Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือปีที่8ฉบับที่1ม.ค.-มิ.ย.64

วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือปีที่8ฉบับที่1ม.ค.-มิ.ย.64

Published by sucheerapanyasai, 2021-09-16 04:02:46

Description: วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือปีที่8ฉบับที่1ม.ค.-มิ.ย.64

Keywords: วารสาร

Search

Read the Text Version

244 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มลู TCI กลมุ่ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) บทนา ปญั หาการหกลม้ ในผูส้ ูงอายุเปน็ ปัญหาสาคัญและมแี นวโนม้ เพ่ิมสูงขนึ้ อยา่ งต่อเน่ือง ท่ัวโลกมีผู้เสยี ชวี ิต จากการพลัดตกหกล้มประมาณ 646,000 คน (WHO, 2020) ในสหรัฐอเมริกามีรายงานผู้สูงอายุจานวน 1 ใน 4 ของผทู้ ่ีอายุมากวา่ 65 ปี มปี ระวตั กิ ารหกล้ม และในทกุ ๆ 11 นาที มผี สู้ งู อายุเข้ารับการรักษาท่ีแผนกฉุกเฉิน ของโรงพยาบาลจากการหกล้ม นอกจากนัน้ ยังพบผสู้ ูงอายุทเี่ สียชีวิตจากการหกล้ม ในทุกๆ 19นาที (NCOA,2020) สาหรับประเทศไทยมีผู้สูงอายุเสียชีวิตจากการหกล้ม กว่า 1,000 คน หรือ เฉล่ียวันละ 3 คน เพศชายมีอัตรา การเสียชีวิตสูงกว่าเพศหญิงกว่า 3 เท่า และมีแนวโน้มเพิ่มข้ึนอย่างต่อเน่ือง พบว่า ในกลุ่มอายุ 80 ปีข้ึนไปมี อัตราการเสียชีวิตจากการหกล้มเพ่ิมขึ้นมากกว่า 3 เท่า ขณะท่ีกลุ่มอายุ 60 - 69 ปี และ70-79ปี เพ่ิมข้ึน 2เท่า ในชว่ งระยะเวลา 8 ปี จากการคาดการณภ์ าพรวมของประเทศไทย ระหว่างปี พ.ศ. 2560 - 2564 จะมผี ู้สูงอายุ พลัดตกหกล้มปีละประมาณ 3,030,900 - 5,506,000 คน ซ่ึงในจานวนน้ีจะมีผู้เสียชีวิต จานวน 5,700 - 10,400 คนต่อปี (Sri Chang, & kawee, 2017) และมีผสู้ ูงอายรุ อ้ ยละ 23.72 มีความเสย่ี งหกล้ม (Noopud et al., 2020) นอกจากน้ี ยังพบว่าผู้สูงอายุท่ีมีอายุ 65 ปีข้ึนไป ท่ีอาศัยในเขตชุมชนมีการหกล้มและบาดเจ็บข้ัน รนุ แรงสงู ถึงรอ้ ยละ 4.50 (Boonyarat, 2018) การหกล้มทาใหผ้ ู้สูงอายุไดร้ ับผลกระทบทางดา้ นร่างกาย ผู้สูงอายจุ ะได้รบั บาดเจ็บ ต้ังแต่การบาดเจ็บ ระดับเล็กน้อย จนถึงการบาดเจ็บรุนแรง เช่น แผลถลอก ฟกช้า กระดูกหัก กระท่ังการบาดเจ็บท่ีสมองหรือที่ ผิวหนงั อย่างรุนแรง บางรายอาจรุนแรงถึงขน้ั เสยี ชีวติ และในผสู้ งู อายุบางคนที่ได้รบั บาดเจ็บทางร่างกาย สง่ ผล ให้ไม่สามารถเคลื่อนไหวหรือปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ได้ มีภาวะทุพพลภาพ ต้องเผชิญกับภาวะพึ่งพิง เป็นภาระ กบั ผดู้ ูแล บางรายตอ้ งรับการผา่ ตดั ทาใหส้ ญู เสียคา่ ใช้จ่ายในการรักษา (Morrison, Fan, Sen, & Weisenfluh, 2013) นอกจากการบาดเจ็บทางด้านร่างกายแล้ว ผู้สูงอายุที่เคยมีประสบการณ์หกล้ม จะมีความรู้สึกกลัวการ หกล้ม ทาให้เกิดความไม่ม่ันใจในการทากิจวัตรประจาวันและการเคล่ือนไหว ส่งผลให้ผู้สูงอายุจากัดการ เคล่อื นไหวและการทากจิ วัตรประจาวนั ตา่ งๆ (Martin, Hart, Spector, Doyle , & Harari, 2005) และการหก ล้มยังส่งผลกระทบต่อจิตใจ โดยผู้สูงอายุที่เคยมีประสบการณ์การหกล้มจะเกิดความกังวล ซึมเศร้า ตลอดจน สูญเสียความมั่นใจในการเดิน (Rodseeda, 2018) และพบว่าร้อยละ 66.3 มีอาการกลัวการหกล้มซ้า (Kitkumhang, Kittimanon, & Pannanothai, 2006) ทาให้ผู้สูงอายุหลีกเล่ียงการมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่น ไม่เข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม จนเกิดการแยกตัวจากสังคมในที่สุด จากข้อมูลท่ีกล่าวมาแสดงให้เห็นว่า ผลกระทบจากการหกล้ม ท่ีไม่เพียงแต่ส่งผลต่อผู้สูงอายุ ยังส่งผลต่อครอบครัว สังคม และเศรษฐกิจ (Rongmuang et al., 2016) และยังสง่ ผลกระทบตอ่ คณุ ภาพชวี ิตของผูส้ งู อายุ ตามแนวคดิ ของ World Health Organization (1997) กลา่ ววา่ คุณภาพชีวิต คอื ความรู้สึกพึงพอใจ ของผู้สูงอายุต่อองค์ประกอบต่างๆของชีวิตที่มีส่วนสาคัญมากท่ีสุดของบุคคล ซึ่งได้จากการดารงชีวิตอยู่ใน สภาพแวดล้อมท่ีดีมีความสุขมีความสมบูรณ์ทั้งรา่ งกายและจิตใจ สามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมและ สงั คมที่ตนอย่ไู ดอ้ ยา่ งดี ดังนั้น คุณภาพชวี ิตทีด่ ใี นผู้สงู อายุที่เคยมีประวตั ิหกล้ม ทไี่ ดร้ บั ผลกระทบทงั้ ทางรา่ งกาย วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปที ี่ 8 ฉบบั ที่ 1 เดอื น มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

245 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มลู TCI กลมุ่ ท่ี 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) และจิตใจ จึงหมายถึงผู้สูงอายุท่ีสามารถดาเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข ปรับตัวเข้ากับสังคมและสิ่งแวดล้อมได้ อย่างดี โดยการมีคุณภาพชีวติ ทด่ี ขี น้ึ อยกู่ ับปจั จัยเกยี่ วข้องจากหลากหลายองค์ประกอบรว่ มกนั จากการทบทวนวรรณกรรม ปัจจัยท่ีเกย่ี วข้องกบั คุณภาพชวี ติ ของผู้สงู อายุ คอื ปัจจัยด้านรา่ งกาย และ จิตใจ ประกอบด้วย ความกลัวการหกล้ม (Yodmai, Phummarak, Sirisuth, Kumar, & Somrongthong, 2015) ภ า ว ะ ซึ ม เ ศ ร้ า ( Borowiak,& Kostka, 2004) ก า ร ท ร ง ตั ว ( Thaweewannakij, Amatachaya, Peungsuwan,& Mato, 2010) ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน (Yamwong, 2014) และปัจจัยที่ เก่ียวขอ้ งอ่นื ๆ เช่น เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดบั การศึกษา อาชีพ รายได้และฐานะการเงนิ การเป็นสมาชิก กลุ่มทางสังคมและการรับสวัสดิการกองทุนผู้สูงอายุ โรคประจาตัว การดูแลรักษาสุขภาพตนเอง และภาวะ สุขภาพจิต เป็นปัจจัยสาคัญท่ีมีผลและมีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ (Wongpanarak, & Chaleoykittin, 2014) โดยปัจจัยที่กลา่ วมาน้ัน บางสว่ นเป็นปจั จัยท่บี ทบาทของพยาบาลไม่สามารถเขา้ ไปจัด กิจกรรมในการส่งเสริมแก้ปัญหาได้ ดังนั้น ผู้วิจัยจึงเลือกปัจจัยท่ีสามารถให้การพยาบาลเพ่ือป้องกันส่งเสริม สุขภาพ เพอ่ื ส่งเสริมคณุ ภาพชวี ติ ได้ 4 ปจั จัย คือ ความสามารถในการปฏิบตั กิ จิ วตั รประจาวนั ความสามารถใน การทรงตัว ความกลัวการหกล้ม ความเครยี ด ซง่ึ อธบิ ายความเกยี่ วข้องกบั คณุ ภาพชีวิต ดงั นี้ ความสามารถในการปฏิบัติกจิ วัตรประจาวนั ของผู้สูงอายุ หมายถงึ การปฏิบัตกิ ิจกรรมทีท่ าเป็นประจา ในการดาเนินชีวิตประจาวันบของผู้สูงอายุ เช่น การอาบน้า แต่งตัว การประกอบอาหาร (Jitapankul et al., 1998) ในผู้สูงอายุที่ไม่สามารถชว่ ยเหลือตัวเองได้ จะมีความยากลาบากในการดาเนนิ ชวี ติ ประจาวนั โดยร้อยละ 7.34 ของผู้สูงอายุ เป็นกลุ่มที่ต้องการการช่วยเหลือกิจวัตรประจาวัน (Yamwong, 2014) จึงทาให้มีความต้องการ ผู้ดูแล ส่งผลให้สูญเสียแรงงานในการดูแล เสียค่าใช้จ่าย หรือบางกลุ่มท่ีไม่สามารถหาผู้ดูแลได้มีความ จาเป็นต้องพึ่งพาสิ่งสนับสนุนทางสังคมอ่ืน เช่น เพ่ือนบ้าน ชุมชน หรือสวัสดิการจากรัฐ เป็นส่ิงท่ีแสดงถึง คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ สอดคล้องกับรายงานผลการศึกษาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุกับท่ีมีความสัมพันธ์ ทางบวก กับความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน (Yamwong, 2014) ดังน้ันกลุ่มผู้สูงอายุที่เคยมี ประวัติหกล้ม จึงส่งผลให้เกิดภาวะทุพลภาพ หรือการบาดเจ็บ ทาให้ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตร ประจาวนั ลดลง และอาจส่งผลตอ่ คุณภาพชวี ิตของผู้สูงอายุ ภายหลังการหกล้ม ผู้สูงอายุท่ีพักรักษาอาการบาดเจ็บ ร่วมกับความรู้สึกไม่ม่ันคงในการเคลื่อนไหว ร่างกาย ส่งผลต่อความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ทาให้ความสามารถในการทรงตัวลดลง ร่วมกับผู้สูงอายุมีการ เปลี่ยนแปลงของร่างกายในทางเสื่อมถอยลง ท้ังทางระบบกระดูกและกล้ามเน้ือและประสาทรับความรู้สึก ส่งผลให้ความสามารถในการรักษาสมดุลการทรงตัวลดลง (Lapanantasin et al., 2015) ซ่ึงมีผลต่อการ ปฏิบัติกิจกรรมของผู้สูงอายุ ทาให้ผู้สูงอายุไม่มีความมั่นใจในการปฏิบัติกิจกรรม และมีผลต่อคุณภาพชีวิตของ ผู้สูงอายุได้ แต่ผลการศึกษาของ Thaweewannakij, Amatachaya, Peungsuwan,& Mato (2010) ท่ีศึกษา คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุกับการทรงตัว พบว่า อาสาสมัคร 3 กลุ่ม คือ กลุ่ม exercise กลุ่ม lifestyle active วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื ปีที่ 8 ฉบบั ท่ี 1 เดอื น มกราคม – มถิ นุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

246 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มูล TCI กลุ่มที่ 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) และกลมุ่ inactive ทม่ี ีการทรงตัวแตกตา่ งกัน มคี ุณภาพชีวิตใกลเ้ คยี งกนั แต่ไมส่ ามารถบอกได้วา่ ความสามารถ ในการทรงตัวเป็นปัจจยั ทส่ี ามารถทานายคุณภาพชวี ิตของผสู้ ูงอายุ ได้หรอื ไม่ ความกลัวการหกล้ม หมายถึง บุคคลมีการรับรู้ความสามารถในตนเองต่า ไม่ม่ันใจในตนเองทาให้ หลีกเล่ียงกิจกรรมที่อาจจะก่อให้เกิดการล้มขณะปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน (Tinetti, Richman, & Poweell, 1990) โดยในผสู้ งู อายุท่ีเคยมปี ระสบการณ์หกล้มมาแลว้ ร้อยละ 50 มคี วามรู้สกึ กลัวการหกล้มซ้า (Kressig et al., 2001) ทาให้ผู้สูงอายุไม่มีความม่ันใจในตนเองในการเดิน และการทากิจกรรมต่างๆในสังคม จนกระท่ัง หลีกเล่ียงการเขา้ สังคม ส่งผลต่อการดาเนนิ ชีวติ ของผู้สูงอายุ โดยผู้สงู อายทุ ่มี คี วามกลวั การหกล้มมคี ุณภาพชีวิต ลดลงเมอ่ื เทยี บกบั ผสู้ งู อายทุ ีไ่ มม่ ีความกลวั การหกล้ม (Cumming et al., 2000) นอกจากความกลัวการหกลม้ แลว้ ภายหลังการหกล้มผสู้ งู อายุทไ่ี ด้รบั บาดเจบ็ หรือพิการ ทาใหเ้ ขา้ ร่วม กิจกรรมทางสังคมลดลง มีผลให้เกิดความเครียด ความกังวล และภาวะซึมเศร้า (Rodseeda, 2018) ซ่ึงภาวะ ซึมเศร้าเป็นปัจจัยทานายคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในบ้านและสถานพยาบาล (Borowiak,& Kostka, 2004) แต่ยังไม่พบการศึกษาความสัมพันธ์ของภาวะซึมเศร้ากับคุณภาพชีวิตของกลุ่มผู้สูงอายุท่ีเคยมีประวัติหกล้ม และภาวะซมึ เศร้าในผ้สู งู อายุท่ีมีประวตั เิ คยหกลม้ เป็นปัญหาท่ีพบได้บ่อย ผู้วิจัยจงึ สนใจศึกษาปจั จัยน้ี จากการทบทวนวรรณกรรมท่ีผา่ นมาเก่ียวกับคุณภาพชวี ิตของผสู้ ูงอายุในประเทศไทย พบการศึกษาที่ รวบรวมการศึกษาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในภูมิภาคท่ีแตกตางกัน คือ ภาคเหนือ ภาคใต้ ภาคกลาง และภาค ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ที่ศกึ ษาในกล่มุ ผู้สงู อายุทีอ่ ยใู่ นชมุ ชน (Wongpanarak & Chaleoykitt, 2014) แตย่ งั ขาด การศึกษาในกลุ่มผู้สูงอายุที่เคยมีประวัตหิ กลม้ มาก่อน ดังน้ัน งานวิจัยเรอื่ งน้ีจึงสนใจศึกษากลุม่ ผู้สูงอายุท่ีเคยมี ประวัติหกล้มมาก่อน เน่ืองด้วยปัจจัยหลายอย่างที่แตกต่างจากผู้สูงอายุปกติ และคัดเลือกปัจจัยที่ใช้ใน การศึกษามาจากการทบทวนวรรณกรรมที่เก่ียวข้องกับผู้สูงอายุ ซ่ึงปัจจัยที่คัดเลือกเป็นปัจจัยท่ีบทบาท พยาบาลสามารถใหก้ ารดูแลและแก้ไขได้ ซึ่งประกอบไปดว้ ยปจั จยั ความสามารถในการปฏบิ ัตกิ จิ วตั รประจาวัน ความสามารถในการทรงตวั ความกลวั การหกลม้ และภาวะซมึ เศรา้ ทัง้ นี้เพื่อประโยชน์ในการดูแล และส่งเสริม คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ ท่ีอาศัยอยู่ในชุมชน ในเขตพ้ืนที่จังหวัดลาปาง เน่ืองด้วยปัจจุบันประเทศไทยกาลัง พัฒนาเขา้ สสู่ ังคมผ้สู ูงอายุ และจังหวัดลาปางเป็นจังหวัดที่เป็นสังคมผูส้ ูงอายุโดยสมบรู ณ์ (Aged society) โดย มปี ระชากรสงู อายุ รอ้ ยละ 23.03 ของประชากรทัง้ จงั หวัด วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่เคยมีประวัติหกล้ม และศึกษาปัจจัยทานายคุณภาพชีวิตของ ผู้สูงอายุท่ีเคยมีประวัติหกล้ม ประกอบด้วยปัจจัย ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน ความสามารถ ในการทรงตวั ความกลวั การหกลม้ และภาวะซึมเศร้า กับคณุ ภาพชวี ิตของผสู้ งู อายุที่เคยมีประวัตหิ กล้มที่อาศัย อยใู่ นชมุ ชน ในอาเภอแมะทะ อาเภอห้างฉัตร และอาเภอเมือง จงั หวดั ลาปาง วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีที่ 8 ฉบับท่ี 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

247 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มลู TCI กลมุ่ ที่ 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) สมมตฐิ านการวิจยั ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน ความสามารถในการทรงตัว ความกลัวการหกล้ม และ ภาวะซมึ เศรา้ อย่างนอ้ ย 1 ปจั จยั สามารถรว่ มกันทานายคณุ ภาพชีวิตของผ้สู งู อายุทีเ่ คยมปี ระวัตหิ กล้มได้ ขอบเขตงานวิจยั การศึกษานี้เป็นการศึกษาแบบความสัมพันธ์เชิงทานาย (correlational predictive research) เพ่ือ ศึกษาปัจจัยความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน ปัจจัยความสามารถในการทรงตัว ปัจจัยความกลัว การหกล้ม และปัจจัยภาวะซึมเศร้า กับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุท่ีเคยหกล้ม ศึกษาในผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 60ปี ขึ้นไป และเคยมปี ระวัติหกล้มท่ีอาศัยอาศัยอยูใ่ นชุมชน ในอาเภอแมท่ ะ อาเภอหา้ งฉตั ร และอาเภอเมอื ง จังหวดั ลาปาง โดยมีระยะเวลาในการทาวิจัยใน เดอื นมิถุนายน พ.ศ.2562 ถึง เดอื นพฤศจิกายน พ.ศ.2563 วธิ ดี าเนินการวจิ ัย ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง คือ ผ้สู ูงอายุที่มอี ายุต้ังแต่ 60 ปขี ึ้นไปและเคยมีประวตั ิหกล้มท่ีอาศัยอยู่ ในจังหวัดลาปาง คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (purposive sampling) โดยกาหนดคณุ สมบัติในการคัดเข้า (inclusion criteria) ดงั น้ี 1. ผ้ทู ม่ี อี ายุ 60 ปีขึน้ ไปและเคยมปี ระวตั ิการหกลม้ ในระยะเวลา 6 เดือนท่ีผ่านมา 2. สามารถสามารถอ่านและเขยี นภาษาไทยได้ 3. ไม่เคยได้รับการวนิ จิ ฉยั ว่ามคี วามผิดปกตขิ องระบบจิตประสาท 4. ยนิ ดเี ขา้ ร่วมในการวจิ ยั 5.การรบั รเู้ กยี่ วกับบุคคล เวลาและสถานท่ี มีความปกติ ซ่ึงประเมนิ โดยแบบทดสอบสมรรถภาพสมอง เบอ้ื งต้นฉบับภาษาไทย (MMSE-Thai 2002) (Institute of Geriatric Medicine, 1999) จะคัดเขา้ เปน็ กลมุ่ ตัวอย่าง เมื่อได้คะแนนผ่านเกณฑ์ คอื ไดค้ ะแนนตัง้ แต่ 14 คะแนนขึน้ ไปสาหรับผทู้ ี่ไม่ได้เรยี นหนังสอื คะแนน ต้ังแต่ 17 คะแนนข้ึนไป สาหรับผทู้ ่ีเรยี นระดบั ประถมศึกษา และคะแนนตงั้ แต่ 22 คะแนนขึ้นไปสาหรบั ผู้ที่เรียน สูงกว่าระดับประถมศกึ ษา กาหนดขนาดของกลมุ่ ตัวอยา่ ง โดยใช้สตู รของ Thorndike (1978) อ้างถึงใน Srisatidnarakul (2010) คือ n ≥ 10k + 50 โดย n = ขนาดกลุ่มตัวอย่าง k = จานวนตัวแปรอิสระทั้งหมดทศ่ี ึกษา โดยการศึกษานม้ี ตี วั แปรอิสระที่ใช้ในการศึกษาจานวน 5 ตัวแปร ได้แก่ ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน ความสามารถในการทรงตัว ความกลัวการหกล้ม ภาวะซึมเศร้า และคุณภาพชีวิต ได้กลุ่มตัวอย่าง 100 คน ผู้วิจัยเพ่ิมกลุ่มตัวอย่างอีกร้อยละ 20 ของขนาดตัวอย่างที่คานวณได้เน่ืองจากอาจมีการสูญหายของกลุ่ม ตวั อย่างรวมเปน็ 120 คน วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปที ี่ 8 ฉบับท่ี 1 เดอื น มกราคม – มิถุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

248 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยูใ่ นฐานขอ้ มูล TCI กลมุ่ ที่ 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) เครอื่ งมือทใี่ ช้ในการวิจัย ประกอบด้วยแบบสอบถาม มีท้ังหมด 4 ชุด ไดแ้ ก่ 1. แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป ประกอบด้วย เพศ อายุ ระดับการศกึ ษา สถานภาพสมรส รายได้ต่อ เดือน และจานวนสมาชิกในครอบครวั 2. แบบเกบ็ รวบรวมข้อมลู ประกอบด้วย 2.1 แบบประเมินความสามารถในการปฏบิ ตั กิ ิจวัตรประจาวัน โดยใชแ้ บบประเมินคัดกรองผู้สงู อายุ ตามความสามารถในการประกอบกจิ วตั รประจาวนั (Barthel Activities of Daily Living : ADL) ดชั นบี ารเ์ ธล เอดีแอล (Barthel ADL index) ซงึ่ แปลเป็นภาษาไทย และปรบั ปรงุ โดย Jitapankul et al. (1998) เปน็ การ ประเมินความสามารถในการดูแลตนเอง ประกอบด้วยการประเมนิ กจิ วตั รประจาวนั 10 กจิ กรรม ได้แก่ การ รบั ประทานอาหาร การแตง่ ตัว การเคลอื่ นย้าย การใชห้ ้องสขุ า การเคล่ือนไหว การสวมใสเ่ ส้อื ผา้ การขึ้น-ลง บันได การอาบนา้ การควบคุมการถ่ายปสั สาวะและอุจจาระ ซึ่งมีคะแนนเต็ม 20 คะแนน แบ่ง เปน็ 3 กลุ่มดงั นี้ ผู้สูงอายกุ ลุ่มที่ 1 ผ้สู งู อายุที่พงึ่ ตนเองได้ ชว่ ยเหลอื ผอู้ ่ืน ชุมชนและสงั คมได้ (กลุ่มติดสังคม) มีผลรวม คะแนน ADL ตง้ั แต่ 12 คะแนนขึ้นไป ผ้สู งู อายุกลุ่มที่ 2 ผู้สงู อายุท่ดี ูแลตนเองได้บา้ ง ช่วยเหลือตนเองได้บา้ ง (กล่มุ ตดิ บ้าน) มีผลรวมคะแนน ADL อยู่ในช่วง 5 – 11 คะแนน ผู้สูงอายุกลุ่มท่ี 3 ผูส้ ูงอายุกลุ่มทพ่ี ง่ึ ตนเองไม่ได้ ชว่ ยเหลือตนเองไม่ได้ พิการ หรอื ทุพพลภาพ (กลุม่ ตดิ เตยี ง) มผี ลรวมคะแนน ADL อย่ใู นช่วง 0 -4 คะแนน (Jitapankul et al., 1998) 2.2 แบบประเมนิ ความสามารถในการทรงตัว โดยใช้ Berg balance scale (BBS) ของ Berg (1989) เป็นเครื่องมือมาตรฐานที่ใชท้ ดสอบความสามารถในการทรงตัว มคี ่า sensitivity และ specificity 0.72 และ 0.73 ตามลาดบั โดยแบบประเมินมีทัง้ หมด 14 หัวขอ้ ตั้งแต่ นงั่ ลกุ ขนึ้ ยืน ยนื เทา้ ชิด ยืนโน้มตวั ไปข้างหนา้ หนั ศรี ษะไปมองด้านหลัง ก้มเก็บของ ยืนขาเดยี ว และยกเท้าแตะขั้นบนั ได เป็นต้น เปน็ แบบประเมินประเภท ordinal scale มี 5 ระดบั คิดคะแนนโดย การนาคะแนนของแตล่ ะกิจกรรมมารวมกันเปน็ มคี ะแนนรวมทั้งหมด 56 คะแนน ผูท้ ่ีได้คะแนนของแบบประเมินน้อยกวา่ 45 จะมีความเสี่ยงต่อการลม้ สูง (Thaweewannakij et al., 2010) 2.3 แบบประเมินความกลัวการหกล้ม ใช้แบบประเมิน Falls Efficacy Scale International (Thai FES-I) ท่ีสร้างและพัฒนาข้ึน โดยสมาคมป้องกันการหกล้มแห่งยุโรป (ProFaNE) และได้รับการแปลเป็น ภาษาไทย (Thai FES-I) โดย Thiamwong (2011) แบบประเมนิ เปน็ ลักษณะขอ้ คาถามเกี่ยวกบั ระดับความกลัว การหกลม้ เมอื่ ตอ้ งปฏิบัติกจิ กรรมต่างๆ ทง้ั หมด 16 กจิ กรรม ประกอบดว้ ย กิจกรรมทางกายและกจิ กรรมทาง สังคมทงั้ ที่งา่ ยและยาก ลกั ษณะคาตอบเป็นมาตราสว่ นประมาณคา่ 4 ระดบั ดงั น้ี ไม่กลัวหกล้มเลย ให้คะแนนเทา่ กบั 1 คะแนน กลวั หกล้มเล็กน้อย ให้คะแนนเทา่ กับ 2 คะแนน กลัวหกล้มมาก ใหค้ ะแนนเทา่ กับ 3 คะแนน กลัวหกลม้ มากทส่ี ุด ใหค้ ะแนนเท่ากบั 4 คะแนน วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีท่ี 8 ฉบบั ท่ี 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

249 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคุณภาพของ TCI และอย่ใู นฐานข้อมลู TCI กลุ่มที่ 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) เกณฑ์การให้คะแนน คะแนนรวมของแบบสอบถามอยูร่ ะหวา่ ง 16-64 คะแนน ถ้าคะแนนอยใู่ นชว่ ง 16-21 คะแนน แสดงวา่ ไม่กลัวการหกลม้ คะแนนอยู่ในช่วง 22-27 คะแนน แสดงว่า กลวั การหกล้มเลก็ น้อยถงึ ปานกลาง และคะแนนอยูใ่ นช่วง 28-64 คะแนน แสดงวา่ กลวั การหกล้มมาก 4. แบบประเมินภาวะซึมเศร้า ใช้แบบวัดความซึมเศร้าในผู้สูงอายุของไทยฉบับสั้น 15 ข้อ (Thai Geriatric Depression Scale15: GDS-15) พัฒนาโดย เยสสาเวซและคณะ แปลเป็นภาษาไทยโดย Wongpakara, & Wongpakaran (2012) ลักษณะข้อคาถามของแบบวัด เป็นแบบเลือกตอบใช่/ไม่ใช่ มีข้อ คาถามทั้ง คาถามเชิงบวกและลบ การคิดคะแนน ให้ 1 คะแนน หากตอบว่า ใช่ ในข้อต่อไปนี้ 2, 3, 4, 6, 8, 9, 10, 12, 14, 15 และให้ 1 คะแนน หากตอบว่า ไม่ใช่ ในข้อต่อไปนี้ 1, 5, 7, 11, 13 จากนั้นรวมคะแนน การแปลผล คะแนน 0-4 คะแนน ไม่มีภาวะซึมเศร้า คะแนน 5-10 คะแนน เริ่มมีภาวะซึมเศร้า ควรได้รับ คาแนะนาเบื้องต้น และคะแนน 11-15 คะแนน เป็นโรคซมึ เศรา้ ควรพบแพทยเ์ พื่อรบั การรักษา 5. คุณภาพชีวิต ใช้แบบประเมินคุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลกฉบับย่อภาษาไทย (WHOQOL- BREF THAI) ในการศึกษานี้ผู้วิจัยเลือกแบบประเมินคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพ WHOQOL-BREF-THAI ของ Mahatnirunkul et al. (1998) ซึ่งมคี าถามทง้ั หมด 26 ขอ้ ประกอบดว้ ยองค์ประกอบของคุณภาพชวี ติ 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย (physical domain) ด้านจิตใจ (psychological domain) ด้านความสัมพันธ์ทางสังคม (social relationships) และด้านส่ิงแวดล้อม (environment) โดยมีคะแนนต้ังแต่ 26–130 คะแนน หากได้ คะแนน 26–60 คะแนน แสดงถงึ การมีคณุ ภาพชีวติ ท่ไี ม่ดี คะแนนตง้ั แต่ 61–95 คะแนน แสดงถึงการมีคณุ ภาพ ชีวิตกลาง ๆ และคะแนน 96–130 คะแนน แสดงถงึ การมีคุณภาพชวี ิตที่ดี (Mahatnirunkul et al.,1998) การวิเคราะหข์ อ้ มูล วเิ คราะห์ขอ้ มูลโดยใชโ้ ปรแกรมสาเร็จรูป การวิเคราะหข์ ้อมลู ทว่ั ไปของผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ เพศ อายุ รายได้ ระดับการศึกษา จานวนสมาชิกในครอบครัว และรายได้ต่อเดือน ใช้การแจกแจงความถ่ีและร้อยละ ค่าเฉล่ีย และส่วนเบ่ียงเบนมาตฐาน ข้อมูลความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน ความสามารถในการ ทรงตัว ความกลัวการหกล้ม ภาวะซึมเศร้า และคุณภาพชีวิต วิเคราะห์โดยการหาค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบน มาตรฐาน และวิเคราะหข์ ้อมูลเพือ่ ทดสอบสมมติฐานการวิจัยโดยใช้สถิตวิ ิเคราะห์การถดถอยพหุคณู (Multiple Linear Regression) ของตัวแปรความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน ความสามารถในการทรงตัว ความกลัวการหกลม้ ภาวะซมึ เศร้า และคุณภาพชีวิต โดยกาหนดนยั สาคญั ทางสถิติ ที่ระดับ .05 การพิทักษส์ ิทธิกลุ่มตัวอย่างและจริยธรรมวจิ ัย ภายหลงั จากการทผ่ี วู้ จิ ัยไดร้ บั อนุญาตให้ทาวจิ ัย โดยผา่ นการเห็นชอบจากคณะกรรมการจริยธรรมวิจัย ของวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง เลขท่ี E2563-087 แล้ว ผู้วิจัยเข้าพบกลุ่มตัวอยา่ ง และแจ้งให้ ทราบถึงวัตถุประสงค์ของงานวิจัย สิทธิประโยชน์ท่ีพึงได้รับ ได้แก่ การได้รับความเคารพในคุณค่าความเป็น มนุษย์ การพิทักษ์สิทธิในการปกปิดข้อมูลส่วนบุคคลจากการเข้าร่วมวิจัยในคร้ังนี้ รวมถึงประโยชน์ของการนา ข้อมูลจากการวิจัยครั้งนี้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการปรับปรุงการพยาบาลในอนาคต และผู้วิจัยแจงให้ทราบ วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปที ่ี 8 ฉบบั ท่ี 1 เดอื น มกราคม – มถิ นุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

250 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มลู TCI กลมุ่ ที่ 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) สิทธิในการตอบรับหรอื ปฏิเสธการตอบแบบสอบถามในครั้งน้ี โดยไม่มีผลต่อผู้สูงอายุและครอบครัว ข้อมูลทุก อยา่ งของผู้สงู อายถุ อื เป็นความลบั และนามาใช้ตามวัตถปุ ระสงค์ของงานวิจยั เทา่ นัน้ ผลการวิจยั จะนาเสนอเป็น ภาพรวม ไม่มีการเปิดเผยช่ือนามสกุลท่ีแท้จริงของผู้สูงอายุ หากกลุ่มตัวอย่างที่เข้าร่วมงานวิจัยแล้วไม่ต้องการ ตอบแบบสอบถามสามารถบอกยกเลกิ ได้ตลอดเวลา ผลการวจิ ัย กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สงู อายุทีเ่ คยมีประวัตหิ กล้ม จานวน 120 คน เกินครงึ่ เป็นเพศชาย รอ้ ยละ 51.70 มี อายรุ ะหวา่ ง 60–95 ปี อายเุ ฉลย่ี 66.50 ปี (S.D.=6.78) เรียนจบชัน้ ประถมศึกษามากทสี่ ุด คิดเปน็ ร้อยละ 59.10 สถานภาพสมรสคู่ มากท่สี ดุ คิดเปน็ รอ้ ยละ 64.20 จานวนสมาชกิ ในครอบครัวมากที่สุด 2-3 คน คิดเปน็ ร้อยละ 59.20 และรายไดข้ องครอบครวั เฉลยี่ 9,752.71 บาท (S.D.=11,066.50) จากการศกึ ษาพบว่าผสู้ งู อายุส่วนใหญ่ร้อยละ 95.00 เปน็ ผู้สูงอายุทีพ่ งึ่ พาตัวเองและเข้าสังคมได้ และมี การทรงตัวท่ีดี เสี่ยงต่อการหกล้มในระดับต่า ร้อยละ70.00 ในขณะเดียวกันผู้สูงอายุก็มีความกลัวการหกลม้ ใน ระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 68.50 และกลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุร้อยละ 61.70 ไม่มีภาวะซึมเศร้า นอกจากนี้แล้ว ผ้สู งู อายุส่วนใหญ่มีคณุ ภาพชีวติ ระดบั ปานกลาง ร้อยละ 77.50 ดังตารางท่ี 1 ตารางที่ 1 จานวนและร้อยละของระดับ ความสามารถในการปฏิบัตกิ ิจวัตรประจาวนั ความสามารถในการทรง ตวั ความกลวั การหกล้ม ภาวะซึมเศร้า และคุณภาพชีวติ ของกลุ่มตวั อย่างผสู้ งู อายุท่ีเคยมีประวัตหิ กล้ม (n=120) ปัจจัย จานวน ร้อยละ ระดับความสามารถในการปฏบิ ัติกจิ วัตรประจาวนั ( x̄ = 18.72, S.D. = 3.65 ) 114 95.00 1. กล่มุ ท่ีพึ่งพาตวั เองได้ ( 12 คะแนนขึ้นไป) 2 1.70 2. กลุ่มพ่งึ พาตัวเองไดบ้ า้ ง (5 –11 คะแนน) 4 3.30 3. กลุ่มตดิ เตยี ง ชว่ ยเหลอื ตัวเองไมไ่ ด้ ( 0 -4 คะแนน) 36 30.00 ระดบั ความสามารถในการทรงตัว (x̄ = 45.59, S.D.= 13.39) 84 70.00 1. เสยี่ งต่อการล้มสูง (นอ้ ยกวา่ 45 คะแนน) 22 18.30 2. เส่ยี งตอ่ การลม้ ต่า (มากกว่า 45 คะแนน) 19 15.80 ระดับความกลวั การหกล้ม (x̄ = 34.86, S.D.= 11.94 ) 79 65.80 1. ไมก่ ลวั การหกล้ม (16-21 คะแนน) 2. กลัวการหกล้มเลก็ น้อยถงึ ปานกลาง (22-27 คะแนน) 74 61.70 3. กลัวการหกลม้ มาก (28-64 คะแนน) 43 35.80 ระดับภาวะซึมเศรา้ (x̄ = 4.4, S.D. = 2.5) 3 2.50 1. ไมม่ ภี าวะซึมเศร้า (0-4คะแนน) 2. เร่มิ มภี าวะซมึ เศรา้ ควรได้รบั คาแนะนาเบอ้ื งต้น (5-10คะแนน) 10 8.30 3. เปน็ โรคซมึ เศรา้ ควรพบแพทย์เพื่อรับการรักษา (11-15คะแนน) 93 77.50 ระดบั คุณภาพชีวิต(x̄ = 80.16, S.D. = 16.35) 17 14.20 1. มคี ุณภาพชวี ติ ทไี่ มด่ ี (26 – 60 คะแนน) 2. มคี ุณภาพชีวติ กลาง ๆ (61 – 95 คะแนน) 3. มีคุณภาพชวี ติ ทดี่ ี (96 – 130 คะแนน) วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื ปีที่ 8 ฉบบั ท่ี 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

251 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมลู TCI กลมุ่ ที่ 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) นอกจากนี้แล้วการศึกษา พบว่า ผู้สูงอายุที่พ่ึงพาตัวเองได้ส่วนใหญ่ร้อยละ74.20 มีคุณภาพชีวิตใน ระดับปานกลาง โดยผู้สูงอายุกลุ่มน้ีมีความกลัวการหกล้มมากถึงร้อยละ 59.20 ในขณะเดียวกันกลับมีคะแนน การทรงตัวที่ดีมีความเส่ียงต่อการหกล้มต่า ร้อยละ 51.70 และผสู้ งู อายุกลุ่มนี้ไม่มภี าวะซึมเศร้า ร้อยละ 48.30 ดังตารางท่ี 2-5 ตารางที่ 2 จานวนและร้อยละของกลุ่มตวั อยา่ งผู้สูงอายุที่เคยมปี ระวัตหิ กล้ม จาแนกตามความสามารถในการ ปฏิบัตกิ จิ วตั รประจาวนั กับระดับคณุ ภาพชีวิตของผสู้ ูงอายุ (n =120 คน) ความสามารถในการปฏิบตั ิ ระดบั คณุ ภาพชีวิต จานวน (รอ้ ยละ) รวม กจิ วัตรประจาวัน คณุ ภาพชวี ิตไม่ดี คณุ ภาพชีวติ กลาง ๆ คุณภาพชวี ิตที่ดี 114 (95.00) 1.กลมุ่ ทีพ่ ง่ึ พาตัวเองได้ 2 (1.70) 2.กลุม่ พงึ่ พาตัวเองได้บา้ ง 8 (6.70) 89 (74.20) 17 (14.20) 4 (3.30) 3.กลมุ่ ตดิ เตยี ง ชว่ ยเหลอื ตัวเองไมไ่ ด้ 120 (100) 1 (0.80) 1 (0.80) 0 (0.00) รวม 1 (0.80) 3 (2.50) 0 (0.00) 10 (8.30) 93 (77.50) 17 (14.20) ตารางท่ี 3 จานวนและร้อยละของกลุ่มตวั อย่างผู้สงู อายทุ ่ีเคยมีประวตั หิ กล้ม จาแนกตามความสามารถในการ ทรงตัวกบั ระดับคณุ ภาพของผู้สูงอายุ (n =120 คน) ความสามารถในการทรงตัว ระดับคณุ ภาพชวี ติ จานวน (ร้อยละ) รวม 1. กลมุ่ เส่ียงหกล้มสงู คณุ ภาพชวี ติ ไมด่ ี คุณภาพชวี ิตกลาง ๆ คุณภาพชีวติ ดี 36 (30.00) 2. กลมุ่ เส่ยี งหกล้มต่า 84 (70.00) 4 (3.30) 31 (25.80) 1 (0.80) 120 (100) รวม 6 (5.00) 62 (51.70) 16 (13.30) 10 (8.30) 93 (77.50) 17 (14.20) ตารางที่ 4 จานวนและร้อยละของกลมุ่ ตวั อย่างผู้สูงอายุทเ่ี คยมปี ระวตั ิหกลม้ จาแนกตามความกลัวการหกล้ม กบั ระดบั คณุ ภาพของผ้สู ูงอายุ (n =120 คน) ความกลวั การหกลม้ ระดบั คุณภาพชีวติ จานวน (รอ้ ยละ) รวม 1. กลมุ่ ไม่กลัวการหกลม้ คุณภาพชีวิตไมด่ ี คณุ ภาพชวี ติ กลาง คณุ ภาพชีวติ ที่ดี 22 (18.30) 2. กลมุ่ กลวั การหกล้มปานกลาง 19 (15.80) 3. กลมุ่ กลวั การหกลม้ มาก ๆ 79 (65.80) 120 (100) รวม 4 (3.30) 10 (8.30) 8 (6.70) 3 (2.50) 12 (10.00) 4 (3.30) 3 (2.50) 71 (59.20) 5 (4.20) 10 (8.30) 93 (77.50) 17 (14.20) วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีท่ี 8 ฉบบั ท่ี 1 เดอื น มกราคม – มถิ นุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

252 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยใู่ นฐานข้อมูล TCI กล่มุ ที่ 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) ตารางท่ี 5 จานวนและร้อยละของกลมุ่ ตวั อยา่ งผสู้ ูงอายทุ ่ีเคยมปี ระวัติหกลม้ จาแนกตามภาวะซมึ เศรา้ กับ ระดบั คุณภาพของผ้สู งู อายุ (n =120 คน) ภาวะซมึ เศร้า ระดับคุณภาพชวี ิต จานวน (ร้อยละ) รวม 1. กลมุ่ ที่ไม่มภี าวะซึมเศร้า คณุ ภาพชวี ิตไมด่ ี คุณภาพชีวติ กลาง ๆ คุณภาพชวี ิตท่ีดี 74 (61.10) 2. กลุ่มที่เริม่ มภี าวะซมึ เศร้า 43 (35.80) 3. กลมุ่ ทเี่ ป็นโรคซึมเศรา้ 2 (1.70) 58 (48.30) 14 (11.70) 3 (2.50) รวม 6 (5.00) 34 (28.30) 3 (2.50) 100 2 (1.70) 1 (0.80) 0 (0.00) 10 (8.30) 93 (77.50) 17 (14.20) เม่ือพิจารณาปัจจัยท่ีร่วมกันทานายคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุท่ีเคยมีประวัติหกล้มพบว่า ปัจจัยที่ร่วมกัน ทานายคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุท่ีเคยมีประวัติหกล้มอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จานวน 3 ตัวแปร คือ ภาวะซึมเศร้ามีน้าหนักในการทานายสูงท่ีสุดโดยมีค่าสัมประสิทธ์ิถดถอยมาตรฐาน (Beta) เท่ากับ -.50 รองลงมาคือความกลัวการหกล้มโดยมีค่าสัมประสทิ ธถ์ิ ดถอยมาตรฐาน (Beta) เท่ากับ -.24 และความสามารถ ในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวันซึ่งมีค่าสัมประสิทธ์ิถดถอยมาตรฐาน (Beta) เท่ากับ -.23 โดยตัวแปรทั้งสาม ร่วมกันทานายคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายทุ ี่เคยมีประวัติหกลม้ อยา่ งมีนัยสาคัญทางสถิติทรี่ ะดับ .05 ได้ร้อยละ27 (R2= .27) และมีค่าความคลาดเคลอ่ื นมาตรฐานในการทานายเท่ากับ 10.53 (S.E. = 10.53) ดงั ตารางท่ี 6 ตารางท่ี 6 ค่าสัมประสทิ ธ์สหสัมพนั ธพ์ หุคูณของความสามารถในการปฏบิ ัติกจิ วตั รประจาวนั ความสามารถใน การทรงตวั ความกลัวการหกลม้ และภาวะซมึ เศรา้ ในรปู แบบคะแนนดบิ (B) และคะแนนมาตรฐาน (Beta) ของคุณภาพชวี ติ ผู้สูงอายุที่เคยมีประวัตหิ กล้ม โดยวิธกี ารวิเคราะหถ์ ดถอยพหุคณู แบบข้นั ตอน (Stepwise multiple regression analysis) (n=120) ตัวแปรทานาย B Std. Error Beta t- value p-value .113 -.238 -2.89 .000 ความกลวั การหกล้ม -.326 .593 -.502 -5.521 .000 .412 -.226 -2.454 .005 ภาวะซึมเศรา้ -3.27 10.533 11.854 .000 ความสามารถในการปฏิบตั ิกจิ วตั รประจาวนั -1.011 ค่าคงท่ี (constant) 124.859 R = 0.52, R2= 0.27, F= 14.38, p-value < .05 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีที่ 8 ฉบับท่ี 1 เดือน มกราคม – มถิ นุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

253 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมลู TCI กล่มุ ที่ 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) อภปิ รายผล ผลการศึกษาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุที่เคยมีประวัติหกล้ม ในระยะเวลา 6 เดือนผ่านมา พบว่า ผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่ ร้อยละ77.50 มีคุณภาพชีวิตในระดับปานกลาง ทั้งนี้อาจเก่ียวข้องกับการที่ผู้สูงอายุมีระดับการทรง ตัวท่ีดี มีความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวันที่สามารถพึ่งพาตนเองและสามารถช่วยเหลือผู้อื่นได้ รวมทั้งผู้สูงอายุสว่ นใหญ่ไม่มีภาวะซึมเศร้า จึงทาให้ผู้สูงอายุมีความพึงพอใจในชีวิตของตนเอง ซึ่งสอดคล้องกบั การศึกษาของ Yodmai, Phummarak, Sirisuth, Kumar, & Somrongthong (2015) ที่ศึกษาคุณภาพชีวิต ของผู้สูงอายุในประเทศไทย พบว่า ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตในระดับปานกลาง โดยปัจจัยท่ีสามารถทานาย คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่เคยมีประวัติหกล้ม ประกอบด้วย ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน ความกลัวการหกล้ม และภาวะซึมเศร้า ซึ่งทั้ง 3 ปัจจัยร่วมทานายคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุท่ีเคยมีประวัติหก ลม้ ได้รอ้ ยละ 27 (R2= .27, F= 14.38, p < .05, df=119 ) ปัจจัยทีม่ ีความสามารถในการทานายสงู ที่สุด คอื ภาวะซมึ เศร้า ทั้งนเ้ี นอื่ งจากผสู้ งู อายสุ ่วนใหญ่ร้อยละ 61.7 ไม่มภี าวะซึมเศรา้ และกลุม่ ตวั อย่างสว่ นใหญ่เป็นผ้สู ูงอายุทส่ี ามารถช่วยเหลอื ตัวเองได้ เขา้ ร่วมกจิ กรรมใน สังคมได้ จึงไมเ่ กิดภาวะซมึ เศร้า แตใ่ นขณะเดียวกันมีผ้สู ูงอายุร้อยละ 35.8 เร่มิ มีอาการซึมเศรา้ โดยในผ้สู ูงอายุ ที่เคยมีประวัติหกล้มได้รับผลกระทบจากการหกล้ม ตั้งแต่ระดับเล็กน้อยจนกระทั่งถึงระดับรุนแรงที่ต้องเข้ารับ การรักษาในโรงพยาบาล ซ่ึงการหกล้มเป็นหนึ่งสาเหตุท่ีทาให้ผู้สูงอายุมีความบกพร่องทางร่างกายในระยะสั้น หรือพิการ ทาให้สูญเสียการทางาน ก่อให้เกิดความเครียด ความวิตกกังวล และเกิดภาวะซึมเศร้าตามมา โดย ผลการศึกษาคร้ังนี้พบว่าภาวะซึมเศร้ามีความสัมพันธ์ทางลบกับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่เคยมีประวัติหกล้ม อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (r= -.44, p< .05) และเป็นปจั จัยรว่ มทานายทีม่ ีค่าสัมประสทิ ธ์ิถดถอยสูงท่ีสุด (Beta =-.50) สอดคล้องกับการศึกษาของ Rodseeda (2018) ที่พบว่า ผู้สูงอายุที่เคยมีประวัตเิ คยหกล้มจะเกิดความ กังวล และมีภาวะซึมเศร้า เน่ืองจากการจากัดการทากิจกรรมต่างๆ ก่อให้เกิดความรู้สึกเป็นภาระ หมดหวัง อาจกล่าวได้ว่าการเปล่ียนแปลงทางร่างกายส่งผลกระทบต่อจิตใจผู้สูงอายุ ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของ Jamfa et al. (2019) ท่ีกล่าวว่าภาวะซึมเศร้ามีความสมั พันธ์ด้านลบกับคุณภาพชวี ิตของผู้สูงอายุ และเป็นไป ในทิศทางเดียวกับการศึกษาปัจจัยทานายภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ ที่พบว่า ภาวะซึมเศร้าเป็นปัจจัยทานาย คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในบ้านและสถานพยาบาล (Borowiak, & Kostka, 2004) แต่อย่างไรก็ตามสุขภาพ ดา้ นรา่ งกายและสุขภาพด้านจิตใจ สง่ ผลกระทบซ่งึ กันและกัน ดังน้นั การส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผูส้ ูงอายุ ควร ม่ังเนน้ ส่งเสริมสุขภาพด้านร่างกายและจิตใจไปพรอ้ มๆกัน ความกลัวการหกล้ม เป็นปัจจัยท่ีมีค่าสัมประสิทธิ์ถดถอยสูงเป็นอันดับ 2 (Beta =-.24) และมี ความสัมพันธ์ทางลบกับคุณภาพชีวิต (r= -.28, p< .05) ซึ่งภายหลังจากการมีประสบการณ์หกล้มในคร้ังแรก ส่งผลให้ผู้สูงอายุ มีความวิตกกังวล กลัวการหกล้มอีกครั้ง กลัวว่าตนเองจะต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล กลัวเป็นภาระของลูกหลาน ทาให้มีความระมัดระวังมากข้ึน สอดคล้องกับผลการศึกษาของ Marungga & Kespichayawattana (2010) ทพี่ บว่า ความกลัวการหกล้ม มี 4 ประเด็น คือ กลวั ไมม่ ใี ครเหน็ เวลาหกลม้ กลวั วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปที ่ี 8 ฉบับที่ 1 เดอื น มกราคม – มิถุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

254 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคุณภาพของ TCI และอยูใ่ นฐานขอ้ มูล TCI กลุม่ ที่ 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) เจบ็ ปว่ ยมากขึ้น กลัวเป็นภาระคนอน่ื และกลัววา่ ล้มแลว้ อาจเสยี ชีวิต ดงั นั้น เมอื่ ผู้สงู อายุจะดาเนนิ กิจกรรมใดๆ จะมคี วามรสู้ ึกกลัวการหกล้ม วิตกกังวลในการทากิจกรรม และหลีกเล่ยี งการทากจิ กรรมต่างๆ รวมถึงหลีกเลี่ยง การเข้าสงั คม ซึ่งส่งผลตอ่ สภาพจติ ใจของผ้สู ูงอายุ และมผี ลกระทบต่อคณุ ภาพชีวิตของผูส้ ูงอายภุ ายหลังการหก ล้ม (Marungga & Kespichayawattana, 2010) สอดคล้องกับการศึกษาของ Chang, Chi, Yang, & Chou, (2010) ท่ีศึกษาผลกระทบของการหกล้ม และความกลัวการหกลม้ กับคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ ใน ประเทศไต้หวัน พบวา่ ความกลัวการหกล้มมีความเก่ยี วขอ้ งกับคุณภาพชีวติ ดา้ นสุขภาพทางลบ ทงั้ ด้านร่างกาย และด้านจิตใจ ซึง่ ขัดแย้งกับการศึกษาคุณภาพชวี ติ ของผู้สูงอายโุ รคหลอดเลือดสมอง ทพ่ี บว่า ความกลัวการหก ล้มไม่มีผลตอ่ คณุ ภาพชวี ติ ของผู้สงู อายุ (Ratmanee, & Piphatvanitcha, 2017) ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวันของผู้สูงอายุที่เคยหกล้ม เป็นปัจจัยร่วมทานายคุณภาพ ชวี ิตของผู้สูงอายุที่มีค่าสัมประสิทธิ์ถดถอยลาดับที่ 3 (Beta =-.23) ซงึ่ อธิบายไดว้ า่ ภายหลงั การหกล้ม ผสู้ งู อายุ ไดร้ ับการบาดเจ็บดา้ นร่างกายและจิตใจ ถงึ แม้เป็นอาการบาดเจ็บท่ีไม่รนุ แรง แต่ยงั ส่งผลให้ผู้สูงอายุมีข้อจากัด ด้านการทากิจวัตรประจาวันพื้นฐาน รวมถึงการทางานประจาลดลง ซึ่งส่งผลต่ออาชีพและรายได้ของผู้สูงอายุ และครอบครัว นอกจากกลุ่มที่ได้รับบาดเจบ็ เล็กน้อยยังมผี ู้สงู อายุที่มีความพิการภายหลังจากการหกลม้ และมี ความต้องการผู้ดูแลที่ต้องเสียค่าใช้จ่าย หรือแรงงานคน ในขณะท่ีผู้สูงอายุที่ไม่สามารถหาผู้ดูแลได้ต้องพ่ึงพา สวัสดิการจากภาครัฐ ดังนั้น เม่ือผู้สูงอายุไม่สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจาวันได้เหมือนเดิม จึงส่งผลต่อการ ดาเนินชวี ติ ปกตแิ ละกระทบต่อคุณภาพชีวิต ซ่ึงผลของการศึกษาในคร้งั น้ีไปในทศิ ทางเดียวกันกับการศึกษาของ Yamwong (2014) ท่ีพบว่าคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงกับระดับความสามารถใน การปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน ซ่ึงจะเห็นได้ว่าการส่งเสริมความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน มีความ จาเป็นในการพฒั นาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในอนาคต ในขณะท่ีปัจจัยความสามารถในการทรงตัว ไม่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่เคยมี ประวัตหิ กล้ม (r=.20, p>.05) เนือ่ งจากกลุ่มตัวอยา่ งส่วนใหญ่ ร้อยละ 70 มคี วามสามารถในการทรงตัวท่ดี ี ทา ให้มีความเสี่ยงต่อการหกล้มต่า (x̄ = 45.59, S.D.=13.39) ประกอบกับกลุม่ ตัวอย่างมีค่าเฉลี่ยอายเุ ท่ากับ 66.5 ปี ซึ่งเป็นผู้สูงอายุวัยต้น ท่ีมีสภาวะร่างกายยังถือว่าแข็งแรง สุขภาพดี และสามารถดารงชีวิตได้ตามลาพัง จึงมี ผลต่อความมั่นใจในการเดิน การทางาน รวมถึงการเข้าสังคม และการออกกาลังกายที่มีผลต่อการสร้างความ แข็งแรงของกล้ามเน้ือ ท่ีมีส่วนช่วยในการทรงตัวของผู้สูงอายุ (Thaweewannakij at el., 2010) ซึ่งแตกต่าง จากผู้สูงอายุที่มีความสามารถในการทรงตัวต่า หรือมีลักษณะของการก้าวเดินที่ผิดปกติ ซ่ึงเม่ือเคล่ือนไหว ร่างกายจะเกิดอาการส่ัน เซ ไมม่ ัน่ คง ทาให้ผสู้ ูงอายุไม่มั่นใจว่าตนเองจะสามารถปฏิบัติกจิ กรรมตา่ ง ๆ ไดอ้ ย่าง ปลอดภัยโดยไม่เกิดการหกล้ม จึงมีการจากัดกิจกรรมนอกบ้านเพราะกลัวการหกล้ม (Fletcher & Hirdes, 2004) ส่งผลทาให้เกดิ การออ่ นแรงของกลา้ มเนื้อ มีโอกาสท่ีจะหกล้มสูงกว่าปกติ และส่งผลต่อคณุ ภาพชวี ิตของ ผู้สูงอายุ จากผลการศึกษาน้ี ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีการทรงตัวดี จึงไม่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ จึงเป็น เหตุผลใหผ้ ลการศึกษาน้ี ยงั ไมส่ อดคล้องกับผลการศกึ ษาของ Bjerk et al., (2018) ทีพ่ บวา่ ผ้สู งู อายทุ ่อี าศัยใน วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปที ี่ 8 ฉบบั ท่ี 1 เดอื น มกราคม – มถิ นุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

255 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยใู่ นฐานข้อมูล TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) สถานดูแลผู้สูงอายุ ที่มีคะแนนความสามารถในการทรงตัวในระดับต่า มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตด้าน ร่างกาย (physical function) (Bjerk et al., 2018). จากผลการศึกษาช่วยช้ีให้เห็นว่า ภาวะซึมเศร้า ความกลัวการหกล้ม และความสามารถในการปฏิบัติ กจิ วตั รประจาวนั เป็นปัจจัยทมี่ ีผลต่อคุณภาพชีวิตของผ้สู ูงอายุที่เคยมีประวตั ิหกล้ม ดงั น้นั เพ่ือป้องกันอนั ตราย และภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดกับผู้สูงอายุท่ีเคยหกล้ม และป้องกันการหกล้มซ้า จึงควรส่งเสริมการมีกิจกรรม การสร้างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ สง่ เสรมิ การทรงตวั ลดและปอ้ งกันการเกิดภาวะซึมเศร้า รวมทง้ั ลดความ กลัวการหกล้ม เพ่ือสร้างความม่ันใจในการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ และส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุใน อนาคต อย่างไรก็ตามปัจจัยความสามารถในการทรงตัวที่ไม่สามารถทานายคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุท่ีเคยมี ประวัติหกล้มได้ อาจเน่ืองจากปัจจัยอื่นๆท่ีมีผลต่อการศึกษาในครั้งน้ี ดังน้ัน การศึกษาในคร้ังต่อไปควรมีการ คัดเลอื กกล่มุ ตวั อย่างทรี่ ะดบั ความรุนแรงของผลกระทบจากการหกล้มรว่ มดว้ ย ขอ้ เสนอแนะในการนาผลการศึกษาไปใช้ 1.บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข รวมทั้งหน่วยงานอื่นๆท่ีเก่ียวข้อง ร่วมกันดูแลช่วยเหลือ สนับสนุน ญาติ ผูด้ แู ลและผู้สูงอายุ เกย่ี วกับการปฏบิ ตั ติ วั เพอ่ื ส่งเสริมคณุ ภาพชีวิต ในประเด็นตอ่ ไปนี้ 1.1 ป้องกันการเกิดและการลดภาวะซึมเศร้า โดยการให้ความรู้ คาแนะนา รวมถึงการจัดกิจกรรม ส่งเสริมสุขภาพ เช่น การรวมกลุ่มทางานฝีมือ กิจกรรมนนั ทนาการ เพ่ือสง่ เสริมความรู้สึกมคี ุณค่าในตวั เอง ลด ความเครียดของผ้สู งู อายุและปอ้ งกนั การเกิดภาวะซึมเศรา้ ในผสู้ งู อายุ 1.2 ลดความรู้สึกกลวั การหกล้ม โดยการให้ความรู้ ส่งเสรมิ และกระตุ้นให้ผู้สูงอายุออกกาลังกาย เพื่อ เพิม่ ความแขง็ แรงของกล้ามเนือ้ สร้างความมน่ั ใจและลดความกลัวการหกลม้ ของผ้สู ูงอายุ 1.3 ให้ความร้แู ละส่งเสรมิ การปฏบิ ัติกิจวัตรประจาวันด้วยตนเอง เพ่อื เพิม่ ความแขง็ แรงของกลา้ มเน้ือ ป้องกนั กล้ามเนอื้ ออ่ นแรงในผู้สงู อายุ และเพ่มิ ความรู้สึกมีคณุ คา่ ในตนเอง 2. บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข ควรประสานงานกับภาคีเครือข่าย เช่น องค์การปกครอง ส่วนท้องถ่ิน มูลนิธิ และหน่วยงานอ่ืนๆ เพื่อการมีส่วนร่วมในการจัดการป้องกันและแก้ปัญหาของการหกล้ม ของผู้สูงอายุ ใหเ้ กดิ ความย่งั ยืนในการดูแลผู้สงู อายุในชมุ ชนต่อไป ขอ้ เสนอแนะในการวจิ ัยครงั้ ต่อไป 1. ศึกษาโปรแกรมพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุท่ีเคยมีประวัติหกล้ม โดยการจัดการกับปัจจัยที่ เกี่ยวข้อง คือ ภาวะซมึ เศร้า ความกลวั การหกลม้ และความสามารถในการปฏบิ ัติกิจวัตรประจาวัน 2. ศึกษาปัจจัยอ่ืนๆ ท่ีอาจสามารถทานายคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่เคยมีประวัติหกล้ม เช่น ความสามารถในการทรงตวั สิง่ แวดล้อม การเข้าถงึ สง่ิ สนับสนุนทางสังคม และระดบั ความรุนแรงของการหกล้ม เป็นตน้ ปอ้ งกันการหกลม้ ในผสู้ ูงอายุและพฒั นาคุณภาพชวี ิตของผูส้ ูงอายตุ ่อไป วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื ปที ่ี 8 ฉบับที่ 1 เดอื น มกราคม – มิถนุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

256 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคุณภาพของ TCI และอยูใ่ นฐานข้อมูล TCI กล่มุ ท่ี 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) เอกสารอ้างองิ Berg K. (1989). Measuring balance in the elderly: preliminary development of an instrument. Physiotherapy Canada, 41(6), 304-11. Bjerk, M., Brovold, T., Skelton, D. and Bergland, A. (2017). A falls prevention programme to improve quality of life, physical function and falls efficacy in older people receiving home help services: study protocol for a randomised controlled trial. BioMed central health services research, 2-9. (on line). DOI 10.1186/s12913-017-2516-5 Boonyarat, Y. (2018). Fall prevention for older adults in community by patients centered. Lampang medical journal, 39(1), 41-43. (in Thai). Borowiak E, Kostka T. (2004). Predictors of quality of life in older people living at home and in institutions. Aging clinical and experimental research. 16(3), 212-20. doi: 10.1007/BF03327386. PMID: 15462464. Chang N.T., Chi L.Y., Yang N.P., Chou P. (2010). The impact of falls andfear of falling on health-related quality of life in Taiwanese elderly. Journal of community health nursing. 27(2), 84-95. Cumming, R. G., Salkeld, G., Thomas, M., & Szonyi,G. (2000). Prospective study of the impact of fear of falling on activities of daily living,SF- 36 scores, and nursing home admission. The Journals of gerontology. Series A,biological sciences and medical sciences,55, M299-305. Fletcher, P., & Hirdes, J. P. (2004). Restriction in activity associated with fear of falling among community-based seniors using home care services. Age and Aging, 33(1), 273-279. Institute of Geriatric Medicine.(1999). Mini-mental state examination-Thai version (MMSE-Thai 2002). Bangkok: Department of Medical, Ministry of Public Health; 1999. Jamfa, W., Chumpeeruang, S., Rueangphut, P. (2019). Depression and Quality of life among elderly Living in Muang NakhonSawan Province. Boromarajonani college of nursing, uttaradit journal, 11(2), 259-271. (in Thai). Jitapankul,S. (1998). Principles of geriatric medicine. Chulalongkorn University Press; 85-6. Kitkumhang V, Kittimanon N, Pannanothai S. (2006). Risk factors of fall in elderly in the community. Journal of health sciences,15(5),787-99. (in Thai) Kressig, R. W., Wolf, S. L., Sattin, R. W., O'Grady, M., Greenspan, A., Curns, A., & Kutner, M. (2001). Associations of demographic, functional, and behavioral characteristics with activity-related fear of falling among older adults transitioning to frailty. Journal of the american geriatrics society, 49(11), 1456–1462. (Internet). (Cited 2020. February 2). Retrieved from https://agsjournals.onlinelibrary.wiley.com/doi/abs/10.1046/j.1532- 5415.2001.4911237.x วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มิถนุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

257 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มลู TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) Lapanantasin, S., Techovanich, W., Na Songkhla, P., Odglun, Y., Wikam, S. (2015). Balance performance and fear of fall improvementfor elderly women living in Ongkharak and Bang-lookseirsubdistrictof Nakhonnayok provinceby a community-based service. Thai Journal of physical therapy, 37(2), 63-77. (in Thai). Mahatnirunkul S, Tantipiwattanaskul W, Pumpaisalchai W, Wongsuwan K, Prommanajirangkul W. (1998). Comparison of the WHOQOL-100 and the WHOQOL-BREF (26 items). Journal of mental health Thailand, 5, 4-15. (in Thai). Martin FC, Hart D, Spector T, Doyle DV, Harari D. (2005). Fear of falling limiting activity in young- old women is associated with reduced functional mobility rather than psychological factors. Age ageing, 34( 3) , 281- 7. doi: 10. 1093/ ageing/ afi074. PMID: 15863412. Marungga, M., Kespichayawattana, J. (2010). Fear of falling experiences of older persons. Journal of nursing science chulalongkorn university, 24(3), 29-41. Morrison A, Fan T, Sen SS, Weisenfluh L. (2013). Epidemiology of falls and osteoporotic fractures: a systematic review. ClinicoEconomics and Outcomes Research 5, 9-18. doi: 10.2147/CEOR.S38721. Epub 2012 Dec 28. PMID: 23300349; PMCID: PMC3536355. National Council on Aging. (2020). Falls Prevention Facts. (Internet). (Cited 2021. February 2). Retrieved from https://www.ncoa.org/news/resources-for-reporters/get-the-facts/falls- prevention-facts/. Yamwong,N. (2014). Quality of life and physical activities of daily living among elderly patients at HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn Medical Center. Journal of medicine and health sciences, 21(1), 35-42. (in Thai). Noopud, P., Phrom-On, D., Woradet, S., and Chaimay, B. (2020). Prevalence of fall risk and factors associated with fall risk among elderly people. Journal of sports science and health, 21(1), 125-137. (in Thai). Ratmanee, A., Piphatvanitcha, N. (2017). Factors related to fear of falling in older adults with stroke. Journal of Boromarajonani College of Nursing, Bangkok, 33(1), 63-76. (in Thai). Rodseeda, P. (2018). Fall Prevention among the Elderly Living in a Community: The Nursing Role in Home Health Care. Thai Red Cross Nursing Journal, 11(2), 15-25. (in Thai). Rongmuang, D., Tongdee, J., Nakchattri, C., Sombutboon, J. (2016). Incidence and Factors Associated with Fall among the Community- Dwelling Elderly, Suratthani. Journal of Phrapokklao Nursing College, 27(1), 123-138. (in Thai). Sri Chang, N. and kawee, L. (2017). Division of Non-Communicable Diseases, Department of Disease Control, Ministry of Public Health. Forecast of falls of the elderly (age 60 years and older) in Thailand, 2017 - 2021. [Internet]. [Cited 2020. January 2]. Retrieved from: วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปที ่ี 8 ฉบบั ท่ี 1 เดือน มกราคม – มถิ นุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

258 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคุณภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มลู TCI กลุ่มที่ 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) http://www.thaincd.com/document/file/violence/การพยากรณ์การพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ %20ปี%202560-2564.pdf. (in Thai). Srisatidnarakul, B. (2010). The Methodology in Nursing Research. 5th ed. Bangkok: You & I Inter Media Ltd. Thaweewannakij, T., Amatachaya, S., Peungsuwan,P., Mato, M. (2010). Balance, fall and quality of life in active and inactive elderly. Journal of medical technology and physical therapy, 22(3), 271-279. (in Thai). Thiamwong, L. (2011). Psychometric Testing of the Falls Efficacy Scale-International (FES-I) in Thai Older Adults. Songklanagarind medical journal, 29(6), 277-287. Tinetti, M. E., Richman, D., & Poweell, L. (1990). Falls efficacy as a measure of fear of falling. Journal of gerontology: Psychological Sciences, 45(6), 293-243 Wongpakaran N, Wongpakaran T. (2012). Prevalence of major depressive disorders and suicide in long-term care facilities: a report from Northern Thailand. Psychogeriatrics,12(1),11-17. Wongpanarak, N., Chaleoykitti, S. (2014). Quality of Life: A Study of Elderly in Thailand. Journal of the royal Thai army nurses, 15(3), 64-79. (in Thai). World Health Organization. (1997). Programme on mental health: WHOQOL Measuring quality of life. Geneva: WHO. World Health Organization. Violence and Injury Prevention: Falls (on line). Retrieved from: http://www.who.int/violence_injury_prevention/ other_injury/falls/en/.(2020,December, 5). Yamwong, N. (2014). Quality of life and physical activities of daily living among elderly patients at HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn Medical Center. Journal of Medicine and Health Sciences, 21(1), 35-42. (in Thai). http://med.swu.ac.th/research/images/Journal/21-1-4-56/4.pdf Yodmai, K., Phummarak, S., Sirisuth, J. C., Kumar, R., & Somrongthong, R. (2015). Quality of life and fear of falling among an aging population in semi rural, Thailand. Journal of ayub medical college, Abbottabad : JAMC, 27(4), 771–774. วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีที่ 8 ฉบบั ที่ 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship ) ผา่ นการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอย่ใู นฐานข้อมลู TCI กลุ่มที่ 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) คำแนะนำการส่งตน้ ฉบบั เพอื่ พจิ ารณาตีพมิ พ์ในวารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ หรือ Journal of Health Science Scholarship (JOHSS) เป็นวารสาร ทเี่ ป็นส่ือกลางในการนำเสนอผลงานทางวิชาการและงานวิจัย เพ่ือสนับสนุนและยกระดับขีดความสามารถในการผลิต และสรา้ งองค์ความรดู้ ้านการพยาบาล ด้านการแพทย์ และดา้ นการสาธารณสุข เปน็ วารสารรายหกเดอื นหรอื คร่ึงปี กำหนดการออกวารสาร ฉบบั ท่ี 1 (มกราคม-มิถุนายน) และฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม) เรื่องที่ส่งเพื่อพิจารณาตีพิมพ์ต้องเป็นงานวิชาการด้านการพยาบาล ด้านการแพทย์ และด้านสาธารณสุข รับ บทความประเภท บทความวิจัย (Research article) บทความวิชาการ (Academic article) บทความปริทัศน์ (Review article) บทความท่ีเสนอเพ่ือพิจารณาตีพิมพ์ จะได้รับการประเมินแบบไม่เปดิ เผยตัวตนสองทาง (double-blind review) โดยผู้ทรงคุณ วุฒิ อย่างน้อย 2 ท่าน บรรณ าธิการจะพิจารณ าข้อเสนอแนะในการปรับแก้ก่อน ทผี่ เู้ ขยี นจะได้รบั แจ้งขอ้ เสนอแนะดงั กลา่ วผลการพิจารณาจากกองบรรณาธิการถือเปน็ สิน้ สดุ บทความต้องไม่เคยตีพิมพ์เผยแพร่ท่ีใดมาก่อนและต้องไม่อยู่ระหว่างการเสนอเพ่ือพิจารณาตีพิมพ์ในวารสาร ฉบบั อนื่ ประเภทของบทความทรี่ ับพิจารณาเพื่อเผยแพร่ 1. บทความวิจัย (Research article) คือ รายงานผลการศึกษา ค้นคว้า วิจัย หรือ การพัฒนาอย่างเป็น ระบบ ควรประกอบดว้ ย 1.1 ชอ่ื เรอ่ื ง ท้งั ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 1.2 ชอ่ื ผเู้ ขยี นพร้อมชื่อหนว่ ยงานทส่ี ังกดั ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ กรณมี ผี ู้รว่ มวจิ ัยหลายคน ให้ระบุผู้รับผิดชอบบทความ (correspond-ing author) พร้อมหมายเลขโทรศัพท์เคล่ือนที่และ email address พร้อมทงั้ ช่ือภาษาไทยและภาษาองั กฤษของผู้ร่วมวจิ ัยทุกคนในบทความ 1.3 บทคัดย่อ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยต้องระบุถึงแบบแผนการวจิ ยั วตั ถุประสงค์ ประชากรและตัวอย่าง เครื่องมือวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และผลการวิจัย ความยาวไม่เกิน 250 คำ 1.4 คำสำคัญ ท้งั ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ 1.5 บทนำ (ที่แสดงถงึ ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาหรือภมู หิ ลงั ของงานทศี่ ึกษา) 1.6 วัตถุประสงคข์ องการศึกษา คำถามการวจิ ัย หรอื สมมติฐานการวิจัย (ถ้ามี) 1.7 ขอบเขตการศึกษา ควรระบุให้ครบท้ัง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านเนื้อหาหรือตัวแปร ด้านประชากรและ กลุม่ ตวั อยา่ ง ดา้ นพนื้ ท่แี ละดา้ นระยะเวลา 1.8 นิยามศัพท์/กรอบแนวคดิ (ถา้ มี) 1.9 ระเบยี บวิธีวิจัย หรอื วิธีดำเนนิ การวิจัย (Methods) ให้บอกรายละเอียดของสิ่งที่นำมาศกึ ษา เร่ิมด้วยรูปแบบแผนการศึกษา (study design) เซ่น descriptive หรือ quasi-experiment แล้วระบุประชากรและ กลุ่มตัวอย่าง ขนาดกลุ่มตัวอย่าง การได้มาซ่ึงกลุ่มตัวอย่าง เซ่น การสุ่มตัวอย่างแบบง่ายหรือแบบหลายข้ันตอน รวมถึงวิธีหรอื มาตรการที่ใชศ้ ึกษา (interventions) เคร่ืองมอื ทใี่ ช้ การตรวจสอบคณุ ภาพเครื่องมอื การทดสอบความ

วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship ) ผ่านการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมลู TCI กลมุ่ ที่ 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) น่าเช่ือถอื วธิ ีการเกบ็ ข้อมูล ระยะเวลาที่ใช้ในการเกบ็ ขอ้ มูล วิธวี ิเคราะห์ข้อมลู สถิตทิ ่ใี ช้ ซึง่ อาจเป็นวธิ ีการเชิงคุณภาพ หรือวิธีการเชิงปริมาณขึ้นอยู่กับประเภทของการวิจัย การพิทักษ์สิทธิ์กลุ่มตัวอย่างซึ่งการวิจัยที่ตีพิมพ์ใน วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือต้องผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการการวิจัยในมนุษย์ (Ethical committee approval) โปรดระบุว่าผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการชุดใดบ้างและเมื่อไร และให้ระบุเลขท่ีที่ได้รับการอนุมัติ จากคณะกรรมการวิจยั ดังกล่าว 1.10 ผลการศกึ ษา แสดงผลของการวจิ ัย และขอ้ มลู ตา่ งๆ ทไ่ี ดจ้ ากการศกึ ษาวจิ ยั นั้นๆ อาจมภี าพ ตาราง และแผนภูมปิ ระกอบให้ชดั เจน เขา้ ใจไดง้ ่าย ไมค่ วรเสนอตารางเป็นภาพถ่าย 1.11 การอภิปรายผล รวมถึงการให้ขอ้ เสนอแนะบนพ้ืนฐานของผลงานวจิ ยั 1.12 กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgement) (ถา้ มี) มีย่อหนา้ เดียวเป็นแจง้ ให้ทราบวา่ มกี าร ช่วยเหลือหรอื มผี ู้สนับสนุนทนุ การวิจัยท่สี ำคัญจากทใี่ ดบ้าง 1.13 เอกสารอา้ งอิง (Reference) คอื รายการเอกสารอา้ งอิง ต้องเปน็ ภาษาองั กฤษทั้งหมด หาก เอกสารอ้างอิงมีต้นฉบับเป็นภาษาไทย ผู้เขียนต้องแปลรายการเอกสารอ้างอิงนั้นเป็นอังกฤษ และเพิ่ม “(in Thai)” ท้ายรายการอ้างอิงน้ันๆ ด้วย (รายละเอียดวิธีการอ้างอิงให้ดูในหัวข้อการเขียนอ้างอิง) การอ้างอิงเอกสารให้ใช้ระบบ APA style โดยทำเป็นวงเล็บวางไว้หลังข้อความหรือหลังช่ือบุคคลเจ้าของข้อความท่ีอ้างถึง ทุกรายการให้เขียนเป็น ภาษาอังกฤษ (รายละเอียดในหัวข้อการเขียนเอกสารอ้างอิง) การเรียงลำาดับรายการเอกสารอ้างอิงท้ายเร่ือง ให้ เรยี งลำดบั ตามตัวอักษร A------->Z 2. บทความวิชาการ (Academic articles) คือ งานเขียนซ่ึงเป็นเร่ืองท่ีน่าสนใจ เป็นความรู้ใหม่ กล่าวถึง ความเป็นมาของปัญหา วัตถุประสงค์ แนวทางการแก้ปัญหา มีการใช้แนวคิดทฤษฎี ผลงานวิจัยจากแหล่งข้อมูล เช่น หนังสือวารสารวชิ าการ อนิ เทอร์เนต็ ประกอบการวิเคราะห์ วิจารณ์ เสนอแนวทางการแกไ้ ข ควรประกอบด้วย 2.1 ช่อื เรื่อง ทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 2.2 ชือ่ ผ้เู ขยี นพรอ้ มชอ่ื หนว่ ยงานที่สังกดั ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ กรณมี ผี ูร้ ่วมวจิ ัยหลายคน ให้ระบุผู้รับผิดชอบบทความ (correspond-ing author) พร้อมหมายเลขโทรศัพท์เคล่ือนท่ีและ email address พรอ้ มทงั้ ช่ือภาษาไทยและภาษาองั กฤษของผ้รู ว่ มวิจัยทุกคนในบทความ 2.3 บทคดั ย่อ ทง้ั ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ โดยตอ้ งระบถุ งึ วัตถปุ ระสงค์ หัวสำคัญท่ีนำเสนอ สรุป และข้อเสนอแนะ โดยเน้ือหาในบทคดั ย่อความยาวไมเ่ กิน 250 คำ 2.4 คำสำคญั ทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 2.5 บทนำ (ท่แี สดงเหตุผลหรอื ทมี่ าของประเด็นที่ต้องการอธิบายหรอื วเิ คราะห์) 2.6 เน้อื หาของบทความ จะเป็นการอธิบายหรอื วิเคราะหป์ ระเด็นตามหลักวิชาการ โดยมีการสำรวจ เอกสารหรืองานวิจัยเพื่อสนับสนุนจนสามารถสรุปผลการวิเคราะห์ในประเด็นน้ันได้ อาจเป็นการนำความรู้จากแหล่ง ตา่ งๆ มาประมวลรอ้ ยเรียงเพ่ือวิเคราะหอ์ ย่างเป็นระบบ โดยผู้เขียนสามารถแสดงทัศนะทางวิชาการของตนเองไว้อยา่ ง ชดั เจนดว้ ย ส่วนสุดทา้ ยจะเปน็ สว่ นสรุปและขอ้ เสนอแนะ มกี ารเขยี นเอกสารอา้ งอิงที่ครบถว้ นสมบูรณ์ 2.7 References คือ รายการเอกสารอา้ งอิง ต้องเปน็ ภาษาองั กฤษทง้ั หมด หากเอกสารอ้างอิงมี ตน้ ฉบับเป็นภาษาไทย ผูเ้ ขียนต้องแปลรายการเอกสารอ้างอิงนั้นเป็นอังกฤษ และเพ่ิม “(in Thai)” ทา้ ยรายการอ้างอิง น้นั ๆ ด้วย (รายละเอยี ดวิธีการอา้ งองิ ใหด้ ูในหัวขอ้ การเขยี นอา้ งอิง)

วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship ) ผ่านการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มูล TCI กลุม่ ที่ 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) 3. บทความปริทัศน์ (Review Article) คือ บทความท่ีมีการผสมผสานแนวคิด และผลการวิจัยหลายๆ งานวจิ ยั โดยผเู้ ขียนจะสังเคราะหแ์ นวคิดเหล่าน้ี ตลอดจนสังเคราะห์ผลการวิจัยจากงานวิจยั ตา่ งๆ เพื่อประมวลเปน็ ข้อ โต้แย้งในเร่ืองใดเรื่องหนึ่ง โดยวัตถุประสงคข์ องการเขียนบทความปรทิ ัศน์ คือ เป็นการสรุป วิเคราะห์ และสังเคราะห์ ความรู้ทั้งทางกว้างและทางลึกอย่างทันสมัยจากผลงานวจิ ัยอืน่ ๆ และ/หรือผลงานวิชาการอ่ืนๆจนถึงปัจจุบัน เพื่อเป็น การทบทวนการก้าวหน้าทางวชิ าการของเรือ่ งน้ันๆ โดยให้ข้อวิพากษ์ท่ีชี้ให้เห็นแนวโน้มที่ควรศึกษาและพัฒนาต่อไป ควรประกอบด้วย 3.1 ชอ่ื เรือ่ ง ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 3.2 ชื่อผู้เขียนพร้อมชื่อสังกัด ท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และขอให้ระบุผู้รับผิดชอบบทความ (corresponding author) พร้อมหมายเลขโทรศพั ทเ์ คล่ือนทแ่ี ละ email address 3.3 บทคดั ย่อ ท้งั ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 3.4 คำสำคัญทง้ั ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ 3.5 บทนำเพ่ือกล่าวถงึ ความน่าสนใจของเร่อื งทน่ี ำเสนอก่อนเข้าสเู่ น้อื หาในแต่ละประเดน็ 3.6เน้ือหาของบทความจะนำเสนอในแต่ละประเด็นและต้องมีบทสรุปเร่ืองท่ีเสนอ พร้อม ข้อเสนอแนะจากผู้เขียนเก่ียวกับเร่ืองดังกล่าวสำหรับให้ผู้อ่านได้พิจารณาประเด็นท่ีน่าสนใจต่อไป ผู้เขียนควร ตรวจสอบเน้ือหาท่เี ก่ียวขอ้ งกบั บทความท่ีนำเสนออยา่ งละเอียด โดยเฉพาะอย่างยิ่งเนื้อหาท่ีใหมท่ ่ีสดุ ข้อมลู ท่ีนำเสนอ จะต้องไม่จำเพาะเจาะจงเฉพาะผู้อ่านที่อยู่ในสาขาของบทความเท่าน้ัน แต่ต้องนำเสนอข้อมูลท่ีซ่ึงผู้อ่านในสาขาอื่น สามารถเข้าใจได้ 3.7 บทสรุปหรอื วจิ ารณ์ 3.8 References คือ รายการเอกสารอ้างอิง ต้องเป็นภาษาอังกฤษทั้งหมด หากเอกสารอ้างอิงมี ตน้ ฉบับเป็นภาษาไทย ผเู้ ขียนตอ้ งแปลรายการเอกสารอา้ งองิ นั้นเป็นอังกฤษ และเพิ่ม “(in Thai)” ท้ายรายการอ้างอิง นัน้ ๆ ด้วย (รายละเอยี ดวิธกี ารอ้างองิ ให้ดูในหัวข้อการเขียนอ้างอิง) ท้ังบทความวิจัย (Research Article) บทความวิชาการ (Journal Article) บทความปริทัศน์ (Review Article) และบทวิจารณ์บทความ (Article Review) ผู้นิพนธ์กรุณาแนบหนังสือขอเสนอบทความในวารสารวิชาการ สขุ ภาพภาคเหนือ ซึ่งอยู่ด้านหลังสดุ ของเอกสารชุดนี้ ทั้งนี้ความยาวของเร่ืองไม่ควรเกิน 20 หนา้ (รวมเอกสารอ้างอิง) ขนาดกระดาษ A4 (รูปแบบอกั ษร TH SarabunPSK ขนาด 16) การเตรยี มบทความตน้ ฉบับ การรับบทความต้นฉบับ ระบบจะรับไฟล์ MS Words เท่านั้น และต้องไม่มี file protection เน่ืองจาก reviewer อาจจะใหค้ วามเห็นโดยใช้ Track Changes หรือ New Comment 1. ช่ือเรือ่ ง (title) ให้มีท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ต้องกะทัดรัดและสอื่ เป้าหมายหลักของการศกึ ษา ไม่ใช้ คำยอ่ ความยาวไมเ่ กิน 100 ตัวอักษร รวมช่องไฟ ถ้าชื่อยาวมาก ให้ตดั เปน็ ซื่อรอง (subtitle) 2. ชื่อผู้เขียน (author and co-author) ให้มีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ใช้ซ่ือเต็ม ไม่ใช้คำย่อ ไม่ต้อง ระบุ ตำแหน่งและคำนำหนา้ ซ่อื 3.ชื่อสังกัด/สถานท่ีปฏิบัติงาน (affiliation) ให้มีท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ใช้ช่ือหน่วยงานที่ผู้เขียน ปฏิบัติงานอยใู่ นปัจจุบัน ท้ังนี้ในกรณีมีมากกว่าหน่ึงสังกดั ขอให้ระบุมาเพียงสังกัดเดียว เมื่อมีผู้เขียนหลายคน และอยู่ คนละสงั กัดให้ใช้สัญลักษณ์ต่อไปนีต้ ามลำดบั เพ่ือแยกสังกัด *, ** โดยใหร้ ะบุเปน็ เชงิ อรรถในหนา้ นนั้ ๆ

วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship ) ผา่ นการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานข้อมลู TCI กลุ่มที่ 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) 4. บทคัดย่อ (abstract) ให้มีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เป็นเนื้อความย่อตามลำดับโครงสร้างของ บทความ ได้แก่ ความเป็นมาและเหตุผล ระเบียบวิธีศึกษา ผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ บทคัดย่อภาษาไทยไม่ควร เกิน 1 หน้ากระดาษ และภาษาอังกฤษ ไม่ควรเกิน 1 หน้ากระดาษ เช่นเดียวกัน ใช้ภาษารัดกุม เป็นประโยคสมบูรณ์ มคี วามหมายในตวั เองโดยไมต่ ้องหาความหมายตอ่ ไม่ควรมีคำยอ่ ในภาษาอังกฤษต้องเป็นประโยคอดตี 5.คำสำคญั (keywords) ใหม้ ที งั้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษวางไวท้ ้ายบทคัดย่อ และ Abstract 6. บทนำ (Introduction) เป็นการแสดงถึงความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา ภูมิหลังและเหตุผล (background and rationale) เป็นส่วนของบทความที่บอกเหตุผลที่นำไปสู่การศึกษา ทบทวนวรรณกรรมท่ีเกี่ยวกับ จุดมุ่งหมายของการศึกษา เป็นส่วนที่อธิบายให้ผู้อ่านทราบถึงปัญหา ลักษณะและขนาดของปัญหาที่นำไปสู่ความ จำเป็นในการศึกษาวิจัยให้ได้ผลเพื่อแก้ปัญหาหรือตอบคำถามท่ีต้ังไว้ หากมีทฤษฎีท่ีจำเป็นท่ีต้องใช้ในการศึกษาอาจ วางพ้นื ฐานไว้ในส่วนนี้ 7. วตั ถุประสงค์ของการศึกษา คำถามการวิจัย หรอื สมมติฐานการวิจยั (ถา้ มี) 8. ขอบเขตการศึกษา ควรระบุให้ครบท้ัง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านเน้ือหาหรือตัวแปร ด้านประชากรและกลุ่ม ตวั อยา่ ง ดา้ นพ้นื ท่แี ละด้านระยะเวลา 9. นยิ ามศพั ท/์ กรอบแนวคดิ (ถ้ามี) 10. ระเบียบวิธีวิจัย หรือ วิธีดำเนินการวิจัย (Methods) ให้บอกรายละเอียดของสิ่งท่ีนำมาศึกษา เร่ิมด้วย รูปแบบแผนการศึกษา (study design) เซ่น descriptive หรือ quasi-experiment แล้วระบุประชากรและกลุ่ม ตัวอย่าง ขนาดกลุ่มตัวอย่าง การได้มาซึ่งกลุ่มตัวอย่าง เซ่น การสุ่มตัวอย่างแบบง่ายหรือแบบหลายขั้นตอน รวมถึง วิธีหรือมาตรการท่ีใช้ศึกษา (interventions) เครื่องมือท่ีใช้ การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ การทดสอบความ น่าเชื่อถือ วธิ ีการเกบ็ ข้อมูล ระยะเวลาท่ีใชใ้ นการเก็บข้อมลู วิธีวิเคราะหข์ ้อมลู สถิตทิ ใ่ี ช้ ซงึ่ อาจเป็นวธิ ีการเชิงคณุ ภาพ หรือวิธีการเชิงปริมาณข้ึนอยู่กับประเภทของการวิจัย การพิทักษ์สิทธ์ิกลุ่มตัวอย่างซ่ึงการวิจัยท่ีตีพิมพ์ใน วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือต้องผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการการวิจัยในมนุษย์ (Ethical committee approval) โปรดระบุว่าผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการชุดใดบ้างและเม่ือไร และให้ระบุเลขท่ีท่ีได้รับการอนุมัติ จากคณะกรรมการวจิ ยั ดังกล่าว 11 ผลการศึกษา แสดงผลของการวิจัย และข้อมูลต่างๆ ที่ได้จากการศึกษาวิจัยน้ันๆ อาจมีภาพ ตาราง และ แผนภูมปิ ระกอบให้ชัดเจน เข้าใจไดง้ ่าย ไมค่ วรเสนอตารางเปน็ ภาพถ่าย 11 การอภปิ รายผล รวมถงึ การใหข้ ้อเสนอแนะบนพื้นฐานของผลงานวิจัย 12 กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgement) (ถ้าม)ี มียอ่ หน้าเดยี วเป็นแจ้งใหท้ ราบว่ามีการชว่ ยเหลือหรือมี ผสู้ นับสนุนทุนการวจิ ัยท่ีสำคญั จากทีใ่ ดบา้ ง 13. เอกสารอ้างอิง (Reference) คือ รายการเอกสารอ้างอิง ต้องเป็นภาษาอังกฤษท้ังหมด หาก เอกสารอา้ งอิงมตี น้ ฉบบั เปน็ ภาษาไทย ผูเ้ ขียนตอ้ งแปลรายการเอกสารอ้างองิ นั้นเป็นองั กฤษ และเพิ่ม “(in Thai)” ท้ายรายการอ้างอิงน้ันๆ ด้วย (รายละเอียดวิธีการอ้างอิงให้ดูในหัวข้อการเขียนอ้างอิง) การอ้างอิงเอกสารให้ใช้ระบบ APA style โดยทำเป็นวงเลบ็ วางไวห้ ลงั ข้อความหรือหลังชื่อบุคคลเจ้าของข้อความทีอ่ ้างถงึ การเขยี นรายการอ้างอิง ทุกรายการให้เขียนเป็นภาษาอังกฤษ (รายละเอียดในหัวข้อการเขียนเอกสารอ้างอิง) การเรียงลำาดับรายการ เอกสารอา้ งอิงท้ายเร่ือง ใหเ้ รยี งลำดบั ตามตัวอกั ษร A------->Z 14. การส่งต้นฉบับพร้อมหนังสือขอเสนอบทความในวารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ โดยการเสนอ บทความผ่านระบบการส่งบทความแบบออนไลน์หรือระบบ Online Journal System (OJS) ที่เป็น web site ที่

วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship ) ผ่านการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มลู TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) วารสารได้กำหนดไว้ให้ทาง https://he01.tci-thaijo.org/index.php/johss ซ่ึงเม่ือท่านเข้าสู่ URL แล้วจะมี แบบฟอร์มให้ดาวนโ์ หลดเอกสารและคำแนะนำการส่งบทความ Submission การเขียนเอกสารอ้างองิ การเขียนเอกสารอ้างอิงให้ใช้การอ้างอิงระบบ APA Style ให้เรียงลำดับตามตัวอักษร มีรายละเอียดและ ตัวอย่างของเอกสารอา้ งองิ ดังน้ี หนังสือ ชื่อผแู้ ต่ง. (ปีทพี่ ิมพ์). ชอื่ เรอ่ื ง ครงั้ ท่พี ิมพ์. สถานที่พมิ พ์: สำนักพิมพ์ Davis, Keith. (1967). Human Relation at Work: The Dynamic of Organization Behavior. New York: McGraw-Hill. บทความในวารสาร ชื่อผูเ้ ขยี น. (ปที ีพ่ มิ พ)์ . ช่ือบทความ. ชื่อวารสาร. ปีท่ี (เดอื น): เลขหนา้ . Eiamsumang, P., Srisuriyavait, R., & Homsin, P. (2013). Risk factors of unintended repeat pregnancy among adolescents. The public health journal of Burapha University. 8(1), 55-67. (in Thai). Egloff, G. & Fitzpatrick, A. (1997). Vocationally Oriented Language Learning. Learning Teaching Journal. 30(July): 226: 242. เว็บไซต์ Lynch, T. (1996). DS9 trials and tribble-actions review. [Online], Available:http://www.bradley. edu/campusorg/psiphi.html. (1997, 8 October) ComputerCrime andIntellectual PropertySection(CCIPS). (2003). HowtoReport Internet-RelatedCrime [Online], Available: http://www.cybercrime.gov/reporting.htm. (2004, 17January) จากแหลง่ อน่ื ๆ Agrawal, A. (2008, March 5–6). The role of local institutions in adaptation to climate change. Paper presented at the Social Dimentions of Climate Change, Social Development Department, The World Bank, Washington, DC. Central Statistics Office of Rebublic of Botswana. (2008). Gross domestic product per capita 06/01/1994 to 06/01/2008 [Statistics]. Available from CEIC Data database. Supakorndej, S. (2003). The process of recycling bank on Ban Thai Samakee community in Ban Pong, Ratchaburi. Unpublished Master’s thesis, Mahidol University. Wilfley, D. E. (1989). Interpersonal analysis of bulimia. Doctoral dissertation, University of Missouri, Columbia.

วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship ) ผา่ นการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) ตัวอย่างการเขียนเอกสารอ้างอิง (เนื่องจากต้องทำให้วารสารเป็นมาตรฐาน ดังน้ัน Reference หากเป็น ภาษาไทย: ผู้เขียนบทความต้องเปลี่ยน Reference ภาษาไทยให้เป็นภาษาอังกฤษด้วย แล้ววงเล็บข้างหลังว่า (in Thai). และให้นำชอ่ื ผูแ้ ตง่ หรือหนว่ ยงานที่อ้างอิงทท่ี ่านทำเป็นภาษาอังกฤษ ไปใส่อ้างอิงในบทความด้วย) ปะราสี อเนก. (2554). องค์ประกอบทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการรบั รคู้ ุณค่าในการใช้บริการสปาของนักท่องเท่ยี ว ต่างชาติในจงั หวัด เชียงใหม่. วารสารวิทยาการจัดการ. 28(2), 64-72. ใหเ้ ขียนเปน็ Anek. P. (2011). The Marketing Component Influence to the Value Perception in Using Spa Service of Foreigner Tourist in Chiangmai Province. Journal of management sciences. 28(2), 64-72. (in Thai). Ebel, R. L., & Frisbie, D. A. (1986). Essentials of Educational Measurement (4th ed.). New Jersey: Prentice-Hall. Nunnally, J. (1978). Psychometric theory. New York: MacGraw-Hill. Radermacher, H., Feldman, S., & Bird, S. (2010). Food security in older Australians from different cultural backgrounds. Journal of Nutrition, Education and Behavior. 42(5), 328-336. ขอ้ ควรระวังการจดั เตรียมบทความ • ชื่อผู้แต่ง ไม่ใส่ตำแหน่งทางวิชาการ ยศ ตำแหน่งทหาร สถานภาพทางการศึกษา หรือ คำนำหน้าช่ือ หรือ ท้ายชอื่ เชน่ นาย, นาง, นางสาว, ผศ.ดร., PhD, ร.ต.ต., พ.ต.ท. • ไมร่ ะบสุ ถานภาพผแู้ ต่ง เช่น อาจารยท์ ี่ปรกึ ษาวิทยานพิ นธ์, ผศ.ดร. เป็นตน้ สถานทต่ี ดิ ต่อ กองบรรณาธิการวารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื กลุ่มวจิ ยั และบริการวชิ าการ วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลำปาง 268 ถนนป่าขาม ตำบลหวั เวียง อำเภอเมอื ง จังหวัดลำปาง 52000 โทรศัพท์ 054-226254 ตอ่ 141 โทรสาร 054-225-020 email: [email protected] http://www.tci-thaijo.org/index.php/johss

หนังสอื ขอเสนอบทความในวารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) วนั ท่ี.............................................................. ผูน้ พิ นธ์ ชอ่ื ......................................................................นามสกุล.......................................................... (ภาษาไทย) ชอ่ื ......................................................................นามสกลุ …...................................................(ภาษาอังกฤษ) หนว่ ยงาน…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…. ที่อยูท่ ี่ตดิ ต่อ…………………………………………………………………………………………………………………………………..……… ตำแหน่ง……………………………………E mail………………………………………เบอรโ์ ทรศัพท์…………………………… ประสงคข์ อตีพมิ พ์  บทความวจิ ยั  บทความวิชาการ  บทวจิ ารณ์หนังสอื  บทความปริทรรศน์ เรือ่ ง (ภาษาไทย).................................................................................................................................................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… (ภาษาอังกฤษ)............................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ในวารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื ซงึ่ ดำเนินการโดยวทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลำปาง โดยบทความนี้ ข้าพเจ้าได้นิพนธ์ข้นึ เพือ่  เผยแพรผ่ ลงานวชิ าการ สำเรจ็ การศกึ ษาระดบั .................................................สาขา.................................................จาก ............................................................................................................................. ....................................................... ชื่ออาจารยท์ ปี่ รกึ ษาวิทยานพิ นธ/การศกึ ษาอสิ ระ ……………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. (หากเป็นบทความวิจัยจากวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ ผู้นิพนธ์ต้องผ่านก ารพิจารณาจากจากอาจารย์ท่ีปรึกษาว่าได้ ตรวจสอบบทความ มคี วามถูกตอ้ งตามหลักวชิ าการ และยนิ ดใี ห้ตพี มิ พใ์ นวารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ได้)  อน่ื ๆ (ระบุ) ........................................................................................................................................... ผลงานนี้ยงั ไม่เคยลงตพี ิมพ์ในวารสารใดมากอ่ น และจะไม่นำส่งไปเพื่อพิจารณาลงตีพมิ พ์ในวารสารอน่ื ๆ อีกนับจากวนั ทขี่ า้ พเจา้ ได้สง่ ผลงานต้นฉบับน้ีมายงั กองบรรณาธิการวารสาร ข้าพเจ้าขอรบั ผดิ ชอบเกยี่ วกับเน้ือหาท่ี ปรากฏในบทความนี้ กรณีมีการฟ้องร้องเร่ืองการละเมิดลิขสิทธิ์เกี่ยวกับข้อความส่วนใดส่วนหนึ่งที่ปรากฎใน บทความให้เปน็ ความรับผดิ ชอบของข้าพเจ้าและผเู้ ขียนร่วมแต่เพยี งฝา่ ยเดียว พร้อมนขี้ า้ พเจ้าได้ส่งเอกสารต่าง ๆ ให้กองบรรณาธิการวารสารดังต่อไปนี้  กรอกข้อมูลรายละเอยี ดแบบฟอร์มเสนอผลงานลงตพี มิ พใ์ นวารสารฯ  สำเนาใบรบั รองจากคณะกรรมการพิจารณาการวจิ ยั ในมนษุ ย์ (เอกสารที่กรุณากรอกและสำเนาใบรบั รองให้สง่ เป็น Pdf แนบสำเนาการชำระเงิน พรอ้ มทอี่ ยู่ทจ่ี ัดส่งใบเสร็จ ส่งไปที่ [email protected])

เมื่อกองบรรณาธิการของวารสารพจิ ารณาแล้ว มมี ติใหแ้ ก้ไขปรับปรงุ บทความ ขา้ พเจ้ามคี วามยนิ ดรี ับไป แกไ้ ขตามมตดิ งั กลา่ วนัน้ ทง้ั นี้ข้าพเจ้าไดช้ ำระคา่ ธรรมเนยี มขอตพี มิ พบ์ ทความลงในวารสารวชิ าการสขุ ภาพ ภาคเหนือ ตามอัตราทไ่ี ดก้ ำหนดไวค้ ือ  คา่ ตรวจบทความวิชาการ บทความวจิ ัย ค่าตีพิมพบ์ ทความท่ผี ่านเกณฑ์การตรวจ 3,000 บาท (วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครลำปาง ธนาคารกรงุ ไทย เลขทบ่ี ญั ชี 536-1-11771-4) หมายเหตุ: หากทา่ นโอนเงนิ เรยี บรอ้ ยแลว้ กรุณาแจง้ วนั ที่ เวลา ที่โอนเพื่อให้วารสารทราบด้วย จะได้ ดำเนินการออกใบเสรจ็ ให้ และโปรดระบชุ อ่ื หน่วยงานที่ตอ้ งการใชเ้ บกิ คา่ ตพี ิมพใ์ หช้ ัดเจน กรณสี ามารถเบกิ ได้ ลงช่อื ............................................................ (.................................................................) ผนู้ พิ นธ์บทความ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. กองบรรณาธิการได้รับเงนิ จำนวน......3,000... บาท (สามพนั บาทถว้ น) จาก............................................... เพ่ือตีพมิ พบ์ ทความเรอ่ื ง............................................................................................................................................ เปน็ ทเ่ี รียบรอ้ ยแล้ว (เอกสารแนบ) ลงชือ่ ............................................................ (.................................................................) เจ้าหนา้ ที่

Ivรอ บiv รอบรั้วฝ้ายคำ วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลำปาง พิธีสำเรจ็ การศกึ ษานกั ศกึ ษาพยาบาลศาสตรบณั ฑิต รนุ่ ที่ 40 พธิ ีทำบญุ วนั สถานปนาวิทยาลยั ฯ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลำปาง คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบนั พระบรมราชชนก ได้รบั เกียรติให้เปน็ ศูนยฉ์ ีด COVID-19 จังหวดั ลำปาง โดยท่านผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน รว่ มกับสำนักงานสาธารณสขุ จังหวดั ลำปาง โรงพยาบาลลำปาง ทุกภาคส่วนในจังหวัดลำปาง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook