Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คณะพยาบาลศาสตร์_ม.บูรพาปีที่28ฉบับที่2เม.ย-มิ.ย63

คณะพยาบาลศาสตร์_ม.บูรพาปีที่28ฉบับที่2เม.ย-มิ.ย63

Published by Sucheera Panyasai, 2020-09-17 23:34:59

Description: คณะพยาบาลศาสตร์_ม.บูรพาปีที่28ฉบับที่2เม.ย-มิ.ย63

Keywords: พยาบาล

Search

Read the Text Version

วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบูรพา THE JOURNAL OF FACULTY OF NURSING BURAPHA UNIVERSITY ปีท่ี 28 ฉบับท่ี 2 เมษายน - มิถุนายน 2563 Vol. 28 No. 2 April - June 2020 บรรณาธกิ าร รองศาสตราจารย ์ ดร.จนิ ตนา วัชรสินธ ุ์ ISSN 0858-4338 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา ท่ปี รึกษาวารสารฯ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พรชัย จลู เมตต ์ คณบดคี ณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั บูรพา กองบรรณาธิการ รองศาสตราจารย์ ดร.นจุ ร ี ไชยมงคล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั บูรพา รองศาสตราจารย์ ดร.สุวรรณา จนั ทรป์ ระเสรฐิ คณะพยาบาลศาสตร ์ มหาวิทยาลยั บรู พา รองศาสตราจารย ์ ดร.อาภรณ์ ดนี าน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา รองศาสตราจารย์ ดร.ภรภัทร เฮงอุดมทรพั ย ์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั บรู พา รองศาสตราจารย์ ดร.ทัศนี ประสบกติ ติคุณ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหิดล รองศาสตราจารย ์ ดร.จิราพร เกศพิชญวัฒนา คณะพยาบาลศาสตร ์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั รองศาสตราจารย์ ดร.ภทั ราภรณ์ ท่งุ ปนั ค�า คณะพยาบาลศาสตร ์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม ่ รองศาสตราจารย์ ดร.พรรณพไิ ล ศรีอาภรณ์ คณะพยาบาลศาสตร ์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม ่ รองศาสตราจารย ์ ดร.รตั นศริ ิ ทาโต คณะพยาบาลศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย รองศาสตราจารย์ ดร.นงนชุ บุญยัง คณะพยาบาลศาสตร ์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ ศาสตราจารย์ ดร.ศศธิ ร พุมดวง คณะพยาบาลศาสตร ์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ Professor Dr. Ed Rosenberg Appalachian State University ฝา่ ยจัดการและเลขานุการ นายกติ ติพศ ทปู ิยะ คณะพยาบาลศาสตร ์ มหาวทิ ยาลัยบูรพา วัตถุประสงค์ 1. เพอ่ื เผยแพรค่ วามรทู้ างวชิ าการ สาขาการพยาบาล และสาขาวทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพอ่ืน ๆ 2. เพื่อเผยแพรผ่ ลงานวิจัยสาขาตา่ ง ๆ อันเปน็ ประโยชนต์ ่อวชิ าชพี การพยาบาล 3. เพ่อื ประชาสมั พันธว์ ชิ าชีพการพยาบาล ก�าหนดเวลา ปีละ 4 ฉบบั (ม.ค.-ม.ี ค., เม.ย.-ม.ิ ย., ก.ค.-ก.ย., ต.ค.-ธ.ค.) เจ้าของ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั บรู พา 169 ถ.ลงหาดบางแสน ต.แสนสุข อ.เมือง จ.ชลบุรี 20131 ฝา่ ยวารสารฯ: โทรศัพท์ 038-102822 โทรสาร 038-393476 การส่งบทความต้นฉบับ / ตดิ ต่อสมัครสมาชิก E-mail : [email protected] Website: https://www.tci-thaijo.org/index.php/Nubuu/ about/submissions#authorGuidelines พิมพ์ท ่ี ชลบุรกี ารพมิ พ์ 194/28 ซอยนิพฒั ผล ถ.เจตน์จา� นงค์ ต.บางปลาสร้อย อ.เมือง จ.ชลบรุ ี โทรศัพท์ 038-274991 โทรสาร 038-272732

วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั บรู พา THE JOURNAL OF FACULTY OF NURSING BURAPHA UNIVERSITY ปีท่ี 28 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2563 Vol. 28 No. 2 April - June 2020 สารบัญ หนา้ 1-15 • การพัฒนาแนวปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลการจดั การความปวด เรณภู จู อมจิตตฏ์ มิ่งพันธ์ ในผู้สูงอายุท่ไี ดร้ บั การผ่าตัดขอ้ สะโพกเทียม ตะวัน เขตปัญญา 16-26 เยาวเรศ กา้ นมะลิ 27-39 • ศกั ยภาพของชุมชนในการสร้างเสริมสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์ วารุณี เข็มลา โดยชมุ ชนเป็นฐาน อรอนงค์ บัวลา 40-51 ขนิษฐา นนั ทบุตร 52-63 • รูปแบบการจัดการตนเองของเด็กทปี่ ่วยด้วยโรคธาลัสซเี มยี ศริ ยิ พุ า สนน่ั เรอื งศกั ด์ิ 64-73 นฤมล ธรี ะรังสิกลุ 74-84 • การวิเคราะหอ์ งคป์ ระกอบของแบบสอบถามพฤตกิ รรม พจนารถ สารพัด 85-95 การรับประทานอาหารในผ้ปู ว่ ยโรคหลอดเลอื ดหัวใจ มณพี ร ภิญโญ 96-105 ปณชิ า พลพินิจ 106-121 • ปจั จัยทา� นายภาระของผู้ดแู ลเดก็ ที่มพี ฒั นาการล่าชา้ อาภรณ์ ดนี าน • ผลของโปรแกรมการสง่ เสรมิ สขุ ภาพช่องปากต่อพฤตกิ รรม วิภา วเิ สโส 122-134 พิมพ์ชนก จันทราทพิ ย์ การป้องกนั โรคฟันผขุ องนักเรยี นช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 6 ยุนี พงศ์จตรุ วิทย์ ในจังหวัดตรงั นจุ รี ไชยมงคล • ปจั จยั ทมี่ ีอิทธิพลตอ่ การเกดิ ภาวะแทรกซ้อนของหลอดเลอื ดแดง เบญจวรรณ ช่วยแกว้ ขนาดเลก็ ในผทู้ เ่ี ป็นเบาหวานชนดิ ท่ี 2 จนั ทรเ็ พ็ญ เลิศวนวฒั นา • ปัจจัยท�านายคณุ ภาพชีวติ การท�างานของพยาบาลวชิ าชีพ วรารตั น์ ทิพยร์ ตั น์ ในโรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพต�าบล ภาคตะวันออก สายฝน มว่ งคมุ้ • ผลของการนวดสัมผสั ทารกตอ่ พฤตกิ รรมตอบสนองความปวด และคณะ อตั ราการเตน้ ของหัวใจและค่าความอิ่มตัวของออกซิเจน มโนวรรณ มากมา ในทารกแรกเกิดทไี่ ด้รับการเจาะเลือดจากหลอดเลอื ดด�าสว่ นปลาย สุวรรณา จันทร์ประเสรฐิ • ปัจจยั ทา� นายความพรอ้ มในการดูแลผูท้ ่เี จบ็ ปว่ ยทางจิตเวช นิสากร กรุงไกรเพชร ของญาตผิ ดู้ ูแล จังหวดั ชลบรุ ี สรุ ีทร สง่ กลิ่น นฤมล ธีระรงั สกิ ุล • การวิจัยเชิงชาตพิ นั ธว์ุ รรณนากบั การสรา้ งความเข้าใจการดแู ล อโนชา ทศั นาธนชัย ในครอบครัวภายใตบ้ ริบทของสังคมวฒั นธรรมไทย พิชามญชุ์ ปุณโณทก วรรณรตั น์ ลาวงั สุรภา สุขสวัสด์ิ รชั นี สรรเสริญ วภิ า วิเสโส พจนารถ สารพัด

การพฒั นาแนวปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลการจดั การความปวดในผูส้ ูงอายุ ทีไ่ ดร้ บั การผ่าตัดข้อสะโพกเทยี ม เรณูภจู อมจิตตฏ์ ม่งิ พนั ธ์, กศ.ด.1* ตะวนั เขตปัญญา, พย.ม.2 เยาวเรศ ก้านมะลิ, คด.3 วารุณี เข็มลา, พย.ม.4 บทคัดย่อ การผ่าตัดข้อสะโพกเทียมมีอัตราเพิ่มมากขึ้น เน่ืองจากกระดูกสะโพกหักเป็นปัญหาท่ีพบบ่อยและเพิ่มตามอายุ ของในผูส้ ูงวัย การวิจยั และพัฒนานีม้ วี ัตถปุ ระสงคเ์ พอ่ื พัฒนาและศกึ ษาผลของการใช้แนวปฏิบตั ิการพยาบาลการจดั การ ความปวดในผู้สูงอายุที่ได้รับการผ่าตัดข้อสะโพกเทียม กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้สูงอายุท่ีได้รับการผ่าตัดข้อสะโพกเทียม ในโรงพยาบาลกาฬสินธุ์ ระหวา่ งเดือนเมษายน ถึง มิถุนายน 2562 จ�านวน 30 คน และพยาบาลที่ปฏิบัติงานทห่ี อผู้ป่วย กระดกู จา� นวน 15 คน เครอ่ื งมอื ทใี่ ชค้ อื แนวปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล แบบสอบถามผลลพั ธก์ ารจดั การความปวด แบบประเมนิ ประสทิ ธภิ าพของแนวปฏิบตั กิ ารพยาบาล และแบบสอบถามความพงึ พอใจ วิเคราะหข์ ้อมูลด้วยสถติ พิ รรณนา ผลการศกึ ษา พบวา่ การจัดการความปวดในผูส้ ูงอายุทีไ่ ดร้ ับการผา่ ตัดขอ้ สะโพกเทยี มมี 4 ระยะคอื การพยาบาล ระยะก่อนผ่าตัด ขณะผ่าตัด หลังผ่าตัด และระยะต่อเนื่องเพื่อป้องกันความปวดเร้ือรัง ผู้สูงอายุร้อยละ 90 มีระดับ ความปวดลดลงทหี่ ลงั ผา่ ตดั 72 ชวั่ โมงอยใู่ นระดบั ปานกลาง ผสู้ งู อายพุ งึ พอใจตอ่ การจดั การความปวดโดยรวมอยใู่ นระดบั มาก (x¯ = 27.21, SD = 1.07) พยาบาลทุกคนใช้วิธีการจัดการความปวดโดยใช้ยา ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว ในชุมชนพบว่า ผู้สูงอายุร้อยละ 80 มีภาวะพ่ึงพาอยู่ในระดับปานกลาง แนวปฏิบัติน้ีมีประสิทธิภาพด้านการน�าไปใช้ ประโยชน์อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( x¯ = 5.95, SD = 0.22) ผลการวิจัยนี้เสนอว่าควรมีการน�าแนวปฏิบัติการพยาบาล การจัดการความปวดในผู้สูงอายุที่ได้รับการผ่าตัดข้อสะโพกเทียมไปใช้ในการดูแลผู้ป่วยต้ังแต่ระยะก่อนผ่าตัดจนถึง หลังผ่าตัดทั้งในโรงพยาบาลท่ัวไปและโรงพยาบาลชุมชน โดยปรับให้เหมาะสมกับบริบทการดูแลผู้ป่วย และควรศึกษา ประสิทธภิ าพด้านคา่ ใช้จา่ ยและวันนอนโรงพยาบาล คา� ส�าคญั : การจัดการความปวด ผสู้ งู อายุ การผ่าตัดข้อสะโพกเทยี ม 1 พยาบาลวิชาชพี ช�านาญการพิเศษ, รักษาการในต�าแหน่งหัวหนา้ พยาบาล กล่มุ ภารกจิ ดา้ นการพยาบาล โรงพยาบาลกาฬสนิ ธ์ุ 2 พยาบาลวชิ าชพี ชา� นาญการ กลุม่ งานผูป้ ว่ ยนอก โรงพยาบาลกาฬสินธุ์ 3 พยาบาลวชิ าชีพช�านาญการ กลุ่มงานวจิ ัยและพฒั นาการพยาบาล โรงพยาบาลกาฬสนิ ธ์ุ 4 พยาบาลวิชาชีพช�านาญการ หอผูป้ ว่ ยศลั ยกรรมอุบัติเหตฉุ กุ เฉนิ โรงพยาบาลกาฬสนิ ธุ์ * ผู้เขยี นหลกั e-mail: [email protected] Received 11/02/2020 Revised 28/03/2020 Accept 19/05/2020

Development of Clinical Nursing Practice Guidelines for Pain Management in the Elderly with Hip Arthroplasty Renupujomjit Mingphanaz, Ed.D.1*, Tawan Khetpanya, M.N.S.2, Yaowaret Kanmali, Ed.D.3, Warunee Khemla, M.N.S.4 Abstract Hip arthroplasty rates are increasing since hip fractures are common in the growing elderly population. The purpose of this research was to develop and study the effects of clinical nursing practice guidelines for pain management in the elderly with hip arthroplasty. The sample consisted of 30 elderly who had hip arthroplasty in Kalasin hospital in April-June 2019 and 15 nurses in the Orthopedic Department. Data collection instruments were the clinical nursing practice guidelines for pain management, pain management scale, and satisfaction with pain management. Data were analyzed using descriptive statistics. The results revealed that clinical nursing practice guidelines for pain management in the elderly were implemented in four phases: pre-surgery, during surgery, post-operative, and pain management aftercare. The majority of elderly (90%) had pain level reduced to a moderate level within 72 hours after surgery. There was a high level of patient satisfaction with pain management (x¯ = 27.21, SD = 1.07). All nurses used pharmacological management for pain. Long-term health problems among community-dwelling elderly (80%) had moderate dependency. The efficiency on benefit of clinical nursing practice guidelines was highest level (x¯ = 5.95, SD = 0.22). The results suggest that these clinical nursing practice guidelines should be used from preoperative to postoperative and aftercare phases in general and community hospitals with similar patients. Further research should study cost effectiveness and days of hospitalization. Key words: pain management, elderly, hip arthroplasty 1 Senior Professional Registered Nurse, Acting Chief of Head Nurse, Nursing Mission, Kalasin Hospital 2 Professional Registered Nurse, Outpatient Department, Kalasin Hospital 3 Professional Registered Nurse, Research and Nursing Development Department, Kalasin Hospital 4 Professional Registered Nurse, Emergency Accident Surgery Ward, Kalasin Hospital * Corresponding author e-mail: [email protected]

Development of Clinical Nursing Practice Guidelines for Pain The Journal of Faculty of Nursing 3 Management in the Elderly with Hip Arthroplasty Burapha University ความส�าคัญของปญั หา ด้านการได้ยิน การรับรู้ ซึ่งอาจเกิดความเสื่อมสภาพ กระดูกสะโพกหักเป็นปัญหาท่ีพบบ่อยในผู้สูงอายุ ของร่างกาย ท�าให้การรับรู้บกพร่องจากการมองเห็นและ การได้ยิน หรือจากกิจกรรมการรักษา เช่น การใสท่ ่อชว่ ย โดยมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนตามอายุขัยเฉล่ียของประชากร หายใจ ไมส่ ามารถพูดออกเสียงได้ ซึง่ เป็นผลจากการได้รบั คาดการณว์ ่าจะเพ่มิ ขนึ้ จาก 1.7 ลา้ นคนในปี ค.ศ. 1990 ยาระงับความรู้สึกในการผ่าตัดท่ีมีผลต่อระดับความรับรู้ เปน็ 6.3 ลา้ นคนในปี ค.ศ. 2050 (Lau, 2009) ประเทศไทย ของผปู้ ่วย (Ngamkham et al., 2014) ซ่ึงอาจส่งผลให้ พบอุบัติการณ์ของกระดูกสะโพกหักในประชากรชายและ ผู้ป่วยหลังผ่าตัดข้อสะโพกเทียมไม่สามารถส่ือสารความ หญงิ โดยในปี พ.ศ. 2557 พบอบุ ัติการณ์กระดกู สะโพกหัก ปวดได้ด้วยตนเอง จึงท�าให้ผู้ป่วยยังคงทุกข์ทรมานจาก ในเพศชายและหญิงจ�านวน 136 และ 368 ราย ต่อ ความปวด (Yooyod & Wongnaya, 2014) การจดั การ ประชากรแสนราย (Klaewklong, Chanruangvanich, ความปวดในผปู้ ว่ ยผา่ ตดั ขอ้ สะโพกเทยี ม หากวธิ กี ารจดั การ Danaidutsadeekul, & Riansuwan, 2014) ซงึ่ สาเหตหุ ลกั ความปวดไม่เหมาะสม อาจส่งผลให้ผู้ป่วยยังคงไม่ได้รับ เกดิ จากอบุ ตั เิ หตแุ ละการพลดั ตกหกลม้ แนวทางการรกั ษา การจัดการความปวด (Tiloksakulchai, 2006) ผู้สูงอายุท่ีกระดูกสะโพกหักมีสองวิธี คือ รักษาโดยวิธี ไม่ผ่าตัด และรักษาโดยผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพก (Peeters การจัดการความปวดในผู้สูงอายุหลังผ่าตัดข้อ et al., 2016) การผา่ ตัดเปลี่ยนขอ้ สะโพกเทยี มเป็น 1 ใน สะโพกเทียมมีความยุ่งยากซับซ้อน และมีหลายปัจจัย 10 อันดับแรกของหัตถการทุกอย่างท่ีท�ามากที่สุดของ เกยี่ วขอ้ ง เนอื่ งจากผปู้ ว่ ยดงั กลา่ วอยใู่ นวยั สงู อายุ มคี วามเสอ่ื ม ประเทศ (Leelerdmongkolkul, Danaidutsadeekul, ทางดา้ นร่างกาย ส่งผลตอ่ การท�างานของอวยั วะตา่ ง ๆ ใน Chanruangvanich, & Udomkiat, 2013) ทั้งน้ีการรักษา รา่ งกายลดลง และมภี าวะคกุ คามตอ่ ชวี ติ ตอ้ งไดร้ บั การดแู ล โดยวิธีดังกล่าวมีผลท�าให้ผู้ป่วยทุกข์ทรมานจากความปวด เพื่อให้ผ่านพ้นภาวะวิกฤต ท้ังนี้หากไม่ได้รับการแก้ไข (Gujol, 1994) นอกจากนี้การผ่าตัดมีผลกระทบต่อ ปัญหาความปวด ความปวดน้ันจะพัฒนากลายเป็น แบบแผนการด�าเนนิ ชีวิต (Peeters et al., 2016) สง่ ผล ความปวดเร้ือรัง ซึ่งเป็นปัญหาท่ีส�าคัญของผู้สูงอายุใน ต่อการท�าหน้าท่ีของร่างกายในหลายระบบท�าให้อัตรา ชุมชนและส่งผลกระทบหลายด้านรวมทั้งผู้สูงอายุบางราย การเตน้ ของหวั ใจเรว็ ขนึ้ อัตราการหายใจเพ่มิ ขน้ึ ความดัน มวี ธิ จี ดั การความปวดทไ่ี มถ่ กู ตอ้ งหากความปวดนน้ั ไมไ่ ดร้ บั โลหิตเพ่ิมข้ึน กล้ามเน้ือหัวใจท�างานมากข้ึนเหง่ือออก การประเมินและจัดการดูแลในระยะเริ่มต้นก็จะกลายเป็น ตัวเย็น หลอดลมหดเกร็ง (The royal college of ปัญหาเรื้อรังอันน�าไปสู่ภาวะทุพพลภาพในอนาคตได้ anesthesiologists of Thailand and Thai association (Pitantananukune & Surit, 2011) ทัง้ นี้ความปวดเรื้อรัง for the study of pain, 2012) มคี วามตอ้ งการใชอ้ อกซเิ จน มผี ลตอ่ การดา� เนนิ ชวี ติ ตอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ประชาชนสว่ นใหญ่ มากข้นึ (Abou-Setta et al., 2011) ซึง่ มผี ลกระทบตอ่ เห็นว่า ความปวดเกี่ยวข้องกับความเส่ือมถอยในกลุ่ม ภาวะเศรษฐกจิ ของครอบครวั ชมุ ชน ตลอดจนเศรษฐกจิ ใน ผสู้ ูงอายุ (Intaranongpai et al., 2015) ภาพรวมด้านสขุ ภาพของประเทศอกี ด้วย กลุ่มงานออร์โธปิดิกส์ โรงพยาบาลกาฬสินธุ์ ความปวดยังมีผลต่อพฤติกรรมที่แสดงออกของ ให้การดูแลผู้ป่วยท่ีได้รับบาดเจ็บท่ีกระดูกและข้อ รวมท้ัง ผปู้ ว่ ย เชน่ รอ้ งไห้ หนา้ นว่ิ ขมวดควิ้ กระสบั กระสา่ ย หายใจ ผสู้ งู อายทุ ่ีมีภาวะกระดูกสะโพกหัก จากสถติ ิผู้ป่วยกระดกู ต้านเคร่ืองช่วยหายใจในผู้ป่วยที่ใช้เคร่ืองช่วยหายใจ สะโพกหักที่เข้ามารับบริการในโรงพยาบาลกาฬสินธุ์ (American Society of Anesthesiologists Task Force ระหวา่ ง ปี 2559 - 2561 จา� นวน 127, 112 และ 136 ราย on Neuraxial Opioids et al., 2009) นอกจากน้ัน พบว่าไดร้ บั การรกั ษาโดยการผ่าตดั จา� นวน 94, 96 และ ความปวดยงั สง่ ผลตอ่ สภาพจติ ใจของผปู้ ว่ ยหลงั ผา่ ตดั ทา� ให้ 113 ราย คิดเป็นร้อยละ 74.02, 94.64 และ 83.82 นอนไมห่ ลบั ทา� ใหร้ สู้ กึ วติ กกงั วล หงดุ หงดิ กลวั เครยี ด และ ตามล�าดับ ได้รับการรักษาโดยการผ่าตัดข้อสะโพกเทียม ไม่ให้ความร่วมมือในกิจกรรมการพยาบาล ผู้ป่วยผ่าตัด มีจ�านวน 18, 24, 33 ราย คดิ เป็นร้อยละ 19.15, 25.47 ขอ้ สะโพกเทยี มสว่ นใหญเ่ ปน็ ผสู้ งู อายุ มขี อ้ จา� กดั การสอื่ สาร และ 28.95 ตามล�าดับ จากการศึกษาข้อมูลบันทึกทาง Vปoีทlี่u2m8eฉบ28ับทNี่o2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

4 การพัฒนาแนวปฏิบตั ิการพยาบาลการจัดการความปวดในผู้สูงอายุ วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ ทไี่ ดร้ ับการผา่ ตดั ขอ้ สะโพกเทยี ม มหาวิทยาลัยบูรพา การพยาบาลในเวชระเบียนของผู้สูงอายุท่ีได้รับการผ่าตัด ลดผลกระทบต่าง ๆ ต่อบุคคลในครอบครัวรวมถึงเพื่อ ข้อสะโพกเทียมโรงพยาบาลกาฬสินธุ์ จ�านวน 10 ชุด เป็นการพัฒนาคณุ ภาพในระบบบรกิ ารตอ่ ไป พบว่า แบบประเมินความปวดดังกล่าวไม่สามารถน�ามา ประเมินความปวดในผู้ป่วยผ่าตัดกระดูกสะโพกเทียมได้ วัตถุประสงคก์ ารวิจยั ทุกราย เน่ืองจากผู้ป่วยบางรายมีข้อจ�ากัดในการรายงาน 1. เพอ่ื พฒั นาแนวปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลในการจดั การ ความปวดดว้ ยตนเอง พบปญั หาดา้ นการสอื่ สารดา้ นไดย้ นิ และการมองเหน็ บางรายหลงั ผา่ ตดั ใสท่ อ่ ชว่ ยหายใจ สง่ ผล ความปวดในผู้สูงอายทุ ไี่ ดร้ ับการผา่ ตัดข้อสะโพกเทียม ให้ผู้ป่วยมีข้อจ�ากัดในการส่ือสารความปวด ได้น�าข้อมูล 2. เพื่อศึกษาระดับความปวดและระดับความ มาวิเคราะห์สาเหตุและปัจจัยต่าง ๆ ที่ท�าให้ไม่สามารถ ประเมินความปวดในผู้ป่วยผ่าตัดข้อสะโพกเทียม พบว่า พงึ พอใจของผสู้ งู อายทุ ไี่ ดร้ บั การผา่ ตดั ขอ้ สะโพกเทยี มหลงั 1) ผู้ป่วยผ่าตัดข้อสะโพกเทียมมีปัญหาด้านการสื่อสาร การใชแ้ นวปฏิบัติการพยาบาลการจัดการความปวด ท�าให้ไม่สามารถรายงานความปวดของตัวเองได้ 2) หน่วยงานมีเครื่องมือจัดการความปวดแต่ยังไม่มี 3. เพ่ือศึกษาประสิทธิภาพของแนวปฏิบัติการ เคร่ืองมือจัดการความปวดท่ีเหมาะสมกับผู้ป่วยผ่าตัด พยาบาลในการจัดการความปวดในผู้สูงอายุท่ีได้รับการ ข้อสะโพกเทียมท�าให้ผู้ป่วยได้รับความเจ็บปวดและ ผา่ ตดั ข้อสะโพกเทยี ม ทุกข์ทรมาน การจัดการความปวดเป็นดัชนีช้ีวัดคุณภาพ การพยาบาลที่ส�าคัญ คือผู้ป่วยจะต้องได้รับการจัดการ 4. เพ่ือประเมินความสามารถในการด�าเนินชีวิต ความปวดอย่างเหมาะสมและเพียงพอ การประเมินและ ของผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชนหลังได้รับการผ่าตัดข้อ การจดั การความปวดทไ่ี มม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ อาจสง่ ผลกระทบ สะโพกเทยี ม ทั้งทางตรงต่อผู้ป่วยและทางอ้อม ต่อสังคมและเศรษฐกิจ ของประเทศได้ (Intaranongpai et al., 2015) กรอบแนวคิดในการวิจัย การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลในการจัดการ จากเหตุผลดังกล่าว แม้จะมีการจัดวางระบบ ในโรงพยาบาลกาฬสินธุ์ในเรื่องการจัดการความปวดใน ความปวดเป็นการบูรณาการโมเดลการศึกษาของศูนย์ โรงพยาบาล แต่การน�าไปสู่การปฏิบัติยังไม่มีความชัดเจน ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง (Soukup, 2000) แนวคิดการ รวมถงึ ยงั ไมม่ แี นวปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลการจดั การความปวด จดั การความปวด (Jones, 2010) และแนวคดิ การประเมนิ ในผสู้ งู อายทุ ไ่ี ดร้ บั การผา่ ตดั ขอ้ สะโพกเทยี มเพอ่ื ใหผ้ สู้ งู อายุ ผลลัพธ์ (Kleinpell, 2017) ซึ่งแนวคิดศูนย์ปฏิบัติการ ทเี่ ขา้ รบั การรกั ษาโดยการผา่ ตดั ขอ้ สะโพกเทยี ม โดยเฉพาะ พยาบาลขั้นสูง (The center for advanced nursing อย่างย่งิ การเตรียมผ้ปู ่วยด้วยการเปิดโอกาสให้ผ้ปู ว่ ย ญาติ practice evidence-based practice model) เริ่มจาก และทีมสหสาขาได้มีส่วนร่วมในกระบวนการดูแลผู้ป่วย การค้นหาปัญหาทางคลินิกท่ีเป็นปัจจัยกระตุ้นจากการ มากข้ึน จึงท�าให้คณะผู้วิจัยมีความสนใจในการท่ีจะศึกษา ปฏิบตั ิงานและจากแหล่งความรู้ หลงั จากน้ันท�าการสบื ค้น เพ่ือพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลการจัดการความปวด หลักฐานเชิงประจักษ์ท่ีเก่ียวข้องด้วยวิธีการและแหล่ง ในผสู้ งู อายทุ ไี่ ดร้ บั การผา่ ตดั ขอ้ สะโพกเทยี ม เพอื่ ใหผ้ สู้ งู อายุ สบื คน้ ทห่ี ลากหลาย ประเมนิ คณุ ภาพระดบั ความนา่ เชอ่ื ถอื ทเ่ี ขา้ รบั การรกั ษาโดยการผา่ ตดั ขอ้ สะโพกเทยี ม โรงพยาบาล และความเป็นไปได้จากการทบทวนหลักฐานงานวิจัย กาฬสินธุ์ได้รับการดูแลท่ีเหมาะสม สามารถจัดการกับ เชิงทดลองและงานวิจัยที่เก่ียวข้องท้ังหมดอย่างเป็นระบบ ปัญหาที่อาจจะเกิดข้ึนทั้งในระยะก่อนผ่าตัด ขณะผ่าตัด โดยมีขนั้ ตอนการดา� เนนิ งาน 4 ขน้ั ตอน คอื 1) Evidence- และหลังผา่ ตดั ตลอดไปจนถงึ ครอบครวั ผู้ดแู ล และชมุ ชน trigger phase, 2) Evidence-supported phase, สามารถดแู ลและฟน้ื ฟผู ปู้ ว่ ยไดเ้ รว็ เมอ่ื กลบั ไปอยทู่ บ่ี า้ นหรอื 3) Evidence-observed phase และ 4) Evidence- ในชุมชน ทั้งยังก่อให้เกิดคุณภาพชีวิตท่ีดีของผู้ป่วยและ based phase ส�าหรับแนวคิดการจัดการความปวด (International Association for the Study of Pain: {IASP}) เปน็ การศึกษาการปฏบิ ัติทีม่ ีวัตถุประสงคเ์ พื่อขจัด ลด บรรเทา และควบคุมอาการปวดตลอดจนผลกระทบ อื่น ๆ ท่ีเกิดจากอาการปวด โดยวิธีการใช้ยาและไม่ใช้ยา Vปoีทlี่u2m8eฉบ28ับทNี่o2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

Development of Clinical Nursing Practice Guidelines for Pain The Journal of Faculty of Nursing 5 Management in the Elderly with Hip Arthroplasty Burapha University เพื่อให้ผู้ป่วยสุขสบาย ส่งเสริมให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น มี การดแู ล ซงึ่ มกี ารประเมนิ ผลลพั ธท์ างการพยาบาลทง้ั หมด ความพึงพอใจ ส่วนแนวคิดการประเมินผลลัพธ์ทางการ 7 ดา้ น แต่ในการศึกษาวิจัยนี้ผู้วจิ ยั ได้ทา� การประเมินเพยี ง พยาบาลใชก้ รอบแนวคิดของ American Association of 4 ดา้ น คอื 1) ความพึงพอใจของผปู้ ่วยและญาติ 2) ความ Critical-Care Nurses [AACN] (Kleinpell, 2017) ซึ่ง สามารถในการประกอบกจิ วตั รประจา� วนั 3) ประสทิ ธภิ าพ เปน็ องคก์ รพเิ ศษทางการพยาบาลทมี่ งุ่ มนั่ ในระบบการดแู ล ของแนวปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล 4) การดูแลต่อเนือ่ ง ดังแสดง สุขภาพที่ขับเคลื่อนด้วยความต้องการของผู้ป่วยและ ในภาพท่ี 1 ครอบครัว โดยพยาบาลเป็นผู้ส�าคัญในการสนับสนุน ระยะท่ี 1 การพฒั นาแนวปฏบิ ตั ทิ างการพยาบาล ระยะที่ 2 การน�าแนวปฏิบัติทางการพยาบาล การจดั การความปวดในผสู้ งู อายทุ ไี่ ดร้ บั การผา่ ตดั การจัดการความปวดในผู้สูงอายุที่ได้รับการผ่าตัด ข้อสะโพกเทียม ข้อสะโพกเทยี มไปทดลองใช้ 1.1 ก�าหนดปัญหาทางคลินิก 2.1 การประเมินความปวด 1.2 การทบทวนและสบื คน้ หลกั ฐาน 2.2 การจดั การความปวดโดยใชย้ าและไมใ่ ชย้ า เชงิ ประจักษ์ ระยะที่ 3 การประเมินผลลัพธ์ วิเคราะห์ สรุป ผลลัพธ์การใชแ้ นวปฏบิ ตั ิทางการพยาบาล 3.1 ความปวดของผ้สู งู อายุ 3.2 ความพงึ พอใจของผสู้ ูงอายุ 3.3 ความสามารถในการดา� เนนิ ชีวิต 3.4 ประสิทธิภาพของแนวปฏบิ ตั ิการพยาบาล ภาพที่ 1 กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั วิธดี า� เนินการวิจัย พยาบาลวิชาชีพจ�านวน 15 คน มีเกณฑ์การคัดเข้าคือ รปู แบบงานวจิ ยั เปน็ งานวจิ ยั และพฒั นา (Research ปฏิบัติงานในแผนกออร์โธปิดิกส์ โรงพยาบาลกาฬสินธุ์ มีประสบการณ์การท�างานในหอผู้ป่วยอย่างน้อย 3 ปี and development) และผ่านการอบรมการใช้แนวปฏิบัติทางการพยาบาลที่ ประชากร คือ ผู้สูงอายุท่ีเข้ารับการผ่าตัดข้อ พฒั นาขึ้น สะโพกเทยี มทใี่ นโรงพยาบาลกาฬสนิ ธ์ุ และพยาบาลวชิ าชพี เครื่องมือที่ใช้ในการด�าเนนิ การวิจัย เครื่องมือที่ใช้ ปฏิบตั งิ านในแผนกออร์โธปดิ กิ ส์โรงพยาบาลกาฬสินธ์ุ ในแต่ละระยะของการวจิ ยั มีดงั น้ี กลมุ่ ตวั อยา่ ง เลอื กแบบเจาะจงจากผสู้ งู อายทุ ไี่ ดร้ บั ระยะที่ 1 ศึกษาสถานการณ์ปญั หา ใช้เวลาในการ การผา่ ตดั ขอ้ สะโพกเทยี มในโรงพยาบาลกาฬสนิ ธ์ุ ระหวา่ ง ด�าเนินการ 2 สัปดาห์ เคร่ืองมือวิจัยประกอบด้วยแบบ เดอื นเมษายน ถึง มิถุนายน 2562 จ�านวน 30 คน โดยมี ส�ารวจและบนั ทกึ สถานการณ์ ความสา� คญั ของปญั หาทาง เกณฑ์การคัดเข้าคือ อายุ 60 ปีข้ึนไป ผู้ป่วยหรือผู้มีสิทธ์ิ คลินิกที่พบในหอผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์ เป็นแบบส�ารวจท่ีใช้ ตามกฎหมายยนิ ยอมเขา้ รว่ มการวจิ ยั และแพทยเ์ จา้ ของไข้ สอบถามพยาบาลผปู้ ฏบิ ตั งิ านและกลมุ่ ผสู้ งู อายทุ ต่ี อ้ งไดร้ บั อนุญาตให้เข้าร่วมการวิจัย และมีเกณฑ์การคัดออก คือ การผ่าตัดข้อสะโพกเทียม โดยผู้วิจัยพัฒนาข้ึนตาม มีภาวะแทรกซ้อนหรือเสียชีวิตขณะดูแลรักษาหรือ วตั ถุประสงคข์ องการวิจยั ไม่สมัครใจอยู่ในการรักษา ส�าหรับกลุ่มตัวอย่างท่ีเป็น Vปoีทlี่u2m8eฉบ28ับทN่ีo2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

6 การพัฒนาแนวปฏบิ ัติการพยาบาลการจัดการความปวดในผู้สงู อายุ วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ ทไี่ ด้รับการผา่ ตัดข้อสะโพกเทียม มหาวทิ ยาลยั บูรพา ระยะที่ 2 ระยะของการด�าเนินงาน ใช้เวลา 12 (Craig et al., 2002, Melnyk & Fineout-Overholt, สัปดาห์ เคร่ืองมือที่ใช้ในการด�าเนินงาน คือ แนวปฏิบัติ 2005) เป็นเกณฑ์ในการสบื คน้ (P = Population เฉพาะ ทางการพยาบาลในการจดั การความปวดในผสู้ งู อายทุ ไ่ี ดร้ บั งานวจิ ยั ทเ่ี กยี่ วกบั แนวทางการพฒั นาแนวปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล การผา่ ตดั ขอ้ สะโพกเทยี ม โดยคณะผวู้ จิ ยั ไดน้ า� แนวคดิ การ การจัดการความปวดในผู้ป่วยสูงอายุท่ีได้รับการผ่าตัด พัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลตามหลักฐานเชิงประจักษ์ ข้อสะโพกเทียม, I = Intervention แนวทางการปฏบิ ตั ิ ฯ, โมเดลการศึกษาของศูนย์ปฏิบัติการพยาบาลข้ันสูงในรัฐ C = Comparison intervention การเปรียบแนวทาง เนบลาสกา ประเทศสหรฐั อเมรกิ า (Soukup, 2000) ซง่ึ มี ในการปฏิบัติฯ, O = Outcomes ผลลัพธ์ที่เกี่ยวกับ ขั้นตอนในการพฒั นาดังนี้ การปฏบิ ัติฯ) ข้ันตอนท่ี 1 Evidence-trigger phase ทีม 3) ก�าหนด Key words เพอ่ื การคน้ งานวจิ ยั พยาบาลและแพทย์แผนกออร์โธปิดิกส์ รวบรวมปัญหาที่ โดยเลือกเฉพาะเอกสารท่ีเป็นฉบับสมบูรณ์ บทความวิจัย พบบอ่ ยจากการปฏบิ ัติงาน คอื วธิ ีการประเมนิ ความปวด ระหว่างปี 2013-2018 ท้งั หมด 32 เรอ่ื ง หลังจากนน้ั ได้ การจัดการความปวดในผู้ป่วยหลังผ่าตัดข้อสะโพกเทียม อ่าน วิเคราะห์ สังเคราะห์และคัดเลือกหลักฐานที่ส�าคัญ ยังไม่เป็นแนวทางเดียวกัน ภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับ และจ�าเป็นต่อการพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาล โดยใช้ ยาแก้ปวด ผลข้างเคียงที่เกิดจากการให้ยา ไม่สามารถ เกณฑ์ประเมินคุณภาพงานวิจัยของ โดยใช้เกณฑ์ประเมิน ประเมินอาการผู้ป่วยและช่วยเหลือผู้ป่วยได้อย่างรวดเร็ว คุณภาพงานวิจัยของ The National Guideline ทนั ที จากน้ันคณะผวู้ ิจยั จงึ เกิดความตระหนกั และเล็งเหน็ Clearinghouse (2007) ดงั นี้ ความส�าคัญในการที่จะพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาล ผู้ป่วยโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ ซึ่งเป็นหลักฐานท่ีมี ระดบั 1 หลักฐานอา้ งองิ จากการทบทวน ความน่าเช่ือถือที่ผ่านการทบทวนมาอย่างเป็นระบบและ งานวิจัยท่ีเป็นงานวิจัยเชิงทดลองที่มีการสุ่มตัวอย่างและ มคี วามทนั สมยั เพือ่ ใช้เปน็ แนวทางปฏบิ ัติสา� หรับพยาบาล มกี ล่มุ ควบคมุ ท้งั หมด ในการดแู ลผู้ป่วย ระดบั 2 หลกั ฐานขอ้ มลู ไดม้ าจากงานวจิ ยั ขั้นตอนท่ี 2 Evidence-supported phase ท่ีเป็นการวิจัยเชิงทดลองที่มีการสุ่มตัวอย่างและมีการ คณะผู้วิจัยทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ควบคุมอย่างน้อย 1 รายงาน ในเร่ืองการปฏิบัติการพยาบาลการจัดการความปวดใน ผ้สู งู อายุทีไ่ ดร้ บั การผ่าตดั ข้อสะโพกเทยี ม ระดับ 3 แบ่งออกเป็น 3 ระดบั คือ 3.1) หลักฐานข้อมูลได้มาจากงานวิจัยท่ีเป็นการวิจัยเชิงทดลอง 1) สบื คน้ งานวจิ ยั ทง้ั ทตี่ พี มิ พแ์ ละไมไ่ ดต้ พี มิ พ์ ที่มีการควบคุมแต่ไม่ได้สุ่มตัวอย่าง 3.2) หลักฐานข้อมูล ระหว่างปี ค.ศ. 2000 จนถึงปัจจบุ นั สบื ค้นจากฐานขอ้ มูล ได้มาจากงานวิจัยเชิงวิเคราะห์แบบไปข้างหน้า หรือแบบ อิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ The Cumulative Index of ย้อนหลังท่ีมีการศึกษาจากหลายสถาบันหรือหลายกลุ่ม Nursing and Allied Health Literature (CINAHL), The และ 3.3) หลกั ฐานข้อมลู ได้จากงานวจิ ยั ท่มี ีการเก็บขอ้ มลู Cochrane Collaboration, Pro Quest Medical Library, ระยะยาวท้ังท่ีมีและไม่มีการจดั กระท�า รวมท้งั งานวิจยั เชงิ Science Direct, Blackwell Synergy, Thai Nursing ทดลองที่ไม่มกี ารควบคุม Research Database ฐานขอ้ มลู งานวจิ ยั ทางการพยาบาล ในประเทศไทย ระหว่าง พ.ศ. 2557-2561 สบื คน้ ด้วยมือ ระดับ 4 หลักฐานข้อมูลได้จากแสดง ไดแ้ ก่ วารสารวชิ าการฉบบั ตพี มิ พ์ วารสารหอ้ งสมดุ วารสาร ความคิดเห็นของผู้เช่ียวชาญทางคลินิกหรือการวิจัยเชิง งานวจิ ยั ทเี่ กยี่ วขอ้ ง เชน่ Heart Disease, Cardiac nursing, พรรณา ผลการประเมินท�าให้ได้หลักฐานที่เกี่ยวข้องและ Cardiovascular Drugs ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่ผ่านเกณฑ์ทั้งหมดจ�านวน 20 เร่ือง โดยเป็นการทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ 2) ก�าหนดกรอบการสืบค้น ก�าหนดกรอบ 2 ฉบับ การออกแบบให้มีการควบคุมและกลุ่มทดลอง การต้ังค�าถามเพื่อการสืบค้น โดยใช้ PICO framework พร้อมทั้งมีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างเข้ากลุ่ม (randomized control trial [RCT]) 2 ฉบบั การศกึ ษาเปรียบเทียบแบบ ปVoีทl่ีu2m8eฉบ28ับทNี่o2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

Development of Clinical Nursing Practice Guidelines for Pain The Journal of Faculty of Nursing 7 Management in the Elderly with Hip Arthroplasty Burapha University ติดตามไปขา้ งหนา้ (cohort study) 2 ฉบับ การศกึ ษาเชิง สอบถามทใี่ หก้ ลมุ่ ตวั อยา่ งทเ่ี ปน็ ผปู้ ว่ ยเปน็ ผตู้ อบ ประกอบ พรรณนา 3 ฉบบั การศกึ ษาแบบย้อนหลัง 1 ฉบับ แนว ดว้ ย 3 ตอนคือ ปฏิบัติการพยาบาลการรักษาพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัด ขอ้ สะโพก 2 ฉบบั จาก 2 สถาบนั ความคิดเห็นผเู้ ชย่ี วชาญ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ข้อค�าถามเป็นแบบ 12 ฉบบั โดยหลักฐานเชิงประจักษม์ ีระดบั ความน่าเช่ือถือ เลอื กตอบเกยี่ วกบั เพศ การศกึ ษา โรครว่ ม การสอ่ื สาร และ และคณุ ภาพของหลักฐานอยู่ในระดับ 1, 2, 3.1, 3.2, 3.3 สาเหตทุ ท่ี า� ใหผ้ ปู้ ่วยเกดิ ความปวด และระดับ 4 ตอนท่ี 2 แบบประเมนิ ความปวด กลมุ่ ตวั อยา่ ง คณะผู้วิจัยสังเคราะห์หลักฐานเชิงประจักษ์ ท่ีสื่อสารได้ ใช้ Numeric scale [NRS] ของสมาคม งานวิจัยที่ค้นได้ท้ังหมด และประเมินความเป็นไปได้ ความปวดแหง่ ประเทศไทย (Thai association for the ในการน�าไปใช้ จากน้ันจึงร่างแนวปฏิบัติจากหลักฐาน study of pain, 2019) กลุ่มตัวอย่างท่ีสื่อสารไม่ได้ใช้ เชิงประจักษ์ท่ีสังเคราะห์ได้แล้วน�าเสนอร่างแนวปฏิบัติที่ แบบประเมินการสังเกตความปวดในการดูแลผู้ป่วยวิกฤติ สังเคราะห์ขึ้นกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยจัดประชุมใน Critical care pain observation tool [CPOT] ของ หอผปู้ ว่ ย เพอ่ื ขอความคดิ เหน็ และพจิ ารณาความเปน็ ไปได้ Gelinas et al. (2011) มีค่าความตรงตามเนอ้ื หาเท่ากับ ในการปฏิบัติ แล้วให้ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบคุณภาพของ .85 แนวปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลก่อนน�าไปใช้ ตอนท่ี 3 แบบสอบถามความพึงพอใจของ ข้ันตอนท่ี 3 Evidence-observed phase ผู้สูงอายุต่อการจัดการความปวด โดยใช้แบบประเมิน คณะผู้วิจัยได้ นา� โครงการส่กู ารปฏิบตั โิ ดยน�าแนวปฏบิ ตั ิท่ี ความพึงพอใจ (Khetpanya & Suwannimitr, 2015) สรา้ งขนึ้ จากหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษไ์ ปศกึ ษานา� รอ่ งกบั ผปู้ ว่ ย ประกอบด้วยขอ้ คา� ถามท้งั หมด 22 ขอ้ ลักษณะข้อคา� ถาม 5 ราย แลว้ ประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิ ดว้ ยการศกึ ษาเชงิ ผลลพั ธ์ เป็นแบบเลือกตอบตามความคิดเห็นโดยคะแนนเป็นแบบ ประเมินความเป็นไปได้ในการน�าโครงการสู่การปฏิบัติ มาตรประมาณค่า ตั้งแต่คะแนน 1 หมายถึง ไม่เห็นด้วย สังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึนในหน่วยงานและรับฟัง อย่างยงิ่ จนกระทั่งถงึ คะแนน 4 หมายถึง เหน็ ดว้ ยอย่างยงิ่ ขอ้ เสนอแนะตา่ ง ๆ จากการปฏบิ ตั ติ ามโครงการปรับปรุง การแปลผลขอ้ มลู ระดบั ความปวด ความพงึ พอใจของผปู้ ว่ ย แนวปฏิบัติให้สมบูรณ์ น�าแนวปฏิบัติฉบับสมบูรณ์ไปใช้ใน ตอ่ การจดั การความปวด แบง่ คะแนนออกเปน็ 4 ระดบั ดงั นี้ หอผปู้ ่วยกับผูป้ ว่ ย คะแนน ≤1.0 หมายถึง ระดับต�า่ คะแนน 1.1 - 2 หมายถึง ระดับพอใช้ คะแนน 2.1 - 3 หมายถงึ ระดบั มาก คะแนน ขัน้ ตอนที่ 4 Evidence-based phase คณะ 3.1 - 4.0 หมายถึง ระดับมากท่ีสุด มีค่าความตรงตาม ผู้วิจัยได้ด�าเนินการตามขั้นตอนน้ี คือ วิเคราะห์อย่างมี เนื้อหาเท่ากับ .85 วิจารณญาณจากระยะที่ 2-3 โดยตัดสนิ ใจวา่ โครงการที่ทา� ประสบความสา� เรจ็ โดยทา� ใหเ้ กดิ การปฏบิ ตั ทิ ด่ี ี และมาจาก ชุดท่ี 2 แบบประเมินการปฏิบัติตามแนวปฏิบัติ หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษท์ น่ี า่ เชอ่ื ถอื แลว้ เผยแพรข่ อ้ คน้ พบ โดย การพยาบาลการจัดการความปวดในผู้สูงอายุที่ได้รับการ น�าเสนอต่อหน่วยงานและหน่วยงานอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง ผา่ ตดั ขอ้ สะโพกเทยี ม โดยผวู้ จิ ยั พฒั นาขน้ึ เองจากหลกั ฐาน การพฒั นาแนวปฏบิ ตั ทิ างการพยาบาลการจดั การความปวด เชิงประจักษ์ เป็นแบบสอบถามที่ให้กลุ่มตัวอย่างที่เป็น ในผู้สูงอายุท่ีได้รับการผ่าตัดข้อสะโพกเทียมในแผนก พยาบาลวชิ าชพี เปน็ ผตู้ อบ ประกอบดว้ ยขอ้ คา� ถามทงั้ หมด ออรโ์ ธปิดกิ ส์ โรงพยาบาลกาฬสนิ ธ์ุ ประกอบด้วย 6 ข้อ ลักษณะขอ้ ค�าถามเปน็ แบบเลอื กตอบ มี 2 ตัวเลอื ก คือ ปฏบิ ตั ิ = 1 คะแนน และไมป่ ฏิบัติ = 0 คะแนน มีคา่ ระยะนเี้ ครอ่ื งมอื ทใี่ ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู แบง่ ความตรงตามเน้ือหาเท่ากบั .90 เปน็ 3 ชดุ ดังน้ี ชุดท่ี 3 แบบประเมนิ ประสทิ ธภิ าพของแนวปฏบิ ตั ิ ชุดท่ี 1 แบบสอบถามผู้สูงอายุเก่ียวกับผลลัพธ์ การพยาบาลในการจดั การความปวด เปน็ แบบสอบถามท่ี ของการใชแ้ นวปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลในการจดั การความปวด ให้กลุ่มตัวอย่างท่ีเป็นพยาบาลวิชาชีพเป็นผู้ตอบ เพื่อ ในผู้สูงอายุที่ได้รับการผ่าตัดข้อสะโพกเทียม เป็นแบบ ประเมินประสิทธิภาพของแนวปฏิบัติการพยาบาลในการ Vปoีทlี่u2m8eฉบ28ับทN่ีo2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

8 การพฒั นาแนวปฏิบัติการพยาบาลการจดั การความปวดในผ้สู ูงอายุ วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ ทไี่ ดร้ ับการผ่าตดั ข้อสะโพกเทียม มหาวิทยาลยั บรู พา จัดการความปวด โดยผู้วิจัยพัฒนาขึ้นเองจากหลักฐาน กาฬสนิ ธ์ุเพอ่ื ขออนุญาตเกบ็ ข้อมลู เชงิ ประจักษ์ แบ่งเปน็ 4 ดา้ น คอื ดา้ นอรรถประโยชน์ ดา้ น 2. เมอื่ ไดร้ บั อนญุ าตจากผอู้ า� นวยการโรงพยาบาล ความเป็นไปได้ ดา้ นความเหมาะสม และดา้ นความถูกต้อง และครอบคลุม ประกอบด้วยข้อค�าถามท้ังหมด 6 ข้อ กาฬสินธแ์ุ ลว้ คณะผ้วู ิจยั ด�าเนินการดังนี้ ลักษณะข้อค�าถามเป็นแบบเลือกตอบตามความคิดเห็น 2.1 ประสานหัวหน้าหอผู้ป่วยเพ่ือเตรียมน�า โดยคะแนนเป็นแบบมาตรประมาณค่า ตั้งแต่คะแนน 1 หมายถึง ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง จนกระท่ังถึงคะแนน 4 แบบสอบถามแจกใหก้ บั กลมุ่ ตวั อยา่ งทเ่ี ปน็ พยาบาลวชิ าชพี หมายถงึ เหน็ ดว้ ยอยา่ งยงิ่ การแปลผลแบง่ คะแนนออกเปน็ ตามเกณฑ์การคัดเขา้ จ�านวน 15 คน และกล่มุ ตัวอยา่ งท่ี 4 ระดบั ดงั นี้ คะแนน ≤1.0 หมายถงึ ระดับต่า� คะแนน เปน็ ผสู้ งู อายุ จา� นวน 30 คน 1.1 - 2 หมายถึง ระดบั พอใช้ คะแนน 2.1 - 3 หมายถงึ ระดบั มาก คะแนน 3.1 - 4.0 หมายถึง ระดบั มากทส่ี ดุ มี 2.2 ประชุมเพ่ือช้ีแจงกับพยาบาลที่เป็น ค่าความตรงตามเนอื้ หาเท่ากับ .60 กลุ่มตัวอย่างเก่ียวกับการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลท่ี พัฒนาข้นึ ชุดที่ 4 แบบประเมินความสามารถในการด�าเนิน ชีวิตของผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชน ด้วยแบบประเมิน 2.3 ชี้แจงข้อมูลแก่กลุ่มตัวอย่างท้ังผู้สูงอายุ กจิ วตั รประจา� วนั ดชั นบี ารเ์ ธลเอดแี อล (ADL) โดยพยาบาล และพยาบาล โดยกลุ่มตัวอย่างท่ีสมัครใจเข้าร่วมการวิจัย วชิ าชพี เปน็ ผปู้ ระเมนิ ประกอบดว้ ยขอ้ คา� ถามจา� นวน 10 ขอ้ ใหล้ งลายมือช่อื ในใบยนิ ยอมเปน็ ลายลักษณ์อกั ษร มีคา่ ความตรงตามเนื้อหาเทา่ กับ .98 2.4 กลมุ่ ตวั อยา่ งทเ่ี ปน็ พยาบาลวชิ าชพี ใหต้ อบ การพิทกั ษ์สิทธกิ ลุม่ ตัวอยา่ ง แบบสอบถามด้วยตนเอง ส�าหรับกลุ่มตวั อย่างทเ่ี ป็นผู้ปว่ ย โครงร่างวิจัยและเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยผ่าน มองเห็นไม่ชัดเจน หรืออ่านเขียนไม่ได้ ให้พยาบาลเป็น การอนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ ผู้อธิบายและอา่ นข้อค�าถามแกผ่ ปู้ ่วย โรงพยาบาลกาฬสินธุ์ เลขท่ี 009-2018 ในการเก็บขอ้ มูล ผู้วิจัยชี้แจงให้กลุ่มตัวอย่างทราบถึงวัตถุประสงค์ของ 3. ผู้วิจัยรับแบบสอบถามด้วยตนเองทันทีที่เก็บ การวจิ ยั วธิ กี ารดา� เนนิ การวจิ ยั และสทิ ธใิ นการเขา้ รว่ มโดย ข้อมูลผู้ป่วยแต่ละรายเสร็จสิ้น ความสมัครใจ และการถอนตัวจากการวิจัยได้ตลอดเวลา โดยไมม่ ผี ลกระทบใด ๆ การรกั ษาความเปน็ สว่ นตวั และเปน็ 4. น�าข้อมูลทั้งหมดไปวิเคราะห์ด้วยวิธีการทาง ความลบั ของกลุ่มตวั อย่างและขอ้ มลู ตา่ ง ๆ มีผวู้ จิ ัยเทา่ น้ัน สถติ ิ ทสี่ ามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ได้ ประโยชนท์ จี่ ะไดร้ บั และความเสย่ี ง ทอี่ าจเกดิ ขน้ึ จากการเขา้ รว่ มการวจิ ยั ไมม่ ผี ลกระทบตอ่ ผใู้ ห้ การวิเคราะห์ข้อมูล ข้อมลู การน�าเสนอและเผยแพรผ่ ลการวจิ ัยทา� ในภาพรวม 1. ขอ้ มลู ทว่ั ไปของกลมุ่ ตวั อยา่ ง วเิ คราะหด์ ว้ ยสถติ ิ และข้อมูลท้ังหมดจะถูกท�าลายภายหลังการเผยแพร่ เชิงพรรณนาไดแ้ ก่ค่าความถี่ และร้อยละ ผลการวิจัยเรียบร้อยแล้ว เมื่อกลุ่มตัวอย่างเข้าใจและ 2. ข้อมูลระดับความปวด ข้อมูลการปฏิบัติตาม ยินยอมเข้าร่วมการวิจัย จึงให้ลงนามในเอกสารยินยอม แนวปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลการจดั การความปวดในผสู้ งู อายทุ ี่ เข้ารว่ มการวิจยั ได้รบั การผ่าตดั ขอ้ สะโพกเทียม และผลการประเมนิ ระดบั การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู การพ่ึงพาของผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชน วิเคราะห์ด้วย เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนเมษายนถึง รอ้ ยละ มิถุนายน 2562 โดยมีขั้นตอนดงั น้ี 3. ข้อมูลระดับความพึงพอใจของผู้ป่วยต่อการ 1. หลังผ่านการอนุมัติจากจริยธรรมการวิจัยใน จดั การความปวด และข้อมูลประสิทธภิ าพของแนวปฏบิ ัติ มนุษย์แล้ว ผู้วิจัยท�าหนังสือถึงผู้อ�านวยการโรงพยาบาล การพยาบาลในการจดั การความปวด วเิ คราะหด์ ว้ ยคา่ เฉลย่ี และส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน ผลการวิจยั ผสู้ งู อายสุ ว่ นใหญเ่ ปน็ เพศหญงิ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 86.7 อายุระหว่าง 70-89 ปี คดิ เปน็ ร้อยละ 56.6, จบการศกึ ษา ระดับประถมศกึ ษา ร้อยละ 73.4 มภี าวะโรคร่วมที่พบคือ ปVoีทlี่u2m8eฉบ28ับทN่ีo2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

Development of Clinical Nursing Practice Guidelines for Pain The Journal of Faculty of Nursing 9 Management in the Elderly with Hip Arthroplasty Burapha University เบาหวานร้อยละ63.3 ความดันโลหติ สงู รอ้ ยละ 60 โรคไต ระยะท่ี 1 การพยาบาลเพอื่ เตรยี มความพรอ้ มตอ่ การจดั การ ร้อยละ 36.6 และความดันโลหิตสูงร้อยละ 30 ผู้ป่วย ความปวดกอ่ นผา่ ตดั ประกอบดว้ ย การใหข้ อ้ มลู การจดั การ ส่วนใหญ่สามารถสื่อสารได้ อย่างไรก็ตาม พบผู้ป่วยท่ีมี ความปวด ระยะที่ 2 การพยาบาลขณะผา่ ตดั ประกอบดว้ ย ปญั หาดา้ นการสอ่ื สารรอ้ ยละ 56.6 ไดแ้ ก่ ใสท่ อ่ ชว่ ยหายใจ การประเมินระดับความปวด การจัดการความปวด ร้อยละ13.3 ร่วมกับปัญหาการได้ยิน ร้อยละ 46.6 และ การเฝ้าระวังและจดั การภาวะแทรกซอ้ นจากยา ระยะที่ 3 การมองเห็น ร้อยละ 53.3 ส่วนสาเหตุที่ท�าให้ผู้ป่วยเกิด การพยาบาลหลังผ่าตัด ประกอบด้วย การประเมินและ ความปวดมากคือ ปวดแผลผ่าตัดจากการท�าหัตการ เช่น การจัดการความปวดซ้�า ระยะท่ี 4 การพยาบาลดูแล ล้างแผล วดั สญั ญาณชพี และดูดเสมหะ ต่อเนื่องเพ่ือป้องกันความปวดเร้ือรัง ประกอบด้วย การประเมินความปวดซ้�าในชุมชนและการประเมิน การน�าเสนอผลวจิ ัย แบง่ เปน็ 2 สว่ น ดงั น้ี ความสามารถในการด�าเนนิ ชีวติ ในชุมชนหลงั ผา่ ตดั 1. แนวปฏิบัติการพยาบาลการจัดการความปวด ในผสู้ งู อายทุ ไ่ี ดร้ บั การผา่ ตดั ขอ้ สะโพกเทยี มมี 4 ระยะ ไดแ้ ก่ ระยะที่ 1 การพยาบาลเพอ่ื เตรยี มความพรอ้ มต่อการจดั การความปวดก่อนผ่าตัด การให้ขอ้ มูลการจัดการความปวด ระยะท่ี 2 การพยาบาลขณะผา่ ตดั การประเมินระดับความปวด การจัดการความปวด ระยะที่ 3 การพยาบาลหลังผา่ ตดั การเฝา้ ระวังและจัดการภาวะแทรกซอ้ นจากยา การประเมนิ และการจัดการความปวดซ้า� จากยา ระยะที่ 4 การพยาบาลดแู ลตอ่ เนอ่ื งเพอ่ื ป้องกนั ความปวดเร้อื รัง การประเมนิ ความปวดซา�้ ในชมุ ชน การประเมนิ ความสามารถในการดา� เนนิ ชวี ิตในชุมชน ภาพที่ 2 สรุปแนวปฏบิ ัติการพยาบาลการจัดการความปวดในผู้สงู อายุทไ่ี ดร้ บั การผา่ ตดั ขอ้ สะโพกเทยี ม 2. ผลลัพธ์ของการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาล 2.1 ระดับความปวดในผู้สูงอายุท่ีผ่าตัดข้อ การจดั การความปวดในผสู้ งู อายทุ ไี่ ดร้ บั การผา่ ตดั ขอ้ สะโพก สะโพกเทยี มแบง่ ตามตามระยะเวลาหลงั ผา่ ตดั (ตารางที่ 1) เทียม ดังนี้ Vปoีทlี่u2m8eฉบ28ับทNี่o2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

10 การพัฒนาแนวปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลการจดั การความปวดในผู้สงู อายุ วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ ท่ไี ด้รบั การผ่าตัดขอ้ สะโพกเทียม มหาวทิ ยาลยั บูรพา ตารางที่ 1 รอ้ ยละระดับความปวดในผูส้ ูงอายุท่ผี ่าตัดขอ้ สะโพกเทียมแบง่ ตามตามระยะเวลาหลังผ่าตดั (n=30) ระยะเวลาหลังผ่าตดั รอ้ ยละของผู้ปว่ ยตามระดบั ความปวด ปวดมาก ปวดปานกลาง ปวดน้อย 24 ชว่ั โมงแรก 100.00 - - 48 ช่ัวโมงแรก 83.30 16.70 - 72 ช่ัวโมงแรก - 90.00 10.00 2.2 ระดับความพึงพอใจของผู้สูงอายุต่อการ มากโดยคะแนนเฉล่ียอยูท่ ่ี 29.45 (SD = 0.60) ซ่ึงเทา่ กัน จัดการความปวดในผู้สูงอายุที่ได้รับการผ่าตัดข้อสะโพก กบั การเปิดโอกาสให้ระบายเก่ยี วกับความปวด และผปู้ ่วย เทียม พบว่า ผู้สูงอายุมีความพึงพอใจต่อการจัดการ มีความพึงพอใจน้อยท่ีสุดเกี่ยวกับการได้รับค�าแนะน�าเพ่ือ ความปวดอยู่ในระดับมาก ซ่ึงเท่ากันกับการเปิดโอกาสให้ จัดการความปวด โดยคะแนนคา่ เฉล่ีย 9.85 (SD = 0.37) พูดคยุ ซักถาม โดยคะแนนเฉลย่ี อยทู่ ่ี 33.65 (SD = 1.90) (ตารางที่ 2) รองลงมาคอื มีการอธิบายสาเหตุของความปวดอย่ทู รี่ ะดับ ตารางที่ 2 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของระดับความพึงพอใจของผู้สูงอายุต่อการจัดการความปวดโดยรวม และรายดา้ น (n=30) ความพงึ พอใจของผู้สูงอายุ x¯ SD แปลผล การจดั การความปวด 33.65 1.90 มาก การอธิบายสาเหตุของความปวด 29.45 0.60 มาก การได้รบั คา� แนะน�าเพ่ือจดั การความปวด 9.85 0.37 น้อย การเปิดโอกาสใหพ้ ูดคยุ ซกั ถาม 33.65 1.90 มาก การเปิดโอกาสให้ระบายเกยี่ วกับความปวด 29.45 0.60 มาก รวม 27.21 1.07 มาก 2.3 การปฏิบัติตามแนวปฏิบัติการพยาบาล หลกั สตู รการจดั การความปวดระยะเวลาไมต่ า่� กวา่ 1-2 วนั การจดั การความปวดในผสู้ งู อายทุ ไี่ ดร้ บั การผา่ ตดั ขอ้ สะโพก และประสบการณ์ในการดูแลผู้ป่วยผ่าตัดข้อสะโพกเทียม เทียมที่พัฒนาข้ึน พบว่า พยาบาลผู้ใช้แนวปฏิบัติการ เฉล่ีย 7.5 ปี การปฏิบัติตามแนวปฏิบัติการพยาบาล พยาบาลส่วนใหญเ่ ป็นเพศหญิง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 96.6 อายุ การจดั การความปวดในผสู้ งู อายทุ ไ่ี ดร้ บั การผา่ ตดั ขอ้ สะโพก ระหวา่ ง 40-50 ปี คิดเป็นร้อยละ 70 จบการศึกษาระดบั เทียมท่ีพฒั นาขน้ึ (ตารางท่ี 3) ปริญญาตรี ร้อยละ 80 พยาบาลทุกคนผ่านการอบรม ปVoีทl่ีu2m8eฉบ28ับทN่ีo2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

Development of Clinical Nursing Practice Guidelines for Pain The Journal of Faculty of Nursing 11 Management in the Elderly with Hip Arthroplasty Burapha University ตารางท่ี 3 ร้อยละของการปฏิบัติตามแนวปฏิบัติการพยาบาลการจัดการความปวดในผู้สูงอายุที่ได้รับการผ่าตัดข้อ สะโพกเทียมโดยรวมและรายด้าน (n=15) การปฏบิ ตั ติ ามแนวปฏบิ ัติการพยาบาล ร้อยละ การประเมนิ ระดับความปวด 86.66 การจดั การความปวด 100.00 23.33 การจัดการความปวดโดยใช้ยา 78.89 การจัดการความปวดโดยไม่ใช้ยา 80.00 การเฝา้ ระวงั ภาวะแทรกซ้อนจากการให้ยาลดปวด 83.33 การจัดการภาวะแทรกซ้อนจากการใหย้ าลดปวด 76.66 การประเมนิ ความปวดซ้า� การบนั ทึกในเวชระเบยี น รวม 74.99 2.4 ประสทิ ธภิ าพของแนวปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล ความเป็นไปได้ ซึ่งผลเท่ากันกับ ด้านความถูกต้องและ ในการจัดการความปวดในผู้สูงอายุท่ีได้รับการผ่าตัดข้อ ครอบคลมุ โดยอยทู่ ร่ี ะดบั ปานกลาง ซงึ่ คา่ เฉลย่ี เทา่ กบั 3.80 สะโพกเทยี ม ผลการศกึ ษาพบว่า ด้านอรรถประโยชนอ์ ยูท่ ี่ (SD = 0.41) และดา้ นทม่ี คี า่ คะแนนนอ้ ยทสี่ ดุ คอื ดา้ นความ ระดบั มาก ค่าเฉล่ียอยทู่ ่ี 5.95 (SD = 0.22) รองลงมาคือ เหมาะสม โดยมีคา่ เฉลี่ย 1.80 (SD = 0.30) (ตารางท่ี 4) ตารางท่ี 4 ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของประสิทธิภาพของแนวปฏิบัติการพยาบาลในการจัดการความปวด โดยรวมและรายดา้ น (n=15) ประสทิ ธภิ าพของแนวปฏิบตั กิ ารพยาบาล x¯ SD แปลผล ด้านอรรถประโยชน์ 5.95 0.22 มาก ดา้ นความเปน็ ไปได้ 3.80 0.41 ปานกลาง ด้านความเหมาะสม 1.80 0.30 นอ้ ย ดา้ นความถูกต้องและครอบคลมุ 3.80 0.41 ปานกลาง รวม 3.83 0.33 ปานกลาง 2.5 การประเมินความสามารถในการด�าเนิน ปานกลางมากทีส่ ดุ รอ้ ยละ 80 รองลงมาคือ ภาวะพ่ึงพา ชีวิตของผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชน ซ่ึงประเมินภายหลัง รุนแรง รอ้ ยละ 18 (ตารางท่ี 5) จากผสู้ งู อายกุ ลบั ไปอยทู่ บี่ า้ น พบวา่ ผสู้ งู อายมุ ภี าวะพงึ่ พา ตารางท่ี 5 การประเมนิ ความสามารถในการด�าเนินชวี ติ ของผู้สูงอายุระยะยาวในชมุ ชน (n = 30) ความสามารถในการดา� เนนิ ชีวติ ของผูส้ งู อายุ ร้อยละ ภาวะพึง่ พาโดยสมบูรณ์ 2.00 ภาวะพึ่งพารนุ แรง 18.00 ภาวะพึง่ พาปานกลาง 80.00 Vปoีทlี่u2m8eฉบ28ับทN่ีo2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

12 การพัฒนาแนวปฏิบัตกิ ารพยาบาลการจดั การความปวดในผู้สูงอายุ วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ ทีไ่ ด้รบั การผ่าตดั ขอ้ สะโพกเทยี ม มหาวทิ ยาลัยบูรพา อภิปรายผล ความปวดได้เหมาะสม ท�าให้สามารถดูแลและประเมิน กระบวนการพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาล ผปู้ ่วยได้รวดเร็ว ซงึ่ สอดคล้องกบั การศกึ ษาของ Meelap, Saensom, and Methakanjanasak (2017) ท่ีพบว่า การจดั การความปวดในผสู้ งู อายทุ ไี่ ดร้ บั การผา่ ตดั ขอ้ สะโพก กลุ่มผู้ใช้การใช้แนวปฏิบัติพยาบาลท�าได้รับการจัดการ เทยี ม และการนา� แนวปฏบิ ตั ไิ ปใชเ้ รมิ่ จากการคน้ หาปญั หา ความปวดสมา�่ เสมอ และมกี ารประเมินความปวดซ�า้ ในหน่วยงานท้ังจากการปฏิบัติงานและจากความรู้ที่ ยังไม่อยู่บนหลักฐานเชิงประจักษ์ จนถึงระยะด�าเนินงาน ระดับความพึงพอใจของผู้สูงอายุต่อการจัดการ ทุกข้ันตอน ซึ่งการพัฒนาแนวปฏิบัติตามกรอบแนวคิดน้ี ความปวดในผู้สูงอายุท่ีได้รับการผ่าตัดข้อสะโพกเทียม มีข้อดีคือ ก�าหนดข้ันตอนการปฏิบัติที่ชัดเจน เข้าใจง่าย พบว่า ผู้สูงอายุมีความพึงพอใจต่อการจัดการความปวด ตรงกับบริบทของโรงพยาบาลมากท่ีสุด อยู่ในระดบั มาก อาจเน่ืองจากผสู้ ูงอายุได้มีการเปิดโอกาส พดู คยุ ซกั ถาม มกี ารอธบิ ายสาเหตขุ องความปวด มกี ารเปดิ ความปวดและความปวดเร้ือรังเป็นปัญหาหลัก โอกาสให้ระบายเกี่ยวกับความปวด ซึ่งสอดคล้องกับ ในการบรกิ ารสขุ ภาพระดับปฐมภูมิมากกวา่ 15 ปี จ�านวน การศกึ ษาของ Khetpanya and Suwannimitr (2015) ของผ้ปู ว่ ยท่ีทุกขท์ รมานจากความปวดไม่ลดลง ในอนาคต ที่พบว่าผู้ป่วยได้มีโอกาสการพูดคุย ซักถาม และได้รับ อันใกล้น้ี ครึ่งหนึ่งของจ�านวนผู้ป่วยท้ังหมด ความปวด การอธิบายถึงสาเหตุปัญหา ท�าให้ผู้ป่วยสามารถจัดการ ยงั เปน็ ปญั หาสขุ ภาพขนาดใหญแ่ ละมผี ลกระทบยง่ิ ใหญใ่ น ปัญหาได้เบื้องตน้ ได้ ระบบสขุ ภาพ การปรับปรงุ สามารถทา� ได้โดยการปรับปรงุ คุณภาพของการดูแลสุขภาพในระดับปฐมภูมิ (Seiger & ภายหลงั จากผสู้ งู อายกุ ลบั ไปอยทู่ บ่ี า้ นการประเมนิ Wiese, 2009) ความสามารถในการด�าเนินชีวิตของผู้สูงอายุระยะยาวใน ชมุ ชนพบวา่ ผู้สูงอายุมีภาวะพึง่ พาปานกลางมากท่สี ดุ ซ่ึง ผลลพั ธท์ สี่ า� คญั ของการวจิ ยั ครง้ั นี้ คอื ผสู้ งู อายทุ ไ่ี ด้ อาจสง่ ผลตอ่ การเกดิ ภาวะแทรกซอ้ นตามมาเชน่ ความปวด รับการผ่าตัดข้อสะโพกเทียมได้รับการจัดการความปวด เร้ือรัง และต้องใช้วิธีการจัดการความปวดหลายวิธี ซึ่ง และมีการประเมินความปวดซ้�า และผู้สูงอายุมีระดับ สอดคลอ้ งกับการศึกษาของ Balen et al. (2002) พบว่า ความปวดลดลงหลงั ไดร้ บั การจดั การความปวด นอกจากน้ี ระดับ ADL ภาวะแทรกซ้อนคุณภาพชีวิตและประเภทฅ ยังพบว่าผู้สูงอายุเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยา ของที่อยู่อาศัย ผู้สูงอายุในกลุ่มแรกจ�าหน่ายออกจาก จดั การความปวดกลมุ่ Strong opioid คือ มอี าเจียนและ โรงพยาบาลที่มีส่ิงอ�านวยความสะดวกด้านการฟื้นฟู และ ความดันโลหิตต�่า สอดคล้องกับการศึกษาในผู้สูงอายุท่ี Pitantananukune (2011) ที่พบว่าวิธีจัดการความปวด มีอายุมากกว่า 65 ปี ได้รับยาแก้ปวดกลุ่มเดียวกัน พบ ของผสู้ งู อายุ สว่ นใหญใ่ ชว้ ธิ จี ดั การความปวดมากกวา่ 1 วธิ ี อาการข้างเคียงจากการได้รับยา คือ มีอาการคล่ืนไส้ และท่ีส�าคัญความปวดมีผลกระทบต่อการเคลื่อนไหวและ อาเจยี น และมอี าการคนั ตามผวิ หนงั (Jiarpinitnun, 2014) อารมณ์มากที่สุด สอดคล้องกับการศึกษาของ Meelap เม่ือเกิดภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยทั้งหมดได้รับการประเมิน et al. (2017) ท่ีพบว่าพยาบาลมีความคิดเห็นต่อการใช้ และแก้ไขการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยาจัดการ แนวปฏิบัติในภาพรวมในระดับสูง ทั้งน้ี อภิปรายได้ว่า ความปวด ผู้สูงอายุแต่ละคนมีวิธีการจัดการความปวด แนวปฏิบัติที่พัฒนาข้ึนทุกกิจกรรมมีหลักฐานเชิงประจักษ์ หลายวิธี สอดคลอ้ งกับการศึกษาของ Pitantananukune รองรับและมีความทันสมัย มีการก�าหนดขั้นตอนและ and Surit (2011) ทพ่ี บวา่ ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ใชว้ ธิ ีจดั การ กิจกรรมท่ีชัดเจน และข้อความในกิจกรรมแต่ละข้อส้ัน ความปวด มากกว่า 1 วิธี และที่ส�าคัญความปวดมีผล กระชับ ท�าให้สามารถน�าไปปฏิบัติด้วยความม่ันใจและ กระทบต่อการเคล่ือนไหวและอารมณม์ ากท่ีสุด สามารถใช้เป็นแนวทางในการดูแลผู้ปว่ ยไดเ้ ปน็ อยา่ งดี นอกจากนี้แนวปฏิบัติทางการพยาบาลมีกิจกรรม อน่ึงเพราะปัญหาที่เกิดข้ึนเกิดจากการปฏิบัติงาน เปน็ ขน้ั ตอนชดั เจน ทา� ใหพ้ ยาบาลสามารถปฏบิ ตั ไิ ดร้ วดเรว็ และต้องการท่ีจะน�าความรู้ใหม่ท่ีทันสมัยและมีความ ส่งผลใหผ้ ู้ปว่ ยมคี วามปวดลดลง พยาบาลผู้ใชแ้ นวปฏิบตั ินี้ นา่ เชอ่ื ถอื ที่ผ่านการทบทวนมาใชใ้ นการดแู ลผสู้ ูงอายุ เพื่อ สามารถเลือกใช้เคร่ืองมือในการประเมินและจัดการ Vปoีทlี่u2m8eฉบ28ับทN่ีo2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

Development of Clinical Nursing Practice Guidelines for Pain The Journal of Faculty of Nursing 13 Management in the Elderly with Hip Arthroplasty Burapha University ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการดูแลผู้สูงอายุ ผลลัพธ์ References ของการน�าแนวปฏิบัติการพยาบาลท่ีพัฒนาข้ึนไปใช้พบว่า Abou-Setta, A. M., Beaupre, L. A., Rashiq, S., Dryden, สามารถปฏิบัติตามได้ทุกกิจกรรม มีความเป็นไปได้ ในการน�าไปปฏิบัติสามารถใช้เป็นแนวทางในการให้การ D. M., Hamm, M. P., Sadowski, C. A., Menon, พยาบาล ทา� ให้เกิดผลลพั ธท์ ี่ดีกับผู้สงู อายุได้ M. R., Majumdar, S. R., Wilson, D. M., Karkhaneh, M., Mousavi ,S. S., Wong, K., ข้อจ�ากดั Tjosvold, L., & Jones, C. A. (2011). เน่ืองจากการศึกษาคร้ังน้ีเป็นการศึกษาระยะส้ัน Comparative effectiveness of pain management interventions for hip fracture: ซึ่งผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีความรับรู้ต่อการจัดการความปวด A systematic review. Annals of internal ในภาวะเจ็บป่วยอาจไม่เท่ากัน ดังนั้น ควรใช้ระยะเวลา medicine, 155(4), 234-245. ในการศึกษาให้มากขึน้ American Society of Anesthesiologists Task Force on Neuraxial Opioids, Horlocker, T. T., ข้อเสนอแนะ Burton, A. W., Connis, R. T., Hughes, S. C., 1. การน�าแนวปฏิบัติการพยาบาลการจัดการ Nickinovich, D. G., Palmer, C. M., Pollock, J. E., Rathmell, J. P., Rosenquist, R. W., ความปวดในผ้สู งู อายุทไ่ี ดร้ ับการผา่ ตัดขอ้ สะโพกเทียม ไป Swisher, J. L., & Wu, C. L. (2009). Practice ใช้ในการดูแลผู้ป่วยผ่าตัดข้อสะโพกเทียม ควรปรับให้ guidelines for the prevention, detection, เหมาะสมกับบริบทของการรักษาและการดูแลผู้ป่วยของ and management of respiratory depression แตล่ ะโรงพยาบาล associated with neuraxial opioid administration. Anesthesiology, 111(2), 2. ควรศึกษาผลลัพธ์จากการใช้แนวปฏิบัติโดย 218-230. ประเมินประสิทธิภาพด้านค่าใช้จ่ายและการลดระยะเวลา Balen, R.V., Essink-Bot, M.L., Steyerberg, E.W., การนอนในโรงพยาบาล Cools, H.J., & Habbema, J.D. (2003). Quality of life after hip fracture: a comparison of 3. ควรมีการศึกษาเชิงเปรียบเทียบระหว่าง four health status measures in 208 patients. การดูแลโดยใช้แนวปฏิบัติทางการพยาบาลการดูแลผู้ป่วย Journal Disability and Rehabilitation. ผ่าตัดขอ้ สะโพกเทียมและผูป้ ว่ ยท่ีได้รับการดูแลปกติ 25(10), 509-519. กติ ตกิ รรมประกาศ Craig, J.V., Smyth, R.L. & Mullally, S. (2002). The ขอขอบคณุ ผสู้ งู อายกุ ลมุ่ ตวั อยา่ งทกุ คน ญาตผิ สู้ งู อายุ evidence-based practice manual for nurse. ทใ่ี หค้ วามรว่ มมอื ในการศกึ ษาวจิ ยั ครงั้ นี้ ขอบคณุ เจา้ หนา้ ที่ Edinburg: Cherchill Livingstone. โรงพยาบาลกาฬสินธุ์ท่ีเกย่ี วขอ้ งทุกทา่ น และกล่มุ ตวั อยา่ ง Gélinas, C., Arbour, C., Michaud, C., Vaillant, F., ทุกคนที่ให้ความรว่ มมอื ในการวิจัยครัง้ นี้ Desjardine, S. (2011). Implementation of the critical-care pain observation tool on pain assessment/management nursing practices in an intensive care unit with nonverbal critically ill adults : a before and after study. Int J Nurs Stud, 48, 1495-504. ปVoีทlี่u2m8eฉบ28ับทN่ีo2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

14 การพัฒนาแนวปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลการจัดการความปวดในผู้สงู อายุ วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ ทีไ่ ด้รบั การผ่าตดั ขอ้ สะโพกเทียม มหาวิทยาลยั บรู พา Gujol, M. C. (1994). A survey of pain assessment Lau, E. M. C. (2009). The epidemiology of and management practices among critical osteoporosis in Asia. International care nurses. American Journal of Critical Osteoporosis Foundation, 6(11), 190-193. Care, 3(2), 123-128. Leelerdmongkolkul, W., Danaidutsadeekul, S., Intaranongpai S., Khetphanya T., Thipsuphanphew Chanruangvanich, W., & Udomkiat, P. (2013). T., Kam S., Senchai L., Chantakat A., The relationship between body mass index, Jumroonboon W., & Sornprang S. (2015). pain, social support and the activity daily Chronic pain situational analysis and living during recovery phase in hip pain management through community arthroplasty patients. Journal of Nursing participation. Journal of Humanities and Scince, 31(2), 26-37. [In Thai] Social Sciences, Mahasarakham University, 10(special), 412-421. [In Thai] Meelap, L., Saensom, D., & Methakanjanasak, N. (2017). Clinical nursing practice guideline Jiarpinitnun J., (2014). The role of nurse for acute pain management in critically ill anesthetists nurse in taking care of patients patients. Srinagarind Medical Journal, 32(6). who have been examined and treated for 561-570. [In Thai] vascular disorders, nervous systems in Ramathibodi Hospital. Ramathibodi Nursing Melnyk, B.M. & Fineout-Overholt, E. (2005). Journal, 10(2), 92-100. [In Thai] Evidence-based practice in nursing and healthcare: A guide to best practice. Jones, L. E. (2010). First steps: The early years of Philadelphia: Lippincott William & Wilkins. IASP 1973-1984. Seattle, Washington: IASP Press. Ngamkham, S., Krutchan, N., Sawangchai, J., Wattanakul, B., Chidnayee, S., & Khetpanya, T., & Suwannimitr, A. (2015). Outcome Kiewcha-um, R. (2018). Knowledge about of care among pre surgery breast cancer Pain Assessment and Management of Thai patients in fast track surgery. The 11th Nurses. Journal of Nursing and and Health Mahasarakham university research Care, 36(1), 81-89. [In Thai] conference (pp. 486-491). Mahasarakham: Sarakhamprinting. [In Thai] Peeters, C. M., Visser, E., Van de Ree, C. L., Gosens, T., Den Oudsten, B. L., & De Vries, J. (2016). Klaewklong, S., Chanruangvanich, W., Quality of life after hip fracture in the Danaidutsadeekul, S., & Riansuwan, K. elderly: A systematic literature review. (2014). Relation of comorbidity, grip strength International Journal of the Care of the and stress to hip fracture patients’ post- Injury, 47(7), 1369-1382. doi: 10.1016/j. operative functional recovery. Thai journal injury.2016.04.018 of Nursing Council, 29(2), 36-48. [In Thai] Pitantananukune, P. & Surit, P. (2011). Chronic Kleinpell, R. M. (2017). Outcome assessment in pain management of older persons living advanced practice nursing (4th ed.). in a community. Journal of Nurses’ New York, NY: Springer Publishing. Association of Thailand, North-Eastern Division, 29(4), 58-68. [In Thai] Vปoีทlี่u2m8eฉบ28ับทNี่o2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

Development of Clinical Nursing Practice Guidelines for Pain The Journal of Faculty of Nursing 15 Management in the Elderly with Hip Arthroplasty Burapha University Seiger, C.P., & Wiese, B.S. (2009). Social support The royal college of anesthesiologists of Thailand from work and family domains as an and Thai association for the study of pain. antecedent or moderator of work-family (2012). Guideline for acute pain relief after conflict? Journal of Vocational Behavior, pain surgery. Bangkok: Tanaplace, [In Thai] 75(1), 26-37. DOI: 10.1016/j.jvb.2009.03.001 Tiloksakulchai, F. (2006). Concepts and importance Soukup, S, M. (2000). The center for advanced of evidence-based practice in the nursing practice evidence-based practice implementation of empirical evidence: model: Promoting the scholarship of Principles and practices. (5th ed.). Bangkok: practice. Nursing Clinics of North America, Pee-one. [In Thai] 35(2), 301-309. Yooyod, S. & Wongnaya, S. (2010). Development Thai association for the study of pain (TASP). of practice guideline for postoperative pain (2019). Clinical guidance for acute pain recovery room at Kamphaeng Phet hospital. Management. Retrieved January 9, 2019, The Golden Teak: Humanity and Social from http://www.anesthai.org/public/rcat/ Sciences Journal, 16(1), 156-167. [In Thai] Documents/ [In Thai] The National Guideline Clearinghouse. (2007). Retrieved January 19, 2019, from http:// www.ahrq.gov/research/findings/factsheets /errors-safety/ngc/national-guideline-clear inghouse.html ปVoีทlี่u2m8eฉบ28ับทNี่o2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

ศักยภาพของชมุ ชนในการสรา้ งเสรมิ สุขภาพของสตรตี งั้ ครรภ์ โดยชมุ ชนเปนฐาน อรอนงค์ บัวลา, PhC.1* ขนษิ ฐา นันทบตุ ร, Ph.D.2 บทคัดย่อ การศกึ ษาเชงิ ชาตพิ นั ธว์ุ รรณาแบบเจาะจงนมี้ วี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ศกึ ษาศกั ยภาพของชมุ ชนในการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ สตรีต้ังครรภ์ ผู้ให้ข้อมูลเป็นสตรีตั้งครรภ์ ผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพของสตรีต้ังครรภ์รวม 150 ราย เกบ็ ข้อมูลใช้การสงั เกต สัมภาษณ์ และสนทนากลุ่ม วิเคราะหข์ อ้ มูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาสะท้อนให้เห็นถึงสภาพสังคม เศรษฐกิจ สุขภาพของสตรีตั้งครรภ์ สตรีตั้งครรภ์และคนในชุมชนมี ศกั ยภาพทจ่ี ะดแู ลสขุ ภาพตนเองและสมาชกิ ในครอบครวั ได้ กลมุ่ องคก์ รชมุ ชนและองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ มสี ว่ นรว่ ม ส่งเสริมสุขภาพสตรีตั้งครรภ์ ซึ่งกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพของสตรีต้ังครรภ์ของชุมชนในระยะตั้งครรภ์ ได้แก่ การพัฒนาทักษะส่วนบุคคลโดยเฉพาะในรายที่เป็นแม่เล้ียงเดี่ยว ต้ังครรภ์แรก หรือฐานะยากจน การให้บริการสุขภาพ และช่วยเหลือฉุกเฉิน การจัดสภาวะแวดล้อม สนับสนุนการเข้าถึงสิทธิสวัสดิการจากรัฐและชุมชน กิจกรรมในระยะ หลังคลอดและเลี้ยงดูเด็ก ได้แก่ การพัฒนาทักษะสตรีหลังคลอด การให้บริการสุขภาพ การดูแลภาวะสุขภาพตามวิถี วฒั นธรรมท้องถ่ิน จัดสรรงบประมาณเพ่ือสมทบกองทุนหลกั ประกันสุขภาพ การท�างานเชื่อมประสานกันในทกุ ภาคส่วน ท�าให้เกิดการขับเคล่ือนงานในการสร้างเสริมสุขภาพของสตรีต้ังครรภ์ในชุมชนอย่างครอบคลุมในทุกมิติ เพ่ือน�าใช้เป็น แนวทางในการจัดท�าแผนยุทธศาสตร์เพื่อการดูแลสตรีตั้งครรภ์ในชุมชนโดยเฉพาะอย่างย่ิงในสตรีตั้งครรภ์ท่ีมีภาวะ ยากลา� บาก พัฒนาศักยภาพพยาบาลให้มีสมรรถนะบทบาทครอบคลุมตามยทุ ธศาสตรก์ ารสรา้ งเสริมสุขภาพ คา� ส�าคัญ: ศักยภาพ ชุมชนเป็นฐาน สร้างเสริมสุขภาพ สตรตี ัง้ ครรภ์ 1 นักศึกษาหลกั สตู รปรัชญาดษุ ฎีบัณฑติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ 2 รองศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น * ผ้เู ขยี นหลกั e-mail: [email protected] Received 01/06/2019 Revised 02/07/2019 Accept 14/07/2019

Potentials of Community in Community-Based Health Promotion for Pregnant Woman Onanong Buala, PhC.1*, Khanitta Nuntaboot, Ph.D.2 Abstract This focused ethnography aimed to explore the potential of community-based health promotion for pregnant woman. The participants were pregnant women and those involved in health promotion for pregnant women in the community, a total of 150 people. Data were collected by observation, interviews and group discussions. Content analysis was used for data analysis. The results reflected the social, economic and health conditions of pregnant women. Pregnant women and people in the community had the potential to learn and take care of their own health and that of family members. Community Organizations and the Local Administrative Organization engaged in health promotion activities for pregnant women in the community. Activities during pregnancy included: developing personal skills, especially in poor mothers, single mothers and those with their first pregnancy; providing health services and emergency assistance services; managing the environment, and; supporting access to rights and welfare from the government and community. Activities in the postpartum period and the child-rearing period; developing maternal skills and culturally-appropriate health services and care were provided, and a budget was allocated for health insurance. The interoperability of all sectors drives the promotion of pregnant women’s health in the community across all dimensions. Recommendations include preparing a strategic plan for the care of pregnant women in the community, especially underprivileged pregnant women, and developing the competency and potential of nurses to better fulfill their roles in accordance with the strategic plan for health promotion. Keywords: potentials, community-based, health promotion, pregnant woman 1 PhD candidate, Doctor of Philosophy (Nursing Science), Faculty of Nursing, KhonKaen University 2 Associate Professor, Faculty of Nursing, KhonKaen University * Corresponding author e-mail: [email protected]

18 ศักยภาพของชมุ ชนในการสรา้ งเสริมสุขภาพของสตรตี งั้ ครรภโ์ ดยชุมชนเป็นฐาน วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั บูรพา ความสา� คัญของปญั หา จะช่วยเพ่ิมคุณภาพชีวิตของสตรีต้ังครรภ์ ซึ่งสมาชิกใน การส่งเสริมให้มีการเกิดอย่างมีคุณภาพจ�าเป็นที่ ครอบครัวและชุมชนมีส่วนส�าคัญอย่างยิ่งในการสนับสนุน และส่งเสริมให้สตรีต้ังครรภ์มีพฤติกรรมการดูแลภาวะ ต้องมุ่งเน้นในเร่ืองการส่งเสริมและมีการจัดการต้ังแต่ สุขภาพที่ดีอันจะส่งผลต่อคุณภาพของการตั้งครรภ์ และ กอ่ นตง้ั ครรภ์ ระยะตั้งครรภ์ ไปจนถึงระยะหลงั คลอด และ ภาวะสุขภาพของทารกในครรภ์ที่จะถือก�าเนิดต่อไป ซ่ึง เล้ียงดูเด็ก ในระยะต้ังครรภ์เป็นช่วงที่สตรีวัยเจริญพันธุ์มี ปจั จบุ นั มนี โยบายทง้ั นโยบายระดบั นานาชาติ และนโยบาย การเปล่ียนแปลงทง้ั ทางด้านรา่ งกาย จติ ใจ และสถานภาพ ระดับประเทศท่ีให้ความส�าคัญกับภาวะสุขภาพของสตรี ทางสังคม รวมทั้งเปล่ียนแปลงบทบาทการเป็นมารดาซึ่ง ตงั้ ครรภโ์ ดยในเปา้ หมายการพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื (Sustainable การเปลยี่ นแปลงทเี่ กดิ ขนึ้ จะสง่ ผลตอ่ พฤตกิ รรมการปฏบิ ตั ิ Development Goals: SDGs) ท่ปี ระเทศตา่ ง ๆ ทว่ั โลก ตัว การท�ากิจกรรมในชีวิตประจ�าวันอันจะส่งผลถึงภาวะ ยึดเป็นแนวทางหลักในการปฏิบัติเพื่อพัฒนาประเทศให้ สุขภาพของสตรีต้ังครรภ์และทารกในครรภ์ จากสถิติท่ี เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน ใน SDGs เป้าหมายที่ 3 มี รวบรวมโดยส�านักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวง เป้าประสงค์ในการลดอัตราการตายของมารดา และยุติ สาธารณสุข พบว่าอตั ราตายของมารดาในประเทศไทย ใน การตายท่ีป้องกันได้ของทารกแรกเกิดและเด็กอายุต�่ากว่า ปี พ.ศ. 2560 มอี ตั ราตายของมารดา 21.8 ตอ่ การเกดิ มชี พี 5 ปี (United Nations, 2019) และนโยบายระดบั ประเทศ 100,000 คน อตั ราการตายของมารดาและทารกท่ีเกดิ ขนึ้ มีจุดมุ่งเน้นในการให้ความส�าคัญในภาวะสุขภาพของสตรี มสี าเหตสุ ว่ นหนง่ึ มาจากพฤตกิ รรมการดแู ลสขุ ภาพของสตรี ตั้งครรภ์และทารกในครรภ์โดยมีการก�าหนดแผนการ ตั้งครรภ์ เชน่ ไม่ไดม้ กี ารเตรียมตัวหรอื เตรยี มสุขภาพให้มี ด�าเนินงานที่มีความเกี่ยวข้องทางด้านสุขภาพของสตรี ความพรอ้ มในการตง้ั ครรภ์ การไมฝ่ ากครรภ์ การฝากครรภ์ ตั้งครรภ์เพื่อสร้างเสริมศักยภาพกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย ล่าช้า ขาดความตอ่ เนอื่ งในการฝากครรภ์ การรบั ประทาน ได้แก่ แผนยทุ ธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสขุ ) อาหารไม่ครบตามหลักโภชนาการ การอยูใ่ นส่งิ แวดล้อมท่ี ทม่ี งุ่ ใหค้ วามสา� คญั กบั สตรตี ง้ั ครรภท์ กุ รายใหไ้ ดร้ บั การดแู ล ไมเ่ หมาะสมทัง้ ท่ีบา้ นและในชมุ ชน การขาดข้อมูลขา่ วสาร ตลอดการคลอดอยา่ งมคี ณุ ภาพไดม้ าตรฐาน สอดคลอ้ งกบั และความรดู้ า้ นสขุ ภาพทถ่ี กู ตอ้ ง และปจั จยั อน่ื ๆ ทงั้ ทางตรง ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561-2580) ซึ่งมีจุดมุ่งเน้นการ และทางอ้อมที่ส่งผลท�าให้การต้ังครรภ์ขาดคุณภาพส่งผล พัฒนาคนเชิงคุณภาพในทุกช่วงวัยต้ังแต่ช่วงการตั้งครรภ์ ต่อภาวะสุขภาพของท้ังสตรีต้ังครรภ์และทารกในครรภ์ จนถงึ วยั ผู้สูงอายุ โดยในช่วงการตง้ั ครรภจ์ ะม่งุ เน้นในเร่อื ง ตลอดจนภายหลงั การคลอดมอี ตั ราการเล้ียงลูกด้วยนมแม่ การส่งเสริมอนามัยแม่และเด็กตั้งแต่เร่ิมตั้งครรภ์ ส่งเสริม อยา่ งเดยี วจนถงึ อายุ 6 เดอื น ทค่ี อ่ นขา้ งตา่� ซงึ่ ประเทศไทย การเกิดอย่างมีคุณภาพ สนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ มกี ารเลยี้ งลกู ดว้ ยนมแมเ่ พยี งอยา่ งเดยี วจนถงึ อายุ 6 เดอื น นอกจากน้ันยังมีธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ ต่�าที่สุดในภูมิภาคเอเชีย จากการส�ารวจสถานการณ์เด็ก ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2559 ที่มีหลักการส�าคัญคือการบริการ และสตรใี นประเทศไทยของสา� นกั งานสถติ แิ หง่ ชาตริ ว่ มกบั สาธารณสุขต้องมุ่งสู่การมีสุขภาพดีอย่างถ้วนหน้า และ องคก์ ารทนุ เพอ่ื เดก็ แหง่ สหประชาชาติ พบวา่ ปี พ.ศ. 2558 สามารถดูแลสุขภาพประชาชนอย่างต่อเน่ืองต้ังแต่เกิด มีทารกที่ได้กินนมแม่เพียงอย่างเดียวจนถึงอายุ 6 เดือน จนตาย หรือตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดาจนถึงเชิงตะกอน ร้อยละ 23.9 และปี พ.ศ. 2559 ทารกท่ีได้กินนมแม่ สอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัย เพยี งอย่างเดียวจนถึงอายุ 6 เดือน รอ้ ยละ 23.3 มีทารก การเจริญพันธุ์ฉบับท่ี 2 (พ.ศ. 2560 - 2569) ที่ว่าด้วย รอ้ ยละ 40 ทไี่ ด้กินนมแม่ภายใน 1 ชัว่ โมงแรกหลงั คลอด การส่งเสริมการเกิดและการเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพ ซ่ึงอาจจะข้ึนอยู่กับปัจจัยภาวะสุขภาพของแม่และทารก สง่ เสรมิ ใหล้ กู เกดิ รอด แมป่ ลอดภยั ไดร้ บั การดแู ลหลงั คลอด ภายหลังคลอด และมที ารกเพยี งร้อยละ 13 ท่ไี ด้กินนมแม่ ที่ดี และนโยบายเงินอดุ หนนุ เพอ่ื การเลยี้ งดเู ด็กแรกเกิด ที่ ตอ่ เนอ่ื งจนถึง 2 ปี มงุ่ เนน้ สง่ เสรมิ สนบั สนนุ สวสั ดกิ าร เพมิ่ โอกาสและชอ่ งทาง ในการเขา้ ถงึ สทิ ธอิ ยา่ งเปน็ ระบบเพอ่ื ใหเ้ ดก็ ไดร้ บั การเลยี้ งดู การลดพฤตกิ รรมเสยี่ งและสง่ เสรมิ ใหส้ ตรตี งั้ ครรภ์ มกี ารดแู ลสขุ ภาพทด่ี ี สามารถดแู ลตนเองไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ปVoีทlี่u2m8eฉบ28ับทN่ีo2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

Potentials of community in community-based health promotion The Journal of Faculty of Nursing 19 for pregnant woman Burapha University ท่ีมีคุณภาพและมีพัฒนาการสมวัย (Department of พบว่าหลักฐานเชิงประจักษ์ท่ีเก่ียวข้องกับการสร้างเสริม children & youth , 2016 ; Ministry of Public Health, สขุ ภาพของสตรตี งั้ ครรภย์ งั มคี อ่ นขา้ งนอ้ ย ซงึ่ สว่ นใหญเ่ ปน็ 2017) เรื่องการให้ความรู้ทางด้านสุขภาพ เช่น การให้ความรู้ ในเรอื่ งโภชนาการ แตไ่ มพ่ บประเดน็ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ ชุมชนเป็นหน่วยสังคมที่เล็กแต่เป็นรากฐานส�าคัญ ของสตรีตั้งครรภ์ในบริบทของชุมชนที่มีทุนทางสังคม ของประเทศและสตรีตั้งครรภ์เป็นสมาชิกในชุมชนที่มี ในระดับบุคคล กลุ่มองค์กรชุมชน และหน่วยงานเข้ามา บทบาทส�าคัญในการสร้างและพัฒนาสมาชิกใหม่ให้กับ มสี ว่ นรว่ มในการดา� เนนิ งาน ทา� กจิ กรรมรว่ มกนั อนั เปน็ การ ชุมชน การค�านึงถึงภาวะสุขภาพและคุณภาพชีวิตของ แสดงให้เห็นถึงจุดมุ่งหมายในการส่งเสริม สนับสนุน สตรีต้ังครรภ์จึงเป็นบทบาทหน้าท่ีร่วมกันของทุกภาคส่วน พฤตกิ รรมสว่ นบคุ คลของสตรตี ง้ั ครรภ์ ตลอดจนการนา� เอา ในชุมชนที่ต้องเข้ามามีส่วนในการดูแล ช่วยเหลือ จัดการ ภูมิปัญญาท้องถ่ินมาประยุกต์ใช้ในการดูแลภาวะสุขภาพ ใหส้ ตรตี ง้ั ครรภไ์ ดร้ บั การดแู ลทงั้ ทางดา้ นสขุ ภาพและอยา่ ง การจัดการสภาวะแวดล้อมเพ่ือส่งเสริมให้สตรีตั้งครรภ์มี ครบถ้วนในทกุ มิติ สุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดี แสดงให้เห็นว่าปัจจุบันยังมี ช่องว่างขององค์ความรู้เก่ียวกับการสร้างเสริมสุขภาพ การศึกษาการดูแลสตรีตั้งครรภ์ภายใต้บริบทของ ของสตรีต้ังครรภ์ในชุมชน ซ่ึงการสร้างเสริมสุขภาพ สังคมวัฒนธรรมชุมชนจะสะท้อนให้เห็นกลไกต่าง ๆ ของ ของสตรีตั้งครรภ์เป็นการเพ่ิมคุณภาพชีวิตให้สตรีตั้งครรภ์ ชุมชนท้ังที่มีอยู่ในระบบการบริหารจัดการของภาครัฐ สามารถเทียบเคียงได้กับนโยบายทั้งนโยบายระดับ และจากความเข้มแข็งขององค์กรชุมชนท่ีเก้ือหนุนต่อการ นานาชาติ และนโยบายระดับประเทศที่เกี่ยวข้องกับ พัฒนาสุขภาพอนามัยสตรีตั้งครรภ์และทารกในครรภ์ซึ่ง การตง้ั ครรภ์ โดยมกี ารนา� บรบิ ทของชมุ ชนเขา้ มามสี ว่ นรว่ ม การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพสตรตี ง้ั ครรภใ์ นชมุ ชนตอ้ งอาศยั ความ ในการสร้างเสริมสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์ มีองค์กรหลัก รว่ มมอื จากทกุ ภาคสว่ นทม่ี อี ยใู่ นชมุ ชน ไดแ้ ก่ สตรตี งั้ ครรภ์ ในชุมชนท�าหน้าท่ีในการเชื่อมประสานกับภาคประชาชน และครอบครวั หนว่ ยบริการสุขภาพในชมุ ชน กล่มุ องค์กร กลมุ่ ตา่ ง ๆ ตลอดจนหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง เชน่ หนว่ ยบรกิ าร ในชุมชน เช่น อาสาสมัครสาธารณสขุ ประจา� หมูบ่ า้ น และ สุขภาพในชุมชน โดยกระบวนการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ เขา้ มาด�าเนนิ งานและกิจกรรม เกิดความยั่งยืนและมีผลลัพธ์เป็นไปตามเป้าหมายและมี สนับสนุน และสร้างเสริมให้สตรีต้ังครรภ์มีพฤติกรรม ความสอดคล้องกับนโยบายทั้งนโยบายระดับนานาชาติ การดูแลภาวะสุขภาพที่ดีโดยมีการให้ข้อมูล ความรู้ นโยบายระดบั ประเทศและเพอ่ื ใหเ้ กดิ การพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื นน้ั ให้บริการทางด้านสุขภาพโดยบุคลากรทางด้านสุขภาพ ต้องใช้ทุนและศักยภาพในการจัดการของชุมชนมาเป็น ในชุมชน ตลอดจนหนุนเสริมการเสริมสร้างคุณภาพชีวิต ฐานคดิ เพอ่ื ดา� เนนิ การจดั การปจั จยั กา� หนดทางดา้ นสขุ ภาพ ของสตรีตั้งครรภ์ในทุกมิติเพื่อให้สตรีต้ังครรภ์มีภาวะ ของสตรีตั้งครรภ์ให้ลดน้อยลง เพ่ือให้เกิดการสร้างเสริม สุขภาพที่ดีอันจะส่งผลต่อคุณภาพของการต้ังครรภ์ และ สขุ ภาพแกส่ ตรตี ัง้ ครรภท์ ่เี นน้ การปรบั พฤติกรรม การปรับ ภาวะสุขภาพของทารกในครรภ์ซ่ึงจะเติบโตเป็นประชากร เปล่ียนการให้บริการสุขภาพ การจัดการส่ิงแวดล้อมให้ ท่ีมีคุณภาพของสังคมและเป็นก�าลังส�าคัญของการพัฒนา เหมาะสม และเกดิ กระบวนการสรา้ งนโยบายสาธารณะเพอ่ื ประเทศต่อไปต่อไปในอนาคต สรา้ งเสรมิ สขุ ภาพแกส่ ตรตี ง้ั ครรภโ์ ดยชมุ ชนในอนาคต โดย อาศัยหลกั ปรัชญาหลังสมยั ใหม่ (Postmodernism) และ วัตถุประสงค์ของการวจิ ยั ปรัชญาการตีความ (Interpretivism) มองปรากฏการณ์ เพ่ือศึกษาศักยภาพของชุมชนในการสร้างเสริม เกย่ี วกบั สตรตี งั้ ครรภใ์ นชมุ ชนซงึ่ สตรตี ง้ั ครรภท์ อ่ี ยใู่ นชมุ ชน มคี วามหลากหลาย แตกตา่ งกัน ทั้งสตรตี ง้ั ครรภท์ ม่ี ีภาวะ สุขภาพสตรตี ้งั ครรภ์ สขุ ภาพปกติ สตรตี งั้ ครรภท์ มี่ ภี าวะแทรกซอ้ น สตรตี งั้ ครรภ์ วยั รุ่น สตรีตงั้ ครรภ์เมอ่ื อายมุ าก สตรตี ง้ั ครรภท์ ีแ่ บ่งไดต้ าม กรอบแนวคดิ การวิจยั จากการทบทวนวรรณกรรมท่ีเก่ียวข้องกับ การสร้างเสริมสุขภาพโดยชุมชนเป็นฐานเพ่ือสตรีต้ังครรภ์ Vปoีทl่ีu2m8eฉบ28ับทN่ีo2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

20 ศกั ยภาพของชุมชนในการสร้างเสริมสุขภาพของสตรีตัง้ ครรภ์โดยชุมชนเปน็ ฐาน วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบรู พา อายุครรภ์หรือไตรมาส สตรีต้ังครรภ์ท่ีอยู่คนเดียว สตรี ต�าบล 2 แหง่ และศนู ย์บริการสาธารณสุขเทศบาลตา� บล ตั้งครรภ์ท่ีเป็นแม่เล้ียงเดี่ยว สตรีตั้งครรภ์ที่มีฐานะยากจน และมีการเช่ือมประสานในการด�าเนินงานร่วมกันกับ สตรตี ง้ั ครรภท์ มี่ กี ารเตรยี มความพรอ้ มในการตง้ั ครรภ์ และ กลุ่มองค์กรชุมชน ได้แก่ กลุ่ม อสม. 3) องค์กรปกครอง สตรีตั้งครรภ์ทไี่ มไ่ ด้เตรยี มพร้อมในการต้งั ครรภ์ ส่วนท้องถิ่นมีกิจกรรมการด�าเนินงานท่ีมีความเก่ียวข้อง ในการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพของสตรตี งั้ ครรภ์ มกี ารปรบั เปลย่ี น วิธีดา� เนินการวิจยั ระบบบริการสุขภาพที่เป็นการร่วมคิด ร่วมท�าโดยอาศัย การศกึ ษานเ้ี ปน็ การวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพดว้ ยวธิ กี ารวจิ ยั ความรว่ มมือกนั ระหวา่ งสมาชิกในชุมชน เชิงชาติพันธุ์วรรณาแบบเจาะจง (Focus Ethnography) เคร่อื งมือทใ่ี ชใ้ นการวิจัย (Fetterman, 1998) เพอื่ ทา� ความเขา้ ใจการดแู ลสตรตี งั้ ครรภ์ ผู้วิจัยใช้แนวทางการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วมและ ภายใตบ้ รบิ ทของสงั คมวฒั นธรรมชมุ ชนและสะทอ้ นใหเ้ หน็ การสังเกตแบบมีส่วนร่วม แนวทางการสัมภาษณ์เชิงลึก กลไกต่าง ๆ ของชุมชนที่หนุนเสรมิ การสร้างเสริมสุขภาพ แนวทางการสนทนากลุ่มที่สร้างขึ้นโดยผ่านการพิจารณา สตรตี งั้ ครรภ์ การเขา้ ถงึ ผใู้ หข้ อ้ มลู ซงึ่ ดา� เนนิ การใน 2 ลกั ษณะ ความเหมาะสม ความเห็นชอบและตรวจสอบความ คอื ผวู้ จิ ยั ประสานกบั คนในพนื้ ท่ี หรอื ผทู้ มี่ ขี อ้ มลู ของชมุ ชน ครอบคลมุ ของแนวคา� ถามจากผเู้ ชยี่ วชาญ (Morse, 2012; (Gate keeper) ซ่ึงได้แก่ เจ้าหน้าที่องค์กรปกครอง Nuntaboot, 2010; Nuntaboot, 2013) และไดท้ �าการ ส่วนท้องถิ่น (อปท.) เจ้าหน้าที่ในหน่วยบริการสุขภาพ เก็บข้อมูลโดยเก็บข้อมูลในผู้ให้ข้อมูลในกลุ่มท่ี 1 ท่ีเป็น อาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจา� หม่บู า้ น (อสม.) อาสาสมัคร สตรีตั้งครรภ์ และกลุ่มท่ี 2 ผู้ที่มีบทบาทโดดเด่นในเรื่อง เช่ียวชาญอนามยั แม่และเด็ก เพ่อื หาขอ้ มลู ในเบือ้ งต้นและ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพสตรตี ง้ั ครรภแ์ ละผทู้ ใี่ หก้ ารสนบั สนนุ ช้ีเป้าผู้ให้ข้อมูล ท�าการศึกษาในผู้ให้ข้อมูลกลุ่มที่ 1 เป็น สร้างเสริมสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์ในชุมชน ดังนี้ 1) ใช้ สตรตี ง้ั ครรภจ์ า� นวน 48 คน และกลมุ่ ท่ี 2 เปน็ ผทู้ มี่ บี ทบาท แนวทางการสังเกต เพ่ือท�าการสังเกตท้ังการสังเกตแบบ โดดเด่นในเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพสตรีตั้งครรภ์ ได้แก่ ไม่มีส่วนร่วมและการสังเกตแบบมีส่วนร่วมเพื่อศึกษา เจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�าบล อสม. ในสถานการณ์ที่เกิดข้ึนจริงตามบริบทของชุมชนท่ีศึกษา อาสาสมัครเช่ียวชาญอนามัยแม่และเด็ก ปราชญ์สมุนไพร 2) ใชแ้ นวทางการสมั ภาษณเ์ ชงิ ลกึ เพอื่ ศกึ ษาทา� ความเขา้ ใจ ผดงุ ครรภ์โบราณ แพทยพ์ ื้นบ้าน และผทู้ ใ่ี ห้การสนบั สนุน ในวถิ ชี วี ติ ของสตรตี งั้ ครรภ์ ตลอดจนลกั ษณะของการสรา้ ง สร้างเสริมสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์ในชุมชน ได้แก่ นายก เสริมสขุ ภาพของสตรตี ั้งครรภ์ในชุมชน และ 3) ใช้แนวทาง เทศมนตรี รองนายกเทศมนตรี ปลดั เทศบาลตา� บล หวั หนา้ การสนทนากลุ่มผูใ้ หข้ ้อมูลในกลมุ่ ท่ี 1 ทเ่ี ป็นสตรีตั้งครรภ์ สา� นกั ปลดั เทศบาลตา� บล ผอู้ า� นวยการกองสาธารณสขุ และ และแนวทางการสนทนากลุ่มผู้ให้ข้อมูลกลุ่มที่ 2 ผู้ที่มี สงิ่ แวดลอ้ ม นกั วชิ าการการศกึ ษา นกั พฒั นาชมุ ชน จา� นวน บทบาทโดดเดน่ ในเรอ่ื งการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพสตรตี ง้ั ครรภ์ 102 คน รวมท้งั หมด 150 คน โดยทา� การศกึ ษาในชมุ ชน และผทู้ ใ่ี หก้ ารสนบั สนนุ สรา้ งเสรมิ สขุ ภาพของสตรตี ง้ั ครรภ์ แหง่ หนงึ่ ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ตอนบนซง่ึ เปน็ พนื้ ทที่ ี่ ในชมุ ชน เพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ คดิ เหน็ รว่ มในประเดน็ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั โดดเด่นในเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพในสตรีตั้งครรภ์ใน ศกั ยภาพของชมุ ชนในการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพของสตรตี งั้ ครรภ์ ชุมชน โดยมีองค์ประกอบ 3 ภาคส่วน ได้แก่ 1) ภาค โดยผู้วิจัยเป็นผู้ด�าเนินการในการสังเกต สัมภาษณ์ และ ประชาชน ผนู้ �า แกนน�า คนสา� คัญ หรือมีกลมุ่ ทมี่ กี จิ กรรม สนทนากลุ่มด้วยตนเองทั้งหมดและมีการตรวจสอบ การดา� เนินงานทีม่ ีความเกยี่ วข้องในการสร้างเสริมสุขภาพ ความครอบคลุมประเด็นเน้ือหาที่ได้จากการเก็บข้อมูล ของสตรตี ง้ั ครรภ์ ไดแ้ ก่ อสม. อาสาสมคั รเชย่ี วชาญอนามยั ตลอดระยะเวลาในการเกบ็ ขอ้ มูล แม่และเด็ก กลุ่มสตรี กลุ่มออมทรัพย์ กองทุนสวัสดิการ การพิทกั ษส์ ิทธผ์ิ ู้ใหข้ ้อมลู กลมุ่ อาชพี ตา่ ง ๆ 2) หนว่ ยบรกิ ารสขุ ภาพในชมุ ชนมที งั้ หมด การเกบ็ ขอ้ มูลมีการดา� เนนิ การเมือ่ ผา่ นการรบั รอง 3 แห่ง มีการด�าเนินงานและกิจกรรมในการสร้างเสริม จากจากคณะกรรมการพจิ ารณาจรยิ ธรรมการวจิ ยั ในมนษุ ย์ สขุ ภาพสตรีตงั้ ครรภใ์ นชมุ ชน โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น เลขท่ี HE602284 โดยมรี ะยะเวลา ปVoีทlี่u2m8eฉบ28ับทN่ีo2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

Potentials of community in community-based health promotion The Journal of Faculty of Nursing 21 for pregnant woman Burapha University ดา� เนนิ การวจิ ยั ตงั้ แต่ พฤศจกิ ายน 2560 ถงึ ธนั วาคม 2561 การบนั ทกึ เสยี งสมั ภาษณ์ ทา� การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ในเบอื้ งตน้ และมีการชี้แจงข้อมูลเก่ียวกับการวิจัยแก่ผู้ให้ข้อมูลอย่าง เพื่อตรวจสอบความครบถ้วนสมบูรณ์ของข้อมูลที่ได้จาก ละเอยี ดทุกขน้ั ตอน และให้ผ้ใู ห้ขอ้ มูลลงลายมอื ช่ือในแบบ การสัมภาษณ์ ดา� เนินการสนทนากลุม่ (Focus group) ใน ยนิ ยอมใหท้ า� การวจิ ยั กอ่ นเกบ็ ขอ้ มลู โดยการสงั เกต สมั ภาษณ์ กลมุ่ สตรตี ัง้ ครรภ์ และในกล่มุ ผทู้ มี่ ีบทบาทโดดเด่นในเรอื่ ง และสนทนากลุ่มทุกครั้งและขออนุญาตบันทึกเทปในการ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพสตรตี งั้ ครรภใ์ นชมุ ชน ไดแ้ ก่ กลมุ่ อสม. สมั ภาษณ์ โดยไมเ่ ปดิ เผยข้อมลู ของผู้ให้ขอ้ มูลแตล่ ะบคุ คล อาสาสมัครเชี่ยวชาญอนามัยแม่และเด็ก ปราชญ์สมุนไพร และเสนอผลการวจิ ยั เปน็ ข้อมูลภาพรวมในเชงิ วชิ าการ ผดงุ ครรภโ์ บราณ แพทย์พืน้ บ้าน และผ้ทู ีใ่ หก้ ารสนับสนุน สร้างเสริมสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์ในชุมชนภายหลังจาก การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล สมั ภาษณเ์ ชงิ ลกึ เสรจ็ สนิ้ โดยทา� การอธบิ ายชแ้ี จงวตั ถปุ ระสงค์ ทา� การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู โดยแบง่ ออกเปน็ 3 ระยะ ของการสนทนากลมุ่ และขอความยนิ ยอม ทา� การวเิ คราะห์ ดงั น้ี ข้อมูลเบ้ืองต้นเพ่ือให้มองเห็นความสมบูรณ์ครบถ้วนของ ระยะท่ี 1 การศึกษาบริบทชุมชน ศึกษาวิถีชีวิต ข้อมลู ของสตรีต้ังครรภ์ และสถานการณ์การสร้างเสริมสุขภาพ สตรตี งั้ ครรภใ์ นชมุ ชนซง่ึ มกี ารดา� เนนิ การโดยทา� หนงั สอื จาก ระยะท่ี 3 ระยะการสังเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ เพอื่ ขออนญุ าต สังเคราะห์ข้อมูลท่ีได้จากการศึกษา ได้แก่ สังเคราะห์ ท�าการศึกษาวิจัยในพื้นท่ีและเข้าไปในพื้นท่ีการวิจัย และ ความหมายเพอื่ สรา้ งคา� จา� กดั ความ ลกั ษณะ และองคป์ ระกอบ ผวู้ จิ ยั แนะนา� ตวั และชแ้ี จงรายละเอยี ดของโครงการวจิ ยั ตอ่ วิธีการ กระบวนการ คน และผลในประเด็นศักยภาพ ผบู้ รหิ ารขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ และผนู้ า� ในทอ้ งท่ี ของชมุ ชนในการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพสตรตี ง้ั ครรภ์ และปจั จยั ทา� การศกึ ษาบรบิ ทชมุ ชนผา่ นการตดิ ตอ่ กบั บคุ คลทส่ี ามารถ เง่ือนไขท่ีเก่ียวข้องและมีผลต่อศักยภาพของชุมชนในการ เป็นผู้น�าทางซ่ึงเป็นบุคคลที่ประชาชนในพ้ืนที่รู้จักเป็น สร้างเสริมสุขภาพสตรีต้ังครรภ์และสรุปเป็นข้อเสนอต่อ อยา่ งดี และเปน็ ผทู้ ม่ี คี วามเกยี่ วขอ้ งกบั การดา� เนนิ กจิ กรรม ชุมชน เจ้าหน้าที่ในหน่วยบริการสุขภาพและหน่วยงาน การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพของสตรตี ง้ั ครรภ์ ทา� การศกึ ษาบรบิ ท องค์กรทเ่ี กย่ี วข้องในชมุ ชน และด�าเนินการตรวจสอบด้วย สังคม วัฒนธรรม ลักษณะการด�าเนินชีวิตท่ัวไปของ วธิ กี ารตรวจสอบสามเสา้ (Triangulation) โดยเกบ็ รวบรวม ประชาชนในพ้นื ที่ โครงสร้างพืน้ ฐานของชุมชน และจัดทา� ดว้ ยวิธกี ารที่หลากหลาย (method triangulation) เก็บ แผนทข่ี องกลมุ่ องคก์ ร และการดา� เนนิ กจิ กรรมการสรา้ งเสรมิ รวบรวมขอ้ มลู ในเวลาทแ่ี ตกตา่ งกนั (data triangulation) สุขภาพโดยการเข้าไปสังเกตแบบมีสว่ นร่วม (Participant การเข้าพื้นที่อย่างต่อเน่ืองและสม่�าเสมอเพ่ือให้ผู้ให้ข้อมูล observation) เพอื่ ใหไ้ ดเ้ หน็ ขอ้ มลู ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั พนื้ ทที่ าง เกดิ ความไวว้ างใจและตอบคา� ถามตามทเ่ี ปน็ จรงิ การเขา้ รว่ ม กายภาพ การดา� เนินกจิ กรรมของกลุม่ องคก์ ร สถานทที่ ม่ี ี กิจกรรมของพ้ืนที่เพื่อสะท้อนและยืนยันข้อมูล และ ความเกยี่ วขอ้ งกบั การดา� เนนิ กจิ กรรม เปา้ หมายของแตล่ ะ ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของผลสรุปจากการศึกษา โดย กจิ กรรม เหตกุ ารณ์ กลุ่ม ลกั ษณะของกล่มุ สมาชกิ กลุม่ ที่ การตรวจสอบกบั ผูใ้ ห้ข้อมูล การวิพากษโ์ ดยผเู้ ก็บรวบรวม เกยี่ วขอ้ งกบั กจิ กรรมการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพของสตรตี งั้ ครรภ์ ขอ้ มลู และท�าการตรวจสอบขอ้ มูลกับผเู้ ชี่ยวชาญ ระยะท่ี 2 การศกึ ษากระบวนการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ ของสตรีตั้งครรภ์ ได้แก่ จัดท�าแผนในการศึกษาข้อมูล การวเิ คราะห์ขอ้ มูล (Fetterman, 1998 ; Guba กระบวนการสร้างเสริมสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์ โดยใช้ & Lincoln, 1985 ; Lecompte & Schensul. , 1999) การสัมภาษณ์เชิงลึกสตรีที่ก�าลังอยู่ในระยะต้ังครรภ์ และ มีข้ันตอนดงั นี้ ผู้ท่ีมีบทบาทโดดเด่นในเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพ สตรีตั้งครรภ์ในชุมชน อธิบายชี้แจงเกี่ยวกับโครงการวิจัย 1. ข้อมลู ท่ีนา� มาวิเคราะห์ ได้แก่ ข้อมูลทไ่ี ดจ้ าก นดั หมายกา� หนดการใหส้ มั ภาษณต์ ามวนั เวลาทผ่ี ใู้ หข้ อ้ มลู การสังเกต สัมภาษณ์ สนทนากลุ่มท่ีเกี่ยวข้องในประเด็น สะดวก ขอความยินยอมในการเข้าร่วมการวิจัยและ ที่ศึกษาโดยใช้เคร่ืองบันทึกเสียง และบันทึกย่อ ซ่ึงผู้วิจัย ได้น�าข้อมูลที่ได้ เช่น ข้อมูลดิบที่ได้จากการสังเกตและ สมั ภาษณม์ าวเิ คราะห์ประเดน็ ท่ีพบ Vปoีทlี่u2m8eฉบ28ับทN่ีo2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

22 ศกั ยภาพของชุมชนในการสร้างเสรมิ สขุ ภาพของสตรตี ้งั ครรภ์โดยชมุ ชนเป็นฐาน วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั บรู พา 2. การจัดระเบียบเน้ือหาข้อมูล (Data ผลกระทบของแต่ละเหตุการณ์ ซ่ึงผู้วิจัยใช้การวิเคราะห์ organization) ได้แก่ จัดระเบียบข้อมูลทางโครงสร้าง เหตกุ ารณเ์ สน้ เวลาในการแสดงถงึ ชว่ งเวลาเหตกุ ารณท์ เ่ี กดิ บริบทชุมชน เพื่อช้ีให้เห็นภาพรวมปฏิสัมพันธ์ของระบบ ขึน้ ในระยะตงั้ ครรภ์ของสตรตี ้งั ครรภ์ในชมุ ชน ต่าง ๆ ในชุมชน เกิดความเข้าใจโครงสร้างทางสังคม วฒั นธรรมทเี่ ปน็ พลวตั ร วเิ คราะหค์ วามสมั พนั ธท์ ท่ี า� ใหเ้ กดิ 6. การวเิ คราะหแ์ บบเมทรกิ ซ์ (Matrix) เพอ่ื ให้ ความเขา้ ใจเรอ่ื งราวของการรวมกลมุ่ ตา่ ง ๆ การจดั ระเบยี บ เหน็ ความสมั พนั ธข์ องขอ้ มลู ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกนั ชว่ ยใหเ้ ปรยี บเทยี บ ทางสังคม และโครงสร้างทางสังคมที่จะอธิบายพฤติกรรม ข้อมูลในเรื่องเดียวกันท่ีมาจากแหล่งข้อมูลหรือผู้ให้ข้อมูล ของบคุ คล จดั ระเบยี บขอ้ มลู ทางดา้ นเนอื้ หาโดยแตกขอ้ มลู ทแ่ี ตกตา่ งกนั ออกเป็นส่วนย่อย ๆ ตามความหมายเฉพาะของแตล่ ะส่วน เพื่อค้นหาความหมายของข้อมูลในเบื้องต้นท่ีน�าสู่ 7. การวิเคราะห์แผนภาพความคิด (Mind การวิเคราะห์ในประเด็นการสร้างเสริมสุขภาพโดยชุมชน map) เปน็ การสรปุ ความคดิ โดยออกแบบจากการวเิ คราะห์ เป็นฐานเพ่ือสตรีต้ังครรภ์ หาประเด็น (Theme) เพื่อช้ี ความสมั พนั ธท์ เี่ กดิ ขน้ึ ตอ่ กลมุ่ ประชากรเปา้ หมาย ผลกระทบ ทิศทางในการก�าหนดหัวข้อย่อย และท�าการวิเคราะห์ ทุนทางสังคมท่ีเกย่ี วข้อง ท�าการจดั ระบบงานและกิจกรรม กลมุ่ คา� (Taxonomy) ทมี่ ีความหมายในหมวดหมเู่ ดยี วกัน โดยแสดงเป็นแผนภาพ คน้ หาคา� สา� คญั ทใ่ี หค้ วามหมายเดยี วกนั จดั ใหอ้ ยใู่ นหมวดหมู่ เดียวกัน โดยได้ยึดแนวค�าถามการวิจัยเป็นหลักเพื่อตอบ ผลการวจิ ยั ค�าถามการวิจัยท่ีสอดรับกับวัตถุประสงค์ของการวิจัยท่ี การสร้างเสริมสุขภาพของสตรีต้ังครรภ์ในชุมชน ก�าหนดไว้ ท้ังนี้การก�าหนดค�าหรือข้อความท่ีสร้างข้ึนเพื่อ ใช้จัดหมวดหมู่ข้อมูลหรือเป็นข้อความที่อธิบายเหตุการณ์ เปน็ การเพม่ิ ศกั ยภาพใหส้ ตรตี ง้ั ครรภป์ รบั เปลย่ี นพฤตกิ รรม ทเี่ กดิ ขนึ้ ผวู้ จิ ยั ไดท้ า� ไปพรอ้ ม ๆ กนั ระหวา่ งการเกบ็ รวบรวม สุขภาพเพ่ือสร้างสุขภาพของตนเองให้เกิดความสมดุล และการวเิ คราะหข์ อ้ มลู รวมถงึ การตรวจสอบ ยนื ยนั ขอ้ มลู ทั้งด้านร่างกาย จิตใจและสังคมเพ่ือให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี เป็นระยะจากผูใ้ หข้ อ้ มูล เป็นการจัดการปัจจัยท่ีมีผลต่อสุขภาพเพ่ือลดค่าใช้จ่าย การใหบ้ รกิ ารสาธารณสขุ ซง่ึ จากการศกึ ษาพบวา่ คนในชมุ ชน 3. การวิเคราะหเ์ น้อื หา (Schreier, 2012) เพ่ือ มีศักยภาพที่จะเรียนรู้และสามารถดูแลสุขภาพของตนเอง สะท้อนให้เหน็ หัวขอ้ (Topic) จากข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้ ดูแลสุขภาพของคนในครอบครัวและสมาชิกในชุมชนได้ จากแต่ละแหล่ง ซึ่งแสดงให้เห็นล�าดับชั้น (Categories) รวมทงั้ มคี วามสามารถในการจดั การและลดปจั จยั ทม่ี ผี ลตอ่ ของหวั ขอ้ ซงึ่ ผวู้ จิ ยั ใชก้ ารวเิ คราะหเ์ ชงิ เนอ้ื หาเปน็ หลกั เพอ่ื สุขภาพ (Marmot & Wilkinson, 2006; Nuntaboot, แสดงข้อมลู อย่างเป็นระบบ เปน็ การจ�าแนก และจัดข้อมูล Shokebumroong, & Theerasopon, 2015) โดยเฉพาะ ให้เปน็ หมวดหมูอ่ ย่างเป็นระบบ โดยการจดั ล�าดับข้นั ตอน อยา่ งยงิ่ การดแู ลสขุ ภาพของสตรตี งั้ ครรภใ์ นชมุ ชนซงึ่ พบวา่ ของเหตุการณ์ที่เกิดข้ึนอย่างต่อเน่ืองเพ่ือให้เข้าใจ หน่วยบริการสุขภาพในชุมชนมีบทบาทหลักท่ีส�าคัญใน ความหลากหลายของปรากฏการณใ์ นบรบิ ททางวฒั นธรรม การสร้างเสริมสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์โดยเฉพาะอย่างย่ิง ของชมุ ชน ในสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะยากล�าบาก ได้แก่ แม่เล้ียงเด่ียว ยากจน และต้ังครรภ์แรก จากบริบทของชุมชนที่ศึกษา 4. การจ�าแนกประเภทข้อมูล (Typological หน่วยบริการสุขภาพในชุมชนมีการเชื่อมประสานในการ Analysis) ใช้การจ�าแนกชนิดข้อมูลตามประเภท หรือ ดา� เนนิ งานรว่ มกนั กบั อสม. และองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ หมวดหมู่โดยใช้เกณฑ์ตามคุณลักษณะที่มีอยู่ร่วมกัน เช่น ซ่ึงจากการศึกษาศักยภาพของชุมชนในการสร้างเสริม ลกั ษณะการสร้างเสริมสขุ ภาพของสตรตี ัง้ ครรภ์ สขุ ภาพของสตรตี ง้ั ครรภส์ ามารถแบง่ ออกไดเ้ ปน็ 1) สภาพ สงั คมเศรษฐกจิ และสขุ ภาพของสตรตี งั้ ครรภ์และ2)ศกั ยภาพ 5. การวิเคราะห์ตามช่วงเวลา (Timeline ของชมุ ชนในการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพของสตรตี งั้ ครรภ์ มดี งั น้ี analysis) เพ่ือวิเคราะห์ให้เห็นการประมวลเหตุการณ์ที่ เกิดขนึ้ ตามล�าดบั เวลา ท�าใหเ้ ห็นภาพรวม จดุ เปลยี่ น และ 1. สภาพสังคม เศรษฐกิจและสุขภาพของสตรี ต้ังครรภ์ มีผลต่อพฤติกรรมและการปฏิบัติตัวของสตรี Vปoีทlี่u2m8eฉบ28ับทN่ีo2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

Potentials of community in community-based health promotion The Journal of Faculty of Nursing 23 for pregnant woman Burapha University ต้งั ครรภ์ ดงั น้ี รายได้ต�่ากว่า 30,000 บาทต่อปี ซ่ึงเศรษฐานะของสตรี 1.1 สถานภาพการอยอู่ าศยั ในสตรีตัง้ ครรภ์ ตงั้ ครรภแ์ ละครอบครวั จะสง่ ผลตอ่ พฤตกิ รรม วถิ กี ารดา� เนนิ ชีวติ ตลอดจนการดแู ลภาวะสขุ ภาพของสตรตี ง้ั ครรภ์ โดย ในชุมชนบางรายท่ีอาศัยอยู่กับพ่อแม่ตนเองมีสถานภาพ ครอบครัวท่ีมีสมาชิกเป็นสตรีตั้งครรภ์จะมีภาระค่าใช้จ่าย เป็นแม่เลี้ยงเดี่ยวที่มีสถานภาพเลิกกับสามีหรือแฟนต้ังแต่ เพิ่มข้ึนในการด�ารงชีพทั้งค่าอาหาร และค่าดูแลสุขภาพ ทราบว่าตนเองต้งั ครรภ์ บางกรณีพบว่าสตรีต้ังครรภ์ต้องพักหรือลาออกจากงาน เนอ่ื งจากมผี ลกระทบต่อทารกในครรภ์ 1.2 ภาวะการเจ็บป่วยของสตรีตั้งครรภ์ ภาวะสุขภาพของสตรีต้ังครรภ์มีทั้งที่มีภาวะสุขภาพ 2. ศกั ยภาพของชมุ ชนในการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ แข็งแรงดี แต่ในสตรีตั้งครรภ์บางรายมีภาวะการเจ็บป่วย ของสตรีตัง้ ครรภ์ สามารถแบ่งออกเป็นระยะ หรือมีภาวะแทรกซ้อนในระยะตั้งครรภ์ ได้แก่ มีภาวะ แพ้ท้องรุนแรง เบาหวานขณะตั้งครรภ์ ความดันโลหิตสูง 2.1 ระยะต้ังครรภ์ มีการพัฒนาศักยภาพ ขณะตงั้ ครรภ์ ธาลสั ซเี มยี ซดี และไทรอยด์ ภาวะการเจบ็ ปว่ ย ในการดแู ลภาวะสขุ ภาพของสตรตี งั้ ครรภโ์ ดยเฉพาะในราย หลังคลอดหรือการมีภาวะแทรกซ้อนในระยะหลังคลอด ท่ีมีภาวะยากลา� บาก ดังนี้ ไดแ้ ก่ มภี าวะตดิ เชอื้ ตกเลอื ด และมภี าวะซมึ เศรา้ หลงั คลอด 1) ให้บริการสุขภาพโดยบุคลากรทาง 1.3 ภาวะการเจบ็ ปว่ ยของเดก็ แรกเกดิ ไดแ้ ก่ ด้านสุขภาพ ได้แก่ ตรวจการตั้งครรภ์ ตรวจคัดกรอง อาการตวั เหลือง น�า้ หนักแรกเกิดนอ้ ย ปอดติดเชอ้ื มภี าวะ ประเมินความเครียด ตรวจทางห้องปฏิบัติการ ให้บริการ ข้อสะโพกหลดุ จากการคลอดท่าก้น ฝากครรภ์โดยส่งเสริมให้มีการฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ และฝากครรภ์คุณภาพอย่างน้อย 5 คร้ัง 1.4 สถานภาพเปนนักเรียน นักศึกษา สตรี ให้ภูมิคุ้มกันโรค ประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ตงั้ ครรภท์ อ่ี ยใู่ นชมุ ชนมสี ถานภาพกา� ลงั ศกึ ษาในสถานศกึ ษา คาดการณแ์ นวโนม้ การเพม่ิ ของน้�าหนักตวั และใหย้ าเสรมิ ซ่ึงมีทั้งท่ีก�าลังศึกษาอยู่ในระดับมัธยมศึกษา ปวช. และ ธาตเุ หลก็ โฟลกิ เสริมไอโอดีน แคลเซียม และเยย่ี มบ้าน ระดับปริญญาตรี ซึ่งพบว่าสตรีตั้งครรภ์กลุ่มนี้เม่ือเกิด สตรีตั้งครรภ์โดยบุคลากรทางด้านสุขภาพร่วมกับอาสา การต้ังครรภ์ข้ึนจะท�าให้ต้องลาพักการศึกษา หรือลาออก สมัครสาธารณสขุ ประจ�าหมูบ่ ้าน (อสม.) และผนู้ า� แกนนา� จากสถานศึกษา ท�าให้การด�าเนินชีวิตของสตรีตั้งครรภ์ ในชมุ ชน จดั ทา� ขอ้ มลู สขุ ภาพสตรตี งั้ ครรภแ์ ละสง่ ตอ่ ขอ้ มลู มีการเปลี่ยนแปลงและไม่สามารถกลับมาเป็นเหมือนก่อน ภาวะสุขภาพของสตรีต้ังครรภ์ไปยังสถานบริการในระดับ การตงั้ ครรภไ์ ด้ และในบางรายตอ้ งไปทา� งานเพอื่ หารายได้ ทตุ ยิ ภมู ิทใ่ี ห้การดแู ลในระยะของการคลอด ใหก้ ารบริการ เลีย้ งดูบุตรในช่วงปดิ ภาคการศกึ ษา ช่วยเหลือฉุกเฉินโดยศูนย์จัดการเครือข่ายกู้ชีพชุมชน (EMS) เชน่ กรณสี ตรีตงั้ ครรภไ์ ดร้ ับอุบตั ิเหตุ สตรีต้ังครรภ์ 1.5 สถานภาพการทา� งาน ไดแ้ ก่ การลาออก ทอี่ ยตู่ ามลา� พงั สตรตี งั้ ครรภท์ อี่ ยใู่ นครวั เรอื นยากจน เปน็ ตน้ จากงาน หยุดงาน ไม่ไดท้ า� งานซงึ่ จะส่งผลกระทบถึงภาวะ และประสานเทศบาลต�าบลในการให้ข้อมูลการคุ้มครอง เศรษฐกิจ การใช้จ่ายในครัวเรือน ซ่ึงปัจจัยที่ส่งผลต่อ ภาวะสุขภาพทางสังคม สถานภาพการทา� งานอาจจะมาจากอาการทเ่ี กดิ ขนึ้ ในระยะ การต้ังครรภ์ เช่น มีอาการแพ้ท้องมาก ต้องการเตรียม 2) พัฒนาทักษะสตรีต้ังครรภ์ ให้มี ความพรอ้ มในการคลอดและเลี้ยงดเู ดก็ ความรู้และทักษะในการดูแลตนเอง ได้แก่ การบริโภค อาหารทเ่ี หมาะสม การออกกา� ลงั กายกลา้ มเนอ้ื สว่ นบนและ 1.6 สถานภาพการตั้งครรภ์ สถานภาพการ บริหารกล้ามเนื้อเชิงกรานเพ่ือเตรียมคลอด การสังเกต ต้ังครรภ์ของสตรีตั้งครรภ์ ได้แก่ ล�าดับในการต้ังครรภ์ อาการผดิ ปกตทิ ตี่ อ้ งรบี มาพบแพทย์ การสง่ เสรมิ พฒั นาการ ส่วนใหญ่เป็นการต้งั ครรภแ์ รก และมีสตรีตงั้ ครรภบ์ างราย ทารกในครรภ์ การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และการใช้สมุด เปน็ การตงั้ ครรภห์ ลงั หรอื เคยตงั้ ครรภม์ บี ตุ รกอ่ นการตง้ั ครรภ์ บนั ทึกสุขภาพแมแ่ ละเด็ก ในครัง้ นี้ 3) สนับสนุนการเข้าถึงสิทธิและ 1.7 ยากจน สตรีตั้งครรภ์ในชุมชนส่วนหน่ึง มีฐานะยากจน หรอื อยู่ในครอบครัวท่ีมีฐานะยากจน โดยมี ปVoีทlี่u2m8eฉบ28ับทNี่o2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

24 ศกั ยภาพของชมุ ชนในการสร้างเสริมสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์โดยชุมชนเป็นฐาน วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา สวัสดิการท่ีให้การช่วยเหลือในระยะตั้งครรภ์ ได้แก่ อนั นพี้ วกเฮากม็ ขี ายอย ู่ (กองทนุ เกลอื ไอโอดนี ) เพอ่ื (1) สิทธิการขอรับสวัสดิการภาครัฐ การข้ึนทะเบียนเพื่อ ให้ไทบ้านเพน่ิ สะดวก” (ผใู้ หข้ ้อมลู รายท่ ี 8) ขอรับสิทธิเงินอุดหนุนเพ่ือการเล้ียงดูเด็กแรกเกิด กองทุน “ศนู ยจ์ ดั การเครอื ขา่ ยกชู้ พี ชมุ ชนของเทศบาล หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เงินช่วยเหลือในการเล้ียงดู มีเป็นแห่งแรกของอ�าเภอ เป็นต้นแบบในต�าบล บตุ ร (2) ประสานความรว่ มมอื กบั กลมุ่ องคก์ รชมุ ชนในการ อ่ืน ๆ ในอ�าเภอได้มาเรียนรู้การท�างานงานกู้ชีพ จดั หาสวสั ดกิ ารใหก้ บั สตรตี ง้ั ครรภท์ ต่ี อ้ งการความชว่ ยเหลอื เจา้ หนา้ ทท่ี ใี่ หบ้ รกิ ารกชู้ พี ผา่ นการฝกึ อบรมทงั้ หมด ได้แก่ สตรีต้ังครรภ์ยากจน สตรีตั้งครรภ์ท่ีต้องลาออก เราใหก้ ารบรกิ ารรบั สง่ ฉกุ เฉนิ ตอนจะคลอด บางคน จากงาน ไมม่ อี าชพี ไมม่ รี ายได้ สตรตี ง้ั ครรภว์ ยั รนุ่ ทลี่ าออก ท้องแล้วก็อยู่คนเดียวไม่มีใครดูแล เราก็ต้องดูแล จากสถานศึกษาหรือลาพักการศึกษาโดยการให้เข้าเป็น กนั อย่างใกลช้ ดิ รบั ส่ง” (ผ้ใู ห้ขอ้ มูลรายที่ 35) สมาชกิ ของกล่มุ อาชีพเพื่อสร้างรายได้ เข้าร่วมเป็นสมาชิก 4) จัดการสภาวะแวดล้อมในชุมชน กลุ่มกองทุนท่ีมีสวัสดิการในการให้กู้ยืมเงินเพื่อประกอบ ได้แก่ การจัดการขยะในครัวเรือน มีการจัดตั้งชุมชน อาชีพและกู้กรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน ส่งเสริมการออม ได้แก่ ปลอดขยะ (Zero Waste) จัดพ้ืนที่สาธารณะท่ีเอ้ือต่อ กองทุนเงินล้าน กองทุนหมู่บ้าน กลุ่มสวัสดิการชุมชนที่มี สุขภาพ อนุรักษ์ป่านิเวศชุมชน และสวนป่าชุมชนซ่ึงเป็น การจัดสวัสดิการที่ให้การช่วยเหลือสตรีต้ังครรภ์และ แหล่งอาหาร เช่น หน่อไม้ ไขม่ ดแดง ผกั หวานป่า และเป็น ครอบครวั กรณเี กดิ โดยมกี ารรบั ขวญั เดก็ หรอื การชว่ ยเหลอื แหลง่ สมุนไพรในชุมชน ค่าใช้จ่ายเมื่อเจ็บป่วยนอนโรงพยาบาล (3) การเข้าถึง 5) ก�าหนดแผนพัฒนาท้องถ่ิน โดย ความมนั่ คงทางอาหารและอาหารปลอดภยั ไดแ้ ก่ การให้ เทศบาลต�าบลและสมาชิกในชุมชนมีการก�าหนดนโยบาย สตรตี งั้ ครรภท์ เี่ ปน็ แมเ่ ลยี้ งเดยี่ ว ยากจนเขา้ รว่ มเปน็ สมาชกิ ร่วมกันในการดูแลภาวะสุขภาพและส่งเสริมสุขภาพ กลมุ่ ธนาคารขา้ วทใ่ี หส้ วสั ดกิ ารยมื ขา้ วเพอ่ื การบรโิ ภค และ ประชาชนตลอดชว่ งชวี ติ ตงั้ แตค่ รรภม์ ารดาจนถงึ เชงิ ตะกอน เมลด็ พนั ธเ์ุ พอื่ ใชใ้ นการเพาะปลกู กลมุ่ ปลกู ผกั ปลอดสารพษิ มีการจัดสรรงบประมาณเพ่ือเป็นเงินสมทบหลักประกัน กลุ่มชุมชนหวั ผักกาด และ (4) สนบั สนุนค่าใช้จ่ายส�าหรบั สุขภาพในระดับท้องถ่ิน รวมท้ังมีกิจกรรมโครงการที่ การด�าเนินการสร้างเสริมสุขภาพในรูปแบบความร่วมมือ เก่ียวข้องกับสตรีต้ังครรภ์ในชุมชน ได้แก่ โครงการ กับองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ การปอ้ งกนั การต้งั ครรภ์ก่อนวัยอันควรในชมุ ชน “ตอนไปฝากทอ้ งกบั หมอกะแนะนา� เฮอื่ งการกนิ 2.2 ระยะหลังคลอดและเลี้ยงดเู ดก็ ได้แก่ มใี หเ้ บง่ิ นา้� หนกั วา่ ทอ๋ ได ๋ คลอดมากะบอกวา่ ตอ้ งให้ 1) พัฒนาเสริมทักษะสตรีหลังคลอด ลูกกินนมแม่ลูกจังสิแข็งแฮง ตอนไปลงซื่อเอาเงิน ได้แก่ ทักษะเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ โดยเฉพาะในรายท่ีเป็น ซอยเหลอื คนทอ้ งเทศบาลเพน่ิ กะขอเบงิ่ สมดุ สชี มพู แม่เล้ียงเดี่ยว ครรภ์แรก การบริหารร่างกายหลังคลอด น�า” (ผูใ้ ห้ขอ้ มูลรายที ่ 21) อาการผดิ ปกตทิ ตี่ อ้ งกลบั มาพบแพทย์ อาหารทเี่ หมาะสมใน “กะหาอยูห่ ากนิ เปน็ ม้ือ ๆ ไป ทอ้ งแลว้ ไทบ้าน ระยะหลังคลอดซงึ่ เน้นอาหารทีช่ ่วยกระตุ้นนา้� นม เพ่ินก็บอกว่าไปเฮ็ดเรื่องขอเงินซ่อยได้ เอาสมุด 2) ให้บริการสุขภาพ ติดตามภาวะ สซี มพ ู (ชมพ)ู ทห่ี มอใหต้ ง้ั แตไ่ ปฝากทอ้ งไปเฮด็ เรอ่ื ง แทรกซ้อนหลังคลอด ได้แก่ ตรวจหลังคลอด วางแผน อยู่เทศบาล หมออนามัยเพิ่นก็จะบอกอยู่ว่าว่าให้ ครอบครวั ดแู ลใหไ้ ดร้ บั ยาเสรมิ ธาตเุ หลก็ แคลเซยี ม รว่ มกบั เบงิ่ ขา้ งในนา� จะมใี หจ้ ดเวลาลกู ดน้ิ ทกุ วนั แลว้ หมอ อาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจา� หมบู่ า้ น (อสม.) ในการตดิ ตาม กบ็ อกวา่ กเ็ กบ็ ไวใ้ หด้ เี พราะจะใชจ้ นกระทง่ั ลกู คลอด เย่ียมสตรีหลังคลอด ร่วมประสานงานกับกลุ่มนวัตกรรม เอาไว้ไปแจ้งเกดิ ” (ผใู้ ห้ข้อมลู รายท ่ี 11) สขุ ภาพชมุ ชน และกลมุ่ แพทยแ์ ผนไทยและแพทยท์ างเลอื ก “คนท้องในหม่บู ้านมีตลอด ถ้าฮวู้ า่ บา้ นไดเ๋ พ่ิน ในการดูแลภาวะสุขภาพสตรีหลังคลอดตามวิถีวัฒนธรรม มีคนท้องกะเข้าไปเบิ่งแนะน�าให้ฟ้าวไปหาหมอ มี ทอ้ งถน่ิ ไดแ้ ก่ นวดหลงั คลอด ประคบหมอ้ เกลอื การอาบนา้� แนะนา� เรอ่ื งแนวกนิ ใหเ้ สรมิ อาหารทม่ี เี กลอื ไอโอดนี สมุนไพร เข้ากระโจมโดยปราชญ์สมุนไพร ด�าเนินงาน Vปoีทl่ีu2m8eฉบ28ับทN่ีo2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

Potentials of community in community-based health promotion The Journal of Faculty of Nursing 25 for pregnant woman Burapha University ร่วมกับกลุ่มอนุรักษ์พืชสมุนไพรในการจัดหาสมุนไพร แบบร่วมมือกันให้เกิดประโยชน์ต่อสตรีต้ังครรภ์และ ในท้องถิ่นจากสวนป่าชุมชน มีการจัดท�าข้อมูลของสตรี ครอบครัว และ 3) ระดับหนว่ ยงาน ได้แก่ หน่วยงานที่มี หลังคลอด และข้อมูลเด็กให้เป็นปัจจุบัน และบริการ บทบาทโดยตรงในการให้การดูแลสุขภาพสตรีต้ังครรภ์ ช่วยเหลือฉุกเฉินโดยศูนย์จัดการเครือข่ายกู้ชีพชุมชน ในชมุ ชน ได้แก่ หนว่ ยบริการสุขภาพปฐมภูมิ ทจี่ ัดบริการ (EMS) ใหบ้ รกิ ารชว่ ยเหลอื และนา� สง่ สถานพยาบาลฉกุ เฉนิ สุขภาพทุกกลุ่มวัยและส�าหรับสตรีตั้งครรภ์ที่มีการร่วมมือ ตลอด 24 ชั่วโมง และมีบริการกู้ชีพดอ้ ยโอกาสทีใ่ หบ้ รกิ าร กบั อสม. ในการดแู ลอยา่ งตอ่ เนอ่ื งตงั้ แตต่ งั้ ครรภจ์ นกระทงั่ รบั -สง่ ในกรณเี จบ็ ป่วยทต่ี ้องไปพบแพทยต์ ามนัด หลงั คลอด มกี ารประสานงานกนั อยา่ งตอ่ เนอื่ งในการตดิ ตาม “กลบั จากโรงพยาบาลมาอยบู่ า้ นหมอกต็ ามมา ใหส้ ตรตี ง้ั ครรภฝ์ ากครรภค์ ณุ ภาพครบ และองคก์ รปกครอง เยยี่ ม มาดตู อนให้ลกู กินนม บอกอยู่วา่ อยา่ เพง่ิ ให้ ส่วนท้องถ่ินที่เน้นการท�าบทบาทตามภารกิจที่ก�าหนดเพ่ือ ลกู กนิ นา�้ ตอนแรกยายจะเอาใหก้ นิ แลว้ พอหมอบอก ให้เกิดผลกระทบทางด้านสุขภาพทั้งทางตรงและทางอ้อม เพ่ินก็เลยเอาตามหมอว่า หนูฝังยาคุมที่แขนเลย ต่อสตรตี ้งั ครรภ์ ซง่ึ การน�าใช้ศักยภาพและความเชีย่ วชาญ เพราะยังไม่อยากมีตอนนี้พึ่ง 15” (ผู้ให้ข้อมูล ของท้งั 3 ระดบั ทมี่ ีการดา� เนนิ งานโดยอาศัยความร่วมมอื รายท ่ี 8) จากทกุ ภาคสว่ นทเี่ กย่ี วขอ้ ง การทา� งานท่เี ชื่อมประสานกนั “คลอดแลว้ กะใหอ้ ยไู่ ฟ ตม้ นา�้ ใหอ้ าบ บางอยา่ ง สง่ ผลใหส้ ตรตี งั้ ครรภใ์ นชมุ ชนมสี มรรถนะในการดแู ลภาวะ กะบใ่ ห้กินมันสิผิดกระบูนสยิ าก หมอกับ อสม. กะ สขุ ภาพของตนเองและทารกในครรภ์ (Nuntaboot, 2010) มาหาอยู่ มาเบิง่ เดก็ นอ้ ยนา� ให้เด็กนอ้ ยกินนมแม่ หลกี เลีย่ งปัจจัยเสยี่ งตา่ ง ๆ ท่ีมผี ลกระทบตอ่ ภาวะสุขภาพ เพ่ินบอกอยู่ว่าถ้าเด็กน้อยตัวเหลืองแฮงกะให้ฟ้าว เพื่อให้บรรลุเป้าหมายสูงสุดคือให้สตรีต้ังครรภ์และทารก พาไปหาหมอ มาบอกอยวู่ า่ อนามยั มนี วดใหห้ ลงั คลอด ในครรภม์ สี ขุ ภาวะทดี่ มี คี วามสมบรู ณท์ งั้ ทางรา่ งกาย จติ ใจ กะว่าสใิ ห้ไปอย”ู่ (ผใู้ ห้ขอ้ มลู หลักรายที ่ 26) สังคม และจิตวิญญาณ และเจริญเติบโตเป็นทรัพยากร “สมนุ ไพรทใี่ ชก้ บั คนคลอดลกู แลว้ กะไปหาเอา มนุษย์ที่มีคุณภาพของประเทศชาติอันจะสอดคล้องกับ ตามปา่ ดแี นเฮามปี า่ ชมุ ชนอยากไดห้ ยงั กะไปหาเอา นโยบายท้ังในระดับนานาชาติและนโยบายระดับประเทศ พวกขม้นิ เถาเอน็ อ่อนจ่ังซ้ี แตบ่ างอย่างปลกู ตาม ที่ล้วนแล้วแต่มีจุดมุ่งเน้นเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตของสตรี บา้ นกะมอี ยพู่ วกไพล ใบหนาดกะเอาไปใชเ้ ฮด็ ตอน ตั้งครรภ์และสร้างการมีสุขภาวะท่ีดี (National Health อย่กู รรม เฮ็ดหม้อเกลอื ให้” (ผูใ้ ห้ขอ้ มลู รายท่ี 15) Commission Office, 2009; United Nations, 2019; Raingruber, 2017; Anderson & McFarlane, 2015) อภิปรายผล ศักยภาพของชุมชนในการสร้างเสริมสุขภาพสตรี ข้อเสนอแนะ ตงั้ ครรภ์ สามารถแบง่ ไดเ้ ปน็ 3 ระดบั ไดแ้ ก่ 1) ระดบั บคุ คล การจดั ทา� แผนยทุ ธศาสตรด์ า้ นการดแู ลสตรตี งั้ ครรภ์ และครอบครัวที่เป็นผู้น�า คนส�าคัญท่ีสามารถสร้างแนว อย่างเป็นองค์รวมในทุกมิติและในทุกระดับตั้งแต่ระดับ ปฏิบัติในการดูแลสุขภาพสตรีตั้งครรภ์ให้เกิดข้ึนและชี้น�า ชุมชนโดยน�าใช้ศักยภาพที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ใหผ้ ้อู ่ืนท�าตามได้ ได้แก่ เจ้าหน้าท่ขี องโรงพยาบาลส่งเสริม สนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพพยาบาลชุมชน สุขภาพตา� บล ปราชญ์สมนุ ไพร ผดงุ ครรภ์โบราณ 2) ระดบั และบุคลากรทางด้านสุขภาพท่ีเกี่ยวข้องให้มีสมรรถนะ กลมุ่ ทางสงั คมและองคก์ รชมุ ชน ไดแ้ ก่ กลมุ่ อสม. อาสาสมคั ร และเสริมบทบาทการดูแลสตรีต้ังครรภ์ในชุมชนให้ เช่ียวชาญอนามัยแม่และเด็กที่เข้ามามีส่วนส�าคัญในการ ครอบคลุมตามยุทธศาสตร์สร้างเสริมสุขภาพโดยค�านึงถึง ดแู ลสขุ ภาพสตรีต้งั ครรภ์ในชุมชน กลุ่มอาชีพในชุมชนท่มี ี ความแตกต่าง ความหลากหลายของสตรีตั้งครรภ์ การจัดสวัสดิการช่วยเหลือ ส่งเสริมอาชีพแก่สตรีต้ังครรภ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสตรีต้ังครรภ์ท่ีอยู่ในภาวะยากล�าบาก ทเี่ ปน็ แมเ่ ลย้ี งเดยี่ ว ไมม่ รี ายได้ และยากจนซง่ึ เปน็ กลไกหลกั และกา� หนดนโยบายสาธารณะของชมุ ชนในการดา� เนนิ งาน ในชุมชนท่ีจะสามารถขับเคล่ือนการท�างานและกิจกรรม เพอื่ สร้างเสริมสุขภาพของสตรีตัง้ ครรภใ์ นชมุ ชน ปVoีทl่ีu2m8eฉบ28ับทNี่o2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

26 ศักยภาพของชุมชนในการสรา้ งเสริมสขุ ภาพของสตรีตัง้ ครรภ์โดยชุมชนเปน็ ฐาน วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบรู พา กิตติกรรมประกาศ Morse, J.M. (2012). Qualitative health research ขอขอบพระคุณสตรีต้ังครรภ์และครอบครัว ผู้มี creative a new discipline. California: Left ส่วนร่วมในการให้ข้อมูลในการวิจัยทุกท่าน คณาจารย์ Coast. หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาพยาบาลศาสตร์ National Health Commission Office. (2009). The มหาวิทยาลัยขอนแก่น อาจารย์ท่ีปรึกษาที่ให้ข้อช้ีแนะ National Health System Constitution. คา� แนะนา� ในการพฒั นาปรบั ปรงุ งานวจิ ยั ใหม้ คี วามสมบรู ณ์ Retrieved from https://www.nationalhealth. มากยง่ิ ขนึ้ ศนู ยว์ จิ ยั และพฒั นาระบบสขุ ภาพชมุ ชน (ศวช.) or.th/sites/default/files/upload_files/ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และ dmdocs/Tum_finalNH_resize.pdf. Retrieved มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติท่ีให้การสนับสนุน June 29, 2018. [In Thai] และใหท้ นุ การศกึ ษา Nuntaboot, K. (2010). Community health system the collaborative process of 3 major Reference systems in the community. Nonthaburi: The Anderson, E.T., & McFarlane, J. M. (2015). Graphic Go Systems. [In Thai] Community as partner: theory and practice Nuntaboot, K. (2013). Rapid Ethnographic in nursing (7th ed.). Philadelphia: Lippincott Community Assessment: RECAP. Bangkok: Williams & Wilkins. Thai Health Promotion Foundation. [In Thai] Department of children and youth. (2016). A Nuntaboot, K., Shokebumroong, K., & Theerasopon, policy on financial support support for P. (2015). Competency levels and role raising the new born. Retrieved from http:// implementation of professional nurses in www.prachuapkhirikhan.m-society.go.th/? health promotion. Journal of Nursing wpfb_dl=221. Retrieved July 29, 2018. Science & Health, 38(2), 103-14. [In Thai] [In Thai] Raingruber, B. (2017). Contemporary Health Fetterman, D.M. (1998). Ethnography: Step-by-Step Promotion in nursing practice. John & (2nd ed.). California: SAGE Publications. Bartlett Learning. LLC, an Ascent Learning Guba, E.G. & Lincoln, Y.S. (1985). Naturalistic Company. inquiry. Newbury Park, CA.: SAGE. Schreier, M. (2012). Qualitative content analysis Lecompte, M.D., & Schensul, J.J. (1999). Analyzing in practice. London: Sage. and Interpreting Ethnographic Data. United Nations. (2019). Sustainable Development Canada: AltaMira Press. Goals. Retrieved from https://www.un.org/ Marmot, M., & Wilkinson, G.R. (2006). Social sustainabledevelopment/health/. Retrieved determinants of health (2nd ed.). Hampshire March 29, 2019. (UK): Ashford Colour Press. World Health Organization. (2009). Milestones in Ministry of Public Health. (2017). Twenty-Year Health promotion statements from global National Strategic Plan. Retrieved from conferences. Retrieved from http://www. https://waa.inter.nstda.or.th/stks/pub/ who.int/healthpromotion/Milestones_ 2017/20171117-Ministry of PublicHealth. Health_Promotion_05022010.pdf. Retrieved pdf. Retrieved June 29, 2018. [In Thai] March 15, 2019. ปVoีทlี่u2m8eฉบ28ับทNี่o2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

รูปแบบการจดั การตนเองของเดก็ ท่ปี ่วยด้วยโรคธาลัสซเี มยี ศริ ยิ ุพา สนัน่ เรืองศักด์ิ, Dr.PH.1*, นฤมล ธีระรงั สกิ ุล, Ph.D.1 พจนารถ สารพัด, Ph.D.1 มณพี ร ภิญโญ, พย.ม.2 บทคัดยอ่ การศกึ ษาครงั้ นม้ี วี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ พฒั นารปู แบบการจดั การตนเองของเดก็ ทป่ี ว่ ยดว้ ยโรคธาลสั ซเี มยี กลมุ่ ตวั อยา่ ง เปน็ เดก็ ทป่ี ว่ ยดว้ ยโรคธาลสั ซเี มยี ทม่ี ารบั บรกิ ารแผนกผปู้ ว่ ยในและผปู้ ว่ ยนอกของโรงพยาบาลแหง่ หนงึ่ ในภาคตะวนั ออก รูปแบบการศกึ ษาเปน็ การวิจยั และพัฒนา แบง่ เป็น 2 ระยะคอื 1) การวิเคราะหส์ ถานการณ์ เก็บข้อมูลจากการสมั ภาษณ์ เชงิ ลึกกับเด็กโรคธาลสั ซีเมยี จ�านวน 11 คน และการตอบแบบสอบถามความรอบรูด้ ้านสขุ ภาพ ความรว่ มมือในการรกั ษา พฤตกิ รรมการจดั การตนเอง ของกลมุ่ ตวั อย่างจา� นวน 88 คน คัดเลอื กแบบเฉพาะเจาะจง และ 2) การพฒั นารปู แบบ ได้ จากการวิเคราะห์และสังเคราะห์ขอ้ มูลจากระยะท่ี 1 การวเิ คราะหข์ อ้ มูลโดยใช้สถิตเิ ชงิ พรรณา วิเคราะหถ์ ดถอยเชงิ พหุ แบบขน้ั ตอน และวเิ คราะห์เนือ้ หา ผลการวจิ ยั ในระยะท่ี 1 จากขอ้ มลู เชงิ คณุ ภาพ พบประเดน็ หลกั ในการจดั การตนเองของเดก็ คอื การจดั การตนเอง ดา้ นชวี ติ ประจา� วนั การจดั การตนเองดา้ นจติ ใจ และสงิ่ สนบั สนนุ การจดั การตนเอง สว่ นขอ้ มลู เชงิ ปรมิ าณพบวา่ ความรว่ มมอื ในการรักษา และความรอบรู้ด้านสุขภาพ สามารถร่วมกันท�านายพฤติกรรมการจัดการตนเองของเด็กโรคธาลัสซีเมียได้ รอ้ ยละ 17.4 สว่ นในระยะท่ี 2 ไดร้ ปู แบบการจดั การตนเอง ประกอบดว้ ย 1) ปจั จัยน�าเข้าดา้ นเดก็ ประกอบด้ยวยมุมมอง ของเด็กต่อการจัดการตนเอง ความร่วมมอื ในการรกั ษา ความรอบรู้ดา้ นสขุ ภาพ และพฤตกิ รรมการจัดการตนเอง ด้าน บรบิ ทครอบครัวและทีมสุขภาพ 2) กระบวนการ ได้แก่ การเตรยี มความพรอ้ ม การพฒั นาความสามารถในการจดั การ ตนเอง และการสนบั สนนุ การจัดการตนเอง และ 3) ผลลพั ธ์ ไดแ้ ก่ ภาวะสุขภาพและคณุ ภาพชวี ติ ของเด็ก ผลการวิจัยคร้ังน้ีท�าให้ได้รูปแบบการจัดการตนเองของเด็กที่ป่วยด้วยโรคธาลัสซีเมีย เพ่ือเป็นแนวทางในการจัด ท�าโปรแกรมการจัดการตนเองของเด็กโรคธาลัสซีเมีย ปัจจัยความส�าเร็จที่ท�าให้รูปแบบเป็นไปได้จริงและยั่งยืนคือ ความรว่ มมอื ระหวา่ งครอบครัวและบุคลากรทมี สขุ ภาพ ค�าสา� คญั : รปู แบบ การจดั การตนเอง เด็ก โรคธาลัสซเี มยี 1 ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบรู พา 2 พยาบาลวิชาชีพ ระดับปฏิบัตกิ าร แผนกกุมารเวชกรรม โรงพยาบาลชลบุรี * ผ้เู ขยี นหลัก e-mail: [email protected] Received 09/04/2020 Revised 26/05/2020 Accept 12/06/2020

The Model of Self-management for Children with Thalassemia Siriyupa Sananreangsak, Dr.PH.1*, Narumon Teerarungsikul, Ph.D.1, Photjanart Sarapat, Ph.D.1, Maneeporn Pinyo, M.N.S.2 Abstract This study was designed to develop a model of self-management for children with thalassemia. Participants were selected from in-patient and out-patient clinics in an Eastern regional hospital. This research had two development/design phases: 1) Analysis of the situation -- qualitative data were collected from in-depth interviews with 11 children, then 88 children were selected by purposive sampling and quantitative data were collected via a health literacy questionnaire, medical adherence questionnaire, and self-management behaviors questionnaire; 2) Model development – based on analysis and synthesis of phase I data. Data were analyzed by descriptive statistics, stepwise multiple regression, and content analysis. Phase I qualitative data revealed that major themes of the self-management experiences of children with thalassemia were: 1) Self-management for daily life; 2) Self-management for emotional problems, and; 3) self-management support. The quantitative data showed medical adherence and health literacy together accounted for 17.4% of the variance. The self-management model that emerged consisted of: 1) Input, including child’s perspective of self-management, medical adherence, health literacy and self-management behaviors, and family and health care team aspects; 2) Process, consisting of readiness, developing ability of self-management, and self-management support, and; 3) Output, defined as child’s health status and quality of life. The self-management model could be used to guide self-management program development for children with thalassemia. The key successes derived from collaboration between family and health care providers make the model possible and sustainable. Key words: model, self-management, children, thalassemia 1 Assistant Professor, Pediatric Nursing Division, Faculty of Nursing, Burapha University 2 A Registered Nurse, Department of Pediatrics, Chonburi Hospital * Corresponding author email: [email protected]

The Model of Self-management for Children The Journal of Faculty of Nursing 29 with Thalassemia Burapha University ความส�าคัญของปัญหา & Wilson, 2015) แต่จากการศึกษาท่ีผ่านมา เด็กมปี ญั หา โรคธาลสั ซเี มยี เปน็ โรคเรอื้ รงั ทางพนั ธกุ รรมทพี่ บได้ การจัดการตนเองในเร่ือง การรับประทานยาไม่สม�่าเสมอ ไม่สามารถประเมินอาการผิดปกติได้ เช่น ภาวะซีด ตั้งแต่วัยเด็ก เด็กต้องทุกข์ทรมานจากความเจ็บป่วยทาง ภาวะเหล็กเกิน (Kuttarasang, Sananreangsak & กาย ภาวะแทรกซ้อน และจากการรักษา โรคน้ีก่อให้เกิด Teerarungsikul, 2017) ไม่ระมดั ระวังการออกก�าลงั กาย ผลกระทบท้ังด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม ท่ีหนักหรือรุนแรง (Imiwat, 2012) รวมท้ังมีปัญหา การเจ็บป่วยเร้ือรังท�าให้เด็กเกิดข้อจ�ากัดมากมาย เช่น การขาดเรียนเพ่ือไปตรวจตามแพทย์นัด (Viprekasit, หลีกเล่ยี งอาหารที่มธี าตุเหลก็ สูง ออกก�าลงั กายไมผ่ าดโผน 2013) การจัดการตนเองจึงเป็นหัวใจส�าคัญที่ท�าให้เด็ก การขาดเรยี น และความเครยี ด เปน็ ตน้ (Viprekasit, 2013; ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพดีข้ึน และควบคุมอาการ Cakaloz et al., 2009) โรคธาลัสซีเมียเป็นปัญหา ของโรคได้ (Sanee, 2014) ทา� ให้เดก็ มีชีวติ ทีย่ นื ยาวและมี สาธารณสขุ ทส่ี า� คญั และมอี บุ ตั กิ ารณส์ งู มาก จากขอ้ มลู ทาง คุณภาพชวี ติ ท่ีดขี นึ้ สถติ ขิ องกระทรวงสาธารณสขุ (2018) พบวา่ ประชากรไทย มียีนผิดปกติที่เป็นพาหะของโรค ซ่ึงสามารถแพร่กระจาย การจัดการตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพนั้น ต้อง ไปสูล่ ูกหลานได้ มีอัตราสูงถงึ ร้อยละ 30-40 ของประชากร อาศัยความรู้ด้านสุขภาพ ด้านการรักษา มีทักษะในการ ทง้ั หมด หรือ ประมาณ 18-24 ล้านคน โดยแตล่ ะปีจะมี จัดการตนเองจึงจะสามารถตัดสินใจจัดการภาวะสุขภาพ ทารกที่เกิดใหม่เป็นโรคธาลัสซีเมียประมาณ 12,125 คน ของตนเองได้ (Sanee, 2014) การจัดการตนเองต้องมี และประมาณ 600,000 คน เป็นธาลัสซีเมียชนิดรุนแรง การปฏบิ ตั คิ รอบคลมุ ทงั้ 3 ดา้ น (Lorig & Holman, 2003) ปานกลาง ทา� ใหจ้ า� เปน็ ตอ้ งไดร้ บั เลอื ดและยาขบั เหลก็ เปน็ คือ 1) การจัดการด้านการรักษา เช่น การได้รับยา ประจา� ทกุ เดอื น และจากขอ้ มลู สถติ ขิ องโรงพยาบาลชลบรุ ี การรับประทานอาหาร การออกก�าลังกายที่เหมาะสม ในปี พ.ศ. 2560 - 2562 (2019) พบวา่ เด็กป่วยดว้ ยโรค เปน็ ตน้ 2) การจดั การดา้ นบทบาท เชน่ งานบา้ น การดา� เนนิ ธาลัสซีเมียท่ตี อ้ งมารับบรกิ ารการใหเ้ ลือด จา� นวน 76, 88 ชีวิตประจ�าวัน เป็นต้น และ 3) การจัดการด้านจิตสังคม และ 103 ราย ส่วนใหญ่เป็นชนิดเบต้าธาลัสซีเมีย/ฮีโม เชน่ ความโกรธ ความเครยี ด อาการซมึ เศรา้ เปน็ ตน้ ดงั นนั้ โกลบนิ อี ร้อยละ 90.9 และอยใู่ นวยั เรยี น รอ้ ยละ 58.18 จึงควรส่งเสริมให้เด็กเกิดการเรียนรู้และมีทักษะในการ ตามลา� ดับ จดั การตนเอง เพอ่ื ลดความรนุ แรงของโรค ภาวะแทรกซอ้ น ต่าง ๆ รวมท้งั ลดคา่ ใช้จา่ ยท้ังทางตรงและทางอ้อมได้ พยาธิสภาพของโรคธาลัสซีเมียมักท�าให้เด็กมี ร่างกายอ่อนแอ เจ็บป่วยบ่อย ไม่สามารถท�ากิจกรรมได้ การที่เด็กโรคธาลัสซีเมียมีการจัดการตนเองได้ดี เทา่ กบั เดก็ ปกติ เดก็ จะซดี มากจงึ จา� เปน็ ตอ้ งไดร้ บั การรกั ษา สามารถปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพได้ดีนั้นขึ้นอยู่กับ ด้วยการรับเลือดทุกเดือนหรือทุกสองเดือน และมักมีโรค ปจั จยั ตา่ ง ๆ มากมาย จากแนวคดิ การจัดการตนเองและ แทรกซ้อนที่รุนแรงตามมา ในรายที่มีระดับความรุนแรง ครอบครวั ของ Grey, Knafl and McCorkle (2006) และ ของโรคอยู่ในระดับปานกลางหรือรุนแรงมาก มักจะท�าให้ การทบทวนวรรณกรรมที่เก่ียวข้อง พบว่า ความรอบรู้ เกดิ การเปลย่ี นแปลงของใบหนา้ ทเี่ รยี กวา่ ใบหนา้ ธาลสั ซเี มยี ดา้ นสขุ ภาพ (DeWalt et al., 2007; Ross et al., 2001) ผิวเหลืองซีดคล้�า การเจริญเติบโตช้ากว่าปกติ ท้องป่อง ความรว่ มมือในการรักษา (April et al., 2008; Feldman เนื่องจากตับและม้ามโต พัฒนาการทางเพศช้ากว่าปกติ et al., 2007) และปัจจัยด้านมารดา (Sananreangsak (Ashwill & Droske, 1997) ในเด็กเล็กบิดามารดาเป็น et al., 2012; Yusuk, Sananreangsak & Teerarungsikul, ผู้ดูแลหลักในการดูแลสุขภาพ ส่วนเด็กท่ีโตขึ้นสามารถใช้ 2019) เป็นปัจจัยส�าคัญท่ีมีผลต่อพฤติกรรมการจัดการ ทักษะการตัดสินใจแก้ไขปัญหาและมีความรับผิดชอบ ตนเองของเด็กท่ีป่วยด้วยโรคธาลัสซีเมีย โดยพบว่า ในการจัดการตนเองได้ จึงควรเริ่มต้นตั้งแต่เด็กวัยเรียน ความรอบรดู้ า้ นสขุ ภาพระดบั สงู มคี วามรว่ มมอื ในการรกั ษา เนอ่ื งจากมคี วามคดิ ความเขา้ ใจในสง่ิ ทเี่ ปน็ รปู ธรรม สามารถ มคี วามสมั พนั ธก์ บั ผลลพั ธท์ างสขุ ภาพทดี่ แี ละคณุ ภาพชวี ติ วิเคราะห์และแกป้ ญั หาได้อยา่ งเปน็ ระบบ (Hockenberry ดขี น้ึ อายขุ องมารดาและรายไดข้ องครอบครวั มคี วามสมั พนั ธ์ Vปoีทlี่u2m8eฉบ28ับทNี่o2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

30 รปู แบบการจดั การตนเองของเด็กท่ีปว่ ยด้วยโรคธาลัสซีเมีย วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา ทางบวกกับการจดั การของมารดา ของโรค และพนั ธุกรรม เป็นต้น ปัจจัยส่วนบุคคล เชน่ อายุ การส่งเสริมให้เด็กที่ป่วยด้วยโรคธาลัสซีเมีย การรบั รู้ ความเชอื่ เป็นตน้ ปจั จัยดา้ นครอบครัว เชน่ อายุ การศกึ ษา รายได้ เปน็ ตน้ และปจั จยั ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม ไดแ้ ก่ สามารถจดั การตนเองไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งและเหมาะสม ดา� เนนิ เครือข่ายทางสังคม และระบบบริการสุขภาพ ซ่ึงปัจจัยที่ ชีวิตประจ�าวันได้เหมือนกับเด็กปกติทั่วไปน้ัน จ�าเป็นต้อง เลือกศึกษาน้ันได้มาจากการทบทวนวรรณกรรม ได้แก่ ให้เด็กมีการจัดการตนเองโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ปจั จยั ดา้ นสว่ นบคุ คล คอื ความรอบรดู้ า้ นสขุ ภาพ (DeWalt สุขภาพ เพื่อลดความรุนแรงและภาวะแทรกซ้อนของโรค et al., 2007; Ross et al., 2001) ความร่วมมอื ในการ จากการทบทวนวรรรณกรรมทเี่ กย่ี วกบั รปู แบบการดแู ลเดก็ รกั ษา (April et al., 2008; Feldman et al., 2007) และ ท่ีป่วยด้วยโรคธาลัสซีเมียยังมีจ�ากัด ดังเช่นการศึกษาเร่ือง ปัจจัยด้านมารดา คือ อายุ และรายได้ของครอบครัว การพัฒนารูปแบบการดูแลต่อเนื่องส�าหรับผู้ป่วยเด็ก (Sananreangsak et al., 2012; Yusuk et al., 2019) โรคธาลัสซเี มียและผดู้ แู ล (Pitchalard & Moonpanane, สว่ นพฤตกิ รรมการจดั การตนเองนนั้ ไดศ้ กึ ษาครอบคลมุ ทงั้ 2013) รปู แบบการปรบั ปรงุ คณุ ภาพการดแู ลในสถานบรกิ าร 3 ด้าน คือ ดา้ นการรกั ษา ด้านบทบาท และดา้ นจิตสงั คม สา� หรบั ผปู้ ว่ ยเรอ้ื รงั : กรณคี ลนิ กิ เดก็ ธาลสั ซเี มยี โรงพยาบาล (Lorig & Holman, 2003) กาฬสินธุ์ (Areeauey, Leethongdee & Yonthakul, 2017) ซึ่งเปน็ การศกึ ษาที่เน้นการปรบั ปรงุ คุณภาพการให้ ส�าหรับการพัฒนารูปแบบได้ใช้กรอบแนวคิดเชิง บริการ การให้ความรู้ และการปฏิบัติตัว ยังขาดรูปแบบ ระบบ (System approach) ได้แก่ ปัจจัยนา� เข้า (Input) การจดั การตนเองในการสง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ มสี ว่ นรว่ มในการเรยี นรู้ กระบวนการ (Process) และผลลัพธ์ (Output) สามารถคิดตัดสินใจ และมีทักษะในการจัดการตนเองได้ ดังน้ันการศึกษาคร้ังน้ีจะท�าให้เกิดรูปแบบที่เหมาะสม วิธีดา� เนินการวจิ ยั ในการจัดการตนเองของเด็กท่ีป่วยด้วยโรคธาลัสซีเมีย ซึ่ง การวิจัยครั้งนี้ เป็นส่วนหน่ึงของงานวิจัยเร่ือง จะช่วยพัฒนาศักยภาพในการจัดการกับปัญหา พร้อมท้ัง มกี ารแลกเปลย่ี นความรู้ ประสบการณใ์ นการดแู ลเดก็ ปว่ ย การพัฒนาโปรแกรมการจัดการตนเองของเด็กที่ป่วยด้วย และพฒั นากลมุ่ การเรยี นรรู้ ว่ มกนั ระหวา่ งเดก็ โรคธาลสั ซเี มยี โรคธาลัสซีเมยี ซึ่งเปน็ การวจิ ยั และพัฒนา (research and กบั ทมี สขุ ภาพ อกี ทงั้ เปน็ แนวทางใหพ้ ยาบาลและทมี สขุ ภาพ development) แบง่ เปน็ 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 วเิ คราะห์ จากวิชาชีพต่าง ๆ เช่น แพทย์ โภชนากร นักสุขศึกษา สถานการณ์ ระยะท่ี 2 การพฒั นารูปแบบ และระยะท่ี 3 เปน็ ตน้ ไดน้ า� แนวทางนไี้ ปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดแู ลเดก็ ทเี่ ปน็ การประเมนิ ผล ในบทความวจิ ยั ครงั้ นจี้ ะกลา่ วถงึ การศกึ ษา โรคธาลสั ซเี มยี ได้อย่างเหมาะสมตอ่ ไป ใน 2 ระยะ ดงั รายละเอยี ดต่อไปนี้ วัตถุประสงค์การวจิ ัย ระยะที่ 1 เป็นการวเิ คราะหส์ ถานการณ์ โดยการ เพอ่ื พฒั นารปู แบบการจดั การตนเองของเดก็ ทปี่ ว่ ย ศกึ ษาสถานการณ์ ปัญหา ความต้องการ และปจั จยั ทีม่ ผี ล ตอ่ การจดั การตนเองของเดก็ ที่ปว่ ยดว้ ยโรคธาลสั ซีเมยี ด้วยโรคธาลัสซเี มยี ประชากร คือ เด็กอายุ 9 ปีขึ้นไป ทปี่ ว่ ยดว้ ยโรค กรอบแนวคิดในการวิจยั ธาลัสซีเมียซ่ึงเข้ารับการรักษาท่ีแผนกผู้ป่วยนอก คลินิก กรอบแนวคิดที่ใช้ในการศึกษาปัจจัยท่ีมีผลต่อ โรคธาลัสซีเมีย และแผนกผู้ป่วยในเพ่ือรับบริการให้เลือด ณ โรงพยาบาลแหง่ หนง่ึ ของภาคตะวนั ออก พฤตกิ รรมการจดั การตนเองของเดก็ ทปี่ ว่ ยดว้ ยโรคธาลสั ซเี มยี ได้ประยุกต์แนวคิด Self and family management กลุ่มตัวอย่าง โดยการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบ framework (Grey et al., 2006) โดยกลา่ วถึงปจั จยั เสี่ยง เฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที่ก�าหนดไว้ (inclusion ทมี่ ผี ลตอ่ การจดั การกบั การเจบ็ ปว่ ยเรอื้ รงั ไดแ้ ก่ ปจั จยั ดา้ น criteria) คอื เดก็ อายุ 9 ปขี น้ึ ไป ทไี่ ด้รบั การวนิ ิจฉยั จาก ภาวะสุขภาพ เชน่ ความรนุ แรงของโรค การรกั ษา ระยะ แพทย์ว่าเป็นโรคธาลัสซีเมียอย่างน้อย 1 ปี ไม่มีภาวะ แทรกซ้อนจากภาวะหัวใจวายหรือการติดเชื้อรุนแรง สามารถอา่ น เขียน และสอื่ สารภาษาไทยได้ ในการศกึ ษา Vปoีทlี่u2m8eฉบ28ับทN่ีo2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

The Model of Self-management for Children The Journal of Faculty of Nursing 31 with Thalassemia Burapha University แบง่ การเกบ็ ขอ้ มลู เปน็ แบบเชงิ คณุ ภาพ และเชงิ ปรมิ าณ ดงั 1 คะแนน ค�าทอ่ี ่านผดิ ได้ 0 คะแนน แล้วนา� คะแนนดบิ มา รายละเอียดต่อไปน้ี ปรับน้�าหนักของคะแนนให้เป็นร้อยละ การแปลผลจาก คะแนนเฉลย่ี โดยรวมแบ่งเป็น 3 ระดบั ดงั น้ี มคี วามรอบรู้ 1) การเกบ็ ขอ้ มลู เชงิ คณุ ภาพ เพอื่ ศกึ ษาสถานการณ์ ด้านสุขภาพไมเ่ พียงพอ (<60%) มคี วามรอบรู้ด้านสุขภาพ ปญั หา และความตอ้ งการในการจัดการตนเองของเดก็ โรค เกือบไม่พอ (60.00%-74.99%) และมีความรอบรู้ ธาลัสซเี มีย โดยการสัมภาษณ์เชงิ ลึกกับเด็กโรคธาลสั ซีเมยี ดา้ นสุขภาพเพยี งพอ (>75%) (Parker et al., 1995) กล่มุ ตัวอยา่ งเป็นเด็กโรคธาลสั ซีเมียท่ีมารับบริการที่แผนก ผปู้ ว่ ยนอก คลนิ ิกโรคธาลสั ซีเมีย จ�านวน 11 คน 4. แบบสอบถามความรว่ มมอื ในการรกั ษาของเดก็ ธาลัสซีเมีย ซ่ึงผู้วิจัยสร้างข้ึนจากการทบทวนวรรณกรรม 2) การเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ เพ่ือศึกษาปัจจัย ท่ีเก่ียวข้อง จ�านวน 19 ข้อ ประกอบด้วยความร่วมมือ ที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการจัดการตนเองของเด็กโรค ของเด็กเกี่ยวกับการให้เลือด (3 ข้อ) การรับประทานยา ธาลัสซีเมีย โดยการตอบแบบสอบถาม ขนาดของกลุ่ม (4 ขอ้ ) การใหย้ าขบั เหลก็ ชนดิ ฉดี (4 ขอ้ ) การออกกา� ลงั กาย ตวั อยา่ ง เนอ่ื งจากมีตัวแปรอิสระ 4 ตวั แปร และตอ้ งการ (3 ขอ้ ) และการรบั ประทานอาหาร (5 ขอ้ ) เปน็ แบบสอบถาม ทดสอบด้วยสถิติถดถอยพหุ จึงกา� หนดคา่ power = .80, โดยใช้ค่าคะแนนนับ มีช่วงคะแนน 0-10 (0 หมายถึง ระดบั นัยส�าคญั .05 และ ค่า effect size = 0.15 (Cohen, ไม่เคยปฏิบัติหรือไม่มีความยากล�าบาก ถึง 10 หมายถึง 1988) คดิ ขนาดของกลมุ่ ตวั อยา่ งได้ 82.32 และเพอ่ื ปอ้ งกนั ปฏบิ ตั สิ มา�่ เสมอหรอื มคี วามยากลา� บากมากทส่ี ดุ ) เนอ่ื งจาก การสูญหายของข้อมูล จึงเพ่ิมกลุ่มตัวอย่างอีกร้อยละ 5 มบี างขอ้ คา� ถามทก่ี ลมุ่ ตวั อยา่ งไมไ่ ดป้ ฏบิ ตั ิ ไดแ้ ก่ การฉดี ยา การศกึ ษาครัง้ นีจ้ ึงมกี ล่มุ ตวั อยา่ ง 88 คน ขับเหล็ก จึงน�าคะแนนดิบมาปรับน้�าหนักของคะแนนให้ เป็นร้อยละ การแปลผลจากคะแนนเฉลยี่ โดยรวมแบ่งเป็น ระยะท่ี 2 เปน็ การพฒั นารปู แบบการจดั การตนเอง 3 ระดับ ดังน้ี มีความร่วมมืออยู่ในระดับต่�า (<60%) ของเด็กที่ป่วยด้วยโรคธาลัสซีเมีย โดยคณะผู้วิจัยและ มีความร่วมมืออยู่ในระดับปานกลาง (60.00%-79.99%) พยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์ดูแลเด็กป่วยด้วยโรค และมคี วามรว่ มมอื อยใู่ นระดบั สงู (>80%) (Bloom, 1971) ธาลสั ซีเมยี 5. แบบสอบถามพฤติกรรมการจัดการตนเอง เคร่ืองมอื ทใ่ี ชใ้ นการวิจัย ประกอบด้วย ของเด็กโรคธาลัสซีเมีย ซึ่งผู้วิจัยสร้างข้ึนจากแนวคิด 1. แบบสอบถามขอ้ มลู สว่ นบคุ คลและขอ้ มลู ทวั่ ไป การจัดการตนเอง (Lorig & Holman, 2003) และ ได้แก่ อายุ เพศ ระดับการศกึ ษา ชนดิ ของโรคธาลสั ซเี มีย การทบทวนวรรณกรรมทเ่ี กยี่ วขอ้ ง จา� นวน 49 ขอ้ ประกอบ และระยะเวลาการเจ็บปว่ ย ด้วย ดา้ นการรักษา (12 ข้อ) ด้านบทบาทหนา้ ที่ (21 ขอ้ ) 2. แนวค�าถามในการสัมภาษณ์ เป็นค�าถาม และด้านจติ สังคม (16 ข้อ) ลกั ษณะคา� ถามเป็นแบบมาตร ปลายเปดิ และไม่เปน็ คา� ถามน�าตัวอย่าง เป็นแนวค�าถามท่ี ประมาณค่า 4 ระดับ (1 หมายถึง ไมเ่ คยปฏิบตั ิ จนถึง 4 ผวู้ ิจัยเตรียมไว้อย่างกวา้ ง ๆ เพื่อน�าไปสู่การสัมภาษณ์แบบ หมายถึง ปฏิบัติทุกคร้ัง) ส่วนลักษณะค�าถามทางลบให้ เจาะลึก เชน่ หนูดูแลสขุ ภาพตนเองอยา่ งไร ความคาดหวัง คะแนนตรงกนั ขา้ ม คะแนนโดยรวมทีเ่ ป็นไปได้อยรู่ ะหว่าง อะไรจากการดูแลตนเอง หนูคิดว่าการเจ็บป่วยมีผลต่อ 49-196 คะแนน การแปลผลจากคะแนนเฉลย่ี โดยรวม แบง่ การใชช้ วี ติ ประจา� วนั หรอื ไม่ เรอ่ื งอะไร หนเู คยรสู้ กึ ทกุ ขห์ รอื เปน็ 3 ระดบั คอื มพี ฤตกิ รรมการจดั การตนเองอยใู่ นระดบั วิตกกงั วลต่อสุขภาพตนเองหรือไม่ อยา่ งไร และหนคู ิดวา่ ต่า� (49.00-97.99 คะแนน) มพี ฤติกรรมการจัดการตนเอง พ่อแม่ใหก้ ารดแู ลหนูเรื่องอะไร อย่างไร เปน็ ตน้ อยู่ในระดับปานกลาง (98.00-146.99 คะแนน) และ 3. แบบสอบถามความรอบรดู้ า้ นสขุ ภาพ ซง่ึ ผวู้ จิ ยั มีพฤติกรรมการจัดการตนเองอยู่ในระดับสูง (147.00- ดัดแปลงจาก Rapid Estimate of Adult Literacy in 196.00 คะแนน) Medicine (The REALM Test) (Davis, Crouch, & Long, 1991) และการทบทวนวรรณกรรมท่ีเกี่ยวข้อง การตรวจสอบคุณภาพเครอื่ งมือ เป็นการอ่านค�าศัพท์ทางการแพทย์ที่ใช้ในการให้บริการ การตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา (Content ผปู้ ่วยโรคธาลัสซีเมีย จา� นวน 66 คา� ศัพท์ ค�าทอ่ี า่ นถกู ได้ Vปoีทl่ีu2m8eฉบ28ับทNี่o2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

32 รปู แบบการจัดการตนเองของเด็กที่ป่วยด้วยโรคธาลัสซเี มีย วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั บรู พา validity) ความสมบรู ณข์ องขอ้ มลู จนกระทง่ั ขอ้ มลู อม่ิ ตวั (saturation แนวคา� ถามแบบสมั ภาษณเ์ ชงิ ลกึ และแบบสอบถาม of data) จงึ ยตุ ิการเก็บข้อมลู ในระหว่างท�าการสัมภาษณ์ ผู้วิจัยขออนุญาตบันทึกเทป จดบันทึกภาคสนามและ ชุดท่ี 3-5 ได้ผ่านการตรวจสอบจากผู้ทรงคุณวุฒิจ�านวน การสะท้อนคดิ รวมท้งั สงั เกตปฏกิ ิรยิ าท่าทางและอารมณ์ 3 ทา่ น ประกอบดว้ ย กมุ ารแพทยผ์ เู้ ชย่ี วชาญดา้ นโลหติ วทิ ยา ของผู้ให้ข้อมูล หลังการสัมภาษณ์แต่ละครั้งผู้วิจัยท�าการ อาจารยพ์ ยาบาลสาขาการพยาบาลเดก็ และพยาบาลวชิ าชพี ถอดเทปคา� ตอ่ คา� เพอ่ื การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ผวู้ จิ ยั ดา� เนนิ การ ผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นกมุ ารเวชกรรม จากนนั้ นา� ขอ้ เสนอแนะของ ตรวจสอบความถูกต้องและความน่าเช่ือถือของข้อมูล ผทู้ รงคณุ วฒุ ไิ ปปรบั ปรงุ แกไ้ ขโดยแบบสอบถามความรอบรู้ ตามแนวทางของ Lincoln และ Guba (1985) ดังน้ี ด้านสุขภาพ ความร่วมมือในการรักษา และพฤติกรรม 1) ความเช่ือถือได้ (credibility) โดยเลือกผู้ให้ข้อมูลที่มี การจัดการตนเองของเด็กท่ีป่วยด้วยโรคธาลัสซีเมีย ได้ค่า ประสบการณจ์ รงิ ถา่ ยทอดประสบการณไ์ ด้ 2) การถา่ ยโอน ดัชนีความตรงตามเน้ือหาเท่ากับ .90, .94 และ .84 งานวจิ ยั (transferability) ผวู้ จิ ยั เขยี นบรรยายวธิ กี ารคดั เลอื ก ตามล�าดับ กลุ่มตัวอย่างและสถานท่ีศึกษา เพ่ือให้เข้าใจและสามารถ ประยุกต์ใช้ข้อค้นพบครั้งน้ีได้ ในผู้ให้ข้อมูลท่ีมีบริบท การตรวจสอบความเที่ยง (Reliability) คล้ายคลึงกัน 3) การพ่ึงพาเกณฑ์อ่ืนได้ (depenability) แบบสมั ภาษณ์เชงิ ลกึ ผูว้ ิจยั นา� ไปทดลองใชก้ บั เดก็ ผวู้ จิ ยั มขี น้ั ตอนในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ทเ่ี ปน็ โรคธาลสั ซเี มยี จา� นวน 1 ราย อายุ 11 ปี เพอ่ื ตรวจสอบ และการสรปุ ผลการวจิ ยั อยา่ งละเอยี ดซง่ึ สามารถตรวจสอบ เรอื่ งภาษา การสอ่ื ความหมาย และการตอบสนองตอ่ คา� ถาม ได้ และ 4) การยนื ยนั ผลการวิจัย (confirmability) ผูว้ จิ ัย ของผู้ให้ข้อมูล ส่วนแบบสอบถามความรอบรู้ด้านสุขภาพ มีการเก็บรวบรวมเอกสารต่าง ๆ เช่น เทปบันทึกเสียง ความรว่ มมอื ในการรกั ษา และพฤตกิ รรมการจดั การตนเอง การเขยี นบนั ทกึ ภาคสนาม และการสะทอ้ นความคดิ เปน็ ตน้ ของเด็กโรคธาลัสซีเมีย ผู้วิจัยน�าไปทดลองใช้กับเด็กโรค ธาลัสซีเมียท่ีมีลักษณะคล้ายคลึงกับกลุ่มตัวอย่าง จ�านวน หลังจากน้ันจึงเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณด้วย 15 ราย ค่าสมั ประสทิ ธ์ิแอลฟาของครอนบาค เท่ากบั .74, แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบสอบถามความร่วมมือ .89 และ .80 ตามลา� ดบั ในการรักษา แบบสอบถามความรอบรู้ด้านสุขภาพ และ การเก็บรวบรวมขอ้ มลู แบบสอบถามพฤตกิ รรมการจดั การตนเองของเดก็ โรคธาลสั ภายหลงั โครงการวจิ ยั ไดผ้ า่ นการพจิ ารณาจากคณะ ซเี มยี ซึ่งผวู้ จิ ยั ดา� เนนิ การเกบ็ ขอ้ มูลที่คลนิ กิ โรคธาลัสซีเมีย กรรมการพิจารณาจริยธรรมวิจัยของมหาวิทยาลัยบูรพา หรอื หอผ้ปู ว่ ยกมุ ารเวชกรรมซึ่งผปู้ ่วยมารบั บริการใหเ้ ลือด และโรงพยาบาลแลว้ ผวู้ จิ ยั ไดป้ ระสานกบั ฝา่ ยการพยาบาล จนไดจ้ �านวนกลมุ่ ตวั อยา่ งครบตามที่ก�าหนดไว้ หัวหน้าแผนกผู้ป่วยนอก และหัวหน้าหอผู้ป่วยกุมาร เวชกรรม ด�าเนินการเก็บข้อมูลโดยติดต่อกับพยาบาล ระยะที่ 2 คณะผู้วิจัยรวบรวมผลการศึกษาข้อมูล ประจา� คลนิ กิ โรคธาลสั ซเี มยี เพอ่ื คดั เลอื กผเู้ ขา้ รว่ มวจิ ยั ตาม ท้ังเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ แล้วน�ามาวิเคราะห์และ คณุ สมบตั ทิ กี่ า� หนดไว้ จากนน้ั ตดิ ตอ่ ผเู้ ขา้ รว่ มวจิ ยั และบดิ า สังเคราะห์ข้อมูล จัดท�าร่างรูปแบบการจัดการตนเองของ มารดาหรอื ผปู้ กครอง สรา้ งสมั พนั ธภาพดว้ ยทา่ ทที เี่ ปน็ มติ ร เด็กโรคธาลัสซีเมีย โดยการประชุมระดมสมองจากคณะ แนะน�าตัว บอกวัตถุประสงค์ เพื่อขอความร่วมมือในการ ผู้วิจัย และมีการสะท้อนผลของข้อมูลกับพยาบาลประจ�า เข้าร่วมการวิจัย และชี้แจงให้ทราบถึงการพิทักษ์สิทธิของ หอผู้ป่วยท่ีให้การดูแลเด็กท่ีป่วยด้วยโรคธาลัสซีเมีย เพื่อ ผเู้ ข้าร่วมวิจยั พฒั นาและปรบั ปรงุ รปู แบบใหเ้ หมาะสมกบั บรบิ ทมากทส่ี ดุ ระยะท่ี 1 ผู้วิจัยด�าเนินการเก็บข้อมูลท่ีคลินิกโรค ธาลสั ซเี มยี หรอื หอผปู้ ว่ ยกมุ ารเวชกรรม โดยการสมั ภาษณ์ การพิทกั ษ์สทิ ธกิ ลุม่ ตวั อย่าง เป็นรายบุคคลในที่เป็นสัดส่วน ตามแนวค�าถามปลายเปิด การวจิ ยั ครง้ั นไี้ ดผ้ า่ นการรบั รองจากคณะกรรมการ ทสี่ รา้ งขนึ้ การสมั ภาษณใ์ ชร้ ะยะเวลาประมาณ 30-50 นาที พจิ ารณาจรยิ ธรรมการวจิ ยั ในมนษุ ยข์ องมหาวทิ ยาลยั บรู พา และท�าการสัมภาษณ์จ�านวน 1-2 ครั้งต่อราย ขึ้นอยู่กับ เลขที่ 49-2556 และคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยใน มนุษย์ของโรงพยาบาลชลบุรี เลขท่ี 33-2556 ในการเก็บ ปVoีทlี่u2m8eฉบ28ับทNี่o2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

The Model of Self-management for Children The Journal of Faculty of Nursing 33 with Thalassemia Burapha University รวบรวมข้อมูลผู้วิจัยเข้าพบกลุ่มตัวอย่างเพื่อแนะน�าตัว สว่ นท่ี 1 สถานการณ์ ปัญหา และความต้องการ อธบิ ายวตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั ขนั้ ตอน และรายละเอยี ด ของเด็กโรคธาลสั ซีเมีย ของการท�าวิจัยเพ่ือขอความร่วมมือในการท�าวิจัย ผู้วิจัย จะเก็บรักษาข้อมูลเป็นความลับ ไม่มีการเปิดเผยช่ือ-สกุล ผู้ให้ข้อมูลเป็นเด็กโรคธาลัสซีเมีย อายุระหว่าง ผเู้ ขา้ ร่วมวจิ ยั และจะใช้เป็นรหัสแทน ข้อมูลจะเกบ็ ไวใ้ นที่ 9-15 ปี อายุเฉลีย่ 12.5 ปี (SD = 1.75) เปน็ ผ้ชู าย 6 ราย ปลอดภัยมีเพียงผู้วิจัยเท่าน้ันท่ีทราบ การน�าเสนอข้อมูล (ร้อยละ 54.5) และผูห้ ญิง 5 ราย (ร้อยละ 45.5) เป็นบตุ ร จะน�าเสนอในภาพรวม และน�าไปใช้ประโยชน์เชิงวิชาการ ล�าดับท่ีสอง 6 ราย (ร้อยละ 54.5) ล�าดับที่หนึ่ง 5 ราย เทา่ นนั้ ขอ้ มลู จะถกู ทา� ลายภายหลงั ผลงานวจิ ยั เผยแพรแ่ ลว้ (ร้อยละ 45.5) มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษา 7 ราย ระหว่างการท�าวิจัยผู้เข้าร่วมวิจัยสามารถซักถามข้อสงสัย (รอ้ ยละ 63.6) ระดับประถมศกึ ษา 4 ราย (รอ้ ยละ 36.4) ตา่ ง ๆ ได้ และสามารถยตุ กิ ารเขา้ รว่ มหรอื ออกจากการวจิ ยั ระยะเวลาการเจ็บป่วยอยู่ระหว่าง 3.7-15 ปี ค่าเฉล่ีย ได้ตลอดเวลา โดยไม่ต้องระบุเหตุผลและไม่มีผลกระทบ 10.6 ปี (SD = 3.73) และจากการวิเคราะห์เนอ้ื หา พบว่า ใด ๆ และเนื่องจากผู้เข้าร่วมวิจัยยังไม่บรรลุนิติภาวะจึง ประเด็นหลักในการจัดการดูแลตนเองของเด็กโรค ขอค�ายินยอมการเข้าร่วมการวิจัยจากบิดามารดาหรือ ธาลสั ซเี มยี คอื 1) การจดั การดแู ลตนเองดา้ นชวี ติ ประจา� วนั ผปู้ กครอง 2) การจัดการดูแลตนเองดา้ นจิตใจ และ 3) ส่ิงสนับสนนุ การจัดการดูแลตนเอง ดังรายละเอียดตอ่ ไปนี้ การวิเคราะห์ขอ้ มูล 1. วเิ คราะหส์ ถานการณ์ ปญั หา และความตอ้ งการ 1. การจัดการดูแลตนเองด้านชีวิตประจ�าวัน ของเดก็ โรคธาลสั ซเี มยี โดยการวเิ คราะหเ์ นอ้ื หา (Content ผู้ให้ข้อมูลรับรู้การจัดการตนเองด้านชีวิตประจ�าวันใน 5 analysis) ประเด็นส�าคัญคือ (1) การกินยาและรับเลือดตลอดชีวิต 2. วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง ความ โดยรบั รวู้ า่ เปน็ โรคตดิ ตอ่ ทางพนั ธกุ รรม ตอ้ งกนิ ยาบา� รงุ เลอื ด รอบรู้ด้านสุขภาพ ความร่วมมือในการรักษา พฤติกรรม หลังอาหารทุกวันเพื่อให้ร่างกายแข็งแรง ไม่ป่วย และซีด การจัดการตนเองของเด็กโรคธาลัสซีเมีย โดยใช้สถิติเชิง แตบ่ างครง้ั กล็ มื กนิ ยาเพราะตอ้ งรบี ไปโรงเรยี น เมอื่ นกึ ไดก้ ็ พรรณนา จะรบี กนิ ทนั ทหี รอื ในวนั ตอ่ มา และถา้ มอี าการซดี จะตอ้ งไป 3. วิเคราะห์ปัจจัยท�านายพฤติกรรมการจัดการ รับเลือดที่โรงพยาบาลหรือไปตามแพทย์นัด ดังผู้ให้ข้อมูล ตนเองของเดก็ โรคธาลสั ซเี มยี ไดแ้ ก่ ความรอบรดู้ า้ นสขุ ภาพ กลา่ ววา่ “ชอบลมื กนิ ตอนเชา้ ตอ้ งไปโรงเรยี น...นกึ ไดร้ บี กนิ ความรว่ มมือในการรกั ษา อายุของมารดา และรายได้ของ หรอื ไมก่ ิน รอกินวันใหม่” (2) การจา� กดั อาหาร โดยรับรู้ว่า ครอบครัว โดยสถิติวิเคราะห์ถดถอยพหุแบบขั้นตอน ต้องงดอาหารท่มี ธี าตเุ หลก็ สูง เช่น เครื่องในสตั ว์ เลอื ดไก่ (Stepwise multiple regression) ซ่ึงผ่านการทดสอบ และตับ เป็นตน้ และจะเลอื กกนิ อาหารที่มีประโยชน์ครบ ขอ้ ตกลงเบอื้ งตน้ คอื ความแปรปรวนของความคลาดเคลอ่ื น 5 หมู่ เพอ่ื ใหร้ า่ งกายแขง็ แรง ไมซ่ ดี และเจรญิ เตบิ โตเทา่ กบั มีการกระจายแบบปกติ มี Linearity ไมม่ ี Outliers ไมม่ ี เพอื่ นในวยั เดยี วกนั แตบ่ างครงั้ แอบกนิ อาหารทม่ี ธี าตเุ หลก็ Multicollinearity และไมม่ ี Autocorrelation สูงเพราะชอบ ดงั ผใู้ ห้ขอ้ มลู กล่าววา่ “อาหารทตี่ อ้ งงด เช่น 4. คณะผู้วิจัยรวบรวมผลการวิเคราะห์และ เครอื่ งใน หอยแครง พวกที่มธี าตเุ หลก็ สงู เชน่ สาหรา่ ย... สงั เคราะห์ขอ้ มลู ท้งั ขอ้ มลู เชงิ คณุ ภาพและเชิงปรมิ าณ รว่ ม แต่ผมยังแอบกินสาหร่ายทุกวัน” (3) การจ�ากัดกิจกรรม กบั การทบทวนวรรณกรรมทเ่ี กยี่ วขอ้ ง จากนนั้ มกี ารประชมุ ผใู้ หข้ อ้ มลู สามารถออกกา� ลงั กายเบา ๆ ไมเ่ ลน่ กฬี าทเี่ หนอื่ ย ระดมสมองเพ่ือจัดท�ารูปแบบการจัดการตนเองของเด็กที่ หนกั และหักโหม เพราะจะทา� ให้เหนอ่ื ยงา่ ย และกระดกู ป่วยด้วยโรคธาลสั ซเี มยี อาจหักเนื่องจากกระดูกเปราะ ไม่สามารถเล่นกีฬาที่หนัก กบั เพ่ือนได้ นั่งดูเพ่อื นเล่น บางรายรับรูว้ ่าตนเองสามารถ ผลการวิจัย เล่นได้ เพราะไมเ่ หนอื่ ย จึงไมบ่ อกแมเ่ น่อื งจากไมต่ อ้ งการ ระยะท่ี 1 นา� เสนอผลการวิจัย ออกเปน็ 2 สว่ นคอื ใหแ้ มไ่ มส่ บายใจ (4) การพกั ผอ่ น โดยการพกั ผอ่ นใหเ้ พยี งพอ และไม่นอนดึกตามค�าแนะน�าของแพทย์ เพ่ือไม่ให้เกิด Vปoีทlี่u2m8eฉบ28ับทN่ีo2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

34 รูปแบบการจัดการตนเองของเด็กที่ปว่ ยด้วยโรคธาลสั ซีเมีย วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบรู พา การเจบ็ ปว่ ยบอ่ ย และ (5) การเรียนไมท่ ันเพอื่ น เนอ่ื งจาก เลอื ด ไมอ่ ยากไปโรงพยาบาล และสงสารบดิ ามารดา ทต่ี อ้ ง ต้องขาดเรียนบ่อย เพื่อไปพบแพทย์ตามนัด จึงให้เพ่ือน เสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล (2) การเรียนหนังสือ อธิบาย หรือท�าการบ้านก่อน และขยันอ่านหนังสือ จาก ไม่อยากขาดเรียน ต้องการเรียนสูง ๆ และมีงานทา� และ ขอ้ คน้ พบสรปุ ปญั หาและความตอ้ งการของผใู้ หข้ อ้ มลู ไดว้ า่ (3) การช่วยเหลือจากบิดามารดาในด้านต่าง ๆ ได้แก่ โรคธาลสั ซเี มยี เปน็ โรคพนั ธกุ รรมทร่ี กั ษาไมห่ าย เดก็ จงึ ตอ้ ง อาหารทค่ี วรรบั ประทาน อาหารที่ควรงด การรับประทาน มีการจัดการดูแลตนเองโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ยาอย่างตอ่ เนอื่ ง การออกก�าลังกาย กฬี าทสี่ ามารถเล่นได้ การดา� เนินชีวติ และไม่ควรเล่น รวมทั้งการพักผ่อน ดังผู้ให้ข้อมูลกล่าวว่า 2. การจดั การดแู ลตนเองดา้ นจติ ใจ ผใู้ หข้ อ้ มลู รบั รู้ “แมเ่ ลอื กอาหารด ี ๆ ให ้ ไมใ่ หม้ พี วกตบั เครอ่ื งใน ไมใ่ หเ้ ลน่ การจัดการตนเองด้านจิตใจใน 3 ลกั ษณะคือ (1) การท�าใจ ฟุตบอล แม่กลัวเหน่ือย พ่อจะพามาหาหมอและรับกลับ เน่อื งจากไดร้ ับค�าอธบิ ายจากแพทยว์ า่ โรคธาลัสซีเมยี เปน็ ตอนเย็น ๆ หลังเติมเลือด” และ “แม่จะเตือนตลอดว่า โรคทร่ี กั ษาไมห่ าย จงึ ชนิ และทา� ใจยอมรบั ในอาการของโรค อันน้ีกินได้ อันน้ันกินไม่ได้ กินข้าวเสร็จต้องรีบกินยาเลย ตนเอง และคดิ วา่ ตนเองมอี าการไมม่ าก (2) การมเี พอ่ื นเปน็ จะได้ไมล่ มื ตอนแรก ๆ ก็เบ่อื นะ แตก่ ็รู้ว่าแม่เป็นหว่ ง…” โรคเดยี วกนั จงึ ยอมรบั ในอาการของโรคตนเอง เมอ่ื เปน็ โรค จากข้อค้นพบสรุปปัญหาและความต้องการได้ว่า โรค แล้วก็อยู่กับโรค ได้น่ังเล่นกับเพ่ือน และรับรู้ว่ามีเพ่ือนท่ี ธาลัสซีเมียส่งผลกระทบต่อการเรียนของเด็ก จึงต้องการ อาการรนุ แรงมากกว่าตน ดังผู้ให้ขอ้ มลู กลา่ วว่า “คนอืน่ ๆ หายป่วย ต้องการให้บิดามารดาช่วยดูแลสุขภาพ และ เขากเ็ ปน็ กนั ตง้ั หลายคน...เพอื่ นทหี่ อ้ งกเ็ ปน็ เยอะกวา่ หน.ู .. ใหก้ ารสนบั สนุนการจดั การตนเอง พวกผูช้ ายในห้องจะแซววา่ วันนี้ไม่ไปกินเลือดเหรอ ผีดบิ ส่วนท่ี 2 ปัจจัยท�านายพฤติกรรมการจัดการ ขาดเรยี นอกี แลว้ ” และ (3) การได้กา� ลงั ใจจากบดิ ามารดา ตนเองของเดก็ โรคธาลสั ซีเมยี เม่อื ผู้ให้ข้อมูลมคี วามเครยี ด เช่น กลัวป่วยมาก กลัวสอบ กลุ่มตัวอย่างเป็นเด็กโรคธาลัสซีเมีย อายุระหว่าง ไมผ่ า่ น กลวั เรยี นซา้� ชน้ั เปน็ ตน้ จะไดก้ า� ลงั ใจและคา� แนะนา� 9-15 ปี อายเุ ฉลย่ี 11.2 ปี (SD = 2.04) การศึกษาระดับ จากบดิ ามารดา จากขอ้ คน้ พบสรปุ ปญั หาและความตอ้ งการ ประถมศึกษา ระยะเวลาการเจ็บปว่ ยระหวา่ ง 2-9 ปี เฉลยี่ ของผู้ให้ข้อมูลได้ว่า เด็กมีความเครียดจากการเจ็บป่วย 5 ปี (SD = 1.95) มคี า่ เฉลี่ยของความรอบรดู้ า้ นสุขภาพ ตอ้ งการไดร้ ับกา� ลงั ใจจากบิดามารดา อยใู่ นระดบั เพยี งพอ (M=89.07, SD=15.22) ความรว่ มมอื 3. สง่ิ สนบั สนนุ การจดั การดแู ลตนเอง ผใู้ หข้ อ้ มลู ในการรกั ษาอยใู่ นระดบั ปานกลาง (M=71.79, SD=12.51) รับรู้ส่ิงที่ช่วยให้มีการจัดการตนเองในประเด็นต่อไปน้ี และพฤติกรรมการจัดการตนเองโดยรวมอยู่ในระดับ (1) ความตอ้ งการหายปว่ ย จะไดท้ า� กจิ กรรมเหมอื นเดก็ ปกติ ปานกลาง (M=143.81, SD=13.30) รบั ประทานอาหารและเลน่ กฬี าไดท้ กุ ชนดิ ไมอ่ ยากถกู เจาะ ตารางที่ 1 การวิเคราะหถ์ ดถอยพหขุ องพฤติกรรมการจัดการตนเองของเด็กโรคธาลัสซีเมีย ตวั แปร B SE. Beta t p-value R2 change ความรว่ มมือในการรักษา 0.305 0.104 0.297 2.938 .004 .089 ความรอบรู้ดา้ นสขุ ภาพ 0.253 0.008 0.292 2.116 .005 .085 Constant = 98.76, R2 = 0.174, R2 = 0.154, F2,81 = 8.526, p-value <.001 adjust จากตารางท่ี 1 พบว่า ความร่วมมือในการรักษา ระยะท่ี 2 การพัฒนารูปแบบการจัดการตนเอง และความรอบรู้ด้านสุขภาพ สามารถร่วมกันท�านาย ของเด็กทป่ี ว่ ยดว้ ยโรคธาลัสซเี มยี พฤติกรรมการจัดการตนเองของเด็กโรคธาลัสซีเมียได้ รอ้ ยละ 17.4 (F2,81 = 8.526, p-value < .001) ผวู้ จิ ยั วเิ คราะหแ์ ละสงั เคราะหข์ อ้ มลู จากการศกึ ษา ในระยะท่ี 1 ทั้งข้อมูลเชิงคุณภาพและข้อมูลเชิงปริมาณ ปVoีทl่ีu2m8eฉบ28ับทN่ีo2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

The Model of Self-management for Children The Journal of Faculty of Nursing 35 with Thalassemia Burapha University ร่วมกับการทบทวนเอกสารวิชาการที่เก่ียวข้อง สามารถ ใหก้ า� ลงั ใจ วเิ คราะหต์ ามแนวคดิ เชงิ ระบบใน 3 ประเดน็ หลกั คอื ปจั จยั 2.2 กระบวนการ นา� เขา้ กระบวนการ และผลลพั ธ์ ซง่ึ นา� ไปสกู่ ารพฒั นารปู แบบ จากการวเิ คราะหแ์ ละสงั เคราะหข์ อ้ มลู เชงิ คณุ ภาพ การจดั การตนเองของเดก็ โรคธาลสั ซเี มยี ดงั ภาพที่ 1 และปริมาณ น�าไปสู่การพัฒนารูปแบบการจัดการตนเอง 2.1 ปัจจัยนา� เขา้ เพื่อสนองความต้องการของเด็กโรคธาลัสซีเมีย ประกอบ 2.1.1 ปัจจยั ดา้ นเด็ก ด้วย 1) การเตรียมความพร้อม โดยการประเมินการรับรู้ 1) การรบั รกู้ ารจดั การตนเองของเดก็ การจัดการตนเอง ความรอบรู้ด้านสุขภาพ ความร่วมมือ ในการรักษา พฤติกรรมการจัดการตนเอง เพื่อเป็นข้อมูล ท่ีเป็นโรคธาลัสซีเมีย ได้มาจากข้อมูลเชิงคุณภาพ สรุปได้ พน้ื ฐานและเตมิ เตม็ ในสว่ นทข่ี าด 2) การพฒั นาความสามารถ 3 ประเดน็ หลกั คอื การจดั การดแู ลตนเองดา้ นชวี ติ ประจา� วนั ในการจัดการตนเอง เพ่ือให้เด็กสามารถจัดการตนเองให้ การจัดการดูแลตนเองด้านจิตใจ และสิ่งท่ีช่วยให้มีการ ครอบคลมุ ท้ังดา้ นการรักษา ด้านบทบาทหน้าที่ และด้าน จัดการดแู ลตนเอง จิตสังคม และ 3) การสนบั สนุนการจดั การตนเอง เพื่อให้ เด็กมีทักษะและพฤติกรรมที่คงอยู่ต่อไป โดยมีการต้ัง 2) ความร่วมมือในการรักษา และ เปา้ หมาย การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู การวเิ คราะหแ์ ละประเมนิ ความรอบรดู้ า้ นสขุ ภาพ เปน็ ปจั จยั ทส่ี ามารถรว่ มกนั ทา� นาย การตัดสนิ ใจ การลงมือปฏิบัติ และการสะทอ้ นตนเอง พฤติกรรมการจัดการตนเองของเด็กโรคธาลัสซีเมียได้ ร้อยละ 17.4 2.3 ผลลพั ธ์ ผลลพั ธท์ แี่ สดงวา่ เดก็ โรคธาลสั ซเี มยี มภี าวะสขุ ภาพ 2.1.2 ปัจจัยด้านครอบครัว เป็นบริบทของ ท่ีดีข้ึน ได้แก่ ระดับฮีมาโตคริตคงที่ และระดับเฟอร์ริติน ครอบครวั ในการมสี ว่ นรว่ มสนบั สนนุ การจดั การตนเองโดย ไม่เพิ่มขึ้น รวมทั้งมีการจัดการตนเองและคุณภาพชีวิต การปรบั เปล่ียนพฤตกิ รรม และใหก้ �าลังใจ ที่ดีข้นึ 2.1.3 ปัจจัยด้านส่ิงแวดล้อม หมายรวมถึง บคุ ลากรทมี สขุ ภาพ ซง่ึ เปน็ สว่ นหนง่ึ ทส่ี นบั สนนุ การจดั การ ตนเองของเด็กโรคธาลัสซีเมีย การปรับเปล่ยี นวถิ ึชวี ติ และ ภาพท่ี 1 รปู แบบการจดั การตนเองของเดก็ ทป่ี ่วยดว้ ยโรคธาลัสซเี มีย ปVoีทlี่u2m8eฉบ28ับทNี่o2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

36 รูปแบบการจัดการตนเองของเด็กที่ปว่ ยดว้ ยโรคธาลัสซเี มีย วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบูรพา อภปิ รายผลการวจิ ยั ด้านสุขภาพไม่ดี ส่งผลให้เด็กที่เป็นโรคหอบหืดมีอาการ จากผลการศึกษาสามารถอภิปรายประเด็นส�าคัญ รนุ แรงมากข้ึน (DeWalt et al., 2007) ได้ดังน้ี การพัฒนาความสามารถในการจัดการตนเอง รูปแบบการจัดการตนเองของเด็กท่ีป่วยด้วยโรค เป็นการปรับมุมมองของเดก็ ให้เกดิ ความตระหนัก มีความ รับผิดชอบตนเองในการปฏิบัติพฤติกรรมให้เหมาะสมกับ ธาลสั ซีเมียที่ผูว้ ิจัยพัฒนาขนึ้ มานน้ั ไดม้ าจากการวเิ คราะห์ โรคธาลัสซีเมีย มีทักษะในจัดการและแก้ปัญหากับความ และสังเคราะห์ข้อมูลจากมุมมองของเด็กท่ีป่วยด้วยโรค เจบ็ ปว่ ยไดด้ ว้ ยตนเอง เพอ่ื ลดภาวะแทรกซอ้ นทอี่ าจเกดิ ขนึ้ ธาลัสซีเมีย และปจั จยั ท�านายพฤตกิ รรมการจดั การตนเอง สง่ ผลให้เดก็ มสี ุขภาพและคุณภาพชวี ติ ที่ดี จากผลการวจิ ยั ของเด็กโรคธาลัสซีเมีย ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ พบว่า พฤติกรรมการจัดการตนเองโดยรวมอยู่ในระดับ 1) การเตรียมความพร้อม 2) การพัฒนาความสามารถ ปานกลาง เด็กจึงยังมีความต้องการจัดการตนเองเพื่อ ในการจัดการตนเอง และ 3) การสนับสนุนการจัดการ ปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมสขุ ภาพใหด้ ขี น้ึ ทงั้ นก้ี ารจดั การตนเอง ตนเอง ดงั รายละเอียดต่อไปนี้ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพน้นั จะตอ้ งครอบคลุมท้งั 3 ดา้ น (Lorig & Holman, 2003) ได้แก่ 1) การจดั การด้านการรักษา เชน่ การเตรียมความพร้อม เป็นการปูพื้นฐานให้เด็ก การรับประทานยา การรับประทานอาหาร และการออก พร้อมท่ีจะจัดการตนเองอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะความ ก�าลังกายทเ่ี หมาะสม เป็นต้น 2) การจดั การด้านบทบาท รอบรดู้ า้ นสขุ ภาพเกย่ี วกบั โรคธาลสั ซเี มยี และความรว่ มมอื เช่น งานบ้าน การด�าเนินชีวิตประจ�าวัน เป็นต้น และ ในการรักษา ซ่ึงเป็นปัจจัยท่ีร่วมกันท�านายพฤติกรรมการ 3) การจัดการด้านจิตสังคม เช่น โกรธ เครียด ซึมเศร้า จดั การตนเองได้ ความรอบรดู้ า้ นสขุ ภาพ (Health literacy) เปน็ ตน้ (Viprekasit, 2013) เปน็ แนวคิดที่กล่าวถึง ความสามารถของบุคคลทเี่ ก่ยี วข้อง กบั ภาวะสขุ ภาพโดยการประเมนิ ขอ้ มลู ขา่ วสารทางสขุ ภาพ การสนับสนุนการจัดการตนเอง เป็นบทบาทของ ความตระหนกั ตอ่ ความสามารถตนเอง และเตมิ เต็มขอ้ มลู บคุ ลากรทีมสุขภาพและครอบครัวทใี่ ห้การสนับสนนุ ดูแล ส่วนท่ีขาด หมายรวมถึงการรู้เท่าทันสื่อเพื่อวิเคราะห์และ และส่งเสริมให้เด็กมีการจัดการตนเอง การตัดสินใจ และ ตดั สนิ ใจเลอื กใชข้ อ้ มลู ทเ่ี หมาะสม (Nutbeam, 2000) โดย ปรับเปล่ียนพฤติกรรมให้เหมาะสม เพ่ือควบคุมอาการ Nutbeam (2008) ไดจ้ า� แนกความรอบรู้ด้านสุขภาพเป็น ความรุนแรง และภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ท่ีอาจเกิดข้ึน 3 ระดับ คอื ระดบั ที่ 1 ความรอบร้ดู ้านสขุ ภาพขนั้ พื้นฐาน (Wattana, 2015) ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดการจัดการ (Functional health literacy) ไดแ้ ก่ ทักษะการฟงั พดู ตนเองของ Creer (2000) ทกี่ ลา่ วไวว้ ่า เป็นกระบวนการท่ี อ่าน และเขียน เช่น การอ่านฉลากยา เปน็ ตน้ ระดบั ที่ 2 เปน็ พลวตั ร ประกอบดว้ ย การตงั้ เปา้ หมาย การเกบ็ รวบรวม ความรอบรดู้ า้ นสขุ ภาพขนั้ มปี ฏสิ มั พนั ธ์ (Communicative/ ข้อมูล การประมวลและประเมินข้อมูล การตัดสินใจ Interactive health literacy) ได้แก่ ทักษะการนึกคิด การลงมือปฏบิ ตั ิ และการสะทอ้ นตนเอง ดังน้ี ทางสังคม การรู้เท่าทันส่ือ และระดับท่ี 3 ความรอบรู้ ดา้ นวจิ ารณญาณ (Critical health literacy) ได้แก่ ทกั ษะ 1. การต้ังเป้าหมาย โดยการฝึกให้เด็กสามารถ ทางสงั คม การใชข้ อ้ มลู ขา่ วสารและการวเิ คราะหเ์ ปรยี บเทยี บ ก�าหนดเป้าหมายร่วมกับพยาบาลเพื่อให้มีภาวะสุขภาพ บุคคลที่มีความรอบรู้ด้านสุขภาพที่เหมาะสม มักจะมี และคุณภาพชีวิตท่ีดีได้ เช่น การออกกา� ลังกายอย่างน้อย ความร่วมมอื ในการรกั ษาเป็นอย่างดี ส่งผลใหม้ พี ฤติกรรม อาทิตย์ละ 3 ครง้ั สุขภาพที่ถูกต้องและเหมาะสม อย่างไรก็ตามยังไม่พบ งานวิจัยที่เก่ยี วกบั ความรอบรดู้ ้านสขุ ภาพของเดก็ โดยตรง 2. การเก็บรวบรวมข้อมูล โดยการฝึกให้เด็ก แต่มีรายงานวิจัยในบิดามารดา ท่ีพบว่า ความรอบรู้ สามารถสังเกตอาการด้วยตนเอง และการบันทึกอาการ ดา้ นสขุ ภาพของบดิ ามารดา มคี วามสมั พนั ธก์ บั การควบคมุ ของตนเอง เพ่ือเป็นข้อมูลในการวิเคราะห์และประเมิน ระดับน้�าตาลในเด็กที่เป็นโรคเบาหวานชนิดท่ี 1 (Ross ความผิดปกติที่เกิดขึ้นได้ เช่น อาการซีด อ่อนเพลีย et al., 2001) ในทางกลับกันบิดามารดาที่มีความรอบรู้ เหนอื่ ยงา่ ย เป็นตน้ 3. การวิเคราะห์และประเมินข้อมูล เป็นการฝึก Vปoีทlี่u2m8eฉบ28ับทNี่o2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

The Model of Self-management for Children The Journal of Faculty of Nursing 37 with Thalassemia Burapha University การนา� ขอ้ มลู ทรี่ วบรวมไดเ้ กย่ี วกบั ความเจบ็ ปว่ ยของตนเอง เมื่อเด็กที่ป่วยด้วยโรคธาลัสซีเมียมีความรอบรู้ มาวิเคราะห์เปรียบเทียบกบั เกณฑ์ที่กา� หนดไว้ เช่น ระดบั ด้านสุขภาพที่ดีและให้ความร่วมมือในการรักษา ได้แก่ ฮมี าโตคริต ระดบั เฟอรร์ ิตนิ เป็นตน้ การรบั ประทานยา การรบั ประทานอาหาร การออกกา� ลงั กาย และการพักผ่อน ก็จะท�าให้การรักษามีประสิทธิภาพ ลด 4. การตดั สนิ ใจ เปน็ การฝกึ ใหผ้ ปู้ ว่ ยตดั สนิ ใจเลอื ก ภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ จากโรคได้ เช่น ซีด เหนื่อยง่าย วธิ ปี ฏบิ ตั ทิ เี่ หมาะสมในการจดั การตนเอง โดยใชผ้ ลจากการ ออ่ นเพลยี เป็นต้น เดก็ สามารถปฏิบตั กิ จิ วตั รประจา� วนั ได้ วิเคราะห์ขอ้ มูลเก่ยี วกบั ความเจ็บป่วยทร่ี วบรวมได้ เหมอื นเดก็ ปกติท่ัวไป ไม่ขาดเรยี น จดั การกบั ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนได้ ส่งผลให้คุณภาพชีวิตดีข้ึน สอดคล้องกับ 5. การลงมือปฏิบัติ เป็นการปฏิบัติการจัดการ การศึกษาท่ีผ่านมา พบว่า โปรแกรมการจัดการตนเอง ตนเองในการควบคมุ โรคธาลสั ซเี มยี เชน่ การเลอื กรบั ประทาน ส่งผลให้เด็กมีพฤติกรรมการควบคุมโรคดีข้ึน (Perez, อาหารที่มีประโยชน์ การออกก�าลังกายท่ีเหมาะสม Feldman, & Caballero, 1999; Wattana, Srisuphan, การรับประทานยาอย่างสม�่าเสมอ การเฝ้าระวังอาการ Pothiban, & Upchurch, 2007) กญุ แจสา� คญั ทส่ี ดุ ทท่ี า� ให้ ผิดปกติและอาการแสดงของภาวะแทรกซ้อน การดูแล รปู แบบการจดั การตนเองประสบผลสา� เรจ็ คอื ความรว่ มมอื สุขภาพเมอื่ มีภาวะเจ็บปว่ ย เป็นตน้ ระหวา่ งตัวเด็ก ครอบครัว และผใู้ ห้บรกิ าร 6. การสะท้อนตนเอง เป็นการฝึกก�ากับและ ขอ้ เสนอแนะในการนา� ผลการวิจัยไปใช้ ประเมินตนเองเป็นระยะ ๆ ว่าเป็นไปตามเป้าหมายที่ 1. ด้านการปฏิบัติการพยาบาล ควรมีการศึกษา ก�าหนดไวห้ รอื ไม่ เพื่อใหเ้ ดก็ มีทกั ษะและปฏบิ ัติพฤติกรรม อยา่ งต่อเนื่อง ประสิทธิผลของรูปแบบการจัดการตนเองของเด็กที่ป่วย ดว้ ยโรคธาลสั ซเี มยี ทพ่ี ฒั นาขนึ้ มา และปรบั ปรงุ ใหเ้ หมาะสม รูปแบบการจัดการตนเองของเด็กที่ป่วยด้วยโรค กับบริบทท่ีศึกษา ก่อนน�ารูปแบบการจัดการตนเองไปใช้ ธาลัสซเี มีย เปน็ แบบแผนที่ให้เดก็ สามารถจัดการตนเองได้ จริง เพื่อให้ส่งเสริมให้เด็กสามารถจัดการตนเอง และมี เม่ือมีปัญหาเกิดข้ึน เพื่อให้มีภาวะสุขภาพดีและลด คุณภาพชีวิตท่ีดตี ่อไป ความรุนแรงของโรคธาลัสซีเมีย ทั้งนี้สามารถอธิบายได้ว่า เดก็ วยั นเ้ี ปน็ วยั ทมี่ คี วามคดิ วเิ คราะห์ ตดั สนิ ใจเลอื กวธิ กี าร 2. ด้านการพัฒนาวิชาชีพพยาบาล สถาบัน จดั การเกย่ี วกบั ความเจบ็ ปว่ ยของโรคไดด้ ว้ ยตนเอง แตอ่ าจ การศึกษาทางการพยาบาลสามารถน�าแนวคิดการจัดการ ตอ้ งมผี สู้ นบั สนนุ ใหก้ า� ลงั ใจจากบคุ คลในครอบครวั เพอื่ ให้ ตนเองไปสอนนิสิตพยาบาลเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพเด็ก เด็กสามารถจัดการตนเองได้สา� เรจ็ โดยมีเปา้ หมายเพอ่ื ลด โรคธาลสั ซเี มยี และโรคเรอ้ื รงั อื่น ๆ ได้ ภาวะแทรกซอ้ นของโรคได้ ดงั นนั้ การสอนหรอื ใหค้ า� แนะนา� เดก็ ควรมลี กั ษณะเปน็ เหตเุ ปน็ ผล พรอ้ มทงั้ มกี ารยกตวั อยา่ ง กติ ตกิ รรมประกาศ สถานการณ์ท่ีเด็กเคยประสบมาก่อน (Klunklin, 2017) ขอขอบคุณ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย ตัวอย่างเช่น การใช้กระบวนการกลุ่มท่ีเน้นการให้ความรู้ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์การจัดการตนเองของเด็ก บูรพา ผู้ให้การสนับสนุนทุนอุดหนุนการท�าวิจัย และขอ ธาลัสซีเมีย เพิ่มการตัดสินใจ การวางเป้าหมาย วางแผน ขอบคุณผู้ป่วยเด็กโรคธาลัสซีเมียและผู้ปกครองทุกท่านที่ ด�าเนินการ นอกจากน้ันยังปรับเปล่ียนการรับรู้เก่ียวกับ ใหค้ วามรว่ มมอื เข้ารว่ มการวิจัยคร้ังนี้ ความเจ็บป่วย และพัฒนาความสามารถในการจัดการ ตนเองของเด็กโรคธาลัสซีเมีย เนื่องจากเด็กธาลัสซีเมีย ต้องมารับเลือดเป็นประจา� ทกุ เดือน และไดร้ ับยาขบั เหล็ก ทกุ วนั รปู แบบการจดั การตนเองนจ้ี ะชว่ ยเพม่ิ ความตระหนกั เกี่ยวกับความร่วมมือในการรักษา และความรอบรู้ด้าน สขุ ภาพมากขนึ้ ปVoีทl่ีu2m8eฉบ28ับทN่ีo2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

38 รปู แบบการจดั การตนเองของเด็กทปี่ ว่ ยด้วยโรคธาลัสซีเมีย วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบรู พา References Creer, L.T. (2000). Self-management of chronic illness. In M. Boekaert, P.R. Pintrict, & M. Areeauey, A., Leethongdee, S., & Yonthakul, S. Zeidner (Eds.), Handbook of self-regulation (2017). A model for quality of care (pp. 601-629). California: Academic Press. improvement for chronically Ill patients’ services: A case study for pediatric Davis, T., Crouch, M., & Long, S. (1991). Rapid Thalassemia clinic in kalasin hospital. The estimate of literacy levels of adult primary Journal of faculty of Nursing Burapha care patients. Fam Med, 23, 433-435. University, 25(4), 42-50. [In Thai]. DeWalt, D.A., Dilling, M.H., Rosenthal, M.S., & April, K.T., Feldman, D.E., Zunzunegui, M.V., & Pignone, M.P. (2007). Low parental literacy Duffy, C.M. (2008). Association between is associated with worse asthma care perceived treatment adherence and measures in children. Ambul Pediatr, 7(1), health-related quality of life in children 25-31. doi:10.1016/j.ambp.2006.10.001 with juvenile idiopathic arthritis: Perspectives of both parents and children. Feldman, D.E., de Civita, M., Dobkin, P.L., Malleson, Patient Prefer Adherence, 2, 121-8. P., Meshefedjian, G., & Duffy, C.M. (2007). Perceived adherence to prescribed Ashwill, J.W., & Droske, S.C. (1997). Nursing Care treatment in juvenile idiopathic arthritis of Children: Principles and Practice. over a one-year period. Arthritis Rheum, Philadelphia: W.B. Saunders Company. 57(2), 226-33. Bloom, B.S., Hastings, J.T., & Madaus, G.F. (1971). Grey, M., Knafl, K., & McCorkle, R. (2006). A Handbook on formative and summative framework for the study of self- and family evaluation of student learning. New York: management of chronic conditions. Nurse McGraw-Hill. Outlook, 54(5), 278-286. doi:10.1016/j. outlook.2006.06.004 Cakaloz, B., Cakaloz, I., Polat, A., Inan, M., & Oguzhanoglu, N.K. (2009). Psychopathology Hockenberry, M.J., & Wilson, D. (2015). Wong’s in Thalassemia major. Pediatr Int, 51(6), nursing care of infants and children (10th 825-8. doi.org/10.1111/j.1442-200X.2009. ed.). St. Loius: Missouri. 02865.x Imiwat, M. (2012). The effects of the health Ceci, A., Baiardi, P., Catapano, M., Felisi, M., education program on health behavior Cianciulli, P., De Sanctis, V., . . . & Maggio, development of Thalassemia children. A. (2006). Risk factors for death in patients Rajabhat Chiang Mai Research Journal, with beta-thalassemia major: results of a 13(1), 115-128. [In Thai]. case-control study. Haematologica, 91(10), 1420-1421. Klunklin, P. (2017). Nursing care of children for health promotion. Chiang mai: Smartcoating Cohen, J. (1988). Statistical power analysis for and Service. [In Thai]. the behavioral sciences (2nd ed.). NJ: Lawrence Erlbaum Associated, Publishers. Vปoีทlี่u2m8eฉบ28ับทNี่o2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

The Model of Self-management for Children The Journal of Faculty of Nursing 39 with Thalassemia Burapha University Kuttarasang, R., Sananreangsak, S., & Teerarungsikul, Pitchalard, K., & Moonpanane, K. (2013). N. (2017). Effect of family management Improvement of a continuing care model promotion program on maternal management in child with Thalassemia and caregivers. and health status of school-age children Nursing Journal, 40(3), 97-108. [In Thai]. with Thalassemia. Thai Journal of Nursing, 66(3), 1-10. [In Thai]. Ross, L. A., Frier, B. M., Kelnar, C. J., & Deary, I. J. (2001). Child and parental mental ability Lincoln, Y.S., & Guba, E.G. (1985). Naturalistic and glycaemic control in children with Type inquiry. Newbury Park, CA: Sage Publication, 1 diabetes. Diabet Med, 18(5), 364-369. Inc. doi:10.1046/j.1464-5491.2001.00468.x Lorig, K.R. & Holman, H.R. (2003). Self-management Sananreangsak, S., Lapvongwatanal, P., Virutsetazin, education: History, definition, outcomes, K., Vatanasomboon, P., & Gaylord, N. (2012). and mechanisms. Ann Behav Med, 26(1), Predictors of family management behavior 1-7. for children with thalassemia. Southeast Asian J Trop Med Public Health, 43(1), Medical statistic of Chonburi Hospital (2019). The 160-71. report of a medical statistic. Chonburi: Chonburi Hospital. [In Thai]. Sanee, A. (2014). Self-management program in chronic diseases. Journal of The Thai Army Ministry of Public Health. (2018). “Thalassemia”. Nurses, 15(2), 129-134. [In Thai]. Genetic diseases in Thailand (Cited on 2020 Apr 5). Available from https://pr.moph.go.th Viprekasit, V. (2013). Comprehensive management /?url=pr/detail/all/02/116500. [In Thai]. for Thalassemia. Journal of Hematology Transfusion Medicine, 23(4), 303-320. [In Nutbeam, D. (2000). Health literacy as a public Thai] health goal: A challenge for contemporary health education and communication Wattana, C., Srisuphan, W., Pothiban, L., & strategies into health 21st century. Health Upchurch, S.L. (2007). Effects of a diabetes Promotion International, 15(3), 259-267. self-management program on glycemic control, coronary heart disease risk, and Nutbeam, D. (2008). The evolving concept of quality of life among Thai patients with health literacy. Soc Sci Med, 67(12), 2072- type 2 diabetes. Nursing & Health Sciences, 2078. doi:10.1016/j.socscimed.2008.09.050 9(2), 135-141. [In Thai]. Parker, R.M., Baker, D.W., Williams, M.V., & Nurss, Wattana, C. (2015). Self-management support: J.R. (1995). The test of functional health strategies for promoting disease control. literacy in adults: A new instrument for Journal of Phrapokklao Nursing College, measuring patients’ literacy skills. J Gen 26(Suppl1), 117-127. [In Thai]. Intern Med, 10(10): 537-41. Yusuk, P., Sananreangsak, S., & Teerarungsikul, N. Perez, M.G., Feldman, L., & Caballero, F. (1999). (2019). Factors related to maternal Effects of a self-management educational management for children with thalassemia. program for the control of childhood JOPN, 11(1), 151-62. [in Thai]. asthma. Patient Education and Counseling, 36, 47-55. ปVoีทlี่u2m8eฉบ28ับทN่ีo2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

การวิเคราะห์องคป์ ระกอบของแบบสอบถามพฤตกิ รรม การรับประทานอาหารในผูป้ ่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ ปณิชา พลพินจิ RN, Ph.D.1* อาภรณ์ ดนี าน RN,Ph.D.2 วภิ า วิเสโส RN, Ph.D.3 บทคัดย่อ การวจิ ัยในครงั้ นมี้ วี ัตถปุ ระสงค์เพ่ือวิเคราะหอ์ งคป์ ระกอบของแบบสอบถามพฤตกิ รรมการรบั ประทานอาหารใน ผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ดหวั ใจ โดยการวเิ คราะหจ์ ากขอ้ มลู ทตุ ยิ ภมู ขิ องการใชแ้ บบสอบถามพฤตกิ รรมการรบั ประทานอาหาร กลุ่มตัวอย่างเปน็ ผูท้ ีไ่ ดร้ บั การวนิ จิ ฉยั วา่ เปน็ โรคหลอดเลอื ดหวั ใจ จา� นวน 268 ราย ทมี่ ารบั การรักษา ณ แผนกผูป้ ว่ ยนอก โรคหัวใจของโรงพยาบาลระดับทุติยภมู ใิ นภาคตะวนั ออกจ�านวน 2 แหง่ วเิ คราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์องคป์ ระกอบ เชิงส�ารวจด้วยวีธีการวิเคราะห์องค์ประกอบหลัก และสกัดองค์ประกอบด้วยการหมุนแกนแบบออโธโกนอลด้วยวิธี แวรแิ มกซ์ และวิเคราะห์ความเชือ่ มน่ั แบบสอดคล้องภายในด้วยการคา� นวณค่าสัมประสิทธแิ์ อลฟ่าครอนบาค ผลการศึกษาคร้ังนี้มีค่า KMO เท่ากับ .86 และค่า MSA ของแบบสอบถามรายข้ออยู่ระหว่าง .604 - .908 ผล Bartlett’s test of Sphericity มีนัยสา� คัญทางสถิติ (p < .001) และพบว่าแบบสอบถามการรบั ประทานอาหารมี องค์ประกอบหลัก 2 ด้าน คือ ด้านการรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสมต่อสุขภาพ มีข้อค�าถามจ�านวน 11 ข้อ ซึ่งมี คา่ น้า� หนักองค์ประกอบระหวา่ ง .42 - .76 ส่วนด้านการรบั ประทานอาหารที่มีผลดตี อ่ สขุ ภาพ มขี ้อคา� ถามจ�านวน 6 ขอ้ และมีค่าน�้าหนักองค์ประกอบ ระหว่าง .42 - .85 โดยท้ังสององค์ประกอบสามารถอธิบายความแปรปรวนร่วมกันได้ รอ้ ยละ 47.50 ผลการตรวจสอบความเชอื่ มนั่ แบบสอดคลอ้ งภายในมคี า่ สมั ประสทิ ธแ์ิ อลฟา่ ครอนบาค ของแบบสอบถาม ทั้งฉบับเทา่ กบั .87 และรายดา้ นเท่ากบั .72 และ .76 ตามล�าดบั จากการศึกษาคร้ังนี้แสดงใหเ้ ห็นว่า แบบสอบถามนี้ สามารถน�าไปใช้ในการศึกษาหรือประเมินพฤติกรรมการรับประทานอาหารในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจและในบริบท ของสังคมไทย คา� สา� คญั : โรคหลอดเลอื ดหวั ใจ พฤตกิ รรมการรบั ประทานอาหาร การวเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบ ความเชอื่ มน่ั แบบสอดคลอ้ ง ภายใน 1 อาจารย์ สาขาวิชาการพยาบาลผใู้ หญ่ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา 2 รองศาสตราจารย์ สาขาวชิ าการพยาบาลผ้ใู หญ่ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั บรู พา 3 ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ สาขาวชิ าการพยาบาลผใู้ หญ่ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา * ผู้เขียนหลัก e-mail: [email protected] Received 15/05/2020 Revised 05/06/2020 Accept 18/06/2020

Factor Analysis of the Eating Behavior Questionnaire in Patient with Coronary Artery Disease Panicha Ponpinij RN, Ph.D.1*, Aporn Deenan RN, Ph.D.2, Wipa Wiseso RN, Ph.D.3 Abstract The purpose of this research was to evaluate the factors and internal consistency of the eating behavior questionnaire in patients with coronary artery disease. This secondary analysis of 268 patients with coronary artery disease was analyzed for validation. Exploratory factor analyses (EFA) was deployed with principal component analysis and Varimax method for factor extraction and rotation respectively. Internal consistency was analyzed using Cronbach’s alpha coefficient. Results indicated appropriate values for sampling adequacy (KMO value of .86 and MSA value for each item of .604 - .908) and Bartlett’s test of Sphericity (p < .001), and found two dimensions of the eating behavior questionnaire: healthy eating behavior and unhealthy eating behavior. The dimensions consisted of 6 items and 11 items, respectively, which yielded factor loadings of .42 - .85 and .42 - .76 respectively. The total variance accounted for was 47.50%. Cronbach’s alpha coefficients were .87 for the whole questionnaire, and .72 and .76 for the two dimensions. The results suggest that the eating behavior questionnaire could be appropriately used to assess eating behaviors in persons who are at risk of and/or diagnosed with cardiovascular disease. Key words: Coronary artery disease, eating behaviors, factor analysis, internal consistency 1 Instructor, Faculty of Nursing, Burapha University 2 Associate Professor, Faculty of Nursing, Burapha University 3 Assistant Professor, Faculty of Nursing, Burapha University * Corresponding author e-mail: [email protected]

42 การวเิ คราะหอ์ งค์ประกอบของแบบสอบถามพฤตกิ รรมการรับประทานอาหาร วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ ในผูป้ ว่ ยโรคหลอดเลือดหวั ใจ มหาวิทยาลัยบรู พา ความสา� คัญของปญั หา ปริมาณอาหารและมีการรับประทานอาหารท่ีเหมาะสม โรคหลอดเลือดหัวใจยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุข จะมีผลช่วยลดระดับคลอเลสเตอรอล ไขมันแอลดีแอล ความดันโลหติ และระดบั น้า� ตาลในเลือดได้ (Turk-Adawi ทสี่ า� คญั ของประเทศไทย เพราะนอกจากอตั ราการเจบ็ ปว่ ย & Grace, 2015) ตลอดจนโอกาสเกิดหลอดเลือดหัวใจ ทเ่ี พิ่มข้นึ อยา่ งตอ่ เน่ืองแลว้ ยงั เป็นสาเหตุการตายทสี่ �าคัญ น้อยลง ดังนั้นในการประเมินพฤติกรรมการรับประทาน จ�านวนผู้ป่วยท่ีเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลและ อาหารจ�าเป็นต้องมีเครื่องมือที่เหมาะสมเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ การเสียชีวติ ดว้ ยโรคหลอดเลอื ดหวั ใจ 431.91 และ 23.4 ตรงประเดน็ และนา� ไปสกู่ ารแกไ้ ขปญั หาทสี่ อดรบั กบั บรบิ ท ตอ่ แสนประชากร ในปี พ.ศ. 2556 และเพมิ่ ขน้ึ เปน็ 501.41 ของผปู้ ่วยอยา่ งแทจ้ รงิ และ 31.8 ต่อแสนประชากร ในปี พ.ศ. 2560 ตามล�าดบั (Strategy and Planning Division, Office of the แมว้ ่า Dutch Eating Behavior questionnaire Permanent Secretary, 2017) นอกจากนั้นโรค (DEBQ) และ Three Factor Eating Questionnaire หลอดเลือดหัวใจยังเป็นสาเหตุของการสูญเสียสุขภาวะ (TFEQ) จะเป็นเครื่องมือมาตรฐานท่ีมีการน�ามาประยุกต์ (Disability-Adjusted Life Years [DALYs]) ในอนั ดบั ตน้ ๆ ใช้อย่างกว้างขวางในการประเมินการรับประทานอาหาร ของประชากรวัยท�างาน จากข้อจ�ากัดของภาวะสุขภาพ ในวยั ผใู้ หญ่ โดยเฉพาะในผทู้ ม่ี ภี าวะอว้ น (Akaratnapol & ตลอดจนการตายก่อนวัยอันควร (Health Systems Deenan, 2016) อยา่ งไรกต็ ามจากขอ้ คา� ถามทเี่ ปน็ ลกั ษณะ Research Institute, 2014) เกดิ ความสญู เสยี ทางเศรษฐกจิ แบบท่ัวไปจึงมีข้อจ�ากัดในการน�ามาใช้ในโรคหลอดเลือด คา่ ใชจ้ า่ ยทางสขุ ภาพทเี่ พมิ่ สงู ขนึ้ สง่ ผลกระทบตอ่ คณุ ภาพ หวั ใจซงึ่ มคี วามจา� เพาะ จากการทบทวนวรรณกรรมในกลมุ่ ชีวิตของตวั บคุ คล ครอบครัว และสังคมในวงกว้าง ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจในประเทศไทยไม่พบเคร่ืองมือ ประเมินการรับประทานอาหารที่เป็นมาตรฐานและมี โรคหลอดเลือดหัวใจนอกจากรักษาด้วยยาหรือท�า การน�ามาใช้อย่างกว้างขวาง เครอ่ื งมอื ที่ใช้ส่วนใหญ่พฒั นา หตั ถการเพอ่ื แกป้ ญั หาการอดุ ตนั ของหลอดเลอื ดหวั ใจแลว้ ขน้ึ ใหมต่ ามวตั ถปุ ระสงคข์ องการศกึ ษา หรอื สรา้ งขนึ้ เพอื่ ใช้ ผู้ป่วยต้องดูแลตนเองท้ังในด้านการรับประทานยาตาม ประกอบการท�าวิทยานิพนธ์ ตลอดจนเป็นเพียงส่วนหน่ึง แผนการรักษา การพบแพทย์ตามนัดอย่างสม�่าเสมอ ของแบบสอบถามพฤติกรรมสุขภาพ (Sangsiri et al., การปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรมและการดา� เนนิ ชวี ติ อยา่ งเหมาะสม 2015; Theerapunchareon, 2019; Wichitthongchai, เพื่อควบคุมอาการและลดปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ ของการเกิด 2012) นอกจากนน้ั ยงั ไมพ่ บรายงานการตรวจสอบคณุ ภาพ โรค (Piepoli et al., 2014; Woodruffe et al., 2015) ของแบบประเมนิ ดงั กลา่ วตามมาตรฐานกระบวนการสรา้ ง โดยการมีกิจกรรมทางกายหรือมีการออกก�าลังกายอย่าง เครอ่ื งมอื ดงั นนั้ การพฒั นาและตรวจสอบคณุ ภาพของแบบ สม่�าเสมอ ลด ละ เลิก การสูบบุหร่ีและด่ืมเคร่ืองดื่มทมี่ ี ประเมินการรับประทานอาหารในผู้ป่วยโรคหลอดเลือด แอลกอฮอล์ และการจัดการกบั ความเครียด นอกจากน้ัน หัวใจจึงยังมีความส�าคัญ เนื่องจากจะท�าให้ได้เคร่ืองมือ ทส่ี า� คญั อกี อยา่ งคอื การรบั ประทานอาหารอยา่ งเหมาะสม ที่เป็นมาตรฐาน มีคุณภาพ และสะท้อนข้อมูลตามบริบท ซึ่งมีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคสูง จากการศึกษาพบว่า ท่แี ท้จรงิ ของประเทศไทย ซ่งึ จะน�าไปสูก่ ารแกป้ ญั หาอย่าง ผทู้ มี่ กี ารรบั ประทานอาหารจา� พวกทม่ี คี ารโ์ บไฮเดรต ไขมนั เหมาะสม และโซเดียมสูง รวมทั้งอาหารแปรรูป อาหารกระป๋อง อาหารจานดว่ น เบเกอรี ดม่ื เครอื่ งดม่ื สา� เรจ็ รปู ทม่ี รี สหวาน แบบสอบถามพฤติกรรมการรบั ประทานอาหารใน เปน็ ประจา� รวมถงึ การบรโิ ภคแคลอรเี กนิ ความตอ้ งการของ ผู้ใหญแ่ ละผู้สงู อายุที่ Deenan et al. (2005) พฒั นาขนึ้ ร่างกาย มีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคความดันโลหิตสูง เปน็ หนงึ่ ในเครอ่ื งมอื ทม่ี สี าระของคา� ถามคอ่ นขา้ งครอบคลมุ เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง และภาวะอ้วน ซึ่งส่งผลต่อ และตรงในประเด็นตามจุดมุ่งหมายท่ีผู้วิจัยต้องการศึกษา การเกิดโรคหลอดเลอื ดหวั ใจเพม่ิ มากข้นึ (Anand et al., และส่งเสริมการรับประทานอาหารที่เหมาะสมในผู้ป่วย 2015) ขณะที่ผู้ท่ีรับประทาน ผัก ผลไม้ หรืออาหารที่มี โรคหลอดเลอื ดหัวใจ แบบสอบถามดังกลา่ วพฒั นาข้ึนจาก กากใยสูง รวมถึงถั่วเมล็ดแห้ง ธัญพืช ปลา การควบคุม การทบทวนวรรณกรรมทเี่ กย่ี วขอ้ ง และผา่ นการตรวจสอบ Vปoีทlี่u2m8eฉบ28ับทNี่o2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

Factor analysis of the Eating Behavior Questionnaire The Journal of Faculty of Nursing 43 in Patient with Coronary Artery Disease Burapha University ความตรงของเน้ือหา ความเหมาะสมของภาษา จาก หมวดหมู่ และเป็นแนวทางน�าไปสู่การแก้ไขปัญหาอย่าง ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความเช่ียวชาญในการดูแลผู้ป่วยระบบ ตรงประเด็น อน่ึงแบบสอบถามน้ียังไม่เคยมีการวิเคราะห์ หัวใจและหลอดเลือด นักโภชนาการ และอาจารย์ที่มี องค์ประกอบเบื้องต้นมาก่อน ดังนั้นผลการศึกษาท่ีได้จะ ประสบการณใ์ นการสรา้ งเครอื่ งมอื วจิ ยั จา� นวน 5 ทา่ น และ เปน็ ขอ้ มลู พน้ื ฐานในการพฒั นาใหเ้ ครอื่ งมอื มคี ณุ ภาพตอ่ ไป มีค่าดัชนีความตรงตามเน้ือหา (Content validity index: CVI) เท่ากับ .92 โดยเบื้องต้นน�าไปใช้ในการประเมิน วัตถุประสงคก์ ารวจิ ัย พฤติกรรมการรับประทานอาหารในผู้ป่วยโรคกล้ามเน้ือ เพอ่ื ตรวจสอบคณุ สมบตั ดิ า้ นความตรงเชงิ โครงสรา้ ง หวั ใจขาดเลอื ดเฉยี บพลนั (Deenan et al., 2004) ประกอบ ด้วยข้อค�าถามทั้งหมดจ�านวน 27 ข้อ เป็นข้อค�าถามท่ีมี ด้วยวิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงส�ารวจ และความ ความหมายด้านบวกจ�านวน 7 ข้อ และข้อค�าถามท่ีมี สอดคลอ้ งภายในของแบบสอบถามพฤตกิ รรมการรบั ประทาน ความหมายในด้านลบ จ�านวน 20 ข้อ ท่ีครอบคลุม อาหารสา� หรับผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ดหัวใจ การปฏิบัติตนในการรับประทานอาหารที่เหมาะสมและ ไม่เหมาะสมกับโรค ท้ังในด้านเลือกซื้อ การปรุง และ วิธดี า� เนินการวจิ ัย การรบั ประทานอาหาร หลงั จากนนั้ มกี ารปรบั ลดจา� นวนขอ้ รูปแบบงานวิจัยเป็นการวิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิ คา� ถามเหลือเพยี ง 25 ข้อ และนา� ไปใช้ในผูป้ ่วยทม่ี ีภาวะที่ มีภาวะความดันโลหิตสูง (Nangyaem, 2007) ผู้วิจัยได้ เพื่อทดสอบความตรงเชิงโครงสร้างด้วยวิธีวิเคราะห์ พัฒนาโดยปรับปรุงข้อค�าถามตามประเด็นที่พบ ตัดข้อ องค์ประกอบเชิงส�ารวจของแบบสอบถามพฤติกรรม ค�าถามที่มีความซ้�าซ้อน สัมพันธ์กันสูง และข้อค�าถามที่ การรบั ประทานอาหารสา� หรับผู้ปว่ ยโรคหลอดเลือดหวั ใจ เจาะจงชนิดของอาหารออก โดยฉบับล่าสุดเหลือค�าถาม ทงั้ หมด 17 ขอ้ แลว้ นา� ไปใชศ้ กึ ษาพฤตกิ รรมการรบั ประทาน ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง อาหารในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจจ�านวน 4 โครงการ ประชากร คอื ผทู้ มี่ อี ายตุ ง้ั แต่ 20 ปขี นึ้ ไปและไดร้ บั (Deenan et al., 2014, 2018; Ponpinij, 2017; การวนิ จิ ฉยั วา่ เปน็ โรคหลอดเลอื ดหวั ใจ ทม่ี ารบั การรกั ษาท่ี Sumonwong et al., 2013) การนา� ไปใช้ดังกล่าวแมว้ ่า โรงพยาบาลระดบั ทตุ ยิ ภมู ใิ นภาคตะวนั ออก ระหวา่ งปี พ.ศ. ค่าความเท่ียงของเคร่ืองมือจะอยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้คือ 2559-2561 ระหวา่ ง .72 ถึง .76 (Hair et al., 2010) อย่างไรกต็ าม กลมุ่ ตวั อยา่ ง คอื ผทู้ มี่ อี ายตุ งั้ แต่ 20 ปขี น้ึ ไปและได้ ข้อมูลที่ได้เป็นคะแนนพฤติกรรมการรับประทานอาหาร รบั การวนิ จิ ฉยั วา่ เปน็ โรคหลอดเลอื ดหวั ใจ ทม่ี ารบั การรกั ษา ในภาพรวมซง่ึ อาจเกดิ ขอ้ จา� กดั ในการสะทอ้ นบรบิ ทปญั หา ที่โรงพยาบาลระดับทุติยภูมิในภาคตะวันออก จ�านวน ทแี่ ทจ้ รงิ และตรงประเด็น 2 แห่ง ระหวา่ งปี พ.ศ. 2559-2561 ในโครงการการฟื้นฟู สมรรถภาพหัวใจในผู้ป่วยโรคกล้ามเน้ือหัวใจขาดเลือด ดงั นนั้ ในการศกึ ษาครงั้ นผี้ วู้ จิ ยั จงึ ศกึ ษาองคป์ ระกอบ (Deenan et al., 2018) และโปรแกรมการฟน้ื ฟสู มรรถภาพ ของแบบสอบถามดังกล่าวซึ่งเป็นตัวแปรแฝงที่ซ่อนอยู่ หวั ใจ (Ponpinij, 2017) ภายใต้ข้อค�าถามรายข้อ โดยการวิเคราะห์องค์ประกอบ ก�าหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างตามข้อก�าหนด เชงิ สา� รวจ (Exploratory factor analysis: EFA) ดว้ ยวิธี เบอ้ื งตน้ ในการวเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบทว่ี า่ ควรมกี ลมุ่ ตวั อยา่ ง วิเคราะห์องค์ประกอบหลัก (Principal component อย่างน้อย 10 ถึง 20 รายต่อ 1 ข้อค�าถาม แต่ท้ังนี้ analysis) และสกัดองค์ประกอบด้วยวิธีแวริแมกซ์ กลุ่มตวั อย่างทใี่ ชใ้ นการวเิ คราะหไ์ มค่ วรน้อยกว่า 100 ราย (Varimax method) ซ่ึงเป็นกระบวนการจัดกลุ่มของข้อ (Hair, Black, Babin & Anderson, 2010) จาก ค�าถามที่มีลักษณะเดียวกัน ผลการศึกษาจะท�าให้เห็น แบบสอบถามพฤติกรรมการรับประทานมีข้อค�าถาม โครงสร้างหรือองค์ประกอบหลักเบ้ืองต้น ข้อมูลท่ีได้ ทง้ั หมด 17 ขอ้ ดังน้ันขนาดกลุ่มตวั อย่างทเ่ี หมาะสมควรมี สามารถสะทอ้ นพฤตกิ รรมการรบั ประทานอาหารอยา่ งเปน็ ประมาณ 170-340 ราย ในการศึกษาครง้ั น้ผี ูว้ ิจัยจงึ เลอื ก ศกึ ษากลมุ่ ตวั อยา่ งจากขอ้ มลู ทตุ ยิ ภมู ทิ มี่ อี ยทู่ ง้ั หมดจา� นวน 268 ราย ซงึ่ มขี นาดเหมาะสมตามเกณฑด์ ังกลา่ ว ปVoีทlี่u2m8eฉบ28ับทN่ีo2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

44 การวิเคราะห์องคป์ ระกอบของแบบสอบถามพฤตกิ รรมการรับประทานอาหาร วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ ในผ้ปู ว่ ยโรคหลอดเลอื ดหวั ใจ มหาวทิ ยาลยั บรู พา เครอ่ื งมอื ท่ใี ชใ้ นการวจิ ัย ค�านวณค่าสมั ประสทิ ธ์ิแอลฟ่าของครอนบาค 1. แบบสอบถามขอ้ มูลสว่ นบุคคล เปน็ ข้อค�าถาม แบบเลือกตอบ ประกอบด้วย เพศ อายุ การศึกษา อาชีพ ผลการวจิ ยั และปัจจัยเสีย่ งของการเกดิ โรค เป็นต้น 1. ข้อมูลส่วนบุคคล กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็น 2. แบบสอบถามพฤตกิ รรมการรบั ประทานอาหาร ส�าหรับผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด ซ่ึงพัฒนาโดย เพศชาย ร้อยละ 70.2 มีอายุ 50-59 ปี ร้อยละ 58.5 Sumonwong et al. (2013) ประกอบด้วยพฤติกรรม รองลงมาคอื อายุ 60-69 ปี รอ้ ยละ 26.3 สถานภาพสมรส การรับประทานอาหาร จ�านวน 17 ข้อ ท่ีครอบคลุม รอ้ ยละ 81.6 จบการศกึ ษาระดับมธั ยมศกึ ษา ร้อยละ 50.9 การปฏิบัติตนในด้านการรับประทานอาหารที่เหมาะสม มีอาชีพรับจ้างร้อยละ 45.7 รองลงมาคืออาชีพคา้ ขายหรือ และไมเ่ หมาะสมกบั โรค ลกั ษณะคา� ตอบเปน็ มาตรวัดชนดิ ธุรกิจส่วนตัว ร้อยละ 26.3 รายได้เฉลี่ยของครอบครัว ลิเคิร์ท (Likert Type scale) 5 ระดับ ตามความถี่ของ ตอ่ เดือนน้อยกว่า 10,000 บาท ร้อยละ 52.4 มปี ัจจัยเส่ียง การปฏิบัติพฤติกรรมการรับประทานอาหาร ซ่ึงมีคะแนน ของการเกดิ โรคหลอดเลอื ดหวั ใจได้แก่ กรรมพนั ธุ์ รอ้ ยละ ต้งั แต่ 1-5 คะแนน คอื 1 หมายถงึ ไม่เคยปฏิบัติ จนถงึ 5 20.9 สบู บหุ รี่ รอ้ ยละ 42.5 อว้ นรอ้ ยละ 31.6 ไขมนั ในเลอื ด หมายถึง ปฏิบัติทุกวัน โดยมีข้อค�าถามเชิงบวก จ�านวน สูง รอ้ ยละ 76.7 ขาดการออกก�าลังกาย รอ้ ยละ 39.5 โรค 6 ขอ้ (1, 4, 7, 8, 11, 12) และขอ้ ค�าถามเชงิ ลบจ�านวน เบาหวาน ร้อยละ 52.6 และความดนั โลหิตสงู รอ้ ยละ 70.1 11 ข้อ (2, 3, 5, 6, 9, 10, 13, 14, 15, 16, และ 17) มี คะแนนรวมอยู่ระหว่าง 17 ถงึ 85 คะแนน โดยคะแนนต่า� 2. การวิเคราะหอ์ งคป์ ระกอบของแบบสอบถาม หมายถงึ มพี ฤตกิ รรมการรบั ประทานอาหารทเ่ี หมาะสมกบั 2.1 ความเหมาะสมของข้อค�าถามในการ โรคอยู่ในระดับน้อย และคะแนนสูงหมายถึงมีพฤติกรรม การรับประทานอาหารท่ีเหมาะสมกับโรคในระดับดี วเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบ โดยการวเิ คราะหแ์ บบสอบถามราย การพิทกั ษ์สิทธกิ ลมุ่ ตัวอย่าง ขอ้ (Item analysis) และค่าความเช่อื มั่นแบบสอดคลอ้ ง โครงการวิจัยต้นเรื่องผ่านการรับรองจากคณะ ภายใน กรรมการพิจารณาจริยธรรมการท�าวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยบูรพา เลขท่ี 39/2559 โรงพยาบาลชลบุรี 2.1.1 ค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ระหว่าง เลขที่ 32/59/O/q และโรงพยาบาลสมเดจ็ พระบรมราชเทวี รายข้อกับคะแนนรวมทั้งหมดของข้อค�าถามท่ีเหลือ ณ ศรีราชา เลขที่ 20/2559 ส่วนการศึกษาคร้ังนี้ผู้วิจัย (Corrected Item-total correlation) ที่อยู่ในเกณฑ์ พิทักษ์สิทธิกลุ่มตัวอย่างโดยการวิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิที่ เหมาะสมส�าหรับการวิเคราะห์องค์ประกอบควรมีค่า เกยี่ วข้องเทา่ นั้น ข้อมูลดังกลา่ วไมส่ ามารถระบุหรอื อ้างอิง มากกว่าหรือเท่ากับ .40 (Song et al., 2018) จากข้อ ถงึ กลุ่มตัวอยา่ งได้ เก็บข้อมลู ทัง้ หมดเปน็ ความลบั และจะ ค�าถามท้ังหมด 17 ข้อ พบว่าข้อค�าถามส่วนใหญ่มี อยู่ น�าเสนอผลการวิจัยในภาพรวม ตลอดจนการเผยแพร่จะ ระหว่าง .52 ถึง .71 และจา� นวน 5 ขอ้ มคี า่ ระหว่าง .30 ถงึ กระท�าในภาพรวมตามวตั ถปุ ระสงคข์ องการศกึ ษาเท่าน้ัน .48 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้คือ มากกว่า .3 (Munro, การวิเคราะหข์ อ้ มูล 2005) และค่าอัลฟ่าครอนบาคของแบบสอบถามเท่ากับ 1. วเิ คราะห์ข้อมลู สว่ นบุคคลดว้ ยสถติ ิพรรณา 0.87 2. วเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบของแบบสอบถามดว้ ยวธิ ี การวิเคราะห์องคป์ระกอบหลกั (Principal component 2.1.2 ขอ้ คา� ถามสว่ นใหญม่ คี วามสมั พนั ธ์ analysis และสกัดองค์ประกอบด้วยวิธีแวริแมกซ์ กันดี โดยค่าสัมประสิทธิสัมพันธ์ระหว่างข้อค�าถามอยู่ใน (Varimax method) เกณฑท์ ีเ่ หมาะสมคือ .30 ถึง .66 มคี �าถามเพียง 4 ข้อท่ีมี 3. ทดสอบความเชอื่ มนั่ แบบสอดคลอ้ งภายในโดย ความสมั พันธ์กับขอ้ ค�าถามอืน่ ๆ คอ่ นขา้ งนอ้ ยคอื (ขอ้ 4) การรับประทานอาหารรสจืด ซึ่งมีค่าสัมประสิทธิสัมพันธ์ กบั ขอ้ คา� ถามอนื่ อยรู่ ะหวา่ ง .05 ถงึ .31 (ขอ้ 6) รบั ประทาน อาหารท่ีปรุงขายส�าเร็จรูป มีค่าสัมประสิทธิสัมพันธ์กับข้อ คา� ถามอ่ืนอย่รู ะหว่าง .08 ถึง .35 (ข้อ 11) จา� กดั ปริมาณ อาหารในแต่ละมื้อ มีค่าสัมประสิทธิสัมพันธ์กับข้อค�าถาม Vปoีทl่ีu2m8eฉบ28ับทNี่o2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

Factor analysis of the Eating Behavior Questionnaire The Journal of Faculty of Nursing 45 in Patient with Coronary Artery Disease Burapha University อื่นอยูร่ ะหวา่ ง .20 ถงึ .60 และ (ข้อ 15) ดืม่ ชา กาแฟ มี ว่าข้อค�าถามต่าง ๆ มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยส�าคัญ คา่ สมั ประสทิ ธสิ มั พันธ์กบั ข้อค�าถามอน่ื อยรู่ ะหว่าง .07 ถึง ทางสถิติท่ีระดับ <.001 แสดงว่าเมทริกซ์สหสัมพันธ์ .32 ท่ีได้นั้นไม่เป็นเมทริกซ์เอกลักษณ์ ข้อค�าถามแต่ละข้อมี ความสัมพันธ์กัน ข้อมูลมีความเหมาะสมในการวิเคราะห์ 2.2 ข้อตกลงเบ้ืองต้นและความเหมาะสม องค์ประกอบได้ (Hair et al., 2010; Tabachnick & ของข้อมลู ในการวิเคราะหอ์ งค์ประกอบ Fidell, 2007) 2.2.1 การแจกแจงข้อมูลเป็นแบบปกติ 2.3 ความตรงเชงิ โครงสรา้ งของแบบสอบถาม โดยมีค่า Skewness coefficient อย่รู ะหว่าง -0.24 ถึง โดยวิธีวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงส�ารวจ 1.25 และค่า Kurtosis coefficient อยูร่ ะหวา่ ง -1.41 ถึง 1.33 และข้อมูลมีความสัมพันธ์เชิงเส้นตรง (Linearity) 2.3.1 สกดั องคป์ ระกอบดว้ ยวธิ วี เิ คราะห์ จากค่านัยส�าคัญทางสถิติของความสัมพันธ์เชิงเส้นตรง องคป์ ระกอบหลกั (Principal Component Analysis: PCA) (Linearity significance) ท่ีน้อยกว่า .001 และมีค่า ก�าหนดจ�านวนองค์ประกอบจากค่าไอเกน (eigenvalue) determinant ของเมตริกซ์สหสมั พนั ธ์เท่ากบั 0.001 ซงึ่ ที่มากกวา่ 1 แลว้ หมุนแกนปัจจัยแบบออโธโกนอลด้วยวิธี อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมและบ่งชี้ว่าข้อมูลดังกล่าว แวรแิ มกซ์ (Varimax) เพอื่ ใหเ้ หน็ ชดั เจนขนึ้ วา่ ขอ้ คา� ถามใด ไม่มีความสัมพันธ์กันในระดับสูง (Multicollinearity) ควรจดั อยใู่ นองคป์ ระกอบดา้ นใด ผลการสกดั องคป์ ระกอบ (Vanichbuncha, 2019) เบ้ืองต้นได้ จ�านวน 5 องค์ประกอบ โดยมีค่าไอเกนอยู่ ระหวา่ ง 1.41 ถงึ 4.49 และสามารถอธบิ ายความแปรปรวน 2.2.2 ขนาดของกลุ่มตัวอย่างมีความ ได้ร้อยละ 65.37 อย่างไรก็ตามผลการวิเคราะห์ดังกล่าว เหมาะสม โดยค่า Kaiser-Meyer-Olkin Measurement พบว่าในบางองค์ประกอบมีจ�านวนข้อค�าถามเพียง 2 ถึง of sampling adequacy (KMO) ภาพรวมเท่ากบั 0.86 3 ข้อ และไม่สามารถอธิบายความหมายในองค์ประกอบ นอกจากนน้ั คา่ Measurement of sampling adequacy นั้น ๆ ได้ ผู้วิจัยจึงวิเคราะห์ข้อมูลใหม่โดยพิจารณาจาก (MSA) ของข้อค�าถามแต่ละข้อส่วนใหญ่มีค่าอยู่ระหว่าง กราฟ Scree Plot ทแ่ี สดงคา่ ไอเกนของแตล่ ะองคป์ ระกอบ .604 ถงึ .908 ซง่ึ มากกวา่ 0.5 และเขา้ ใกล้ 1 แสดงถงึ ขอ้ มลู ซง่ึ จา� นวนองคป์ ระกอบควรมปี ระมาณ 2 ถงึ 4 องคป์ ระกอบ มคี วามเหมาะสมในการวเิ คราะหด์ ว้ ยการสกดั องคป์ ระกอบ (Costello & Osborn, 2005) และผลการทดสอบ Bartlett’s Test of Sphericity พบ รปู ท่ี 1 สกรพี ลอ็ ต (Scree plots) แสดงคา่ ไอเกนของแตล่ ะองค์ประกอบ 2.3.2 เมอื่ กา� หนด 4 และ 3 องคป์ ระกอบ การสกัดพบว่า ในองค์ประกอบที่ 1 ซ่ึงประกอบด้วยข้อ พบว่าข้อค�าถามในบางองค์ประกอบไม่สามารถอธิบาย คา� ถามจา� นวน 11 ขอ้ ทสี่ ะทอ้ นถงึ พฤตกิ รรมการรบั ประทาน ความหมายขององค์ประกอบน้นั ๆ ได้ ผ้วู ิจัยจงึ วิเคราะห์ อาหารที่ไม่เหมาะสมต่อสุขภาพ (unhealthy eating ใหมอ่ กี ครง้ั โดยลดจา� นวนเหลอื เพยี ง 2 องคป์ ระกอบ ซง่ึ ผล behaviors) ค�าถามแต่ละขอ้ มีค่าน�า้ หนักตอ่ องค์ประกอบ Vปoีทl่ีu2m8eฉบ28ับทNี่o2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203

46 การวเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบของแบบสอบถามพฤตกิ รรมการรบั ประทานอาหาร วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ ในผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลือดหวั ใจ มหาวทิ ยาลยั บรู พา ระหวา่ ง .42 ถงึ .76 ขณะทใี่ นองคป์ ระกอบที่ 2 มขี อ้ คา� ถาม รบั ประทานอาหารไมเ่ กนิ วนั ละ 3 มอ้ื (ขอ้ 10) รบั ประทาน จา� นวน 6 ขอ้ ทส่ี ะทอ้ นถงึ พฤตกิ รรมการรบั ประทานอาหาร อาหารจุบจบิ (ข้อ 14) รบั ประทานปลาหมึก หอย ปู กุ้ง ท่ีมีผลดีต่อสุขภาพ (healthy eating behaviors) โดย และ (ขอ้ 17) ดมื่ เครอ่ื งดม่ื สา� เรจ็ รปู ทข่ี ายทว่ั ไป เชน่ ชาเขยี ว ค�าถามแต่ละข้อมีค่าน�้าหนักต่อองค์ประกอบ (Factor นา้� ลา� ไย มคี า่ นา�้ หนกั ทมี่ ากกวา่ .40 รว่ มกบั อกี องคป์ ระกอบ loading) อย่รู ะหวา่ ง .42 ถงึ .85 ทั้งสององค์ประกอบมี ด้วย ผลการตรวจสอบความสอดคล้องภายในพบว่า ค่า ความสมั พนั ธก์ นั ทางบวกอยา่ งมนี ยั สา� คญั ทางสถติ ิ (r = .55, สมั ประสทิ ธคิ์ รอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) p < .01) และสามารถอธิบายความแปรปรวนร่วมกันได้ ของแบบสอบถามท้งั ฉบบั เทา่ กับ .87 และรายด้านเทา่ กบั ร้อยละ 47.50 อยา่ งไรก็ตามข้อค�าถาม 4 ข้อคือ (ข้อ 1) .763 และ .723 ตามล�าดบั ตารางท่ี 1 องค์ประกอบหลงั การหมุนแกนโดยกา� หนดจา� นวน 2 องคป์ ระกอบ องค์ประกอบ / ข้อค�าถาม ค่าการร่วม น้า� หนกั องคป์ ระกอบ (Communality) (Factor loading) 12 องค์ประกอบที่ 1: การรับประทานอาหารทีไ่ ม่เหมาะสม .728 .761 ต่อสุขภาพ (unhealthy eating behaviors) .702 .759 (5) รบั ประทานอาหารที่มีรสเคม็ .605 .722 (13) รับประทานอาหารที่มีไขมันสงู เช่น แกงกะทิ ข้าวขาหมู .610 .692 (3) รับประทานอาหารรสจัด .851 .670 (2) เตมิ นา้� ปลาหรอื เครอ่ื งชูรส .571 .659 (6) รับประทานอาหารทปี่ รงุ ขายสา� เรจ็ รูป .697 .602 .437 (16) ด่ืมน้า� อัดลม .512 .568 (17) ดื่มเครอ่ื งดมื่ สา� เร็จรูปท่ีขายทว่ั ไป เช่น ชาเขยี ว นา้� ล�าไย .670 .519 .424 (9) ปรงุ อาหารโดยการ ทอด ผัด .453 .474 .440 (10) รับประทานอาหารจบุ จิบ .606 .424 (14) รับประทานปลาหมกึ หอย ปู กุ้ง .846 (15) ดื่มน้�าชา กาแฟ .695 .845 องค์ประกอบท่ี 2: การรบั ประทานอาหารทมี่ ีผลดีตอ่ สุขภาพ .606 .568 (healthy eating behaviors) .466 .525 (7) ปรงุ อาหารรบั ประทานเองรวมถึงคนในครอบครัวปรุงให้ .742 .478 (4) รบั ประทานอาหารรสจดื .755 .405 .457 (8) ปรุงอาหารโดยการ นึง่ ต้ม ยา่ ง .420 (12) รับประทานผัก ผลไม้ทุกมื้อ (1) รับประทานอาหารมากกว่าวนั ละ 3 ม้ือ (11) จ�ากดั ปรมิ าณอาหารในแต่ละมือ้ Extraction Method: Principal Component Analysis. Rotation Method: Varimax with Kaiser Normalization. a. Rotation converged in 3 iterations. Factor loading ท่มี ีคา่ น้อยกว่า .4 จะไมแ่ สดงในตาราง Vปoีทl่ีu2m8eฉบ28ับทN่ีo2. (2เม(A.ยp.r--มJิ.uยn.)) 22506203


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook