Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Politics and Elections in ASEAN Countries (Pdf) v_1

Politics and Elections in ASEAN Countries (Pdf) v_1

Description: Politics and Elections in ASEAN Countries (Pdf) v_1

Search

Read the Text Version

i

i การเมอื ง-การเลือกต้ังไทย และประเทศในอาเซยี น Politics and Elections in ASEAN Countries สมชาติ เจศรีชยั Somchart Jasrichai

ii ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสำ� นกั หอสมุดแหง่ ชาติ สมชาต ิ เจศรชี ยั . การเมือง-การเลือกต้ังไทย และประเทศในอาเซียน = Politics and elections in ASEAN countries. - - กรงุ เทพฯ : สถาบนั นโยบายศกึ ษา ภายใต้มลู นธิ ิส่งเสริมนโยบายศึกษา, 2559. 182 หนา้ . 1. ไทย - - การเมืองและการปกครอง. I. ชือ่ เร่ือง. 320.9593 ISBN: 978-616-91578-9-2 ช่ือหนงั สอื การเมอื ง - การเลือกตั้งไทยและประเทศในอาเซยี น Politics and Elections in ASEAN Countries ผู้เขียน สมชาติ เจศรีชัย ปีท่ีพิมพ์ พฤศจิกายน 2559 จ�ำนวนพิมพ์ 1,000 เล่ม เจ้าของ สถาบันนโยบายศึกษา ภายใต้มูลนิธิส่งเสริมนโยบายศึกษา 99/146 ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 0 2941 1832-3 โทรสาร 0 2941 1834 e-mail: [email protected] www.fpps.or.th ออกแบบปก ชัยวุฒิ แก้วเรือน พิมพ์ที่ บริษัท พี.เพรส จ�ำกัด โทร. 0 2742 4754-5 สนับสนุนโดย มูลนิธิคอนราด อาเดนาวร์

iii ค�ำน�ำ จากสถาบันนโยบายศึกษา หนังสือ “การเมือง - การเลือกต้ังไทยและประเทศในอาเซียน Politics and Elections in ASEAN Countries” เขยี นโดย คุณสมชาติ เจศรีชัย ซึ่งมีประสบการณ์โดยตรงจากการท�ำงานด้านการเมืองและ การเลือกตั้งท่ีส�ำนักงานคณะกรรมการการเลือกต้ัง (กกต.) ซ่ึงมีท้ังความรู้ ทางวชิ าการ และประสบการณจ์ ากการปฏบิ ตั งิ านทา่ มกลางการเปลยี่ นแปลง ทางการเมอื ง ซง่ึ ผเู้ ขยี นเองกป็ ฏบิ ตั งิ านในองคก์ รทเี่ กยี่ วกบั การเมอื งและการ เลอื กต้ัง จากรัฐธรรมนูญปี 2540 ถงึ ปี 2550 นอกจากน้ยี งั มีประสบการณ์ การศึกษาดูงานจากต่างประเทศในงานด้านนี้อีกด้วย ท�ำให้ผู้เขียนได้ ถ่ายทอดและให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ มีการเปรียบเทียบแต่ละระบอบ การเมืองและการเลือกต้ังของแต่ละประเทศที่มีความแตกต่างในระบอบ การปกครองในกล่มุ ประเทศอาเซียน ซง่ึ จะท�ำใหผ้ ูอ้ า่ นไดเ้ ขา้ ใจในความเปน็ อาเซยี นในทางการเมอื งมากขึน้ โดยเฉพาะสำ� หรับคนไทย ซึ่งเลือกแนวทาง การปกครองระบอบประชาธิปไตย ก็จะได้เห็นความแตกต่างจากระบอบ การปกครองอ่ืน และจะย่ิงท�ำให้เข้าใจในการปกครองของประเทศตนเอง มากยง่ิ ขึน้ หนงั สอื ของผเู้ ขยี นเลม่ น้ี เปน็ ผลพวงจากความพยายามของผเู้ ขยี นเอง ทไ่ี ดเ้ ขยี นลงอยา่ งตอ่ เนอื่ ง เรอ่ื ง “รไู้ ทย-รอู้ าเซยี น” ในคอลมั น์ ปจุ ฉา-วสิ ชั นา ของจดหมายข่าวรายเดือนของสถาบันนโยบายศึกษา ต้ังแต่เดือนมกราคม 2556 ถึงเดือนตุลาคม 2559 และผู้เขียนได้พัฒนาศึกษาเพิ่มเติมอีกมาก โดยเนน้ เน้อื หาเรอื่ งการเมืองและการเลอื กต้ังเปน็ ส�ำคัญ ทัง้ น้ี เพือ่ ส่งเสรมิ ความรู้และความเข้าใจด้านการเมืองและการเลือกตั้งของประเทศไทยและ

iv ประเทศในกลุ่มอาเซียน อันเป็นปีท่ีประเทศในกลุ่มอาเซียนได้ประกาศ ความรว่ มมอื ทางเศรษฐกจิ กนั อยา่ งเปน็ ทางการแลว้ แตค่ วามรดู้ า้ นการเมอื ง ในกลุ่มประเทศเหล่านี้ คนท่วั ไปยังไม่ไดใ้ หค้ วามสำ� คญั ทั้งท่ีการเมืองกเ็ ปน็ หนึ่งใน 3 เสาหลกั รว่ มกับดา้ นเศรษฐกจิ และด้านสงั คม ซ่ึงหนงั สอื เล่มนี้ได้ นำ� เสนอเพอื่ ช้ใี หเ้ หน็ ว่าเรอื่ งการเมอื งเปน็ ตัวก�ำหนดส�ำคญั ยิง่ ต่อการพัฒนา ของแต่ละประเทศไม่เวน้ แม้แต่ประเทศไทย สถาบนั ฯ ขอขอบคณุ ทผี่ เู้ ขยี นไดร้ งั สรรคผ์ ลงานนเี้ พอ่ื ใหผ้ อู้ า่ นคนไทย ไดเ้ ขา้ ใจความเปน็ อาเซยี นในทางการเมอื งและการเลอื กตงั้ มากขน้ึ ขอขอบคณุ มูลนธิ ิคอนราด อาเดนาวร์ ทส่ี นับสนุนการพมิ พ์เพ่ือประโยชนต์ อ่ สังคมไทย สถาบันนโยบายศึกษา พฤศจิกายน 2559

v คำ� นำ� จากผู้เขยี น ภมู ภิ าคทถี่ กู เรยี กขานวา่ “เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต”้ หรอื “อษุ าคเนย”์ หรือ “เอเชียอาคเนย์ เป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย” เป็นดินแดนที่อาจ กล่าวได้ว่ามีความส�ำคัญต่อโลก เพราะเป็นพื้นท่ีท่ีมั่งคั่งไปด้วยทรัพยากร ธรรมชาติ ทั้งแรธ่ าตุ พชื พันธุ์ และความหลากหลายทางชีวภาพ รวมทัง้ การ เปน็ ทางผา่ นไปสทู่ วปี ตา่ งๆ ถา้ ภมู ภิ าคนไ้ี มม่ คี วามสำ� คญั คงตอ้ งขอใหผ้ อู้ า่ น ยอ้ นกลบั พลกิ อา่ นประวตั ศิ าสตรก์ ารเขา้ มาคน้ หา ครอบครอง และเกบ็ เกย่ี ว เอาสิ่งที่มีคุณค่าออกไปจากภูมิภาคน้ี และบทเรียนจากสงครามโลกคร้ังท่ี สอง ความพยายามยดึ ครองเอาแผน่ ดนิ ยา่ นนไี้ ปเปน็ ฐานทมี่ นั่ ทางการทหาร และการสรู้ บตามหลกั ภมู ริ ฐั ศาสตร์ ประวตั ศิ าสตรแ์ ละการเปลยี่ นแปลงดา้ น ตา่ งๆ เปน็ แรงผลกั ดนั ทำ� ใหเ้ กดิ การรวมตวั กนั ของรฐั ทตี่ ง้ั อยบู่ นภมู ภิ าคนใี้ ห้ เป็นสมาคม และกลายเป็นประชาคมท่ีมีบทบาทโดดเด่นต่อการพัฒนา เศรษฐกจิ สังคมและวัฒนธรรม ตลอดจนความม่นั คงของโลกในทสี่ ดุ มีหนังสือหลายเล่มท่ีออกมาต้อนรับการเป็น “ประชาคมอาเซียน” สามารถทจี่ ะบอกเลา่ เรอื่ งราวตา่ งๆ ของอาเซยี น และการมองไปขา้ งหนา้ ถงึ สภาพการณเ์ มอ่ื ถงึ กำ� หนดทป่ี ระชาคมอาเซยี นไดเ้ กดิ ขน้ึ จรงิ ในเดอื นธนั วาคม พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) ตามแตค่ วามสนใจของผอู้ ่านแต่ละทา่ น เรื่องราว ของอาเซียนที่เกิดข้ึนแม้จะมีส�ำนักงานเลขาธิการอาเซียนท่ีจากาต้าร ์ ท�ำหน้าท่ีอย่างแข็งขัน และเมื่อพิจารณาแยกรายประเทศ กระทรวงการ ตา่ งประเทศกจ็ ะทำ� หนา้ ทดี่ แู ลในภาพรวมและทางพธิ กี ารทตู สว่ นรายสาขา ในแต่ละเสาหลัก (Pillar) ก็จะมีกระทรวงหรือหน่วยงานเฉพาะดูแล และ เมอ่ื ถงึ วนั น ี้ ผคู้ นในประเทศทเ่ี ปน็ สมาชกิ อาจจะเรม่ิ คนุ้ เคยและสมั ผสั ไดก้ บั

vi การเป็นประชาคม รูปธรรมอย่างหนึ่งคือการเดินทางเข้าออกของคนท ี่ มาจากประเทศสมาชิกในอาเซียน อาทิ จะเห็นเด็กปั๊มพูดด้วยส�ำเนียง แปลกแปรง่ ทาแกม้ ดว้ ยแปง้ ทานาคา เป็นตน้ การน�ำเสนอเรื่องราวทางการเมืองการปกครอง การเลือกตั้งและ พรรคการเมืองในหนังสือเล่มน้ีเกิดข้ึนด้วยวัตถุประสงค์ส�ำคัญคือ การบอก เลา่ เพอ่ื สรา้ งการรบั รกู้ ารเมอื งและการเลอื กตงั้ ของเพอื่ นบา้ นทเ่ี กดิ ขน้ึ อยา่ ง มีพัฒนาการ โดยหวงั ว่าความรคู้ วามเข้าใจจะทำ� ให้การอยู่ร่วมกันมีลักษณะ ของการ “ยอมรบั ” มากข้นึ โดยไมม่ องเพอ่ื นบ้านที่คิดหรือทำ� ไมเ่ หมือนเรา ด้วยความร้สู ึกอคติ และแบง่ แยก ผู้เขียนขอขอบคุณสถาบันนโยบายศึกษา ท่ีมีท่านศาสตราจารย์ ดร.ชัยอนันต์ สมุทวณิช เป็นประธาน คุณยศวดี บุณยเกียรติ และ คณุ ทพิ ยพ์ าพร ตนั ตสิ นุ ทร ผอู้ ำ� นวยการรว่ ม ทเี่ ปดิ โอกาสใหใ้ ชพ้ นื้ ทส่ี ว่ นหนงึ่ ของวารสารรายเดอื นของสถาบนั ฯ เปดิ คอลมั น์ “รไู้ ทย รอู้ าเซยี น” มาตงั้ แต่ ปี พ.ศ. 2556 และยังให้รวบรวมพิมพ์เป็นเล่มที่ปรากฏหน้าตาให้ท่าน เหน็ อยู่ ณ เบ้ืองหน้าขณะนี้ ขอ้ มลู หลายส่วนที่ประกอบการเขียนยงั มาจาก โลกในระบบออนไลน์ เอกสาร และการเข้าร่วมประชุมในสมัยที่ผู้เขียน ยงั รบั ราชการอยทู่ ส่ี ำ� นกั งานคณะกรรมการการเลอื กตงั้ (กกต.) คณุ ประโยชน์ ทเ่ี กิดจากหนังสือเล่มน้ี ขออทุ ศิ ให้กบั ผู้คนท้งั หลายที่อยู่รว่ มชายคาอาเซยี น และหวังจะเหน็ พฒั นาการของประชาคมอยา่ งตอ่ เนอ่ื งและยงั่ ยนื สมชาติ เจศรีชัย พฤศจิกายน 2559

vii สารบญั หนา้ คำ� น�ำจากสถาบันนโยบายศกึ ษา.......................................................................................................iii คำ� น�ำจากผเู้ ขยี น............................................................................................................................................. v บทท่ี 1 กวา่ จะเป็นประชาคมอาเซียน 1...................................................................................... บทท่ี 2 ระบบการเมืองการปกครอง 19....................................................................................... บทที่ 3 ระบบพรรคการเมอื ง 35........................................................................................................ บทที่ 4 องค์กรจดั การเลอื กตงั้ 55..................................................................................................... บทท่ี 5 ระบบการเลือกต้ัง 83............................................................................................................... บทท่ี 6 การเมอื งและการเลอื กตงั้ ของประเทศไทย ในทศวรรษ 2540-2550.............................................................................................107 บทท่ี 7 การรณรงคห์ าเสียงเลอื กตง้ั 115.................................................................................... บทท่ี 8 ทศิ ทางอนาคตประชาธิปไตยไทย : คนคุณภาพ การเลือกตั้งคณุ ภาพ 131...................................................................... บทส่งท้าย 147.................................................................................................................................................... บรรณานุกรม 157............................................................................................................................................ สถาบันนโยบายศกึ ษา.........................................................................................................................161 ประวตั ิผเู้ ขียน.............................................................................................................................................172 About the Book 174.................................................................................................................................

viii

สมชาติ เจศรีชยั 1 บทที่ 1 กว่าจะเปน็ ประชาคมอาเซียน การรวมตวั ของคนแห่งสวุ รรณภมู ิ เมื่อเปิดแผนที่โลกออกดู จะเห็นว่าภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรอื ดินแดนทเี่ รยี กว่า “อษุ าคเนย”์ หรือ “สวุ รรณภมู ิ” หรอื Southeast Asian Peninsular หมายถงึ ดนิ แดนทม่ี คี วามอดุ มสมบรู ณ์ ปรากฏในคมั ภรี ์ ของพระพุทธศาสนา ส่วนมากปรากฏในคัมภีร์ชาดก เป็นดินแดนท่ีเป็น แผ่นดินใหญ่ ดินแดนน้ีนับว่าเป็นแหล่งอุดมสมบูรณ์ท่ีมีความหลากหลาย ทางชวี ภาพ มีทรพั ยากรธรรมชาตินานาชนดิ เช่น สตั ว์ พชื พนั ธ์ธุ ัญญาหาร และแรธ่ าตตุ า่ งๆ นอกจากนยี้ งั เปน็ แหลง่ ของกลมุ่ ชาตพิ นั ธห์ุ ลากหลายทล่ี ว้ น เปน็ เครอื ญาตทิ างสงั คมวฒั นธรรม “เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต”้ อยใู่ นสถานะ ของความส�ำคญั ทางภูมริ ัฐศาสตร์ โดยเฉพาะในยุคสงครามเย็น (ระหวา่ งปี พ.ศ. 2490 – 2534)1 ซ่งึ เป็นสถานะความตึงเครียดทางการเมืองและการ 1 ในช่วงประมาณ 2 ทศวรรษที่ผ่านมา เกิดปรากฏการณ์ท่ีส�ำคัญในระดับการเมืองของโลก อันมี ผลกระทบต่อภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมท้ังไทยอย่างหลีกเล่ียงไม่ได้ น่ันคือ นับต้ังแต่ การปราชยั ของสหรฐั อเมรกิ าในอนิ โดจนี ตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2518 (ค.ศ. 1975) ตามตดิ มาดว้ ยปรากฏการณ์ ทไ่ี ม่มีใครคาดคดิ คอื การลม่ สลายของอดุ มการณแ์ ละเศรษฐกจิ แบบสงั คมนยิ มในช่วงปลายทศวรรษ 1980 ซง่ึ มผี ลเปน็ รปู ธรรมในการพงั ทลายของกำ� แพงเบอรล์ นิ กบั การลม่ สลายของสหภาพโซเวยี ต ซงึ่ ก็หมายถึงการสิ้นสุดของสงครามเย็น (หรือจะเรียกว่าสงครามร้อนในมุมมองของเอเชียก็ตาม) ในปี พ.ศ. 2533 (ค.ศ.1990) สง่ ผลใหใ้ นโลกนจ้ี ะมีกระแสใหญ่ๆ เหลอื อยู่เพยี ง 2 กระแสเท่านนั้ เอง คือ กระแสหนง่ึ เป็นด้านการเมอื งและเปน็ เรอื่ งของ “กระบวนการประชาธปิ ไตย” (Democratization) อีกกระแสหน่ึงทางด้านเศรษฐกิจ ซ่ึงเป็นเรื่องของ “เศรษฐกิจแบบตลาดเสรี” (Free Market Economy) (ดใู น http://navywebmaster.blogspot.com/2014/11/blog-post_84.html)

2 การเมือง - การเลอื กตง้ั ไทยและประเทศในอาเซียน ทหารหลังสงครามโลกคร้ังท่ีสอง ระหว่างประเทศในกลุ่มตะวันตก (สหรัฐอเมริกา และพันธมิตรนาโต้ ฯลฯ) และประเทศในกลุ่มตะวันออก (สหภาพสาธารณรฐั สงั คมนยิ มโซเวยี ต เรยี กชอื่ ในภาษาองั กฤษวา่ Union of Soviet Socialist Republics หรือ USSR และพันธมิตรในสนธิสัญญา วอร์ซอ) จดุ กําเนิดและพฒั นาการ A S E A N 2497 SEATO 8 ประเทศ องคก์ ารสนธสิ ัญญาป้องกันภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Southeast-Asia Treaty Organization) ไทย ฟลิ ปิ ปนิ ส์ ปากีสถาน ออสเตรเลยี นวิ ซแี ลนด์ อังกฤษ ฝรงั่ เศส และอเมรกิ า ยุบเลิกในปี 2520 ภายหลังสิน้ สดุ สงครามอนิ โดจีน   ป  ระเทศในภูมภิ าคยา่ นนีจ้ ึงไดม้ กี ารรวมตัวกนั โดยในปี พ.ศ. 2497 ไดม้ กี ารรวมตวั กนั กอ่ ตง้ั องคก์ ารระหวา่ งประเทศขนึ้ เรยี กวา่ “องคก์ ารสนธิ สัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียต2ะ5วั0นอ4 อกเฉียงใต้ (สปอ.) เรียกช่ือในภาษา อังกฤษว่า Southeast Asia TAreSaAty Organization–SEATO” รฐั สมาชกิ ประกอบด้วย ไทย ฟิลิปป3ินปสระ์ เทปศากีสถาน ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ และฝร่ังเศส ด้วยการผลักดันของสหรัฐอเมริกาที่ ตอ้ งการสรา้ ง “เครอื่Asงsมoอืci”atใioนnกoาfรSสoกuดั thกeน้ั aกstาAรขsiaยายตวั ของลทั ธคิ อมมวิ นสิ ต์ ไทย มาเลย์เซีย และฟลิ ปิ ปินส์  

จดุ กําเนดิ และพัฒนาการ A S E A N สมชาติ เจศรชี ัย 3 2497 ตามสนธิสญั ญาทีม่ ีการลงนามเมอื่ 8SมEิถAนุ TาOยน 2497 (ค.ศ. 1954) ท่กี รงุ มะนลิ า ประเทศฟลิ ปิ ปนิ ส์ จงึ ทำ� ใหร้ จู้ 8กั ปกรนัะเใทนศอกี ชอ่ื หนง่ึ วา่ “กตกิ ามะนลิ า” (Manila Pact) อยา่ งไรกด็ ี ภายหลงั จากที่สหรัฐอเมริกาถอนก�ำลังออกจาก เคววียาดมนพา่ามยใแตพ้ ใ้แนลสะองรงคคัฐร์กบาาารม(ลสSอนเoนิวธuียสิโtดhัญดeจนญaนี าาstปม-ทอ้Aทงsั้งี่สกiใaนัหนภTรเrมูวัฐeภิยี aอาดtเคyมนเอOราเิกrมชgยีาaตใnลหะiาzว้กวaนั tาอioแรอnสลก)เนะฉกับยี งัมสใพตนู้ชุนาปรทะ�ำสใบห้ องคก์ รซไโี ทตย้ (SฟEลิ ิปAปTนิOส)์ ปในากฐีสาถนาะนเอคอรสอื่ เตงรมเลอื ยีดำ�นเวิ นซนิีแลนนโดย์ บอังากยฤขษอฝงรสงั่ หเศรสฐั แอลเะมอรเมกิ ราิกใาน ภูมิภาคน้ี หมดความยจุบ�ำเลเกิปใ็นนปอี 2ง5ค20์กรภซายีโตหล้ งั(สSนิ้EสAดุ TสOงค)ราจมึงอถินูกโดยจุบนี เลิกอย่างเป็น ทางการเมอื่ 30 มถิ ุนายน พ.ศ. 2520 (ค.ศ. 1977)     2504 ASA 3 ประเทศ AAsssosocciaiattioionn ooff SSoouutthheeaassttAAsisaia ไไททยย มมาาเเลลยเซ์เซยี ียแแลละะฟฟลิิลปิิปปปนินิ สส์ ์       ต่อมา ในเดือนกรกฎาคม ปี พ.ศ. 2504 ได้มีการรวมตัวกันของ ประเทศในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ เรยี กวา่ สมาคมเอเชยี ตะวนั ออก เฉยี งใต้ (อาสา) หรอื เรยี กชอื่ ในภาษาองั กฤษวา่ Association of Southeast Asia–ASA โดยมี ไทย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ ได้ร่วมมือกันจัดตั้งข้ึน มวี ตั ถปุ ระสงคห์ ลักเพื่อร่วมมือกนั ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม 9 

4 การเมอื ง - การเลอื กตั้งไทยและประเทศในอาเซยี น จึงเห็นได้ว่า การรวมตัวกันในคร้ังน้ีน่าจะเป็นพื้นฐานให้มีการรวมตัวกันถึง 10 ประเทศในเวลาตอ่ มา ประวตั ศิ าสตรค์ วามรว่ มมอื ในภูมิภาคน้ี บง่ ชใ้ี ห้ เห็นถึงความพยายามในการปรับปรุงความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในอดีต ให้สามารถผนึกก�ำลังต่อสู้กับการเปลี่ยนแปลงภายในภูมิภาค และการ เปลีย่ นแปลงของโลก 25102–512054–22542 A S EAASNE A N 2 5 1 02 5 1 0 2 5 2 72 5 2 7 2 5 3 82 5 3 8 2 5 4 02 5 4 0 2542 542 5 ประ5เทปศระเทศ ประเทปศรทะี่เ6ทศที่ 6 ประเทปศรทะ่ีเ7ทศท่ี 7 ประเทปศรทะ่ีเ8ท-ศ9ที่ 8-9 ประเทปศรทะี่เ1ท0ศท่ี 10 AssocAiastsionciaotfioSnouotfhSeoaustheast บรไู นดบารรไู สุน-ดารสุ - เวยี ดนเวามยี ดนาม ลาว พลมา่าว พมา่ กมั พูชกาัมพชู า AsianANsaiatnionNsat-ioAnSsEA- NASEAN สมาคมสปมราะคชมาปชราะตชิแาหชง่ าเตอแิเชหยี ง่ เอเชีย ซารามซาราม ตะวนั อตอะกวเนั ฉอยี องกใตเฉ้ ยี งใต้ The STphireit SopfirBitanogfsBaaengsaen 7 สิงห7าคสมงิ ห2า5ค1ม0 2510 BangkBoaknDgkeocklaDraetciolanration 8 สิงห8าคสมงิ ห2า5ค1ม0 2510 อนิ โดนอเี นิซโยี ดมนาเี ซเลยี เซมียาเลเซยี       ต่อมาเมือ่ วันท่ี 8 สงิ หาคม พ.ศ. 2510 ได้มีการลงนามใน ปฏิญญา กรุงเทพ (Bangkok Declaration) ก่อต้ังสมาคมประชาชาติแห่งเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ หรืออาเซยี น ช่ือเรียกเปน็ ภาษาองั กฤษวา่ Association of South East Asian Nations–ASEAN อาเซียนได้ถือก�ำเนิดขึ้นโดยมี รฐั สมาชิกเริม่ ตน้ 5 ประเทศ ไดแ้ ก่ อนิ โดนีเซยี มาเลเซยี ฟลิ ิปปนิ ส์ สิงคโปร์

สมชาติ เจศรีชัย 5 และไทย โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือความร่วมมือในการเพ่ิมอัตราการเติบโต ทางเศรษฐกิจ การพฒั นาสงั คม วฒั นธรรมในกลุม่ ประเทศสมาชิก สง่ เสริม ให้ประชาชนในอาเซียนมีความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตท่ีดี และการ ธ�ำรงรักษาสันติภาพและความมั่นคงในภูมิภาค และเปิดโอกาสให้คลาย ข้อพิพาทระหว่างประเทศสมาชิกอย่างสันติ ต่อมาประเทศบรูไน ดารุส- ซาลาม เข้าเป็น สมาชิกประเทศท่ี 6 เมือ่ วนั ท่ี 7 มกราคม 2527 เวียดนาม เขา้ เปน็ สมาชกิ ประเทศที่ 7 เมอ่ื วนั ท่ี 28 กรกฎาคม 2538 ลาวและพม่า เขา้ เปน็ สมาชกิ ประเทศที่ 8 และ 9 ตามลำ� ดบั เมอื่ วนั ที่ 23 กรกฎาคม 2540 และกัมพูชาเป็นสมาชิกประเทศสุดท้าย เม่ือวันที่ 30 เมษายน 2542 รวมมีรัฐสมาชิกทั้งส้ิน 10 ประเทศ การด�ำเนินงานของอาเซียนอยู่ภายใต้ กฎบตั รอาเซยี น (ASEAN Charter) ทไี่ ดม้ กี ารลงนามกนั ไปเมอื่ เดอื นธนั วาคม พ.ศ. 2551 ประชาคมอาเซยี น 10 ประเทศ การเมอื งและ ASEAN เศรษฐกิจ ความม่ันคง Community 2546-ปจั จุบัน   สังคมและวฒั นธรรม

6 การเมือง - การเลือกตงั้ ไทยและประเทศในอาเซยี น หนั หวั เรอื ....สูป่ ระชาคมอาเซยี น ท่ามกลางกระแสเชีย่ วกรากของโลกของยุคโลกาภวิ ตั น์ (Globaliza- tion) หรือยุคดิจิทัล (Digital Age) เคล่ือนไปอย่างรวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็น การเคลื่อนทางเศรษฐกิจ อาทิ การท�ำธุรกรรมทางการเงินของกลุ่มทุน การแสวงหาแหล่งผลิตอาหาร แหล่งพลังงาน การเคล่ือนทางสังคมและ วฒั นธรรม อาทิ ศลิ ปะการแสดง การแต่งงานขา้ มประเพณี การกิน วิถีชีวิต ความเป็นอยู่ ตลอดจนการเคลื่อนทางการเมืองและความม่นั คง อาทิ การ ก่อการร้าย ยาเสพตดิ การทุจรติ คอร์รปั ชั่น เปน็ ตน้ เม่ือประเทศสมาชิกในสมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมตัวท�ำกิจกรรมกันไประยะหนึ่ง ซ่ึงด�ำเนินการโดยส�ำนักงานเลขาธิการ อาเซียน มีส�ำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงจาการ์ตา สาธารณรัฐอินโดนีเซีย โดยมี กลไกส�ำคัญในการขับเคลื่อนอาเซียน คือการประชุมสุดยอดผู้น�ำอาเซียน หรือ ASEAN Summit เพื่อพจิ ารณาประเดน็ สำ� คญั ต่างๆ ทจี่ ะเป็นข้อมตใิ น การด�ำเนินการต่อไป ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ประเทศสมาชิกมีการ ร่วมมือพัฒนาเพื่อสร้างสันติภาพความม่ันคงบนพ้ืนฐานของความยินยอม และความสมัครใจของสมาชิกเป็นหลัก การด�ำเนินการอยู่บนพื้นฐานของ การปรึกษาหารือหรือการอาศัยฉันทามติ โดยเล่ียงการอ้างสิทธิหน้าท่ีและ การแทรกแซงทางการเมอื งระหวา่ งสมาชกิ (non intervention) อยา่ งไรกด็ ี เพอื่ ใหอ้ าเซยี นมรี ปู แบบของความรว่ มมอื กนั อยา่ งใกลช้ ดิ มากยง่ิ ขนึ้ กวา่ เดมิ ในการประชุมสุดยอดผู้น�ำอาเซียน ครั้งที่ 9 เดือนตุลาคม ค.ศ. 2003 (พ.ศ. 2546) ท่ีบาหลี สาธารณรัฐอินโดนีเซีย ผู้น�ำอาเซียนได้ลงนามใน “ปฏญิ ญาวา่ ดว้ ยความรว่ มมอื อาเซยี น” (Declaration of ASEAN Concord II หรือ Bali Concord II) เพ่ือให้จัดตั้ง “ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)” ภายในปี 2020 (2563) โดยจะประกอบด้วย 3 เสาหลกั (pillars) ได้แก่ ประชาคมความม่ันคงอาเซียน (ASEAN Security

สมชาติ เจศรชี ยั 7 Community–ASC) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community-AEC) และประชาคมสังคม-วัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community-ASCC) ตอ่ มา ในการประชมุ สดุ ยอดผนู้ ำ� อาเซยี น ครงั้ ท่ี 12 เมอื่ เดอื นมกราคม ค.ศ. 2007 (พ.ศ. 2550) ที่เซบู สาธารณรฐั ฟิลิปปินส์ มกี ารเลอ่ื นเปา้ หมาย ทอ่ี าเซยี นจะยกระดบั ความรว่ มมอื การพฒั นาไปสคู่ วามเปน็ ประชาคมอาเซยี น ให้เร็วข้ึน จากเดิมที่ตั้งเป้าไว้ว่าจะเป็นประชาคมอาเซียนในปี 2020 ได้ เล่ือนให้เร็วขึ้นในปี 2015 แต่ยังคงยึดวิสัยทัศน์อาเซียนปี 2020 และ ปฏิญญา Bali Concord II ทุกประการ และในที่สุด ในการประชุมสดุ ยอด ผนู้ ำ� อาเซยี น ครง้ั ท่ี 21 เมอ่ื เดอื นพฤศจกิ ายน 2012 (2555) ณ กรงุ พนมเปญ ราชอาณาจกั รกมั พชู า ทกุ ประเทศตา่ งเหน็ พอ้ งกนั ในประเดน็ ความกา้ วหนา้ ในการกา้ วสปู่ ระชาคมอาเซยี น แตย่ งั คงมปี ระเดน็ ทตี่ อ้ งด�ำเนนิ การอกี หลาย ประการจึงตกลงที่จะก�ำหนดวันจะบรรลุเป้าหมายการเป็นประชาคม อาเซียนจากเดมิ วันท่ี 1 มกราคม 2015 เปน็ วนั ที่ 31 ธันวาคม 2015 (2558) ท่ีกล่าวมาท้ังหมดจะเห็นภาพการเคลื่อนของอาเซียนไปสู่ประชาคม อาเซียน โดยมีการยกระดับความร่วมมือเป็นประชาคมอาเซียนอยู่บนสิ่งที่ เรยี กกันวา่ “สามเสาหลกั ” ซ่งึ แตล่ ะเสาหลักล้วนแลว้ แต่มคี วามส�ำคญั ท้งั เน้ือหาหลัก วัตถุประสงค์และวิธีด�ำเนินการ (อาทิ การจัดท�ำข้อตกลง ขั้นตอนตา่ งๆ) สามเสาหลักมสี าระสำ� คัญพอสรปุ ไดด้ งั นี้ 1. เสาประชาคมความมัน่ คงอาเซียน (ASEAN Security Commu- nity–ASC) มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ประเทศสมาชิกอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข แก้ไขปัญหาภายในภูมิภาคโดยสันติวิธี และยึดม่ันในหลักความมั่นคง รอบด้าน โดยประชาคมความม่ันคงอาเซียนนั้นจะปฏิบัติตามกฎบัตร สหประชาชาติ (UN Charter) และกฎหมายระหวา่ งประเทศ โดยยดึ หลกั การ

8 การเมอื ง - การเลอื กตัง้ ไทยและประเทศในอาเซยี น อาเซยี นเปน็ สำ� คญั (ASEAN’s Principles) คอื หลกั การไมแ่ ทรกแซงกจิ การ ภายในซ่ึงกันและกัน ตัดสินใจร่วมกันตามหลักฉันทามติ เคารพต่ออ�ำนาจ อธปิ ไตยของชาติ และเปน็ ภูมิภาคที่มีความยืดหยนุ่ หากมภี ัยคกุ คาม หรอื มกี ารใชก้ �ำลัง ให้ระงับปญั หาและแก้ไขความขดั แยง้ อย่างสนั ติ 2. เสาประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น (ASEAN Economic Commu- nity-AEC) มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความม่ันคง และม่ังคั่งทางเศรษฐกิจ ให้ประเทศสมาชิกสามารถแข่งขันกับภูมิภาคอ่ืนๆ ได้สูงขึ้น การไหลเวียน ของสนิ คา้ บรกิ าร การลงทุน และทนุ เปน็ ไปอยา่ งเสรี รวมทง้ั ทำ� ให้เกิดการ พัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างเท่าเทียม เพ่ือที่จะช่วยลดความยากจนและ ความแตกตา่ งทางเศรษฐกิจและสังคม โดยมกี ลไกทส่ี �ำคัญ คือ เขตการคา้ เสรีอาเซยี น (ASEAN Free Trade Area: AFTA) กรอบความตกลงอาเซียน ด้านการบริการ (ASEAN Framework Agreement on Services: AFAS) และความตกลงวา่ ดว้ ยการลงทนุ ของอาเซยี น (ASEAN Investment Area: AIA) 3. เสาประชาสังคมและวัฒนธรรม (ASEAN Socio-Cultural Community-ASCC) มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ใหป้ ระชากรอาเซยี นมสี ภาพความ เป็นอยู่ท่ีดี ได้รับการพัฒนาสังคมและยกระดับมาตรฐานความเป็นอยู่ของ ประชากรทอ่ี ยใู่ นทอ้ งถน่ิ และกลมุ่ คนทด่ี อ้ ยพฒั นา โดยทกุ ภาคสว่ น ไมว่ า่ จะ เปน็ ผ้หู ญงิ เยาวชน และชมุ ชนทอ้ งถนิ่ จะเข้ามามสี ว่ นรว่ มมากขึ้น รวมท้ัง การให้การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น การฝึกอบรม การสร้างงานและการให้ ความดูแลสภาพทางสังคม และการพัฒนาทางด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี

สมชาติ เจศรีชยั 9 กฎเกณฑ์การอยู่รว่ มกนั กฎเกณฑท์ มี่ กี ารกำ� หนดขนึ้ เพอื่ นำ� มาใชใ้ นการเปน็ สมาคมประชาชาติ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรืออาเซียน และการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของ รัฐสมาชกิ ท้งั หลายน้นั นับวา่ เป็นส่ิงสำ� คญั ยิง่ กับการอยรู่ ว่ มกนั ไม่แตเ่ ฉพาะ สังคมใหญ่เทา่ นั้น สงั คมเลก็ ๆ อาทิ ครอบครวั หนว่ ยงาน องค์การเลก็ ใหญ่ ขนาดไหนกต็ าม เพราะจะท�ำใหก้ ารอยรู่ ว่ มกนั เปน็ ไปอยา่ งราบรนื่ ปราศจาก ข้อขดั แยง้ พพิ าท หรือหากมีกส็ ามารถนำ� กฎมาย กฎ ขอ้ บงั คับขององค์การ นั้นมาใช้บงั คบั ตัดสนิ ความให้ขอ้ พพิ าทยตุ ลิ งได้ ในการกอ่ ตง้ั สมาคมประชาชาตเิ อเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ หรอื อาเซยี น ซง่ึ เปน็ องคก์ ารระหวา่ งรฐั กเ็ ชน่ เดยี วกนั เมอ่ื มกี ารกอ่ ตงั้ อาเซยี นแลว้ ภายใน ปี พ.ศ. 2550 (ค.ศ. 2007) ไดม้ กี ารประชมุ สุดยอด ผนู้ ำ� อาเซียนไดล้ งนาม รับรองกฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) หรือธรรมนูญอาเซียน ในการ ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 13 เมื่อวันท่ี 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 (ค.ศ. 2007) ณ ประเทศสิงคโปร์ ในโอกาสครบรอบ 40 ปขี องการก่อตัง้ อาเซียน เพื่อให้ประชาคมโลกได้เห็นถึงความก้าวหน้าของอาเซียนท่ีก�ำลัง จะก้าวเดินไปด้วยกันอย่างมั่นใจ กฎบัตรอาเซียนประกอบด้วยค่านิยม หลกั การ และแนวปฏบิ ตั ิ พรอ้ มทง้ั มกี ารปรบั ปรงุ แกไ้ ขและสรา้ งกลไกใหมข่ น้ึ ตลอดจนมกี ารกำ� หนดขอบเขตหนา้ ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบขององคก์ รทสี่ ำ� คญั ใน อาเซียนและความสมั พันธใ์ นการดำ� เนนิ งานขององคก์ ร กฎบัตรอาเซยี นจะ ใหส้ ถานะนติ บิ คุ คลแกอ่ าเซยี นเปน็ องคก์ รระหวา่ งรฐั (Intergovernmental Organization) หรอื องค์การระหว่างประเทศ (International Organiza- tion) ถอื ว่าเปน็ บุคคลระดับรองจากบุคคลธรรมดาตามหลักกฎหมายแพง่ ในทางกฎหมายระหว่างประเทศ อาเซียนเกิดจากข้อตกลงร่วมกันระหว่าง รฐั ตง้ั แต่สองรฐั ข้นึ ไปโดยรูจ้ กั กันในนามของ “องค์การระหวา่ งรัฐ” (Inter- governmental Organization) จงึ เป็นองคก์ ารระหวา่ งประเทศทีร่ ฐั เปน็

10 การเมือง - การเลือกตง้ั ไทยและประเทศในอาเซยี น ผกู้ อ่ ตง้ั ยอ่ มมสี ภาพบคุ คลตามกฎหมายระหวา่ งประเทศ ทำ� ใหม้ สี ทิ ธิ หนา้ ที่ และความรับผิดชอบขององค์การระหว่างประเทศตามกฎหมายระหว่าง ประเทศด้วย การประกาศใชก้ ฎบตั รอาเซยี นถอื เปน็ เอกสารประวตั ศิ าสตรช์ น้ิ สำ� คญั ท่ีจะปรับเปลี่ยนอาเซียนให้เป็นองค์กรท่ีมีสถานะเป็นนิติบุคคล ประเทศ สมาชิกได้ให้สัตยาบันกฎบัตรอาเซียน ครบทั้ง 10 ประเทศแล้ว เม่ือวันท่ี 15 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2551 (ค.ศ. 2008) กฎบัตรอาเซียนจงึ มผี ลใชบ้ ังคบั ตง้ั แต่วนั ที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2551 (ค.ศ. 2008) เป็นต้นไป เปา้ ประสงค์ สำ� คญั ของการประกาศใชก้ ฎบตั รอาเซยี นกเ็ พอ่ื ทำ� ใหอ้ าเซยี นเปน็ องคก์ รทมี่ ี ประสทิ ธภิ าพ มีประชาชนเปน็ ศนู ย์กลาง และเคารพกฎกติกาในการทำ� งาน มากข้ึน กฎบตั รอาเซยี น ประกอบดว้ ยบทบญั ญัติ 13 หมวด 55 ขอ้ หมวดที่ เป็นหลักและมีความส�ำคัญได้แก่ หมวดท่ี 1 ว่าด้วยวัตถุประสงค์และ หลักการของอาเซียน โดยมสี าระสำ� คัญๆ สรปุ ไดด้ ังนี้ 1) หลักการของกฎบัตรอาเซียน ตั้งอยู่บนพ้ืนฐานของกฎหมาย ระหวา่ งประเทศ เชน่ การไมแ่ ทรกแซงกจิ การภายใน การระงบั ขอ้ พพิ าทโดย สันติวิธี โดยเน้นการรวมศูนย์กับความสัมพันธ์กับภายนอก เป็นเหตุให้ กฎบัตรอาเซียนเป็นเสมือนเสาหลักของการสร้างประชาคมอาเซียน และ เนน้ ยำ�้ ถงึ ขอ้ ผูกมัดทางกฎหมายของข้อตกลงต่างๆ ในระหว่างรัฐสมาชิก 2) วัตถุประสงค์ของกฎบัตรอาเซียน เป็นการประมวลบรรทัดฐาน (Norm) และคา่ นยิ ม (Value) ของอาเซียน ซงึ่ ประกอบด้วย การคุ้มครอง สิทธมิ นษุ ยชนและเสรีภาพข้นั พื้นฐาน การเสริมสร้างประชาธปิ ไตย เพ่มิ พูน ธรรมาภิบาลและหลักนิติธรรม ตอบสนองต่อสิ่งท้าทายความมั่นคง เช่น การก่อการร้ายการรักษาและเพ่ิมพูนสันติภาพ ความม่ันคง เสถียรภาพ การเพ่ิมความร่วมมือด้านการเมือง ความม่ันคง เศรษฐกิจและสังคม

สมชาติ เจศรีชยั 11 วฒั นธรรม เปน็ เขตปลอดอาวธุ นวิ เคลยี รแ์ ละอาวธุ ทม่ี อี านภุ าพทำ� ลายลา้ งสงู การสร้างตลาดและฐานการผลิตเดียวและความสามารถในการแข่งขันสูง การรวมตวั ทางเศรษฐกจิ ทม่ี กี ารเคลอ่ื นยา้ ยเสรขี องสนิ คา้ /บรกิ าร การลงทนุ และแรงงาน การเคลื่อนย้ายทุนเสรียิ่งข้ึน การบรรเทาความยากจน และ ลดชอ่ งวา่ งการพฒั นา สง่ เสรมิ การพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ยผ์ า่ นความรว่ มมอื ด้านการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีพ การส่งเสริมอาเซียนให้เป็นองค์กร ระหวา่ งรฐั บาลทม่ี ปี ระชาชนเปน็ ศนู ยก์ ลาง สรา้ งสงั คมทป่ี ลอดภยั มน่ั คงจาก ยาเสพติด เพิ่มพูนความกินดีอยู่ดีของประชาชนอาเซียน ผ่านโอกาสที่ ทัดเทียมกันในการเข้าถึงการพัฒนามนุษย์ สวัสดิการ และความยุติธรรม สนับสนุนการพัฒนาอย่างย่ังยืนท่ีคุ้มครองสภาพแวดล้อม ความยั่งยืนของ ทรพั ยากรธรรมชาติ ตลอดจนการสง่ เสริมอตั ลักษณข์ องอาเซยี นโดยเคารพ ความหลากหลายและอนรุ กั ษ์มรดกทางวฒั นธรรม จากกฎบัตรอาเซียนในหมวดท่ี 1 ท�ำให้เราเห็นภาพรวมของการ ก่อตั้งอาเซียนว่าจะมีทิศทางการด�ำเนินการไปในแนวทางใด กล่าวคือ อาเซยี นไมไ่ ดม้ งุ่ เนน้ ไปในทางเศรษฐกจิ อยา่ งเดยี วเหมอื นกบั องคก์ าร OPEC (Organization of the Petroleum Exporting Countries) ที่มุ่งไปทีด่ า้ น กิจการการค้าน้�ำมันแต่เพียงด้านเดียว โดยมุ่งเน้นความม่ันคงในแง่รายได้ ของรฐั สมาชกิ และความมน่ั คงในการสำ� รองนำ�้ มนั ใหก้ บั ลกู คา้ หรอื องคก์ าร NATO (The North Atlantic Treaty Organization) ซง่ึ เนน้ การปอ้ งกนั ร่วมกันของรัฐสมาชิกท่ีจะตอบโต้การโจมตีจากภายนอกรัฐสมาชิก จึงเป็น องค์การระหว่างประเทศที่มีจุดมุ่งหมายเพ่ือความมั่นคงของรัฐสมาชิกโดย แท้ แตถ่ า้ จะเทยี บเคียงก็คอื สหภาพยุโรป หรือ EU (European Union) ซึ่งมีการรวมกลมุ่ กันเป็นกลุ่ม ECSC (The European Coal and Steel Community) ในปี พ.ศ. 2494 (ค.ศ. 1951) และ EEC (The European Economic Community) ในปี พ.ศ. 2501 ต่อมาได้พัฒนามาเป็น EU

12 การเมือง - การเลอื กตง้ั ไทยและประเทศในอาเซยี น (The European Union) ในปี พ.ศ. 2536 (ค.ศ. 1993) โดยสหภาพยุโรป ได้พฒั นาตลาดเดยี ว (single market) ผา่ นระบบกฎหมายทเ่ี ป็นมาตรฐาน ซึ่งใช้บังคับในรัฐสมาชิกทุกรัฐ ในพื้นท่ีเชงเก็น (รวม 22 รัฐสหภาพยุโรป และ 4 รัฐนอกสหภาพยุโรป) มีการยกเลิกการควบคุมหนังสือเดินทาง นโยบายสหภาพยุโรปมุ่งประกันการเคล่ือนย้ายบุคคล สินค้า บริการและ ทุนอย่างเสรี ตรากฎหมายในกิจการยุติธรรมและกิจการภายในสหภาพ และคงไวซ้ งึ่ นโยบายการคา้ เกษตรกรรม การประมงและการพฒั นาภมู ภิ าค ร่วมกัน มีระบบยูโรโซน ซึ่งเป็นสหภาพการเงิน ได้รับการจัดต้ังขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2542 ประกอบด้วยรัฐสมาชิก 17 ประเทศ สหภาพยุโรปได้พัฒนา บทบาทในความสัมพันธ์ภายนอกและการป้องกันผ่านนโยบายการต่าง ประเทศและความมั่นคงร่วม มีการสถาปนาคณะผู้แทนทางการทูตถาวร ท่วั โลก มผี แู้ ทนของสหภาพยโุ รปทส่ี หประชาชาติ องค์การการค้าโลก จี 8 และ จี 20 (อ้างอิงจาก European Commission. “The EU Single Market: Fewer barriers, more opportunities”. Europa web portal) โดยนัยดังกล่าว อาเซียนจึงนับเป็นการรวมกลุ่มและมีการพัฒนาความ รว่ มมอื ไปสปู่ ระชาคมได้ตามตัวแบบของสหภาพยโุ รป (EU) หรอื ไม่ หรอื จะ มีพัฒนาการเปน็ ของตนเองจงึ นบั วา่ เป็นเรอื่ งทา้ ทายอย่างยงิ่ กฎบัตรอาเซียนเป็นกฎเกณฑ์การอยู่ร่วมกันของประเทศต่างๆ ใน ภูมิภาคนี้ท่ีมีความใกล้ชิดติดกัน เพราะการมีกฎเกณฑ์ท่ีเรียกว่า “กฎบัตร อาเซียน” เป็นความจ�ำเป็นส�ำหรับการบริหารจัดการองค์กรรัฐสมาชิกท่ีมี ประชากรกวา่ 600 ล้านคน เร่ืองการปรึกษาหารือและฉันทามติ รวมทั้งการอนุวัติและข้ันตอน ด�ำเนินการ เป็นส่วนของการตัดสินใจร่วมกันของรัฐสมาชิก โดยหลักการ พ้ืนฐาน ให้การตัดสินใจของอาเซียนอยู่บนพื้นฐานของการปรึกษาหารือ และฉันทามติ หากไม่สามารถหาฉนั ทามตไิ ด้ ที่ประชมุ สุดยอดอาเซียนอาจ

สมชาติ เจศรีชัย 13 ตัดสินว่า การตัดสินใจเฉพาะเร่ืองหน่ึงเร่ืองใดจะสามารถท�ำได้อย่างไร ส่วนการอนุวัติและข้ันตอนการด�ำเนินงานน้ัน ให้คณะมนตรีประชาคม อาเซยี นแต่ละคณะบัญญตั ิกฎว่าด้วยข้นั ตอนการดำ� เนนิ งานของตนเอง ส่วนเรื่องการระงับข้อพิพาท หลักท่ัวไปในการระงับข้อพิพาท กฎบัตรก�ำหนดให้รัฐสมาชิกต้องพยายามที่จะระงับข้อพิพาททั้งปวง อยา่ งสนั ตใิ หท้ นั ทว่ งที โดยผา่ นการสนทนา การปรกึ ษาหารอื และการเจรจา กับท้ังให้อาเซียนจัดต้ังและธ�ำรงไว้ซ่ึงกลไกการระงับข้อพิพาทในทุกสาขา ความรว่ มมอื ของอาเซียน รฐั สมาชกิ ทีเ่ ปน็ คกู่ รณใี นข้อพิพาทอาจจะตกลง กนั เมอื่ ใดกไ็ ดท้ จ่ี ะใชค้ นกลางทมี่ ตี ำ� แหนง่ หนา้ ทนี่ า่ เชอ่ื ถอื การประนปี ระนอม หรอื การไกลเ่ กลยี่ เพอื่ ระงบั ขอ้ พพิ าทภายในระยะเวลาทต่ี กลงกนั รฐั สมาชกิ อาเซยี นมขี อ้ พพิ าทกนั สว่ นใหญจ่ ะเปน็ ปญั หาเขตแดนทไี่ มช่ ดั เจน หรอื ปญั หา การทับซ้อนในแดนกรรมสิทธิ์ของไหล่ทวีป เพราะเม่ือรัฐสมาชิกไปตีความ เรอื่ งไหล่ทวีปคลาดเคล่อื น ต่างฝา่ ยต่างถือเอาเขตแดนที่ตวั เองเข้าใจไปเอง ว่าผนื ดิน เกาะ หรอื เกาะแก่งกลางลำ� นำ้� เปน็ กรรมสทิ ธิข์ องตน จะด้วยเหตุ ของความอุดมสมบูรณ์ในแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ (น้�ำมัน ก๊าซ สัตว์น้�ำ) หรือไม่ก็ตาม ล้วนท�ำให้เกิดความขัดแย้งได้ อาทิ หมู่เกาะสแปรทลีย์ (Spratly Islands) และหมู่เกาะพาราเซล (Paracel Islands) ที่อยู่ใน ทะเลจีนใต้ ซ่งึ ทัง้ จนี ฟลิ ิปปินส์ มาเลเซีย และเวียดนามตา่ งก็อา้ งสทิ ธ์เิ หนอื หมเู่ กาะดงั กลา่ ว อีกเร่ืองที่มีความส�ำคัญไม่น้อยในการด�ำเนินงานขององค์การ ได้แก่ ระบบการงบประมาณและการเงินอาเซียน จะต้องก�ำหนดกฎและข้ันตอน การด�ำเนินงานทางการเงินให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล มีการปฏิบัติตาม นโยบายและแนวปฏบิ ตั ใิ นการบรหิ ารจดั การทางการเงนิ ทดี่ แี ละระเบยี บวนิ ยั ดา้ นงบประมาณ รวมทง้ั บญั ชกี ารเงนิ จะตอ้ งไดร้ บั การตรวจสอบภายในและ ภายนอก งบประมาณจะเปน็ งบประมาณส�ำหรบั การดำ� เนนิ งานและการเงนิ

14 การเมือง - การเลือกต้งั ไทยและประเทศในอาเซยี น ของส�ำนักเลขาธิการอาเซียน ถามว่า งบประมาณท่ีเอามาให้ส�ำนักงาน เลขาธกิ ารใชม้ าจากไหน? คำ� ตอบกค็ อื มาจากรฐั สมาชกิ ในรปู ของเงนิ บรจิ าค ประจำ� ปรี ัฐละเท่าๆ กัน และจะตอ้ งสง่ ใหท้ นั ก�ำหนด เรอื่ งตอ่ ไปกค็ อื การบรหิ ารและขนั้ ตอนการดำ� เนนิ งาน เนอ่ื งจากการ เป็นสมาคมประชาชาติเกิดจากการมาท�ำกิจกรรมร่วมกัน รัฐแต่ละรัฐไม่ว่า จะมีขนาดใหญ่เล็กเพียงใด เศรษฐกิจของประเทศจะเป็นอย่างไร (ถดถอย หรอื เจรญิ เตบิ โต) กจ็ ะมฐี านะเทา่ เทยี มกนั การบรหิ ารสมาคมประชาชาตจิ ะ ตกอยู่ในความรับผิดชอบของประธานอาเซียนซึ่งจะถูกก�ำหนดให้มีการ หมุนเวียนทุกปี บนพื้นฐานของล�ำดับอักษรช่ือภาษาอังกฤษของรัฐสมาชิก ในหน่ึงปีปฏทิ ิน อาเซยี นจะมีต�ำแหนง่ ประธานหนึ่งเดียว โดยรฐั สมาชิกทีร่ บั ต�ำแหน่งประธานนนั้ จะท�ำหน้าทีเ่ ป็นประธานของ (ก) การประชุมสดุ ยอด อาเซียน และการประชุมสุดยอดที่เกี่ยวข้อง (ข) คณะมนตรีประสานงาน อาเซยี น (ค) คณะมนตรีประชาคมอาเซยี นท้งั สามคณะ (ง) องคก์ รระดบั รัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขาและเจ้าหน้าท่ีระดับสูงท่ีเกี่ยวข้อง ตามที่ เหมาะสม และ (จ) คณะกรรมการผ้แู ทนถาวร แม้วา่ ในบางปีเกอื บจะเกดิ วกิ ฤตกิ ารณข์ องการทำ� หนา้ ทป่ี ระธานอาเซยี น เนอ่ื งจากเกดิ ปญั หาการเมอื ง ภายในประเทศของรัฐสมาชกิ นน้ั แต่แลว้ ปัญหาก็ผา่ นพน้ ไปด้วยดี เรอ่ื งถดั มา ได้แก่ อัตลักษณแ์ ละสัญลกั ษณ์ อาเซียนจะต้องสง่ เสริม อัตลักษณ์ร่วมกันของตนและความรู้สึกเป็นเจ้าของในหมู่ประชาชนของตน เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายและคุณค่าร่วมกันของอาเซียน โดยมีค�ำขวัญของ อาเซยี นวา่ “วสิ ัยทัศนเ์ ดยี ว อัตลักษณ์เดยี ว ประชาคมเดยี ว” มธี งตรา- สัญลักษณ์อาเซียน และก�ำหนดให้วันที่ 8 สิงหาคม เป็นวันอาเซียน และมเี พลง The ASEAN Way เป็นเพลงประจ�ำอาเซียน เร่ืองสุดท้าย คือ ความสัมพันธ์ภายนอก หากเป็นองค์กรที่มีฐานะ นิติบุคคล ก็จะต้องบอกด้วยว่า ใครจะกระท�ำแทนนิติบุคคลน้ัน อาเซียน

สมชาติ เจศรชี ยั 15 สามารถทำ� ความตกลงกบั ประเทศ หรอื องคก์ ารและสถาบนั ระดบั อนภุ มู ภิ าค ภมู ภิ าคและระหวา่ งประเทศ กระบวนการทำ� ความตกลงดงั กลา่ วใหก้ ำ� หนด โดยคณะมนตรีประสานงานอาเซียนระหวา่ งประเทศ ทงั้ หมดคอื กฎกตกิ าการอยรู่ ว่ มกนั ภายใตก้ ฎบตั รอาเซยี น นอกจากนี้ ยังอาจมีปฏิญญา แถลงการณ์ หรือความตกลงต่างๆ ท่ีมีผลให้รัฐสมาชิก อาเซยี นต้องถอื ปฏบิ ัตอิ ีกด้วย ประธานอาเซียนและการประชุมสดุ ยอดผูน้ �ำอาเซียน ตามบทบญั ญตั ขิ องกฎบัตรอาเซียน มาตรา 31 “ประธานอาเซียน” เปน็ ตำ� แหนง่ สูงสุดของอาเซียน ด�ำรงตำ� แหนง่ วาระละ 1 ปี โดยกำ� หนดให้ ตำ� แหนง่ ประธานอาเซยี นหมนุ เวยี นกนั ในประเทศสมาชกิ ตามลำ� ดบั ตวั อกั ษร พยัญชนะภาษาอังกฤษของชื่อรัฐสมาชิก รัฐสมาชิกที่เป็นประธานจะเป็น ประธานการประชมุ สดุ ยอดอาเซยี นและการประชมุ สดุ ยอดทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ไดแ้ ก่ สภาประสานงานอาเซยี น มนตรปี ระสานงานอาเซยี น สภาประชาคมอาเซยี น สามสภา องค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขาและข้าราชการอาวุโส คณะกรรมาธิการผู้แทนถาวร และประธานผู้แทนถาวรประจ�ำอาเซียน ซ่ึง การประชุมสุดยอดอาเซียนถูกจัดข้ึนเป็นคร้ังแรกในเดือนกุมภาพันธ์ ปี ค.ศ. 1976 (พ.ศ. 2519) ทจ่ี งั หวดั บาหลี ประเทศอนิ โดนเี ซยี ซง่ึ ไดม้ ปี ระเทศ สมาชิกจดั การประชมุ สุดยอดอาเซยี นไปแล้วดังนี้ ครง้ั ท่ี 2 ค.ศ. 1977 (พ.ศ. 2520) – มาเลเซยี ครง้ั ที่ 3 ค.ศ. 1987 (พ.ศ. 2530) – ฟิลปิ ปนิ ส์ ครั้งที่ 4 ค.ศ. 1992 (พ.ศ. 2535) – สิงคโปร์ ครั้งท่ี 5 ค.ศ. 1995 (พ.ศ. 2538) – ไทย คร้งั ที่ 6 ค.ศ. 1998 (พ.ศ. 2541) – เวียดนาม

16 การเมอื ง - การเลอื กตง้ั ไทยและประเทศในอาเซยี น ครง้ั ที่ 7 ค.ศ. 2001 (พ.ศ. 2544) – บรไู นฯ ครั้งที่ 8 ค.ศ. 2002 (พ.ศ. 2545) – กมั พูชา ครง้ั ท่ี 9 ค.ศ. 2003 (พ.ศ. 2546) – อินโดนเี ซยี ครง้ั ที่ 10 ค.ศ. 2004 (พ.ศ. 2547) – ลาว ครง้ั ท่ี 11 ค.ศ. 2005 (พ.ศ. 2548) – มาเลเซีย ครง้ั ท่ี 12 ค.ศ. 2007 (พ.ศ. 2550) – ฟลิ ิปปินส์ ครง้ั ท่ี 13 ค.ศ. 2007 (พ.ศ. 2550) – สิงคโปร์ ครง้ั ท่ี 14 ค.ศ. 2009 (พ.ศ. 2552) – ไทย ครง้ั ที่ 15 ค.ศ. 2009 (พ.ศ. 2552) – ไทย ครง้ั ท่ี 16 ค.ศ. 2010 (พ.ศ. 2553) – เวียดนาม ครง้ั ที่ 17 ค.ศ. 2010 (พ.ศ. 2553) – เวียดนาม คร้ังท่ี 18 ค.ศ. 2011 (พ.ศ. 2554) – อินโดนีเซยี ครงั้ ที่ 19 ค.ศ. 2011 (พ.ศ. 2554) – อนิ โดนีเซีย ครั้งที่ 20 และ 21 ค.ศ. 2012 (พ.ศ. 2555) – กมั พชู า ครั้งท่ี 22 และ 23 ค.ศ. 2013 (พ.ศ. 2556) – บรไู นฯ คร้งั ท่ี 24 ค.ศ. 2014 (พ.ศ. 2557) – เมียนมาร์ ครั้งท่ี 25 ค.ศ. 2015 (พ.ศ. 2558) – มาเลเซยี ครั้งที่ 26 ค.ศ. 2016 (พ.ศ. 2559) – ลาว ตามกฎบัตรอาเซยี น มาตรา 32 ระบุถึงบทบาทประธานอาเซยี น ไวด้ ังนี้ 1. ส่งเสริมและเพ่ิมพูนประโยชน์และความเป็นอยู่ที่ดีของอาเซียน อย่างแข็งขัน รวมถึงความพยายามในการสร้างประชาคมอาเซียน โดยการ

สมชาติ เจศรชี ยั 17 ริเรม่ิ ทางนโยบาย การประสานงานฉันทามติและความรว่ มมอื 2. ทำ� ใหแ้ นใ่ จถึงความเป็นศูนยร์ วมของอาเซยี น 3. ท�ำให้แน่ใจถึงการตอบสนองต่อประเด็นเร่งด่วนหรือสถานการณ์ วิกฤติที่มีผลกระทบต่ออาเซียนอย่างมีประสิทธิภาพและทันท่วงที รวมถึง เป็นคนกลางท่ีน่าเช่ือถือและจัดให้มีการจัดการอื่น เช่น เพื่อตอบสนอง ขอ้ กังวลเหล่านี้โดยทันที 4. เปน็ ผแู้ ทนอาเซยี นในการเสรมิ สรา้ งและสง่ เสรมิ ความสมั พนั ธก์ บั ห้นุ ส่วนภายนอกภมู ิภาคใหใ้ กลช้ ิดย่งิ ขนึ้ 5. ปฏิบัตภิ ารกจิ และหนา้ ทอ่ี ื่นท่ีอาจไดร้ ับมอบหมาย การประชุมสุดยอดอาเซียน (ASEAN Summit) เป็นการประชุม ประจ�ำปีท่ีจัดขึ้นโดยสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations) หรือ อาเซียน (ASEAN) ภายใต้หัวข้อทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของประเทศสมาชิก โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้แนวทางในการด�ำเนินกิจกรรมความร่วมมือต่างๆ ของเหลา่ สมาชิก ในทปี่ ระชมุ สดุ ยอดผู้น�ำอาเซยี นและการประชุมเกีย่ วข้อง อนื่ ๆ ผูน้ ำ� ชาตสิ มาชกิ อาเซยี นจะหารือกันกับคู่เจรจา และผนู้ ำ� ของค่เู จรจา อาเซียน เพื่อหารือถึงความร่วมมือในหลากหลายประเด็นในกรอบความ มน่ั คงทางการเมือง เศรษฐกิจ และสงั คมวฒั นธรรม โดยเฉพาะในประเด็นที่ เก่ยี วขอ้ งกับประเทศสมาชิกกับประเทศค่เู จรจาโดยตรงของอาเซียน อันจะ เป็นการแก้ไขประเด็นปัญหาด่วนที่ส่งผลกระทบในพ้ืนที่ อย่างไรก็ดี ที่ ประชุมสุดยอดอาเซียนมักจะหลีกเล่ียงประเด็นความขัดแย้งภายในของ ประเทศสมาชิก เพราะถือเป็นกิจการภายในของแต่ละประเทศ รวมท้ัง ความขัดแยง้ ระหว่างประเทศสมาชกิ ด้วยกัน เลขาธิการอาเซียน (Secretariat-General) เป็นหัวหน้าส�ำนัก เลขาธกิ ารอาเซยี น (ASEAN Secretariat) ซ่ึงตงั้ อย่ทู ี่กรุงจาการต์ า ประเทศ

18 การเมอื ง - การเลอื กต้งั ไทยและประเทศในอาเซียน อินโดนีเซีย มีหน้าท่ีก�ำกับดูแลงานของอาเซียนในภาพรวม อ�ำนวยความ สะดวก ดแู ลความคบื หนา้ ในการดำ� เนนิ งานตามความตกลงและขอ้ ตดั สนิ ใจ ของอาเซียน เสนอรายงานประจ�ำปีเกี่ยวกับงานและข้อคิดเห็นของ อาเซียน เข้าร่วมการประชุมกับประเทศคู่เจรจาตามแนวนโยบายที่ได้รับ ความเห็นชอบ และตามอ�ำนาจหน้าท่ีที่ได้รับมอบหมาย และเป็นผู้แทน (representative) ของอาเซยี นในเวทีระหวา่ งประเทศ เลขาธกิ ารอาเซยี น ได้รบั การแต่งต้ังจากท่ีประชมุ สดุ ยอดอาเซยี น (ASEAN Summit) จากการ เสนอชื่อของประเทศที่มีสิทธิในการเสนอช่ือผู้สมัคร ใช้หลักการเวียนตาม ตัวอักษรภาษาอังกฤษของประเทศสมาชิก เลขาธิการอาเซียนจะด�ำรง ต�ำแหน่งได้เพียงสมัยเดียว และไม่สามารถต่ออายุได้ (non-renewable term) มีระยะเวลาการด�ำรงต�ำแหน่ง 5 ปี ทั้งนี้ ในช่วงปี 2556-2560 (ค.ศ. 2013-2017) นายเล เลอื ง มนิ ห์ (Le Luong Minh) จากเวียดนาม ด�ำรงต�ำแหน่งเลขาธิการอาเซียนต่อจาก ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ ของไทย ซ่ึงดำ� รงต�ำแหนง่ ในชว่ งปี 2551-2555 (ค.ศ. 2008-2012)

สมชาติ เจศรชี ยั 19 บทท่ี 2 ระบบการเมืองการปกครอง การอยู่ร่วมกันของมนุษย์ออกจะเป็นเรื่องธรรมดาอย่างมาก ดังท่ี อริสโตเติล นักปราชญ์ชาวกรีก  กล่าวว่า “มนุษย์เป็นสัตว์สังคม (Social Animal)” หมายความว่า โดยธรรมชาติแล้วมนุษย์ไม่สามารถอยู่ ล�ำพังเพียงคนเดียวได้ต้องอาศัยอยู่รวมกันเป็นหมู่คณะ พ่ึงพาอาศัยและ อยู่ภายใต้ระเบียบกฎเกณฑ์เดียวกัน มนุษย์จึงได้รวมตัวกันสร้างวัฒนธรรม ขน้ึ แม้ว่าการรวมกันเป็นสมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จะ เปน็ การรวมกลมุ่ ของรฐั ทอ่ี ยใู่ นภมู ภิ าคเดยี วกนั แตโ่ ดยตามสภาพภมู ศิ าสตร์ แล้วส่วนใหญ่ก็จะมีอาณาเขตติดต่อกันอยู่บนพื้นแผ่นดินใหญ่ ได้แก่ ไทย มาเลเซยี เมยี นมาร์ ลาว เวยี ดนาม และกัมพชู า สว่ นอีก 4 ประเทศท่เี ป็น หมู่เกาะ ได้แก่ อินโดนีเซยี สิงคโปร์ ฟิลิปปนิ ส์ และบรไู น ซึง่ ท้ัง 10 ประเทศ นี้ มีสภาพภมู อิ ากาศท่คี ล้ายคลึงกัน ประชาชนมคี วามคนุ้ เคยเดนิ ทางไปมา หาสู่กันด้วยเหตุที่มีภาษาและวัฒนธรรมท่ีใกล้เคียงกัน พอที่จะสื่อสาร ท�ำความเขา้ ใจกันได้ อย่างไรก็ดี เม่ือพิจารณาลึกลงไปแล้วจะเห็นได้ว่ารัฐสมาชิกของ อาเซียนทั้ง 10 ประเทศกม็ คี วามต่างกนั เห็นไดช้ ัด โดยสามารถแยกออกได้ เป็น 4 กลุ่มหลักๆ ได้แก่ ด้านการเมืองการปกครอง ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ศาสนา และวัฒนธรรม และด้านจิตวิทยาความม่ันคงและ

20 การเมอื ง - การเลือกตั้งไทยและประเทศในอาเซยี น เทคโนโลยี และความแตกต่างนี่เองที่ท�ำให้เมื่อจะต้องมีการก�ำหนด กฎเกณฑ์ต่างๆ ท่ีต้องการน�ำมาใช้เป็นแนวทางปฏิบัติของคนในรัฐสมาชิก จงึ ต้องการความยืดหยุ่น และท�ำความเขา้ ใจกนั ให้มากๆ ดงั นน้ั การเรยี นรู้ ซง่ึ กันและกันของชนในแต่ละชาติ จงึ เป็นสิ่งสำ� คญั การสรา้ งกระบวนการเรยี นรู้ ทำ� ความเขา้ ใจในความแตกตา่ งระหวา่ ง รฐั สมาชกิ อาเซยี น กเ็ พอ่ื ทำ� ใหก้ ารอยรู่ ว่ มกนั เปน็ ประชาคมอาเซยี น (ASEAN Community) บรรลุผลในปลายปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) เร่ืองแรกทคี่ วร ศกึ ษาทำ� ความเขา้ ใจ คอื การเมอื งการปกครอง เพราะเปน็ ภาพสะทอ้ นความ เปน็ ไปภายในรฐั นนั้ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี จากนน้ั กจ็ ะเปน็ ดา้ นเศรษฐกจิ ดา้ นสงั คม ศาสนาและวฒั นธรรม และดา้ นสงั คมจติ วทิ ยาและความมนั่ คงไลเ่ รยี งกนั ไป ตามล�ำดบั ระบอบการเมอื งการปกครอง เมอื่ กลา่ วถงึ ระบบการเมอื งการปกครองของรฐั สมาชกิ อาเซยี น ถา้ ให้ เขา้ ใจกนั ง่ายๆ ก็จะขอแสดงด้วยแผนภาพ ดังนี้ ประเทศ แบบ แบบกง่ึ เผด็จการหรือเผดจ็ การ ระบอบ ประชาธปิ ไตย บรไู นดารสุ ซาลาม สมบูรณาญา- สทิ ธริ าชย์ ราชอาณาจักร รัฐสภา กัมพูชา ประธานาธบิ ดี สาธารณรฐั อนิ โดนีเซยี

สมชาติ เจศรีชยั 21 ประเทศ แบบ แบบกึง่ เผดจ็ การหรอื เผด็จการ ระบอบ ประชาธปิ ไตย สังคมนยิ ม ปกครองโดยพรรค สาธารณรัฐ คอมมวิ นสิ ต์ ประชาธปิ ไตย ประชาชนลาว สงั คมนยิ ม ปกครองโดยพรรค มาเลเซีย รัฐสภา คอมมวิ นสิ ต์ สาธารณรฐั แหง่ ประธานาธบิ ดี สหภาพเมยี นมาร์ สาธารณรัฐ ประธานาธิบดี ฟิลิปปนิ ส์ สาธารณรฐั สงิ คโปร์ รฐั สภา ราชอาณาจักรไทย รฐั สภา สาธารณรฐั สังคมนยิ มเวียดนาม จากแผนภาพแสดงใหเ้ หน็ วา่ รฐั สมาชกิ อาเซยี นสว่ นใหญจ่ ะใชร้ ะบอบ การปกครองแบบประชาธปิ ไตย ประกอบดว้ ย กมั พชู า อนิ โดนเี ซยี มาเลเซยี เมียนมาร์ ฟิลิปปินส์ ไทย และสงิ คโปร์ รวม 7 ประเทศ สว่ นอีก 3 ประเทศ ประกอบด้วย ลาวและเวียดนาม ใช้การปกครองประเทศแบบสังคมนิยม ปกครองโดยพรรคคอมมวิ นิสต์ ในขณะทบี่ รูไนดารสุ ซาลาม ใชก้ ารปกครอง ระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชย์ การที่รัฐสมาชิกของอาเซียนมีระบอบการเมืองการปกครองแตกต่าง กนั แมส้ ว่ นใหญจ่ ะเปน็ ระบอบประชาธปิ ไตยเหมอื นกนั แตก่ ย็ งั แบง่ ยอ่ ยออก

22 การเมอื ง - การเลือกตัง้ ไทยและประเทศในอาเซยี น เป็นระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา (Parliamentary system) ได้แก่ กมั พชู า มาเลเซยี ไทย และสิงคโปร์ กับแบบประธานาธบิ ดี (Presidential system) ไดแ้ ก่ อนิ โดนเี ซยี เมียนมารแ์ ละฟลิ ิปปินส์ สว่ นลาวและเวยี ดนาม ก็ใช้การปกครองท่ีเป็นสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ ในขณะที่บรูไนดารุสซาลาม ยังคงใช้ระบอบกษัตริย์ในการปกครองแบบเบ็ดเสร็จเด็ดขาดเพียงประเทศ เดียวอย่างเหนียวแน่น ท่ีเป็นเช่นน้ีเพราะประวัติศาสตร์ทางการเมือง (Political history) ของแตล่ ะประเทศแตกตา่ งกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งหาก สืบค้นย้อนกลับไปในอดีตก็จะพบว่าหลายประเทศในภูมิภาคน้ีล้วนแล้วแต่ ตอ้ งต่อสู้กับลทั ธอิ าณานิคม (colonialism) ทง้ั ส้ิน และเม่อื เจา้ อาณานคิ ม ปกครองประเทศเหลา่ น้ีก็มักจะวางรูปแบบการปกครองของตนไว้ ในขณะที่ลาวและเวียดนามแม้จะใช้ระบอบการปกครองที่เป็น สังคมนิยมคอมมิวนิสต์ก็ตาม แต่เมื่อสังคมโลกเปล่ียนไป ความเป็น ประชาธิปไตย (Democratization) ตามแบบตะวันตกก็มีมากข้ึนอันเป็น ผลสืบเน่ืองมาจากแรงกดดันของระบบเศรษฐกิจการค้าของโลก ท�ำให้เกิด การผ่อนคลายมากข้ึนจากท่ีเคยเคร่งครัดกับระบบเศรษฐกิจสังคมนิยม โดยผอ่ นปรนกบั ระบบเศรษฐกจิ แบบเสรที นุ นยิ มเมอื่ ตอ้ งมกี ารตดิ ตอ่ ในทาง เศรษฐกจิ การคา้ ระหวา่ งประเทศ โดยหากพจิ ารณาเทยี บเคยี งกบั สาธารณรฐั ประชาชนจนี ซึง่ เป็นเจา้ แห่งหลกั การ “หนงึ่ ประเทศสองระบบ” กล่าวคือ การแยกระบบการเมืองและระบบเศรษฐกิจออกจากกัน เพ่ือมิให้เป็น อุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศ โดยระบบเศรษฐกิจเป็นแบบเสรีทุนนิยม แต่ยังคงไว้ซ่ึงระบบการเมืองแบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ที่เน้นศูนย์กลาง การปกครองอย่ทู พี่ รรคคอมมิวนิสต ์ อย่างไรก็ดี เม่ือพิจารณาในแง่ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ในรัฐสมาชิกด้วยกันก็จะพบว่า ในอดีตจนถึงปัจจุบัน มีปัญหาข้อพิพาท อาณาเขต (territorial dispute) ซง่ึ เปน็ พ้นื ที่ชายแดน (borderland) และ

สมชาติ เจศรชี ยั 23 ข้อพิพาทตำ� แหนง่ (positional dispute) อนั เป็นขอ้ พพิ าททีเ่ ก่ียวข้องกบั ตำ� แหนง่ ทตี่ งั้ ทแี่ ทจ้ รงิ ของเสน้ เขตแดน ซงี่ หลายกรณขี อ้ พพิ าทไดถ้ กู ระงบั ไป แล้ว แต่ยังมีบางกรณีท่ีเป็นข้อพิพาทเขตแดนท่ียังด�ำเนินการแก้ปัญหาอยู่ อาทิ (อ้างอิงจาก อัครพงษ์ ค่�ำคูณ วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) พม่ากับไทย กรณีพิพาทเขตแดนทางบก ความยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ท่ียังไม่ได้ส�ำรวจและปักปัน กัมพูชากับ เวยี ดนาม กรณพี พิ าทเขตแดนทางบกและทางทะเล ซง่ึ มปี ญั หาพนื้ ทที่ บั ซอ้ น ในทะเลอา่ วไทย มาเลเซียกบั ฟิลปิ ปินส์ กรณีพิพาทเขตแดนบรเิ วณ ทะเล ซลู ู (Sulu Sea) ทะเลเซลเี บส (Celebes Sea) และทะเลจีนใต้ กรณีพิพาท หมู่เกาะสแปรตลีย์ (Spratly Archipelago) เป็นหมู่เกาะใหญ่ที่สุด ในทะเลจีนใต้ ซ่ึงอุดมไปด้วยน้�ำมัน ก๊าซธรรมชาติ แร่ธาตุ และสัตว์น�้ำ (ปลาทูน่า) โดยมีจีน ไต้หวัน เวียดนาม ต่างก็อ้างกรรมสิทธ์ิเหนือหมู่เกาะ ดงั กล่าว รวมทง้ั ปัญหาดนิ แดนในรัฐ

24 การเมอื ง - การเลือกตง้ั ไทยและประเทศในอาเซยี น ซาบาร์ (Sabah) ท่ฟี ลิ ปิ ปนิ สอ์ ้างสทิ ธ์คิ วามเป็นเจา้ ของ อินโดนีเซยี กบั มาเลเซีย พพิ าทเขตไหลท่ วีปทางตะวนั ตกของทะเลเซลีเบส (Celebes Sea) ซง่ึ ยงั ไมม่ กี ารปกั ปนั นอกจากนย้ี งั กรณพี พิ าทเขตแดนทางทะเลบรเิ วณ เขตเศรษฐกิจจ�ำเพาะ (EEZ area) ในช่องแคบมะละกา บางส่วนของ ทะเลจีนใต้ทางตอนเหนือของตันจง ดาตู (Tanjong Datu) ทะเลเซลีเบส (Celebes Sea) ไทยกบั กัมพูชา เรือ่ ง การขึน้ ทะเบยี นมรดกโลกปราสาท พระวิหารที่ศาลโลกมีค�ำพิพากษาให้ปราสาทพระวิหารต้ังอยู่ในอาณาเขต ภายใต้อธิปไตยของกัมพูชา โดยฝ่ายกัมพูชาได้มีค�ำขอให้ศาลโลกตีความ ค�ำพพิ ากษาเมือ่ ปี พ.ศ. 2505 (ค.ศ. 1962) ถึงขอบขา่ ยและความหมายของ ค�ำพิพากษาดังกล่าว นอกจากนี้ยังมีปัญหาการกระทบกระท่ังกับประเทศ นอกอาเซียนที่อยู่ในกลุ่มประเทศที่อาเซียนเชิญเข้าร่วมเจรจาด้วย อาทิ ปัญหาการอ้างสิทธิเหนือพื้นที่ทับซ้อนหมู่เกาะปะการังสการ์โบโรห์ใน ทะเลจีนใต้ระหวา่ งจนี กบั ฟลิ ปิ ปนิ ส์ ส่วนการก�ำหนดนโยบายสาธารณะของ รัฐบาลแห่งรัฐสมาชิกท่ีเข้ามาบริหารประเทศก็จะเน้นการไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยว กับกิจการภายในของประเทศเทศอยแู่ ล้ว จากท่ีกล่าวมาแล้วจะเห็นได้ว่า ในประเด็นความแตกต่างของระบบ การเมืองการปกครองมิได้เป็นปัญหาในการอยู่ร่วมกันเพ่ือด�ำเนินตาม พนั ธกจิ ของอาเซียนแตอ่ ย่างใด เนือ่ งจากตามกฎบัตรอาเซยี นก็มกี ารระบุไว้ ว่า รัฐสมาชิกจะไม่เข้าไปยุ่งเก่ียวแทรกแซงกิจการภายในซึ่งกันและกัน หรอื ทเ่ี รยี กวา่ วถิ อี าเซยี น (ASEAN Way) ปญั หาทแ่ี ทจ้ รงิ จงึ นา่ จะเปน็ ปญั หา ทางดา้ นเขตแดนระหว่างกนั และข้อพพิ าทเหนอื การพัฒนาทรัพยากร ซงึ่ มี ผลประโยชนท์ างดา้ นทรพั ยากรธรรมชาตทิ ม่ี กี ารอา้ งกรรมสทิ ธเิ์ หนอื ดนิ แดน นั้นๆ อยเู่ ปน็ อันมาก นอกจากน้ี ยงั มีปญั หาท่เี กิดข้ึนเฉพาะภายในแตล่ ะรัฐ สมาชิกด้านเสถียรภาพทางการเมืองท่ีมีการเปลี่ยนแปลงการเข้าสู่อ�ำนาจท่ี ไม่เป็นไปตามระบบการปกครองของประเทศนั้นๆ อย่างสันติมากกว่า

สมชาติ เจศรชี ยั 25 ตลอดจนปัญหาเสถียรภาพของรัฐบาลท่ีท�ำให้นโยบายของรัฐสมาชิกน้ันมี การเปล่ียนแปลงไปมาไม่แน่นอน เป็นความยากล�ำบากของรัฐสมาชิกอ่ืน ท่ีต้องท้ังปรับตัวและท�ำความเข้าใจกับนโยบายของรัฐบาลประเทศนั้นท่ีมี การเปลยี่ นแปลงบอ่ ยครงั้ เนการา บรไู น ดารสุ ซาลาม (Negara Brunei Darussalam) เนการา บรูไน ดารุสซาลาม เป็นประเทศที่มีการปกครองแบบ ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ (Constitutional Monarchy) โดยองค์ สุลตา่ นเปน็ ผู้นำ� ของประเทศและเปน็ ผนู้ ำ� รัฐบาล ภายใตห้ ลักการ Melayu Islam Berraja (MIB) คือ มลายู อสิ ลาม และพระมหากัตริย์ บรไู นมีสภา ทปี่ รกึ ษา และคณะรฐั มนตรคี อยใหค้ วามชว่ ยเหลอื และใหค้ ำ� ปรกึ ษา แตไ่ มม่ ี สภานติ บิ ญั ญตั ิหรือสภาผู้แทนราษฎร นับแต่ปี พ.ศ. 2527 (ค.ศ. 1984) ซง่ึ เป็นปที ไ่ี ด้รับเอกราชจากองั กฤษ ในปี พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) องคส์ ุลต่าน ได้มีการประชุมเพ่ือก�ำหนดให้มีรัฐสภา (Parliament) ส่วนการปกครองก็ แบง่ เปน็ เขตการปกครอง (Daerah) เทศบาล ต�ำบล และหมู่บ้าน โดยทำ� หน้าท่ีให้บริการสาธารณะบางประการเท่าน้ัน อาทิ การจ่ายเงินสวัสดิการ แกป่ ระชาชน การศาสนา การรวมชาวบ้านพฒั นาหมู่บ้าน เป็นต้น จึงไม่มี การกระจายอำ� นาจทางการเมืองลงไปยังระดับต่างๆ ราชอาณาจกั รกัมพชู า (The Kingdom of Cambodia) ภายหลังจากเขมรแดงถูกขับไล่พ้นจากอ�ำนาจในปี 2518 กัมพูชา ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย โดยมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ภายใตร้ ฐั ธรรมนญู (ปจั จบุ นั คอื พระบาทสมเดจ็ พระบรมนาถนโรดม สหี มนุ )ี ทรงข้นึ ครองราชยเ์ มอ่ื วนั ท่ี 14 ตลุ าคม 2547 และมนี ายกรฐั มนตรีเปน็ ผนู้ �ำ ประเทศคอื สมเดจ็ ฮุน เซน โดยดำ� รงตำ� แหน่งวาระละ 5 ปี กมั พูชาปกครอง

26 การเมอื ง - การเลอื กต้งั ไทยและประเทศในอาเซยี น ในระบบรัฐสภา (parliamentary system) เป็นสภาคู่ ประกอบด้วย สภาผู้แทนราษฎร (National Assembly) มีสมาชิกจ�ำนวนไม่น้อยกว่า 120 คน มาจากการเลือกต้ังโดยตรงและลับ มีวาระการด�ำรงต�ำแหน่ง คราวละ 5 ปี ปัจจุบันมีสมาชิก 123 คน และมีสมเด็จกรมพระนโรดม รณฤทธ์ิเป็นประธานสภา กบั วุฒิสภา (Senate) ที่มสี มาชกิ มากสุดไมเ่ กนิ กึ่งหนง่ึ ของสภาผู้แทนราษฎรมาจากการแตง่ ตงั้ โดยพระมหากษตั ริย์ 2 คน เลอื กจากพรรคการเมอื งทไ่ี ดเ้ สยี งขา้ งมากโดยเปรยี บเทยี บ 2 คนและทเี่ หลอื มาจากการเลือกตั้งโดยทางอ้อม มีวาระ 6 ปี (ปัจจุบันมีสมาชิก 61 คน) วฒุ สิ ภามสี มเดจ็ เจยี ซมิ เปน็ ประธานสภา แบง่ การปกครองเปน็ 20 จงั หวดั มปี ระชากรทงั้ สนิ้ 15,783,936 คน (ขอ้ มลู ปจั จบุ นั ณ วนั ท่ี 3 สงิ หาคม 2558) สาธารณรัฐอนิ โดนีเซีย (The Republic of Indonesia) สาธารณรัฐอินโดนีเซียใช้การปกครองระบบประธานาธิบดี (Presi- dential system) น่ันหมายถงึ มีการเลือกต้ังฝ่ายบริหาร คอื ประธานาธิบดี โดยตรง ประชาชนผมู้ สี ทิ ธเิ ลอื กตงั้ จะใชส้ ทิ ธเิ ลอื กตงั้ ประธานาธบิ ดแี ยกตา่ ง หากจากการเลือกตัง้ สมาชิกรฐั สภา (สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิก วุฒิสภา) หลงั การไดเ้ อกราชเมอื่ วนั ท่ี 17 สิงหาคม พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945) ประธานาธบิ ดซี กู ารโ์ น (Sukarno) เปน็ ประธานาธบิ ดคี นแรกของสาธารณรฐั อินโดนีเซีย (Republic of Indonesia) ดร.ซูซิโล บัมบัง ยูโดโยโน (Dr. Susilo Bambang Yudhoyono) ถอื เปน็ ประธานาธบิ ดคี นแรกทมี่ าจาก การเลอื กตัง้ โดยตรง มขี นึ้ เมือ่ วันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2547 (ค.ศ. 2004) การเลอื กตัง้ ในสาธารณรฐั อนิ โดนเี ซียจัดให้มีขนึ้ ตง้ั แต่ปี พ.ศ. 2498 (ค.ศ. 1955) เป็นการเลือกต้ังสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ยังไม่มีการ เลอื กตั้งประธานาธิบดี จนกระท่ังปี พ.ศ. 2547 ต้ังแตน่ ั้นเปน็ ตน้ มา ก็มีการ เลือกต้ังประธานาธิบดีมีวาระการด�ำรงต�ำแหน่งคราวละห้าปี เช่นเดียวกับ

สมชาติ เจศรชี ัย 27 สภาผู้แทนราษฎร จ�ำนวน 550 ที่น่ัง (People’s Representative Council หรอื Dewan Perwakilan Rakyat, DPR) และ สภาผู้แทนราษฎร ระดับภูมิภาค (Regional Representative Council หรือ Dewan Perwakilan Daerah) จ�ำนวน 128 ท่ีนั่ง สภาผู้แทนราษฎรระดับชาติและระดับภูมิภาคได้รับการเลือกตั้งใน ระบบสัดส่วน (proportional representation) เป็นการเลือกตั้งจาก ผู้สมัครในหลายเขตเลือกตั้ง ภายใต้ระบบหลายพรรคการเมือง (multi- party system) ของอนิ โดนเี ซีย ไมม่ พี รรคการเมอื งใดพรรคการเมอื งหนึง่ ท่ีประกันได้ว่าจะสามารถได้รับชัยชนะอย่างเด็ดขาดเพียงพรรคเดียว พรรคการเมืองจึงจ�ำเป็นจะต้องมีการท�ำงานร่วมกันในลักษณะของรัฐบาล ผสม (coalition governments) สาธารณรัฐฟลิ ิปปินส์ (The Republic of the Philippines) ฟิลิปปินส์เป็นรัฐเดี่ยวมีการปกครองเป็นรูปแบบสาธารณรัฐตาม ระบอบประชาธิปไตย มีประธานาธิบดีเป็นประมุขสูงสุดของประเทศและ เปน็ ผนู้ ำ� ฝา่ ยบรหิ าร บรหิ ารงานโดยคณะรฐั มนตรี (Secretaries) ซงึ่ คดั เลอื ก โดยคณะกรรมการเพื่อการแต่งต้ัง (Commission of Appointments) ประกอบดว้ ยวุฒิสมาชกิ 12 คน และสมาชกิ สภาผูแ้ ทนราษฎรท่ีมาจากทง้ั ฝ่ายคา้ นและฝา่ ยรัฐบาลอกี 12 คน มกี ารจดั ระบบบรหิ ารราชการแผ่นดนิ แบ่งออกเป็น 2 ระดับ คือ การบริหารราชการส่วนกลางและการบริหาร ราชการสว่ นทอ้ งถน่ิ ในชว่ งการตกอยภู่ ายใตก้ ารปกครองของสเปนเปน็ เวลา สามศตวรรษกว่า (ค.ศ. 1564-1898) ได้มีการจัดการปกครองใหม่ โดย แบ่งออกเป็นจังหวัดแต่ละจังหวัดแบ่งออกเป็นเมือง แต่ละเมืองประกอบ ด้วยหมู่บ้านหรือบารังไก โดยให้อยู่ภายใต้การปกครองของคาเบซาซ่ึง เป็นผู้น�ำบารังไกมีหน้าท่ีส�ำคัญคือการเก็บภาษีจากประชาชนในหมู่บ้านให้ รัฐบาลสเปน

28 การเมอื ง - การเลอื กตัง้ ไทยและประเทศในอาเซียน สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว (The Lao People’s Democratic Republic) สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว หรอื เรยี กโดยย่อว่า “สปป. ลาว” หรืออาณาจักรล้านช้างในอดีตนับหลายร้อยปี มีการปกครองใน ระบอบกษัตริย์ (Monarchy system) มากอ่ น ภายหลังมกี ารตอ่ สู้แย่งชงิ อ�ำนาจทางการเมืองโดยมีสหภาพโซเวียตและประเทศเพ่ือนบ้านใกล้เคียง อย่างเวียดนามให้การสนับสนุน การเปลี่ยนแปลงการปกครองครั้งหลังสุด ลาวหนั มาใชร้ ปู แบบการปกครองในระบอบสงั คมนยิ มคอมมวิ นสิ ต์ (ทางการ ลาวใชค้ �ำวา่ ระบอบประชาธิปไตยประชาชน) โดยมพี รรคประชาชนปฏวิ ัติ ลาวเป็นองค์กรน�ำของประเทศ ซ่ึงมีอ�ำนาจสูงสุดต้ังแต่ลาวเร่ิมปกครองใน ระบอบสังคมนยิ ม เมอื่ 2 ธนั วาคม พ.ศ. 2518 (ค.ศ. 1975) ประมุขของ ประเทศเรยี กว่า “ประธานประเทศ” มีลกั ษณะเชน่ เดยี วกับประธานาธบิ ดี แต่ไมไ่ ดม้ ที ีม่ าจากการเลอื กตง้ั สถาบนั ทางการเมืองของลาว ประกอบด้วย พรรคการเมือง ได้แก่ พรรคประชาชนปฏิวัติลาว (The Lao People’s Revolutionary Party) สภารฐั มนตรี หรือคณะรฐั มนตรี มีนายกรัฐมนตรี เป็นหัวหน้าฝ่ายบริหาร (พรรคประชาชนปฏิวัติแห่งลาวท�ำหน้าท่ีแต่งต้ัง คณะรัฐมนตรี) และสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (The national Assembly) ท�ำหน้าที่ด้านนิติบัญญัติและด้านตุลาการ มีหน้าที่ดูแลอนุมัติงบประมาณ การออกกฎหมายและการแก้ไขกฎหมาย ตลอดจนการควบคมุ ก�ำกบั ดแู ล การทำ� งานของฝา่ ยบรหิ าร มาเลเซีย (Malaysia) มาเลเซยี มีท้ังรัฐบาลกลางหรือสหพันธ์  (Federal  Government)  และรฐั บาลแห่งรฐั (State Government) แตล่ ะรัฐมสี ุลต่านปกครอง และ สมเดจ็ พระราชาธบิ ดี หรอื ยงั ดี เปอรต์ วน อากง (Yang di-pertuan Agong)

สมชาติ เจศรชี ัย 29 เป็นกษัตริย์ปกครองประเทศ มาจากการเลือกของสุลต่านท้ัง 9 รัฐ อยู่ใน วาระคราวละ 5 ปี ปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา (Parliament System) ประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎร (House of Representative หรอื Dewan Rakyat) ทส่ี มาชิกมาจากการเลอื กต้งั และวฒุ ิสภา (Senate หรอื Dewan Negara) ทส่ี มาชกิ มาจากการแตง่ ตงั้ ทงั้ นอี้ �ำนาจทางการเมอื ง ข้ึนอยกู่ บั สภาผู้แทนราษฎร สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ (The Republic of the Union of Myanmar) หลงั สงครามโลก พมา่ กไ็ ดร้ บั เอกราชเมอ่ื วนั ที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2491 (ค.ศ. 1948) โดย อนู ุ ไดข้ ้นึ มาเปน็ ผ้นู �ำแทน อู อองซานท่ถี ูกลอบสงั หาร พม่าสมัยเอกราชจึงอยู่ในรูปของสหภาพ (Union) อันเป็นลักษณะของ สหพันธรัฐที่มีหลายชนชาติ ได้แก่ กะเหรี่ยง (Kayin) กะยา (Kayah) ชิน (Chin) กะฉนิ่ (Kachin) มอญ (Mon) ยะไข่ (Rakhine) ไทใหญ่ และชนชาติพม่า มีรูปแบบการปกครองแบบสาธารณรัฐ ในระบบรัฐสภา (Parliamentary System) โดยรัฐสภาประกอบด้วย สภาประชาชน สภาชาติพนั ธุ์ และสภาท้องถนิ่ สมาชิกรัฐสภามาจากการเลอื กตง้ั แบ่งการ ปกครองเป็น 7 รัฐ ตามกลมุ่ เชือ้ ชาตทิ ่เี ปน็ ชนกลมุ่ ใหญ่ มีประธานาธบิ ดีเป็น ประมุข เรียกชอื่ ประเทศว่า “สาธารณรัฐสหภาพเมียนมาร์ (Republic of the Union of Myanmar) พม่าจัดมีการเลือกตั้งครั้งแรกเม่ือวันที่ 27 พฤษภาคม 2533 (ค.ศ. 1990) หรอื เมอ่ื 25 ท่ีแล้ว พรรคแนวรว่ มแหง่ ชาติ เพื่อประชาธิปไตย (NLD) ได้รับชัยชนะถึงร้อยละ 81 คือ 392 ที่นั่งจาก 492 ทน่ี ง่ั ในสภา แตม่ พี ยายามใชก้ ลยทุ ธต์ า่ งๆ เพอื่ ทำ� ลายโอกาสในการชนะ เลือกต้งั ของพรรคแนวรว่ มแหง่ ชาติเพ่อื ประชาธปิ ไตย (NLD) ในวนั ที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2532 รฐั บาลทหารพม่าใช้อ�ำนาจตาม

30 การเมือง - การเลอื กตัง้ ไทยและประเทศในอาเซยี น กฎอัยการศึกส่ังกักบริเวณ ออง ซาน ซูจี ให้อยู่แต่ในบ้านพักเป็นครั้งแรก เป็นเวลา 3 ปี โดยไม่มีการต้ังข้อหา และได้จับกุมสมาชิกพรรค NLD จ�ำนวนมากไปคุมขังไว้ท่ีเรือนจ�ำอินเส่ง นางอองซาน ซูจี อดอาหารเพื่อ ประท้วงและเรียกร้องให้น�ำเธอไปขังรวมกับสมาชิกพรรคคนอื่นๆ ต่อมา เธอได้ยุติการอดอาหารประท้วง เม่ือรัฐบาลเผด็จการทหารให้สัญญาว่าจะ ปฏิบัติต่อสมาชิกพรรค NLD ซ่ึงถูกคุมขังไว้ในเรือนจ�ำเป็นอย่างดี และใน ช่วงเวลานเี้ อง (พ.ศ. 2534) อองซาน ซจู ไี ด้รบั รางวลั โนเบล สาขาสันติภาพ นอกจากน้ันผู้น�ำฝ่ายค้านท่ีส�ำคัญคนอื่นๆ ก็ถูกจับกุมและคุมขังด้วย แตอ่ ยา่ งไรกต็ าม รฐั บาลกลบั ไมร่ บั รองผลการเลอื กตง้ั และจบั กมุ นกั การเมอื ง ฝ่ายตรงข้ามมากข้ึนเร่ือยๆ นักการเมืองฝ่ายค้านและนักเคลื่อนไหว เพ่ือประชาธิปไตย จึงได้หนีการจับกุมไปยังชายแดนประเทศเพื่อนบ้าน จากนั้นสาธารณรัฐสหภาพเมียนมาร์ก็ตกอยู่ภายใต้การปกครองของทหาร จนมีการร่างรัฐธรรมนูญใหม่และประกาศใช้บังคับเม่ือเดือนกันยายน พ.ศ. 2551 สาธารณรฐั สงิ คโปร์ (The Republic of Singapore) เมื่อมาเลเซียได้รับเอกราชจากอังกฤษ สิงคโปร์ได้ตัดสินใจรวม เขา้ กบั มาเลเซีย เรยี กวา่ “สหภาพมาลายา” ในช่วงปี 1963-1965 แตอ่ ย่ไู ด้ เพียง 2 ปี เน่ืองจากสิงคโปร์เห็นว่ามีการเหยียดชนชาติกัน ท�ำให้พรรค กจิ ประชาชน (PAP: People’ Action Party) ซึง่ นายลี กวนยู เปน็ ผู้กอ่ ตั้ง ในปี ค.ศ. 1961 ประกาศแยกสิงคโปรเ์ พือ่ เป็นเอกราชเม่อื วันท่ี 9 สงิ หาคม พ.ศ. 2508 (ค.ศ. 1965) เรียกช่ือประเทศใหม่ว่า สาธารณรัฐสิงคโปร์ มี อ�ำนาจอธปิ ไตยของตนเอง โดยปกครองในรปู สาธารณรฐั นายลี กวนยู เป็น นายกรฐั มนตรีนานถึง 25 ปี นับแตป่ ระกาศเปน็ เอกราช และสังกัดพรรคกจิ ประชาชน ซึ่งได้รับชัยชนะในการเลือกตั้งอย่างต่อเน่ืองทุกคร้ัง ไม่ว่าจะ

สมชาติ เจศรีชัย 31 เปน็ การเลอื กตง้ั ทัว่ ไป หรอื การเลอื กตง้ั ซ่อม อย่างไรก็ตาม นายกรัฐมนตรี คนตอ่ มาคอื นายโกะ๊ จก๊ ตง (28 พฤศจกิ ายน 2533 ถงึ 12 สิงหาคม 2547) และนายลี เซียนลุง เป็นนายกรัฐมนตรีตงั้ แตว่ ันที่ 12 สิงหาคม 2547 ถึง ปัจจุบนั สิงคโปร์เป็นรัฐเด่ียว มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบ สาธารณรัฐ ใชร้ ะบบรัฐสภา และเปน็ ระบบหลายพรรคการเมือง ท่ีมพี รรค เด่นพรรคเดียวคือ พรรคกิจประชาชน ประเทศสิงคโปร์ถูกจัดเป็น ประชาธิปไตยไมส่ มบรู ณ์ (Flawed democracy) สาธารณรัฐสงั คมนิยมเวยี ดนาม (The Socialist Republic of Vietnam) เมื่อ พ.ศ. 2518 เวียดนามเหนือสามารถรวมเวียดนามใต้เข้าเป็น ประเทศเดียวกัน ใช้ชื่อประเทศใหม่ว่า สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม โครงสรา้ งการปกครองของเวยี ดนามปจั จบุ นั ประกอบดว้ ย (1) สภาแหง่ ชาติ (Quoc Hoi หรือ National Assembly) ท�ำหน้าท่ีเป็นฝ่ายนิติบัญญัติ มสี มาชิกรวม 493 คน (มไี ด้ไมเ่ กนิ 500 คน) มีอ�ำนาจสงู สุดในการก�ำหนด นโยบายทั้งภายในและต่างประเทศ มีหน้าท่ีบัญญัติและแก้ไขกฎหมาย แต่งต้ังประธานาธิบดีตามที่พรรคคอมมิวนิสต์เสนอ ให้การรับรองหรือ ถอดถอนนายกรัฐมนตรีตามที่ประธานาธิบดีเสนอ รวมท้ังแต่งตั้งคณะ รัฐมนตรีตามท่ีนายกรัฐมนตรีเสนอ อันเป็นระบบการบริหารแบบผู้น�ำร่วม (2) ฝา่ ยบริหาร ประกอบด้วย ประธานาธบิ ดี ทำ� หน้าที่ดแู ลนโยบายของรัฐ การทหาร และการรักษาความสงบภายในประเทศ นายกรัฐมนตรี คณะ รัฐมนตรี มีวาระด�ำรงต�ำแหน่ง 5 ปี เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์ คณะ กรรมการกลางของพรรคคอมมวิ นสิ ต์ ทำ� หนา้ ทก่ี ำ� หนดนโยบายดา้ นการเมอื ง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม กรมการเมือง (Politburo) เป็นองค์กร

32 การเมือง - การเลอื กตง้ั ไทยและประเทศในอาเซยี น บรหิ ารสงู สุดของพรรคคอมมิวนสิ ต์ พรรคคอมมิวนิสต์เวียดนาม เป็นองค์กรท่ีมีอ�ำนาจ สูงสุดเพียง พรรคการเมืองเดียว ผูกขาดการชี้น�ำภายใต้ระบบผู้น�ำร่วม (collective leadership) ตามรฐั ธรรมนญู ซง่ึ มบี ทบาทในการกำ� หนดแนวทางการจดั การ ทุกด้าน ท�ำให้เวียดนามมีเสถียรภาพทางการเมืองและมีเอกภาพสูง เวียดนามมีการกระจายอ�ำนาจไปสู่การปกครองส่วนท้องถิ่น โดยแต่ละ จังหวัดมีคณะกรรมการประชาชน (Provincial People’s Committee) ท�ำหน้าท่ีบริหารงานภายในท้องถิ่นให้เป็นไปตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ นโยบาย และกฎระเบียบต่างๆ ท่ีบัญญัติโดยองค์กรของรัฐที่อยู่ในระดับ สงู กวา่ ราชอาณาจักรไทย (The Kingdom of Thailand) นบั แตก่ ารรวบรวมหวั เมอื งตา่ งๆ เขา้ มาเปน็ ราชอาณาจกั รสยามและ มกี ารสถาปนาราชวงศจ์ กั รขี น้ึ ปกครองประเทศ ทำ� ใหก้ ลา่ วไดว้ า่ การปกครอง ช่วงน้ีมีความเป็นรัฐชาติท่ีสมบูรณ์ ภายใต้การปกครองในระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชย์ ในช่วงเวลาดังกล่าวประเทศในภาคพื้นยุโรปมีการ เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ไปเป็นระบอบ ประชาธิปไตย อาทิ การปฏวิ ัตใิ นฝรง่ั เศสเมือ่ ปี ค.ศ.1789 เป็นตน้ จนมกี าร กล่าวกันว่า นักศึกษาจากเมืองไทยท่ีไปเรียนในประเทศเหล่านั้นได้น�ำเอา แบบอย่างการปกครองในระบอบประชาธิปไตยจากฝรั่งเศสมาใช้กับ ประเทศไทย โดยเฉพาะในเชงิ โครงสรา้ งของการมสี ถาบนั ทางการเมอื งดา้ น ต่างๆ ประเทศไทยได้เปล่ียนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญา- สทิ ธิราชย์ มาเป็นระบอบประชาธิปไตย โดยมีพระมหากษตั รยิ ์เปน็ องค์พระ ประมุขของประเทศ เมอื่ วนั ท่ี 24 มถิ ุนายน พ.ศ. 2475 เปน็ การปกครอง

สมชาติ เจศรีชัย 33 ระบอบประชาธปิ ไตยแบบรฐั สภา คอื สภาคู่ ประกอบดว้ ยสภาผแู้ ทนราษฎร และวุฒิสภา อย่างไรก็ดี ภายหลังเปล่ียนแปลงการปกครองแล้ว ระบบ การเมืองของไทยก็มิได้มีเสถียรภาพหรือความต่อเนื่องด้านการพัฒนาการ ทางการเมอื งเนอ่ื งจากมกี ารปฏวิ ตั ริ ฐั ประหารยดึ อำ� นาจ ตงั้ คณะรฐั บาลและ กำ� หนดบทบญั ญตั ขิ นึ้ เอง ประชาชนไมม่ สี ทิ ธเิ สรภี าพดงั ทค่ี วรจะเปน็ ดงั นนั้ จึงเกิดเหตกุ ารณใ์ หญข่ ้ึนถงึ 3 ครัง้ คือ (1) วันที่ 14 ตลุ าคม พ.ศ. 2516 มี กลมุ่ เรยี กรอ้ งประชาธปิ ไตยและตอ่ ตา้ นอำ� นาจเผดจ็ การ อนั ประกอบไปดว้ ย ประชาชน จากทุกสาขาอาชีพ ภายใต้การน�ำของนิสิต นักศึกษาจากทุก สถาบัน เป็นเหตุการณ์ท่ีบันทึกไว้ในประวัติศาสตร์การเมืองการปกครอง ของไทย เพอื่ ใหเ้ ยาวชนรนุ่ หลังไดร้ ับรู้ เกดิ ความหวงแหนและร่วมกนั ธำ� รง ไวซ้ งึ่ การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยทีต่ อ้ งแลกมาดว้ ยชีวิต และความ ยากลำ� บากของเพอ่ื นรว่ มชาติ เหตกุ ารณค์ รงั้ ทส่ี อง เกดิ ขนึ้ ในวนั ท่ี 6 ตลุ าคม พ.ศ. 2519 ได้มีนิสิตนักศึกษาและประชาชนร่วมกันปกป้องประชาธิปไตย ต่อต้านการกลับมาของกลุ่มอ�ำนาจเก่า ท�ำให้ประเทศไทยต้องสูญเสีย ทรัพยากรบุคคลอันมีค่ายิ่งไปเป็นจ�ำนวนมาก และครั้งที่สาม เกิดขึ้นวันท่ี 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 มีกลุ่มต่อต้านอ�ำนาจเผด็จการและเรียกร้อง ประชาธปิ ไตยขนึ้ อกี ผลจากการเรยี กรอ้ งในครง้ั นี้ นำ� ไปสกู่ ารจดั ทำ� กฎหมาย รัฐธรรมนูญใหม่ อันเป็นที่มาของการร่างรัฐธรรมนูญฉบับปี 2540 ซ่ึงเกิด จากการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างกว้างขวาง อย่างไรก็ตาม ภายหลัง จากนนั้ ยังปรากฏวา่ มกี ารรฐั ประหารอกี 2 คร้ัง ในปี 2549 และปี 2557 เนอื่ งจากความเหน็ ทแ่ี ตกตา่ งกนั ในทางการเมอื ง และการคำ� นงึ ถงึ ประโยชน์ ส่วนตนและพวกพ้องมากกว่าผลประโยชน์ของชาติ นับเป็นการฉุดรั้งการ พฒั นาประเทศเปน็ อยา่ งย่ิง การเปลีย่ นการปกครองประเทศเม่อื 24 มถิ ุนายน พ.ศ. 2475 เป็น จดุ เปลยี่ นประเทศไทยทมี่ คี วามเปราะบางในแงข่ องการรบั รู้ ความเขา้ ใจของ

34 การเมือง - การเลอื กตั้งไทยและประเทศในอาเซยี น ประชาชนทม่ี ตี อ่ วฒั นธรรมทางการเมอื งในระบอบประชาธปิ ไตย และแมแ้ ต่ นกั การเมอื งเองกอ็ าจกลา่ วไดว้ า่ ยงั มคี วามเขา้ ใจตอ่ วฒั นธรรมการเมอื งแบบ ประชาธิปไตยไม่ถ่องแท้ ท�ำให้การวางบทบาทของตนต่อกระบวนการ ทางการเมืองกลายเป็นอุปสรรคต่อการสร้างเสถียรภาพทางการเมือง การ ขาดวถิ ชี วี ติ หรอื วฒั นธรรมแบบประชาธปิ ไตย รวมท้งั การไมน่ ำ� พาตอ่ ความ เสยี หายจากการทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั่ ทำ� ใหก้ ารพฒั นาการเมอื ง และประเทศอยู่ ในสภาพล้าหลงั

สมชาติ เจศรีชยั 35 บทท่ี 3 ระบบพรรคการเมอื ง ในบริบทของการเมืองตะวันตก พรรคการเมืองถือว่าเป็นสถาบัน ทางการเมืองท่ีมีความส�ำคัญอย่างน้อยสองประการ ประการแรก พรรคการเมืองเป็นท่ีรวบรวมของความต้องการอันมีท่ีมาจากกลุ่มผล ประโยชน์ต่างๆ ทต่ี ้องการน�ำเสนอเปน็ นโยบายตอ่ ประชาชนในการรณรงค์ หาเสียงเลือกตั้ง เพื่อให้พรรคตนเองได้รับชัยชนะและน�ำเอานโยบายท่ีได้ หาเสยี งไวไ้ ปใชใ้ นการบรหิ ารประเทศ ประการทสี่ อง พรรคการเมอื งสามารถ เป็นปากเสียงแทนประชาชนในความเดือดร้อนไปสู่ฝ่ายบริหาร ในทาง วิชาการมกี ารแบ่งระบบพรรคการเมืองไว้ 3 รูปแบบ ไดแ้ ก่ 1) ระบบสองพรรค (Two – party System) ประเทศที่ใช้การ ปกครองในระบอบประชาธิปไตย เช่น ประเทศอังกฤษ สหรัฐอเมริกา เป็นต้น ซ่ึงในประเทศน้ันจะมีพรรคการเมืองท่ีมีโอกาสได้รับการเลือกต้ัง เพยี งสองพรรคใหญส่ ลบั สบั เปลยี่ นกนั จดั ตง้ั รฐั บาลบรหิ ารประเทศ ประเทศ สมาชิกอาเซียนท่ีที่สามารถอนุมานได้ว่ามีระบบพรรคการเมืองแบบน้ียัง ไม่ปรากฏชัดเจนมากนัก (เคยมีการเรียกการแข่งขันในการเลือกตั้งช่วงปี พ.ศ. 2544 – 2554 วา่ มแี นวโนม้ จะเกดิ ระบบสองพรรคการเมอื งในการเมอื ง ไทย) 2) ระบบพรรคการเมืองพรรคเดียว (Single – party System) สว่ นใหญ่จะปรากฏในประเทศทป่ี กครองแบบเผด็จการ กล่าวคอื ประเทศ

36 การเมอื ง - การเลือกตง้ั ไทยและประเทศในอาเซียน นน้ั มพี รรคการเมอื งทใี่ หป้ ระชาชนเลอื กตงั้ อยเู่ พยี งพรรคเดยี ว ไมม่ โี อกาสใน การเลือกพรรคการเมืองอ่ืนท่ีหลากหลาย ประเทศสมาชิกอาเซียนท่ีพอจะ สามารถอนมุ านไดว้ า่ มรี ะบบพรรคการเมอื งแบบน้ี ไดแ้ ก่ สงิ คโปร์ (ทพ่ี ยายาม ให้มีพรรคฝ่ายค้านในสภาอยู่บ้าง แต่ตลอดระยะเวลาของการประกาศ เอกราช สงิ คโปรม์ พี รรคกจิ ประชาชนเทา่ นน้ั ทไ่ี ดร้ บั การเลอื กตง้ั เปน็ พรรคที่ จัดตั้งรัฐบาล) สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว 3) ระบบพรรคการเมอื งหลายพรรค (Multi-party System) ประเทศ ทป่ี กครองโดยระบอบประชาธปิ ไตยหลายประเทศทร่ี ะบบประชาธปิ ไตยยงั ไมเ่ ขม้ แข็งหรือเปน็ ประเทศประชาธิปไตยเกดิ ใหมจ่ ะมพี รรคการเมืองหลาย พรรคได้รับการเลือกต้ังเป็นสมาชิกรัฐสภา โดยไม่มีพรรคใดได้รับเสียงข้าง มากเด็ดขาด จึงท�ำให้มีความจ�ำเป็นต้องจัดต้ังรัฐบาลแบบผสม ประเทศ สมาชิกอาเซียนท่ีพอจะสามารถอนุมานได้ว่ามีระบบพรรคการเมืองแบบนี้ ได้แก่ สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ สาธารณรัฐสหภาพเมียนมา สาธารณรัฐ อินโดนเี ซยี มาเลเซยี ราชอาณาจกั รกมั พชู า และราชอาณาจักรไทย เนการา บรูไน ดารุสซาลาม (Negara Brunei Darussalam) พรรคการเมืองของบรูไนมีการจดทะเบียนจัดตั้งพรรคแรกอย่าง ถูกต้องตามกฎหมาย นับต้ังแต่บรูไนได้รับเอกราชใน พ.ศ. 2529 ได้แก่ พรรคสามคั คีแหง่ ชาตบิ รไู น (Brunei National Solidarity Party; BNSP) แต่ถกู ห้ามเขา้ ร่วมการเลอื กตงั้ และในปี พ.ศ. 2531 พรรคจงึ ถกู ถอดออก จากทะเบียนพรรคการเมอื ง พรรคการเมอื งตอ่ มาคอื พรรคพฒั นาแห่งชาติ บรไู น (Brunei National Development Party: BNDP) จดทะเบยี นเปน็ พรรคการเมอื งทถี่ กู ต้องตามกฎหมาย เม่อื 12 กนั ยายน พ.ศ. 2528 ได้ถูก ถอดออกจากทะเบียนพรรคการเมืองในปี พ.ศ.2531 เนื่องจากมีการ

สมชาติ เจศรชี ยั 37 เรียกร้องให้จัดต้ังรัฐสภาตามระบอบประชาธิปไตยท่ีมีกษัตริย์อยู่ภายใต้ รัฐธรรมนูญ ยกเลิกกฎหมายฉุกเฉิน และการจัดให้มีการเลือกตั้ง แต่ไม่ สามารถเขา้ รว่ มในการเลอื กตง้ั เพราะไมม่ กี ารเลอื กตง้ั ในบรไู น พรรคการเมอื ง ที่ถูกต้องตามกฎหมายพรรคท่ีสามในบรูไน คือ พรรคประชาชนบรูไน (Brunei People’s Party : BPP) ก่อตั้งเมอ่ื 22 มกราคม พ.ศ. 2499 ผ้นู �ำ คอื ดร. เอ เอม็ อาซาฮารี นโยบายของพรรคคอื รณรงคเ์ พอ่ื จดั ตง้ั รฐั บอรเ์ นยี ว เหนอื ท่มี เี อกภาพ เป็นพรรคของชาวมาเลย์หวั รนุ แรงที่ก่อกบฏในบรไู นเมอ่ื พ.ศ. 2505 ในการเลือกตง้ั พ.ศ. 2505 พรรคได้รบั เลือกตงั้ 16 ทน่ี ่ังจาก ท้ังหมด 33 ที่นั่ง พรรคได้ก่อการจลาจลโดยได้รับการสนับสนุนจาก อินโดนเี ซียเมื่อ 8 ธนั วาคม พ.ศ. 2505 กองทหารอังกฤษจากสงิ คโปร์ถูกสง่ เข้ามาปราบจลาจลในครั้งน้ัน และท�ำให้พรรคประชาชนบรูไนถูกยุบเลิก อยา่ งไรกต็ าม สมาชกิ พรรคไดห้ นอี อกนอกประเทศและจดั ตงั้ พรรคประชาชน พลดั ถ่ินเมอ่ื พ.ศ. 2516 โดยมมี าเลเซยี หนนุ หลงั บทบาทของพรรคยตุ ิลง เมอื่ บรูไนไดร้ ับเอกราชและเข้าเป็นสมาชิกอาเซียนเมือ่ พ.ศ. 2527 ปัจจุบัน บรไู นยงั หลงเหลอื พรรคการเมอื งอยเู่ พยี งพรรคเดยี ว คอื   Brunei National Democratic Party : BNDP ราชอาณาจกั รกัมพูชา (The Kingdom of Cambodia) กัมพูชามีกฎหมายว่าด้วยพรรคการเมืองซ่ึงสภาแห่งชาติ (the National Assembly) ผา่ นเปน็ กฎหมายไปเมอ่ื วนั ที่ 28 ตลุ าคม พ.ศ. 2540 (ค.ศ. 1997) กฎหมายนมี้ วี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ กำ� หนดวธิ กี ารและเงอื่ นไขสำ� หรบั การจัดต้ัง ลงทะเบียน และกิจกรรมของพรรคการเมืองแห่งราชอาณาจักร กมั พูชา ปัจจบุ นั กัมพชู ามีพรรคการเมอื งประมาณ 30 พรรค แต่มพี รรคท่มี ี บทบาททางการเมอื ง 7 พรรค ได้แก่ พรรคประชาชนกมั พชู า (Cambo- dian People’s Party: CPP) หัวหน้าพรรคคอื สมเดจ็ ฮุน เซน (Hun Sen)

38 การเมอื ง - การเลอื กตง้ั ไทยและประเทศในอาเซียน พรรคกู้ชาติกัมพูชา (Cambodian National Rescue Party) ของ นายสม รังสี พรรคเอกภาพกัมพูชา (Khmer Solidarity Party) ของ นายลักษณ์ สุภาพ (Lak Sopheap) พรรคประชาชนภักดีประชาคม (Community of Royalist People’s Party) ของสมเดจ็ นโรดม รณฤทธ์ิ (Norodom Ranariddh) พรรคฟนุ ซนิ เปก (National United Front for an Independent, Neutral, Peaceful and Cooperative Cambodia: FUNCINPEC) หวั หนา้ พรรคคอื นโรดม อรณุ รศั มี (Norodom Arunrasmey) พรรครากหญ้าประชาธิปไตย (Grassroots Democracy Party) ของ นายเยน็ วิรชั (Yeng Virak) พรรคชาตกิ ัมพชู า (Cambodian Nationality Party) ของนายเส็ง โสเค็ง (Seng Sokheng) พรรคการเมืองท่ีส�ำคัญมี 3 พรรค ไดแ้ ก่ พรรคประชาชนกัมพูชา พรรคฟุนซินเปค และพรรคสม รังสี (Sam Rainsy Party: SRP) หรือพรรคกู้ชาติกัมพูชา หัวหน้าพรรค คือ นายสม รังสี ภายหลังปี พ.ศ. 2534 (ค.ศ. 1991) ได้มีการประชุมเขมร 4 ฝ่าย โดยการควบคุมของ UNTAC (United Nations Transitional Authority in Cambodia) ได้มีการเลือกต้ังทั่วไปเป็นคร้ังแรก เม่ือปี พ.ศ. 2536 และมีการเลอื กตั้งทวั่ ไปอีก 4 ครัง้ ในปี พ.ศ. 2541, 2546, 2551 และการเลอื กต้ังทั่วไปครั้งสุดทา้ ย เมื่อปี พ.ศ. 2556 พรรคการเมืองท่ีไดท้ ่ี นงั่ ในสภาแหง่ ชาติ คอื พรรคประชาชนกัมพชู า (Cambodian People’s Party) ของสมเดจ็ ฮนุ เซน็ มี 68 ทน่ี ง่ั และพรรคกชู้ าตกิ มั พชู า (Cambodian National Rescue Party) ของนายสม รงั สี (Sam Rainsy) มี 55 ท่ีนง่ั จากทง้ั หมด 123 ทน่ี งั่ สาธารณรัฐอนิ โดนเี ซยี (The Republic of Indonesia) อินโดนีเซียมีกฎหมายว่าด้วยพรรคการเมือง (Law on Political Parties) บังคับใช้ในปี พ.ศ. 2551 (ค.ศ. 2008) แก้ไขเพมิ่ เติม พ.ศ. 2554

สมชาติ เจศรชี ัย 39 (ค.ศ. 2011) ออกตามรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐอินโดนีเซีย ค.ศ. 1945 โดยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 เป็นต้นมา พรรคการเมืองในอินโดนีเซียเป็น ระบบหลายพรรค และในการเลือกต้ังท่ีผ่านมาไม่มีพรรคการเมืองใดได้รับ การเลือกตั้งจนเป็นเสียงข้างมากเพียงพรรคเดียวในสภาผู้แทนราษฎร ภายหลังการเลือกต้ังประธานาธิบดีครั้งท่ี 3 ในประเทศอนิ โดนีเซยี เมื่อวนั ที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 มีพรรคการเมืองทั้งท่ีมีที่น่ังในสภาและไม่มีที่นั่ง ในสภาดังนี้ (ก) พรรครว่ มรฐั บาลประกอบดว้ ยพรรคการเมอื งตา่ ง ๆ รวม 7 พรรค ได้แก่ พรรค Party of the Functional Groups (Golkar) (Partai Golon- gan Karya) มี Setya Novanto เป็นหัวหน้าพรรค พรรค Indonesian Democratic Party – Struggle (PDI-P) (Partai Demokrasi Indonesia Perjuangan) มี Megawati Sukarnoputri เป็นหัวหน้าพรรค พรรค National Awakening Party (PKB) (Partai Kebangkitan Bangsa) มี Muhaimin Iskandar เป็นหวั หน้าพรรค พรรค United Development Party (PPP) (Partai Persatuan Pembangunan) มี M. Romahur- muziy เปน็ หวั หนา้ พรรค พรรค National Mandate Party (PAN) (Partai Amanat Nasional) มี Zulkifli Hasan เปน็ หวั หนา้ พรรค พรรค People’s Conscience Party (Hanura) (Partai Hati Nurani Rakyat) มี Wiranto เปน็ หวั หนา้ พรรค พรรค National Democratic Party (Nasdem) (Partai Nasional Demokrat) มี Surya Paloh เป็นหัวหนา้ พรรค (ข) พรรคฝ่ายค้าน ประกอบด้วย พรรค Prosperous Justice Party (PKS) (Partai Keadilan Sejahtera) มี M. Sohibul Iman เป็น หวั หนา้ พรรค พรรค Great Indonesia Movement Party (Gerindra) (Partai Gerakan Indonesia Raya) มี Prabowo Subianto เป็น หัวหนา้ พรรค

40 การเมือง - การเลอื กต้งั ไทยและประเทศในอาเซยี น (ค) พรรคเปน็ กลาง ได้แก่ พรรค Democratic Party (Indonesia) (Demokrat) (Partai Demokrat) มี Susilo Bambang Yudhoyono เปน็ หวั หนา้ พรรค (ง) พรรคการเมืองซ่ึงไม่มีที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎร มีกว่าสิบ พรรคการเมือง และมีพรรคการเมอื งทยี่ บุ เลกิ ไปหลายพรรค สาธารณรฐั ฟิลิปปนิ ส์ (The Republic of the Philippines) ฟิลิปปินส์เป็นประเทศท่ีมีระบบพรรคการเมืองหลายพรรคท่ีมี ความหลากหลาย สมาชิกพรรคการเมืองส่วนใหญ่ประกอบด้วยบุคคลที่ เป็นชนชั้นน�ำ มีจ�ำนวนน้อยมากที่เป็นสมาชิกท่ีมาจากระดับรากหญ้า ฟิลิปปินส์มีพรรคการเมืองและพรรคการเมืองที่ไม่ได้จดทะเบียน พรรคการเมืองท่ีประสงค์จะจดทะเบียนก็สามารถไปจดทะเบียนกับ คณะกรรมการการเลือกตั้งตามรัฐธรรมนูญ ปี ค.ศ. 1987 หมวด 2(5) มาตรา IX-C ในชว่ งปี พ.ศ. 2533 (ค.ศ. 1990) ฟิลิปปินส์มรี ะบบหลาย พรรคการเมอื งที่มีพรรคการเมืองเปน็ จำ� นวนมาก ไม่มพี รรคการเมืองใดท่มี ี โอกาสได้รับเสียงข้างมากเพียงพรรคเดียว จึงจ�ำเป็นท่ีพรรคการเมืองต่างๆ ตอ้ งทำ� งานรว่ มกนั เพอื่ การจดั ตงั้ รฐั บาลผสม เนอ่ื งจากไมม่ พี รรคการเมอื งใด ท่ีมีสมาชิกพรรคซ่ึงเป็นผู้น�ำท่ีพัฒนาพรรคการเมืองอย่างยั่งยืน ส่วนใหญ่ ผู้น�ำของพรรคมลี กั ษณะเกิด-ดบั -และก็เกิดขึ้นอีกเปน็ อยา่ งนส้ี ลบั กันไป พรรคการเมอื งฟลิ ปิ ปนิ สเ์ ปน็ เครอื่ งมอื สำ� คญั ทางการเมอื งทจ่ี ะทำ� ให้ นกั การเมอื งทที่ ะเยอทะยานประสบความสำ� เรจ็ มพี รรคการเมอื งสองพรรค ที่มีอ�ำนาจปกครองประเทศสลับกันไปมา คือ พรรคเสรีนิยม (Liberal Party) กบั พรรคนาซโิ อนาลิสตา (Nacionalista Party) พรรคเสรีนิยม (Liberal Party) เป็นพรรคการเมืองขนาดเล็กของ ฟลิ ปิ ปนิ ส์ พรรคนเี้ กดิ จากการทป่ี กี เสรนี ยิ มแยกตวั ออกจากพรรคนาซโิ อนา

สมชาติ เจศรีชัย 41 ลิสตาและเป็นเครื่องมือในการเลือกต้ังประธานาธิบดีของมานูเอล โรซาส ใน พ.ศ. 2489 ต่อเนื่องมาจนถึง เอลปิดิโอ กีรีโนได้ด�ำรงต�ำแหน่งต่อใน พ.ศ. 2492 จนกระทงั่ มาพา่ ยแพพ้ รรคนาซโิ อนาลสิ ตาของรามอน แมกไซไซ ใน พ.ศ. 2496 เมอ่ื รามอน แมกไซไซถงึ แกอ่ สญั กรรม พรรคนาซสิ โอนาลสิ ตา ยังครองอ�ำนาจต่อได้ จนกระทั่งถึง พ.ศ. 2504 เดียลกาโด มากาปากัล จากพรรคเสรนี ยิ มจงึ ไดเ้ ปน็ ประธานาธบิ ดกี อ่ นจะพา่ ยแพใ้ หก้ บั เฟอรด์ นิ านด์ มาร์กอสใน พ.ศ. 2505 หลังจากน้ัน พรรคเสรีนิยมได้ตกต�่ำจนกลายเป็น พรรคขนาดเล็ก พรรคนาซิโอนาลิสตา (Nacionalista Party) เป็นพรรคการเมือง พรรคแรกของฟิลิปปินส์ที่ได้รับอนุญาตให้จัดตั้งข้ึนในยุคที่เป็นอาณานิคม ของสหรัฐอเมริกาเมื่อ พ.ศ. 2458 พรรคนี้มีอิทธิพลมาจนถึงสงครามโลก ครง้ั ท่ี 2 สน้ิ สุดลงในปี พ.ศ. 2484 เกิดความแตกแยกในพรรค จนมกี ารแยก ไปต้ังพรรคเสรีนิยมพรรคน้ี ถูกยกเลิกเม่ือเฟอร์ดินันด์ มาร์กอส ประกาศ กฎอยั การศกึ เมอ่ื พ.ศ. 2514 พรรคนาซิโอนาลสิ ตาถกู ร้อื ฟ้นื ขนึ้ มาอกี เมือ่ พ.ศ. 2532 เพื่อเป็นเคร่ืองมือทางการเมืองของซัลวาดอร์ เลาเรล แต่เม่ือ เขาได้คะแนนเสียงเพียงร้อยละ 3.4 ในการเลือกต้ังประธานาธิบดีเม่ือ พ.ศ. 2535 พรรคการเมอื งน้ีจงึ สน้ิ สดุ บทบาททางการเมือง พรรคการเมืองทีส่ ำ� คัญของฟิลปิ ปนิ ส์ ได้แก่ พรรค Liberal Party (LP) มี Leni Robredo เป็นหวั หนา้ พรรค พรรค Democratic Action (Aksyon) มี Grace Poe เป็นหัวหน้าพรรค พรรค New Society Movement (KBL) มี Imee Marcos เปน็ หัวหน้าพรรค พรรค People Power-Christian Muslim Democrats (Lakas) มี Gloria Macapa- gal Arroyo เปน็ หวั หนา้ พรรค พรรค Nationalist Party (NP) มี Cynthia Villar เปน็ หวั หน้าพรรค Nationalist People’s Coalition (NPC) มี Eduardo Cojuangco, Jr. เป็นหัวหนา้ พรรค National Unity Party


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook