาบาลและออกหน่วยแพทย์เคลื่อนท่ีใน รพ.สต. ครอบคลุมทัง้ เขตอาเภอ นอกจากนี้กลุ่มตวั อย่างเป็นผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในระยะ 3b-5 จดั เป็นกลมุ่ ที่ต้องเขา้ รับการ รักษาและรับบริการตรวจท่ีคลินิกเฉพาะโรคไตเร้ือรัง มี case manager CKD ดูแลรวมท้ังให้ความรู้ คาแนะนาใน การดูแลตนเอง การปฏิบัติตัวแบบรายบุคคล ทาให้กลุ่มตัวอย่างมีแนวโน้มท่ีของพฤติกรรมในการดูแลตนเองใน ทิศทางท่ดี ี สอดคลอ้ งกบั การศกึ ษาของ Ardkhitkarn, Pothiban, & Lasuka (2013) ศึกษาเก่ยี วกับพฤติกรรมการ จัดการตนเองและปัจจัยทานายในผู้สูงอายุท่ีเป็นโรคไตเร้ือรังระยะสุดท้ายท่ีได้รับการล้างไตทางช่องท้อง อย่างต่อเนอื่ ง พบว่า ความรู้เก่ียวกับการปฏิบัติตัว มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการจัดการตนเองในทางบวก อย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติ (p<.01) และสามารถรว่ มทานาย รอ้ ยละ 41 ของพฤติกรรมการจดั การตนเอง (p<.01) 3. ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งปัจจัยส่วนบุคคล ความรู้เก่ียวกบั โรคและการปฏบิ ัติตัว พฤติกรรมการดูแลตนเอง และพฤติกรรมการจัดการตนเองในผปู้ ว่ ยโรคไตเร้ือรังในระยะก่อนการบาบัดทดแทนไต ความรู้เกี่ยวกับโรคและการปฏบิ ัติตัวและพฤติกรรมการดูแลตนเอง มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรม การจัดการตนเองของผูป้ ่วยโรคไตเรื้อรังระยะก่อนบาบัดทดแทนไตอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (r=.39, p<.01 และ r=.44, p <.01 ตามลาดับ) แสดงถึงระดับของความรู้มีผลกับพฤติกรรมการจัดการโรค สามารถอธิบายได้จากกลุ่มตัวอยา่ ง ส่วนใหญ่สามารถอ่านออกเขียนได้ มีระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนต้นถึง ร้อยละ 70.80 และส่วนใหญ่อยู่ในวัย สงู อายทุ ่ีมอี ายมุ ากกว่า 60 ปีข้นึ ไป อยูบ่ ้านไม่ได้ทางาน มีเวลาและสนใจในการดูแลตวั เอง คอ่ นขา้ งใหค้ วามเชื่อถือ และปฏบิ ัตติ ามคาแนะนาของบุคลากรทางการแพทย์อยา่ งดี ส่งผลตอ่ พฤติกรรมการดูแลสุขภาพทีเ่ หมาะสม ระยะของโรคมคี วามสัมพนั ธท์ างลบกับพฤติกรรมการจดั การตนเองของผูป้ ว่ ยโรคไตเร้อื รังระยะก่อนบาบัด ทดแทนไตอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (r =-.18, p<.05) แสดงว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ทราบว่า ตนเองมีโรคแทรกซ้อน เป็นโรคไตเร้ือรัง แต่ไม่ทราบระยะการดาเนินโรคไตเร้ือรังว่าอยู่ในระยะใด เข้าใจว่าการดูแลตนเองในโรคไตเร้ือรัง เหมือนกันทุกระยะ ทั้งนี้ส่วนหนึง่ อาจมาจากการที่ผู้ปว่ ยไม่ทราบผลเลือดที่ผดิ ปกตขิ องตนเองส่วนใหญแ่ ล้วจะแจง้ ผล creatinine ให้ผู้ป่วยทราบเท่าน้ัน ทั้งจุดซักประวัติและห้องตรวจ หรือบางรายอาจจะทราบแต่ยังไม่เข้าใจ เนอ่ื งจากเปน็ วยั สงู อายุ ทาใหก้ ารรบั รู้ขอ้ มูลทลี่ กึ ไปอาจทาให้เข้าใจบางสว่ นหรอื ไม่เขา้ ใจ 4. ปัจจัยทานายที่มีผลต่อพฤติกรรมการจัดการตนเองในผู้ป่วยโรคไตเร้ือรัง ในระยะก่อนการบาบัด ทดแทนไต พบวา่ ความรู้เก่ยี วกบั โรคและการปฏบิ ัติตวั และพฤติกรรมการดูแลตนเอง สามารถร่วมกนั อธิบายความ แปรปรวนของพฤติกรรมการจัดการตนเองในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ คิดเป็นร้อยละ 23.50 ของพฤติกรรมการจัดการตนเอง (R2=0.23,F=17.97,p<.01) โดยพฤติกรรมการดูแลตนเองมีอิทธิพลต่อความ แปรปรวนของพฤติกรรมการจัดการตนเองมากที่สุดอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (β=0.33,p<.01) รองลงมา คือ ความรู้ (β=0.23,p<.05) แสดงว่า กลุ่มตัวอย่างผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังมีโรคร่วม ส่วนใหญ่เป็นโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานซึ่งเป็นโรคเร้ือรังที่ได้รับการดูแลสุขภาพระยะยาว การได้รับความรู้ คาแนะนาในการปฏิบัติตัวที่ เหมาะสมตอ่ โรคอย่างต่อเนอ่ื ง จากบคุ ลากรทางการแพทย์ จงึ สง่ ผลใหผ้ ู้ปว่ ยมีพฤติกรรมการดแู ลตัวเองที่ดี วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีที่ 8 ฉบบั ที่ 2 เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

194 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคุณภาพของ TCI และอย่ใู นฐานข้อมลู TCI กลมุ่ ท่ี 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) ส่วนระยะของโรคไม่มีอิทธิพลต่อความแปรปรวนของพฤติกรรมการจัดการตนเอง (β=-0.02,p>.05) แสดงว่า ถึงแม้ว่าระยะของโรคจะมีความสัมพันธ์ทางลบกับพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ระยะก่อนบาบัดทดแทนไต แต่เม่ือนาเอาไปเป็นสมการถดถอยแล้วยังไม่สามารถทานายพฤติกรรมการจัดการ ตนเองได้ ท้งั น้สี ามารถอธิบายไดจ้ ากกลุ่มตัวอย่างในการศึกษาพบว่ามคี ่าอัตราการกรองของไต (eGFR) ค่าระหวา่ ง 2.71–51.27 แสดงถึงมกี ารทางานของไตที่อยูใ่ นระยะทใี่ กลเ้ คยี งกนั ร้อยละ 50 ของกลมุ่ ตวั อย่างการดาเนนิ โรคอยู่ ในระยะท่ี 3b รวมถึงเป็นระยะแรกเริ่มที่เข้าสู่กระบวนการดูแลรักษาอย่างต่อเน่ือง ดังน้ันระยะเวลาที่ได้รับการ วินิจฉัยและการเข้ารับการรักษาจึงส่งผลต่อการส่งเสริมพฤติกรรมการดูแลตนเอง ผู้ป่วยท่ีมีระยะเวลาการวินิจฉัย และการรักษาที่มากจึงได้รับการดูแลรักษาจากทีมแพทย์และพยาบาลในด้านการรักษา การให้ความรู้และ คาแนะนาในการปฏิบัติตัวที่เหมาะสมกับโรคแบบรายบุคคลอย่างต่อเนื่องมากกว่ากลุ่มผู้ป่วยที่อยู่ในระยะแรกเร่ิม ดังนั้นกลุ่มตัวอย่างซึ่งมีระยะของการดาเนินโรคที่ใกล้เคียงกันมีผลให้ปัจจัยดังกล่าวไม่สามารถเพ่ิมในสมการของ ปัจจยั ทานายพฤติกรรมการจดั การตนเองเกี่ยวกับโรคได้ สอดคล้องกบั งานศึกษาของอภิญญา บ้านกลาง และคณะ (2559) ศึกษาปัจจัยท่ีมีผลต่อพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยโรคเบาหวาน พบว่า ระยะเวลาการดาเนินของโรคมี ความสัมพันธ์ต่อการปฏิบัติพฤติกรรมของผู้ป่วยอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ี 0.028 แต่เม่ือนาปัจจัยดังกล่าวเข้าสู่ การพยากรณ์พฤติกรรมสุขภาพด้วยการวิเคราะห์ถดถอยพหุลอจิสติกพบว่าระยะเวลาการดาเนินของโรคไม่ สามารถร่วมพยากรณ์พฤติกรรมสุขภาพไดเ้ นื่องมาจากความใกลเ้ คียงของกลุ่มตัวอยา่ งท่นี ามาศกึ ษาวิจัย ขอ้ เสนอแนะในการนาผลวิจยั ไปใช้ 1. ได้ข้อมูลเก่ียวปัจจัยต่างๆท่ีมีผลต่อความสัมพันธ์กับการดูแลตนเองในผู้ป่วยโรคไตเร้ือรังเพ่ือเป็น แนวทางในการจัดการขอ้ มูล และวางแผนการดแู ลผปู้ ว่ ยโรคไตเรื้อรัง ชะลอการเขา้ ส่รู ะยะบาบดั ทดแทนไตใหช้ ้าลง 2. ได้ข้อมูลการจัดการตนเองในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาเป็นโปรแกรมในการ สง่ เสรมิ การจดั การตนเองเพื่อชว่ ยชะลอการเสอ่ื มของไตไมใ่ ห้เข้าสู่ระยะสุดท้าย ขอ้ เสนอแนะสาหรบั การศึกษาครงั้ ตอ่ ไป ผลการศึกษาคร้ังน้ีอาจมีข้อจากัดในการอ้างอิงไปยังประชากรเน่ืองจากเป็นการเก็บข้อมูลจานวนตวั อย่าง คอ่ นขา้ งน้อย รวมท้ังเปน็ การศึกษาแบบตัดขวาง จึงควรมกี ารศึกษาในระยะยาว (longitudinal study) เพอ่ื ศึกษา แบบแผนหรือติดตามการเปล่ียนแปลงเกี่ยวกับพฤติกรรมการจัดการตนเองโดยเปรียบเทียบกับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง แต่ละระยะ เป็นประโยชน์สาหรับพยาบาลและบุคลากรทางการแพทย์ในการวางแผนหรอื พัฒนาแนวทางการดูแล ผปู้ ว่ ยโรคไตเรื้อรงั ตอ่ ไป วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีท่ี 8 ฉบบั ที่ 2 เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

195 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมูล TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) เอกสารอ้างอิง Apinya B. , Udomlak D. , & Pritsana R. ( 2016) . Factors affecting to health behavior among type 2 diabetes patients, in area of Sila health promoting hospital, Muang District, Khon Kaen Province. Journal of the office ODPC 7 khon kaen. 23(1), 85-95. (in Thai) Ardkhitkarn S., Pothiban L., & Lasuka D. (2013). Self–Management Behaviors and Predicting Factors in Elders with End Stage Renal Disease Undergoing Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis. Nursing journal, Volume 40 Supplement December. (in Thai) Chaiyasung, P., & Meetong, P. (2018). Factors Predicting Chronic Kidney Disease of Patients with Chronic Disease in the Community. The journal of prapokklao hospital clinical medical education center, 35(2) Apr-Jun. (in Thai) EDC (2019). Chronic Kidney Disease (CKD) Surveillance System. (on line), Available: https://nccd.cdc.gov/CKD/default.aspx. Gage, N. L., & Berliner, D. C. (1992). Educational psychology (5th ed.). Houghton: Mifflin and Company. HDC Lampang (2019). (on line), Available: https://lpg.hdc.moph.go.th/hdc/main/index_pk.php Jantarametekune, S. (2011). Risk Factors Kidney complications in type 2 diabetes mellitus. (on line) Available: http://www.mukhos.go.th/site/data/research_1333503317_sutep.pdf. Leesmidt, V. , et al. (2020). Development of a Model for Prevention and Resolution of Chronic Kidney Disease. Bangkok: Bhumirajanakarindra Kidney Institute Hospital. Lorig, K. R., & Holman, H. R. (2003). Self-management education: History, definition, outcome, and mechanisms. The society of behavioral medicine, 26(1), 1-7. Maneesri, S. (2010). Factors Influencing Self-Management Behavior of Patients with Chronic Kidney Disease. Master of Nursing, Mahidol University. (in Thai) Nephrol Dial Transplant (2010). Prevalence and risk factors of chronic kidney disease in the Thai Adult population: Thai SEEK study. (on line), Available: https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/20037182. Out Patient custom search result: MaeTha Hospital. (2019). Patient information at the chronic kidney clinic, maetha วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีท่ี 8 ฉบับที่ 2 เดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

196 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมูล TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) Rani, A. U. (2011). Nurse role in prevention of chronic kidney disease (CKD). International journal of nursing education, 3(2), 125-127 (in Thai) Seephom, S. (2013). Self-management in chronic kidney disease. Thai red nursing journal, 6(1): January - June. (in Thai) Sristitnarangune, B. (2010). The Maethadology of Nursing Research. Bangkok: U&I Intermedia. Thanakitjaru, P. (2015) Current situation of chronic kidney disease in Thailand. Journal of the department of medical services. 5, 5-17. (in Thai) The Nephrology Society of Thailand. (2015). Clinical Practice Recommendation for the Evaluation and Management of Chronic Kidney Disease in Adults 2015. (on line), Available: http://doh.hpc.go.th/data/HL/CKD_2015.pdf Unaphak, P., & Rattanamanee, K. (2015). The Correlation Factors of Self-Care Behaviors to Prevent Complications among Patients with Chronic Kidney Disease at Somdetphraphutthalertla Hospital in Samutsongkhram Province. The public health journal of burapha university. 10(2), July-December. (in Thai) วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีท่ี 8 ฉบบั ที่ 2 เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

197 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคุณภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มูล TCI กลุ่มที่ 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) Factors Influencing Health Status of Late Adolescents in Muang District, Lampang Province Usanee wannalai* (Received: June 5, 2021, Revised: August 1, 2021, Accepted: October 29, 2021) Abstract The purpose of this study was to examine the factors influencing the health status of late adolescents in Muang District, Lampang Province. 400 participants were people aged 16 to 19 who lived in Muang district for at least 6 months. The content validity of the questionnaire using the IOC Index was 0.5-1.00, and the reliability by KR-20 and the Cronbach Alpha coefficient was 0.69 and 0.91, respectively. The results revealed that gender, self-management awareness, understanding towards health, vehicles used in commuting, access to information and health services, family support, and social health policy (from school/community) predicted the outcome of the percentage of health status with a statistical significance of 0.05 (p-value<0.000), could account for 65.7 percent of the variation in the health status index (R2 = 43.20). Recommendations from the study: Network partners from educational institutions, public health sectors, and community sectors should promote and support health service policy development. Organization of capacity-building programs should also enhance health condition among the Thai adolescents to meet their needs, work up guidelines for the care, and develop adolescents to have good health and reduce potential risks. Keywords: Health status; Adolescents * Nurse Instructor, Boromarajjonani College of Nursing, lampang Faculty of Nursing, Praboromarajchanok Institute, Ministry of Public Health วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปีท่ี 8 ฉบบั ท่ี 2 เดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

198 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอย่ใู นฐานขอ้ มูล TCI กลุม่ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) ปจั จยั ท่ีมอี ิทธิพลต่อภาวะสขุ ภาพของกลุม่ วยั รนุ่ ตอนปลายในเขตอาเภอเมอื ง จังหวดั ลาปาง อษุ ณยี ์ วรรณาลยั * (วันรับบทความ: 25 กมุ ภาพนั ธ์ 2564, วนั แกไ้ ขบทความ: 22 มนี าคม 2564, วนั ตอบรบั บทความ: 25 พฤษภาคม 2564) บทคัดยอ่ การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพอ่ื ศึกษาปัจจัยท่ีมีอิทธิพลตอ่ ภาวะสขุ ภาพของกลุม่ วัยรนุ่ ตอนปลาย ใน เขตอาเภอเมือง จงั หวดั ลาปาง ประชากรท่ใี ชใ้ นการศกึ ษาครง้ั น้ี ไดแ้ ก่ ผู้ที่มอี ายุ 16-19 ปี อาศยั อยู่ในเขตอาเภอ เมือง ไม่ต่ากวา่ 6 เดอื น ตวั อยา่ งที่ใชใ้ นการศึกษาจานวน 400 คน โดยใชแ้ บบสอบถามในการเก็บรวมรวมข้อมูล โดยคา่ ความตรงของเนือ้ หาด้วยดัชนคี วามสอดคลอ้ ง IOC ได้เท่ากับ 0.5-1.00 หาคา่ ความเช่ือมั่น (reliability) ดว้ ย KR20 ผลลพั ธ์ที่ไดเ้ ท่ากบั 0.69 และคา่ สัมประสทิ ธ์ิครอนบาคอลั ฟา่ ได้เทา่ กับ 0.91 ผลการศึกษา พบว่า เพศ การรับรูก้ ารจัดการตนเอง ความรู้ความเข้าใจสุ ขภาพ พาหนะท่ีใชใ้ นการ เดินทาง การเข้าถึงข้อมูลและการบริการสุขภาพ แรงสนับสนนุ จากครอบครวั และนโยบายสุขภาพทางสังคม (จากโรงเรยี น/ชุมชน) ร่วมกันทานายค่าผลลัพธข์ องร้อยละของภาวะสขุ ภาพ อย่างมีนัยสาคญั ทางสถติ ิ 0.05 (P- value <.000) สามารถอธบิ ายการผนั แปรดชั นภี าวะสุขภาพได้ ร้อยละ 65.70 (R2=43.20) ข้อเสนอแนะจากการศกึ ษา: ภาคเี ครือข่ายจากสถานศกึ ษา ภาคสาธารณสขุ ภาคชุมชนควรส่งเสริมและ สนับสนุนเชิงนโยบายการให้การบรกิ ารทางด้านสุขภาพ การช่วยเหลอื การพฒั นากิจกรรม การจัดโปรแกรมการ สร้างเสรมิ สมรรถนะการเสริมสรา้ งสขุ ภาวะในวัยรุ่นไทย ทส่ี นองความตอ้ งการของกลุ่มวยั รุน่ เพอ่ื ให้มีการพฒั นา แนวทางในการดูแลและพฒั นาวัยรุ่นใหม้ สี ุขภาวะทด่ี เี พ่ือลดความเสี่ยงท่ีอาจเกิดข้นึ คาสาคญั : ภาวะสขุ ภาพ; วยั รุ่น * อาจารยพ์ ยาบาล วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีท่ี 8 ฉบับท่ี 2 เดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

199 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มลู TCI กลุ่มที่ 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) บทนา สังคมไทยปัจจุบนั เป็นสังคมที่ต้องด้ินรนตอ่ สู้และมกี ารแขง่ ขนั สูง ทาใหผ้ ้คู นสว่ นใหญด่ าเนินวิถชี ีวิตอย่าง เร่งรีบ จนลมื เอาใจใส่ตอ่ สุขภาพของตนเอง จงึ เป็นปจั จัยทท่ี าให้มนุษย์สมัยใหม่ตอ้ งเผชิญหนา้ กับความเส่อื มถอย ของสุขภาพทางกาย สขุ ภาพทางใจอยา่ งหลีกเล่ยี งไม่ได้ กองโรคไมติดต่อ กรมควบคุมโรค (Division of Non Communicable Disease,Department of Disease Control,2019) รายงานทบทวนสถานการณ์และผล ดาเนินงานปอ้ งกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรั้ง ในประเทศไทย พบว่า อตั ราป่วย โรคเบาหวาน และโรคความดัน โลหติ สูง (อายุ15 ปขี ึ้นไป) ในปี พ.ศ.2559-2562 มแี นวโน้มเพิม่ ขน้ึ ของโรคความดันโลหติ สงู เพม่ิ ร้อยละ 13.90 ในปี พ.ศ.2559 เปน็ รอ้ ยละ 16.40 ในปี พ.ศ. 2562 คิดเป็นอัตราเพมิ่ ร้อยละ 18.00 และโรคเบาหวานเพิม่ จาก รอ้ ยละ 6.60 เป็นร้อยละ 7.80 คิดเป็นอตั ราเพ่ิมร้อยละ 18.20 และเป็นการเพ่ิมขึ้นในทุกกลุ่มอายุ อีกทั้ง การศึกษาของอรรถเกยี รติ กาญจนพิบลู วงศ์ ภาณุวฒั น์ คาวงั สง่าและสุธิดา แก้วทา (Kanjanapibulwong A , Khamwangsanga P and Kaewta S.,2019) รายงานสถานการณ์โรค NCDs เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และปัจจัยเส่ียงท่ีเกย่ี วข้อง ระหว่างปี พ.ศ. 2560–2562 การบริโภคน้าตาลทรายมปี ริมาณใกล้เคียงกันทปี่ ริมาณ 2.5–2.6 ล้านตันต่อปี โดยผู้ชายด่ืมมากกว่าผู้หญิง และพบในกลุ่มเด็กอายุ 6-14 ปี ด่ืมเครอื่ งดมื่ ทีผ่ สมน้าตาล เฉลย่ี ตอ่ สปั ดาหม์ ากท่สี ดุ มคี วามชุกของผู้สูบบุหร่ี ในปี พ.ศ. 2560 เทา่ กับรอ้ ยละ 19.10 กล่มุ วัยรนุ่ และเยาวชน เปน็ กลุม่ ท่ีมแี นวโน้มการสูบบหุ รเ่ี พ่ิมขึน้ อายปุ ระมาณ 17–18 ปี จงึ เหน็ ไดว้ า่ กกลมุ่ วัยรนุ่ เป็นวัยทีจ่ ะเป็นผใู้ หญ่ ในอนาคต มีแนวโนม้ ความเส่อื มถอยของภาวะสุขภาพเพิม่ ขนึ้ นาไปสู่ภาวะประชากรท่ีไม่มีคณุ ภาพในอนาคต รายงานของสานักงานสาธารณสุข จังหวัดลาปาง (Lampang Provincial Public Health Office. , 2019) พบว่า ประชากรวัยรนุ่ ไทย มี 8,037,282 คน คิดเป็นร้อยละ 12.10 จากประชากรทั้งหมด วยั รนุ่ ตอน ปลาย อายุ 16-19 ปี มีจานวน 3,261,707 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 40.58 ประชากรทั้งวยั ร่นุ ไทย สอดคล้องกบั สถิติ ประชากรวยั รุ่นในลาปาง มี 69,502 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 8.53 ของประชากรจงั หวดั ลาปาง วัยรุ่นตอนปลาย อายุ 16-19 ปี มีจานวน 27,278 คน คิดเป็นร้อยละ 42.26 ของวัยรนุ่ จังหวดั ลาปาง ดงั นัน้ กล่มุ วัยรนุ่ หากมีการจัดการ ภาวะสขุ ภาพตนเองทเ่ี หมาะสม ก็จะเป็นผใู้ หญ่สุขภาพดใี นอนาคต แตถ่ ้ามกี ารจัดการภาวะสุขภาพตนเองไม่ดีก็ จะกอ่ ให้เกิดโรคและปัญหาตา่ งๆ เช่น โรคอว้ น โรคเบาหวาน โรคตดิ ต่อทางเพศสัมพันธ์ การติดสารเสพติด เป็น ต้น จากการสารวจขอ้ มลู สถิติสภาวการณท์ างวฒั นธรรมวยั รุ่นไทย โดยสานกั งานกองทนุ สนับสนุนการสรา้ งเสริม สุขภาพ (Thai Health Promotion Foundation.,2019) พบวา่ ในช่วงท่ีผา่ นมาพบปญั หาสาคัญ 6 ด้านหลัก ได้แก่ 1.ปัญหาเยาวชนเสพยาเสพติด 2.ปญั หาวัยรุ่นตั้งครรภ์ก่อนวัยอนั ควร 3.เดก็ ถูกละเมิดและกลั่นแกล้ง กระทาความรุนแรงโดยส่อื 4.การอบรมเล้ียงดูของพ่อแมย่ ุคใหมท่ ี่รกั ลูกแบบไมถ่ ูกทาง 5. การเสพสื่ออนาจาร ผา่ นสือ่ ออนไลน์ และ 6.การบรโิ ภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การศึกษาของเบญญา เอมาวัฒน์ (Amawat B.,2020) วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปที ่ี 8 ฉบบั ท่ี 2 เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

200 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานข้อมลู TCI กล่มุ ที่ 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) ได้รายงาน ว่าในปี พ.ศ.2560 จังหวัดลาปาง เปน็ 1 ใน 3 จงั หวัดทมี่ ีอตั ราการคลอดของหญงิ อายุ 15-19 ปหี รือ ช่วงวัยรุ่น ต่า กว่า 25 ต่อวัยรุ่น หญิง 15-19 ปี 1,000 คน น อกจ า กนี้กองระบาดวิทยา (Division of Epidemiology.,2019) รายงานการเฝ้าระวงั โรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พันธใ์ นรอบ 10 ปี ต้ังแต่ พ.ศ.2552-2562 มี เยาวชนอายุ 15–24 ปี ติดโรคตดิ ต่อทางเพศสมั พันธ์เพิ่มสงู ขึ้น 2 เท่า จาก 41.6 เพมิ่ เป็น 169.12 ต่อประชากร แสนคน ในระหว่างปี พ.ศ. 2550 และพ.ศ. 2561 ปัญหาอตั ราการดื่มเคร่อื งด่มื แอลกอฮอล์ของเยาวชนกลุ่มอายุ 15 – 19 ปี ในช่วงเวลา 13 ปีทีผ่ ่านมาเพิ่มขน้ึ ร้อยละ 64.5 หรือเพ่ิมขึ้นเฉล่ยี ร้อยละ 4.96 ต่อปี (Alcohol Consumption Control department of Disease,2016) ซ่ึงอธิบ ตัน อารีย์และพลเทพ วิจิตร คุณา กร (Tanaree A and Vichitkunakorn P., 2019) ได้ศึกษาสถานการณ์การบริโภคเครอ่ื งดื่มแอลกอฮอล์และดัชนี ความเสี่ยงต่อปัญหาแอลกอฮอลข์ องจงั หวดั ในประเทศไทย: ข้อมลู การสารวจ พ.ศ. 2560 พบว่า ภาคเหนือและ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือมีความชุกของนกั ดืม่ ทง้ั ในกลุ่มผ้ใู หญ่ (ร้อยละ 35.40 และ 32.80 ตามลาดับ) และกลุ่ม วยั รุ่น (ร้อยละ 19.00 และ 16.80 ตามลาดับ)จังหวัดท่ีมดี ัชนีความเสยี่ งตอ่ ปัญหาจากการด่ืมแอลกอฮอลส์ ูงทส่ี ุด ไดแ้ ก่ ลาปาง (0.72 คะแนน) ผลการสารวจสถติ ิแนวโน้มปัญหาการใชส้ ารเสพติดในกล่มุ ช่วงอายุ 15-19 ปี ชว่ งปี พ.ศ.2558 ถึง พ.ศ 2562 พบวา่ มอี ตั ราการใช้สารเสพตดิ เพิม่ ข้ึนทกุ ปี ร้อยละ 15.78 16.57 13.69 12.45 และ 19.37 ตามลาดับ (Princess Mother National Institute on Drug Abuse Treatment,2019) และจากขอ้ มูล สถาบนั วิจัยระบบสาธารณสุข (Health Systems Research Institute.,2016) การสารวจสุขภาพประชาชนไทย ครงั้ ท่ี 5 อายทุ เี่ ร่มิ สูบบุหร่ีในกลุ่มอายุ 15-29 ปี เรม่ิ เม่ืออายเุ ฉล่ียนอ้ ยท่ีสุด กล่มุ อายทุ ก่ี นิ ครบ 3 มอื้ น้อยทส่ี ุด คือ 15-29 ปี คือ ร้อยละ 69.9 กลุ่มอายุ 15-29 ปี มอี ัตราการใช้เข็มขัดนิรภัย การสวมหมวกนิรภัยทกุ คร้ังที่ขับ รถยนตห์ รือขับขี่รถจกั รยานยนต์ในสดั สว่ นท่นี ้อยกว่ากลุ่มอายุ 30-44 ปี และ 45-59 ปี ผ้ชู ายกลุ่มอายุ 15-29 ปี การขบั ขี่ยานยนตภ์ ายหลงั การด่มื เครือ่ งดื่มแอลกอฮอลม์ ีสัดส่วนสูงท่สี ุด รอ้ ยละ 38.50 มกี ารศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพของวัยรุ่นดังผลการศึกษาของ สุริยา ฟองเกิด และคณะ (Fongkerd S et al. ,2017) ท่ศี ึกษาปจั จยั ท่ีมอี ิทธพิ ลตอ่ พฤตกิ รรมการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพของวัยรุ่นไทย พบว่า ปัจจัยด้านการได้รับข้อมูลข่าวสารจากแหล่งต่างๆ การรับรู้ความสาคัญของสุขภาพ การรบั รู้อปุ สรรคของ พฤตกิ รรมสุขภาพ และการศึกษา ร่วมกันทานายได้ 10. 030% (R=0.103) อยา่ งมนี ยั สาคัญทางสถิติทรี่ ะดบั .05 สว่ นผลการศึกษาของ สรวงทิพย์ ภู่กฤษณา กัญญาวีณ์ โมกขาวและสุริยา ฟองเกดิ (Pookitsana S, Mokkhawa K and Fongkerd S. ,2016) ได้ศึกษาปัจจยั ที่มีอทิ ธพิ ลตอ่ พฤติกรรมการสร้างเสรมิ สขุ ภาพของวยั รนุ่ ในเขตพ้นื ที่ รบั ผดิ ชอบของโรงพยาบาลชลบุรี พบวา่ ปัจจัยดา้ นการรบั รปู้ ระโยชน์ของการปฏิบตั พิ ฤติกรรม การได้รับข้อมูล ข่าวสารจากแหล่งต่าง ๆ และการได้รับคาแนะนาจากบุคคลอ่ืน ร่วมกันทานาย ร้อยละ 37 (R2=.37)อย่างมี นยั สาคัญทางสถิติท่รี ะดับ .05 เช่นกัน จะเห็นไดว้ า่ ปัจจัยที่ส่งผลต่อสขุ ภาพของวยั รุ่นมหี ลายปจั จัยทั้งจากปัจจัย วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีท่ี 8 ฉบับท่ี 2 เดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

201 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมลู TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) ภายในบุคคลเช่น การรับรู้ความสาคัญ การรับรู้อุปสรรค หรือการรับรู้ประโยชน์เกี่ยวกับสุขภาพ และปัจจยั จาก ภายนอก เช่น การไดร้ บั ขอ้ มลู ข่าวสารจากแหลง่ ตา่ ง ๆ การไดร้ ับแรงสนบั สนนุ เป็นตน้ จากข้อมลู ขา้ งต้น หากวัยรุ่นมกี ารจัดการ การดแู ลภาวะสขุ ภาพตนเองไดอ้ ย่างเหมาะสมก็จะส่งผลให้มี ภาวะสขุ ภาพท่ีดีตามไปด้วย การสร้างเสริมสขุ ภาพเปน็ บทบาทสาคญั ของพยาบาล โดยอาศัยองคค์ วามรู้ในการให้ บคุ คล ไดป้ รับเปลี่ยนพฤตกิ รรมสู่การสรา้ งเสริมสุขภาพตนเอง แนวคิด PRECEDE MODEL (Green & Kreuter, 2005) ทเ่ี ป็นแนวคิดหนึ่งท่ีไดร้ ับความสนใจและถูกนามาประยุกต์ใช้อย่างแพร่หลายในการสรา้ งเสริมสุขภาพ แบบสหปัจจัยของบุคคลในทุกๆ ช่วงวัย พฤติกรรมของบุคคลมสี าเหตุมาจากทั้งปัจจัย ภายในและภายนอก บุคคล ดังนนั้ ส่งิ ท่จี ะมผี ลต่อการเปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรมยอ่ มสง่ ผลให้เกดิ ภาวะสขุ ภาพทด่ี หี รอื ไม่ดีได้ จึงต้องมีการ ดาเนินการ หลายดา้ นประกอบกัน ที่เนน้ ปัจจยั ดา้ นชีวภาพ ปัจจยั นา ปัจจัยเอ้ือ ปจั จัยเสริม อันส่งผลต่อภาวะ สุขภาพตนเองท่ีเหมาะสมของกลุ่มวัยรุน่ ดงั นน้ั ผู้วิจัยจงึ สนใจที่จะศกึ ษาปัจจัยที่มอี ิทธิพลต่อภาวะสุขภาพของ กลุ่มวยั รุ่นตอนปลาย ในเขตอาเภอเมอื ง จังหวัดลาปาง ซง่ึ เป็นสงั คมเมืองท่ีมภี าวะเส่ียงตอ่ สุขภาพ ผลท่ไี ด้จาก การศึกษาวิจยั จะนาไปสกู่ ารปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หาพฤติกรรมสขุ ภาพของวัยรุ่นในระยะยาว เพื่อให้เติบโตไปเป็น ผใู้ หญท่ ีม่ ีคุณภาพชีวติ และมสี ุขภาพที่ดตี ่อไปในอนาคต วตั ถุประสงค์ เพอ่ื ศกึ ษาปัจจัยที่มอี ิทธพิ ลต่อภาวะสุขภาพของกลุ่มวัยรนุ่ ตอนปลาย ในเขตอาเภอเมือง จงั หวดั ลาปาง ขอบเขตการวิจยั การศึกษาคร้ังนี้มีขอบเขตการวจิ ัย ประกอบด้วย 4 ด้าน คือ 1) ด้านเนอื้ หา มีรูปแบบการวิจัยเชิง พรรณนา 2) ดา้ นประชากร คอื วัยร่นุ ตอนปลายทม่ี ีอายุระว่าง 16–19 ปี ในจงั หวัดลาปาง และกลมุ่ ตวั อยา่ ง คือ วัยรุน่ ตอนปลายทีม่ อี ายรุ ะว่าง 16 – 19 ปี ในเขตอาเภอเมอื งไมต่ า่ กวา่ 6 เดือน จานวน 400 คน 3) ด้านพ้ืนท่ีใน เขตอาเภอเมือง จงั หวัดลาปาง 4)ดา้ นระยะเวลา เรมิ่ ดาเนนิ งานตง้ั แต่เดือน เมษายน พ.ศ.2563 - กันยายน พ.ศ.2564 วิธีดาเนนิ การวจิ ยั การศึกษาครัง้ นี้เปน็ การศกึ ษาเชงิ ปรมิ าณ (predictive research) เพื่อศกึ ษาปัจจยั ท่มี อี ิทธิพลต่อภาวะ สุขภาพของกลุ่มวัยร่นุ ตอนปลาย ในเขตอาเภอเมอื ง จังหวดั ลาปาง วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีท่ี 8 ฉบบั ที่ 2 เดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

202 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอย่ใู นฐานขอ้ มลู TCI กลมุ่ ที่ 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง ประชากร : ประชากรทใี่ ชใ้ นการศกึ ษาวิจยั คร้ังนี้คือ ประชากรกลุ่มวยั รุน่ ตอนปลายอายุ 16-19 ปี ใน เขตอาเภอเมืองจานวน 8,420 คน กลุ่มตวั อยา่ ง : กลุม่ ตวั อย่างทใ่ี ช้ในการศึกษาครง้ั นี้ คือ วยั รุ่นตอนปลายอายุ 16 -19 ปี อาศัยในเขต อาเภอเมืองไมต่ า่ กว่า 6 เดอื น คานวณกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้ Taro Yamane ที่ระดับความเช่ือมั่นร้อยละ 95 ได้ ขนาดกลุ่มตวั อย่างจานวน 400 คน หลังจากนั้นคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธี simple random sampling ตามข้นั ตอนดังน้ี 1. ใช้วิธกี ารสุ่มตัวอยา่ งแบบกลุม่ เพ่ือสุ่มหาตาบลกลุ่มตัวอย่างโรงเรียน ในเขตอาเภอเมืองจงั หวัด ลาปาง ไดแ้ ก่ โรงเรียนบญุ วาทยว์ ทิ ยาลยั โรงเรยี นลาปางกัลยาณี โรงเรียนเทศบาลและวทิ ยาลยั อาชวี ศึกษา 2. ใชว้ ธิ ีการสุ่มโดยการจับสลาก โดยการสมุ่ จากรายช่ือหรือเลขทีข่ องนักเรยี น จากหอ้ งเรยี นทีส่ ุ่มแต่ ละชัน้ เรยี นในโรงเรียนทกี่ ารคานวณตาม สัดสว่ นจากกล่มุ ประชากรจานวน 5,921 คน ดังตารางแสดงท่ี 1 ตารางท่ี 1 แสดงวธิ ีการสุม่ ตัวอยา่ งแบบกลุ่ม เพ่ือสมุ่ หาตาบลกลุ่มตัวอยา่ งโรงเรียน ในเขตอาเภอเมืองจงั หวดั ลาปาง ระดับช้ัน ร.ร บุญวาทย์ฯ ร.ร ลาปางกัลยาณี ร.ร เทศบาล วิทยาลยั อาชวี ฯ 11(150) 33(503) ม4/ปวช.ปี1 43(640) 34(500) 11(150) 31(461) 121(1,793) ม5/ปวช.ปี2 11(150) 33(493) 118(1,749) ม6/ปวช.ปี3 43(643) 34(495) 44(656) 117(1,723) ปวส 33(450) 141(2,113) 44(656) 41(605) 32(475) 400(5,921) 127(1,888) 99(1,470) เครอ่ื งมอื ท่ีใชใ้ นการวจิ ัย เป็นแบบสอบถาม แบ่งเป็น 5 ส่วน โดยส่วนที่ 1-4 ผูว้ ิจัยสร้างขึ้นเอง และส่วนท่ี 5 ได้นาเคร่ืองชีว้ ัด คณุ ภาพชวี ติ ขององค์การอนามัยโลกชุดยอ ฉบบั ภาษาไทยของกรมสขุ ภาพจติ กระทรวงสาธารณสขุ รายละเอยี ดดงั น้ี ส่วนท่ี 1 แบบสอบถามเกย่ี วกับปัจจยั ทางชีวสงั คม ประกอบด้วย เพศ อายุ ระดบั การศกึ ษา วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปที ี่ 8 ฉบับท่ี 2 เดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

203 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI และอยูใ่ นฐานข้อมลู TCI กล่มุ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) ส่วนที่ 2 แบบสอบถามเกยี่ วกับปัจจัยนา ทผ่ี วู้ จิ ัยสร้างข้นึ เอง โดยปัจจยั นา ไดแ้ ก่ ความรู้ ความ เขา้ ใจเก่ียวกับการจัดการตนเอง จานวน 15 ข้อ เป็นแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก ดังน้ี ตอบถูก ได้ค่าคะแนน เท่ากบั 1 และตอบผดิ ไดค้ ่าคะแนน เท่ากับ 0 การแปลผล คา่ คะแนน 0.80 - 1.00 หมายถงึ มีความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกับการจดั การตนเองในระดับสงู 0.50 - 0.79 หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกบั การจัดการตนเองในระดบั ปานกลาง 0.00 - 0.50 หมายถึง มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั การจดั การตนเองในระดับต่า การรับรู้การจัดการตนเอง เปน็ แบบมาตรประมาณคา่ (rating scale) 5 ระดบั จานวน 5 ขอ้ แบ่งเป็น ทกุ ครงั้ บอ่ ยครงั้ บางครง้ั นานครัง้ และน้อยมากหรอื แทบไมป่ ฏบิ ตั ิดงั น้ี กาหนดเกณฑ์ หมายถงึ ใหค้ ะแนนเชิงบวก ให้คะแนนเชิงลบ การประเมนิ เทา่ กับ เท่ากับ ทุกครั้ง ปฎิบัติกิจกรรมทีร่ ะบุ 80% ขึน้ ไป 4 0 บ่อยครงั้ ปฎิบตั ิกจิ กรรมท่ีระบุ 60-79% 3 1 บางคร้งั ปฎบิ ัติกิจกรรมที่ระบุ 40-59% 2 2 นานๆครง้ั ปฎบิ ตั ิกิจกรรมทรี่ ะบุ 20-39% 1 3 น้อยมากหรอื ไมป่ ฏิบตั ิ ปฎิบัตกิ จิ กรรมทร่ี ะบุ 0-19% 0 4 การแปลผล หมายถึง มกี ารปฎบิ ัติกิจกรรมเกย่ี วกับการรบั รกู้ ารจัดการตนเองทุกครัง้ คา่ คะแนน 3.21 - 4.00 หมายถงึ มีการปฎบิ ัติกจิ กรรมเกีย่ วกบั การรับร้กู ารจดั การตนเองบ่อยคร้ัง หมายถงึ มกี ารปฎิบตั ิกิจกรรมเกย่ี วกับการรับรกู้ ารจัดการตนเองบางครั้ง 2.41 - 3.20 หมายถงึ มีการปฎบิ ัตกิ จิ กรรมเกย่ี วกับการรับร้กู ารจัดการตนเองนานครงั้ 1.61 - 2.40 หมายถึง นอ้ ยมากหรือแทบไมป่ ฏบิ ตั ิกจิ กรรมเก่ียวกับการรับร้กู ารจดั การตนเอง 0.81 - 1.60 0.00 - 0.80 สว่ นท่ี 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับปจั จัยเออื้ ทผ่ี ู้วจิ ัยสร้างข้นึ เอง โดยปัจจยั เอ้ือ ไดแ้ ก่ ประเภทสถานศึกษา เงนิ ค่าใชจ้ ่าย ทีพ่ ักอาศัย พาหนะในการเดนิ ทาง เป็นแบบตรวจสอบรายการ (Check List) และการเข้าถึง ข้อมูลและการบริการสุขภาพท่ีเปน็ แบบมาตรประมาณค่า (rating scale) 5 ระดับ จานวน 5 ข้อ แบ่งเปน็ ทุก ครั้ง บอ่ ยครงั้ บางครั้ง นานครั้ง และนอ้ ยมากหรือแทบไมป่ ฏบิ ตั ิ ดังนี้ วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปีท่ี 8 ฉบบั ที่ 2 เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

204 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยใู่ นฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) กาหนดเกณฑ์ หมายถึง ให้คะแนนเชิงบวก ให้คะแนนเชิงลบ การประเมนิ เท่ากับ เท่ากบั ทกุ ครัง้ เข้าถงึ หรือได้รบั กิจกรรมที่ระบุ 80% ขน้ึ ไป 4 0 บ่อยครั้ง เข้าถึงหรอื ได้รบั กจิ กรรมทีร่ ะบุ 60-79% 3 1 บางครง้ั เข้าถงึ หรือได้รบั กิจกรรมที่ระบุ 40-59% 2 2 นานๆคร้งั เขา้ ถึงหรือได้รับกจิ กรรมทีร่ ะบุ 20-39% 1 3 นอ้ ยมากหรือไมป่ ฏบิ ัติ เข้าถงึ หรอื ได้รับกิจกรรมท่ีระบุ 0-19% 0 4 การแปลผล ค่าคะแนน 3.21 - 4.00 หมายถึง มีการเขา้ ถงึ ข้อมูลหรอื ไดร้ บั การบริการสุขภาพทกุ คร้ัง 2.41 - 3.20 หมายถึง มกี ารเข้าถึงขอ้ มูลหรอื ได้รบั การบริการสุขภาพบอ่ ยครง้ั 1.61 - 2.40 หมายถงึ มกี ารเขา้ ถึงขอ้ มลู หรอื ได้รับการบริการสุขภาพบางครัง้ 0.81 - 1.60 หมายถงึ มกี ารเขา้ ถงึ ขอ้ มลู หรือได้รบั การบรกิ ารสุขภาพนานครั้ง 0.00 - 0.80 หมายถึง น้อยมากหรือแทบไม่มกี ารเข้าถงึ ข้อมูลหรอื ไดร้ ับการบริการสุขภาพ สว่ นที่ 4 แบบสอบถามเก่ียวกบั ปัจจัยเสรมิ ทผี่ ู้วิจยั สร้างขึ้นเอง โดยปัจจัยเสริม ได้แก่ แรงสนบั สนุน จากเพ่อื น แรงสนบั สนนุ จากครู แรงสนับสนุนจากครอบครัว และนโยบายสุขภาพสุขภาพทางสังคม(จากโรงเรยี น /ชมุ ชน) เปน็ แบบมาตรประมาณค่า (rating scale) 5 ระดบั จานวน 20 ข้อ โดยจานวนปัจจยั ยอ่ ยละ 5 ข้อ แบง่ เปน็ ทกุ คร้งั บอ่ ยครัง้ บางคร้ัง นานครั้ง และนอ้ ยมากหรือแทบไม่ปฏบิ ตั ิ ดงั นี้ กาหนดเกณฑ์ หมายถึง ใหค้ ะแนนเชิง ใหค้ ะแนน การประเมนิ บวกเท่ากับ เชิงลบเท่ากบั ทกุ ครัง้ ได้รับแรงสนบั สนนุ /มีสว่ นร่วมในกจิ กรรมท่รี ะบุ 80%ข้ึนไป 4 0 บอ่ ยครั้ง ได้รบั แรงสนบั สนนุ /มีส่วนร่วมในกิจกรรมทีร่ ะบุ 60-79% 3 1 บางครั้ง ไดร้ ับแรงสนบั สนุน/มีส่วนร่วมในกิจกรรมที่ระบุ 40-59% 2 2 นานๆคร้ัง ไดร้ บั แรงสนบั สนนุ /มีส่วนร่วมในกจิ กรรมที่ระบุ 20-39% 1 3 น้อยมากหรือไม่ปฏบิ ตั ิ ไดร้ ับแรงสนับสนุน/มีส่วนรว่ มในกจิ กรรมที่ระบุ 0-19% 0 4 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื ปีที่ 8 ฉบบั ท่ี 2 เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

205 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยใู่ นฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) การแปลผล คา่ คะแนน 3.21-4.00 หมายถงึ ไดร้ ับแรงสนับสนนุ หรอื มีส่วนร่วมในกจิ กรรมการสนบั สนุนทกุ คร้ัง 2.41-3.20 หมายถึง ได้รบั แรงสนบั สนนุ หรอื มีส่วนรว่ มในกจิ กรรมการสนบั สนุนบ่อยครง้ั 1.61-2.40 หมายถึง ไดร้ บั แรงสนับสนนุ หรอื มสี ่วนร่วมในกิจกรรมการสนับสนนุ บางครง้ั 0.81-1.60 หมายถึง ได้รับแรงสนับสนุนหรอื มีส่วนร่วมในกจิ กรรมการสนบั สนุนนานครัง้ 0.00-0.80 หมายถึง น้อยมากหรอื แทบไม่ได้รับแรงสนบั สนุนหรือมสี ่วนร่วมในกิจกรรมกาสนบั สนนุ ส่วนท่ี 5 แบบสอบถามภาวะสุขภาพ ได้แก่ เครื่องช้ีวดั คุณภาพชวี ติ ขององค์การอนามัยโลกชดุ ยอ ฉบับ ภาษา ไทย (Department of Mental Health,1996) เป็นแบบมาตรปร ะมาณค่า (rating scale) 5 ระดับ จานวน 25 ข้อ แบ่งเปน็ ทุกครั้ง บอ่ ยครั้ง บางครั้ง นานครัง้ และนอ้ ยมากหรือแทบไมป่ ฏบิ ัตดิ งั น้ี กาหนดเกณฑก์ าร หมายถงึ ใหค้ ะแนนเชิง ให้คะแนนเชิง ประเมิน บวกเทา่ กบั ลบเท่ากบั มากทสี่ ดุ รบั รเู้ ก่ยี วกับสภาพหรอื กจิ กรรมท่รี ะบุ80%ขึน้ ไป 4 0 มาก รบั รูเ้ กีย่ วกับสภาพหรอื กิจกรรมทรี่ ะบุ60-79% 3 1 ปานกลาง รบั รเู้ ก่ยี วกับสภาพหรือกิจกรรมท่รี ะบุ40-59% 2 2 เลก็ น้อย รับรูเ้ กีย่ วกับสภาพหรือกจิ กรรมที่ระบุ20-39% 1 3 น้อยมากหรอื ไม่ปฏบิ ตั ิ รับรู้เก่ียวกบั สภาพหรอื กจิ กรรมทร่ี ะบุ 0-19% 0 4 การแปลผล ค่าคะแนน 3.21 - 4.00 หมายถึง มภี าวะสุขภาพ อยูใ่ นระดับดมี ากที่สุด 2.41 - 3.20 หมายถึง มภี าวะสขุ ภาพอยูใ่ นระดบั ดีมาก 1.61 - 2.40 หมายถึง มภี าวะสุขภาพอยใู่ นระดบั ปานกลาง 0.81 - 1.60 หมายถึง มีภาวะสขุ ภาพอยใู่ นระดบั เล็กน้อย 0.00 - 0.80 หมายถึง มภี าวะสขุ ภาพอยใู่ นระดับนอ้ ยมาก การตรวจสอบคุณภาพเคร่อื งมอื ทีใ่ ชใ้ นการวจิ ยั การหาความตรงตามเน้ือหา (content validity) แบบสอบถามปัจจัยทม่ี ีอิทธิพลต่อการจัดการ ตนเองกับภาวะสุขภาพของกล่มุ วัยรุ่นตอนปลายให้ผทู้ รงคุณวุฒิจานวน 3 ทา่ น ประกอบอาจารย์พยาบาล วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื ปที ่ี 8 ฉบับที่ 2 เดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

206 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI และอยใู่ นฐานข้อมูล TCI กลมุ่ ที่ 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) พจิ ารณาตรวจสอบความตรงของเน้ือหาแล้วนามาปรับปรงุ ตามขอ้ เสนอแนะแล้วนาแบบสอบถามน้ีมาคานวณค่า ดชั นคี วามตรงตามเนอ้ื หา (Item Objective Congruence Index :IOC) ได้คา่ ความตรงเชงิ เนือ้ หาเทา่ กับ 0.5 - 1.00 การหาความเชอื่ มนั่ (reliability) แบบสอบถามปัจจัยท่ีมอี ทิ ธิพลต่อการจัดการตนเองกับภาวะสุขภาพ ของกลุ่มวัยรุ่นตอนปลายไปทดสอบกับนักศึกษาวิทยาลยั พยาบาล บรมราชชนนี นครลาปาง ที่มชี ่วงอายุ 16-19 ปี และไม่ได้อยู่ในกล่มุ ตัวอยา่ ง จานวน 50 ชุด การวิเคราะห์ความเช่ือม่ันของแบบสอบถาม โดยการวิเคราะห์ ความเชื่อมั่นโดยใช้สูตร คูเดอร์-ริชาร์ดสัน Kuder-Richardson (KR20) ผลลัพธ์ที่ได้เท่ากับ 0.69 และการ วิเคราะหแ์ บบสัมประสทิ ธแิ์ อลฟ่า (alpha coefficient) ได้คา่ เทา่ กบั 0.912 การวเิ คราะหข์ ้อมูล ผู้วิจัยนาขอ้ มูลที่ได้มาวิเคราะห์ขอ้ มูลด้วยโปรแกรมสาเร็จรปู SPSS โดยกาหนดค่านัยสาคัญทางสถิติที่ ระดบั 0.05 ดงั นี้ 1.ปัจจัยทางชวี สังคมของกลุ่มตัวอย่าง วิเคราะห์โดยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉล่ยี และส่วน เบ่ียงเบนมาตรฐาน 2.ปัจจัยนา ปจั จัยเอื้อ ปัจจัยเสรมิ ของกลุ่มตัวอย่าง วิเคราะห์โดยการหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน 3.ปัจจัยอิทธพิ ลต่อภาวะสุขภาพของกลุม่ วยั รุ่นตอนปลาย การวเิ คราะหก์ ารถดถอยพหคุ ูณ (multiple linear regression) การพิทกั ษส์ ิทธ์ิกลมุ่ ตวั อยา่ งและจริยธรรมวิจัย การวิจัยคร้ังน้ีได้ผ่านการรับรองจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยเกี่ยวกับมนุษย์ ของวิทยาลัย พยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง หมายเลข ICH-GCP 083/2562 ลงวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ.2563 ซึ่งกลุ่ม ตวั อย่างในการวิจัยครั้งนไ้ี ดร้ ับการยินยอมใหข้ ้อมูล โดยผวู้ ิจัยได้แนะนา ตวั อธบิ ายวัตถุประสงค์การวจิ ัย ชี้แจง เอกสารผู้มสี ่วนรว่ มในงานวจิ ยั และใหก้ ลุ่มตัวอย่างเปน็ ผู้ลงนามยนิ ยอมเข้ารบั การวิจัยดว้ ยความสมัครใจ หากผู้มี ส่วนร่วมในงานวิจัย พบว่า มีผลกระทบ เช่น การสูญเสียเวลา หรือเปน็ การเปิดเผยความลับส่วนบคุ คล กลุ่ม ตัวอย่างสามารถยกเลกิ การทาแบบสอบถามไดท้ ันทีและปฏเิ สธการเขา้ ร่วมวจิ ยั ได้ วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื ปีท่ี 8 ฉบบั ท่ี 2 เดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

207 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานข้อมลู TCI กลุ่มที่ 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) ผลการวจิ ัย การวิจยั ครัง้ นเ้ี ป็นการวิจัยศกึ ษาปัจจัยที่มอี ิทธพิ ลตอ่ ภาวะสุขภาพของกลมุ่ วัยรุ่นตอนปลาย ในเขต อาเภอเมอื ง จงั หวัดลาปาง สรปุ ผลการวจิ ัย ดงั น้ี ส่วนท่ี 1 ขอ้ มูลปัจจยั ทางชีวสังคมของกลมุ่ ตวั อย่าง ผลการศกึ ษา พบวา่ กล่มุ ตัวอย่างสว่ นใหญ่ เป็นเพศหญงิ ร้อยละ 78.80 มอี ายุ 19 ปี มากทสี่ ุดร้อย ละ 35.47 รองลงมามีอายุ 18ปี ร้อยละ 30.79 ส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาระดับมัธยมศึกษารอ้ ยละ 43.60 รองลงมาระดบั ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพรอ้ ยละ 34.72 สว่ นท่ี 2 ขอ้ มลู ปัจจยั นาของกลุ่มตวั อย่าง ขอ้ มูลด้านปัจจัยนาของกลมุ่ ตัวอย่าง พบวา่ กลุ่มตัวอย่างมีความรู้ ความเขา้ ใจสุขภาพ โดยรวมอยู่ ในระดบั ปานกลาง (Mean= 0.69, S.D. = 0.11) และการรับร้กู ารจัดการตนเอง โดยรวมมกี ารจัดการบอ่ ยครั้ง (Mean= 2.84, S.D. = 0.36) ดงั ตารางที่ 2 ตารางท่ี 2 จานวน ร้อยละ ค่าเฉล่ยี ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของปัจจัยนาของกลุม่ ตวั อย่าง (n=406) ปจั จยั นาของกลมุ่ ตัวอย่าง จานวน รอ้ ยละ Mean S.D. แปลผล ความรู้ ความเขา้ ใจสขุ ภาพ 83 20.44 สงู (0.80 - 1.00) 306 75.37 0.69 0.11 ปานกลาง ปานกลาง (0.50 - 0.79) 17 4.19 ตา่ (0 - 0.50) การรบั ร้กู ารจดั การตนเอง 71 17.49 ทุกครง้ั (3.21 - 4.00) 284 69.95 บ่อยครั้ง (2.41 - 3.20) 49 12.07 2.84 0.36 บ่อยครง้ั บางครัง้ (1.61 - 2.40) 2 0.49 นานคร้งั (0.81 - 1.60) 0 0.00 น้อยมากหรอื แทบไมป่ ฏิบตั ิ (0 - 0.80) วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปีท่ี 8 ฉบับที่ 2 เดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

208 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI และอยูใ่ นฐานขอ้ มลู TCI กลุม่ ที่ 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) สว่ นที่ 3 ข้อมูลปจั จยั เอื้อของกล่มุ ตัวอย่าง ข้อมูลด้านปัจจัยเออ้ื ของกลุ่มตวั อย่าง พบว่า กลุ่มตัวอย่างมเี งินคา่ ใช้จา่ ยเฉล่ีย/วันนอ้ ยกวา่ 100 บาท มากทส่ี ดุ จานวน 336 คนคดิ เปน็ รอ้ ยละ 82.75 พาหนะที่ใช้ในการเดินทางโดยรถจักรยานยนตม์ ากที่สุด จานวน 315 คนคดิ เป็นร้อยละ 77.59 พักอาศัยท่ีหอพักมากทีส่ ดุ จานวน 353 คนคิดเปน็ ร้อยละ 86.95 และการเขา้ ถึง ข้อมูลและการบริการสขุ ภาพโดยรวมมกี ารเขา้ ถงึ บ่อยครงั้ (Mean= 2.80, S.D. = 0.61) ดังตารางที่ 3 ตารางที่ 3 จานวน รอ้ ยละ ของปจั จัยเออ้ื ของกลุม่ ตวั อยา่ ง (n=406) ปัจจัยเอื้อของกลุม่ ตัวอย่าง จานวน รอ้ ยละ Mean S.D. แปลผล เงนิ ค่าใชจ้ า่ ยเฉล่ยี /วัน 336 82.75 นอ้ ยกว่า 100 บาท 68 17.00 97.44 28.71 1 0.25 101 -200 บาท มากกว่า 200 บาท 91 22.41 พาหนะทีใ่ ช้ในการเดนิ ทาง 315 77.59 รถยนต์หรอื รถโดยสารประจาทาง 353 86.95 รถจกั รยานยนต์ 53 13.05 ทพี่ ักอาศยั 74 18.23 หอพกั 207 50.99 พักกับบิดา มารดา ญาติ หรอื ปู่ ย่า ตา ยาย 115 28.33 2.80 0.61 บอ่ ยครั้ง 8 1.96 การเขา้ ถงึ ขอ้ มลู และการบรกิ ารสขุ ภาพ 2 0.49 ทกุ ครง้ั (3.21 - 4.00) บอ่ ยคร้งั (2.41 - 3.20) บางครงั้ (1.61 - 2.40) นานคร้ัง (0.80 - 1.60) นอ้ ยมากหรอื แทบไม่ (0.00 - 0.80) ปฏิบตั ิ วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีที่ 8 ฉบบั ที่ 2 เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

209 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานข้อมลู TCI กลุม่ ที่ 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) ส่วนที่ 4 ขอ้ มูลปัจจัยเสริมของกล่มุ ตวั อยา่ ง ข้อมูลด้านปัจจัยเสริมของกลุ่มตัวอย่าง พบวา่ กลุ่มตัวอย่างได้รบั แรงสนับสนุนจากครอบครัวโดย รวมอยู่ในระดับบอ่ ยคร้ัง (Mean = 2.69, S.D. = 0.58) และได้รับแรงสนับสนุนจากเพ่ือนโดยรวมอยใู่ นระดับ บอ่ ยคร้ัง (Mean = 2.68, S.D. = 0.54) ตามลาดับ ได้รบั แรงสนับสนุนจากครู โดยรวมอยู่ในระดับบางครั้ง (Mean = 2.17, S.D. = 0.60) และได้รับนโยบายสขุ ภาพสุขภาพทางสงั คม(จากโรงเรียน /ชุมชน) โดยรวมอย่ใู น ระดบั บางครง้ั (Mean = 2.13, S.D. = 0.75) ตามลาดับ ดงั ตารางท่ี 4 ตารางที่ 4 จานวน ร้อยละ คา่ เฉลยี่ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของปัจจยั เสรมิ ของกล่มุ ตวั อย่าง ปัจจยั เอือ้ ของกลุ่มตัวอย่าง จานวน รอ้ ยละ Mean S.D. แปลผล n=406) 14.53 แรงสนบั สนุนจากเพอื่ น (3.21 - 4.00) 59 49.51 ทุกครง้ั (2.41 - 3.20) 201 33.74 2.68 0.54 บ่อยคร้งั บ่อยครั้ง 1.73 บางคร้งั (1.61 - 2.40) 137 0.49 นานคร้ัง (0.80 - 1.60) 7 1.72 นอ้ ยมากหรือแทบไมป่ ฏิบัติ (0.00 - 0.80) 2 30.05 44.09 2.17 0.60 บางคร้ัง แรงสนับสนนุ จากครู (3.21 - 4.00) 7 22.66 ทุกครั้ง (2.41 - 3.20) 122 1.48 บอ่ ยครั้ง (1.61 - 2.40) 179 10.84 บางครั้ง (0.80 - 1.60) 92 57.39 นานคร้ัง 6 26.85 2.69 0.58 บอ่ ยครัง้ น้อยมากหรอื แทบไม่ปฏิบตั ิ (0.00 - 0.80) 4.43 0.49 แรงสนบั สนุนจากครอบครัว 5.17 ทกุ คร้ัง (3.21 - 4.00) 44 23.40 บ่อยครงั้ (2.41 - 3.20) 233 43.35 2.13 0.75 บางครั้ง บางครัง้ (1.61 - 2.40) 109 26.85 นานครง้ั (0.80 - 1.60) 18 1.23 น้อยมากหรือแทบไม่ปฏิบตั ิ (0.00 - 0.80) 2 นโยบายสขุ ภาพสุขภาพทางสงั คม(จากโรงเรียน /ชมุ ชน) ทกุ คร้ัง (3.21 - 4.00) 21 บ่อยครั้ง (2.41 - 3.20) 95 บางครง้ั (1.61 - 2.40) 176 นานครั้ง (0.80 - 1.60) 109 น้อยมากหรือแทบไมป่ ฏิบัติ (0.00 - 0.80) 5 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื ปที ี่ 8 ฉบับท่ี 2 เดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

210 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมูล TCI กล่มุ ท่ี 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) สว่ นท่ี 5 ข้อมลู เกย่ี วกบั ภาวะสุขภาพของกลมุ่ ตัวอยา่ ง ข้อมลู ภาวะสุขภาพของกลมุ่ ตวั อยา่ ง พบว่ากลุม่ ตัวอย่างมภี าวะสขุ ภาพโดยรวมอยู่ในระดับดีมาก (Mean = 2.84, S.D. = 0.63) ดงั ตารางที่ 5 ตารางที่ 5 จานวน ร้อยละ คา่ เฉลี่ย ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน ของภาวะสุขภาพของกลมุ่ ตัวอยา่ ง (n=406) ภาวะสขุ ภาพของกลุ่มตัวอยา่ ง จานวน รอ้ ยละ Mean S.D. แปลผล ดมี ากทส่ี ดุ (3.21 - 4.00) 88 21.67 ดมี าก (2.41 - 3.20) 237 58.37 ปานกลาง (1.61 - 2.40) 77 18.97 2.84 0.63 มาก เลก็ น้อย (0.80 - 1.60) 4 0.99 น้อยมาก (0.00 - 0.80) 0 0.00 สว่ นท่ี 6 ปัจจยั ทม่ี อี ทิ ธพิ ลต่อภาวะสขุ ภาพของกลุม่ ตวั อย่าง ขอ้ มลู ปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อภาวะสขุ ภาพของกลุ่มวัยรุน่ ตอนปลาย ในเขตอาเภอเมือง จังหวดั ลาปาง พบว่า มี 7 ตัวแปรครอบคลุมทั้งปัจจยั ทางชวี สังคม ปัจจยั นา ปัจจัยเอือ้ และปัจจัยเสริม ดังรายละเอียด ดงั นี้ ปจั จัยทางชวี สังคมคือ เพศ ปัจจยั นา คอื การรับรู้การจดั การตนเอง และความรู้ ความเขา้ ใจสขุ ภาพ ปัจจัยเอ้ือ คอื พาหนะทใี่ ช้ในการเดนิ ทางและการเข้าถงึ ขอ้ มูลและการบรกิ ารสขุ ภาพ และปัจจัยเสริมคอื แรงสนับสนุนจาก ครอบครัว และนโยบายสขุ ภาพทางสังคม (จากโรงเรยี น /ชุมชน) ร่วมกนั ทานายค่าผลลัพธ์ของร้อยละของกา ร จดั การภาวะสขุ ภาพเพื่อป้องกันโรคอ้วนได้อยา่ งมีนัยสาคญั ทางสถติ ิ ซง่ึ ตัวแปรทั้งสองสามารถอธิบายการผัน แปรดชั นภี าวะสุขภาพได้ 65.7 % (R2 = 43.20) โดยมีสูตรการทานายเป็น Y= 0.170+ 0.273 ของแรงสนับสนุนจากครอบครวั + 0.432 ของการรับรกู้ ารจดั การตนเอง - 0.279 ของเพศชาย +0.212 ของพาหนะ (รถยนตห์ รอื รถโดยสารประจาทาง) ที่ใช้ในการเดนิ ทาง + 0.170 ของนโยบาย สขุ ภาพสุขภาพทางสังคม (จากโรงเรียน /ชุมชน) + 0.553 ของความรู้ ความเขา้ ใจสุขภาพ + 0.084 ของการ เข้าถึงข้อมูลและการบริการสขุ ภาพ ดงั ตารางท่ี 6 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปที ่ี 8 ฉบบั ที่ 2 เดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

211 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยใู่ นฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) ตารางที่ 6 คา่ สมั ประสิทธก์ิ ารทานายของการจัดการตนเองกับภาวะสขุ ภาพ (n=406) ตัวแปร B SEB β t p-value ค่าคงที่ 0.170 0.201 0.846 0.398 ปัจจัยทางชีวสงั คม เพศ (ชาย) -0.279 0.052 -0.214 -5.361 0.000 ปัจจยั นา การรับรกู้ ารจดั การตนเอง 0.432 0.073 0.296 5.936 0.000 ความรู้ ความเขา้ ใจสุขภาพ 0.553 0.200 0.112 2.768 0.006 ปัจจยั เอ้ือ พาหนะท่ใี ช้ในการเดนิ ทาง 0.212 0.050 0.166 4.214 0.000 (รถยนต์หรอื รถโดยสารประจาทาง) การเขา้ ถงึ ขอ้ มูลและการบริการสุขภาพ 0.084 0.041 0.097 2.040 0.042 ปจั จัยเสริม แรงสนับสนนุ จากครอบครวั 0.273 0.042 0.279 6.464 0.000 นโยบายสขุ ภาพทางสังคม (จากโรงเรยี น /ชุมชน) 0.170 0.201 0.279 0.846 0.398 R =65.7, R2 = 43.2, F = 40.566, p <.000 อภิปรายผล จากผลการศึกษาพบว่าปจั จัยที่มอี ิทธพิ ลตอ่ ภาวะสุขภาพของกลมุ่ วยั รุ่นตอนปลาย ในเขตอาเภอเมอื ง จังหวดั ลาปาง พบมีตวั แปรครอบคลุมทง้ั ปัจจัยทางชีวสังคม ปจั จัยนา ปจั จัยเอ้อื และปัจจยั เสรมิ สามารถรว่ ม ทานายการผนั แปรดชั นีภาวะสุขภาพได้ 65.7 % (R2 = 43.2) ซ่งึ อธิบายได้ว่า แบบจาลองตามทฤษฏี PRECEDE Model ซ่ึงพัฒนาโดย Green and Krueter (2005) สามารถนามาใชท้ ดสอบภาวะสขุ ภาพของกลุ่มวัยรุน่ ได้ ซึ่ง ทั้งในปัจจยั นา ปจั จัย เอ้ือ และปัจจัยเสรมิ พบว่า มี 7 ปจั จัยท่ีมีอทิ ธิพลต่อภาวะสุขภาพของกลุ่มวัยรุ่น อย่างมี นยั สาคญั ทางสถติ ิ ดังน้ี ปจั จัยทางชวี สังคม พบว่า เพศท่ีสามารถทานายคา่ ผลลัพธข์ องร้อยละของภาวะสุขภาพของกล่มุ วยั รุ่น เพิ่มข้ึนคือกลุ่มวัยรุ่นที่เป็นเพศหญิงสง่ ผลให้ร้อยละของภาวะสุขภาพของกลุ่มวัยรุ่นเพิ่มข้ึน ดีกว่าเพศชาย สอดคล้องกับการศึกษาของ จุมพล รามล (Ramol J.,2017) ทศี่ กึ ษาพฤตกิ รรมการดแู ลสุขภาพตนเองแบบองค์ วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื ปที ่ี 8 ฉบับท่ี 2 เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

212 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มูล TCI กลุ่มที่ 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) รวมของนกั ศึกษาชั้นปี ที่หนงึ่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ศูนย์รังสิต พบวา่ เพศหญงิ กบั เพศชาย มีพฤตกิ รรมการ ดแู ลสขุ ภาพตนเองแบบองค์รวม แตกต่างกันอย่างมนี ัยสาคัญทางสถิติ 0.05 อธิบายได้ว่าธรรมชาติวัยร่นุ เพศ หญิง เป็นเพศท่ีมีความใคร่รู้และสนใจเกี่ยวกับสขุ ภาพมากกวา่ วัยรนุ่ เพศชาย จากพัฒนาการวยั รุ่นหญงิ มพี ฒั นา ของร่างกายรวมท้ังมีพัฒนาการทางเพศที่รวดเร็วกว่าวัยรุ่นชาย จึงมีความคิด ความเป็นผใู้ หญ่และรู้จักดูแล สขุ ภาพตนเองดีกว่าวัยรุ่นเพศชาย (Chuawanitchakorn S.,2020) กลุม่ ตัวอย่างเป็นกล่มุ วัยทีส่ นใจดูแลตนเอง มคี วามรับผิดชอบตอ่ สุขภาพประกอบกับวยั รุ่นเปน็ ช่วงวัยทีอ่ ย่ใู นระยะวิกฤติท่จี ะต้องเผชญิ กับการเปลย่ี นแปลง อยา่ งมาก ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา ยังเปน็ วยั ท่ีมีความต้องการการยอมรับจากกลมุ่ เพอ่ื น (Thanomsat K and Sansern R.,2011) จึงทาให้วัยร่นุ หญิงสามารถจัดการตนเองใหม้ ีภาวะสุขภาพมากกว่า วัยรุ่นเพศชาย ปัจจัยนา พบวา่ การรับรู้การจัดการตนเองที่เพ่ิมข้ึน สามารถทานายค่าผลลพั ธ์ของภาวะสุขภาพของ กลุม่ วยั รนุ่ โดยสง่ ผลให้รอ้ ยละของภาวะสขุ ภาพของกลุ่มวยั รุ่นเพิม่ ขึน้ สอดคล้องกับการศึกษาของสรุ ิยา ฟองเกิด และคณะ (Fongkerd S et al. ,2017) ได้ศกึ ษาปัจจยั ทีม่ ีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการสร้างเสรมิ สุขภาพของวัยรุ่น ไทยพบวา่ ปัจจัยด้าน การรบั ร้คู วามสาคัญของสุขภาพ (PBOA) ปัจจัยด้านการรับร้อู ุปสรรคของพฤติกรรม สขุ ภาพ (PBTA) และ ปัจจยั ด้านการศึกษา (EDU) รว่ มกนั ทานายพฤติกรรมการสร้างเสรมิ สขุ ภาพของวัยร่นุ ไทย ได้ 10.30% (R2 =.103) อยา่ งมนี ยั สาคัญทางสถิตทิ ี่ระดบั 0.05 อธิบายได้ว่าวัยรุน่ ตอนปลายเปน็ ช่วงวยั ท่ีอยใู่ น ภาวะที่ต้องเผชญิ กบั ความเปล่ยี นแปลงอย่างมากที่ตอ้ งก้าวขา้ มจากวยั รุ่นเข้าสูช่วงวยั ผู้ใหญ่ เป็นช่วงวัยที่เป็น ชวี ิตของวยั เรียนทก่ี ่อให้เกดิ ความรบั ผิดชอบมากขึน้ รับรู้ถึงภาวะสขุ ภาพของตนวา่ เป็นอย่างไร พึงมีการจัดการ ของตนเองหรือมคี วามรับผดิ ชอบต่อสุขภาพของตนเองอยา่ งไรตามความเชื่อและเจตคติ ซ่งึ ขน้ึ อยกู่ บั การไดร้ ับ สง่ิ เร้าท่ีเหมาะสมที่ทาให้เกิดการรับรู้เก่ียวกับการจัดการตนเอง และจากแนวคิดของ Green and Kreuter (2005) ท่ีว่าการรับรู้ประโยชน์ การรบั รู้ความสามารถในการกระทาพฤติกรรมทางสขุ ภาพหรือรบั รู้การจัดการ สขุ ภาพของตนเอง เป็นความพอใจของบุคคล ซงึ่ ขนึ้ อยู่กับแต่ละบคุ คลที่จะเลอื ก เกดิ แรงจูงใจภายในตวั เกดิ การ เปลีย่ นแปลง จึงทาใหก้ ลุ่มตัวอย่างที่มีการรบั รู้เกย่ี วกบั การจัดการตนเองสามารถพฒั นาตน อันนาไปสู่การคงไว้ ซงึ่ ความมีสุขภาวะที่ดี นอกจากน้ผี ลการศึกษาพบว่าความรู้ ความเข้าใจสุขภาพที่เพ่มิ ข้ึน สามารถทานายคา่ ผลลัพธ์ของภาวะ สขุ ภาพของกลุ่มวัยรนุ่ โดยสง่ ผลใหร้ ้อยละของภาวะสุขภาพของกลุ่มวัยรุ่นเพม่ิ ข้ึน สอดคล้องกบั ผลการศึกษาของ สวุ พันธ์ุ คะโยธา และ วธุ พิ งศ์ ภักดีกุล (Kayotha S and Phakdikul W.,2018) ศกึ ษาปจั จยั เส่ียงตอ่ การใชส้ าร เสพติดและปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันยาเสพติดของเยาวชน ในโรงเรยี นมัธยมศึกษา เขตเทศบาลนครสกลนคร พบวา่ ปัจจัยด้านความรู้เรอ่ื งสารเสพติดและกฎหมาย การอ่านหนังสือ การออกกาลังกาย ทัศนคติการช่วย วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื ปีที่ 8 ฉบบั ที่ 2 เดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

213 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมูล TCI กล่มุ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) ทางานบา้ น อายุ และการ สนับสนนุ ของผูป้ กครอง เป็นปัจจัยท่สี ามารถรว่ มกันทานายการปอ้ งกนั การใช้สารเสพตดิ ได้ รอ้ ยละ 27.5 (R2 = 0.275, p <.05) อธบิ ายไดว้ ่าความรู้ ความเข้าใจสขุ ภาพเป็นปัจจยั สาคญั อยา่ งหนึ่งท่ีสง่ ผลต่อการ แสดงออกซ่ึงภาวะสขุ ภาพ การเพิ่มข้ึนของความรู้ยอ่ มก่อให้เกิดการเปลีย่ นแปลง จากแบบจาลอง PRECEDE MODEL ความรู้ ประสบการณ์ในการเรียนรู้ เป็นปจั จัยที่เป็นพ้ืนฐานของการเกิดพฤติกรรมของบคุ คลและ ก่อให้เกิดแรงจูงใจในการแสดงพฤติกรรมของบุคคลซ่ึงอาจมีส่วนช่วยสนับสนนุ หรือยับย้ังมิให้เกิดการแสดง พฤติกรรมทางด้านสุขภาพ (Green and Kreuter ,2005) ประกอบกับกลุ่มตวั อย่างเป็นวยั ท่ีมีความมนั่ ใจใน ตนเอง ถา้ คิดว่าตนมภี าวะสุขภาพทด่ี ีอยแู่ ลว้ ยงิ่ ทาให้มกี ารจัดการเกย่ี วกบั ภาวะสขุ ภาพในทางที่ดี มกี ารยบั ยั้งใน สงิ่ ทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ ผลเสียตอ่ ภาวะสขุ ภาพ ปัจจัยเออ้ื พบว่า พาหนะในการเดนิ ทางทเ่ี ลือกใช้เป็นรถยนต์หรือรถโดยสารประจา ทางแทนการใช้ รถจักรยานยนตเ์ พิ่มมากขึ้น ส่งผลใหร้ อ้ ยละของภาวะสขุ ภาพของกลมุ่ วยั รนุ่ เพิ่มขน้ึ สอดคล้องกับการศึกษาของ นงคราญ ตาตะ๊ คา (Tatakham N.,2015) ท่ศี ึกษาปัจจัยท่ีเกี่ยวข้องกบั พฤติกรรมการใช้รถจกั รยานยนต์ ของ นักเรียนมธั ยมศึกษา อาเภอภเู พียง จงั หวัดนา่ นท่ีพบว่านักเรียนเกินกว่าครึง่ มพี ฤติกรรมการใช้รถจักรยานยนตอ์ ยู่ ในระดับท่ไี ม่ปลอดภัย (ร้อยละ 51.3) และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กบั พฤติกรรมการใช้รถจกั รยานยนต์ของ นกั เรียนอย่างมนี ัยสาคญั ทางสถิติที่ระดับ 0.05 ได้แก่ เจตคตติ ่อการขบั ขี่รถเร็วเกินกว่ากฎหมายกาหนด (p =0.002) เจตคติต่อการการ ขับขี่ฝ่าฝืน กฎจร าจร (p-value = 0.01) และเจตคติต่อการดัดแปลงสภา พ รถจักรยานยนต์ (p =0.02) อธบิ ายได้วา่ วยั รุ่นเปน็ วัยทีม่ ีการเปล่ยี นแปลงทัง้ ในดา้ นรา่ งกาย จติ ใจและความนึกคิด มีความอยากรูอ้ ยากเห็น อยากลอง ชอบความตน่ื เต้น สนกุ สนาน ต้องการเด่นดัง ขาดการประเมินอนั ตราย ขาด การยั้งคิด มีความคกึ คะนอง กมลภู ถนอมสัตย์ และรัชนี สรรเสริญ (Thanomsat K and Sansern R.,2011) กล่าววา่ วยั รุ่นเปน็ วัยท่มี ีความตอ้ งการการยอมรับจากกลุ่มเพ่ือน จงึ ถูกชักจูงได้งา่ ย และพฤตกิ รรมเสี่ยง (Risk taking behaviors) ของวัยร่นุ เป็นพฤตกิ รรมซึ่งจะก่อให้เกดิ อันตราย หรือผลเสียต่อตนเอง ผู้อ่นื และสังคม ส่ิงแวดลอ้ ม โดยผู้ที่กระทาอาจทราบถงึ ผลที่จะเกดิ ข้ึนหรือไม่ก็ไดพ้ ฤติกรรมเส่ียงอาจจัดกลุ่มได้เปน็ ประเภทต่างๆ (Poonkham Y.,2010) ประกอบกับวัยรนุ่ ที่ศึกษาส่วนใหญพ่ ักอาศัยโดยลาพังท่ีหอพกั โดยไม่มีผู้ปกครองจึงมัก ขบั ขม่ี อเตอร์ไซด์ด้วยความเร็วสูง ขาดจิตสานึกในเร่ืองความปลอดภยั อีกกระทง่ั การตดั สนิ ใจในเหตุการณ์เฉพาะ หน้าไมด่ จี ึงทาให้วยั รุน่ ประสบอุบัติเหตหุ รอื กระทบกับภาวะสขุ ภาพได้ การเข้าถึงข้อมูลและการบรกิ ารสุขภาพทเี่ พม่ิ ขนึ้ สง่ ผลให้รอ้ ยละของภาวะสุขภาพของกลุ่มวยั รุ่นเพม่ิ ขึ้น สอดคล้องกับผลการ ศึกษาของ สุรีรัตน์ ร งเรือง และสมเกียร ติ สุขนัน ตพงศ์ (Rongruang S and Suknantapong S.,2011) ท่ศี กึ ษาพฤตกิ รรมสง่ เสริมสุขภาพของนักศกึ ษามหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ ที่พบว่า ปัจจยั เอ้อื ท่มี ีความสมั พันธ์ต่อการปฏิบัตพิ ฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพของนักศกึ ษาอย่างมีนยั สาคญั ทางสถิติ วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื ปที ี่ 8 ฉบบั ท่ี 2 เดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

214 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI และอยูใ่ นฐานขอ้ มลู TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) ไดแ้ กก่ ารมแี ละการเข้าถึงแหล่งบรกิ ารสุขภาพ และปัจจัยอน่ื ที่ร่วมกันทานายได้รอ้ ยละ 35.95 อธิบายไดว้ า่ แหล่ง บรกิ ารที่มีหลากหลายชอ่ งอย่างเพียงพอ ให้ขอ้ มลู ที่ถูกต้อง ทันสมยั สนองความต้องการทางสุขภาพทาให้วยั รุ่ น สามารถเข้าถึงได้สะดวกย่อมทาให้วัยรุ่นมีความสะดวก สบายในการเข้าใช้บรกิ ารอันนาไปสูก่ ารดแู ลภาวะสุขภาพ ของกลุ่มวัยรุ่นให้ดีย่ิงข้ึน กิตติพร เนาว์สุวรรณ ประไพพิศ สิงหเสม เยาวลักษณ์ ย้ิมเยือน และคณะ (Nawsuwan K , Singhasem P , Yimyearn Y et al.,2016) กล่าวว่าการได้รบั การสนับสนุนทางสังคมเป็น เครือข่ายทางสงั คมหรือการผสมผสานผสาน ทางสังคมท่ีทาให้บุคคลเกิดปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับหน่วยของสังคม ซึ่ง ได้แก่ บคุ คล ครอบครวั เพอ่ื นบ้าน ชุมชน และสถานบรกิ ารสุขภาพตง่ ๆส่งผลให้บคุ คล มีสุขภาพและคุณภาพ ชีวติ ท่ีดี ปจั จัยเสริมคือ แรงสนับสนนุ จากครอบครัวท่ีเพมิ่ ข้นึ ส่งผลให้รอ้ ยละของภาวะสุขภาพของกลุ่มวัยรุ่น เพม่ิ ขน้ึ สอดคลอ้ งกับผลการศกึ ษาของเครือวัลย์ ปาวิลัย (Pavila Ki.,2007) พบว่า การไดร้ ับแรงสนับสนุนจาก บุคคลในครอบครัว ครูและเพ่อื น มีความสัมพันธ์ทางบวกกบั พฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรยี นท่มี ีภาวะ โภชนาการเกินอยา่ งมีนัยสาคัญทางสถิติ (r=0.56,p<.01) อธิบายไดว้ ่า วัยรุ่นเป็นช่วงวัยที่อยู่ในระยะวิกฤติที่ จะต้องเผชญิ กบั การเปล่ยี นแปลงอย่างมาก ท้ังดา้ นร่างกาย อารมณ์ สงั คมและสติปญั ญา และเป็นวยั ทอี่ ยากรู้ อยากเห็น อยากทดลอง นอกจากนี้ ยังเป็นวัยที่มีความต้องการการยอมรับจากกลุ่มจึง ถูกชักจูงได้ง่าย (Kamolphu Thanomsat and Ratchanee Sansern,2011) ประกอบกับความรกั ความเข้าใจในครอบครัว การสนบั สนุนจากบคุ คลรอบข้างหรือบุคคลที่วัยรุ่นเคารพมสี ่วนในการในการได้รับข้อมลู หรือสิง่ ท่สี นองความ ตอ้ งการ อิทธิพล ระหวา่ งบุคคลหรือสมาชกิ ในครอบครัวยอ่ มมีอิทธพิ ลโดยตรงและแรงผลกั ดันจากครอบครัวมี ผลทางอ้อมต่อแรงผลักดันใหว้ ัยรนุ่ มีความสนใจ ใส่ใจสขุ ภาพมากข้นึ นโยบายสุขภาพสขุ ภาพทางสังคม (จากโรงเรียน /ชมุ ชน)ท่ีเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ร้อยละของภาวะสุขภาพของ กล่มุ วัยรุน่ เพิม่ ข้นึ สอดคล้องกบั ผลการศึกษาของอรุณรัตน์ สารวิโรจน์ และกานดา จนั ทรแ์ ย้ม (Sarawirot A and Chanyam K.,2014) พบว่า ตัวแปรด้านปัจจัยนาปัจจัย เอื้อ และปัจจยั เสริม มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม สง่ เสริมสุขภาพ อยา่ งมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยการมนี โยบายส่งเสรมิ สุขภาพ เปน็ 1ใน 5 ปจั จัยท่ี สามารถร่วมกันพยากรณ์พฤติกรรมส่งเสรมิ สุขภาพได้ ร้อยละ 23.30 อธิบายไดว้ ่าวนั ร่นุ มองว่าโรงเรียนหรือ ชมุ ชนทม่ี ีนโยบายด้านสุขภาพที่ชดั เจนเหน็ เป็นรปู ธรรม วยั รนุ่ ไดม้ สี ่วนร่วมกาหนดนโยบายและรว่ มกจิ กรรมท่ี เปน็ ประโยชนต์ อ่ ภาวะสขุ ภาพตนเองได้ตามความสนใจ และการมีนโยบายสง่ เสรมิ สุขภาพอย่างเปน็ รปู ธรรม โดย ผ่านทงั้ การเรียนและกจิ กรรมโครงการทาให้กล่มุ เป้าหมายได้เข้าร่วมกิจกรรมตามความสมัครใจ ก็จะส่งผลให้ วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื ปที ี่ 8 ฉบบั ท่ี 2 เดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

215 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานข้อมลู TCI กลุ่มที่ 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) กลุ่มเปา้ หมายมีพฤตกิ รรมการสร้างเสริมสขุ ภาพที่ดขี ึ้น (Rakpanusit T , Jeenmuang N, and Khoyneung N.,2018) ขอ้ เสนอแนะการนาผลการวจิ ัยไปใช้ สถาบันหรอื หน่วยงาน บุคลากรด้านสุขภาพและสถานศึกษา สามารถนาปัจจัยทพี่ บว่า สามารถร่วมทานายภาวะสุขภาพของ กลมุ่ วัยร่นุ ไป เปน็ แนวทางในการพฒั นา กิจกรรม หรือโปรแกรมเพื่อให้วัยรุ่นมสี ขุ ภาวะที่ดีโดยเน้นการเสรมิ สรา้ ง จดั การตนเองท่ีเหมาสมเน้นปัจจยั นาดา้ นความร้เู กย่ี วกบั สุขภาพและการรับรู้การจัดการตนเอง สนับสนุนปจั จัย เออื้ ด้านพาหนะการเดินทาง และสนับสนนุ ปจั จัยเสรมิ เชิงนโยบายสขุ ภาพและการมสี ่วนร่วมของครอบครวั หัวหนา้ งาน ผลกั ดันเชิงนโยบายท้งั ทางโรงเรียนและชมุ ชน ในการให้กลุ่มวัยรุ่นไดเ้ ข้าไปมีการร่วมกาหนดมาตรการ ดา้ นสุขภาพที่สนองความตอ้ งการของกลุ่มไดม้ ากขนึ้ เพื่อให้สอดคลอ้ งกบั การดแู ลและพัฒนาวัยรุ่นใหม้ ีสขุ ภาวะที่ ดีและมกี ารปอ้ งกนั ปญั หาพฤติกรรมเสยี่ งท่ีอาจเกิดข้ึน ขอ้ เสนอแนะในการศึกษาครั้งต่อไป พัฒนาโปรแกรมการสร้างเสริมสมรรถนะการเสรมิ สรา้ งสขุ ภาวะในวยั รุ่นไทย โดยการเพมิ่ ศักยภาพใน การจัดการตนเองให้มสี ขุ ภาวะทีดี สร้างเสริมความแข็งแกรง่ ในชีวติ และพฒั นาศักยภาพในการหาแหลง่ สนบั สนนุ ทางสงั คมที่เหมาะกบั ตน เพอื่ ลดปญั หาหรอื ความเสี่ยงตอ่ การเกิดปัญหาสขุ ภาพตลอดจนเกิดความ เจ็บป่วย เอกสารอ้างองิ Alcohol Consumption Control department of Disease.(2016).Revealing the results of a survey found that Thai youth drink Alcohol increased by 4.96% per year. Retrieved 28 Jan 2020 from https://www.hfocus.org. (in Thai) Amawat B. (2020). Lampang Model Preventing Unwanted Pregnancy. Retrieved 15 Jan 2020 from https://www.komchadluek.net/news/edu-health/372274. (in Thai) วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื ปที ี่ 8 ฉบับที่ 2 เดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

216 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยูใ่ นฐานข้อมูล TCI กลุม่ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) Chuawanitchakorn S.(2020). Chapter 4: Adolescent Development. Retrieved 25 Dec 2020 from http://www.elnurse.ssru.ac.th/surang_ch/pluginfile.php/201/block_html/content/ %E0. %B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%9 9%20%28Aldolescence %29.pdf (in Thai) Department of Mental Health.(1996).World Health Organization Quality of Life Indicators,Thai version (WHOQOL-BREF-THAI).Retrieved 2 June 2020.from http://www.dmh.go.th/test/whoqol.(in Thai) Division of Epidemiology.(2019). Safe sex on Loy Krathong day. Retrieved 14 Jan 2020 from http://35.190.29. 12/uploads/files/1020920191111092746.pdf (in Thai) Division of Non Communicable Disease,Department of Disease Control.(2019). Report of the study of the situation review project Preventing chronic non-communicable diseases in Thailand and the results of 2017-2619.Retrieved 2 June 2021.from http://thaincd.com/document/ file/download/knowledge.pdf (in Thai) Fongkerd S et al. (2017). Factors Influencing Health Promotion Behaviors of Thai Adolescents. Nursing Journal of Ministry of Public Health, 27, 196-209. (in Thai) Green lW, Kreuter MW. (2005). Health program planning: An educational and ecological approach. 4th ed. New York: Emily Barrosse. Health Systems Research Institute.(2016.). Report of the Thai people's health survey by physical examination No. 5, 2014. Nonthaburi: Aksorn Grphic And Design Publishing Limited Partinership. (in Thai) Kanjanapibulwong A , Khamwangsanga P and Kaewta S. (2019).Report on the situation of NCDs, diabetes, high blood pressure and Related Risk Factors 2019. 1th ed. Bangkok:Graphic and Design Publishing. (in Thai) Kayotha S and Phakdikul W.(2018). Risk Factors for Drug Use and Factors affecting Drug Use Protection of Junior High Schools Students in Sakon Nakhon Municipality. Journal of Sakon Nakhon Hospital, 21(3), 84-95. (in Thai) วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีท่ี 8 ฉบบั ที่ 2 เดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

217 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมลู TCI กลุม่ ที่ 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) Lampang Provincial Public Health Office. (2019). Population data in the middle of 2019. Retrieved 15 Mar 2020 from http://www.lpho.go.th/main/ (in Thai) Nawsuwan K , Singhasem P , Yimyearn Y et al. (2016). Relationship and the Predictive Power of Social Support on the Practice of Hypertensive Patients . Boromarajonani College of Nursing, Uttaradit Journal,8(1), 1-13 (in Thai) Pavila Ki. (2007). Factors Affecting Food Consumption Behavior Over Nutritional Status Grades 4-6 Students of Kasetsart University Laboratory School Center for Educational. (Master of Science Health Education). Bangkok: Kasetsart University. (in Thai) Pookitsana S, Mokkhawa K and Fongkerd S. (2016). Influencing Factors of Health Promoting Behavior of Adolescents in the Area of Responsibility of Mueang Chon Buri Hospital. Research Methodology & Cognitive Science, 14(2), 114-124. (in Thai) Poonkham Y. (2010). Health promotion, prevention of risk behaviors and youth health problems. Nonthaburi : Bureau of Reproductive Health, Department of Health, Ministry of Public Health. (in Thai) Princess Mother National Institute on Drug Abuse Treatment. (2019). Number and percentage of All drug patients of Tanyarak Institute. Retrieved 1 Jan 2020 from www.pmnidat.go.th (in Thai) Rakpanusit T , Jeenmuang N, and Khoyneung N. (2018). Factors Related to Health Promoting Behavior among Undergraduate University Students, Prince of Songkla University, Pattani Campus. Academic Services Journal, Prince of Songkla University, 29(3) ,170 - 178. (in Thai) Ramol J. (2017). The behavior of holistic self-care students at one campus the behavior of holistic self-care students at one campus Thammasat University(Master of Education Program Thesis). Bangkok: Department of Anti-Aging and Regenerative College of Integrative Medicine Dhurakij Pundit University. (in Thai) วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื ปีท่ี 8 ฉบับท่ี 2 เดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

218 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยูใ่ นฐานข้อมลู TCI กลุม่ ท่ี 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) Rongruang S and Suknantapong S. (2011). Health Promoting Behavior among University Students in Prince of Songkla University, Pattani Campus . Journal of Behavioral Sciences,17(1), 109-123. (in Thai) Sarawirot A and Chanyam K. (2014). Factors Influencing Health Promotion Behavior of Undergraduate Students at Prince of Songkla University, Hat Yai Campus. Kasetart Journal: Social Sciences, 35(2), 223-234. (in Thai) Tanaree A and Vichitkunakorn P. (2019). Alcohol Drinking and Provincial Alcohol Problem Index (PAPI) in Thailand: The 2017 Survey.Journal of Health Systems Research ,13(4),353 - 367. (in Thai) Tatakham N.(2015).Factors Related to Motorcycle Using Behaviors of High School Students, Phu Phiang District, Nan Province.(Master of Public Health). Chiang Mai :Chiang Mai University. (in Thai) Thai Health Promotion Foundation.(2019). Survey on behavior of Thai adolescents. Retrieved 15 Jan 2020 from https://www.thaihealth.or.th/Content/47099-A2.html (in Thai) Thanomsat K and Sansern R. (2011). Factors Related to Early Smoking Stage Among Male Students at Lower Secondary Schools Under The Jurisdiction of Trat Education Service Area Office. Journal of Nursing and Education, 4(3), 38-47 (in Thai) วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื ปที ่ี 8 ฉบับท่ี 2 เดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

219 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานข้อมลู TCI กลุม่ ท่ี 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) Factors Associated with Perceived Cognitive Functions in Colorectal Cancer Patients Receiving Chemotherapy Kruawan Santhuankaew*, Bualuang Sumdaengrit **, Apinya Siripitayakunkit *** (Received: June 8, 2021, Revised: October 16, 2021, Accepted: November 4, 2021) Abstract This study aimed to examine the correlation between doses of chemotherapy, anxiety levels, depression levels and perceived cognitive functions. The research participants were 65 patients with colorectal cancer who received chemotherapy in Lampang province selected by accidental sampling of the specified qualifications. The instruments consisted of demographic data form, Hospital Anxiety and Depression Scale Questionnaire (Thai HADS) and Functional Assessments Cancer Therapy - Cognitive function (FACT-Cog Version 3) Questionnaire. The data were analyzed by descriptive statistics, Pearson's correlation statistics and Spearman’s Rank correlation coefficient. The findings illustrated that the mean scores of perceived cognitive impairments were slightly low (x̅ = 98.85, SD = 10.34). Moreover, the correlation analysis revealed that anxiety, depression and chemotherapy dose were negatively correlated with perceived cognitive functions. (r = -.47, p <.01, r = -. 49, p <.01 and r = -.42, p <.05 respectively) The results provide basic information that enhances nurses and healthcare personnel concern cognitive function assessments and make nursing plans reduce the factors related to cognitive impairment in patients with colorectal cancer receiving chemotherapy effectively. Keywords: Colorectal cancer; Chemotherapy; Cognitive function * Master student, Adult Nursing, Ramathibodi School of Nursing, Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital, Mahidol University **Corresponding author, Major advisor, Ramathibodi School of Nursing, Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital, Mahidol University ***Co advisor, Ramathibodi School of Nursing, Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital, Mahidol University วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ี่ 8 ฉบบั ท่ี 2 เดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

220 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมูล TCI กลมุ่ ท่ี 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) ปจั จัยที่สมั พนั ธ์กับการรับรู้การทาหนา้ ทด่ี า้ นการรคู้ ิดในผู้ปว่ ยมะเรง็ ลาไส้ใหญ่และไสต้ รง ทไ่ี ด้รับยาเคมบี าบัด เครือวลั ย์ สารเถ่อื นแก้ว*, บวั หลวง สาแดงฤทธ์ิ **, อภญิ ญา ศิริพทิ ยาคณุ กิจ *** (วันรบั บทความ: 8 มถิ ุนายน 2564, วันแก้ไขบทความ: 16 ตลุ าคม 2564, วันตอบรับบทความ: 4 พฤศจิกายน 2564 บทคัดยอ่ การศึกษาครง้ั น้ีมีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธร์ ะหว่าง ขนาดยาเคมบี าบัด ความวิตกกงั วลและ อาการซึมเศร้ากบั การรบั รกู้ ารทาหนา้ ท่ดี ้านการร้คู ิด เลือกกลุ่มตวั อยา่ งแบบสะดวกตามคณุ สมบัตทิ ก่ี าหนดคือกลุ่ม ผปู้ ่วยโรคมะเรง็ ลาไสใ้ หญ่และไส้ตรงที่เขา้ รบั การรักษาดว้ ยยาเคมีบาบัดในจงั หวัดลาปาง จานวน 65 ราย เคร่อื งมือ ที่ใช้เก็บขอ้ มูล ได้แก่ แบบบนั ทึกขอ้ มูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความวิตกกงั วลและอาการซึมเศรา้ (Thai HADS) และแบบสอบถามการทาหนา้ ท่ีดา้ นการรู้คดิ ในผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รบั การรกั ษา (FACT-Cog Version 3) วิเคราะห์ ข้อมูลโดยสถิตบิ รรยาย สถติ ิสหสมั พนั ธแ์ บบเพียร์สันและสเปยี รแ์ มน ผลการศกึ ษา พบว่า กล่มุ ตัวอย่างมีค่าเฉลี่ยการรบั ร้คู วามบกพร่องของการทาหนา้ ท่ีด้านการรคู้ ดิ ในระดบั เล็กน้อย (Mean= 98.85 , S.D. = 10.34) การวเิ คราะหค์ วามสัมพนั ธ์ พบวา่ ความวติ กกังวล อาการซึมเศร้า และ ขนาดยาเคมีบาบัด มคี วามสัมพนั ธท์ างลบกบั การรับรู้การทาหน้าที่ด้านการรคู้ ิด อยา่ งมีนัยสาคญั ทางสถิติ (r =-.47, p <.01, r = -.49, p< .01 และ r = -.42, p< .05 ตามลาดบั ) ผลการศึกษาคร้ังนี้ เปน็ ข้อมลู พ้นื ฐานทช่ี ว่ ยใหพ้ ยาบาลและทมี สุขภาพไดต้ ระหนกั เห็นความสาคัญของการ ประเมินการทาหน้าที่ดา้ นการร้คู ิดในกลมุ่ ผู้ป่วยมะเรง็ ลาไสใ้ หญ่และไส้ตรง รวมทั้งการวางแผนการพยาบาลเพอื่ ลด ปัจจยั ท่ีเก่ียวขอ้ งกับการเกดิ ความบกพรอ่ งการทาหนา้ ท่ีด้านการรู้คิดในผู้ป่วยมะเร็งลาไส้ใหญ่และไส้ตรงที่ได้รับยา เคมบี าบดั ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ คาสาคญั : มะเรง็ ลาไส้ใหญ่และไส้ตรง; ยาเคมบี าบัด; การทาหน้าที่ดา้ นการร้คู ดิ * นกั ศกึ ษาปริญญาโท สาขาวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่ โรงเรยี นพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวิทยาลยั มหดิ ล ** อาจารย์ทปี่ รึกษาหลกั สาขาวชิ าการพยาบาลผูใ้ หญ่ โรงเรียนพยาบาลรามาธบิ ดี คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวทิ ยาลัยมหิดล ***อาจารยท์ ีป่ รึกษารอง สาขาวิชาการพยาบาลผใู้ หญ่ โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลยั มหิดล วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื ปีที่ 8 ฉบับท่ี 2 เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July-December 2021, Vol.8 No.2

221 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มลู TCI กล่มุ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) บทนา โรคมะเร็งลาไส้ใหญ่และไส้ตรงเป็นปญั หาของระบบสาธารณสุขท่ีมแี นวโน้มเพ่ิมข้ึนอย่างรวดเรว็ ประเทศ ไทยพบสถติ กิ ารป่วยเปน็ อันดบั 1 ในเพศชาย และอนั ดับ 2 ในเพศหญงิ (National Cancer Institute, 2019) การ ใชย้ าเคมบี าบัดเป็นแนวทางหน่ึงในการรักษาโรคมะเร็งลาไส้ใหญแ่ ละไส้ตรงและพบการใชใ้ นผปู้ ่วยรายใหมม่ ีอัตรา สูงขึ้นถึงร้อยละ 35.58 (National Cancer Institute, 2015) ท้ังนี้ผลการรักษาด้วยยาเคมีบาบัดแม้จะเพิ่ม ประสทิ ธภิ าพในการรักษาในขณะเดยี วกนั ยงั ส่งผลใหเ้ กดิ การเปลีย่ นแปลงท้ังทางด้านรา่ งกายและจติ ใจซ่งึ สามารถ พบการเกดิ ความวิตกกังวลและอาการซึมเศร้า (Koteprom et al., 2013) และดา้ นร่างกายที่ตอ้ งเผชิญกับอาการ ไมพ่ ึงประสงคแ์ ละผลขา้ งเคยี งในระบบตา่ งๆ นอกจากนยี้ ังพบมผี ลตอ่ การทางานของสมองทส่ี ามารถทาใหเ้ กิดการ เปลี่ยนแปลงการทาหนา้ ทีด่ า้ นการรูค้ ิดไดเ้ ชน่ กนั จากการทบทวนงานวิจัย พบว่า ยาเคมีบาบัดเก่ียวข้องกับการเกิดภาวะพร่องการทางานด้า นร้คู ดิ (cognitive impairment) ที่เรียกว่า Chemo-brain หรือ Chemo fog ซ่ึงเป็นอาการผิดปกติอันเนื่องมาจาก กระบวนการทาหน้าท่ีของสมองด้านการรู้คิดทลี่ ดลง ทาให้เกิดอาการหลงลมื สับสน ความรู้สึกนึกคิดชา้ จา เรอื่ งราวบางอยา่ งไม่ได้ช่วั ขณะ มีปัญหาการใช้ภาษาและการส่ือความหมาย รวมทงั้ ไมม่ ีสมาธจิ ดจอ่ กับส่ิงที่ทา (Mitchell, & Turton, 2011; Myers, 2013) อาการเหลา่ น้สี ามารถเกิดข้นึ ไดต้ ลอดช่วงการรกั ษาดว้ ยยาเคมีบาบัด และคงอยหู่ ลงั จากสิน้ สุดการรกั ษา ทง้ั นี้ลกั ษณะอาการและระยะเวลาการเกิดยังไมส่ ามารถอธิบายได้ชดั เจน ไม่ เหมอื นอาการทางด้านรา่ งกายอ่นื ๆอนั เป็นผลจากการได้รบั ยาเคมีบาบัด อาการอาจมเี พยี งเล็กนอ้ ยจนสังเกตเห็น ไดย้ ากหรอื เกดิ ซา้ ๆหลายคร้ังจนเห็นความผิดปกติ (Falleti, Sanfilipo, Maruff, Weih, & Phillips, 2005) จาก แบบแผนการเกิดอาการเปน็ เรื่องยากท่อี ธิบายให้ผอู้ ืน่ เขา้ ใจ ทาให้ไม่สามารถแก้ไขปัญหาที่เกดิ ข้ึนได้ ผลท่ีตามมา จากการรูค้ ิดท่ลี ดลงอยา่ งตอ่ เน่ืองทาใหม้ ีสมาธจิ ดจ่อกับการกระทาสิ่งใดสิ่งหนงึ่ ลดลง ไมม่ ีสมาธใิ นการทางาน หรอื อาจมปี ญั หาความจาระยะสั้นได้ (Boykoff, Moieni, Karen, & Subramanian,2009; Myers, 2013) นอกจากน้ี ปญั หาตา่ งๆทเ่ี กิดขึ้นยังมีผลกระทบต่อจติ ใจทาใหเ้ กิดความแปรปรวนด้านอารมณ์และด้านความรูส้ ึกนึกคิดรวมถึง ดา้ นพฤติกรรมและบคุ ลกิ ภาพตามมาได้ (Von Ah, Haberman & Carpenter, 2013) เห็นไดว้ ่าผปู้ ่วยโรคมะเร็งท่ี ได้รบั การรักษาด้วยยาเคมีบัดมีโอกาสเกดิ ภาวะพร่องการทางานดา้ นการรคู้ ดิ ท้งั ยังมีผลรบกวนการดาเนินชีวิตและ การรกั ษาโรคมะเร็งรวมทัง้ ทาให้คุณภาพชีวิตของผูป้ ว่ ยลดลงได้ (Diane et al., 2009; Mehnert et al., 2007) การศกึ ษาท่ีผ่านมามหี ลักฐานชว้ี ่ายาเคมีบาบัดสามารถซึมผา่ นตวั กนั้ กลางระหวา่ งเลือดและสมอง (blood brain barrier) ทาใหส้ มองและเซลล์ประสาทเกิดการบาดเจ็บโดยผ่านหลายกลไกที่ซับซ้อนได้ รวมทงั้ เกิดควา ม ผดิ ปกตขิ องการหลั่งฮอร์โมนและสารเคมีในสมองส่งผลให้โครงสร้างและการทาหนา้ ท่ขี องสมองเปลย่ี นแปลงไป โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงของสมรรถนะการทาหนา้ ที่ด้านการรู้คิด (Fardell, Vardy, Johnston, & Winocur, 2011; Han, et al., 2008) โดยพบอบุ ตั กิ ารณ์ในผู้ป่วยมะเรง็ ท่ไี ดร้ บั ยาเคมบี าบัดร้อยละ 17-75 (Wefel, Lenzi, Theriault, Davis, & Meyers, 2004) และปัจจบุ นั ทีม่ ีแนวทางการรักษาผูป้ ว่ ยดว้ ยยาเคมบี าบัดเฉพาะเจาะจงกับ วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื ปีท่ี 8 ฉบับที่ 2 เดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July-December 2021, Vol.8 No.2

222 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มลู TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) ตาแหนง่ ท่เี กิดมะเร็งมากข้นึ ยังพบการพรอ่ งการทาหนา้ ที่ของสมองดา้ นการรู้คดิ ถงึ รอ้ ยละ 32 (Dhillon et al., 2018) ทงั้ นี้สูตรยาเคมบี าบัดทีใ่ ช้รกั ษาผู้ป่วยมะเรง็ ลาไส้ใหญแ่ ละไส้ตรงส่วนใหญ่ประกอบดว้ ยยา 5-fluorouracil (5-FU) ท่ีพบวา่ สามารถซมึ ผ่านตัวก้นั กลางระหว่างเลอื ดและสมองมผี ลต่อเซลล์ประสาทและเยื่อหุ้มเซลลป์ ร ะสาท ทาให้การทาหนา้ ที่ด้านการรคู้ ิดเปลี่ยนแปลงได้ ( Han et al., 2008; Wigmore et al., 2010) การศึกษาของ Vardy และคณะ (2015) พบว่าร้อยละ 43 ของผู้ป่วยมะเร็งลาไส้ใหญ่และไส้ตรงท่ีได้รับยาเคมีบาบัดสตู รท่มี ี สว่ นประกอบของยา 5-FU มีการทาหน้าท่ีดา้ นการรคู้ ดิ ลดลง และเมื่อติดตามประเมินการทาหน้าทด่ี า้ นการรู้คิด หลงั การรกั ษา 6 เดือน ยังพบผ้ปู ่วยร้อยละ 25 คงมีการทาหนา้ ท่ีดา้ นการรคู้ ดิ ลดลง เม่ือเปรียบเทยี บกบั กล่มุ ผู้ป่วย ทไ่ี ม่ได้รบั ยาเคมบี าบัดพบความแตกต่าง อยา่ งมีนัยสาคัญทางสถิติ (p < .007) แสดงใหเ้ ห็นวา่ ผ้ปู ่วยมะเร็งลา ไส้ ใหญแ่ ละไสต้ รงที่ได้รับยาเคมีบาบดั สามารถเกิดการเปลย่ี นแปลงของการทาหนา้ ท่ีดา้ นการรู้คิดได้ จากการทบทวนวรรณกรรม การบรหิ ารยาเคมีบาบัดเป็นปจั จัยหนึ่งที่มีผลต่อการทาหนา้ ที่ด้านการรู้คิด จากการใชย้ าเพือ่ ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดท่ีพจิ ารณาปริมาณของยาเคมีบาบัดให้เหมาะสมกบั ผ้ปู ่วยแต่ละราย โดยเฉพาะในผู้ปว่ ยท่ีมีการดาเนินของโรคท่ีรุนแรงและมแี นวโน้มการพยากรณโ์ รคทีแ่ ย่ลงอาจจาเป็นต้องให้ยาเคมี บาบัดในปริมาณท่ีสูงกว่าปกติ ผปู้ ่วยกลุม่ ดงั กลา่ วจึงสามารถเกิดภาวะพรอ่ งการทาหน้าท่ีดา้ นการรู้คิดมา กกว่า ผู้ป่วยท่ีได้รับปริมา ณยา ขน า ดมา ตร ฐา น ( Bender & Thelen, 2013; Von, Haberman, Carpenter & Schneider, 2013) นอกจากน้ีปจั จัยดา้ นจติ ใจ (psychological factors) ได้แก่ ความวิตกกังวล (anxiety) และ อาการซมึ เศร้า (depression) ทาให้การทาหน้าท่ีด้านการรู้คิดลดลงได้ จากการศึกษาพบว่าภาวะดังกลา่ วเป็น ภาวะเครยี ดทางจติ ใจส่งผลใหป้ ระสทิ ธภิ าพของกระบวนการรคู้ ิดลดลง และยงั สง่ ผลใหร้ า่ งกายหลั่งสารเคมอี อกมา ขัดขวางการทางานของระบบประสาทท่ีควบคุมด้านความคิดและความจา นามาซึง่ การทาหน้าทด่ี า้ นการรคู้ ิดลดลง การศกึ ษาของภทั ริกา ปัญญา และคณะ (2559) พบวา่ ผู้ปว่ ยโรคมะเร็งลาไส้ใหญ่และไส้ตรงสามารถเกดิ ความวิตก กงั วลและอาการซมึ เศร้าได้ถงึ ร้อยละ 25 และการศึกษาของ Wigmore และคณะ (2010) พบว่า ผปู้ ว่ ยมะเร็งท่ี ไดร้ ับยาเคมีบาบัดมีความวติ กกังวลและอาการซึมเศร้ามากขึน้ โดยผู้ป่วยท่ีมีภาวะวิตกกงั วลและซึมเศร้าจ ะมี ความสัมพนั ธ์กับการรบั รูก้ ารทาหนา้ ท่ีดา้ นการรคู้ ดิ บกพร่องอยา่ งมีนัยสาคัญทางสถิติ อยา่ งไรก็ตามการทบทวนงานวจิ ัยด้านการทาหนา้ ทด่ี ้านการรู้คิดในผปู้ ่วยมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบาบัดพบว่า การศกึ ษาส่วนใหญท่ ี่ผา่ นมาเปน็ การศึกษาวิจัยต่างประเทศในกลุ่มผู้ป่วยมะเร็งเต้านม การศึกษาในกลุ่มผู้ป่วย มะเรง็ ลาไส้ใหญแ่ ละไส้ตรงมีเลก็ น้อย สาหรับประเทศไทยมขี ้อมูลช้ีวา่ เร่มิ ทาการศึกษาวิจยั ท่ีเกี่ยวข้องกับการทา หน้าท่ีด้านการรู้คิดในผู้ป่วยมะเรง็ ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2556 และปจั จุบันยังไมแ่ พร่หลายมากนกั สว่ นใหญ่เนน้ การศกึ ษา ในกลมุ่ ผปู้ ่วยมะเร็งเต้านมเท่าน้นั ยงั ไม่พบการศึกษาในกล่มุ ผู้ปว่ ยโรคมะเรง็ ลาไส้ใหญ่และไส้ตรงที่มขี ้อมลู บอกถึง จานวนผปู้ ่วยเพมิ่ ขึน้ อย่างต่อเนอ่ื งและมีหลักฐานแสดงให้เห็นชัดเจนว่ายาเคมีบาบัดทีใ่ ชร้ ักษาเป็นมาตรฐานของ โรคมะเร็งดังกล่าวมีผลต่อกระบวนการทาหน้าที่ของสมองด้านการรู้คิดด้วยเช่นกัน และจากการทบทวน วรรณกรรมพบว่ามีปจั จัยท่ีเกย่ี วข้องคือปจั จัยดา้ นการรักษา ไดแ้ ก่ ขนาดของยาเคมบี าบัด และปัจจยั อ่นื ๆที่อาจ เก่ยี วข้องกบั การทาหน้าท่ดี ้านการรคู้ ิด ได้แก่ ความวติ กกงั วลและอาการซมึ เศรา้ ดงั นนั้ ผู้วจิ ัยจงึ สนใจศึกษาการทา วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปที ่ี 8 ฉบบั ท่ี 2 เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July-December 2021, Vol.8 No.2

223 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคุณภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มูล TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) หน้าทีด่ า้ นการรู้คดิ ในผูป้ ่วยมะเร็งลาไสใ้ หญแ่ ละไสต้ รงท่ไี ดร้ บั ยา เคมีบาบัดและศึกษาปจั จัยที่สัมพนั ธ์กับกา รทา หนา้ ท่ีดา้ นการรูค้ ดิ เพอ่ื ใช้เปน็ แนวทางในการประเมินและวางแผนจัดการดูแลผู้ป่วยมะเร็งลาไส้ใหญ่และไส้ตร งท่ี ได้รบั ยาเคมบี าบัดรวมทั้งเพื่อปอ้ งกนั และลดปัญหาด้านการทาหน้าที่ด้านการรคู้ ดิ ไดอ้ ย่างเหมาะสม วตั ถุประสงค์ 1. เพอ่ื ศึกษาขนาดยาเคมีบาบดั ความวติ กกงั วลและอาการซึมเศร้า และการรับรู้การทาหน้าทด่ี า้ นการรู้ คิดในผู้ป่วยมะเร็งลาไส้ใหญแ่ ละไสต้ รงที่ได้รบั ยาเคมีบาบัด 2. เพอ่ื ศึกษาความสัมพนั ธ์ระหว่าง ขนาดยาเคมบี าบดั ความวติ กกงั วล อาการซึมเศรา้ กับการรบั รู้การทา หน้าท่ีด้านการรคู้ ิดของผู้ป่วยมะเร็งลาไสใ้ หญแ่ ละไส้ตรงท่ไี ดร้ บั ยาเคมบี าบัด ขอบเขตงานวิจัย การวิจยั ครง้ั นีเ้ ปน็ การศกึ ษาแบบสหสัมพนั ธ์เชิงพรรณนา (correlational descriptive research design ) เพื่อศกึ ษาปจั จยั ทส่ี มั พันธ์กบั การรบั รกู้ ารทาหน้าท่ีดา้ นการรคู้ ิด ได้แก่ ขนาดยาเคมบี าบัด ความวติ กกงั วล และ อาการซมึ เศร้า ในผปู้ ว่ ยมะเร็งลาไส้ใหญแ่ ละไสต้ รงทไ่ี ดร้ ับยาเคมบี าบัด ประชากรในการศกึ ษาคร้ังน้ีคอื ผู้ป่วย โรคมะเร็งลาไสใ้ หญ่และไส้ตรงท่ีไดร้ ับการรักษาด้วยยาเคมีบาบดั ณ หอผปู้ ว่ ยเคมบี าบดั โรงพยาบาลลาปาง และ แผนกเคมบี าบัด โรงพยาบาลมะเร็งลาปาง ระยะเวลาศึกษา ต้ังแต่เดือน มกราคม ถงึ เดือนสงิ หาคม พ.ศ. 2561 วธิ ดี าเนินการวจิ ยั ประชากรและกลุม่ ตวั อย่าง ผู้ป่วยโรคมะเรง็ ลาไสใ้ หญ่และไส้ตรงท่ีเข้ารับการรักษาด้วยยาเคมบี าบัด หอผู้ปว่ ยเคมีบาบัด โรงพยาบาล ลาปาง และแผนกเคมีบาบดั โรงพยาบาลมะเรง็ ลาปาง โดยเลอื กกลุ่มตวั อย่างแบบเฉพาะเจาะจงและมคี ุณสมบัติ ตามที่กาหนดไดแ้ ก่ 1) อายุระหวา่ ง 18 - 60 ปี 2) ได้รับการวนิ จิ ฉัยเปน็ ผปู้ ว่ ยโรคมะเร็งลาไส้ใหญ่และไสต้ ร งและ ได้รบั การรกั ษาดว้ ยยาเคมีบาบดั ไดแ้ ก่ สตู ร 5-FU/LV สตู ร FOLFOX หรือ สูตร FOLFIRI อย่างน้อย 1 cycle ขนาดของกลุ่มตัวอยา่ งคานวณโดยใช้การวเิ คราะห์อานาจการทดสอบใช้สถติ ิวิเคราะห์สหสัมพนั ธ์ด้วย โปรแกรมสาเร็จรปู G*power โดยกาหนดระดบั ความเช่อื มน่ั (confidence level) ที่ 95% (α = .05) คา่ อานาจ การทดสอบ (Power of the test) เท่ากบั .80 สาหรับคา่ ขนาดอิทธิพลอ้างอิงจากคา่ เฉล่ยี ของคา่ ความสัมพันธ์ จากงานวจิ ัยทีผ่ า่ นมาทศ่ี กึ ษาในรูปแบบเดียวกนั (Hermalink et al., 2007, Vearncomb et al., 2009, Visovatti et al., 2015) เท่ากบั 0.35 ผวู้ ิจยั คานวณขนาดของกลุม่ ตัวอย่างได้เท่ากับ 65 คน เครอื่ งมอื ทใี่ ช้ในการวิจัย 1. แบบบันทึกข้อมลู ส่วนบคุ คลทผี่ วู้ จิ ัยพัฒนาขึน้ เอง ประกอบดว้ ย ขอ้ มลู ส่วนบคุ คลและข้อมูลดา้ นการ รกั ษา ภาวะสุขภาพ และประวัตกิ ารเจบ็ ปว่ ย วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีที่ 8 ฉบบั ที่ 2 เดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July-December 2021, Vol.8 No.2

224 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มูล TCI กลมุ่ ที่ 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) 2. แบบสอบถามความวิตกกังวลและอาการซึมเศร้า Hospital Anxiety and Depression Scale ฉบับ ภาษาไทย (Thai HADS) โดยธนา นลิ ชยั โกวิทย์ และคณะ (Nilchaikovit, T.,Lortrakul,M.,& Phisansuthideth,U.,1996) มคี ะแนนข้อละ 0 – 3 คะแนน ประกอบดว้ ยคาถามท้งั หมด 14 ขอ้ โดยข้อคาถามเลขคีส่ าหรับประเมินควา มวิตก กงั วล และข้อคาถามเลขคู่สาหรับประเมินอาการซึมเศรา้ มีพิสยั ของคะแนนในแต่ละส่วนต้ังแต่ 0 – 21 คะแนน คะแนน 0 – 7 คะแนนเป็นกลุม่ ที่ปกติ ไม่มอี าการวิตกกงั วลหรอื อาการซึมเศรา้ คะแนน 8 – 10 คะแนนเปน็ กลุ่มที่ มแี นวโนม้ ของอาการวิตกกังวลหรอื อาการซึมเศร้า และมากกว่า 11 คะแนน เป็นกลมุ่ ที่มคี วามวิตกกังวลหรือ อาการซึมเศร้าในระดบั สงู อาจเป็นโรคทางจติ เวช นาไปทดสอบหาความเช่ือมั่นกับกับกลุ่มตวั อยา่ งซ่งึ มคี ุณสมบัติ ความคล้ายคลึงกับกลุ่มตัวอยา่ ง จานวน 20 ราย และคานวณหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่า (α-Coefficient) ของ Cronbach ได้ค่าเทา่ กบั .84 และ .92 ตามลาดับ เม่อื นามาใชศ้ กึ ษาในกลมุ่ ตวั อยา่ งจานวน 65 คน การตรวจสอบ คณุ ภาพของเครื่องมือโดยการหาคา่ ความเช่ือม่ันของแบบสอบถาม (Reliability) ไดค้ า่ สัมประสิทธ์ิอัลฟาครอนบาค (conbach’s alpha coefficient) เท่ากับ .80 และ .96 ตามลาดับ 3. แบบสอบถามการทาหน้า ท่ีด้าน การรู้ คิดในผู้ป่วยมะเร็งท่ีได้รับการรักษา (Functional Assessments Cancer Therapy-Cognitive function Version 3: FACT-Cog) สร้างและพัฒนาโดย Facit.org (2008) แปลและดัดแปลงเป็นฉบับภาษาไทย โดย จรนิ ทร โคตพรม (Koteprom, J., Pongthavornkamol, K., Chareonkitkarn, V., & Soparattanapaisarn, N., 2013) เป็นแบบสอบถามเพ่ือประเมนิ การรบั รู้การทาหน้าท่ี ดา้ นการรคู้ ิดของผูป้ ่วยมะเร็งที่ไดร้ บั การบาบัด จานวน 37 ข้อ ประกอบดว้ ยการประเมนิ การรบั รู้การทาหนา้ ที่ด้าน การร้คู ดิ ใน 4 ด้าน ได้แก่ ดา้ นการรบั รูค้ วามพร่องด้านการรู้คดิ ด้านการรับรคู้ วามสามารถด้านการรู้คดิ ด้านการ รบั รู้ความคิดเห็นของผู้อนื่ ตอ่ การทาหน้าทดี่ ้านการรู้คิดของตนเอง และด้านผลกระทบต่อคุณภาพ ชวี ิต ลักษณะ คาตอบเป็นระดับคะแนน (Likert scale) มี 5 ระดับ ตั้งแต่ไม่เคยมีอาการเลย ถึง มีอาการวันละหลายครั้ง มี คะแนนแตล่ ะขอ้ 0 – 4 คะแนน มคี า่ คะแนนอยรู่ ะหว่าง 0 – 132 คะแนน คะแนนรวมสูง หมายถึง ผู้ป่วยมีการ การทาหนา้ ท่ดี ้านการรู้คิดอยู่ในระดับปกติ คะแนนต่า หมายถึง ผู้ป่วยมีการทาหนา้ ที่ดา้ นการรู้คิดลดลง นาไป ทดสอบหาความเชื่อมัน่ กบั กับกลุ่มตวั อย่างซ่ึงมีคุณสมบัติความคล้ายคลึงกบั กลุ่มตัวอย่าง จานวน 20 ราย และ คานวณหาคา่ สัมประสิทธ์ิอลั ฟ่า (α-Coefficient) ของ Cronbach ได้ค่าเท่ากบั .86 เมอื่ นามาใช้ศกึ ษาใน กลุ่ม ตัวอย่างจานวน 65 คน การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือโดยการหาค่าความเช่ือม่ันของแบบสอบถาม (Reliability) ไดค้ ่าสมั ประสิทธ์อิ ัลฟาครอนบาค (Conbach’s alpha coefficient) เทา่ กบั .89 การพทิ กั ษส์ ทิ ธิ์ของกลมุ่ ตัวอย่างและจรยิ ธรรมวิจัย ในการวจิ ยั ครง้ั นีผ้ ้วู จิ ัยไดม้ ีการพิทกั ษส์ ทิ ธกิ์ ลมุ่ ตัวอยา่ ง โดยขออนญุ าตการทาวิจยั คณะกรรมการจรยิ ธรรม วจิ ยั ในคน จากโรงพยาบาลลาปาง และโรงพยาบาลมะเร็งลาปาง และผ่านการรบั รองจากคณะกรรมการจริยธรรม การวจิ ยั ในคน คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวิทยาลยั มหดิ ล (รหสั โครงการ เลขที่ 2560/538) วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปที ี่ 8 ฉบบั ที่ 2 เดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July-December 2021, Vol.8 No.2

225 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มลู TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 1. ภายหลังไดร้ บั อนุญาตเก็บข้อมูล ผูว้ จิ ัยเข้าพบหัวหน้าฝ่ายการพยาบาล หวั หน้าหอผูป้ ่วยเคมีบา บัด โรงพยาบาลลาปาง โรงพยาบาลมะเรง็ ลาปาง เพื่อแนะนาตวั ชแ้ี จงวัตถปุ ระสงค์ ชแ้ี จงรายละเอียดขัน้ ตอนของการ ทาวิจัยในคร้ังนี้ 2. เก็บรวบรวมข้อมลู ดว้ ยตนเองในวนั และเวลาราชการ โดยเลือกกลุ่มตัวอยา่ งแบบเฉพาะเจาะจ งตา ม คุณสมบตั ิที่กาหนดไว้ ซ่งึ สอบถามจากเจ้าหน้าท่ีพยาบาลร่วมกับสืบค้นขอ้ มูลจากเวชระเบยี นของผู้ปว่ ย 3. ผวู้ จิ ัยพบกลุ่มตวั อยา่ ง ช้ีแจงวัตถปุ ระสงค์ ประโยชนข์ องการทาวจิ ยั พรอ้ มทั้งช้ีแจงการพทิ กั ษ์สิทธิ์ของ กลมุ่ ตวั อยา่ ง เมื่อกลุ่มตวั อยา่ งยนิ ยอมเขา้ ร่วมการวจิ ยั จึงใหล้ งนามในใบยินยอมเข้ามามสี ่วนรว่ มเปน็ ผู้เข้าร่วมวจิ ยั 4. ผวู้ จิ ยั แจกแบบสอบถามให้แก่ผู้เขา้ ร่วมวจิ ยั อธิบายรายละเอียดและขนั้ ตอนของการบนั ทึกข้อมูล กรณี ท่ผี ูเ้ ขา้ รว่ มวิจัยมีความประสงคใ์ ห้ผูว้ จิ ยั อ่านแบบสอบถามแทน ผู้วจิ ยั สามารถอา่ นแบบสอบถามใหผ้ ู้ป่วยฟงั และให้ ผู้เขา้ รว่ มวิจยั เลือกตอบคาถามตามท่ีต้องการ โดยปราศจากการช้นี าใหผ้ ู้เขา้ ร่วมวิจัยตอบ แลว้ บันทกึ คาตอบใน แบบสอบถามตามความเปน็ จรงิ 5. หลังจากผเู้ ขา้ รว่ มวิจัยตอบแบบสอบถามเรียบร้อย ผ้วู ิจัยทวนความถูกต้องสมบูรณ์ของขอ้ มูล กลา่ ว ขอบคุณและแจ้งการสิน้ สดุ การเก็บข้อมลู ของผู้เข้าร่วมวิจัย และรวบรวมขอ้ มลู ที่ได้จากผู้เขา้ ร่วมวิจัยท้งั หมด เพ่ือ นาไปวเิ คราะห์ทางสถิติต่อไป การวเิ คราะหข์ ้อมลู วิเคราะห์ขอ้ มูลส่วนบคุ คล ขอ้ มูลการรักษาและประวตั ิการเจ็บป่วยของกลุ่มตัวอย่าง ความวติ กกงั วลและ อาการซมึ เศรา้ และการรับรู้การทาหน้าท่ีดา้ นการรคู้ ิด โดยใช้สถติ บิ รรยาย (descriptive statistics) วิเคราะหห์ า ความสัมพันธ์ระหว่าง ความวิตกกังวลและอาการซึมเศร้า กับการรับรู้การทาหน้าท่ีด้านการรู้คิด โดยใช้สถติ ิ สหสมั พันธ์แบบเพยี รส์ ัน (pearson’s product moment correlation) ยกเวน้ ขนาดยาเคมีบาบัด พบว่าการ กระจายของข้อมูลไม่เป็นโค้งปกติ จึงใช้การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยใช้สถิติวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบสเปียรแ์ มน (spearman’s rank correlation coefficient) ผลการวิจยั 1. ข้อมูลส่วนบคุ คลลักษณะทัว่ ไปของกลุ่มตวั อย่าง ผู้ป่วยมะเรง็ ลาไส้ใหญไ่ สต้ รงจานวน 65 คน มอี ายุระหว่าง 32 – 60 ปี อายเุ ฉลี่ย 52 .80 ปี (SD = 5.57) ส่วนใหญ่อายุมากกว่า 51 ปีข้ึนไป คิดเป็นร้อยละ 63.08 กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดร้อยละ 70.77 เป็นเพศชาย มี สถานภาพสมรสคู่มากท่สี ุด ระดับการศึกษาสว่ นใหญ่ถงึ ระดับมัธยมศกึ ษา คดิ เปน็ ร้อยละ 65.16 กลมุ่ ตัวอย่าง ประกอบอาชีพเกษตรกรรมมากทสี่ ุด คดิ เปน็ ร้อยละ 32.31 รองลงมาคอื ประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไป คิดเปน็ ร้อย ละ 21.54 ความเพียงพอของรายไดจ้ ากการประกอบอาชีพสว่ นใหญ่มีพอใช้แต่ไม่เหลือเกบ็ คิดเป็นร้อยละ 38.46 สาหรบั ข้อมลู ดา้ นการเจ็บป่วย การรกั ษา และภาวะสุขภาพของกลมุ่ ตวั อย่าง สว่ นใหญร่ ้อยละ 63.08 ใช้สิทธิการ วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื ปที ่ี 8 ฉบับท่ี 2 เดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July-December 2021, Vol.8 No.2

226 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอยูใ่ นฐานขอ้ มูล TCI กลุ่มที่ 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) รักษาพยาบาลบัตรประกนั สขุ ภาพถว้ นหน้ามากทส่ี ดุ เป็นผู้ป่วยโรคมะเรง็ ลาไส้ใหญ่และไสต้ รงตัง้ แต่ Stege II (ทมี่ ี ความเสยี่ งสงู ) ข้นึ ไป รอ้ ยละ 52.31 อยู่ใน Stage ท่ี III ของการดาเนนิ โรค สตู รยาเคมีบาบดั ทไ่ี ดร้ ับมากที่สุดคือ สตู ร 5-FU/LV คดิ เปน็ รอ้ ยละ 38.46 และเข้ามารับการรักษาเพ่ือให้ยาเคมบี าบดั cycle ท่ี 2 มากท่สี ุด คิดเป็นร้อย ละ 32.31 ทั้งน้ีมากกว่าร้อยละ 80 อยู่ระหว่าการใหย้ า cycle ที่ 2 – 5 กลมุ่ ตวั อยา่ งสว่ นใหญ่ได้รับขนาดของยา ขนาดสูง และระหว่างใหย้ าเคมบี าบัดทกุ รายไดร้ บั ยานาก่อนให้เคมีบาบัด และภาวะสุขภาพของกลุ่มตัวอย่างร้อย ละ 76.92 ไมม่ โี รคประจาตวั ระหว่างการได้รับยาเคมีบาบัดในครั้งนรี้ ้อยละ 83.08 ไมเ่ กดิ ภาวะแทรกซ้อนจากการ ได้รับยาเคมีบาบัด ประวัตกิ ารเกดิ ผลขา้ งเคียงจากการไดร้ ับยาเคมบี าบัดก่อนหนา้ ได้แก่ เคยมปี ระวตั เิ กิดภาวะ neutropenia คิดเปน็ รอ้ ยละ 10.77 เคยมีประวัติการติดเชื้อ คิดเป็นรอ้ ยละ 6.15 เคยมีประวัตเิ กลด็ เลือดตา่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 1.54 เคยมีประวัติโลหิตจาง คิดเปน็ ร้อยละ 16.92 และประวัตกิ ารเกิดอาการขา้ งเคียงอื่นๆ คดิ เป็น ร้อยละ 24.62 2. ลกั ษณะของตวั แปรท่ีศึกษา กลมุ่ ตวั อย่างร้อยละ 4.62 และ 1.54 เรมิ่ มีความผิดปกติของความวิตก กงั วลและอาการซมึ เศร้า และมภี าวะพรอ่ งการรบั รูก้ ารทาหนา้ ทีด่ า้ นการรู้คิดระดับเลก็ น้อย ร้อยละ 49.23 สาหรบั รายด้าน 1) การรบั รู้เก่ยี วกับความพรอ่ งดา้ นการรู้คิดมีการรับรู้ระดับเล็กน้อย คดิ เป็นรอ้ ยละ 56.92 2) การรับรู้ ความคิดเหน็ จากผู้อนื่ ต่อการรู้คิดของตนเอง พบวา่ ผู้อ่นื มีความคิดเห็นวา่ กลุ่มตวั อย่างมีความพร่องของกา รทา หน้าที่ด้านการรู้คิดระดับเล็กน้อยและปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 27.69 และ 4.62 ตามลาดับ 3) การรับรู้ ความสามารถด้านการรู้คิด รับรู้ว่ามีความพร่องระดับเล็กน้อย ร้อยละ 43.08 และ 4) การรับรู้ผลกระทบตอ่ คุณภาพชีวติ รอ้ ยละ 46.15 และ 15.38 รับรู้ว่าการทาหนา้ ที่ด้านการรู้คิดของตนเองส่งผลกระทบตอ่ คณุ ภาพชีวิต ในระดับเลก็ นอ้ ยและปานกลาง ดังแสดงในตารางที่ 1 ตารางท่ี 1 แสดงจานวน ร้อยละ ของขนาดของยาเคมบี าบัด ระดับความวติ กกังวล อาการซมึ เศร้า และการรบั รู้ การทาหนา้ ที่ดา้ นการร้คู ิดของผู้ปว่ ยมะเรง็ ลาไสใ้ หญ่และไสต้ รงท่ีไดร้ บั ยาเคมบี าบดั (n = 65) ระดบั ของตัวแปร จานวน รอ้ ยละ ขนาดของยาเคมบี าบดั ขนาดมาตรฐาน 25 38.46 ขนาดสูง (>1,000 mg/m2) 40 61.54 ความวติ กกังวล ไม่มคี วามวิตกกังวล 62 95.38 เรม่ิ มีความวติ กกังวล 3 4.62 อาการซึมเศร้า ไม่มีอาการซมึ เศร้า 64 98.46 เร่มิ มอี าการซมึ เศร้า 1 1.54 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื ปที ่ี 8 ฉบับท่ี 2 เดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July-December 2021, Vol.8 No.2

227 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มูล TCI กลุ่มที่ 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) ตารางที่ 1 แสดงจานวน ร้อยละ ของขนาดของยาเคมบี าบดั ระดับความวิตกกังวล อาการซึมเศรา้ และการรบั รู้ การทาหน้าท่ีดา้ นการรู้คิดของผปู้ ว่ ยมะเร็งลาไสใ้ หญแ่ ละไสต้ รงที่ได้รบั ยาเคมบี าบดั (n = 65) (ตอ่ ) ระดับของตวั แปร จานวน ร้อยละ การรับรู้การทาหนา้ ทีด่ า้ นการรู้คิด 33 50.77 1. โดยรวม 32 49.23 ปกติ พร่องระดับเลก็ นอ้ ย 28 43.08 2. ดา้ นการรบั ร้เู กี่ยวกับความพร่องด้านการรคู้ ิด 37 56.92 ปกติ พรอ่ งระดบั เลก็ นอ้ ย 44 67.69 3. ดา้ นการรับรคู้ วามคิดเห็นจากผู้อ่นื ต่อการรูค้ ิดของตนเอง 18 27.69 ปกติ 3 4.62 พรอ่ งระดับเล็กนอ้ ย พรอ่ งระดับปานกลาง 37 56.92 4. ดา้ นการรับรคู้ วามสามารถดา้ นการรู้คดิ 28 43.08 ปกติ พร่องระดับเลก็ น้อย 25 38.46 5. ด้านการรับรู้ผลกระทบต่อคุณภาพชวี ิต 30 46.15 ปกติ 10 15.38 กระทบระดับเล็กน้อย กระทบระดับปานกลาง ความวติ กกงั วล อาการซึมเศร้า และการทาหน้าที่ด้านการรู้คิด เม่ือวเิ คราะห์ พบวา่ คะแนนเฉลยี่ ความ วติ กกังวล ภาวะซมึ เศร้า อยใู่ นระดับปกติ เทา่ กบั (Mean=4.28 ,S.D.= 1.57) และ(Mean= 3.42 ,SD = 1.95) ตามลาดบั สาหรับคา่ เฉล่ียการรับรกู้ ารทาหนา้ ทด่ี า้ นการรู้คดิ โดยรวม (Mean= 98.85 ,SD = 10.34) แปลผลได้ว่า การรับรู้การทาหน้าท่ีดา้ นการรูค้ ิดมีความพรอ่ งระดับเล็กน้อย ดังแสดงตารางท่ี 2 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปีท่ี 8 ฉบับที่ 2 เดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July-December 2021, Vol.8 No.2

228 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มลู TCI กลมุ่ ที่ 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) ตารางที่ 2 แสดงช่วงคะแนน ค่าเฉลีย่ และสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐานและการแปรผลของ ความวิตกกังวล และ อาการซมึ เศรา้ และการรับรกู้ ารทาหนา้ ท่ดี า้ นการรู้คิด ของผู้ป่วยมะเร็งลาไส้ใหญ่และไส้ตรงทไี่ ด้รับยา เคมบี าบัด (n = 65) ชว่ งคะแนน ตวั แปร ค่าทเ่ี ป็นไป คา่ ทเี่ ปน็ Mean (S.D.) การแปลผล ได้ จริง ความวติ กกังวล 0 – 21 1 - 9 4.28 (1.57) ระดบั ปกติ อาการซึมเศรา้ 0 - 21 0 - 9 3.42 (1.95) ระดบั ปกติ การรับรกู้ ารทาหน้าท่ดี า้ นการรู้คิด 1. โดยรวม 0 – 132 71 - 118 98.85 (10.34) ความพร่องเลก็ น้อย 2. ดา้ นการรบั รู้เก่ียวกับควา ม 0 – 72 40 - 60 52.23 (4.40) ความพร่องเล็กน้อย พร่องดา้ นการรคู้ ิด 3. ด้านการรับรู้ความคิดเห็น 0 – 16 8 - 16 13.26(2.03) ปกติ จากผอู้ นื่ ต่อการร้คู ดิ ของตนเอง 4. ด้านการรับรูค้ วามสามารถ 0 – 28 14 - 28 21.38(3.07) ปกติ ดา้ นการร้คู ดิ 5. ด้านการรับรูผ้ ลกระทบต่อ 0 - 16 6 - 16 11.97(2.77) กระทบเลก็ นอ้ ย คณุ ภาพชวี ติ 3. ความสัมพันธร์ ะหว่างตัวแปรทศี่ ึกษา ผลการวิเคราะหค์ วามสัมพันธ์ด้วยสถิติสหสัมพันธแ์ บบเพียร์สัน พบว่า ความวิตกกังวล อาการซึมเศรา้ มคี วามสมั พนั ธ์ทางลบกับการรบั ร้กู ารทาหนา้ ทด่ี า้ นการรู้คิดอย่างมนี ัยสาคัญ ทางสถติ ิ (r=-.47, p<.01) และ (r =-.49, p<.01) ตามลาดับ และการวเิ คราะห์ความสัมพันธ์ของขนาดยา เคมี บาบดั ดว้ ยสถิตสิ หสมั พันธแ์ บบสเปียร์แมน พบวา่ ขนาดยาเคมบี าบัดมคี วามสัมพันธท์ างลบกับการรับรู้กา รทา หนา้ ที่ดา้ นการรคู้ ดิ อย่างมีนัยสาคญั ทางสถติ ิ (r =-.42, p<0.5) ดังตารางแสดงที่ 3 ตารางท่ี 3 แสดงความสมั พันธ์ระหวา่ งตัวแปรที่ศึกษาไดแ้ ก่ ขนาดยาเคมบี าบัด ความวติ กกงั วล อาการซมึ เศร้า และการรบั รกู้ ารทาหนา้ ทด่ี า้ นการรคู้ ิดในผู้ปว่ ยมะเรง็ ลาไส้ใหญ่และไสต้ รงท่ีไดร้ ับยาเคมีบาบัด (n = 65) ตวั แปร 1 2 3 4 1. ขนาดยาเคมบี าบดั 1.00 2. ความวิตกกังวล .02 1.00 3. อาการซึมเศรา้ .10 .39** 1.00 4. การรับรกู้ ารทาหน้าทดี่ ้านการรคู้ ดิ -.42* -.47** -.49** 1.00 *Correlation is significant at the 0.05 level (2-tailed) **Correlation is significant at the 0.01 level (2-tailed). วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปีที่ 8 ฉบบั ที่ 2 เดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July-December 2021, Vol.8 No.2

229 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอย่ใู นฐานขอ้ มลู TCI กลมุ่ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) อภิปรายผล การรับร้กู ารทาหน้าทดี่ ้านการร้คู ิดในผู้ปว่ ยมะเร็งลาไสใ้ หญ่และไส้ตรงท่ีไดร้ ับยาเคมีบาบัด ผลการศึกษา พบวา่ กลมุ่ ตัวอยา่ งมีคะแนนเฉล่ียการรับรู้การทาหนา้ ที่ดา้ นการรู้คดิ บกพร่องในระดับเล็กน้อย อาจเนื่องมาจาก กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่อยูใ่ นชว่ งการรักษาด้วยยาเคมีบาบัดรอบท่ี 2 – 3 สอดคล้องกับการศึกษา Ahles และ Saykin (2007) พบว่าผู้ป่วยมะเร็งที่ไดร้ บั ยาเคมบี าบดั มีอาการแตกต่างกันตามมติ ขิ องการรคู้ ิดซ่ึงจะแสดงอาการ ต้งั แต่เลก็ นอ้ ยจนถึงรุนแรงและเกดิ ขนึ้ ได้หลงั จากรับยาเคมบี าบัดรอบท่ี 2 เปน็ ต้นไป การไดร้ บั ยาเคมีบาบัดส่งผล ให้เกดิ การเปล่ยี นแปลงของโครงสร้างและการทาหน้าที่ของสมองส่วนกลางโดยผ่านหลายกลไกที่ซับซ้อน การ ประเมนิ การรับรู้ด้านการรู้คิดในผู้ที่ได้รบั ยาเคมจี ึงพบความผิดปกติได้ เป็นไปในทิศทางเดียวกบั การศึกษาของ Dhillon และคณะ (2018) ในผปู้ ว่ ยมะเร็งลาไสใ้ หญ่และไสต้ รงโดยใชแ้ บบประเมนิ FACT-Cog เชน่ เดียวกนั พบว่า การรับรู้การทาหน้าที่ด้านการรู้คิดมีความสัมพันธ์กับการได้รับยาเคมีบาบัด รวมทั้งการประเมิน การรับรู้ ความสามารถด้านการรูค้ ิดหลังการรับยาเคมีบาบดั มีความสัมพันธ์กับการทดสอบทางประสาทวิทยาอย่างมี นัยสาคญั ทสี่ ถติ ิ (r = 0.28 – 0.34; p < .05) ผลการศึกษาดงั กล่าวตา่ งสนับสนนุ วา่ การรบั ร้กู ารทาหน้าทดี่ า้ นการรู้ คดิ บกพร่องของกลุม่ ตัวอย่างในการศกึ ษาคร้ังนี้มีความเกย่ี วข้องกับการได้รบั ยาเคมบี าบดั เม่ือพจิ ารณาค่าเฉลยี่ รายด้านของการรับรกู้ ารทาหนา้ ท่ีดา้ นการรคู้ ิดพบว่า กลมุ่ ตัวอยา่ งรับรคู้ วามพร่องที่ เกิดขึ้นระดับเล็กน้อย รบั รู้ผลกระทบตอ่ คณุ ภาพชีวติ ระดับเล็กน้อย สาหรับการรับรคู้ วามคดิ เหน็ จากผอู้ น่ื ต่อการรู้ คิดของตนเองและรบั รู้ความสามารถด้านการรูค้ ิด อยู่ในระดับปกติ จากผลการศกึ ษาแสดงใหเ้ ห็นว่ากลมุ่ ตัวอย่าง รับร้กู ารทาหน้าที่ของสมองดา้ นการรู้คดิ ของตนเองไมเ่ หมือนเดิมและรบั รู้ว่าส่ิงผิดปกติที่เกดิ ข้ึนส่งผลกระทบต่อ คณุ ภาพชีวติ ของตนเอง ในขณะเดียวกันการรับรู้ความคิดเหน็ จากบุคคลอ่ืนต่อการรับร้ขู องตนเองและการ รับรู้ ความสามารถดา้ นการรคู้ ิดคงอยใู่ นระดับปกติ อาจเกดิ จากอาการทเ่ี กิดไมช่ ัดเจนจนเป็นความผิดปกตแิ ละไม่ ทาให้ ผอู้ ื่นสงั เกตเห็นความผิดปกตนิ นั้ ได้ สอดคล้องกับการศกึ ษาของ Mitchell และ Turton (2011) เรียกปรากฏการณ์ ความผดิ ปกตินีว้ ่า “Chemo-brain” เปน็ อาการของการทาหน้าทีด่ ้านการรคู้ ดิ ทลี่ ดลงในผู้ป่วยมะเร็งท่ไี ด้รับยาเคมี บาบัด เกดิ ขน้ึ ได้ทั้งในระหว่างและหลังการไดร้ ับยาเคมีบาบัด มอี าการและแบบแผนการเกิดไม่ชดั เจนแต่ผู้ป่วย สามารถรับรไู้ ด้ ทสี่ าคญั อาการทแี่ สดงออกส่วนใหญ่ไม่เหมือนอาการข้างเคียงทางร่างกายอืน่ ๆ จงึ ยากทจ่ี ะบอก ความผดิ ปกตินั้นแก่ผู้อื่นทราบได้ (Falleti, Sanfilipo, Maruff, Weih, & Phillips, 2005) ดงั นนั้ กล่มุ ตวั อย่างจึง รับร้กู ารทาหน้าที่ด้านการรู้คดิ ของตนเองลดลงในขณะที่บุคคลรอบขา้ งอาจสงั เกตไมเ่ หน็ ความผิดปกติที่เกิดขึ้น การรับรคู้ วามสามารถการทาหนา้ ท่ีดา้ นการร้คู ิด ถงึ แมใ้ นการศกึ ษาครั้งนมี้ ีคา่ เฉล่ยี ในระดับปกติ แต่พบวา่ กลมุ่ ตัวอยา่ งรอ้ ยละ 43.08 รบั รถู้ งึ ความสามารถของการทาหนา้ ท่ีด้านการรู้คิดท่ีลดลงในระดับเล็กนอ้ ย จากการ สอบถามความรู้สกึ ของกลุ่มตัวอย่างเกีย่ วกับความจาก่อนและหลังจากได้รบั ยาเคมีบาบดั บอกว่า หลังจากไดร้ ับยา เคมีบาบัดมคี วามรสู้ กึ ถึงความจาที่ลดลง ไมเ่ หมือนก่อนการได้รบั ยา โดยอาการท่ีบอกเลา่ คือ การลืมตาแหน่งท่วี าง ของ ลมื ว่าตนเองต้องการทาอะไรทง้ั ที่ได้วางแผนไว้แลว้ หรอื การทางานที่ต้องสลับไปมา 2 อยา่ ง และใช้เวลาในการ เรยี กชื่อสิ่งของหรือบุคคลมากกว่าปกติ ขอ้ มูลดงั กลา่ วสอดคลอ้ งกับผลการศกึ ษาเชิงคุณภาพเกี่ยวกับประสบการณ์ วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ่ี 8 ฉบับท่ี 2 เดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July-December 2021, Vol.8 No.2

230 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานข้อมลู TCI กลุม่ ท่ี 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) การเกดิ ภาวะพร่องการทาหน้าท่ีดา้ นการรู้คิดหลังจากการได้รับการรักษาด้วยยาเคมีบาบัดของ Boykoff และ คณะ (2009) พบว่าผูป้ ่วยมีการรับรู้ถึงการสูญเสียความจาระยะสน้ั มกี ารหลงลมื ง่าย และการนึกคิดชา้ โดยเฉพาะ การลมื สงิ่ ทเ่ี คยปฏิบัตเิ ป็นประจา เช่น ลืมที่วางส่ิงของ ลมื กญุ แจ รวมถึงความสามารถในการเรยี กช่อื ส่ิงของหรือ บุคคลลดลง บางครั้งไม่สามารถนึกถึงคาทแี่ สดงความรู้สึกของตนเองออกมาได้ ร วมท้ังการประสิทธิภาพการ วางแผนและการตัดสนิ ใจในสถานการณต์ า่ งๆลดลง นอกจากนี้ความพรอ่ งดา้ นการรูค้ ดิ ที่ลดลงส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของกลมุ่ ตวั อยา่ งในระดับเล็กน้อย อธิบาย ได้จากแบบแผนการเกดิ อาการไม่แนช่ ัดเปน็ เรือ่ งยากท่ีอธบิ ายให้ผอู้ ่ืนเขา้ ใจและแกไ้ ขปญั หาทเี่ กิดขึน้ ได้ ทาใหผ้ ปู้ ว่ ย มเี รือ่ งรบกวนจิตใจตลอดเวลา เกิดความรู้สึกหงุดหงิดง่าย และรสู้ ึกแยต่ ่อตนเอง สอดคล้องกับการศกึ ษา ของ Diane และคณะ (2009) พบว่า คุณภาพชวี ติ ของผปู้ ว่ ยมะเร็งทีไ่ ดร้ บั การรกั ษาด้วยยาเคมีบาบดั ท่ผี ลการปร ะเมิน การทาหน้าท่ดี ้านการร้คู ดิ ท่ีผิดปกติจะมีคุณภาพชีวติ ตา่ กว่ากลุ่มผู้ปว่ ยที่ผลการประเมินการทาหน้าท่ีด้านการรู้คิด ปกติ อย่างมีนยั สาคัญทางสถิตทิ ่ี p < .05 ด้วยเหตนุ ้ใี นผู้ป่วยมะเร็งลาไส้ใหญ่และไส้ตรงที่ไดร้ ับยาเคมบี าบัดควร ได้รับการประเมนิ การทาหนา้ ที่ดา้ นการรู้คิดร่วมดว้ ย เพอ่ื เป็นการคดั กรอง ค้นหาความผิดปกตขิ องการทา หน้าท่ี ด้านการรู้คดิ ตง้ั แต่แรกเรม่ิ และวางแผนจัดการดูแลแก้ไขปญั หาให้เหมาะสมและมีประสทิ ธิภาพต่อไป ขนาดยาเคมีบาบัด การศึกษาคร้งั นก้ี ลมุ่ ตวั อยา่ งส่วนใหญ่อย่ใู นระยะที่ 3 ของการดาเนินโรค ตามแนวทาง การรกั ษาโรคมะเรง็ ลาไส้ใหญ่และไส้ตรงของสานักหลักประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ (2556) พจิ ารณาให้ยาเคมีบาบัด แก่ผู้ปว่ ยโรคมะเร็งที่มกี ารดาเนินโรคตัง้ แต่ระยะ 3 ข้ึนไป โดยใชส้ ูตรยา (Regimen) ทปี่ ระกอบด้วย 5-FU ขนาด สูงถึง 2,400 mg/m2/day ดงั นัน้ ผปู้ ่วยทมี่ รี ะยะโรคที่รุนแรงหรือจานวนรอบของการได้รบั ยาเคมีเพิ่มขึ้นมีผลให้ เกิดการเปล่ยี นแปลงต่อการทาหน้าท่ีของอวัยวะต่างๆของรา่ งกายได้ (ศูนยม์ ะเร็ง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาล รามาธบิ ดี, 2557) อยา่ งไรกต็ ามการทบทวนวรรณกรรมของ Furguson และคณะ (2018) พบวา่ ขนาดยาทผี่ ปู้ ่วย ไดร้ บั เพยี งอย่างเดียวไม่อาจอา้ งถึงความพร่องการทาหน้าท่ีดา้ นรู้คิดทรี่ นุ แรงขึ้นได้ ยังมีความพร้อมดา้ นจิตใจ เป็น ปจั จัยท่ีบง่ บอกถึงความรุนแรงของการพรอ่ งการทาหนา้ ท่ีด้านการรู้คดิ ได้ดว้ ยเช่นกนั ความวิตกกังวลและอาการซึมเศรา้ ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตวั อยา่ งไม่พบระดับความวิตกกงั วลและ อาการซึมเศร้าที่เป็นความผิดปกติทางจติ เวช พบว่า เริม่ มคี วามวติ กกงั วลและอาการซึมเศร้าเกิดขนึ้ โดยระหว่าง การรกั ษาด้วยยาเคมบี าบดั จะเป็นช่วงเวลาทผ่ี ู้ป่วยตอ้ งเผชิญกบั ความทุกขค์ วามไม่สขุ สบายต่างๆ ทัง้ ด้านร่างกาย และจิตใจ (Saniah & Zainal, 2010; Polat et al., 2014) การรกั ษาทาใหเ้ กดิ การเปลี่ยนแปลงทางดา้ นอารมณ์ที่ มากขึน้ รวมถึงชว่ งระยะเวลาการรักษามีผลใหร้ ะดับความวิตกกังวลและอาการซึมเศร้าเพ่ิมมากขึ้นท่ีเกิดจา กการ รบั รู้การเจบ็ ปว่ ยและเกิดผลข้างเคียงหรืออาการไมพ่ ึงประสงค์ ดังนัน้ การเจ็บป่วยดว้ ยมะเรง็ และผลกระทบจากการ รกั ษาจงึ สง่ ผลใหเ้ กิดภาวะวิตกกังวลและมีภาวะซึมเศรา้ ได้ ทัง้ นี้การศกึ ษาคร้งั น้ีมีความแตกต่างจากการศึกษาใน กลมุ่ ผปู้ ว่ ยมะเร็งอ่ืนทไี่ ด้รับยาเคมบี าบัดทั้งผปู้ ่วยมะเร็งเต้านม (Saniah & Zainal, 2010; Koteprom et al., Kim & Kim, 2011; 2013; Moon) ผปู้ ว่ ยมะเรง็ โลหติ วทิ ยา (Ponjorn, 2014) เมือ่ พิจารณากลมุ่ ตวั อยา่ งมคี วามเป็น ไป ไดท้ คี่ ่าเฉลยี่ ความวติ กกังวลและอาการซมึ เศรา้ ปกติ ขอ้ มลู พบวา่ รอ้ ยละ 50 ของกล่มุ ตัวอย่างอยู่ในช่วงการรักษา วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 เดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July-December 2021, Vol.8 No.2

231 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคุณภาพของ TCI และอยใู่ นฐานข้อมูล TCI กลมุ่ ที่ 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) ด้วยยาเคมบี าบัดรอบท่ี 2 – 3 ซง่ึ เป็นช่วงตน้ ของการรับยาเคมบี าบดั ผลข้างเคยี งจากยาเคมบี าบัดอาจพบความไม่ รุนแรง ร่วมกบั การใหย้ าในครงั้ น้สี ่วนใหญ่ไม่พบการเกดิ ภาวะแทรกซ้อน จึงมผี ลกระทบทางอารมณ์ของผู้ป่วยไม่ มากนัก อย่างไรกต็ ามความวติ กกงั วลและอาการซึมเศร้าสามารถพบไดใ้ นผู้ป่วยโรคมะเร็งลาไส้ใหญ่และไส้ตรง แต่ การศึกษาครัง้ น้ีกลมุ่ ตวั อยา่ งมีคา่ เฉล่ยี ของความวติ กกงั วลและอาการซึมเศรา้ ในระดบั ปกติอาจเกิดจากลกั ษณะของ กลมุ่ ตัวอย่างท่ีส่งผลให้ไมพ่ บความวิตกกังวลและอาการซมึ เศร้า ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของปัจจัยที่ศึกษาพบวา่ ขนาดยาเคมีบาบัดมีความสัมพันธ์ทางลบในร ะดับ ปานกลางกับการรบั รกู้ ารทาหนา้ ท่ดี า้ นการรู้คดิ สอดคลอ้ งกับการทบทวนวรรณกรรมพบวา่ ผูป้ ่วยมะเร็งท่ีได้รับการ รกั ษาดว้ ยยาเคมบี าบดั ในปรมิ าณท่ีสงู (high dose) สามารถเกดิ ภาวะพรอ่ งการทาหน้าที่ด้านการรู้คิดได้มากกว่า ผู้ปว่ ยทไี่ ดร้ บั ปรมิ าณยาท่ตี า่ กวา่ (Vardy & Tannock, 2007; Fardell et al., 2011) การศึกษาของ Bender และ Thelen (2013) แสดงใหเ้ ห็นวา่ ยิ่งผ้ปู ่วยท่มี คี วามรุนแรงของโรคจะไดร้ ับขนาดยาท่ีใช้ในการรักษาสูงเนื่องจากเพิ่ม ประสิทธิภาพการทาลายเซลลม์ ะเร็งทาให้ผู้ปว่ ยพบความบกพร่องของการทาหน้าท่ีด้านการรูค้ ิดของผู้ปว่ ยมีความ รนุ แรงขน้ึ แม้วา่ การรกั ษาน้ันได้สนิ้ สุดไปแล้ว จากผลการศกึ ษาครัง้ น่ีพบว่าข้อมูลด้านประวัติการรักษาของผู้ป่วย สว่ นใหญ่ไดร้ บั การรกั ษาด้วยยา FOLFOX และสูตร FOLFIRI ซงึ่ ยาสูตรดังกลา่ วมียา 5-FU ปรมิ าณทีส่ ูงถงึ 2,400 mg/m2/day ทาใหป้ รมิ าณยาทผี่ ้ปู ว่ ยไดร้ บั ตอ่ วันสูงกวา่ สูตรอืน่ 4 – 6 เทา่ จากการทบทวนเกณฑก์ าหนดปริมาณ ของยา5-FU พบวา่ การใชม้ ากกว่า 1,000 mg m2/day ถือวา่ ยาท่ีผ้ปู ่วยได้รับนน้ั เป็นยาขนาดสูง (high dose) และควรมกี ารเฝ้าระวังการเกิดภาวะข้างเคียงในระบบตา่ งๆของร่างกายมากขึ้นกวา่ เดิม (Chengtawee, 2013; Hubjaroen, 2014) จากหลกั ฐานดังกลา่ วทาใหย้ าซมึ ผ่าน blood brain barier เข้าไปทาลายเนื้อสมองไดม้ ากกว่า ปริมาณยาทเี่ ป็นขนาดมาตรฐานทั่วไป ความสามารถการทาหน้าทีข่ องสมองอาจลดลงได้ ความวิตกกังวลและอาการซมึ เศรา้ มคี วามสัมพันธ์ทางลบในระดับปานกลางกบั การรับรูก้ ารทาหน้า ท่ีด้าน การรคู้ ดิ กลา่ วคือกลุ่มตัวอย่างที่มคี วามวิตกกังวลหรอื อาการซึมเศรา้ ในระดับที่สงู ผิดปกติจะมีการรบั รู้กา รทา หนา้ ทดี่ ้านการรูค้ ดิ ลดลง เช่นเดยี วกบั การศึกษาของ จรินทร โคตพรม (2556) พบว่า ความวิตกกังวลและซึมเศร้ามี ความสัมพนั ธ์ทางลบในระดบั สงู ต่อการรับรู้การทาหนา้ ท่ีดา้ นการรูค้ ิดในผู้ปว่ ยมะเรง็ เตา้ นม (r = -0.63 และ r = - 0.66, p < .01) จากขอ้ มลู ที่ไดจ้ ากกลมุ่ ตัวอยา่ งอธิบายได้วา่ ความวิตกกังวลซ่ึงเป็นหน่ึงในอารมณ์พ้ืนฐานทีจ่ า เป็น สาหรบั การดารงชีวติ ในการตอบสนองต่อส่ิงเร้า แตเ่ มื่อเกดิ ต่อเนื่องติดต่อกนั เปน็ ระยะเวลานานจะเพ่ิมความรุนแรง ของโรคและอาจเกิดอาการซึมเศร้าตามมาได้ การเปลย่ี นแปลงดา้ นร่างกายเมอ่ื ไดร้ บั ผลกระทบจากการเจ็บป่วย และการรักษาโรคมะเร็งดว้ ยยาเคมีบาบดั จัดเปน็ สิ่งเรา้ ทาใหเ้ กิดภาวะเครียดของรา่ งกาย มผี ลใหก้ ารหลัง่ สารเคมีใน ร่างกาย ทาให้กระบวนการสร้างสารอนุมูลอิสระในเซลล์ต่างๆมีจานวนมากข้ึน ( Bender & Thelen, 2013; Merriman et al., 2013) รวมทั้งการทาหนา้ ทขี่ องสมองสว่ นตา่ งๆผดิ ปกติ หากความผดิ ปกติเกดิ ขึ้นในสมองส่วนที่ ทาหนา้ ทดี่ ้านการรู้คิดสามารถทาใหเ้ กดิ อาการ หลงลืม ขาดสมาธิจดจอ่ กับสงิ่ ที่ทา การตดั สินใจไม่มปี ระสิทธิภา พ ไดง้ า่ ย (Arunpongpaisal, et al., 2016; Ferguson, Riggs, Ahles & Saykin, 2018) นอกจากน้ีความวติ กกังวล และอาการซึมเศร้าท่ีเกิดขึ้นระหว่างเขา้ รับการรกั ษา การไดร้ ับผลกระทบจากการเจบ็ ป่วยและการรักษาโรคมะเร็ง วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July-December 2021, Vol.8 No.2

232 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มูล TCI กลุม่ ที่ 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) ด้วยยาเคมีบาบดั เป็นเหตุการณ์ทคี่ ุกคามความปกติของการดาเนินชีวิต จาเป็นที่รา่ งกายตอ้ งมตี อบสนองเพอ่ื ให้เกิด ความสมดุล ทาให้เกดิ อาการทางอารมณ์ท่ีหลากหลาย การรบั รแู้ ละตอบสนองต่อสิ่งเร้าลดลง ความสนใจ ต่อ ส่งิ แวดลอ้ มลดลง ย่อมสง่ ผลให้กระบวนการทางานของสมองขาดประสิทธิภาพ ความสามารด้านการเรยี น รู้และ ความจาลดลงได้ (Arunpongpaisal, et al., 2016; Vardy et al., 2008) โดยสรปุ ในสภาวะทีผ่ ู้ป่วยมีควา มวิตก กังวลหรืออาการซมึ เศร้าระหวา่ งรบั การรกั ษา ยอ่ มส่งผลใหม้ ีการการรับรู้และตอบสนองตอ่ สงิ่ แวดลอ้ มที่ลดลง มี การเปล่ียนแปลงการทาหน้าท่ีของสมองและสารเคมีในรา่ งกาย ทาให้กระบวนการทางานด้านจิตปัญญาขาด ประสิทธภิ าพ นามาซ่งึ ความสามารถดา้ นการรู้คิดท่ีลดลงตามมาได้ ดังนนั้ เมื่อประเมินการรบั รูก้ ารทาหน้าที่ด้าน การรูค้ ิด FACT-Cog ซ่ึงเปน็ แบบประเมินการรบั รขู้ องตนเองจะพบวา่ ผู้ป่วยมีการรบั รู้ถึงความผิดปกตทิ ีเ่ กิดขึ้นและ รบั รวู้ า่ สง่ิ ที่เกิดขึ้นมผี ลให้การดาเนินชีวิตและคุณภาพชวี ิตทีแ่ ย่ลง ผลการศึกษาครง้ั น้จี งึ สรปุ ได้ว่าความวติ กกังวล และอาการซึมเศร้ามีความสัมพันธ์ทางลบต่อการรบั รู้การทาหน้าท่ีดา้ นการรู้คิดในผูป้ ่วยมะเร็งลาไส้ใหญ่และไส้ ตรงทไี่ ดร้ ับยาเคมีบาบดั ผลการวิจยั จงึ สนับสนนุ สมมติฐานการวิจัยในคร้งั นี้ ขอ้ จากัดของงานวจิ ัย การเลือกกล่มุ ตัวอยา่ งในการศกึ ษาครั้งน้ี เป็นการสุ่มเลือกกลมุ่ ตวั อยา่ งแบบเฉพาะเจาะจงเป็นกลุ่มผู้ป่วย มะเรง็ ลาไสใ้ หญ่และไส้ตรงที่เข้ารับการรกั ษาด้วยยาเคมีบาบัด ณ หอผปู้ ่วยเคมีบาบดั โรงพยาบาลลาปาง และ แผนกเคมบี าบัด โรงพยาบาลมะเร็งลาปาง ทาใหไ้ มส่ ามารถอ้างอิงผลการศกึ ษาไปยังกล่มุ ผูป้ ่วยมะเร็งลาไส้ใหญ่ และไส้ตรงท่ไี ดร้ ับยาเคมบี าบดั ท่อี ยูใ่ นโรงพยาบาลหรือภูมิภาคอื่นได้ ข้อเสนอแนะในการนาผลการศึกษาไปใช้ ด้านการปฏบิ ตั ิการพยาบาล ควรเพิ่มความตระหนกั ในการประเมนิ ผปู้ ว่ ยเก่ียวกับการทาหนา้ ที่ด้าน การรู้ คิด โดยเฉพาะอาการทเี่ กย่ี วข้องกับความบกพร่องของการทาหนา้ ที่ดา้ นการรคู้ ิด เช่น อาการหลงลืม เหมอ่ ลอย ขาดสมาธิ เป็นตน้ และควรประเมินระดับความวิตกกงั วลและอาการซึมเศร้าของผู้ปว่ ยร่วมด้วยเสมอ รวมถึง ติดตามเป็นระยะเน่ืองจากการเกิดความผดิ ปกติดังกล่าว สามารถเกิดได้ตลอดช่วงระยะเวลาของการรกั ษา นอกจากนี้ควรจดั กิจกรรมที่มุง่ เน้นการจัดการอาการต่างๆ โดยเฉพาะอาการทเี่ ป็นผลขา้ งเคียงจากการรักษา ด้วย ยาเคมบี าบัด เช่น อาการคล่ืนไส้ อาเจยี น ภาวะเหนื่อยลา้ ซีด ผมรว่ ง เป็นตน้ เพ่ือชว่ ยลดความแปรปรวนทางด้าน อารมณ์ทอี่ าจส่งผลต่อการทาหน้าทดี่ ้านการรู้คิดได้ ด้านการศึกษา ผลการศึกษาท่ไี ด้เป็นการรบั รู้ของผู้ปว่ ยมะเร็งลาไส้ใหญ่และไส้ตรงที่ได้รับยาเคมีบาบัด เป็นองคค์ วามรู้ทีส่ าคญั และเปน็ ประโยชน์ในการพฒั นาแนวทางการอบรมพยาบาล ผดู้ ูแลผูป้ ่วยโรคมะเรง็ ที่ได้รับ ยาเคมบี ดั และเป็นขอ้ มลู แกบ่ ุคคลอนื่ ทเ่ี กย่ี วข้องให้ตระหนักเหน็ ความสาคญั ของการประเมินการทาหน้าที่ด้านการ รูค้ ดิ ของผปู้ ่วย เพื่อชว่ ยลดผลกระทบทส่ี ่งผลต่อการดาเนนิ ชีวติ และช่วยเพ่ิมคุณภาพชีวติ ของผู้ปว่ ยโรคมะเร็งให้ มากขึ้น วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 เดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July-December 2021, Vol.8 No.2

233 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI และอยูใ่ นฐานขอ้ มลู TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) ขอ้ เสนอแนะในการศกึ ษาคร้งั ต่อไป การศกึ ษาครัง้ นี้เปน็ การศึกษาภาคตดั ขวาง ไมค่ รอบคลมุ ช่วงการติดตามอาการหลังการรักษา เนอื่ งจากมี ข้อจากดั ของระยะเวลาการเก็บขอ้ มลู ของผู้วิจัย ควรมีการศกึ ษาระยะยาวเพือ่ ใหท้ ราบลกั ษณะการเปล่ียนแปลงการทา หน้าท่ดี ้านการรู้คิด ความเขา้ ใจของแบบแผนการเกิดความพร่องทีช่ ัดเจน ซึ่งจะเปน็ องคค์ วามร้แู ละเปน็ ประโยชน์ในการ ออกแบบโปรแกรมต่างๆ ทชี่ ่วยประเมนิ และการจดั การความพรอ่ งของการทาหนา้ ทดี่ า้ นการรคู้ ดิ ที่เกิดขน้ึ ต่อไป รวมทัง้ การออกแบบงานวิจยั โดยเปรียบเทียบการประเมินการรับรู้การทาหน้าทีด่ ้านการรู้คิดตามการรับรู้ของผปู้ ว่ ย รว่ มกับการประเมนิ ด้านจิตประสาทวิทยาทางคลินิก จะทาให้ทราบถึงสาเหตุของความผดิ ปกตกิ ารทาหน้าท่ีด้าน การรคู้ ิดท่เี กิดขึ้นว่าเกิดจากพยาธสิ ภาพของสมองรว่ มดว้ ยหรอื ไม่ กติ ติกรรมประกาศ การวิจัยคร้ังนี้จะไม่สาเรจ็ ถ้าขาดความร่วมมือจากกลุม่ ตัวอยา่ งผู้ป่วยโรคมะเร็งลาไส้ใหญ่และไส้ตรง นกั ศกึ ษาพยาบาล ตลอดจนผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้องทกุ ทา่ น และการสนับสนนุ จากวทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นคร ลาปาง ผูว้ ิจยั ขอขอบพระคุณมา ณ ท่ีน้ี เอกสารอ้างองิ Ahles, T. A., & Saykin, A. (2007). Candidate mechanism for chemotherapy- induced cognitive change. Nature reviews cancer, 7(3), 192-201. Arunpongpaisal, S., Chaiudomsom, K., & Virasiri, S. (2016). Depression Disorder. In Chaiudomsom, K., Paholpak, P., Vadhanavikkit, P., & และ Paholpak, P. (Eds.). Phychiatry. (pp. 280-299). Khon Kaen: klungnana vitthaya press. (in Thai). Bender, C. M., & Thelen, B. D. (2013). Cancer and cognitive changes: The complexity of the problem. Seminars in oncology nursing, 29(4). 232-237. Boykoff, N., Moieni, M., Karen, S., & Subramanian, S. K. (2 0 0 9 ). Confronting chemobrain: an in- depth look at survivors’ reports of impact on work, social network, and health care response. Journal of cancer survivorship, (3), 223-232. Chengtawee, P. (2013). Colon & chemotherapy. Retrieved from https://med.mahidol.ac.th/ cancer_center/th/article/coloncancer (in Thai). Dhillon, H. M., Tannock, I. F., Gregory R. P., Corrinne R., Sean, B. R., & Vardy, J. L. (2018). Perceived cognitive impairment in people with colorectal cancer who do and do not receive chemotherapy. Journal of cancer survivorship, 12, 178 – 185. วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปีที่ 8 ฉบบั ท่ี 2 เดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July-December 2021, Vol.8 No.2

234 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มลู TCI กลุม่ ที่ 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) Diane, V., Kathleen, M., Russel, Storniolo, A. M., janet, S., & Carpenter, M. (2009). Cognitive dysfunction and it relationship it quality of life in breast cancer patient. Oncology nursing forum, 36(6), 326-334. Falleti, M. G., Sanfilipo, A., Maruff, P., Weih, L., & Phillips, K. A. (2005). The nature and severity of cognitive impairment associated with adjuvant chemotherapy in women with breast cancer: a meta-analysis of the current literature. Brain Cognition, 59, 1905-1913. Fardell, J. E., Vardy, J., Johnston, I. N., & Winocur, G. (2011). Chemotherapy and cognitive impairment: Treatment Options. Clinical pharmacology and therapeutics, 90(3), 336-376. Ferguson, R. J., Riggs, R., Ahles, T., & Saykin, A. J. (2018). Management of Chemotherapy-Related Cognitive Dysfunction. In Feuerstein, M. & Nekhlyudov, L. (Eds.), Handbook of Cancer Survivorship. (2nded, pp.287-300). AG: Springer International Publishing. eBook ISBN 978- 3-319-77432-9 Han, R., Yang, Y. M., Dietrich, J., Luebke, A., Mayer-Proschel, M., & Noble, M. (2008). Systemic 5- fluorouracil treatment causes a syndrome of delayed myelin destruction in the central nervous system. Journal of biology, 7(12). 12.1-12.22. Hess, L. M., & Insel, K. C. (2007). Chemotherapy-related change in cognitive function: a conceptual model. Oncology nursing forum, 34(5), 981-994. Hermelink, K., Untch, M., Lux, M. P., Kreienberg, R., Beck, T., Bauerfeind, I., et al. (2007). Cognitive function during neoadjuvant chemotherapy for breast cancer. Cancer, 109(9), 1905- 1913. DOI: 10.1002/cncr.22610 Hubjaroen, S. (2014). Nursing care of colorectal cancer patients treated with Chemotherapy. In Boonpipattanapong, T., & Wannawong, S. (Eds.). State- of- the- art: standard of care for colorectal cancer. (pp.141-156). Songkhla: Book unit, Faculty of Medicine, PSU. (in Thai). Koteprom, J., Pongthavornkamol, K., Chareonkitkarn, V., & Soparattanapaisarn, N. (2013). Factors Influencing Perceived Cognitive Functioning in Breast Cancer Patients Receiving Adjuvant Chemotherapy. Nursing science journal of thailand, 31(2), 17-26. (in Thai). Merriman, J. D., Ah, D. V., Miaskowski, C., & Aouizerat, E. (2013). Proposed mechanisms for cancer and treatment related cognitive change. Seminars in oncology nursing, 29(4). 260-267. Mehnert, A., Scherwath, A., Schirmer, L., Schleimer, B., Petersen, C., Schulz-Kindermann, F., et al. ( 2 0 0 7 ) . The association between neuropsychological impairment, self- perceived cognitive deficits, fatigue & health related quality of life in breast cancer survivors วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีท่ี 8 ฉบับท่ี 2 เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July-December 2021, Vol.8 No.2

235 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานข้อมูล TCI กลุม่ ท่ี 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) following standard adjuvant versus high- dose chemotherapy. Patient Education & Counseling, 66, 108-118. Mitchell, T., & Turton, P. (2011). 'Chemobrain’: Concentration and memory effects in people receiving chemotherapy - a descriptive phenomenological study. European journal of cancer care, 20, 539-548. Moon, S., Kim, S., & Kim, M. (2011). Perceived cognitive function and related factors in korean women with breast cancer. Asian nursing research, 5(2), 141-150. Myers. J. S. (2013). Cancer and chemotherapy related cognitive change: the patient experience. Seminars in oncology nursing, 29(4). 300-307. National Cancer Institute. (2015). Colorectal Cancer guideline. Bangkok: Kosit Press. (in Thai). National Cancer Institute. ( 2019. Hospital- based cancer registration 2018. Bangkok: New Thammada press. (in Thai). Nilchaikovit, T., Lortrakul, M., & Phisansuthideth, U. (1996). Development of Thai version of Hospital Anxiety and Depression Scale in cancer patients. Journal of the psychiatrist association of Thailand, 41(1), 18-30. (in Thai). Polat, U., Arpaci, A., Demir, S., Erdal, S., & Yalcin, S. (2014). Evaluation of quality of life and anxiety and depression levels in patients receiving chemotherapy for colorectal cancer: impact of patient education before treatment initiation. Journal of gastrointestinal oncology, 5(4), 270-275. Ponjorn, U., (2014). The effect of buddhist chanting on anxiety among patients with hematological malignancy receiving chemotherapy [Master’s degree of Nursing Science Program] Prince of Songkla University. (in Thai) Saniah, A. R., Zainal, N. Z. (2 0 1 0 ). Anxiety, depression and coping strategies in breast cancer patients on chemotherapy. Malaysian journal of phychiatry ejournal, 19(2). Vardy, J. N., Dhillon, H. M., Pond, G. R., Rourke, S. B., Bekele, T., Dodd, R.A., et al. (2015). Cognitive function in patients with colorectal cancer who do and do not receive chemotherapy: A prospective, longitudinal, controlled study. Journal of clinical oncology, 33(34). 4085-4092. Vardy, J., Wefel, J. S., Ahles, T., Tannock, I. F., & Schagen, S. B. (2008). Cancer and cancer-therapy related cognitive dysfunction: an international perspective from the Venice cognitive workshop. Annals of oncology, 19, 623-629. วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปที ่ี 8 ฉบับที่ 2 เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July-December 2021, Vol.8 No.2

236 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอย่ใู นฐานขอ้ มูล TCI กลุ่มที่ 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) Vearncombe, K. J., Rolfe, M., Wright, M., Pachana, N. A., Andrew, B., & Beadle, G. (2009). Predictors of cognitive decline after chemotherapy in breast cancer patients. Journal of the international neuropsychological society, 15, 951-962. Visovatti, M. A., Reuter-Lorenz, P. A., Chang, A. E., Northouse, L., & Cimprich, B. (2015). Assessment of cognitive impairment and complaints in individual with colorectal cancer. Oncology Nursing Society, 43(2), A1-A10. Von Ah, D., Haberman, B., Carpenter, J. S., & Schneider, B. L. (2013). Impact of perceived cognitive impairment in breast cancer survivors. European journal of oncology nursing, 17(2), 236-241. Wefel, J. S., Lenzi, R., Theriault, R. T., Davis, R. N., & Meyers, C. A. (2004). The cognitive sequelae of standard- dose adjuvant chemotherapy in women with breast carcinoma: Result of a prospective, randomized, longitudinal trial. Cancer, 100(11), 2292-2299. Wigmore, P. M., Mustafa, S., El-Beltagy, M., Lyons, L., Umka, J., & Bennett, G. (2010). Effects of 5- FU. In Raffa, R. B. & Tallarida, R. J. (Eds.), Chemo fog: Cancer chemotherapy-related cognitive impairment (pp. 157-164). (Online). From: http://www.springer.com/us/book/9781441963055 . วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื ปที ่ี 8 ฉบับท่ี 2 เดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July-December 2021, Vol.8 No.2

237 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคุณภาพของ TCI และอย่ใู นฐานขอ้ มลู TCI กลุม่ ที่ 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) The Development of Caring Model to Promote Growth and Development of Preschool Children in the Preschool Development Center at Boromarajonani College of Nursing, Lampang Nichakan Nakvirojana1, Siriwan Baitragual*, Jittavee kreasuwan*, Jutathip Dakdacha* (Received September 10, 2021, Revised: December 9, 2021, Accepted: December 14, 2021) Abstract The action research aimed to study preschooler’s situations and develop a caring model to promote growth and development for children in the pre- school development center at Boromarajonani College of Nursing, Lampang. Preschool children, families, the board of directors of the preschool development center, pediatric nursing instructors, caregivers, and also the Bachelor of Nursing students were all participants in this study. The research instruments were child development surveillance and promotion assessments, caregivers’ knowledge and skill assessments, and in-depth interviews. Data was analyzed using frequency, percentage, and content analysis. The research results were as follows: 1) Regarding child growth situations and the development aspect, underweight children were at 35% compared to the standard. The heights did not meet the standard and were measured at 15% . Disproportionate shapes were 28. 7% . There were 37 children with delayed development (46.25%), of those, 32.5% or 26 children had only one skill delayed development. 13. 75% or 11 children had more than one skill delayed development. 2) The development of caring model for promoting growth and development of preschool children had four components that consist of 2.1) administrative policy 2.2) information management system 2.3) human resource development and 2.4) family participation. Therefore, the Preschool Development Center should apply this model for creating the administrative policy on child health care, making a plan on the information management system with the association that relates to the effective preschool growth and developmental promotion. Keywords: Model Development; Growth Promotion; ChildDevelopment; PreschoolDevelopment Center  Nurse Instructor, Boromarajjonani College of Nursing, Nakhon Lampang, Faculty of Nursing, Praboromarajchanok Institute, Ministry of Public Health วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีท่ี 8 ฉบับที่ 2 เดอื น มกราคม – มิถนุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.2

238 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มลู TCI กลุม่ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) การพัฒนารปู แบบการดูแลเพื่อการส่งเสริมการเจรญิ เติบโตและพฒั นาการเดก็ ในศนู ยพ์ ัฒนาเด็กกอ่ นวยั เรยี น วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครลำปาง ณิชกานต์ นาควิโรจน์ , ศิริวรรณ ใบตระกลู *, จิตตวีร์ เกียรตสิ วุ รรณ*, จฑุ าทิพย์ เดชเดชะ* (วันรบั บทความ : 10 กนั ยายน 2564, วันแกไ้ ขบทความ : 9 ธันวาคม 2564, วนั ตอบรบั บทความ : 14 ธนั วาคม 2564) บทคัดย่อ วิจัยเชิงปฏิบตั ิการเพื่อศึกษาสถานการณ์และพัฒนารูปแบบการดูแลเพื่อการส่งเสริมการเจริญเติบโตและ พัฒนาการเด็ก ในศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ กอ่ นวยั เรยี น วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครลำปาง กลมุ่ ตวั อย่าง คอื เดก็ กอ่ น วัยเรียน ผู้ปกครองเด็ก คณะกรรมการบริหารศนู ย์เด็ก อาจารย์พยาบาลเด็ก ครูผู้ดูแลเด็ก และนักศึกษาหลักสูตร พยาบาลศาสตรบัณฑิต เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบประเมินการเจริญเติบโตและพัฒนาการเด็ก แบบวัดความรู้และ ทกั ษะของครูผดู้ ูแลเดก็ และสมั ภาษณเ์ ชงิ ลึก วิเคราะหข์ อ้ มูลโดยใชค้ วามถ่ี ร้อยละ และวเิ คราะหข์ ้อมูลเชิงเนอื้ หา ผลการวจิ ยั พบวา่ 1) สถานการณ์การเจริญเตบิ โตและพฒั นาการ พบว่า เดก็ นำ้ หนักไม่ตามเกณฑ์ ร้อยละ 35 สว่ นสงู ไม่ตามเกณฑ์ รอ้ ยละ 15.00 ไม่สมสว่ น ร้อยละ 28.70 เดก็ มีพฒั นาการไม่สมวัย จำนวน 37 คน (ร้อย ละ 46.25) ด้านพัฒนาการ โดยพัฒนาการไมส่ มวัยเพยี ง 1 ด้าน จำนวน 26 คน (ร้อยละ 32.50) และมีพฒั นาการ ไม่สมวัยมากกว่า 1 ด้าน จำนวน 11 คน (ร้อยละ 13.75) 2) รูปแบบการดูแลเพื่อการส่งเสริมการเจริญเติบโต และพัฒนาการที่พัฒนาขึ้น มี 4 องค์ประกอบ คือ 2.1) นโยบายการบริหารจดั การ 2.2) ระบบการจัดการขอ้ มลู 2.3) การพัฒนาบคุ ลากร และ 2.4) การมีสว่ นร่วมของผปู้ กครอง ดังนั้นศูนย์เด็กควรนำรูปแบบการดูแลเพือ่ การส่งเสริมการเจรญิ เติบโตและพัฒนาการนี้ ไปกำหนดเป็น นโยบายบริหารการดูแลสุขภาพเด็ก เพื่อวางแผนการจัดการระบบข้อมูลกับภาคีที่เกี่ยวข้องในการส่งเสริมการ เจริญเตบิ โตและพัฒนาการเด็กวยั กอ่ นเรียนใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพต่อไป คำสำคญั : การพัฒนารปู แบบ; การส่งเสริมการเจรญิ เติบโต; พัฒนาการเด็ก; ศูนยพ์ ัฒนาเดก็ กอ่ นวัยเรยี น  อาจารยพ์ ยาบาล, วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลำปาง คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบนั พระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปีท่ี 8 ฉบับที่ 2 เดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

239 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยใู่ นฐานข้อมลู TCI กลุม่ ที่ 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) บทนำ การส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการมีความสำคัญต่อเด็กก่อนวัยเรียน จึงต้องมีแนวทางการ พัฒนา ส่งเสรมิ ใหเ้ ด็กปฐมวยั เจริญเติบโตอยา่ งเหมาะสมและเทา่ เทียมกัน จึงเป็นเปา้ หมายสำคญั ของประเทศชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) ให้ความสำคัญกับการพัฒนาคนให้ เหมาะสมตามช่วงวัย โดยเด็กปฐมวัยควรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาทักษะทางสมองแล ะทักษะทางสังคมท่ี เหมาะสม (National Economic and Social Development Board, 2020) โดยพบว่า ปจั จยั ทีม่ คี วามสัมพันธ์ ตอการเจริญเตบิ โตของเดก็ ปฐมวยั ตามดัชนสี วนสูงตามเกณฑ์อายุ ไดแ้ ก่ ผู้เลยี้ งดูเดก็ และดัชนีน้ำหนักตามเกณฑ สวนสูง ได้แก สถานภาพสมรสของผู้เลี้ยงดู และลักษณะครอบครัว สำหรับปัจจัยที่มีความสัมพันธตอการ เจรญิ เตบิ โตของเดก็ ปฐมวัยชวงอายุ 3-5 ปตามดัชนนี ้ำหนกั ตามเกณฑอายุ และตามดชั นีนำ้ หนักตามเกณฑ์ส่วนสูง ไดแ้ ก่ การมีสวนร่วมของชมุ ชน ปจั จัยทม่ี คี วามสมั พันธต่อพัฒนาการเด็กสมวยั ได้แก่ สถานภาพสมรสของผเู้ ล้ยี งดู การศึกษาของผู้เลี้ยงดู อายุของผู้เล้ียงดู และรายไดข้ องครอบครัว (Tapruk et al., 2017) จึงเห็นไดว้ า่ ปจั จยั ส่วน บุคคลของเด็กและผ้ปู กครอง รวมทงั้ การมีส่วนรว่ มของผปู้ กครองมีผลตอ่ การเจริญเตบิ โตและพฒั นาการเดก็ ศูนย์พัฒนาเด็กกอ่ นวัยเรยี น วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครลำปาง จัดตั้งขึน้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อให้ บริการการดูแลสุขภาพเด็กก่อนวัยเรียน แบ่งเบาภาระให้กับผู้ปกครอง แหล่งให้บริการวิชาการ สร้างองค์ความรู้ ดา้ นการดแู ลสุขภาพเด็กก่อนวัยเรียน โดยเฉพาะดา้ นสง่ เสริมการเจริญเติบโต และพัฒนาการ ตามมาตรฐานสถาน พัฒนาเด็กปฐมวัยแหง่ ชาติ พ.ศ.2562 ในมาตรฐานที่ 3 คุณภาพของเดก็ ปฐมวยั ในตวั บง่ ช้ี 3.1 ก และ ข คือ เดก็ มี การเจริญเติบโตสมวัย โดยเด็กมนี ้ำหนกั ตามเกณฑ์อายุ และสว่ นสงู สมส่วนระดับดมี าก รอ้ ยละ 64 ข้นึ ไป และใน ตัวบ่งชี้ 3.2 ก และ ข เด็กมีพัฒนาการสมวัย โดยเด็กมีพัฒนาการสมวัยโดยรวมระดับดีมาก ร้อยละ 85 ขึ้นไป (National Early Childhood Development Board, 2019) แต่จากการประเมินการเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการ ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2563 พบวา่ เดก็ มกี ารเจริญเตบิ โตสมวยั โดยเดก็ มนี ้ำหนักตามเกณฑอ์ ายุ และส่วนสูงสมวยั ระดับผา่ นเกณฑ์ขัน้ ตน้ รอ้ ยละ 54.25 ขน้ึ ไป ในด้านพัฒนาการ พบวา่ เดก็ มีพัฒนาการสมวยั โดยเด็กมีพฒั นาการ สมวยั โดยรวมในระดบั ต้องปรบั ปรุง ร้อยละ 67.45 ข้ึนไป (Preschool development center Boromarajonani College of Nursing Lampang, 2020) โดยที่ผ่านมาจากการดำเนินงานด้านการดูแลสุขภาพเด็กในศูนย์เด็ก พบว่า การดำเนินงานต่างๆ เพื่อส่งเสริมการเจริญเติบโต ภาวะโภชนาการ พัฒนาการยงั ไม่ชัดเจน และไม่มีแนว ปฏิบัติการแก้ปัญหาการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กรายบุคคล รวมถึงยังขาดการวางแผนการพัฒนา ศักยภาพของครูผดู้ แู ลเดก็ อย่างตอ่ เนอ่ื ง ระบบการบริการแบบมสี ว่ นร่วมระหวา่ งครูผดู้ ูแลเดก็ และผู้ปกครองเด็ก ยังไม่ชัดเจน ซง่ึ สง่ ผลตอ่ คุณภาพการบรกิ ารสขุ ภาพเด็ก การพัฒนารปู แบบการดูแลเพือ่ การส่งเสริมการเจริญเติบโตและพฒั นาการเด็ก ศูนย์พัฒนาเดก็ กอ่ นวยั เรียน วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลำปาง จำเป็นจะต้องอาศัยวิธีการรูปแบบ และมาตรฐานต่างๆท่ี ผสมผสานหลักวิชาการ สอดคลอ้ งไปตามความตอ้ งการ ความคาดหวงั และความร่วมมอื จากทุกฝ่ายของศูนย์เด็ก ได้แก่ ผู้ปกครองเด็ก คณะกรรมการบริหารศูนยเ์ ด็ก อาจารย์พยาบาลเด็ก ครูผู้ดูแลเด็ก และนักศึกษาพยาบาล วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีที่ 8 ฉบบั ท่ี 2 เดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

240 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคุณภาพของ TCI และอย่ใู นฐานขอ้ มูล TCI กล่มุ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) ศาสตรบณั ฑติ ทฝี่ ึกปฏบิ ตั ใิ นรายวิชาปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลเด็ก1 ในศูนยพ์ ัฒนาเดก็ กอ่ นวยั เรยี น ในการร่วมคิดและทำ ความเขา้ ใจสภาพปญั หา วเิ คราะห์ วางแผน ชว่ ยกันกำหนดรปู แบบการดูแลเพื่อการสง่ เสริมการเจริญเติบโตและ พัฒนาการเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนที่มีคุณภาพ โดยใช้กรอบแนวคิดกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (action research) โดยใช้การศึกษาสถานการณ์การเจริญเติบโตและพัฒนาการเด็ก ในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัย เรียน วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครลำปาง ในดา้ นการจดั การคณุ ภาพ ด้วยกระบวนการคณุ ภาพ PDCA ใน การพัฒนารูปแบบการดูแลเพื่อการส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการเด็ก ในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลำปาง ทีเ่ หมาะสมตามบรบิ ทและเปน็ รปู ธรรม เพ่ือใหเ้ กิดการพฒั นาคุณภาพ การดูแลท่ดี ีตอ่ ไป วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพอ่ื ศกึ ษาสถานการณก์ ารเจริญเตบิ โตและพฒั นาการเด็ก ในศูนย์พฒั นาเดก็ กอ่ นวยั เรยี น วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครลำปาง 2. เพื่อการพฒั นารูปแบบการดูแลเพอื่ การสง่ เสรมิ การเจริญเตบิ โตและพฒั นาการเดก็ ในศนู ยพ์ ัฒนาเด็ก กอ่ นวยั เรยี น วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลำปาง ขอบเขตของการวิจัย การศึกษาครัง้ น้ี มีขอบเขตการวิจยั ดังนี้ 1) ด้านเน้ือหาหรือตัวแปร คือ รูปแบบการดูแลเพ่อื การสง่ เสริม การเจริญเตบิ โตและพัฒนาการเด็ก 2) ด้านประชากร ที่ใช้ในการศกึ ษาครงั้ นี้ข้อมลู เชงิ ปริมาณประชากร คือ เด็ก กอ่ นวัยเรยี นและผูป้ กครองเด็กจำนวน 80 ราย ข้อมลู เชงิ คณุ ภาพประชากร คอื ผปู้ กครองเด็กจำนวน 15 คน ครู ผู้ดูแลเด็กจำนวน 13 คน กรรมการบริหารศูนย์เด็กจำนวน 3 คน อาจารย์พยาบาลเด็ก จำนวน 4 คน นักศึกษา พยาบาลศาสตรบัณฑิตที่ฝึกปฏิบัติรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น 1 ในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน 15 คน รวม 50 คน 3) ด้านพื้นที่ท่ีศกึ ษา ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรยี น วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลำปาง 4) ดา้ นระยะเวลา กรกฎาคม พ.ศ. 2563 – มถิ นุ ายน พ.ศ. 2564 กรอบแนวคดิ การวิจัย กรอบแนวคิดกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (action research) โดยใช้กระบวนการวิจัยที่ใช้การ วเิ คราะห์สถานการณ์ปัญหาดา้ นการเจรญิ เติบโตและพฒั นาการเดก็ การวางแผนและกำหนดรปู แบบการดูแลเพ่ือ การส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการเด็ก ในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลำปาง ระหว่าง ผู้ปกครองเด็ก คณะกรรมการบริหารศูนย์เด็ก อาจารย์พยาบาลเด็ก ครูผู้ดูแลเด็ก และ นักศึกษาพยาบาลศาสตรบณั ฑติ ชั้นปีที่ 3 โดยการสนทนากลุ่มและการสัมภาษณ์เชิงลึก และการนำรปู แบบการ ดูแลเพื่อการสง่ เสริมการเจรญิ เติบโตและพฒั นาการเด็ก รว่ มปรกึ ษาหารือ เพอื่ ปรบั เปลยี่ นรูปแบบการดแู ลเพื่อการ วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปีท่ี 8 ฉบบั ที่ 2 เดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

241 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มูล TCI กลมุ่ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) ส่งเสริมการเจรญิ เติบโตและพฒั นาการเด็กใหม้ ีความเหมาะสมและสามารถปฏบิ ตั ิได้จริงในการจัดบรกิ ารการดูแล สขุ ภาพเดก็ ในศูนยพ์ ัฒนาเด็กกอ่ นวยั เรยี น วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครลำปาง วธิ ดี ำเนนิ การวิจัย การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (action research) โดยเก็บข้อมูลเชิงสำรวจ (survey research) และวิจัยเชิง ปฏิบัตกิ าร (action research) โดยมีการดำเนนิ การ 2 ระยะ ดังนี้ ระยะท่ี 1 วธิ ีเชิงสำรวจ ประชากร ประชากรทีใ่ ช้ในการศกึ ษาครัง้ นี้ คอื เด็กวัยกอ่ นเรยี นทุกคน ผ้ปู กครองทุกคน และครูผู้ดูแลเด็กทุกคนใน ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน วิทยาลัยวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลำปาง ในช่วงเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2563 – มิถนุ ายน พ.ศ. 2564 เครอ่ื งมอื ทีใ่ ชใ้ นการวจิ ยั ประกอบด้วย 1. แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลของเด็กและผู้ปกครอง เป็นแบบกรอกข้อมูล จำนวน 10 ข้อ โดย ผ้ปู กครองกรอกขอ้ มูล 2. แบบประเมินการเจรญิ เตบิ โต โดยใชเ้ ครื่องชัง่ น้ำหนกั ทวี่ ดั สว่ นสงู ทมี่ ีมาตรฐาน แปลผลโดย ใช้เกณฑ์อ้างอิงการเจริญเติบโต ของสำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (Ministry of Public Health, 2020) เป็นแบบพล็อตกราฟวิเคราะหต์ ามเกณฑ์อ้างอิงการเจริญเติบโต อาจารย์พยาบาลเด็กเป็นผปู้ ระเมนิ 3. แบบประเมินพัฒนาการตามคมู่ อื เฝา้ ระวังคดั กรองและสง่ เสรมิ พัฒนาการเดก็ ปฐมวยั (Developmental Surveillance and Promotion Manual: DSPM) (Ministry of Public Health, 2020) โดย ใชช้ ุดเครือ่ งมอื ประเมนิ พฒั นาการ ซึง่ อาจารย์พยาบาลเดก็ เปน็ ผปู้ ระเมิน 4. แบบวัดความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการเด็กสำหรับครูผู้ดูแลเด็ก ทั้งหมด 40 ข้อ ประกอบด้วยขอ้ คำถามเลอื กตอบด้านการสง่ เสริมการเจรญิ เติบโตเด็กจำนวน 20 ข้อ และดา้ นพัฒนาการ เดก็ ซ่งึ คณะผู้วิจัยพัฒนาแบบวดั ความรขู้ ึน้ มา 5. แบบประเมินทักษะการปฏิบัติการส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการเด็กสำหรับครูผู้ดูแลเด็ก ประกอบดว้ ยรายการประเมินจำนวน 20 ข้อ ซง่ึ คณะผู้วจิ ัยพัฒนาแบบประเมนิ ทักษะนีข้ ึ้นมา การตรวจสอบคุณภาพเครอื่ งมอื 1. ความเท่ยี งตรงเชงิ เนอื้ หา (content validity) โดยใช้แบบวัดความรเู้ กยี่ วกับการส่งเสรมิ การเจรญิ เติบโต และพัฒนาการเด็กสำหรับครูผู้ดูแลเด็ก และแบบประเมินทักษะการปฏิบัติการส่งเสริมการเจริญเติบโตและ พัฒนาการเด็กสำหรับครผู ดู้ ูแลเดก็ ผา่ นการพิจารณาจากผ้ทู รงคุณวุฒิ 3 ท่าน ได้แก่ ผู้บริหารท่ีเชี่ยวชาญด้านการ ศึกษาวจิ ยั เชิงปฏิบตั กิ ารในสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั ระดับจงั หวดั 1 ทา่ น อาจารย์มหาวิทยาลัยท่เี ชีย่ วชาญด้านการ พัฒนามาตรฐานสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั แห่งชาติ 1 ท่าน และอาจารยพ์ ยาบาลเด็กท่ีเชี่ยวชาญด้านการสง่ เสรมิ การ วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื ปีท่ี 8 ฉบับที่ 2 เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

242 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยูใ่ นฐานข้อมลู TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) เจริญเตบิ โตและพัฒนาการโดยใชเ้ คร่ืองมอื DSPM 1 ทา่ น โดยกำหนดคา่ ดัชนคี วามสอดคลอ้ งตามวตั ถุประสงค์แต่ ละข้อมากกว่า 0.5 ผลการวิเคราะห์พบว่า ค่า IOC แยกตามรายองคป์ ระกอบ 2 องค์ประกอบ มีค่าระหว่าง 0.75- 0.98 ค่า IOC แยกตามรายข้อมีคา่ มากกว่า 0.5 และภาพรวมทงั้ 2 ฉบบั เท่ากบั 0.94 และ 0.98 ตามลำดบั 2. ความเชื่อมั่นของเครื่องมือ (reliability) แบบวัดความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมการเจริญเติบโตและ พฒั นาการเดก็ สำหรับครผู ดู้ ูแลเดก็ และแบบประเมินทกั ษะการปฏบิ ตั กิ ารสง่ เสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการ เด็กสำหรับครูผูด้ แู ลเดก็ ท่ผี า่ นการปรบั ปรงุ แกไ้ ขแล้วได้ นำไปทดลองใช้กบั ครผู ้ดู ูแลเดก็ จำนวน 10 ราย นำมาหา คา่ ความเชอ่ื มน่ั โดยใชค้ ่าสมั ประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาช (Cronbach’s coefficient alpha) ได้ค่าความเชื่อม่ัน เทา่ กับ 0.84 และ 0.86 ตามลำดับ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปรมิ าณ ผู้วิจัยนำข้อมลู ทีไ่ ด้มาทำการวิเคราะหโ์ ดยใช้โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ดงั น้ี 1. แบบสอบถามขอ้ มลู บุคคลของเดก็ และผปู้ กครอง แบบประเมินระดบั การเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการ เด็ก วิเคราะหโ์ ดยหาความถ่ี และรอ้ ยละ 2. แบบวัดความรู้และทกั ษะปฏิบตั กิ ารสง่ เสรมิ การเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการเดก็ ของครผู ู้ดแู ลเดก็ วิเคราะห์โดยหาคา่ ตำ่ สดุ คา่ สูงสุด ค่าเฉลี่ย และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน ระยะที่ 2 วิธีเชิงปฏิบัตกิ าร ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบและภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในการดูแลเด็กเพื่อส่งเสริมการ เจริญเติบโตและพัฒนาการ ทีค่ ัดเลือกกลุม่ ตัวอยา่ งแบบเฉพาะเจาะจง (purposive sampling) ไดแ้ ก่ ผู้ปกครอง เด็กจำนวน 15 คน กรรมการบรหิ ารศูนย์เดก็ จำนวน 3 คน อาจารยพ์ ยาบาลเดก็ จำนวน 4 คน ครูผู้ดูแลเด็กจำนวน 13 คน และนักศกึ ษาพยาบาลศาสตรบณั ฑติ จำนวน 15 คน รวม 50 คน เครื่องมือท่ีใชใ้ นการวจิ ัย ใชแ้ นวคำถามในการสนทนากลมุ่ ในการสัมภาษณเ์ ชิงลึก (In-depth interview) ทีผ่ ูว้ จิ ัยพัฒนาขึ้นเพื่อให้ สอดคล้องกบั วัตถุประสงค์ของการศกึ ษาวิจัยที่มคี วามเฉพาะเจาะจงในรายละเอยี ดของการพัฒนารูปแบบการดูแล เพ่ือการส่งเสรมิ การเจรญิ เติบโต จำนวน 4 องค์ประกอบ ได้แก่ การประเมินการเจริญเตบิ โต ภาวะโภชนาการ การ ออกกำลังกาย และการนอนหลับ ดังตัวอย่างแนวคำถาม “ท่านมีวิธกี ารประเมินการเจริญเติบโตของเด็กอย่างไร บ้าง” “ในความคดิ ของท่าน ท่านจะช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโตเด็กไดอ้ ย่างไรบ้าง” และการพัฒนารปู แบบการ ดูแลเพื่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก จำนวน 3 องค์ประกอบ ได้แก่ การประเมินพัฒนาการ การจัดกิจกรรมการ เรียนรผู้ า่ นการเล่น และแนวทางการอบรมเลยี้ งดสู ง่ เสรมิ พัฒนาการเดก็ ในศนู ย์พัฒนาเดก็ กอ่ นวยั เรียน ดงั ตวั อย่าง แนวคำถาม “ท่านทราบได้อย่างไรว่าเด็กมีปัญหาพัฒนาการ” “ท่านมีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการ สง่ เสรมิ พัฒนาการร่วมกบั ผ้ปู กครองเดก็ อย่างไรบา้ ง” วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปีท่ี 8 ฉบับท่ี 2 เดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook