Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานประจำปี งบประมาณ 2564 (Design)

รายงานประจำปี งบประมาณ 2564 (Design)

Published by art_nca, 2022-01-14 08:23:40

Description: รายงานประจำปี งบประมาณ 2564 (Design)

Search

Read the Text Version

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณจ์ งั หวัดเชียงราย 1

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณ์จังหวัดเชยี งราย 2 สารจากสหกรณจ์ ังหวดั เชียงราย เนื่องจากสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ส่งผลกระทบต่อทุกภาคส่วน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สำนักงานสหกรณจ์ ังหวัดเชียงราย จึงปฏิบัตหิ น้าที่ภายใต้มาตรการป้องกันการแพร่ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ตามคำสั่งคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดเชียงราย อย่างเคร่งครัด รวมถึงการ Lock Down การห้ามการชุมนุม การกำหนดมาตรการ Work From home ฯลฯ ทั้งนี้ เพื่อควบคุม การแพร่ระบาดของโรค และขณะเดียวกัน จากสถานการณ์แพร่ระบาดดังกล่าว ส่งผลกระทบต่อทุกภาพส่วน รวมถึงผลกระทบต่อการเข้าไปแนะนำส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร และการบริหารจัดการของสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรในพ้ืนท่ี สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเชียงราย ได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงปรับกระบวนการทำงาน ภายในหน่วยงานกับขบวนการสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรภายในจังหวัดเชยี งราย โดยนำเทคโนโลยสี ารสนเทศมาใช้ เป็นสื่อกลางในการสื่อสาร นำการประชุมในรูปแบบ ZOOM มาใช้ มีการประสานงาน ติดตามงานทางโทรศัพท์ โทรสาร ทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ มีการนำสื่อโซเชียลมาใช้ เพื่อความสะดวกในการรับ – ส่งข้อมูลข่าวสาร โดยเน้นความรวดเร็วในการจัดเก็บข้อมูล สามารถเช็คข้อมูลย้อนกลับได้ในระยะเวลาจำกัด ใช้ในการประสาน ชี้แจง ทำความเข้าใจกับสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร รวมถึงการประชาสัมพันธ์ มาตรการต่าง ๆ ของกรมส่งเสริม สหกรณ์ หรือประกาศต่าง ๆ ของนายทะเบยี นสหกรณ์ สำหรับการช่วยเหลือขบวนการสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรภายนอกจังหวัดเชียงราย มีการ ประสานงานกับสหกรณ์ต้นทางที่ประสบปัญหาการระบายผลิตผลการเกษตรของสมาชิก อันเนื่องมาจากมาตรการ ห้ามการเคลื่อนย้ายของคน โดยช่วยระบายมังคุด จากสหกรณ์การเกษตรหลังสวน จำกัด จังหวัดชมุ พร ผลผลิตที่ นำมาจำหน่าย สามารถจำหน่ายได้หมด ผู้บรโิ ภคมคี วามพอใจ บุคลากรของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดเชียงราย มีการประสานความสามัคคี และร่วมปรับ กระบวนการทำงานด้วยดี เพื่อความสำเร็จในการแนะนำ ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ใหส้ ามารถช่วยเหลือ สมาชิกสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร ภายใตส้ ถานการณแ์ พร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 นายเอนก ชืน่ ใจ สหกรณ์จังหวัด เชียงราย

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณ์จังหวดั เชยี งราย 3 นายเอนก ชื่นใจ สหกรณ์จังหวัดเชียงราย นายวสิ ุทธ์ิ จตรุ ลาวัลย์ ผ้อู ำนวยการกลมุ่ สง่ เสรมิ นางสาวรุ่งทิวา เปรมอำพล และพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ นักวชิ าการสหกรณ์ชำนาญการพเิ ศษ นักจดั การงานทวั่ ไปชำนาญการ ผู้อำนวยการกล่มุ จดั ต้ังและสง่ เสรมิ สหกรณ์ หวั หนา้ ฝ่ายบริหารทว่ั ไป ผ้อู ำนวยการกลุ่มส่งเสริม นายณัช ทศิ า และพัฒนาการจดั การบริหารสหกรณ์ นกั วชิ าการสหกรณช์ ำนาญการพิเศษ ผอู้ ำนวยการกล่มุ ตรวจการสหกรณ์ นายสวสั ดิ์ รมภริ นั ต์ นายวิชิต ภูกัน นายอาคม โยริยะ นกั วิชาการสหกรณช์ ำนาญการ นักวิชาการสหกรณ์ชำนาญการ นกั วิชาการสหกรณ์ชำนาญการพิเศษ ผอู้ ำนวยการกลุ่มส่งเสรมิ สหกรณ์ 1 ผอู้ ำนวยการกลมุ่ ส่งเสริมสหกรณ์ 3 ผูอ้ ำนวยการกลมุ่ ส่งเสริมสหกรณ์ 5 นายมงคล กนั ทะเตยี น นางสาวณัฐฐยา คำโป่ง นกั วชิ าการสหกรณช์ ำนาญการ นักวิชาการสหกรณ์ชำนาญการ ผู้อำนวยการกลมุ่ ส่งเสริมสหกรณ์ 2 ผู้อำนวยการกล่มุ สง่ เสริมสหกรณ์ 4

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณจ์ งั หวัดเชยี งราย 4 บทสรุปผู้บรหิ าร (Executive Summary) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเชียงราย มีภารกิจในการกำกับ แนะนำ ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร ในจังหวัดเชียงราย ตลอดจนให้ความรู้หลักการ อุดมการณ์ และวิธีการสหกรณ์ ให้กับ ประชาชนทั่วไปที่สนใจและประสงค์จะจัดตั้งสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร นอกจากนี้ยังส่งเสริมและพัฒนา ศักยภาพของสหกรณ์ให้มีความเข้มแข็งให้เป็นสหกรณ์หลักระดับอำเภอ สำหรับในรอบปีที่ผ่านมาสำนักงาน สหกรณจ์ งั หวดั เชยี งราย มีผลการดำเนินงานสรปุ ไดด้ งั น้ี คือ 1. ผลการปฏบิ ัติงานและผลการเบกิ จ่ายเงนิ งบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเชียงราย ได้รับอนุมัติจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2564 จากกรมส่งเสริมสหกรณ์ เพื่อปฏิบัติงาน รวม 6 แผนงาน 10 ผลผลิต/โครงการ งบประมาณทงั้ สน้ิ 84.83 ลา้ นบาท โดยแยกเปน็ งบบุคลากร จำนวน 8.18 ลา้ นบาท งบดำเนนิ งาน จำนวน 6.31 ลา้ นบาท งบลงทุน จำนวน 0.36 ล้านบาท งบเงินอดุ หนนุ จำนวน 4.86 ลา้ นบาท และงบรายจ่ายอื่น จำนวน 65.11 ล้านบาท ผลการปฏิบัติงานได้ปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติงานเสร็จสิ้นทุกแผนงาน ตลอดจน สามารถเบิกจา่ ยเงนิ งบประมาณคดิ เป็นร้อยละ 100 2. ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สำนักงานสหกรณจ์ ังหวดั เชยี งราย ได้กำกับ แนะนำ สง่ เสรมิ และพฒั นาศกั ยภาพของสหกรณ์ จำนวน 121 แห่ง และกลุ่มเกษตรกร จำนวน 54 กลุ่ม โดยสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีการยกระดับชั้น และ ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ตลอดจนมีการดำเนินงานที่มีการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิ บาล สามารถยกระดับชั้นให้สูงขึ้น สร้างความเข้มแข็งให้แก่สหกรณ์เพื่อเป็นองค์กรหลักระดับอำเภอในทุก ๆ อำเภอ ทั้งนี้ ได้แนะนำ ส่งเสริมสหกรณ์ ให้มีการวางแผนการดำเนินธุรกิจ เพื่อตอบสนองความต้องการของ สมาชิก ทั้งในด้านการให้บริการรับฝากเงิน การให้สินเชื่อ การติดตามหนี้สิน การรวมกันซื้อ รวมกันขาย การ แปรรปู และ การให้บรกิ าร เพอ่ื ใหส้ ามารถอำนวยประโยชนแ์ กส่ มาชกิ ในลกั ษณะครบวงจร ผลการแนะนำและส่งเสริมสหกรณ์และกล่มุ เกษตรกร ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สหกรณแ์ ละกลุ่ม เกษตรกร มคี วามเข้มแข็งแยกตามระดบั ช้นั ดังน้ี - สหกรณร์ ะดับชนั้ 1 จำนวน 24 แห่ง สหกรณ์ระดับชั้น 2 จำนวน 89 แห่ง สหกรณ์ ระดบั ชั้น 3 จำนวน 8 แห่ง และสหกรณร์ ะดบั ชั้น 4 จำนวน 17 แห่ง - กลุ่มเกษตรกรระดับชั้น 1 จำนวน - แห่ง กลุ่มเกษตรกรระดับชั้น 2 จำนวน 50 แห่ง กลมุ่ เกษตรกรระดับชนั้ 3 จำนวน 4 แห่ง ผลการจดั มาตรฐานสหกรณ์ จำนวน 117 แห่ง และกลุ่มเกษตรกร จำนวน 54 แห่ง ดังน้ี - สหกรณผ์ ่านเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์ จำนวน 70 แหง่ คิดเปน็ รอ้ ยละ 59.83 - กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐานกลุ่มเกษตรกร จำนวน 51 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 94.44 ด้านงานกำกับดูแลสหกรณ์ ผู้ตรวจการสหกรณ์ได้เข้าตรวจการสหกรณ์ตามคำสั่งนาย ทะเบียนสหกรณ์ครบทุกสหกรณ์ ตลอดจนมีการแต่งตั้งทีมตรวจการสหกรณ์เพื่อเข้าไปตรวจการสหกรณ์เป็น การเฉพาะในสหกรณ์เป้าหมายตามแผนงาน ตลอดจนไดม้ อบหมายเจา้ หน้าท่ีเข้าไปช่วยเหลือแนะนำการแก้ไข ปญั หาขอ้ บกพรอ่ งและการทุจริตในสหกรณ์ เพ่อื หาผ้รู ับผิดชอบมาดำเนินการทางกฎหมาย

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณจ์ ังหวดั เชยี งราย 5 3. ผลการปฏิบัติงาน/โครงการตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2564 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเชียงราย ได้ปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติงานประจำปี พ.ศ. 2564 ประกอบด้วย 3.1 งานตามภารกิจ การให้ความรู้หลักการ อุดมการณ์ และวิธีการสหกรณ์ เพื่อดำเนินการจัดตั้งสหกรณ์ และกลมุ่ เกษตรกรในจงั หวดั เชยี งราย จำนวน 1 สหกรณ์ คอื สหกรณ์เคหสถานก้าวหน้าม่นั คงเชยี งราย ดา้ นการปฏบิ ตั งิ านตามแผนปฏบิ ตั ิงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ได้แก่ 1. แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ผลผลิตสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาตามศักยภาพ กิจกรรมหลักส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และ กลุม่ เกษตรกร กจิ กรรมรองสง่ เสรมิ และพฒั นาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มคี วามเข้มแขง็ ตามศกั ยภาพ 2. แผนงานยุทธศาสตรเ์ สริมสร้างพลังทางสังคม จำนวน 2 โครงการ (1) โครงการพัฒนาพ้นื ท่ีโครงการหลวง กิจกรรมหลกั พฒั นาสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกรในพ้ืนทโี่ ครงการหลวง กจิ กรรมรองพฒั นาธรุ กิจของสหกรณ์/กลุม่ เกษตรกรในพ้นื ทีโ่ ครงการหลวง (2) โครงการส่งเสริมการดำเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ กิจกรรมหลัก พัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ กิจกรรมรองส่งเสริมและพัฒนา สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรในพ้นื ทีโ่ ครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดำริ 3. แผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทาง สงั คม โครงการช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร กิจกรรมหลัก ช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิก สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร กจิ กรรมรอง ลดดอกเบีย้ เงินกใู้ ห้เกษตรกรสมาชิกสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร 4. แผนงานยุทธศาสตร์ การเกษตรสร้างมูลค่า โครงการส่งเสริมและสนับสนุน สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทำการเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่า กิจกรรมหลัก สนับสนุนให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ส่งเสริมสมาชิกทำการเกษตรปลอดภัย กิจกรรมรอง พัฒนาคุณภาพการผลิตสินค้าเกษตรของสมาชิกสหกรณ์ และกลมุ่ เกษตรกรสู่มาตรฐาน GAP 5. แผนงานบูรณาการพฒั นาและสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ฐานราก จำนวน 4 โครงการ (1) โครงการส่งเสริมการพัฒนาระบบตลาดภายในสำหรับสินค้าเกษตร กิจกรรม หลกั พฒั นากลไกการตลาดเพอื่ เพิม่ ชอ่ งทางการจำหน่ายสนิ คา้ ของสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร (2) โครงการ ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินทำกินของเกษตรกร กิจกรรมหลักสง่ เสรมิ และพัฒนาอาชีพภายใตโ้ ครงการจัดทด่ี นิ ตามนโยบาลรฐั บาล (3) โครงการส่งเสริมและสร้างทักษะในการประกอบอาชีพทั้งในและนอกภาค เกษตร กิจกรรมหลกั นำลูกหลานเกษตรกรกลับบา้ น สานตอ่ อาชีพ (4) โครงการพัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกรและ ธรุ กิจชมุ ชน จำนวน 2 กิจกรรม (4.1) เพิ่มศักยภาพการดำเนินธุรกิจรวบรวม จัดเก็บ และแปรรูปผลผลิต การเกษตรในสหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกรฃ (4.2) กิจกรรมหลักเพิ่มขีดความสามารถในการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์/ กลมุ่ เกษตรกรใหเ้ ปน็ องค์กรหลักในการพัฒนาเศรษฐกจิ ระดบั อำเภอ

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณจ์ ังหวัดเชยี งราย 6 ผลการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สามารถ ดำเนนิ งานเป็นไปตามแผนปฏิบตั ิงานของกรมสง่ เสริมสหกรณแ์ ลว้ เสรจ็ ครบทุกแผนงาน/โครงการทุกประการ ด้านการชำระบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ในรอบปีที่ผ่านมา ผู้ชำระบัญชีท่ี นายทะเบียนสหกรณ์แต่งตั้ง ไดด้ ำเนนิ การชำระบัญชตี ามข้ันตอนที่กรมสง่ เสริมสหกรณ์กำหนดทงั้ 10 ข้ันตอน มีสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ดำเนินการชำระบัญชียกมาต้นปีงบประมาณ จำนวน 24 แห่ง และมีสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกรที่เลิกระหว่างปี จำนวน 5 แห่ง สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรสามารถชำระบัญชีเสร็จสิ้นได้ใน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ได้จำนวน 6 แห่ง ดังนั้นจึงมีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่อยู่ระหว่างชำระบัญชี เหลืออกี จำนวน 23 แหง่ ไดก้ ำชับให้ผชู้ ำระบัญชีเรง่ ดำเนินการให้เสร็จสิน้ โดยเร็ว 3.2 งานตามนโยบายที่สำคัญๆ ของรัฐบาล กระทรวงเกษตรและสหกรณ์และกรมส่งเสริม สหกรณ์ ท่ีสำนกั งานสหกรณจ์ งั หวดั เชียงราย ได้ดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ประกอบด้วย (1) โครงการนำลกู หลานเกษตรกรกลบั บ้าน สานตอ่ อาชพี การเกษตร โดยสำนักงาน สหกรณ์จังหวัดเชยี งรายได้ดำเนนิ การจัดประชมุ โครงการประชุมเชงิ ปฏิบตั ิการสรา้ งทักษะการตลาดสนิ ค้าให้แก่ เกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการ โดยเกษตรกรรุ่นใหม่มีโอกาสเรียนรู้ ได้รับองค์ความรู้ มีการพัฒนาอาชีพ การเกษตรได้อย่างยั่งยืน การขับเคลื่อนโครงการนำลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตร เป็นไปอยา่ งมีประสทิ ธิภาพมากข้นึ (2) การกระจายผลไม้ผ่านเครือข่ายสหกรณ์เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของสมาชิก เกษตรกรจากสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด – 19 เพื่อบรรเทาผลกระทบของสมาชิกสหกรณ์ที่ไม่ สามารถจำหน่ายผลไม้ส่งออกต่างประเทศจากสถานการณ์โรคไวรัส covid-19 เพื่อลดผลกระทบของสถาบัน เกษตรกรจากการหยุดรับซื้อผลไม้ออกจากแหล่งผลิต โดยใช้สถาบันเกษตรกรเป็นกลไกในการขับเคลื่อนไปสู่ ผู้บริโภคในราคาที่เป็นธรรม สร้างเสถียรภาพด้านปริมาณและราคาผลผลิตของสมาชิกสหกรณ์และสถาบัน เกษตรกร รวมทั้งเกษตรกรผู้บริโภคผลไม้ทั่วไป ให้เป็นไปตามกลไกตลาดที่เป็นธรรม โดยสำนักงานสหกรณ์ จังหวัดเชยี งราย ช่วยกระจายผลผลติ มังคุดของสหกรณ์การเกษตรหลงั สวน จำกัด ซง่ึ เป็นสหกรณ์ผู้ผลิตต้นทาง สามารถกระจายผลผลติ ส่ผู ้บู ริโภคได้ สามารถชว่ ยกระจายสนิ ค้า จำนวน 7.4 ตัน เป็นเงนิ 185,000 บาท (3) โครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อสร้างระบบน้ำในไร่นาของสมาชิกสถาบันเกษตรกร ระยะที่ 2 เพื่อส่งเสริม การจัดทำระบบไร่นาของเกษตรกรให้มีความยั่งยืน มีแหล่งน้ำในฟาร์มของตนเอง ลดการพึ่งพาน้ำจากระบบ ชลประทานและแหล่งน้ำธรรมชาติ สรา้ งการเปล่ยี นแปลงจากระบบการทำเกษตรกรรมแบบพึง่ ธรรมชาติ เป็น การเกษตรแบบบริหารจัดการเพื่อลดความเสี่ยงจากการขาดน้ำ โดยมีสหกรณ์เข้าร่วมโครงการ 6 สหกรณ์ และให้สมาชกิ กยู้ มื เพ่ือเป็นค่าใชจ้ า่ ยดำเนินการขุดสระเกบ็ กักน้ำ ขดุ เจาะบอ่ บาดาล พรอ้ มอปุ กรณท์ ่ีเกย่ี วข้อง เป็นเงินจำนวน 2,950,000 บาท ซึ่งสมาชิกลดภาระหนี้สินที่มีความเสี่ยงจากการทำการเกษตรตามระบบ ธรรมชาติ มาเป็นการเกษตรที่มีระบบน้ำในพื้นที่การเกษตรของตนเอง ลดการพึ่งพาการบริหารจัดการน้ำจาก ระบบชลประทานหรือแหลง่ นำ้ ตามธรรมชาติ 3. ผลการปฏิบตั ิงานด้านอนื่ ๆ ด้านการดำเนินงานติดตามการใช้ประโยชน์จากอุปกรณ์การตลาด ได้ดำเนินการลงพื้นท่ี เพื่อติดตาม ตรวจสอบการใช้ประโยชน์จากอุปกรณ์การตลาด และได้กำชับให้สหกรณ์ใช้ประโยชน์จาก อปุ กรณ์เคร่ืองมือเครื่องใช้ สิง่ กอ่ สรา้ งที่เป็นอุปกรณ์การตลาดซ่ึงได้รับเงินอุดหนนุ งบประมาณจากกรมส่งเสริม สหกรณ์ เพ่อื ใหเ้ กดิ ประโยชน์สงู สดุ และเกิดความคมุ้ ค่า

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณจ์ งั หวัดเชียงราย 7 ด้านการสนับสนุนเงินทุนจากเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเชียงราย ได้รับจัดสรรวงเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ รวมทั้งสิ้น 82.29 ล้านบาท สามารถเบิกจา่ ยได้ 66.21 ลบ. คดิ เปน็ 80.46% จำแนกเป็นโครงการปกติ ได้รับจัดสรรวงเงนิ กู้ 54.00 ลบ. เบกิ จา่ ยได้ 40.30 ลบ. (74.63%) โครงการพเิ ศษได้รับจัดสรรวงเงินกู้ 28.29 ลบ. เบกิ จ่ายได้ 25.91 ลบ. (91.59%) ในการสนับสนนุ เงินทุนจากเงนิ กองทนุ พัฒนาสหกรณ์เพ่ือเปน็ ทุนหมนุ เวียนในการดำเนินธุรกิจแก่ สหกรณ์ใช้เป็นทุนในการรวบรวมผลผลิต และจัดหาปัจจัยการผลิตด้านการเกษตรแก่สมาชิก หรือให้สมาชิก กยู้ มื ไปประกอบอาชพี ส่งผลให้สหกรณ์สามารถใหบ้ รกิ ารแกส่ มาชกิ ไดม้ ากขึ้น โครงการปรับโครงสร้างการผลิต การรวบรวม และการแปรรูปของสถาบันเกษตรกรเพื่อ รองรับผลผลิตทางการเกษตร มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับศักยภาพสถาบันเกษตรกรให้เป็นศูนย์กลางในการ บริหารจัดการผลผลิตทางการเกษตรตลอดห่วงโซ่การผลิตสินค้าเกษตร เป้าหมายคือสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรท่ี ขอรับการสนับสนุนงบประมาณและผ่านหลักเกณฑ์คุณสมบัติที่กรมส่งเสริมสหกรณ์กำหนด จำนวน 10 แห่ง งบประมาณท่ีใช้ 72,627,900 บาท รองรับผลผลิตได้เพิ่มขึ้นประมาณ 20,000 ตัน และสมาชิกมีรายได้ เพิม่ ขึ้น จากการดำเนินงานในรอบปีที่ผ่านมา สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเชียงราย สามารถ ดำเนินงานเป็นไปตามแผนปฏิบัติงานของกรมส่งเสริมสหกรณ์แล้วเสร็จตามนโยบายทุกประการ ตลอดจน สามารถแนะส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดเชียงรายให้มีการพัฒนาด้านการบริหาร จัดการกลุ่มได้อยา่ งเป็นระบบ เพื่อใหส้ หกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรเกดิ การพฒั นา และยกระดบั ให้มีความเข้มแข็ง อยา่ งยัง่ ยนื

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณ์จงั หวดั เชียงราย 8 สว่ นที่ 1 ข้อมูลภาพรวมของหน่วยงาน 1.1 วสิ ยั ทศั น์ พันธกิจ และอำนาจหนา้ ที่ของสำนักงานสหกรณ์จงั หวัดเชียงราย 12 1.2 แนวทางการขบั เคลอื่ นงาน /โครงการทีส่ อดคลอ้ งกบั แผนระดับ 3 ของกรมฯ 13 1.3 โครงสร้างและอตั รากำลังของสำนักงานสหกรณจ์ งั หวัดเชียงราย 14 1.4 งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 19 1.5 สรปุ ขอ้ มูลสหกรณแ์ ละกลุม่ เกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 20 สว่ นท่ี 2 ผลการดำเนินงาน 2.1 ผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจา่ ยประจำปี 30 งบประมาณ พ.ศ. 2564 แผนงานพืน้ ฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ➢ โครงการพัฒนาผู้ตรวจการสหกรณ์ หลักสูตร “ผู้ตรวจการสหกรณ์ 34 ระดับพืน้ ฐาน” ร่นุ ท่ี 1 – 3 ผา่ นระบบสอื่ สารทางไกล ➢ โครงการขับเคล่ือนการส่งเสริมสหกรณ์ออมทรัพยแ์ ละสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนเพ่ือ 35 เข้าสู่เกณฑ์การกำกับดูแลตามมาตรา 89/2 แห่งพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม ➢ การประชุมแนวทางปฏิบัติตามกฎกระทรวงการดำเนินงานและการกำกับดูแล 35 สหกรณอ์ อมทรัพยแ์ ละสหกรณ์เครดติ ยูเนย่ี น 35 ➢ โครงการอบรมเพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการสหกรณ์เกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วย การป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินและกฎหมายว่าด้วยป้องกันและ ปราบปรามการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้ายและการแพร่ขยายอาวุธ ที่มีอานุภาพทำลายล้างสูงแก่สหกรณ์ ผ่านระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Zoom Meeting ➢ การดำเนนิ งานและการกำกบั ดแู ลสหกรณ์ออมทรพั ย์และสหกรณเ์ ครดิตยเู น่ียน 36 พ.ศ.2564 ตาม พรบ.สหกรณฯ กฎกระทรวง และกฎหมายอื่นท่ีเกี่ยวข้อง ➢ การจดั ทำคู่มือ/แนวทางปฏิบตั ใิ นการกำกบั ดูแลสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร 36 ➢ โครงการฝกึ อบรมผ่านระบบส่ือสารออนไลน์ หลักสูตร \"การบริหารจัดการแก้ไข 36 ข้อบกพร่องของสหกรณ์” ดว้ ยระบบ Zoom Meeting 36 ➢ โครงการฝึกอบรมผ่านระบบสอ่ื ออนไลน์ หลกั สตู ร “พฒั นาศักยภาพใหแ้ ก่ ขา้ ราชการและพนักงานราชการ ในตำแหน่งนิตกิ ร” ด้วยระบบ Zoom Meeting 36 ➢ งานการกำกบั ดูแล การแก้ไขข้อบกพร่องสหกรณ์และงานตรวจการ ➢ งานสง่ เสริมและพัฒนาสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษรกรให้มคี วามเข็มแข็งตามศกั ยภาพ 37 ➢ โครงการพฒั นาศกั ยภาพกลุม่ อาชีพในสังกัดสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรฟืน้ ฟู 41 เศรษฐกิจชุมชน ปี 2563 ➢ รายงานผลการวเิ คราะห์ข้อมูลธุรกรรมระหว่างสหกรณ์ 43

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณ์จังหวดั เชียงราย 9 ➢ โครงการส่งเสริมพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสู่มาตรฐานสหกรณ์/กลุ่ม 44 เกษตรกร ➢ โครงการฝกึ อบรม หลักสูตร “ผู้ชำระบญั ชสี หกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรขัน้ 45 พ้ืนฐาน” ➢ โครงการพฒั นาและส่งเสรมิ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรสูด่ เี ดน่ 46 แผนงานยทุ ธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลคา่ ➢ โครงการสนับสนุนเงนิ ทุนเพ่ือสร้างระบบน้ำในไร่นาของสมาชิกสถาบนั เกษตรกร 48 ระยะท่ี 2 แผนงานยุทธศาสตร์เสริมสรางพลังทางสังคม ➢ โครงการส่งเสริมกจิ กรรมสหกรณ์นักเรียน ตามพระราชดำริของ สมเด็จพระ 50 กนษิ ฐาธริ าชเจ้า กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ➢ โครงการส่งเสริมกสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียนเพียงหลวง ในทูลกระหม่อมหญิง 52 อุบลรตั นราชกัญญา สิริวฒั นาพรรณวดี ➢ โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิ 55 ราชฯ สยามมกุฎราชกมุ าร 57 ➢ โครงการ 1 ตำบล 1 กลมุ่ เกษตรทฤษฎีใหม่ ➢ โครงการขับเคล่อื นปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งในสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร 60 ➢ โครงการสง่ เสริมสหกรณ์ในพ้ืนที่โครงการหลวง 64 ➢ โครงการสง่ เสรมิ สหกรณ์ในพื้นทีโ่ ครงการพฒั นาพื้นท่ีสงู แบบโครงการหลวง ➢ โครงการส่งเสรมิ และพฒั นาสหกรณใ์ นพ้นื ท่โี ครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดำริ 66 แผนงานยทุ ธศาสตร์เพ่ือสนับสนุนด้านการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม ➢ โครงการชว่ ยเหลอื ด้านหนีส้ นิ สมาชกิ สหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร 67 ➢ โครงการสง่ เสริมและพัฒนาอาชพี เพ่ือแก้ไขปัญหาทดี่ ินทำกินของเกษตรกร 68 71 ➢ โครงการนำลกู หลานเกษตรกรกลบั บา้ น สานต่ออาชีพการเกษตร ➢ โครงการพฒั นาศกั ยภาพการดำเนนิ ธรุ กิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจ 74 78 ชมุ ชน กิจกรรม : เพิ่มขีดความสามารถในการดำเนนิ ธรุ กิจของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ให้เปน็ องคก์ รหลักในการพฒั นาเศรษฐกจิ ระดับอำเภอ กจิ กรรม : เพ่ิมศักยภาพการดำเนินธรุ กิจรวบรวม จัดเกบ็ และแปรรูปผลผลติ การเกษตรในสหกรณ์และกล่มุ เกษตรกร

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณ์จงั หวัดเชียงราย 10 ▪ งานสง่ เสริมและพัฒนา 1. การสง่ เสรมิ ใหเ้ กษตรกรสมาชิกปลกู พืช เพอ่ื สรา้ งทางเลอื กทม่ี ีศักยภาพและตลาด 80 รองรับ ช่วยสร้างรายได้เสรมิ เพิ่มเติมจากรายได้หลัก โดยได้มาตรฐานGAP และ GMP ท่ี เกี่ยวข้อง (งานจา้ งท่ปี รกึ ษาปี 2563) 2. โครงการปรับโครงสรา้ งการผลิต การรวบรวม และการแปรรปู ของสถาบัน 82 เกษตรกรเพื่อรองรับผลผลติ ทางการเกษตร 84 3. ระบบการส่งเสรมิ การเกษตรแบบแปลงใหญ่ ▪ งานกำกบั ติดตามและแก้ปัญหา 1. มาตรการและแนวทางการช่วยเหลือบรรเทาภาระชำระหนี้ให้แก่สมาชิกสหกรณ์ 86 จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 2. การกระจายผลไม้ผ่านเครือข่ายสหกรณ์เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของสมาชิก 90 เกษตรกรจากสถานการณ์การระบาดของโรคโควดิ - 19 3. โครงการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างชำระของสมาชิกสหกรณ์ ระยะที่ 2 ประจำปี 92 งบประมาณ พ.ศ.2564 4. การสง่ เสรมิ สหกรณ์ให้ความช่วยเหลือเกษตรกรสมาชิกทมี่ ปี ัญหาในการประกอบ 94 อาชพี ทางการเกษตร (สนับสนนุ วงเงินกู้จากกองทุนพฒั นาสหกรณ)์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 • รางวลั ผลงานดเี ดน่ และความภาคภมู ิใจ 95 สว่ นท่ี 3 กิจกรรมประชาสมั พันธ์งานสหกรณ์ โดดเด่นในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.2564 98 ภาพกิจกรรมของหนว่ ยงานร่วมกบั จังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 108 109 การจัดงานกจิ กรรมตา่ ง ๆ ในวันคลา้ ยวันสถาปนากรมสง่ เสริมสหกรณค์ รบรอบ 49 ปี 110 งานบรู ณาการร่วมกับหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ภายในจงั หวัดเชียงราย กจิ กรรมของหน่วยงานร่วมกบั สหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ส่วนท่ี 4 รายงานข้อมลู งบการเงิน 126 งบแสดงฐานะทางการเงิน 127 งบแสดงผลการดำเนินงานทางการเงิน 128 131 หมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ บทวเิ คราะห์ข้อมลู ทางด้านงบประมาณ

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณจ์ ังหวดั เชยี งราย 11 ส่วนท่ี 1 ขอ้ มูลภาพรวม ของหนว่ ยงาน

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณจ์ งั หวัดเชียงราย 12 1.1 วสิ ยั ทัศน์ พนั ธกิจ และอำนาจหน้าทขี่ องหนว่ ยงาน วิสัยทัศนส์ ำนักงานสหกรณจ์ ังหวัดเชียงราย “เป็นองค์กรทม่ี ่งุ พัฒนาระบบสหกรณ์ ให้เขม้ แข็งและดำรงอยอู่ ย่างย่งั ยนื ” พันธกจิ สำนักงานสหกรณ์จังหวดั เชยี งราย มิติ : ประสิทธผิ ล 1. สรา้ งคา่ นิยมและผลกั ดันระบบสหกรณ์ให้มีสว่ นร่วมในการสรา้ งสังคมอยู่เย็นเปน็ สขุ ตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2. สนบั สนนุ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในการให้บรกิ ารแก่สมาชิกใหเ้ กิดความพงึ พอใจ มติ ิ : คณุ ภาพการใหบ้ รกิ าร 1. สนับสนนุ สหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรในการใหบ้ ริการแก่สมาชิกให้เกิดความพงึ พอใจ 2. สนบั สนุนสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรใหม้ สี ่วนรว่ มกบั ชุมชนในการพัฒนาสังคม 3. สนบั สนุนสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกรร่วมกับคูค่ ้าในการดำเนนิ ธุรกจิ อย่างมีคุณภาพ และเท่ียงธรรม ตามความต้องการของลูกคา้ มติ ิ : ประสิทธภิ าพของการปฏิบตั ริ าชการ 1. พัฒนาบุคลากรในระบบสหกรณ์ใหร้ ว่ มมือและมสี ว่ นร่วมในการบรหิ ารจัดการ และการดำเนนิ ธุรกิจของสหกรณ์ให้พึง่ พาตนเองได้ และชว่ ยเหลอื กันมากขน้ึ 2. สนบั สนุนการดำเนินธุรกิจและการเชื่อมโยงเครอื ข่ายกับผูม้ ีส่วนไดส้ ่วนเสียต่าง ๆ รวมทั้งการจัดทดี่ นิ เพอ่ื การครองชพี ภายใต้กรอบของกฎหมาย 3. พัฒนาสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแขง็ รวมทงั้ เปน็ องคก์ รแหง่ การเรียนรู้ มิติ : การพฒั นาองคก์ ร 1. พัฒนาบุคลากรของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดเชียงรายให้มีความสามารถมีคุณธรรม จรยิ ธรรม และมคี วามสขุ ในการปฏิบตั ิงาน อำนาจหนา้ ทส่ี ำนกั งานสหกรณจ์ งั หวัดเชยี งราย 1. ดำเนนิ การตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์และกฎหมายอืน่ ที่เกี่ยวข้อง 2. ส่งเสริมและพฒั นางานสหกรณท์ กุ ประเภท และกลุม่ เกษตรกร 3. ส่งเสริม เผยแพร่ และให้ความรู้เกี่ยวกับอุดมการณ์หลักการและวิธีการสหกรณ์ให้ บุคลากร กลมุ่ เกษตรกรและประชาชนทัว่ ไป 4. ส่งเสริมและพัฒนาธรุ กิจของกลมุ่ เกษตรกรและสหกรณ์ 5. ปฏิบัติงานร่วมกัน หรือสนับสนุนการปฏิบตั ิงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือที่ ไดร้ ับมอบหมาย

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณจ์ ังหวดั เชยี งราย 13 1.2 แนวทางการขบั เคลื่อนงาน / โครงการทสี่ อดคล้องกบั แผนของกรม ส่งเสรมิ สหกรณ์

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณ์จงั หวัดเชียงราย 14 1.3 โครงสร้างและอตั รากำลังของสำนักงานสหกรณจ์ ังหวดั เชยี งราย โครงสร้างสำนกั งานสหกรณจ์ งั หวัดเชยี งราย สหกรณ์จงั หวดั เชียงราย ฝ่ายบรหิ ารทว่ั ไป กลุม่ จดั ตงั้ และ กลุ่มสง่ เสริมและ กลมุ่ ส่งเสรมิ และ กล่มุ ตรวจการ สง่ เสรมิ สหกรณ์ พัฒนาธรุ กจิ สหกรณ์ พฒั นาบริหารการ สหกรณ์ จดั การสหกรณ์ พิเศษ กลมุ่ สง่ เสริมสหกรณ์ กลมุ่ ส่งเสรมิ สหกรณ์ กลมุ่ ส่งเสรมิ สหกรณ์ กลมุ่ ส่งเสรมิ สหกรณ์ กลมุ่ ส่งเสริมสหกรณ์ 1 2 3 4 5

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณจ์ งั หวัดเชยี งราย 15 ที่ ชือ่ - นามสกุล ตำแหนง่ 1 นายเอนก ชื่นใจ สหกรณ์จังหวัดเชียงราย 2 นางสาวรงุ่ ทวิ า เปรมอำพล ฝา่ ยบรหิ ารทั่วไป นักจดั การงานท่ัวไปชำนาญการ 3 นางสาววาสนา ชำนาญยา นกั วชิ าการสหกรณช์ ำนาญการ 4 นางสุชาดา รตั นธงชัย พนกั งานพมิ พ์ ระดับ ส4 5 นางสาวพชั รี มาลา นกั วชิ าการสหกรณ์ 6 นางสาวกรี ตญิ า ไชยลงั กา นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผน 7 นางสาวฐติ วิ รดา วงศ์ขตั ิย์ นักจัดการงานทัว่ ไป 8 นางสาวทันธิกา กตญั ญู เจ้าพนักงานธุรการ 9 นางสาวชตุ ิกาญจน์ สนนุ่ พทิ กั ษ์ เจา้ พนักงานธรุ การ 10 นางสาวศริ กิ อ้ ย แก้วแกมเงนิ เจา้ พนักงานธุรการ 11 นายวรธชั อนิ ทรแสน เจ้าพนกั งานธุรการ 12 นายกนก ใจมาลัย เจา้ พนกั งานการเงินและบญั ชี กล่มุ จัดตง้ั และส่งเสรมิ สหกรณ์ 13 นายวิสทุ ธิ์ จตุรลาวัลย์ นักวชิ าการสหกรณ์ชำนาญการพเิ ศษ 14 นางสาวเฉลมิ พร วงศจ์ ักร์ นักวชิ าการสหกรณช์ ำนาญการ 15 นางสาวอจั ฉรา จนั ทรด์ ี นกั วชิ าการสหกรณ์ชำนาญการ 16 นางสาวปญุ ชรัสมิ์ คำเพยี ร นักวชิ าการสหกรณช์ ำนาญการ 17 นางสาวกมลลกั ษณ์ บญุ ศรี นกั วชิ าการสหกรณ์ 18 นางสาวณฐั วรนิ ญา แกว้ วมิ ล นักวชิ าการสหกรณ์ กลุ่มสง่ เสรมิ และพฒั นาธรุ กจิ สหกรณ์ 19 -ว่าง- นักวชิ าการสหกรณช์ ำนาญการพิเศษ 20 นางจวงจันทร์ พิงคะสนั นักวชิ าการสหกรณ์ชำนาญการ

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเชยี งราย 16 ที่ ชอื่ - นามสกุล ตำแหน่ง 21 นางสาววไิ ลพร ขนั แก้ว นักวชิ าการสหกรณช์ ำนาญการ 22 นายสหวัฒน์ กาบแกว้ นกั วชิ าการมาตรฐานสนิ ค้า 23 นางเบญจมาภรณ์ ทะเรือน นักวชิ าการสหกรณ์ 24 นางนทั ธดิ าภรณ์ กระจ่างอนวุ งศ์ นกั วชิ าการสหกรณ์ 25 นายวิทยา เรียบรอ้ ยกจิ นกั วชิ าการสหกรณ์ กลมุ่ สง่ เสรมิ และพัฒนาการบรหิ ารการจดั การ 26 นายคตี วฒุ ิ นับแสง นักวชิ าการสหกรณ์ชำนาญการพิเศษ 27 นายพิพฒั น์ วงค์รนิ นกั วชิ าการสหกรณช์ ำนาญการ 28 นางจุฑาทิพย์ พรมขดั ดกุ นักวชิ าการสหกรณ์ปฏิบตั กิ าร 29 นางกญั ญว์ รา ทาศรี นักวชิ าการสหกรณ์ 30 นางวิชญา วิชยั ปะ นกั วชิ าการสหกรณ์ 31 นายวฒุ ินนั ท์ นนั ทะวเิ ชียร นักวชิ าการสหกรณ์ กล่มุ ตรวจการณส์ หกรณ์ 32 นายณัช ทิศา นกั วชิ าการสหกรณช์ ำนาญการ 33 นางสาวธญั ญรตั น์ โพธติ า นักวชิ าการสหกรณ์ชำนาญการ 34 นายสมคดิ ดอนชยั นักวชิ าการสหกรณช์ ำนาญการ 35 นางสาวนาราภทั ร ไชยวงศ์ นติ กิ รปฏิบตั กิ าร 36 วา่ ท่ี รต.หญงิ วาริณี ฟูนนั นติ กิ ร กลุ่มสง่ เสรมิ สหกรณ์ 1 37 นายสวสั ดิ์ รมภริ ันต์ นักวชิ าการสหกรณช์ ำนาญการ 38 นายเจรญิ ชยั เชอื้ สะอาด เจา้ พนกั งานส่งเสริมสหกรณอ์ าวุโส 39 นายวรี ะยทุ ธ วิรยิ าวุฒิ นักวชิ าการสหกรณ์ชำนาญการ 40 นางสาววรรณภา แสงดา นกั วชิ าการสหกรณช์ ำนาญการ 41 นางสาวยวุ รี กิยา นักวชิ าการสหกรณช์ ำนาญการ 42 นางสาวดรรชนี ปนั ทะลา นกั วชิ าการสหกรณช์ ำนาญการ 43 นางสาวอรวลี ดา่ นสถาปนาพงศ์ นกั วชิ าการสหกรณ์ 44 นายกติ ตไิ กร ไชยเลิศ เจา้ พนักงานส่งเสริมสหกรณ์ 45 นายสรายทุ ธ ทอนชว่ ย เจา้ พนกั งานสง่ เสรมิ สหกรณ์

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณ์จังหวดั เชยี งราย 17 ท่ี ช่อื - นามสกลุ ตำแหนง่ กล่มุ ส่งเสรมิ สหกรณ์ 2 46 นายมงคล กนั ทะเตียน นกั วชิ าการสหกรณ์ชำนาญการ 47 นายราชติ พุทธกนิษฐกุล นกั วชิ าการสหกรณช์ ำนาญการ 48 นางสาวอภิรดี อภิธนงั นักวชิ าการสหกรณช์ ำนาญการ 49 นายวิชัย ใจใหญ่ นักวชิ าการสหกรณ์ชำนาญการ 50 นางสาวโสละดา หะวัน นกั วชิ าการสหกรณ์ปฏิบตั กิ าร 51 นางลฏาภา จันทรด์ ีมี นกั วชิ าการสหกรณ์ 52 นางสาววาสนา สบบง นักวชิ าการสหกรณ์ 53 นางสาวณัฐวรรณ หมนื่ ปญั ญา เจ้าพนักงานส่งเสรมิ สหกรณ์ กลุ่มสง่ เสรมิ สหกรณ์ 3 54 นายวชิ ติ ภูกนั นักวชิ าการสหกรณช์ ำนาญการ 55 นางสาวสายพริ ุณ ดใี จ นกั วชิ าการสหกรณป์ ฏบิ ตั ิการ 56 นายธชั นนท์ กา๋ ละ นกั วชิ าการสหกรณ์ 57 นางสาวชมพนู ชุ เครอื สาร เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์ 58 นางสาวสภุ าภรณ์ ธชิ าญ เจา้ พนกั งานสง่ เสรมิ สหกรณ์ 59 นายสมพจน์ พินิจ พนักงานขบั รถยนต์ กลุม่ ส่งเสรมิ สหกรณ์ 4 60 นางณฐั ฐยา คำโปง่ นกั วชิ าการสหกรณช์ ำนาญการ 61 นายศราวุธ วิเศษวงศ์ เจ้าพนกั งานสง่ เสรมิ สหกรณอ์ าวุโส 62 นางสาวเยาวภา ศรวี ชิ ยั นกั วชิ าการสหกรณป์ ฏิบตั กิ าร 63 นางสาวจารณุ ี ทายะ นักวชิ าการสหกรณ์ 64 นายอเุ ทน ทาปญั ญา เจ้าพนกั งานสง่ เสริมสหกรณ์ 65 นางสาววนั วสิ าข์ คงมี เจา้ พนักงานส่งเสริมสหกรณ์ 66 นางพรรณพร ชัยธิ พนกั งานพิมพ์ ระดับ ส4 67 นายนนั ทกร เชือ้ เมอื งพาน พนักงานขบั รถยนต์ กลุ่มสง่ เสริมสหกรณ์ 5 68 นายอาคม โยรยิ ะ นักวชิ าการสหกรณช์ ำนาญการพิเศษ 69 นางสาวนงนุช พุทธเคน นักวชิ าการสหกรณช์ ำนาญการ

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณจ์ งั หวดั เชียงราย 18 ที่ ชอ่ื - นามสกุล ตำแหน่ง 70 นางสาวนิษฐภ์ รรดั เช้ือเมอื งพาน นกั วชิ าการสหกรณ์ปฏบิ ตั กิ าร 71 นางสธุ าทิพย์ ปาเตียง นักวชิ าการสหกรณ์ปฏิบตั ิการ 72 นางสาวปรารถนา ทำทาน นกั วชิ าการสหกรณ์ปฏบิ ตั ิการ 73 นางจีริสดุ า ไชยะ นักวชิ าการสหกรณ์ 74 นางธนภร อคั รมงิ่ สกลุ เจา้ พนักงานสง่ เสริมสหกรณ์ 75 นางสาวกัลยาณี เตจะ๊ เจา้ พนกั งานสง่ เสรมิ สหกรณ์  อัตรากำลังของสำนักงานสหกรณ์จังหวดั เชียงราย โครงสรา้ งอตั รากาลัง สานักงานสหกรณ์จงั หวัดเชียงราย 44% ข้าราชการ 7% ลกู จ้างประจา 49% พนกั งานราชการ

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณจ์ ังหวดั เชียงราย 19 ประเภทอตั รากำลงั หนว่ ย : คน รวม 37 ขา้ ราชการ ชาย หญงิ 5 ลูกจา้ งประจำ 33 พนกั งานราชการ 14 23 75 32 รวม 9 24 29 46 1.4 งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ประเภทงบรายจ่าย ปี 2562 ปี 2563 หนว่ ย : บาท ปี 2564 งบบุคลากร 9,161,409.28 7,865,444.91 8,184,060.00 งบดำเนินงาน 9,365,280.00 6,598,021.37 6,316,168.37 งบลงทนุ 1,012,000.00 1,461,700.00 359,000.00 เงนิ อุดหนนุ 2,241,805.31 4,841,534.87 4,868,017.25 งบรายจ่ายอนื่ - - 65,109,600.00

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณ์จังหวัดเชยี งราย 20 80,000,000.00 งบประมาณเปรยี บเทียบ 3 ปีย้อนหลัง 70,000,000.00 สานกั งานสหกรณ์จงั หวดั เชยี งราย 60,000,000.00 50,000,000.00 งบบุคลากร งบดาเนนิ งาน งบลงทุน เงนิ อุดหนุน งบรายจา่ ยอ่ืน 40,000,000.00 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 30,000,000.00 20,000,000.00 10,000,000.00 0.00 สหกรณ์ จำนวนสหกรณ์ จำนวนสมาชกิ สหกรณ์ (แหง่ ) (คน) ประเภทสหกรณ์ 64 172,127 1. สหกรณ์การเกษตร 2 651 2. สหกรณป์ ระมง - - 3. สหกรณน์ คิ ม 9 4. สหกรณอ์ อมทรัพย์ - 31,327 5. สหกรณ์ร้านคา้ 13 - 6. สหกรณ์บริการ 33 7. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 121 1,660 32,628 รวม 238,393

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณจ์ ังหวัดเชียงราย 21 จำนวนสหกรณ์ในจังหวัดเชียงรำย ปี 2564 (แยกตำมประเภทสหกรณ์) เครดิตยเู นยี่ น 33.27% การเกษตร 64.53% บรกิ าร 13.11% ออมทรพั ย์ 9 .7% ประมง 2.2% เครดิตยเู นี่ยน การเกษตร ประมง ออมทรัพย์ บริการ

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณจ์ ังหวดั เชียงราย 22 ▪ ปรมิ าณธรุ กิจของสหกรณ์ในปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ปรมิ าณธุรกจิ ปริมาณธรุ กจิ แยกตามประเภทการใหบ้ ริการ (บาท) ประเภทสหกรณ์ ของสหกรณ์ ใหเ้งินกู้ จดั หาสินค้ามาจาหนา่ ย รวบรวมผลผลิตและแปรรปู บรกิ ารและอนื่ ๆ รวมทง้ั สิ้น รบั ฝากเงนิ 1.สหกรณก์ ารเกษตร 2.สหกรณป์ ระมง (แหง่ ) 3.สหกรณน์ คิ ม 4.สหกรณอ์ อมทรพั ย์ 64 2,972,728,494.67 2,031,315,361.62 1,414,575,792.78 1,929,670,214.70 453,258.89 8,348,743,122.66 5.สหกรณร์ า้ นค้า 6.สหกรณบ์ รกิ าร 2 2,020,170.95 19,900,710.00 140,208,641.00 221,386,851.00 - 383,516,372.95 7.สหกรณเ์ครดิตยเูนยี่ น - - - - -- - รวมทงั้ ส้ิน 9 9,660,231,250.85 19,523,313,396.27 - - - 29,183,544,647.12 - - - - -- - 13 7,108,135.49 2,960,400.00 3,371,106.00 - 6,709,504.83 20,149,146.32 33 402,811,356.07 465,120,024.77 5,128,446.48 - - 873,059,827.32 121 13,044,899,408.03 22,042,609,892.66 1,563,283,986.26 2,151,057,065.70 7,162,763.72 38,809,013,116.37

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเชยี งราย 23 ▪ ผลการดำเนนิ งานของสหกรณ์ ผลการดาเนนิ งานของสหกรณ์ ผลการดาเนนิ งานปลี ่าสุดทมี่ กี ารปดิ บญั ชีในปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ผลการดาเนนิ งานในภาพรวม การดาเนนิ งานมผี ลกาไร(ขาดทนุ ) กาไร (ขาดทนุ ) สุทธิ ใน ภาพรวม ประเภทสหกรณ์ สหกรณ์ทมี่ ผี ลกาไร สหกรณท์ ข่ี าดทนุ จานวนสหกรณ์ รายได้ ค่าใช้จา่ ย 1. สหกรณก์ ารเกษตร จานวนสหกรณ์ กาไร จานวนสหกรณ์ ขาดทนุ 2. สหกรณป์ ระมง 3. สหกรณน์ คิ ม (แหง่ ) (บาท) (บาท) (แหง่ ) (บาท) (แหง่ ) (บาท) (บาท) 4. สหกรณอ์ อมทรัพย์ 5. สหกรณร์ า้ นคา้ 64 4,065,730,106.20 4,024,744,256.28 42 185,462,718.97 22 -144,476,869.05 40,985,849.92 6. สหกรณบ์ รกิ าร 7. สหกรณเ์ ครดติ ยเู น่ียน 2 369,357,319.56 364,415,160.50 2 4,942,159.06 - - 4,942,159.06 รวมทงั้ ส้ิน - - -- -- - - 9 2,058,876,054.95 776,516,543.90 9 1,282,359,511.05 - - 1,282,359,511.05 - - -- -- - - 13 13,717,644.79 14,266,459.15 8 1,132,153.26 5 -1,680,967.62 - 548,814.36 33 138,767,347.43 103,499,843.27 28 38,907,054.36 5 -2,974,138.11 35,932,916.25 121 6,646,448,472.93 5,283,442,263.10 89 1,512,803,596.70 32 -149,131,974.78 1,363,671,621.92 ▪ ผลการจดั ระดับช้นั สหกรณ์ ประเภทสหกรณ์ สหกรณ์ สหกรณ์ สหกรณ์ สหกรณ์ รวม ชั้น 4 ช้ัน 1 ชั้น 2 ช้ัน 3 14 80 14 78 สหกรณภ์ าคการเกษตร 9 53 4 0 3 2 1. สหกรณก์ ารเกษตร 8 52 4 58 1 9 2. สหกรณน์ ิคม 2 34 15 3. สหกรณป์ ระมง 11 17 138 สหกรณน์ อกภาคการเกษตร 15 36 4 4. สหกรณอ์ อมทรัพย์ 6 3 5. สหกรณเ์ ครดติ ยเู นยี่ น 8 22 3 6. สหกรณบ์ ริการ 1 11 1 7. สหกรณร์ า้ นคา้ รวม 24 89 8 ทมี่ า : รายงานสรุปผลการจัดระดบั ชนั้ สหกรณ์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กองแผนงาน

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณจ์ งั หวัดเชยี งราย 24

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณจ์ งั หวดั เชยี งราย 25 กล่มุ เกษตรกร จานวนกลุ่มเกษตรกร จานวนสมาชิกกลุ่ม จานวนสมาชิก เกษตรกร สามญั ประเภทกลุ่มเกษตรกร (คน) (แหง่ ) (คน) 1. กลมุ่ เกษตรกรทานา 1,914 2. กลมุ่ เกษตรกรทาสวน 17 1,914 2,617 3. กลมุ่ เกษตรกรเลยี้ งสตั ว์ 446 4. กลมุ่ เกษตรกรทาไร่ 24 2,617 531 5,508 รวม 5 446 8 531 54 5,508 จำนวนกลุ่มเกษตรกรในจงั หวัดเชียงรำย ปี 2564 (แยกตำมประเภทกลุ่มเกษตรกร) ทาไร่, 8 , 15% เลี้ยงสัตว์, 5 , 9% ทานา, 17 , 32% ทานา ทาสวน เลยี ้ งสตั ว์ ทาไร่ ทาสวน, 24 , 44%

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณ์จงั หวัดเชยี งราย 26 ▪ ปริมาณธุรกิจของกลมุ่ เกษตรกรในปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ปริมาณ ปริมาณธรุ กจิ แยกตามประเภทการใหบ้ ริการ (บาท) ประเภทกลุ่มเกษตรกร ธรุ กจิ ของ รับฝากเงิน ใหเ้ งินกู้ จดั หาสินคา้ มา รวบรวมผลผลิต บริการและ รวมทง้ั สิ้น กลุ่มเกษตรกร จาหนา่ ย และแปรรูป อนื่ ๆ (แหง่ ) 1. กลมุ่ เกษตรกรทานา 17 6,950.00 3,783,344.00 450,146.00 - - 4,240,440.00 2. กลมุ่ เกษตรกรทาสวน 24 161,580.52 6,555,400.00 1,207,415.00 81,781,577.87 - 89,705,973.39 3. กลมุ่ เกษตรกรเลยี้ งสัตว์ 5 36,872.12 2,069,000.00 - - 792,540.00 2,898,412.12 4. กลมุ่ เกษตรกรทาไร่ 8 - 3,175,100.00 - - - 3,175,100.00 รวมทง้ั สน้ิ 54 205,402.64 15,582,844.00 1,657,561.00 81,781,577.87 792,540.00 100,019,925.51

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเชยี งราย 27 ▪ ผลการดำเนินงานของกลุม่ เกษตรกร ผลการดาเนนิ งานปลี ่าสุดทมี่ ีการปดิ บญั ชีในปงี บประมาณพ.ศ.2563 ผลการดาเนนิ งานในภาพรวม การดาเนนิ งานมีผลกาไร (ขาดทนุ ) กาไร (ขาดทนุ ) สุทธิ ในภาพรวม ประเภทกลุ่มเกษตรกร จานวนกลุ่ม กลุ่มเกษตรกรทม่ี ีผลกาไร กลุ่มเกษตรกรทขี่ าดทนุ เกษตรกร รายได้ คา่ ใช้จา่ ย จานวนกลุ่ม กาไร จานวนกลุ่ม ขาดทนุ เกษตรกร เกษตรกร (แหง่ ) (บาท) (บาท) (แหง่ ) (บาท) (แหง่ ) (บาท) (บาท) 1. กลมุ่ เกษตรกรทานา 17 783,279.62 161,495.58 15 625,265.93 2 -3,481.89 621,784.04 2. กลมุ่ เกษตรกรทาสวน 24 7,023,690.83 86,136,128.76 24 1,221,666.91 0 0.00 1,221,666.91 3. กลมุ่ เกษตรกรเลย้ี งสตั ว์ 5 924,624.02 877,263.91 4 133,594.65 -86,234.54 47,360.11 4. กลมุ่ เกษตรกรทาไร่ 8 651,883.18 177,685.88 8 474,197.30 0 0.00 474,197.30 รวมทงั้ สิ้น 54 9,383,477.65 87,352,574.13 51 2,454,724.79 2 -89,716.43 2,365,008.36 ผลการดำเนนิ งานปีล่าสดุ ท่มี ีการปดิ บญั ชใี นปงี บประมาณ ผลการดำเนนิ งานในภาพรวม การดำเนินงา ประเภทกลุ่มเกษตรกร จำนวนกลุ่ม กล่มุ เกษตรกรทมี่ ผี ลกำไร เกษตรกร 1. กล่มุ เกษตรกรทำนา รายได้ คา่ ใชจ้ ่าย จำนวนกลมุ่ กำไร 2. กลมุ่ เกษตรกรทำสวน เกษตรกร 3. กลมุ่ เกษตรกรเล้ียงสตั ว์ 4. กลมุ่ เกษตรกรทำไร่ (แห่ง) (บาท) (บาท) (แหง่ ) (บาท) รวมทง้ั สิ้น 17 783,279.62 161,495.58 15 625,265 24 7,023,690.83 86,136,128.76 24 1,221,666 133,594 5 924,624.02 877,263.91 4 8 651,883.18 177,685.88 8 474,197 54 9,383,477.65 87,352,574.13 51 2,454,72

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณ์จงั หวัดเชยี งราย 28 ▪ ผลการจัดระดับช้ันกลมุ่ เกษตรกร ประเภทลมุ่ เกษตรกร กลมุ่ เกษตรกร กลมุ่ เกษตรกร กลมุ่ เกษตรกร กลมุ่ เกษตรกร รวม ชั้น 1 ชั้น 2 ช้ัน 3 ชั้น 4 21 25 1. กลมุ่ เกษตรกรทานา 16 1 4 5 9 2. กลมุ่ เกษตรกรทาสวน 22 2 1 0 0 3. กลมุ่ เกษตรกรเลยี้ งสตั ว์ 41 60 4. กลมุ่ เกษตรกรทาไร่ 8 1 5. กลมุ่ เกษตรกรประมง 6. กลมุ่ เกษตรกรอน่ื ๆ รวม 0 50 4 6 ทม่ี า : รายงานสรุปผลการจัดระดบั ชน้ั สหกรณ์ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 กองแผนงาน

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณ์จงั หวัดเชียงราย 29 ส่วนที่ 2 ผลสัมฤทธ์ขิ องการ ปฏบิ ัติงานและผล การปฏบิ ตั ิงาน

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณ์จงั หวดั เชียงราย 30 งบประมาณ แผนงาน/ เป้าหม ผลการดำเนนิ งาน ที่ได้รับ ผลการเบิกจา่ ย หมายเหตุ ผลผลิต/กจิ กรรม าย จัดสรร+ บาท ร้อยละ (หนว่ ย โอนเพม่ิ นับ) หน่วยนบั ร้อย บาท ละ แผนงาน พ้ืนฐานดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแข่งขัน ผลผลิต สหกรณแ์ ละกลุม่ เกษตรกรได้รับการสง่ เสริมและพัฒนาตามศกั ยภาพ กจิ กรรมหลกั : ส่งเสรมิ และพฒั นา สหกรณแ์ ละกล่มุ เกษตรกร กจิ กรรมรอง 125 125 สหกรณ์ สง่ เสรมิ และพัฒนา สหกรณ์ 54 กลุ่ม 100 สหกรณ์/กลุ่ม 54 เกษตรกรให้มคี วาม กลุ่ม เขม้ แขง็ ตาม 3,551,695.37 3,551,695.37 100 100 ศักยภาพ 278,000.00 278,000.00 - งบดำเนินงาน - งบลงทุน แผนงาน บุคลากรภาครัฐ ผลผลิต ค่าใชจ้ า่ ยบุคลากรภาครัฐ พัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนเขม้ แขง็ กจิ กรรมหลกั : ค่าใช้จา่ ยบุคลากร ภาครฐั กรมส่งเสรมิ สหกรณ์ - ค ่ า ต อ บ แ ท น 32 32 อัตรา 100 81,844,060.00 81,844,060.00 100 100 พนกั งานราชการ อตั รา - ค่าเช่าบ้าน 1,763,078.00 1,763,078.00 ข้าราชการและเงิน ประกันสงั คม

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณ์จังหวัดเชยี งราย 31 แผนงาน/ เปา้ หมาย ผลการดำเนินงาน งบประมาณ ผลการเบิกจา่ ย หมายเหตุ ผลผลติ /กิจกรรม (หน่วยนับ) ทไ่ี ดร้ บั หน่วยนบั รอ้ ยละ จดั สรร+ บาท ร้อย โอนเพิ่ม ละ บาท แผนงาน ยทุ ธศาสตรเ์ สริมสร้างพลังทางสงั คม โครงการ พัฒนาพน้ื ท่โี ครงการหลวง กิจกรรมหลกั : พัฒนา สหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกรในพ้นื ท่ี โครงการหลวง กิจกรรมรอง : พัฒนา ธรุ กจิ ของสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกรในพน้ื ท่ี โครงการหลวง กิจกรรม โครงการ 5 5 สหกรณ์ 100 223,800.00 223,800.00 สง่ เสริมสหกรณใ์ น สหกรณ์ 2 กลมุ่ 81,000.00 81,000.00 42,200.00 42,200.00 พนื้ ที่โครงการหลวง 2 กลุ่ม 100 100 23,200.00 23,200.00 100 - งบดำเนนิ งาน 100 100 162400.00 162400.00 100 - งบลงทนุ 100 - งบเงนิ อุดหนนุ กิจกรรม โครงการ 2 2 หมบู่ ้าน สง่ เสริมของสหกรณ์ใน หมบู่ า้ น พ้ืนทโ่ี ครงการพัฒนา พ้นื ท่สี ูงแบบโครงการ หลวง กจิ กรรม จัดจ้าง 3 อตั รา 3 อตั รา เจา้ หนา้ ทีป่ ฏบิ ัติงาน ในสหกรณ์ โครงการ ส่งเสริมการดำเนินงานอนั เน่ืองมาจากพระราชดำริ กิจกรรมหลกั : พัฒนาสหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรในพื้นที่ โครงการอนั เนอ่ื งมาจาก พระราชดำริ กิจกรรมรอง : 1 1 สหกรณ์ สง่ เสริมและพัฒนา สหกรณ์

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณจ์ งั หวดั เชยี งราย 32 แผนงาน/ เป้าหมาย ผลการดำเนนิ งาน งบประมาณ ผลการเบิกจ่าย หมายเหตุ ผลผลิต/กิจกรรม (หนว่ ยนบั ) ทีไ่ ดร้ บั จัดสรร+ บาท รอ้ ย หน่วยนบั ร้อยละ โอนเพมิ่ ละ สหกรณ์/กลุ่ม บาท 14,300.00 100 473,175.00 100 เกษตรกรในพื้นท่ี 14,300.00 473,175.00 11,600.00 100 โครงการอนั 11,600.00 7,600.00 100 เนอ่ื งมาจาก 7,600.00 21,100.00 100 พระราชดำริ 21,100.00 กิจกรรม สง่ เสริม 1 1 100 100 ความรู้ดา้ นการ กลุม่ ชาวบ้าน กลุ่ม 100 สหกรณ์แกก่ ลมุ่ ชาวบา้ น 100 100 ชาวบ้าน กจิ กรรม ส่งเสรมิ 38 38 กจิ กรรมสหกรณ์ โรงเรยี น โรงเรยี น นกั เรยี นในโรงเรียน ตามพระราชดำริ สมเดจ็ พระ กนิษฐาธริ าชเจา้ กรม สมเด็จพระเทพ รตั นราชสดุ า สยาม บรมราชกุมารี กิจกรรม ส่งเสริม 1 1 โรงเรียน กิจกรรมสหกรณ์ โรงเรยี น นกั เรยี นในโรงเรียน เพยี งหลวง ใน ทูลกระหม่อมหญงิ อุบลรัตนราชกัญญา สิริวฒั นาพรรณวดี กิจกรรม ขบั เคลื่อน เศรษฐกิจ เศรษฐกจิ ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง พอเพียง พอเพียงและส่งเสริม 5 แห่ง 5 แห่ง การเกษตรตาม ทฤษฎี ทฤษฎใี หม่ แนวทางทฤษฎีใหมใ่ น ใหม่ 263 263 ราย สหกรณ์และกลุ่ม ราย เกษตรกร กิจกรรม โครงการ 4 ครั้ง 4 ครัง้ คลินกิ เกษตรเคล่ือนท่ี

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณจ์ ังหวัดเชยี งราย 33 แผนงาน/ผลผลติ / เปา้ หมา ผลการดำเนินงาน งบประมาณ ผลการเบกิ จ่าย หมาย กิจกรรม ย ท่ไี ด้รับ เหตุ (หนว่ ยนบั ) จัดสรร+ โอนเพมิ่ หน่วยนับ ร้อย บาท บาท ร้อย ละ ละ แผนงานยทุ ธศาสตร์ เพ่อื สนบั สนุนดา้ นการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม โครงการชว่ ยเหลือด้านหนสี้ นิ สมาชกิ สหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร กจิ กรรมหลกั : ช่วยเหลอื ด้านหน้ีสินสมาชกิ สหกรณ์/ กลมุ่ เกษตรกร กจิ กรรมรอง : ลดดอกเบ้ยี 12 สหกรณ์ 12 สหกรณ์ 100 เงนิ กู้ให้เกษตรกรสมาชกิ 5,560 ราย 5,560 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ราย - งบดำเนินงาน 3,754,917.25 3,754,917.254 100 - งบเงินอดุ หนุน 470,000.00 70,000.00 100 แผนงานยทุ ธศาสตร์ การเกษตรสรา้ งมลู คา่ โครงการสง่ เสรมิ และสนบั สนุนสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกรทำการเกษตรเพื่อเพ่มิ มูลคา่ กิจกรรมหลกั : สนบั สนนุ ให้ 2 2 สหกรณ์ 100 9,600.00 9,600.00 100 สหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร สหกรณ์ 43 ราย สง่ เสริมสมาชกิ ทำการเกษตร 50 ราย ปลอดภยั แผนงาน บูรณาการพฒั นาและส่งเสริมเศรษฐกจิ ฐานราก โครงการสง่ เสรมิ และสร้างทกั ษะในการประกอบอาชีพทั้งในและนอกภาคเกษตร กจิ กรรมหลกั : นำลูกหลาน 12 ราย 12 ราย 100 48,280.00 48,280.00 100 เกษตรกรกลบั บา้ น สานต่อ อาชพี โครงการ ส่งเสรมิ และพัฒนาอาชพี เพ่อื แกไ้ ขปญั หาที่ดินทำกินของเกษตรกร กิจกรรมหลกั : ส่งเสริมและ 3 พื้นท่ี 3 พ้ืนท่ี 100 14,500.00 14,500.00 100 พฒั นาอาชีพภายใตโ้ ครงการ จัดท่ดี นิ ตามนโยบาลรัฐบาล โครงการพฒั นาศกั ยภาพการดำเนินธรุ กจิ ของสหกรณ์ กลมุ่ เกษตรกรและธรุ กจิ ชุมชน กจิ กรรมหลกั : เพมิ่ ศักยภาพ 9 9 สหกรณ์ 100 การดำเนนิ ธรุ กจิ รวบรวม สหกรณ์ 1 กลุม่ จดั เกบ็ และแปรรูปผลผลติ 1 กลุ่ม เกษตรกร การเกษตรในสหกรณแ์ ละ เกษตรกร กลุ่มเกษตรกร - งบดำเนินงาน 17,920.00 17,920.00 100 - งบอดุ หนนุ 1 สหกรณ์ 430,500.0 430,500.00 100 0

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณ์จงั หวดั เชียงราย 34 แผนงาน/ผลผลติ / เป้าหมา ผลการดำเนินงาน งบประมาณ ผลการเบกิ จา่ ย หมาย เหตุ กจิ กรรม ย ทไ่ี ด้รบั บาท รอ้ ย (หนว่ ยนับ) จัดสรร+ ละ โอนเพ่มิ 148,360.00 100 หนว่ ยนับ ร้อย บาท 2,800.00 100 ละ 1 สหกรณ์ กิจกรรมหลกั : เพิม่ ขีด 9 9 สหกรณ์ 100 148,360.0 ความสามารถในการดำเนนิ สหกรณ์ 1 กลุ่ม 0 ธุรกจิ ของสหกรณ์/กลุ่ม 1 กลุ่ม เกษตรกร เกษตรกรใหเ้ ปน็ องคก์ รหลกั เกษตรกร ในการพฒั นาเศรษฐกิจระดบั อำเภอ โครงการส่งเสริมการพัฒนาระบบตลาดภายในสำหรับสนิ ค้าเกษตร กิจกรรมหลกั : พฒั นากลไก 9 9 สหกรณ์ 100 2,800.00 การตลาดเพอ่ื เพ่ิมชอ่ ง สหกรณ์ 1 กล่มุ ทางการจำหน่ายสนิ ค้าของ 1 กล่มุ เกษตรกร สหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร เกษตรกร ขอ้ มูล ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2564 แผนงานพืน้ ฐานดา้ นการสร้างความสามารถในการแขง่ ขัน ➢ โครงการพัฒนาผู้ตรวจการสหกรณ์ หลักสูตร “ผู้ตรวจการสหกรณระดับพื้นฐาน” รุ่นที่ 1 – 3 ผ่าน ระบบสอื่ สารทางไกล งานตรวจการสหกรณ์เป็นบทบาทภารกิจหน้าที่ ที่สำคัญ นอกเหนือจากงานส่งเสริมสหกรณ์ เป็น บทบาทที่เกิดขึ้นตามกฎหมาย และเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการส่งเสริมสหกรณ์ การกำกับดูแลสหกรณ์ให้ ปฏบิ ตั ิเปน็ ไปตามกฎหมาย กค็ อื การสง่ เสริมเพ่ือให้สหกรณด์ ำเนินงานไปได้ดี ดังน้ันผู้ตรวจการสหกรณ์ จะต้อง มีความรู้ ความสามารถด้านกฎหมายสหกรณพ์ อสมควร และสิ่งทำผู้ตรวจการจะต้องมีความรู้ เพ่ือนำไปใช้เป็น เครือ่ งมือในการตรวจการ คือ 1. หลกั การ อุดมการณ์ วิธีการสหกรณ์ ทงั้ น้ีตอ้ งไมข่ ดั ตอ่ กฎหมายอื่นดว้ ย 2. ด้านบัญชีสหกรณ์ เนื่องจากการดำเนินงานส่วนใหญ่ต้องอาศัยข้อมูลทางบัญชี เช่น รายงานการ สอบบัญชขี องผูส้ อบบญั ชีได้ตง้ั ข้อสงั เกตอะไรบา้ ง และควรนำไปศึกษาหารายละเอยี ด 3. กฎหมายสหกรณ์ ขอ้ บงั คับ ระเบียบตา่ งๆ ประโยชน์และแนวทางนำไปปรับใชง้ าน 1. สามารถนำไปใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ได้ถูกต้อง และเป็นไปตามกฎหมายที่กำหนด ทั้งด้านข้อ กฎหมาย และอายุความตา่ งๆ 2. นำไปใช้ในการสง่ เสริม ชว่ ยเหลอื สนบั สนุน และแนะนำสหกรณใ์ นความรบั ผดิ ชอบ 3. ให้คำปรกึ ษา แนะนำ ใหส้ หกรณ์ ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณไ์ ด้อย่างถกู ตอ้ ง 4. สามารถนำขอ้ กฎหมายตา่ งๆ ไปใช้ในการตรวจการ และรายงานผลการตรวจการได้อย่างถกู ตอ้ ง

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณ์จังหวดั เชยี งราย 35 5. สามารถนำความรู้ไปใช้เป็นแนวทางในการตรวจการสหกรณ์ โดยใช้เทคนิคจากการดขู ้อมูลผ่านงบ การเงินได้ 6. สามารถนำเทคนคิ การดงู บทดลองไปใช้ในการสงั เกตความผดิ ปกติของสหกรณ์ได้ ➢ โครงการขับเคล่อื นการส่งเสริมสหกรณ์ออมทรพั ย์และสหกรณ์เครดิตยเู น่ียนเพื่อเข้าสู่เกณฑ์การกำกับ ดูแลตามมาตรา 89/2 แห่งพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542 และท่แี ก้ไขเพิ่มเติม สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเชียงรายได้เข้าร่วมประชุมแนวทางปฏิบัติตามกฎกระทรวงการดำเนินงาน และการกำกับดูแลสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน ผ่านระบบ Video conference ของกรม ส่งเสริมสหกรณ์ ร่วมกับคณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนในพื้นทีจ่ ังหวดั เชียงราย จำนวน 42 สหกรณ์ โดยกรมส่งเสริมสหกรณ์ได้ให้สำนักงานสหกรณ์จังหวัดส่งแบบรายงานสรุปผล การส่งเสริมตามกฎกระทรวง การดำเนินงานและการกำกับดูแลสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน พ.ศ. 2564 และสหกรณ์จังหวัดเชยี งรายได้ดำเนนิ การรายงานตามแบบฯ สรุปดงั น้ี - สหกรณ์ประเภทออมทรัพย์ จำนวน 9 แห่ง สามารถดำเนินการไดท้ ุกขอ้ แตบ่ างขอ้ อยู่ระหว่างดำเนนิ การ จำนวน 9 แห่ง - สหกรณ์ประเภทเครดติ ยูเนีย่ น จำนวน 33 แห่ง สามารถดำเนนิ การไดท้ กุ ข้อ แตบ่ างข้ออยรู่ ะหวา่ งดำเนนิ การ จำนวน 33 แหง่ ➢ การประชุมแนวทางปฏิบัติตามกฎกระทรวงการดำเนินงานและการกำกับดูแลสหกรณ์ออมทรัพย์และ สหกรณเ์ ครดติ ยูเน่ียน สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเชียงรายได้เข้าร่วมประชุมแนวทางปฏิบัติตามกฎกระทรวงการดำเนินงาน และการกำกับดูแลสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน ผ่าน ระบบ Video conference ของกรม ส่งเสริมสกรณ์ ร่วมกับคณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนในพื้นที่จังหวัด เชยี งราย จำนวน 42 สหกรณ์ โดยคณะกรรมการดำเนนิ การสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยเู น่ียนได้นำ แนวทางดังกลา่ วไปปรับใช้กบั สหกรณ์อย่างเครง่ ครดั ➢ โครงการอบรมเพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการสหกรณ์เกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและ ปราบปรามการฟอกเงินและกฎหมายว่าด้วยป้องกันและปราบปรามการสนับสนุนทางการเงินแก่ก าร ก่อการร้ายและการแพร่ขยายอาวุธที่มีอานุภาพทำลายล้างสูงแก่สหกรณ์ ผ่านระบบออนไลน์ด้วย โปรแกรม Zoom Meeting สหกรณ์ในพื้นที่จังหวัดเชียงรายได้ให้เจ้าหน้าที่ที่มีหน้าที่รายงานตามกฎหมายฯ ปปง. เข้าร่วมอบรม เพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการสหกรณ์เกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยการ ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินแล กฎหมายวา่ ดว้ ยป้องกันและปราบปรามการสนบั สนุนทางการเงินแก่การก่อการร้ายและการแพร่ขยายอาวุธท่ีมี อานุภาพทำลายล้างสูงแก่สหกรณ์ ผ่านระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Zoom Meeting จำนวน 11 สหกรณ์ และสหกรณ์สามารถรายงานตามกฎหมายฯ ปปง.ไดอ้ ยา่ งถกู ต้องตามแบบท่สี ำนักงาน ปปง.กำหนด

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณ์จังหวดั เชยี งราย 36 ➢ การดำเนนิ งานและการกำกบั ดูแลสหกรณอ์ อมทรพั ยแ์ ละสหกรณ์เครดิตยเู นี่ยน พ.ศ.2564 ตาม พรบ.สหกรณฯ กฎกระทรวง และกฎหมายอนื่ ทเ่ี ก่ยี วข้อง แนะนำให้สหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน ดำเนินงานโดยกำหนดระเบียบ ข้อบังคับของ สหกรณ์ให้สอดคล้องกับ พรบ.สหกรณ์ฯ กฎกระทรวง และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การดำเนินกิจการ เป็นไปด้วยความถูกต้อง และเกิดประโยชน์สูงสุดแก่มวลสมาชิกของสหกรณ์ โดยสหกรณ์ออมทรัพย์และ สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนในพื้นที่จังหวัดเชียงรายได้ดำเนินการแก้ไข ระเบียบ ข้อบังคับของสหกรณ์ให้สอดคล้อง กบั กฎกระทรวง ➢ การจัดทำค่มู ือ/แนวทางปฏบิ ัติในการกำกับดแู ลสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร กลุ่มตรวจการสหกรณ์ได้ดำเนินการประชุมร่วมกับกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ โดยมีการแลกเปลี่ยนความรู้ อุปสรรค ปัญหา ในการกำกบั ดแู ลสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เพอื่ หาแนวทางในการแก้ไข ตลอดจนได้นำข้อมูล ดังกล่าวรวบรวมจัดทำคู่มือเพื่อให้เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ใช้เป็นแนวทาง ในการกับกำดูแลสหกรณ์และกลุ่ม เกษตร ให้เกิดประสทิ ธิภาพและประสิทธิผลสูงสดุ ➢ โครงการฝึกอบรมผ่านระบบสื่อสารออนไลน์ หลักสูตร \"การบริหารจัดการแก้ไขข้อบกพร่องของ สหกรณ”์ ดว้ ยระบบ Zoom Meeting สามารถพัฒนาองค์ความรู้ เพิ่มทักษะเกี่ยวกับวิธีการจัดการข้อบกพร่องในสหกรณ์ การแก้ไขปัญหา/ อุปสรรคในการปฏิบัติงาน และแนวทางปฏิบัติในการใช้อำนาจนายทะเบียนสหกรณ์สั่งการให้สหกรณ์แก้ไข ปัญหาขอ้ บกพร่องทเี่ กิดข้ึนได้อย่างถกู ต้อง ➢ โครงการฝึกอบรมผ่านระบบสื่อออนไลน์ หลักสูตร “พัฒนาศักยภาพให้แก่ข้าราชการและพนักงาน ราชการ ในตำแหนง่ นติ กิ ร” ด้วยระบบ Zoom Meeting มุ่งเน้นให้ปฏิบัติหน้าที่นิติกรของกรมส่งเสริมสหกรณ์ การปรับข้อเท็จจริงเพื่อออกคำสั่งทางปกครอง การใชด้ ุลพินจิ และรปู แบบคำสงั่ ทางปกครอง การสบื สวนและสอบสวน กระบวนการใชอ้ ำนาจของนายทะเบียน สหกรณ์ พระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม สามารถออกคำสั่งทางปกครองในการแก้ไข ข้อบกพรอ่ งของสหกรณ์ได้อย่างถูกต้องและรวดเรว็ ➢ งานการกำกับ ดูแล การแกไ้ ขข้อบกพรอ่ งสหกรณแ์ ละงานตรวจการ 1. สหกรณจ์ งั หวัดเชียงราย มสี หกรณ์ท่ีอยู่ในระบบข้อบกพร่อง ประจำปีงบประมาณ 2564 จำนวน 11 สหกรณ์ ดำเนินการแก้ไขเสร็จสิ้นสมบูรณ์ จำวน 3 สหกรณ์ แก้ไขแล้วเสร็จต้องติดตาม จำนวน 7 สหกรณ์ อยรู่ ะหวา่ งดำเนินการแกไ้ ข 1 สหกรณ์ 2. งานตรวจการ - ตรวจการสหกรณโ์ ดยทมี ตรวจสอบระดับจงั หวัด จำนวน 19 สหกรณ์ โดยเป้าหมายเปน็ สหกรณ์ระดบั อำเภอ จำนวน 17 แหง่ และสหกรณอ์ อมทรัพยข์ นาดใหญ่ จำนวน 2 แหง่ - ตรวจสอบสหกรณ์ตามคำสัง่ นายทะเบียนสหกรณ์ จำนวน 18 สหกรณ์ การตรวจสอบสหกรณ์โดยผู้ตรวจการสหกรณ์ดำเนินการตรวจสอบสหกรณ์ครบทุกแห่งตามแผนงานที่กำหนด และได้ทำรายงานผลการตรวจสอบพร้อมข้อเสนอแนะ โดยผ่านกลุ่มตรวจการสหกรณ์และผู้อำนวยการกลุ่ม ตรวจการสหกรณ์แสดงขอ้ คิดเหน็ เสนอต่อนายทะเบยี นสหกรณ์ เพื่อลงนามสงั่ การต่อไป

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเชียงราย 37 ➢ งานส่งเสริมและพัฒนาสหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษรกรให้มีความเข็มแข็งตามศักยภาพ โครงการพัฒนาความเข้มแข็งของสหกรณ์ 1. ความสามารถในการให้บรกิ ารสมาชิก (การมีส่วนรว่ มของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร) ผลการดำเนินงานการมีส่วนร่วมในการดำเนนิ ธรุ กิจของสหกรณ์ ณ 30 กันยายน 2564 ) 1.1 สหกรณ์ภาคการเกษตร มีสหกรณท์ ั้งหมด 62 แหง่ ผลการดำเนินงาน สมาชิกมีส่วนร่วมในการดำเนินธุรกิจสหกรณ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60) เป้าหมาย 38 แห่ง ผลการมสี ่วนร่วมได้ 20 แห่ง คดิ เป็นรอ้ ยละ 52.63 1) รักษาเป้าหมายสหกรณ์ที่มีสมาชิกมีส่วนร่วมในการใช้บริการ/ดำเนินกิจกรรมร่วมกับสหกรณ์ ไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 70 เปา้ หมาย 35 แห่ง ผลการมีส่วนรว่ มได้ 16 แห่ง คดิ เป็นร้อยละ 45.7 2) รักษาหรือยกระดับสหกรณ์ที่มีสมาชิกมีส่วนร่วมในการใช้บริการ/ดำเนินกิจกรรม ร่วมกับสหกรณ์ ร้อยละ 60-69 ใหม้ าใชบ้ รกิ ารเพ่มิ ข้ึน เป้าหมาย 2 แหง่ ผลการมีส่วนร่วมได้ 1 แหง่ คิดเป็นรอ้ ย 50 3) ยกระดับสหกรณ์ที่มีสมาชิกมีส่วนร่วมในการใช้บริการ/ดำเนินกิจกรรมร่วมกับสหกรณ์ น้อยกว่า ร้อยละ 60 ให้มาใช้บรกิ ารเพิ่มขนึ้ เปา้ หมาย 25 แหง่ ผลการมีสว่ นร่วมได้ 3 แหง่ คิดเป็นรอ้ ยละ 12 1.2 สหกรณน์ อกภาคการเกษตร มสี หกรณ์ท้ังหมด 56 แห่ง ผลการดำเนินงาน สมาชิกมีส่วนร่วมในการดำเนินธุรกิจสหกรณ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60) ร่วมกับ สหกรณ์ ไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 70 เป้าหมาย 34 แห่ง ผลการมสี ว่ นร่วมได้ 32 แห่ง คิดเปน็ เปน็ รอ้ ยละ 94.12 1) รกั ษาเป้าหมายสหกรณท์ ม่ี ีสมาชิกมีส่วนรว่ มในการใช้บรกิ าร/ดำเนินกจิ กรรม ร่วมกับสหกรณ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 เป้าหมาย 38 แห่ง ผลการมีส่วนร่วมได้ 27 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 71.05 2) รักษาหรือยกระดับสหกรณ์ที่มีสมาชิกมีส่วนร่วมในการใช้บริการ/ดำเนินกิจกรรมร่วมกับสหกรณ์ รอ้ ยละ 60-69 ให้มาใช้บริการเพิ่มข้ึน เปา้ หมาย 6 แหง่ ผลการมีส่วนร่วมได้ 2 แหง่ คิดเป็นรอ้ ยละ 33.33 3) ยกระดับสหกรณ์ท่ีมีสมาชิกมีสว่ นร่วมในการใชบ้ ริการ/ดำเนินกิจกรรม ร่วมกบั สหกรณ์ น้อยกว่า ร้อยละ 60 ให้มาใชบ้ รกิ ารเพ่ิมข้นึ เปา้ หมาย 12 แหง่ ผลการมีส่วนร่วมได้ 3 แห่ง คดิ เป็นร้อยละ 25 1.3 กลุ่มเกษตรกร มที ง้ั หมด 55 แห่ง ผลการดำเนินงานสมาชิกมีสว่ นรว่ มในการดำเนินธุรกิจสหกรณ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 เป้าหมาย 39 แหง่ ผลการมีสว่ นรว่ มได้ 25 แห่ง คดิ เป็นร้อยละ 64.10 1) รักษากลุ่มเกษตรกรที่มีสมาชิกมีส่วนร่วมในการใช้บริการ/ดำเนินกิจกรรมร่วมกับกลุ่มเกษตรกร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 เป้าหมาย 24 แห่ง ผลการมีสว่ นร่วมได้ 15 แหง่ คิดเปน็ ร้อยละ 62.50 2) ยกระดับกลุ่มเกษตรกรทีม่ ีสมาชิกมีส่วนร่วมในการใช้บรกิ าร/ดำเนินกจิ กรรมร่วมกับกลุม่ เกษตรกร น้อยกว่าร้อยละ 70 ให้มาใช้บริการเพิ่มขึ้น เป้าหมาย 31 แห่ง ผลการมีส่วนร่วมได้ 10 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 32.26 2. ประสทิ ธภิ าพในการดำเนินธรุ กิจสหกรณ์ (อัตราส่วนทางการเงนิ ) 2.1 สหกรณ์ภาคการเกษตร มสี หกรณ์ท้งั หมด 62 แหง่ ผลการมีประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจในระดับมาตรฐานขึ้นไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 88 เป้าหมาย 55 แหง่ ผลการมสี ว่ นรว่ มได้ 30 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 55 1) รักษาเป้าหมายสหกรณ์ที่มีประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจให้อยู่ในระดับมั่งคงดี และมั่นคงดีมาก เป้าหมาย 12 แห่ง ผลการมีส่วนร่วมได้ 11 แหง่ คิดเป็นร้อยละ 91.67

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณจ์ ังหวัดเชียงราย 38 2) รักษาหรือยกระดับสหกรณ์ที่มีประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจระดับมั่งคงตามมาตรฐานให้สูงข้ึน เปา้ หมาย 16 แห่ง ผลการมีสว่ นร่วมได้ 11 แหง่ คิดเป็นรอ้ ยละ 68.75 3) ยกระดับสหกรณ์ที่มีประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจที่อยู่ในระดับต่ำกว่ามาตรฐานให้สูงข้ึน เป้าหมาย 34 แห่ง ผลการมีสว่ นร่วมได้ 8 แหง่ คดิ เป็นร้อยละ 23.53 2.2 สหกรณ์นอกภาคการเกษตร มีสหกรณ์ทั้งหมด 56 แหง่ ผลการมีประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจในระดับมาตรฐานขึ้นไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 88 เป้าหมาย 50 แห่ง ผลการมีส่วนรว่ มได้ 33 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 66 1) รักษาเป้าหมายสหกรณ์ที่มีประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจให้อยู่ในระดับมั่งคงดี และมั่นคงดีมาก เปา้ หมาย 23 แห่ง ผลการมสี ว่ นร่วมได้ 19 แห่ง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 82.61 2) รักษาหรือยกระดับสหกรณ์ที่มีประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจระดับมั่งคงตามมาตรฐานให้สูงขึ้น เป้าหมาย 14 แห่ง ผลการมีส่วนรว่ มได้ 11 แห่ง คิดเป็นรอ้ ยละ 78.57 3) ยกระดับสหกรณ์ที่มีประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจที่อยู่ในระดับต่ำกว่ามาตรฐานให้สูงขึ้น เป้าหมาย 19 แหง่ ผลการมสี ่วนร่วมได้ 3 แหง่ คดิ เปน็ ร้อยละ 15.79 2.3 กลมุ่ เกษตรกร มีทงั้ หมด 55 แห่ง ผลการมีประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจในระดับมาตรฐานขึ้นไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 24 เป้าหมาย 14 แห่ง ผลการมสี ่วนร่วมได้ 43 แห่ง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 307 1) รักษากลุ่มเกษตรกรที่มีประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจให้อยู่ในระดับมั่งคงดี และมั่นคงดีมาก เปา้ หมาย 28แหง่ ผลการมีส่วนร่วมได้ 26 แห่ง คดิ เปน็ ร้อยละ 92.86 2) รักษาหรือยกระดับกลุ่มเกษตรกรที่มีประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจระดับมั่งคงตามมาตรฐานให้ สงู ขึน้ เปา้ หมาย 11 แหง่ ผลการมีส่วนร่วมได้ 11 แหง่ คิดเป็นรอ้ ยละ 100 3) ยกระดับกลุ่มเกษตรกรที่มีประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจที่อยู่ในระดับต่ำกว่ามาตรฐานให้สูงขึ้น เป้าหมาย 16 แห่ง ผลการมสี ว่ นรว่ มได้ 6 แหง่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 37.50 3. ควบคมุ ภายในของสหกรณ์ ผลการดำเนนิ งานการควบคุมภายในของสหกรณ์ ณ 30 กันยายน 2564 3.1 สหกรณ์ภาคการเกษตร มสี หกรณท์ ั้งหมด 62 แห่ง ผลการดำเนินงาน สหกรณ์ภาคการเกษตร (ผ่านเกณฑ์ประเมินจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในใน ระดบั พอใช้ข้ึนไปไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 88) สหกรณเ์ ปา้ หมาย จำนวน 55 แหง่ มีสหกรณท์ ีผ่ ่านเกณฑป์ ระเมินจัด ชัน้ คุณภาพในระดบั พอใช้ขนึ้ ไป จำนวน 52 แห่ง คิดเปน็ รอ้ ยละ 94.54 1) รักษาสหกรณ์ภาคการเกษตรที่มีผลการประเมินจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในให้อยู่ในระดับดี และดีมาก เป้าหมาย จำนวน 32 แห่ง ผลการประเมินการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในให้อยู่ในระดับดี และดมี าก จำนวน 31 แห่ง คิดเป็นรอ้ ยละ 96.87 2) ยกระดับสหกรณ์ภาคการเกษตรที่มีผลการประเมินการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในให้สูงขึ้น จากเดมิ หนง่ึ ระดบั - ยกระดับจากระดับพอใช้ขึ้นไปอย่างน้อยหนึ่งระดับ เป้าหมาย จำนวน 9 แห่ง ผลการ ดำเนินงาน จำนวน 2 แห่ง คิดเปน็ ร้อยละ 22.22 - ยกระดบั จากระดบั ต้องปรับปรงุ /ไม่มีการควบคมุ ภายในข้ึนไปอย่างน้อยหนึ่งระดับ เปา้ หมาย จำนวน 21 แห่ง ผลการดำเนินงาน จำนวน 1 แหง่ คิดเปน็ รอ้ ยละ 4.76

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณจ์ ังหวดั เชียงราย 39 3.2 สหกรณ์นอกภาคการเกษตร มีสหกรณ์ทั้งหมด 56 แห่ง ผลการดำเนินงาน สหกรณ์นอกภาค (ผ่านเกณฑ์ประเมินจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในในระดับ พอใช้ขึ้นไปไม่น้อยกว่าร้อยละ 88) สหกรณ์เป้าหมาย จำนวน 50 แห่ง มีสหกรณ์ที่ผ่านเกณฑ์ประเมินจัดชั้น คณุ ภาพในระดบั พอใช้ขนึ้ ไป จำนวน 38 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 76.00 1) รักษาสหกรณ์นอกภาคการเกษตรที่มีผลการประเมินจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในให้อยู่ใน ระดับดีและดีมาก เป้าหมาย จำนวน 31 แห่ง ผลการประเมินการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในให้อยู่ใน ระดับดแี ละดีมาก จำนวน 30 แหง่ คดิ เป็นรอ้ ยละ 96.77 2) ยกระดบั สหกรณ์ภาคการเกษตรท่ีมผี ลการประเมินการจัดช้ันคณุ ภาพการควบคุมภายในให้สูงขึ้น จากเดมิ หนง่ึ ระดับ - ยกระดับจากระดับพอใช้ขึ้นไปอย่างน้อยหนึ่งระดับ เป้าหมาย จำนวน 9 แห่ง ผลการ ดำเนนิ งาน จำนวน 3 แห่ง คดิ เป็นร้อยละ 33.33 - ยกระดบั จากระดับต้องปรบั ปรุง/ไม่มีการควบคมุ ภายในข้ึนไปอย่างน้อยหนึง่ ระดบั เป้าหมาย จำนวน 16 แหง่ ผลการดำเนินงาน จำนวน 1 แห่ง คิดเป็นรอ้ ยละ 6.25 3.3 กลมุ่ เกษตรกร มีทั้งหมด 55 แห่ง ผลการดำเนินงานกลุม่ เกษตรกรผ่านเกณฑ์ประเมินการจดั ช้ันคุณภาพการควบคุมภายในระดับดีขึน้ ไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 24 เป้าหมายกลุ่มเกษตรกรทั้งหมดจำนวน 55 แห่ง มีผลการประเมินการจัดชั้นคุณภาพ การควบคุมภายในระดับดีขึ้นไปไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 24 จำนวน 0 แห่ง คดิ เป็นร้อยละ 0 1) รักษากลุ่มเกษตรกรที่มีผลการประเมินการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในให้อยู่ระดับดีและดี มาก เปา้ หมาย จำนวน 2 แหง่ ผลการควบคมุ ภายใน 0 แหง่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0 2) ยกระดบั กลมุ่ เกษตรกรทมี่ ีผลการประเมนิ การจดั ชัน้ คุณภาพการควบคุมภายในใหส้ งู จากเดมิ - ยกระดบั จากระดบั พอใช้ขน้ึ ไปอย่างนอ้ ยหนึง่ ระดบั เปา้ หมาย จำนวน 7 แหง่ ผลการควบคุมภายใน 0 แห่ง คิดเปน็ รอ้ ยละ 0 - ยกระดับจากต้องปรับปรุง/ไม่มีการควบคุมภายในขึ้นไปอย่างน้อยระดับดี ผลการควบคุมภายใน 0 แหง่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0 4. ประสทิ ธิภาพของการบริหารงาน (การแก้ไขปญั หาในการดำเนินกิจการ/การบริหารงานของสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร) 4.1 สหกรณ์ภาคการเกษตร (ที่มีข้อบกพร่องได้รับการแก้ไขแล้ว ไม่น้อยกว่าร้อยละ 88) เป้าหมาย สหกรณ์ 8 แห่ง แกไ้ ขแลว้ 3 แห่ง คิดเป็นรอ้ ยละ 37.50 1) รักษาสถานะภาพสหกรณ์ที่ไมม่ ีขอ้ บกพร่องหรือมขี ้อบกพร่องแต่ไดร้ ับการแก้ไข แล้วเสร็จสมบูรณ์ สหกรณ์ เป้าหมายสหกรณ์ 61 แห่ง ผลการรักษาสถานะภาพสหกรณ์ไม่มี/มีแต่แก้ไขแล้ว 56 แหง่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 91.80 2) ผลกั ดันสหกรณ์ที่มขี ้อบกพรอ่ งใหแ้ ก้ไขแล้วเสรจ็ สมบรู ณ์ สหกรณ์ เปา้ หมาย 8 แหง่ ผลการผลกั ดันสหกรณ์ใหแ้ ก้ไขแล้วเสรจ็ 3 แหง่ คดิ เปน็ ร้อยละ 37.50 4.2 สหกรณ์นอกภาคการเกษตร (ที่มีข้อบกพร่องได้รับการแก้ไขแล้ว ไม่น้อยกว่าร้อยละ 88) เป้าหมายสหกรณ์ 2 แห่ง แกไ้ ขแลว้ 1 แหง่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 50.00 1) รกั ษาสถานะภาพสหกรณท์ ไี่ ม่มขี อ้ บกพร่องหรือมขี ้อบกพร่องแต่ได้รบั การแก้ไข แล้วเสร็จสมบูรณ์ สหกรณ์ 54 แห่ง ผลการรักษาสถานะภาพสหกรณ์ไม่มี/มีแต่แก้ไขแล้ว 53 แห่ง คิดเป็น รอ้ ยละ 98.15

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณ์จงั หวดั เชียงราย 40 2) ผลักดันสหกรณ์ทมี่ ขี อ้ บกพรอ่ งใหแ้ ก้ไขแลว้ เสร็จสมบูรณ์ สหกรณ์ เปา้ หมาย สหกรณ์ 2 แห่ง ผลการผลกั ดันสหกรณ์ให้แก้ไขแลว้ เสร็จ 1 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 50.00 4.3 กลุ่มเกษตรกร (ที่มีข้อบกพร่องได้รับการแก้ไขแล้ว ไม่น้อยกว่าร้อยละ 24) เป้าหมายสหกรณ์ - แหง่ 1) รักษาสถานะภาพกลุ่มเกษตรกรที่ไม่มีข้อบกพร่องหรือมีข้อบกพร่องแต่ได้รับการแก้ไขแล้วเสร็จ สมบูรณ์ เปา้ หมายกลุม่ เกษตรกร 54 แหง่ ผลการรักษาสถานะภาพกลมุ่ เกษตรกรไมม่ ีข้อบกพร่อง 54แห่ง คิด เปน็ รอ้ ยละ 100.00 2) ผลกั ดันกลุ่มเกษตรกรท่มี ีขอ้ บกพร่องใหแ้ ก้ไขแล้วเสรจ็ สมบูรณ์ เป้าหมายกลมุ่ เกษตรกร - แห่ง ผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัตงิ านสง่ เสรมิ และพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มคี วามเขม้ แข็งตามศกั ยภาพ การปฏิบัติงานส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเชียงราย มีผลการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยกลมุ่ เกษตรกรมีความเข้มแข็งระดับ 1 และ 2 จำนวน 50 แหง่ คิดเป็นรอ้ ยละ 92.59 ของจำนวนกลุ่ม เกษตรกรท่ีดำเนนิ งานทัง้ หมดจำนวน 54 แห่ง สหกรณ์มีความเข้มแข็ง ระดับ 1 และระดับ 2 จำนวน 113 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 93.39 ของ สหกรณจ์ ำนวนสหกรณท์ ่ีดำเนินงานทั้งหมดจำนวน 121 แห่ง ซึง่ ได้มากกวา่ แผนทีก่ ำหนดร้อยละ 88 ให้ความรูด้ ้านการสหกรณ์ สหกรณ์เข้มแข็ง

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณ์จังหวดั เชียงราย 41 ➢ โครงการพัฒนาศักยภาพกลุม่ อาชีพในสังกัดสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกรฟ้ืนฟูเศรษฐกจิ ชุมชน ปี 2563 1. เปา้ หมาย กลมุ่ อาชพี ในสังกัดสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร จำนวน 3 กลุ่ม ได้แก่ 1.1 กล่มุ แมบ่ ้านเกษตรกรบา้ นกลางเวียง สังกัด สหกรณก์ ารเกษตรเวยี งชยั จำกัด 1.2 กลมุ่ แม่บ้านแคบหมูแม่จันทร์สวย สังกดั สหกรณ์การเกษตรเวียงชัย จำกดั 1.3 กล่มุ การจดั การแปรรูปผลผลิตไม้ผล สังกดั สหกรณ์การเกษตรโครงการหลวงหว้ ย น้ำกืนปางมะกาด จำกัด 2. ผลการดำเนนิ งาน 2.1 สำนักงานสหกรณ์จังหวดั เชียงราย ติดตามผลการดำเนินกิจกรรมการพัฒนา 3. ผลลัพธ์ ผลลพั ธเ์ ชงิ ปรมิ าณ 3.1 งบประมาณที่ใช้ 300,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 100 กลุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรสามารถพัฒนาการผลิต การแปรรูป การพัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม มียอด จำหน่ายและรายได้เพิม่ ขึน้ ผลลพั ธ์เชิงคณุ ภาพ 3.2 กลุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้นำความรู้ที่ได้รับมาใช้ในการผลิตสินค้า สามารถ เพิ่มศักยภาพการผลิตสินค้า ลดต้นทุน พัฒนาการผลิต การแปรรูป และสามารถดำเนินธุรกิจได้อย่างต่อเนื่อง เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ ก่อให้เกิดรายได้แก่เกษตรกรแลประชาชนในระดับฐานรากของประเทศ เป็นการ แก้ไขปญั หา เยยี วยา ฟ้นื ฟเู ศรษฐกจิ และสงั คมระดับฐานรากได้อย่างยัง่ ยืน เสริมสรา้ งให้กลุ่มอาชพี สหกรณ/์ กลุ่ม เกษตรกรมเี ขม้ แข็งเปน็ ที่พ่ึงของสมาชกิ และชุมชน 4. ปัญหา/อปุ สรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข - ไมม่ ี - 5. ภาพถ่ายการตดิ ตามดำเนนิ กจิ กรรม 5.1 กลมุ่ แม่บ้านเกษตรกรบ้านกลางเวยี ง สังกดั สหกรณ์การเกษตรเวียงชยั จำกัด

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณ์จังหวดั เชียงราย 42 5.2 กลมุ่ แม่บ้านแคบหมูแม่จันทรส์ วย สังกัด สหกรณก์ ารเกษตรเวียงชยั 5.3 กลุ่มการจดั การแปรรูปผลผลติ ไมผ้ ล สังกัด สหกรณก์ ารเกษตรโครงการหลวงหว้ ยน้ำกืน ปางมะกาด จำกัด (สหกรณ์การเกษตรโครงการหลวงหว้ ยโปง่ อ.เวียงปา่ เปา้ จำกดั )

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณ์จงั หวดั เชยี งราย 43 ➢ รายงานผลการวิเคราะหข์ ้อมูลธุรกรรมระหวา่ งสหกรณ์ 1. วัตถปุ ระสงค์ 1) เพอื่ ให้ฐานขอ้ มลู การฝากและการกเู้ งนิ ระหว่างสหกรณ์มีความถูกต้อง ครบถว้ น เปน็ ปัจจบุ ัน 2) สามารถนำข้อมูลวิเคราะห์ความเช่ือมโยงระหวา่ งสหกรณ์อยา่ งทันท่วงทีได้ เพ่ือประเมินความเส่ียง ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ 2. กลมุ่ เป้าหมาย สหกรณท์ ่ีมีสถานะ ดำเนินธรุ กจิ และยงั ไม่เร่ิมดำเนนิ ธุรกจิ จำนวน 121 แห่ง และสหกรณ์ท่ีมีสถานะ เลกิ จำนวน 16 แหง่ รวมทงั้ สิน้ จำนวน 137 แห่ง 2. ผลการดำเนนิ งาน 1) สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเชียงราย ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลการฝากและการกู้เงินระหว่างสหกรณ์ ณ ไตรมาส 1 – 4 ของสหกรณ์เป้าหมายทุกแห่ง โดยการจัดทำหนังสือแจ้งให้สหกรณ์เป้าหมายจัดส่งรายงาน การจัดเก็บข้อมูลการฝากและการกู้เงินระหว่างสหกรณ์ ส่งให้กับพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 – 5 เพื่อ ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลและงบทดลองของสหกรณ์ทุกไตรมาส และจัดส่งรายให้กับกลุ่มส่งเสริมและ พฒั นาธรุ กจิ สหกรณ์ ภายในระยะเวลาทก่ี ำหนด 2) กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลการฝากและการกู้เงิน ระหว่างสหกรณ์ หากพบว่าข้อมูลคู่ธุรกรรมระหว่างหสหกรณ์ไม่ถูกต้องครบถ้วน ให้แจ้งพื้นที่และสหกรณ์ทำ การตรวจสอบแกไ้ ขให้ถกู ต้อง 3) กลุ่มสง่ เสริมและพฒั นาธุรกิจสหกรณ์ บันทกึ ขอ้ มลู ธรุ กรรมระหวา่ งสหกรณล์ งในระบบ โดยรายงาน ผ่านเว็ปไซด์กรมส่งเสริมสหกรณ์ และตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลก่อนที่จะยืนยันข้อมูลฯในระบบ ตามระยะเวลาตามทกี่ รมสง่ เสริมสหกรณก์ ำหนด ดงั นี้ - รอบไตรมาสที่ 1 พ.ศ. 2564 โดยยอดรวมของการฝากและการกู้เงินจะต้องเท่ากับงบทดลอง ของสหกรณ์ ณ วนั ท่ี 31 มีนาคม 2564 โดยรายงานผ่านระบบภายในวันที่ 15 พฤษภาคม 2564 - รอบไตรมาสที่ 2 พ.ศ. 2564 โดยยอดรวมของการฝากและการกู้เงินจะต้องเท่ากับงบทดลอง ของสหกรณ์ ณ วันท่ี 30 มถิ ุนายน 2564 โดยรายงานผ่านระบบภายในวนั ที่ 15 สิงหาคม 2564 - รอบไตรมาสที่ 3 พ.ศ. 2564 โดยยอดรวมของการฝากและการกู้เงินจะต้องเท่ากับงบทดลอง ของสหกรณ์ ณ วนั ที่ 30 กันยายน 2564 โดยรายงานผา่ นระบบภายในวนั ที่ 15 พฤศจิกายน 2564 - รอบไตรมาสที่ 4 พ.ศ. 2565 โดยยอดรวมของการฝากและการกู้เงินจะต้องเท่ากับงบทดลอง ของสหกรณ์ ณ วันที่ 31 ธนั วาคม 2564 โดยรายงานผา่ นระบบภายในวนั ที่ 15 กมุ ภาพนั ธ์ 2564 3. งบประมาณที่ใช้ ( ไม่มี ) 4. ปญั หา/อปุ สรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข เนื่องจากมีสหกรณ์ที่อยู่ระหว่างการชำระบัญชี และคู่ธุรรมการคงค้างอยู่ จึงทำให้ข้อมูลธุรกรรม ระหว่างสกรณ์ไมต่ รงกัน อยากให้กรมส่งเสริมสหกรณ์คัดกรอกสหกรณ์ที่ เลิก ชำระบัญชี ไม่ต้องบันทึกข้อมูลธุรกรรมระหว่าง สหกรณ์

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณ์จงั หวดั เชยี งราย 44 ➢ โครงการสง่ เสรมิ พัฒนาสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกรสูม่ าตรฐานสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ประเภทสหกรณ์ สหกรณ์ สหกรณ์ รวม ผ่านมาตรฐาน ไมผ่ ่านมาตรฐาน สหกรณภ์ าคการเกษตร 35 29 64 1. สหกรณ์การเกษตร 33 29 62 2. สหกรณ์นิคม 000 3. สหกรณป์ ระมง 202 สหกรณ์นอกภาคการเกษตร 35 18 53 4. สหกรณอ์ อมทรัพย์ 9 0 9 5. สหกรณ์เครดิตยเู นย่ี น 22 10 32 6. สหกรณบ์ รกิ าร 4 8 12 7. สหกรณร์ า้ นค้า 000 รวม 70 47 117 ท่ีมา : รายงานสรุปผลการจัดมาตรฐานสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กองแผนงาน 35 33 22 29 9 10 30 0 8 25 20 4 15 10 2 0 5 0 ผา่ น ไม่ผา่ น

รายงานประจำปี 2564 สำนกั งานสหกรณจ์ ังหวดั เชียงราย 45 ประเภทกลุ่มเกษตรกร กลุ่มเกษตรกร กลุ่มเกษตรกร รวม ผ่านมาตรฐาน ไม่ผ่านมาตรฐาน 1. กลมุ่ เกษตรกรทำนา 16 1 17 2. กลมุ่ เกษตรกรทำสวน 23 1 24 3. กลมุ่ เกษตรกรเล้ยี งสัตว์ 3 1 4 4. กลมุ่ เกษตรกรทำไร่ 8 0 8 5. กลุม่ เกษตรกรประมง 0 0 0 6. กลุ่มเกษตรกรอืน่ ๆ 0 0 0 รวม 50 3 53 ที่มา : รายงานสรุปผลการจัดมาตรฐานกลมุ่ เกษตรกร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 กองแผนงาน 25 23 3 8 20 16 1 1 0 15 10 51 0 ผา่ น ไมผ่ ่าน ➢ โครงการฝกึ อบรม หลกั สตู ร “ผู้ชำระบัญชสี หกรณ์และกล่มุ เกษตรกรขน้ั พืน้ ฐาน” เพื่อให้ผู้ชำระบัญชี มีความรู้ ความเข้าใจในหลักการ ขั้นตอนวิธีการปฏิบัติในการชำระบัญชี กฎหมาย สหกรณ์ ระเบียบ คำแนะนำของนายทะเบียนสหกรณ์ และสามารถจัดทำบการเงิน ณ วันเลิก ตามมาตรา ๘๐ แห่งพระราชบัญญัติสหกรณ์ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ ได้อย่างถูกต้องครบถ้วน และสามารถแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ ประสบการณ์และนำไปปฏิบัติชำระบัญชีได้ถูกต้องและรวดเร็ว โดยกำหนดตัวชี้วัดระดับกิจกรรมหลักและ เป้าหมายดังนี้

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณ์จงั หวดั เชยี งราย 46 ตวั ช้ีวดั ระดับกิจกรรมหลัก 1. ผเู้ ขา้ รบั การอบรมเข้าใจข้นั ตอนการเลิกและการชำระบัญชี เทคนิคการชำระบัญชกี ฎหมายสหกรณ์ และ กฎหมายอน่ื ๆ 2. ผเู้ ขา้ อบรมมีผลคะแนนการทดสอบความร้กู ่อนหลงั เพ่ิมข้ึน เปา้ หมาย จำนวน ๑ รุ่น รนุ่ ละ ๑๐๐ คน ประกอบดว้ ย ๑. ข้าราชการและพนักงานราชการที่เป็นผู้ชำระบัญชีที่ได้รับแต่งตั้งใหม่ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๓ และปฏิบัติการชำระบัญชีอยู่ระหว่างขั้นตอนที่ ๑-๔ สังกัดสำนักงานสหกรณ์จังหวัด สำนักงานสง่ เสรมิ สหกรณ์กรุงเทพมหานคร พน้ื ที่ ๑และ พื้นท่ี ๒ จำนวน ๘๕ คน ๒. ผู้สงั เกตการณ์ เจ้าหน้าท่ี และวทิ ยากร จำนวน ๑๕ คน ผลลัพธ์ : ผลลพั ธเ์ ชงิ ปริมาณ ผลคะแนนการทดสอบความรู้ก่อนหลังเพ่มิ ขึ้น ผลลพั ธ์เชิงคุณภาพ ก่อนการเข้าอบรมปฏิบัติการชำระบัญชีอยู่ระหว่างขั้นตอนท่ี ๒ รับมอบทรัพย์สินและจัดทำงบดุล ตามมาตรา ๘๐ หลังเข้ารับการอบรมเข้าใจขั้นตอนการเลิกและการชำระบัญชี เทคนิค การชำระบัญชี กฎหมายสหกรณ์ และกฎหมายอนื่ ๆ สามารถดำเนนิ การชำระบญั ชีสหกรณ์การเกษตรโครงการหลวงสะโงะ จำกัด และนาย ทะเบียนสหกรณ์ถอนชือ่ สหกรณ์การเกษตรโครงการหลวงสะโงะ จำกัด ออกจากทะเบียนเรียบร้อยแล้ว 4. ปัญหา/อปุ สรรค ในการดำเนนิ งาน และแนวทางแกไ้ ข ไมม่ ี 5. ภาพกิจกรรมโครงการฝึกอบรมหลักสตู ร “ผชู้ ำระบญั ชสี หกรณ์และกล่มุ เกษตรกรข้นั พ้ืนฐาน” รนุ่ ที่ ๑ ➢ โครงการพฒั นาและสง่ เสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรสดู่ เี ดน่ 1. วตั ถุประสงค์/เป้าหมาย/พนื้ ทีด่ ำเนินงานโครงการ : สหกรณ์ดีเด่นระดับจงั หวดั สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขเชียงราย จำกัด ได้เข้าร่วมประกวดสหกรณ์ที่มีผลงานดีเด่น ประจำปี 256๔ ตามเกณฑก์ ารประเมินท้งั 5 หมวด ไดแ้ ก่ หมวดที่ 1 ความคดิ ริเรม่ิ (100 คะแนน)

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณจ์ งั หวดั เชยี งราย 47 หมวดท่ี 2 ความสามารถในการบรหิ ารและการจัดการสหกรณ์ (350 คะแนน) หมวดท่ี 3 บทบาทและการมสี ว่ นร่วมของสมาชกิ ต่อสหกรณ์ (250 คะแนน) หมวดที่ 4 ความม่ันคงและฐานะทางเศรษฐกิจของสหกรณ์ (150 คะแนน) หมวดที่ 5 การทำกิจกรรมด้านสาธารณะประโยชน์และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ (150 คะแนน) ผลการประเมนิ ตามตารางดา้ นลา่ งนี้ หมวดท่ี 1 หมวดที่ 2 หมวดท่ี 3 หมวดท่ี 4 หมวดท่ี 5 รวม 100 คะแนน 350 คะแนน 250 คะแนน 150 คะแนน 150 คะแนน 1,000 คะแนน รวม % ผล รวม % ผล รวม % ผล รวม % ผล รวม % ผล รวม % ผล 100 100.00 ผา่ น 328 93.71 ผ่าน 243 97.2 ผา่ น 116 77.33 ผา่ น 150 100.00 ผา่ น 937 93.7 ผา่ น ผลการประเมิน สหกรณ์ออมทรพั ย์สาธารณสุขเชียงราย จำกัด ได้รับคัดเลือกเป็นสหกรณ์ท่ีมผี ลงานดีเด่นระดับ จังหวัด ประเภท สหกรณ์ออมทรัพย์ เพื่อส่งประกวดในระดับภาค ระดับกรม ต่อไป แสดงให้เห็นว่าสหกรณ์มี การบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ การดำเนินกจิ การธุรกิจยึดหลักการ อุดมการณ์และวิธีการของสหกรณอ์ ย่าง แท้จรงิ สมาชกิ มสี ่วนรว่ มในการดำเนนิ ธุรกจิ และกจิ กรรมต่าง ๆ ของสหกรณ์ สามารถสร้างความเช่ือม่ันให้กับ สมาชิก และเป็นทยี่ อมรับจากบคุ คลและหน่วยงานต่าง ๆ ท่เี กี่ยวข้อง การบรหิ ารจดั การภายในสหกรณ์ ขอ้ มูล ณ ส้ินปบี ัญชี 31 ธนั วาคม 2563 สหกรณอ์ อมทรัพย์สาธารณสุขเชียงราย จำกัด ดำเนินธรุ กิจ 2 ด้าน ปรมิ าณธรุ กจิ รวมทงั้ สน้ิ จำนวน 578,422,344.62 บาท ประกอบด้วย 1. ธรุ กิจสินเช่อื (การใหเ้ งนิ กู้ระหวา่ งปี) จำนวน 258,496,568.93 บาท 2. ธรุ กจิ การรบั ฝากเงิน(การรับฝากเงนิ ระหว่างปี)จำนวน 319,925,775.69 บาท ผลกำไรสทุ ธิประจำปี 2563 จำนวน 254,635,275.15 บาท การจัดสรรเงนิ ปนั ผล (5.60%) จำนวน 178,547,512.00 บาท เงินเฉลยี่ คนื แกส่ มาชกิ (13.50%) จำนวน 46,734,202.00 บาท การควบคุมภายในอย่ใู นระดบั “ดี”

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณ์จงั หวัดเชียงราย 48 การประชมุ ใหญ่สามญั ประจาปี การประชมุ คณะกรรมการดาเนินการ การมสี ่วนร่วมของสมาชิก กิจกรรมสาธารณประโยชน์ แผนงานยทุ ธศาสตรก์ ารเกษตรสร้างมูลค่า ➢ โครงการสนับสนนุ เงนิ ทุนเพ่ือสรา้ งระบบน้ำในไรน่ าของสมาชิกสถาบนั เกษตรกร ระยะที่ 2 วัตถปุ ระสงค:์ 1. เพื่อสรา้ งโอกาสในการทำเกษตรกรรม และลดความเสีย่ งจากการขาดแคลนน้ำ 2. เพ่ือส่งเสริมการจัดทำระบบไร่นาของเกษตรกรให้มคี วามย่ังยืน มแี หลง่ นำ้ ในฟาร์มของตนเอง ลดการพึ่งพานำ้ จากระบบชลประทานและแหล่งน้ำธรรมชาติ 3. เพ่ือสรา้ งการเปลี่ยนแปลงจากระบบการทำเกษตรกรรมแบบพึง่ ธรรมชาติ เป็นการเกษตรแบบ บรหิ ารจัดการเพอ่ื ลดความเสย่ี งจากการขาดน้ำ สหกรณ์ให้สมาชิกกูย้ มื เพอ่ื เปน็ คา่ ใช้จา่ ยดำเนินการ 1. ขุดสระเก็บกกั นำ้ พรอ้ มอุปกรณท์ เี่ กีย่ วขอ้ ง เช่น เครอ่ื งสูบน้ำ ทอ่ น้ำในระบบน้ำหยดหรอื พ่น 2. ขุดเจาะบ่อบาดาล พร้อมอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง เช่น เครื่องสูบน้ำ ท่อน้ำในระบบน้ำหยดหรือพ่น ละอองนำ้ เปา้ หมาย คณุ สมบัตเิ บอื้ งตน้ ของสหกรณ์ 1. มีสมาขิกประสงค์จะกู้ยืมเงินเพื่อขุดสระเก็บกักน้ำ ขุดเจาะบ่อบาดาล ซ่อมแซมฯ หรือจัดซื้อ อปุ กรณ์ ทีเ่ ก่ียวขอ้ ง เช่น ท่อสง่ น้ำ ระบบนำ้ หยด 2. มวี นิ ยั ทางการเงินและไมม่ หี นผี้ ดิ นดั ค้างชำระกรมฯ ทกุ เงนิ ทุน เวน้ แตจ่ ะไดร้ ับการผ่อนผนั /ขยาย

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณ์จงั หวัดเชียงราย 49 เวลาระยะเวลาสง่ ชำระหน้ีคนื แลว้ 3. ไม่มกี ารทุจริต ไมม่ ีขอ้ บกพรอ่ งทางการเงินและบัญชี ในกรณีทม่ี ขี ้อบกพรอ่ งหรือทจุ รติ ตอ้ งได้รบั การแกไ้ ขแลว้ 4. เป็นสหกรณ์ซำ้ เดมิ ทีเ่ ข้ารว่ มโครงการระยะท่ี 1 ได้ แตส่ มาชกิ ตอ้ งไมเ่ ปน็ รายเดิมทเ่ี ข้ารว่ ม โครงการระยะที่ 1 คุณสมบตั เิ บอื้ งตน้ ของสมาชกิ 1. มีกรรมสิทธิ์ในที่ดินทำกิน/สิทธิในที่ดินทำกินตามที่รัฐจัดสรรให้และได้รับอนุญาตให้ดำเนินการ ตาม โครงการอย่างน้อยรายละ 10 ไร่ (หรือรวมสมาชิกทุกรายทีเ่ ข้าโครงการแล้ว เฉลี่ยรายละ 10 ไร่ 2. มวี ตั ถปุ ระสงคใ์ นการกู้ยมื เงนิ ปลอดดอกเบี้ย เพอ่ื ขดุ สระเกบ็ กักนำ้ ขุดเจาะบ่อบาดาลซอ่ มแซมฯ หรือจัดซ้ืออุปกรณท์ ี่เกย่ี วขอ้ ง เช่น ท่อสง่ น้ำ ระบบนำ้ หยด เปน็ ตน้ 3. ประกอบอาชพี เกษตรกรรมเปน็ อาชพี หลัก 4. มีวินัยทางการเงนิ และไม่ผิดนัดชำระหนี้โครงการใด ๆ เว้นแตจ่ ะไดร้ บั การแกไ้ ขแล้ว 5. ตอ้ งไม่เป็นสมาชิกรายเดิมท่ีเข้าร่วมโครงการระยะที่ 1 แล้ว พ้นื ท่ดี ำเนินงานโครงการ สหกรณ์ 6 แหง่ ผลการดำเนนิ งาน : ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สำนักงานสหกรณจ์ ังหวัดเชยี งราย มผี ลการจา่ ยเงนิ กู้ตามวัตถปุ ระสงค์ ของโครงการ จำนวน 6 สหกรณ์ เปน็ เงนิ 2,950,000 บาท (สองล้านเก้าแสนห้าหมืน่ บาทถ้วน) ดงั นี้ ท่ี ช่ือสหกรณ์ จำนวนเงนิ วตั ถปุ ระส ระยะเวลา ผลการ หลกั ประกนั เงนิ กู้ ทีข่ อกู้ งคท์ ข่ี อกู้ การกู้เงนิ พจิ ารณา (บาท) เงิน 1 สหกรณก์ ารเกษตรแมส่ าย จก. 1,000,000 ข ุ ดสระ/ 27 ก.ค.63-28 1,000,000 คณะกรรมการสหกรณ์ เจาะบอ่ ก.พ.68 ทั้งคณะ และผจู้ ัดการ 2 สหกรณ์การเกษตรเมอื งพาน จำกดั 950,000 ข ุ ดสระ/ 29 ก.ค.63-28 950,000 คณะกรรมการสหกรณ์ เจาะบ่อ ก.พ.68 ทง้ั คณะ และผจู้ ัดการ 3 สหกรณ์การเกษตรเชยี งแสน จำกดั 300,000 ข ุ ดสระ/ 27 ก.ค.63-28 300,000 คณะกรรมการสหกรณ์ เจาะบอ่ ก.พ.68 ทง้ั คณะ และผจู้ ัดการ 4 สหกรณก์ ารเกษตรปฏริ ูปท่ีดนิ เวยี ง 300,000 ขดุ สระ 22 ก.ค.63-28 300,000 คณะกรรมการสหกรณ์ ชยั จำกัด ก.พ.68 ทัง้ คณะ และผู้จัดการ 5 สหกรณก์ ารเกษตรแมส่ รวย จำกดั 150,000 ขดุ สระ 23 ก.ค.63-28 150,000 คณะกรรมการสหกรณ์ ก.พ.68 ท้งั คณะ และผจู้ ัดการ 6 สหกรณ์การเกษตรปา่ แดด จำกดั 250,000 เจาะบ่อ 20 ก.ค.63-28 250,000 คณะกรรมการสหกรณ์ ก.พ.68 ท้งั คณะ และผจู้ ดั การ รวม 2,950,000 2,950,0000 ผลการตรวจสอบและติดตามการใช้เงินกู้เงนิ กองทนุ สงเคราะหเ์ กษตรกรโครงการสนับสนุนเงนิ ทุนเพ่ือสรา้ ง ระบบนำ้ ในไร่นาของสมาชิกสถาบันเกษตรกร ระยะท่ี 2

รายงานประจำปี 2564 สำนักงานสหกรณจ์ งั หวัดเชียงราย 50 ที่ ช่อื สหกรณ์ จำนว จำนวนเงนิ ที่ วตั ถปุ ระสงคท์ ข่ี อ ผลการตรวจสอบและ 1 สหกรณ์การเกษตรแมส่ าย จำกดั น ขอกู้ (บาท) กู้เงิน ตดิ ตามการใชเ้ งนิ ก้ใู ห้ 2 สหกรณ์การเกษตรเมอื งพาน จำกดั 3 สหกรณก์ ารเกษตรเชยี งแสน จำกดั (คน) เปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงค์ 4 สหกรณ์การเกษตรปฏิรปู ทีด่ นิ เวยี งชยั จำกัด 5 สหกรณ์การเกษตรแมส่ รวย จำกดั คร้งั ท่ี 1-3 6 สหกรณ์การเกษตรป่าแดด จำกดั 20 1,000,000 ขุดสระ/เจาะบ่อ การดำเนนิ การเสรจ็ สนิ้ รวม 19 950,000 ขดุ สระ/เจาะบ่อ ครบทกุ แห่ง และสมาชกิ ผลลัพธ์ 6 300,000 ขดุ สระ/เจาะบ่อ ทุกรายไดม้ กี ารขดุ สระ/ เจาะบอ่ ตรงตาม 6 300,000 ขุดสระ 3 150,000 ขดุ สระ วตั ถุประสงคค์ รบทกุ ราย 5 250,000 เจาะบอ่ 59 2,950,000 ผลลพั ธเ์ ชงิ ปรมิ าณ 1. ระบบน้ำในไร่นาของสมาชิกกลุ่มเป้าหมายมีน้ำใช้เพื่อทำการเกษตรหรือการพัฒนาระบบน้ำสามารถมี นำ้ ใชใ้ นไร่นาได้จริงไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 80 2. สมาชิกกลมุ่ เปา้ หมานสามารถลดความเสี่ยงท่ีเกิดจากภัยแล้ง การขาดแคลนน้ำใชเ้ พื่อการเกษตรหรือมี ระบบนำ้ ใชเ้ พื่อการเกษตรได้ไม่ไน้อยกวา่ ร้อยละ 80 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. ลดความเสี่ยงจากวิกฤตการขาดแคลนน้ำ เนื่องจากธรรมชาติเปลี่ยน และเกิดการขาดน้ำอย่าง ตอ่ เนอ่ื ง 2. เกษตรกรมีโอกาสวางแผนการผลิตก่อนหรือหลังฤดูกาลได้ เนื่องจากมีแหล่งน้ำต้นทุน ส่งผลให้ ผลผลติ ทยอยออกสู่ตลาดในระยะเวลาทเี่ หมาะสม 3. ลดภาระหนี้สินที่มีความเสี่ยงจากการทำการเกษตรตามระบบธรรมชาติ มาเป็นการเกษตรที่มี ระบบน้ำในพื้นที่การเกษตรของตนเอง ลดการพึ่งพาการบริหารจัดการน้ำจากระบบชลประทานหรือแหล่งน้ำ ตามธรรมชาติ 4. สมาชกิ สหกรณ์นำเงนิ ไปใชต้ รงตามวัตถปุ ระสงค์ของโครงการฯ แผนงานยุทธศาสตรเ์ สริมสรางพลงั ทางสังคม ➢ โครงการสง่ เสรมิ กจิ กรรมสหกรณ์นักเรยี น ตามพระราชดำรขิ อง สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา้ กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี 1. วัตถุประสงค/์ เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนนิ งานโครงการ 1. เพื่อส่งเสริมความรู้ และทักษะด้านการสหกรณ์ และสร้างลักษณะนิสัยที่สอดคล้องกับอุดมการณ์ สหกรณ์ใหแ้ ก่เด็กนักเรยี น 2. เพื่อให้เด็กและนักเรียนมีโอกาสในการศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน สามารถนำความรู้ไปใช้ในการดำรงชีวิตประจำวนั ได้ 3. เพื่อให้เด็กและนักเรียนใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์และห่างไกลอบายมุขต่าง ๆ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook