Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือปีที่8ฉบับที่1ม.ค.-มิ.ย.64

วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือปีที่8ฉบับที่1ม.ค.-มิ.ย.64

Published by sucheerapanyasai, 2021-09-16 04:02:46

Description: วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือปีที่8ฉบับที่1ม.ค.-มิ.ย.64

Keywords: วารสาร

Search

Read the Text Version

วิทยาลัยพยาบาล บรมราชชนนี นครลำปาง สถาบนั อดุ มศึกษา ผลิตพยาบาล ทีม่ ีคณุ ภาพและเคารพคณุ คา่ ความเปน็ มนษุ ยเ์ พือ่ พฒั นาสู่ สงั คมผสู้ งู วยั ทีเ่ ปน็ สุข ขอแสดงความยินดีในโอกาสที่ ผอ.วาสนา มง่ั คง่ั เข้ารับพระราชทานเคร่อื งราชอิสรยิ าภรณ์ ชนั้ สายสะพาย ประจำปี 2563 และ รางวัลพยาบาลดีเด่น ประเภทผู้บริหารการศกึ ษา สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทย ประจำปี 2564 แสดงความยินดีกบั อาจารยท์ กุ ทา่ นที่ ได้รับพระราชทาน เครือ่ งราชอิสริยาภรณช์ น้ั สายสะพาย

วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื Journal of Health Sciences Scholarship ---------------------------------------- เจา ของ วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลำปาง คณะพยาบาลศาสตร สถาบนั พระบรมราชชนก บรรณาธกิ าร: ดร.ยงยทุ ธ แกว เตม็ ผูชว ยบรรณาธกิ าร: ดร.ศรีประไพ อนิ ทรช ัยเทพ อ.จิตอารี ชาตมิ นตรี ทป่ี รกึ ษาวารสารวชิ าการ ศ. เช่ียวชาญพเิ ศษ ดร.สญั ชยั จุตรสทิ ธา ผอู ำนวยการสถาบนั วจิ ยั วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั เชยี งใหม ศ.ดร.นพ.พงศเ ทพ ววิ รรธนะเดช ภาควชิ าเวชศาสตรช มุ ชน คณะแพทยศาสตรม หาวทิ ยาลัยเชยี งใหม ผอ. วาสนา มง่ั คง่ั ผอู ำนวยการวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลำปาง กองบรรณาธกิ าร ภาควชิ าเวชศาสตรช มุ ชน คณะแพทยศาสตรม หาวทิ ยาลัยเชยี งใหม คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลยั เชียงใหม ศ.ดร.นพ.พงศเ ทพ ววิ รรธนะเดช คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี รศ.ดร.เดชา ทำดี คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง ผศ.ดร.สขุ ศริ ิ ประสมสขุ คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลยั มหิดล วิทยาเขตนครสวรรค ผศ.ดร.สมพร สนั ตปิ ระสิทธก์ิ ลุ คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ดร.กาญจนาณฐั ทองเมอื งธัญเทพ มหาวทิ ยาลัยเนชน่ั ลำปาง ผศ.ดร.มยุรฉัตร กันยะมี วทิ ยาลัยการสาธารณสขุ สริ นิ ธร ขอนแกน ดร.พฒั นา นาคทอง วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนสี วรรคป ระชารกั ษ นครสวรรค ดร. พิทยา ศรเี มอื ง วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี เชียงใหม ดร.มธรุ ดา บรรจงการ วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลำปาง ดร.ชศู กั ด์ิ ยนื นาน วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลำปาง ดร.เอกรัตน ปน ประภาพนั ธ วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลำปาง ดร.ธรี ารตั น บญุ กณุ ะ วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลำปาง ดร. อจั ฉรา สทิ ธริ กั ษ วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลำปาง ดร.ศรปี ระไพ อนิ ทรช ัยเทพ ดร.ยงยทุ ธ แกว เตม็

วัตถุประสงค 1. เพื่อเผยแพรและสงเสริมความรูดานการพยาบาล การแพทย และการสาธารณสุขที่เปนประโยชนผานบทความ วชิ าการและผลงานวจิ ยั 2. เพ่ือเปนแหลง เสนอผลงานวชิ าการสำหรบั สมาชกิ ทางการพยาบาล การแพทย การสาธารณสุข และศาสตรอน่ื ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ งในเชงิ สขุ ภาพ 3. เพ่ือเสรมิ สรา งนักวชิ าการทต่ี อ ยอดเปนองคค วามรอู นั เปนประโยชนท างการพยาบาล การแพทย การสาธารณสุข และศาสตรอ น่ื ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ งในเชงิ สขุ ภาพ 4. เพอ่ื เปนสอ่ื กลางในการแลกเปล่ียนความรู ประสบการณท างวชิ าการ และการตดิ ตอ สมั พันธข องนกั วิชาการในเชิง สขุ ภาพ สำนกั งาน กองบรรณาธกิ ารวารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื กลมุ วจิ ยั และบรกิ ารวชิ าการ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลำปาง 268ถนนปาขามตำบลหัวเวียง อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง 52000 โทรศัพท 054-226254 ตอ 141 โทรสาร 054-225-020 Email: [email protected] กำหนดออกวารสาร: ราย 6 เดอื น (ปล ะ 2 ฉบบั ) มกราคม-มถิ ุนายน กรกฎาคม-ธันวาคม ทุกบทความที่ตีพิมพในวารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือนี้ ผา นการพจิ ารณากลน่ั กรองจากผทู รงคณุ วฒุ ทิ ม่ี ีความเช่ียวชาญในเรอ่ื งนน้ั ๆ อยา งนอ ย 2 ทา น ความคิดเห็นหรือขอความใด ๆ ในทุกบทความที่ตีพิมพในวารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ เปน วรรณกรรมของผเู ขยี นโดยเฉพาะและถือเปน ความรบั ผิดชอบของผเู ขยี นเทา นน้ั ทางสถาบนั ผจู ดั ทำไมจ ำเปน ตอ งเหน็ ดว ย ไมม ขี อ ผกู พนั ประการใด ๆ และไมม สี ว นรบั ผดิ ชอบแตอ ยา งใด

สารบญั mการวเิ คราะหอ งคป ระกอบของคณุ ลกั ษณะพน้ื ฐานสำหรบั การประกอบการธรุ กจิ 1 ของนกั ศกึ ษาพยาบาล วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครลำปาง 18 ธนวฒั น นองสุวรรณ, พชร วิวฒุ ,ิ ถาวร ลอ กา, เอกรตั น เชอ้ื อนิ ถา 33 mปจ จยั ทม่ี คี วามสมั พนั ธต อ พฤตกิ รรมการรบั ประทานอาหารเชา ของนสิ ติ คณะพยาบาลศาสตร 51 มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ 69 82 จารุวรรณ ไผตระกูล, มยุรฉัตร กันยะม,ี ฑิฆัมพร ภุมรินทร, มณีนาถ ศรีภา, สุธินี ศิริรัตน 99 mประสบการณการปองกันการตั้งครรภซำ้ ในวัยรุน 112 124 อญั ญา ปลดเปล้ือง 148 mการตดั สนิ ใจเลอื กรบั บรกิ ารทนั ตกรรมของผมู สี ทิ ธปิ ระกนั สงั คมในเขตจงั หวดั นครสวรรคป  พ.ศ. 2563 กชกร แถวสุวรรณ mการวเิ คราะหร ะบบการใหบ รกิ ารผูปว ยเบาหวานรายใหม จงั หวดั ลำปาง นงคราญ คชรกั ษา, ณฏั ฐฐ ภรณ ปญ จขันธ mความสมั พนั ธระหวางความรแู ละการปฏบิ ตั งิ านของอาสาสมคั รสาธารณสุขตางดา วในการปอ งกนั ควบคมุ โรคไขเ ลอื ดออกในเขตเทศบาลนครแมส อด อำเภอแมส อด จงั หวดั ตาก พนานตพ งศ ผดั ออ นอา ย, วราภรณ บญุ เชยี ง, อกั ษรา ทองประชมุ m ความสมั พนั ธร ะหวา งความรอบรดู า นสขุ ภาพกบั พฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหารในผปู ว ยโรคเบาหวาน ชนดิ ท่ี 2 เขต รพ.สต. บา นขว ง อำเภอหา งฉตั ร จงั หวดั ลำปาง กญั ฐณา รณศิ ชยะกรู mปจจัยที่มีความสัมพันธกับการบริหารความเสี่ยงทางคลินิกของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลสารภี จงั หวดั เชยี งใหม สปุ ราณี ใจตา, เดชา ทำดี mการสรา งกระบวนการทางความคดิ ของคนในชมุ ชนในการมสี ว นรว มอนรุ กั ษผ กั พน้ื บา น: กรณศี กึ ษา บานปงปาเปา อ.แมทะ จ.ลำปาง วลยั ลกั ษณ ขนั ทา, วนั วสิ าข ชจู ติ ร, จริ าพร เปง ราชรอง, สายทมิ วงศห อม mปจ จยั ทส่ี ง ผลตอ ความวติ กกงั วลและสมรรถนะดา นภาษาองั กฤษของนกั ศกึ ษาพยาบาล วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครลำปาง, ประเทศไทย นพิ ร ขดั ตา, โจนา จีน, ปนาส ปลาลีโอ, นฤพร พงษค ณุ ากร

สารบญั (ตอ ) mการรบั รู ทศั นคติ และความรตู อ มาตรการการเวน ระยะหา งทางสงั คมและผลตอ การปฏบิ ตั ติ วั ตาม 168 มาตรการสุขภาพจิตและคณุ ภาพชีวิตของประชาชน ในจงั หวัดลำปางในชวงการระบาดของโรคโควิด-19 185 207 นงลักษณ โตบันลือภพ, ธีรารัตน บุญกุณะ, บุศรินทร ผัดวงั , จิตตวีร เกียรติสุวรรณ 224 242 mประสทิ ธผิ ลของโปรแกรมการใชส ญั ลกั ษณโ ภชนาการ : ทางเลอื กสขุ ภาพ ในกลมุ ผบู รโิ ภค ตำบลเวียงเหนือ อ.เมือง จ.ลำปาง วรางคณา สันเทพ mความรอบรทู างสขุ ภาพและพฤตกิ รรมการดแู ลตนเองของผปู วยเบาหวานชนดิ ท่ี 2 ทส่ี ามารถควบคมุ ระดบั นำ้ ตาลในเลอื ดไดแ ละควบคมุ ไมไ ด สรุ ยิ า ฟองเกดิ , ยะวิษฐา สขุ วาสนะ, บศุ รา สขุ สวสั ด์ิ, ศภุ รา หมิ านนั โต mปจ จยั ทม่ี ผี ลตอ พฤตกิ รรมการออกกำลงั กายของผสู งู อายุ ตำบลลำปางหลวง แพรวพรรณ สุขปน mปจจัยทำนายคุณภาพชีวิตผูสูงอายุที่เคยมปี ระวัติหกลม อนรุ กั ษ แสงจนั ทร, เอกรตั น เชอ้ื อนิ ถา, พวงเพชร มศี ริ ิ, อจั ฉรา สทิ ธริ กั ษ

สารจากบรรณาธิการ วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื ปท่ี 8 ฉบบั ท่ี 1 พ.ศ. 2564 ฉบบั น้ี ทางวารสารยงั คงคณุ ภาพทง้ั ในเรอ่ื ง เนอ้ื หาและสาระทางวิชาการทางดา นสุขภาพเชนเดมิ โดยไดร บั ความสนใจจากนกั วจิ ัยภายนอกองคก รท่ีตอ งการ เผยแพรผลงานวชิ าการสง เขา มาตพี มิ พจ ากหลากหลายหนว ยงาน และทางวารสารยงั คงมุงมน่ั ทีจ่ ะพฒั นาคณุ ภาพ ของวารสารอยา งตอ เนอ่ื งเพอ่ื เขา สูการรบั รองคณุ ภาพวารสารในฐาน 1 ของศนู ยด ชั นกี ารอา งองิ วารสารไทยตอ ไป ภายในตน ป 2565 และในฉบบั ตนปน ท้ี างวารสารไดเ พม่ิ จำนวนบทความจาก 10 บทความเปน 15 บทความ เพ่ือ ประโยชนข องผอู า นทกุ ทา น บทความในวารสารฉบับน้อี อกเผยแพรในชวงที่ยังมีการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซ่ึงอาจจะมีหลายๆ ทานท่ีตองทำงานจากท่ีบาน (Work From Home) และมีนักวิจัยบางทานได สง ผลงานทางวิชาการมาลงตีพิมพในชวงสถานการณดังกลาว ซึ่งถือวาเปนการสรา งสรรคผลงานทางวิชาการให เกดิ ขน้ึ ทา มกลางความวนุ วายของโรคตดิ ตอ ในระดบั โลกเปน การพลกิ วกิ ฤตใหเ ปน โอกาสไดเ ปน อยา งดี สำหรบั บทความในฉบับนมี้ ีประเด็นท่ีนาอานหลายประเด็น อาทิเชน ประเดน็ การศึกษา มีวิจยั เรื่องการ วิเคราะหองคประกอบของคุณลักษณะพื้นฐานสำหรับการประกอบการธุรกิจของนักศึกษาพยาบาล, ปจจัยที่มี ความสมั พนั ธต อ พฤตกิ รรมการรบั ประทานอาหารเชา ของนสิ ติ คณะพยาบาลศาสตร รวมถึงปจ จัยทส่ี ง ผลตอ ความ วิตกกังวลและสมรรถนะดานภาษาอังกฤษของนกั ศึกษาพยาบาล ประเด็นถัดมาคือ ประเด็นงานชุมชนซ่ึงมีความ หลากหลายเชนเคย อาทิเชน ความสมั พนั ธร ะหวา งความรูและการปฏบิ ัตงิ านของอาสาสมคั รสาธารณสขุ ตา งดา ว ในการปองกันควบคุมโรคไขเลือดออก, การวิเคราะหระบบการใหบริการผูปวยเบาหวานรายใหม, ความสัมพันธ ระหวางความรอบรูดานสุขภาพกับพฤติกรรมการบริโภคอาหารในผูปวยโรคเบาหวานชนิดที่ 2, การสราง กระบวนการทางความคิดของคนในชุมชนในการมีสวนรวมอนุรักษผักพ้ืนบาน, ประสิทธิผลของโปรแกรมการใช สญั ลกั ษณโ ภชนาการ: ทางเลอื กสขุ ภาพในกลมุ ผูบ รโิ ภค, ความรอบรทู างสขุ ภาพและพฤตกิ รรมการดแู ลตนเองของ ผปู ว ยเบาหวานชนดิ ท่ี 2 ทส่ี ามารถควบคมุ ระดับนำ้ ตาลในเลอื ดไดแ ละควบคมุ ไมไ ด, การตดั สินใจเลอื กรบั บริการ ทนั ตกรรมของผมู ีสิทธิประกันสังคม, ประสบการณการปองกันการต้ังครรภซ้ำในวัยรุน รวมถงึ ทางบทความทาง คลนิ กิ ของพยาบาลวชิ าชพี : ปจ จัยทม่ี คี วามสัมพนั ธกบั การบรหิ ารความเสย่ี งทางคลนิ กิ ของพยาบาลวิชาชพี ตอ มา เปน ประเดน็ งานวจิ ยั เกย่ี วกบั ผสู ูงอายุ อาทเิ ชน ปจจยั ทำนายคณุ ภาพชวี ติ ผสู งู อายทุ เ่ี คยมปี ระวตั หิ กลม และปจ จัย ท่มี ีผลตอพฤติกรรมการออกกำลังกายของผูสูงอายุ ปดทายดวยบทความท่ีสอดคลองกับสถานการณโควิด เร่ือง การรับรู ทัศนคติ และความรูตอมาตรการการเวนระยะหางทางสังคมและผลตอการปฏิบัติตัวตามมาตรการ สขุ ภาพจติ และคณุ ภาพชวี ติ ของประชาชนในชว งการระบาดของโรคโควดิ -19 ซง่ึ บทความตา งๆ ท้ัง 15 บทความ เปน ประเด็นท่ีนาสนใจและเปนประโยชนใ นเชงิ วิชาการ หวงั วา ทกุ ทา นคงไดร บั ความรูจากบทความท่ีวารสารคัด สรรมาใหอ า นกนั แลว พบกนั ใหมฉ บบั หนา ครับผม ดร. ยงยุทธ แกวเต็ม บรรณาธิการ

1 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยใู่ นฐานข้อมลู TCI กล่มุ ท่ี 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) Factor Analysis of Foundational Characteristics for Entrepreneurship Among Nursing Students, Boromarajjonani College of Nursing, Nakhon Lampang Tanawat Nongsuwan *, Pachara Wiwoot ** Thaworn Lorga ***, Ekkarat Chuaintha ** (Received May 27, 2020, Revised: August 26, 2020, Accepted:December 16, 2020) Abstract This descriptive research aims to determine the key factors of foundational characteristics for entrepreneurship among nursing students. The data was collected from 567 nursing students enrolled in bachelor of nursing science program at Boromarajjonani College of Nursing, Nakhon Lampang. The data were analyzed by Exploratory Factor Analysis (EFA) with principal component analysis and varimax rotation. The findings revealed that there were six foundational characteristics for entrepreneurship that were identified: strategic management, contemporary business skills, success- oriented positioning, unique value creation and the ability to face uncertainty. These factors explained 42.9 % of accumulated variance. The six foundational characteristics for entrepreneurship among nursing students can be used to guide teaching in nursing entrepreneurship course and developing entrepreneurship characteristics among nursing students. Keywords: Exploratory factor analysis; Characteristics; Entrepreneurship; Nursing students * Instructor, Faculty of Boromarajjonani College of Nursing, Nakhon Lampang ** Instructor, Faculty of Boromarajjonani College of Nursing, Nakhon Lampang ** Instructor, Faculty of Maefahluang University วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื ปที ี่ 8 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

2 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานข้อมลู TCI กลมุ่ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) การวเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบของคุณลักษณะพน้ื ฐานสาหรับการประกอบการธุรกิจ ของนกั ศึกษาพยาบาล วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง ธนวฒั น์ นองสวุ รรณ *, พชร วิวฒุ ิ ** ถาวร ล่อกา ***, เอกรัตน์ ปิ่นประภาพันธ์ ** (วันรับบทความ : 27 พฤษภาคม 2563, วันแกไ้ ขบทความ : 26 สงิ หาคม 2564, วันตอบรบั บทความ : 16 ธนั วาคม 2563) บทคดั ยอ่ การวจิ ยั นี้เปน็ การวจิ ัยเชิงพรรณนา มีวัตถปุ ระสงค์เพ่ือศกึ ษาองค์ประกอบของคุณลักษณะพืน้ ฐานสาหรับ การประกอบการธุรกจิ ในนกั ศึกษาพยาบาล โดยเกบ็ ข้อมลู จากกลุ่มประชากรซ่งึ เปน็ นักศึกษาพยาบาล วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง จานวน 567 คน วิเคราะห์ขอ้ มูลโดยใช้การวิเคราะหอ์ งค์ประกอบเชิงสา รวจ (Exploratory Factor Analysis: EFA) ด้วยการวิธีสกัดองค์ประกอบหลัก (principal component analysis) และหมนุ แกนองค์ประกอบต้ังฉากดว้ ยวิธแี วรแิ มกซ์ (varimax) ผลการวิจัย พบว่าชุดตัวแปรที่ทาการศึกษาสามารถวิเคราะห์องค์ประกอบได้ 6 องค์ประกอบ ได้แก่ การบริหารจัดการเชงิ กลยุทธ์, การมที ักษะร่วมสมัย, การมีจดุ ยืนมุ่งความสาเร็จ, การสรา้ งสรรคค์ ณุ ค่าที่โดดเด่น และความสามารถในการเผชญิ กบั ความไมแ่ นน่ อน ซงึ่ สามารถอธิบายความแปรปรวนสะสมได้ร้อยละ 42.9 คณุ ลักษณะพืน้ ฐานสาหรบั การประกอบการธุรกจิ ของนักศกึ ษาพยาบาลทงั้ 6 องค์ประกอบน้ีผทู้ เ่ี กีย่ วข้อง สามารถนาไปใชก้ ารจดั การเรียนการสอนรายวิชาการประกอบการธุรกิจและการพฒั นาคุณลกั ษณะด้านนี้สาหรับ นักศึกษาพยาบาลตอ่ ไป คาสาคัญ: การวิเคราะหอ์ งค์ประกอบเชิงสารวจ, คุณลักษณะ, การประกอบการธรุ กิจ, นกั ศึกษาพยาบาล * วทิ ยาจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง ** อาจารยพ์ ยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง *** อาจารย์พยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั แม่ฟ้าหลวง วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปที ่ี 8 ฉบบั ท่ี 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

3 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มูล TCI กลมุ่ ท่ี 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) บทนา ในศตวรรษที่ 21 สังคมไทยได้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ท้ังทางด้านเทคโนโลยี เศรษฐกิจ สังคม ซ่งึ นาไปสูก่ ารแข่งขันทางดา้ นทางเศรษฐกจิ การค้าและอตุ สาหกรรมเป็นอย่างสูง โดยเฉพาะการขยายตวั ของขนาด ของธุรกจิ ท่ีมีความหลากหลาย ประเทศไทยจึงมกี ารปฏิรูปโครงสร้างทางเศรษฐกจิ โดยใชโ้ มเดล Thailand 4.0 (Division of research management and educational quality assurance, 2 0 1 6 ) คือ กา ร ขับเคล่ือน เศรษฐกิจ ด้วยนวัตกรรม “Value–based economy” และการใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ โดยมีฐานคิดหลัก คือ 1) เปลี่ยนจากการผลิตสินค้าโภคภัณฑ์ไปสู่สินค้าเชิงนวัตกรรม 2) เปลี่ยนจากการขับเคลื่อนประเทศด้วย ภาคอุตสาหกรรมไปสู่การขับเคล่ือนด้วยเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรม ส่งผลกระทบต่อการ เปลี่ยนแปลงแนวคิดด้านการดูแลสขุ ภาพของกระทรวงสาธารณสุขไปสู่การดแู ลสุขภาพที่มีมุงผลลัพธ์อย่างมีคุณค่า (value-based health care) (Santiprapob, 2018) คุณค่าของการดูแลสขุ ภาพของกระทรวงสาธารณสุขสะท้อนให้เห็นจากวิสัยทัศน์องค์กรคือ “เป็นองค์กร หลกั ด้านสุขภาพ ทรี่ วมพลงั สงั คม เพื่อประชาชนสุขภาพดี” ภายใตพ้ ันธกจิ “พฒั นาและอภิบาลระบบสุขภาพอย่าง มสี ่วนรว่ มและยั่งยนื ” โดยมเี ปา้ หมายรว่ มกนั คอื “ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหนา้ ที่มีความสขุ ระบบสขุ ภาพย่งั ยืน” และมีค่านิยมร่วม MOPH (Mastery, Originality, People-centeredness, Humility) หรือ เป็นนายตนเอง เร่งสรา้ งสิง่ ใหม่ ใส่ใจประชาชน ถ่อมตนออ่ นน้อม (Office of policy and strategy, office of the permanent secretary & ministry of public health ministry of public health, 2016) โดยสรปุ คือ มุ่งมั่นให้เกิดควา ม ย่ังยืนดา้ นสขุ ภาพของประชาชนคนไทย เกดิ ระบบบริการสุขภาพท่ีตอบสนองต่อความต้องการของประชา ชน เขา้ ถงึ ได้ เท่าเทียม และ ยตุ ิธรรม บุคลากรสุขภาพมีความสามารถเปน็ เลศิ และมีความสขุ ในการทางาน มกี ารนา การบรหิ ารเชิงกลยทุ ธม์ าใช้ในการจดั การระบบสุขภาพ เพ่อื ส่งมอบคณุ คา่ ทด่ี ีท่สี ุดให้กบั ประชาชนผู้รบั บริการ และ ระบบบริการสุขภาพ ภายใต้ทรัพยากรบุคคลและงบประมาณท่ีจากัด การบริหารจัดการที่ดีจึงมีความจาเป็น เพื่อช่วยให้ภารกิจและความรับผดิ ชอบท่ีกาหนด ตอบสนองต่อนโยบาย ( policy needs) ความต้องการของ ผูท้ ่ีเกี่ยวขอ้ ง (stakeholder needs) และความอยูร่ อดและเจรญิ เติบโตของหนว่ ยงาน (business needs) ไดอ้ ยา่ ง มีประสิทธิภาพและบรรลุเป้าหมายท่ีกาหนด บุคลากรสุขภาพทุกระดับไม่ว่าจะเป็นผ้บู รหิ ารหรือผู้ปฏิบัติงาน ต้องมกี ารตัดสนิ ใจดาเนนิ การบริหารงานขององค์กรหรือกลุ่มงาน ใหเ้ ปน็ ไปอย่างมปี ระสิทธภิ าพและประสิทธิผล มีทศิ ทางการดาเนินงานท่ชี ัดเจนและก้าวทนั การเปลยี่ นแปลงท่เี กดิ ข้นึ ตลอดเวลาได้อย่างมีคณุ ภาพทงั้ ในเชงิ รุกและ เชงิ รับ (Mojab, Zaefarian & Azizi, 2011)ซึง่ หากจะสาเร็จได้นัน้ จะต้องอาศยั มมุ มอง ความร้คู วามสามารถของ บคุ ลากรในองคก์ รสขุ ภาพในการบรหิ ารจัดการในเชงิ ธรุ กิจมากขึน้ (Guo, 2009) การประกอบการทางธรุ กิจ (entrepreneurship) เปน็ ความสามารถในการมองเห็นและวเิ คราะหโ์ อกาสทาง การตลาด ความสามารถในการส่อื สารและชักจูงใจลกู ค้า ผู้ร่วมค้า และภาคีเครอื ขา่ ย ความสามารถ ในการสรา้ ง เครือขา่ ยเพื่อการเรียนรแู้ ละการทากจิ กรรมรว่ มกนั ความสามารถในการตอบสนองต่อความไมม่ ่ันคง ใน วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ่ี 8 ฉบับที่ 1 เดอื น มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

4 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มลู TCI กลมุ่ ท่ี 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) สถานการณ์ต่าง ๆ (Santiprapob, 2018) ความยืดหยุ่นและความสามารถในการตัดสินใจได้อย่างรวดเรว็ ทนั การณ์ สามารถสร้างสรรค์โอกาสทางการคา้ ได้ มีความสามารถในการแขง่ ขันตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลงของ ระบบไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ มกี ลยทุ ธใ์ นเรื่องของความเสีย่ ง มีวธิ กี ารทก่ี ่อใหเ้ กิดเสถียรภาพทางการเงนิ และ เศรษฐกจิ (Mojab, Zaefarian & Azizi, 2011) มีความหลงใหลในงานทต่ี นเองทา มีความคิดและการกระทาเชิงรุก มีความอดทนเพยี รพยายาม มคี วามกระหายต่อความสาเร็จ ควบคมุ ตนเองได้ มเี ปา้ หมายทชี่ ัดเจน มสี ัมพนั ธภาพ ทด่ี ี มคี วามคดิ ริเริ่มสร้างสรรค์ มีความสามารถในการปรบั ตวั และความยืดหยนุ่ เป็นผกู้ ล้าเสีย่ ง พรอ้ มท่ีจะเรียนรู้ ตลอดเวลา ทักษะการสรา้ งเครอื ข่าย ความสามารถในการแกป้ ัญหาและการตัดสนิ ใจที่ดี มที ักษะพนื้ ฐานทางด้าน ธุรกจิ และคอมพิวเตอร์ (Guo, 2009) การคดิ เชงิ กลยุทธ์ ความสามารถในการสรา้ งแรงจูงใจทมี อดทนตอ่ ความไม่ แน่นอน (Ventureprise, 2013) มีความมุ่งมั่น ทุ่มเท (Rubino & Freshman, 2005; Guo, 2003) มีความรู้ จริยธรรมในการทาธุรกิจ ทัศนคติ ความตระหนัก การสร้างสรรค์โอกาส การจัดการ และทักษะทางสังคม (Salminen et al., 2014; Malekipour et al., 2018) การมองเหน็ โอกาสในเร่ืองของทักษะท่ีจาเปน็ ความกล้า เส่ียง ความเป็นนวัตกร ร ม ความสามารถใน กา รเสา ะแสวงหาข้อมูล (Yusoff & Mohammed, 2017) มงุ่ ประสทิ ธภิ าพและคณุ ภาพ การวางแผนและการกากบั ติดตาม (Andrade, Ben & Sanna, 2015) เปน็ ผ้นู าการ เปลย่ี นแปลง สร้างสรรคส์ ่งิ ใหม่ ๆ ทีแ่ ตกตา่ งไปจากเดิม คิดขยายต่อยอดทางธรุ กิจ (Reyes, Mariano, Herrera, Manipol & Cabardo, 2018) โดยสรปุ การประกอบการทางธุรกิจ สะท้อนใหเ้ หน็ ถึง ความสามารถของบุคคล ในการสร้างคณุ คา่ จากบางสิ่งบางอย่างท่ีดเู หมอื นไมม่ ีอะไรเลย เปน็ การแปลงความคดิ ให้เป็นการกระทาทีเ่ กิดจาก การมองเห็นโอกาส และพร้อมทีจ่ ะรับและจดั การกับความเส่ยี ง ซงึ่ ตอ้ งอาศยั ความคดิ สรา้ งสรรค์ ผลิตนวัตกรร ม รวมถึงความสามารถในการตัดสินใจการวางแผน การกากับติดตาม และการจดั การกบั โครงการเพื่อใหบ้ รรลุ เปา้ หมายท่ีต้งั ไว้ ซึง่ ตอ้ งอาศัยความมานะพยายาม ความอดทน ความยดื หยุน่ การปรบั ตัว และความหลงใหล ในสงิ่ ทีต่ นเองทา รวมถงึ ทักษะในการสรา้ งสมั พนั ธภาพ ทกั ษะทางธุรกจิ และเทคโนโลยี ซงึ่ คณุ ลักษณะดังกล่า วนี้ เปน็ คุณสมบัติทจ่ี าเปน็ ของทุกคน ไมว่ ่าจะอย่ทู ี่บ้าน ในท่ที างาน หรือในสังคม ซง่ึ จะทาใหบ้ ุคคลน้ัน ๆ สามารถ ดงึ โอกาสมาใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ ต่อการดารงชีวติ ของตนเอง การประกอบการธุรกิจขององคก์ ร และการสร้างสรรคส์ งั คม พยาบาลเป็นบุคลากรท่ีเป็นกาลงั สาคัญของกระทรวงสาธารณสุข ควรมองหาโอกาสในการสร้างสรรค์บรกิ าร พยาบาลทมี่ ีคณุ ค่าในหลากหลายรูปแบบ เพ่อื ใหท้ นั กับกระแสการเปลยี่ นแปลงของสงั คม และความตอ้ งการของ ผรู้ บั บรกิ าร เกดิ ความคุ้มคา่ คุ้มทุนในการให้บริการ พยาบาลจึงควรมีความรู้ความเขา้ ใจเกย่ี วกับแนวคดิ เชิงทาง ธุรกิจในงานบรกิ าร การจดั ระบบบริการพยาบาลท่ีสร้างคณุ ค่า และความพงึ พอใจต่อผู้ใชบ้ รกิ าร (Guo, 2009) โดย สถาบันการศึกษาพยาบาลมหี น้าที่สาคัญในการเตรียมพยาบาลยุคใหม่ให้มีความรู้ความเขา้ ใจ รวมถงึ ทกั ษะกา ร ประกอบการธรุ กจิ ตงั้ แต่เร่ิมกา้ วเขา้ สูว่ ิชาชีพ เพ่อื ให้สามารถนาความรู้และทักษะเหล่านไี้ ปใชใ้ นการปฏิบตั ิงานใน หน่วยงานของรัฐและเอกชน หรือ การประกอบธรุ กจิ ส่วนตัวเมือ่ สาเร็จการศกึ ษา วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปีท่ี 8 ฉบบั ที่ 1 เดอื น มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

5 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มลู TCI กลุม่ ท่ี 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง มีการเตรียมความพร้อมของบัณฑิตพยาบาลด้านกา ร ประกอบการธุรกิจด้วยการจดั การเรียนการสอนรายวิชา “ธุรกจิ เบือ้ งตน้ ในการบริการสขุ ภาพและการตลา ด” เน้อื หาครอบคลุมเรื่อง แนวคิดเบ้ืองตน้ ทางธุรกจิ ในงานบรกิ าร และเศรษฐศาสตร์สุขภาพ ระบบบริการพยาบาล ตามแนวคิดเชิงธรุ กจิ แนวคิดด้านบริการพยาบาลทสี่ รา้ งความพอใจตอ่ ผูใ้ ชบ้ ริการ การตลาดในการบริการพยาบาล การวิเคราะหร์ าคาการพยาบาลต่อประโยชน์และความคุ้มคา่ ในการลงทุน การส่งเสริมการบริการพยาบา ลตา ม แนวคิดการตลาด คณุ ธรรมและกฎหมายท่สี ัมพนั ธ์กบั บริการพยาบาลเชิงธรุ กจิ บทบาทของพยาบาลต่อองค์การ สุขภาพและองคก์ ารพยาบาลตามแนวคิดเชิงธรุ กจิ เพือ่ ใหผ้ ู้เรียนสามารถพฒั นาคุณลักษณะดา้ นการประกอบการ ธรุ กจิ (entrepreneurship characteristics) อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ จาเปน็ ตอ้ งมกี ารประเมนิ คุณลักษณะดงั กล่าว ของผูเ้ รียนกอ่ นเขา้ เรยี นเพือ่ ใช้เป็นแนวทางในการระบุช่องวา่ งของการพัฒนา แนวทางการพัฒนาคุณลักษณะ ดงั กล่าว และประเมนิ ผลการพัฒนาคุณลักษณะ จากการทบทวนวรรณกรรม พบวา่ ในประเทศไทยยังไม่มีแบบ ประเมินคณุ ลกั ษณะดา้ นการประกอบการธุรกจิ สาหรับนักศึกษาพยาบาล ผู้วิจัยในฐานะทเ่ี ปน็ ผสู้ อนในรายวิชา ฯ จึงพัฒนาแบบปร ะเมินคุณลักษณะพ้ืนฐาน การ ปร ะกอบการธุรกิจ ( foundational characteristics for entrepreneurship) ขึน้ เพอ่ื เป็นหลกั ฐานเชิงประจักษ์ทางวิชาการ และสนบั สนนุ การจัดการเรียนการสอน ใน รายวชิ าดงั กลา่ ว รวมถึงพัฒนาคุณลักษณะการประกอบการธุรกิจต่อไป วตั ถุประสงค์ เพื่อศึกษาองค์ประกอบของปจั จัยที่สาคัญของคุณลักษณะพ้ืนฐานสาหรบั การประกอบการธุรกิจของ นกั ศึกษาพยาบาล ขอบเขตงานวจิ ัย การทาวิจัยครง้ั นี้เปน็ การวิจยั เชิงพรรณนา ศกึ ษาคุณลกั ษณะพื้นฐานสาหรบั การประกอบการธุรกิจของ นกั ศึกษาพยาบาล จากกลุ่มตวั อย่างซง่ึ เปน็ นกั ศึกษาของวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง ช้ันปีท่ี 1 ถงึ 4 ในปีการศึกษา 2560 จานวนทง้ั หมด 567 คน ระหว่างเดือน มกราคม-เมษายน พ.ศ.2561 วิธีดาเนนิ การวจิ ยั ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง นักศกึ ษาของวทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง ช้นั ปีท่ี 1 ถึง 4 ในปกี ารศึกษา 2560 จานวน ทัง้ หมด 567 คน เครื่องมอื ที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แบบสอบถามขอ้ มูลทว่ั ไป เช่น เพศ อายุ ชั้นปี ค่าใชจ้ ่าย ตอ่ เดือน อาชีพของบิดามารดา รายได้ของครอบครัวต่อเดือน ภมู ิลาเนา ประสบการณใ์ นการทาธุรกิจ และความ วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปีท่ี 8 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

6 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคุณภาพของ TCI และอย่ใู นฐานข้อมลู TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) ตั้งใจในการประกอบธุรกิจหลังสาเร็จการศึกษา และ 2) แบบสอบถามคุณลักษณะในการประกอบการธุรกจิ เบอ้ื งตน้ ของนักศึกษาพยาบาล จานวน 60 ข้อ มีลักษณะเปน็ มาตรวดั ประมาณค่า 5 ระดบั ดังน้ี น้อยทส่ี ดุ หมายถงึ กจิ กรรมนั้นใชเ้ วลานอ้ ยท่สี ดุ ใหค้ ะแนน เทา่ กบั 1 น้อย หมายถึง กจิ กรรมนั้นใชเ้ วลาน้อย ให้คะแนน เทา่ กบั 2 ปานกลาง หมายถึง กจิ กรรมนัน้ ใช้เวลาปานกลาง ให้คะแนน เท่ากบั 3 จริงมาก หมายถงึ กิจกรรมนนั้ ใชเ้ วลามาก ให้คะแนน เทา่ กบั 4 จรงิ มากทีส่ ดุ หมายถึง กิจกรรมนนั้ ใช้เวลามากทส่ี ุด ใหค้ ะแนน เท่ากบั 5 การตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมอื การหาความตรงตามเน้ือหา (content validity) แบบสอบถามคุณลักษณะพน้ื ฐานสาหรบั การประกอบการธุรกิจของนักศึกษาพยาบาล ให้ผทู้ รงคุณวุฒิ จานวน 5 ท่าน ประกอบดว้ ย อาจารยพ์ ยาบาล 5 ทา่ น พิจารณาตรวจสอบความตรงของเนื้อหา (content validity) แลว้ นามาปรบั ปรุงตามข้อเสนอแนะแล้วนาแบบสอบถามนี้มาคานวณค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหา (content validity index (CVI) (Polit & Beck, 2008) ได้ค่าความตรงเชิงเนอื้ หาเทา่ กับ 1.00 การหาความเชอื่ ม่นั (reliability) แบบสอบถามคุณลักษณะพืน้ ฐานสาหรบั การประกอบการธรุ กจิ ของนักศึกษาพยาบาล ไปทดสอบหาความ เชื่อม่ันกับกับกลุ่มตัวอย่างซ่ึงมีคุณสมบัติความคล้ายคลึงกับกลุ่มตัวอย่าง จานวน 10 ราย และคานวณหาคา่ สมั ประสิทธ์ิอลั ฟา่ (α-Coefficient) ของ Cronbach ได้ค่าเท่ากับ 0.89 การพิทกั ษ์สิทธิข์ องกลุม่ ตวั อยา่ งและจรยิ ธรรมวิจัย ผู้วิจัยและคณะนาเสนอโครงร่างการวิจยั เพ่ือรับการพจิ ารณาการรบั รองการดา้ นจรยิ ธรรม จาก คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนษุ ย์ของวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง เมอื่ คณะกรร มการ รับรองแล้ว ได้รับการพิจารณาจากคณะกรรมการวิจัยในมนุษย์ เลขที่ E2561/70 ผู้วิจัยและคณะเข้าพบ กลุ่มตัวอย่าง แนะนาตัวกบั กลุ่มตวั อย่าง ชีแ้ จงวัตถปุ ระสงคข์ องโครงการวิจัย ประโยชนท์ ่จี ะได้รับ และขน้ั ตอน การเก็บรวบรวมข้อมูล พรอ้ มทง้ั ใหก้ ลุ่มตัวอย่างเปน็ ผู้ตัดสินใจเขา้ ร่วมการวจิ ยั ดว้ ยตนเองโดยความสมัครใจและ ช้ีแจงให้ทราบว่าสามารถถอนตัวจากการวิจัยได้ตลอดเวลาโดยไม่มีผลใด ๆ ต่อการการเรียนการสอนของ กลมุ่ ตวั อยา่ ง ในการบนั ทกึ ขอ้ มลู จะไม่มกี ารระบุชอ่ื ของผู้เขา้ ร่วมวจิ ัย ข้อมลู ที่ไดจ้ ากกลุ่มตวั อยา่ ง ผู้วจิ ัยและคณะ จะเก็บเป็นความลับ และนามาใช้ประโยชน์ในทางวิชาการเท่าน้ัน เม่ือกลุ่ม ตัวอย่างยินดีให้ความร่วมมือ ในการทาวิจยั ใหล้ งนามในเอกสารแสดงความยนิ ยอมเขา้ รว่ มโครงการวิจัย จงึ จะเร่ิมเก็บรวบรวมขอ้ มลู วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีท่ี 8 ฉบบั ที่ 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

7 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มลู TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) การเก็บรวบรวมข้อมลู ในการดาเนนิ การวจิ ัยครั้งน้ีผวู้ จิ ัยเกบ็ ขอ้ มูลร่วมกบั คณะวิจยั และดาเนินการหลังไดร้ บั การรับร อง จากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ของวทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง โดยมีรายละเอยี ดดังน้ี 1. ผูว้ ิจัยและคณะประชมุ ทาความเข้าใจเกยี่ วกับแบบสอบถามทีใ่ ช้ในการวิจัย 2. ผูว้ จิ ัยและคณะเข้าพบกลุ่มตัวอย่าง แนะนาตวั ช้แี จงวัตถปุ ระสงค์ ขอความร่วมมือในทาวิจัย และให้กลุ่มตวั อยา่ งลงนามในเอกสารแสดงความยนิ ยอมเข้าร่วมโครงการวจิ ยั 3. ผวู้ ิจัยและคณะแจกแบบสอบถามพรอ้ มปากกาให้กับกลุ่มตัวอยา่ ง และให้กล่มุ ตัวอย่า งตอบ แบบสอบถามดว้ ยตนเองในห้องประชุมท่ีจัดเตรยี มไว้ ระยะเวลาในการตอบแบบสอบถามประมาณ 30 นาที 4. ผวู้ ิจัยและคณะตรวจสอบความครบถว้ นของการตอบแบบสอบถาม ถ้าหากพบว่ากลมุ่ ตวั อย่าง ตอบยังไม่ครบถ้วน ผู้วิจัยและคณะจะขอให้กับกลุ่มตัวอย่างตอบอีกครั้ง ซึ่งในการศึกษาคร้ังน้ี พบว่า ไม่มี แบบสอบถามท่ีมีการตอบไม่ครบถว้ นสมบรู ณแ์ ละได้ครบตามจานวนที่กาหนดไว้จานวน 567 ชุด 5. ผวู้ ิจัยและคณะนาข้อมลู ทไ่ี ดจ้ ากแบบสอบถามไปวิเคราะหข์ ้อมูลทางสถิติ การวิเคราะห์ขอ้ มูล สว่ นท่ี 1 ขอ้ มูลทวั่ ไปของกล่มุ ตวั อย่างวเิ คราะห์ดว้ ยสถิติคา่ ความถ่แี ละคา่ ร้อยละ ส่วนท่ี 2 องค์ประกอบของปัจจัยที่สาคัญของคุณลักษณะพ้ืนฐานสาหรบั การประกอบการธรุ กิจของ นักศึกษาพยาบาล วิเคราะห์โดยใช้การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสารวจ ( exploratory factor analysis) ตามวิธีสกัดองค์ประกอบหลัก (principal component analysis) และการหมุนแกนองค์ประกอบต้ังฉา ก ดว้ ยวิธีแวรแิ มกซ์ (varimax) ตัวบ่งชี้ทมี่ ีน้าหนกั ขององค์ประกอบน้อยกวา่ 0.4 หรอื มี cross loading ทม่ี ากกว่า 1 องคป์ ระกอบนนั้ จะถูกตดั ทงิ้ และตัวบ่งชี้ทยี่ ังคงอยู่ในโมเดลต้องมีคา่ ไอเกน (eigen value) มากกว่า 1.0 เมอื่ ได้ องค์ประกอบใหม่จากการสกัดองค์ประกอบ ผวู้ ิจยั และคณะจงึ ตั้งช่ือใหก้ ับองค์ประกอบใหม่ (Hair, Anderson, Babin &, Black 2010) ผลการวิจยั 1.ขอ้ มลู ทัว่ ไป ลกั ษณะกลมุ่ ประชากร ส่วนใหญเ่ ป็นนักศกึ ษาหญิง ร้อยละ 92.9 อายโุ ดยเฉลยี่ 20 ปี มีคา่ ใช้จ่ายส่วนตวั เฉลี่ย 5,159 บาทต่อเดือน ได้รับเงินจากบดิ ามารดาร้อยละ 94.7 และบดิ า มารดา ประกอบอาชีพเป็นเกษตรกร รอ้ ยละ 65.6, 64.9 ตามลาดบั รายไดร้ วมของครอบครัวประมาณ 10,000 ถึง 15,000 บาทตอ่ เดือน นกั ศึกษา ส่วนใหญ่มีภูมิลาเนาอยูใ่ นภาคตะวันออกเฉียงเหนือรอ้ ยละ 51.3 และภาคเหนือร้อยละ 47.3 โดยนักศึกษา สว่ นใหญ่ไมม่ ีประสบการณ์เก่ียวกบั การทาธุรกจิ รอ้ ยละ 77.6 และเมื่อสาเร็จการศึกษาแล้วไม่ต้องการปร ะกอบ ธรุ กจิ สว่ นตัวร้อยละ 50.1 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปที ่ี 8 ฉบับที่ 1 เดอื น มกราคม – มิถุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

8 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มูล TCI กลมุ่ ท่ี 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) 2.องคป์ ระกอบของคุณลักษณะพ้ืนฐานสาหรับการประกอบการธุรกิจของนักศกึ ษาพยาบาล ผูว้ จิ ยั และคณะได้เลือกวิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบตามขั้นตอนของแฮร์และคณะ (Hair, Anderson, Babin &, Black 2010) ดงั น้ี 2.1 การกาหนดวัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสารวจ วตั ถุประสงค์ของการวิเครา ะห์ องค์ประกอบครงั้ น้ี คอื เพือ่ พิจารณามิติของข้อมูลจากชุดข้อคาถาม การลดจานวนขอ้ คาถามของเครื่องมือ และเพ่อื ให้ข้อคาถามมคี วามชัดเจน 2.2 การออกแบบการวเิ คราะหป์ จั จัย การวิเคราะหอ์ งคป์ ระกอบเชงิ สารวจ ถูกใช้เพ่ือจัดการกับข้อมูลที่ เกิดจากคาถามจานวน 60 ขอ้ ทถี่ ามนักศึกษาพยาบาลจานวน 567 คน และเลอื กใช้วิธีสกดั องคป์ ระกอบหลัก ตามขอ้ เสนอแนะของพีทและคณะ อ้างถึงใน การศึกษาของ Nguyen และคณะ (Nguyen, Forbes, Mohebb & Duke, 2017) 2.3 การสรา้ งชอื่ สาหรบั กล่มุ ตวั แปร และการประเมินความเหมาะสม การสร้างกลมุ่ ตัวแปรตามวิธสี กัดองค์ประกอบหลัก และการหมุนแกนองคป์ ระกอบต้ังฉากด้วยวธิ ีแวริแมกซ์ (varimax) ตัวบ่งช้ีที่มีน้าหนักขององค์ประกอบน้อยกว่า 0.4 หรือมี cross loading ที่มากกว่า 1 (หน่ึง) องค์ประกอบนน้ั จะถกู ตัดทิ้งและตวั บ่งชที้ ี่ยังคงอยู่ในโมเดลต้องมีค่าไอเกน (eigen value) มากกวา่ 1.0 และใช้ scree plot เปน็ แนวทางในการเลือกจานวนข้อคาถาม (ปัจจยั ) โดยโคง้ ของ scree plot จะถกู ตดั ท่ี 6 ปจั จัย กอ่ นที่จะเปน็ เสน้ ตรง (ปจั จยั ท่7ี ) ดังรูปภาพท่ี 1 รูปภาพที่ 1 scree plot เมือ่ ไดอ้ งคป์ ระกอบใหมจ่ ากการสกัดองค์ประกอบ ผูว้ จิ ยั และคณะจึงตั้งช่ือใหก้ ับองค์ประกอบใหม่ ซ่ึงมี 6 องค์ประกอบที่สาคัญ ได้แก่ 1) การบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ (strategic management) 2) การมีจุดยนื มุ่งความสาเร็จ (success-oriented positioning) 3) การมีทักษะธุรกิจร่วมสมัย (contemporary business skills) 4) การมีสัมพันธภาพที่ดีงาม (interpersonal integrity) 5) การสร้างสรรค์คุณค่าที่โดดเด่น (unique วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ่ี 8 ฉบับท่ี 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

9 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มูล TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) value creation) และ 6) ความสามารถในการเผชิญกบั ความไม่แน่นอน (resilience) ดังแสดงในตารางท่ี 1 โดย องค์ประกอบใหม่มีจานวนตวั บ่งช้ีคุณลักษณะจานวน 14 , 12, 8, 9, 3 และ 5 ตัวบ่งช้ีตามลาดับ โดยรวมแล้ว จานวนตัวบ่งช้ีลดจากเดิม 60 ขอ้ เหลือ 51 ขอ้ ดงั แสดงในตารางที่ 2 ซ่งึ สามารถอธบิ ายความแปรปรวนสะสมได้ รอ้ ยละ 42.9 ดังแสดงในตารางที่ 3 ตารางที่ 1 องค์ประกอบใหมท่ เ่ี กิดจากการตามวิธีสกดั องค์ประกอบหลัก (principal component analysis) และการหมุนแกนองค์ประกอบตง้ั ฉากด้วยวธิ แี วรแิ มกซ์ (varimax) องค์ประกอบ 123456 1. Strategic Management (SM) .573 .474 .420 .491 .149 .088 2. Success-Oriented Positioning (SOP) -.055 -.548 .718 -.145 .400 .016 3. Contemporary Business Skills (CBS) -.060 .294 -.196 -.340 .598 .631 4. Interpersonal Integrity (IPI) -.540 .158 .366 .209 -.463 .540 5. Unique Value Creation (UVC) -.009 -.503 -.366 .694 .207 .296 6. Resilience (RES) .611 -.333 -.029 -.312 -.451 .464 Extraction Method: principal component analysis. Rotation Method: varimax with kaiser normalization. ตารางที่ 2 ปัจจัยของแต่ละองค์ประกอบ ค่านา้ หนกั องค์ประกอบ 123456 ปจั จยั .433 1. ทา่ นมคี วามม่นั ใจในความสามารถของตนเอง .455 2. ทา่ นเชื่อว่าท่านเปน็ ผู้มีคุณค่า .704 3. ทา่ นยอมรับวา่ ความลม้ เหลวเป็นส่วนหน่งึ ของชวี ติ 4. ท่านรสู้ กึ ผิดหวังอย่างรนุ แรงเม่ือประสบกบั ความล้มเหลว .467 5. ทา่ นเรียนรจู้ ากความลม้ เหลวหรอื ความผิดพลาด .550 6. เม่ือเกดิ ความผิดพลาดทา่ นพยายามแกไ้ ขสถานการณ์ใหด้ ขี ้นึ 7. ทา่ นร้สู กึ คบั ขอ้ งใจเม่อื อย่ใู นสถานการณท์ ีค่ ลุมเครือ .534 8. ท่านรสู้ ึกว่าสถานการณ์ทีซ่ ับซ้อนเปน็ สง่ิ ท่ที า้ ทายความสามารถ วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีท่ี 8 ฉบบั ที่ 1 เดอื น มกราคม – มิถุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

10 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มูล TCI กลมุ่ ที่ 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) ตารางท่ี 2 ปจั จัยของแต่ละองค์ประกอบ (ต่อ) ค่านา้ หนักองค์ประกอบ ปจั จยั 123456 9. ทา่ นจะไม่ลงมอื กระทาการใด ๆ ถา้ สถานการณ์ไม่ชดั เจน .439 10. ผลงานของทา่ นมักจะโดดเดน่ กวา่ ผอู้ ่นื .565 11. ทา่ นใหค้ วามสาคญั กับคุณภาพในทกุ สง่ิ ทท่ี า่ นทา .623 12. ท่านจะแสวงหาวธิ เี พ่อื ใหผ้ ลงานของทา่ นมคี ุณภาพ .578 13. ความสาเร็จของทา่ นเป็นผลมาจากการกระทาของทา่ น .575 14. ความลม้ เหลวท่เี กิดข้นึ กบั ทา่ นเป็นผลมาจากโชคชะตา .400 .531 15. ท่านอาสาทางาน/กิจกรรมใหม่ๆท้งั ๆ ทท่ี า่ นอาจไม่มปี ระสบการณ์ 16. ทา่ นมักมองเหน็ โอกาสทีผ่ ูอ้ ่นื มองไม่เหน็ .427 17. ท่านทุม่ เททางานใหบ้ รรลุเปา้ หมาย .624 18. ทา่ นพยายายามทาใหง้ านจนสาเร็จไมท่ ้อถอยแม้มอี ุปสรรคมากมาย .566 19. ทา่ นมีจดุ ยนื ในการทางาน .519 20. ท่านตอ้ งการเปน็ คนท่ปี ระสบความสาเรจ็ ในชวี ิต .490 21. ท่านตอ้ งการให้ผู้อ่ืนประสบความสาเร็จเชน่ เดยี วกบั ทา่ น .511 22. ทา่ นปฏเิ สธทจี่ ะทางาน ถ้างานน้นั มีความเสีย่ งแมเ้ พียงเลก็ น้อย 23. ทา่ นมีความกระตอื รือรน้ เมื่อตอ้ งทาการใด ๆ .406 24. ทา่ นแสวงหาวิธกี ารใหม่ๆเพอื่ พัฒนาผลลพั ธใ์ หด้ กี ว่าเดิม .492 25. ท่านสร้างผลติ ภัณฑ์ หรอื วิธกี ารใหม่ ๆ เพื่อพฒั นางานด้วย .522 ตวั ทา่ นเอง .574 26. ท่านคิดสร้างสรรค์สิง่ ใหมๆ่ อยู่เสมอ .626 27. ท่านแสวงหาขอ้ มูลประกอบการตดั สนิ ใจเสมอ .608 28. ท่านแสวงหาความรใู้ หม่อย่างสม่าเสมอ 29. ท่านวางแผนอย่างเป็นระบบก่อนการทางานเสมอ .466 30. ปญั หาและอปุ สรรคเปน็ สว่ นหนงึ่ ของการทางาน .633 31. ท่านหาสาเหตุของปัญหาและทางแก้ไขเมอื่ ประสบปญั หา .587 32. ทา่ นใชก้ ลยทุ ธ์ในการแก้ไขปัญหา 33. ท่านมคี วามสามารถในการชกั จงู ใจผูอ้ ืน่ วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปที ่ี 8 ฉบบั ท่ี 1 เดอื น มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

11 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคุณภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มลู TCI กล่มุ ที่ 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) ตารางท่ี 2 ปจั จัยของแต่ละองคป์ ระกอบ (ต่อ) คา่ นา้ หนกั องค์ประกอบ 6 ปจั จยั 12345 34. ท่านมคี วามอดกลั้นตอ่ ส่งิ ท่ไี ม่ถูกใจท่าน .497 35. ทา่ นสามารถสอื่ สารใหผ้ ู้อืน่ เข้าใจความต้องการของทา่ นได้ .503 36. ทา่ นสามารถส่ือสารใหผ้ ู้อ่นื เข้าใจสถานการณ์ทเี่ กดิ ขน้ึ ได้ .576 37. ทา่ นสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ .743 38. ทา่ นมคี วามรู้และทักษะเบ้ืองต้นเกยี่ วกับการวางแผนธรุ กิจ .751 39. ทา่ นมีความรู้และทกั ษะเบ้ืองต้นเกี่ยวกับการตลาด .756 40. ทา่ นมคี วามรแู้ ละทักษะเบอื้ งตน้ เกย่ี วกับการคิดตน้ ทุน/กาไร .646 41. ท่านมคี วามรูแ้ ละทกั ษะเก่ียวกบั การใช้ Applications ตา่ ง ๆ .774 42. ท่านมคี วามรแู้ ละทักษะเบื้องตน้ เกี่ยวกับการขายสินคา้ .672 43. ทา่ นมคี วามรู้และทกั ษะด้าน Computer .535 44. ทา่ นตอ่ ยอดสร้างคณุ ค่าและประโยชน์จากสงิ่ ท่ีทา่ นมี .690 45. ทา่ นเขา้ กบั ผูอ้ ื่นได้ง่าย .557 46. ท่านรู้ว่าผอู้ น่ื /บุคคลท่ีท่านติดต่อดว้ ยคดิ อย่างไร .528 47. ทา่ นจริงใจกบั ผอู้ ืน่ .666 48. ทา่ นรวู้ ่าจะทาใหผ้ ้อู ื่นประทับใจไดอ้ ย่างไร .649 49. ท่านสามารถปรบั ตวั ให้เหมาะสมกับสถานการณท์ ีเ่ ปล่ียนแปลงได้ .402 50. ทา่ นคาดการณส์ ถานการณ์ที่จะเกิดข้นึ ในอนาคตได้ .458 51. ทา่ นเตรยี มตวั /วางแผนรองรบั การเปลย่ี นแปลงอย่เู สมอ .410 52. ทา่ นแสวงหาทมี งาน/เครอื ขา่ ยในการทางาน .514 53. ท่านประเมนิ ความเสยี่ งในการทางานทกุ คร้งั ท่ตี ้องทางานท่ีสาคญั .549 54. ทา่ นวางแผนป้องกนั และแก้ไขความเสี่ยงทกุ ครัง้ ท่ีต้องทางานสาคญั .511 55. ทา่ นตดิ ตามความเปน็ ไปของสังคมอย่างสมา่ เสมอ .468 56. ทา่ นแสวงหาวธิ กี ารเพ่ือให้การทางานสาเรจ็ โดยเร็ว .448 57. ท่านคานงึ ถงึ คุณธรรมจรยิ ธรรมในการทางานเสมอ .460 58. ท่านคดิ เสมอว่าผลงานของท่านควรกอ่ ประโยชนใ์ หก้ บั ผูอ้ น่ื ด้วย วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปที ี่ 8 ฉบบั ท่ี 1 เดอื น มกราคม – มิถุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

12 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มูล TCI กล่มุ ท่ี 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) ตารางที่ 2 ปจั จัยของแต่ละองคป์ ระกอบ (ตอ่ ) ค่านา้ หนกั องค์ประกอบ 6 ปจั จยั 12345 59. หลังสาเรจ็ การศกึ ษา ทา่ นต้องการจะทางานในหนว่ ยงานของรัฐ 60. หลังสาเรจ็ การศึกษา ทา่ นตอ้ งการจะทางานในหน่วยงานของเอกชน Extraction Method: Principal Component Analysis. Rotation Method: Varimax with Kaiser Normalization. a. Rotation converged in 11 iterations. ตารางท่ี 3 ค่าความแปรปรวนสะสมขององค์ประกอบคุณลักษณะท้ัง 6 คณุ ลักษณะ องคป์ ระกอบ Initial Eigen values Extraction Sums of Squared Rotation Sums of Squared Loadings Loadings Total % of Cumu Total % of Cumu Total % of Cumul lative lative Variance Variance Variance ative % % % 1.Strategic 12.89 22.22 22.22 12.89 22.22 22.22 5.46 9.41 9.41 Management (SM) 2.Success- Oriented 4.15 7.16 29.39 4.15 7.16 29.39 5.06 8.72 18.14 Positioning (SOP) 3. Contemporary Business Skills 2.31 3.98 33.37 2.31 3.98 33.37 5.03 8.67 26.81 (CBS) 4.61 7.96 34.78 2.62 4.53 39.31 4. Interpersonal 1.99 3.43 36.80 1.99 3.43 36.80 2.12 3.67 42.98 Integrity (IPI) 5. Unique Value 1.88 3.25 40.06 1.88 3.25 40.06 Creation (UVC) 6. Resilience 1.69 2.92 42.98 1.69 2.92 42.98 (RES) Extraction Method: Principal Component Analysis. วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีที่ 8 ฉบบั ท่ี 1 เดอื น มกราคม – มิถุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

13 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) อภปิ รายผล การวิเคราะห์องค์ประกอบของคุณลักษณะในการประกอบการธุรกิจเบื้องต้นของนักศึกษาพยาบาล สามารถแบง่ ได้เป็น 6 องค์ประกอบ โดยสามารถอธบิ ายความหมายขององค์ประกอบทั้ง 6 ไดด้ ังนี้ องค์ประกอบท่ี 1 การบริหารจดั การเชิงกลยุทธ์ เมอ่ื พจิ ารณาองคป์ ระกอบที่ 1 โดยละเอยี ดแล้ว พบว่า คุณลักษณะรายข้อสะท้อนให้เห็นถึงความสามารถของนักศึกษาในการจดั การกับข้อมูลสารสนเทศ เพื่อการ ตดั สินใจท่ถี กู ต้องเหมาะสม การคดิ วิเคราะห์ขอ้ มลู เหลา่ นัน้ เพื่อนาส่กู ารระบุคณุ ค่าและประโยชน์ทผ่ี ู้รบั บรกิ ารควร จะได้รบั จากธุรกจิ การวางแผน การกาหนดกลวิธีให้สอดคล้องกับผลลัพธท์ ่ีตอ้ งการ การบรหิ ารจัดการความเส่ียง รวมถึงการสรา้ งเครือขา่ ยเพ่ือใช้เปน็ กลยทุ ธ์ในการทางานให้ประสบความสาเร็จ ซ่งึ การบริหารจดั การเชงิ กลยุทธ์ เป็นคุณลกั ษณะทสี่ าคญั อยา่ งยิง่ ของการประกอบธุรกจิ ไมว่ ่าจะเป็นในภาคเอกชน ภาครฐั หรือ การประกอบธุรกิจ สว่ นตวั (Zahra & Nambisan, 2012; Dionisio, 2017) องคป์ ระกอบท่ี 2 การมีจุดยืนเพ่ือความสาเร็จ เมือ่ พิจารณาแลว้ พบว่าคณุ ลักษณะรายข้อสะทอ้ นให้เห็นถึง จดุ ยืน ความเชอ่ื และทัศนคติของนักศึกษาต่อความสาเร็จ โดยผูท้ จ่ี ะประการธุรกิจได้ดนี นั้ จะต้องเปน็ ผู้ท่ีตอ้ งกา ร ความสาเร็จ ใสใ่ จในคณุ ภาพของงานบรกิ ารและสินค้า มีความมงุ่ มัน่ อดทนเพ่ือให้สามารถบรรลุเป้าหมายท่ีตอ้ งการ พร้อมท่ีจะเรียนรู้จากความล้มเหลวและแกไ้ ขปัญหาได้ และเช่ือว่าในการแบ่งปนั ความสาเรจ็ กับผอู้ ่นื การมีจดุ ยืน เพื่อความสาเร็จจงึ เป็นองค์ประกอบหนง่ึ ท่ีมีความสาคัญต่อการประกอบธรุ กจิ ซึ่งผลการวิจัยในครง้ั นมี้ ีความ สอดคล้องกับองค์ความรู้ท่ีมอี ยู่เดมิ ซึ่งแสดงให้เห็นความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งการกระหายความสาเร็จกับความสา เร็จ ในการประกอบการธรุ กิจ (Aqeel, Awan & Riaz, 2011) องค์ประกอบที่ 3 การมีทักษะธุรกิจร่วมสมัย มีตัวบ่งชี้คุณลักษณะรายข้อท่ีคร อบคลุมปร ะเ ด็น ความสามารถในการใชภ้ าษาองั กฤษ ความสามารถดา้ นเทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ การมีความร้แู ละทกั ษะทางธุรกิจ เบ้อื งต้น ทั้งน้ีทักษะภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีและคอมพวิ เตอร์ ซ่ึงเปน็ ทกั ษะจาเป็นในการเรยี นรูใ้ นศตวรร ษที่ 21 จะช่วยให้ผู้ประกอบการธรุ กิจเขา้ ถึงโอกาสในการประกอบธุรกิจ และเขา้ ถึงกลุ่มเปา้ หมายลูกคา้ ในขอบเขต ท่ีกวา้ งขวางมากข้ึน และ ความรแู้ ละทักษะเหล่านสี้ ามารถนาไปใชใ้ นการสรา้ งคุณคา่ ตอ่ ยอดให้กับธรุ กิจได้ใน ทุก ระยะของการประกอบการ ทั้งในระยะเริ่มตน้ ระยะดาเนินการ และ ระยะการตอ่ ยอดธุรกิจ ทกั ษะธุรกิจร่วมสมัย เป็นปัจจยั ความสาเรจ็ อยา่ งหนง่ึ ของการประกอบการธรุ กิจ (Malekipour et al., 2018) องคป์ ระกอบท่ี 4 สัมพนั ธภาพที่ดงี าม มตี ัวบง่ ชค้ี ุณลักษณะรายข้อท่ีอธิบายครอบคลุม ความสามารถ ในการส่ือสารที่ชดั เจน ความสามารถในการผูกมติ ร ความสามารถในการปรับตัวกับสถานการณ์ โดยสัมพนั ธภาพ จะตอ้ งอยภู่ ายใตเ้ งื่อนไขคณุ ธรรมจริยธรรมเพอื่ ให้เกิดสัมพันธภาพและมติ รภาพท่ดี งี ามยง่ั ยืน ก่อเกิดความไว้วางใจ ระหว่างผู้ประกอบการธุรกจิ ลกู ค้า และเครือข่ายสนบั สนนุ ความสาเรจ็ ของการประกอบการท้งั ในแงผ่ ลประโยชน์ท่ี เป็นกาไรและคุณคา่ ท่เี ปน็ ความรู้สึกทดี่ ตี อ่ สนิ คา้ (Hakanen & Häkkinen, 2015; Somera & Holt, 2015) วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปีที่ 8 ฉบบั ที่ 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

14 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มลู TCI กลุม่ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) องค์ประกอบที่ 5 การสรา้ งสรรค์คณุ ค่าท่โี ดดเดน่ มีตวั บ่งช้ีคณุ ลักษณะรายขอ้ ทีอ่ ธบิ ายถึงความสา มารถ พิเศษของนักศึกษาในการมองเห็นโอกาสท่ีผอู้ น่ื มองไม่เห็น นาไปส่กู ารสร้างสรรคผ์ ลงานทีโ่ ดดเดน่ กว่าผู้อืน่ และ การไม่ยอมให้ปัญหาเป็นอุปสรรคในการทางาน สามารถพลกิ วิกฤติให้เปน็ โอกาสได้ ซ่ึงความสามารถในการ สร้างสรรค์คุณคา่ ทโ่ี ดดเดน่ นี้นาไปสู่การสร้างสรรคน์ วัตกรรมสนิ ค้าตอบสนองต่อความต้องการของลูกคา้ ในแต่ ละ กลุ่มเป้าหมาย และในแต่ละยคุ สมัยเป็นปัจจัยสาคัญทีจ่ ะให้ธรุ กจิ เจรญิ เติบโตอยา่ งต่อเนื่อง และย่ังยืนได้ (Nnadi, 2014) องค์ประกอบท่ี 6 ความสามารถในการเผชิญกับความไม่แน่นอน มีตัวบง่ ชค้ี ณุ ลักษณะรายข้อที่แสดงถึง มัน่ คงทางจติ ใจของนกั ศึกษาเม่ืออยใู่ นสถานการณท์ ่ีไม่แน่นอน ในสถานการณ์ทไี่ มช่ ัดเจนหรือเมื่อเผชิญปัญหา อุปสรรคท่พี บระหวา่ งการทางาน รวมถึงการตอบสนองต่อความล้มเหลวท่ีอาจเกดิ ขึน้ ศักยภาพในการเผชิญกับ ความไม่แน่นอนจะทาใหอ้ งคก์ ร หรือผู้ประกอบการธรุ กจิ ปรับตวั ได้ดีในสถานการณ์ทคี่ บั ขัน และทาให้ธุรกจิ อยรู่ อด ได้ (Miikka, 2014; Linnenluecke, 2017) ในหลักสตู รพยาบาลศาสตรบณั ฑิต ของวทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครลาปางนั้น ได้จัดการเรยี นการ สอนตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดบั อุดมศึกษาแห่งชาติของวิชาชีพพยาบาล โดยมุง่ เนน้ การพัฒนาผลการเรียนรู้ (learning outcomes) 5 ดา้ น ได้แก่ 1) ด้านคุณธรรมจรยิ ธรรม 2) ดา้ นความรู้ 3) ด้านทกั ษะทางปัญญา 4) ด้าน ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ และ 5) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตวั เลข การสอ่ื สาร และการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ ซ่ึงผลการเรยี นรู้ดา้ นที่ 1 และ 4 มคี วามสอดคล้องกบั องค์ประกอบที่ 4 ของ คุณลกั ษณะพื้นฐานสาหรับการประกอบการธรุ กิจ ได้แก่ การมีสัมพนั ธภาพท่ดี ีงาม และผลการเรยี นรดู้ ้านท่ี 3 มี ความคล้ายคลึงกบั องค์ประกอบที่ 3 ได้แก่การมีทักษะธุรกิจรว่ มสมยั และมีการเปิดการเรยี นการสอนรายวิชา “ธุรกิจเบอื้ งต้นในการบริการสขุ ภาพและการตลาด” สาหรับองค์ประกอบด้านการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ ด้านการมีจุดยืน มุ่งความสาเร็จ ด้านการ สร้างสรรคค์ ุณค่าท่โี ดดเด่น และด้านความสามารถในการเผชญิ กบั ความไม่แนน่ อน ยงั ไม่ปรากฏว่ามผี ลการเรียนรู้ ด้านใด ท่มี ีความสอดคลอ้ งกับองค์ประกอบดังกลา่ วอยา่ งชัดเจน แต่เปน็ ไปไดว้ ่าองคป์ ระกอบเหลา่ นแ้ี ฝงอยู่ ในการ จัดการเรยี นการสอนโดยเฉพาะในภาคปฏบิ ัติ เนอ่ื งจากสถานการณ์ในการฝึกภาคปฏิบัตจิ าเป็นต้องอาศัยการเก็บ ข้อมลู การคิดวิเคราะห์ การต้ังเป้าหมายการปฏบิ ัติงาน การแสวงหาวิธีการท่ไี ดผ้ ลในการปฏบิ ัตงิ าน รวมถงึ การ เผชิญสถานการณ์ท่ีเปล่ียนแปลงได้ตลอดเวลา และความมุ่งมั่นอดทนอดกลั้น สู่เป้าหมาย แต่เนื่องจาก องคป์ ระกอบเหล่านไี้ ม่ได้ถูกกาหนดให้เป็นประเดน็ การ พัฒนาท่ชี ัดเจนกระบวนการพัฒนาและการประเมิน ผล จงึ ขาดความชดั เจนไปดว้ ย หากมีการกาหนดใหอ้ งค์ประกอบเหล่าน้เี ปน็ ประเดน็ การพัฒนาท่ชี ดั เจนและมีกลยุทธ์ การจัดการเรียนการสอนในสถานการณจ์ รงิ อย่างชัดเจน ก็จะสามารถชว่ ยพัฒนาให้นักศึกษาพยาบาลมคี ุณลักษณะ พนื้ ฐานดา้ นการประกอบการธรุ กจิ เข้าใจและปรบั ตัวเข้ากับการบริหารองคก์ รสุขภาพท่ีมุ่งบริหารคุณค่า และ คานงึ ถงึ กาไรขาดทุนมากย่ิงข้นึ และสามารถประยกุ ต์ใช้ทักษะเหลา่ นี้ในการปฏิบัติงานให้เกดิ ประสิทธิภาพสูงสุด ไม่ว่าจะอยู่ในองคก์ รภาครฐั หรือ เอกชน วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปีท่ี 8 ฉบับท่ี 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

15 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานข้อมลู TCI กลุ่มที่ 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) ขอ้ จากัดของงานวจิ ัย การวจิ ยั ครงั้ น้ีมีข้อจากดั ในการอ้างอิงไปยังกลุ่มประชากรนักศึกษาพยาบาลอนื่ ๆ เนอื่ งจากเป็นการศกึ ษา ในสถาบนั การศกึ ษาแห่งเดยี ว ซง่ึ มบี รบิ ททางด้านการจดั การศึกษา กายภาพ สงั คม และวฒั นธรรมทีแ่ ตกต่าง ต่าง สถาบันอนื่ ๆ และเคร่ืองมือที่ได้แกอ่ งค์ประกอบคุณลักษณะพืน้ ฐานการประกอบการธุรกจิ อาจยงั มขี อ้ จากัดอยู่ เนื่องจากใช้การวิเคราะหอ์ งค์ประกอบเชิงสารวจ (Exploratory Factor Analysis) ซง่ึ องคป์ ระกอบทไี่ ดย้ ังไม่ได้รับ การยืนยนั โดยใช้การวเิ คราะห์องคป์ ระกอบเพ่ือยนื ยนั (Confirmatory Factor Analysis) ซ่งึ นักวิจยั ควรพิจารณา ดาเนินการวิจัยตอ่ ในครง้ั ตอ่ ไป ข้อเสนอแนะในการนาผลการศึกษาไปใช้ 1. ผู้สอนในรายวชิ า “ธรุ กจิ เบ้ืองต้นในการบรกิ ารสุขภาพและการตลาด” สามารถใช้เปน็ เครือ่ งมือประเมิน นักศกึ ษากอ่ นเรยี นในรายวชิ า เพื่อประเมนิ ชอ่ งวา่ งของคณุ ลกั ษณะพื้นฐานสาหรับการประกอบการธุรกจิ วางแผน กจิ กรรมการเรยี นการสอนเพ่ือพฒั นาผูเ้ รียนตามผลการประเมนิ และใช้เปน็ เคร่อื งมือในการประเมินผลสัมฤทธิ์ 2. รายวิชาอื่น ๆ โดยเฉพาะในรายวิชาปฏบิ ตั ิอาจารยผ์ ้สู อนอาจสอดแทรกกจิ กรรมการพฒั นาคุณลักษณะ เหล่านใ้ี ห้อยา่ งเป็นรูปธรรมรว่ มไปกบั การพฒั นาผลการเรยี นรูห้ ลกั ของกระบวนวิชานนั้ ๆ 3. ใช้เป็นแนวทางในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน กติ ติกรรมประกาศ การวจิ ัยครงั้ นี้จะไมส่ าเรจ็ ถ้าขาดความรว่ มมือจากนักศกึ ษาพยาบาล ตลอดจนผทู้ ีม่ สี ว่ นเก่ียวข้องทุกท่าน และการสนับสนุนทนุ จากวทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครลาปาง คณะผวู้ ิจยั ขอขอบพระคณุ มา ณ ท่ีนี้ เอกสารอา้ งอิง Andrade, A. D. C., Ben, L. W. D., & Sanna, M. C. (2015). Entrepreneurship in nursing: overview of companies in the State of São Paulo. Revista brasileira de enfermagem, 68(1), 40-44. Aqeel, A. M. B., Awan, A. N., & Riaz, A. (2011). Determinants of business success (an exploratory study). International journal of human resource studies,1(1), 98-110. Dionisio, M. A. ( 2017) . Strategic thinking: The role in successful management. Journal of management research,9(4), 44-57. Division of Research Management and Educational Quality Assurance. (2016). Thailand 4.0 Model for driving Thailand towards prosperity, stability and sustainability. (online), Available: http://www.libarts.up.ac.th/v2/img/Thailand-4.0.pdf. (in thai) วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 เดอื น มกราคม – มิถุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

16 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมลู TCI กล่มุ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) Guo, K. L. (2003). Applying entrepreneurship to health care organizations. New england journal of entrepreneurship, 6(1), 45-53. Guo K. L. (2009). Core competencies of the entrepreneurial leader in health care organization. The health care manager, 28(1), 19-29. Hakanen, M., & Häkkinen, M. (2015). Management possibilities for interpersonal trust in a business network. Case: health, exercise- and wellbeing markets. Nordic journal of business, 64(4), 249-265. Hair, J. F., Anderson, R. E., Babin, B. J., & Black, W. C. (2010). Multivariate data analysis: A global perspective (Vol. 7): Pearson upper saddle river. Linnenluecke, M. K. ( 2017) . Resilience in business and management research: A review of influential publications and a research agenda. International journal of management reviews, 19(1), 4-30. Mäkilä, M. (2014). Resilience as a way to improve business continuity: a multiple case study with large Nordic companies. (Master's thesis) Department of information and service economy aalto university school of business. Malekipour, A., Hakimzadeh, R., Dehghani, M., & Zali, M. R. (2018). Analysis of entrepreneurial competency training in the curriculum of bachelor of physical education in universities in Iran. Cogent education, 5(1), 1-15. Mojab, F. , Zaefarian, R. , Azizi. , & AHD. ( 2011) . Applying competency based approach for entrepreneurship education. Procedia soc behav sci, 12(1), 436–447. Nguyen, V. N., Forbes, H., Mohebbi, M., & Duke, M. (2017). Development and validation of an instrument to measure nurse educator perceived confidence in clinical teaching. Nursing & health sciences, 19(4), 498-508. Nnadi, C. (2014). The role of creativity and innovation in business growth and sustainability: An ideal model. International journal of economics & management sciences, 3(1), 1-9. Office of policy and strategy, Office of the permanent secretary & ministry of public health ministry of public health. (2016). Healthy citizens, happy staff, sustainable health systems. Position, vision, mission, goals and strategies of the Ministry of Public Health. (online), Available: http://bps.moph .go.th/new_bps/ sites/default/ files/Positioning_MoPH_2559.pdf. (in thai) วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปีท่ี 8 ฉบบั ที่ 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

17 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคุณภาพของ TCI และอยใู่ นฐานข้อมูล TCI กล่มุ ท่ี 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) Polit, D. F., & Beck, C. T. (2008). Nursing research: Generating and assessing evidence for nursing practice (8th ed.). Philadelphia: Wolters kluwer health/Lippincott Williams & wilkins. Rubino, L., & Freshman, B. (2005). Developing entrepreneurial competencies in the health care management undergraduate classroom. J health adm educ, 22(4), 399-416. Salminen, L., Lindberg, E., Gustafsson, M. L., Heinonen, J., & Leino-Kilpi, H. (2014). Entrepreneurship education in health care education. Education research international, 2014(1), 1-8. Santiprapob, V. (2018). Adaptation to accommodate changes in the 4.0 era is not an option, but it is inevitable. (online), Available: https://thaipublica.org/2018/09/veerathai-the-future-of- central-banking/. (2018, 1 December 1). (in thai) Somera, K., & Holt, M. K. (2015). Integrity in business: An evaluation of integrity across German and American culture. International Journal of Business and Social Science, 6(2), 32-36. Ventureprise. (2013). Enterpreneurial competency: characteristics of success. Ventureprise, Inc. Reyes, G., Mariano, R. A., Herrera, M. N. Q., Manipol, N. E. P., & Cabardo, J. J. S. (2018). Personal entrepreneurial competencies and entrepreneurial intention of non- business students enrolled in an introductory entrepreneurship course. Journal of economics, management & agricultural developmen, 4(1), 93-102. Yusoff, W. F. W., & Lame, S. M. (2017). What would the required entrepreneurial competencies for entrepreneurship lecturers in higher learning institutions? Saudi journal of business and management studies, 2(8), 787-794. Zahra, S. A. , & Nambisan, S. ( 2012) . Entrepreneurship and strategic thinking in business ecosystems. Business horizons, 55(3), 219-229. วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปีที่ 8 ฉบับท่ี 1 เดอื น มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

18 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมลู TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) Factors Correlated with Breakfast Consumption Behavior of Nursing Students, Srinakharinwirot University Jaruwan Phaitrakoon*, Mayurachat kanyamee*, Thikamporn Pummarin**, Maneenad Sripa**, Sutinee sirirat** (Received August 26, 2020, Revised: November 5, 2020, Accepted: January 18, 2021 Abstract This survey research aimed to study the factors correlated with the breakfast consumption behavior of 1-4 years nursing students, Srinakharinwirot University. The 196 nursing students or 49 persons per year participated in this study by sample random sampling. Data analysis was carried out using the SPSS program to obtain the frequency, percentage, Pearson correlation coefficient ( rp) and spearman rank correlation coefficient ( rs) for finding the factors associated with breakfast consumption behavior of nursing students. The results found that: 1) age and year of students was significantly negatively correlated with breakfast consumption behavior at rp =-.289 and rs =-.265, p=.001, respectively, which means that the age and year of students inversely related with breakfast consumption behavior, 2) hastiness (time from wake up until study time) was significantly positively correlated with breakfast consumption behavior (rp =.362, p=.001), which means that hastiness was varied with breakfast consumption behavior. BMI, income, and nutritional knowledge did not significantly correlate with food consumption behavior (p>.05). The results of this study were basic information for the design and development of implementation to solve this problem in nursing students by focusing on the curriculum that is adjusted to facilitate students to have more time for breakfast. Keywords: Factors correlated; Breakfast; Nursing students *Instructor, Community nursing department, Nursing faculty, Srinakharinwirot University **Nursing student, Nursing faculty, Srinakharinwirot University วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปที ี่ 8 ฉบบั ท่ี 1 เดือน มกราคม – มิถนุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

19 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มูล TCI กลมุ่ ท่ี 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) ปจั จัยท่มี ีความสัมพนั ธต์ อ่ พฤตกิ รรมการรับประทานอาหารเช้าของนสิ ติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ จารุวรรณ ไผต่ ระกูล*, มยรุ ฉตั ร กนั ยะมี*, ฑิฆัมพร ภุมรนิ ทร์**, มณนี าถ ศรภี า**, สุธนิ ี ศริ ริ ตั น*์ * (วนั รับบทความ :26 สงิ หาคม 2563, วนั แก้ไขบทความ : 5 พฤศจกิ ายน 2563, วันตอบรบั บทความ : 18 มกราคม 2564) บทคัดยอ่ การวิจัยเชิงสารวจนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการรับประทานอาหาร เช้าของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ ชั้นปี 1-4 จานวน 196 คน โดยใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย ชั้นปีละ 49 คน ใช้สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เพ่ือศึกษาปริมาณ หรือความถ่ีในข้อมูลทั่วไป และใช้สถิติ Correlation coefficient (r) ท้ังค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (rp) และค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์สเปียร์แมน (rs) เพื่อหาปัจจัยที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารเช้าของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ผลการศกึ ษาพบวา่ 1) อายุ และช้นั ปี มคี วามสัมพันธ์ทางลบกับพฤติกรรมการรับประทานอาหารเชา้ ของนสิ ติ อย่าง มีนัยสาคัญทางสถิติ (rp =-.289 และ rs=-.265, p=.001 ตามลาดับ) ซึ่งหมายถึง อายุและช้ันปีที่มากข้ึน จะมีพฤติกรรมการรับประทานอาหารเช้าที่ลดลง 2) ความเร่งรีบ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการ รับประทานอาหารเช้าของนิสิตอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (rp =.362, p=.001) ซ่ึงจะแปลผล ว่า ความเร่งรีบหรือ ระยะเวลาตั้งแตต่ นื่ นอนจนถงึ เริ่มเรยี นท่มี าก จะมีพฤตกิ รรมการรบั ประทานอาหารเชา้ ทีม่ ากข้นึ ด้วย ส่วนดัชนมี วล กาย รายได้ และความรู้ทางโภชนาการ ไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการรับประทานอาหารเช้า (p>.05) ผลการวิจัยน้ีเป็นข้อมูลพื้นฐาน เพื่อใช้ในการออกแบบและพัฒนากิจกรรมท่ีใช้ในการแก้ปัญหาการไม่รับประทาน อาหารเชา้ ในนิสติ พยาบาล โดยเน้นการจัดหลักสูตรให้เอ้ือต่อการให้นสิ ิตได้มีเวลาในการรับประทานอาหารเช้ามากข้ึน คาสาคญั : ปจั จยั ทีม่ ีความสัมพนั ธ,์ อาหารเช้า, นิสติ คณะพยาบาลศาสตร์ *อาจารยป์ ระจา สาขาวิชาการพยาบาลชมุ ชน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ **นสิ ิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีท่ี 8 ฉบบั ท่ี 1 เดอื น มกราคม – มิถุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

20 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานข้อมูล TCI กลมุ่ ที่ 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) บทนา อาหารม้ือเช้าเป็นม้ือที่สาคัญท่ีสุด เน่ืองจากร่างกายอดอาหารมาตลอดท้ังคืน ร่างกายจึงต้องใช้พลังงาน จากอาหารม้ือเย็นมาใช้เป็นพลงั งานใหก้ ับร่างกาย ดังน้ันร่างกายจึงต้องได้รับอาหารในม้ือเชา้ เพ่ือทดแทนพลงั งาน ทีส่ ูญเสียไปในช่วงกลางคนื และช่วยเติมพลังงานให้กบั รา่ งกายและสมอง ทาใหส้ มองทางานไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ ในปัจจุบันสภาวะทางสังคมและเศรษฐกิจได้เปล่ียนแปลงตามยุคสมัย ทาให้พฤติกรรมการรับประทานอาหารเช้า ในปัจจุบันเปล่ยี นแปลงไปด้วย สาเหตุของการไม่รับประทานอาหารเช้ามีด้วยกันหลายสาเหตุ เช่น การดาเนินชีวิต ท่ีเร่งรีบไปเรียนหรือไปทางานในตอนเช้า ไม่มีเวลาพอในการเตรียมอาหารเช้า หรืออีกสาเหตุหนึ่ง คือ ต้องการ ลดนา้ หนกั เพราะเขา้ ใจผิดวา่ การลดน้าหนกั จะตอ้ งอดอาหาร สง่ ผลให้ไมร่ ับประทานอาหารเชา้ แต่ในความจรงิ แลว้ การไม่รับประทานอาหารเช้าจะยิ่งทาให้อ้วน เพราะเม่ือไม่รับประทานอาหารเช้าในระหว่างวันร่างกายจะรู้สึกหิว เนื่องจากสมองจะหลั่งฮอร์โมนเกรลิน (Ghrelin) ทาให้รับประทานอาหารมากขึ้น เช่น รับประทานอาหารจุบจิบ รบั ประทานม้ือเท่ยี งและม้ือเย็นมากขน้ึ สง่ ผลให้อว้ นได้ ซง่ึ การไม่รับประทานอาหารเช้าเป็นเวลานาน มีความ เส่ยี งท่จี ะทาให้โรคไดห้ ลายโรค เช่น โรคอ้วน โรคเบาหวาน โรคอลั ไซเมอร์ เป็นตน้ (Bonkom, 2017) นอกจากนี้ ยังพบวา่ บคุ คลที่มีการรับประทานอาหารเช้าจะมีความรู้ความเข้าใจ สติปัญญา ในการทางานท่ีดีกว่าเม่ือเทียบกับ กลุ่มทไี่ ม่รบั ประทานการรับประทานอาหารเช้า (Cooper, Bandelow, & Nevill, 2011) จากการสารวจพฤติกรรมการรับประทานอาหารของประชากรทั่วประเทศปี 2556 โดยสานักงานสถิติ แห่งชาติ สารวจ 26,520 ครัวเรือน พบว่าร้อยละ 88.0 ของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไป รับประทานอาหารมื้อหลัก ในแต่ละวัน ครบ 3 มื้อ โดยกลุ่มวัยเด็ก อายุ 6-14 ปี มีสัดส่วนการรับประทานอาหารมื้อหลกั ครบ3มื้อ สูงถึงร้อยละ92.7 ขณะที่กลุ่มวัยเยาวชนอายุ 15-24 ปี รับประทานอาหารครบ 3 ม้ือ ร้อยละ 86.7 เมื่อเปรียบเทียบผลการสารวจ ปีพ.ศ.2548,2552 และ 2556 พบว่า ประชากรอายุ 6 ปีข้ึนไป มีพฤติกรรมการรับประทานอาหารมื้อหลักครบ 3 ม้ือ เพิ่มขึ้น จากร้อยละ 82.2 ในปี 2548 เป็นร้อยละ 87.1 และ 88.0 ในปี 2552 และ 2556 ตามลาดับ โดยเฉพาะ กลุ่มวัยเด็ก อายุ 6-14 ปี มีสัดส่วนเพ่ิมขึ้นมากท่ีสุด รองลงมาคือกลุ่มวัยทางาน อายุ 25-59 ปี และกลุ่มวัยสูงอายุ อายุ 60 ปีขึ้นไป ส่วนกลุ่มวัยเยาวชน อายุ 15-24 ปี มีสัดส่วนลดลงเล็กน้อย ผลการศึกษา พบว่า เม่ือเข้าสู่ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลายและอุดมศึกษา การรับประทานอาหารเช้าลดลงกว่าช่วงวัยเด็ก เน่ืองจากความเร่งรีบท่ีมี เพิ่มขนึ้ และค่านิยมทผี่ ดิ จากทก่ี ล่าวมาขา้ งตน้ จากพฤตกิ รรมการไม่รบั ประทานอาหารเชา้ ส่งผลให้ทาให้ เกิด โรคต่างๆ มาตาม เช่น โรคอ้วน เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือด และโรคหัวใจ (Uzhova et al, 2017) และสง่ ผลตอ่ ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น (Kang & Park, 2016) นักศึกษาพยาบาลเป็นกลุ่มเยาวชน ที่ศึกษาวิชาทางการพยาบาลท้ังทฤษฎีและการปฏิบัติ มีการขึ้นฝึก ปฏิบัติงานจริงบนหอผู้ป่วยตามโรงพยาบาลต่างๆ นักศึกษาต้องนอนดึกเพราะต้องเตรียมอ่านหนังสือและ วางแผนการพยาบาลผู้ป่วย ต้องตื่นตั้งแต่เช้าเพ่ือเดินทางจากหอพักไปยังโรงพยาบาลท่ีฝึกปฏิบัติงานให้ทันเวลา บางคร้ังนกั ศึกษาจะรบั ประทานอาหารไมต่ รงเวลา หรอื อาจละเลยไม่รับประทานอาหารเช้า โดยรบั ประทานอาหาร วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปีที่ 8 ฉบบั ท่ี 1 เดือน มกราคม – มถิ นุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

21 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมลู TCI กลุ่มที่ 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) ไม่ครบ 3 ม้ือ ด่ืมน้าอัดลมขณะรับประทานอาหาร และมีการรับประทานขนมหรือของกินเล่นแทนอาหารมื้อหลัก เป็นบางครั้งถึงเป็นประจา มากถึงร้อยละ 97, 91 และ 90 ตามลาดับ (Maytapattana, 2017) ถึงแม้ว่า ผลการประเมินภาวะโภชนาการจากค่าดัชนีมวลกายของนักศึกษาพยาบาล พบว่า อยู่ในระดับปกติมากที่สุด ร้อยละ 59.8 มีภาวะโภชนาการต่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 27.5 และภาวะโภชนาการเกินเกณฑ์ร้อยละ 12.7 อย่างไรก็ตามนักศึกษาได้รับสารอาหารที่ควรได้รับประจาวันไม่เพียงพอ คือ โปรตีน ร้อยละ 36.3 เหล็ก ร้อยละ 93.1 แคลเซียม ร้อยละ 83.3 วิตามินซี ร้อยละ 74.5 ไนอาซิน ร้อยละ 73.5 วิตามินบีหน่ึง ร้อยละ 70.6 วิตามินเอ ร้อยละ 69.6 และวิตามินบีสอง ร้อยละ 32.4 จากผลการศึกษาน้ีสรุปได้ว่านักศึกษาพยาบาลมีความเสี่ยงต่อ การเกดิ ปญั หาสขุ ภาพในอนาคตได้ (Atthamaethakul & Ananchawanit, 2015) ทั้งน้ีอาหารม้ือเช้าเป็นมื้อท่ีสาคัญท่ีสุด แต่ถูกละเลยมากท่ีสุด ซึ่งอาหารเช้าช่วยเพ่ิมพลังงานให้ร่างกายได้ เตรียมความพรอ้ มรับสงิ่ ใหม่อยู่เสมอ อาหารเชา้ ทีด่ ตี ้องมสี ารอาหารครบถว้ น เช่นเดียวกับอาหารมื้ออืน่ ๆ สารอาหาร ที่มักถูกละเลย คือ โปรตีน ท่ีได้จากเน้ือสัตว์ต่างๆ ได้แก่ ไข่ เน้ือหมู ไก่ และปลาเป็นต้น (Ministry of Public Health, 2019) จากการศึกษา พบว่า คนที่ไม่รับประทานอาหารเช้า จะส่งผลให้ระดับน้าตาลในเลือดต่า หงุดหงิด ปวดศีรษะ เสี่ยงต่อการเกิดโรคอ้วน โรคเบาหวานและโรคมะเร็ง (Shrikant, 2019) จากปัญหาดังกล่าวเป็นเรื่องท่ีสาคัญและ ควรเอาใจใส่อย่างยง่ิ สาหรบั การพฒั นาเยาวชนไทยซงึ่ เปน็ กลุ่มบคุ คลทจ่ี ะพัฒนาประเทศชาติใหเ้ จริญก้าวหนา้ ต่อไป จากการทบทวนวรรณกรรมท่ีเก่ียวข้องทั้งในประเทศและต่างประเทศ พบว่า ปัจจัยท่ีเก่ียวข้องกับ การรับประทานอาหารเช้าของผู้คนแต่ละเชื้อชาติ ได้แก่ อายุ ระดับช้ันปี รายได้จากผู้ปกครองต่อเดือน (Maytapattana, 2017) ดัชนีมวลกาย (Thomas, 2015) ความเร่งรีบ (Promtang & Yimyam, 2015) ความรู้ ทางโภชนาการ (Thongchan, 2015) ความอยากอาหาร และคณุ ภาพของการนอนหลับ (Sun et al, 2017) จากท่ีกล่าวมาน้ัน สะท้อนให้เห็นว่า พฤติกรรมการรับประทานอาหารเช้านั้นสาคัญ แต่สาหรับพฤติกรรม การรับประทานอาหารเช้าของนิสิตพยาบาลกลับมีแนวโน้มท่ีสวนทาง และยังไม่เคยมีการศึกษาปัญหาดังกล่าว ในนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ซึ่งหากนิสิตพยาบาลยังละเลยต่อการรับประทาน อาหารเช้าก็ย่อมส่งผลเสียต่อสุขภาพต่างๆ ตามที่กล่าวมา จึงจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการศึกษาถึงพฤติกรรม การรับประทานอาหารเช้าของนิสิตพยาบาลอย่างจรงิ จังและหาสาเหตุปัจจัยส่งผลต่อพฤติกรรมการไม่รบั ประทาน อาหารของนสิ ิตพยาบาล เพอ่ื หาแนวทางแก้ไขและป้องกันปัญหาดังกลา่ ว ผ้วู ิจัยจงึ สนใจศกึ ษาวิจัยเรอื่ ง “ปจั จัยที่มี ความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการรับประทานอาหารเช้าของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ” เพ่ือเป็นแนวทางในการแก้ปัญหาพฤติกรรมการรับประทานอาหารและภาวะโภชนาการของนิสิตคณะพยาบาล ศาสตร์ตอ่ ไป วัตถปุ ระสงค์ เพ่ือศึกษาปัจจัยท่ีมีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการรับประทานอาหารเช้าของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปีท่ี 8 ฉบบั ท่ี 1 เดอื น มกราคม – มิถนุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

22 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยูใ่ นฐานข้อมลู TCI กลุม่ ที่ 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) สมมติฐานการวจิ ัย อายุ ระดบั ช้ันปี ดชั นมี วลกาย ความรู้ทางโภชนาการ และความเร่งรบี และรายได้จากผู้ปกครองต่อเดือน มคี วามสัมพันธต์ ่อพฤติกรรมการรบั ประทานอาหารเช้า ตวั แปรต้น ตวั แปรตาม 1.ปจั จัยด้านตัวบุคคล พฤติกรรมการรบั ประทานอาหารเชา้ -อายุ ของนสิ ติ คณะพยาบาลศาสตร์ -ระดับชั้นปี -ดัชนมี วลกาย -ความรู้ทางโภชนาการ 2.ปัจจัยดา้ นสงั คม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนยี มประเพณี -ความเรง่ รีบ 3.ปัจจยั ด้านเศรษฐกิจ -รายได้จากผู้ปกครองต่อเดือน ภาพที่ 1 กรอบแนวคดิ ในการวจิ ัย วธิ ดี าเนนิ การวจิ ยั ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษาครงั้ น้ี คอื นิสิตปรญิ ญาตรี คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ปีการศึกษา 2561 จานวน 487 คน (นิสิตช้ันปีที่ 1, 2 ,3 และ 4 จานวน 116, 117, 94 และ 160 คน ตามลาดบั ) ขนาดกลุ่มตวั อย่าง คานวณโดยใช้สูตรกรณีทีป่ ระชากรมีจานวนแน่นอน ของ Yamane (Yothongyod & Sawadisan, 2008) ได้ ขนาดของกลุ่มตัวอย่างจานวน 196 คน การคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) ดว้ ยการจับฉลาก ชัน้ ปีละ 49 คน เครอ่ื งมือทีใ่ ช้ในการวจิ ยั การวิจยั ครง้ั นี้เปน็ ใช้แบบสอบถามปัจจยั ท่ีมีความสัมพนั ธต์ ่อพฤติกรรมการรับประทานอาหารเช้าของ นิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ เป็นผู้ตอบแบบสอบถามด้วยตนเอง ซ่ึงแบบสอบถามจะ แบ่งออกเป็น 5 ส่วน โดยแบบสอบถามส่วนท่ี 4 ได้ดัดแปลงมาจาก แบบสอบถามวิจัยพฤติกรรมการรับประทาน อาหารเช้าของนิสิตปริญญาตรี สาขาสุขศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (Thongchan, 2015) โดยรายละเอยี ดมดี งั น้ี วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื ปที ่ี 8 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

23 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มลู TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) ส่วนท่ี 1 แบบสอบถามเก่ียวกับข้อมูลทั่วไปของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์เป็นแบบสอบถามแบบ ตรวจสอบรายการ (Check List) ได้แก่ ระดับช้ันปีที่ศึกษา รายได้จากผู้ปกครองต่อเดือน และความเร่งรีบ (ระยะเวลาตั้งแต่ต่ืนนอนถึงเข้าเรียน) โดยเป็นแบบสอบถามแบบปลายปิด และอายุ กับ ดัชนีมวลกาย เป็น แบบสอบถามแบบปลายเปดิ โดยให้เตมิ คาตอบตามความเปน็ จรงิ ส่วนท่ี 2 แบบสอบถามเก่ียวกับความรู้ความเข้าใจของประโยชนใ์ นการรบั ประทานอาหารเช้า เปน็ แบบ สองตัวเลอื ก ถูก/ผดิ จานวน 13 ข้อ เกณฑ์การให้คะแนน ตอบถกู ได้ 1 คะแนน ตอบผิด ได้ 0 คะแนน เกณฑ์การแปลความหมายคะแนนที่ได้จากการวดั ความรู้ ระดับคะแนน 10 - 13 คะแนน หมายถงึ ผตู้ อบมีความรเู้ ก่ยี วกบั ประโยชนใ์ นการรับประทาน อาหารเช้าในระดับมาก ระดบั คะแนน 5 - 9 คะแนน หมายถึง ผ้ตู อบมคี วามร้เู กี่ยวกบั ประโยชน์ในการรบั ประทาน อาหารเชา้ ในระดบั ปานกลาง ระดบั คะแนน 1 - 4 คะแนน หมายถงึ ผูต้ อบมคี วามรู้เกยี่ วกบั ประโยชนใ์ นการรับประทาน อาหารเชา้ ในระดบั น้อย ข้อคาถามท่ตี อบถูก ไดแ้ ก่ 1, 2, 3, 5, 7, 8, 10, 11, 12, 13 ขอ้ คาถามที่ตอบผดิ ได้แก่ 4, 6, 9 ส่วนท่ี 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับชนิดของอาหารเช้าท่ีรับประทานเป็นประจา เป็นแบบสอบถามให้ ผู้ตอบ เลือกตอบประเภทของอาหารโดยให้ตอบเป็นเลข 1, 2 ,3 เรียงลาดับตามความถ่ีท่ีรับประทานน้อยถึงมาก ท่ีสดุ จานวน 3 ขอ้ แบง่ ตามลาดบั ของชนิดอาหารเช้าท่ีรบั ประทาน ส่วนที่ 4 แบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลพฤติกรรมการรับประทานอาหารเช้า เป็นแบบสอบถามให้ผู้ตอบ ประเมินด้วยตนเองว่าความบ่อยในการท่ีไม่รับประทานอาหารเช้านั้นมีความบ่อยมากน้อยเพียงใด เป็นแบบมาตร ประมาณค่า (Rating Scale) มี 4 ระดบั จานวน 1 ข้อ แบ่งเปน็ มากท่ีสดุ มาก น้อย น้อยที่สุด กาหนดเกณฑ์ในการประเมิน มากท่ีสุด หมายถึง ปฏบิ ตั ิเปน็ ประจาและสม่าเสมอ (ประมาณ 6-7 วนั ใน 1 สัปดาห)์ มาก หมายถึง ปฏิบัติเป็นประจาแต่ไม่สม่าเสมอ (ประมาณ 4-5 วัน ใน 1 สัปดาห์) นอ้ ย หมายถงึ ปฏบิ ตั ิเปน็ บางครัง้ (ประมาณ 2-3 วนั ใน 1 สปั ดาห์) นอ้ ยท่สี ดุ หมายถงึ ปฏิบัตนิ านๆ ครงั้ หรอื ไม่ปฏิบตั เิ ลย (ประมาณ 0-1 วัน ใน 1 สปั ดาห์) วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปีที่ 8 ฉบบั ที่ 1 เดอื น มกราคม – มิถุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

24 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมูล TCI กลุม่ ที่ 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) ส่วนที่ 5 แบบสอบถามเก่ียวกบั พฤติกรรมท่ีส่งผลต่อการไมร่ บั ประทานอาหารเช้า เปน็ แบบสอบถามชนิด มาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) มี 5 ระดับ จานวน 12 ข้อ ตามรูปแบบของ Liker’s Scale คือ มากท่ีสุด มาก ปานกลาง น้อย นอ้ ยทส่ี ุด โดยนาแบบสอบถามที่ไดร้ บั การตอบแลว้ มาตรวจใหค้ ะแนน เกณฑ์การให้คะแนน มากท่สี ดุ 5 คะแนน มาก 4 คะแนน ปานกลาง 3 คะแนน นอ้ ย 2 คะแนน นอ้ ยท่สี ดุ 1 คะแนน การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล เก็บรวบรวมข้อมูลจากนิสิตชั้นปีท่ี 1-4 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยใช้ แบบสอบถามที่ผู้ศึกษาจัดทาขึ้น ซึ่งผู้ตอบแบบสอบถามสามารถทาแบบสอบถามได้ด้วยตนเอง โดยเปิดโอกาสให้ กลุ่มตวั อย่างตอบแบบสอบถามอย่างอิสระ (ใชเ้ วลาประมาณ 15 นาที) และรอรบั คืนแบบสอบถามประมาณ 3 วนั จึงทาการเก็บแบบสอบถาม เม่ือนักศึกษาแต่ละชั้นปีส่งแบบสอบถามเรียบร้อย ผู้วิจัยทาการตรวจสอบความ ครบถว้ นของคาตอบอกี ครงั้ ก่อนนาไปวเิ คราะหข์ ้อมลู พรอ้ มลงรหสั แล้วนามาวเิ คราะห์ขอ้ มลู ตามลาดับ การตรวจสอบคณุ ภาพเครือ่ งมือ เครื่องมือท่ีสร้างขึ้นได้ผ่านการตรวจสอบความตรงของเน้ือหาจากผู้เช่ียวชาญ 3 ท่าน เพ่ือทดสอบดัชนี ความเท่ียงตรง (Content validity index: CVI) ในแบบสอบถามประกอบด้วย 1) ด้านความรู้ความเข้าใจของ ประโยชน์ในการรับประทานอาหารเช้า 2) ด้านชนิดของอาหารเช้าที่รับประทานเป็นประจา 3) ด้านข้อมูล พฤติกรรมการรับประทานอาหารเช้า 4) ด้านพฤติกรรมที่ส่งผลต่อการไม่รับประทานอาหารเช้า ไดค้ า่ CVI เท่ากับ 1 นอกจากน้ี ได้มีการประเมินความเช่ือม่ัน โดยใช้วิธีสูตรสัมประสิทธ์ิแอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s Alpha Coefficient) ในแบบสอบถามด้านความรู้ความเข้าใจของประโยชน์ในการรับประทานอาหารเช้า โดยใช้สถิติ ตรวจสอบความเช่ือม่นั Kuder-Richardson (KR.20) และด้านข้อมูลพฤตกิ รรมทีส่ ่งผลตอ่ การไมร่ ับประทานอาหาร เช้า กับกลุ่มตัวอย่างท่ีมีลักษณะคล้ายคลึงกัน จานวน 30 คน โดยใช้วิธีสูตรสัมประสิทธ์ิแอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s Alpha Coefficient) ซ่งึ ไดค้ า่ ความเชื่อมนั่ เทา่ กับ 0.78 และ 0.85 ตามลาดบั การวิเคราะห์ข้อมลู 1.ข้อมูลท่ัวไป เช่น อายุ ระดับช้ันปี ดัชนีมวลกาย รายได้ ความเร่งรีบ ความรู้ทางโภชนาการ และ พฤตกิ รรมการรบั ประทานอาหารเชา้ ของนสิ ติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ นามาวเิ คราะห์ ดว้ ยสถิติเชงิ พรรณนา (Descriptive statistic) โดยการแจกแจงความถ่ี รอ้ ยละ คา่ เฉล่ยี ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื ปที ่ี 8 ฉบบั ที่ 1 เดอื น มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

25 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มลู TCI กลมุ่ ที่ 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) 2.การศึกษาปัจจัยท่ีมีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการรับประทานอาหารเช้าของนิสิตคณะพยาบาล ศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ใช้สถิติ Correlation coefficient (r) โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson Correlation Coefficient) และคา่ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์สเปียรแ์ มน (Spearman Rank Correlation Coefficient) การพิทกั ษ์สิทธิ์กลุ่มตวั อย่างและจริยธรรมวจิ ยั การวิจัยครง้ั นี้ไดผ้ ่านการรับรองจริยธรรมวิจัยจากคณะกรรมการสาหรับพิจารณาโครงการท่ีทาในมนุษย์ ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ หมายเลข SWUEC-219/61E ลงวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ.2561 ซึ่งกลุ่มตัวอย่าง ในการวิจัยคร้ังน้ีได้รับการยินยอมให้ข้อมูล โดยผู้วิจัยได้แนะนาตัว อธิบายวัตถุประสงค์การวิจัย ช้ีแจงเอกสาร ผู้มีส่วนร่วมในงานวิจัย และให้กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ลงนามยินยอมเข้ารับการวิจัยด้วยความสมคั รใจ หากผู้มีส่วนรว่ ม ในงานวิจัย พบว่า มีผลกระทบต่อการเรียนการสอนในหลักสูตรพยาบาลศาสตร์ เช่น การสูญเสียเวลา หรือ เปน็ การเปดิ เผยความลบั ส่วนบคุ คล กลมุ่ ตัวอยา่ งสามารถยกเลิกการทาแบบสอบถามได้ทันที และปฏิเสธการเข้ารว่ มวิจัยได้ ผลการวจิ ยั สว่ นที่ 1 แบบสอบถามเกย่ี วกบั ข้อมูลทัว่ ไปของนสิ ิต กลุ่มตัวอย่าง จานวน 196 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จานวน 181 คน คิดเป็นร้อยละ 92.3 ส่วนใหญ่ อายุ 21 ปี จานวน 51 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 26 ดัชนมี วลกายส่วนใหญอ่ ยู่ในระดับเกณฑ์ทีป่ กติ เทา่ กบั รอ้ ยละ 56.6 ส่วนใหญ่มีรายได้จากผู้ปกครองต่อเดือน 4,001-5,000 บาท จานวน 73 คน คิดเป็นร้อยละ 37.2 ส่วนใหญ่อาศัย อยู่ในหอพักมหาวิทยาลัย จานวน 178 คน คิดเป็นร้อยละ 90.8 และส่วนใหญ่มีความเร่งรีบ คือ ระยะเวลาตั้งแต่ ตน่ื นอนถงึ เร่มิ เรียน โดยใช้เวลา 1 ชวั่ โมง 30 นาที จานวน 68 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 34.6 ส่วนท่ี 2 ความรูค้ วามเข้าใจของประโยชนใ์ นการรับประทานอาหารเชา้ ส่วนใหญ่มีความรู้ทางโภชนาการหรือความรู้ความเข้าใจของประโยชน์ในการรับประทานอาหารเช้า ได้ระดบั ดมี าก (10 - 13 คะแนน) จานวน 185 คน คิดเปน็ ร้อยละ 94.4 และมีความรเู้ กี่ยวกับประโยชน์ ใน การรบั ประทานอาหารเชา้ ในระดบั ปานกลาง จานวน 11 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 5.6 ตามลาดับ วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปที ี่ 8 ฉบับที่ 1 เดอื น มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

26 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคุณภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มลู TCI กลุ่มที่ 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) สว่ นท่ี 3 ข้อมูลชนดิ ของอาหารเชา้ ท่ีรับประทานเป็นประจา ตารางที่ 1 แสดงจานวนและคา่ รอ้ ยละของนสิ ิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ จาแนกตามลกั ษณะประเภทของอาหารเชา้ ท่รี ับประทานบ่อยที่สุดของนสิ ิตคณะพยาบาลศาสตร์ (n=196) ประเภทอาหารเช้า อนั ดับที่ 1 อนั ดบั ที่ 2 อันดบั ที่ 3 จานวน ร้อย จานวน ร้อย จานวน ร้อย อาหารตามสง่ั (คน) ละ (คน) ละ (คน) ละ อาหารสาเรจ็ รปู (อาหารแชแ่ ขง็ ) 134 68.4 11 5.6 5.6 19 K 9.7 อาหารก่ึงสาเร็จรปู (บะหมี่ก่ึงสาเร็จรูปโจ๊คคัพ) 6 3.1 37 18 18.9 21 1 10.7 ขนมปัง 4 2.0 32 16. 16.3 34 1 17.3 ผลไม้ 25 12.8 64 32. 32.7 41 2/ 20.9 เครื่องดื่ม (กาแฟ โอวัลตนิ นม น้าผลไม้ ฯลฯ) 5 2.6 21 10 10.7 34 17.3 22 11.2 47 24.0 31 15.8 จากตารางที่ 1 ลักษณะประเภทของอาหารเช้าท่ีรับประทานบ่อยที่สุด พบว่า กลุ่มตัวอย่างเลือก รบั ประทานอาหารตามสัง่ เปน็ อันดับท่ี 1 จานวน 134 คน คิดเป็นร้อยละ 68.4 เลือกรับประทานขนมปงั เปน็ อันดับ ท่ี 2 จานวน 64 คน คิดเป็นร้อยละ 32.7 และเลือกเคร่ืองด่ืม (กาแฟ โอวัลติน นม น้าผลไม้ ฯลฯ ) เป็นอันดับที่ 3 จานวน 45 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 23 ส่วนท่ี 4 ข้อมูลพฤตกิ รรมการรับประทานอาหารเช้า ตารางท่ี 2 แสดงจานวนและค่าร้อยละ ของนิสติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ จาแนกตาม พฤติกรรมการรับประทานอาหารเช้า (n = 196) พฤติกรรมการรับประทานอาหารเช้า จานวน (คน) รอ้ ยละ ปฏบิ ัตเิ ปน็ ประจาและสมา่ เสมอ 74 37.8 ปฏบิ ัติเปน็ ประจาแต่ไมส่ มา่ เสมอ 69 35.2 ปฏบิ ตั ิเปน็ บางครัง้ 43 21.9 ปฏบิ ตั นิ าน ๆ ครงั้ หรอื ไมป่ ฏิบัติเลย 10 5.1 196 100 รวม วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนอื ปที ี่ 8 ฉบับท่ี 1 เดอื น มกราคม – มิถุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

27 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอย่ใู นฐานขอ้ มูล TCI กลุม่ ที่ 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) จากตารางท่ี 2 ลักษณะพฤติกรรมการรับประทานอาหารเช้าของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า กลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการรับประทานอาหารเช้าเป็นประจาและสม่าเสมอ จานวน 74 คน คิดเป็นร้อยละ 37.8 รองลงมามีพฤติกรรมการรับประทานอาหารเช้าเป็นประจาแต่ไม่สม่าเสมอ จานวน 69 คน คิดเป็นร้อยละ 35.2 มีพฤติกรรมการรับประทานอาหารเช้าเป็นเป็นบางครั้ง จานวน 43 คน คิดเป็นร้อยละ 21.9 และมีพฤติกรรม การรบั ประทานอาหารเช้านาน ๆ ครงั้ หรือไมป่ ฏบิ ตั ิเลย จานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 5.1 ตามลาดบั สว่ นที่ 5 พฤตกิ รรมทส่ี ง่ ผลต่อการไมร่ ับประทานอาหารเช้า ตารางท่ี 3 แสดงผลการเปรียบเทียบท่ีแตกต่างด้านปัจจัยที่ส่งผลต่อการไม่รับประทานอาหารเช้า ของนิสิตคณะ พยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ (n =196) ระดบั ความคิดเหน็ (ร้อยละ) ข้อ รายการ มาก มาก ปาน น้อย นอ้ ย x̅ S.D. แปลผล ทสี่ ุด กลาง ทสี่ ดุ (5) (4) (3) (2) (1) 1 การรับประทานอาหารเช้าเป็น 1 27 69 57 42 2.43 .99 นอ้ ย เรื่องท่ียุ่งยากสาหรับท่าน (.5) (13.8) (35.2) (29.1) (21.4) 2 ท่านมเี วลาไม่เพียงพอตอ่ 22 41 66 41 26 2.96 1.18 ปาน การรบั ประทานอาหารเชา้ (11.2) (20.9) (33.7) (20.9) (13.3) กลาง 3 ในการรับประทานอาหาร 32 62 60 30 12 3.37 1.11 ปาน เชา้ ท่านมักจะรบั ประทาน (16.3) (31.6) (30.6) (15.3) (6.1) กลาง ดว้ ยความเรง่ รีบ 4. ทา่ นมักจะต่นื สายเปน็ 18 33 61 59 25 2.81 1.17 ปาน ประจา (9.2) (16.8) (31.1) (30.1) (12.8) กลาง 5 ทา่ นจะเลือกไปซอื้ ขนมปัง 34 55 50 32 25 3.21 1.27 ปาน หรือนมรบั ประทานเป็น (17.3) (28.1) (25.5) (16.3) (12.8) กลาง อาหารเช้าเพื่อความสะดวก และรวดเร็ว 6 รา้ นอาหารมีคนเยอะ ทาให้ 27 53 50 38 28 3.07 1.26 ปาน ทา่ นไม่รบั ประทานอาหารเช้า (13.8) (27) (25.5) (19.4) (14.3) กลาง วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปีท่ี 8 ฉบบั ท่ี 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

28 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคุณภาพของ TCI และอย่ใู นฐานขอ้ มูล TCI กลมุ่ ท่ี 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) ตารางที่ 3 แสดงผลการเปรียบเทียบที่แตกต่างด้านปัจจัยท่ีส่งผลต่อการไม่รับประทานอาหารเช้า ของนิสิตคณะ พยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ (n =196) (ตอ่ ) ระดบั ความคดิ เหน็ (ร้อยละ) ขอ้ รายการ มาก มาก ปาน น้อย นอ้ ย x̅ S.D. แปลผล ที่สดุ กลาง ท่สี ดุ (5) (4) (3) (2) (1) 7 เพื่อนของท่านเปน็ ปัจจยั ในการ 14 31 47 54 50 2.52 1.23 ปาน ไมร่ ับประทานอาหารเช้า (7.1) (15.8) (24) (27.6) (25.5) กลาง 8 ทา่ นยังไมร่ ้สู กึ อยากอาหาร 15 28 64 46 43 2.62 1.19 ปาน (7.7) (14.3) (32.4) (23.5) (21.9) กลาง 9 ท่านไม่รับประทานอาหาร 3 6 19 40 128 1.55 .90 นอ้ ย เชา้ เพราะกลัวอ้วน (1.5) (3.1) (9.7) (20.4) (65.3) 10 ทอี่ ยู่อาศัยของท่านต้งั อยู่ 1 13 49 51 82 1.98 .99 น้อย ไกลจากร้านอาหาร (0.5) (6.6) (25.0) (26.0) (41.8) 11 ทา่ นตอ้ งการประหยดั 4 18 39 65 70 2.09 1.05 นอ้ ย คา่ ใช้จ่าย (2.0) (9.2) (19.9) (33.2) (35.7) 12 การรับประทานอาหารเชา้ 46 36 63 29 22 3.26 1.29 ปาน ทาให้กระต้นุ ระบบขบั ถ่าย (23.5) (18.4) (32.1) (14.8) (11.2) กลาง ของทา่ น คา่ เฉลย่ี รวม 2.66 1.13 ปาน กลาง จากตารางที่ 3 ลักษณะพฤติกรรมท่ีส่งผลต่อการไม่รับประทานอาหารเช้าของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยท้ังหมดท่ีมีผลต่อพฤติกรรมการไม่รับประทานอาหารเช้า ในระดับปาน กลาง คา่ เฉลย่ี รวมเท่ากับ 2.66 คดิ เป็นรอ้ ยละ 53.2 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีที่ 8 ฉบบั ที่ 1 เดือน มกราคม – มิถนุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

29 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มูล TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) สว่ นที่ 6 การทดสอบสมมติฐาน ตารางที่ 4 แสดงปจั จัยที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารเชา้ ของนสิ ติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ (n=196) ปัจจัย สมั ประสทิ ธสิ์ หสัมพนั ธ์ (r) Sig. ปจั จยั ส่วนบุคคล อายุ (p) -.289 .001* ระดบั ช้ันปี (s) -.265 .001* ดัชนีมวลกาย (p) .084 .239 รายได้จากผูป้ กครองต่อเดือน (p) -.103 .149 ความเร่งรบี (p) .362 .001* ความรูท้ างโภชนาการ (p) -.016 .829 *p-value = .001,s= (rp ) = คา่ สมั ประสทิ ธสิ หสมั พนั ธ์เพียรส์ นั (Pearson Correlation Coefficient),s=(rs)=ค่าสัมประสิทธิ สหสมั พนั ธส์ เปยี รแ์ มน (Spearman Rank Correlation Coefficient) จากตารางท่ี 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการรับประทานอาหารเช้า 1) อายุ พบว่า มีค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ (rp) เท่ากับ -.289 และค่านัยสาคัญทางสถิติเท่ากับ .001 (p-value = .001) ซ่ึงหมายถึง อายุมีความสัมพันธ์ผกผันกบั พฤติกรรมการรับประทานอาหารเช้าอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ คือ อายุที่มากข้ึน จะมีพฤติกรรมการรับประทาน อาหารเช้าท่ีลดลง 2) ระดับช้ันปี พบว่า มีค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ (rs) เท่ากับ -.265 และค่านัยสาคัญทางสถิติ เท่ากับ .001 (p-value = .001) ซ่ึงหมายถึง ระดับช้ันปีมีความสัมพันธ์ผกผันกับพฤติกรรมการรบั ประทานอาหาร เช้าอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ คือ ชั้นปีท่ีมากขึ้น จะมีพฤติกรรมการรับประทานอาหารเช้าท่ีลดลง 3) ความเร่งรีบ พบว่า มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (rp) เท่ากับ .362 และค่านัยสาคัญทางสถิติเท่ากับ .001 ซึ่งหมายถึง ความเร่ง รีบ หรือระยะเวลาตั้งแต่ต่ืนนอนจนถึงเริ่มเรียนมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการรับประทานอาหารเช้า อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ คือ ระยะเวลาที่มาก (ระยะเวลาต้ังแต่ตื่นนอนถึงเข้าเรียน) จะมีพฤติก รรมการ รบั ประทานอาหารเชา้ ทีม่ ากข้ึน อภปิ รายผล จากการศึกษาวิจัยเร่ือง “ปัจจัยท่ีมีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการรับประทานอาหารเช้าของนิสิต คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ” สามารถนามาอภิปรายผลได้ดังน้ี กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ มีพฤติกรรมการรับประทานอาหารเช้าเป็นประจาและสม่าเสมอ คิดเป็นร้อยละ 37.8 สอดคล้องกับการศึกษา ของจักรพันธ์ รูส้ มยั และคณะ (Roosamai et al.,2017) ศึกษาพฤตกิ รรมบรโิ ภคอาหารเช้าและความรู้ความเข้าใจ ตามหลักโภชนาการของนกั เรยี นช้ันประถมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนบ้านดอนสาโรง จังหวัดสุโขทัย พบว่า ผู้ตอบ วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื ปที ่ี 8 ฉบบั ที่ 1 เดือน มกราคม – มถิ นุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

30 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มูล TCI กลมุ่ ที่ 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) แบบสอบถามมีระดับพฤติกรรมรับประทานโดยรวมต่อด้านพฤติกรรมรับประทานอยู่ในระดับดี และส่วนใหญ่ มีพฤตกิ รรมรบั ประทานอาหารเช้าก่อนมาโรงเรียนทุกวัน แตไ่ ม่สอดคล้องกับการศึกษาของปริญญา ผกานนทแ์ ละ นิตยา ไสยสมบัติ (Paganon & saiyasombat,2016) ท่ีศึกษาพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชธานี พบว่า นักศึกษาพยาบาลส่วนใหญ่จะงดการรับประทานอาหารเช้า โดยมีการรับประทาน อาหารเช้าเป็นบางครั้งร้อยละ 71.7 โดยมีการรับประทานอาหารเช้าเป็นประจาเพียงร้อยละ 18.7 เนื่องจาก นักศึกษามีรูปแบบการใช้ชีวิตที่เปล่ียนไปตามยุคสมัยทาให้มีการรับประทานอาหารที่ไม่ถูกต้อง และการใช้ชีวิต อยใู่ นหอพัก และในร้ัวมหาวทิ ยาลยั มสี ว่ นทีท่ าให้นักศึกษาขาดการดูแลเร่ืองการรบั ประทานอาหารท่ีดีมีประโยชน์ ต่อสุขภาพ ทางด้านปัจจัยที่ส่งผลต่อการรับประทานอาหารเช้าของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พบว่า อายุ มีความสัมพันธ์ผกผันกับพฤติกรรมการรับประทานอาหารเช้าอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ซึ่งเป็นไปตาม สมมติฐานการวจิ ัย แปลผลได้ว่า อายุยิ่งมากจะรับประทานอาหารเช้าลดลง ซ่ึงอาจมีเหตุผลมาจากนิสิตที่อายุมาก ข้ึน มีการเรียนท่ีหนักข้ึน ประกอบกับมีการเรียนท่ีเนน้ ไปทางการฝกึ ภาคปฏิบัตมิ ากกว่าการเรียนภาคทฤษฎที ี่ต้อง ขน้ึ ฝกึ ปฏบิ ตั ิในเวลาเช้ามากจงึ มโี อกาสไม่ได้รบั ประทานอาหารเช้า ระดบั ช้นั ปี มีความสัมพันธ์ผกผนั กบั พฤติกรรม การรับประทานอาหารเช้าอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ซ่ึงเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัย เน่ืองจากการเรียน ในหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต นิสิตในช้ันปีที่สูงขึ้นจะมีการฝึกปฏิบัติในหอผู้ป่วยของโรงพยาบาลแหล่งฝึก ที่หลากหลายทั้งในจังหวัดเดียวกันหรือใกล้เคียง รวมถึงการเดินทางไปในแหล่งฝึกที่อยู่ในกรุงเทพฯ ทาให้ต้องใช้ เวลาในการเดินทางที่มากและไม่แน่นอนจากสภาพการจราจรในแต่ละวัน ส่งผลให้ เมื่อนิสิตไปถึงแหล่งฝึก อาจจะต้องรีบขึ้นฝึกปฏิบัติงานทันทีโดยไม่มีเวลาเหลือพอในการรับประทานอาหารเช้า และความเร่งรีบ มีความสัมพันธท์ างบวกกับพฤติกรรมการรับประทานอาหารเช้าอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ซึ่งเป็นไปตามสมมตฐิ าน การวิจัย จากแบบสอบถามในเร่ืองของความเร่งรีบ คือการถามระยะเวลาตั้งแต่ตื่นนอน จนถึงเวลาที่เร่ิมเรยี นหรือ ขึ้นฝึกปฏิบัติ โดยระยะเวลาที่มากทาให้มีพฤติกรรมการรับประทานอาหารเช้าที่มากข้ึน ซ่ึงพบว่านิสิตส่วนใหญ่ ใช้เวลาในการเตรียมตัวก่อนไปเรียน 1 ช่ัวโมง 30 นาที จานวน 68 คน คิดเป็นร้อยละ 34.6 ซ่ึงจะเห็นว่า เวลาดงั กล่าวนิสิตสามารถท่จี ะทากจิ วตั รประจาวนั และรบั ประทานอาหารเช้าได้ทันเวลาก่อนเรม่ิ เรยี น ซง่ึ สอดคล้องกับการวิจัยของพีรพัฒน์ พรมแตง และ พีรพงษ์ ยิ้มแย้ม (Promtang & Yimyam,2015) ที่ได้ศึกษา เก่ียวกับปัจจัยท่ีส่งผลต่อการไม่รับประทานอาหารเช้าของนักศึกษาสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์ลพบุรี จังหวัดลพบุรี ผลการวิจัยพบว่าความเร่งรีบมีความสัมพันธ์กับ พฤติกรรมการรับประทานอาหารเช้า ส่วน ดัชนีมวลกาย ไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการรับประทานอาหาร เช้า ซ่ึงไม่เป็นไปตามสมมติฐานการวิจัย เนื่องจากการกลุ่มตัวอย่างส่วนมากดัชนีมวลกายที่ปกติ ถึงร้อยละ 56.6 ซง่ึ ดัชนมี วลกายทมี่ ากหรอื นอ้ ยกไ็ มไ่ ด้สง่ ผลใหพ้ ฤตกิ รรมการรับประทานอาหารเชา้ เพ่ิมขน้ึ หรือลดลง และ ไม่ สามารถบอกถึงพฤติกรรมการรับประทานอาหารเช้าของนิสิตได้ รายได้จากผู้ปกครองต่อเดือน และความรู้ทาง โภชนาการ ไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการรับประทานอาหารเช้าด้วยเช่นกัน ซึ่งไม่เป็นไปตามสมมติฐานการ วิจัย และไม่สอดคล้องกับการวิจัยของ มัณทนาวดี เมธาพัฒนะ ท่ีได้ศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยท่ีมีความสัมพันธ์กับ วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื ปที ่ี 8 ฉบับที่ 1 เดอื น มกราคม – มถิ นุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

31 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มูล TCI กลมุ่ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) พฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักศึกษาพยาบาล ผลการวิจัยพบว่า รายได้และความรู้ทางโภชนาการ มคี วามสัมพนั ธ์กับพฤติกรรมการรับประทานอาหารเช้า ซ่ึงในสว่ นของความรู้ทางโภชนาการ ถงึ แม้ว่ากลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่มีความรู้ความเข้าใจของประโยชน์ในการรับประทานอาหารเช้า ได้ระดับดีมาก(10 - 13 คะแนน)ร้อยละ94.4 (Maytapattana, 2017) อย่างไรก็ตามระดับความรู้ทางโภชนาการของการศึกษาวิจัยน้ีก็ไม่ได้เป็นปัจจัย ที่มีความสัมพันธ์กับการรับประทานอาหารเช้า เน่ืองจากนิสิตแค่รับรู้ถึงประโยชน์ของการรับประทานอาหารเช้า แต่ด้วยปัจจัยอื่น เช่น อายุ ระดับชั้นปี ที่มากและการเรียนภาคปฏิบัติท่ีต้องเร่งรีบ ทาให้ส่งผลกระทบโดยตรงกับ การไมไ่ ด้รับประทานอาหารเชา้ ของนสิ ิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ ขอ้ เสนอแนะในการนาผลการวิจยั ไปใช้ จากผลงานวิจัย พบว่า อายุ ระดับชั้นปี และความเร่งรีบ มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการรับประทาน อาหารเช้า ซึง่ เปน็ ผลมาจากการเรยี นในหลกั สตู รพยาบาลศาสตรบัณฑิต ท่ีมีการเรยี นทฤษฎีในห้องเรยี น และเรยี น ภาคปฏิบัติในแหล่งฝึกปฏิบัติ แต่อย่างไรก็ตามควรมีการจัดกิจกรรมของหลักสูตรที่ส่งเสริมให้นิสิตได้รับประทาน อาหารเชา้ ท่ีมากยงิ่ ข้ึน เพอื่ ใหต้ นเองมีสุขภาพท่ดี ี และสามารถทีจ่ ะดูแลสขุ ภาพของประชาชนคนอน่ื ๆ ต่อไปได้ ขอ้ เสนอแนะในการศึกษาคร้งั ตอ่ ไป ควรเพิ่มการศึกษาในกลุ่มตัวอย่างในสาขาอ่ืนทางสายวิทยาศาสตร์สุขภาพ เพื่อท่ีจะเปรียบเทียบความ แตกต่างของผลวิจัย และควรเพิ่มการเปรียบเทียบความแตกต่างการรับประทานอาหารเช้าของนิสิตที่เรียน ภาคปฏิบตั แิ ละภาคทฤษฎี เพอ่ื เตรยี มตัวนิสติ ให้มีเวลาในการรบั ประทานอาหารเชา้ มากยงิ่ ขนึ้ เอกสารอา้ งอิง Atthamaethakul, W. & Ananchawanit, P. (2015). Nutritional status, energy and nutrient daily intake of nursing students in Borommarajonnani college of Nursing, Ratchburi. The Journal of Baromarajonani College of Nusing, Nakhonratchasima, 21(2), 89-103. Bonkom, P. (2017). The importance of breakfast (1st ed.). Bangkok: Supapdee printing. (in Thai). Cooper, SB., Bandelow, S., & Nevill, M.E. (2011). Breakfast consumption and cognitive function in adolescent schoolchildren. Physiol Behav ,103(5), 431-439. Department of Health, Ministry of Public Health. ( 2019) . 3 meals every day in good health. [online] Available from: https://multimedia.anamai.moph.go.th/help-knowledgs/food/ (2020, 24 October). (in Thai). วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปที ่ี 8 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มถิ นุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

32 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคุณภาพของ TCI และอย่ใู นฐานขอ้ มูล TCI กลุ่มที่ 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) Kang, Y.W., & Park, J.H. (2016). Does skipping breakfast and being overweight influence academic achievement among Korean adolescents. Osong Public Health Res Perspect, 7(4), 220–227. Kline, R. (2005). Principles and practice of structural equation modeling (2nd ed.). NY: Guilford. Maytapattana, M. (2017). Factors associated with food consumption behavior of nursing students. The Journal of Faculty of Nursing Burapha University, 25(3), 20-29. (in Thai). Paganon, P. , & saiyasombat. N. ( 2016) . Food consumption behavior of nursing students in Ratchathani University. RTUNC 2018 The 3rd National Conference May 25,2016 Ubonratchathani, Thailand. 462-470. (in Thai). Promtang, P. , & Yimyam, P. ( 2015) . Factor of breakfast consumption of industrial engineering students. Rajamangala University of Technology Suvarnabhumi. ( Master’ s thesis) . Rajamangala University of Technology Suvarnabhumi, Graduate School. (in Thai). Roosamai, J., et al. (2017). Study of breakfast consumption and nutritional knowledge of primary students Ban Don Samrong School, Sukhothai Province. The 9th Rajamangala University of TechnologyNational Conference(Creative RMUTandSustainable InnovationforThailand4.0), 910-921. (inThai). Shrikant, N. ( 2019) . 10 Harmful effects of skipping breakfast. [ online] Available from: https://www.stylecraze.com/articles/harmful-effects-of-skipping-breakfast/(2020, 24October). Sun, J. , et al. ( 2013) . Factors associated with skipping breakfast among Inner Mongolia Medical students in China. BMC Public Health, 13(42), 1-8. Thomas, E.A., et al. (2015). Usual breakfast eating habits affect response to breakfast skipping in overweight women. Obesity (Silver Spring), 23(4), 750-759. Thongchan, P. (2015). Factor of breastfast consumption of bachelor degree students, Health Education, Faculty of Education, Kasetsart University. (Master’s thesis). Kasetsart University, Graduate School. (in Thai). Uzhova, I., et al. (2017). The importance of breakfast in atherosclerosis disease: Insights from the PESA study. J Am Coll Cardiol,70(15), 1833-1842. (in Thai). Yothongyod, M.,& Sawadisan, P. (2008). Size determination of sample groups for research. [online] Available from: http://www.fsh.mi.th/km/wp-content/uploads/2014/04/resch.pdf (2020, 15 August). (in Thai). วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 เดอื น มกราคม – มถิ นุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

33 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI และอยูใ่ นฐานข้อมลู TCI กลุ่มท่ี 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) Experience of Repeat Pregnancy Prevention among Adolescents Unya PlodPluang* (Received October 5, 2020, Revised: December 9, 2020, Accepted: February 18, 2021) Abstract This research aimed to examine the experience of adolescents who have tried repeat pregnancy prevention in kanchanaburi, Thailand. The 2 key informants were consisted of 15 participants who are currently pregnant or who used to be pregnant during their teenage life; and 5 nurses who provide family planning services for adolescent females. Purposive sampling was used for this study. The research instruments used in-depth interview with recording. The data were analyzed by Hermeneutic Phenomenology. The findings revealed 4 main themes, as follows: 1) When adolescent miss out contraception, they are given both physical and mental family care and support. 2) A dolescents take contraceptive irregularly such as taking oral contraceptive pills for females and using condom intermittently for males. 3) The reasons for prevention of repeat pregnancy in adolescent females are they look themselves as a young and that they should not have children yet; and they want to complete their studies in order to find work to support their children; and 4) Adolescents are confident in choosing to prevent repeat pregnancy with Norplant contraceptives. Recommendation: The education about adolescent pregnancy prevention should be encouraged continuously. It is recommended to promote the prevention of repeat pregnancy with the use of oral contraceptives as the main type. Moreover, family members are encouraged to take a part in preventing pregnancy for positive effect on the quality of life of teenage pregnancy in the future. Keywords: Prevention;Repeat pregnancy;Adolescents * Registered nurse, Senior Professional level, BoromarajonaniCollege of nursing, Chakriraj วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปีท่ี 8 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

34 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานข้อมูล TCI กลมุ่ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) ประสบการณ์การปอ้ งกันการตงั้ ครรภ์ซา้ ในวัยรุน่ อัญญา ปลดเปลื้อง* (วันรับบทความ : 5 ตุลาคม 2563, วันแกไ้ ขบทความ : 9 ธนั วาคม 2563, วันตอบรบั บทความ : 18 กุมภาพนั ธ์ 2564) บทคัดย่อ การศึกษาวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาประสบการณ์การป้องกันการต้ังครรภ์ซ้าของวัยรุ่น ใน จงั หวดั กาญจนบุรี ผู้ให้ข้อมลู หลัก 2 กลุ่ม ได้แก่ วัยรุ่นหญิงที่มีอายุระหว่าง 15-19 ปี ที่มปี ระวัติเคยตั้งครรภ์หรือ ก้าลังต้ังครรภ์ จ้านวน 15 คน และพยาบาลวิชาชีพที่ให้บริการวางแผนครอบครัวกับวัยรุ่นหญิง จ้านวน 5 คน ใช้ การคัดเลอื กแบบเจาะจง เคร่ืองมือที่ใช้ในการวจิ ัย เปน็ แบบบนั ทึกข้อมลู ทั่วไป แนวค้าถามการสัมภาษณ์ ใชว้ ิธีการ สมั ภาษณแ์ บบเจาะลึก และบันทกึ เสียง ใช้การวเิ คราะห์ขอ้ มลู แบบปรากฏการณ์วทิ ยา ผลการวิจัย พบประเด็นส้าคัญ 4 ประเด็นหลัก ได้แก่ 1) เม่ือวัยรุ่นพลาดจากการคุมก้าเนิดจะได้รับ การดูแลและก้าลังใจจากครอบครัว โดยท่ีสมาชิกในครอบครัวให้การดูแลวัยรุ่นท่ีตั้งครรภ์ ท้ังด้านร่างกาย จิตใจ เป็นอย่างดี 2) วัยรุ่นคุมก้าเนิดไมส่ ม้่าเสมอ โดยที่วยั รุ่นหญิงกินยาเม็ดคุมกา้ เนิดไม่สม่้าเสมอ และสามีของวัยร่นุ ใช้ ถุงยางอนามัยไมส่ ม้่าเสมอ 3) เหตุผลของการป้องกันการตั้งครรภ์ซ้าของวัยรุ่น ประกอบด้วย 3.1 วัยรุ่นมองตนเอง ว่าอายุยังน้อยไม่ควรมีลูก 3.2 วัยรุ่นต้องการกลับไปเรียนต่อให้จบเพ่ือที่จะได้หางานท้าเล้ียงลูก และ 4) วัยรุ่น มนั่ ใจกับการเลือกใชก้ ารปอ้ งกนั การตง้ั ครรภ์ซา้ ดว้ ยยาฝงั คมุ กา้ เนดิ ข้อเสนอแนะ:ควรส่งเสริมการให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันการต้ังครรภ์ในวัยรุ่นอย่างต่อเน่ืองโดย แนะน้าการส่งเสริมการป้องกันการตั้งครรภ์ซ้าด้วยการใชย้ าฝังคมุ กา้ เนิดเป็นชนิดหลัก รวมท้ังส่งเสริมให้สมาชิกใน ครอบครัวมสี ว่ นร่วมในการป้องกนั การตงั้ ครรภ์ เพ่อื จะส่งผลดีต่อคุณภาพชวี ติ ของหญิงตัง้ ครรภว์ ยั รุ่นตอ่ ไป คา้ ส้าคญั : การป้องกนั , การต้ังครรภ์ซา้ , วัยรนุ่ * พยาบาลวิชาชีพชานาญการพเิ ศษ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จักรรี ัช วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีที่ 8 ฉบับท่ี 1 เดือน มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

35 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มลู TCI กลุม่ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) บทน้า การต้ังครรภ์ในวัยรุ่นเป็นปัญหาสังคมของท่ัวโลก มีหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นประมาณ 16 ล้านคนต่อปี โดยมี อายุต่้ากว่า 15 ปี ประมาณ 1 ล้านคนหรือ 49 คน ต่อ 1,000 คน (WHO, 2014) ส้าหรับประเทศไทย การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น เป็น ปัญหาสาธารณสุขไทยที่ส้าคัญ พบว่า สถิติการคลอดบุตรในวัยรุ่นประมาณร้อยละ 14 ซึ่งสูงเป็นอันดับท่ี 1 ใน ภูมิภาคเอเชีย เป็นการต้ังครรภ์ซ้าร้อยละ 17-21 ของการตั้งครรภ์วัยรุ่น (Bureau of Reproductive Health, 2014) แม้ว่าจะมีการส่งเสริมคุมก้าเนิดแต่ยังพบว่ามีการต้ังครรภ์ท่ีไม่ได้ตั้งใจในระยะปีแรกที่ใช้การคุมก้าเนิดถึง ร้อยละ 85 (Trussell, J., 2011) การตั้งครรภ์ในวยั รนุ่ ส่งผลต่ออัตราทุพพลภาพและการตายของมารดาโดยเฉพาะ ประเทศที่ก้าลังพัฒนา หญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นต้องเผชิญกับปัญหาสุขภาพด้านร่างกาย ท้ังนี้เนื่องจากการเจริญของ ระบบต่างๆของสตรตี งั้ ครรภ์วัยรุน่ ยังไม่สมบูรณจ์ ึงเส่ยี งตอ่ ภาวะทุพโภชนาการ ภาวะโลหติ จาง ภาวะครรภ์เปน็ พิษ ภาวะถุงน้าคร่้าแตกก่อนก้าหนด การติดเชื้อระหวา่ งต้ังครรภ์โดยเฉพาะโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ในด้านจิตสังคม พบว่าการตั้งครรภ์และการคลอดในวัยรุ่นส่งผลต่อภาวะเครียดและวิตกกังวลเก่ียวกับการเปล่ียนแ ปลงภาพลักษณ์ ของตนเองในขณะตงั้ ครรภ์ มีความคิดหรือพยายามฆ่าตัวตาย ขาดโอกาสในการศึกษาในระดับที่สงู ขึ้น ขาดโอกาส ในการท้างานและขาดรายได้ ส่วนทารกท่ีเกิดจากการต้ังครรภ์ในวัยรนุ่ มักเพ่ิมอุบตั ิการณ์ตายปริก้าเนดิ และการ ทอดท้ิงบุตร (Sriarporn, P., 2019) การตั้งครรภ์ในวัยรนุ่ เกย่ี วข้องกับหลายปัจจัย โดยเฉพาะความตั้งใจท่ีจะตั้งครรภ์ ซงึ่ ร้อย ละ 59.3 ของการต้ังครรภ์ในวัยรุ่นเกิดจากความต้ังใจมีบุตรของมารดาวัยรุ่นเอง (Uraireukkul, C., 2010) ความ ตงั้ ใจ (intention) เป็นตัวก้าหนดให้บุคคลกระท้าหรอื ไม่กระท้าพฤติกรรม เพ่ือให้เกิดผลลัพธ์ตามที่บุคคลคาดหวัง จากรายงานประจ้าปี 2562 ของส้านักอนามัยการเจริญพันธุ์ (Bureau of Reproductive Health, 2019) พบว่า อัตราการคลอดในวัยรุ่น พ.ศ. 2562 ในกลุ่มอายุ 10-14 ปี และ 15-19 ปี เท่ากับ 1.1 ต่อประชากรหญิงอายุ 10- 14 ปี 1,000 คน และ 31.3 ต่อประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี 1,000 คน ตามล้าดับ นอกจากน้ีการคลอดซ้าใน วัยรุ่นที่มีอายุ 15-19 ปี ที่เพิ่มสูงข้ึนในช่วง พ.ศ. 2546-2558 ถึงร้อยละ 12.2เร่ิมลดลง เป็นเท่ากับร้อยละ 11.9, 10.8, 9 และ 8.2 ใน พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 และ พ.ศ. 2562 ตามล้าดับ จากการศึกษาที่ผ่านมา พบว่า ความต้องการมีบุตรของมารดาวัยรุ่นมีความสัมพันธ์ทางบวกต่อการตั้งครรภ์ซ้า จากทฤษฎีพฤติกรรมตาม แผน (Theory of Planned Behaviors) ของ Ajzen, I. (1991) กล่าวว่า ความตั้งใจกระท้าพฤติกรรมของบุคคล เกิดจากการท่ีบุคคลมีเจตคติทางบวกต่อพฤติกรรม มีการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง และรับรู้ว่าตนเองสามารถควบคุม พฤติกรรมนั้นให้เกิดขึ้นได้ ดงั นั้น การตง้ั ใจตั้งครรภ์ซ้าของวัยรุ่นจึงเก่ียวข้องกับหลายปัจจัยรวมถงึ บริบทของวยั รุ่น ได้แก่ ประวัติการแท้ง ไม่ได้อาศัยอยู่กับครอบครัวตนเอง สามีอายุมากกว่า ขณะต้ังครรภ์แรกมีอายุน้อยกว่าหรือ เท่ากับ 16 ปี คุมก้าเนิดไม่สม่้าเสมอหรือไม่คุมก้าเนิดหลังคลอดครรภ์แรก ไม่ได้เรียนต่อหลังจากคลอดครรภ์แรก แตง่ งานใหม่ พ่ึงพาการเงนิ จากสามี ฐานะยากจน และไม่ได้ประกอบอาชพี เปน็ ต้น แม้ว่าจะมีการด้าเนินการเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น แต่ในการด้าเนินงานยัง ขาดการเช่ือมโยงกันท้ังในด้านนโยบายและการปฏิบัติ ท้าให้เกิดความซ้าซ้อน ภายใต้พระราชบัญญัติการป้องกัน วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปที ี่ 8 ฉบบั ที่ 1 เดอื น มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

36 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานข้อมูล TCI กล่มุ ท่ี 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) และแกไ้ ขปัญหาการตง้ั ครรภ์ในวัยรนุ่ พ.ศ. 2559 กระทรวงสาธารณสุขได้รว่ มมอื กบั กระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความม่ันคงของมนุษย์ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงแรงงาน ได้จัดท้ายุทธศาสตร์ ปอ้ งกันและแก้ไขปัญหาการต้ังครรภ์ในวยั รุ่นแบบบูรณาการ พ.ศ.2558 -2567 เพื่อลดปัญหาการตง้ั ครรภ์ใหเ้ หลือ ครึ่งหนึ่ง ใช้ 6 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ 1.การเสริมสร้างทักษะชีวิตและเพศศึกษารอบด้านแก่วัยรุ่น 2.การเสริมสร้าง บทบาททางเพศ ครอบครัวและชุมชนร่วมป้องกันและแก้ไขปัญหา 3.จัดให้มีระบบบริการสุขภาวะทางเพศและ อนามัยการเจริญพันธุ์ท่ีมีคุณภาพและเป็นมิตร 4.จัดให้มีระบบช่วยเหลือดูแลและบ้าบัดฟ้ืนฟู ให้สวัสดิการทาง สังคมแก่วัยรุ่นที่ตั้งครรภ์และคลอดบุตร 5. มีการส่ือสารและส่งเสริมการสร้างภูมิคุ้มกันทางวัฒนธรรม ค่านิยม ทัศนคติท่ีเหมาะสม และ 6.จัดกลไกเช่ือมประสาน ขับเคล่ือนนโยบาย ก้ากับ ติดตาม เฝ้าระวัง ประเมินผล กระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายส่งเสริมการเข้าถึงการวางแผนครอบครัวในช่วงหลังคลอดสนับสนุนการบริการ คุมก้าเนิดแบบกึ่งถาวรในแม่วัยรุ่นอายุน้อยกว่า 20 ปี จากรายงานประจ้าปี 2562 ส้านักอนามัยการเจริญพันธ์ุ (Bureau of Reproductive Health, 2019) เกี่ยวกับการคุมก้าเนิดในวัยรุ่น พบว่า การใช้ถุงยางอนามัยในการมี เพศสมั พันธ์ครง้ั แรกของนักเรียนชัน้ ม.5 และ ปวช. ช้ันปีที่ 2 ในปี 2561 เป็นรอ้ ยละ 75 และ 71.4 ตามลา้ ดบั แต่ ก็ยังพบว่าอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในวัยรุ่นและเยาวชน อายุ 15-24 ปี มีอัตราเพ่ิมสูงข้ึน อย่าง ต่อเน่ือง จากอัตรา 80.8 ต่อประชากรอายุ 15-24 ปี 100,000 คน ใน พ.ศ. 2553 เป็น 189.5 ต่อ ประชากร อายุ15-24 ปี 100,000 คน ใน พ.ศ. 2561 จะเห็นได้ว่าการส่งเสริมเรื่องการคุมก้าเนิดในวัยรุ่นยังเป็นส่ิงจ้าเป็น และควรมีการดา้ เนนิ การอย่างต่อเน่อื ง จังหวัดกาญจนบุรี มีหญิงอายุ 15 – 19 ปี คลอดบุตรท้ังหมด จ้านวน 322 คน คิดเป็นอัตรา 11.44 ต่อพันประชากรหญิงอายุ 15–19 ปี ซึ่งยังไม่เกินเกณฑ์ท่ีก้าหนดไว้คือ 12 ต่อพันประชากรหญิงอายุ 15 – 19 ปี และเมื่อจ้าแนกตามที่อยู่เป็นรายอ้าเภอ พบว่า ไม่มีอ้าเภอใดที่มีหญิงอายุ 15 – 19 ปี คลอดบุตรเกินเกณฑ์ที่ ก้าหนด ทั้งนี้หญิงอายุต่้ากว่า 20 ปี หลังคลอดและแท้งบุตรก่อนออกจากโรงพยาบาล จะได้รับการวางแผน ครอบครัวและการคุมก้าเนิดรวมทุกวิธี จ้านวน 148 คน คิดเป็นร้อยละ 79.45 นอกจากนี้ยังพบว่า มีหญิงอายุต่้า กว่า 20 ปี คลอดบตุ ร จ้านวน 342 คน เปน็ ครรภ์ท่ี 2 ข้นึ ไป จ้านวน 47 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 12.88 ซ่ึงตามเกณฑ์ท่ี กระทรวงสาธารณสขุ ได้กา้ หนดไว้คือตง้ั ครรภซ์ ้าไมเ่ กนิ ร้อยละ 10 ด้วยเหตุผลอยากมีลูกซ้า อยากมีลูกรุ่นราวคราว เดียวกัน และเปลี่ยนคู่ครอง ผู้วิจัยสนใจศึกษาความรู้สึกนึกคิดผ่านประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันการ ตั้งครรภ์ ท้ังก่อนและหลังการตั้งครรภ์ของวัยรุ่น ตามข้อมูลที่เป็นเหตุและผลของพฤติกรรมหรือประสบการณ์ท่ี แท้จริง เพ่ือน้าผลการศึกษามาเป็นแนวทางแก้ไขปญั หาและป้องกันการตัง้ ครรภซ์ า้ ในวัยรนุ่ ตอ่ ไป วตั ถุประสงค์ เพอ่ื ศกึ ษาประสบการณ์การป้องกันการตั้งครรภ์ซ้าของวยั รุ่น วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปที ี่ 8 ฉบบั ท่ี 1 เดือน มกราคม – มถิ นุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

37 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอยใู่ นฐานขอ้ มลู TCI กล่มุ ที่ 2 (จนถึง 31 ธันวาคม 2567) ขอบเขตงานวจิ ัย การศึกษาวิจัยนี้ผู้วิจัยมิได้มีจุดมุ่งหมายในการสรุปอ้างอิงไปยังประชากรในกลุ่มอ่ืน แต่ใช้เพ่ือการ อา้ งอิงปรากฏการณ์ที่เกิดข้ึนในกลุ่มเฉพาะของผู้ให้ข้อมูลท่ศี กึ ษาในงานวิจัยนเ้ี ท่านัน้ งานวิจัยครั้งนี้ได้ทา้ การศึกษา ระหวา่ งเดอื น ธนั วาคม พ.ศ. 2559 -พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 วธิ กี ารด้าเนินวิจยั การวิจัยศึกษาคร้ังนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพใช้วิธีการวิจัยเชิงปรากฏการณ์วิทยาการตีความ (Hermeneutic Phenomenology) ตามแนวคิดของ Heidegger, M. (1962) เพ่ืออธิบายปรากฏการณ์การ ปอ้ งกนั การตงั้ ครรภข์ องวยั ร่นุ หญิง ประชากรและกลุม่ ตวั อยา่ ง กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ให้ข้อมูล วัยรุ่นหญิงท่ีมารับบริการที่โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 19 จงั หวัดกาญจนบุรี มีอายุระหว่าง 15-19 ปี มีประวัติเคยตั้งครรภ์หรือก้าลงั ตั้งครรภ์ ยินดีให้ขอ้ มูลด้วยความเต็มใจ จา้ นวน 15 คน และพยาบาลวิชาชีพที่ให้บริการวางแผนครอบครัวกบั วัยรุ่นหญิง จ้านวน 5 คน วิจยั ครงั้ น้ีเลือกสุ่ม ตัวอยา่ งแบบเจาะจง เคร่ืองมือท่ใี ชใ้ นการวจิ ยั เครื่องมือท่ีใช้ในการวจิ ัย ได้แก่ ผู้วิจยั เครื่องบันทึกเสยี ง แบบสมั ภาษณ์ชนิดก่ึงโครงสร้าง ผู้วิจัยสร้าง ข้อค้าถามด้วยตนเองโดยทบทวนข้อมูลเกี่ยวกับการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นจากต้ารา เอกสารวิชาการท่ี เกย่ี วขอ้ ง ตวั อย่างแนวคา้ ถาม 1. กอ่ นตงั้ ครรภท์ า่ นเลอื กคุมก้าเนิดด้วยวธิ ีอะไร เพราะเหตุใด 2. ท่าทขี องสมาชิกในครอบครวั เปน็ อยา่ งไรเมอ่ื ทราบวา่ ทา่ นต้ังครรภ์ บ้าง อธบิ าย 3. หลงั จากคลอดบุตรแลว้ ทา่ นอยากมบี ตุ รเพิ่มหรือไม่ เพราะอะไร 4. ปจั จบุ นั ทา่ นคุมกา้ เนิดด้วยวธิ อี ะไร ท่านพอใจกับการคุมด้วยวธิ ีน้หี รอื ไม่ เพราะอะไร การตรวจสอบคุณภาพเคร่อื งมือ การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ ด้วยการน้าแนวค้าถามที่พัฒนาขึ้นไปตรวจสอบความตรงกับ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการพยาบาล 2 ท่าน ด้านวัดผล 1 ท่าน และน้าไปทดลองสัมภาษณ์กับมารดาวัยรุ่น 2 คน เพ่ือ ยนื ยนั ความเขา้ ใจตรงกนั ในข้อคา้ ถามของผู้ถูกสัมภาษณ์ และปรบั แกก้ ่อนน้าไปใชจ้ รงิ การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยท้าหนังสือขออนุญาตเก็บข้อมูลต่อผู้อ้านวยการโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 19 และ อธิบายวัตถุประสงค์ของการวิจัยกับพยาบาลวิชาชีพที่ให้บริการป้องกันการตั้งครรภ์และวัยรุ่นหญิงเพ่ือขอความ วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีท่ี 8 ฉบับท่ี 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

38 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มลู TCI กลุ่มที่ 2 (จนถงึ 31 ธันวาคม 2567) ร่วมมือ งานวิจัยน้ีวัยรุ่นหญิงสามารถตัดสินใจให้ข้อมูลการวิจัยได้ด้วยตนเอง เนื่องจากเป็นผู้บรรลุนิติภาวะแล้ว ตามกฎหมาย จากนั้นขอนัดเวลาในการสัมภาษณ์ โดยผู้วิจัยเป็นผู้รวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง และเข้าไปสร้าง สมั พันธภาพกับผู้ให้ข้อมลู เพื่อให้เกิดความร้สู ึกไว้วางใจและให้ข้อมลู ท่ีเปน็ จริง (rapport) ใชว้ ิธกี ารสมั ภาษณแ์ บบ เจาะลึกรายบุคคล (in-depth individual interview) พร้อมท้ังขออนุญาตบันทึกเทป เพ่ือให้ได้ข้อมูลท่ีตรงกับ ความเป็นจริงมากท่สี ุด ท้าการสัมภาษณ์ในหอ้ งที่มิดชิด ไม่มีผู้อื่นเข้าออก เพื่อสร้างความเป็นส่วนตวั และความรสู้ ึก ผอ่ นคลายของผู้ให้ข้อมลู สิน้ สุดการสัมภาษณเ์ ม่อื ขอ้ มูลท่ีได้จากการสมั ภาษณม์ ีความอิ่มตัว (saturated data) ผู้วิจัยตรวจสอบความสอดคล้องและการตีความโดยใช้ข้ันตอนของ Lincoln, Y.S. and Guba, E.G. (1985) ด้วยการใช้ระเบียบวิธีการวิจัยในการศึกษาอย่างมีขั้นตอน (dependability) น้าเสนอข้อมูลอย่างละเอียด ครบถ้วน และครอบคลุม (dense description data) ตรงตามข้อมูลท่ีได้จากการเก็บรวบรวมข้อมูล และ ตรวจสอบความเช่ือถือได้ของข้อมูล (credibility) โดยสร้างความคุ้นเคยกับผู้ให้ข้อมูล (prolong engagement) เพื่อให้ผู้ให้ข้อมูลมพี ฤติกรรมและการแสดงออกท่ีเป็นธรรมชาติ (phenomenological validity) และเมื่อผูว้ ิจัยได้ ผลการวิจัยที่เป็นข้อค้นพบของงานวิจัยนี้แล้ว ผู้วิจัยประสานกลับไปยังมารดาวัยรุ่นและพยาบาลวิชาชีพตาม หมายเลขโทรศัพท์ท่ีได้ขอบันทึกไว้ ผู้วิจัยแจ้งข้อค้นพบที่ได้จากการวิจัยพร้อมท้ังขอความร่วมมือผู้ให้ข้อมูล ตรวจสอบประเดน็ ท่คี ้นพบและใหข้ อ้ คิดเห็นเพิ่มเติม (confirmability) การวเิ คราะห์ข้อมลู การวิเคราะห์ข้อมูลแบบปรากฏการณ์วิทยาตามแนวคิด Miles, M. B. and Huberman, A. M. (1994) ด้วยการจดั การข้อมูลให้มีระเบียบ โดยตัดทอนข้อมลู ท่ีไม่เก่ียวข้องกับเร่อื งทศ่ี ึกษาออก (data reduction) เหลือไว้เฉพาะเร่ืองที่ต้องการศึกษา จากนั้นเชื่อมโยงข้อมูลตามแนวคิดของเรื่องที่เก่ียวข้องและสัมพันธ์กับการ ปอ้ งกนั การต้งั ครรภ์ในวยั ร่นุ มาเขียนเพื่อส่ือให้เข้าใจงา่ ยขึ้น จากนั้นนา้ เสนอข้อมูลตามหมวดหมู่ท่ีไดจ้ ัดระเบียบไว้ แล้ว (data display) ผู้วิจัยหาข้อสรุปด้วยการตีความข้อสรุปหรือข้อค้นพบที่ได้ รวมท้ังการเปรียบเทียบความ เหมือนและความแตกต่าง เพ่ือให้ได้ประเด็นหลักของเน้ือหา และการตรวจสอบความถูกต้องตรงประเด็นของการ วิจยั (conclusions, drawing and verifying) การพิทักษส์ ทิ ธ์กิ ลุม่ ตวั อยา่ งและจริยธรรมการวิจัย ผู้วิจัยชี้แจงผู้ให้ข้อมูลทราบถึงวัตถุประสงค์และประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย พร้อมทั้ง อธิบายความส้าคัญและคุณค่าของข้อมูลที่จะได้รับจากผู้ให้ข้อมูล และให้สิทธิในการตัดสินใจด้วยตนเองรวมถึง ความพร้อมในการใหข้ ้อมลู เปดิ โอกาสให้ผู้ให้ข้อมูลซักถามข้อขอ้ งใจในการวิจัย และลงลายมือยนิ ยอมเข้าร่วมการ วจิ ัย สามารถเล่ือนนดั หรือถอนตวั จากการใหส้ ัมภาษณ์ได้ทุกขณะ และรักษาความลับของผ้ใู หข้ ้อมูล หลกี เลี่ยงการ ใช้นามจริงโดยใชร้ หัสในการจัดเก็บข้อมูล วิจัยนี้ผ่านการพิจารณาและรับรองจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย ในมนุษย์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จกั รีรชั หมายเลขรับรองที่ 47/2560 วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปที ่ี 8 ฉบบั ที่ 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

39 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI และอยู่ในฐานขอ้ มลู TCI กลุ่มที่ 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) ผลการศึกษา การวิจัยเรื่องประสบการณ์การป้องกันการต้ังครรภ์ซ้าของวัยรุ่น มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษา ประสบการณ์การป้องกันการตั้งครรภ์ซ้าของวัยรุ่น ในจังหวัดกาญจนบุรี ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม ได้แก่ 1) วัยรุ่นหญิงที่มีอายุระหวา่ ง 15-19 ปี และมีประวัติเคยต้ังครรภ์หรือก้าลังตงั้ ครรภ์ จ้าแนกเป็น อายุ 15 ปี จ้านวน 1 คน, อายุ 17 ปี จ้านวน 6 คน, อายุ 18 ปี จ้านวน 6 คน และอายุ 19 ปี จ้านวน 2 คน รวมท้ังส้ิน 15 คน จ้าแนกตามประวัติการตั้งครรภ์ดังนี้ วัยรุ่นหญิงที่ก้าลังต้ังครรภ์คร้ังท่ี 2 อายุครรภ์ระหว่าง 13-40 สัปดาห์ จา้ นวน 10 คน วัยรุ่นที่เคยตั้งครรภ์ 1 คร้งั และคลอดบุตรแล้ว จ้านวน 5 คน และ 2) พยาบาลวิชาชีพที่ให้บริการ คุมก้าเนิดแก่วัยรุ่น จ้านวน 5 คน ผลการวิจัยการป้องกันการต้ังครรภ์ซ้าของวัยรุ่น พบ 4 ประเด็นหลัก ได้แก่ 1) เม่ือวยั รนุ่ พลาดจากการคุมกา้ เนดิ จะไดร้ บั การดูแลและกา้ ลังใจจากครอบครวั โดยทีส่ มาชิกในครอบครัวให้การดแู ล วัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ทั้งด้านร่างกายจิตใจเป็นอย่างดี 2) วัยรุ่นคุมก้าเนิดไม่สม่้าเสมอ โดยท่ีวัยรุ่นหญิงกินยาเม็ด คุมกา้ เนดิ ไม่สม่า้ เสมอ และสามีของวัยรุ่นหญิงใชถ้ ุงยางอนามัยไม่สม่้าเสมอ 3) เหตุผลของการป้องกันการต้ังครรภ์ ซ้าของวัยรุ่น ประกอบดว้ ย (3.1) วัยรุน่ มองตนเองวา่ อายุยังน้อยไมค่ วรมีลกู (3.2) วยั ร่นุ ตอ้ งการกลับไปเรียนต่อให้ จบเพื่อทจี่ ะได้หางานท้าเล้ียงลูก และ 4) วัยรุน่ มั่นใจกับการเลือกใช้การป้องกันการต้ังครรภ์ซา้ ด้วยยาฝงั คุมก้าเนิด ซึ่งในแต่ละประเด็นสามารถอธบิ ายได้ ดงั น้ี 1. เมอ่ื วัยรนุ่ พลาดจากการคมุ ก้าเนดิ จะได้รบั การดูแลและก้าลังใจจากครอบครวั แม้ว่าวัยรุ่นหญิงจะพยายามคุมก้าเนิดด้วยวิธีต่างๆ แต่เมื่อพลาดจากการคุมก้าเนิดท้าให้เกิดการ ตั้งครรภ์ขนึ้ ครอบครวั ของวัยรุ่นที่ต้ังครรภ์ยอมรบั ในสิ่งที่เกิดข้ึน และยังให้ก้าลังใจในการด้าเนนิ การตั้งครรภ์ โดยที่ สมาชิกในครอบครัวให้การดูแลแก่วัยรุ่นท่ีตั้งครรภ์เป็นอย่างดีทั้งด้านร่างกายจิตใจ โดยเฉพาะอย่างย่ิงสมาชิกใน ครอบครัวให้ก้าลงั ใจแก่วัยรนุ่ ใหข้ ้ามผา่ นสถานะทเ่ี ปลย่ี นไปน้ีอยา่ งจริงใจ และอบอนุ่ วยั รุ่นหญิงรายหน่ึงเม่ือรสู้ ึกว่า ประจ้าเดือนไมม่ าตามปกติ จะซ้ือที่ตรวจการตงั้ ครรภ์มาตรวจเอง และเม่ือทราบผลว่าตั้งครรภ์ วัยรุ่นหญิงจะยังไม่ บอกกับครอบครวั ในทนั ที จนกระท่งั ขนาดของครรภ์ใหญ่ขน้ึ หรือมีอาการชดั เจนมากขึ้น แต่ด้วยความผดิ ปกติอื่นๆ ของวยั รุ่นหญิง ก็เป็นส่ิงที่สมาชิกในครอบครัวพอจะคาดเดามาก่อนได้ว่า มีการตั้งครรภ์เกิดข้ึน ดังค้าพูดของวัยรุ่น หญงิ ทีว่ ่า “อยู่กับแฟนมา 3 ปี เริ่มรู้สึกแปลกๆ ประจาเดือนไม่มาจึงไปซ้ือท่ีตรวจท้องมาตรวจเอง พอรู้ว่าท้อง ตกใจและก็กลวั มาก ไม่กล้าบอกแม่ และกลัวพ่ีสาวรู้ ก็ใส่เส้ือตวั ใหญ่ๆ จนแมร่ ู้เอง ก็ทอ้ งต้ัง 5 เดือนแล้ว แม่ก็นิ่งๆ แลว้ พดู ว่า เด๋ียวแมพ่ าไปฝากท้องเอง” และวยั รนุ่ หญิงอกี รายทบี่ อกใหม้ ารดาทราบเม่ือต้งั ครรภ์ไดเ้ กือบสี่เดือน ดงั ค้าพูดที่วา่ “หนูปิดไว้ตั้งนาน ไม่กล้าบอก อึดอัดมาก แตเ่ หมือนแม่จะรู้ก่อนที่หนูจะบอก พอตัดสินใจบอกแม่ไป แม่เขากแ็ ค่ใหไ้ ปตามฝา่ ยผ้ชู ายมาคยุ วา่ จะทายังไงกนั ” วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ปที ี่ 8 ฉบบั ที่ 1 เดอื น มกราคม – มถิ ุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

40 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอยูใ่ นฐานขอ้ มลู TCI กลมุ่ ท่ี 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) เม่อื วยั รุ่นหญงิ บอกถึงการตงั้ ครรภ์กบั คนในครอบครวั แล้ว ได้รับการดูแลจากสมาชิกในครอบครัวเป็น อยา่ งดที ้ังด้านอาหาร และกา้ ลังใจ ดงั่ ค้าพดู ของวัยรุ่นหญงิ ว่า “ท้องได้สามเดือนถึงได้บอกแม่ พอผ่านช่วงที่บอกยากมาแล้ว เหมือนกับทุกคนช่วยกันดูแลหนู แม่ก็ ดี ทากับข้าวอร่อยๆท่ีหนูชอบให้กิน แฟนก็ดูแลดี ขออะไรก็ให้หมด โดยเฉพาะแมจ่ ะให้กาลังใจตลอด วันก่อนบอก ว่า อยากเล้ยี งหลานแย่แลว้ ” วัยรุ่นหญิงตั้งครรภ์ซ้าได้รับการดูแลจากสามีดีมาก และแม่ของวัยรุ่นหญิงยังช่วยเลี้ยงหลานคนแรก ใหอ้ กี ดว้ ย ดังคา้ พดู ทว่ี ่า “ต้ังแต่ท้องคนแรก แม่ก็ช่วยมาตลอด คอยหาอาหารดีๆมาให้ ผักผลไม้เยอะแยะจนคลอดก็พามา คลอด ตอนน้ีลูกได้หกเดอื นกว่า ก็มาทอ้ งอีก แฟนก็บอกเลยตามเลย แม่ก็มาช่วยเลี้ยงหลานอีก ถา้ ไม่มีแม่ หนูกไ็ ม่รู้ ท้ายงั ไง” เช่นเดียวกับวัยรุ่นหญิงตั้งครรภ์อีกคนที่อยู่กับครอบครัวของสามี และได้รับการดูแลจากสามีและ ครอบครวั ของสามีเปน็ อยา่ งดี ดงั ค้าพูดที่วา่ “แม่ของแฟนทากับข้าวให้กิน เขาเอาใจ บอกให้กินนมมากๆ และก็ไม่ให้ทางานหนักและก็บอกว่า ต้องเลีย้ งลูกดว้ ยนมแม่ดว้ ย ตอนท่ีแม่เขาเล้ยี งแฟน เขาก็ใหน้ มเอง พอมาตรวจที่โรงพยาบาลก็พามาทกุ ครั้ง” “ตอนที่หนูแพ้ท้อง แม่ก็ทากับข้าวให้กิน เผื่อเปรี้ยวเผ่ือหวานไว้ให้ หนูก็กินไม่ได้อาเจียนออกหมด พอตอนคลอดลูก แม่ทาอาหารใหก้ นิ ตลอด” วยั รุ่นหญิงมีแฟนตั้งแต่มัธยมศึกษาปีท่ี 1 เมื่อเรียนจบมัธยมศึกษาปีท่ี 3 จึงตั้งครรภ์โดยที่ไม่ได้ต้ังใจ วัยรุ่นหญิงจึงจะไปทา้ แท้งจึงปรกึ ษาคุณน้า แต่คุณน้าไมเ่ ห็นด้วย ดังค้าพดู ทวี่ า่ “แฟนเรยี นหนงั สือดว้ ยกนั กก็ นิ ยาคุมบ้าง แล้วกท็ อ้ งตอนนนั้ กก็ ังวล กลัวด้วย เพราะไมไ่ ด้อย่กู บั แฟน กลัวลูกจะไม่มีพ่อ ก็รู้ว่ายังเด็กเกินไป ไม่ควรจะมีลูก ก็มีน้าท่ีให้คาปรึกษา พาไปฝากท้อง และบอกว่าไม่ให้ทาแท้ง ไมต่ ้องห่วง ยงั ไงก็ยงั มคี รอบครวั อยู่” วยั รุ่นหญิงอีกรายมีลูกสองคน ได้รับการดูแลจากมารดาของตนเองเป็นอย่างดี ต้ังแต่มีลูกคนแรก ทั้ง คอยดแู ลเรื่องอาหารและให้ก้าลงั ใจ เมื่อคลอดลูกคนแรกแลว้ จึงไมไ่ ดค้ มุ ก้าเนิด ปล่อยให้ตั้งครรภต์ อ่ เลย อยากมีลูก ไวเ้ ปน็ เพ่อื น กโ็ ดนบ่นจากแม่บ้างแตแ่ ม่ก็ยังชว่ ยเลีย้ งลูก ดังคา้ พูด “ตอนมีลูกคนแรกก็ได้รับการเอาใจใส่ดูแลเป็นอย่างดีจากคนในครอบครัว ให้กาลังใจทาให้กล้าใช้ ชีวติ ตอ่ แมก่ ็จะหาอาหารดีดีมาให้กนิ พวกอาหารเสริมก็จะซอ้ื มาให้กิน พอคลอดลกู ทุกคนก็ดีใจและรักลกู เรา ช่วย เล้ียง หนูก็ไม่ได้คุมกาเนิดต่อ พอมาท้องคนที่สอง ก็โดนแม่บ่นเหมือนกันว่ามีอีกแล้ว หนูก็ฟังหูชาเลย แต่ก็รู้นะว่า แมเ่ ขารักเราและกร็ ักหลาน รักมากดว้ ย” วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนือ ปีท่ี 8 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม – มถิ นุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

41 วารสารวชิ าการสุขภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรบั รองคุณภาพของ TCI และอยใู่ นฐานข้อมูล TCI กลุม่ ท่ี 2 (จนถงึ 31 ธนั วาคม 2567) ในประเด็นน้ีสรุปได้ว่า เม่ือวัยรุ่นหญิงต้ังครรภ์ขึ้น สมาชิกในครอบครัวจะยอมรับกับภาวะท่ีเกิดขึ้น ให้ก้าลังใจแก่วัยรุ่นหญิงให้สามารถข้ามผ่านสถานะที่เปล่ียนไปน้ีอย่างอบอุ่น และยังให้การดูแลวัยรุ่นหญิงในการ ดา้ เนนิ การตัง้ ครรภ์ โดยดูแลด้านการจดั หาอาหารท่ีมปี ระโยชน์ อาหารเสรมิ ตา่ งๆมาบา้ รุงในขณะตัง้ ครรภ์ 2. วยั รุ่นคุมกา้ เนดิ ไม่สม้่าเสมอ วัยรุ่นป้องกันการต้ังครรภ์ด้วยการใช้การคุมก้าเนิดด้วยวิธีชั่วคราว โดยที่วัยรุ่นหญิงกินยาเม็ด คุมกา้ เนดิ ไมส่ มา้่ เสมอ และสามขี องวยั ร่นุ หญิงใชถ้ ุงยางอนามยั ไมส่ มา้่ เสมอ ดงั รายละเอียด วัยรุ่นหญิงกินยาเม็ดคุมก้าเนิดไม่สม่้าเสมอ ท้ังน้ีวัยรุ่นหญิงจะใช้ยาเม็ดคุมก้าเนิดในการป้องกันการ ตั้งครรภ์ ซึ่งหาซ้ือได้ง่ายที่ร้านขายยา แต่จะกินยาเม็ดคุมก้าเนิดไม่ต่อเนื่อง และไม่สม้่าเสมอ โดยวัยรุ่นหญิงมี ความคดิ ว่า ไมน่ ่าจะทอ้ ง ดง่ั ค้าพูดของวัยรนุ่ หญงิ รายหนง่ึ ทว่ี ่า “คบกันแฟนตอนเรียนประถมศึกษาปีท่ี 6 ใกล้จะสอบแล้ว ก็กินยาคุมมาได้ 2-3 แผงแล้ว แต่มาลืม กิน 2-3 วัน แฟนก็ลืมใส่ถุงยางอนามัยอีก คิดว่าไม่ท้องหรอก มารู้ตัวอีกทีคล่ืนไส้ เวียนหัว เหม็นกระเทียม เลยไป ซอ้ื ทีต่ รวจท้องมาตรวจเอง รูว้ ่าทอ้ ง กวา่ จะบอกแมก่ ็เกอื บสามเดือนแลว้ ถึงได้บอกกับแม่” เชน่ เดยี วกบั วยั รุ่นหญิงอีกคนท่ีตงั้ ครรภซ์ ้าในขณะทีล่ กู คนแรกเพ่ิงอายุได้ 6 เดือน ด่ังค้าพดู ทว่ี ่า “ตอนคลอดพยาบาลก็แนะนาเอาไว้ว่าจะให้ฝังเข็ม (หมายถึง ยาฝังคุมกาเนิด) ไว้ก่อนสัก 5 ปี แล้ว คอ่ ยว่ากันใหม่ พยาบาลให้กลับไปตรวจหลังคลอด หนูก็กลับบ้าน และไม่ได้ไปตามที่พ่ีพยาบาลนัด ตั้งใจไว้ว่า ซื้อ ยากินเองแต่เห็นวา่ ประจาเดือนยงั ไม่มา กเ็ ลยกินบ้าง ไมก่ นิ บา้ ง กท็ อ้ งอีก” ขณะท่ีวัยรุ่นหญิงอีกคนอยู่กับสามีมา 3 ปี ไม่คอ่ ยได้ไปโรงเรียน ไม่ไดค้ ุมก้าเนิด รู้จักยาเม็ดคุมกา้ เนิด แต่กนิ ไม่เปน็ ดง่ั ค้าพูดทว่ี า่ “หนูไม่ได้คุมกาเนิดเลย ไม่รู้ว่าคุมยังไง กินบ้างไม่กินบ้าง เคยมีหมอมาสอนที่โรงเรียน แต่ฟังก็ไม่ เขา้ ใจ ไม่กล้าถามด้วย” เช่นเดียวกับวัยรุ่นหญิงอีกคน เพ่ิงตั้งครรภ์แรก พอมีความรู้เรื่องยาคุมก้าเนิด เพราะเคยมีอาจารย์ สอนในหอ้ งเรยี นมากอ่ น ด่ังคา้ พดู “เคยได้ฟังอาจารย์สอนในห้องเรียน ก็ฟังไปอย่างน้ัน ตอนนั้นคิดว่า ไม่ได้ใช้ แต่ก็พอรู้ว่าให้กินตาม ลกู ศร พอถึงเม็ดสีแดงประจาเดือนจะมา กก็ นิ ตอ่ ไปใหห้ มด ก็กนิ ตามน้นั แต่ท้อง รวึ า่ หนูกนิ ๆหยุดๆรึเปลา่ ไม่รู้” วัยรุ่นหญิงรายหนึ่งอยู่กับสามีที่บ้านพ่อแม่สามีได้ 1 ปี โดยรู้จักกันทาง face book คุยกันได้เดือน กว่าจึงมาอยู่ดว้ ยกนั มาท้งั ชดุ นักเรียนเลยพดู ถงึ การกินยาเมด็ คมุ ก้าเนดิ ว่า “ก่อนตั้งท้อง รู้จักแค่ยาเม็ดคุมกาเนิด ก็กินบ้างไม่กินบ้างเพราะแฟนไปทางาน ไม่ได้อยู่บ้านทุกวัน บางทีแม่สามกี จ็ ะเตอื นใหก้ ินยาคมุ บ้างนะ หนกู ็กนิ คะ่ แตไ่ มต่ ่อเนอ่ื งหรอก” วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีที่ 8 ฉบบั ที่ 1 เดอื น มกราคม – มิถุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

42 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผา่ นการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมลู TCI กล่มุ ที่ 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) พยาบาลท่ใี หบ้ รกิ ารวางแผนครอบครัวเลา่ ถงึ ประสบการณก์ ารใหบ้ รกิ ารคุมก้าเนิดในวัยรุ่น ไวว้ า่ “เคยมีแม่ของเดก็ ผ้ชู ายมาปรึกษา เพ่ือขอวธิ ีคุมกาเนิดใหเ้ ด็กผู้หญิงทมี่ าหาลูกชายถึงบา้ น เราก็เขา้ ใจ หัวอกคนเป็นแม่ ไม่อยากให้ลกู ตัวเองต้องมารับผิดชอบเรือ่ งพวกนี้ ก็มองว่ายังเด็กกันทั้งคู่ ก็ให้ยาเม็ดคุมกาเนิดไป อธบิ ายไปเสรจ็ เรยี บร้อย แมเ่ ด็กบอกว่ามนั เอาไปหยอ่ นท้ิงซะอกี ” นอกจากน้ีสามีของวัยรุ่นหญิงใช้ถุงยางอนามัยไม่สม้่าเสมอ โดยเมื่อมีเพศสัมพันธ์กันสามีของวัยรุ่น หญิงมีการใช้ถุงยางอนามัยบ้างเพื่อป้องกันการต้ังครรภ์ แต่โดยส่วนมากแล้วสามีของวัยรุ่นหญิงมักไม่ใส่ถุงยาง อนามัย ทั้งน้ีวัยรนุ่ หญิงกล่าวถงึ การใช้ถุงยางอนามยั ของสามวี ่า ไม่ค่อยใชถ้ ุงยางอนามยั โดยสามีของวยั รุ่นหญิงให้ เหตผุ ลว่า ลืมใช้ ดงั่ คา้ พูดวา่ “ทุกคร้ังที่ยุ่งกัน พ่ีเขาจะไม่ใส่ถุงยางอนามัยเลย เขาจะอ้างว่าลืม หนูก็ยังแปลกใจว่า มันลืมกันได้ ด้วยเหรอ เขาไมเ่ คยคดิ ท่จี ะมตี ดิ ตัวเลย แล้วกบ็ อกว่า ลมื ๆ ทุกที กเ็ ลยปลอ่ ยเลยตามเลย ไมร่ จู้ ะทายังไง” สอดคล้องกับพยาบาลท่ีให้การดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่เล่าประสบการณ์ถึงการคุมก้าเนิดของวัยรุ่นท่ี ตนเองดแู ลวา่ วัยรุ่นชายขาดความตระหนกั ในการป้องกันการตั้งครรภ์ “เด็กที่นี่ไม่ค่อยใช้ถุงยางอนามัยกัน ขาดความตระหนักในการป้องกันตนเอง เคยคิดจะทาโครงการ การป้องกันการต้ังครรภ์ในโรงเรียน เอาข้อมูลไปคุยกับโรงเรียน แต่โรงเรียนก็ไม่เปิดให้ ตอนน้ีนักเรียนมัธยมอยู่ ดว้ ยกนั เปน็ คๆู่ แลว้ บางคนมีโรคติดต่อกย็ งั ไม่ใช้ ไม่รู้ติดกันไปถงึ ไหนแล้ว น่าเป็นหว่ ง ไม่รู้ว่าอยู่กนั ไดย้ ังไง” วัยรุ่นหญิงรายหนึ่งต้ังครรภ์แรก กลา่ วถึงสามีวัยรุน่ ท่ีเป็นเพ่ือนกันมากอ่ นว่า ใช้ถุงยางอนามยั บ้าง ไม่ ใช้บ้างและตนเองก็ไม่รู้วิธกี ารปอ้ งกนั ดงั ค้าพดู “ตวั หนูไม่ได้คุมกาเนิดเลย แตแ่ ฟนใช้ถุงยางอนามัย ก็ใช้บา้ ง ไม่ใชบ้ า้ ง” ในประเด็นน้ีสรุปได้ว่า วัยรุ่นหญิงป้องกันการต้ังครรภ์ด้วยการใช้การคุมก้าเนิดดว้ ยวธิ ีช่ัวคราว ได้แก่ ยาเม็ดคุมก้าเนิด แต่วัยรุ่นหญิงกินยาเม็ดคุมก้าเนิดไม่ต่อเนื่อง ไม่สม้่าเสมอ และมีความคิดว่าไม่น่าท้อง กอปรกับ สามีของวัยรุ่นหญิงก็ใช้ถุงยางอนามัยไม่สม่้าเสมอ แม้ว่าจะมีครูและบุคลากรทางสาธารณสุขมาให้ความรู้เรื่องการ ป้องกนั การตัง้ ครรภ์ วยั รนุ่ หญิงกไ็ มเ่ ขา้ ใจและไม่กล้าถามท้าให้ไม่สามารถคุมกา้ เนิดได้ 3. เหตุผลของการป้องกนั การตัง้ ครรภซ์ า้ ของวัยร่นุ หญิง ภายหลังการคลอดบุตรแลว้ วัยรุ่นหญิงมีการป้องกนั การต้ังครรภ์ซ้า โดยมีเหตุผลของการป้องกันการ ตั้งครรภ์ซ้า 2 ประการ (categories) ได้แก่ 1) วัยรุ่นหญิงมองตนเองว่าอายุยังน้อยไม่ควรมีลูก และ 2) ต้องการ กลบั ไปเรียนต่อใหจ้ บเพ่ือที่จะได้หางานท้าเลีย้ งลกู ดงั นี้ 3.1 วยั รุ่นมองตนเองว่าอายยุ งั น้อยไม่ควรมลี ูก ท้ังนี้เหตุผลที่วัยรุ่นหญิงไม่ต้องการต้ังครรภ์ซ้าอีก เน่ืองจากการเล้ียงลูกในขณะที่ยังไม่มีความพร้อม และอายุยังนอ้ ยนี้ เป็นภาระและเหน่ือยมาก ต้องไปรับจ้าง ไม่มีเงินพอทจี่ ะใชจ้ า่ ยในครอบครวั ดง่ั คา้ พดู วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนอื ปที ่ี 8 ฉบบั ท่ี 1 เดือน มกราคม – มิถุนายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1

43 วารสารวชิ าการสขุ ภาพภาคเหนอื (Journal of Health Sciences Scholarship) ผ่านการรับรองคณุ ภาพของ TCI และอยู่ในฐานข้อมูล TCI กลมุ่ ท่ี 2 (จนถึง 31 ธนั วาคม 2567) “พอท้องแล้วกเ็ ลิกกันเลย เขา (หมายถึง อดีตสามี) ก็ไม่รวู้ ่ามีลูก รสู้ ึกวา่ เหน่ือยมาก ไม่น่ามีเลย เล้ียง ลูกมันไม่ง่าย ไหนจะค่านมค่าใช้จ่ายในบ้าน หนูไปรับจ้างขายของได้วันละ 280 บาทไม่พอใช้ และก็ห่วงลูกที่บ้าน อกี บางทีกเ็ ครียด เวลาลูกร้อง ก็ไมร่ วู้ ่าร้องเพราะอะไร ไมเ่ ข้าใจ เรามนั เป็นวัยรุ่นและแม่กไ็ ม่ได้ช่วยเลย้ี งอีก อยู่กัน คนละบา้ น หนอู ยากจะจบั ไปไวท้ ่ีเดมิ ถ้าเอาเข้าท้องกลบั ไปได้ จะไมม่ ีเลย” สอดคล้องกับวัยรุ่นหญิงอีกรายที่รู้สึกเสียใจท่ีมีลูกเร็ว และต้องรู้สึกว่ายังไม่สามารถเล้ียงลูกได้ต้องให้ แม่ของวยั ร่นุ หญงิ ช่วยเลย้ี งลูกให้ ด่งั ค้าพูด “ถ้าย้อนไปได้หนูจะไม่ปล่อยให้ท้องเลย เรียนก็ยังไม่จบ งานก็ไม่มี เงินก็ไม่มีจะเลี้ยงลูก ยังโชคดีท่ีมี แมช่ ่วยเลีย้ ง ลาพังตวั หนูเองยงั ตอ้ งใหแ้ ม่เลี้ยงเลย ทาอะไรก็ไม่เป็น ตอนน้กี ็ได้แมช่ ว่ ย หนไู มน่ ่าจะมีลกู ตอนน้ี” 3.2 วัยร่นุ ตอ้ งการกลบั ไปเรียนต่อใหจ้ บเพือ่ ทีจ่ ะไดห้ างานท้าเลี้ยงลูก วัยรุ่นหญิงอายุ 16ปี ป้องกันต้ังครรภ์ซ้าด้วยการใช้ยาฝังคุมก้าเนิดและต้ังใจจะมีลูกอีกตอนอายุ 22 ปี เน่ืองจาก อยากกลบั ไปเรยี นต่อให้จบ เพอ่ื ทีจ่ ะไดม้ งี านทา้ และมเี งินมาเลย้ี งลูกและครอบครวั ตอ่ ไป ดังคา้ พูดของวัยรุ่นหญิงทวี่ ่า “อยากคุมไว้ก่อน อยากมีอีกคนตอนอายุ 22 ปี ตอนนี้อายุยังน้อยเกินไป ถ้าเป็นไปได้อยากกลับไป เรียนหนังสือให้จบ แต่ตอนน้ีก็เรียน กศน. (หมายถึง การศึกษานอกโรงเรียน) ที่อบต. (หมายถึง องค์การบริหาร ส่วนตาบล) อยู่มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ถา้ เรยี นจบมัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 ถา้ เรยี นจบแล้วจะหางานทาเลีย้ งลูกตอ่ ไป เพราะถ้า อกี หนอ่ ยลกู โต ต้องใชเ้ งินอีกมาก” สอดคล้องกับวัยรุ่นหญิงอีกรายที่อยากกลับเรียนต่อ เพราะเช่ือว่าถ้าเรียนจบจะสามารถหางานท้าที่ ท้าให้มรี ายได้มาเลี้ยงครอบครวั ได้ ด่งั ค้าพูด “หนูไม่อยากให้แม่ต้องลาบาก ตอนน้ีได้แม่ช่วยเล้ียงลูก แต่หนูอยากมีงานทาจะได้จะไดม้ ีเงินมาเล้ียง ลกู ตั้งใจจะคุมกาเนิดไว้ก่อนแล้วหาโอกาสเรยี นต่อ ถ้าเรียนไปด้วย ได้ทางานไปดว้ ยก็จะดีมากๆเลย แต่ตอนน้ีต้อง รอให้ลกู โตอกี หน่อย หนูจะลองหาท่ีเรียนใกล้ๆบ้านคะ่ ” ในประเด็นนี้สรุปได้ว่า วยั รุ่นหญิงต้องการคุมก้าเนิดไว้ก่อนด้วยเหตุผล 2 ประการ คือ 1) วัยรุ่นหญิง มองตนเองว่าอายุยังน้อย ยังไม่มีความพร้อมกับการมีบุตร การเล้ียงลูกเหนื่อยมาก ไม่มีเงินพอท่ีจะใช้จ่ายใน ครอบครัว และ 2) ต้องการกลับไปเรียนต่อให้จบเพ่ือที่จะได้หางานท้า และมีรายได้มาเลี้ยงดูลูกและครอบครัว คาดหวงั วา่ จะไดเ้ รียนและท้างานไปดว้ ย 4. วัยรุ่นม่ันใจกับการเลอื กใช้การปอ้ งกนั การตงั้ ครรภซ์ า้ ดว้ ยยาฝังคมุ ก้าเนิด ข้อมูลของวัยรุ่นหญิง พบว่า เมื่อมีบุตรแล้วมีการป้องกันการตั้งครรภ์ซ้าโดยเลือกใช้วิธีคุมก้าเนิดท่ี ปอ้ งกันได้ระยะยาว ไดแ้ ก่ ยาฝงั คมุ ก้าเนิด ยาฉดี คุมก้าเนิด แตบ่ างสว่ นยงั เลอื กใชย้ าเม็ดคุมก้าเนิด “ตอนนี้หนูฝงั เขม็ (หมายถึง ยาฝงั คุมกาเนิด) เปน็ แบบหนงึ่ หลอด คมุ ได้สามปี คุมแล้วดสี บายใจ และ เปน็ โครงการท่หี มอเขาฝังใหก้ ับวยั รุ่นที่ตั้งครรภ์ หนวู ่าดีนะเพราะถ้ากนิ ยาเมด็ คมุ กาเนิดกจ็ ะพลาดอกี ” วยั รุ่นหญงิ อีกรายหน่ึงท่เี ลือกใช้ยาฝังคุมกา้ เนิดแทนยาเม็ดคมุ ก้าเนิด ดังค้าพูด วารสารวิชาการสขุ ภาพภาคเหนือ ปีที่ 8 ฉบบั ที่ 1 เดอื น มกราคม – มถิ นุ ายน 2564 Journal of Health Sciences Scholarship January-June 2021, Vol.8 No.1


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook