Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือปีที่8ฉบับที่1ม.ค.-มิ.ย.64

วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือปีที่8ฉบับที่1ม.ค.-มิ.ย.64

Published by sucheerapanyasai, 2021-09-16 04:02:46

Description: วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือปีที่8ฉบับที่1ม.ค.-มิ.ย.64

Keywords: วารสาร

Search

Read the Text Version

44 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอย่ใู นฐานข้อมูล TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) “ใช้ยาฝังที่แขน (หมายถึง ยาฝังคุมกาเนิด) พยาบาลแนะนาว่าให้ใช้แบบน้ีไปก่อน รอให้ลูกโตกว่านี้ แล้วค่อยมีลูกใหม่ หนูก็ว่าดนี ะ ถา้ กินยาคุมกาเนิด เดีย๋ วก็ท้องอีก บางทีหนูไปซอื้ ที่ร้านขายยา ก็มยี าที่หมดอายุอีก แล้วเราก็ไม่ได้ดูใหด้ ีดว้ ย เคยพลาดแลว้ กินเขา้ ไปดว้ ย” ขณะท่วี ยั รุ่นหญงิ อีกรายใชย้ าฉีดคุมก้าเนดิ ในการปอ้ งกนั การต้ังครรภ์ ดงั ค้าพดู “ยังไมก่ ล้าฝังยา (หมายถึง ยาฝังคุมกาเนิด) ตามที่พยาบาลบอก เลยขอเป็นฉดี แทนก่อน ก็สะดวกค่ะ ฉีดต่อท่ีอนามัยได้ ไม่ต้องไปโรงพยาบาล ก็คอยจาวันนัดไว้แล้วค่อยไปฝังยา ก็สนใจอยู่นะต้องคุมไว้ก่อนล่ะ ไม่อย่างนั้นเด๋ยี วทอ้ งอกี เลยี้ งไม่ไหว งานก็ไม่มที า” วัยรุ่นหญิงรายหนึ่งได้รับค้าแนะน้าให้ไปรับบริการยาฝังคุมก้าเนิด แต่ไม่ได้นัด และตนเองไม่กล้าไป เน่ืองจากกลวั เจบ็ และไมเ่ ข้าใจว่ายาฝังคมุ ก้าเนดิ เปน็ อย่างไร นกึ ภาพไมอ่ อก ไม่มีตัวอยา่ งใหด้ ู ดงั คา้ พูด “ตอนหลังคลอดท้องแรก พยาบาลแนะนาว่าให้ไปฝังเข็มเพื่อไม่ให้ท้อง ก็ไม่รู้เร่ือง ไม่เข้าใจฝังเข็ม เป็นยังไง ตัวอย่างไม่มใี ห้ดูคงเหมือนเอาเขม็ ฝังไปในเน้ือ กลัว ไม่เอา กลวั เจ็บ และก็ไม่ได้นัดหนูดว้ ย หลังคลอดหนู ไปซื้อยาคุมท่ีรา้ นขายยา ก็ลืมกินไป 10 เม็ด เลยท้องอีก ตอนนี้พยาบาลแนะนาให้ใช้ยาฝังคุมกาเนิดอีก มีตัวอย่าง ใหด้ ดู ้วย ก็เข้าใจแล้ววา่ ไมไ่ ดเ้ ป็นเขม็ ก็จะคุมด้วยยาฝังคุมกาเนิดตามทพ่ี พี่ ยาบาลแนะนา” อย่างไรก็ตามการคุมก้าเนิดด้วยการใช้ยาฝังคุมก้าเนิดยังเป็นวิธกี ารป้องกันการต้ังครรภ์ท่ีได้รับความ เช่ือม่ันวา่ สามารถป้องกันการตงั้ ครรภ์ได้อย่างแนน่ อน ดง่ั คา้ พูดของพยาบาลทวี่ ่า “ถ้าคุมกาเนิดให้เด็กพวกนี้ได้จะฝังให้หมดทุกคนเลย เพราะถา้ ปล่อยให้ท้องจนคลอดออกมาก็คลอด กอ่ นกาหนด เด็กกไ็ ม่ดี เล้ยี งลกู ก็ไม่เป็น ปอดบวม นมกไ็ มม่ ีให้ลกู กนิ แมก่ ็อด ลูกกอ็ ด” เชน่ เดียวกับพยาบาลอกี รายท่ีกล่าวว่า “เห็นด้วยกับนโยบายให้ใช้ยาฝังคุมกาเนิด เพราะมันคุ้มกว่าท่ีจะปล่อยให้มีเด็กเกิดมาแล้วเป็นภาระ ให้กับคนอ่ืน แม่ก็เรียนไม่จบ งานก็ไม่มีทา ก็จะแนะนาให้คุมกาเนิดดว้ ยยาฝังคุมกาเนิด ถา้ อายนุ ้อยกว่า 20 ปี เรา ฝังใหฟ้ รีเลย ท้ังที่ต้นทนุ ตัง้ 2,500 บาท” ในประเด็นนี้สรุปได้ว่า วัยรุ่นหญิงสนใจป้องกันการต้ังครรภ์ซ้าในหลายวธิ ี ได้แก่ ยาฉีดคุมก้าเนิด ยา เม็ดคุมก้าเนดิ โดยมีบางส่วนม่ันใจเลอื กใช้วิธีคุมก้าเนิดที่ป้องกันได้ระยะยาวดว้ ยการใช้ยาฝังคุมก้าเนิด ซ่ึงเป็นการ คุมกา้ เนดิ ทีเ่ ป็นนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขในการการป้องกนั การตงั้ ครรภ์ซ้าในวัยรุ่นดว้ ย อภปิ รายผล การวิจัยเรื่องประสบการณ์การป้องกันการต้ังครรภ์ซ้าของวัยรุ่น มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ประสบการณ์การป้องกนั การตั้งครรภ์ซ้าของวัยรนุ่ ในจงั หวัดกาญจนบุรี ได้ผลการศึกษา 4 ประเด็น ได้แก่ 1) เมื่อ วัยรุ่นพลาดจากการคุมก้าเนิดจะได้รับการดูแลและก้าลังใจจากครอบครัว โดยที่สมาชิกในครอบครัวให้การดูแล วัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ทั้งด้านร่างกายจิตใจเป็นอย่างดี 2) วัยรุ่นคุมก้าเนิดไม่สม่้าเสมอ โดยที่วัยรุ่นหญิงกินยาเม็ด วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 เดอื น มกราคม – มถิ นุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

45 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มูล TCI กลมุ่ ที่ 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) คุมก้าเนิดไม่สม้่าเสมอ และสามีของวัยรุ่นหญิงใช้ถุงยางอนามัยไม่สม่้าเสมอ 3) เหตุผลของการป้องกันการ ตั้งครรภ์ซ้าของวัยรนุ่ ประกอบดว้ ย 3.1 วัยรุ่นมองตนเองวา่ อายุยังน้อยไมค่ วรมลี ูก 3.2 วัยรุ่นต้องการกลับไปเรียน ต่อให้จบเพ่ือที่จะได้หางานท้าเลี้ยงลูก และ 4) วัยรุ่นมั่นใจกับการเลือกใช้การป้องกันการตั้งครรภ์ซ้าด้วยยาฝัง คมุ กา้ เนดิ สามารถอภิปรายไดด้ งั น้ี 1. เมื่อวยั รุ่นพลาดจากการคุมกา้ เนิดจะได้รบั การดูแลและก้าลงั ใจจากครอบครวั จากการศึกษา พบว่า เม่ือวัยรุ่นหญิงพลาดจากการคุมก้าเนิดแล้วเกิดการตั้งครรภ์ขึ้น ครอบครัวของ วัยรุ่นที่ต้ังครรภ์จะยอมรับกับสภาพที่บุตรสาววัยรุ่นแล้วเกิดตั้งครรภ์ได้ โดยที่สมาชิกในครอบครัวยังให้ความรัก และดูแลวัยรนุ่ ท่ีตัง้ ครรภ์เป็นอย่างดี ทัง้ ด้านร่างกายและสภาพจิตใจแล้ว โดยขณะต้ังครรภ์วัยรุ่นหญิงยังได้รับการ ดูแลจากสมาชิกในครอบครัวเป็นอย่างดีทั้งด้านอาหาร และการให้ก้าลังใจในการดูแลครรภ์ของวัยรุ่นหญิง สอดคล้องกับ Plodpluang U. (2011) ท่ีศึกษาประสบการณ์ชีวิตของหญิงต้ังครรภ์วัยรนุ่ ที่ได้รับการสนับสนนุ จาก ครอบครัวในการดูแลขณะต้ังครรภ์ พบว่า หญิงต้ังครรภ์วัยรุ่นได้รับความเห็นอกเห็นใจ และได้รับก้าลังใจ การ ดูแลเอาใจใส่จากสมาชิกในครอบครัวในลักษณะต่างๆ โดยแสดงออกถึงความเห็นอกเห็นใจ และพร้อมท่ีจะเข้าใจ ในเหตกุ ารณท์ ี่เกิดขึ้นท้งั ดา้ นดีและไม่ดี มีการแสดงออกมาทางค้าพูด การกระท้า การเอาใจใส่หรือการแสดงความ คิดเห็นในทางสร้างสรรค์ และสอดคล้องกับการศึกษาของ Rongluen S., Talengjit P., and Siriborirak S. (2012) ที่พบวา่ แหลง่ สนบั สนุนทางสังคมที่ส้าคัญในการช่วยเหลอื วัยรุ่นหญิง คือ สามี บิดา มารดาของวัยร่นุ หญิง พร้อมท้ังประเมินสมั พันธภาพระหว่างมารดาของหญิงตั้งครรภ์วัยรนุ่ ความเป็นสมาชิกในครอบครัวของพ่อแม่และ ลกู เป็นความผกู พันกันตามธรรมชาติ (Spontaneous of natural supportive system) ซ่งึ ความสัมพันธ์นี้มีส่วน ส้าคัญในการช่วยเหลือและสนับสนุนการด้าเนินชีวิตของบุคคลในครอบครัวด้วยกันได้ การยอมรับสถานะท่ี เปลี่ยนแปลงของวัยรุ่นหญิงด้วยความเข้าใจ และก้าลังใจอันอบอุ่นของสมาชิกในครอบครัวที่ให้แก่วัยรุ่นจะท้าให้ วัยรุ่นขา้ มผ่านสถานะท่ีเปลี่ยนไปนี้ได้เป็นอย่างดี ทั้งนี้วยั รุ่นหญิงที่ต้ังครรภ์กต็ ้องการความรกั ความเข้าใจและการ ดูแลเอาใจใส่จากคนในครอบครัวด้วยเช่นกัน ไม่เพียงแต่ในขณะต้ังครรภ์ แต่รวมไปถึงช่วงคลอดและหลังคลอด และจากการศึกษายังพบว่ามีบางครอบครัวท่ีสนับสนุนให้วัยรุ่นมีบุตร เน่ืองจากต้องการมีหลานและมีส่วนในการ ช่วยเลี้ยงหลาน สอดคล้องกับ Weiss R. (1974) ท่ีว่า การที่บุคคลในครอบครัวมีความรับผิดชอบในการเล้ียงดู หรือช่วยเหลือบุคคลในครอบครัวด้วยกันแล้ว จะท้าให้ตนเองเกิดความรู้สึกว่า เป็นท่ีต้องการของบุคคลอ่ืนและ ผู้อ่ืนพ่ึงพาได้ ถ้าขาดการสนับสนุนน้ีจะท้าให้บุคคลรู้สึกว่าชีวิตน้ีไร้ค่า ซ่ึงมารดาของหญิงต้ังครรภ์วัยรุ่นจึงให้การ ดูแลการตั้งครรภ์ของวัยรุ่นเป็นอย่างดีทั้งด้านอาหารการกิน การให้ก้าลังใจและเฝ้ารอท่ีจะมีส่วนในการช่วยเลี้ยงดู หลานต่อไป จะเห็นได้ว่า การส่งเสริมให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น จึงมี ความสา้ คญั ทั้งตอ่ หญงิ ต้ังครรภ์วยั รุ่น บุตรในครรภแ์ ละสมั พันธภาพทดี่ ตี ่อไปของสมาชิกในครอบครัว วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ่ี 8 ฉบบั ที่ 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

46 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มูล TCI กลุ่มที่ 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) 2. วยั รุ่นคุมกา้ เนิดไม่สมา้่ เสมอ จากการศึกษา พบว่า วัยรุ่นป้องกันการตั้งครรภ์ด้วยการคุมก้าเนิดไม่สม้่าเสมอ โดยวัยรุ่นหญิงใช้ยา เมด็ คุมก้าเนิดในการป้องกนั การต้ังครรภ์ โดยได้รับความร้เู ก่ียวกบั การใชย้ าคุมก้าเนิดจากการสอนของอาจารยห์ รือ บุคลากรสาธารณสุขในโรงเรียนจึงรู้จักยาเม็ดคุมก้าเนิด แต่วัยรุ่นหญิงยังไม่เข้าใจการคุมก้าเนิดที่ถูกต้องนัก และ คุมก้าเนิดไม่สม้่าเสมอ ดั่งค้ากล่าวว่า “กินยาคุมได้ 2-3 แผงแล้ว แต่ลืมกิน 2-3 วัน แฟนก็ลืมใส่ถุงยางอนามัยอีก คดิ ว่าไม่ท้อง มารู้ตัวอกี ทีคล่ืนไส้ เวียนหัว เหม็นกระเทียมเลยไปซ้ือท่ีตรวจท้องมาตรวจเอง รู้ว่าท้อง” ซ่ึงใกล้เคียง กับความคิดท่ีว่าการมเี พศสมั พันธ์เพยี งไม่กีค่ ร้ังไม่สามารถทา้ ใหต้ ั้งครรภ์ได้ ด่งั ท่ีกระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดจ้ ัดกจิ กรรม เพื่อให้ความรู้ในโครงการ ‘Up to me’ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะชีวิตของวัยรุ่นให้เกิดความเข้าใจในเรื่อง เพศ โดยจัดกิจกรรมสร้างเสรมิ ทักษะการคิดวิเคราะห์และการตัดสินใจที่ถูกต้องเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ แต่วัยรุ่น ไม่ได้ให้ความสนใจต่อการสอนการป้องกันการต้ังครรภ์เท่าท่ีควร ดังนั้นเม่ือมีเพศสัมพันธ์จึงกินยาเม็ดคุมก้าเนิดไม่ ถูกต้องและไม่สม้่าเสมอ วัยรุ่นขาดการรับรู้ถึงการเส่ียงต่อการตั้งครรภ์ท่ีไม่พึงประสงค์โดยส่วนใหญ่มักไม่ป้องกัน หรือการคุมก้าเนิดที่เหมาะสม อาจก่อให้เกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการต้ังครรภ์ท่ีไม่พึงประสงค์ได้ ส่วน การป้องกันการคุมก้าเนิดของคู่นอนมีการใช้ถุงยางอนามัยร่วมด้วย โดยที่วัยรุ่นชายขาดความตระหนักในการ ป้องกันการต้ังครรภ์ ใช้ถุงยางอนามัยบ้าง ส่วนมากมักไม่ใช้ถุงยางอนามัยโดยให้เหตุผลว่าลืมใช้ สอดคล้องกับ การศึกษาของ Caple C., Woten M. & Pravikoff D. (2018) ที่ศึกษาเรื่อง การต้ังครรภ์และการคุมก้าเนิดใน วัยรุ่นของสหรัฐอเมริกา ในช่วงปี 2559–2560 พบว่าร้อยละ 40 ของนักเรียนมัธยมปลายของสหรัฐ เคยมี เพศสัมพันธ์ โดยมีถึงร้อยละ 14 ที่รายงานว่าไม่ได้คุมก้าเนิดด้วยวิธีใดๆและสอดคล้องกับ Eiamsumang P., Srisuriyavait R. & Homsin P. (2013) ท่ีศึกษาเร่ือง ปัจจัยเส่ียงต่อการตั้งครรภ์ซ้าท่ีไม่ต้ังใจของวัยรุ่นท่ีมี ภูมิล้าเนาอยู่ในเขตภาคตะวันออกของประเทศไทยพบว่า วัยรุ่นที่มีประวัติการคุมก้าเนิดไม่สม้่าเสมอจะมีการ ตงั้ ครรภ์ซ้าที่ไม่ตั้งใจสูงเป็น 3.34 เท่าของวัยรนุ่ ตั้งครรภ์ท่ีมีประวัติการคุมก้าเนิดทส่ี ม่้าเสมอ และพบว่าวยั รุ่นหญิง ที่มีสามีอายุมากกว่าจะตั้งใจมีบุตร เนื่องจากต้องการมีลูกไว้เป็นเพื่อน สอดคล้องกับ Wisarutkasempong A. & Muangpin S. (2558) ศึกษาปัจจัยท่ีมีความสัมพันธ์ต่อความต้ังใจต้ังครรภ์ซ้าในหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น พบว่า วัยรุ่น หญิงท่ีตงั้ ใจต้ังครรภ์ซ้ามักเป็นวัยรนุ่ ตอนปลาย มักไม่คุมก้าเนิดหรือคมุ ก้าเนิดไม่สม่้าเสมอ และการส่ือสารทางเพศ ระหวา่ งวยั รุ่นชายหญิงในเรื่องการคมุ ก้าเนิดและการพูดถงึ การใช้ถุงยางอนามัยจึงเป็นเรือ่ งยากมากของครู่ ัก 3. เหตผุ ลของการป้องกนั การตงั้ ครรภซ์ ้าของวัยร่นุ จากการศึกษา พบว่า วัยรุ่นหญิงมีการป้องกันการตั้งครรภ์ซ้า ด้วยเหตุผล 2 ประการ คือ วัยรุ่นหญิง มองตนเองวา่ อายุยงั นอ้ ย ไม่มีความพร้อมกบั การมบี ุตร และวยั ร่นุ หญงิ ตอ้ งการกลับไปเรยี นต่อใหจ้ บและหางานท้า 3.1 วัยรุ่นหญิงมองตนเองว่าอายุยังน้อย ยังไม่มีความพร้อมกับการมีบุตร การเล้ียงลูกเหนื่อยมาก ไมม่ ีเงินพอท่จี ะใช้จ่ายในครอบครวั ดงั่ คา้ กล่าวว่า “ถ้าย้อนไปไดห้ นูจะไมป่ ล่อยให้ทอ้ งเลยค่ะ เรียนกย็ ังไม่จบ งาน กไ็ ม่มี เงนิ กไ็ ม่มีจะเล้ียงลกู ยงั โชคดีที่มีแม่ช่วยเล้ียง ลา้ พังตัวหนเู องยังต้องให้แมเ่ ล้ียงเลย ท้าอะไรกไ็ ม่เป็น ตอนน้ีก็ วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ่ี 8 ฉบบั ท่ี 1 เดอื น มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

47 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคุณภาพของ TCI และอยูใ่ นฐานขอ้ มูล TCI กลมุ่ ที่ 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) ได้แม่ช่วย หนูไม่น่าจะมีลูกตอนน้ี” และคิดว่าการต้ังครรภ์ท่ีผ่านมาเกิดจากการป้องกันการตั้งครรภ์ท่ีไม่สม่้าเสมอ จึงท้าให้เกิดการตั้งครรภ์ขนึ้ นอกจากน้วี ัยร่นุ หญิงยงั ไม่เข้าใจการคุมก้าเนดิ ท่ีถูกต้องนัก และคุมก้าเนดิ ไมส่ ม่้าเสมอ ด่ังค้ากล่าวว่า “รู้จักแค่ยาเม็ดคุมก้าเนิด หนูก็กินบ้างไม่กินบ้าง แต่ไม่ต่อเน่ืองหรอก” ซ่ึงใกล้เคียงกับความคิดของ Wisarutkasempong A. & Muangpin S. (2015) ท่ีว่า การรับรู้ความสามารถในการป้องกันการต้ังครรภ์มี ความสัมพันธ์กับความตั้งใจต้ังครรภ์ซ้า สะท้อนให้เห็นว่า วัยรุ่นหญิงกลุ่มน้ีรับรู้ว่า ตนเองควรป้องกันการต้ังครรภ์ ได้แต่ไม่ป้องกัน เพราะมีปัจจัยอ่ืนๆ ที่ท้าให้วัยรุ่นไม่ป้องกันการตั้งครรภ์ อย่างไรก็ตามแม้ว่าวัยรุ่นหญิงจะต้องการ การป้องกันการต้ังครรภ์ซ้า แต่ยังมีปัญหาในการปฏิบัติ เช่น การขาดความรู้ท่ีถูกต้องในการป้องกันการต้ังครรภ์ก็ เป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ท้าให้วัยรุ่นหญิงต้ังครรภ์ซ้า ซ่ึงจากการศึกษาของ Eiamsumang P., Srisuriyavait R. & Homsin P. (2013) เรื่อง ปัจจัยเสี่ยงของการตั้งครรภ์ซ้าในวัยรุ่น พบว่า วัยรุ่นหญิงท่ีต้ังครรภ์ซ้ามีค่าคะแนน ความรู้ในการป้องกันการตั้งครรภ์ในระดับไม่ดี จากข้อมูลดังกล่าวน้ีจึงน่าจะมีการทบทวนการให้ความรู้เร่ืองเพศ และการป้องกันการตั้งครรภ์แก่เด็กวัยรุน่ ที่จะท้าให้วัยรุ่นเกิดการเรียนรู้และเขา้ ใจการป้องกันการคุมก้าเนิดอย่าง ถูกตอ้ ง นอกจากน้กี ารจัดบริการด้านอนามัยการเจริญพนั ธ์ุในวยั รุ่น ซึ่งยงั คงมีอปุ สรรคในการใหข้ ้อมลู และบริการ ท่ีเหมาะสม โดยเฉพาะการมีช่องว่างระหว่างความสัมพันธ์ของงผู้ให้บริการกับผู้รับบริการ ท้าให้ไม่สามารถ ให้บริการท่ีเป็นมิตรกับวัยรุ่นท่ีตั้งครรภ์โดยท่ีไม่ได้แต่งงาน อุปสรรคอ่ืนๆ ท้ังในระดับสถานบริการและระดับ นโยบาย อาทิ การขาดความเป็นส่วนตัวในสถานบริการ ระยะเวลารอรับบริการและเวลาเปิดให้บริการที่ไม่ เหมาะสม ทัศนคตทิ ไ่ี มด่ ขี องผใู้ ห้บริการต่อวยั รุ่นทีม่ เี พศสัมพันธ์ก่อนแตง่ งาน (Panyayong B., 2011) 3.2 วัยรุ่นต้องการกลับไปเรียนต่อให้จบเพื่อที่จะได้หางานท้าเล้ียงลูก โดยคาดหวังว่าจะได้เรียน และท้างานไปด้วย เหตุผลอีกประการหนึ่งที่วัยรนุ่ หญิงต้องการป้องกันการต้ังครรภ์ซ้าเป็นเพราะอับอายท่ีตั้งครรภ์ ในขณะท่ียังเป็นนักเรียนท้าให้ต้องหยุดการเรียนหรือเลิกเรียน (Suwansuntorn, P., & Laeheem, K., 2012) การหยุดเรียนท้าให้เรียนไม่จบ ไม่สามารถหางานท้าได้ จึงไม่มีรายได้เพียงพอต่อการใช้จ่าย ดังน้ันภายหลังการ คลอดบุตรแล้ววัยรุ่นจึงต้องการคุมก้าเนิดไว้ก่อน โดยใช้วิธีการคุมก้าเนิดทั้งแบบช่ัวคราวและแบบกึ่งถาวร ดั่งค้า กล่าวว่า “ตัง้ ใจจะคุมก้าเนดิ ไว้ก่อน แลว้ ค่อยหาโอกาสเรียนต่อ” ท้ังน้ีกระทรวงสาธารณสุขมีการด้าเนินกิจกรรมท่ี ผลักดันและสร้างแรงจงู ใจในการคุมก้าเนิดแบบก่ึงถาวร เพ่ือป้องกันการตั้งครรภ์ซ้า ตามความต้องการของวัยรุ่นที่ ต้องการกลับไปเรียนต่อให้จบ โดยสามารถเรียนต่อได้ที่ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนตามมาตรการพัฒนาเยาวชน เพ่ือเพิ่มทักษะชีวิต เพ่ิมโอกาสทางการศึกษาและอาชีพของแม่ท่ีเป็นวัยรุ่นโดยเฉพาะการศึกษาต่อเนื่องภายหลัง คลอดเพือ่ ทจ่ี ะไดห้ างานทา้ เลีย้ งลกู ต่อไป 4. ม่ันใจกบั การเลอื กใชก้ ารปอ้ งกนั การตง้ั ครรภ์ซ้าดว้ ยยาฝงั คมุ กา้ เนิด จากการศึกษา พบว่า วัยรุ่นหญิงที่มีบุตรแล้วมีการป้องกันการต้ังครรภ์ซ้าโดยเลือกใช้วิธีคุมก้าเนิด ชนิดยาฝังคุมก้าเนิด ซ่ึงสามารถป้องกันการตงั้ ครรภ์ได้ระยะยาว ดงั คา้ กล่าวทวี่ ่า “ตอนนห้ี นฝู ังเขม็ แบบหน่งึ หลอด คุมได้สามปี คุมแล้วดีสบายใจ และเป็นโครงการที่หมอเขาฝังให้กับวัยรุ่นที่ต้ังครรภ์ หนูว่าดีนะเพราะถ้ากินยาเม็ด วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปีท่ี 8 ฉบับท่ี 1 เดอื น มกราคม – มถิ นุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

48 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยใู่ นฐานข้อมูล TCI กลมุ่ ที่ 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) คมุ ก้าเนดิ ไปแล้วกจ็ ะพลาดอกี ” ระยะเวลาการคมุ กา้ เนิดสามารถป้องกนั การตง้ั ครรภถ์ ึง 3 ปี ปัจจุบันถือได้วา่ การ คุมก้าเนิดชนิดยาฝังคุมก้าเนิดเป็นทางเลือกท่ีได้รับความสนใจจากวัยรุ่นหญิง เนื่องจากมีประสิทธิภาพ ในการ ป้องกันการต้ังครรภ์สูงสุดร้อยละ 99 โอกาสต้ังครรภ์เพียง 1 ใน 2,000 ข้ันตอนการฝังยาคุมใช้เวลาประมาณ 2 นาที โดยฝังแท่งยาใต้ชั้นผิวหนังบริเวณต้นแขนด้านใน แท่งยาไม่สลายเอง เม่ือฝังจนครบ 3 ปี ต้องถอดออก กอปรกับกระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายว่า หากวัยรุ่นอายุต่้ากว่า 20 ปี ขอใช้สิทธิรับบริการก็สามารถด้าเนินการ ให้ได้ โดยที่วัยรุ่นไม่ต้องไปขออนุญาตผู้ปกครอง ซึ่งการใช้ยาฝังคุมก้าเนิดจะมี 2 ส่วน คือ เด็กท่ีมีพฤติกรรมเส่ียง และมาขอรับบริการ และกลุ่มทตี่ ง้ั ครรภ์และคลอดแล้วใชย้ าฝังคุมก้าเนิดเพอื่ ปอ้ งกนั ตงั้ ครรภ์ซ้า ทัง้ น้ีการคมุ ก้าเนิด ชนิดยาฝังคุมก้าเนิดในแม่วัยรุ่นไม่มีค่าใช้จ่าย ซ่ึงจัดได้ว่าเป็นการส่งเสริมการป้องกันต้ังครรภ์ซ้าในมารดาวัยรุ่นได้ เป็นอย่างดี และวัยรุ่นเลือกที่จะใช้ในการคุมก้าเนิด สอดคล้องกับการศึกษาของ Neunkan, S. & Deejapo, J. (2018) ท่ี ศึกษาวิจัยเร่ือง ความรู้ ความพึงพอใจและอาการข้างเคียงจากการใช้ยาคุมชนิดก่ึงถาวรในมารดาวัยรุ่นหลังคลอด พบว่า มารดาวัยรุ่นมีความพึงพอใจต่อการใช้ ยาคุมชนิดก่ึงถาวรในระดับมาก และการศึกษาของ Wattanathamrong, V., et al. (2017)พบว่า การรับรู้ความสามารถในการควบคุม พฤติกรรมของวัยรุ่นหญิง ตง้ั ครรภ์ซ้ามีความสัมพันธ์กับความตั้งใจในการใช้ยาฝงั คุมก้าเนิด นอกจากนี้วัยรุ่นหญิงตั้งครรภ์ซ้าซ่ึงมีประวัติการ ต้ังครรภ์และการคลอดมาแล้วอย่างน้อย 1 คร้ัง จะมีประสบการณ์ มีความรู้ด้านการวางแผนครอบครัวมากขึ้น สามารถประเมินข้อดีข้อเสียและผลกระทบจากการต้ังครรภ์ซ้าได้จึงมีคว ามตั้งใจที่จะใช้ยาฝังคุมก้าเนิดที่มี ประสิทธิภาพสูง สามารถป้องกันการตั้งครรภ์ซ้าได้ ดังค้ากล่าวที่ว่า “ตอนหลังคลอดท้องแรก พยาบาลแนะน้าว่า ให้ไปฝังเข็มเพ่ือไม่ให้ท้อง ก็ไม่รู้เรื่อง ไม่เข้าใจฝังเข็มเป็นยังไง ตัวอย่างไม่มีให้ดูคงเหมือนเอาเข็มฝังไปในเนื้อ กลัว ไมเ่ อา กลัวเจ็บ หลังคลอดหนกู ็ไปซ้ือยาคุมท่ีร้านขายยา ก็ลืมกินไปประมาณ 10 เม็ด เลยท้องอีก ตอนนพ้ี ยาบาลที่ ไปฝากท้องแนะน้าให้ใช้ยาฝังคุมก้าเนิดอีก มีตัวอย่างให้ดูด้วย ก็เข้าใจแล้วว่าไม่ได้เป็นเข็ม ก็จะคุมด้วยยาฝัง คุมก้าเนิดตามที่พี่พยาบาลแนะน้า” การใช้ยาฝังคุมก้าเนิดจึงเป็นทางเลือกที่ส้าคัญของการคุมก้าเนิดท่ีเหมาะสม ของการปอ้ งกนั การต้งั ครรภ์ซา้ ของวัยรนุ่ หญิง ข้อเสนอแนะในการน้าผลการวิจยั ไปใช้ 1. ด้านการศึกษา จากการศึกษาท่ีพบว่าวัยรุ่นหญิงม่ันใจกับการเลือกใช้การป้องกันการต้ังครรภ์ซ้าด้วย ยาฝังคุมก้าเนิด สามารถน้าขอ้ มูลท่ีได้จากการศึกษาไปประกอบการเรยี นการสอนในวิชาการพยาบาลมารดาทารก และการผดงุ ครรภใ์ นหวั ข้อ การป้องกันการตั้งครรภซ์ ้าในวยั ร่นุ ดว้ ยยาฝงั คมุ ก้าเนดิ 2. ด้านการบริการ จากการศึกษาท่ีพบว่า วัยรุ่นคุมก้าเนิดไม่สม่้าเสมอ แม้ว่าจะได้รับการให้ความรู้เรื่อง การป้องกนั การตั้งครรภ์ แต่วยั ร่นุ หญิงก็ไมเ่ ขา้ ใจและไมก่ ล้าถาม จึงเสนอว่า ควรมีการจัดโปรแกรมการป้องกันการ ต้ังครรภ์กอ่ นวัยอันควร เพ่ือใหว้ ยั ร่นุ มีแนวทางในการป้องกนั การตัง้ ครรภ์ท่เี หมาะสม วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปที ี่ 8 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มิถนุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

49 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอย่ใู นฐานข้อมูล TCI กลุม่ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) ข้อเสนอแนะในการวจิ ยั ครง้ั ต่อไป 1. การศึกษาแบบกรณีรายบุคคล ในหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น ท่ีพบปัญหาในระหว่างการเรียน การด้าเนินชีวิต ในระยะเปลย่ี นผ่านและสามารถปรบั ตัวใหส้ ามารถดา้ เนนิ ชวี ติ ได้อย่างมีคุณภาพ 2. การศกึ ษาปัจจัยทีม่ ีอทิ ธิพลตอ่ การมีเพศสัมพนั ธอ์ ยา่ งปลอดภยั ในวยั รนุ่ กติ ติกรรมประกาศ ขอขอบพระคุณ ดร.ศุกร์ใจ เจริญสุข ผู้อ้านวยการวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชลบุรี ที่กรุณาให้ ข้อเสนอแนะในการสรา้ งสรรค์ผลงานน้ีและวทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช ทีส่ นับสนุนทนุ การวจิ ยั ในครงั้ นี้ เอกสารอ้างองิ Ajzen, I. (1991). The Theory of Planned Behavior. Organizational Behavior and Human Decision Processes, 50, 179-211. Bureau of Reproductive Health, Department of Health. (2019). Annual Report 2019. Nontaburi. Caple, C., Heering, H., & Pravikoff, D. (2018). Pregnancy in Adolescence: Sexual Activity Among Adolescents (United States). CINAHL Nursing Guide. Eiamsumang, P. , Srisuriyavait, R. , & Homsin, P. ( 2013) . Risk factors of unintended repeat pregnancyamongadolescents. The publichealthjournal ofBuraphaUniversity, 8(1), 55-67. (inThai). Heidegger, M. (1962). Being and Time. New York: Harper & Row. Hingston, R., Strunin, L., Berlin, B., & Heeren, T. (1990). Beliefs about AIDS, use of alcohol and drugs and unprotected sex among Massachusetts adolescents. American Journal of Public Health, 80, 295–299. Lincoln, Y.S., & Guba, E.G. (1985). Naturalistic Inquiry. Bevery Hills, CA: Sage. Miles, M. B., & Huberman, A. M. (1994). Qualitative data analysis. (2nd ed.). ThousandOaks, CA: Sage. Neunkan, S., & Deejapo, J. (2018). Knowledge Satisfaction and Side Effect of Long-Acting Reversible Contraception among Adolescent Mothers, Chanthaburi Province. Journal of Boromarajonani College of Nursing, Surin, 2(2), 58- 67. (in Thai). Panyayong, B. (2011). Systematic review: Teenage Pregnancy. 3rd edition. Fund Office Support for health promotion. (in Thai). Plodpluang U. (2011). Families’ Supporting of Teenage pregnancy. Boromarajonani College of Nursing Chakriraj. (in Thai). วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื ปที ี่ 8 ฉบบั ท่ี 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

50 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มูล TCI กลมุ่ ท่ี 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) Rongluen, S., Talengjit, P. & Siriborirak, S. (2012). Unwanted pregnancies in Teenagers: A survey of problems and needs for health care support. Siriraj Nursing Journal, 5(1), 14- 28. (in Thai). Sriarporn, P. (2019). Nursing for women at risk during pregnancy in Supavititpatana, B. & Prasitwattanaseree, P. (editors). Nursing and Midwifery: Women at Risk and Complication. Chiang Mai. Smart Coting and Service. Suwansuntorn, P., & Laeheem, K. (2012). The Social Effects on Pregnant Teenagers in Na Mom district, Songkhla Province, the 4th International Conference on Humanities and Social Sciences, Faculty of Liberal Arts, Prince of Songkla University. (in Thai). Trussell, J. (2011). Contraceptive failure in the United States. Contraception 2011, 83,397-404. Uraireukkul, C. (2010). Teenage Pregnancy under 20 Year Old). Retrieved 23 May, 2016, from http//hpe4.anamai.moph.go.th/hpe/teenage_pregnancy.php. (in Thai). Wattanathamrong, V., et al. (2017). Factors Related Intention Contraception Type Implants in Repeat Pregnancies Adolescents. Journal of the Royal Thai Army Nurses, 18 (1).102-111. (in Thai). Weiss, R. (1974). The Provision of Social Relationship. InDoinguntoOthers. N.J., Prentical Hall. Wisarutkasempong, A., & Muangpin, S. (2015). Factors Related to the Intention to Repeat Pregnancy among Pregnant Adolescents. SrinagarindMedical Journal, 30(3), 262-269. (inThai). World Health Organization. (2014). Adolescent pregnancy. Retrieved from http://www.who.int/ mediacentre/factsheets/fs364/ en/. วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ี่ 8 ฉบบั ที่ 1 เดอื น มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

51 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอยูใ่ นฐานขอ้ มูล TCI กลุม่ ที่ 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) The Decision Making on Dental Treatments in Social Security Recipients in Nakhonsawan Province,2020 Kodchakorn Taewsuwan* (Received November 10, 2020, Revised: January 1, 2021, Accepted: January 21, 2021) Abstract The purposes of this research are to study the human behavior and to study a decision making on dental treatment in Social Security recipients in Nakhonsawan Province. This survey research collected data by using both on paper questionnaires and an electronic (Google) form. The data was analyzed behavior and decision making on dental treatment in Social Security recipients in amount of 451 samples based on the variables of demographics and duration of having Social Security using descriptive statistics; frequency, percentage, mean and standard deviation. The one-way ANOVA test at the statistical significance level of .05 and LSD was used for group comparison The result showed that the ratio between female and male was about 2:1, 73.2% and 26.8, respectively. Age range between 20 and 57 years old with average of age at 32 (SD 8.12). 97.6% used to claim the Social Security for dental treatment. 63.5% used the service at government hospitals. 54.6% have had the dental treatment every year. 60.5% used over-claim of Social Security Scheme budget. The average of over payment was approximately 590 Baht.The most popular dental service was calcium scale removing ( 65.1% ) . 48.4% of those made a decision making from a direct disbursement. 78.1% chose services by themselves. The samples have had dental treatment before they had the social security scheme or had direct disbursement 61.7%, 51.8 % respectively. Rationale for dental treatment was having dental symptoms (65.8%). Five (5) reasons for decision making on dental treatment were; 1) trustworthy (85.8%), 2) dental services (84.7%), 3) process and establishment (82.7%), 4) staffs (82.6%) and 5) location of the dental office (81.6%). Furthermore, gender, status, education, occupation,income and duration of having Social Security were significant difference in terms of trustworthy, dental services, process and establishment, staffs and location of the dental office whereas the age showed not significant difference on those 5-item of decision making. Keywords: Dental health behavior; Decision making; Dental services * Dentist, Senior Professional Level Chief of Dental Public health group Nakhon sawan Provincial Public Health office วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีที่ 8 ฉบบั ท่ี 1 เดอื น มกราคม – มถิ นุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

52 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคุณภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มูล TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) การตัดสนิ ใจเลือกรับบรกิ ารทนั ตกรรมของผ้มู ีสิทธิประกันสงั คม ในเขตจังหวัดนครสวรรคป์ ี พ.ศ. 2563 กชกร แถวสุวรรณ* (วนั รับบทความ : 10 พฤศจิกายน 2563, วันแกไ้ ขบทความ : 1 มกราคม 2564, วันตอบรับบทความ : 1 มกราคม 2564) บทคัดย่อ การศกึ ษาครั้งนม้ี วี ตั ถุประสงค์เพ่อื ศึกษาพฤติกรรมและการตัดสินใจเลือกเข้ารับบริการทางทันตกรรมของผมู้ ีสิทธิ ประกันสงั คมเขตจังหวดั นครสวรรค์ เป็นวจิ ัยเชงิ สารวจ (Survey Research) เก็บข้อมลู โดยใช้แบบสอบถามแบบกระดาษ และแบบ electronic (google form) และวเิ คราะหข์ อ้ มูลพฤติกรรมและการตดั สนิ ใจเลอื กเข้ารับบรกิ ารทางทันตกรรม ของผมู้ ีสทิ ธิประกนั สงั คมเขตจงั หวัดนครสวรรค์ สถิติทใ่ี ช้วเิ คราะห์ขอ้ มลู ไดแ้ ก่ ความถี่ คา่ ร้อยละ คา่ เฉลย่ี ส่วนเบ่ยี งเบน มาตรฐาน และการทดสอบ one-way ANOVA เม่ือพบความแตกต่างอยา่ งมีนัยสาคัญทางสถติ ิท่รี ะดับ . 05 จะนาไป เปรยี บเทียบเปน็ รายคู่ โดยวิธี LSD ผลศกึ ษา พบวา่ กลมุ่ ตัวอย่างเปน็ เพศหญิง มากกวา่ เพศชายรอ้ ยละ 73.2 และ26.8 ตามลาดับอายุเฉลี่ย32 8.12ปี อายตุ ่าสุด 20 ปี อายุสูงสุด 57 ปี เคยใชส้ ิทธปิ ระกันสงั คมในการทาฟนั รอ้ ยละ 96.7 สถานทเ่ี ขา้ ใชบ้ ริการสทิ ธปิ ระกนั สังคม สว่ นใหญ่เข้าใช้บรกิ ารโรงพยาบาลภาครฐั ร้อยละ 63.5 และส่วนใหญ่มกี ารใช้บรกิ ารทุกปรี ้อยละ 54.6 และวงเงินไม่พอ รอ้ ยละ 60.5 วงเงนิ ทใี่ ช้เกนิ เฉล่ยี 590 บาท บริการท่ใี ชม้ ากทส่ี ุด คือ ขดู หนิ ปูนร้อยละ 65.1 การเลือกใช้สถานบริการ สว่ นมากเลือกที่สามารถจา่ ยตรงได้รอ้ ยละ 48.4 ผมู้ สี ่วนร่วมในการเลือกส่วนใหญ่เลือกด้วยตนเองรอ้ ยละ 78.1 กอ่ นมสี ิทธิ ประกันสงั คม หรือกอ่ นมีสิทธิประกันสังคมให้จา่ ยตรงได้ สว่ นมากเคยทาฟนั ร้อยละ 61.7 ,51.8 ตามลาดับ เหตผุ ลสาคัญ ท่ไี ปรบั บรกิ ารทาฟนั สว่ นมากมอี าการ รอ้ ยละ 65.8 พบวา่ การตัดสินใจเลอื กรบั บริการส่วนมากคานงึ ถงึ ความไว้วางใจมาก ทีส่ ุดรอ้ ยละ 85.8 รองลงมา การใหบ้ รกิ ารรอ้ ยละ 84.7 กระบวนการ ร้อยละ 82.7 บุคลากร รอ้ ยละ 82.6 และสถานท่ี ร้อยละ 81.6 กล่มุ ตวั อย่างท่มี ีเพศ สถานภาพ การศกึ ษา อาชีพ รายได้ และระยะเวลาการมีสิทธิประกนั สงั คม ตา่ งกันมี การตดั สนิ ใจเลอื กรับบริการทันตกรรมรายด้าน ความไว้วางใจ การบรกิ าร สถานท่ี บคุ ลากร กระบวนการ แตกตา่ งกัน อย่างมนี ยั สาคญั ทางสถติ ิ แตอ่ ายุตา่ งกนั การตดั สินใจเลือกรับบรกิ ารทันตกรรมรายด้าน ความไวว้ างใจ การบรกิ าร สถานที่ บุคลากร กระบวนการ ไม่แตกตา่ งกัน คาสาคญั : พฤติกรรมของผมู้ ารับบรกิ ารทนั ตกรรม;การตดั สินใจ;สถานบริการทนั ตกรรม * ทันตแพทย์ชานาญการพเิ ศษ หัวหน้ากลมุ่ งานทนั ตสาธารณสขุ กลุม่ งานทันตสาธารณสุข สานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดนครสวรรค์ วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปที ่ี 8 ฉบับที่ 1 เดอื น มกราคม – มถิ นุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

53 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มลู TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) บทนา สขุ ภาพฟนั มีความสาคัญอย่างมากต่อการดารงชีวิต เพราะนอกจากจะใชใ้ นการบดเค้ยี วอาหารเพื่อให้ รา่ งกายได้รับสารอาหารที่เพยี งพอและนาไปสกู่ ารมสี ุขภาพที่ดีแล้วยงั มสี ว่ นในการสรา้ งความม่นั ใจในการดารงชีวิต และการเข้าสังคม ทั้งนีเ้ พราะการสูญเสยี ฟนั และปัญหาสขุ ภาพชอ่ งปากนาไปสคู่ วามผิดปกติของระบบบดเค้ียว และการทาหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ทีเ่ ก่ยี วขอ้ งตามไปด้วยและมีผลทาให้สูญเสียความสวยงามของใบหน้า เสีย บคุ ลกิ ภาพและการออกเสียงในการพูด ประชาชนจึงหันมาใสใ่ จสขุ ภาพช่องปากมากขึน้ โดยการพบทนั ตแพทย์ปีละ 2 คร้ัง เพื่อดูแลรักษาสุขภาพช่องปากให้สมบูรณ์ ในการจัดบริการทันตกรรมท่ีผ่านมาผู้กาหนดนโยบายท้งั กระทรวงสาธารณสุขและหน่วยงานรบั ผิดชอบสทิ ธปิ ระกันสขุ ภาพตา่ งกใ็ ห้ความสาคัญกับการให้บริการทางทันตกรรม 2 ดา้ นหลัก ไดแ้ ก่ การบริการรักษาและบริการทางทนั ตกรรม ได้มีการพฒั นาแผนยทุ ธศาสตร์สุขภาพชอ่ งปาก ประเทศไทย พ.ศ.2555-2559 (Lapying P, Boontham K , 2013) ทั้งนี้เมื่อเปรียบเทียบระหว่างผู้มีสิทธิภายใต้ ประกันสขุ ภาพภาครัฐทั้ง 3 สทิ ธกิ ารรกั ษา พบว่า แตล่ ะสิทธิการรกั ษามผี ้รู ับการรักษาทางทันตกรรมโดยใช้สิทธิ ของตนเองประมาณร้อยละ 60 ท้งั ทผี่ มู้ ีสทิ ธิประกนั สังคมมีทางเลือกของการรักษาทีห่ ลากหลายกวา่ ทั้งสองสิทธิ โดยสามารถเขา้ รับบรกิ ารได้ท้งั สถานพยาบาลของรฐั และเอกชนตามหลกั เกณฑข์ องสิทธิประโยชน์ (Lapying P,PutthasriW, 2013) แต่กลับมีสัดส่วนผู้ใชส้ ทิ ธิไม่ต่างจากสิทธิการรักษาอ่ืนๆ อาจเนอ่ื งจากผปู้ ระกนั ตนต้องสารองจ่ายคา่ รักษาพยาบาล ก่อนและนาใบเสร็จมาเบิกค่ารกั ษาพยาบาลจากสานักงานประกันสงั คมภายหลัง โดยเบิกไดค้ รัง้ ละไม่เกิน300-600บาทตอ่ ปี ซง่ึ ตอ่ มาได้เพ่ิมเป็น 900 บาท สว่ นผู้ใช้สทิ ธิประกนั สุขภาพถ้วนหน้าและสวสั ดิการข้าราชการจะต้องเขา้ รับการ รักษาที่สถานพยาบาลของรัฐเท่านั้น (International Health Policy Program ,2015) สอดคล้องกับผลการ วิเคราะหข์ องผปู้ ระกันตน ต้องจ่ายเงินค่ารักษาพยาบาลถงึ แมจ้ ะใช้สทิ ธปิ ระกันสงั คม นอกจากน้ียังมีสัดสว่ นของผู้ที่ไม่ สามารถเขา้ ถงึ บริการได้ อนั เน่ืองจากไม่มีเงินจา่ ยค่าบริการ แสดงใหเ้ ห็นถึงหลักเกณฑ์และวิธีการจา่ ยเงิน ของ กองทุนระบบสุขภาพต่างๆท่ียังไมเ่ ออ้ื ต่อการเข้าถึงบริการ นอกเหนือจากประเดน็ คา่ รักษาพยาบาลแล้วยังมีมิติ อื่นๆ ทเี่ ปน็ อุปสรรคต่อการเข้าถงึ บรกิ าร เชน่ ระยะเวลาในการรอคอย ช่วงเวลาท่มี ารบั การรักษาสทิ ธิประโยชน์ ของสวัสดกิ ารไมค่ รอบคลมุ และการเดินทาง เป็นต้น การสารวจการบรกิ ารทนั ตกรรมของประชาชนไทย สะท้อนใหเ้ ห็นวา่ ประชากรร้อยละ8.1 ใช้บริการทันตกรรม ในระยะ 12 เดอื นทผ่ี ่านมา การใชบ้ ริการทนั ตกรรมสว่ นใหญร่ ้อยละ 80 เป็นไปเพอ่ื การรกั ษา จึงตอ้ งมกี ารเน้น นโยบายการป้องกนั โรคและสร้างเสรมิ สุขภาพทันตกรรมให้มากขึน้ จากการบรกิ าร พบว่า สาเหตหุ ลกั ทปี่ ระชาชน ไมไ่ ดร้ บั การบริการตามที่ต้องการ คือ ไมม่ ีเวลาไปรับบรกิ ารผนวกกับคิวยาวและรอนาน ดังนัน้ ควรมีการขยาย ระบบบรกิ ารทนั ตกรรมใหเ้ พยี งพอมากข้นึ และการมีหลกั ประกันสุขภาพที่ต่างกัน มีผลตอ่ การเขา้ ใชบ้ รกิ ารทันตกรรม ที่ต่างกนั ส่วนหนึ่งเนือ่ งจากหลักเกณฑแ์ ละวิธีการจ่ายเงินของกองทุนระบบสุขภาพตา่ งๆนั้นแตกตา่ งกนั รวมกับ ระยะเวลารอคอยรับการรกั ษานานและสทิ ธปิ ระโยชนข์ องสวัสดกิ ารท่ีไมค่ รอบคลุมอาจเป็นอปุ สรรคของการเข้าถึง บริการทันตกรรม (Panichkriangkrai W, 2015) รวมถึงพฤติกรรมการใช้บริการทันตกรรมและการตัดสนิ ใจ วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื ปที ่ี 8 ฉบบั ที่ 1 เดือน มกราคม – มิถนุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

54 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI และอยใู่ นฐานข้อมลู TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) ใช้บริการทนั ตกรรมถ้าสามารถทราบได้ จะมสี ่วนสาคัญอยา่ งยิ่งท่ีจัดบริการใหต้ รงกับความต้องการของผู้ใช้บริการ โดย พบว่า เหตุผลทเ่ี ลือกใช้บริการ สว่ นมากใช้บริการขูดหนิ ปนู อดุ ฟัน ถอนฟนั อกี ทั้งเลอื กเข้ารับบริการ ใน วันหยดุ เน่อื งจากติดภาระในการทางาน และการเลือกสถานบรกิ ารทนั ตกรรมทีใ่ ช้บริการได้จากบุคคลในครอบครัว และบคุ คลทีม่ อี ทิ ธพิ ลในการเข้าใช้บรกิ าร ไดแ้ ก่ เพอื่ น วิธกี ารชาระคา่ บาบดั รักษาสว่ นใหญผ่ ูม้ ารับบริการจะชาร ะ เองด้วยเงินสด (Natthasetsakul S,2018) สาหรับประเด็นที่มีผลตอ่ การตดั สินใจเลือกใชบ้ ริการมากท่สี ุด ได้แก่ ดา้ นบุคคล/พนกั งาน และระบบการบรกิ าร (Muchchim N, 2010) ในปจั จบุ ันไดม้ ีการปรับระบบให้สถานบริการรัฐบาลและเอกชนบางแห่งสามารถขน้ึ ทะเบยี นเบิกจาก สานกั งานประกันสังคมโดยไม่ต้องให้ผู้ประกันตนสารองจา่ ย จงึ เป็นเรอื่ งท่ีผ้วู ิจัยสนใจในการศึกษาการตัดสินใจ เลือกรับบริการทันตกรรมของผู้มีสิทธิประกนั สังคม ในเขตจังหวัดนครสวรรค์ ปี พ.ศ. 2563 เน่อื งจากเปน็ จังหวัด ทม่ี ีคลนิ ิกทนั ตกรรมและประชากรท่มี ีสทิ ธปิ ระกนั สังคมมากท่ีสดุ ในเขต 3 หากเราทราบถึงการตดั สนิ ใจเลือกรับ บริการทางทันตกรรมของผู้มีสิทธปิ ระกันสังคมในเขตจังหวัดนครสวรรค์ สามารถนาไปใชเ้ ป็นแนวทางในการพัฒนา คุณภาพการให้บรกิ ารของสถานบริการทางทันตกรรมในจังหวัดนครสวรรค์เพอื่ ใหผ้ ู้มีสทิ ธิประกนั สังคมตัดสนิ ใจมา ใชบ้ ริการสถานบริการทางทันตกรรมท่ีดีมคี ุณภาพอย่างต่อเนื่องรวมถึงสถานบริการทางทันตกรรมพัฒนา เพ่ือ ตอบสนองตอ่ การตดั สนิ ใจของผู้มสี ิทธปิ ระกันสังคมได้ วตั ถปุ ระสงค์ 1.เพ่ือศกึ ษาพฤติกรรมของผมู้ ีสิทธิประกนั สงั คมในการมาใช้บริการทนั ตกรรมของสถานบริการทันตกรร ม ในเขตจังหวัดนครสวรรค์ 2. เพือ่ ศกึ ษาการตดั สนิ ใจเลอื กรับบริการทางทนั ตกรรมของผู้มีสทิ ธปิ ระกนั สังคมของสถานบรกิ ารทันตกรรม ในเขตจงั หวัดนครสวรรค์ ขอบเขตงานวจิ ัย เป็นการศึกษาการตัดสนิ ใจเลือกรบั บรกิ ารทนั ตกรรมของผู้มีสิทธิประกนั สงั คมในเขตจังหวัดนครสวรร ค์ ปี พ.ศ. 2563 มีขอบเขตการวิจัย ดงั นี้ โดยศึกษาตัวแปรท่ีใช้ในการวิจัย ประกอบดว้ ย ตวั แปรต้น คือ ปัจจยั สว่ น บุคคล ประกอบด้วย เพศ อายุ สถานภาพ วุฒิการศึกษา อาชีพ รายได้ต่อเดือนและระยะเวลาในการมีสิทธิ ประกันสงั คม ตัวแปรตาม คือ การตดั สนิ ใจเลอื กรบั บริการทางทนั ตกรรมจากสถานบริการทันตกรรมในจังหวัด นครสวรรค์ ประกอบด้วย 5 ดา้ น คอื ด้านความไวว้ างใจ ดา้ นการให้บรกิ าร ดา้ นสถานท่ี ด้านบคุ ลากร และด้านกระบวนการ วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื ปที ่ี 8 ฉบบั ที่ 1 เดือน มกราคม – มิถนุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

55 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มูล TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) วิธีดาเนนิ การวจิ ัย การวิจยั คร้งั น้เี ปน็ การวจิ ยั เชงิ สารวจ (Survey Research) ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1. ประชากรที่ใช้ในการศึกษาวจิ ยั ประชาชนทวั่ ไปสิทธิประกนั สงั คมจากทั้งหมด 42,260 คน เป็นผู้ทอ่ี า่ น หนงั สอื ได้ทที่ างานในอาเภอตา่ งๆในจงั หวดั นครสวรรค์ ในช่วงเดือนมกราคม- มถิ นุ ายน พ.ศ. 2563 2. กลมุ่ ตวั อยา่ งที่ใช้ในการศกึ ษาวิจัยครง้ั นี้ ใช้ตวั อยา่ งแบบบงั เอิญ (accidental sampling) จากผู้ทมี่ สี ิทธิ ประกนั สงั คมทีท่ างานในอาเภอต่างๆในจงั หวดั นครสวรรค์ จานวน 451 คน (Krejcie and Morgan, 1970) เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั แบบสอบถาม มที ้ังหมด 2 แบบ ไดแ้ ก่ แบบกระดาษและแบบ electronic (google form) โดยพัฒนา ตามแนวคดิ ของ ศรัณยา ณฐั เศรษฐสกุล,วลยั พร ราชคมน์ และวรัญญา เขยตยุ้ (Natsetasakul S., et al. 2018) แบ่งออกเป็น 3 ตอน ดังน้ี ตอนท่ี 1 แบบสอบถามเก่ยี วกบั ปจั จยั ส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม มลี กั ษณะเปน็ ขอ้ คาถาม แบบ ตรวจสอบรายการ (check list) ประกอบด้วย เพศ,อายุ,สถานภาพ,วุฒิการศึกษา,อาชีพ,รายได้ต่อเดือนและ ระยะเวลาในการมสี ทิ ธปิ ระกันสังคม ตอนท่ี 2 แบบสอบถามเก่ยี วกับพฤติกรรมของผู้มีสิทธิประกันสังคมในการมาใช้บริการทันตกรร มของ สถานบรกิ ารทันตกรรมในเขตจังหวัดนครสวรรค์ ตอนที่ 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับการตัดสนิ ใจเลอื กรบั บรกิ ารทนั ตกรรมของสถานบรกิ ารทันตกรรมในเขต จงั หวดั นครสวรรค์โดยแบ่งเป็นด้านตา่ ง ๆ ประกอบด้วยปัจจยั 5 ดา้ น ไดแ้ ก่ ด้านความไวว้ างใจ ดา้ นการให้บริการ ดา้ นสถานที่ ดา้ นบคุ ลากร และดา้ นกระบวนการ ลักษณะข้อคาถามเป็นแบบปลายปิด ข้อความเชิงบวกทั้งหมด คาตอบให้เลอื กเปน็ แบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดบั . การตรวจสอบคณุ ภาพเครอ่ื งมอื การตรวจสอบคุณภาพเครือ่ งมอื ทาโดยวธิ ีดังน้ี นาแบบสอบถามทส่ี รา้ งขนึ้ ใหผ้ ูเ้ ช่ยี วชาญ 3 ท่านตรวจสอบ ความเท่ียงตรงเชิงเนอ้ื หาไดค้ ่า IOC ตงั้ แต่ 0.67 ขน้ึ ไป ปรับปรุงแกไ้ ขแบบสอบถามตามผู้เช่ยี วชาญให้คาแน ะนา และนาแบบสอบถามไปทดลองใช้ (try-out) กับผรู้ บั บริการ ทไ่ี มใ่ ชก่ ลมุ่ ตวั อย่างในการวิจัยจานวน 30 คน เพอ่ื หา ค่าความเชือ่ มนั่ (reliability) ของแบบสอบถามรายด้านและโดยภาพรวม หาคา่ สัมประสิทธ์แิ อลฟา (alphacoefficient) ของครอนบาค (Cronbach, 1974) ได้คา่ ความเชอ่ื ม่นั ทัง้ ฉบับเทา่ กับ 0.92 การเก็บรวบรวมข้อมลู 1) ผู้วิจัยศึกษา ทบทวนวรรณกรรมและเอกสารท่ีเก่ียวข้อง พบที่ปรึกษาและผู้ทรงคุณวุฒิท่ีมีความ เชี่ยวชาญดา้ นการทาวจิ ยั จัดทาแบบสอบถามในรปู แบบกระดาษและแบบ electronic (googleform)สรา้ งQRcode วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีที่ 8 ฉบบั ที่ 1 เดอื น มกราคม – มิถุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

56 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอย่ใู นฐานขอ้ มลู TCI กลมุ่ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) 2)ผวู้ จิ ัยตดิ ตอ่ ประสานงานกบั สถานประกอบการในอาเภอตา่ งๆกระจายพ้นื ที่ท่วั จังหวัดนครสวรรค์ท่มี ีผปู้ ระกันตนสทิ ธิ ประกันสงั คมทางาน โดยชแี้ จงการตอบแบบสอบถามและการตรวจความครบถ้วนของคาตอบในแบบสอบถาม จัดสง่ แบบสอบถาม แบบกระดาษและ QRcode ของแบบสอบถามelectronic (google form)ใหส้ ถานประกอบการ 3)ผ้วู จิ ัยทาการเกบ็ รวบรวมข้อมูลตามแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอยา่ งสิทธิประกันสังคมในจงั หวัดนครสวรรค์ โดยขอ ความร่วมมือจากกลุ่มตัวอย่างในการตอบแบบสอบถามอย่างสมัครใจ โดยทา ผ่านgoogle form และแบบกระดาษเม่ือได้ แบบสอบถามทสี่ มบรู ณ์ครบ451 ชดุ แลว้ จึงยุติ และนาแบบสอบถามที่สมบูรณ์มาวิเคราะหส์ ถิติ การวิเคราะหข์ ้อมลู วเิ คราะห์โดยใชโ้ ปรแกรมคอมพิวเตอร์สาเรจ็ รูป ดงั น้ี 1. ข้อมูลปจั จยั ส่วนบคุ คลของผตู้ อบแบบสอบถาม และข้อมูลพฤติกรรมการมารับบรกิ ารวิเคราะห์ขอ้ มูลโดย การแจกแจงความถี่ และร้อยละ 2. การเปรียบเทียบการตัดสินใจเลือกรบั บริการทางทันตกรรมจากสถานบริการทันตกรรมตา่ งๆโดยใช้สถิติ one-way ANOVA ในกรณีเปรียบเทียบมากกว่า 2 กลุ่ม เมอ่ื พบความแตกต่างอย่างมนี ัยสาคัญทางสถิติ ท่รี ะดบั .05 นาไปเปรยี บเทียบเปน็ รายคู่ โดยวิธี LSD การพิทักษ์สิทธกิ์ ลุม่ ตวั อยา่ งและจริยธรรมการวจิ ัย การวิจัยคร้ังนี้ ผู้วิจยั คานึงถงึ จรยิ ธรรมของการวิจัยตลอดทุกขนั้ ตอนของการศึกษา เพอื่ เป็นการตรวจสอบ ความถูกต้องของการวิเคราะหผ์ วู้ ิจัยจะเผยแพร่ขอ้ มูลเฉพาะความรู้ทผี่ า่ นการตรวจสอบความถกู ต้อง และความ น่าเชอ่ื ถอื เทา่ นั้น ทงั้ นีไ้ ดผ้ ่านการรับรองจากคณะกรรมการจรยิ ธรร มวิจัยในคนสานักงานสาธารณสุข จังหวัด นครสวรรค์ เลขท่ี NSWPHOEC-028/62 ขอ้ มลู ได้ถูกจัดเก็บเป็นความลับและนาเสนอโดยภาพรวม ผลการวิจยั การวจิ ัยคร้ังนี้เพ่อื ศึกษาพฤตกิ รรมและการตัดสินใจเลือกรับบริการทันตกรรมของผู้มสี ิทธปิ ระกัน สังคม ในเขตจงั หวัดนครสวรรค์ จานวน 451 คน ระหว่างเดือนมกราคม– มถิ ุนายน พ.ศ.2563 ผลการวจิ ัยนาเสนอด้วย การบรรยายประกอบตาราง เรยี งตามลาดับวตั ถปุ ระสงค์ ดังตอ่ ไปน้ี 1.ข้อมูลคณุ ลักษณะสว่ นบุคคลของผูม้ ารบั บรกิ ารทางทันตกรรม ผลการวิจยั พบว่า ผมู้ ารบั บรกิ ารทางทนั ตกรรม เพศหญงิ มากกว่าเพศชาย รอ้ ยละ 73.2 และ 26.8 ตามลาดับ อายุเฉล่ีย 32 10.94 ปี อายุต่าสุด 20 ปี อายุสูงสุด 57 ปี ส่วนใหญ่มีสถานภาพโสดร้อยละ 47.2 รองลงมาสถานภาพสมรส ร้อยละ 43.5 และหม้าย หย่า ร้าง ร้อยละ 8.3 ตามลาดับ ระดับการศึกษา พบวา่ สว่ นมากมกี ารศึกษาระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช.ร้อยละ 32.6 และการศึกษาระดบั ประถมศึกษา ร้อยละ 29.2 สว่ นมากประกอบอาชีพ รับจ้าง/พนักงาน บริษทั เอกชนร้อยละ 69.2 รองลงมาทางานพนักงานส่วนราชการ/ รฐั วิสาหกจิ รอ้ ยละ 28.1 การพักอาศยั สว่ นมากพกั อาศัยอยู่กับ สามี /ภรรยา รอ้ ยละ 34.8 รองลงพกั อาศัยอยู่กับ วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

57 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มูล TCI กล่มุ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) พ่อ แม่ รอ้ ยละ 29.3 โดยมรี ายได้เฉล่ียตอ่ เดือน 15,166  10,851.06 บาท รายได้สงู สดุ 60,000 บาท นอ้ ยสุด 4,000 บาท และเมือ่ จัดกลุ่มรายได้พบว่ารายไดส้ ่วนมาก มีรายได้นอ้ ยกวา่ 15,000 บาท ร้อยละ 86.9 รองลงมา รายได้อยู่ในชว่ ง 15,001 – 30,000 บาท ร้อยละ 8.9 ระยะเวลาในการมสี ิทธิประกนั สงั คม พบว่า ระยะเวลาการ มีสิทธิประกันสังคมเฉล่ีย 8.09 6.59ปี สูงสุด 28 ปี น้อยสุด 1 ปี และเมื่อจัดกลุ่มระยะเวลาการ มี สิทธิ ประกันสงั คมสว่ นมาก มสี ทิ ธินอ้ ยกวา่ 5 ปี รอ้ ยละ 51.7 รองลงมามากกวา่ 10 ปี ร้อยละ 24.8 2.ข้อมูลพฤติกรรมการใช้บรกิ ารทนั ตกรรมของสถานบริการทางทันตกรรมในเขตจงั หวัดนครสวรรค์ ผลการวิจัย พบวา่ ผมู้ ารบั บรกิ ารทางทันตกรรม เคยใช้สทิ ธิประกันสังคมในการทาฟันร้อยละ 96.7 สถานทเ่ี ข้าใชบ้ ริการสิทธิประกนั สงั คมส่วนมากเข้าใชบ้ รกิ ารโรงพยาบาลภาครัฐร้อยละ 63.5 และส่วนมากมีการใช้ บริการทกุ ปรี ้อยละ 54.6 และวงเงินไม่พอร้อยละ 60.5 โดยวงเงินทใ่ี ช้เกินเฉล่ีย 590 บาท บรกิ ารท่ีใช้มากท่ีสุด คอื ขดู หินปนู ร้อยละ 65.1 การเลอื กใช้สถานบรกิ ารส่วนมากเลอื กทสี่ ามารถจ่ายตรงไดร้ อ้ ยละ 48.4 ผมู้ สี ว่ นร่วมใน การเลือกสว่ นมากเลือกด้วยตนเองร้อยละ 78.1กอ่ นมีสิทธปิ ระกนั สงั คม หรือก่อนมสี ทิ ธิประกันสังคมให้จา่ ยตรง ส่วนมากเคยทาฟนั รอ้ ยละ 61.7,51.8 ตามลาดบั เหตุผลสาคัญที่ไปรบั บรกิ ารทาฟนั ส่วนมากมอี าการ รอ้ ยละ65.8 3.ข้อมลู การตดั สินใจเลอื กรับบรกิ ารทางทนั ตกรรมของสถานบรกิ ารทางทันตกรรมในเขตจังหวดั นครสวรรค์ ผลการวจิ ัย พบว่า ผมู้ ารบั บริการทันตกรรมจาแนกการตัดสินใจเลอื กบรกิ ารทันตกรรมส่วนใหญ่คานึงถึง ความไว้วางใจ มาก รอ้ ยละ 85.8 รองลงมาการให้บริการร้อยละ 84.7 กระบวนการ ร้อยละ 82.7 บุคลากร รอ้ ยละ 82.6 และสถานท่ี ร้อยละ 81.6 และเมื่อดูการตัดสินใจในการเลือกบริการน้อยท่ีสุด พบว่ากระบวนการ ร้อยละ 15.7 สถานท่ีรอ้ ยละ 14.7 บคุ ลากรร้อยละ 13.7 การใหบ้ รกิ ารร้อยละ 13.1 และ ความไว้วางใจรอ้ ยละ 10.5 เม่ือดจู าแนก ตามรายขอ้ ในการตดั สนิ ใจเลอื กรบั บรกิ ารเพราะความไวว้ างใจ พบวา่ ทันตแพทย์ผ้มู คี วามเชยี่ วชาญเฉพาะด้านในการ รักษาทางทันตกรรมท่ีมีคุณภาพให้ความเห็นด้วยมากที่สุดรอ้ ยละ 50.8 การตัดสนิ ใจเลือกรับบรกิ ารเพราะการ ใหบ้ ริการ พบว่าการเปดิ ใหบ้ รกิ ารของคลนิ ิกทนั ตกรรมเฉพาะทางครอบคลมุ ทุกสาขาวชิ าให้ความเห็นดว้ ยมากท่ีสุด รอ้ ยละ 43.9 การตัดสนิ ใจเลอื กรบั บริการเพราะอาคารสถานท่ีของสถานบริการทนั ตกรรม พบวา่ การมีสิง่ อานวย ความสะดวก เชน่ สถานทจ่ี อดรถ ทีน่ ่งั รอรับบริการ ร้านอาหาร นิตยสาร เครอ่ื งชัง่ น้าหนัก/วัดสว่ นสงู ทีวีใหค้ วามเห็น ดว้ ยมากทส่ี ดุ รอ้ ยละ 43.0 ตดั สินใจเลอื กรับบริการเพราะบุคลากร (ทนั ตแพทยแ์ ละบคุ ลากรของสถานบริการทนั ตกรรม) พบวา่ มคี วามสามารถให้คาแนะนาปรกึ ษาเกีย่ วกบั การใหบ้ รกิ ารทนั ตกรรมได้อย่างถูกตอ้ ง ใหค้ วามเหน็ ดว้ ยมากที่สดุ ร้อยละ 45.7 การตัดสนิ ใจเลือกรบั บริการเพราะกระบวนการจดั บรกิ าร พบว่า มกี ารจัดควิ เรยี กรับบรกิ ารอย่างเป็น ระบบใหค้ วามเห็นดว้ ยมากท่ีสุดรอ้ ยละ 43.9 ดงั รายละเอยี ดในตารางท่ี 2 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปที ่ี 8 ฉบบั ท่ี 1 เดือน มกราคม – มิถนุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

58 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอย่ใู นฐานข้อมูล TCI กลมุ่ ท่ี 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) ตารางที่ 1แสดงจานวนและรอ้ ยละของผู้มารับบรกิ ารทนั ตกรรมจาแนกการตดั สินใจเลือกบรกิ าร (n=451) การตัดสินใจเลือกบริการทันตกรรม มาก กลาง นอ้ ย จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ ความไวว้ างใจ 387 85.8 16 3.5 48 10.5 การใหบ้ รกิ าร 382 84.7 10 2.2 59 13.1 สถานท่ี 368 81.6 17 3.8 66 14.7 บุคลากร 372 82.6 17 3.8 62 13.7 กระบวนการ 373 82.7 7 1.6 71 15.7 การตัดสินใจเลือกรับบรกิ ารทางทันตกรรมของผู้มสี ิทธิประกันสังคมในสถานบริการทนั ตกรรมในเขต จงั หวดั นครสวรรค์ โดยใช้สถติ ิ one-way ANOVA ในกรณเี ปรียบเทียบมากกวา่ 2 กลมุ่ เมอ่ื พบความแตกตา่ งอย่าง มีนยั สาคัญทางสถิตทิ ี่ระดับ 0.05 นาไปเปรียบเทียบเปน็ รายคู่ โดยวิธี LSD จากการศึกษาการตัดสินใจเลือกรับ บรกิ ารทางทันตกรรมของผู้มีสิทธิประกนั สังคมในสถานบรกิ ารทนั ตกรรมในเขตจังหวัดนครสวรรค์จาแนกตามเพศ พบวา่ ผู้มารับบริการทม่ี ีเพศต่างกันมผี ลต่อการตัดสนิ ใจเลือกรบั บรกิ ารทันตกรรมรายด้าน ความไวว้ างใจ การบริการ สถานที่ บคุ ลากร กระบวนการ แตกตา่ งกันอยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถิติ ตารางท่ี 2แสดงการเปรียบเทยี บการตัดสนิ ใจของผูม้ ารบั บรกิ ารทนั ตกรรมสิทธิประกนั สงั คมจาแนกตามเพศ(n=451) การตัดสินใจ กลุ่ม SS Df F P-value ความไว้วางใจ ระหว่างกลมุ่ 5.950 1 15.332 0.000* ภายในกล่มุ 174.237 449 รวม 88.537 450 การใหบ้ รกิ าร ระหวา่ งกลุ่ม 6.135 1 10.565 0.001* ภายในกลุ่ม 82.402 449 รวม 88.537 450 สถานท่ี ระหวา่ งกลุม่ 4.669 1 8.061 0.005* ภายในกล่มุ 83.867 449 รวม 88.537 450 บุคลากร ระหว่างกล่มุ 4.882 1 10.530 0.001* ภายในกลมุ่ 83.655 449 รวม 88.537 450 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปที ี่ 8 ฉบบั ท่ี 1 เดือน มกราคม – มิถนุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

59 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยูใ่ นฐานขอ้ มูล TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) ตารางท่ี 2ตารางแสดงการเปรยี บเทียบการตัดสินใจของผู้มารบั บรกิ ารทนั ตกรรม สิทธปิ ระกนั สงั คมจาแนกตามเพศ (n= 451)(ตอ่ ) การตดั สินใจ กลุ่ม SS Df F P-value กระบวนการ ระหว่างกลมุ่ 6.519 1 12.442 0.000* ภายในกลุ่ม 235.255 449 รวม 241.774 450 *p-value<.05 จากการศึกษาการตัดสนิ ใจเลือกรับบริการทางทันตกรรมของผู้มีสทิ ธิประกันสังคมในสถานบริการ ทันตกรรมในเขตจงั หวัดนครสวรรค์จาแนกตามอายุ พบวา่ ผ้มู ารับบรกิ ารที่มอี ายุต่างกันไม่มผี ลต่อการตัดสินใจ เลือกรับบริการทนั ตกรรมรายดา้ นความไวว้ างใจการบริการสถานที่ บคุ ลากรกระบวนการไมแ่ ตกตา่ งกันอยา่ งมีนัยสาคัญทางสถติ ิ ตารางท่ี 3แสดงการเปรยี บเทียบการตัดสินใจของผมู้ ารับบรกิ ารทนั ตกรรมสทิ ธปิ ระกนั สังคมจาแนกตามอายุ (n=451) การตดั สนิ ใจ กลุ่ม SS df F P value ความไว้วางใจ ระหว่างกลุ่ม 2.220 4 1.391 0.236 ภายในกลมุ่ 177.966 446 รวม 180.186 450 การให้บรกิ าร ระหวา่ งกลมุ่ 3.648 4 1.975 0.097* ภายในกลมุ่ 206.023 446 รวม 209.672 450 สถานที่ ระหวา่ งกลมุ่ 2.878 4 1.402 0.232 ภายในกล่มุ 228.896 446 รวม 231.774 450 บคุ ลากร ระหว่างกลมุ่ 0.345 4 0.175 0.951 ภายในกลุ่ม 220.572 446 รวม 220.918 450 กระบวนการ ระหวา่ งกลุ่ม 1.375 4 0.638 0.636 ภายในกลุ่ม 240.399 446 รวม 241.774 450 *p-value<.05 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื ปที ่ี 8 ฉบับท่ี 1 เดือน มกราคม – มถิ นุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

60 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยูใ่ นฐานข้อมลู TCI กลุม่ ที่ 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) จากการศึกษาการตัดสินใจเลอื กรับบรกิ ารทางทันตกรรมของผู้มสี ิทธิประกนั สังคมในสถานบริการทันตกรรมใน เขต จงั หวัดนครสวรรคจ์ าแนกตามสถานภาพ พบว่า ผู้มารบั บริการทม่ี สี ถานภาพตา่ งกันมีผลต่อการตดั สินใจเลือกรับ บรกิ ารทนั ตกรรมรายด้าน ความไวว้ างใจ การบริการ สถานท่ี บคุ ลากร กระบวนการ แตกตา่ งกันอยา่ งมนี ยั สาคัญ ทางสถิติ จงึ ทดสอบความแตกตา่ งของค่าเฉลี่ยเปน็ รายคู่ตามวธิ ี LSD พบวา่ ดา้ นความไว้วางใจ การบริการ สถานที่ บคุ ลากร กระบวนการ ผู้มารับบรกิ ารทมี่ ีสถานภาพหมา้ ย มีความแตกตา่ งจาก สถานภาพโสด สมรส หยา่ รา้ ง/ แยกกนั อยู่ อย่างมีนยั สาคัญทางสถติ ิ ตารางท่ี 4 แสดงการเปรียบเทยี บปัจจัยท่ีมผี ลต่อการตัดสนิ ใจของผ้มู ารบั บรกิ ารทนั ตกรรม สิทธปิ ระกันสงั คม จาแนกตามสถานภาพ (n= 451) การตัดสนิ ใจ กลุ่ม SS df F P-value ความไว้วางใจ ระหว่างกลุ่ม 18.442 3 16.989 0.000* ภายในกลุ่ม 161.744 447 รวม 180.186 450 การใหบ้ ริการ ระหว่างกล่มุ 16.151 3 12.435 0.000* ภายในกลุ่ม 193.521 447 รวม 209.672 450 สถานที่ ระหว่างกลุ่ม 11.579 3 7.835 0.000* ภายในกลมุ่ 220.195 447 รวม 231.774 450 บคุ ลากร ระหวา่ งกลุ่ม 19.367 3 14.318 0.000* ภายในกลุม่ 201.551 447 รวม 220.918 450 กระบวนการ ระหวา่ งกลมุ่ 22.375 3 15.196 0.000* ภายในกลมุ่ 219.399 447 รวม 241.774 450 *p-value<.05 จากการศกึ ษาการตดั สินใจเลอื กรับบริการทางทนั ตกรรมของผู้มสี ิทธปิ ระกันสงั คมในสถานบริการทัน ตก รรมในเขตจังหวดั นครสวรรคจ์ าแนกตามการศึกษา พบว่า ผมู้ ารบั บรกิ ารทม่ี ีการศึกษาตา่ งกนั มผี ลต่อการตัดสินใจ เลือกรับบริการทันตกรรมรายดา้ น ความไวว้ างใจ การบริการ สถานที่ บคุ ลากร กระบวนการ แตกต่างกนั อย่างมี นยั สาคญั ทางสถิติ จึงทดสอบความแตกตา่ งของค่าเฉลี่ยเปน็ รายคู่ตามวิธี LSD พบว่า ด้านความไวว้ างใจ การ วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ี่ 8 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มิถนุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

61 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มูล TCI กลุ่มที่ 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) บริการ สถานที่ บุคลากร กระบวนการ ผู้มารับบริการที่มีการศึกษาระดับปริญญาตรี มีความแตกต่างจาก การศกึ ษาระดับประถมศึกษา-มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ อนปุ รญิ ญา/ปวส. อยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถิติ และผู้มารบั บริการ ทีม่ ีการศกึ ษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป ไม่แตกตา่ งจากจาก ผูท้ มี่ กี ารศึกษาระดบั ประถมศึกษา-มัธยมศึกษาตอน ต้น อนุปรญิ ญา/ปวส. ปริญญาตรี ตารางท่ี 5แสดงการเปรียบเทยี บปจั จยั ทีม่ ผี ลตอ่ การตดั สนิ ใจของผ้มู ารบั บรกิ ารทันตกรรมสิทธิประกันสังคมจาแนกตาม การศกึ ษา (n= 451) การตดั สินใจ กล่มุ SS df F P-value ความไวว้ างใจ ระหว่างกลมุ่ 7.107 4 4.579 0.001* ภายในกลมุ่ 173.079 446 รวม 180.186 450 การใหบ้ รกิ าร ระหวา่ งกลุ่ม 11.713 4 6.597 0.000* ภายในกล่มุ 197.959 446 รวม 209.672 450 สถานท่ี ระหวา่ งกลมุ่ 10.886 4 5.495 0.000* ภายในกลมุ่ 220.888 446 รวม 231.774 450 บุคลากร ระหวา่ งกล่มุ 12.081 4 6.450 0.000* ภายในกลมุ่ 208.837 446 รวม 220.918 450 กระบวนการ ระหวา่ งกลุ่ม 17.204 4 8.542 0.000* ภายในกลมุ่ 224.570 446 รวม 241.774 450 *p-value<.05 จากการศกึ ษาการตัดสนิ ใจเลือกรับบริการทางทนั ตกรรมของผ้มู ีสทิ ธิประกันสังคมในสถานบรกิ ารทันตกรรม ในเขตจังหวัดนครสวรรคจ์ าแนกตามอาชีพ พบวา่ ผู้มารับบรกิ ารท่ีมอี าชีพตา่ งกันมีผลต่อการตดั สินใจเลือกรับ บรกิ ารทันตกรรมรายด้าน ความไว้วางใจ การบริการ สถานท่ี บุคลากร กระบวนการ แตกตา่ งกนั อย่างมีนัยสาคัญ ทางสถติ ิ จงึ ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลีย่ เป็นรายคู่ตามวิธี LSD พบวา่ ด้านความไว้วางใจ ผมู้ ารับบริการ อาชีพพ่อบา้ น แม่บ้าน/ว่างงาน พนักงานสว่ นราชการ/รัฐวิสาหกิจ รับจา้ ง/พนกั งานบริษทั เอกชน คา้ ขาย/ธรุ กิจ สว่ นตัว มคี วามแตกต่างกนั อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ด้านการบริการ สถานท่ี บคุ ลากร กระบวนการ ผ้มู ารับบริการ วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีท่ี 8 ฉบับท่ี 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

62 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมูล TCI กลมุ่ ท่ี 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) อาชีพพอ่ บา้ น แม่บ้าน/ว่างงาน แตกต่างกบั อาชพี พนกั งานส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ รับจา้ ง/พนักงานบริษทั เอกชน แต่ไม่แตกต่างกับอาชีพคา้ ขาย/ธรุ กิจส่วนตัว ตารางที่ 6 แสดงการเปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของผมู้ ารับบริการทนั ตกรรม สิทธิประกันสงั คม จาแนกตามอาชพี (n= 451) การตดั สนิ ใจ กลุ่ม SS df F P-value ความไวว้ างใจ ระหว่างกลมุ่ 221.000 4 11.300 0.000* ภายในกลุ่ม 2180.632 446 รวม 2401.632 450 การใหบ้ ริการ ระหว่างกล่มุ 152.185 4 6.913 0.000* ภายในกลุ่ม 2454.503 446 รวม 2606.687 450 สถานที่ ระหว่างกลมุ่ 154.623 4 6.414 0.000* ภายในกลมุ่ 2687.780 446 รวม 2842.404 450 บุคลากร ระหว่างกลมุ่ 139.137 4 5.758 0.000* ภายในกลุ่ม 2694.388 446 รวม 2833.525 450 กระบวนการ ระหวา่ งกลมุ่ 141.667 4 5.816 0.000* ภายในกลมุ่ 2716.058 446 รวม 2857.725 450 *p-value<.05 จากการศึกษาการตัดสนิ ใจเลือกรับบรกิ ารทางทันตกรรมของผมู้ สี ทิ ธิประกนั สังคมในสถานบรกิ ารทันตกรรม ในเขตจังหวดั นครสวรรคจ์ าแนกตามรายได้ พบวา่ ผมู้ ารับบริการทีม่ ีรายไดต้ ่างกันมีผลต่อการตัดสินใจเลือกรับ บรกิ ารทนั ตกรรมรายดา้ น ความไวว้ างใจ การบรกิ าร สถานที่ บคุ ลากร กระบวนการ แตกต่างกันอยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถิติ จึงทดสอบความแตกต่างของคา่ เฉลีย่ เป็นรายคู่ตามวิธี LSD พบวา่ ด้านความไวว้ างใจ การบริการ สถานท่ี บุคลากร กระบวนการผู้มารบั บรกิ ารมีรายไดน้ อ้ ยกวา่ 15,000 บาท มีความแตกต่างกันอยา่ งมีนยั สาคัญทางสถติ ิ กบั ผมู้ ารบั บรกิ ารทม่ี ีรายได้ 15,001 – 30,000 บาท แต่ไมแ่ ตกต่างกบั ผู้ทม่ี ีรายได้ 30,001 - 45,000 บาท และ ที่มรี ายได้ มากกว่า 45,000 บาท เชน่ เดียวกันผทู้ ่ีมีรายได้ 15,001 – 30,000 บาทไม่แตกตา่ งกบั ผ้ทู ีม่ ีรายได้ 30,001- 45,000 บาทและ ท่ีมีรายได้ มากกว่า 45,000 บาท อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื ปที ่ี 8 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

63 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมลู TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) ตารางท่ี 7 แสดงการเปรียบเทยี บปัจจัยท่ีมผี ลต่อการตดั สินใจของผมู้ ารบั บริการทนั ตกรรม สิทธปิ ระกนั สงั คม จาแนกตามรายได้ (n= 451) การตัดสนิ ใจ กลุม่ SS df F P-value ความไว้วางใจ ระหวา่ งกลุ่ม 3.154 3 2.654 0.048* ภายในกล่มุ 177.033 447 รวม 180.186 450 การให้บริการ ระหวา่ งกลุ่ม 4.272 3 3.099 0.027* ภายในกลุ่ม 205.400 447 รวม 209.672 450 สถานท่ี ระหว่างกลมุ่ 4.809 3 3.157 0.025* ภายในกลมุ่ 226.965 447 รวม 231.774 450 บุคลากร ระหว่างกลมุ่ 4.725 3 3.256 0.022* ภายในกลมุ่ 216.193 447 รวม 220.918 450 กระบวนการ ระหว่างกลุม่ 4.809 3 3.024 0.029* ภายในกลมุ่ 236.965 447 รวม 241.774 450 *p-value<.05 จากการศึกษาการตดั สินใจเลือกรับบรกิ ารทางทนั ตกรรมของผู้มสี ทิ ธิประกนั สังคมในสถานบริการทนั ตกรรม ในเขตจังหวัดนครสวรรค์จาแนกตามระยะเวลาการมสี ิทธิประกันสังคม พบวา่ ผู้มารบั บริการทีม่ รี ะยะเวลา การ มสี ิทธิประกันสังคม ต่างกนั มผี ลต่อการตัดสินใจเลอื กรับบริการทันตกรรมรายดา้ น ความไวว้ างใจ การบรกิ าร สถานท่ี บคุ ลากร กระบวนการ แตกตา่ งกนั อยา่ งมีนัยสาคญั ทางสถติ ิ จงึ ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลย่ี เป็นราย คตู่ ามวิธี LSD พบวา่ ดา้ นความไวว้ างใจ สถานที่ กระบวนการ ผู้มารบั บรกิ ารมสี ิทธปิ ระกันสังคมมากกว่า 10 ปี มีความแตกต่างกับ ผ้มู ารบั บริการมสี ิทธิประกันสังคมน้อยกวา่ 5 ปี และ 5 - 10 ปี ดา้ นการให้บริการ ผูม้ ารับ บรกิ ารมีสิทธิประกนั สงั คมมากกว่า 10 ปี ,นอ้ ยกวา่ 5 ปี และ 5 - 10 ปี มีความแตกตา่ งกันทกุ กลุ่ม ด้านบุคลากร ผมู้ ารับบริการมสี ิทธิประกนั สงั คมมากกว่า 10 ปีมีความแตกต่างผ้มู ารบั บริการมสี ิทธปิ ระกันสงั คม 5 - 10 ปี แตผ่ ู้ มารับบรกิ ารมีสทิ ธิประกนั สงั คมนอ้ ยกว่า 5 ปี ไมม่ ีความแตกต่างจากกลมุ่ อื่นๆ วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปีที่ 8 ฉบับท่ี 1 เดอื น มกราคม – มิถุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

64 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) ตารางท่ี 8แสดงการเปรียบเทียบปจั จยั ทมี่ ผี ลต่อการตดั สนิ ใจของผู้มารบั บริการทนั ตกรรมสิทธิประกนั สงั คมจาแนกตาม ระยะเวลามสี ิทธิประกนั สงั คม (n= 451) การตัดสนิ ใจ กลุ่ม SS df F P-value ความไวว้ างใจ ระหว่างกลุม่ 3.924 2 4.986 0.007* ภายในกล่มุ 176.263 448 รวม 180.186 450 การใหบ้ รกิ าร ระหวา่ งกล่มุ 9.677 2 10.839 0.000* ภายในกลมุ่ 199.995 448 รวม 209.672 450 สถานที่ ระหว่างกลุม่ 8.578 2 8.608 0.000* ภายในกลุม่ 223.196 448 รวม 231.774 450 บุคลากร ระหวา่ งกลมุ่ 4.389 2 4.541 0.011* ภายในกลมุ่ 216.529 448 รวม 220.918 450 กระบวนการ ระหวา่ งกลุ่ม 3.732 2 3.512 0.031* ภายในกลุ่ม 238.042 448 รวม 241.774 450 *P-value<0.5 สรุปจากการวิเคราะห์การตดั สนิ ใจเลือกรับบรกิ ารทางทันตกรรมในเขตจงั หวดั นครสวรรค์ อยา่ งมนี ัยสาคญั ทางสถติ ิที่ ระดับ .05 พบว่า ผู้มารับบริการที่มีเพศต่างกันมีผลต่อการตัดสินใจเลือกรับบริการทนั ตกรรมรายด้านความ ไว้วางใจ การบรกิ าร สถานที่ บคุ ลากร กระบวนการ แตกตา่ งกนั อย่างมีนัยสาคัญทางสถติ ิ และอายุต่างกนั ไม่มีผล ตอ่ การตัดสนิ ใจเลือกรบั บริการทนั ตกรรมรายดา้ น ความไว้วางใจ การบริการ สถานที่ บุคลากร กระบวนการ ไมแ่ ตกตา่ งกัน อยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถติ ิ และผู้มารับบริการท่มี ีสถานภาพต่างกนั มีผลต่อการตัดสินใจเลอื กรบั บริการทนั ตกรร ม รายดา้ น ความไว้วางใจ การบริการ สถานท่ี บคุ ลากร กระบวนการ แตกตา่ งกันอยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถติ ิ และผูม้ า รบั บรกิ ารท่มี ีการศกึ ษา อาชีพ รายได้ และระยะเวลาการมสี ิทธปิ ระกันสงั คม ตา่ งกนั มีผลตอ่ การตัดสนิ ใจเลือกรับ บริการทันตกรรมรายด้าน ความไวว้ างใจ การบรกิ าร สถานที่ บคุ ลากร กระบวนการ แตกตา่ งกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีท่ี 8 ฉบบั ที่ 1 เดือน มกราคม – มถิ นุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

65 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มูล TCI กล่มุ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) อภปิ รายผล พฤตกิ รรมของผูม้ สี ิทธิประกันสงั คมในการใช้บรกิ ารทันตกรรมของสถานบริการทางทันตกรรมในเขต จังหวดั นครสวรรค์ จากผลการศึกษา พบว่า กลมุ่ ตวั อยา่ งเป็นเพศหญิง มากกวา่ เพศชายร้อยละ 73.2 และ 26.8 ตามลาดับ อายเุ ฉลยี่ 32 8.12 ปี อายตุ า่ สุด 20 ปี อายสุ งู สดุ 57 ปี สว่ นใหญ่เคยใชส้ ิทธปิ ระกนั สังคมในการทาฟัน รอ้ ยละ 96.7 สองในสามของกลุม่ ตวั อย่างสิทธปิ ระกันสังคมเข้าใช้บริการโรงพยาบาลภาครฐั ร้อยละ 63.5 และมากกวา่ ครงึ่ หนึ่ง มีการใชบ้ ริการทุกปีร้อยละ 54.6 และสองในสามของกลุ่มตัวอย่างสิทธปิ ระกันสังคมวงเงินไม่พอร้อยละ 60.5 โดยวงเงนิ ที่ใช้เกินเฉล่ีย 590 บาท ซึง่ สอดคลอ้ งกับผลการวิเคราะห์ของการศึกษาการใช้บรกิ ารทันตกรร มของ ประชาชนไทย:ผลจากการสารวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558 ทค่ี รงึ่ หน่ึงของผู้ประกนั ตนต้องจา่ ยเงิน ค่า รักษาพยาบาลถงึ แม้จะใชส้ ิทธิประกันสังคม (Panichkriangkrai W, 2015) สองในสามของกลมุ่ ตวั อยา่ งสิทธิประกันสงั คม บรกิ ารทใ่ี ช้มากทสี่ ดุ คอื ขูดหินปนู ร้อยละ 65 ผลการวิจยั สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั เร่ืองปจั จัยที่มผี ลตอ่ การตดั สินใจเลือก รับบริการทางทนั ตกรรมจากคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหิดล (NatsetasakulS., etal. (2018) การเลือกใชส้ ถาน บริการประมาณครง่ึ หนึ่งเลือกที่สามารถจ่ายตรงได้ร้อยละ 48.4 ผ้มู สี ่วนรว่ มในการเลือกสว่ นมากเลือกด้วยตนเอง รอ้ ยละ 78.1ซง่ึ แตกตา่ งจากงานวิจยั เรื่องปัจจยั ที่มผี ลตอ่ การตัดสินใจเลอื กรับบริการทางทนั ตกรรมจากคณะทันต แพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหิดล พบว่าการเลือกสถานบรกิ ารทันตกรรมทใี่ ชบ้ ริการไดจ้ ากบุคคล ในครอบครัว และบคุ คลที่มีอทิ ธิพลในการเขา้ ใชบ้ รกิ าร ได้แก่ เพ่ือน(Natsetasakul S., et al. (2018). กอ่ นมีสิทธปิ ระกนั สังคม หรอื ก่อนมีสิทธปิ ระกันสังคมใหจ้ ่ายตรงได้ สองในสามเคยทาฟนั ร้อยละ 61.7 , 51.8 ตามลาดับ เหตผุ ลสาคัญท่ไี ป รับบรกิ ารทาฟนั สองในสามมาจากมอี าการ ร้อยละ 65.8 การตัดสนิ ใจเลือกรับบริการทันตกรรมของผ้มู ีสทิ ธิประกันสงั คมของสถานบริการทันตกรรมใ นเข ต จงั หวัดนครสวรรค์ จากผลการศึกษา พบว่า ผมู้ ารบั บรกิ ารทนั ตกรรมจาแนกการตัดสนิ ใจเลือกบริการทนั ตกรรมสว่ น มาก คานงึ ถึง ความไวว้ างใจ มากทส่ี ุด ร้อยละ 85.8 โดยใหค้ วามเห็นมากท่สี ุดคือแพทย์ผู้มีความเช่ียวชาญเฉพาะด้าน การรกั ษาทางทันตกรรมที่มีคุณภาพ สอดคล้องกบั การศึกษาปจั จัยท่ีมีผลต่อการตัดสินใจเลอื กรับบริการทางทันตกรรม จากคณะทันตแพทยม์ หาวทิ ยาลัยมหิดล พบวา่ ความไว้วางใจเป็นสง่ิ ท่สี าคัญมากท่สี ุดในการเลือกรบั บริการเพราะ ความน่าเช่อื ถือ ความเช่อื มนั่ ชื่อเสียง ของสถานบรกิ ารทันตกรรมไดร้ ับบริการจากทนั ตแพทยผ์ ู้มีความเชีย่ วชาญ เฉพาะด้านในการรกั ษาทางทันตกรรม ทีม่ ีคณุ ภาพ ความปลอดภยั เคร่ืองมือ/อปุ กรณ์ สะอาดและปราศจากเชื้ อ (Natsetasakul S., et al. (2018) รองลงมาท่ผี ู้รบั บรกิ ารทันตกรรมคานงึ ถงึ การไปใชบ้ ริการ คือ การใหบ้ รกิ ารร้อยละ 84.7 โดยมองที่ความหลากหลายครบวงจร สามารถตอบสนองและตรงความต้องการของผูม้ ารบั บรกิ ารทางทันตกรรมและดา้ น กระบวนการ พบวา่ มีการจัดคิวเรยี กรบั บรกิ ารอยา่ งเป็นระบบ ดา้ นบคุ ลากร ผู้มารับบรกิ ารให้ความเหน็ วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปที ่ี 8 ฉบบั ที่ 1 เดอื น มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

66 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มลู TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) ถงี ความสามารถให้คาแนะนาปรึกษาเก่ียวกับการให้บริการทนั ตกรรมได้อย่างถูกต้อง และท้ายสุดในการคานึงถึง การเลอื กใช้บรกิ ารคือสถานที่ การตดั สินใจเลอื กเขา้ รับบรกิ ารทางทันตกรรมของผมู้ ีสิทธิประกันสังคมในสถานบริการ ทันตกรรมในเขต จังหวัดนครสวรรค์ ได้แก่ เพศ พบวา่ ผู้มารับบริการที่มีเพศต่างกนั มีผลต่อการตัดสินใจเลือกรบั บริการทันตกรร ม รายด้าน ความไว้วางใจ การบริการ สถานท่ี บุคลากร กระบวนการ แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถติ ิ สอดคล้องกับการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกรับบริการทางทันตกรรม จากคณะทันตแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดลที่พบว่าเพศต่างกนั มีผลตอ่ การตัดสินใจเลือกการบริการทันตกรรมต่างกนั ด้วยพฤติกรรม ความรู้ ความคดิ และอารมณ์ทแ่ี ตกต่างกนั (Natsetasakul S., et al.,2018). และสอดคลอ้ งกบั งานวจิ ยั เร่ือง ปจั จัย ท่ีมีผลต่อการตัดสินใจซ้ือบริการของลูกค้าคลินิกรักษาสวิ -ฝ้าและเสริมความงามในเขตกรุงเทพมหานครและ ปรมิ ณฑล ท่พี บว่าเพศตา่ งกนั มผี ลต่อการเลือกผลิตภัณฑแ์ ละการบรกิ ารที่ต่างกัน แตก่ ารเลอื กสถานท่ีกบั บุคลากร ไมแ่ ตกต่างกัน( Natapat K, 2009). และอายุ โดยผ้ทู ี่มารบั บรกิ ารทมี่ ีอายุตา่ งกันไม่มผี ลต่อการตัดสินใจเลือกรับ บรกิ ารทันตกรรมรายดา้ น ความไว้วางใจ การบรกิ าร สถานที่ บคุ ลากร กระบวนการ ไมแ่ ตกต่างกนั ซงึ่ แตกตา่ งจาก การศกึ ษาปจั จยั ท่ีมีผลต่อการตัดสินใจเลือกรบั บริการทางทันตกรรม จากคณะทันตแพทย์มหาวิทยาลัยมหิดล พบวา่ มีอายุต่างกนั เป็นปัจจัยท่ีมผี ลตอ่ การตดั สนิ ใจเลือกรบั บริการทางทนั ตกรรม (NatsetasakulS., etal, 2018)และ การศึกษาเรื่อง ปัจจัยการตัดสนิ ใจซอื้ และการรับรเู้ กี่ยวกบั สปาและนวดแผนไทย ในเขตอาเภอเมอื งจังหวัดสุราษฎรธ์ านี พบวา่ ปัจจยั ส่วนบุคคลดา้ นอายุท่ีแตกต่างกัน ส่งผลให้ผู้บรโิ ภคให้ความสาคญั กบั ปจั จัยทางการตลาดที่ใช้ตัดสินใจ เลือกสถานบรกิ ารเพื่อสุขภาพทแ่ี ตกตา่ งกัน สาหรบั ด้านความไวว้ างใจ ด้านการใหบ้ รกิ าร ดา้ นสถานท่ี และดา้ นบุคลากร ไม่แตกต่างกัน (Wareewanich N, 2008) และผู้มารับบริการท่ีมีสถานภาพ การศึกษา อาชีพ รายได้ และ ระยะเวลาการมสี ิทธปิ ระกนั สังคม ทีต่ า่ งกนั มีผลต่อการตัดสนิ ใจเลือกรบั บริการทันตกรรมรายดา้ น ความไวว้ างใจ การบรกิ าร สถานท่ี บคุ ลากร กระบวนการ แตกตา่ งกนั รวมถงึ รายงานวจิ ัย เรื่อง ปจั จัยการตัดสินใจเลือกใช้ บริการสาย การบนิ บางกอกแอร์เวยข์ องผู้โดยสารคนไทย ในประเด็นปจั จัยการตัดสนิ ใจเลือกใช้บริการฯ พบว่า ปัจจัยส่วน บุคคลของผูโ้ ดยสารคนไทย ไดแ้ ก่ เพศ อายุ สถานะภาพ ระดับการศกึ ษา อาชพี และรายได้ทีต่ ่างกัน มีผลต่อปัจจยั ในการตัดสินใจเลือกใช้บริการสายการบินบางกอกแอร์เวยแ์ ตกตา่ งกัน (Siriwacharapaiboon M,2016) จะเห็นได้ว่าการศึกษา อาชีพ และรายไดน้ ั้นสะท้อนถงึ วุฒิภาวะในการตัดสินใจของแต่ละบุคคล และมผี ลตอ่ การ ตดั สนิ ใจเลอื กการใช้บรกิ ารทแี่ ตกตา่ งกัน แต่จะแตกตา่ งจากการศกึ ษาปจั จัยทม่ี ผี ลต่อการตัดสนิ ใจเลือกรับบริการ ทางทันตกรรม จากคณะทนั ตแพทยม์ หาวทิ ยาลยั มหิดล (Natsetasakul S., et al, 2018) กบั การศึกษาความพงึ พอใจ ของลูกค้าท่ีมารับบริการทางทันตกรรมจากคลินิกเด็นทัลแคร์จงั หวดั กรุงเทพมหานคร (Petchmai R, 2008). พบวา่ สถานภาพ การศกึ ษา อาชีพ รายได้ ตา่ งกนั ตัดสนิ ใจเลอื กรับบริการดา้ นความไว้วางใจ ด้านการให้บริการ ดา้ นสถานที่ ดา้ นบคุ ลากร และด้านกระบวนการไม่แตกต่างกัน วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีที่ 8 ฉบบั ที่ 1 เดอื น มกราคม – มิถนุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

67 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มูล TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) ข้อเสนอแนะในการนาผลวิจยั ไปใช้ 1.ควรสร้างความไว้วางใจ เพราะความไวว้ างใจเปน็ ส่ิงสาคัญมากท่ีสุดโดยที่มองถึงแพทย์ท่ีมีความ เช่ียวชาญเฉพาะดา้ นในการรักษาทางทันตกรรมทม่ี ีคุณภาพทาให้ผู้มารับบรกิ ารทันตกรรมคานึงถึงเปน็ ลาดับแรก ส่งผลให้สถานบริการต้องจัดการบริการโดยเนน้ ถึงคุณภาพมาตรฐานให้เป็นไปตามหลักสากลหรือคุณภาพ มาตราฐานการรักษาพยาบาล เพ่ือใหเ้ กิดความไว้วางใจ 2. ควรมกี ารประเมินสถานพยาบาลท่บี รกิ ารทันตกรรมโดยให้สอดคล้องกับการตัดสินใจรบั บริการทาง ทันตกรรม ตามประเดน็ ความไวว้ างใจ การใหบ้ ริการ บคุ ลากร กระบวนการให้บริการและสถานที่ เพอ่ื ใหเ้ กิดการ พัฒนาสถานพยาบาล ที่มีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะในช่วงท่ีมีการระบาดของไวรสั โควิด19 โดยเฉพาะในสถาน บริการทนั ตกรรมของรัฐซึง่ จากผลการศึกษาพบวา่ กลมุ่ เป้าหมายใชบ้ รกิ ารมากทส่ี ดุ จงึ ควรมีการปรบั ปรงุ เรื่องระบบ ระบายอากาศตามเกณฑ์มาตรฐานเพอื่ รองรบั การบรกิ ารขดู หินปนู ซ่งึ เป็นการให้บริการที่มีการฟุ้งกระจายมากทีส่ ดุ 3.ควรมกี ารพจิ ารณาเพ่ิมเตมิ วงเงนิ ในการรกั ษาทางทนั ตกรรมของผู้มีสิทธปิ ระกันตนเพือ่ ให้ผปู้ ระกนั ตน สามารถเขา้ ถงึ การบริการไดม้ ากข้นึ ขอ้ เสนอแนะในการศกึ ษาครงั้ ต่อไป 1. ศึกษาผ้มู ีสทิ ธปิ ระกนั สังคมในสถานบริการ ถงึ ความพึงพอใจ ความคาดหวังถึงบริการท่ีได้รับเพ่ือ ดาเนินการปรับปรุง ส่งเสริมการให้บรกิ ารตรงตามความคาดหวัง และความพงึ พอใจ อกี ท้งั วางแผนการ พัฒนา สถานบริการอันสง่ ผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้มารบั บริการ 2. ศกึ ษาพฒั นารปู แบบการจดั บรกิ ารทันตกรรมทีพ่ งึ ประสงค์ ในสถานการณร์ ะบาด Covid-19 กติ ติกรรมประกาศ การศึกษาการตดั สนิ ใจเลอื กรบั บริการทนั ตกรรมของผู้มีสทิ ธิประกันสังคมในเขตจงั หวดั นครสวรรค์ปี พ.ศ. 2563 สาเรจ็ ลุล่วงได้ด้วยความกรุณาของทันตแพทย์ก้องเกยี รติ เติมเกษมศานต์ ทนั ตแพทย์เชย่ี วชาญ ,ทันตแพทย์หญิง กนกพร โพธิห์ อม ,ทันตแพทยช์ านาญการพเิ ศษ ดร.นเรศ คงโต ท่ใี หค้ าแนะนาและขอ้ เสนอทเ่ี ป็นประโยชน์ในการ จดั ทาเคร่อื งมอื สาหรับใชใ้ นการวิจัย ดร.กฤษฎา เหล็กเพชร นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ ท่ีใหค้ าแนะนา เกี่ยวกับงานวิจัย,การใช้สถิติและการวเิ คราะห์ผล อีกทั้งได้รับความร่วมมือจากสถานประกอบการต่างๆ ที่มี เจา้ หน้าท่ีสทิ ธิประกันสังคม ตลอดจนผปู้ ระกันตนสิทธิประกันสงั คมทุกทา่ นท่ีให้ข้อมลู ตอบแบบสอบถาม ทาให้ งานวิจยั ฉบับนส้ี าเรจ็ ลลุ ว่ งไดด้ ว้ ยดตี ามวัตถปุ ระสงคท์ ต่ี ั้งไว้ ดังน้นั ผวู้ จิ ัยจงึ ขอขอบพระคุณทกุ ทา่ นที่ให้การสนับสนนุ ไวณ้ โอกาสน้ี วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีท่ี 8 ฉบบั ที่ 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

68 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มูล TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) เอกสารอา้ งอิง Cronbach, L. J. (1974). Essentials of psychological testing. New York: Harper & Row, 16. Jaroenkul N. (2013). Factors Associated with Oral Health Behavior of Dental Service: Case Study Wiang Sa Crown Prince Hospital. Suan Sunandha Rajabhat University: Bangkok. (in thai) Krejcie, R.V., and Morgan, D.W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement. 30, 607-610 Lapying P and Boontham K. (2013). Strategic oral health plan of Thailand 2012. Nonthaburi: Bureau of Dental Health, 62. (in thai) Lapying P and Putthasri W. (2013). Oral care utilization among children under the Universal Health Coverage System. Journal of Health Science, 22: 187-96. (in thai) Muchchim N. (2010). Decision in receiving orthodontic treatment from dental clinic in amphur Muang Surat Tani province. Master of Business Administration Thesis. Suratthani Rajabhat University; Suratthani. (in thai) Natapat K. (2009). Factors influencing consumer choice of skin treatments at aesthetic clinics in Bangkok. Kasetsart University: Bangkok. (in thai) Natsetasakul S.et al.(2018). Factor That Influence Decision Making About Getting Dental Treatments in Faculty of Dentistry Mahidol University.Mahidol R2R e-Journal, 5(1)139-146 Panichkriangkra W. (2015) Utilization of Dental Services in Thailand: Results from Health and Welfare Survey 2015. Journal of Health systems research. 11(2),170-180. (in thai) Panthai B. (2011). Introduction to Educational Research Methodology. (2nd ed.). Bangkok: Ramkhamhaeng University Press. (in thai) Petchmai R. (2008). Satisfaction of the Clients on Dentistry Services at Dental Care Clinic Bangkok. Phranakhon Rajabhat University: Bangkok. (in thai) Siriwacharapaiboon M. (2016). Factors Affecting Thai Passengers’ Decision on the purchase of Bongkok airway. Master of Business Administration Thesis. Suan Dusit Rajabhat University: Bangkok. (in thai) Working Group of First National Conference on Thai Universal Health Coverage. (2015). Report of the 1st national conference on Thai universal health coverage 2015: achievements, challenges, and harmonization. November 16-17, 2015; Ramagardenhotel,Bangkok.(inthai) วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ี่ 8 ฉบบั ท่ี 1 เดอื น มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

69 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มลู TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) Analysis of caring system for new diabetes patients in Lampang Province Nongkran Kochragsa*, Nutthaporn Panchakhan** (Received December 7, 2020, Revised: January 21, 2021, Accepted: February 3, 2021) Abstract The main objective of this study is to explore the status of medical caring system for new diabetes patients in Lampang Province. The participants in this survey were 49 diabetes patients, 40 pre-diabetes, 16 health care providers, 8 village health volunteers and community leaders. Data were collected by semi-structure interview during July – August, 2020. The data were analysed by descriptive statistics such as percentage and the qualitative data was analysed by content analysis. The result revealed that there are currently 5 schemes of caring system for new diabetes patients in Lampang Province consisted of 1) the good governance used for driving the chronic disease policy, 2) Information system and technology. 3) Health personnel, 4) Budget and resources and 5) Organization of health services for diabetes patients with health promotion strategies. In order to organize health services, there are 3 methods such as 1) Advocating the appropriate information for planning, making policy by community participation for sustainable problem solving, 2) Promoting self-Management skill for public health personnel and diabetes patients and 3) Coordinating good community health care team integrated with leadership for individual, family, and community to take care and manage their health problems by themselves. Keywords: Caring system; New diabetes patients *Public Health Technical Officer, Senior Professional Level ,Lampang Provincial Health Office **Nurse instructor, Boromrajonani College of Nursing, Nakorn Lampang วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ่ี 8 ฉบบั ที่ 1 เดอื น มกราคม – มิถุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

70 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มลู TCI กลมุ่ ที่ 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) การวเิ คราะหร์ ะบบการใหบ้ รกิ ารผู้ปว่ ยเบาหวานรายใหม่ จงั หวดั ลาปาง นงคราญ คชรกั ษา*,ณฏั ฐ์ฐภรณ์ ปัญจขันธ์** (วันรับบทความ : 7 ธันวาคม 2563, วนั แกไ้ ขบทความ : 21 มกราคม 2564, วนั ตอบรบั บทความ : 3 กมุ ภาพนั ธ์ 2564) บทคดั ย่อ การวิจัยคร้งั น้ีมวี ัตถุประสงค์เพ่อื ศึกษาวิเคราะห์ระบบการให้บริการผปู้ ่วยเบาหวานรายใหม่ ของจงั หวัดลาปาง มกี ลุ่มตวั อยา่ งคือ ผูป้ ่วยโรคเบาหวาน จานวน 49 คน กล่มุ เสยี่ งโรคเบาหวานจานวน 40 คน บุคลากรสุขภาพ จานวน 16 คน อสม. จานวน 8 คน และ นายกองคก์ ารบริหารสว่ นตาบลหรือผู้นาในหมู่บา้ น จานวน 8 คน เก็บ ขอ้ มลู โดยใช้แบบสัมภาษณก์ ่ึงโครงสร้าง ระยะเวลาดาเนนิ การในช่วง เดอื น กรกฎาคม - สงิ หาคม พ.ศ.2563 วิเคราะหข์ ้อมูลปริมาณโดยใช้ รอ้ ยละ และข้อมลู คณุ ภาพ โดยการวเิ คราะห์เชิงเน้ือหา ผลการวจิ ยั พบวา่ สถานการณร์ ะบบการให้บริการผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ ของจังหวัดลาปาง มกี าร ดาเนนิ การ 5 ประเดน็ ได้แก่ 1) การนา ธรรมภบิ าลการขับเคลอ่ื นนโยบายโรคไม่ติดตอ่ เร้ือรัง 2) ระบบข้อมูล ขา่ วสาร และเทคโนโลยี 3) บุคลากรสุขภาพ 4) งบประมาณและทรัพยากร และ 5) การจัดระบบบริการสุขภาพ ผ้ปู ว่ ยโรคเบาหวาน โดยสอดแทรกกลวิธกี ารส่งเสรมิ สุขภาพผู้ปว่ ย ดังนี้ 1. การสนับสนนุ ข้อมลู สขุ ภาพ ใช้ในการ วางแผนการดาเนนิ งาน จัดทานโยบายสาธารณะเนน้ การมสี ่วนรว่ มของชุมชนเกิดประโยชนใ์ นการแกป้ ัญหาอย่างยัง่ ยืน 2. การเสริมสร้างความสามารถและทักษะให้กับทีมบุคลาก รสุขภาพ และผู้ป่วยให้มีการจัดการตน เอง 3. ประสานงานสร้างทีมสุขภาพภาคประชาชน ดาเนินกิจกรรมแบบบรู ณาการ เพอื่ ให้บุคคล ครอบครวั และชมุ ชน สามารถดแู ลและจัดการปญั หาสขุ ภาพของตนได้ด้วยตนเอง คาสาคัญ: ระบบการใหบ้ ริการ;ผู้ปว่ ยเบาหวานรายใหม่ * นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการพเิ ศษ สานักงานสาธารณสุขจังหวดั ลาปาง ** อาจารยพ์ ยาบาล วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปีท่ี 8 ฉบับที่ 1 เดอื น มกราคม – มถิ นุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

71 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยใู่ นฐานข้อมลู TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) บทนา โรคเบาหวานเป็นปญั หาสาธารณสขุ ท่ีสาคัญของโลกและประเทศ จากรายงานของสหพันธโ์ รคเบา หวาน นานาชาติ ในปี พ.ศ.2560 พบจานวนผปู้ ว่ ยโรคเบาหวานท่ัวโลก 451 ล้านคน และคาดวา่ ในปี พ.ศ.2588 จานวน ผ้ปู ่วยโรคเบาหวานทัว่ โลกจะเพ่ิมขน้ึ เปน็ 693 ลา้ นคน (Cho et al., 2018) สาหรบั ประเทศไทย พบว่า มกี ารเพิม่ สูงขน้ึ อย่างต่อเนอ่ื งของผูป้ ่วยโรคเบาหวาน จากข้อมูลระบบบคลังขอ้ มลู ด้านการแพทยแ์ ละสขุ ภาพ ต้ังแต่ปี 2560-2562 คือ 4,076.63, 4,248.76 และ 4,429.55 ตอ่ แสนประชากร ตามลาดับ และ จากสถติ ิของเขตบรกิ ารสขุ ภาพที่ 1 ซึ่งเป็นเขตบรกิ ารสุขภาพในภาคเหนือ มีอตั ราปว่ ยดว้ ยโรคเบาหวานในปี 2560-2562 เพิ่มข้นึ จาก 4,741.98 เปน็ 5,251.61 ตอ่ แสนประชากร ซงึ่ จงั หวดั ลาปางพบอตั ราป่วยโรคความเบาหวานปี 2559-2561 ในอตั รา 5,632.91, 5,884.02 และ 5,981.99 ต่อแสนประชากร ตามลาดบั ซ่ึงแนวโนม้ เพิ่มมากขึน้ เรื่อย ๆ และมากกวา่ เขตบริการ สุขภาพที่ 1 (Health data center, 2020) ซง่ึ เมือ่ เทยี บกับระดบั ประเทศ พบวา่ จังหวัดลาปางมอี ัตราป่วยด้วย โรคเบาหวาน สูงกว่าระดับประเทศ 1.35 เท่า ปัจจุบันจังหวัดลาปางมีนโยบายใหค้ วามสาคัญในเร่ืองการส่งเสริมป้องกัน ระบบการดูแลกลุ่มเสีย่ ง เบาหวาน เพือ่ ป้องกนั การเกดิ โรคเบาหวานรายใหม่ โดยกาหนดเป็นนโยบายใหท้ กุ อาเภอดาเนนิ การตรวจคดั กร อง จัดอบรมการปรบั เปล่ียนพฤติกรรมกลุ่มเสย่ี ง แตย่ งั พบวา่ ผปู้ ว่ ยโรคเบาหวานยังมจี านวนทเี่ พ่ิมสูงขนึ้ เนื่องจากกลุ่ม เสยี่ งโรคเบาหวานมีจานวนทมี่ าก เจา้ หนา้ ทส่ี าธารณสขุ ไมส่ ามารถจัดกระบวนการปรับเปลีย่ นพฤติกรรมได้อย่าง ครอบคลุม รวมถึงประชาชนยงั ไม่ตระหนักในเรอ่ื งโรคเบาหวาน เน่อื งจากระยะการดาเนินของโรคตอ้ งใช้เวลา ถึง จะแสดงอาการรนุ แรง ทาให้ยังไม่มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการปอ้ งกนั การเกิดโรคเบาหวาน อกี ท้ังกลุ่มท่เี ข้า กระบวนการปรับเปลย่ี นพฤติกรรม เปน็ เพียงส่วนหนง่ึ ของกลุ่มเสยี่ งโรคเบาหวาน ประกอบกบั ขาดกระบวนการ กากับติดตามอยา่ งเขม้ ข้น เชน่ การติดตามพฤตกิ รรมการรบั ประทานอาหาร การคานวณปรมิ าณพลงั งานอาหารที่ เหมาะสมของแต่ละบุคคล ติดตามการออกกาลงั กาย และขาดการประเมินผลลัพธ์ก่อนและหลังการอบร มใน การปรบั เปล่ียนพฤตกิ รรม จากปญั หาดงั กลา่ ว จึงจาเปน็ ต้องศกึ ษาสถานการณ์ระบบการให้บรกิ ารผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ จงั หวัด ลาปาง ประกอบดว้ ย ระบบการใหบ้ ริการผู้ปว่ ยเบาหวานรายใหม่ และการวดั ผลลพั ธข์ องกระบวนการคือ ผูป้ ่วย รายใหมจ่ ากกลุม่ เส่ยี งเบาหวานปีทีผ่ า่ นมานอ้ ยกว่า ร้อยละ 1.94 สาหรับการศกึ ษาระบบการให้บริการผูป้ ่วยราย ใหม่ภายใต้กรอบระบบสุขภาพขององค์การอนามัยโลก มีองค์ประกอบ หลัก 6 ส่วน หรือ Health System Building Blocks (Catford, J., 2011) คือ การนาธรรมาภิบาล ข้อมูลสารสนเทศ เครื่องมือ คน และเงิน มา จัดบรกิ ารเพื่อประชาชนโดยประกอบด้วย ก หมายถึง การนา ธรรมาภิบาล, ข หมายถึง ขอ้ มลู , ค หมายถงึ คน, ค หมายถึง เคร่อื งมือ, ง หมายถึง เงิน, จ หมายถึง จัดบริการ ดงั นน้ั ผ้วู จิ ัยจงึ สนใจประยุกต์กรอบระบบสุขภา พ มาปรับตามบรบิ ทและความเหมาะสมของพ้ืนท่ี ผลทีไ่ ด้เปน็ แนวทางการจัดกิจกรรมในกลุ่มเสี่ยง เพอื่ ลดการป่วย เป็นโรคเบาหวานรายใหมต่ อ่ ไป วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปที ่ี 8 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มิถนุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

72 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มลู TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) วัตถปุ ระสงค์ เพือ่ วเิ คราะห์ระบบการให้บริการผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ จงั หวดั ลาปาง ขอบเขตการวิจยั การศึกษาครงั้ น้มี ีขอบเขตการวจิ ัย ประกอบด้วย 4 ดา้ น คือ 1) ด้านเน้ือหา การศกึ ษาในคร้งั นม้ี รี ูปแบบ การวิจัยเชงิ คุณภาพ 2) ด้านประชากร เป็นผู้ป่วยเบาหวาน กลมุ่ เสีย่ งโรคเบาหวาน ผู้ใหบ้ รกิ ารและผูเ้ กย่ี วข้องใน จงั หวดั ลาปาง และกลุ่มตวั อยา่ ง ผู้ป่วยเบาหวาน กลุม่ เส่ียงโรคเบาหวาน จานวน 89 คน ผู้ให้บรกิ ารและผู้เกย่ี วข้อง จานวน 32 คน ในจงั หวดั ลาปาง 3)ดา้ นพ้นื ท่ที ีศ่ กึ ษา อาเภองาว อาเภอเมอื งปาน อาเภอเมอื งลาปาง และอาเภอแม่พริก จงั หวัด ลาปาง4)ด้านระยะเวลาทศี กึ ษาระหวา่ งเดอื นกรกฎาคม ถึง เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2563 วิธดี าเนนิ การวิจัย การศึกษาในคร้ังนีม้ ีรูปแบบการวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพ (qualitative research) แบบปรากฏการณว์ ิทยา (phenomenological study) ประชากรและผู้ให้ขอ้ มูลหลกั ประชากร คือ ผปู้ ว่ ยเบาหวานทรี่ บั บริการหนว่ ยบริการสาธารณสุขในจังหวัดลาปาง กลมุ่ เส่ียง โรคเบาหวานท่ไี ด้รับการคดั กรองเบาหวานและถูกระบวุ ่าเปน็ กลุ่มเส่ียงจากหนว่ ยบริการสาธารณสุขในจังหวัด ลาปาง และผู้ให้บรกิ ารและผเู้ กีย่ วข้อง ผู้ให้ข้อมูลหลัก คอื ผูป้ ่วยเบาหวาน และกลุม่ เส่ียงโรคเบาหวาน ที่อาศัยอย่ใู น 4 อาเภอของจังหวัด ลาปาง โดยการคดั เลอื กจากผลลัพธ์อัตราผูป้ ่วยเบาหวานรายใหมจ่ ากกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ทมี่ ีผลลพั ธ์น้อยกว่า รอ้ ยละ 2.05 ซึง่ อาเภอที่มีผลลัพธ์ทดี่ ีตามเกณฑไ์ ด้แก่ อาเภองาว อาเภอเมืองปาน และอาเภอท่มี ผี ลลพั ธม์ า กกว่า รอ้ ยละ 2.05 ซงึ่ อาเภอท่มี ผี ลลัพธ์สูงท่ีสุดคือ อาเภอเมอื งลาปาง และอาเภอแมพ่ รกิ จานวน 89 คน ผู้ใหบ้ ริการ และผูเ้ ก่ยี วข้องในอาเภองาว อาเภอเมอื งปาน อาเภอเมืองลาปาง และอาเภอแม่พริก จานวน 32 คน โดยมกี าร คัดเลือกผู้ให้ข้อมลู แบบเฉพาะเจาะจง (purposive sampling) และได้คัดเลือกคุณสมบัติผู้เข้าร่วมการวิจัยโดย มีเกณฑค์ ดั เข้าและเกณฑ์คดั ออก ดังน้ี เกณฑ์ในการคดั เข้า (Inclusion criteria) 1. ผปู้ ว่ ยเบาหวาน และกลุ่มเส่ียงโรคเบาหวาน เป็นประชากร type 1 และ 3 ทีอ่ าศัยอยใู่ นอาเภองาว อาเภอเมืองปาน อาเภอเมอื งลาปาง และอาเภอแม่พริก จังหวัดลาปาง โดยการคดั เลือกจากผลลัพธ์อตั ราผู้ป่วย เบาหวานรายใหมจ่ ากกลุม่ เสี่ยงเบาหวาน 2. เปน็ ผู้มสี ตสิ ัมปชัญญะดี สามารถพูด อ่าน เขยี น ภาษาไทยได้ 3. มีความสมคั รใจและยินดีเปน็ ผ้ใู ห้ขอ้ มลู วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีท่ี 8 ฉบบั ที่ 1 เดอื น มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

73 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยใู่ นฐานข้อมลู TCI กลุ่มที่ 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) เกณฑใ์ นการคดั ออก (Exclusion criteria) 1. ผทู้ ่มี โี รคประจาตวั ทมี่ ีอาการรนุ แรง เชน่ โรคระบบหลอดเลอื ดและหัวใจ ไตวาย มีภาวะตดิ เชือ้ ผปู้ ว่ ย ท่ไี ดร้ ับการผา่ ตัด ผปู้ ว่ ยทร่ี ับไว้รกั ษาในโรงพยาบาล 2. มปี ญั หาในการสือ่ สาร การเดนิ ทางหรอื การเคลื่อนไหว 3. ไมย่ นิ ยอมให้ข้อมูล เครื่องมือท่ีใช้ในการวจิ ยั 1. แบบสัมภาษณ์รายบุคคล แนวคาถามจานวน 6 ชุด ดังน้ี 1) แบบสัมภาษณ์บุคลากรสาธารณสขุ เปน็ แนวคาถามเชิงลึกเก่ยี วกบั สภาพการจัดบริการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวาน รายบคุ คล 2) แบบสัมภาษณ์ ผูป้ ว่ ยเบาหวาน ประกอบดว้ ย ประสบการณก์ ารได้รับบริการ การเข้าถงึ บริการ และมมุ มองต่อบริการของหน่วย บรกิ าร 3) แบบสมั ภาษณก์ ลุ่มเส่ียงโรคเบาหวาน ประกอบด้วย ประสบการณ์การได้รบั บรกิ าร การเข้าถงึ บรกิ าร และมุมมองต่อบริการของหน่วยบริการ 4) แบบสัมภาษณ์ผู้อานวยการโรงพยาบาลและสาธารณสุขอาเภอ ประกอบด้วย นโยบายการขบั เคล่ือนโรคไม่ติดตอ่ การบริหารจดั การโรคไม่ติดต่อ 5) แบบสมั ภาษณ์อาสา สมัคร สาธารณสุข ประกอบด้วย การบริการคัดกรอง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การติดตามการดาเนินงาน และ 6) แบบสัมภาษณ์นายกองค์การบริหารส่วนตาบล หรือผู้นาชุมชน ประกอบด้วย การสนับสนุนการจดั สรร งบประมาณ จดั กิจกรรม การสรา้ งสง่ิ แวดลอ้ มทเี่ อือ้ ในการปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรม 2.แบบบันทกึ ภาคสนาม แบบบันทึกขอ้ มูลสมั ภาษณส์ ่วนบุคคล และเครือ่ งบนั ทึกเสยี ง การตรวจสอบคณุ ภาพเครื่องมือ ผวู้ ิจัยไดน้ าแนวคาถามท่ีสร้างขน้ึ ไปตรวจคุณภาพโดยผ้ทู รงคุณวุฒิ จานวน 5 ท่าน ตรวจสอบความตรง เชงิ เน้อื หา (content validity) ปรับแกต้ ามขอ้ เสนอแนะของผู้ทรงคุณวฒุ ิ จากนั้นจาไปทดลองใช้ (try out) กบั เจ้าหน้าทท่ี ร่ี ับผดิ ชอบงานไม่ตดิ ต่อเรอื้ รัง จานวน 5 คน เพื่อตรวจสอบความชัดเจนและความเข้าใจตรงกันในประเด็น คาถามก่อนนาไปใชจ้ ริง มีการตรวจสอบสามเส้า (triangulation) ด้านเวลาใน การเก็บขอ้ มลู สถานที่ในการเก็บ ขอ้ มูลที่ต่างกัน (data triangulation) วิธกี ารเก็บขอ้ มูลทตี่ า่ งกัน (methodological triangulation) รวมถึงผูว้ จิ ัย ตรวจสอบความนา่ เชือ่ ถอื ของข้อมูลโดยใหผ้ ู้ใหข้ ้อมูลตรวจสอบ (member checking) มกี ารตรวจสอบข้อมูลโดย ผู้เช่ียวชาญ (peer debriefing) ท้ังน้ีผู้วิจัยได้สร้างความนา่ เชื่อถือในด้านยืนยันผลการวิจยั ( confirmability) โดยมีการรวบรวมเอกสารทใ่ี ช้ในการเกบ็ ข้อมูลและจดั เก็บขอ้ มูลเปน็ ระบบ (audit trail) การวิเคราะหข์ อ้ มลู 1.ข้อมูลเชิงคณุ ภาพโดยการวเิ คราะห์เน้ือหาตามข้นั ตอนของโคไลซี (Colaizzi,1978citedinStreubert& Carpenter,2007) ดังนี้ อธิบายปรากฏการณ์ท่ีตอ้ งการศึกษา รวบรวมขอ้ มลู รายละเอียดจากผู้ให้ข้อมูล อา่ นขอ้ มูลท้ังหมดของผู้ให้ ข้อมลู ทบทวนขอ้ มูล และแยกประโยคสาคญั ออกมา ทาความเขา้ ใจความหมายของแตล่ ะประโยค จดั กลมุ่ ขอ้ มูล ใหเ้ ป็นหมวดหมู่ และเขียนคาบรรยายโดยละเอียด วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีท่ี 8 ฉบบั ท่ี 1 เดือน มกราคม – มถิ นุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

74 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยูใ่ นฐานขอ้ มูล TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) 2.ข้อมูลเชิงปริมาณ ข้อมูลสว่ นบคุ คลใช้สถติ ิพน้ื ฐาน ได้แก่ จานวน และรอ้ ยละ การพิทักษ์สทิ ธกิ ลุ่มตัวอยา่ งและจริยธรรมการวิจัย งานวิจัยน้ีผ่านการรบั รองจากคณะกรรมการพจิ ารณาจริยธรรมการวิจัย วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง ไดร้ ับเอกสารรบั รองโดยกรรมการจรยิ ธรรมการวจิ ัยในมนุษยเ์ ลขที่ 107/2563 ผลการวิจัย ข้อมลู ท่วั ไป ลกั ษณะท่วั ไปของผู้ให้ขอ้ มลู กลุ่มผูป้ ว่ ยเบาหวาน จานวน 40 คน ส่วนใหญเ่ ปน็ เพศหญิง รอ้ ยละ 81.63 มีอายอุ ยใู่ นช่วง 51-60 ปี มากทส่ี ุดรอ้ ยละ 38.78 โดยมรี ะยะเวลาทเี่ ปน็ โรคเบาหวาน 1-10 ปี มากท่สี ดุ ร้อยละ 53.06 และส่วนใหญ่ควบคุมระดับนา้ ตาลในเลอื ดไม่ได้ ร้อยละ 59.18 มีระยะทางจากบ้านถึงสถานบริการ 1-5 กโิ ลเมตร มากทีส่ ดุ ร้อยละ 77.55 และมผี ปู้ ่วย 1 ราย รักษาทีโ่ รงพยาบาลลาปาง กลมุ่ เสีย่ งโรคเบาหวานส่วนใหญ่เป็น เพศ หญิง ร้อยละ 92.50 มีอายุอยู่ในช่วง 41 -50 ปี มากที่สุดร้อยละ 35.00 โดยมีระยะเวลาท่ีเป็นกลุ่มเสี่ยง โรคเบาหวาน ตา่ กว่า 1 ปี มากท่สี ดุ รอ้ ยละ 67.50 ท้ังนีม้ รี ะยะทางจากบา้ นถึงสถานบรกิ ารน้อยกวา่ 1 กิโลเมตร มากทส่ี ุด รอ้ ยละ 62.50 กลมุ่ ผูใ้ หบ้ รกิ าร มอี ายุมากที่สดุ อย่ใู นช่วง 41-50 ปี ร้อยละ 62.50 มีตาแหนง่ พยาบาล วิชาชพี มากที่สุด รอ้ ยละ 87.50 ทางานท่ีโรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตาบลมากที่สดุ ร้อยละ 87.50 ทุกคนไม่เคย ผา่ นการอบรม case manager แต่เคยผา่ นการอบรม mini case manager ร้อยละ 62.50 ประสบการณใ์ นการดูแล ผ้ปู ่วยโรคเบาหวานมากทสี่ ดุ ชว่ ง 1-10 ปี และ 11-20 ปี คิดเปน็ รอ้ ยละ 37.50 ผลการวิเคราะห์ระบบการใหบ้ ริการผปู้ ่วยเบาหวานรายใหม่ พบว่า ระบบการใหบ้ รกิ ารผปู้ ว่ ยเบาหวานรายใหม่สามารถอธบิ าย เปน็ ประเดน็ หลกั (theme) 5 ประเด็น ไดแ้ ก่ 1) การนา ธรรมภิบาลการขับเคลอ่ื นนโยบายโรคไม่ติดตอ่ เรือ้ รัง 2) ระบบขอ้ มลู ขา่ วสาร และเทคโนโลยี 3) บุคลากรสขุ ภาพ 4) งบประมาณและทรัพยากร และ 5) การจัดระบบบรกิ ารสขุ ภาพผู้ป่วยโรคเบาหวาน โดยแตล่ ะ ประเดน็ หลักมีประเดน็ ยอ่ ย (sub-themes) รายละเอียด ดงั ตอ่ ไปนี้ ประเด็นหลักที่ 1 การนา ธรรมภบิ าลในการขับเคลอ่ื นนโยบายโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จากการสมั ภาษณผ์ ู้ให้ ขอ้ มูลไดก้ ล่าวถงึ ประเด็นยอ่ ย 3 ประเด็น ได้แก่ 1) นโยบายในการขบั เคลอื่ นโรคไม่ตดิ ตอ่ เร้ือรัง ผู้ให้ขอ้ มูลกลา่ วว่า “ในการพัฒนาระบบการดแู ลผู้ป่วยโรคเบาหวาน ให้สาเร็จได้น้นั คณะกรรมการทุกคนมสี ว่ นสาคัญในการกาหนด ทศิ ทางการทางานของโรงพยาบาลและชุมชนรว่ มกนั ” “บรู ณาการร่วมกบั หน่วยงานอน่ื ๆ ผา่ นพชอ.” และ “ชี้แจง นโยบายผา่ นท่ปี ระชมุ คณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขระดบั อาเภอ (คปสอ.), คณะกรรมการพฒั นาคุณภาพ ชวี ิตระดบั อาเภอ (พชอ.), Non communicable disease board (NCD Board), ประชุมหวั หนา้ สว่ น” 2) การ สนับสนุนการขับเคลื่อนนโยบายโรคไม่ติดต่อเร้ือรัง ผู้ให้ข้อมูลกล่าวว่า “ใกล้บ้าน ใกล้ใจ ลดการเดินทางมา โรงพยาบาลงาว ทาใหผ้ ู้ปว่ ยพอใจ คือ สะดวก รวดเรว็ ไม่เสยี เวลารอนาน ผูป้ ว่ ยได้รบั การดแู ลใกลช้ ิด ทาให้มี วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปีท่ี 8 ฉบบั ท่ี 1 เดอื น มกราคม – มิถนุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

75 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานข้อมลู TCI กลมุ่ ท่ี 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) กาลังใจและมีความสุข” “เราต้องสร้างเครือข่ายในการพัฒนาให้ครอบคลุมทุกภาคส่วนเพ่ือชว่ ยในการทางานตั้งแต่ การคัดกรองผปู้ ่วยเบาหวานรายใหม่ให้รวดเร็ว และดแู ลผ้ปู ่วยโรคเบาหวานทาใหก้ ารทางานมีคุณภาพมากขึ้น ” 3) การตดิ ตามการขับเคลือ่ นนโยบายโรคไม่ติดต่อเร้ือรัง ผใู้ หข้ ้อมูลกล่าววา่ “ดาเนนิ งานชมุ ชนลดเส่ยี ง ลดโรค NCD เนน้ การมีสว่ นร่วมของชมุ ชน ตรวจวัดความเคม็ ในอาหาร ตามโครงการลดเคม็ ลดหวาน และออกกาลังกาย เริม่ จากพฒั นาหมบู่ ้านปรบั เปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ รพ.สต. แห่งละ 1 หม่บู ้าน ตดิ ตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รายบุคคล ท้ังกลุ่มเสย่ี งและกลุ่มปว่ ย” “รว่ มประชมุ หมบู่ า้ น และคนื ข้อมูลเก่ยี วกับผู้ปว่ ยรายใหม่โรคไม่ติดต่อ เรื้อรัง ปัจจยั เส่ียงต่าง ๆ ของประชาชนในพืน้ ทีท่ ุก ๆ ปีงบประมาณ และผลักดนั ใหอ้ งค์การบริหารสว่ นตาบล และ ผู้นาชมุ ชนจดั ทานโยบายสาธารณะ ลดหวาน มัน เคม็ ในงานบุญ หรืองานศพของหมบู่ า้ น เป็นหมู่บ้านปรบั เปล่ียน พฤตกิ รรมสุขภาพ” ประเดน็ หลักท่ี 2 ระบบข้อมูลขา่ วสาร และเทคโนโลยี จากการสมั ภาษณ์ผู้ให้ข้อมลู ไดก้ ลา่ วถึงปร ะเด็น ยอ่ ย 2 ประเดน็ ไดแ้ ก่ 1) ระบบทะเบียนข้อมลู การใหบ้ ริการ ผู้ให้ขอ้ มูลกลา่ ววา่ “โรงพยาบาลจะมีทะเบียนผู้ป่วย แล้วแบ่งกลุ่มสีตามค่าระดับน้าตาลในเลือด ในผู้ป่วยแบ่งกลุ่มสีปิ งปอง 7 สี สีเขียวแก่ และสีเหลืองท่ีไม่มี ภาวะแทรกซอ้ นและความซบั ซ้อนของโรคอื่น ๆ ก็สง่ ตอ่ กลบั ให้ รพ.สต. ดแู ลต่อ ในส่วนผปู้ ่วยสสี ้ม สแี ดง และสีดา มีการนดั รบั การรักษาตอ่ เน่อื งที่ รพ.ชมุ ชนเนือ่ งจากผ้ปู ว่ ยตอ้ งพบแพทย์และต้องดแู ลอยา่ งใกลช้ ดิ และการติดตาม การปรับเปล่ยี นพฤติกรรมรายบุคคล” 2) ระบบข้อมลู และสารสนเทศท่ีเชอ่ื มโยงเครือขา่ ย ผใู้ หข้ อ้ มลู กล่า วว่า “ข้อมูลผู้ป่วยมีการส่งต่อโดยใช้ระบบ Thai refer ซง่ึ เป็นการสง่ ต่อข้อมลู การรกั ษาผ้ปู ่วยจาก รพ.ชุมชน มายัง รพ.สต. ซง่ึ เป็นระบบท่ีสะดวก” “ปรึกษาแพทยโ์ ดยการใชเ้ ทคโนโลยี telemed ผา่ นทางโปรแกรม line ระหวา่ ง แพทย์ และเจ้าหน้าท่ี รพ.สต.” ประเด็นหลักท่ี 3 บคุ ลากรสุขภาพ จากการสมั ภาษณ์ผใู้ หข้ ้อมูลได้กลา่ วถงึ ประเด็นย่อย 2 ประเดน็ ได้แก่ 1) อัตรากาลงั บคุ ลากรทางการแพทย์ ผู้ให้ขอ้ มูลกล่าวว่า “ใหแ้ พทยม์ าบริการแต่เช้า ต้องการพบแพทยใ์ หเ้ ร็วข้ึน น่าจะมีแพทย์ตรวจสัก 2 คนข้นึ ไป” “การใหบ้ ริการที่ รพ.สต. ไม่มีเจา้ หนา้ ท่ีเภสชั มาให้ความรู้ผู้ปว่ ยเกีย่ วกับเรื่อง ยา หรือผลข้างเคียงของยาที่ผู้ป่วยกิน” 2) การพัฒนาความรู้และทักษะให้แก่บุคลากร ผู้ให้ข้อมูลกล่าววา่ “เจ้าหน้าท่ีที่รบั ผิดชอบงานใหม่บางคนยงั ไม่เคยได้รบั การอบรม หรือพัฒนาทางวิชาการเรือ่ งโรคเบาหวาน ” “ได้รับการจัดอบรม mini case manager จาก สสจ. ทาให้ตนเองมีทักษะในการให้คาแนะนาผปู้ ่วยได้ดขี ้ึน กวา่ เดมิ ” ประเด็นหลักท่ี 4 งบประมาณและทรพั ยากร จากการสมั ภาษณผ์ ใู้ ห้ข้อมลู ได้กล่าววา่ “เครอ่ื งเจาะนา้ ตาล ปลายนว้ิ ไม่พอให้ผู้ปว่ ยทา SMBG ทาใหต้ ้องใช้เครื่องรว่ มกัน 1 เครื่อง ต่อผ้ปู ว่ ย 5 คน” “ในการคดั กรองโรค ไมต่ ิดตอ่ เรือ้ รงั ตอ้ งใช้เคร่ืองเจาะน้าตาลปลายนว้ิ เปน็ จานวนมากในแตล่ ะ รพ.สต. จงึ มกี ารหมนุ เวยี นยืมเคร่ืองกัน ระหว่าง รพ.สต.” “ทาง อบต. ได้มกี ารสนับสนุนงบประมาณทกุ ๆ ปี โดยมีการจดั ตง้ั กองทุนหลกั ประกันสุขภา พ ระดับท้องถนิ่ ” วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปที ่ี 8 ฉบบั ท่ี 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

76 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคุณภาพของ TCI และอย่ใู นฐานข้อมลู TCI กลุ่มที่ 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) ประเด็นหลกั ท่ี 5 การจัดระบบบริการสขุ ภาพผู้ปว่ ยโรคเบาหวาน จากการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลได้กล่าวถึง ประเด็นย่อย 5 ประเด็น ได้แก่ 1) เพิ่มการเข้าถึงการวนิ ิจฉัยโรคทถ่ี ูกต้องและทันเวลา การค้นหาความเสี่ยง ประเมินโอกาสเส่ยี ง คน้ หาปจั จยั กาหนดและคดั กรองภาวะแทรกซอ้ นของผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ ผ้ใู ห้ข้อมูล กลา่ วว่า “รวู้ า่ เปน็ เบาหวานปี 2563 จากการคดั กรอง ของหมูบ่ ้าน คา่ นา้ ตาลในเลือดเจาะครัง้ แรก 148 แพทยจ์ ึง ให้ตดิ ตามตลอดใหเ้ จาะเลอื ดทกุ 2 อาทติ ย์หรือ 1 เดอื น ค่าน้าตาลลงตลอดแตล่ งไมเ่ ยอะ เป็นพันธกุ รรมจากพอ่ ท่ี เปน็ เบาหวานความดัน ส่งไปทโี่ รงพยาบาลแต่คา่ นา้ ตาลไม่ลด” “มกี ารเพมิ่ การคดั กรองเจาะระดับน้าตาลใน เลือด ในทสี่ าธารณะ ทาใหง้ า่ ยต่อการเข้าถึงและทาให้ผ้ปู ่วยเบาหวานรายใหม่ได้รบั การรกั ษาเร็วขึ้น ลดภาวะแทรกซ้อน โดย อสม.มีสว่ นรว่ ม” 2) การจดั บริการผ้ปู ว่ ยโรคเบาหวานรายใหม่เพือ่ การดูแลและจดั การโรค ผใู้ หข้ ้อมลู กล่าวว่า “อสม. จดค่าน้าตาลไวแ้ ละมายื่นใหแ้ พทย์ บางครัง้ มาเจาะที่อนามัยซา้ อีกรอบหลังจาก อสม. เจาะให้ รอยาไมน่ าน ตรวจเสร็จได้ยาเลยและสามารถกลบั บา้ นได้” “แนะนาให้ผูป้ ว่ ยหนั มาดแู ลสุขภาพของตนเองมากขึ้นและมีการไป เยีย่ มทบ่ี า้ นของผ้ปู ว่ ย” “อสม. ให้ความรู้ในการปฏบิ ัติตัวของผู้ป่วย คดั กรองความเสยี่ งของประชาชนในชุมชนเพ่ือ เป็นการปอ้ งกันในเบอ้ื งตน้ และตดิ ตามเยีย่ มบา้ นผปู้ ่วยเบาหวานในชุมชน” 3) ระบบสนับสนุนการจัดการตนเอง และการตัดสนิ ใจของผปู้ ว่ ยเบาหวานรายใหม่ ผู้ให้ขอ้ มูลกลา่ วว่า “เมื่อก่อนเขาไม่รวู้ า่ ต้องทายังไงอยากกนิ อะไร กก็ นิ ไมร่ วู้ ่านา้ ตาลในเลือดสูงเทา่ ไหน ต้ังแตไ่ ปหากเ็ ร่ิมรเู้ ร่ือง หมอนดั ก็ไป บอกให้ทาอะไรกท็ า” “ครง้ั แรกก็ไม่รู้ จนมี อสม.มาตรวจก็เลยรู้ ทาให้เราเปลยี่ นแปลงตวั เอง แล้วก็ปรับเปล่ยี นวธิ กี ารกนิ ออกกาลงั กาย” คมุ ไดด้ ีแล้ว ด้วยการไม่กนิ เค็มกินหวานกนิ มันอย่างที่เคยกินเรากล็ ด ตอนเปน็ ใหม่ๆ หมอบอกวา่ ข้าวเหนยี วนา้ ตาลเยอะกว่า ขา้ วสวย ตอนนีเ้ ลยเปล่ียนมากนิ ข้าวสวย ตอนนค้ี ือคมุ อาหารไดแ้ ล้ว ขนมแทบไม่กนิ กนิ ทุกอย่างตอนนก้ี ก็ ินแค่พอ หายอยาก เพราะวา่ เราเคยชินต่อชีวิตก็คือทาให้เหน่ือยงา่ ย” 4) ระบบการดูแลสุขภาพท่ีบ้าน ผูใ้ ห้ขอ้ มลู กล่าวว่า “ก็จะมีการตดิ ตามและประสานกบั หมอ เพราะบางทมี ีชาวบ้านไปต่างจังหวัดไมไ่ ด้อยูท่ ่ีบ้าน ก็จะมีตามมา เจา ะ เลือดให้ทีหลัง หากเป็นหมู่บา้ นอื่นกจ็ ะมกี ารมอบหมายให้ อสม.ท่รี บั ผดิ ชอบแจ้งให้ทราบ และนาไปแจ้งกับหมอ อกี ทวี ่าจะให้คัดกรองอยา่ งไร และอาจจะมีการลงพืน้ ที่ มกี ารติดตามดว้ ยกลุ่มไลนข์ องตาบล โดยมีผ้นู าชุมชน ผูใ้ หญ่บา้ น อยู่ในกลุ่มไลน์เพอ่ื ติดตามผลด้วย” อภปิ รายผล ระบบการใหบ้ รกิ ารผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ จงั หวดั ลาปาง พบวา่ มีระบบการใหบ้ รกิ ารซ่งึ ประกอบด้วย ประเด็นหลกั (theme) 5 ประเด็น ได้แก่ ประเดน็ ที่ 1 การนา ธรรมาภิบาลการขับเคล่ือนนโยบายโรคไมต่ ิดตอ่ เรื้อรงั ไดส้ ะทอ้ นให้เหน็ ถงึ การ ใช้ กระบวนการมีสว่ นร่วมของภาคีเครือข่าย และองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลได้มีสว่ นร่วมในการสนับสนุน กองทุน สขุ ภาพตาบล พฒั นาสร้างนโยบายสาธารณะให้เกดิ ขน้ึ ในชุมชนโดยบูรณาการต้ังแตร่ ะดับตนเอง ครอบครวั และ ชมุ ชน และรว่ มกนั คน้ หาปญั หาและสาเหตุ วางแผนแกไ้ ขปัญหา ซึง่ สอดคลอ้ งกบั การศกึ ษาในเรือ่ งการดแู ลสุขภาพ วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปที ี่ 8 ฉบบั ท่ี 1 เดือน มกราคม – มิถนุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

77 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคุณภาพของ TCI และอยใู่ นฐานข้อมูล TCI กลมุ่ ที่ 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) ตนเองของผปู้ ่วยเบาหวานในเขตพนื้ ทีโ่ รงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลห้วยมะหร่ี ตาบลโนนเมือง อาเภอโนนสัง จงั หวัดหนองบวั ลาภู พบวา่ การสนับสนนุ ทางสังคมในภาพรวมมีความสมั พนั ธร์ ะดบั สูงทางบวกกบั การดแู ลสุขภาพ ตนเองของผปู้ ว่ ยเบาหวาน (Worada, M & Prachak B., 2017) ประเด็นที่ 2 ระบบข้อมลู ข่าวสาร และเทคโนโลยี สะท้อนให้เหน็ ถึงการมีระบบทะเบยี นข้อมูลของผู้ป่วย โรคเบาหวานครอบคลมุ ในทกุ พ้นื ที่ รวมไปถึงข้อมลู กลุ่มเส่ยี งโรคเบาหวาน ขอ้ มูลมคี วามทนั สมยั และเปน็ ปัจจุบัน ข้อมูลทบี่ ันทกึ ในทะเบียนมีท้ังรายบุคคล มีการจดั เก็บขอ้ มลู พฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารในแต่ละครัวเรอื นเพ่ือนา ข้อมลู มาวิเคราะห์และสง่ เสริมสุขภาพใหก้ ับผู้ป่วยทีถ่ ูกตอ้ งตามบริบท มกี ารพัฒนาระบบ Thai refer เพือ่ การ ส่งต่อข้อมูลผู้ป่วยจากโรงพยาบาลชุมชนไปยังโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล และยังมีการใช้ระบบการ ให้คาปรึกษาในการรักษาพยาบาลผู้ป่วยระหว่างแพทย์และบุคลากรอ่ืน ๆ โดยใช้เทคโนโลยี เทเลเมดิซีน (telemedicine) ผา่ นทางโปรแกรมไลน์ (line) ซงึ่ การมีระบบการจัดการขอ้ มลู สาหรับการดูแลผูป้ ว่ ยเบาหวาน ที่ดี มีการเช่อื มโยงและต่อเนื่องมสี ่วนสาคัญตอ่ การพัฒนาคณุ ภาพการในการดแู ลผ้ปู ว่ ยเบาหวาน(Surattana,T.,&Benjamas,Sk.,2016) ประเด็นที่ 3 บุคลากรสุขภาพ ได้สะท้อนใหเ้ ห็นถงึ การปฏิบัติงานของบุคลากรสุขภาพในการให้การ สนับสนุนการจัดการตนเองของผู้ป่วยเบาหวาน การพัฒนาศกั ยภาพของบคุ คลากรโดยการอบรม minicase manager เพือ่ ให้มีความรู้ ความเขา้ ใจเร่อื งโรค มีทกั ษะการสนบั สนนุ ใหผ้ ู้ป่วยโรคเบาหวานมีการดูแลตนเอง สร้างสมั พันธ์ ภาพทด่ี ีให้แก่ผู้ป่วยเนน้ ให้มีความเขา้ ใจ เห็นอกเหน็ ใจ และเช่ือมน่ั ในตัวผู้ปว่ ย ให้การดูแลผปู้ ว่ ยโดย การวางแผน แบบมีส่วนรว่ ม ตง้ั แต่การวิเคราะห์ ทาความรจู้ กั ผู้ปว่ ย การตงั้ เปา้ หมายร่วมกัน การกาหนดวธิ ีการ และ การสนบั สนนุ ด้วยการใหค้ าแนะนาในเรอื่ งทผ่ี ู้ปว่ ยเบาหวานมีความตงั้ ใจและมน่ั ใจเปน็ รายบุคคล โดยใชก้ ระบวนการ individual care plan สอดคล้องกับการศึกษาเร่ืองโปรแกรมการดูแลผปู้ ่วยเบาหวานชนิดท่ี 2 โดยให้พยาบาลเป็นผจู้ ัดการรา ยกร ณี (diabetes nurse case management) พบว่า การใช้โปรแกรมดังกล่าวช่วยทาให้ผู้ป่วยมีพฤติกรรมการดแู ล ตนเองท่ีดี (Ubonrat, R & Prapas, S., 2019) และที่มีพยาบาลเวชปฏิบัติหรือเจ้าหน้าที่ทีมสขุ ภาพ มีบทบาท สาคัญทจ่ี ะชว่ ยพฒั นาระบบการให้บริการที่มปี ระสทิ ธภิ าพให้แกผ่ ปู้ ว่ ยในสถานบริการปฐมภูมิ รวมทั้งสง่ เสริมหรือ สนบั สนุนใหผ้ ู้ปว่ ยเบาหวานชนดิ ท่ี 2 สามารถจัดการตนเองเพือ่ ควบคมุ ระดบั นา้ ตาลในเลือด Prang, B., 2017) ประเด็นที่ 4 งบประมาณและทรัพยากร ได้สะท้อนให้เห็นถงึ ระบบบรกิ ารผู้ป่วยเบาหวานที่มกี ารเตรียม ความพร้อมในด้านงบประมาณ และได้รับการสนับสนุนงบประมาณในการจดั ทาโครงการด้านสุขภาพจาก สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ินในการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวาน ซึ่งการจัดสรร งบประมาณและการใชท้ รัพยากรทีม่ ีอย่ใู นชุมชนเปน็ ปัจจัยที่เกือ้ หนนุ ใหก้ ารให้บรกิ ารด้านสขุ ภาพให้เกิดประโยชน์ สูงสุด (Surattana, T., & Benjamas, Sk., 2016) ประเด็นที่ 5 การจัดระบบบริการสุขภาพผู้ป่วยโรคเบาหวาน ได้สะท้อนให้เห็นถึง การคัดกรอง โรคเบาหวานในชุมชน แบบเชิงรกุ และติดตามกลุ่มเสยี่ งอยา่ งต่อเน่ือง การจัดบรกิ ารผู้ป่วยเบาหวานโดยสนับสนุน การจดั การตนเองในผู้ป่วยโรคเบาหวาน สอดคลอ้ งกบั การศกึ ษาเรื่องการพฒั นารูปแบบการดแู ลผู้ป่วยเบา หวาน วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื ปที ่ี 8 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

78 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยูใ่ นฐานขอ้ มูล TCI กลมุ่ ที่ 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) จังหวัดลาปาง ปี 2561 พบว่า หลงั การพัฒนารปู แบบการดูแลผู้ปว่ ยโรคเบาหวาน โดยใหผ้ ู้ป่วยมกี ารจดั การตนเอง โดยใช้คู่มือการจดั การตนเองพบวา่ มกี ารปรบั เปลี่ยนพฤติกรรมด้านการรับประทานอาหาร ออกกาลังกาย อารมณ์ และยา ท่ีดีกว่าก่อนการพัฒนารปู แบบการดูแลผปู้ ว่ ย และค่าเฉลี่ยระดับนา้ ตาลในเลอื ดหลงั การใชร้ ปู แบบการดูแล ผ้ปู ่วยเบาหวานลดลง (Kitsuwannaratana1S., Lorga T. and Panchakhan N., 2018) ระบบการใหบ้ รกิ ารผู้ปว่ ยเบาหวานรายใหม่ จังหวดั ลาปาง มกี ลวธิ ีท่สี อดคล้องกับการสง่ เสริมสุขภาพของ กฎบัตรออตตาวา (OttawaCharter)ในการสง่ เสรมิ สขุ ภาพใหก้ บั ผปู้ ่วยโรคเบาหวาน(WorldHealthOrganization,1986)ดงั น้ี 1. การสนับสนุนข้อมูลสุขภาพ ใช้ในการวางแผ นการดาเนินงาน จัดทานโยบายสาธารณะเนน้ การมีส่วนรว่ มของชุมชนเกิดประโยชน์ในการแก้ปัญหาอยา่ งยั่งยืน โดยการให้ข้อมลู ข่าวสารดา้ นสุขภาพให้กับ ชุมชน คืนข้อมลู ผลการคดั กรองท่ีแยกกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มปว่ ย โดยถา่ ยทอดข้อมลู สรู่ ะดบั พ้ืนท่ี และ เครอื ข่าย อาสาสมัครสาธารณสขุ วิเคราะหป์ ัจจยั เสี่ยงของประชาชนในพ้ืนที่ เพือ่ สรา้ งกระแสสังคมและ ให้ ผ้มู ีอานาจในการจัดทานโยบายในพ้นื ทีเ่ ห็นความสาคัญในเรือ่ งการส่งเสริมสุขภาพของผู้ป่วยโรคเบาหวาน 2. การเสรมิ สร้างความสามารถและทกั ษะใหก้ ับทีมบุคลากรสุขภาพ และผูป้ ว่ ยใหม้ ีการจดั การตนเอง โดยให้ผูป้ ว่ ยไดม้ ที ักษะชวี ิตในการจดั การพฤตกิ รรมสุขภาพตนเองได้ โดยการใช้กระบวนการ DM literacyเพ่มิ ศกั ยภาพ ในการดแู ลตนเอง เม่ือมีการพัฒนาทกั ษะดงั กลา่ วอย่างต่อเน่อื งจะทาให้บุคคลมีความสามารถในการเข้าถงึ ข้อมูล และบรกิ ารสขุ ภาพได้ เกิดความเข้าใจในขอ้ มูล สามารถวเิ คราะหป์ ระเมนิ ขอ้ มูลสุขภาพไดอ้ ย่างถูกต้อง เป็นสิง่ สาคญั ต่อการตดั สนิ ใจทางสุขภาพที่เหมาะสมทาให้สามารถมีสุขภาพท่ีดี รวมทัง้ เสริมสรา้ งความรู้ความสามารถของ บุคลากรสขุ ภาพโดยมีการอบรม mini case manager ในการใหบ้ รกิ ารผปู้ ว่ ยโรคเบาหวานอยา่ งมีประสิทธิภา พ มีการปฏิบตั ิงานกบั ผปู้ ว่ ยโดยเนน้ สัมพนั ธ์ภาพแบบช่วยเหลือรว่ มมือกับผปู้ ่วยโรคเบาหวาน (collaborative relationship) มีความเข้าใจ เหน็ อกเห็นใจ เชื่อมนั่ ในตวั ผู้ป่วย ตอบสนองตอ่ เสยี งเรียกและความตอ้ งการของผปู้ ่วยให้ถูกตอ้ ง และ การปรับวธิ กี ารใหบ้ ริการผู้ป่วยโดยเนน้ จดั การตนเองแบบมีส่วนร่วม (self-management) รวมไปถึงการอบร ม แกนนาอาสาสมัครสาธารณสุข เพ่อื สง่ เสริมในการใหผ้ ู้ป่วย ไดร้ ับคาแนะนาและกระต้นุ ติดตามเป็นรายบุคคล เนน้ ในเรอื่ งการเขา้ ถงึ ระบบบริการไดง้ า่ ย สะดวก รวดเร็ว และดูแลใกลช้ ิด 3. ประสานงานสร้างทีมสุขภาพภาคประชาชน ดาเนนิ กจิ กรรมแบบบูรณาการ ซ่งึ คณะกรร มการ ประสานงานสาธารณสุขระดับอาเภอ บคุ ลกรสขุ ภาพทง้ั ในโรงพยาบาล และโรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตา บล ภาคีเครอื ขา่ ย เชน่ องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ ผ้นู าชมุ ชน อาสาสมคั รสาธารณสขุ เปน็ ต้น ไดม้ ีการดาเนินกิจกรรม โดยการบรู ณางาน ที่มีบคุ ลากรทางสขุ ภาพเป็นสื่อกลางระหวา่ งภาคส่วนในการประสานงานร่วมกันในระดับพ้ืนท่ี โดยการประสานงานขอรับการจัดสรรงบประมาณในการดาเนนิ งานดูแลส่งเสริมสขุ ภาพผปู้ ่วยโรคเบาหวาน กับ หน่วยงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และประสานงานขอสนั บสนุนเคร่ืองเจาะน้าตาลปลายนิ้วกับ CUP เพื่อใหเ้ พียงพอตอ่ ความต้องการของผปู้ ่วย และเกดิ ประโยชน์สงู สุดต่อสขุ ภาพของประชาชนในพ้นื ท่ี วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีท่ี 8 ฉบับท่ี 1 เดอื น มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

79 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มูล TCI กล่มุ ที่ 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) การศกึ ษาสถานการณ์ระบบการให้บริการผปู้ ่วยเบาหวานรายใหม่ จงั หวดั ลาปาง พบว่า การส่งเสริม สขุ ภาพทีม่ ีกิจกรรมสอดคลอ้ งกบั six building blocks ขององค์การอนามัยโลก (Shakerishvili, 2009) โดยมกี าร เร่ิมกระบวนการต้งั แต่จุดเร่ิมต้นของการดาเนินงานโดยใช้การปรับระบบบริการสุขภาพ เสริมสร้างความเข้มแข็ง ของชุมชนโดยการสนับสนุนให้สรา้ งนโยบายสาธารณะ มีการจดั การกาลังคนให้เหมาะสมและสอดคล้องกบั การทางานในพืน้ ที่ พัฒนาศกั ยภาพของบุคลากร การปรบั ทศั นคตสิ ร้างสมั พนั ธภ์ าพบคุ ลากรกับผู้ปว่ ยแบบกลั ยานิมิตร ทาให้เกิดความไวว้ างใจและความรว่ มมือระหวา่ งกัน ทาใหผ้ ้ปู ่วยเบาหวานเชื่อและพรอ้ มปฏบิ ัตติ าม รวมถึงการ ทางานรว่ มกับเครือขา่ ยอาสาสมัครสาธารณสขุ ใหบ้ ริการเยย่ี มบ้านผู้ป่วยให้กาลงั ใจ ติดตามระดบั นา้ ตาลในเลอื ด การ รับประทานยา และการปฏบิ ัติตวั ท่บี า้ น การพฒั นาระบบข้อมลู ขา่ วสารและการประสานงาน การใช้เทคโนโลยตี ่าง ๆ ในการเก็บขอ้ มูล การส่งตอ่ ข้อมลู ผู้ปว่ ยผ่านระบบ Thai refer และการส่อื สารท่ีใช้ line application โดยมีการ จดั สรรทรัพยากรภายในหน่วยบรกิ ารปฐมภมู ิ ในเครือข่ายแตล่ ะอาเภอ และภาคสว่ นตา่ ง ๆ รวมไปถึงงบประมาณ ในการดาเนินการจัดกิจกรรม โดยเฉพาะองคก์ ารปกครองส่วนท้องถ่นิ ท่มี ีเป้าหมายในการดแู ลประชาชนมีสุขภาพ ท่ีดี และสง่ เสรมิ การเข้าถงึ ข้อมูลดา้ นสขุ ภาพ การบรกิ ารสุขภาพทีใ่ กล้บา้ นใหม้ ีคุณภาพและ มีประสิทธภิ าพเป็น ส่งิ ท่สี าคัญและจาเป็นอย่างยง่ิ และท่ีสาคัญเน้นให้ผปู้ ว่ ยเบาหวานพฒั นาทักษะและความรู้ ในการดูแลตนเองให้ มสี ขุ ภาพท่ีดี ขอ้ เสนอแนะในการนาผลการวจิ ยั ไปใช้ การศึกษานี้ พบว่า สถานการณ์ระบบการให้บรกิ ารผปู้ ่วยเบาหวานรายใหม่ ของจังหวัดลาปางมีการดาเนินการ 5 ประเด็น ได้แก่ 1) การนา ธรรมภิบาลการขับเคลื่อนนโยบายโรคไม่ติดต่อเรื้อรงั 2) ระบบข้อมูลข่าวสาร และ เทคโนโลยี 3) บุคลากรสุขภาพ 4) งบประมาณและทรัพยากร และ 5) การจัดระบบบริการสุขภาพผู้ป่วย โรคเบาหวาน โดยสอดแทรกกลวิธีการสง่ เสริมสุขภาพผปู้ ่วย ดังนี้ 1. การสนับสนุนขอ้ มูลสุขภาพ ใช้ในการวาง แผนการดาเนนิ งาน จัดทานโยบายสาธารณะเน้นการมสี ่วนร่วมของชมุ ชนเกิดประโยชน์ในการแกป้ ัญหาอย่างย่ังยืน 2. การเสริมสร้างความสามารถและทักษะให้กับทีมบุคลากรสุขภาพ และผู้ป่วยให้มีการจัดการตนเอง 3. ประสานงานสรา้ งทีมสุขภาพภาคประชาชน ดาเนนิ กจิ กรรมแบบบรู ณาการ เพ่ือใหบ้ คุ คล ครอบครัวและชุมชน สามารถดแู ลและจัดการปญั หาสุขภาพของตนได้ดว้ ยตนเอง จงึ มขี ้อเสนอแนะว่า 1. ควรพัฒนาระบบบรกิ ารผู้ป่วยเบาหวาน ระดับหน่วยบรกิ ารปฐมภูมิ ต้องวิเคราะห์บรบิ ท และ ออกแบบระบบบริการ (คน, เงิน, ของ) ที่เหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปัญหาของพนื้ ท่ีตนเอง เช่น ในรายท่ีควบคุม ไม่ได้ ต้องทาการวเิ คราะห์ปัจจัยท่ีเกี่ยวขอ้ งมากาหนดจัดกิจกรรมโครงการ นอกจากนี้ ควรมีการตดิ ตามประเมินผล กระบวนการดแู ล ผลลัพธท์ างคลินิก เงนิ ทุน และเปา้ หมาย เพือ่ ใหเ้ กิดการพัฒนาอยา่ งต่อเนื่อง วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ่ี 8 ฉบับที่ 1 เดอื น มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

80 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มูล TCI กลุม่ ที่ 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) 2. ควรพัฒนาความรู้ผูใ้ ห้บริการอย่างต่อเนื่อง มีการประเมนิ สมรรถนะการดูแลโรคเรอ้ื รัง เพื่อนามา สรา้ งหลกั สตู รหรอื โปรแกรมการอบรมทส่ี อดคล้องกับการดูแลโรคเรื้อรงั และพัฒนาความรู้อาสาสมคั รสาธารณสุข เพื่อเชอื่ มการดแู ลระหว่างภาครฐั กบั ภาคประชาชน 3. ควรทบทวนหารูปแบบและวิธีการปรับเปล่ยี นพฤติกรรมของกลุ่มเส่ียงโรคเบาหวาน ให้มคี วาม ตอ่ เนือ่ ง เชื่อมโยง สง่ ตอ่ ขอ้ มูลระหว่าง โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตาบลกบั โรงพยาบาลแมข่ า่ ย และมรี ะบบกากับ ตดิ ตามอย่างสมา่ เสมอ 4. ระบบบริการผ้ปู ว่ ยเบาหวานรายใหม่ ควรดาเนนิ งานใหค้ รอบคลมุ ทงั้ 4 มิติ คือ สง่ เสริม ปอ้ งกัน รักษา และฟื้นฟู จึงจะประสบผลสาเร็จ ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคีเครือขา่ ย และ ภาคประชาชน จงั หวดั จงึ ควรแตง่ ตั้งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับจงั หวัดท่ีมอี งค์ประกอบจากทุกภาค ส่วน เพ่ือใชเ้ ปน็ กลไกขับเคลื่อนการดาเนนิ งาน และสนับสนุนกระบวนการสร้างนโยบายสาธารณะทีเ่ กย่ี วข้องกับ โรคเรอื้ รัง ข้อเสนอแนะในการศกึ ษาครง้ั ต่อไป 1. ควรศึกษาเพ่ิมเติมประเด็นการจัดการระบบข้อมูล รายงาน และคุณภาพข้อมูล ให้สามารถ ใชว้ างแผนตดิ ตาม และประเมนิ ผลการดาเนินงานให้มปี ระสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผล 2. ควรศกึ ษาปัจจัยทส่ี ง่ ผลตอ่ การเกิดโรคเบาหวานรายใหมข่ องจงั หวัดลาปาง เอกสารอ้างอิง Catford, J. (2011). Ottawa 1986: back to the future. Health promotion international, 26, 163-167. (online), Available: https://doi.org/10.1093/heapro/dar081 (2020, 01, Dec). Health data center. (2020). Incidence rates of diabetes. (online), available: https://hdcservice.moph.go.th/hdc/main/index_pk.php (2020, 01, Dec). (in thai) Kitsuwannaratana1S., Lorga T. and Panchakhan N. (2018). Development of a diabetes care model, lampang 2018. The southern college network journal of nursing and public health, 7(1), 199-214. (in thai). Prang, B. (2017). The effectiveness of self- management program on type 2 diabetic patients in thakor, maesuai district, chaingrai province. Journal of the police nurses, 9 (1 ) , 1 0 5- 116. (in thai). Shakerishvili, G. ( 2009) . Building on health systems frameworks for developing a common approach to health systems strengthening. Prepared for the world bank, Global fund วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ี่ 8 ฉบบั ที่ 1 เดือน มกราคม – มถิ นุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

81 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอย่ใู นฐานขอ้ มลู TCI กลมุ่ ที่ 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) to fight AIDS, tuberculosis and malaria, and GAVI alliance. Technical workshop on health systems strengthening, Washington, DC, June 25–27. (online), available: https://www.who.int/healthinfo/systems/WHO_MBHSS_2010_full_web.pdf (2020,01,Dec). Streubert, H. J, & Carpenter, D. R. (2007). Qualitative research in nursing: advancing the humanistic Imperative (4theds.). Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkins. Surattana, T., & Benjamas, Sk. (2016). A situation study of using chronic care model in caring for diabetes type 2 patients. Journal of health science research, 10(2), 29-40. (in thai) Ubonrat, R & Prapas, S. (2019). Effects of case management program on uncontrolled diabetes mellitus patients. Journal of health Science. 28, 146-151. (in Thai) Worada, M & Prachak B. (2017). Self-care by patients with diabetes in the regional health promotion hospital Tambon Huai Mary, Non Muang sub-district, Nonsang district Nonbualum Phu province. The office of disease prevention and control 7 khon kaen. 24(1), 71-79. (in Thai) World Health Organization. (1986). Ottawa charter for health promotion. Geneva: World health organization. วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปีที่ 8 ฉบบั ท่ี 1 เดอื น มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

82 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมลู TCI กลมุ่ ที่ 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) Relationship between Knowledge and Practices of Migrant Health Volunteers in Dengue Hemorrhagic Fever Prevention and Control in Mae Sot Municipality, Mae Sot District, Tak Province Phananpong Padaornary *,Waraporn Boonchieng** ,Aksara Thongprachum*** (Received November 16, 2020, Revised: March 1, 2021, Accepted: March 5, 2021) Abstract The objective of this cross- sectional study was to investigate the relationship between knowledge and practices of migrant health volunteers on dengue hemorrhagic fever prevention and control in Mae Sot City Municipality, Mae Sot District, Tak Province. The samples of this study were 100 migrant health volunteers in Mae Sot Municipality. The research instrument was a questionnaire divided into 3 parts: Demographic data, Knowledge of Dengue Hemorrhagic Fever and Practices on DHF Prevention and Control. Data were collected by public health officers as interpreters for the respondents. The data were analyzed by descriptive statistics for determining the frequency, percentage, mean, standard deviation, and Pearson’s correlation analysis. The results revealed that most of the sample had a high level of DHF knowledge (57.0%). In addition, most of the sample had a moderate level of DHF prevention and control practices (49%). Furthermore, DHF knowledge was low positive relation with practices of the sample on dengue hemorrhagic fever prevention and control with a statistical significance level (r = 0.386; P = 0.017). Therefore, sufficient knowledge on dengue hemorrhagic fever will help in prevention and control. Thus, the researchers recommend that dengue fever prevention and control training program should be organized in the migrant communities with emphasis on educating towards the operations. Keywords: Dengue hemorrhagic fever; Migrant health olunteers; Disease control * Master's students Faculty of Public Health, Chiang Mai University **Associate Professor, Faculty of Public Health, Chiang Mai University *** Lecturer, Faculty of Public Health, Chiang Mai University วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีท่ี 8 ฉบบั ท่ี 1 เดอื น มกราคม – มิถนุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

83 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมูล TCI กลมุ่ ท่ี 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งความรูแ้ ละการปฏิบตั ิงานของอาสาสมัครสาธารณสขุ ตา่ งดา้ วในการป้องกนั ควบคุมโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลนครแมส่ อด อาเภอแมส่ อด จงั หวัดตาก พนานต์พงศ์ ผัดออ่ นอา้ ย**,วราภรณ์ บุญเชียง**,อกั ษรา ทองประชุม*** (วนั รบั บทความ : 16 พฤศจยิ ายน 2563, วันแก้ไขบทความ : 1 มีนาคม 2564, วันตอบรับบทความ : 5 มีนาคม 2564) บทคัดย่อ การศึกษาแบบภาคตดั ขวางนี้ มีวัตถปุ ระสงค์เพื่อศึกษาความสมั พันธร์ ะหว่างความรแู้ ละการปฏิบัติงาน ของอาสาสมัครสาธารณสขุ ต่างด้าวในการปอ้ งกันและควบคมุ โรคไข้เลือดออก ในเขตเทศบาลนครแม่สอด อาเภอ แมส่ อด จังหวดั ตาก กลมุ่ ตวั อยา่ ง คือ อาสาสมัครสาธารณสุขตา่ งดา้ วในเขตเทศบาลนครแมส่ อด ทั้งหมด 100 ราย เครื่องมอื ทใ่ี ชใ้ นการศึกษาครั้งนี้คอื แบบสอบถามแบง่ เป็น 3 ส่วนได้แก่ ข้อมลู ท่ัวไป แบบทดสอบความร้เู ร่อื งโรค ไขเ้ ลือดออก และการปฏบิ ัติตวั ในการป้องกนั ควบคมุ โรค เกบ็ ขอ้ มลู โดยเจา้ หนา้ ทีส่ าธารณสขุ เป็นลา่ มแปลภาษาใน ตอบแบบสอบถาม วิเคราะหข์ ้อมูลโดยใช้สถิติเชงิ พรรณนา หาคา่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลีย่ สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน และสถติ เิ ชิงวิเคราะห์สหสมั พันธ์แบบเพยี รส์ นั ผลการศกึ ษา พบว่า ระดบั ความรเู้ รื่องโรคไข้เลือดออกของอาสาสมคั รสาธารณสขุ ตา่ งดา้ วอยู่ในระดับสูง ร้อยละ 57.00 ส่วนการปฏิบัตงิ านของอาสาสมัครสาธารณสุขต่างด้าวในการปอ้ งกันและควบคุมโรคไขเ้ ลือดออก พบวา่ การปฏบิ ตั ติ ัวโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 49.0 และเมือ่ ทดสอบความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งความรู้และ การปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขต่างด้าวในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกพบว่า ความร้มู ี ความสัมพนั ธท์ างบวกระดับต่ากับการปฏิบตั งิ านในการป้องกนั และควบคมุ โรคไข้เลอื ดออกโดยภาพรวมr= 0.386(P=0.017) ดั งนั้ น ควร มี กา ร จั ดอบร บพั ฒน า ศั กยภ า พการ ป้องกั นแ ละควบคุ มโ ร คไข้ เลือดออกใน ชุ มช น ต่ างด้าว โดยการเนน้ ในการใหค้ วามรทู้ ี่จะนาไปสกู่ ารปฏิบตั งิ านจริงในพ้นื ทีไ่ ด้ คาสาคญั : โรคไขเ้ ลอื ดออก;อาสาสมคั รสาธารณสขุ ตา่ งดา้ ว;การป้องกนั และควบคุมโรค * นกั ศกึ ษาระดับปริญญาโท คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ **รองศาสตราจารย์ คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ***อาจารย์คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปีที่ 8 ฉบบั ท่ี 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

84 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคุณภาพของ TCI และอย่ใู นฐานขอ้ มูล TCI กลุม่ ท่ี 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) บทนา โรคไขเ้ ลอื ดออกจัดเป็นโรคประจาถิ่นท่ีมีความรุนแรงของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ เกดิ จากเช้ือ ไวรสั เดงกี่ โรคนีย้ ังไม่มียารักษาโดยเฉพาะ จึงทาใหม้ ผี ปู้ ่วยและผู้เสียชีวิตทุกปี ปญั หาหลกั ท่ีท่วั โลกเผชิญ คือ เข้าถงึ การรกั ษาลา่ ช้า จากข้อมลู ขององคก์ ารอนามัยโลก ได้รายงานสถานการณโ์ รคไข้เลือดออกวา่ เป็น 1 ใน 40 โรค ทหี่ วนกลบั มาแพรร่ ะบาดใหม่และกาลังเป็นปัญหาสาธารณสขุ ในกวา่ 100 ประเทศโดยมีผู้ตดิ เชื้อทว่ั โลกปลี ะกว่า 50 - 100ล้านราย ทง้ั น้พี าหนะของโรค คือยุงลายโดยยุงตัวเมียออกหากินในเวลากลางวันและดดู เลอื ดคนเป็นอาหารตลอดวงจรชีวิต ยงุ ตลอดเวลาที่ผ่านมาทุกประเทศยังต้องอาศัยความร่วมมือจากทั้งภาคประชาชน ภาครฐั และภาคเอกเอกชน รว่ มมอื กันอยา่ งจริงจงั ในการปอ้ งกันและควบคุมโรคอย่างเต็มศักยภาพเพื่อลดการระบาดไดอ้ ย่างมีประสิทธิภา พ และเหมาะสมทุกพืน้ ที่ (Department of disease control, 2015) ประเทศไทยยังคงมรี ายงานการระบาดของโรคไข้เลอื ดออกอยตู่ ลอดมา โดยสถานการณโ์ รคไข้เลอื ดออก ในเขตพ้ืนทีส่ ขุ ภาพท่ี 2 ต้ังแตว่ ันที่ 1 มกราคม - 31 สงิ หาคม พ.ศ.2561 พบผ้ปู ว่ ย 2,517 ราย คิดเปน็ อัตราป่วย 90.0 ต่อแสนประชากร เสียชวี ติ 5 ราย คดิ เป็นอัตราตาย 0.14 ตอ่ แสนประชากร จงั หวัดท่ีมีผปู้ ว่ ยสูงสุด ได้แก่ จังหวัดพษิ ณุโลก 972 ราย รองลงมาได้แกจ่ ังหวัดตาก 862 ราย เพชรบรู ณ์ 719 ราย สุโขทัย 438 ราย และ อุตรดติ ถ์ 206 ราย พบผูป้ ่วยชายมากกว่าเพศหญิง อตั ราส่วน 1.08 : 1 สาหรบั ผูป้ ่วยในเดือนสิงหาคม 2561 มี จานวนผูป้ ว่ ย 670 ราย นอ้ ยกวา่ เดอื นกรกฎาคม 2561 (926 ราย) แต่มากกว่าปี 2560 คา่ มัธยฐานในช่วงเวลา เดียวกัน (Epidemiology & intelligence section the office of disease prevention and control 2 Phitsanulok, 2018) อาเภอแม่สอด จังหวัดตาก เป็นพ้ืนท่ีชายแดนทางทิศตะวันตกของประเทศไทยมีอาณาเขตตดิ ต่อกับ ประเทศเมยี นมา ดังนั้นจงึ มีประชากรชาวเมยี นมาเขา้ มาอาศยั อย่ใู นพ้นื ท่มี ากกวา่ 100,000 คน โดยกระจายอยู่ ตามสถานประกอบการตา่ งๆ และในชมุ ชนตา่ งชาติ ในปัจจุบนั อาเภอแม่สอดมีการขยายตวั เปน็ เขตเศรษฐกิจ พิเศษ ชายแดน และคาดว่าเมือ่ มกี ารเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 ทาให้เกดิ เกดิ การเคลื่อนยา้ ยของ ประชากรชาวเมยี นมาเขา้ มาในพ้นื ท่ีอาเภอแม่สอดมากย่งิ ขึน้ ดังนนั้ จงึ สง่ ผลกระทบต่อปัญหาสาธารณสขุ ไดแ้ ก่ โรคไข้เลอื ดออก เป็นต้น ในปี พ.ศ. 2561 พบคนตา่ งดา้ วปว่ ยด้วยโรคไข้เลือดออกทัง้ หมด 36 ราย คิดเปน็ อัตรา ปว่ ย 30.04 ตอ่ แสนประชากร (Mae Sot District Health Office, 2018) ปัจจัยทท่ี าให้โรคไข้เลือดออกมีการ ขยายพ้นื ที่การระบาดออไไปอย่างกว้างขวาง คือ การเพ่ิมขึ้นของจานวนประชากรแรงงานต่างชาติทอ่ี พยพเข้ามา อาศัยอยู่ในประเทศไทย ในอาเภอแม่สอด จังหวัดตาก มีการเคล่อื นย้ายของประชากรโดยการคมนาคมท้ังทางบก ทางอากาศ และทางนา้ เข้ามาพกั อาศัยอยู่ในอาเภอแมส่ อด และมกั จะอยูร่ วมกันเป็นชุมชนเล็กๆ แฝงตวั อยู่ใน ชุมชนคนไทย มกี ารปลูกสร้างบ้านขึ้นมาเองหรือเช่าห้องแถว เพอื่ การอยอู่ าศยั เป็นต้น การเขา้ มาอยู่กัน อย่าง หนาแนน่ น้เี องสง่ ผลตอ่ สุขาภบิ าลส่งิ แวดล้อม โดยเฉพาะปญั หาเร่ืองการทง้ิ ขยะไมเ่ ป็นท่ี การใชห้ อ้ งสว้ ม การใชบ้ ่อนา้ ท่ีไม่ถูกสุขลักษณะส่งผลให้เกิดโรคติดต่อ เช่น อหิวาตกโรคในกลุ่มชาวต่างชาติเมื่อปี พ.ศ.2550 โดยพบเป็น วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื ปที ี่ 8 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

85 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอย่ใู นฐานข้อมูล TCI กลมุ่ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) ชาวตา่ งชาติป่วยมากกวา่ คนไทยถงึ 7 เทา่ โรคไขเ้ ลือดออกเป็นโรคหน่ึงท่ีเป็นปัญหาตามมาซ่ึงเปน็ ปญั หาท่ีสา คัญ ทางสาธารณสุข (Peanumlom, P., 2019) อาสาสมคั รสาธารณสขุ ต่างด้าว หรอื อสต. เกดิ จากมูลนธิ ิศุภนิมิตได้เขา้ ไปทางานกบั กลุ่มคนข้ามชา ติใน ด้านสุขภาพ ซึง่ พบปัญหานอกจากการสื่อสารท่ีไม่เข้าใจดว้ ยภาษาท่ีต่างกนั แลว้ ยังมเี ร่ืองความไว้เน้อื เช่ือใจ ดังนั้น จงึ ได้รบั สมคั รอาสาสมคั รที่เปน็ คนข้ามชาติมาร่วมอบรมเพ่อื ทาหนา้ ที่เปน็ ผู้ดูแลสุขอนามัยและสาธารณสขุ รวมถึง การป้องกนั โรคในกลมุ่ คนขา้ มชาติด้วยกัน โดยเรยี กว่า “อาสาสมคั รสาธารณสุขต่างด้าว” (อสต.) และเริม่ ปฏิบัติ หน้าท่ีเป็นจิตอาสาต้งั แต่ปี พ.ศ. 2540 โดยไมม่ ีคา่ ตอบแทน ปฏบิ ตั งิ านในชมุ ชนที่กลุม่ แรงงานต่างด้าวอาศัยอยู่ อีก ทัง้ ยังไดร้ บั การอบรมพฒั นาความรู้เรอ่ื งสุขภาพจากเจา้ หนา้ ทส่ี าธารณสุขในพื้นทอ่ี ย่างต่อเน่ือง เปน็ ตวั แทนคนต่าง ด้าวในชมุ ชน เฝ้าระวงั ควบคุมโรคและใหค้ าแนะนาด้านสขุ อนามยั ข้ันพื้นฐานใหค้ นในชุมชน (WorldVision,2017) การเขา้ มาอาศยั ในประเทศไทยของประชากรชาวเมยี นมาทเ่ี ปน็ จานวนมากน้ี อาจส่งผลต่อการควบคุมโรค ป้องกันโรคของไทย ซ่ึงการป้องกนั และควบคุมโรคไข้เลือดออกจึงเปน็ เรื่องหนึง่ ท่ีมสี าคัญ เมือ่ พิจารณาจากการ ระบาดของโรคไขเ้ ลือดออกในพื้นที่ชุมชนต่างด้าวในเขตเทศบาลนครแม่สอด อาเภอแม่สอด จังหวัดตาก ท่มี ี แรงงานข้ามชาติอาศัยอยู่จะมีลักษะอยู่ชิดติดกนั ท้ังชมุ ชน มีแหล่งขยะ และส่ิงแวดล้อมที่เออ้ื ต่อการเกิดโรค ไข้เลือดออก และทผ่ี ่านมายงั พบการระบาดของโรคไข้เลือดออกในชมุ ชน และมีแนวโนม้ ทจี่ ะเกิดโรคระบาดมากข้ึน ดังสถิตกิ ารระบาดของโรคไข้เลือดออกขา้ งตน้ จากเหตุผลดังกลา่ วผู้วิจัยเปน็ ผปู้ ฏิบตั ิงานอยู่ในพนื้ ที่จึงสนใจศึกษา ความรแู้ ละการดาเนินงานปอ้ งกนั และควบคมุ การระบาดของโรคไข้เลือดออก ของอาสาสมคั รสาธารณสุขต่างด้าว ในเขตเทศบาลนครแม่สอด อาเภอแม่สอด จงั หวดั ตาก เพื่อที่จะนาผลการศึกษาไปประยุกต์ใช้ในการวางแผนการ ดาเนินงานป้องกนั และควบคมุ โรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลนครแม่สอด เพื่อลดการระบาดของโรคไข้เลือดออก ในพ้ืนท่ีต่อไป วตั ถุประสงค์ 1. เพ่อื ศกึ ษาระดับความรู้เรื่องโรคไข้เลอื ดออกของอาสาสมัครสาธารณสขุ ต่างดา้ ว ในเขตเทศบาลนครแมส่ อด อาเภอแมส่ อด จงั หวดั ตาก 2. เพ่อื ศกึ ษาระดบั การปฏิบตั ิงานการป้องกันควบคุมโรคไข้เลอื ดออกของอาสาสมัครสาธารณสุขตา่ งด้าว ในเขตเทศบาลนครแมส่ อด อาเภอแม่สอด จังหวดั ตาก 3. เพอ่ื ศกึ ษาความสัมพันธ์ระหวา่ งความรูแ้ ละการปฏิบัตงิ านของอาสาสมัครสาธารณสุขต่างด้าวใน การ ปอ้ งกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ในเขตเทศบาลนครแม่สอด อาเภอแมส่ อด จงั หวัดตาก วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีที่ 8 ฉบับท่ี 1 เดอื น มกราคม – มถิ นุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

86 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคุณภาพของ TCI และอย่ใู นฐานข้อมูล TCI กลุม่ ที่ 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) นิยามศพั ท์ ความรู้เร่ืองโรคไข้เลือดออก หมายถึง กระบวนการทางด้านความคิดท่ีเกิดในตัวของอาสาสมัคร สาธารณสุขต่างด้าว ในดา้ นสาเหตุ อาการ ของโรคไขเ้ ลือดออกและการป้องกนั และควบคุมโรคไขเ้ ลอื ดออก การปฏบิ ตั งิ านปอ้ งกนั และควบคมุ การระบาดของโรคไขเ้ ลือดออก หมายถึง การกระทาหรอื แสดงออก ถึงการเตรยี มความพร้อมในการกาจัดลูกน้ายงุ ลายและทาลายแหล่งเพาะพนั ธย์ ุงลายเพื่อให้การป้องกันควบคมโรค ไขเ้ ลือดออกมปี ระสิทธิภาพ ในระยะกอ่ นการระบาดและในระยะท่ีเกิดโรคระบาด อาสาสมัครสาธารณสุขต่างด้าว หมายถึง บุคคลชาวตา่ งดา้ วที่มีสัญชาติเมยี นมาท่ีเขา้ มาอาศัยอยู่ใน ประเทศไทยบริเวณพ้ืนที่เขตเทศบาลนครแม่สอด อาเภอแม่สอด จังหวัดตาก ปฏิบัติหน้าท่ีเป็นจิตอาสาดา้ น สาธารณสุขและได้รบั การอบรมความรู้ด้านสุขภาพจากบุคคลากรสาธารณสุขของคนไทย รับผิดชอบทั้งหมด จานวน 7 ชมุ ชน ไดแ้ ก่ ชุมชนโมฮายีรีน ชุมชนบงั คลาเทศ ชมุ ชนอัลซอร์ ชมุ ชน มะดนี ะห์ ชมุ ชนคอกควาย ชมุ ชน บวั คูณ และชุมชนร่วมใจ ในเขตเทศบาลนครแมส่ อด อาเภอแม่สอด จงั หวัดตาก ขอบเขตการศึกษา การศกึ ษาครงั้ นมี้ ขี อบเขตการวิจัย 4 ดา้ น คือ 1) ดา้ นเนือ้ หามุง่ ศกึ ษาความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งความรู้และ การปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสขุ ตา่ งด้าวในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลอื ดออก ในเขตเทศบาลนครแม่สอด อาเภอแม่สอด จังหวดั ตาก 2) ด้านประชากร คือ อาสาสมคั รสารณสขุ ตา่ งด้าวในเขตเทศบาลนครแม่สอด ท้ังหมด จานวน 100 คน 3) ด้านพื้นที่ คือ อาเภอแม่สอด จังหวัดตาก ทย่ี ังอาศัยอยูใ่ นเขตเทศบาลนครแม่สอด อาเภอแม่สอด จงั หวดั ตาก และ 4) ดา้ นเวลา ระหวา่ งเดือนตลุ าคม พ.ศ.2562 – กรกฎาคม พ.ศ.2563 กรอบแนวคิดการวิจยั จากการศึกษาข้อมูลงานวจิ ัยโรคไข้เลือดออกผู้วจิ ยั พบวา่ การปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขและ พฤตกิ รรมของประชาชนในการป้องกนั และควบคุมโรคไข้เลือดออกยงั อยู่ในระดับ ปานกลางและตา่ ตามลาดบั และ บริเวณพ้ืนท่ีที่มีชาวตา่ งดา้ วอาศัยอยยู่ ังเกิดการระบาดของโรคเพิ่มข้นึ อย่างตอ่ เน่ือง (Peanumlom, P., 2019) จึงควรมกี ารกระต้นุ จากองค์กรภาครัฐให้ประชาชนชาวไทยและชาวต่างด้าวทอ่ี าศัยอยู่ในอาณาเขตประเทศไทย รวมถงึ อาสาสมัครสาธารณสขุ ชาวต่างชาติมีการดาเนนิ การอยา่ งจริงจังและสมา่ เสมอเพ่ือส่งเสริมความเข้มแข็งใน การดาเนนิ งานป้องกนั ควบคุมโรคไขเลือดออกในชุมชนต่างดา้ วในประเทศไทยรวมถึงอาสาสมัครสาธารณสุขชาว ตา่ งดา้ วมีการดาเนินการอยา่ งจริงจงั และสม่าเสมอเพ่อื ส่งเสริมความเข้มแขง็ ในการดาเนนิ งานป้องกันและควบคุม โรคไขเลอื ดออกในชุมชนตา่ งดา้ วในประเทศโดยเฉพาะพน้ื ที่เขตเทศบาลนครแม่สอด อาเภอแม่สอด จงั หวัดตากให้ เกดิ การระบาดของโรคน้อยลงแนวคิดนผ้ี ู้ศกึ ษาจงึ สนใจศึกษาความสัมพันธร์ ะหวา่ งความร้แู ละการปฏบิ ัติงานของ วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปีท่ี 8 ฉบับที่ 1 เดอื น มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

87 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มลู TCI กลมุ่ ที่ 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) อาสาสมัครสาธารณสขุ ต่างดา้ วในการปอ้ งกันและควบคุมโรคไขเ้ ลอื ดออก ในเขตเทศบาลนครแม่สอด อาเภอแม่สอด จงั หวัดตาก ตามภาพที่ 1 กรอบแนวคดิ การวิจยั ดังน้ี ตวั แปรตน้ ตัวแปรตาม ความรเู้ รื่องโรคไข้เลือดออก การปฏบิ ัตงิ านของอาสาสมัครสาธารณสขุ ตา่ งด้าวในการ ป้องกนั และควบคุมโรคไขเ้ ลอื ดออก แบ่งออกไป 4 ด้าน ไดแ้ ก่ 1. ดา้ นการวางแผน 2. ดา้ นการจัดกิจกรรมรณรงค์ 3. ดา้ นการประสานงาน 4. ด้านการประเมนิ ผล ภาพที่ 1 กรอบแนวคดิ การวจิ ยั วธิ ีดาเนินงานวิจยั การศกึ ษาในครัง้ น้ีเปน็ การศึกษาภาคตัดขวาง (cross-sectional study) มรี ะยะเวลาในการศกึ ษาเดือน ตลุ าคม พ.ศ.2562 – กรกฎาคม พ.ศ.2563 ประชากรและกลุ่มตัวอย่างทีศ่ ึกษา ประชากรและกลุม่ ตัวอย่างในการศึกษาคร้ังนี้ คอื อาสาสมัครสาธารณสุขต่างด้าว ทย่ี งั อาศยั อยู่ในเขต เทศบาลนครแม่สอด อาเภอแม่สอด จังหวดั ตาก ท้งั หมดจานวน 100 คน เคร่อื งมอื ทใ่ี ช้ในการวจิ ยั เครือ่ งมือท่ใี ช้ คือ แบบสอบถามดัดแปลงมาจากแบบสอบถามการดาเนนิ งานป้องกนั ควบคุมการร ะบาด ของโรคไขเ้ ลอื ดออกโดยอาสาสมัครสาธารณสขุ และวธิ ีปฏิบตั ิตนเพ่ือปอ้ งกันโรคไข้เลือดออกของประชาชน ตาบล บงตนั อาเภอดอยเตา่ จงั หวัดเชยี งใหม่ (Narupol Punya N.,2014) ซ่ึงแบบสอบถามเป็นภาษาไทย ส่วนผตู้ อบ แบบสอบถามเป็นภาษาเมยี นมาและใช้ภาษาเมยี นมาผา่ นการสื่อสาร โดยเจา้ หน้าท่สี าธารณสุขที่สามารถส่ือสาร เป็นภาษาเมียนมาได้ แบบสอบถาม แบง่ ออกเป็น 3 สว่ น ดงั น้ี ส่วนท่ี 1 เปน็ ข้อมลู ท่วั ไปของประชากรท่ีที่ศกึ ษามีลกั ษณะเป็นแบบสารวจรายการ (check lists) โดยถาม เก่ียวกบั ข้อมลู ส่วนบคุ คล ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศกึ ษา อาชพี รายได้ ระยะเวลาในการปฏิบัติ หน้าที่อาสาสมคั รสาธารณสขุ และจานวนหลังคาเรอื นทรี่ ับผดิ ชอบ วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ี่ 8 ฉบบั ท่ี 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

88 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มูล TCI กลุม่ ที่ 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) ส่วนท่ี 2 แบบสอบถามความรเู้ รื่องโรคไข้เลอื ดออกของ เปน็ แบบเลือกตอบถกู ผิดจานวน 20 ขอ้ คะแนนเต็มทงั้ หมด 20 ข้อ เกณฑ์การให้คะแนนถ้าตอบถูกให้ 1 คะแนน และตอบผดิ ให้ 0 คะแนน แปลผลการ แบง่ กลุ่มระดบั ความรู้ โดยใชเ้ กณฑก์ ารแบง่ ระดับคะแนนแบบเกณฑ์อ้างอิงตามหลักการ learning for mastery ของ Bloom (1971) คานวณเปน็ ร้อยละ แบง่ ออกเป็น 3 ระดับ ดงั น้ี ระดบั สงู หมายถึง คะแนนระหว่าง 16 – 20 คะแนน (ร้อยละ 80 ขนึ้ ไป) ระดับปานกลาง หมายถึง คะแนนระหว่าง 12 -15 คะแนน (รอ้ ยละ 60 – 79) ระดับต่า หมายถึง คะแนนระหวา่ ง 0 – 11 คะแนน (ต่ากวา่ รอ้ ยละ 60) ส่วนท่ี 3 แบบสอบถามการปฏิบัติงานป้องกันควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกของ อาสาสมัครสาธารณสุขต่างด้าว ประกอบดว้ ย ด้านการวางแผน 5 ขอ้ ดา้ นการจดั กิจกรรมรณรงค์ 11 ขอ้ ด้านการ ประสานงาน 5 ขอ้ และด้านการประเมนิ ผล 6 ขอ้ รวมทัง้ หมด 27 ขอ้ มีเกณฑก์ ารวดั 3 ระดบั ดาเนนิ การประจา ได้ 3 คะแนน ดาเนนิ การบางคร้ังได้ 2 คะแนน และไม่ไดด้ าเนนิ การได้ 1 คะแนน โดยมีคะแนนเตม็ 81 คะแนน เพอื่ ใช้ในในการแปลความเปน็ อันตรภาคชน้ั 3 ระดับ (rating scales) (Chujai Kuharatanachai, 1999) เกณฑ์การใหค้ ะแนนวัดระดบั การปฏิบัตงิ าน เปน็ 3 กลุ่ม ดังนี้ ระดับสงู หมายถงึ คะแนนมากกวา่ หรือเทา่ กบั 69 คะแนน ระดบั ปานกลาง หมายถึง คะแนนระหว่าง 49 – 68 คะแนน ระดับตา่ หมายถึง คะแนนน้อยกว่าหรือเท่ากบั 48 คะแนน การแปลผลการปฏบิ ตั งิ านปอ้ งกันควบคุมโรค 4 ด้าน พจิ ารณาจากคะแนนที่ไดจ้ ากแบบสอบถาม คิดค่า คะแนนจาก (คะแนนสูงสุด – คะแนนตา่ สุด) จานวนชนั้ สรปุ เป็น 3 ระดับ คอื ระดบั มาก ระดับปานกลาง และ ระดบั น้อย ตามเกณฑ์ของ Best (1977) ดงั น้ี ชว่ งคะแนน = คะแนนสงู สดุ – คะแนนตา่ สดุ = 3 - 1 = 0.66 จานวนชน้ั 3 โดยแบ่งคะแนนได้ 3 ระดบั ดังนี้ คะแนนเฉลีย่ ระดบั การปฏบิ ัติงาน 2.34 - 3.00 ระดับมาก 1.67 - 2.33 ระดบั ปานกลาง 1.00 - 1.66 ระดับนอ้ ย การตรวจสอบคุณภาพของเครอื่ งมือ การตรวจสอบคุณภาพของเคร่อื งมอื ใน ความตรงของเนื้อหา ความถกู ตอ้ งครบถว้ น ครอบคลุ มเนอื้ หาและ ความเหมาะสมของภาษา จากผ้ทู รงคุณวฒุ ิ 3 ท่าน ดา้ นความรู้เร่อื งโรคไข้เลือดออก ได้คา่ IOC ในภาพรวม เท่ากับ 0.72 ด้านการปฏิบัติงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกตรวจสอบได้ค่า IOC ในภาพรวม เท่ากับ 0.77 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปีที่ 8 ฉบบั ท่ี 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

89 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานข้อมูล TCI กลมุ่ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) การตรวจสอบคณุ ภาพเคร่ืองมอื ที่ใช้ในการศึกษาครงั้ นี้ ผวู้ จิ ัยนาแบบสอบถามที่ไดป้ รับปรุงเน้อื หาและไปทดลอง กบั กลุม่ ตัวอยา่ งอาสาสมัครสาธารณสขุ ตา่ งดา้ ว นอกเขตเทศบาลนครแม่สอด อาเภอแมส่ อด จงั หวดั ตาก จานวน 30 คน ซึง่ แบบความรหู้ าคา่ ความเชื่อมัน่ โดยใช้สูตร KR – 20 ไดค้ ่าเทา่ กับ 0.72 ในส่วนของการหาคา่ ความเชื่อม่ัน ของแบบสอบถามการปฏิบตั ิงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกใช้สูตรสัมประสทิ ธแิ์ อลฟ่าของครอนบาค (cronbach’s alpha coefficient) ได้ค่าความเช่อื ม่นั 0.88 วิธีการเก็บข้อมูล 1. ตดิ ต่อประสานงานอาสาสมัครสาธารณสขุ ต่างด้าวในเขตเทศบาลนครแม่สอดเพื่อขอความรว่ มมือเข้า เกบ็ ขอ้ มลู ในพืน้ ที่ และแจง้ กาหนดวัน เวลา ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล โดยผ้ศู ึกษาดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล พร้อมดว้ ยทีมงานเจา้ ท่ีสาธารณสุขท่ีสามารถส่ือสารเปน็ ภาษาเมยี นมาได้ 2. การสอบถามมีการชแ้ี จงถึงวตั ถุประสงค์ของการศกึ ษา ขั้นตอนรายละเอยี ดของการเกบ็ รวบรวมข้อมูล เพื่อใหป้ ระชากรที่ศึกษาทราบทุกประเด็น พร้อมชีแ้ จงใหท้ ราบถึงสิทธขิ องประชากรที่ศกึ ษาในการทจี่ ะตอบรับ หรอื ปฏเิ สธการใหข้ ้อมูล รวมท้ังสามารถถอนตวั จากการศึกษาได้ตลอดเวลาหากต้องการ โดยไม่มีผลเสยี ใดๆ ใช้ ภาษาเมียนมาโดยผ่านการสื่อสารจากเจา้ หน้าท่สี าธารณสุขท่ีสามารถสื่อสารเปน็ ภาษาเมยี นมาได้ และเกบ็ ข้อมูล การศึกษาดังกลา่ วจะถูกปกปดิ ไว้เปน็ ความลบั และนาเสนอข้อมลู ในภาพรวมของการศึกษา การวิเคราะหข์ ้อมลู การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา หาค่าความถ่ี ค่าเฉล่ีย ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน และสถิติเชิง วเิ คราะหส์ หสัมพันธแ์ บบเพียรส์ ัน การพิทกั ษส์ ทิ ธ์ิกลุ่มตัวอย่างและจรยิ ธรรมการวจิ ัย การศึกษาครง้ั น้ผี ศู้ กึ ษาได้คานงึ ถงึ จรยิ ธรรมและมกี ารพิทักษ์สิทธ์ปิ ระชากรศกึ ษาโดยขออนุมัติรบั รองจาก คณะกรรมการจริยธรรมการวจิ ัยคณะสาธารณะสุขศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ เอกสารเลขท่ี ET 007/2563 วันท่ี 27 มนี าคม พ.ศ.2563 - 27 มีนาคม พ.ศ.2565 และคณะกรรมการจรยิ ธรรมของโรงพยาบาลแม่สอด อาเภอ แมส่ อด จงั หวดั ตาก เอกสารเลขท่ี MSHP 008/2563 วนั ท่ี 30 มีนาคม พ.ศ.2563 -30 มนี าคม พ.ศ.2564 ผลการวจิ ยั ส่วนที่ 1 ขอ้ มูลทว่ั ไป จากการศกึ ษา พบว่า อาสาสมัครสาธารณสุขต่างด้าวส่วนใหญ่เปน็ เพศหญิง ร้อยละ 84.0 รองลงมา คอื เพศชายร้อยละ 16.0 ส่วนใหญม่ ีอายุ 36 – 59 ปี ร้อยละ 44.0 รองลงมาคอื ชว่ งอายุ 60 ปีข้ึนไปรอ้ ยละ 22.0 และ อายุ 22 – 35 ปี ร้อยละ 21 สถานภาพสมรสส่วนใหญ่ มีคู่ร้อยละ 67.0 รองลงมา คือโสดร้อยละ 17 ระดับ การศึกษาสว่ นใหญป่ ระถมศึกษาร้อยละ 54.0 รองลงมาระดับมธั ยมศึกษาตอนต้นร้อยละ 20.0 อาชพี หลักส่วน ใหญ่เปน็ แม่บ้านรอ้ ยละ 45.0 รองลงมาอาชีพรบั จา้ งร้อยละ 28.0 รายได้ท่ไี ด้รบั ตอ่ ครอบครัวสว่ นใหญ่ ไมพ่ อใช้ วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีท่ี 8 ฉบบั ท่ี 1 เดือน มกราคม – มิถนุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

90 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมลู TCI กลุ่มที่ 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) เป็นหน้ี ร้อยละ 46.0 รองลงมา พอใช้ไม่มีเก็บ ร้อยละ 28.0 ได้รับการคัดเลือกเปน็ อาสมัครเปน็ อสต. และ ปฏิบัติงานสว่ นใหญ่ 0 – 5 ปี ร้อยละ 61.0 รองลงมาคือ 6 -10 ปี ร้อยละ 22.0 และมหี ลังคาเรอื นทีด่ แู ลรับผดิ ชอบ 10 - 50 หลังคาเรือน ส่วนใหญ่ ร้อยละ 91.0 รองลงมา คอื 51 – 100 หลงั คาเรือนร้อยละ 6.0 และ 101 – 150 หลงั คาเรอื น รอ้ ยละ 2.0 ส่วนท่ี 2 ความรเู้ รื่องโรคไขเ้ ลือดออก ตารางท่ี 1 ระดบั ความรู้เร่อื งโรคไขเ้ ลือดออกของอาสาสมคั รสาธารณสขุ ตา่ งดา้ ว เขตเทศบาลนครแม่สอด อาเภอแมส่ อด จังหวัดตาก (n=100) ระดับความรู้ จานวน (คน) ร้อยละ ระดับสงู ( 16 – 20 คะแนน) 57 57.0 ระดับปานกลาง (12 - 15 คะแนน) 33 33.0 ระดับร้ตู ่า (0 - 11 คะแนน) 10 10.0 Mean = 16.33, S.D = 3.22, min =11, max =20 จากตารางที่ 1 พบว่า ระดับความรู้เร่อื งโรคไขเ้ ลือดออกของอาสาสมัครสาธารณสุขตา่ งดา้ ว ส่วนใหญ่มี ความรู้ในระดับสงู รอ้ ยละ 57.0 รองลงมาคือ ระดับปานกลาง ร้อยละ 33.0 และระดบั ต่า รอ้ ยละ 10.0 สว่ นที่ 3 การปฏบิ ัตงิ านป้องกนั และควบคมุ โรคไข้เลือดออกของอาสาสมคั รสาธารณสุขตา่ งด้าว เขตเทศบาลนครแมส่ อด อาเภอแมส่ อด จงั หวดั ตาก ตารางที่ 2 ระดับการปฏิบัติงานป้องกนั และควบคมุ โรคของอาสาสมคั รสาธารณสุขต่างดา้ วเขตเทศบาลนครแม่ สอด อาเภอแมส่ อด จงั หวัดตาก (n=100) ระดับการปฏิบตั ิงานป้องกนั และควบคุม จานวน (คน) ร้อยละ โรคไขเ้ ลอื ดออก 25 25.0 ระดบั สูง (≥ 69 คะแนน) 49 49.0 ระดับปานกลาง (49 – 68 คะแนน ) 26 26.0 ระดบั ต่า (≤ 48 คะแนน) Mean = 58.00, S.D = 14.46, min = 27, max = 77 จากตารางที่ 2 พบวา่ ระดบั การปฏิบัติงานงานของอาสาสมัครสาธารณสุขต่างด้าวในการป้องกัน และ ควบคุมโรคไข้เลือดออก ส่วนใหญ่อยูร่ ะดบั ปานกลาง รอ้ ยละ 49.0 รองลงมาคือ ระดับต่า ร้อยละ 26.0 และ ระดับสูง รอ้ ยละ 25.0 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีท่ี 8 ฉบับที่ 1 เดอื น มกราคม – มิถนุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

91 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอยูใ่ นฐานขอ้ มูล TCI กลุม่ ที่ 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) ตารางท่ี 3 ระดับการปฏิบัตงิ านรายด้านของอาสาสมคั รสาธารณสขุ ตา่ งด้าวในการป้องกันและควบคุมโรคไขเ้ ลือดออก(n=100) ตัวแปร Mean S.D. ระดับ การปฏบิ ตั งิ านของอาสาสมัครสาธารณสุขตา่ งดา้ วในการปอ้ งกันและ ควบคุมโรคไขเ้ ลือดออก 1.89 0.77 ปานกลาง 2.30 0.55 ปานกลาง ในภาพรวม 2.44 0.76 มาก ด้านการวางแผน 2.33 0.90 ปานกลาง ด้านการจดั กจิ กรรมรณรงค์ 2.03 0.84 ปานกลาง ดา้ นการประสานงาน ดา้ นการประเมนิ ผล จากตารางที่ 3 ระดบั การปฏิบัติงานของอาสาสมคั รสาธารณสุขต่างด้าวในการป้องกันและควบคุมโร ค ไขเ้ ลือดออกในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ผลการปฏิบตั ิงานปอ้ งกนั โรคไข้เลอื ดออกในแต่ละดา้ น ไดแ้ ก่ ดา้ น การวางแผน อยใู่ นระดับปานกลาง (Mean = 2.30, S.D. = 0.55) ด้านการจดั กจิ กรรมรณรงค์ อยใู่ นระดับ สูง (Mean = 2.44 , S.D. = 0.76) ดา้ นการประสานงานอยูใ่ นระดับปานกลาง (Mean = 2.33, S.D. = 0.90) และ ดา้ นการประเมนิ ผล อยู่ในระดบั ปานกลาง (Mean = 2.03, S.D. = 0.84) สว่ นท่ี 4 ความสมั พนั ธ์ระหว่างความรแู้ ละการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขต่างด้าวในการป้อง กัน และควบคมุ โรคไข้เลอื ดออกไขเ้ ลือดออกในเขตเทศบาลนครแมส่ อด อาเภอแมส่ อด จงั หวัดตาก รายดา้ น ตารางที่ 4 การวเิ คราะหห์ าความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งความรู้และการปฏบิ ัตงิ านของอาสาสมัครสาธารณสขุ ต่างด้าวใน การปอ้ งกันและควบคมุ โรคไข้เลอื ดออก รายด้านและโดยภาพรวม ตัวแปร r p - value - 0.057 0.573 ด้านการวางแผน - 0.135 0.181 ด้านการจัดกจิ กรรมรณรงค์ - 0.207 0.039* ดา้ นการประสานงาน - 0.289 0.004* ดา้ นการประเมนิ ผล 0.368 0.017* โดยภาพรวม *p – value < .05 จากตารางท่ี 4 พบว่า ความรู้เรือ่ งโรคไขเ้ ลือดออกมีความสัมพันธก์ ับการปฏิบัติงานของอาสาสมัคร สาธารณสขุ ต่างดา้ วในการปอ้ งกนั และควบคมุ โรคไข้เลือดออกในภาพรวม อยู่ในระดบั ตา่ อย่างมีนัยสาคญั ทางสถิติ วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ี่ 8 ฉบบั ที่ 1 เดอื น มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

92 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานข้อมูล TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) ท่รี ะดับ 0.017 และมีความสัมพันธ์ระดับต่าทางลบกับการปฏิบัตงิ านในการปอ้ งกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก 2 ดา้ น ไดแ้ ก่ ด้านการประสานงาน (p = 0.039) และดา้ นการประเมนิ ผล (p = 0.004) อภิปรายผล การศกึ ษาความสัมพันธ์ระหวา่ งความรแู้ ละการปฏิบตั ิงานของอาสาสมัครสาธารณสุขตา่ งด้าวในการป้องกัน และควบคมุ โรคไขเ้ ลอื ดออกในครั้งนี้สามารถอภปิ รายผล ได้ดังไปนี้ 1. ระดับความรู้เรื่องโรคไขเ้ ลือดออกของอาสาสมคั รสาธารณสขุ ต่างด้าวมรี ะดบั ความรู้ในภาพรวมอยู่ใน ระดับสงู โดยมีระดบั ความรูใ้ นเรื่องโรคไข้เลือดออกท่ีมีคะแนนสูงได้แก่ การควบคุมลูกน้ายงุ ลาย เช่น การขุดลอก รางระบายนา้ รอบบา้ นไม่ให้มีน้าขงั เป็นวิธีทาลายแหล่งเพาะพันธุย์ ุงลายในชุมชนได้ การปรับปรงุ ส่ิงแวดล้อมให้ สะอาดไม่ให้เปน็ แหล่งเพาะพันธ์ลุ ูกน้า คอื หลกั 5 ป. และการปลอ่ ยปลากนิ ลูกนา้ ซึง่ เปน็ วิธหี น่ึงในการป้องการเกิด โรคไขเ้ ลือดออก เป็นตน้ ทง้ั น้ีเน่ืองจากอาสาสมัครสาธารณสุขตา่ งดา้ วไดร้ ับการฝึกอบรมและพัฒนาความรู้เรื่อง โรคไข้เลอื ดออกจากเจ้าหน้าท่สี าธารณสขุ ของภาครัฐและเอกชนเปน็ ประจาทุกปี นอกจากนีแ้ ลว้ ยังมีอาสา สมัคร สาธารณสขุ ตา่ งด้าวส่วนหนึ่งปฏิบตั ิงานมาแลว้ 6 – 10 ปี รอ้ ยละ 22.00 ซ่งึ ถือวา่ เป็นผู้ที่มีประสบการณใ์ น การ ทางานในเรือ่ งน้ีมาอยา่ งดีจึงส่งผลให้อาสาสมัครสาธารณสุขต่างดา้ วมคี วามรู้เรอื่ งโรคไขเ้ ลือดออกสูงสอดคล้องกับ การศกึ ษาของ (Winai Panoan, 2017) ทศี่ ึกษาเร่อื ง ความรแู้ ละทักษะในการป้องกนั และควบคุมโรคไข้เลือดออก ของอาสาสมัครสาธารณสุข ประจาหมูบ่ า้ น อาเภอปาย จังหวัดแมฮ่ อ่ งสอน พบว่า อาสาสมคั รประจาหมู่บ้าน มคี วามรู้เกยี่ วกบั โรคไข้เลอื ดออกในภาพรวมอยใู่ นระดบั มาก โดยมีความรู้มากที่สุดในเรื่องการกาจัดลูกนา้ ยุงลาย โดยการควา่ ภาชนะไมใ่ ห้มนี ้าขัง ควรทาต่อเนือ่ งติดต่อกันท่ีทุก 7 วัน การกาจดั ลกู น้า ยุงลายโดยการคว่าภาชนะ ไมใ่ ห้มนี ้าขัง ควรทาต่อเนื่องตดิ ตอ่ กันทุก 7 วัน รองลงมาในเรื่องไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่ออันตรายโดยมียุงลาย เปน็ พาหะนาโรคและเรือ่ งผู้ทปี่ ว่ ยเป็นโรคไข้เลือดออกแลว้ สามารถเป็นซ้าได้หากถูกยุงลายท่มี ีเชื้อโรคไข้เลอื ดออก เปน็ ต้นสอดคลอ้ งกบั การศกึ ษาของ (Wimonrat Tanomsidachai & et. al, 2016) ที่ทาศึกษาเรอื่ ง การมสี ว่ นร่วม ในการป้องกันและควบคุมโรคไขเ้ ลอื ดออกของอาสาสมัครสาธารณสขุ ประจาหมู่บา้ น อาเภออ่าวลึก จงั หวัดกระบี่ พบว่า อาสาสมัครสาธารณสขุ ประจาหมู่บ้านมีความร้เู กย่ี วกบั เร่อื งโรคไข้เลือดออกอยูใ่ นระดบั มา ก รอ้ ยละ 74.1 สอดคล้องกบั ของ (Atitap Jinda, 2014) ท่ที าการศกึ ษาปัจจยั ท่ีมผี ลต่อการปฏิบัติงานควบคุมและป้องกันโรค ไข้เลอื ดออกของอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้านในจังหวดั พังงา พบว่า ดา้ นความร้เู รอื่ งไข้เลือดออกของ อาสาสมัคร สาธารณสุขประจาหมู่บ้านส่วนใหญ่มีความรู้ เรื่องการควบคุมและป้องกันโรคไขเ้ ลือดออกอยใู่ น ระดบั สงู รองลงมามีความรู้อยู่ในระดับปานกลาง เน่อื งมาจากการทอี่ าสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน ใน จังหวัดพังงาส่วนใหญ่เป็น ผทู้ ี่ปฏิบตั หิ นา้ ทมี่ านานปฏิบัตหิ น้าทีม่ ากกวา่ 10 ปี และได้รับการอบรมฟ้นื ฟคู วามรู้จาก เจ้าหน้าทีส่ าธารณสขุ มาอย่างตอ่ เน่ืองประกอบกับการไดร้ ับความรู้จากสื่อต่าง ๆ ทมี่ อี ยอู่ ยา่ งแพรห่ ลาย ไม่ว่าจะ เปน็ โทรทศั น์ อนิ เตอรเ์ นต็ รวมทง้ั เอกสารเผยแพร่ ตา่ ง ๆ จงึ สง่ ผลใหอ้ าสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมบู่ ้าน ใน วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปที ี่ 8 ฉบับท่ี 1 เดอื น มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

93 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมลู TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) จงั หวัดพังงา สว่ นใหญเ่ ปน็ ผทู้ มี่ คี วามรู้ในระดับสูง และยังสอดคลอ้ งกบั การศกึ ษาของ (Bunnapat Chaimay and Pattama Rakkua, 2017) เรื่อง ปัจจยั ที่มีผลต่อบทบาทในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกของอาสาสมัคร สาธารณสขุ ประจาหมบู่ ้านตาบลแหลมโตนด อาเภอควนขนุน จังหวัดพทั ลุง พบว่า อาสาสมัครสาธารณสุขประจา หมูบ่ า้ น ส่วนใหญ่มคี วามรใู้ นระดบั สงู (79.82%)โดยมคี ะแนนเฉลี่ยของความรเู้ ทา่ กบั (Mean13.25,SD.1.67)จากการศกึ ษา บทบาทในการควบคุมและป้องกันโรคไขเ้ ลือดออก พบว่า อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน ส่วนใหญ่มี บทบาทในการควบคุมและปอ้ งกนโรคไข้เลอื ดออกในภาพรวมอยู่ ในระดบั สูง (71.05%) และเมอ่ื พจิ ารณารายด้าน พบว่า บทบาทในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกทุกด้านอยู่ ในระดับสูงทั้งหมด ได้แก่ การส่ือสาร สาธารณสขุ เป็นตน้ 2. การปฏบิ ัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขต่างด้าวในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก พบว่า ภาพรวมอยู่ใน ระดบั ปานกลาง เมอ่ื จาแนกแต่ละด้านของการปฏิบัติงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลอื ดออก ได้แก่ ด้านการประสานงานอยู่ในระดบั ปานกลาง เพราะ บางชุมชนอาสาสมคั รสาธารณสขุ คนไทย ประธานชมุ ชน คนไทย สามารถสอื่ สารเปน็ ภาษาเมียนมาได้ แตบ่ างชมุ ชนอาสาสมัครสาธารณสุขคนไทย ประธานชมุ ชนคนไทย ไมส่ ามารถสอ่ื สารเปน็ ภาษาเมียนมา จงึ ทาใหก้ ารประสานงานอย่ใู นระดบั ปานกลาง เปน็ ต้น และดา้ นการวางแผน อยู่ในระดับปานกลาง เนื่องจากอาสาสมัครสาธารณสุขต่างชาติไม่ได้เขา้ รว่ มประชุมวางแผนกับอาสาสมัคร สาธารณสุขคนไทย และไม่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณในการดาเนินงาน จงึ ทาได้เพยี งให้ความรว่ มมือใน ด้าน การจัดกจิ กรรมรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกบางครงั้ และไม่ตอ่ เน่ือง จึงทาให้การประสานงานอยู่ใน ระดบั ปานกลาง เป็นตน้ สว่ นดา้ นการประเมินผล อย่ใู นระดับปานกลาง เน่อื งจากการประเมินผลแต่ละชุมชน ให้ ความร่วมมือต่างกันบางชมุ ชนได้รับความร่วมมือทีด่ ี บางชุมชนไมไ่ ด้รบั ความร่วมมือที่ดีจึงทาให้โรคไข้เลือดออกยัง ระบาดอยใู่ นชุมชนท่มี ีลักษณะเปน็ เขตเมืองและเปน็ พืน้ ที่ตดิ ชายแดน ทาให้มีการระบาดอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง สอดคล้อง กบั การศกึ ษาของ (Narupol Punya, 2014) พบวา่ การดาเนนิ งานป้องกนั และควบคมุ การระบาดโรคไข้เลือดออก ของอาสาสมคั รสาธารณสุขตาบล บงตัน อาเภอดอยเตา่ จังหวดั เชยี งใหม่ มรี ะดับการดาเนนิ งานในภาพรวมอยู่ใน ระดับปานกลาง เช่น การแจกจ่ายและใส่ทราบกาจัดลูกน้าในภาชนะกักเก็บนา้ แก่ครวั เรือนในละแวกบา้ น ทีร่ บั ผิดชอบอย่างสมา่ เสมอ เข้าร่วมกจิ กรรมรณรงคป์ อ้ งกนั และควบคุมโรคไข้เลือดออกท่ีจัดขึ้นในหมู่บา้ นอย่าง ต่อเนื่องและสมา่ เสมอ และประสานงานเกย่ี วกับการดาเนนิ งานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกกับเจ้า หน้าที่ สาธารณสขุ เป็นประจา และสอดคล้องกับการศกึ ษาของ (Wasana Chomnanwat, 2013) เรื่อง การดาเนินงาน ของอาสาสมคั รสาธารณสขุ ในตาบลวงเหนือ อาเภอดอยสะเกด็ จงั หวัดเชยี งใหม่ ด้านการป้องกันโรคไข้เลือดออก พบว่าการประเมินผลภาพรวมอาสาสมัครสาธารณสุข ได้ปฏิบตั ิตามโครงการป้องกันโรคไขเ้ ลือดออก ตามท่ี กระทรวงสาธารณสขุ กาหนด อย่ใู นระดับปานกลาง สาหรับการดาเนินการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกของ อาสาสมัครสาธารณสขุ (อสม.) มกี ารแต่งต้งั คณะกรรมการและมอบหมายหนา้ ทอี่ ย่างเป็นรูปธรรมชัดเจน มีการ สารวจปัญหา ความตอ้ งการของชมุ ชนกอ่ นดาเนินงาน มีการเตรยี มชุมชนในการดาเนินงาน และการนาผลการ วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 เดอื น มกราคม – มถิ นุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook