Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 17026-5889-PB

17026-5889-PB

Published by sucheerapanyasai, 2021-12-25 05:21:10

Description: 17026-5889-PB

Keywords: วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ

Search

Read the Text Version

43 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มูล TCI กลุม่ ที่ 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) บทนำ การสูญเสียการได้ยินจากการสัมผัสเสียง (noise induced hearing loss) เป็นภาวะเสื่อมการได้ยินท่ี เกิดขน้ึ เน่ืองจากการสมั ผสั เสยี งดงั เปน็ เวลานานหลายปี อาจเปน็ การสูญเสียการได้ยนิ ขา้ งเดยี วหรอื ท้งั สองข้าง ซึ่ง การสูญเสียการได้ยินจะค่อยเป็นค่อยไปอย่างช้า ๆ ทีละน้อย (WHO, 2021) การสัมผัสเสียงดังมากกว่า 80 เดซิ เบล (เอ) ใน 8 ชว่ั โมงการทำงานอย่างตอ่ เน่อื งเป็นระยะเวลา 6-12 เดอื น จะเรมิ่ ปรากฏอาการของการสูญเสียการ ไดย้ นิ จากการสมั ผัสเสียงดงั ขึ้นอยา่ งชดั เจน โดยจะเกิดท่ชี ่วงความถ่สี ูง (3,000-6,000 เฮิรตซ)์ กอ่ นเป็นอันดับแรก โดยปกติจะพบความผิดปกติที่ 4,000 เฮิรตซ์ หากมีการสัมผัสเสียงดังต่อไปอีก การสูญเสียการได้ยินจะขยาย ออกไปที่ช่วงความถี่ต่ำหรือความถี่ของการสนทนา (500-2,000 เฮิรตซ์) ทำให้ไม่สามารถรบั ฟังเสียงพดู ไดอ้ ยา่ ง ชัดเจน (Kowalska, 2017) การสูญเสยี การไดย้ นิ จากการประกอบอาชีพเป็นภาวะคกุ คามอย่างหนึ่งของผู้ประกอบอาชีพ ซึ่งมีหลาย หน่วยงานใหค้ วามสำคัญกับสภาวะแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพของผู้ประกอบอาชีพ ไม่ว่าจะเป็น Occupational Safety and Health Administration ( OSHA) , National Institute for Occupational Safety and Health (NIOSH) และ Mine Safety and Health Administration (MSHA) มีรายงานพบว่าการสูญเสียการได้ยินจาก การประกอบอาชพี เป็นการเจบ็ ปว่ ยที่เกี่ยวขอ้ งกับการทำงานทีพ่ บได้มากทีส่ ุดของผ้ปู ระกอบอาชพี ในสหรฐั อเมรกิ า มีรายงานการศึกษา พบว่าในอุตสาหกรรมเหมืองแร่มีอัตราความชุกการสูญเสียการได้ยินมากที่สุด รองลงมาคอื พนักงานก่อสร้าง อุตสาหกรรมการผลิต ตามลำดับ การใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล การควบคุมด้าน บรหิ ารจัดการ และการควบคมุ ดา้ นวิศวกรรมในสถานประกอบการ สามารถชว่ ยลดการสมั ผสั เสยี งดังในการทำงาน (Themann, 2019) สถานการณ์ภาวะสูญเสยี การได้ยินจากเสียงดงั ในประเทศไทย พ.ศ.2561 พบผู้ป่วยโรคประสาทหูเสื่อม จากเสียงดงั จำนวน 1,076 ราย คิดเปน็ อตั ราป่วยตอ่ ประชากรแสนราย เทากบั 1.78 ในขณะทีจ่ งั หวัดกาญจนบุรี พบผู้ป่วยประสาทหูเสื่อมจากสียงดังจำนวน 4 ราย คิดเป็นอัตราการป่วยต่อแสนประชากร เท่ากับ 0.45 (Institute Occupational and Environmental, 2018) จากรายงานสถานการณ์โรคการสูญเสียการได้ยินจาก เสียงดัง พ.ศ. 2556 – 2560 พบว่า ในพื้นทตี่ ำบลแก่งเสีย้ นมีแนวโน้มการเกดิ ผู้ป่วยทเี่ กิดการสญู เสยี การได้ยนิ จาก เสียงดัง เพิ่มขึ้นทุกปี โดยมากที่สุดใน พ.ศ. 2560 คิดเป็น 168.1 ต่อแสนประชากร พบมากที่สุด คือ หมู่บ้านทา่ คอกวัว จำนวน 7 ราย บ้านท่าเพนียด จำนวน 3 ราย บ้านท่าน้ำตื้น จำนวน2รายและบ้านตรอกมะตูมจำนวน2 ราย ตำบลบ้านเก่ามีแนวโน้มสถานการณ์พบผู้ป่วยด้วยโรคการสูญเสียการได้ยนิ จากเสียงดัง มีจำนวนลดลงจาก พ.ศ. 2559 จาก 109.22 ต่อแสนประชากร และลดลงใน พ.ศ. 2560 เหลือ 50.4 ต่อแสนประชากร (Kanchanaburi Public Health Office, 2018) ทั้งนี้ในปัจจุบันมีหน่วยงานราชการหลายหน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบปัญหา เกยี่ วกบั เสียงดงั ในการทำงาน ไดแ้ ก่ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงแรงงาน กระทรวงอตุ สาหกรรม และกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม มกี ารผลกั ดันใหเ้ กดิ กฎหมายต่าง ๆ ในการควบคมุ เสยี งดงั ในสงิ่ แวดล้อมหรือ วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีท่ี 8 ฉบับที่ 2 เดอื น มกราคม – มิถนุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.2

44 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มูล TCI กล่มุ ที่ 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) ในสถานทท่ี ำงาน เช่น ประกาศคณะกรรมการสง่ิ แวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 15 (พ.ศ. 2540) เรือ่ ง กำหนดมาตรฐาน ระดบั เสยี งโดยท่ัวไป (National Environment Board, 1997) ผู้วิจัยได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาการสูญเสียการได้ยินของกลุ่มประชาชนรอบโรงงาน อุตสาหกรรม จงึ ได้ทำการศกึ ษาความชกุ ของการสูญเสยี การไดย้ นิ และปัจจยั ทส่ี มั พนั ธ์กับการสญู เสยี การได้ยินของ กลมุ่ ประชาชนรอบโรงงานอตุ สาหกรรม โดยคลอบคลมุ ปจั จยั ส่วนบุคคล พฤตกิ รรมการใช้อปุ กรณ์ปอ้ งกันเสียงดัง ผลของการศึกษาเป็นข้อมูลพน้ื ฐานนำไปส่กู ารวางแผนเฝ้าระวงั และจัดระบบการดแู ลสขุ ภาพของประชาชนเพอื่ ลด โอกาสเสย่ี งตอ่ การสญู เสยี การได้ยินของกลมุ่ ประชาชนรอบโรงงานอตุ สาหกรรมต่อไป วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาระดับความดงั ของเสยี งเฉล่ียรอบโรงงานอุตสาหกรรม ความชุก การสูญเสียการได้ยินและ ปจั จัยส่วนบคุ คล ในกลุ่มประชาชนรอบโรงงานอตุ สาหกรรม 2. เพื่อศกึ ษาปัจจัยที่มคี วามสัมพันธก์ ับการสญู เสียการไดย้ นิ ในกลมุ่ ประชาชนรอบโรงงานอุตสาหกรรม ขอบเขตงานวิจัย การวิจัยครั้งนี้ มีของเขตการวิจัยคือ 1) ด้านเนื้อหามุ่งศึกษาระดับความดังของเสียงเฉลี่ยรอบโรงงาน อุตสาหกรรม ความชกุ การสญู เสยี การได้ยนิ และปัจจัยสว่ นบุคคล และปัจจยั ทีม่ คี วามสัมพนั ธ์กบั การสูญเสียการ ได้ยินในกลุ่มประชาชนรอบโรงงานอุตสาหกรรม 2) ด้านประชากร คือ กลุ่มประชาชนรอบโรงงานอุตสาหกรรม จำนวน 380 คน 3) ด้านพน้ื ท่ี คอื บรเิ วณตรวจวัดจุดที่ 1 พิกดั 13°56'15.8\"N และ 99°45'22.5\"E บรเิ วณชุมชน รอบขา้ งโรงงานนำ้ ตาลแห่งหนึง่ ในตำบลท่ามะกา อำเภอทา่ มะกา จังหวัดกาญจนบรุ ี บรเิ วณตรวจวดั จดุ ที่ 2 พิกัด 13°56'50.2\"N และ 99°42'34.6\"E บริเวณชุมชนรอบข้างโรงงานผลิตกระดาษแหง่ หนึ่ง ในตำบลท่าศาลา อำเภอ ท่าม่วง จังหวัดกาญจนบรุ ี และบรเิ วณตรวจวดั จดุ ที่ 3 พิกัด 14°03'05.4\"N และ 99°28'23.4\"E บรเิ วณชุมชนรอบ ขา้ งโรงงานอตุ สาหกรรมอาหารแห่งหน่งึ ในตำบลแกง่ เสย้ี น อำเภอเมอื ง จังหวัดกาญจนบรุ ี 4) ด้านระยะเวลาคือ ระหวา่ งเดือน พฤศจกิ ายน พ.ศ.2562 – พฤษภาคม พ.ศ.2563 มีตัวแปรทีศ่ ึกษา วิธดี ำเนนิ การวจิ ยั ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง ประชากรในการวิจัย คือ กลุ่มประชาชนรอบโรงงานอุตสาหกรรม บริเวณพื้นที่ตรวจวัดดังนี้ บริเวณ ตรวจวัดจุดท่ี 1 พิกัด 13°56'15.8\"N และ 99°45'22.5\"E บริเวณชุมชนรอบข้างโรงงานนำ้ ตาลแห่งหนึ่ง ในตำบล ท่ามะกา อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี บริเวณตรวจวัดจุดที่ 2 พิกัด 13°56'50.2\"N และ 99°42'34.6\"E บริเวณชมุ ชนรอบข้างโรงงานผลติ กระดาษแห่งหน่ึง ในตำบลทา่ ศาลา อำเภอทา่ ม่วง จังหวดั กาญจนบรุ ี และบรเิ วณ ตรวจวัดจุดที่ 3 พิกัด 14°03'05.4\"N และ 99°28'23.4\"E บริเวณชุมชนรอบข้างโรงงานอุตสาหกรรมอาหารแห่ง วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีท่ี 8 ฉบบั ที่ 2 เดือน มกราคม – มิถุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.2

45 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มูล TCI กลมุ่ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) หนึ่ง ในตำบลแก่งเสีย้ น อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้มีเกณฑ์การคัดเลือกกลมุ่ ตัวอย่างที่ศึกษา ดังน้ี เกณฑ์การคดั เข้ากลมุ่ ตัวอย่าง (inclusion criteria) 1. ประชาชนรอบโรงงานอุตสาหกรรม รศั มไี มเ่ กนิ 500 เมตร อายุ 18 ปี ข้นึ ไป 2. อาศยั อยู่ในพ้ืนทีไ่ มต่ ำ่ กว่า 1 ปี 3. ไมเ่ ปน็ โรคหูตึง เกณฑก์ ารคัดออกกลมุ่ ตวั อย่าง (exclusion criteria) 1. ไม่สามารถเข้ารับการตรวจสมรรถภาพการไดย้ ิน 2. ตอบแบบสอบถามไมค่ รบตามทก่ี ำหนด 3. ย้ายภมู ิลำเนาไปอยู่ต่างถิ่น การสุ่มตัวอยา่ ง ทำการสุ่มแบบง่าย (Simple Random) ซึ่งกลุ่มตัวอย่างเป็นกลุ่มประชาชนรอบโรงงานอุตสาหกรรมท่ี สัมผสั เสียงดัง ระหว่างเดอื น พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 ถึง พฤษภาคม พ.ศ. 2563 จำนวน 380 คน วธิ ีการคำนวณกลุ่มตัวอยา่ ง n = Z2P(1-P)/D2 = 1.962 * 0.42 (1-0.42)/0.052 = (1.635)(0.58)/0.052 = 0.948/0.052 = 380 คน ***หมายเหตุ ค่า P=0.42 อา้ งอิงงานวจิ ัย Mccullagh MC (2011) เครือ่ งมอื ทใ่ี ช้ในการวิจัย ประกอบดว้ ย 1 แบบสัมภาษณ์ข้อมูลพื้นฐานสำหรับการตรวจสมรรถภาพการได้ยินของกลุ่มประชาชนรอบโรงงาน อุตสาหกรรม ซ่งึ ดัดแปลงจากแบบสอบถามจากสำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสง่ิ แวดลอ้ ม กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข คอื สว่ นท่ี 1 แบบสัมภาษณค์ ณุ ลักษณะสว่ นบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศกึ ษา ประวัติ การสบู บุหรี่ ประวัติการทำงานทส่ี มั ผสั เสยี งดัง ประวัตกิ ารเจ็บปว่ ยโรคทางหู ประวตั กิ ารเกิดอบุ ตั ิเหตุท่ีหหู รอื ศรี ษะ ประวตั ิญาตพิ ีน่ อ้ งหตู งึ ก่อนอายุ 50 ปี ประวตั ิการใชย้ าปฏิชีวนะ และประวัติการสัมผสั สารเคม/ี ตัวทำละลาย 2 แบบบันทึกขอ้ มลู การตรวจสมรรถภาพการได้ยนิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ผู้วิจัยได้นำไปให้ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา (Content Validity) โดยผู้ทรงคุณวฒุ ิที่มีความเช่ียวชาญในสาขาตา่ ง ๆ จำนวน 3 ท่าน ไดค้ ่า IOC เท่ากบั 0.80 3 เครื่องมือวดั ประกอบด้วย 3.1 Sound level meter รุ่น SV 973 technical specifications class 2: IEC 61672-1:2013 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 เดอื น มกราคม – มิถุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.2

46 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมูล TCI กลุม่ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) 3.2 เครื่องตรวจสมรรถภาพการได้ยิน (Audiometer) รุ่น AUDIOLYSER® ADL20 Class 4 tonal audiometer 3.3 Sound Calibrators รนุ่ SV 36 . การวิเคราะหข์ ้อมูล หลังจากการเก็บรวบรวมข้อมูลตามระยะเวลาที่กำหนด ผู้วิจัยตรวจสอบความสมบูรณ์และความถกู ต้อง ของข้อมูล แล้วทำคู่มือการลงรหสั และนำไปวิเคราะหท์ างสถิติดว้ ยคอมพิวเตอร์ โดยวเิ คราะหข์ อ้ มลู 2 สว่ น คอื 1. สถิตเิ ชิงพรรณนา (descriptive statistics) ใชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมูล ดงั นี้ 1.1 ข้อมูลท่ัวไป ระดับเสียงดัง 24 ชว่ั โมง และผลการตรวจสมรรถภาพการได้ยนิ ของกลุ่ม ตวั อยา่ งวิเคราะห์หาความถ่ี ร้อยละ 2 สถิติวิเคราะห์ (analytical statistics) ใชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมลู ดังนี้ 2.1 เปรียบเทียบความสมั พนั ธร์ ะหว่างปจั จัยด้านบุคคล พฤติกรรมการใช้อปุ กรณ์ป้องกันเสยี งดัง การ สูญเสยี การได้ยนิ โดยใชส้ ถติ ิไค-สแควร์ (chi-square test) การพิทกั ษ์สทิ ธก์ิ ลุม่ ตวั อยา่ งและจริยธรรมการวจิ ยั ไดร้ ับการพิจารณาจากคณะกรรมการวจิ ัยประจำสาขาวิชาทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั มนษุ ย์ มหาวทิ ยาลัยรามคำแหง เลขท่ี xd-0178/62 และแจง้ ใหก้ ล่มุ ตัวอย่างทราบวัตถปุ ระสงค์และประโยชนข์ องการทำวิจัยและหากกลมุ่ ตัวอย่าง เข้าร่วมการวิจัยต้องเซ็นยินยอมเข้าร่วมการวิจัย ข้อมูลของกลุ่มตัวอย่างจะเก็บเป็นความลับและรายงานเป็น ภาพรวมเทา่ นนั้ ผลการวิจยั จากการศกึ ษา พบวา่ ระดบั ความดังเสียงบริเวณชุมชนรอบข้างโรงงานอุตสาหกรรมผลติ นำ้ ตาลมีความดัง เสียงดังเฉลี่ย Leq 12 hr ในวันหยุด ระหว่างช่วงเวลา 06.00-22.00 น. เท่ากับ 67.0 เดซิเบล(เอ) และความดัง เสียงดังเฉลยี่ Leq 12 hr ระหวา่ งชว่ งเวลา 22.00-06.00 น. เทา่ กับ 64.5 เดซเิ บล(เอ) ระดับความดังเฉลยี่ Leq 24 hr เท่ากับ 65.7 เดซิเบล(เอ) ขณะท่คี วามดังเสยี งดงั เฉล่ีย Leq 12 hr ในวนั ทำงาน ระหวา่ งชว่ งเวลา 06.00- 22.00 น. เท่ากับ 78.7 เดซิเบล(เอ) และความดังเสียงดังเฉลี่ย Leq 12 hr ระหว่างช่วงเวลา 22.00-06.00 น. เท่ากบั 70.5 เดซเิ บล(เอ) ระดบั ความดังเฉล่ยี Leq 24 hr เทา่ กบั 74.9 เดซิเบล(เอ) เมื่อเปรียบเทยี บระดบั ความ ดังเสียงเฉล่ีย Leq 24 hr ในวันหยดุ และวันทำงาน พบว่า มีค่าเฉลี่ย Leq 24 hr ต่างกันเท่ากบั 9.2 เดซิเบล(เอ) ระดบั เสยี งเฉลยี่ Leq 24 hr ในวนั ทำงานมคี า่ เกนิ มาตรฐาน โดยอ้างองิ ประกาศคณะกรรมการสง่ิ แวดลอ้ มแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 15 (พ.ศ. 2540) เร่อื ง กำหนดมาตรฐานระดับเสียงโดยทวั่ ไป ออกโดยอาศยั อำนาจตามมาตรา 32(5) แห่ง พระราชบัญญตั สิ ง่ เสรมิ และรกั ษา คณุ ภาพสิ่งแวดลอ้ ม พ.ศ. 2535 ดังแสดงในตารางที่ 1 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีท่ี 8 ฉบับท่ี 2 เดอื น มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.2

47 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมูล TCI กลุม่ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) ตารางที่ 1 ระดบั ความดงั เสียงบรเิ วณชมุ ชนรอบข้างโรงงานอุตสาหกรรมนำ้ ตาล ครัง้ ที่ ระดบั ความดังเสยี ง(dBA) ระดับความดังเสยี ง(dBA) ระดับความดังเสยี ง วันหยดุ 06.00 - 22.00 น. 22.00 – 06.00 น. Leq 24 hr วันทำงาน 67.0 64.5 65.7 ค่ามาตรฐานกฎหมายไทย 78.7 70.5 74.9 70.0 จากการศกึ ษา พบวา่ ระดับความดงั เสยี งบรเิ วณชมุ ชนรอบข้างโรงงานอุตสาหกรรมผลติ กระดาษมีความ ดงั เสียงดังเฉลี่ย Leq 12 hr ในวันหยดุ ระหวา่ งช่วงเวลา 06.00-22.00 น. เท่ากบั 65.4 เดซิเบล(เอ) และความดัง เสียงดงั เฉล่ยี Leq 12 hr ระหว่างช่วงเวลา 22.00-06.00 น. เท่ากบั 61.7 เดซิเบล(เอ) ระดับความดงั เฉลย่ี Leq 24 hr เทา่ กับ 63.8 เดซิเบล(เอ) ขณะทค่ี วามดงั เสียงดังเฉลี่ย Leq 12 hr ในวนั ทำงาน ระหวา่ งชว่ งเวลา 06.00- 22.00 น. เท่ากับ 72.6 เดซิเบล(เอ) และความดังเสียงดังเฉลี่ย Leq 12 hr ระหว่างช่วงเวลา 22.00-06.00 น. เทา่ กับ 65.0 เดซิเบล(เอ) ระดับความดงั เฉลย่ี Leq 24 hr เท่ากับ 68.8 เดซเิ บล(เอ) เมอื่ เปรยี บเทยี บระดบั ความ ดังเสียงเฉลี่ย Leq 24 hr ในวันหยุดและวันทำงาน พบว่า มีค่าเฉลี่ย Leq 24 hr ต่างกันเท่ากับ 5 เดซิเบล(เอ) ระดับเสียงเฉลี่ย Leq 24 hr ในวันทำงานและวันหยุดมีค่าไม่เกินมาตรฐาน โดยอ้างอิงประกาศคณะกรรมการ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 15 (พ.ศ. 2540) เรื่อง กำหนดมาตรฐานระดบั เสียงโดยทัว่ ไป ออกโดยอาศัยอำนาจ ตามมาตรา 32(5) แห่งพระราชบญั ญตั ิสง่ เสรมิ และรักษา คณุ ภาพส่ิงแวดลอ้ ม พ.ศ. 2535 ดงั แสดงในตารางที่ 2 ตารางที่ 2 ระดับความดงั เสียงบริเวณชมุ ชนรอบข้างโรงงานอุตสาหกรรมผลิตกระดาษ ครงั้ ที่ ระดบั ความดงั เสียง (dBA) ระดับความดงั เสยี ง (dBA) ระดบั ความดงั วนั หยุด 06.00 - 22.00 น. 22.00 – 06.00 น. เสียง Leq 24 hr วนั ทำงาน 65.4 61.7 63.8 คา่ มาตรฐานกฎหมายไทย 72.6 65.0 68.8 70.0 จากการศึกษา พบว่า ระดับความดังเสียงบริเวณชุมชนรอบข้างโรงงานอุตสาหกรรมอาหารมีความดังเสียงดัง เฉล่ีย Leq 12 hr ในวันหยุด ระหวา่ งชว่ งเวลา 06.00-22.00 น. เทา่ กบั 65.8 เดซิเบล(เอ) และความดังเสียงดงั เฉลี่ย Leq 12 hr ระหวา่ งชว่ งเวลา 22.00-06.00 น. เท่ากบั 61.1 เดซิเบล(เอ) ระดบั ความดงั เฉล่ยี Leq 24 hr เทา่ กบั 63.4 เดซิเบล (เอ) ขณะที่ความดังเสียงดังเฉล่ีย Leq 12 hr ในวันทำงาน ระหว่างช่วงเวลา 06.00-22.00 น. เท่ากับ 75.8 เดซิเบล(เอ) และความดงั เสยี งดังเฉลี่ย Leq 12 hr ระหวา่ งชว่ งเวลา 22.00-06.00 น. เท่ากับ 71.0 เดซเิ บล(เอ) ระดบั ความดังเฉล่ีย Leq 24 hr เท่ากับ 73.3 เดซิเบล(เอ) เมื่อเปรียบเทียบระดับความดังเสียงเฉลี่ย Leq 24 hr ในวันหยุดและวันทำงาน พบวา่ มคี า่ เฉลี่ย Leq 24 hr ตา่ งกันเท่ากบั 9.9 เดซิเบล(เอ) ระดบั เสียงเฉลยี่ Leq 24 hr ในวนั ทำงานมคี ่าเกินมาตรฐาน โดยอ้างอิงประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 15 (พ.ศ. 2540) เรื่อง กำหนดมาตรฐานระดับเสียง วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือน มกราคม – มถิ นุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.2

48 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มูล TCI กลุ่มที่ 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) โดยทัว่ ไป ออกโดยอาศัยอำนาจตามมาตรา 32(5) แหง่ พระราชบญั ญตั ิส่งเสริมและรักษา คุณภาพส่ิงแวดลอ้ ม พ.ศ. 2535 ดงั แสดงในตารางที่ 3 ตารางที่ 3 ระดับความดงั เสยี งบรเิ วณชมุ ชนรอบข้างโรงงานอตุ สาหกรรมอาหาร ครงั้ ที่ ระดับความดงั เสียง (dBA) ระดับความดังเสีย(dBA) ระดบั ความดัง วนั หยุด 06.00 - 22.00 น. 22.00 – 06.00 น. เสยี ง Leq 24 hr วนั ทำงาน 65.8 61.1 คา่ มาตรฐานกฎหมายไทย 75.8 71.0 63.4 73.3 70.0 จากการศึกษา พบว่า ความชุกการสูญเสียการได้ยินของกลุ่มตัวอย่างประชาชนรอบโรงงานอุตสาหกรรม มี จำนวนรอ้ ยละ 3.2 และพบวา่ สญู เสยี การไดย้ ินท่ีหดู ้านขวาและหูดา้ นซ้ายจำนวนร้อยละ 2.4 ในขณะทก่ี ารสญู เสียการได้ ยินท่ีหทู งั้ สองดา้ นจำนวนรอ้ ยละ 1.6 รายละเอยี ดดังตารางที่ 4 ตารางท่ี 4 ความชกุ การการสูญเสียการได้ยนิ ในกล่มุ ตัวอย่างประชนชนรอบโรงงานอตุ สาหกรรม หทู ่ีสญู เสยี การได้ยนิ ปกติ ผิดปกติ รวม หูด้านซา้ ย ความถ(่ี ร้อยละ) ความถ(่ี ร้อยละ) ความถ(่ี ร้อยละ) หดู ้านขวา หูทง้ั สองขา้ ง 371(97.6) 9(2.4) 380(100) 371(97.6) 9(2.4) 380(100) หดู า้ นซา้ ยหรือด้านขวา 374(98.4) 6(1.6) 380(100) 368(96.8) 12(3.2) 380(100) จากการศึกษาปัจจัยสว่ นบุคคลของกลุม่ ตัวอย่างประชาชนรอบโรงงานอตุ สาหกรรมพบว่า กลุ่มตัวอยา่ ง เป็นเพศหญงิ ร้อยละ 53.2 และเพศชาย ร้อยละ 46.8 อายุเฉลยี่ 33.3 ปี อายไุ ม่เกิน 35 ปี รอ้ ยละ 60.8 รองลงมา คอื อายุ 35 ปีขึน้ ไป รอ้ ยละ 39.2 สถานภาพโสด รอ้ ยละ 54.7 รองลงมาคือ สมรส รอ้ ยละ 43.2 และหม้าย ร้อย ละ 2.1 ระดับการศึกษาส่วนใหญ่จบประถมศึกษา ร้อยละ 75.3 รองลงมา มัธยมศึกษาตอนต้น ร้อยละ 10.5 ปรญิ ญาตรหี รอื สงู กวา่ รอ้ ยละ 6.3 มัธยมปลายร้อยละ 4.5 และ ไม่ได้เรียนร้อยละ 3.4 ตามลำดบั กล่มุ ตัวอยา่ งมีประสบการณ์ทำงานในโรงงานอตุ สาหกรรมตง้ั แต่ 1-4 ปี รอ้ ยละ 69.2 และมปี ระสบการณ์ ทำงานในโรงงานอุตสาหกรรม เกิน 5 ปีขึ้นไปร้อยละ 20.8 การสูบบุหรี่ พบว่า ไม่สูบร้อยละ 78.4 เคยสูบแต่เลิก แล้วร้อยละ 5.3 และสบู บหุ รร่ี อ้ ยละ 16.3 มีประวัติการทำงานสมั ผสั เสยี งดังร้อยละ 58.9 และไม่เคยสัมผสั เสยี งดงั ร้อยละ 41.1 ไมเ่ คยมีประวัติเจ็บป่วยทางหแู ละประวัติการเกิดอบุ ตั ิเหตุทางหหู รือศีรษะ กลุ่มตัวอย่างสว่ นใหญไ่ ม่มญี าตหิ ูตงึ ก่อนอายุ 50 ปจี ำนวนร้อยละ 93.4 และมีญาตหิ ูตงึ ร้อยละ 6.6 ไมเ่ คย มีประวัติการใช้ยาปฏิชวี นะ ร้อยละ 78.9 และเคยมีประวัติการใช้ยาปฏชิ ีวนะ ร้อยละ 21.1 ไม่เคยมีประวตั กิ าร สมั ผัสสารเคมหี รอื ตัวทำละลายร้อยละ 92.1 และเคยมปี ระวัติการสมั ผสั สารเคมีและตวั ทำละลายรอ้ ยละ 7.9 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีที่ 8 ฉบับท่ี 2 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.2

49 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานข้อมลู TCI กล่มุ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) จากการศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการสูญเสียการได้ยินของกลุ่มตัวอย่างประชาชนรอบโรงงาน อุตสาหกรรมพบวา่ อายุ 35 ปขี ้ึนไปมคี วามสัมพนั ธ์กับการสูญเสยี การไดย้ ินอยา่ งมนี ัยสำคญั ทางสถิติท่รี ะดบั 0.05 สว่ น เพศ สถานภาพ ระดบั การศึกษา ประสบการณ์ทำงาน ประวัติการสูบบุหร่ี ระดับเสยี งรอบโรงงาน มีประวัติ การสัมผัสเสียงดังในโรงงาน มีญาติหูตึงก่อนอายุ 50 ปี เคยมีประวัติการใช้ยาปฏิชีวนะ และมีประวัติการสัมผัส สารเคมีหรือตัวทำละลาย ไม่มีความสัมพันธ์กับการสูญเสียการได้ยินอย่างมีนยั สำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ดัง ตารางที่ 5 ตารางท่ี 5 ปัจจยั ท่มี คี วามสมั พนั ธต์ ่อการสูญเสยี การได้ยนิ ของกลมุ่ ตวั อยา่ งประชาชนรอบโรงงานอตุ สาหกรรม รายการ สูญเสยี การไดย้ ิน 2 p-valve 1.956 0.162 1.เพศ ไมใ่ ช่ ใช่ 3.919 0.048* ชาย จำนวน(รอ้ ยละ) จำนวน(ร้อยละ) 5.680** 0.059 หญิง 1.067 0.302 170(44.70) 8(2.10) 2.146 0.143 2. อายุ 198(52.10) 4(1.10) 0.446** 0.844 ไม่เกิน 35 ปี 35 ปขี ึ้นไป 227(59.70) 4(1.10) 1.315 0.252 141(37.10) 8(2.10) 3. สถานภาพ โสด 199(52.40) 9(2.40) สมรส 162(42.60) 2(0.50) หม้าย 1(0.30) 7(1.80) 4. ระดับการศกึ ษา ≤ ประถมศึกษา 291(76.60) 8(2.10) ≥ มัธยมศึกษา 77(20.3) 4(1.1) 5. ประสบการณ์ 257(67.6) 6(1.6) ทำงานในโรงงาน 111(29.2) 6(1.6) 287(75.5) 11(2.9) 1-4 ปี 20(5.3) 0(0) 5 ปีข้ึนไป 61(16.1) 1(0.3) 6. การสบู หรี่ ไม่สูบ 119(31.5) 2(0.5) เคยสบู แต่เลิกแลว้ 249(65.5) 10(2.5) สบู 7. ระดบั เสียงดงั รอบ โรงงาน ไมเ่ กนิ 70 dBA เกิน 70 dBA วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปีท่ี 8 ฉบับที่ 2 เดือน มกราคม – มิถนุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.2

50 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอย่ใู นฐานขอ้ มูล TCI กลุ่มที่ 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) ตารางท่ี 5ปจั จยั ที่มีความสัมพนั ธ์ตอ่ การสญู เสียการไดย้ ินของกลุม่ ตัวอยา่ งประชาชนรอบโรงงานอุตสาหกรรม (ต่อ) รายการ สูญเสยี การไดย้ ิน 2 p-valve 3.045 0.081 ไมใ่ ช่ ใช่ 0.873 0.350 จำนวน (ร้อยละ) จำนวน (รอ้ ยละ) 1.206 0.272 8. มีประวัตกิ ารสมั ผสั 154(40.5) 2(0.5) 1.062 0.303 เสยี งดงั ในโรงงาน 214(56.3) 10(2.6) 343(90.3) 12(3.2) ไม่เคย 25(6.6) 0(0) เคย 289(76.1) 11(2.9) 9. มญี าตหิ ตู ึงกอ่ นอายุ 79(20.8) 1(0.3) 50 ปี ไม่มี 338(88.9) 12(3.2) มี 30(7.9) 0(0) 10. เคยมปี ระวัตกิ าร ใช้ ยาปฏชิ ีวนะ ไม่เคย เคย 11. มปี ระวัติการ สมั ผัส สารเคมีหรอื ตัวทำ ละลาย ไม่เคย เคย *มคี วามสัมพนั ธอ์ ยา่ งมีนยั สำคัญทางสถติ ิ (p-vale ≤ .05) ** Fisher's exact test จากการศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการสูญเสียการได้ยินของกลุ่มตัวอย่างประชาชนรอบโรงงาน อุตสาหกรรมพบว่า ประวัติการสัมผัสเสียงในโรงงานอุตสาหกรรม มีญาติหูตึงก่อนอายุ 50 ปี ประวัติการใช้ยา ปฏิชีวนะ และประวัติการสัมผัสสารเคมีหรือตัวทำละลาย ไม่มีความสัมพันธ์กับก ารสูญเสียการได้ยินอย่างมี นยั สำคญั ทางสถติ ทิ รี่ ะดับ 0.05 อภปิ รายผล จากการวัดระดบั ความดงั เสียงโรงงานอุตสาหกรรมในวนั ทำงานบรเิ วณชมุ ชนรอบขา้ งโรงงานอตุ สาหกรรม น้ำตาล และโรงอุตสาหกรรมอาหารมีคา่ เกินมาตรฐาน เนอื่ งจากชว่ งวนั ทำงานในอุตสาหกรรมโรงงานน้ำตาลและ โรงอุตสาหกรรมอาหารมีรถบรรทุกวัตถุดิบเข้าออกจากโรงงานจำนวนมากทำให้เกิดเสียงดังเกินมาตรฐาน ซึ่ง วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปีท่ี 8 ฉบับท่ี 2 เดือน มกราคม – มิถนุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.2

51 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มลู TCI กลมุ่ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) สอดคล้องกับงานวิจัยของพฐั จักร พร้าวไธสง พบว่าระดบั ความดังเสียงเฉลี่ยบนท้องถนนอยู่ในช่วง 61.7 - 81.0 dBA โดยระดบั ความดังเสียงทีม่ ากท่สี ดุ มีความสมั พนั ธก์ บั รถจกั รยานยนต์ รถปกิ อัพ รถบรรทุก รถเกง๋ รถตู้ และรถ บสั ตามลำดบั (Phraothaisong, 2018) จากงานวจิ ัยของ Kumar Mondel พบวา่ คนขบั รถบรรทกุ สัมผสั เสียงดัง ในช่วง 87.95-103.4 dBA (Kumar Mondel, 2014 ) ดังนั้นเสียงจากรถบรรทุกก่อให้เกิดระดับเสียงดังเกิน มาตรฐานได้ ในขณะที่เสียงดังจากกระบวนการผลิตโรงงานก่อให้เกิดเสียงดังในบริเวณชุมชนรอบข้างโรงงาน เชน่ เดียวกัน และพบวา่ วนั หยดุ เสยี งดังไมเ่ กินมาตรฐานเนอื่ งจากไมม่ ีการทำงานและไม่มรี ถบรรทุกเข้าออกโรงงาน จากการวดั ระดับความดงั เสียงในวนั ทำงานและวนั หยุดบรเิ วณชุมชนรอบข้างโรงงานอุตสาหกรรมกระดาษ มีค่าไม่เกินมาตรฐาน ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 15 (พ.ศ. 2540) เรื่อง กำหนด มาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป ออกโดยอาศัยอำนาจตามมาตรา 32(5) แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษา คณุ ภาพสงิ่ แวดลอ้ ม พ.ศ. 2535 ในขณะทีค่ ่าเฉลย่ี ความดังเสยี ง Leq 24 hr ในวันหยดุ ไมเ่ กินมาตรฐานทกี่ ำหนดไว้ ความชุกการสูญเสียการได้ยินของกลุ่มตัวอย่างประชาชนรอบโรงงานอตุ สาหกรรม มีจำนวนร้อยละ 3.2 และพบว่าสูญเสยี การไดย้ ินทีห่ ดู า้ นขวาและหดู ้านซา้ ยจำนวนร้อยละ 2.4 ในขณะทีก่ ารสญู เสยี การได้ยนิ ท่ีหูทงั้ สอง ดา้ นจำนวนร้อยละ 1.6 อยา่ งไรก็ตามความชกุ ของการสญู เสียการไดย้ ินของชมุ ชนรอบขา้ งโรงงานมีเพยี ง ร้อยละ 3.2 เมือ่ ศึกษางานวจิ ยั ทผ่ี ่านมาของ (McCullagh, 2011) พบว่ามคี วามชุก รอ้ ยละ 42 (Phetprapun, 2015) ได้ ศกึ ษาการประเมนิ ระดบั เสยี งและสมรรถภาพการไดย้ ินของพนกั งานโรงงานโมห่ นิ พบวา่ ความดงั เสียงสว่ นใหญเ่ กนิ 85 dBA และความชุกการสูญเสียการได้ยนิ ร้อยละ 30 (Savitree, 2012) ศึกษาปจั จัยท่ีเก่ยี วข้องจากการเปล่ียน ระดับความสามารถในการไดย้ นิ มาตรฐานในพนักงานบรษิ ทั ผลิตมอเตอรค์ อมเพรสเซอร์ พบวา่ ความชกุ การสญู เสยี การไดย้ นิ ร้อยละ 10.99 และ (Ritngam, 2016) ศกึ ษาปจั จยั ที่สมั พนั ธ์กับการสญู เสยี การได้ยนิ ในพนักงานโรงงาน อตุ สาหกรรมโรงงานแปรรปู ยางธรรมชาติ จงั หวัดระยอง พบว่ามคี วามชุกของการสูญเสยี การได้ยิน ร้อยละ 60.0 แสดงให้เห็นว่าพนักงานที่ทำงานในโรงงานที่มีเสียงดังเกิน 85 dBA มีโอกาสการสูญเสียการได้ยินมากกว่า ประชาชนรอบข้างโรงงานอุตสาหกรรมท่โี อกาสสมั ผสั เสยี งดังน้อยกว่า สอดคลอ้ งกบั การศึกษาของ (Johari, 2019) พบว่าการสัมผัสเสยี งมากกว่า 85 dBA ก่อใหผ้ ลกระทบการสญู เสียการได้ยิน ปัจจัยส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่างประชาชนรอบโรงงานอุตสาหกรรม พบว่า กลุ่มตวั อย่างเป็นเพศหญงิ ร้อยละ 53.2 และเพศชาย รอ้ ยละ 46.8 อายเุ ฉล่ยี 33.3 ปี อายุไม่เกิน 35 ปี รอ้ ยละ 60.8 รองลงมาคืออายุ 35 ปี ขน้ึ ไป รอ้ ยละ 39.2 สถานภาพโสด ร้อยละ 54.7 รองลงมาคอื สมรส รอ้ ยละ 43.2 และหม้าย ร้อยละ 2.1 ระดับ การศึกษาส่วนใหญ่จบประถมศกึ ษา ร้อยละ 75.3 รองลงมา มัธยมศกึ ษาตอนตน้ ร้อยละ 105 ปริญญาตรีหรือสูง กวา่ รอ้ ยละ 6.3 มธั ยมปลายรอ้ ยละ 4.5 และ ไม่ได้เรียนรอ้ ยละ 3.4 ตามลำดับ มปี ระสบการณท์ ำงานในโรงงาน อตุ สาหกรรมตั้งแต่ 1-4 ปี รอ้ ยละ 69.2 และมปี ระสบการณท์ ำงานในโรงงานอุตสาหกรรม เกนิ 5 ปีข้ึนไปร้อยละ 20.8 การสูบบหุ ร่ีพบว่า ไม่สูบรอ้ ยละ 78.4 เคยสบู แตเ่ ลกิ แลว้ รอ้ ยละ 5.3 และสบู บุหรี่ร้อยละ 16.3 มปี ระวัติการ ทำงานสมั ผัสเสยี งดงั รอ้ ยละ 58.9 และไม่เคยสมั ผสั เสยี งดงั รอ้ ยละ 41.1 ไม่เคยมปี ระวัตเิ จบ็ ป่วยทางหูและประวัติ การเกดิ อุบัตเิ หตุทางหูหรือศรี ษะ กลุ่มตัวอย่างสว่ นใหญ่ไม่มีญาติหูตึงกอ่ นอายุ 50 ปีจำนวนร้อยละ 93.4 และมี ญาติหูตึงร้อยละ 6.6 ไมเ่ คยมีประวัตกิ ารใชย้ าปฏิชีวนะ ร้อยละ 78.9 และเคยมปี ระวตั กิ ารใชย้ าปฏิชวี นะ ร้อยละ 21.1 ไมเ่ คยมีประวัตกิ ารสมั ผสั สารเคมหี รือตวั ทำละลายร้อยละ 92.1 และเคยมีประวตั กิ ารสัมผัสสารเคมีและตัว ทำละลายร้อยละ 7.9 ตามลำดับ วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.2

52 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอยูใ่ นฐานขอ้ มลู TCI กลมุ่ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) จากการศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการสูญเสียการได้ยินของกลุ่มตัวอย่างประชาชนรอบโรงงาน อุตสาหกรรมพบว่า อายุ 35 ปี ข้นึ ไปมคี วามสมั พันธก์ ับการสญู เสียการไดย้ ินอย่างมีนยั สำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดบั 0.05 จากงานวิจัยของ (Bunlong, 2013) ได้ศึกษาความชุกของการสูญเสียสมรรถภาพการได้ยินและความสัมพันธ์ ระหว่างปัจจัยคัดสรรกับการสูญเสียสมรรถภาพการได้ยินในการปฏิบัติงาน พบว่า อายุมีความสัมพันธ์ต่อการ สญู เสยี การไดย้ นิ และพบว่าผู้สูญเสยี สรรถภาพการได้ยิน ร้อยละ 83.3 อยูใ่ นชว่ งอายุ 30-59 ปี และจากงานวิจัย ของ (Worawonnotai, 2008) ได้ศึกษา การศึกษาผลการตรวจการได้ยินของเจ้าหน้าท่ีกลุ่มเสี่ยงต่อการสูญเสยี การ ได้ยนิ โรงพยาบาลภูมิพลอดลุ ยเดช พบวา่ กลมุ่ อายชุ ่วง 51-60 ปี เรมิ่ มีภาวะประสาทหูเสอื่ มจากการไดย้ นิ ตาม ธรรมชาติ แสดงใหเ้ ห็นวา่ อายมุ คี วามสมั พนั ธต์ ่อการสญู เสยี การไดย้ ิน ในขณะท่ี เพศ สถานภาพ ระดบั การศึกษา ประสบการณท์ ำงาน ประวัติการสูบบุหรี่ ระดบั เสยี งดงั รอบโรงงาน ประวัตกิ ารสัมผสั เสียงในโรงงานอตุ สาหกรรม มีญาติหูตึงก่อนอายุ 50 ปี ประวัติการใช้ยาปฏิชีวนะ และประวัติการสัมผัสสารเคมีหรือตัวทำละลายไม่มี ความสัมพันธ์กับการสูญเสียการได้ยินอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ จากข้อมูลองค์การอนามัยโลก ระดับเสียงท่ี ก่อใหเ้ กิดการสูญเสยี สมรรถภาพการไดย้ ินมักเกิดจากการไดร้ บั เสยี งดังต้ังแต่ 80 dBA และสัมผัสเสยี งดงั อยา่ งนอ้ ย 8 ชว่ั โมงต่อวันเป็นระยะเวลานาน (WHO, 2021) ดงั นัน้ ประชาชนรอบโรงงานท่สี มั ผสั เสยี งดงั จงึ ไม่สง่ ผลใหเ้ กดิ การ สูญเสยี สมรรถภาพการไดย้ นิ ขอ้ เสนอแนะในการนำผลวิจยั ไปใช้ 1 จากผลวจิ ัยพบวา่ ระดบั เสียงดังในวนั ปกติ มรี ะดบั เสียงดงั เกนิ มาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการสิ่ง แวดลอมแหงชาติ ฉบับท่ี 15 (พ.ศ. 2540) เรือ่ ง กำหนดมาตรฐานระดบั เสยี งโดยทวั่ ไปในบางพน้ื ที่ จงึ ควรเฝ้าระวงั และใหค้ วามรู้เก่ยี วกับอนั ตรายจากการสมั ผสั เสยี งดงั ในประชาชนรอบโรงงานอตุ สาหกรรม 2 จากผลวิจัยพบว่า ความชุกการสูญเสียการได้ยิน พบในกลุม่ ที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป จึงควรเฝ้าระวังและ ตรวจตดิ ตามสมรรถภาพการได้ยินในกลุ่มดังกล่าวเป็นกรณพี เิ ศษ ข้อเสนอแนะในการศกึ ษาคร้ังต่อไป 1 ควรมีการศึกษาถงึ ประเมินการสมั ผัสเสยี งสะสมของประชาชนในรอบขา้ งโรงงานอตุ สาหกรรม เน่ืองจากประชาชนสว่ นใหญร่ อบข้างทำงานในโรงงานอตุ สาหกรรม 2 ควรมกี ารวัดระดบั เสียงดังหลายจุดเพอ่ื ยนื ยนั และเพือ่ ใหแ้ น่ใจวา่ ระดับเสียงในโรงงานรอบชุมชน แต่ละดา้ นมรี ะดับความดงั เสียงแตกต่างกันหรือไม่ เอกสารอา้ งอิง Bunlong, N., Damaudom, S., Lohakul, K., & Petluan, R. (2013). The prevalence rate and determinant associated with noise induced hearing loss among occupational noise exposure workers. Region 11 medical journal, 7(2), 327-336. (in Thai). Cheewaruangroj, W. (2001). Hearing loss. Otolaryngology Head and Neck Surgery, Bangkok: The Office, 24-52. (in Thai). วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปีที่ 8 ฉบบั ที่ 2 เดือน มกราคม – มิถนุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.2

53 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยูใ่ นฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) Kowalska, M., & Zaborowski, K. (2017). WHO Environmental Noise Guidelines for the European Region: A systematic review on environmental noise and permanent hearing loss and tinnitus. (2021, 21, April) Kanchanaburi Public Health Office. (2018). Special_economic_zone. (online), Retrieved from: http://envocc.ddc.moph.go.th/uploads/OEHP/2562/Full_OEHP/SEZ/6.OEHP_ Kanchanaburi.pdf. (2020, 8, Nov ). (in Thai). Institute Occupational and Environmental. (2018). Situation of disease and health hazards from occupation and environment. (online), Retrieved from: http://envocc.ddc.moph.go.th/contents/view/790. (2020, 8, Nov ). (in Thai). Johari, A. (2019). A Comparative Analysis of Noise Level at Jaipur City. SKIT Research Journal, 9(1), 20-24. McCullagh, MC., Raymond, D., Kerr, MJ., & Lusk SL. (2011). Prevalence of hearing loss and accuracy of self-report among factory workers. Noise Health. (13): 340-7. Kumar Mondal, N., Dey, M., & Kumar Datta, J. (2014). Vulnerability of bus and truck drivers affected from vehicle engine noise. Sustainable Built Environment. (3): 199-206. Notification of National Environment Board. (1997). Standard of ambient noise and the maximum of Background noise level. (online), Retrieved from:http://www.ratchakitcha. soc.go.th/DATA/PDF/2540/D/027/46.PDF. (2021, 24, April). (in Thai). Phetprapun, R. (2015). Evaluation of Noise Levels and Noise-Induced Hearing Loss of Workers at a Stone Milling Factory in Nakornsithammarat Province. (online), Retrieved from: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/JSH/article/view/143739/106359. (2021, 24, April). (in Thai). Phraothaisong, P. (2018). Influence of Road Traffic Noise on Residents in Nakhon Pathom Municipality. Thesis for Master of Science (Environmental Science) Department of Environmental Science Graduate School, Silpakorn University. (online), Retrieved from:http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/1950/1/59311306.pdf. (2021, 24, April). (in Thai). Ritngam, A. (2016). Related Factors of Hearing Loss Among Natural Rubber Processing Industry Workers in Rayong. (online), Retrieved from:https://he01.tci- thaijo.org/ index.php/ phn/article/view/96590/75358. (2021, 24, April). (in Thai). วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีที่ 8 ฉบบั ท่ี 2 เดือน มกราคม – มิถนุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.2

54 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มูล TCI กลมุ่ ที่ 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) Savitree, C. (2012). Factors related and an analysis of health effects to standard threshold shift in moter compressor workers. (online), Retrieved from:http://ir.swu.ac.th/ xmlui/ handle/123456789/2347?show=full. (2021, 24, April). (in Thai). Themann, C., Masterson, L., Elizabeth, A. (2019). Occupational noise exposure: A review of its effects, epidemiology, and impact with recommendations for reducing its burden. The journal of the acoustical society of america. 146 (5): 3879. Worawonnotai, C. (2008). Hearing level and Occupational Noise Exposure among workers in Bhumibol Adulyadej Hospital, RTAF (online), Retrieved from:https:// www.rcot.org/download/Hearing_level_and_Occupational Noise_Exposure among_workers_in_Bhumibol_Adulyadej_Hospital_RTAF2009.pdf. (in Thai). World Health Organization. (2021). Environmental noise guidelines for the european region. (online), Retrieved from:https://www.euro.who.int/_data/assets/pdf_file/0008/ 383921/noise-guidelines-eng.pdf. (2021, 21, April) วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีท่ี 8 ฉบับท่ี 2 เดอื น มกราคม – มิถุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.2

55 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานข้อมูล TCI กลมุ่ ที่ 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) Situation Process of Oral Health Promotion and Prevention Service in Pregnant Woman and School-aged Children under Fee Schedule Policy in Health Region 1 Varittha Poomtong,* Jaraspan Arunkaew**, Deacha Tamdee*** (Received: March 2, 2021, Revised: April 28, 2021, Accepted: June 29, 2021) Abstract This descriptive study with mixed method research has the purpose to study situation process, problems and suggestions of Oral Health Promotion and Prevention Service in Pregnant Woman and School-aged Children under Fee SchedulePolicy inHealthRegion1. Samplesofthequantitativestudywere 325dentalpersonnel workersintheserviceunit used to collect data with the google form questionnaires and samples of the qualitative study were 8 dental personnel responsible in the Provincial Public Health used the semi-structure interview with depth interview. Data analysis with the descriptive statisticusenumber,percentage,meansandstandarddeviations. Interviewinterpretedwithcontentanalysis. The quantitative results of situation process have the high rating scale opinions are beneficial project, easily use of 43 files reporting, clarifying policy and suitable compensation. And other issues have moderate rating scale opinions. The three important problems are the information system, manpower, reimbursement and other problem is outbreak of Covid-19. The results of depth interview input issue have the good project to increase the access service, improved service compensation, different policy relay, suitable service recipient target, insufficient dental assistance, affordable material management. Process issue data recording use e-claim and 43 files system, verifying service reimbursement but delayed reimbursement system. Output issue have three topics about situation process found inadequate publicity, service recipients didn’t realize importance of service and have free service fees makes lower results. Obstacle have multilevel and unclear policy, inappropriate result goals, good recording system but delayed and unclear disbursement system. Suggestion issue have thoroughly broadcast policy, clarify content and guideline, appropriate results goals, adjust suitable management format, information system and data processing system training. In this study the suggestion that health promotion project must have clarify policy, comprehensively coverage policy relay, suitable support system and the most importance is the best benefit for service recipients. Key words: Fee schedule; Service in pregnant woman and school-aged children; Health Region 1 * Dentist, Senior Professional Level, Health Promotion Center Region1, Chiang Mai ** Public Health Technical Officer, Senior Professional Level, Health Promotion Center Region1, Chiang Mai *** Associate Professor, Faculty of Nursing , Chiang Mai University วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปีที่ 8 ฉบบั ท่ี 2 เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

56 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มลู TCI กล่มุ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) สถานการณ์การดาเนนิ งานการบรกิ ารสร้างเสรมิ สขุ ภาพและป้องกันโรคในชอ่ งปากทมี่ งุ่ เน้นการ เขา้ ถงึ บริการในหญงิ ตงั้ ครรภแ์ ละเดก็ วยั เรียน ภายใตน้ โยบาย Fee Schedule เขตสุขภาพท่ี 1 วรษิ ฐา พ่มุ ทอง,* จรัสพรรณ อรุณแกว้ ,** เดชา ทาดี*** (วนั รับบทความ: 2 มนี าคม 2564, วันแกไ้ ขบทความ: 28 เมษายน 2564, วนั ตอบรบั บทความ: 29 มิถนุ ายน 2564) บทคัดยอ่ การวจิ ัยเชิงพรรณนาเพอ่ื ศึกษาสถานการณ์การดาเนินงานการบริการสร้างเสริมสุขภาพและปอ้ งกันโรคในชอ่ งปากที่ม่งุ เน้นการ เข้าถึงบริการในหญิงต้ังครรภ์และเด็กวัยเรียน ภายใต้นโยบาย FeeScheduleเขตสุขภาพท่ี 1 กลุ่มตัวอย่าง จานวน 325 คน โดยใช้ แบบสอบถามออนไลน์ประกอบด้วย 3ส่วน ได้แก่ ข้อมูลทั่วไป แบบสอบถามการดาเนินงาน และความคิดเห็นการดาเนินงาน ตรวจสอบ คุณภาพเครื่องมือ ได้ค่าดัชนีความสอดคล้องของเนื้อหา เท่ากับ 0.93 และ 0.91 ตามลาดับ และศึกษาเชิงคุณภาพในผู้รับผิดชอบจาก สานักงานสาธารณสุขจังหวัด 8คน โดยใช้แนวคาถามกึ่งโครงสร้างสาหรับการสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ จานวนรอ้ ยละค่าเฉล่ียและสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์เชิงเนอื้ หา โดยจดั เน้ือหาตามหมวดหมู่ ผลการศึกษาด้านสถานการณ์การดาเนินงาน กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยระดับสูง เรื่องการดาเนินงานมีประโยชน์ การบันทึกและ ส่งออกข้อมูลระบบ 43 แฟ้มใช้งานง่าย ความชัดเจนของนโยบาย และความเหมาะสมของค่าชดเชยกับปริมาณงานส่วนประเด็นอ่ืนๆ ทั้งหมดเห็นดว้ ยระดบั ปานกลางพบปัญหามากสุด3ลาดับแรกได้แก่ ระบบข้อมูล กาลังคนการเบิกจ่ายค่าชดเชยส่วนการระบาดโควิด- 19เปน็ อปุ สรรคตอ่ การดาเนินงานและผลจากการสัมภาษณ์เชงิ ลึก ประเดน็ ปัจจยั นาเขา้ พบวา่ เปน็ โครงการที่ดชี ว่ ยเพมิ่ การเขา้ ถึงบริการ สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากสาหรับหญิงต้ังครรภ์และเด็กวัยเรียนทุกสิทธิ สถานบริการได้รับค่าชดเชยบริการเพิ่มข้ึน รูปแบบการถ่ายทอดนโยบายแตกต่างกัน การปรับเป้าหมายในแต่ละกลุ่มผู้รับบริการให้เหมาะสม บุคลากรผู้ปฏิบัติงานไม่เพียงพอ การ บริหารจัดการวัสดุอุปกรณ์สามารถดาเนินการได้ ประเด็นกระบวนการ พบว่า การบันทึกข้อมูลใช้ท้ังโปรแกรม e-claimและระบบ 43 แฟ้มการเบกิ จ่ายค่าชดเชยบริการสามารถตรวจสอบได้ แตร่ ะบบการเบกิ จ่ายยังล่าช้า และประเดน็ ผลลัพธ์ สรุปเปน็ 3ดา้ น ไดแ้ ก่ 1) ดา้ น สถานการณ์การดาเนินงาน พบว่า มกี ารประชาสัมพันธไ์ ม่ทั่วถึง กลมุ่ เปา้ หมายยังไม่เหน็ ความสาคัญของการมารับบริการ และส่วนใหญ่มี สทิ ธิการรกั ษาที่ครอบคลุมค่าบริการแลว้ ผลงานจงึ ได้ตา่ กวา่ เปา้ หมาย 2)ด้านปัญหาอุปสรรค พบว่าการถ่ายทอดนโยบายหลายระดับและ ผู้ปฏิบัติงานบางส่วนยังไม่ทราบนโยบายอย่างชัดเจน การต้งั เปา้ หมายผลลัพธ์ไม่เหมาะสม ระบบการบันทึกข้อมูลดแี ตร่ ะบบการเบิกจ่าย ค่าชดเชยบริการล่าช้าและไม่ชัดเจน 3) ด้านข้อเสนอแนะเพ่ือการดาเนินงาน พบข้อเสนอแนะว่า ให้มีการถ่ายทอดนโยบายให้ทั่วถึงและ ชัดเจนท้ังเนื้อหาและแนวทางการดาเนินงาน ปรับการตั้งเป้าหมายให้เหมาะสม ปรับรูปแบบการบริหารจัดการผู้ปฏิบัติงานให้เหมาะสม และเพียงพอ จัดอบรมการดูแลระบบข้อมูล และควรมีระบบประมวลผลข้อมูลให้แก่หน่วยงานต้นสังกัด ข้อเสนอแนะ การดาเนินการ โครงการที่ส่งผลตอ่ การสร้างเสริมสุขภาพของประชาชนน้ันควรมีความชัดเจนของนโยบายการถ่ายทอดต้องมีความครอบคลุมและท่ัวถึงมี ระบบสนับสนุนทเ่ี หมาะสมกบั ผูด้ าเนินงาน และสงิ่ สาคญั คือต้องส่งผลประโยชน์แกผ่ ู้รับบรกิ ารในภาพรวม คาสาคัญ: การบรกิ ารสรา้ งเสริมสขุ ภาพและปอ้ งกันโรคในชอ่ งปากที่จา่ ยตามรายการบรกิ าร; การเข้าถึงบริการใน หญงิ ต้ังครรภ์และเดก็ วัยเรยี น; เขตสขุ ภาพที่ 1 * ทันตแพทยช์ านาญการพิเศษ ศูนยอ์ นามัยท่ี 1 จังหวัดเชียงใหม่ ** นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการพิเศษ ศูนย์อนามยั ที่ 1 จังหวัดเชยี งใหม่ *** รองศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปีท่ี 8 ฉบับท่ี 2 เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

57 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคุณภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มลู TCI กลุ่มที่ 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) บทนา ในปีพ.ศ. 2563 กระทรวงสาธารณสุขร่วมกับสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้เพิ่มรายการบริการ สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากที่จ่ายตามรายการบริการในหญิงต้ังครรภ์ และเด็กวัยเรียน (Ministry of Public Health, 2019) โดยมีเป้าหมายเพื่อเพิม่ การเข้าถึงและความครอบคลุมบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกัน โรคในช่องปาก สาหรับหญิงตั้งครรภ์และเด็กวยั เรียนทุกสิทธิ จากผลงานการบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ในชอ่ งปากท่ีจา่ ยตามรายการบริการในหญงิ ตง้ั ครรภ์ และเดก็ วัยเรยี น (Ministry of Public Health, 2020) ในระดับ ประเทศรอบ 6 เดอื น (ตุลาคม 2562 – มีนาคม 2563) หญงิ ต้ังครรภ์ตรวจสุขภาพชอ่ งปาก และขัดทาความสะอาดฟัน ร้อยละ16.50 เด็กอายุ 4–12 ปี เคลือบ/ทาฟลอู อไรด์ ร้อยละ45.21 และเด็กอายุ 6-12 ปี เคลือบหลมุ ร่องฟันกรามแท้ ร้อยละ 21.67 โดยผลการดาเนินงานของเขตสุขภาพที่ 1 อยู่ในระดับค่อนข้างน้อยทุกกลุ่มผู้รับบริการ จากเป้าหมาย ร้อยละ 75 ร้อยละ 50 และร้อยละ 50 ตามลาดับ ซึ่งควรจะมีการค้นหาปัญหาในการดาเนินงานเพ่ือหาแนวทางแก้ไข และปรับเปล่ียนแผนการดาเนินการ ให้ผลงานการบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากที่จ่ายตาม รายการบรกิ ารในหญงิ ตง้ั ครรภแ์ ละเดก็ วยั เรยี นเพ่ิมข้ึน และได้ตามเป้าหมายทีก่ าหนด การดาเนินงานการบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากมีหลายข้ันตอน มีการจัดบริการ ในสถานบริการทกุ ระดับ และเกยี่ วขอ้ งกับผู้ปฏิบตั ิงานหลายฝา่ ย อย่างไรกต็ ามในการศึกษาสถานการณก์ ารดาเนินงาน การบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากที่มุ่งเน้นการเข้าถึงบริการในหญิงตั้งครรภ์และเด็กวัยเรียน ภายใต้นโยบาย Fee Schedule ยังมีข้อมูลดังกล่าวค่อนข้างจากัด และจากการทบทวนวรรณกรรมพบว่า การศึกษา สถานการณ์นโยบายการดาเนินการต่างๆ นั้นมีความเป็นสาคัญอย่างย่ิง จากแนวคิดทฤษฎีระบบ (System Theory) (Von Bertalanffy, 1956) มีข้อเสนอให้ทาการวิเคราะห์สถานการณ์ (Situation Analysis) ประกอบดว้ ยปัจจัยนาเข้า (Input) กระบวนการ (Process) และผลลัพธ์ (Output) ซึ่งมีกระบวนการให้ไดข้ อ้ มูลเพอ่ื นาไปใช้ในการพัฒนา ผู้วจิ ัยสนใจศึกษา สถานการณ์การดาเนินงานการบริการสรา้ งเสริมสุขภาพและปอ้ งกันโรคในชอ่ งปากท่ีมงุ่ เนน้ การเข้าถึงบริการในหญิงตั้งครรภ์และเด็กวัยเรียน ภายใต้นโยบาย Fee Schedule เขตสุขภาพที่ 1 โดยใช้กรอบ แนวคิดทฤษฎรี ะบบ ซง่ึ สอดคลอ้ งกบั กระบวนการดาเนินงาน ประกอบไปดว้ ย 1) ปจั จัยนาเข้า ได้แก่ นโยบาย บคุ ลากร และ ผู้รับบริการ 2) กระบวนการ มุ่งไปท่ีรูปแบบของการดาเนินการ รายละเอียดของการออกแบบ ตลอดจนการ ปรับปรุงตามลักษณะการดาเนินงานท่ีเกิดขึ้น ได้แก่ การบริการ การบันทึกข้อมูล การส่งออกข้อมูล การเบิกจ่าย ค่าชดเชยการบริการ และการกากับติดตามผลการดาเนินงาน 3) ผลลัพธ์ ได้แก่ สถานการณ์การดาเนินงาน ปัญหา และข้อเสนอแนะ จากกลุ่มเป้าหมาย ในประเด็นการดาเนินงาน พร้อมทั้งปัญหาและขอ้ เสนอแนะ ซ่งึ คาดว่าผลงานวจิ ยั ในคร้ังนี้จะเปน็ ประโยชน์ต่อหน่วยบริการในการแก้ไขปัญหาการดาเนินงานให้มีประสิทธิภาพเพิ่มการเข้าถึงและความ ครอบคลุมการบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปาก สาหรับหญิงตั้งครรภ์และเด็กวัยเรียน รวมท้ังได้ ข้อเสนอเชงิ นโยบายท่ีจะเปน็ ประโยชน์ต่อการดาเนินงานตอ่ ไป วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีท่ี 8 ฉบบั ที่ 2 เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

58 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมูล TCI กล่มุ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) วตั ถปุ ระสงค์การวิจัย เพื่อศึกษาสถานการณ์การดาเนินงาน ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะของการบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคในชอ่ งปากท่ีมุ่งเน้นการเข้าถงึ บริการในหญิงต้ังครรภ์และเด็กวัยเรียนภายใต้นโยบาย Fee Schedule เขต สขุ ภาพที่ 1 ขอบเขตการวจิ ยั การศึกษาคร้ังนี้มีขอบเขตการวิจัย 4 ด้าน ดังนี้ 1) ด้านเนื้อหามุ่งศึกษาสถานการณ์การดาเนินงาน ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะการบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากภายใต้นโยบาย Fee Schedule 2) ด้านกลุ่มตัวอย่างคือ ทันตบุคลากรผู้ปฏิบัติงานในหน่วยบริการจานวน 325 คน และผู้รับผิดชอบงานจากสานักงาน สาธารณสุขจังหวัด 8 คน 3) ด้านพ้ืนท่ี คือ หน่วยบริการ 103 อาเภอ และสานักงานสาธารณสุขจังหวัด 8 จังหวัด ใน เขตสุขภาพท่ี 1 4) ดา้ นระยะเวลา มกราคม 2563 - กนั ยายน 2563 กรอบแนวคดิ การวิจยั การศกึ ษาครั้งนใ้ี ช้แนวคดิ ทฤษฎรี ะบบ (system theory) เปน็ กรอบแนวคดิ ในการวิจัย ปัจจยั นาเขา้ กระบวนการ ผลลพั ธ์ 1. นโยบาย 1. การบรกิ ารสร้างเสริม 1.สถานการณก์ าร 2. บคุ ลากร สุขภาพและป้องกนั โรค ดาเนนิ งาน - การบรกิ าร ในช่องปาก 2.ปัญหาในการ - การบันทึกข้อมูล 2. การบันทึกขอ้ มลู ดาเนินงาน - การส่งออกขอ้ มูล 3.การสง่ ออกข้อมูล 3.ขอ้ เสนอแนะในการ - การเบกิ จ่าย 4. การเบิกจ่ายค่าชดเชย ดาเนนิ งาน ค่าชดเชย การบรกิ าร - การกากบั ติดตาม 5. การกากับติดตาม 3. ผรู้ บั บรกิ าร ผลงานและค่าชดเชย - หญงิ ตั้งครรภ์ - เดก็ 4 – 12 ปี ภาพท่ี 1 กรอบแนวคดิ การวิจยั วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ่ี 8 ฉบับที่ 2 เดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

59 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มลู TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) วธิ ีการดาเนินการวจิ ัย การศึกษาครั้งน้ีเป็นการศึกษาเชิงพรรณนา (descriptive study) ใช้วิธีการเก็บข้อมูลแบบผสมผสาน (mixed method) โดยเกบ็ ข้อมลู ทัง้ เชิงปรมิ าณและเชิงคณุ ภาพ ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง ประชากรได้แก่ ทันตบุคลากรผู้ปฏิบตั ิงานจากหน่วยบริการ 103 อาเภอ จานวน 717 คน และผู้รับผิดชอบงาน จากสานักงานสาธารณสุขจังหวัด 8 จังหวัด ในเขตสุขภาพท่ี 1 กาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางกาหนดขนาด กลุ่มตัวอย่างของเครซี่และมอรแกน ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง จานวน 254 คน และมีการชดเชยสาหรับกรณีที่กลุ่ม ตัวอย่างมีอัตราตอบกลับแบบสอบถามและแบบประเมินต่าอีกร้อยละ 20 ได้กลุ่มตัวอย่าง 305 แต่สาหรับการศึกษา คร้ังน้มี ผี ู้ตอบแบบสอบถามกลบั มามากกว่าทกี่ าหนดไว้ รวมทัง้ สน้ิ 325 คน เลือกกล่มุ ตัวอยา่ งโดยการสมุ่ อยา่ งง่าย เคร่ืองมือในการวจิ ัย เคร่ืองมือที่ใช้เก็บข้อมูลเชิงปริมาณ เป็นแบบสอบถามเรื่อง สถานการณ์การดาเนินงานฯ รวบรวมผ่านระบบ ออนไลน์ ประกอบดว้ ย 3 ส่วน ไดแ้ ก่ ส่วนท่ี 1 ข้อมูลทั่วไป ส่วนที่ 2 แบบสอบถามการดาเนนิ งาน โดยแบบสอบถาม ส่วนที่ 2 และส่วนท่ี 3 ให้คะแนนแบบมาตรวัดแบบลิเคิร์ท 5 ระดับ นามาหาค่าพิสัย และกาหนดช่วงคะแนนเพ่ือ พิจารณารับความเห็นด้วย โดยช่วงคะแนน 3.68 - 5.00 คือเห็นด้วยระดับสูง ช่วงคะแนน 2.34 - 3.67 คือเห็นด้วย ระดับปานกลาง และช่วงคะแนน 1.00 - 2.33 คือเห็นด้วยระดับต่า และส่วนท่ี 3 แบบแสดงความคิดเห็นการ ดาเนินงานเป็นเครื่องมือท่ีใช้เก็บข้อมูลเชิงคุณภาพใช้แนวคาถามก่ึงโครงสร้างสาหรับการสัมภาษณ์เชิงลึกในกลุ่ม ผู้รบั ผดิ ชอบจากสานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัด 8 คน การตรวจสอบคณุ ภาพเครอื่ งมอื การหาความตรงตามเนื้อหา (content validity) ตรวจสอบคุณภาพโดยผู้เช่ียวชาญจานวน 3 ท่าน ได้แก่ ทันต แพทย์จากโรงพยาบาลทั่วไป ทันตแพทย์จากโรงพยาบาลชุมชน และทันตแพทย์จากสานักงานสาธารณสุขจังหวัด มีค่า ดชั นีความสอดคล้องของเนอื้ หาเทา่ กับ .93 และ .91 ตามลาดบั สาหรบั แนวคาถามโครงสร้างสาหรับจากการสัมภาษณ์ เชงิ ลึก มีค่าดชั นคี วามสอดคล้องของเนื้อหาเท่ากบั .96 การหาความเช่ือม่ัน (reliability) ของแบบสอบถาม โดยนาแบบสอบถามไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่างท่ีมี ลักษณะคล้ายคลึงกับกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา จานวน 10 คน ได้ค่าความเชื่อมั่นสัมประสิทธ์ิอัลฟ่าของครอนบัค (Cronbach‘s alpha coefficient) เทา่ กับ .89 การพิทกั ษ์สทิ ธิก์ ลุม่ ตวั อย่างและจริยธรรมการวจิ ัย การศึกษานี้ได้รับการรับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ศูนย์อนามัยที่1 เชียงใหม่ เอกสารรับรอง 25/2563 วนั ที่อนุมัติ 16 กรกฎาคม 2563 และขอ้ มลู ของกลุม่ ตัวอยา่ งจะไม่นาไปเปิดเผยเปน็ รายบุคคลแตจ่ ะนาเสนอผลการวจิ ยั ในภาพรวมเทา่ นั้น วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ่ี 8 ฉบบั ที่ 2 เดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

60 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มูล TCI กลุม่ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) การวเิ คราะห์ขอ้ มูล การศึกษาคร้ังนี้วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ จานวน ร้อยละ ค่าเฉล่ีย และส่วนเบ่ียงเบน มาตรฐาน สาหรบั ขอ้ มูลเชิงคุณภาพ วิเคราะห์ขอ้ มูลด้วยการวิเคราะห์เชิงเน้ือหาและจัดเนอ้ื หาตามหมวดหมู่ ผลการวจิ ยั ตารางที่ 1 ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม (n=325) ขอ้ มูลของกลมุ่ ตัวอย่าง จานวน ร้อยละ เพศ 57 17.50 268 82.50 ชาย 152 46.80 หญิง 79 24.30 อายุ 64 19.70 20 - 29 ปี 30 9.20 30 - 39 ปี 29 8.90 40 - 49 ปี 296 91.10 50 -59 ปี 180 55.4 ระดบั การศึกษา 73 22.50 อนปุ รญิ ญา หรือเทียบเท่า 66 20.30 ปรญิ ญาตรีข้นึ ไป 6 1.80 ตาแหนง่ ที่ปฏิบตั งิ าน 203 62.50 เจา้ พนกั งานทันตสาธารณสุข 119 36.60 นกั วชิ าการสาธารณสขุ (ทนั ตสาธารณสขุ ) 3 0.90 ทนั ตแพทย์ นกั วิชาการสาธารณสขุ 24 7.40 สถานทีป่ ฏบิ ตั ิงาน 32 9.80 รพ.สต. 12 3.70 รพช.,รพท.,รพศ. 45 13.80 สถานบริการอ่นื ๆ 48 14.80 36 11.10 จงั หวดั ท่ีปฏบิ ัตงิ าน 115 35.40 เชียงใหม่ 13 4.00 ลาพูน ลาปาง แพร่ นา่ น พะเยา เชียงราย แมฮ่ ่องสอน วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีท่ี 8 ฉบบั ท่ี 2 เดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

61 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานข้อมูล TCI กลุม่ ที่ 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) ตารางที่ 1 พบว่า การศึกษาคร้ังน้ีมีผู้ตอบแบบสอบถาม 325 คน เพศหญิงร้อยละ 82.50 อายุช่วง 20-29 ปี ร้อยละ 46.80 วุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไปร้อยละ 91.10 ตาแหน่งเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขร้อยละ 55.4 ปฏิบัติงานโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาบลร้อยละ 62.50 และปฏิบตั ิงานที่เชียงรายร้อยละ 35.40 ตารางที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับการดาเนนิ งาน (n=325) จานวน ร้อยละ 303 93.20 ขอ้ มูลท่ีศึกษา การไดร้ ับคาชแี้ จงโครงการ 54 16.60 214 65.80 ไดร้ บั คาชี้แจงจากหนว่ ยงาน 179 55.10 สานกั ทันตสาธารณสุข 272 83.70 สานกั งานสาธารณสุขจงั หวัด โรงพยาบาล 191 58.80 218 67.10 การถา่ ยทอดโครงการ 7 2.10 310 95.40 ผไู้ ดร้ บั การถ่ายทอด ระดบั ผู้บริหาร 298 91.70 ระดับผู้ปฏิบตั ิ 302 92.90 กลมุ่ อน่ื ๆ เชน่ ผรู้ บั บรกิ าร ฯลฯ 243 74.80 การรบั ทราบกลุม่ เปา้ หมาย 135 41.50 174 53.50 ทราบกลุ่มเปา้ หมายถูกตอ้ ง 185 56.90 หญิงตงั้ ครรภ์ 280 86.20 เดก็ 4-12 ปี การรับทราบเป้าหมายผลลพั ธ์ ทราบเปา้ หมายผลลพั ธถ์ ูกตอ้ ง หญิงตงั้ ครรภ์ตรวจและขูดหินนา้ ลาย ร้อยละ75 เด็ก 4-12 ปี ทา/เคลอื บฟลอู อไรด์ รอ้ ยละ50 เด็ก 6-12 ปี เคลือบหลมุ ร่องฟัน รอ้ ยละ50 การรบั ทราบอตั ราชดเชยบรกิ าร วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปที ่ี 8 ฉบบั ท่ี 2 เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

62 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มูล TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) ตารางท่ี 2 ข้อมูลเก่ยี วกับการดาเนินงาน (n=325) (ต่อ) ข้อมลู ที่ศกึ ษา จานวน ร้อยละ ทราบอตั ราชดเชยบรกิ ารถกู ตอ้ ง 260 80.00 264 81.2 อตั ราชดเชยบริการหญงิ ตัง้ ครรภต์ รวจ และขดู หินน้าลาย 500 บาท 242 74.5 อตั ราชดเชยบริการเดก็ 4-12 ปี ทา/เคลือบฟลูออไรด์ 100 บาท 261 80.3 อตั ราชดเชยบรกิ ารเด็ก 6-12 ปี เคลอื บหลุมร่องฟัน 250 บาท 133 40.9 การรับทราบระบบการสง่ ขอ้ มูล 93 28.6 292 89.8 สามารถอุทธรณ์ได้ถ้าได้รับค่าชดเชยไม่ถูกต้อง สามารถอุทธรณ์ได้ภายใน 30 วนั อย่างถกู ต้อง 166 51.10 139 42.80 การรับทราบการกากบั ติดตามผลงาน 66 20.30 205 63.10 ทราบการกากบั ตดิ ตามผลงาน 5 1.50 263 80.90 จากการคนื ข้อมูลระดับอาเภอ จากการคนื ข้อมลู ระดับจงั หวัด 77 23.70 จากโปรแกรม RCM ของโรงพยาบาล 162 49.80 จาก HDC ระดบั จงั หวดั /เขต/ประเทศ 60 18.50 วิธกี ารอนื่ ๆ เช่นจากโปรแกรม OP/PP,ขอ้ มลู e-claim เป็นตน้ 40 12.30 การรบั ทราบการกากบั ตดิ ตามค่าชดเชยบรกิ าร 84 25.80 14 4.30 ทราบการกากบั ติดตามค่าชดเชยบริการ จากการคืนข้อมลู ของสานกั ทันตสาธารณสขุ จากการคืนข้อมลู ของงานประกันสขุ ภาพ จากโปรแกรม RCM ของโรงพยาบาล จาก website OP/PP individual จาก website e-claim จากการคืนขอ้ มลู ของกองบริหารการสาธารณสุข ตารางที่ 2 พบว่า ผตู้ อบแบบสอบถามไดร้ ับการชี้แจงเกี่ยวกับการดาเนนิ งานร้อยละ 93.2 โดยไดร้ ับขอ้ มลู จาก สานักงานสาธารณสุขจังหวัดและโรงพยาบาล มีการถ่ายทอดให้ผู้เกี่ยวข้องร้อยละ 83.7 ในส่วนของเป้าหมายการ วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีที่ 8 ฉบบั ที่ 2 เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

63 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยใู่ นฐานข้อมูล TCI กลมุ่ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) ดาเนินงานท้ังผู้ปฏิบัติและผู้บริหาร รับทราบเป้าหมายการดาเนินงานร้อยละ 95.4 ทราบถูกต้องในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ ร้อยละ 91.7 และในกลุ่มเด็ก4-12 ปี ร้อยละ 92.9 รับทราบเป้าหมายผลลัพธ์การดาเนินงาน ร้อยละ 74.8 เป้าหมาย ของกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ร้อยละ75 ถูกต้องร้อยละ 41.5 เป้าหมายของกลุ่มเด็ก 4-12 ปีร้อยละ50 ถูกต้องร้อยละ 53.5 เป้าหมายของกลุ่มเด็ก 6-12 ปีร้อยละ 50 ถูกต้องร้อยละ 56.9 รับทราบอัตราชดเชยค่าบริการร้อยละ 86.2 ในกลุ่ม หญิงตั้งครรภ์ตรวจและขัดทาความสะอาดฟัน 500 บาท ถูกต้องร้อยละ 80.0 ในกลุ่มเด็ก 4-12 ปี ทา/เคลือบ ฟลูออไรด์ 100 บาท ถูกต้องร้อยละ 81.2 ในกลุ่มเด็ก6-12 ปี เคลือบหลุมร่องฟันกรามแท้ 250 บาท ถูกต้องร้อยละ 74.5 รับทราบระบบการส่งข้อมูลเพื่อรับค่าชดเชย ร้อยละ 80.3 รับทราบว่าสามารถอุทธรณ์ได้ถ้าหน่วยงานได้รับ ค่าชดเชยไม่ถูกต้อง ร้อยละ 40.9 อุทธรณ์ได้ภายใน 30 วัน ถูกต้องร้อยละ 28.6 รับทราบว่ามีการกากับติดตาม ผลงาน ร้อยละ 89.8 โดยติดตามจาก HDC ระดับจังหวัด/เขต/ประเทศมากที่สุดร้อยละ 63.1 รับทราบว่ามีการ กากับติดตามค่าชดเชยบริการร้อยละ 80.9 โดยติดตามจากการคืนข้อมูลงานประกันสุขภาพมากที่สุดร้อยละ 49.8 ตารางที่ 3 ปญั หาในการดาเนินงาน จานวน ร้อยละ 113 34.80 ข้อมลู การดาเนนิ งาน 16.90 มปี ญั หาในการดาเนินงาน 55 16.00 52 15.40 ปญั หาระบบขอ้ มลู 50 12.60 ปญั หากาลงั คน 41 12.00 ปญั หาการเบกิ จา่ ยคา่ ชดเชย 39 11.70 ปญั หาเปา้ หมาย 38 11.10 ปญั หานโยบาย 36 11.10 ปญั หาการประสานงาน 36 11.10 ปญั หาวัสดอุ ปุ กรณ์ 36 ปญั หาการกากบั ตดิ ตาม ปญั หาอนื่ ๆ เช่น สถานการณ์ระบาดโควิด-19 ตารางที่ 3 ปัญหาในการดาเนินงานพบว่าผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 34.8 ที่สะท้อนว่ามีปัญหาเกิดขึ้นใน การดาเนินงานโดยพบปัญหามากที่สุด 3 อันดับ คือ ปัญหาระบบข้อมูล กาลังคน และการเบิก จ่ายค่าชดเชย ร้อยละ 16.9 16.0 และ15.4 ตามลาดับ ส่วนปัญหาอืน่ ไดแ้ กส่ ถานการณร์ ะบาดโควดิ -19 ร้อยละ 11.1 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปที ี่ 8 ฉบับที่ 2 เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

64 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มลู TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) ตารางที่ 4 ความคดิ เหน็ การดาเนนิ งาน ประเดน็ ค่าเฉล่ยี SD. ระดบั ความคดิ เหน็ การดาเนนิ งานมปี ระโยชน์ 4.02 0.92 สูง การบนั ทึกและการส่งออกข้อมูลระบบ 43 แฟ้ม ใช้งานง่าย 3.75 0.91 สูง การชี้แจงนโยบายมีความชัดเจน 3.74 0.85 สงู คา่ ชดเชยคา่ บริการ เหมาะสมกับปรมิ าณงาน 3.71 0.92 สูง การถ่ายทอดนโยบาย ครอบคลุมทกุ หน่วยงาน 3.66 0.85 ปานกลาง การบริการครอบคลมุ กลุ่มเปา้ หมายครบถว้ น 3.59 0.83 ปานกลาง เป้าหมายผลลัพธ์ทกุ กล่มุ มีความเหมาะสม 3.59 0.83 ปานกลาง การประชาสมั พันธ์ให้ผูร้ บั บรกิ ารทราบทาไดท้ ่วั ถึง 3.48 0.90 ปานกลาง ระบบการดาเนินงาน ปฏิบัติได้ง่าย 3.41 0.88 ปานกลาง ระบบการตดิ ตามผลงาน และผลการจ่ายคา่ ชดเชยสะดวกมีหลายชอ่ งทาง 3.23 0.98 ปานกลาง การบนั ทึกและการสง่ ออกข้อมลู ระบบ e-claim ใช้งานง่าย 3.14 0.97 ปานกลาง 1.00 ปานกลาง การไดร้ บั ค่าชดเชย ถกู ตอ้ ง รวดเร็ว 3.07 ตารางที่ 4 ความคิดเห็นในการดาเนินงาน พบวา่ กลุ่มตัวอย่างมีความเห็นด้วยอยู่ในระดับสูง ในประเด็นการ ดาเนินงานมีประโยชน์ (X= 4.02, SD= 0.92) การบันทึกและการส่งออกข้อมูลระบบ 43 แฟ้ม ใช้งานง่าย (X= 3.75, SD= 0.91) การช้ีแจงนโยบายมีความชัดเจน (X= 3.74, SD= 0.85) และค่าชดเชยค่าบริการเหมาะสมกับปริมาณงาน (X= 3.71, SD= 0.92) สว่ นประเด็นอนื่ ๆ ทัง้ หมดเห็นด้วยในระดับปานกลาง การศึกษาสถานการณก์ ารดาเนินงานโดยการสัมภาษณ์ข้อมูลเชงิ ลึก จากการศึกษาสถานการณ์การดาเนินงานโดยใช้แบบสัมภาษณ์ตามกรอบคิดทฤษฎีระบบ ประกอบด้วย 1) ปัจจัยนาเข้า ได้แก่ นโยบาย บุคลากร และผู้รับบริการ 2) กระบวนการ ได้แก่ การบริการ การบันทึกข้อมูล การ สง่ ออกขอ้ มูล การเบกิ จา่ ยคา่ ชดเชยการบรกิ าร และ การกากบั ติดตามผลการดาเนนิ งาน 3) ผลลัพธ์ ได้แก่ สถานการณ์ การดาเนินงาน ปัญหา และข้อเสนอแนะ เพ่อื ประเมนิ สถานการณ์การดาเนินงาน ซ่งึ สรปุ ประเด็นทีส่ าคัญไดด้ งั นี้ 1.ปจั จัยนาเขา้ จากขอ้ มลู พบว่า ผรู้ บั ผดิ ชอบงานจากสานกั งานสาธารณสุขจังหวัด 8 จงั หวัด ในเขตสุขภาพท่ี 1 ได้รบั ทราบนโยบายจากสานกั ทันตสาธารณสุข กรมอนามัย มคี วามคิดเหน็ สรปุ ประเดน็ ได้ดงั น้ี วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปีท่ี 8 ฉบบั ที่ 2 เดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

65 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอย่ใู นฐานข้อมูล TCI กลมุ่ ที่ 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) 1.1 เป็นโครงการทด่ี ี เพิ่มการเข้าถึงบริการสร้างเสรมิ สขุ ภาพและปอ้ งกนั โรคในช่องปากสาหรับหญิงตง้ั ครรภ์ และเด็กวัยเรยี นทุกสิทธิ ดังคากลา่ วของผูใ้ ห้ขอ้ มูลวา่ “ช่วยกระตุ้นการเข้าถงึ บริการ” 1.2 สถานบรกิ ารไดร้ ับค่าชดเชยการบรกิ ารเพิม่ ข้ึน โดยสถานบรกิ ารจะไดร้ บั ค่าชดเชยการบรกิ ารเพิม่ ข้ึนจาก สานกั งานหลักประกนั สุขภาพแห่งชาติ สามารถนาไปบรหิ ารจัดการภายในหน่วยบริการได้ ดงั คากลา่ วของผู้ให้ข้อมูลว่า “สถานบริการไดร้ ับเงนิ ชดเชยจากการใหบ้ ริการ” 1.3 รูปแบบการถ่ายทอดนโยบายแตกต่างกัน แตล่ ะจังหวดั มีรูปแบบการถ่ายทอดนโยบายท่ีแตกต่างกันเช่น ถ่ายทอดในการประชุมผู้บริหาร การประชุมคณะกรรมการวางแผนและประเมินผลของจังหวัด การประชุมทันต บุคลากร แต่เน้นถ่ายทอดให้ผู้บริหารท้ังผู้อานวยการโรงพยาบาล และสาธารณสุขอาเภอ รวมท้ังหัวหน้าฝ่ายทันต สาธารณสุขทุกโรงพยาบาล และทันตบุคลากรผู้ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจาตาบลทุกแห่ง ได้รับ ทราบอย่างทั่วถึง ดังคากล่าวของผู้ให้ข้อมูลว่า “มีการถ่ายทอดนโยบายในเวทีผู้บริหาร”มีการพูดคุยเรื่องการกาหนด เป้าหมายผลลัพธ์จากส่วนกลางมีรายละเอียดชัดเจน ดังคากล่าวของผู้ให้ข้อมูลว่า “การกาหนดเป้าหมายมีความ เหมาะสม ชแ้ี จงอย่างชดั เจน” 1.4 การต้ังเป้าหมายในแต่ละกลุ่มผู้รับบริการยังไม่เหมาะสม ผู้ให้ข้อมูลในจังหวัดส่วนใหญ่ระบุว่าเป้าหมาย การตรวจช่องปากกลมุ่ หญงิ ตั้งครรภ์สงู ไป ส่วนกลุ่มเดก็ วัยเรียน ผู้ให้ข้อมลู มคี วามเหน็ ทั้งเป้าหมายเหมาะสม และสูงไป ในงานเคลือบหลุมร่องฟัน พร้อมทั้งอยากให้เน้นเร่ืองคุณภาพของงาน โดยมีการตรวจสอบการยึดติดของสารเคลือบ หลุมรอ่ งฟัน ดังคากลา่ วของผใู้ ห้ขอ้ มูลว่า “ผลงานทมี่ ากข้นึ ควรมาพร้อมกบั คุณภาพของงาน” 1.5 บุคลากรผู้ปฏิบัติงานไม่เพียงพอ ส่วนเรื่องการปฏิบัติงาน ด้านกาลังคน ทุกจังหวัดมีปัญหาเรื่องผู้ช่วย ทันตกรรมไมเ่ พยี งพอ โดยเฉพาะโรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตาบล บางแห่งมเี จ้าพนักงานทนั ตสาธารณสุขประจา และ บางแห่งไม่มีเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขประจา แต่มีทันตบุคลากรออกไปหมุนเวียนให้บริการ ดังคากล่าวของผู้ให้ ขอ้ มูลว่า “บาง รพ.สต.ท่ีทันตาภิบาลไปเวียนให้บริการตอ้ งจดั บริการคนเดียวโดยไมม่ ีผู้ช่วยทนั ตกรรม” 1.6 การบริหารจัดการวัสดุอุปกรณ์สามารถดาเนินการได้ วัสดุอุปกรณ์ มีปัญหาบ้าง แต่สามารถบริหาร จัดการได้ ดังคากล่าวของผู้ให้ข้อมูลว่า “ช่วงแรกมีปัญหาเร่ืองการเงิน ไม่สามารถซื้อของได้ แต่พอเงินมาก็จัดซ้ือได้ ปกต”ิ 2.กระบวนการ จากขอ้ มลู พบประเดน็ ดังน้ี 2.1 การบันทึกข้อมูลใช้ท้ังโปรแกรม e-claim และระบบ 43 แฟ้ม ในด้านการบันทึกและการส่งออกข้อมูล โรงพยาบาลใช้โปรแกรม e-claim ทั้งหญิงตั้งครรภ์และเด็กวัยเรียน ส่วนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล ส่งข้อมูล บริการของหญิงตั้งครรภ์ไปให้โรงพยาบาล ลงผ่านโปรแกรม e-claim ส่วนเด็กวัยเรียนใช้ระบบ43 แฟ้ม ดังคากล่าว ของผู้ให้ข้อมูลว่า “ใน รพ.ใช้ระบบ e-claim ส่วน รพ.สต.ใช้ระบบ 43 แฟ้ม” ผลการดาเนินงานจากระบบ 43 แฟ้มไม่ เท่ากับผลการรายงานจากโปรแกรมe-claim ดังคากล่าวของผู้ให้ข้อมูลว่า “ข้อมูลท่ีบันทึกไม่ตรงกับข้อมูลท่ีส่งออก” วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

66 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มลู TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) ผลการรายงานจากโปรแกรม HDC ไม่สอดคล้องกับรายงานจากโปรแกรมe-claim ดังคากล่าวของผู้ให้ข้อมูลว่า “ผลงานจากHDCไมเ่ ท่ากบั ผลงานจากe-claim” ดังคากลา่ วของผูใ้ หข้ ้อมลู วา่ “ผลงานไมเ่ ทา่ กนั เพราะใช้ข้อมูลจากคน ละแหล่งขอ้ มลู ” 2.2 การเบิกจ่ายค่าชดเชยบริการสามารถตรวจสอบได้ แต่ระบบการเบิกจ่ายยังล่าช้า การเบิกจ่ายค่าชดเชย บริการ หน่วยบริการสามารถตรวจสอบได้ฝ่ายทันตสาธารณสุขสานักงานสาธารณสุขจังหวัด ไม่สามารถตรวจสอบได้ ตอ้ งประสานกับงานประกนั สขุ ภาพ ดังคากล่าวของผใู้ ห้ข้อมลู ว่า “รพ.สามารถตรวจสอบไดเ้ อง ส่วนสสจ.ตอ้ งขอข้อมูล จากงานประกัน” โดยระบบการกากับติดตามผลงานของสานักงานสาธารณสุขจังหวัด และหน่วยบริการ สามารถ ตรวจสอบผลงานเบื้องต้นจากระบบ HDC ดังคากล่าวของผู้ให้ข้อมูลว่า “สสจ.ตรวจสอบจาก HDC” ส่วนระบบการ กากับติดตามค่าชดเชย มีปัญหาบ้าง ได้แก่ การเบิกจ่ายผ่านโรงพยาบาลไม่สะดวก เบิกจ่ายช้า ส่วนผลการเบิกจ่าย ค่าชดเชยบริการสามารถตรวจสอบจากเว็บของสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติได้เฉพาะหน่วยบริการ ดังคา กล่าวของผู้ให้ข้อมูลว่า “ควรสร้างระบบการเบิกจ่ายให้ถูกต้องรวดเร็ว ครบถ้วน และมีเอกสารชี้แจงให้กับ สถานพยาบาล” 3.ผลลัพธ์ จากข้อมูลพบว่า ผลการดาเนินงานเขตสุขภาพท่ี 1 กลุ่มหญิงต้ังครรภ์และเด็ก 4-12 ปี ใน ปงี บประมาณ2563 (ต.ค.2562 – ก.ย.2563) ทาได้ไม่ถึงเปา้ หมาย โดยหญิงตั้งครรภ์ตรวจสุขภาพชอ่ งปาก และขัดทา ความสะอาดฟัน เป้าหมายร้อยละ75 ผลงานร้อยละ13.78 เด็ก 4–12 ปี เคลือบ/ทาฟลูออไรด์ เป้าหมายร้อยละ50 ผลงานร้อยละ 42.68 และเด็กอายุ 6-12 ปีเคลือบหลุมร่องฟันกรามแท้ เป้าหมายร้อยละ 50 ผลงานร้อยละ 15.63 เนื่องจากประสบกับสถานการณ์ โควิด-19 ทาให้ระยะเวลาการดาเนินงานมีค่อนข้างน้อย ประกอบกับต้องจัดระบบ ให้บริการแบบภาวะปกติใหม่ (New Normal) ทาให้ปริมาณการให้บริการลดลง โดยสามารถสรุปปัญหาในการ ดาเนินงานออกเปน็ 3 ดา้ นดงั นีค้ ือ 1) ด้านสถานการณ์การดาเนินงาน พบว่าสถานการณ์การดาเนินการในหญิงตั้งครรภ์ ได้แก่ 1) มีการ ประชาสัมพันธ์ไม่ท่ัวถึง 2) กลุ่มเป้าหมายยังไม่เห็นความสาคัญของการมารับบริการ 3) ส่วนใหญ่มีสิทธิการรักษา ที่ ครอบคลุมค่าบริการแล้ว ผลงานจึงได้ต่ากว่าเป้าหมาย ดังการให้ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ว่า “ผู้รับผิดชอบควรมีการ ประชาสัมพันธ์ให้ท่ัวถึง” การดาเนินการในกลุ่มเด็ก 4-12 ปี ได้แก่ 1) ส่วนใหญ่ให้บริการในภาคการศึกษาแรก (พ.ค. 62 – ก.ย.62) ในภาคการศึกษาท่ีสอง (พ.ย.62 เป็นต้นไป) บางจังหวัดให้บริการเรียบร้อยแล้ว ทาให้ยังไม่มีผลงานข้ึน ในชว่ งไตรมาสแรกของปงี บประมาณ2563 ดังคากล่าวของผ้ใู ห้ขอ้ มลู วา่ “ให้บริการไปชว่ งเทอมแรก ทาเรียบร้อยแล้ว” รวมทั้ง 2) มสี ถานการณร์ ะบาด โควิด-19 ทาให้การดาเนินงานหยุดชะงกั ผลงานจึงไดต้ า่ กว่าเปา้ หมาย 2) ด้านปัญหาอุปสรรค จากข้อมูลการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างในเรื่องปัญหาอุปสรรคของการดาเนินการตาม นโยบายน้นั พบประเดน็ ดังนี้ วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีที่ 8 ฉบับท่ี 2 เดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

67 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคุณภาพของ TCI และอย่ใู นฐานขอ้ มูล TCI กล่มุ ที่ 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) (1) การถ่ายทอดนโยบายหลายระดับและผู้ปฏิบัติงานบางส่วนยังไม่ทราบนโยบายอย่างชัดเจน พบว่า มี ปัญหาเรื่องการถ่ายทอดนโยบายมีการชี้แจงจากหลายภาคส่วน ถ่ายทอดหลายระดับ ถ่ายทอดไม่ถึงเจ้าหน้าที่ท่ี ปฏิบัติงานบางส่วน ทาให้เกิดความความสับสน โดยเฉพาะประเด็น การบันทึกผลงานเพื่อการจัดสรรค่าชดเชยตาม ปริมาณงาน ดังการให้ข้อมูลเร่ืองการถ่ายทอดนโยบายว่า “ผู้รับผิดชอบควรมีการถ่ายทอดให้ท่ัวถึง” “การถ่ายทอด ต้องชัดเจนท้ังตัวเน้ือหาและแนวทางการดาเนินการ” “ควรมีการชี้แจงแนวทางท่ีชัดเจน” ผู้บริหารรับทราบนโยบาย การดาเนนิ งานแตบ่ างส่วนไม่ได้ให้ความสนใจ ตามคากล่าวท่วี ่า ”ผบู้ รหิ ารรับทราบ แตไ่ มใ่ หค้ วามสนใจ” (2) การตัง้ เปา้ หมายผลลัพธ์ไมเ่ หมาะสม ผู้ให้ขอ้ มูลคิดวา่ เปา้ หมายผลลพั ธท์ ก่ี าหนดไวค้ อ่ นขา้ งสูงมากเกนิ ไป ในการตรวจช่องปากกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ ตามคากล่าวว่า “กลุ่มหญิงต้ังครรภ์เป้าหมายสูงเกินไป เพราะหญิงต้ังครรภ์ บางส่วนไปรับบริการหน่วยบริการอ่ืน ไม่เข้าระบบของเรา” “เป้าหมายสูงเกินไปในงานเคลือบหลุมร่องฟัน”และกลุ่ม เด็กอายุ 6-12 ปี ได้รับบริการเคลือบหลุมร่องฟนั มีผู้ช่วยทันตกรรมไม่เพียงพอ ทั้งในรพ.และรพ.สต. ทาให้งานอาจไม่ มีคุณภาพโดยเฉพาะการเคลือบหลุมรอ่ งฟัน (3) ระบบการบันทึกข้อมูลดีแตร่ ะบบการเบิกจ่ายค่าชดเชยบริการล่าช้าและไม่ชัดเจนสาหรับการบันทึกและ สง่ ออกขอ้ มลู การเบิกจา่ ยคา่ ชดเชยบรกิ ารไมช่ ดั เจน ไม่ถกู ตอ้ ง ไมท่ ันเวลา ไมค่ รบถว้ น การจัดสรรเงินค่าชดเชยบรกิ าร มคี วามหลากหลาย ดงั คากล่าววา่ “การบันทึกทาได้งา่ ย แตก่ ารเบิกจ่ายคา่ ชดเชยย่งุ ยาก ไม่สะดวก” 3) ด้านข้อเสนอแนะเพอ่ื การดาเนินงาน ในส่วนข้อเสนอแนะของการดาเนินงาน ผู้ให้ข้อมูลมีข้อเสนอแนะตาม ประเด็นดังนี้ (1) ให้มีการถ่ายทอดนโยบายให้ทั่วถงึ และชัดเจนทั้งเนอื้ หาและแนวทางการดาเนนิ งาน ควรดาเนินนโยบาย ต่อเน่ืองและขยายกลุ่มเป้าหมายให้ครอบคลุมกลุ่มวยั อ่นื ๆ ดงั การให้ข้อมูลเรื่องการถา่ ยทอดนโยบายว่า “ผู้รับผิดชอบ ควรมกี ารถ่ายทอดให้ทว่ั ถึง” “การถ่ายทอดตอ้ งชัดเจนทั้งตวั เนอ้ื หาและแนวทางการดาเนินการ” (2) ปรับการต้งั เป้าหมายให้เหมาะสม ซึง่ สอดรับกับสถานการณร์ ะบาด โควิด-19 ทาใหร้ ะยะเวลาดาเนินงาน มีค่อนข้างน้อย ควรปรับลดเป้าหมายลงให้เหมาะสม ให้สอดคล้องกับบริบทการดาเนินงานในพื้นที่ โดยเฉพาะการ ตรวจช่องปากและขัดทาความสะอาดฟันหญิงต้ังครรภ์ และการเคลือบหลุมร่องฟนั ฟันกรามแท้เด็ก 6-12 ปี อีกท้ังควร มีการตั้งเปา้ หมายตามข้อมลู ของประเทศ ต้ังเป้าหมายเปน็ ขั้นบันไดให้สามารถดาเนินงานไดจ้ ริง (3) ปรับรูปแบบการบริหารจัดการผู้ปฏิบัติงานให้เหมาะสมและเพียงพอ สาหรับสถานบริการบางแห่งที่มี ปญั หาด้านบคุ ลากร แนะนาให้มีการบรหิ ารจดั การกาลงั คนในพนื้ ที่ ทุก รพ.สต. ที่จัดบริการควรมผี ู้ช่วยงานทนั ต กรรม เพื่อช่วยทาให้ผลงานมีประสิทธิภาพเพ่ิมขึ้น ดังการให้ข้อมูลว่า“ควรมีการรวมกลุ่มกันเวียนไปให้บริการแตล่ ะพืน้ ที่ จะ ทาให้ไดป้ รมิ าณผลงานเพิ่มมากขนึ้ ” (4) จัดอบรมการดูแลระบบข้อมูลและควรมีระบบประมวลผลข้อมูลให้แก่หน่วยงานต้นสังกัด ส่วนของการ พัฒนาระบบสนับสนนุ การทางานนนั้ มขี ้อเสนอแนะให้มีการอบรมเรอื่ งระบบข้อมลู และเร่ืองการเบกิ จ่ายค่าชดเชยเพ่อื วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปีที่ 8 ฉบบั ที่ 2 เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

68 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคุณภาพของ TCI และอย่ใู นฐานข้อมูล TCI กล่มุ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) ทาความเขา้ ใจกับเจ้าหนา้ ทที่ รี่ ับผิดชอบ มีแนวทางกลางสาหรับหน่วยบริการหลัก ในการจดั สรรเงินให้กับสถานบรกิ าร ร่วมให้บริการ ส่วนกลางควรมีการส่งสรุปผลงานรายหน่วยบริการให้กับทางสสจ. เป็นรายเดือนเพื่อใช้ในการกากับ ติดตามหรือให้ผู้รับผิดชอบงานของกลุ่มงานทันตสาธารณสุข สสจ. สามารถเข้าดูรายละเอียดผลงานของทุกสถาน บริการได้ จากเว็บของ สปสช. รวมท้ังมีการตรวจสอบคุณภาพ และปรับระบบข้อมูลการติดตามการยึดติดสารเคลือบ หลุมร่องฟัน จากปัญหาข้อมูลของนักเรียนไม่สามารถระบุช้ันและโรงเรียนเด็กท่ีได้รับการเคลือบหลุมร่องฟัน ทาให้ พ้ืนที่ต้องทารายงานซ้าซ้อน ดังข้อมูลว่า “มีปัญหาช่วงแรกที่ยังไม่เข้าใจรายละเอียดการบันทึก” “มีปัญหาในการลง ขอ้ มูล อยากใหม้ ีการจัดอบรมเจา้ หน้าที่” อภิปรายผล จากผลการศึกษาสถานการณ์การดาเนินงานพบว่า มีความเห็นด้วยระดับสูง เรื่องการดาเนินงานมีประโยชน์ การบนั ทึกและการส่งออกข้อมลู ระบบ 43 แฟม้ ใช้งานง่าย ความชัดเจนของนโยบาย และค่าชดเชยค่าบรกิ ารเหมาะสม กับปริมาณงาน สอดคล้องกับการศึกษาของวราภรณ์ จิระพงษา และปิยะดา ประเสริฐสม (Jirapongsa W.& Prasertsom P.,2008 ) ที่กล่าวว่าการบริหารจัดการที่ชัดเจนทั้งเป้าหมาย ระบบสนับสนุน ตลอดจนระบบรายงาน และการประเมินผล เป็นแบบอย่างท่ีดีในการดาเนินโครงการในระดับประเทศ เช่นเดียวกับการศึกษาของเดชา คนธ ภักดี และคณะ (Konthaphakdee D.,et al., 2018 ) ที่กล่าวว่า การสร้าง การรับรู้ของผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน ระดับปฐมภูมิต่อนโยบายคลินิกหมอครอบครัวเป็นสิ่งจาเป็น ส่วนความเห็นด้วยระดับปานกลางได้แก่ การถ่ายทอด นโยบายครอบคลุมทุกหน่วยงาน การประชาสัมพันธ์ให้ผู้รับบริการทราบ ทาได้ทั่วถึง การบริการครอบคลุม กลุ่มเป้าหมายครบถ้วน เป้าหมายผลลัพธ์ทุกกลุ่มมีความเหมาะสม ระบบการดาเนินงาน ปฏิบตั ิได้ง่าย การบันทึกและ การส่งออกข้อมูลระบบ e-claim ใช้งานง่าย ระบบการติดตามผลงานและผลการจ่ายค่าชดเชย สะดวก มีหลาย ช่องทาง การได้รับค่าชดเชย ถูกต้อง รวดเร็ว สอดคล้องกับการศึกษาของ ทรงวุฒิ ตวงรัตนพันธ์ (Tuongratanapan S., 2020 ) ที่กล่าวว่า การเพ่ิมการเข้าถึงบริการทาได้โดยการเพ่ิม ศักยภาพของระบบบริการทันตกรรม โดยการสร้าง เครือข่ายความร่วมมือ และมีมาตรการอื่นควบคู่ไปด้วย เช่น การจัดระบบบริการทางทันตกรรมปฐมภูมิท่ีมี ประสิทธิภาพ มาตรการกาลังคน การรณรงค์เพ่ิมความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อก่อให้เกิดการตระหนักถึงความจาเป็นใน การเข้ารับบริการสุขภาพช่องปากของประชาชน ซึ่งเป็นบทบาทที่สาคัญของทันตบุคลากร ในการกระตุ้นให้เกิด ความร่วมมือ และการประสานงานที่ดีของทุกหน่วยงาน เพื่อให้มีระบบบริการที่ครอบคลุมสามารถเข้าถึงได้ มี ประสิทธิภาพ และเป็นมาตรฐาน ส่วนปัญหา 3 อันดับแรก คือ 1) ปัญหาระบบข้อมูล พบว่า ข้อมูลที่บันทึกไม่ตรงกับข้อมูลที่ส่งออก ข้อมูล ผลงานจากระบบ HDC ไม่ตรงกับระบบ e-claim เนื่องจากการดึงข้อมูลจากแหล่งข้อมูลไม่เหมือนกัน พบปัญหาน้ี มากที่สุด ข้อมูลส่วนนี้ใส่ในข้อค้นพบแล้วหรือไม่ เท่าที่อ่านยังไม่พบว่าได้มีการเขียนข้อค้นพบในส่วนนี้ในผล วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีท่ี 8 ฉบบั ท่ี 2 เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

69 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มูล TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) การศึกษาฝากเติมเข้าไป เมื่อมีผลแล้วจึงจะนามาอภิปรายได้ เพราะเป็นขั้นตอนที่ทุกหน่วยงานสามารถตรวจสอบ ผลงานและค่าชดเชยบริการได้ ทางสานักทันตสาธารณสุข และกองบริหารการสาธารณสุขจากส่วนกลางกาลัง ดาเนินการปรับปรุง 2) ปัญหากาลังคน เร่ืองผู้ช่วยทันตกรรมไม่เพียงพอ รวมถึงการจา้ งผชู้ ่วยทนั ตกรรมเพมิ่ เติม เพอื่ ชว่ ยทาให้ผลงานมีประสิทธภิ าพเพ่ิมข้ึน สอดคล้องกับการศึกษาของสุกัญญา เธียรววิ ัฒน์ และคณะ (Tianviwat S.,et al.,2011) ท่ีกล่าวว่าการมีผูช้ ่วย ขา้ งเก้าอ้ี จะเพิ่มการยดึ ติดของสารเคลือบหลุมรอ่ งฟันไดถ้ ึง 2.3 เทา่ เม่อื เทยี บกบั การ ไม่มีผู้ช่วยข้างเก้าอี้ ซึ่งทางหน่วยบริการและส่วนกลางช่วยกันให้ข้อมูลรองรับความสาคัญของผู้ช่วยทันตกรรมกับผล การดาเนินงาน และปัญหาการเบิกจ่ายค่าชดเชยบริการค่อนข้างล่าช้า และ 3) การจัดสรรค่าชดเชยบริการในระดับ CUP ซึ่งเป็นปัญหาที่สาคัญ เนื่องจากต้องประสานงานกับหลายหน่วยงาน ทั้งจากสานักงานหลักประกันสุขภาพ แห่งชาติ ในเร่ืองระบบข้อมูล และการเบิกจ่ายค่าชดเชยบริการจากโรงพยาบาล ในการจัดสรรค่าชดเชยบริการ ส่วน ปัญหาอื่นได้แกส่ ถานการณร์ ะบาดโควดิ -19 แนวทางการดาเนินงานการบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากท่ีมุ่งเน้นการเข้าถึงบริการ ในหญิงตั้งครรภ์และเด็กวัยเรียน ภายใตน้ โยบาย Fee Schedule เป็นการเปิดโอกาสและเริ่มเขา้ สกู่ ารขยายผลในการ ดูแลอย่างมีประสิทธิภาพ และให้ผลลัพธ์ด้านสุขภาพในกลุ่มวัยอื่นตลอดช่วงชีวิต ดังนั้นจึงอาจกล่าวได้ว่า การบริหาร จัดการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากเป็นการเฉพาะน้ีเป็นจุดเริ่มต้นในการพัฒนาระบบการจัดบริการ สขุ ภาพช่องปาก ภายใต้แนวคิดที่เน้นการจัดบริการระดบั ปฐมภมู ิและการจดั บริการทีค่ รบวงจรไร้รอยตอ่ นอกจากนี้การดาเนินงานโดยการกาหนดตัวชี้วัดท่ีมีเฉพาะเชิงปริมาณเพียงมุมเดียว คงไม่สามารถสะท้อนปัจจัยตา่ งๆ ที่เกิดข้ึนได้ จึงน่าจะมีการประเมินเชิงคุณภาพร่วมด้วย ส่วนการดาเนินงานท่ีผ่านระบบสารสนเทศท่ีดี น้ันยังคงเป็น ปัญหาอยู่ โดยเฉพาะตัวบุคลากรซ่ึงมีความสาคัญมาก ซ่ึงเป็นผู้ท่ีจะต้องใส่ข้อมูลในระบบ ทักษะและความเข้าใจท่ีไม่ ตรงกัน ทาให้เป็นอปุ สรรคในการเก็บข้อมูลเชงิ ผลผลิตได้ รวมทั้งการท่ีข้อมูลท้ังหมดถูกสง่ ไปรวมศูนยอ์ ยู่ท่ีสว่ นกลาง ก็ ทาใหเ้ กิดปญั หาในการนิเทศติดตามในระดบั จังหวัดและระดบั ศนู ยเ์ ขตได้ ขอ้ เสนอแนะในการนาผลวิจัยไปใช้ 1.ข้อเสนอแนะในการนาผลการวจิ ยั ไปใช้ 1.1 สาหรับผู้บริหาร ผู้บริหารควรมีการกาหนดนโยบายต้องมีความชัดเจน การถ่ายทอดนโยบายไปสู่การ ดาเนินการ ให้ครอบคลุมทุกหน่วยงาน การวางแผนเชิงระบบท่ีมีความชดั เจนและมีแนวทางพร้อมทั้งกาหนดบทบาทที่ ชดั ในแตล่ ะระดับ การสนับสนุนปจั จัยตา่ งๆ ในการดาเนินงานตั้งแต่งบประมาณ แนวทางการดาเนินงาน วสั ดอุ ุปกรณ์ บุคลากร และระบบการนิเทศติดตาม ควรให้มีการนิเทศทง้ั ในระดับส่วนกลางและระดับเขต รวมท้ังการมฐี านขอ้ มูลท่ีมี ประสิทธภิ าพในการสะท้อนการดาเนินงานได้อย่างรวดเร็ว วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปที ี่ 8 ฉบับท่ี 2 เดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

70 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) 1.2 สาหรับผู้ปฏิบตั ิ ผู้ปฏิบัติควรมีความรู้ความเข้าใจในการใชร้ ะบบข้อมูล ตอ้ งมีความรู้ท่ีถูกตอ้ ง มีระบบการ ดาเนินงานที่ปฏิบตั ิไดง้ ่าย มีระบบการติดตามผลงาน และผลการจ่ายค่าชดเชยบริการท่ีสะดวก เข้าถึงไดห้ ลายช่องทาง ส่งเสริมความเข้าใจของผู้รับบริการในการเข้าถึงบริการ ต้องมีการประชาสัมพันธ์ให้ทราบสิทธิประโยชน์ของการรับ บริการ และช่องทางท่ีสามารถเข้ารับบริการได้อย่างท่ัวถึง พัฒนาแนวทางการจัดบริการโดยใช้ในรูปแบบการบริหาร จดั การใหม้ คี วามชัดเจน โดยการพัฒนาใหเ้ กิดเป็นระบบที่มีความครบถว้ นท้ังในเรื่องของการบริหารจดั การ การควบคมุ คุณภาพ และระบบการจัดการด้านขอ้ มลู ภายหลงั การใหบ้ ริการ ข้อเสนอในการศึกษาครัง้ ตอ่ ไป 2.1 การวิจัยคร้ังนี้เป็นการศึกษาสถานการณ์ ปัญหา และข้อเสนอแนะของการดาเนินงานในช่วงแรกเท่านั้น ซึง่ คาดว่าจะเป็นขอ้ มลู นาเขา้ ในการศึกษาวิจัยประเมนิ ผลนโยบายนี้ทีย่ งั มกี ารดาเนนิ งานตอ่ ไป 2.2 การวิจัยในกลุ่มหญิงต้ังครรภ์และเด็กนักเรียนเป็นการเปิดโอกาสและเริ่มเข้าสู่การขยายผลในการดูแล อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพและให้ผลลัพธด์ า้ นสขุ ภาพในกล่มุ วยั อืน่ ตลอดช่วงชีวติ 2.3 มีผลพลอยไดจ้ ากการดาเนินงาน เช่นการพัฒนานวตั กรรมและเทคโนโลยีบริการ ซึ่งหากมีการบนั ทึกและ จัดเก็บอยา่ งเปน็ ระบบ จะทาให้เกิดการตอ่ ยอดและขยายผลไปอยา่ งต่อเนอื่ ง เอกสารอ้างอิง Jirapongsa W., & Prasertsom P. (2008). Oral Health Promotion and Prevention in School Children Project under National Health Security “Yim (Smile) Sodsai (Bright), Dek Thai (Thai Children) Fun Dee (Healthy Teeth)”: 2005-2007.Thai Dental Public Health Journal. 13(5), 85-96. (In Thai). Konthaphakdee D.,et al. (2018). Perceptions of Hospital Administrators and Primary Practitioners on Family Physician Clinic Policy: Understanding, Feelings, Expectations, Problems, Obstacles and Recommendations. Journal of Public Health System Research. 12(2), 267-279. (In Thai). Ministry of Public Health. P&P Oral Health Service Plan. Retrieved 30 April 2020, form https: // www. hdcservice.moph.go.th. Ministry of Public Health, Bureau of Dental Health Department of Health, National Health Security Office. (2019). Management manual of oral health promotion and prevention service focusing accessibility of specific population group. Nonthaburi: Sahamit Printing and Publishing Co., Ltd.; 2019. (In Thai). วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ี่ 8 ฉบบั ที่ 2 เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

71 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคุณภาพของ TCI และอยูใ่ นฐานขอ้ มลู TCI กลมุ่ ที่ 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) Tuongratanapan S. (2020). Public - Private Partnership for oral healthcare to reduce the inequality of access to oral health services in child population in Thai urban area. Data warehouse and health system knowledge Health System Research Institute 2020. (In Thai ). Tianviwat S. ,et al. ( 2011) . Factors related to short- term retention of sealant in permanent molar teeth provided in the school mobile dental clinic, Songkhla, Southern Thailand. Journal of Public Health 2011;41(1):50-58. Von Bertalanffy, L. General System Theory: General Systems. Yearbook of the Society for the Advancement of General System Theory. 1: 1-10; 1956. วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีท่ี 8 ฉบบั ที่ 2 เดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

72 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มูล TCI กลุ่มที่ 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) Effects of Health Promotion Program on Self-care Agency in Patients Breast Cancer Treated with Chemotherapy Preeyaporn Wacton* ,Tipawan Tiemsan** (Received: March 23, 2021, Revised: Mar 27, 2021, Accepted: June 7, 2021) Abstracts This study was a quasi-experimental research. The purpose of the study was to evaluate the effects of health promotion program on self-care agency in patients breast cancer treated with chemotherapy. Sample was thirty post-operation breast cancer patients who treated with chemotherapy during March 2020 to July 2020, and then were assigned to either the experimental or control groups ( 15 patients to each group) . The experimental group received the promoting self-care program that was developed based on Orem’s nursing system theory, while the control group received usual nursing care only. Data of pre and post intervention and control group were collected using self-care questionnaire. Data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, and t-test. The results showed that the quality of life and self-care behaviors of the patients after receiving the program were significantly better than those before receiving the program. The study found that the experimental group had level more self-care agency after receiving health promotion program at significance level of < 0.001. The mean score of self-care agency in experimental group was significantly higher than the control group (p <0.05). This finding could be used as a guideline for improving nursing quality and health promotion models for other cancer patients. Keywords: Promotion program, Self-care agency, Breast cancer, Chemotherapy * Registered Nurse Professional Level, Chemotherapy Unit, Phrae Hospital. ** Nurse Instructor, Boromarajjonani College of Nursing, Phare, Faculty of Nursing, Praboromarajchanok Institute, Ministry of Public Health วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปีท่ี 8 ฉบับท่ี 2 เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

73 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมูล TCI กล่มุ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) ผลของโปรแกรมสง่ เสรมิ สขุ ภาพตอ่ พฤติกรรมการดูแลสขุ ภาพของผปู้ ่วยมะเร็งเต้านม ทีไ่ ดร้ ับยาเคมีบำบัด ปรยี าภรณ์ วรรคตอน* ทพิ วรรณ เทยี มแสน** (วนั รับบทความ: 23 มนี าคม 2564, วนั แก้ไขบทความ: 27 พฤษภาคม 2564, วนั ตอบรับบทความ: 7 มิถนุ ายน 2564) บทคดั ย่อ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพต่อ พฤติกรรมการดูแลสขุ ภาพของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับยาเคมีบำบัด กลุ่มตัวอย่างเปน็ ผู้ปว่ ยมะเร็งเต้านมหลัง ไดร้ ับการผา่ ตดั และเขา้ รบั การรักษาดว้ ยยาเคมบี ำบัด ณ หนว่ ยเคมบี ำบดั โรงพยาบาลแพร่ ระหวา่ งเดือนมีนาคม ถึงเดือนมิถนุ ายน 2563 จำนวน 30 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 15 คน กลุ่มทดลองได้รบั โปรแกรมส่งเสริมสุขภาพที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเร็ม (Orem,2001) กลุ่มควบคุมได้รับการ พยาบาลตามปกติ เก็บข้อมูลก่อนและหลังการทดลองโดยใช้แบบสอบถามพฤติกรรมการดูแลสุภาพ วิเคราะห์ ขอ้ มูลโดยใช้สถิตคิ วามถ่ี ร้อยละ ค่าเฉลย่ี สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน และสถติ ทิ ดสอบที ผลการศกึ ษาพบว่า คา่ เฉลี่ย คะแนนพฤติกรรมการดแู ลสขุ ภาพของกลุ่มทดลองหลังได้รบั โปรแกรมส่งเสริมสขุ ภาพ สงู กว่ากอ่ นได้รับโปรแกรม ส่งเสริมสุขภาพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.001) และกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพ มีคะแนนเฉลี่ย พฤตกิ รรมการดูแลสขุ ภาพสูงกว่ากลุม่ ที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอยา่ งมีนยั สำคัญทางสถติ ิ (p<.05) ผลการวจิ ัย นี้สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการพยาบาลและรูปแบบการส่งเสริมสขุ ภาพในผู้ป่วยมะเร็ง กล่มุ อื่น คำสำคญั : โปรแกรมส่งเสริมสขุ ภาพ พฤตกิ รรมการดแู ลสขุ ภาพ มะเร็งเต้านม เคมบี ำบดั * พยาบาลวิชาชพี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ หนว่ ยเคมีบำบดั โรงพยาบาลแพร่ ** อาจารย์พยาบาล วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี แพร่, คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีท่ี 8 ฉบบั ท่ี 2 เดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

74 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานข้อมูล TCI กลมุ่ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) บทนำ มะเร็งเต้านมเป็นโรคเรื้อรังที่คุกคามตอ่ สุขภาพสตรี และเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญอันดบั ตน้ ๆ ของทุกประเทศทั่วโลก โดยพบเป็นอันดับ 1 ในมะเร็งเพศหญิง (World Health Organization, 2020) ที่มี อบุ ัตกิ ารณ์ถงึ รอ้ ยละ 16 และร้อยละ 28.6 ต่อแสนประชากรของโลกและประเทศไทยตามลำดับ รวมทง้ั มแี นวโนม้ ของอุบัตกิ ารณ์และอัตราการเสียชีวิตเพ่ิมขึ้นอยา่ งตอ่ เนื่อง (National Cancer Institute, 2015) ปัจจุบันวิธกี าร รักษาโรคมะเร็งเต้านมได้รับการพัฒนาให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และเป็นการรักษาแบบพหุสาขา (multi- disciplinary) ที่ประกอบด้วยการผ่าตัด เคมีบำบัด และรังสีรักษา เป็นการรักษาหลัก ร่วมกับวิธีการรักษาในเชงิ ชวี วิทยาโมเลกุล เชน่ การรกั ษาแบบมุ่งเปา้ (target therapy) ภมู ิคมุ้ กนั บำบัด (immunotherapy) ส่งผลใหผ้ ู้ปว่ ย มีชวี ิตท่ียนื ยาวมากข้ึน โอกาสในการกลับเป็นซ้ำลดลง และยังชว่ ยประคบั ประคองอาการผู้ป่วยที่โรคมะเร็งอยู่ใน ระยะแพร่กระจาย ให้ทุกข์ทรมานน้อยที่สุดและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น (Sangkhathat, 2016; Prisutkul, et al, 2013; National Cancer Institute, 2015) การผ่าตดั เปน็ วิธกี ารรกั ษาหลักสำหรับโรคมะเร็งเต้านมท่ีมมี ายาวนาน มเี ปา้ หมายเพ่ือกำจัดก้อนมะเร็ง ออกจากร่างกายใหไ้ ด้มากทส่ี ดุ เพื่อการควบคุมโรคเฉพาะที่ (adequate loco-regional control) และให้ทราบ ระยะท่ีแท้จริงของโรค สำหรับวางแผนการรักษาทีเ่ หมาะสม (tumor information and staging) รวมทั้งใหเ้ กิด ความสวยงามและช่วยให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดี (appropriate quality of life) (Asdornwised, U., et al., 2016) อย่างไรก็ตามการรักษาด้วยการผ่าตัดอาจไม่สามารถตัดก้อนมะเร็งออกได้อย่างสมบูรณ์ (completed resection) อันเนื่องมาจากปัจจัยด้านขนาด ตำแหน่งของก้อนมะเรง็ ระยะของโรค และภาวะสขุ ภาพของผู้ป่วย จึงอาจส่งผลให้มีเซลล์มะเร็งหลงเหลืออยู่บริเวณเต้านม และมีโอกาสการแพร่กระจายไปยังต่อมน้ำเหลืองหรือ อวัยวะข้างเคียง แพทย์จึงมักพิจารณาให้การรักษาวิธีอื่นร่วมด้วย เพื่อกำจัดเซลล์มะเร็งที่หลงเหลืออยู่ (Sangkhathat, 2016) ซึ่งการรักษาด้วยเคมีบำบัด (chemo therapy) ที่ปัจจุบันถือเป็นหนึ่งในวิธีการรักษา โรคมะเรง็ เตา้ นมที่มีบทบาทอย่างมากในกระบวนการรักษาแบบหพุสาขา ท่ีแพทย์มักใชค้ วบคู่กับการผา่ ตดั เพื่อ ชว่ ยลดขนาดของก้อนมะเรง็ ใหเ้ ลก็ ลงก่อนทำการผ่าตัด หรอื ใหภ้ ายหลงั จากการผ่าตดั ในการเพ่ิมประสิทธิภาพใน การรักษามะเร็งเตา้ นมทีห่ ลงเหลอื หรอื มกี ารหลดุ รอดไปยังระบบอน่ื ๆท่ัวรา่ งกาย ชว่ ยให้มีโอกาสหายขาด ปอ้ งกนั การกลับเป็นซ้ำ และมีชีวติ ทยี่ นื ยาวขึ้น (Sangkhathat, 2016; Baxter, 2017; Hussain, et al, 2017) การรักษาด้วยยาเคมีบำบัด แม้จะมีข้อดีในการช่วยทำลายเซลล์มะเร็งได้ทุกระบบของร่างกาย ส่งผลให้ การรกั ษามีประสทิ ธภิ าพมากกวา่ การรักษาด้วยการผ่าตัดหรอื ฉายรังสีเพยี งวธิ ีเดยี ว แต่ในขณะเดียวกันผู้ป่วยต้อง เผชิญกับอาการไมพ่ ึงประสงค์ต่างๆ ที่เกิดจากผลข้างเคียงของยาเคมีบำบัดจนอาจทำให้เกิดอาการทุกข์ทรมาน ตามมา เน่อื งจากยาเคมีบำบัดไม่สามารถแยกเซลลม์ ะเรง็ ออกจากเซลล์ปกติได้ โดยเฉพาะเซลลป์ กตขิ องร่างกายท่ี มีการแบ่งตัวเรว็ เช่น เซลล์ไขกระดูก เยื่อบุทางเดินอาหาร รากผม เล็บ ที่มักได้รับผลกระทบจากเคมีบำบัดและ ก่อใหเ้ กิดอาการไม่พงึ ประสงค์หรือภาวะแทรกซ้อนต่อผูป้ ่วย ซึ่งความรนุ แรงของภาวะแทรกซอ้ นที่พบในผู้ป่วยแต่ ละคนจะแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับชนิด ปริมาณ วิธีการให้ยาและปัจจัยของตัวผู้ป่วยเองแต่ละคน ( Petpichetchian, 2011; National Cancer Institute, 2015; Breastcancer. org, 2017) ซ ึ ่ ง อ า ก า ร ไม ่ พึ ง ประสงค์หรือภาวะแทรกซอ้ นจากยาเคมีบำบัด ไม่เพียงแค่ทำให้ผู้ปว่ ยเกิดความทุกข์ทรมานท้งั ทางดา้ นรา่ งกายและ จิตใจ แตย่ ังอาจส่งผลกระทบตอ่ แผนการรกั ษาของแพทย์ เชน่ การลดขนาดยาเคมบี ำบดั หรอื เลอ่ื นระยะเวลาของ การให้ยาออกไป ซงึ่ จะส่งผลกระทบตอ่ ประสทิ ธภิ าพการรักษา อัตราการรอดชวี ิต และต้นทุนค่ารักษาพยาบาลเพมิ่ สูงขึ้น (National Cancer Institute, 2015; Breastcancer.org, 2017) ดังนั้นการได้รับความรู้หรือคำแนะนำ วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีที่ 8 ฉบบั ท่ี 2 เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

75 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มลู TCI กลมุ่ ที่ 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) เพื่อให้สามารถดูแลตนเองระหว่างรบั การรักษาด้วยยาเคมีบัดได้อยา่ งถูกต้อง จะช่วยชะลอหรือปอ้ งกันไม่ให้เกิด ภาวะแทรกซอ้ นในระดับรนุ แรงได้ (Petpichetchian, 2011; Sirilertrakul, et al, 2012) พยาบาลซ่งึ เป็นบุคลากร ทที่ ำหน้าให้การดูแลผ้ปู ว่ ยขณะรับการรกั ษาด้วยยาเคมีบัดอย่างใกล้ชิด จึงมบี ทบาทอยา่ งมากในการส่งเสริมและ สนับสนุนให้ผู้ป่วยสามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง เพื่อป้องกันและบรรเทาอาการไม่พึงประสงค์หรือ ภาวะแทรกซอ้ นตา่ งๆระหว่างรบั การรักษาดว้ ยยาเคมีบำบดั หน่วยเคมีบำบดั โรงพยาบาลแพร่ ทำหน้าท่ีให้การดูแลรักษาผู้ป่วยเต้านมด้วยยาเคมีบำบัด สูตรยาเคมี บำบดั ทีใ่ ชใ้ นการรกั ษาประกอบดว้ ย 5 สูตรยา ไดแ้ ก่ AC Protocol, FAC Protocol, CMF Protocol, Doxitaxel Protocol และ Paclitaxel Protocol จากข้อมลู การให้บริการ ปพี .ศ. 2560-2562 พบว่า ภาวะแทรกซอ้ นจากยา เคมีบำบดั ท่ีมากทส่ี ุด 3 ลำดับแรก ไดแ้ ก่ อาการชาปลายมอื ปลายเท้า คลื่นไสอ้ าเจยี น แผลในช่องปากและลำคอ ตามลำดับ นอกจากนี้ยังพบว่าในกลุ่มผู้ป่วยที่เกิดภาวะแทรกซ้อนทางระบบโลหติ และมีระดับความเข้มข้นของ เลอื ดตำ่ กว่าปกติ (hematocrit< 30%) ตอ้ งถกู เล่ือนนดั การรับยาเคมบี ำบัดถงึ ร้อยละ16.67 และตอ้ งเข้านอนพัก รักษาในโรงพยาบาลเพ่อื รบั การให้เลือดทดแทน ร้อยละ 10.00 ข้อมูลดังกล่าวสะทอ้ นให้เหน็ ว่า ควรมกี ารพัฒนา แนวทางการดูแลผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าวเพ่ือลดอุบัตกิ ารณ์และความรุนแรงของภาวะแทรกซ้อน ซึ่งจากการทบทวน เอกสารและงานวิจยั พบว่า การสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ให้ผู้ป่วยมีความรู้ท่ีถกู ตอ้ ง สามารถปฏิบตั ติ ัวและดูแลตนเอง ได้อยา่ งเหมาะสม จะช่วยให้เกิดภาวะแทรกซอ้ นจากยาเคมบี ำบัดในระดบั ตำ่ มีความวิตกกงั วลและภาวะซึมเศร้า ลดลง และระดับคุณภาพชีวิตเพิ่มขึ้น (George, et al, 2012; Mollaoglu & Erdogan, 2015) ดังนั้น ผู้วิจัยจึง สนใจทจ่ี ะศกึ ษาผลของโปรแกรมสง่ เสรมิ สุขภาพที่สรา้ งขน้ึ จากทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเร็ม (Orem,2011) ต่อ พฤติกรรมการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับยาเคมีบำบัด เพื่อนำผลวิจัยไปใช้เป็นแนวทางในการ พัฒนารูปแบบการให้คำแนะนำในการดูแลตนเองแก่ผู้ปว่ ยมะเร็งเต้านมและผู้ป่วยมะเร็งระบบอื่น ๆ ให้สามารถ ดแู ลตนเองไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง เพ่อื ปอ้ งกนั หรือบรรเทาความรนุ แรงของภาวะแทรกซอ้ นลงได้ และสามารถรับยาเคมี บำบดั ไดต้ รงตามแผนการรกั ษา ซ่งึ จะสง่ ผลใหผ้ ลการรักษามปี ระสทิ ธภิ าพทีด่ ี ชว่ ยให้ผูป้ ่วยโรคมะเรง็ เต้านมมีชีวิต ทยี่ นื ยาวและมีคณุ ภาพชวี ิตทีด่ ี วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพอื่ เปรียบเทียบพฤตกิ รรมการดแู ลสขุ ภาพของผู้ปว่ ยมะเร็งเต้านมที่ได้รบั ยาเคมีบำบัดในกลุ่มทดลอง ก่อนและหลงั ไดร้ บั โปรแกรมสง่ เสริมสุขภาพ 2. เพอ่ื เปรียบเทียบพฤตกิ รรมการดูแลสุขภาพของผปู้ ่วยมะเร็งเตา้ นมท่ีได้รับยาเคมีบำบดั ระหว่างกลุ่มที่ ได้รับโปรแกรมสง่ เสรมิ สขุ ภาพและกลุ่มทไ่ี ด้รบั การพยาบาลตามปกติ สมมตฐิ านการวิจัย 1. ค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ ของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับยาเคมีบำบัด หลังได้รับ โปรแกรมสง่ เสรมิ สุขภาพ สูงกวา่ กอ่ นไดร้ บั โปรแกรมฯ 2. ค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ ของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับยาเคมีบำบัด ของกลุ่มที่ ไดร้ ับโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพ สูงกว่ากลมุ่ ที่ไดร้ ับการพยาบาลตามปกติ วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

76 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มลู TCI กลุ่มที่ 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) นิยามศัพทเ์ ฉพาะ โปรแกรมสง่ เสริมสุขภาพ หมายถงึ กจิ กรรมทางการพยาบาล ท่สี นบั สนนุ ใหค้ วามรู้ แก่ผปู้ ่วยมะเร็งเต้า นมหลังได้รับการผ่าตัดและรับเคมีบำบัด ซึ่งผู้วิจัยพัฒนาขึ้นจากทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเร็ม (Orem,2001) ประกอบด้วย 1) กจิ กรรมการประเมนิ พฤติกรรมการดูแลสุขภาพ 2) กิจกรรมการใหค้ วามรู้ดว้ ยส่อื ภาพพลิกเร่ือง การดูแลตนเองระหวา่ งได้รบั เคมบี ำบัด แจกแผ่น QR code สำหรบั ใชโ้ ทรศพั ทม์ อื ถือสแกนเพ่ือทบทวนความร้กู าร ดูแลตนเอง สมุดคู่มอื การดูแลตนเองและการบันทกึ อาการผิดปกติหรืออาการรบกวนจากยาเคมบี ำบัดขณะอยู่ที่ บ้าน 3) กิจกรรมการเข้ากลุ่มเพื่อทบทวนและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเก่ียวกบั การดูแลตนเอง และ 4) กิจกรรม การตดิ ตามเยยี่ มบ้านทางโทรศพั ท์ เพอื่ ให้การสนับสนนุ และเสรมิ สร้างพลงั ใจในการดูแลตนเอง พฤติกรรมการดูแลสุขภาพ การกระทำที่ผู้ป่วยมะเร็งเตา้ นมหลงั รับการผ่าตัดและรับเคมีบำบัด ปฏิบัติ ดว้ ยตนเอง เพื่อปอ้ งกนั ภาวะแทรกซ้อนตา่ งๆซ่ึงวัดโดยใช้แบบสอบถามการดูแลตนเองของผู้ป่วยมะเร็งเต้านม ซึ่ง ผู้วจิ ัยสรา้ งข้ึนโดยใช้ทฤษฎกี ารดูแลตนเองของโอเรม็ (Orem,2001) ผู้ป่วยมะเรง็ เต้านมที่ได้รับยาเคมีบำบัด หมายถึง ผู้ป่วยหลังผา่ ตัดมะเรง็ เต้านมที่ได้รับการด้วยยาเคมี บำบัดสูตรที่ใช้ในโรงพยาบาลแพร่ ซึ่งมีทั้งหมด 5 สูตรยา ประกอบด้วย AC protocol, FAC protocol, CMF protocol, doxitaxel protocol และ paclitaxel protocol ตวั แปรต้น ตวั แปรตาม โปรแกรมสง่ เสริมสุขภาพ 1. การประเมนิ ความสามารถในการดูแลสุขภาพ พฤติกรรมการดูแล 2. การให้ความรู้ด้วยสือ่ ภาพพลกิ เรือ่ งการดแู ลตนเองขณะ สุขภาพของผปู้ ่วย มะเรง็ เตา้ นมทีไ่ ดร้ บั ยา ได้รบั เคมบี ำบดั แผ่น QR code ความรเู้ รอ่ื งการดูแล เคมีบำบดั ตนเอง สมุดค่มู ือการดแู ลตนเองและการบนั ทึกอาการผดิ ปกติ หรืออาการรบกวนจากยาเคมบี ำบดั ขณะอยทู่ ่ีบ้าน 3. การเข้ากลมุ่ เพื่อทบทวนและแลกเปล่ียนความคิดเหน็ เก่ยี วกับการดแู ลตนเอง 4. การตดิ ตามเยย่ี มบา้ นทางโทรศพั ท์ ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 เดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

77 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มูล TCI กลมุ่ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) วธิ กี ารดำเนนิ วจิ ัย การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยกึ่งทดลอง (quasi-experimental research) โดยมีแบบแผนการวิจยั แบบสองกลุ่ม คือกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม และมีการทดสอบก่อนและหลังการทดลอง ( pretest-posttest control group design) ประชากร คือ ผปู้ ่วยทไ่ี ดร้ ับการวนิ จิ ฉัยจากแพทย์วา่ เป็นมะเรง็ เต้านม หลังไดร้ ับการผา่ ตัดและได้รับการ รกั ษาดว้ ยเคมบี ำบัด ณ หนว่ ยเคมบี ำบัด โรงพยาบาลแพร่ กลุ่มตัวอย่าง คำณวนด้วยโปรแกรม G*Power กำหนด Power ที่ระดับ .80, Effect Size ขนาดปาน กลาง (.50), ความเชื่อมั่น 95 % ได้กลุ่มตัวอยา่ ง 27ราย และเพือ่ เป็นการป้องกันการสูญหายของกลุ่มตัวอยา่ ง ระหว่างทำการศึกษาที่เป็นไปตามเกณฑ์การคดั ออก จึงได้เพิ่มขนาดกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 10 ได้เท่ากับ 30 ราย แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 15 ราย กลุ่มควบคุม 15 ราย เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบจำเพาะเจาะจงจำนวน 30 รายจาก ผู้ป่วยมะเร็งเต้านมหลังรับการผ่าตัด และได้รับเคมีบำบัดที่เข้ารับการรักษา ณ หน่วยเคมีบำบัด โรงพยาบาล ระหวา่ งเดอื นกมุ ภาพันธ์ - เดอื นมถิ นุ ายน 2563 โดยกำหนดเกณฑค์ ัดเขา้ และเกณฑค์ ัดออกดังน้ี เกณฑ์คดั เขา้ ของกลมุ่ ตวั อย่าง (inclusion criteria) 1. เป็นผูป้ ว่ ยมะเร็งเต้านม หลงั รับการผ่าตดั และรบั การรักษาดว้ ยเคมีบำบัดรายใหม่ ณ หน่วยเคมบี ำบัด โรงพยาบาลแพร่ 2. ไดร้ บั ยาเคมีบำบัดครบจำนวนคร้ังตามแผนการรักษาของแพทย์ 3. สามารถสอื่ สารดว้ ยการพูด การฟงั ภาษาไทยได้ดี และยินยอมเข้ารว่ มการวจิ ัย เกณฑค์ ัดออกของกลุ่มตัวอย่าง (exclusion criteria) 1. ยตุ ิการรักษาก่อนไดร้ ับยาเคมบี ัดครบจำนวนคร้งั ตามแผนการรักษาดว้ ยเหตุผลใดๆกต็ าม 2. เข้ารว่ มกิจกรรมของโปรแกรมส่งเสรมิ สขุ ภาพไมค่ รบจำนวนคร้งั ตามท่กี ำหนด 3. มีความประสงคข์ อออกจากการวิจยั เมื่อได้กลุ่มตัวอย่างที่มีคุณสมบตั ิตามท่ีกำหนด ผู้วิจัยจัดเขา้ สู่กลุ่มทดลองจำนวน 15 ราย เพื่อให้ได้รบั โปรแกรมส่งเสริมสขุ ภาพ และกลุ่มควบคุมจำนวน 15 รายได้รับการพยาบาลตามปกติ ด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย (simple random sampling) โดยการจับฉลาก เครื่องมือที่ใช้ในการการวจิ ยั 1. เคร่อื งมอื ที่ใชใ้ นการทดลอง ไดแ้ ก่ โปรแกรมสง่ เสริมสขุ ภาพทผ่ี วู้ ิจัยสร้างขึ้นตามกรอบแนวคิดของโอ เร็ม ประกอบด้วย 1) กจิ กรรมการประเมินพฤตกิ รรมการดูแลสุขภาพ 2) กิจกรรมการใหค้ วามรู้เกี่ยวกับการดูแล ตนเองระหว่างการไดร้ บั เคมบี ำบดั ด้วยภาพพลิกการดูแลตนเองขณะได้รับเคมีบำบัด แจกแผน่ QR code สำหรับ ใชโ้ ทรศพั ท์มอื ถือสแกนเพ่ือทบทวนความรู้การดูแลตนเอง สมุดคมู่ ือการดูแลตนเองและการบนั ทึกอาการผิดปกติ หรืออาการรบกวนจากยาเคมีบำบัดขณะอยู่ที่บ้าน 3) กิจกรรมการเข้ากลุ่มเพื่อทบทวนและแลกเปลี่ยนความ วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปีท่ี 8 ฉบบั ที่ 2 เดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

78 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคุณภาพของ TCI และอย่ใู นฐานขอ้ มลู TCI กลมุ่ ที่ 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) คิดเห็นเกี่ยวกับการดูแลตนเอง และ 4) กิจกรรมการติดตามเยี่ยมบ้านทางโทรศัพท์ ซึ่งได้รับการตรวจความตรง ด้านเนื้อหา (content validity) และความเหมาะสมของภาษา (face validity) โดยผู้ทรงคุณวุฒจิ ำนวน 3 ท่าน ประกอบด้วย 1) แพทย์ผู้มีความรู้ความชำนาญด้านโรคมะเร็ง 2) พยาบาลผู้มีความเชี่ยวชาญในการดูแลผู้ป่วย มะเรง็ ที่ได้รับยาเคมีบำบัด และ3) เภสัชกรผู้มีความรู้ความเชีย่ วชาญในการดแู ลผู้ป่วยมะเร็งทีไ่ ดร้ ับยาเคมีบำบดั และไดค้ ่า content validity index (CVI) =1 ความเหมาะสมของภาษา ไม่มีการปรับเปลย่ี นแก้ไข 2. เครือ่ งที่ใชใ้ นการรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย 2.1 แบบสอบข้อมูลส่วนบุคคล ประกอบด้วย เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ รายไดข้ องผู้ป่วยเฉลี่ยตอ่ เดอื น 2.2 แบบสอบถามพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับยาเคมีบำบัด ผู้วิจัย ดดั แปลงจากแบบประเมินการดแู ลตนเองของ ภราดร ลอ้ ธรรมา (2560) มลี ักษณะเป็นข้อคำถามปลายปดิ จำนวน 39 ขอ้ คำถามที่มคี วามหมายทางบวก 36 ข้อ ความหมายทางลบ 3 ขอ้ โดยขอ้ คำถามเปน็ มาตราสว่ นประมาณค่า (likert scale) 4 ระดบั แปลความหมายคา่ เฉลีย่ คะแนน ดังนี้ 3.50-4.00 หมายถงึ พฤติกรรมการดูแลตนเองอยู่ในระดบั ดีมาก 2.50-3.49 หมายถึง พฤตกิ รรมการดแู ลตนเองอย่ใู นระดบั ดี 1.50-2.49 หมายถึง พฤติกรรมการดูแลตนเองอยู่ในระดบั ปานกลาง 1.00-1.49 หมายถงึ พฤตกิ รรมการดูแลตนเองอย่ใู นระดบั ไมด่ ี การตรวจสอบคณุ ภาพเครื่องมือ การตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา (content validity) ผู้วิจัยนำแบบสอบถามพฤติกรรมการดแู ลสขุ ภาพ ให้ผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 3 ท่าน ประกอบด้วย แพทย์ผู้มีความรู้ความชำนาญด้านโรคมะเร็ง พยาบาลผู้มีความ เชี่ยวชาญในการดูแลผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด และเภสัชกรผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญในการดูแลผู้ปว่ ย มะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด ตรวจสอบความชัดเจน ความถูกต้องของภาษา ความตรงตามเนื้อหา และความ สอดคลอ้ งระหวา่ งขอ้ คำถามกบั นิยามตัวแปร โดยมคี า่ ความตรงเนื้อหา (content validity index:CVI)เท่ากับ0.90 การตรวจสอบความเที่ยง (reliability) ผวู้ ิจัยนำแบบสอบถามไปหาความเช่อื มน่ั ไปทดลองใช้ (tryout) กบั กลมุ่ ท่มี ลี กั ษณะคล้ายคลงึ กับกลมุ่ ตัวอย่างทจ่ี ะศกึ ษาจำนวน 10 ราย และนำขอ้ มลู มาหาค่าความคงทภ่ี ายในของ เครอื่ งมอื (internal consistency) โดยใชส้ ัมประสทิ ธิ์อลั ฟา่ ของครอนบาค (Conbach’s alpha coefficient) ได้ ค่าความเท่ยี งของเครือ่ งมอื เทา่ กบั 0.95 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ผู้วิจัยทำการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างตามเกณฑ์ที่กำหนด และดำเนินการทดลองและเก็บข้อมูลด้วย ตนเอง โดยผู้วิจัยได้แนะนำตนเอง ชี้แจงวัตถุประสงค์ของการวิจัย ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล พร้อมทั้งขอ ความรว่ มมอื ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู พร้อมทง้ั ช้ีแจงให้ทราบถงึ สิทธิของกลมุ่ ตัวอย่างจนเขา้ ใจ เมื่อกลุ่มตัวอย่าง ยนิ ยอมเข้ารว่ มการวิจัย จึงใหล้ งนามในใบยนิ ยอมเข้าร่วมการวิจยั แลว้ ดำเนนิ การทดลองโดยกลมุ่ ควบคมุ ได้รบั การ วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีที่ 8 ฉบบั ท่ี 2 เดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

79 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มูล TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) พยาบาลตามปกติ ส่วนกลุ่มทดลองได้รับการพยาบาลตามปกติร่วมกับได้รับโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพ และเก็บ ข้อมลู โดยใช้แบบสอบถามพฤตกิ รรมการดูแลสขุ ภาพตามเวลาท่ีกำหนด 1. เม่อื กลุ่มตวั อย่างยนิ ยอมเข้ารว่ มการวิจยั ผ้วู จิ ัยดำเนินการกบั กลุ่มตวั อย่างดงั น้ี 1.1 กลมุ่ ควบคมุ ทีไ่ ดร้ บั การพยาบาลตามปกตจิ ากพยาบาลประจำหน่วยเคมีบำบดั โรงพยาบาลแพร่ ผูว้ ิจยั ดำเนนิ การดงั นี้ 1.1.1 พบกลุ่มตัวอย่างครั้งแรก ณ หน่วยเคมีบำบัด ในวันที่กลุม่ ตัวอย่างมารับยาเคมีบำบดั คร้งั แรก ผวู้ ิจัยแนะนำตัวเอง สรา้ งสัมพันธภาพ ชแ้ี จงวัตถปุ ระสงค์ของการวิจัย ขั้นตอนของการวิจยั และขอความ รว่ มมอื ในการเขา้ รว่ มการวิจยั และการเกบ็ รวบรวมข้อมลู 1.1.2 ผู้วิจัยรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคล ประเมินพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ ครั้งที่ 1 โดยใช้ แบบสอบถามพฤติกรรมการดูแลสขุ ภาพ 1.1.3 กลุ่มตัวอย่างได้รับการพยาบาลตามปกติ คือ การให้คำแนะนำเรื่องโรคมะเร็งเต้านม การรักษาดว้ ยยาเคมบี ำบัด อาการไมพ่ งึ ประสงคห์ รือภาวะแทรกซอ้ นทตี่ อ้ งระวัง และวิธีการดแู ลสุขภาพระหว่าง การรักษาดว้ ยยาเคมีบำบดั 1.1.4เม่ือกลุ่มตวั อย่างมารบั ยาเคมบี ำบดั คร้งั ที่ 2 ถึง คร้งั ท่ี 5 ตามแพทย์นัด ผูว้ ิจัยจะทำการ ประเมินภาวะสุขภาพ ซักถามอาการผิดปกติ รว่ มกับให้คำแนะนำการดแู ลสขุ ภาพแก่กลุ่มตัวอย่างในทุกครั้งของ การมารับยาเคมีบำบดั 1.1.5 เมื่อกลุ่มตัวอย่างมารับยาเคมีบำบัดครั้งที่ 6 ซึ่งเป็นครั้งสุดท้ายตามแผนการรักษา ผวู้ จิ ัยจะทำการประเมินพฤติกรรมการดแู ลสุขภาพโดยใช้แบบสอบถามพฤติกรรมการดูแลสขุ ภาพ 3.2 กลุ่มทดลอง เป็นกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติร่วมกับโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพท่ี ประกอบด้วยกิจกรรมดงั น้ี 1) กิจกรรมการประเมินพฤตกิ รรมการดูแลสุขภาพ 2) กิจกรรมการให้ความรูเ้ ก่ยี วกับ การดแู ลตนเองระหวา่ งการได้รับเคมีบำบดั ดว้ ยภาพพลิกการดูแลตนเองขณะไดร้ ับเคมีบำบดั แจกแผ่น QR Code สำหรบั ใชโ้ ทรศพั ท์มอื ถือสแกนเพอื่ ทบทวนความรู้การดูแลตนเอง สมุดค่มู อื การดแู ลตนเองและการบันทึกอาการ ผิดปกติหรืออาการรบกวนจากยาเคมีบำบัดขณะอยู่ท่ีบา้ น 3) กิจกรรมการเขา้ กลุ่มเพื่อทบทวนและแลกเปลี่ยน ความคดิ เห็นเกยี่ วกบั การดูแลตนเอง และ 4) กจิ กรรมการตดิ ตามเย่ยี มบา้ นทางโทรศพั ท์ ผู้วิจยั ดำเนนิ การกับกลุ่ม ตัวอย่าง ดงั นี้ 3.2.1 พบกลุ่มตัวอย่างครง้ั แรก ณ หนว่ ยเคมีบำบัด ในวนั ที่กลุม่ ตัวอยา่ งมารับยาเคมีบำบัดคร้ัง แรก ผู้วิจัยแนะนำตัวเอง สร้างสัมพันธภาพ ชี้แจงวัตถุประสงค์ของการวิจัย ขั้นตอนของการวิจัย และขอความ ร่วมมือในการเข้าร่วมการวจิ ัยและการเกบ็ รวบรวมข้อมลู 3.2.2 ผู้วิจัยรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคล ประเมินพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ ครั้งที่ 1 โดยใช้ แบบสอบถามพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปีที่ 8 ฉบับท่ี 2 เดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

80 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคุณภาพของ TCI และอย่ใู นฐานขอ้ มูล TCI กลุ่มที่ 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) 3.2.3 ผู้วิจยั ให้ความรู้ด้วยสื่อภาพพลิกเรื่องการดแู ลตนเองขณะไดร้ ับเคมีบำบัด และแจกแผ่น QR code สำหรับใช้โทรศัพทม์ ือถือสแกนเข้าถึงสื่อการเรยี นรู้เพื่อทบทวนความรูก้ ารดูแลตนเองเมื่อกลับไปอยู่ท่ี บ้าน รวมทั้งแจกสมุดคู่มือการดูแลตนเองและแนะนำวิธีการบันทึกอาการผิดปกติหรืออาการรบกวนจากยาเคมี บำบัดทพ่ี บขณะอยทู่ ีบ่ า้ น และใหน้ ำสมุดติดตวั มาดว้ ยทกุ ครั้งท่ีมารบั ยาตามนัด 3.2.4 เมื่อกลุ่มตัวอย่างมารับยาเคมีบำบัดครั้งที่ 2 และ 3 ตามแพทย์นัด ผู้วิจัยจะทำการ ประเมนิ ภาวะสุขภาพ ซกั ถามอาการผิดปกติ ร่วมกับการทบทวนความรกู้ ารดูแลสขุ ภาพด้วยส่อื ภาพพลกิ แก่กลุ่มตวั อยา่ ง 3.2.5 เมื่อกลุ่มตัวอย่างมารับยาเคมีบำบัดครั้งท่ี 4 และ 5 ตามแพทย์นัด ผู้วิจัยจะจัดให้กลมุ่ ตัวอย่างเข้ากลุ่ม เพื่อให้สมาชิกกลุ่มช่วยกันทบทวนความรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์การดูแลสุขภาพ การ จัดการกับอาการไม่ไม่พงึ ประสงค์จากยาเคมบี ำบดั และร่วมใหก้ ำลงั ใจซง่ึ กนั และกนั ภายใตก้ ารดแู ลการทำกิจกรรมโดยผู้วิจยั 3.2.6 ผู้วิจัยทำการบันทึกเบอรโ์ ทรศัพท์ และนัดหมายการติดตามเย่ียมบ้านทางโทรศัพท์ภาย หลังจากทผี่ ปู้ ว่ ยมารบั ยาเคมบี ำบัดและกลบั ไปอยทู่ บี่ ้าน ในชว่ ง 3 สปั ดาหข์ องการเวน้ ระยะหา่ งระหว่างการรับยา เคมีบำบดั ตามนดั ครั้งต่อไป 3.2.7 เม่อื กลมุ่ ตัวอยา่ งมารับยาเคมบี ำบัดครง้ั ท่ี 6 ซ่ึงเปน็ ครง้ั สุดทา้ ยตามแผนการรักษา ผู้วิจัย จะทำการประเมินพฤตกิ รรมการดแู ลสุขภาพโดยใชแ้ บบสอบถามพฤติกรรมการดูแลสขุ ภาพ 4. ผู้วิจัยนำเข้าข้อมูลท่ีได้รับจากแบบสอบถามพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ ไดร้ ับยาเคมีบำบัดท้งั กลมุ่ ควบคุมและกลมุ่ ทดลองไปวเิ คราะหด์ ้วยโปรแกรมสถิติสำเร็จรปู การวเิ คราะหข์ ้อมลู 1.วิเคราะห์ขอ้ มูลสว่ นบคุ คล โดยใชส้ ถติ เิ ชิงบรรยาย แสดงคา่ จำนวนและรอ้ ยละ 2.วเิ คราะห์เปรยี บเทียบคะแนนเฉลยี่ พฤติกรรมการดแู ลสุขภาพก่อนและหลงั ทดลอง ดว้ ยสถิตทิ ดสอบ paired sample t-test และเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการดูแลสุขภาพระหว่างกลุ่มทดลองและกลุม่ ควบคุมดว้ ยสถติ ิ independent sample t-test การพทิ ักษส์ ิทธกิ ล่มุ ตัวอย่างและจรยิ ธรรมการวิจัย ผู้วิจัยจึงได้ดำเนินการพิทักษ์สิทธิกลุ่มตัวอย่างของการศึกษา ครั้งนี้ โดยส่งโครงร่างวิจัยให้ คณะกรรมการพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ของโรงพยาบาลแพร่ พิจารณาให้ความเห็นชอบ และมีการ แนะนำตัวแก่กลมุ่ ตัวอยา่ ง ช้ีแจงวัตถปุ ระสงค์ ข้นั ตอน และประโยชน์ของการวจิ ัยครั้งน้ี พร้อมท้ังขอความรว่ มมือ ในการทำวิจยั โดยใหก้ ล่มุ ตวั อย่างเป็นผตู้ ัดสนิ ใจเขา้ ร่วมการวิจัยดว้ ยตนเองโดยความสมคั รใจ และสามารถขอออก จากการวิจยั ได้ตลอดเวลากอ่ นทีก่ ารวจิ ัยจะส้ินสุดลง โดยไม่ตอ้ งชี้แจงเหตุผลหรือมีคำอธิบายใดๆและจะไม่สง่ ผล กระทบใด ๆต่อกลุ่มตัวอย่าง ข้อมูลที่ได้จากการวิจยั จะถือเป็นความลับ นำมาใช้ประโยชนต์ ามวัตถุประสงค์ของ การวจิ ัยเทา่ นน้ั และนำเสนอข้อมูลในภาพรวม รวมทงั้ มกี ารใชร้ หสั แทนชอื่ และนามสกลุ จรงิ ของกลุ่มตัวอย่าง การ วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 เดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

81 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานข้อมูล TCI กลมุ่ ที่ 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) วิจัยครั้งนี้ได้ผ่านการพิจารณารับรองจริยธรรมการวิจัย จากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ของ โรงพยาบาลแพร่ หมายเลขใบรับรอง 19/2562 ลงวนั ท่ี 2 กมุ ภาพันธ์ 2563 ผลการวิจยั แบ่งการนำเสนอเป็น 3 ส่วน ดงั นี้ ส่วนที่ 1 ลักษณะทว่ั ไปของกลุ่มตัวอยา่ ง พบว่า กลุ่มตัวอย่างมอี ายมุ ากท่สี ุดอยูใ่ นชว่ ง 46-60 ปี (ร้อยละ 93.30) สว่ นใหญ่สถานภาพสมรส (รอ้ ยละ 60) นับถอื ศาสนาพทุ ธ (ร้อยละ 100) การศกึ ษาระดับอนปุ รญิ ญา (รอ้ ย ละ 60) อาชีพรับราชการและไมไ่ ด้ประกอบอาชีพในสัดส่วนทีเ่ ท่ากัน (ร้อยละ 40) รายได้เฉลี่ยมากกว่า 10,000 บาทตอ่ เดือน (ร้อยละ 46.70) สวสั ดิการดา้ นการรกั ษาพยาบาลประเภทบตั รสขุ ภาพถ้วนหนา้ (ร้อยละ 93.30) และ ไม่มโี รคประจำตัว (รอ้ ยละ 66.70) ส่วนท่ี 2 เปรียบเทียบคา่ เฉลย่ี คะแนนพฤติกรรมการดูแลสขุ ภาพของผปู้ ว่ ยมะเร็งเต้านมทไ่ี ด้รับยาเคมี บำบัดก่อนและหลังของกลุ่มท่ีได้รับโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพและกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ พบว่า คา่ เฉลี่ยคะแนนพฤตกิ รรมการดแู ลสุขภาพหลังได้รับการพยาบาลตามปกติสงู กวา่ ก่อนได้รบั การพยาบาลตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p=.001) และค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของกลุ่มท่ีได้รับโปรแกรม ส่งเสรมิ สขุ ภาพสงู กวา่ ก่อนได้รับโปรแกรมส่งเสรมิ สุขภาพอยา่ งมีนยั สำคัญทางสถิติ (p<.001) ดังตารางท่ี 1 ตารางท่ี 1 เปรียบเทยี บค่าเฉลย่ี คะแนนพฤตกิ รรมการดูแลสุขภาพของผปู้ ว่ ยมะเร็งเตา้ นมที่ไดร้ บั ยาเคมี บำบดั กอ่ นและหลงั ของกลมุ่ ท่ีไดร้ บั โปรแกรมสง่ เสริมสขุ ภาพและกลุ่มทไี่ ดร้ ับการพยาบาลตามปกติ กลุ่มตวั อย่าง ก่อนทดลอง หลงั ทดลอง t p-value กล่มุ ทีไ่ ด้รบั โปรแกรมฯ (n= Mean S.D. Mean S.D. 15) กลุ่มท่ไี ด้รบั การพยาบาล 2.90 0.66 3.63 0.58 7.64 < 0.001 ตามปกติ (n=15) 2.80 0.73 3.13 0.61 4.18 0.001 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีที่ 8 ฉบบั ที่ 2 เดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

82 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานข้อมลู TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) สว่ นท่ี 3 เปรียบเทียบคา่ เฉลี่ยคะแนนพฤตกิ รรมการดูแลสขุ ภาพของผ้ปู ่วยมะเรง็ เตา้ นมทีไ่ ด้รบั ยาเคมี บำบัดหลังได้รับโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพระหวา่ งกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพและกลุม่ ที่ได้รับการ พยาบาลตามปกติ พบวา่ กลุ่มทไี่ ดร้ บั โปรแกรมสง่ เสริมสุขภาพ มคี ะแนนเฉลยี่ พฤติกรรมการดแู ลสุขภาพสูงกว่า กลุม่ ทีไ่ ด้รบั การพยาบาลตามปกตอิ ยา่ งมีนัยสำคัญทางสถติ ิ (p<0.05) ดังตารางที่ 2 ตารางท่ี 2 เปรียบเทยี บคา่ เฉลย่ี คะแนนพฤติกรรมการดแู ลสุขภาพของผปู้ ว่ ยมะเร็งเต้านมทไี่ ดร้ ับยาเคมี บำบดั หลงั ไดร้ ับโปรแกรมสง่ เสริมสขุ ภาพระหวา่ งกลุม่ ทไ่ี ดร้ บั โปรแกรมสง่ เสรมิ สขุ ภาพและกลมุ่ ท่ไี ดร้ บั การ พยาบาลตามปกติ พฤตกิ รรมการดูแลตนเอง Mean S.D. df t p-value 28 2.29 0.029 กลมุ่ ทไ่ี ด้รับโปรแกรมสง่ เสรมิ สขุ ภาพ (n=15) 3.63 0.58 กลมุ่ ทีไ่ ดร้ ับการพยาบาลตามปกติ (n=15) 3.13 0.61 อภิปรายผล ผู้วจิ ยั ได้อภิปรายผลตามสมมตฐิ านการวจิ ยั ดงั นี้ 1. ค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ ของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับยาเคมีบำบัด หลังได้รับ โปรแกรมส่งเสริมสุขภาพ สูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.001) ซึ่งเป็นไปตาม สมมุติฐานการวิจัย สามารถอภปิ รายไดว้ ่า โปรแกรมส่งเสริมสุขภาพที่พัฒนาขึ้นตามกรอบทฤษฎีการดแู ลตนเอง ของโอเร็ม (Orem, 2001) ประกอบดว้ ยกิจกรรมทชี่ ่วยส่งเสรมิ ใหผ้ ปู้ ว่ ยมะเรง็ เต้านมเกดิ การเรียนรแู้ ละปรบั เปลย่ี น พฤตกิ รรมการดูแลสขุ ภาพของตนเอง กลา่ วคือ กิจกรรมการประเมนิ พฤตกิ รรมการดูแลสขุ ภาพตนเอง ทำให้กลุ่ม ตวั อยา่ งทราบถึงศักยภาพในการดแู ลสุขภาพของตนเอง ซ่งึ จะนำไปสูก่ ารรบั รู้ถึงความจำเป็นและความต้องการใน การแสวงหาความรูห้ รือคำแนะนำทถี่ ูกตอ้ งสำหรับการดูแลตนเอง กิจกรรมการให้ความรดู้ ้วยส่อื ภาพพลิกเรือ่ งการ ดูแลตนเองขณะได้รับการรักษาด้วยยาเคมีบำบัด ทำให้ผู้ป่วยได้รับข้อมูลที่ถูกต้องและจำเป็นสำหรับการดูแล ตนเอง นอกจากนี้การมอบแผ่น QR code สำหรับใหผ้ ูป้ ว่ ยใชโ้ ทรศัพท์มือถือสแกนเขา้ ถงึ สื่อภาพพลกิ เพื่อศึกษา ด้วยตนเองเมื่อกลับไปอยู่ที่บ้าน ช่วยให้มีโอกาสศึกษาทบทวนเนื้อหาในส่วนที่ยังไม่เข้าใจหรือต้องการศึกษา เพิ่มเติมให้มีความเข้าใจมากยิ่งข้ึน ส่งผลใหเ้ กิดความมั่นใจในการดูแลตนเองดียิง่ ขึ้น นอกจากนี้กิจกรรมการเขา้ กลุ่มแลกเปลี่ยนประสบการณ์การดูแลสุขภาพระหว่างผู้ป่วยด้วยกันเองภายใต้การให้คำแนะนำของพยาบาล ประจำหนว่ ยเคมบี ำบัด ถือเป็นการจัดส่ิงแวดลอ้ มทเ่ี อือ้ ให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรูจ้ ากประสบการณจ์ รงิ ของกลมุ่ ผู้ป่วยด้วยกนั เอง ทำใหผ้ ู้ปว่ ยมีโอกาสไดร้ ะบายความคับขอ้ งใจ และมีกำลงั ใจในการเผชญิ ภาวะตงึ เครียดจากภาวะ โรคและอาการไม่พึงประสงค์จากยาเคมบี ำบดั ได้อยา่ งเหมาะสม ซง่ึ สอดคล้องกบั ทฤษฎีทางการพยาบาลของโอเรม็ ที่เชื่อว่า คนจะมีความสามารถในการวางแผนจัดกระบวนการการดูแลตนเองได้ ถ้าได้รับความรู้ที่เหมาะสม (Orem,2001) สอดคล้องกับผลการศึกษาของ ภราดร ล้อธรรมา ที่ทำการศึกษา ผลของโปรแกรมการพยาบาล วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีที่ 8 ฉบบั ท่ี 2 เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

83 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มูล TCI กลุ่มที่ 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) แบบสนับสนุนและให้ความรู้ต่อการดูแลตนเองและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคมะเร็งเต้านมหลังได้รับการผ่าตดั และได้รับเคมีบำบัด ผลการศึกษาพบวา่ กลุ่มทดลองซึ่งไดร้ ับโปรแกรมการพยาบาลแบบสนบั สนุนและให้ความรู้ เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์ มีคะแนนเฉล่ียการดูแลตนเอง หลังไดร้ ับโปรแกรมการพยาบาลแบบสนบั สนุนและให้ ความรู้ใน 8 สัปดาห์ และ 12 สัปดาหด์ ีกว่าก่อนการทดลองอยา่ งมีนัยสำคัญทางสถติ ิที่ระดับ .01 และมีคะแนน เฉล่ียการดรรชนีคุณภาพชวี ติ หลงั ไดร้ บั โปรแกรมการพยาบาลแบบสนบั สนุนและให้ความรู้ใน 8 สัปดาห์ และ 12 สัปดาห์ดีกว่าก่อนการทดลองอย่างมนี ยั สำคญั ทางสถิติทรี่ ะดบั .01 (Lortamma, Tangkawanich, Janepaniss & Prachamban, 2015) เชน่ เดยี วกับผลการศกึ ษาของพวงทอง จินดากลุ อำภาพร นามวงศ์พรหม และน้ำออ้ ย ภกั ดี วงศ์ ไดท้ ำการศึกษาประสิทธผิ ลของโปรแกรมการสนับสนุนและให้ความรูต้ ่อความสามารถในการดูแลตัวเอง การ รับรูค้ วามรุนแรงของอาการข้างเคียงจากเคมีบําบัด และความวิตกกังวลในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมระยะแรกที่เขา้ รับ การรักษาเสริมด้วยเคมีบําบัด ซึ่งเป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียววัดก่อน และหลัง ผลการศึกษาพบว่า ความสามารถในการดูแลตนเองเมื่อสิ้นสุดโปรแกรมสูงกว่าก่อนและระหว่างเข้าโปรแกรม ( P<.001) การรับรู้ อาการข้างเคยี ง ไดแ้ ก่ คลน่ื ไส้อาเจยี น เบ่ืออาหาร และเหนอื่ ยล้า เมื่อสิน้ สดุ โปรแกรมต่ำกวา่ ระหวา่ งเข้าโปรแกรม (P<.001) และความวติ กกังวลหลังเข้าโปรแกรมต่ำกวา่ ก่อนเข้าโปรแกรม (P<.001) (Jindakul, Namvongprom & Pakdevong, 2018) 2. ค่าเฉลีย่ คะแนนพฤติกรรมการดแู ลสขุ ภาพ ของผปู้ ่วยมะเร็งเต้านมทีไ่ ดร้ บั ยาเคมบี ำบัด ของกลุ่มท่ไี ดร้ บั โปรแกรมส่งเสริมสุขภาพ สูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ ซึ่งเป็นไปตามสมมุติฐานการวิจัย สามารถ อภิปรายได้ว่า โปรแกรมสง่ เสริมสขุ ภาพท่ปี ระกอบด้วยกจิ กรรม การสอน ชี้แนะ สนับสนนุ และสรา้ งส่ิงแวดล้อม ใหเ้ อ้อื ต่อการเรียนรู้ เปน็ การออกแบบกจิ กรรมตา่ งๆ อยา่ งมขี ัน้ ตอน มคี วามต่อเนอื่ ง และเหมาะสมกบั ชว่ งเวลาที่ จะกระตุ้นให้เกดิ การเรียนรู้ท่ีจะนำไปสูก่ ารปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเอง ได้ดีกว่ากิจกรรมการพยาบาล ตามปกติ ที่ผปู้ ว่ ยจะได้รบั การสอนหรอื คำแนะนำการดูแลตนเองดว้ ยสื่อภาพพลิกเฉพาะในคร้งั แรกของการรับยา เคมีบำบัด และพยาบาลจะสอบถามอาการผิดปกติหลังรับยาเคมีบำบัดซำ้ เมื่อผูป้ ่วยกลับมารับยาตามนัดในครั้ง ถดั ไป เพ่อื ใหค้ ำแนะนำการดูแลตนเองเพิ่มเติมตามปัญหาท่ีพบ นอกจากน้กี ารติดตามประเมินอาการทางโทรศัพท์ อย่างต่อเนื่อง ช่วยให้ผู้ป่วยเกิดความรู้สึกว่าตนเองไม่ไดถ้ ูกทอดทิ้งให้เผชิญกับปัญหาเพียงลำพัง จึงมีความรู้สกึ อบอุ่น และมีความมั่นใจที่จะดูแลสุขภาพของตนเอง และนำไปสู่การปฏิบัติอย่างจริงจังจนเกิดเป็นพฤติกรรม สุขภาพ ซึง่ เปน็ เปน็ ตามทฤษฎกี ารดูแลตนเองของโอเร็ม (Orem, 2001) ที่กลา่ ววา่ การดูแลตนเองเป็นการปฏิบัติ กิจกรรมทบ่ี คุ คลรเิ ริม่ และกระทำเพื่อให้เกดิ ประโยชน์แก่ตนเองในการดำรงไวซ้ ึง่ ชีวิต สขุ ภาพ และความเป็นอยู่อัน ดี การดูแลตนเองเปน็ กิจกรรมท่ีเรียนรแู้ ละจดจำไว้ไดจ้ ากสงั คม ส่ิงแวดลอ้ มและการติดตอ่ ส่ือสาร การศึกษาและ วัฒนธรรมลว้ นมอี ทิ ธิพลตอ่ บคุ คลในการดแู ลตนเอง ซง่ึ สอดคลอ้ งกับผลการศกึ ษาของ กฤษณา สงั ขมุณีจินดา กิตติ กร นิลมานตั และ ลพั ณา กิจรุ่งโรจน์ ทีท่ ำการศกึ ษาผลของโปรแกรมทางการพยาบาลแบบสนบั สนุนตอ่ ความหวัง ในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมระยะลกุ ลามทีไ่ ด้รับยาเคมีบำบัด โดยกลุ่มควบคุม ได้รับการดูแลตามปกติและกลุ่มทดลอง ไดร้ ับโปรแกรมการพยาบาลแบบสนับสนนุ ผลการศกึ ษาพบวา่ กลุม่ ทดลองมคี ะแนนเฉลี่ยความหวงั ในวันที่ 21 สงู วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปีท่ี 8 ฉบบั ที่ 2 เดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

84 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มูล TCI กล่มุ ที่ 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) กว่าวันที่ 1 อย่างมีนัยสำคัญทางสถติ ิ (t = -17.49,<.001) และมีคะแนนเฉลี่ยความหวังในวันที่ 21 สูงกว่ากลมุ่ ควบคมุ ทไี่ ด้รบั การพยาบาลตามปกติอยา่ งมนี ยั สำคัญทางสถิติ[ (1, 48)= 151.81, < .001] (Sungkamuneejinda, Nilmanat & Kitrungrote, 2013) และผลการศึกษาของ อภิญญา พจนารถ ทิพาพรวงศ์หงส์กุล และ อัจฉรา สุ คนธสรรพ์ ที่ได้ทำการศึกษา ผลของการพยาบาลระบบสนับสนุนและใหค้ วามรู้ต่อความรู้สึกไม่แน่นอนในความ เจ็บป่วยของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมรายใหม่กลุ่มควบคุมได้รบั การพยาบาลตามปกติ กลุ่มทดลองได้รับการพยาบาล ระบบสนับสนนุ และใหค้ วามรรู้ ว่ มกับการพยาบาลตามปกติ (Pochanart,Wonghongkul&Sukonthasarn,2013) โดยใช้ แนวคิดระบบการพยาบาลของโอเร็ม (Orem, 2001) ประกอบด้วย การสอน การชี้แนะ การสนับสนุนและการ สร้างสิ่งแวดล้อม ผลการวจิ ัยพบว่า ความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยของกลุ่มทดลองหลังไดร้ ับการพยาบาล ระบบสนับสนนุ และใหค้ วามร้ตู ่ํากว่าก่อนไดร้ ับการพยาบาลระบบสนบั สนุนและใหค้ วามรู้ และต่าํ กวา่ กลุ่มควบคุม ท่ไี ด้รับการพยาบาลตามปกตอิ ย่างมีนัยสำคัญทางสถติ ิทร่ี ะดับ 0.05 ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจยั ไปใช้ ด้านปฏิบัติการพยาบาล ควรนำผลของการวิจัยนี้ใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนการปฏิบัติการ พยาบาล เพอื่ จดั กจิ กรรมหรือโปรแกรมส่งเสรมิ สขุ ภาพ เพอ่ื สง่ เสรมิ ให้ผปู้ ่วยสามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้องใน ระหวา่ งรบั การรักษาดว้ ยยาเคมบี ำบดั เพ่อื ช่วยชะลอหรือลดความรนุ แรงของการเกิดภาวะแทรกซอ้ นหรืออาการ ไมพ่ ึงประสงค์ตา่ ง ๆ เพือ่ สามารถคงไว้ซ่งึ ภาวะสขุ ภาพ และปลอดภัยจากอนั ตรายทรี่ ุนแรงหรือการเสียชีวิตจาก ภาวะแทรกซ้อนได้ ด้านการวิจัย สามารถนำผลการวิจัยไปใช้เป็นข้อมูลสนับสนุนในการทำวิจัยต่อเนื่อง เช่น การศึกษา คุณภาพชีวิตของผูป้ ่วยมะเร็งเต้านมหรือผู้ป่วยมะเรง็ ระบบอื่นที่ได้รับการรักษาด้วยยาเคมีบำบัด หรือการศกึ ษา เพือ่ พฒั นารปู แบบการส่งเสรมิ ความสามารถของผูด้ แู ล (caregiver) ในการดแู ลผู้ป่วยมะเรง็ ทไ่ี ด้รับยาเคมบี ำบัด ดา้ นการบรหิ ารจัดการ สามารถนำผลการวิจัยเสนอต่อหน่วยงานหรือองคก์ รทเี่ กี่ยวข้องเพื่อนำไปวางแผน ในการสนับสนุนการพัฒนาการดแู ลผูป้ ่วยมะเรง็ ท่ไี ดร้ ับยาเคมบี ำบัด ในดา้ นต่างๆ เช่น งบประมาณ และเครื่องมือ อุปกรณ์ทางการแพทย์ที่มีประสิทธิภาพและจำนวนเพียงพอต่อการให้การดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับยาเคมี บำบัดไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ข้อเสนอแนะการทำวิจัยครั้งต่อไป ควรศึกษาเพิ่มเติมในประเด็นของผลลัพธ์ที่เกิดจากการใช้โปรแกรมส่งเสริมสุขภาพ เช่น เปรียบเทียบ คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมทีไ่ ด้รับยาเคมีบำบัดกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ กับ กลุ่มที่ได้รับการ พยาบาลตามปกติร่วมกับการได้รับโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพ และควรขยายเวลาในการศึกษาต่อเนื่องไปจนถึง ภายหลงั การไดร้ ับยาเคมบี ำบดั จนครบคอร์สการรกั ษา วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีที่ 8 ฉบบั ท่ี 2 เดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

85 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มลู TCI กลมุ่ ที่ 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) เอกสารอา้ งองิ Asdornwised, U., et al. (2016). The main subject of surgical nursing II (3rd ed). Bangkok: NP Press Part., Ltd. (in Thai) Baxter Inc. (2017). Cancer Knowledge. Retrieved from: http://www.baxter.co.th/th/ patients and caregivers/cancer knowledge/index.html. (in Thai). Breastcancer.org. Pennsylvania (UK). (2017). Chemotherapy. Retrieved from: http://www.breastcancer.org /treatment/chemotherapy. George, M. R., Pamela, S. B., Morey, B., David, C., Asher, C.K., Charles C., et al. (2012). Cancer- and Chemotherapy- Induced Anemia: Clinical practice guidelines in oncology. Journal of the national comprehensive cancer network, 10(5), 628-53. Hussain, S. A., Palmer, D. H., Stevens, A., Spooner, D., Poole, C. J., & Rea, D. W. (2017) Role of chemotherapy in breast cancer. Expert review of anticancer therapy, 5(6), 1095-110. Jindakul, P., Namvongprom, A., & Pakdevong, N. (2018). Effectiveness of the Educative- Supportive Program on Self Care Ability, Perceived Intensity of Side Effects of Chemotherapy and Anxiety among Patients with Early Breast Cancer Undergoing Adjuvant Chemotherapy. Thai caner journal, 38(3), 105-116. (in Thai). Lortamma, P., Tangkawanich, T., Janepaniss, U., & Prachamban, P. (2015). The Effect of Supportive and Educative Nursing Program on Self Care Agency and Quality of life in Patients Breast Cancer Post Operation with Chemotherapy. Journal of public health, 45(1), 13-27. (in Thai). Mollaoglu, M. & Erdogan, G. (2015). Management of chemotherapy-related arm symptoms in patients with breast cancer. Cancer Nursing Practice, 14(2), 22-28. National Cancer Institute. (2015). Cancer Treatment. Retrieved from: https://www.cancer.gov/ about-cancer/treatment. (in Thai). National Cancer Institute. (2013). Hospital-based cancer registry annual report 2013. Bangkok: BTS Press Co., Ltd. (in Thai). Orem, D. E. (2001). Nursing concept of practice (6th ed.). St. Louis: Mosby. Petpichetchian, W. (2011). Best nursing practice in cancer care. Songkhla: Chanmuang Printing. (in Thai). วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปีท่ี 8 ฉบบั ท่ี 2 เดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

86 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอย่ใู นฐานข้อมลู TCI กล่มุ ที่ 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) Pochanart, A., Wonghongkul, T., & Sukonthasarn, A. (2013). Effect of Supportive - Educative Nursing System on Uncertainty in Illness among Newly Diagnosed Breast Cancer Patients. Nursing journal, 40(3), 75-84. (in Thai). Prisutkul, A., Sukuntapan, M., Arundon, T., Dechapunkul, A., & Prupetchkaew, N. (2013). Symptom Experiences, Symptom Management and Outcomes in Patients Under- going Chemotherapy. Thai caner journal, 33(3), 98-111. (in Thai). Sangkhathat, S. (editor). (2016). Cancer Science. Bangkok: Sahamitpattanakarn printing. (in Thai) Sirilertrakul, S., et al. (2012). Cancer nursing care. Samut Prakan: Sinthaweekit Printing. (in Thai). Sungkamuneejinda, S., Nilmanat K., & Kitrungrote, L. (2013). Impact of a Hope-Building Supportive Programme on Chemotherapy-Treated Advanced Breast Cancer Patients. Thai journal of nursing council, 28 (3), 32-42. (in Thai). World Health Organization. (2020). Breast Cancer. Retrieved 20 June 2021, Retrieved from: https://www.who.int/news-room/fact-sheets/detail/breast-cancer วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

87 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มูล TCI กลมุ่ ท่ี 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) The Effect of Changing Health Behavior Program for the Diabetes Patients in Samai Subdistrict, Sop Prap District, Lampang Pancheewan Laeboonma* , Watcharapong Bunjubu*t* (Received March 25, 2021, Revised: July 20, 2021, Accepted: August 11, 2021) Abstract The quasi- experimental research aims to study the effects of changing health behavior program for 60 diabetes patients in Samai Subdistric, Sop Prap District, Lampang. The study was consisted a diabetes patients’ group and a control group containing 30 persons each. The experimental group received a health changing program according to 1)The process of improving the potential of self-care for diabetic patient 2)The process of creating the perception of diabetes complications 3) The process of retelling positive experiences 4) Evaluating health status, knowledge and self- care behavior after program. The control group received the traditional diabetes therapy. The changing health behavior program, questionnaire of diabetes knowledge and self-care behavior and, fasting blood sugar (FBS) measurement were determined in this study. These data were collected from June to August 2020. The statistic, percentage, mean, standard deviation, paired t- test, and independent t- test were used for data analysis at the significance level of 0.05 (p ≤.05). The results revealed the experimental group had average scores of knowledge, self- care behavior and FBS in diabetes significantly higher than before experimentation and control group (P<.05). In addition, a comparison between the experimental group and control group found that the experimental group had significantly higher than the control group in the average score of knowledge, self- care behavior and FBS in diabetes ( P <. 05) Therefore, the changing health behavior program enhance positive attitude on diabetes self- care behavior and affect health behavior change of patients in blood glucose control and diabetes complications reduction. Keywords: Changing health behavior; Diabetes Mellitus; Self-care behavior; Fasting blood sugar * Public Health Technical Officer, Professional Level, Ban Jour Nuea, ,Sub-district Health Promoting Hospitals ** Public Health Officer, Senior Level, Ban Jour Nuea, ,Sub-district Health Promoting Hospitals วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ี่ 8 ฉบบั ที่ 2 เดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

88 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มูล TCI กลมุ่ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) ผลของโปรแกรมการปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรมสขุ ภาพผู้ปว่ ยโรคเบาหวาน ตาบลสมยั อาเภอสบปราบ จงั หวัดลาปาง ปานชีวัน แลบุญมา*, วัชรพงษ์ บุญจูบุตร** (วนั รับบทความ : 25 มนี าคม 2564, วันแกไ้ ขบทความ : 20 กรกฎาคม 64, วันตอบรับบทความ : 11 สงิ หาคม 2564) บทคดั ย่อ การวจิ ัยก่งึ ทดลองครั้งนม้ี วี ัตถปุ ระสงค์ เพ่ือศึกษาผลของโปรแกรมการปรับเปลย่ี นพฤติกรรมสุขภาพผู้ปว่ ย โรคเบาหวานในตาบลสมัย อาเภอสบปราบ จังหวัดลาปาง กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคเบาหวานเลือกแบบ เฉพาะเจาะจง จานวน 60 คน แบ่งเป็นกล่มุ ทดลองและกลมุ่ ควบคุมกล่มุ ละ 30 คน โดยกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรม การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ประกอบด้วย 1) กระบวนการเพ่ิมศักยภาพการดูแลสุขภาพตนเองแก่ผู้ป่วย โรคเบาหวาน 2) กระบวนการสร้างการรบั ร้ผู ลกระทบจากภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน 3) กระบวนการเสนอ แบบอย่างด้านบวกเล่าประสบการณ์ และ 4) ประเมินภาวะสุขภาพ ความรู้และพฤตกิ รรมสุขภาพหลังใชโ้ ปรแกรม ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามแนวทางการดูแลผู้ป่วยเบาหวานตามปกติ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้ แบบสอบถามความรู้และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองในป่วยโรคเบาหวาน และเคร่ืองตรวจระดับน้าตาลใน เลือด ดาเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล ในช่วงเดอื นมิถุนายน ถึงเดือนสิงหาคม 2563 วเิ คราะห์ข้อมูลโดย ใชส้ ถติ ิความถ่ี รอ้ ยละ ค่าเฉล่ยี สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน paired t – test และ independent t – test ผลการวิจัย พบว่า ภายหลังการทดลองมีค่าเฉล่ียคะแนนความรู้และพฤติกรรมการปฏิบัติตัวในการดูแล สุขภาพตนเองสูงกว่าก่อนทดลอง และมีระดับน้าตาลในเลือดน้อยกว่าก่อนทดลอง อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P<. 05) เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม พบว่าค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้และพฤติกรรมการปฏิบัติ ตวั ในการดแู ลสุขภาพตนเองสูงกว่ากลุ่มควบคุม และมีระดับน้าตาลในเลือดน้อยกวา่ กลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติ (P <.05) ดังน้ันการใช้โปรแกรมการปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพผู้ป่วยโรคเบาหวานมีส่วนช่วยสร้าง ทัศนคติท่ีดตี ่อการดแู ลสขุ ภาพแกผ่ ู้ปว่ ยโรคเบาหวานท่จี ะส่งผลต่อการปรบั เปลีย่ นพฤติกรรมสุขภาพทเี่ หมาะสมกับ วถิ ีชวี ติ เพอ่ื ใหผ้ ูป้ ่วยควบคมุ ระดบั นา้ ตาลในเลอื ด และลดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานต่อไป คาสาคญั : การปรับเปลย่ี นพฤตกิ รรมสุขภาพ; โรคเบาหวาน; การดูแลสุขภาพตนเอง; ระดบั น้าตาลในเลือด * นักวชิ าการสาธารณสุขชานาญการ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาบลบา้ นจัวเหนือ จงั หวดั ลาปาง ** เจา้ พนกั งานสาธารณสุขอาวุโส โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบลบา้ นจวั เหนือ จังหวดั ลาปาง วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีที่ 8 ฉบบั ที่ 2 เดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

89 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมลู TCI กลุม่ ที่ 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) บทนา โรคเบาหวานเปน็ โรคเรอ้ื รงั ทเี่ กิดจากความผดิ ปกตขิ องรา่ งกายที่มีการผลิตฮอรโ์ มนอนิ ซูลนิ ไมเ่ พยี งพอหรือ ร่างกายไม่สามารถนาน้าตาลไปใช้งานไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ ทาให้ระดับน้าตาลในเลือดสูงโดยข้อมูลจากองค์การ อนามยั โลก รายงานว่าจานวนผ้ปู ว่ ยโรคเบาหวานเพิ่มขนึ้ จาก 108 ล้านคนในปี 2523 เปน็ 422 ลา้ นคนในปี 2557 โดยเฉพาะในประเทศท่ีมีรายได้ต่าและปานกลางพบผู้ป่วยเบาหวานเพิ่มมากขึ้น และพบว่าในปี 2559 มีจานวน ผู้เสียชีวิตจากโรคเบาหวาน 1.5 ล้านคน และอีก 2.2 ล้านคนเสียชีวิตเน่ืองจากน้าตาลในเลือดสูง สาหรับประเทศ ไทยพบแนวโน้มการป่วยด้วยโรคเบาหวาน ต่อประชากรแสนคน ในปี 2557-2561 เป็น 5,095.9, 5,267.3, 5,344.8, 5,726.6 และ 5,981.4 ตามลาดับ ซึ่งสอดคล้องกับข้อมูลจากกองยุทธศาสตร์และแผนงาน กระทรวง สาธารณสุขพบแนวโน้มการเสียชีวิตจากโรคเบาหวาน ต่อประชากรแสนคน ในปี 2557-2561 เป็น 17.5, 19.4, 22.3, 22.0 และ 21.9ตามลาดับ มากไปกว่าน้ัน จากรายงานการสารวจสุขภาพประชาชนไทย โดยการตรวจ ร่างกาย ครั้งที่ 5 พ.ศ.2557 มีการประมาณการในประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป พบว่ามีผู้ป่วยเบาหวาน 4.8 ล้านคน ในจานวนน้ีมีมากถึง 2 ล้านคนที่ไม่ได้รับการวินิจฉัยหรือไม่ทราบว่าตนเองเป็นโรคเบาหวาน อีกท้ังมีจานวนผู้ท่ี เส่ียงเป็นโรคเบาหวานถึง 7.7 ล้านคน ( Policy development and risk communication, 2019) ซ่ึง โรคเบาหวานหากไม่ได้รับการวินิจฉัยและการรักษาต้ังแต่ระยะแรกสามารถนาไปสู่ภาวะแทรกซ้อนในหลายส่วน ของร่างกายทั้งหัวใจ หลอดเลือด ตา ไต และเส้นประสาท เกิดความเสียหายร้ายแรง และเพ่ิมความเสี่ยงของการ เสียชีวิตก่อนวัยอันควร ซึ่งโรคเบาหวานชนิดที่ 2 พบมากท่ีสุด มักเกิดข้ึนในผู้ใหญ่ สามารถป้องกันได้ด้วย รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ เพ่ิมการทานผัก ผลไม้ เลี่ยงอาหารหวาน มัน เค็มจัด การควบคุมอาหาร ออก กาลังกายอย่างสม่าเสมอ งดหรือลดการสูบบุหรี่ และดื่มเคร่ืองด่ืมที่มีแอลกอฮอล์ทาจิตใจให้สงบ ผ่อนคลาย ความเครียด ไม่นอนดึก ตรวจวัดค่าระดับน้าตาลในเลือดเป็นประจา อย่างน้อยปีละ 1 คร้ัง รวมท้ังการส่งเสริม ส่ิงแวดล้อมที่ดีต่อสุขภาพ ซึ่งครอบครัวถือเป็นกุญแจสาคัญในการลดปัจจัยเส่ียงต่อการเกิดโรคเบาหวานชนิดท่ี 2 (Division of Non Communicable Disease, 2018) โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังที่นับวันจะมีจานวนผู้ป่วยเพิ่มขึ้น ในประเทศไทย ข้อมูลล่าสุดจากการสารวจ สุขภาพคน ไทยครั้งท่ี 5 ปี พ.ศ. 2557 พบความชุกของโรคเบาหวานเพ่ิมข้ึนเป็นร้อยละ 8.9 หรือมีจานวนผู้ป่วย เบาหวาน ประมาณ 5 ล้านคน และความชุกของคนไทยท่ีอ้วนเพ่ิมขึ้นจากร้อยละ 31 เป็นร้อยละ 37 โดยพบว่าผู้ หญิงไทยเกือบคร่ึงมีภาวะอ้วนซ่ึงภาวะอ้วนเป็นความเส่ียงในการเกิดโรคเบาหวาน และยังพบว่าโรคเบาหวานเป็น สาเหตุ การเสยี ชีวิตอนั ดับ 9 ของผูห้ ญิงทว่ั โลกและตดิ อันดบั 2 ของการเสยี ชวี ติ ของผ้หู ญิงในประเทศไทย (Public Health System Development , 2016) ดังน้ันการปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพผู้ป่วยโรคเบาหวานจึงมี ความสาคัญ สอดคล้องกับการทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยท่ีศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วย เบาหวานชนิดไม่พึ่งอนิ ซูลินในคลินิกเบาหวาน ใชร้ ะยะเวลา 12 สัปดาห์ โดยกลุ่มทดลองไดร้ ับการวิเคราะห์ปัญหา รายบุคคล ได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวานมีคู่มือการใช้โปรแกรมส่งเสริมสุขภาพในผู้ป่วยเบาหวานชนิดไม่พึ่ง อินซูลิน กระตุ้นให้กาลังใจติดตามประเมินความสาเร็จตามเป้าหมายที่ครอบคลุมทั้งพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพ ด้านโภชนาการ การออกกาลังกาย การจัดการความเครียดและการรับประทานยาท่ีเหมาะสม ผลการวิจัยพบว่า หลังเข้าร่วมโปรแกรม พบว่ากลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยความรู้เก่ียวกับโรคเบาหวาน และค่าเฉล่ียคะแนนพฤติกรรม ส่งเสริมสุขภาพเพิ่มขึ้น และพบว่ากลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยน้าตาลในเลือด และค่าเฉลี่ยระดับฮีโมโกลบินเอวันซี (HbA1c) ลดลง (Suwansusiri J., 2019) นอกจากน้ีจากการศึกษาผลของโปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนต่อ พฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ผลการวิจัยพบว่า หลังได้รับโปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตน กลุ่ม ทดลองมีค่าเฉลี่ยพฤติกรรมสุขภาพสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมและหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยพฤติกรรม วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีที่ 8 ฉบับท่ี 2 เดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

90 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานข้อมูล TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) สุขภาพสงู กว่ากลุ่มควบคุม (Boonpradit A.., 2015) ซ่ึงจะเห็นไดว้ ่า การนาโปรแกรมการปรับเปลยี่ นพฤตกิ รรมมาใช้ ในกล่มุ ผู้ปว่ ยเบาหวานสามารถทาให้ผู้ปว่ ยมีพฤติกรรมสขุ ภาพทีด่ ีขึ้น จังหวัดลาปาง มีผู้ป่วยโรคเบาหวาน ปี 2562 ทั้งหมด 46,568 ราย ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ 3,542 ราย อตั ราปว่ ย 478.51 ตอ่ แสนประชากร ในอาเภอสบปราบ มีผู้ป่วยโรคเบาหวาน 1,788 ราย ผปู้ ่วยเบาหวานรายใหม่ 205 ราย อัตราป่วย 757.54 ต่อแสนประชากร (Health Data Center, 2020) และปัญหาด้านสุขภาพในตาบล สมัย 5 อนั ดบั แรก พบโรคเบาหวาน เป็นปญั หาต่อเนื่องกันหลายปี ต้ังแต่ปี 2558 ถึงปี 2562 โดยมีแนวโน้มผู้ปว่ ย รายใหม่เพิ่มขึ้น ปี 2562 ผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ 43 ราย (ปี2561 : 41 ราย) อัตราป่วย 1241.34 ต่อแสน ประชากร มาจากกลุ่มเส่ียงเบาหวานปี 2561 จานวน 19 คน ข้อมูลผู้ป่วยโรคเบาหวานตาบลสมัย ปี 2562 มี จานวน 424 คน อัตราป่วย 6,160.36 ต่อแสนประชากร เพ่ิมจากปี 2561 (อัตราป่วย 5,725.50 ต่อแสนประชา กร) โดยมีผู้ป่วยเบาหวานท่ีรักษาต่อเนื่องที่ รพ.สต.บ้านจัวเหนือ 177 คน ร้อยละ 41.75 ซึ่งมีผู้ป่วยที่ควบคุม ระดบั น้าตาลไม่ได้ 47 ราย คดิ เปน็ ร้อยละ 26.55 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านจัวเหนือ มีการให้บริการตรวจดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานตาม มาตรฐานแนวทางการรักษาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมาโดยตลอด ซ่ึงพบว่าผู้ปว่ ยเบาหวานมีทัศนคติต่อการรักษาโรคยัง ไม่ถูกตอ้ ง ขาดความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวาน ภาวะแทรกซ้อน การดูแลสุขภาพตนเองที่เหมาะสมกับโรค จากข้อมูล สถิติ สถานการณโ์ รคเบาหวาน การศึกษาและทบทวนวรรณกรรม งานวจิ ัยทเ่ี ก่ียวขอ้ งมีการจัดทาโปรแกรมขึ้นตาม บริบทของพื้นที่น้ันๆ ทาให้ผู้ป่วยสามารถคุมระดับน้าตาลในเลือดได้ ทางผู้วิจัยจึงมีแนวคิดในการศึกษาผลของ โปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้ป่วยโรคเบาหวาน ตาบลสมัย เพื่อแก้ไขปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่ ควบคุมระดับน้าตาลไม่ได้โดยมุ่งเน้นในเร่ืองความรอบรู้ด้านสุขภาพหรือความฉลาดด้านสุขภาพซึ่งเป็น กระบวนการทางปัญญาและทักษะทางสังคมที่ก่อให้เกิดแรงจูงใจ และความสามารถของแต่ละบุคคลที่จะเข้าถึง เข้าใจและใช้ข้อมูลข่าวสารเพ่ือส่งเสริมและบารุงรักษาสุขภาพตนเองให้คงดีอยู่เสมอ (Choeisuwan V., 2017) ทางคณะวิจัยโรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตาบลบ้านจัวเหนือจึงมีแนวทางการจัดการกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน โดยจัด กระบวนการเพ่ิมความรู้ในการดูแลตนเองเรื่องโรคเบาหวาน โภชนาการอาหาร ออกกาลังกาย การจัดการ ความเครียด ผสมผสานกับกระบวนการเรียนรู้สนทนากลุ่ม ร่วมแสดงความคิดวิเคราะห์ตนเองพร้อมกับหาทาง แก้ปัญหาเหล่านั้นด้วยตนเอง และติดตามการปรับเปล่ียนพฤติกรรมอย่างต่อเน่ือง เพ่ือให้ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ เกิดความตระหนักท่ีจะมีพฤติกรรมสุขภาพด้านการดูแลตนเอง สามารถควบคุมค่าระดับน้าตาลในเลือด ให้อยู่ใน เกณฑ์ปกติ ปอ้ งกนั ภาวะแทรกซอ้ นท่ีรุนแรง วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือเปรียบเทียบผลของโปรแกรมปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพผู้ป่วยโรคเบาหวาน ด้านความรู้ พฤตกิ รรมการปฏบิ ตั ิตัวในการดูแลตนเอง และระดบั น้าตาลในเลอื ดของกลมุ่ ทดลอง ระหวา่ งกอ่ นกับหลังการทดลอง 2. เพ่อื ศกึ ษาผลการปรบั เปลีย่ นพฤตกิ รรมสุขภาพผปู้ ว่ ยโรคเบาหวาน ดา้ นความรู้ พฤตกิ รรมการปฏิบัตติ ัว ในการดูแลตนเอง และระดับนา้ ตาลในเลอื ดระหว่างกลุ่มทดลองกบั กลุ่มควบคมุ หลังการทดลอง สมมติฐานการวจิ ัย 1. ภายหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมคี ะแนนเฉลี่ยความรู้ พฤตกิ รรมการปฏิบตั ติ ัวในการดูแลตนเอง สูง กว่าก่อนการทดลอง และระดับน้าตาลในเลือดน้อยกว่าก่อนการทดลอง วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปที ่ี 8 ฉบบั ที่ 2 เดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

91 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมลู TCI กลุม่ ท่ี 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) 2. ภายหลงั การทดลอง กลุ่มทดลองมคี ะแนนเฉลยี่ ความรู้ พฤตกิ รรมการปฏิบตั ิตัวในการดูแลตนเอง สงู กว่าก่อนกลมุ่ ควบคุม และระดับนา้ ตาลในเลือดน้อยกว่ากลุ่มควบคุม ขอบเขตงานวจิ ยั ในการวิจัยคร้ังน้ีมีขอบเขตการวิจัยประกอบดว้ ย 4 ด้านคือ 1) ด้านเน้ือหาเพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการ ปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยโรคเบาหวานต่อ ความรู้ พฤติกรรมการดูแลตนเอง และระดับน้าตาลใน เลือด 2) ด้านประชากรคือ ผู้ป่วยโรคเบาหวานในปีงบประมาณ 2563 จานวน 465 คน โดยกลุ่มตัวอย่างใน การศึกษาคร้ังนี้ เลือกแบบเฉพาะเจาะจง จานวน 60 คน 3) ด้านพื้นที่ คือ เขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพตาบลบ้านจัวเหนือ ตาบลสมัย อาเภอสบปราบ จังหวัดลาปาง 4) ด้านระยะเวลาต้ังแต่เดือน มิถุนายน ถึง กันยายน 2563 กรอบแนวคิดในการวจิ ัย การวิจัยครั้งนี้ คณะผู้วิจัยได้นาการส่งเสริมการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ ใช้ หลักการสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ health literacy ร่วมกับการใชก้ ระบวนการกลุ่ม มาเป็นแนวทางในการจัด โปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ซึ่งส่งผลต่อความรู้ พฤติกรรมสุขภาพ และ ระดับน้าตาลในเลอื ด ตามภาพท่ี 1 ตวั แปรตน้ ตวั แปรตาม โปรแกรมการปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพ ผลของการปรบั เปล่ยี นพฤตกิ รรมสขุ ภาพ 1.กระบวนการเพิ่มศกั ยภาพการดแู ลสุขภาพ ของผู้ปว่ ยโรคเบาหวาน ตนเองแกผ่ ู้ป่วยโรคเบาหวาน 1. 1. ความรู้และพฤตกิ รรมในการดแู ล 2. สขุ ภาพตนเอง - การรบั ประทานอาหาร 3. 2. ระดับนา้ ตาลในเลือด - การออกกาลงั กาย - สุขภาพจิตทด่ี แี ละการจัดการ ความเครียด 2.กระบวนการสร้างการรบั รู้ผลกระทบจาก ภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน 3.กระบวนการเสนอแบบอย่างด้านบวกเล่า ประสบการณ์ 4.ประเมินภาวะสขุ ภาพ ความรู้และ พฤติกรรมสขุ ภาพหลังใช้โปรแกรม ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวจิ ยั วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปีที่ 8 ฉบบั ท่ี 2 เดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2

92 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI และอยใู่ นฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) วิธดี าเนนิ การวจิ ยั การวิจยั ครงั้ นเี้ ปน็ การวิจยั แบบกง่ึ ทดลอง แบ่งเปน็ 2 กลุม่ วัดกอ่ นและหลงั การทดลองโดยแบ่งเป็นกลมุ่ ทดลองและกลมุ่ ควบคมุ ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง ประชากร คือ ผู้ป่วยโรคเบาหวาน มีอายุ 30 – 65 ปี ที่ได้ข้ึนทะเบียนเป็นผู้ป่วยโรคเบาหวาน ในเขตตาบล สมัยและมีระดับน้าตาลในเลอื ด (DTX) อยู่ในชว่ ง 140 – 180 mg/dL 2 ครั้งติดตอ่ กัน จานวน 172 คน กลุ่มตัวอย่าง สาหรับการวจิ ัย คอื ผปู้ ่วยโรคเบาหวาน มีอายุ 30 – 65 ปี ทั้งเพศหญิงและชาย ทอี่ าศัยในเขตตาบลสมยั และมีระดบั นา้ ตาลในเลอื ด (DTX) อยใู่ นช่วง 140 – 180 mg/dL 2 คร้งั ติดต่อกนั จานวน 60 คน ขนาดของกลุ่มตัวอยา่ งคานวณ จาก power analysis โดยคานวณค่า effect size จากการศึกษาของ ยุภาพร นาคกลิ้ง (Nakkling Y., 2017) ที่ ศึกษาผลของการประยุกตทฤษฎคี วามสามารถตนเองต่อพฤตกิ รรมการควบคุมอาหารการออกกาลังกายและระดับ ความดนั โลหิตของผ้สู ูงอายุโรคความดันโลหิตสูงจากสูตรของกลาส (Glass, 1976) ได้ค่า effect size เทา่ กบั 0.65 ระดับนัยสาคัญเท่ากับ 0.05 และค่าอานาจการทดสอบทางสถิติ (power analysis) เท่ากับ 0.8 เปิดตารางได้ ขนาดกลุ่มตัวอย่าง 30 ราย จากการอ้างอิงการวิจัยกึ่งทดลองควรมีกลุ่มตัวอย่าง น้อยท่ีสุด 20-30 คน ถ้ามีการ เปรียบเทียบระหว่างกลุ่มซ่ึงมีประชากรจานวนน้อยควรมีไม่ต่ากว่า 10 คน (Polit & Hungler, 1995) ดังนั้น ใน การวจิ ัยคร้ังน้ีกลุ่มตวั อย่าง คือ กลุ่มทดลอง 30 คน และกลุ่มควบคุม 30 คน และการเจาะเลือดน้ีเปน็ ส่วนหน่ึงของ การรกั ษา โดยแบง่ เป็นกลุ่มทดลอง 30 คน และกลุม่ ควบคมุ 30 คน เป็นกลุม่ ตวั อยา่ งแบบเฉพาะเจาะจง เกณฑ์คัดเขา้ คัดออกของกลุ่มตัวอย่าง ดังน้ี เกณฑ์คดั เขา้ ของกลุ่มตัวอย่าง (inclusion criteria) 1. เป็นผปู้ ่วยโรคเบาหวานมีอายุ 30 – 65 ปี ท้งั เพศหญงิ และชาย 2. ไม่มปี ระวตั เิ จ็บปว่ ยรนุ แรงในรอบปที ผี่ ่านมา 3. สามารถส่ือสารด้วยภาษาไทย อา่ นออกและเขียนได้ 4. สมคั รใจเขา้ รว่ มกจิ กรรมและให้ความรว่ มมอื ในการวจิ ัย เกณฑค์ ดั ออกของกล่มุ ตัวอยา่ ง (exclusion criteria) 1. ผปู้ ว่ ยเบาหวานท่มี ภี าวะแทรกซอ้ น หรอื มีประวัตเิ ปน็ โรคหัวใจ 2. ผู้ท่ีไมส่ ามารถอา่ นออกและเขยี นได้ 3. ไม่สะดวกเขา้ ร่วมกิจกรรมตามแผนการจัดกิจกรรมจานวน 4 คร้ัง 4. เปน็ ผทู้ ไ่ี ม่สามารถเดนิ ทางหรอื ปรบั เปลีย่ นพฤติกรรมสขุ ภาพได้ด้วยตัวเอง เครอื่ งมือทใี่ ชใ้ นการวิจยั เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัยมี 2 ประเภท ได้แก่ เคร่ืองมือที่ใช้ในการทดลอง และเครื่องมือท่ีใช้ในการเก็บ รวบรวมข้อมลู โดยมีรายละเอยี ด ดงั นี้ 1. เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ไดแ้ ก่ โปรแกรมปรับเปล่ยี นพฤตกิ รรมสุขภาพ คณะวิจยั ได้สรา้ งข้ึนเอง วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปที ่ี 8 ฉบบั ท่ี 2 เดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 Journal of Health Sciences Scholarship July - December 2021, Vol.8 No.2


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook