Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore IATF 16949-2016 Requirement

IATF 16949-2016 Requirement

Published by siamgsbatteryth, 2021-01-14 08:11:29

Description: IATF 16949-2016 Requirement

Search

Read the Text Version

บริษทั สเตม็ มา จากดั STEMMA Co., Ltd. 120 Soi Nawamin 86, Nawamin Rd., Ramintra, Kannayao, Bangkok 10230 T. 02-947-7163, 08-4874-7373, F. 02-947-7163 IATF 16949:2016 Requirements By

www.stemma.co.th 1

ประวตั ขิ อง IATF 16949:2016 ในอดตี ISO / TS 16949 ออกโดย IATF โดยรว่ มมอื อย่างใกลช้ ดิ กบั ISO / TC 176 (ISO 9000 series) และ มขี อ้ กาํ หนดของ ISO 9001 IATF 16949: 2016 เป็ นชดุ เฉพาะของกฏซงึ ขนึ อยกู่ บั ISO 9001 แต่ไม่มขี อ้ กาํ หนดโดยตรง. IATF 16949: 2016 จะอา้ งองิ ขอ้ กาํ หนดของ ISO 9001: 2015 ตวั อยา่ ง www.stemma.co.th 2

เมอื ใช ้ IATF 16949 ตอ้ งใช:้ o\"Shall\" และ สตู รขอ้ กาํ หนดทมี ลี กั ษณะคลา้ ยคลงึ กนั เป็ นขอ้ กาํ หนด บงั คบั o“Should\" เป็ นคาํ แนะนํา oNOTE หมายเหตมุ ไี วเ้ พอื ความเขา้ ใจทดี ขี นึ หรอื ชแี จง o\"Typical example\" หรอื \"for example\" ใชส้ าํ หรบั วางแนวทาง oความตอ้ งการเฉพาะของลกู คา้ จะตอ้ งนํามาพจิ ารณาและนํามาใช ้ IATF 16949: 2016 กาํ หนดคําทสี ําคญั และคาํ จาํ กดั ความทอี า้ งถงึ ในการอา้ งสทิ ธเิ ชน่ Process Model ISO 9001:2015 องคก์ รตอ้ งกําหนดและกาํ หนด กระบวนการและพจิ ารณาสงิ ตอ่ ไปนี: www.stemma.co.th a) กาํ หนดปัจจยั การผลติ ทตี อ้ งการและผลลพั ธ ์ ทคี าดหวงั ของกระบวนการเหลา่ นี b) การกาํ หนดลาํ ดบั และปฏสิ มั พนั ธข์ อง กระบวนการ c) กาํ หนดและใชห้ ลกั เกณฑข์ นั ตอน (รวมทงั การตรวจตดิ ตามการวดั และการปฏบิ ตั งิ านที เกยี วขอ้ ง) ตวั ชวี ดั ทจี าํ เป็ นเพอื ใหม้ นั ใจวา่ ประสทิ ธภิ าพและการควบคุมกระบวนการเหลา่ นี มปี ระสทิ ธภิ าพ d) กาํ หนดทรพั ยากรทจี าํ เป็ นสาํ หรบั กระบวนการเหล่านีและตรวจสอบความพรอ้ มใช ้ งาน e) กาํ หนดความรบั ผดิ ชอบและความสามารถ สาํ หรบั กระบวนการเหล่านี f) การจดั การตามความตอ้ งการของ 6.1 ความ เสยี งและโอกาสบางอย่าง g) ประเมนิ กระบวนการเหลา่ นีและดาํ เนินการ เปลยี นแปลงทจี าํ เป็ นเพอื ใหม้ นั ใจวา่ กระบวนการ เหลา่ นีจะบรรลุผลสําเรจ็ ผลลพั ธท์ ตี งั ใจไว ้ h) การปรบั ปรงุ กระบวนการเหลา่ นีและระบบการ จดั การคณุ ภาพ 3

The process-oriented approach of the automotive industry ขอ้ กาํ หนดของ IATF 16949:2016 4 www.stemma.co.th

Chapter 4 4.1 Understanding the organization and its context 4. Context of the 4.2 Understanding the needs and Organization expectations of interested parties 4.3 Determining the scope of the quality management system 4.4 Quality management system and its processes See requirements of ISO 9001:2015 4.3.1 Determining the scope of the quality management system-Supplemental หนวยงานสนับสนุนไมว า จะอยทู ีโ่ รงงานหรือเปน Remote location เชน ศนู ยก ารออกแบบ สํานักงานใหญ คลงั สินคา จะตอ ง รวมอยูในขอบขายของระบบคุณภาพ จะสามารถยกเวนขอ กาํ หนด ไดเพียง การออกเบบผลติ ภณั ฑ ในขอ 8.3 เทา นนั้ การยกเวน จะตอ งมเี หตุผลและเปน ขอ มลู ทีไ่ ดรบั การบนั ทึกไว (ดูขอ 7.5) การยกเวน ไมร วมถึงการออกแบบกระบวนการผลติ เหตุผลการ ยกเวนจะตองจัดทําเปนเอกสาร www.stemma.co.th 5

4.3.2 Customer Specific Requirements ขอกําหนดเฉพาะของลกู คา (CSR) จะตองถกู ประเมิน และรวมอยใู น ขอบขา ยของระบบคณุ ภาพขององคก ร 4.4 Quality management system and its processes 4.4.1 See requirements of ISO 9001:2015 4.4.1.1 Conformance of products and process องคกรตองมัน่ ใจวา ทกุ ผลิตภณั ฑและกระบวนการรวมถงึ ชิน้ สว นใน งานบริการ (service parts) และช้นิ งานจาก outsource สอดคลอง ขอกําหนดของลูกคา และขอกําหนดตามกฎหมายและมาตรฐานทงั้ หมด 4.4.1.2 Product Safety องคกรตอ งมกี ระบวนการทเี่ ปนเอกสาร สําหรบั การจัดการมาตรฐาน ความปลอดภัยของผลติ ภณั ฑ ทเ่ี กีย่ วของกับผลติ ภัณฑและ กระบวนการผลิต ซ่งึ จะตองรวมถงึ ดังตอไปน้ี (แตไมจ ํากัดเพียงเทา น้ี) a) การระบุขอ กาํ หนดตามกฎหมายหรือมาตรฐานที่เกี่ยวขอ งกับความ ปลอดภัยของผลิตภัณฑ โดยองคก ร b) การแจง ลกู คาในขอ กาํ หนดหัวขอ a) c) การอนมุ ัติพิเศษของ DFMEA d) การระบคุ ณุ ลกั ษณะทเี่ ก่ียวขอ งกบั ความปลอดภัยของผลติ ภัณฑ e) การระบแุ ละควบคุมคุณลกั ษณะท่เี ก่ยี วของกับความปลอดภัยของ ผลติ ภัณฑและท่ีจดุ ท่ีทําการผลติ f) การอนมุ ตั พิ เิ ศษของ control plan และ PFMEA g) แผนการดําเนนิ การตอบโต (Reaction plan) www.stemma.co.th 6

4.4.1.2 Product Safety ตอ h) กําหนดความรับผิดชอบ, กระบวนการยกระดบั ปญหา (Escalation) และการ ไหลของขอ มลู รวมถึงผบู รหิ ารระดบั สงู และการแจง ลูกคา i) การฝกอบรมทร่ี ะบุโดยองคก รหรือลกู คา ใหก บั พนักงานที่เกย่ี วขอ งกับ มาตรฐานความปลอดภัยของผลิตภัณฑ ทเี่ กยี่ วของกับผลิตภัณฑแ ละกระบวนการ ผลิต j) การเปลีย่ นแปลงของผลิตภัณฑและกระบวนการจะตอ งไดรบั การอนมุ ัตกิ อน ดําเนินการรวมถงึ การประเมินผลกระทบท่อี าจเกดิ ข้นึ ตอ มาตรฐานความปลอดภยั ของผลติ ภัณฑจ ากการเปลีย่ นแปลงผลิตภณั ฑแ ละกระบวนการ k) ถายโอนขอกําหนดทีเ่ กี่ยวขอ งกบั มาตรฐานความปลอดภัยของผลิตภัณฑ ไป ยัง supply chain รวมถึง supplier ทีก่ าํ หนดโดยลูกคา l) การสอบยอ นกลับของผลติ ภัณฑโดยล็อทการผลิต (เปนอยา งนอ ย) ตลอด supply chain m) บทเรยี นจากการผลติ ผลิตภณั ฑใ หม Note: การอนมุ ตั ิพิเศษเปนการอนมุ ัตเิ พมิ่ เตมิ โดยผูที่มีหนา ที่ (โดยเฉพาะลกู คา) ในการอนมุ ัติเอกสารที่เก่ยี วของความปลอดภัยของผลิตภัณฑ www.stemma.co.th 7

5 Leadership See requirements of ISO 9001:2015 5.1 Leadership and commitment 5.1.1 General 5.1.1.1 Corporate Responsibility องคก รตอ งกาํ หนดและนําไปปฏิบตั ใิ นนโยบายความรับผิดชอบของ องคกร อยางนอ ยทส่ี ดุ รวมถงึ การตอ ตา นการตดิ สนิ บน, จรรยาบรรณของพนกั งาน, นโยบายการยกระดบั จริยาธรรม (นโยบายการแจงเบาะแสการกระทําผิด) 5.1.1.2 Process Effectiveness and Efficiency ผบู รหิ ารระดับสูงตองทบทวน กระบวนการผลิตผลติ ภัณฑ (Product Realization) กระบวนการสนบั สนนุ เพอื่ ประเมินและปรบั ปรงุ ประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ลของกระบวนการ ผลของการทบทวน กระบวนการตองเปน input ในการทบทวนฝายบรหิ าร www.stemma.co.th 8

5.1.1.3 Process Owners ผบู รหิ ารระดับสูงตองระบุเจา ของกระบวนการผซู งึ่ รบั ผดิ ชอบในการ จัดการกระบวนการและผลลพั ธข องการะบวนการ เจาของกระบวน การตอ งเขาใจในบทบาท และตอ งมีความสามารถในการทําหนาที่ 5.1.2 Customer focus See requirements of ISO 9001:2015 5.2 Policy 5.2.1 Developing the quality policy 5.2.2 Communicating the quality policy See requirements of ISO 9001:2015 5.3 Organizational roles, responsibilities and authorities 5.3.1 Organizational roles, responsibilities, and authorities – supplemental ผบู ริหารระดับสูงตองมอบหมายความรบั ผดิ ชอบและอาํ นาจหนา ทเี่ พอ่ื มั่นใจวาไดบรรลุขอ กําหนดลูกคา การมอบหมายนจี้ ะตอ งเปน เอกสาร ซึ่งรวมถงึ (แตไ มจ ํากัดเพยี งเทานี้) การคัดเลอื กคุณลักษณะพเิ ศษ, การจดั ต้งั วัตถุประสงคข องคณุ ภาพและมกี ารฝกอบรมท่เี กยี่ วขอ ง, การ แกไ ขและการปองกนั , การออกแบบและการพฒั นาผลติ ภัณฑ, การ วิเคราะหก าํ ลงั การผลติ , ขอ มลู โลจสิ ตกิ , ใบคะแนนประเมนิ จากลูกคา และ เวบ็ ไซตข องลกู คา www.stemma.co.th 9

5.3.2 Responsibility and authority for product requirements and corrective action ผบู ริหารระดบั สูงตอ งทาํ ใหม ัน่ ใจวา a) บคุ ลากรท่ีรับผดิ ชอบในเรอื่ งความสอดคลองของผลติ ภณั ฑ ตอ งมี อํานาจในการหยุดการสง มอบ และหยุดสายการผลิตเพอ่ื แกไขปญหา คณุ ภาพ\" Note: เนอื่ งการออกแบบกระบวนการผลติ ในบางอุตสหกรรม อาจจะไม สามารถหยดุ การผลิตไดทันที ในกรณนี ้ี กลุมผลิตภัณฑทไ่ี ดรับ ผลกระทบจะตอ งถกู กกั และปองกนั การนาํ ไปสงมอบ b) บุคลากรท่มี ีอํานาจและความรับผิดชอบในการปฏบิ ตั ิการแกไข ตอง ไดร บั ทราบทันทีในกรณที ผ่ี ลิตภณั ฑหรือกระบวนการท่ีไมสอดคลองกบั ขอกาํ หนด เพอ่ื ใหมนั่ ใจวา ของเสยี จะไมถูกสงไปยงั ลูกคา และจะมกี าร ชีบ้ ง และกักผลิตภณั ฑที่มีอาจจะเสีย c) กระบวนการผลิตทุกกะการทํางาน จะตองมตี าํ แหนง บคุ คลท่ี รบั ผดิ ชอบหรอื รบั มอบอํานาจในเร่อื งการรับผดิ ชอบ ในการประกัน ความสอดคลองคุณภาพของผลิตภัณฑ 6 Planning See requirements of ISO 9001:2015 6.1 Actions to address risks and opportunities 6.1.1 6.1.2 6.1.2.1 Risk Analysis องคก รตองรวมสิ่งเหลานใี้ นการวเิ คราะหความเสย่ี งเปนอยา งนอ ย บทเรียนการเรียกคนื ผลติ ภัณฑ, การตรวจประเมนิ ผลติ ภัณฑ (Product Audit), การคืนและซอมผลติ ภัณฑจากทองตลาด,ขอ รองเรียนของลกู คา , การทาํ ลาย, Rework องคกรตองเกบ็ บันทกึ เปนหลกั ฐานของ ผลการวิเคราะหความเส่ยี ง www.stemma.co.th 10

6.1.2.2 Preventive action องคกรตอ งกาํ หนดดําเนินการกําจดั สาเหตขุ องความไมสอดคลองทม่ี ี โอกาสเกิดข้นึ เพ่อื ปองกันการเกดิ การปองกันตอ งเหมาะสมกบั ความ รนุ แรงของประเดน็ ทมี่ โี อกาสขึ้น องคก รตอ งจัดทาํ กระบวนการเพอ่ื ลด ผลกระทบดา นลบของความเสี่ยงรวมถงึ a) กาํ หนดปญหาทอี่ าจเกดิ และสาเหตุ b) ประเมนิ ความจาํ เปนในการปอ งกันการเกดิ ปญหา c) ระบุและดําเนนิ การปอ งกนั d) บนั ทกึ การดาํ เนินการปอ งกนั e) ทบทวนประสทิ ธผิ ลการปฏิบัตกิ ารปองกนั f) นาํ บทเรียนเพื่อปอ งกนั การเกดิ ปญหาในกระบวนการท่ีคลา ยกนั 6.1.2.3 Contingency plans องคก์ รตอ้ ง a) ระบแุ ละประเมนิ ความเสยี งภายในและภายนอก ต่อกระบวนการผลติ ทงั หมดและเครอื ง สาธารณูปโภคทจี าํ เป็ นในการคงผลลพั ธก์ ารผลติ และบรรลคุ วามตอ้ งการลูกคา้ b) กาํ หนดแผนฉุกเฉินตามความเสยี งและผลกระทบต่อลกู คา้ c) จดั เตรยี มแผนฉุกเฉินเพอื ใหม้ กี ารส่งงานอย่างต่อเนืองในกรณี: เครอื งจกั รหลกั ลม้ เหลว , การตดิ ขดั จากชนิ งาน/กระบวนการทมี าจากภายนอก, ภยั ธรรมชาตทิ อี าจเกดิ ซาํ , ไฟไหม ้ , ระบบสาธารณูปโภค(Utility) ตดิ ขดั , ขาดแคลนแรงงาน, โครงสรา้ งพนื ฐาน (infrastructure)ขดั ขอ้ ง\" d) รวมถงึ กระบวนการแจง้ เตอื นลูกคา้ และผูม้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ในขอบเขตและระยะเวลาที ส่งผลกระทบตอ่ ลูกคา้ e) ทดสอบแผนฉุกเฉินเป็ นระยะๆในความมปี ระสทิ ธผิ ล เชน่ จาํ ลองสถานการณ์ f) ทบทวนและอพั เดทแผนฉุกเฉิน (อยา่ งนอ้ ยปี ละครงั ) โดยทมี หลายหน่วยงานรวมถงึ ผูบ้ รหิ ารระดบั สูง g) จดั ทําแผนฉุกเฉินเป็ นเอกสาร และเก็บบนั ทกึ การแกไ้ ขรวมถงึ ผูม้ อี าํ นาจอนุมตั ิ แผนฉุกเฉินตอ้ งรวมถงึ การรบั รอง(validate) ผลติ ภณั ฑว์ ่าสอดคลอ้ งกบั สเป็ ค หลงั จาก เรมิ ทาํ การผลติ จากการหยดุ ผลติ จากเหตกุ ารณฉ์ ุกเฉิน และในกรณีทไี ม่ไดเ้ ป็ นการหยดุ อยา่ ง ปกติ www.stemma.co.th 11

6.2 Quality objectives and planning to achieve them 6.2.1 See requirements of ISO 9001:2015 6.2.2 6.2.2.1 Quality objectives and planning to achieve them-supplemental ผบู รหิ ารระดับสงู ตอ งมน่ั ใจวา ไดก าํ หนด จัดทํา รักษาไวซึง่ วตั ถุประสงคค ุณภาพใหบรรลุความตอ งการของลกู คา ในระดบั , หนา ที่ และกระบวนการทีเ่ กี่ยวของทัว่ ทง้ั องคก ร จะตอ งพจิ ารณาผลการ ทบทวนความตอ งการของผมู สี ว นไดส วนเสีย ในการจัดทําเปาหมาย ประจําป (ภายในและภายนอก) 6.3 Planning of changes See requirements of ISO 9001:2015 www.stemma.co.th 12

7 Support See requirements of ISO 9001:2015 7.1 Resources 7.1.1 Genera 7.1.2 People 7.1.3 Infrastructure 7.1.3.1 Plant, facility and equipment planning องคก รตองมีการใชท ีมงานหลายฝา ยรวมถึงระบคุ วามเสีย่ ง วิธกี ารลดความเสีย่ ง ใน การพัฒนาและปรับปรุง โรงงาน สาธารณูปโภค เครอื่ งจกั ร ในการออกแบบผังโรงงาน องคกรตอง a) ทาํ ใหก ารเคลื่อนยา ยวสั ดใุ หไดผลดีทสี่ ดุ และมีการใชพ ื้นที่โรงงานใหมี รวมถึง การควบคุมผลติ ภัณฑท่ไี มเปนไปตามขอ กําหนด b) ชวยใหม กี ารไหลของวัสดมุ คี วามคลองตัว ตอเน่อื งกนั ตอ งมวี ิธกี ารในการประเมนิ ความเปนไปไดใ นการผลติ ของผลิตภัณฑใ หม หรือการ ผลติ ใหมการประเมนิ ความเปนไปไดในการผลิตรวมถึงการวางแผนกําลังการผลติ วิธีการเหลา น้ีจะตอ งประยกุ ตใ ชกับ การประเมินการเปล่ียนแปลงกระบวนการปจจบุ ัน 7.1.3.1 Plant, facility and equipment planning (Continue) องคกรตองคงไวซ ึง่ ประสิทธิผลของกระบวนการผลิต รวมถึงการ ประเมนิ ซาํ้ เปน ระยะๆตามความเสี่ยง ควบรวมการเปลยี่ นแปลงที่ เกิดขึน้ จากการอนมุ ัติกระบวนการ การคงไวซึ่ง control plan และ การทวนสอบหลงั การตง้ั เครอ่ื ง การประเมินความเปน ไปไดในการผลิต และการประเมนิ การวางแผน กาํ ลงั การผลติ จะตองเปน หัวขอในการทบทวนฝายบริหาร NOTE 1 ขอกําหนดเหลานี้ควรจะมงุ เนนในหลักการการผลติ แบบลนี NOTE 2 ขอ กําหนดเหลา นีค้ วรจะประยุคตใ ชกิจกรรมหนางาน ของซัพพลายเออร www.stemma.co.th 13

7.1.4 Environment for the operation of processes See requirements of ISO 9001:2015 7.1.4 Environment for the operation of processes – supplemental องคก รตอ งดูแลรักษาสถานทป่ี ฏบิ ตั งิ านใหสะอาดเปน ระเบียบ และ ซอ มแซมใหเ หมาะสมกบั ผลติ ภณั ฑและกระบวนการผลติ 7.1.5 Monitoring and measuring resources 7.1.5.1 General See requirements of ISO 9001:2015 7.1.5.1.1 Measurement System Analysis ตองใชกลวิธที างสถติ ใิ นการวเิ คราะหความฝนแปรในผลของระบบ การวดั ตรวจสอบทดสอบ แตล ะประเภทท่รี ะบุใน control plan วิธกี าร วเิ คราะหแ ละเกณฑการยอมรบั ตอ งสอดคลอ งกบั วิธีการในคมู อื MSA วิธกี ารวิเคราะหแ ละเกณฑการยอมรบั อื่นๆอาจสามารถนํามาใชไ ด ถา ไดรบั การอนมุ ัติจากลูกคา จะตอ งมีการเก็บบันทกึ ที่ลกู คา อนมุ ตั ิใหใ ช วธิ กี าร MSA อน่ื ๆแนบไปกับผลของ MSA NOTE: การจัดลาํ ดับความสําคญั ของการศึกษา MSA ควรมุง เนน ไป ทผ่ี ลติ ภัณฑที่สําคัญหรือผลติ ภัณฑพ ิเศษหรอื ลกั ษณะกระบวนการ 7.1.5.2 Measurement traceability See requirements of ISO 9001:2015 www.stemma.co.th 14

7.1.5.2.1 Calibration / verification records องคก์ รตอ้ งมกี ระบวนการทเี ป็ นเอกสารในการจดั การบนั ทกึ การสอบเทยี บ/ ทวนสอบ จะตอ้ งจดั เกบ็ บนั ทกึ ของการสอบเทยี บ/ทวนสอบสาํ หรบั ทกุ เกจ เครอื งวดั และเครอื งทดสอบ รวมถงึ เกจทเี ป็ นของพนักงาน ของลกู คา้ และของ ซพั พลายเออรท์ อี ยหู่ นา้ งาน ทแี สดงถงึ ความสอดคลอ้ งกบั ขอ้ กาํ หนดภายใน ขอ้ กาํ หนดกฏหมาย องคก์ รตอ้ งมนั ใจวา่ บนั ทกึ การสอบเทยี บ/ทวนสอบ ตอ้ งครอบคลมุ ถงึ a) ระดบั การเปลยี นแปลงตาม ECN ทมี ผี ลกระทบตอ่ ระบบการวดั b) คา่ ทเี บยี งเบนไปจากมาตรฐานในขณะทไี ดร้ บั เครอื งมอื มาสอบเทยี บ c) การประเมนิ ความเสยี งจากการนําผลติ ภณั ฑท์ ไี ดร้ บั ผลจาการออก นอกสเป็ คไปใชง้ าน d) เมอื พบวา่ เครอื งมอื วดั ไม่ผ่านการสอบเทยี บ หรอื มขี อ้ ผดิ พลาดใน ระหวา่ งการสอบเทยี บหรอื การใชง้ าน จะตอ้ งเกบ็ บนั ทกึ การทวนสอบของผล การวดั กอ่ นหนา้ นี รวมถงึ วนั ทลี า่ สดุ ในการสอบเทยี บตวั มาตรฐานทเี กยี วขอ้ ง และวนั ทใี นการสอบเทยี บครงั ตอ่ ไป 7.1.5.2.1 Calibration / verification records e) แจง้ ลกู คา้ ถา้ วตั ถดุ บิ หรอื ผลติ ภณั ฑท์ สี งสยั ถกู สง่ ออกไป f) สถานะของการสอดคลอ้ งกบั ขอ้ กาํ หนดหลงั การสอบเทยี บ g) ยนื ยนั วา่ เวอรช์ นั ของซอฟแวรท์ ใี ชใ้ นการควบคุมผลติ ภณั ฑแ์ ละ กระบวนการเป็ นไปตามทกี าํ หนด h) บนั ทกึ ของการสอบเทยี บและการซอ่ มบาํ รงุ /ทวนสอบสาํ หรบั ทกุ เกจ เครอื งวดั และเครอื งทดสอบ รวมถงึ เกจทเี ป็ นของพนักงาน ของลกู คา้ และ ของซพั พลายเออรท์ อี ยหู่ นา้ งาน i) การยนื ยนั ซอฟแวรท์ เี กยี วกบั การผลติ ทใี ชใ้ นการควบคมุ ผลติ ภณั ฑ ์ และกระบวนการ (รวมถงึ ซอฟแวรท์ ตี ดิ ตงั ในเครอื งจกั รทเี ป็ นของพนักงาน ของลกู คา้ และของซพั พลายเออรท์ อี ยหู่ นา้ งาน) www.stemma.co.th 15

7.1.5.3 Laboratory requirements 7.1.5.3.1 Internal Laboratory หอ ง lab ท่อี ยูภายในองคกรตอ งกําหนดขอบขายรวมถึงความสามารถในการ ตรวจสอบ,ทดสอบ หรือบรกิ ารสอบเทยี บ ซงึ่ เอกสารแสดงขอบขา ยตอ งเปน เอกสาร ท่อี ยใู นระบบคุณภาพ หอง Lab ตอ งกําหนดและดาํ เนินการตามขอ กําหนดดังนเ้ี ปน อยางนอ ย a) ข้ันตอนการปฏิบตั งิ านทางเทคนิคในหอง Lab อยา งเพียงพอ b) ความสามารถของบคุ ลากรในหอ ง Lab c) การทดสอบผลิตภัณฑ d) ความสามารถในการดําเนินงานอยางถกู ตอ ง, สามารถสอบยอนกลับไปยงั มาตรฐานได (เชน ASTM,EN) ในกรณที ี่ไมม มี าตรฐานระดบั ชาตหิ รือนานาชาติ องคก รตอ งกําหนดและดาํ เนินการวิธีการทวนสอบความสามารถของระบบการวดั e) ขอกําหนดของลูกคา (ถาม)ี f) การทบทวนบนั ทึกทเ่ี กย่ี วขอ ง หมายเหตุ : การไดร บั การรบั รอง ISO/IEC 17025 อาจจะใชไ นการแสดงวา หอง Lab ของผูสง มอบสอดคลองกบั ขอกําหนดน้ี 7.1.5.3.2 External Laboratory 16 หอ ง Lab ภายนอกองคกร/ทางการคา/อิสระ ทใี่ ชส ําหรบั ตรวจสอบ,ทดสอบ หรอื บรกิ ารสอบเทียบ ตอ งมขี อบขา ยซงึ่ แสดงความสามารถในการตรวจสอบ, ทดสอบ หรอื สอบเทียบ · ไดรบั การรบั รอง ISO/IEC 17025 หรอื มาตรฐานทเ่ี ทยี บเทา และรวมถึงการ ตรวจสอบ,ทดสอบหรือสอบเทยี บในขอบขายการรบั รอง รายงานการทดสอบหรอื สอบเทยี บจะตองมเี คร่ืองหมายสถาบันรับรอง (AB) หรอื · มีหลกั ฐานท่ีแสดงวาหอ ง Lab ภายนอกนัน้ ไดรับการยอมรับจากลกู คา Note : หลักฐานดงั กลา วอาจจะแสดงโดย เชน โดยการประเมนิ จากลกู คา หรือโดย ตรวจประเมนิ โดยบคุ คลที่ 2 ท่ีลูกคา อนมุ ัติ วา สอดคลอ งกับ ISO/IEC 17025 หรอื เทียบเทาการตรวจประเมนิ โดยบคุ คลท่ี 2 นัน้ สามารถทาํ โดยองคก รประเมนิ หอ ง lab โดยใชว ธิ ปี ระเมนิ ตามท่ีลกู คาอนุมัติ การบรกิ ารสอบเทยี บสามารถทาํ โดยผผู ลติ เคร่ืองมือน้นั ในกรณที ่ไี มมหี อ ง Lab ที่มี คุณสมบัติ ในกรณนี อ้ี งคก รตองมน่ั ใจวา เปน ไปตาม ขอกาํ หนด 7.1.5.3.1 การใชบ ริการสอบเทียบนอกเหนือจากหอง lab ทมี่ ีความสามารถ(หรือลูกคา ยอมรบั ) กอ็ าจขึ้นอยกู บั การยนื ยนั ตามกฏหมายของรฐั บาล ถาจําเปน www.stemma.co.th

7.1.6 Organizational knowledge 7.2 Competence See requirements of ISO 9001:2015 7.2.1 Competence-supplemental องคก รตอ งจดั ทาํ และคงไวซ่งึ กระบวนการทีเ่ ปน เอกสาร ในการระบุ ความตง อการในการฝกอบรม(Training Need) รวมถงึ ความตระหนัก และบรรลุถงึ คุณสมบตั ขิ องบุคลากรท้ังหมดท่ีปฏิบตั งิ านท่มี ีผลกระทบ ตอความสอดคลอ งกับขอ กําหนดของผลิตภณั ฑและกระบวนการ บคุ ลากรท่ปี ฏบิ ตั ิงานเฉพาะดา นตองมคี ณุ สมบัติ โดยเนนในการ ตอบสนองความตองการของลกู คา www.stemma.co.th 17

7.2.2 Competence-on-the-job-training องคก รตองจดั ใหมกี ารฝก อบรมหนางาน (ซงึ่ รวมถงึ การอบรม ขอกําหนดของลูกคา ) สาํ หรับบุคลากรในความรบั ผิดชอบใหม หรือเปลี่ยนแปลงความรับผดิ ชอบซึ่งมผี ลกระทบตอขอ กาํ หนดคณุ ภาพ , ขอกําหนดภายใน, ขอกําหนดกฎหมาย รวมทั้ง บคุ ลากรทีเ่ ปนตัวแทนหรอื เปน สัญญาจา งขององคกร รายละเอียดของ OJT - ขึน้ กบั ระดบั การศึกษาของบุคลากรและความ ซบั ซอนของงานประจาํ วนั ทีท่ าํ บคุ ลากรท่ีมีผลกระทบตอคณุ ภาพตอง ไดร บั ทราบผลทเ่ี กิดขน้ึ ของ ความไมเ ปน ไปตาม ขอ กําหนดของลูกคา 7.2.3 Internal auditor competency องคก รตอ งมีกระบวนการทเ่ี ปน เอกสาร ในการทวนสอบวาผตู รวจสอบ ภายในมคี วามสามารถโดยพจิ าณา CSR สําหรับแนวทางเพมิ่ เตมิ ให อางอิง ISO 19011 องคก รตองมีรายชือ่ ผูตรวจสอบภายในทีม่ ี คุณสมบัติ ผตู รวจสอบระบบ,กระบวนการ และผลติ ภัณฑ จะตอ งมี ความสามารถอยางนอ ยดงั น้ี a) เขาใจการตรวจประเมนิ โดย Automotive Process Approach รวมถงึ แนวคดิ อิงความเสี่ยง b) เขา ใจ CSR ทป่ี ระยกุ ตใช c) เขา ใจขอ กาํ หนด ISO 9001, IATF 16949 ท่เี กย่ี วของใน ขอบขายการตรวจประเมิน d) เขาใจใน core tools ทเี กีย่ วขอ งในขอบขา ยการตรวจประเมนิ e) เขาใจในการวางแผน, การตรวจ, รายงาน และการปด CAR นอกจากนีแ้ ลว www.stemma.co.th 18

7.2.3 Internal auditor competency ผูตรวจสอบกระบวนการตองแสดงถึงความเขาใจทางเทคนคิ ท่ี เก่ียวของกบั กระบวนการทต่ี รวจ รวมถึงการวิเคราะหค วามเส่ยี งของ กระบวนการ (เชน FMEA) และ control plan ผตู รวจสอบผลติ ภัณฑ ตอ งแสดงถึงความเขา ใจในขอกาํ หนดของผลติ ภณั ฑแ ละใชเครือ่ งมอื วัดในการทวนสอบความสอดคลอ งของผลติ ภัณฑ ในการฝกอบรม เพอื่ ใหมคี ณุ สมบตั ิ จะตอ งมีบนั ทกึ ที่แสดงใหเ ห็นคุณสมบตั ขิ องผูสอน ตามขอกาํ หนดขางตน การรกั ษาและพัฒนาความสามารถของผู ตรวจสอบจะตอ งแสดงโดย f) จาํ นวนการตรวจขนั้ ตํ่า/ป ตามท่ีองคก รกําหนด g) มคี วามรใู นขอกําหนดทเี่ ก่ียวของตามการเปล่ียนแปลงภายใน (เชน เทคโนโลยีกระบวนการ, เทคโนโลยผี ลิตภณั ฑ) และการ เปล่ยี นแปลงภายนอก (เชน ISO 9001, IATF 16949, Core tools และ CSR) www.stemma.co.th 19

7.2.4 Second-party auditor competency องคก รตองแสดงถึงความสามารถของผตู รวจ 2nd party (ตรวจซัพ พลายเออร) ซ่ึงจะตอ งเปน ไปตาม CSR สาํ หรับคุณสมบัติ และรวมถึง ความเขาใจใน a) เขา ใจการตรวจประเมินโดย Automotive Process Approach รวมถงึ แนวคิดองิ ความเสีย่ ง b) เขา ใจ CSR และขอ กาํ หนดเฉพาะขององคก ร ทปี่ ระยุกตใ ช c) เขาใจขอ กําหนด ISO 9001, IATF 16949 ทเ่ี กย่ี วขอ งใน ขอบขา ยการตรวจประเมนิ d) เขา ใจในกระบวนการผลติ ท่จี ะตรวจ รวมถงึ FMEA, Control plan e) เขา ใจใน core tools ท่เี กยี่ วขอ งในขอบขา ยการตรวจประเมิน f) เขา ใจในการวางแผน, การตรวจ, รายงาน และการปด CAR 7.3 Awareness See requirements of ISO 9001:2015 7.3.1 Awareness-supplemental องคกรตอ งมีบันทึกทีแ่ สดงวา พนักงานทกุ คนมีความตระหนกั ใน ผลกระทบของเขาท่ีมตี อคุณภาพของผลิตภณั ฑ และความสําคัญของ งานทท่ี าํ ใหการบรรลุ คงไวแ ละพฒั นาคุณภาพรวมถึงขอ กําหนด ลกู คา และความเสี่ยงที่มตี อลกู คา กับผลติ ภณั ฑทีไ่ มเปนไปตาม ขอ กําหนด 7.3.2 Employee Motivation and empowerment องคก รตองมกี ระบวนการท่ีเปน เอกสารในการจงู ใจพนกั งานใหบรรลุ ถงึ วัตถปุ ระสงคคณุ ภาพและมีการปรับปรุงอยา งตอเน่ืองและสรา ง สภาพแวดลอ มในการสรางสรรคสง่ิ ใหมๆ กระบวนการน้ตี อ งรวมถึง การสง เสริมความตระหนกั ในเรอื่ งคุณภาพและเทคในโลยที ัว่ ทั้ง องคกร www.stemma.co.th 20

7.5 Documented information 7.5.1 General See requirements of ISO 9001:2015 7.5.1.1 Quality Management system documentation ระบบคณุ ภาพขององคกรจะตองเปน เอกสารและรวมถงึ คูมือคณุ ภาพซง่ึ อาจจะเปน ชดุ เอกสารหลายเอกสาร(อเิ ล็กทรอนกิ สหรือกระดาษ) รูปแบบและโครงสรา งของ QM ข้ึนกับการตัดสินใจขององคก ร และขนาดความ ซบั ซอนวฒั นธรรมองคก ร ถา เปนชุดเอกสารจะตอ งมีรายการเอกสารที่รวมกันเปน คมู อื คุณภาพ คมู ือคณุ ภาพตองรวมถึง(เปน อยา งนอย) a) ขอบขาย, รายละเอยี ดและเหตผุ ลการยกเวน b) ระเบยี บปฏบิ ตั หิ รืออางถงึ c) กระบวนการขององคกร ลาํ ดับและปฏิสัมพนั ธ (input, output) รวมถึงการ ควบคุมกระบวนการภายนอก d) เอกสาร (เชน matrix) ท่ีแสดงวา CSR ไดร ะบุไวท่ใี ดในกระบบคณุ ภาพของ องคกร Note : อาจใช Matrix ในการระบุวา ขอกาํ หนด IATF ไปอยใู นกระบวนการของ องคก รอยา งไร 7.5.2 Create and updating See requirements of ISO 9001:2015 7.5.3 Control of documented information 7.5.3.1 7.5.3.2 www.stemma.co.th 21

7.5.3.2.1 Record retention องคกรตอ งกาํ หนด มีเอกสาร และปฏิบตั ิในนโยบายการเก็บรกั ษาบนั ทึก การ ควบคมุ บนั ทกึ จะตอ งเปน ไปตามขอ กําหนดกฏหมาย, องคก ร และลูกคา PPAP, บันทกึ tooling (รวมถงึ การบาํ รุงรักษาและความเปนเจาของ), การ ออกแบบผลติ ภัณฑและกระบวนการ, P/O, สญั ญาและการเปล่ียนแปลง จะตองเก็บ จนกวา จะเลิกผลิตบวก 1 ปปฏทิ ิน เวน แตลูกคา หรอื กฎหมายกําหนดเปนอยา งอน่ื Note: เอกสาร PPAP อาจรวมถึงเอกสารการอนมุ ตั ผิ ลิตภัณฑ บนั ทกึ การอนุมัติ เคร่อื งทดสอบหรือขอมูลการทดสอบ 7.5.3.2.2 Engineering specification องคก รตอ งมีเอกสารขั้นตอนการทบทวน,แจกจายและนําไปปฏบิ ัตมิ าตรฐานและสเปค ทางวศิ วกรรมของลกู คา ท้งั หมดและการเปล่ียนแปลงตา งๆตามแผนของลูกคา ในกรณกี ารเปลี่ยนแปลงมาตรฐานและสเปคทางวิศวกรรมสงผลใหมกี ารเปลี่ยนแปลง การการออกแบบผลติ ภัณฑใ หอา งถึง ISO 9001,8.3.6 ในกรณีการเปลย่ี นแปลงมาตรฐานและสเปค ทางวศิ วกรรมสงผลใหมีการเปลยี่ นแปลง กระบวนการผลติ ใหอา งถงึ 8.5.6.1 องคกรตองเกบ็ บันทกึ \"วันท'่ี ทมี ีการนําการเปลย่ี นแปลงไปปฏบิ ัตใิ นสายการผลิต การ นําไปปฏิบัตติ องรวมถงึ การอัพเดทเอกสารอ่ืนที่เกยี่ วของใหทันสมัยดวย การทบทวนควรจะเสรจ็ ส้ินภายใน 10 วันทําการ หมายเหตุ : การเปล่ียนแปลงมาตรฐานและสเปคทางวิศวกรรมอาจจะตองอพั เดท PPAP ในกรณที ่ีสเปคเหลานอ้ี ยใู นการออกแบบ หรอื กระทบตอ เอกสารอื่นๆ เชน control plan, การวิเคราะหค วามเสยี่ ง (เชน FMEA) www.stemma.co.th 22

8 Operations See requirements of ISO 9001:2015 8.1 Operational planning and control 8.1.1 Operational planning and control – supplemental ในการวางแผนสาํ หรับการผลติ ภัณฑจะตองรวมถึง a) ขอกําหนดของลูกคาทเี่ กีย่ วกับผลติ ภัณฑและสเปคทางเทคนิค b) ขอกําหนดดานโลจิสตกิ c) ความเปน ไปไดในการผลิต d) การวางแผนโครงการ e) เกณฑก ารยอมรบั ทรพั ยากรทรี่ ะบใุ น ISO 9001 ขอ 8.1 c) รวมถงึ กิจกรรมการทวนสอบ การรบั รอง การเฝาตดิ ตาม การวดั การตรวจสอบ และการทดสอบกับผลิตภัณฑแ ละเกณฑใ น การยอมรับผลิตภณั ฑ 8.1.2 Confidentiality องคกรตองมั่นใจวา มีการเก็บรักษาขอ มลู ทีเ่ ปน ความลับของผลิตภัณฑท ่อี ยใู น ระหวา งสัญญาของลูกคาและโครงการทอี่ ยรู ะหวางการพัฒนาและสาสนเทศท่ี เก่ียวขอ งกับผลติ ภัณฑ 8.2 Requirements for products and services 23 8.2.1 Customer communication See requirements of ISO 9001:2015 8.2.1.1 Customer communication – supplemental การสอื่ สารดวยวาจาหรอื ลายลักษณอ กั ษรตองเปน ภาษาท่ีเห็นชอบโดยลูกคา องคก รตองมคี วามสามารถในการติดตอ ส่ือสารขอมูลท่ีจาํ เปน รวมท้งั ภาษา/รปู แบบ คอมพวิ เตอรที่ลูกคากาํ หนด (เชน Computer-aided design data, electronic data exchange) 8.2.2 Determining the requirements related to products and services See requirements of ISO 9001:2015 8.2.2.1 Determination of requirements related to products and services- supplemental ขอกําหนดเหลา นร้ี วมถึงการรีไซเคิล, ผลกระทบตอสงิ่ แวดลอ มและคณุ ลักษณะที่ ระบุจากองคค วามรูขององคกรของผลิตภณั ฑแ ละกระบวนการผลติ ความสอดคลอง กับ ISO 9001 ขอ 8.2.2 a) 1) รวมถึงขอกาํ หนดรัฐบาล ความปลอดภัยและ ส่งิ แวดลอมท่เี ก่ยี วของกบั การไดม า, จัดเกบ็ , เคลอ่ื นยา ย, รไี ซเคลิ , ทิ้ง, และกาํ จัด วตั ถดุ ิบ www.stemma.co.th

8.2.3.1.1 Review of requirements related to the products and services- supplemental องคก รตอ งเก็บบนั ทกึ หลักฐานการอนุมัติจากลูกคาในการยกเวน ในการทบทวน อยา งเปนทางการของขอกาํ หนด ISO 9001 ขอ 8.2.3.1 8.2.3.1.2 Customer Designated special characteristic องคกรตอ งสอดคลอ งตามขอ กําหนดของลกู คาในการกําหนด, เอกสารการอนมุ ัติ และการควบคุม S/C 8.2.3.1.3 Organization manufacturing feasibility องคก รตองใชท ีมงานหลายหนวยงานในการวิเคราะหเพื่อทราบวาเปน ไปไดหรอื ไม ทีก่ ระบวนการผลติ ขององคก ร สามารถทีจ่ ะผลิตผลิตภัณฑใ หบ รรลขุ อ กาํ หนดลูกคา ทางวศิ วกรรมและกาํ ลังการผลติ อยา งตอเน่ือง องคก รตอ งวิเคราะหค วามเปน ไปได ในการผลิตสําหรบั เทคโนโลยีผลิตภัณฑหรอื เทคโนโลยกี ารผลิตใหมส ําหรับองคกร และการเปลย่ี นแปลงกระบวนการผลติ หรอื การออกแบบผลิตภณั ฑ องคก รควรจะ ทวนสอบ(validate) ความสามารถที่จะผลิตใหไ ดตามสเปคในอัตราเร็วทตี่ องการ โดยการดาํ เนินการผลิต, ศกึ ษาเทยี บเคยี ง(Benchmark) หรือวธิ กี ารอ่ืน 8.2.3.2 8.2.4 Changes to requirements for products and services 8.3 Design and development of products and services 8.3.1 General See requirements of ISO 9001:2015 8.3.1.1 Design and development of products and services-supplemental ขอ กําหนด ISO 9001 ขอ 8.3.1 รวมถงึ การออกแบบและพัฒนาผลติ ภณั ฑ และ กระบวนการผลติ และ ตองเนน การปองกันการผดิ พลาด มากกวา การตรวจจบั องคก รตอ งมเี อกสารกระบวนการออกแบบและพฒั นา 8.3.2 Design and development planning See requirements of ISO 9001:2015 www.stemma.co.th 24

8.3.2.1 Design and Development planning – supplemental องคก รตองมน่ั ใจวา การวางแผนการออกแบบรวมถงึ ผูเกยี่ วของท่ีไดร ับผลกระทบ ท้งั หมดในองคกร, หวงโซผ ผู ลิตตามความเหมาะสม ตัวอยา งของกจิ กรรมที่ใช ทมี งานหลายหนว ยงาน a) การจดั การโครงการ (APQP หรอื VDA - RGA) b) กิจกรรมการออกแบบผลิตภัณฑ และกระบวนการผลิต (เชน DFM, DFA) และ เชนการพิจารณาการออกแบบอนื่ ๆหรอื กระบวนการผลิตอนื่ ๆ c) พฒั นาและทบทวนการวเิ คราะหความเสียงของการออกแบบผลิตภัณฑ (FMEA) รวมถึงการลดความเสียง d) พฒั นาและทบทวนการวิเคราะหความเส่ียงของกระบวนการผลิต (FMEA, Process flow, control plan และ SWI) Note: โดยทั่วไปทมี งานหลายหนว ยงานรวมถึง ออกแบบ,ผลิต,วศิ วกรรม,คุณภาพ, จัดซ้อื ,ซอมบํารุง,ซัพพลายเออร และอ่ืนๆตามความเหมาะสม 8.3.2.2 Product Design skills องคกรตอ งม่นั ใจวา บคุ ลากรท่ีมีหนา ที่ออกแบบผลิตภัณฑ มคี วามสามารถในการ บรรลุขอ กาํ หนดในการออกแบบ และมีทกั ษะในเครื่องมือและเทคนิคทีใ่ ชอ อกแบบ องคก รจะตองระบุเทคนคิ และเคร่ืองมือท่ใี ชในการออกแบบ Note ตัวอยา งของทกั ษะที่ใชในการออกแบบคือ CAD,CAM,FEA 8.3.2.3 Development of products with embedded software องคกรตองใชก ระบวนการในการประกันคุณภาพผลิตภัณฑท่ีมีซอฟแวรอยูภายใน ตองใชว ิธีการประเมินการพัฒนาซอฟแวรเพอื่ ประเมนิ กระบวนการพฒั นาซอฟแวร ขององคกร องคก รตองเก็บบันทกึ การประเมนิ ตนเอง ในดา นความสามารถในการ พฒั นาซอฟแวรต ามระดบั ความเสียงและผลกระทบตอ ลูกคา องคกรตอ งรวมการพัฒนาซอฟแวรในขอบขา ยของการตรวจประเมินภายใน 8.3.3 Design and development inputs See requirements of ISO 9001:2015 www.stemma.co.th 25

8.3.3.1 Product design input องคกรตอ งระบจุ ดั ทาํ เปน เอกสาร และทบทวนขอกําหนดของ Input ในการออกแบบซ่งึ เปน ผลมา จากการทบทวนขอตกลง Inputในการออกแบบผลติ ภัณฑ รวมถงึ a) สเปคของผลติ ภัณฑร วมถึงคุณลกั ษณะพเิ ศษ (S/C) (ดู 8.3.3.3) b) ขอ กําหนดของขอบเขตและความเชือ่ มโยง (boundary and interface) c) การช้ีบง สอบกลับได และบรรจุภัณฑ d) การพิจารณาทางเลอื กอื่นในการออกแบบ e) การประเมินความเส่ียงในขอ กาํ หนดของ Input และความสามารถขององคการในการลด/ จัดการความเส่ยี ง รวมถึงผลจากการศกึ ษาความเปนไปได (feasibility) f) เปาหมายในการสอดคลองกบั ขอ กาํ หนดของผลิตภัณฑร วมถงึ การถนอมรกั ษา, ความ เช่อื ถอื ได, ความทนทาน และความสามารถในการบรกิ ารซอมบํารุงได,สุขภาพ, ความปลอดภัย, สิ่งแวดลอ ม,ระยะเวลาการพัฒนา และตน ทนุ g) ขอกําหนดกฎหมายและมาตรฐานของประเทศปลายทางทีล่ ูกคา ระบุ h) ขอกาํ หนดซอฟแวรท่อี ยภู ายใน องคก รตอ งมีกระบวนการในการใชข อ มลู ทไ่ี ดจ ากโครงการการออกแบบท่ีแลว ,การวเิ คราะห คูแขง,ขอ คิดเหน็ จากผสู งมอบ, Input ภายในองคก ร,ขอมูลภาคสนาม และแหลง อ่ืนๆท่ีเหมาะสม สําหรบั โครงการที่คลา ยคลึงกันในปจจุบนั และอนาคต Note: วธิ กี ารหน่งึ ในการพิจารณาทางเลอื กการออกแบบอนื่ คอื การใช trade-off curve 8.3.3.2 Manufacturing process design input องคกรตองระบ,ุ จัดทําเปนเอกสาร และทบทวนขอกาํ หนดของ Input ในการ ออกแบบกระบวนการผลิตซึง่ รวมถึง a) ขอมลู Output ของการออกแบบผลิตภณั ฑร วมถึง S/C b) เปาหมายยอดการผลติ , ความสามารถของกระบวนการ,ระยะเวลาและ ตน ทนุ c) ทางเลือกในเทคโนโลยีการผลติ d) ขอกําหนดของลกู คา (ถา ม)ี e) ประสบการณจากการพฒั นาครัง้ ทีผ่ านมา f) วตั ถดุ ิบใหม g) การเคล่อื นยายผลติ ภณั ฑแ ละขอ กําหนดดา นสรีระศาสตร h) DFM, DFA การออกแบบกระบวนการผลิตรวมถงึ วิธีการใชวิธีการปองกนั ความผิดพลาดตาม ความเหมาะสมของระดบั ปญหาและความเสย่ี งทเ่ี กดิ ขึ้น www.stemma.co.th 26

8.3.3.3 Special characteristic องคก รตองใชท มี งานหลายหนว ยงานในการจัดทาํ มเี อกสาร ดาํ เนนิ การในกระบวนการ ระบุ S/C รวมถงึ ทก่ี าํ หนดโดยลกู คา และทีเ่ ปน ผลมาจากการวิเคราะหค วามเสย่ี งโดย องคกร และตอ งรวมถึง a) ทําเปนเอกสารของทกุ จดุ S/C ใน drawing, การวิเคราะหค วามเสี่ยง (เชน FMEA), control plan และ SWI,S/C จะถกู ระบุดว ยสัญลักษณเฉพาะและเชื่อมโยงกนั มาในเอกสาร เหลา นี้ b) กาํ หนดกลยุทธการควบคมุ และเฝา ดจู ดุ S/C ของผลิตภัณฑแ ละกระบวนการ c) อนุมตั ิโดยลกู คา เมือ่ ตอ งการ d) ตอ งสอดคลองกับขอกําหนดลกู คา ทงั้ ในเร่อื งนิยามเฉพาะและสญั ลกั ษณห รอื สัญลักษณท เี่ ท่ยี บเทา ขององคกรที่กาํ หนดไวในตาราง ตารางนจี้ ะตอ งสง มอบใหลกู คา ถา ตอ งการ 8.3.4 Design and development controls See requirements of ISO 9001:2015 www.stemma.co.th 27

8.3.4.1 Monitoring ตองระบ,ุ วเิ คราะหแ ละรายงาน การวดั ในขน้ั ตอนของการออกแบบและพฒั นา ผลิตภัณฑแ ละกระบวนการ โดยมีการสรุปผลเปนรายงานในการทบทวนโดย ผบู รหิ าร เมือ่ มคี วามตองการของลูกคา การวดั ในขัน้ ตอนของการพัฒนาผลติ ภณั ฑและ กระบวนการจะตอ งรายงานไปยังลูกคาในขัน้ ตอนที่กาํ หนดและเห็นชอบโดยลูกคา หมายเหตุ : การวดั นี้รวมถึง ความเสี่ยงดานคุณภาพ,ตนทุน,ระยะเวลา,เสน ทาง วิกฤต และอน่ื ๆตามความเหมาะสม 8.3.4.2 Design and development validation การรบั รองการออกแบบจะตอ งทาํ ตามขอกําหนดของลกู คารวมถึงกฎหมายรฐั บาล มาตรฐานอุสาหกรรม ชวงเวลาในการรับรองการออกแบบจะตอ งวางแผนให สอดคลองกับตารางเวลาของลูกคา เม่ือมีสญั ญาท่ตี กลงไวก ับลกู คา จะตอ งรวมถึงการประเมินปฏสิ มั พนั ธผลิตภัณฑ (รวมถงึ ซอฟแวรท่ีอยูภายใน)ที่มตี อระบบของผลติ ภัณฑของลูกคา 8.3.4.3 Prototype programme เม่ือลกู คา รอ งขอ องคก รตอ งมโี ปรแกรมการทําตน แบบและ control plan องคการตอง ใชผ สู ง มอบ,เคร่ืองมอื และกระบวนการเดียวกบั ที่จะ ใชในกระบวนการผลติ จริง กิจกรรมการทดสอบสมรรถนะตอ งมีการเฝา ตดิ ตามใหเสรจ็ ทนั เวลาและสอดคลองกับ ขอกําหนด หากบรกิ ารเหลา นีด้ ําเนินการโดยผรู บั จางชว ง องคกรตอ งรวมการควบคุม ผรู บั จางชว งไวในระบบคณุ ภาพใหมน่ั ใจวา ผรู บั จา งชวงสอดคลอ งกับขอกาํ หนด 8.3.4.4 Product approval process องคกรตองจัดทาํ ดําเนินการและคงไวกระบวนการอนุมัติผลติ ภัณฑและกระบวนการ สอดคลองตามขอ กาํ หนดลูกคา องคกรตองอนมุ ตั ผิ ลิตภัณฑและบรกิ ารจากภายนอก กอ นทจ่ี ะสง PPAP ใหกบั ลูกคา องคก รตองไดร บั การอนุมตั ิผลิตภณั ฑเปน เอกสาร กอ นการสงมอบสินคา ถา ลกู คา ตองการ,ตอ งเก็บบนั ทึกการอนุมตั ิ Note : การอนุมัติผลติ ภณั ฑจ ะกระทําหลังจากการทวนสอบกระบวนการผลิต 8.3.5 Design and development outputs See requirements of ISO 9001:2015 www.stemma.co.th 28

8.3.5.1 Design and Development outputs-supplemental (Continue) ผลจากการออกแบบผลิตภณั ฑ( Output) จะตอ งแสดงในรูปแบบท่ีสามารถ ทวนสอบ และรบั รองตรงกับขอกาํ หนดของขอ มลู นาํ เขา(Input) Output ของการออกแบบ ผลิตภัณฑจะตองรวมถงึ a) การวิเคราะหค วามเส่ียงในการออกแบบ (FMEA) b) ผลการศกึ ษาของความนา เชื่อถือ(Reliability) c) คณุ ลัษณะพิเศษของผลิตภณั ฑ(S/C) d) การปอ งกันความผดิ พลาดของการออกแบบผลิตภัณฑ DFSS,DFMA and FTA e) คําจํากัดความของผลิตภัณฑ รวมทงั้ 3D Model, ชุดขอมลู ทางเทคนิค, ขอ มลู การผลติ , GD&T f) 2D Drawing, ขอมลู การผลติ , GD&T g) ผลการทบทวนการออกแบบผลิตภณั ฑ h) แนวทางจากการวนิ จิ ฉัยอาการในการบริการ และวิธีการซอ มและบริการ i) ขอกําหนดของชิ้นงานบริการ(อะไหล) j) ขอ กําหนดบรรจุภัณฑและฉลาก สําหรบั การสง มอบ Note : ผลลพั ธข องการออกแบบอาจรวมถงึ การแกป ญหาทางวิศวกรรมโดย trade off process 8.3.5.2 Manufacturing process design output องคก์ รตอ้ งมเี อกสารของ Output ในการออกแบบกระบวนการการผลติ ซงึ แสดงในเนือหา ที สามารถจะทวนสอบกบั Input ในการออกแบบกระบวนการ องคก์ รตอ้ งทวนสอบ output เทยี บกบั Input output ของการออกแบบกระบวนการตอ้ งครอบคลุมถงึ a) Specifications และ drawings b) S/C ของ ผลติ ภณั ฑแ์ ละกระบวนการผลติ c) ระบคุ วามผนั แปรของกระบวนการทสี ่งผลตอ่ คณุ ลกั ษณะ d) เครอื งมอื เครอื งจกั รสําหรบั ผลติ และควบคมุ รวมถงึ การศกึ ษาความสามารถของเครอื งจกั ร และกระบวนการ e) ผงั การไหล/แผนผงั กระบวนการผลติ รวมถงึ ความเชอื มโยงกบั ผลติ ภณั ฑ,์ กระบวนการและ เครอื งมอื f) การวเิ คราะหก์ าํ ลงั การผลติ g) PFMEA h) แผนและวธิ กี ารซอ่ มบํารงุ I) Control plan www.stemma.co.th 29

8.3.5.2 Manufacturing process design output j) Standardized work or WI k) เกณฑใ์ นการอนุมตั กิ ระบวนการ i) ขอ้ มูลสาํ หรบั คณุ ภาพ, reliability, ความสามารถในการซอ่ มบาํ รงุ และความสามารถใน การตรวจวดั คา่ ได ้ m) ผลของการระบุและทวนสอบ mistake-proofing ตามความเหมาะสม n) วธิ กี ารในการตรวจจบั ทรี วดเรว็ และการป้ อนขอ้ มูลกลบั ของความไม่เป็ นไปตามขอ้ กาํ หนด ของผลติ ภณั ฑ/์ กระบวนการ 8.3.6 Design and development changes See requirements of ISO 9001:2015 8.3.6.1 Design and Development changes – supplemental องคกรตองประเมินการเปล่ยี นแปลงการออกแบบทง้ั หมด ทีเ่ กิดขนึ้ หลังจากการอนมุ ัติ เริ่มแรก รวมถึงท่เี สนอโดยองคกรหรอื ซพั พลายเออร ประเมินผลกระทบตอ การ ประกอบ,การใชง าน,สมรรถนะ,ความคงทน ตอง validate การเปล่ียนแปลงกับ ขอกําหนดของลกู คาและอนุมัติภายใน กอนจะเริม่ นาํ ไปใชใ นการผลิต ถาลกู คา ตองการ องคก รตองไดรับการอนมุ ตั ิเปน เอกสารหรอื การยกเวนเปนเอกสาร จากลูกคา กอนจะเร่มิ นําไปใชใ นการผลิต สําหรบั ผลติ ภัณฑท ่ีมซี อฟแวรอยูภายใน องคกรตอ งมีเอกสารระบุระดับการ เปล่ยี นแปลงของซอฟแวรแ ละฮารดแวร ซงึ่ เปนสวนหนงึ่ ของบนั ทึกการเปลีย่ นแปลง 8.4 Control of externally provided processes, products and services 8.4.1 General See requirements of ISO 9001:2015 8.4.1.1 General-supplemental องคก รตอ งรวมทกุ ผลิตภัณฑแ ละบรกิ ารท่ีมีผลกระทบตอขอกําหนดของลูกคา เชน การประกอบยอย, ลําดับการเรียงตอกัน,การคัดแยก,การทําใหม และการบรกิ ารการ สอบเทยี บในขอบขายของ กระบวนการ ผลติ ภัณฑแ ละบริการท่ีไดร ับจากภายนอก www.stemma.co.th 30

8.4.1.2 Supplier selection process องคกรตองมเี อกสารกระบวนการคดั เลอื กซัพพลายเออร การคดั เลือกซัพพลายเออรรวมถึง a) การประเมินความเสย่ี งของซัพพลายเออรต อความสอดคลองของผลติ ภัณฑ ตอการไมติดขัด การสง มอบผลติ ภัณฑขององคกรไปยังลกู คา b) สมรรถนะคณุ ภาพและสง มอบ c) การประเมินระบบคุณภาพของซัพพลายเออร d) การตดั สินใจโดยทีมงานหลายหนว ยงาน e) การประเมินความสามารถในการพฒั นาซอฟแวร ถา เก่ยี วของ เกณฑอ่ืนๆ ในการคัดเลอื กซัพพลายเออรค วรจะพิจารณารวมถึง ปริมาณของธุรกิจดานยาน ยนต( จํานวน, % เทยี บกับธุรกจิ ท้ังหมด) • ความม่ันคงทางการเงิน • ความซับซอ นของผลติ ภัณฑ/วัตถุดบิ ท่ีซือ้ • ความเพียงพอของทรัพยากร (เชน คน, โครงสรางพ้ืนฐาน) • ความสามารถในการออกแบบพัฒนา (รวมถึงการจัดการโครงการ) • ความสามารถในการผลิต • กระบวนการจัดการความเปลยี่ นแปลง • การวางแผนความตอ เนอ่ื งของธรุ กิจ (เชน แผนฉกุ เฉิน, ความพรอ มในภัยพบิ ตั )ิ • กระบวนการโลจิสตกิ • การบรกิ ารลูกคา 8.4.1.3 Customer-directed sources (also known as “Directed-Buy) เม่ือมกี ารระบุโดยลูกคา องคก รตอ งจดั ซื้อผลิตภณั ฑ, วัตถุดิบ หรือบริการ จาก แหลง ทล่ี กู คา กาํ หนด ขอกาํ หนด 8.4 (ยกเวน 8.4.1.2) จะตองประยุกตใชทั้งหมด ในการควบคุม แหลงซอื้ ท่ีลูกคากําหนด ยกเวน ถา มขี อ กาํ หนดลกู คาในสญั ญาเปน อยา งอ่ืน 8.4.2 Type and extent of control See requirements of ISO 9001:2015 8.4.2.1 Type and extent of control-supplemental องคก รตองมกี ระบวนการที่เปน เอกสารในการระบุ outsource และในการเลือก วิธกี ารควบคมุ ทจ่ี ะใชในการทวนสอบผลิตภัณฑจากภายนอก วา สอดคลองกับ ขอ กําหนดภายในและขอกาํ หนดลูกคา ภายนอก กระบวนการตอ งรวมถงึ เกณฑและการยกระดบั หรือการควบคุม และกิจกรรมการ พฒั นาตามสมรรถนะของซัพพลายเออร และการประเมินความเส่ยี งของ ผลติ ภณั ฑ www.stemma.co.th 31

8.4.2.2 Statutory and Regulatory requirements องคกรตองจัดทําเอกสารขน้ั ตอนเพื่อใหแนใจวา ผลติ ภัณฑ กระบวนการ และบริการท่ี ซอื้ น้ันสอดคลองกับขอกําหนดตามกฎหมายและกฎระเบียบในปจ จุบนั ของประเทศที่ รับ ของประเทศที่จัดสง และประเทศปลายทางทลี่ ูกคาระบุ หากลกู คา กาํ หนดการควบคุมพิเศษสําหรบั ผลติ ภณั ฑบางอยางตามขอ กาํ หนดตาม กฎหมายและกฎระเบยี บ องคกรตองม่นั ใจวาไดดาํ เนินการ และคงไวตามที่กาํ หนดไว รวมทงั้ ซัพพลายเออรดวย 8.4.2.3 Supplier quality management system development องคก รตองกาํ หนดใหซพั พลายเออรของผลิตภณั ฑและบริการของยานยนต ทําการ พฒั นานําไปใชและปรบั ปรุงระบบการจดั การคณุ ภาพมาตรฐาน ISO 9001,เวนแต ไดร ับอนุมตั เิ ปน อยา งอ่ืนโดยลกู คา [เชน รายการ a) ดา นลา ง] โดยมีจุดมงุ หมายสูงสดุ ใหไดการรบั รอง IATF น้ี ควรจะใชลาํ ดับตอ ไปน้ีเพอ่ื ใหบ รรลขุ อ กําหนดน้ี เวนแต ลูกคา ระบุเปนอยา งอน่ื a) สอดคลอ งตามมาตรฐานISO 9001 โดย 2nd party audit; b) ไดรับการรับรองมารฐาน ISO 9001 โดย CB, เวน แตล กู คา ระบเุ ปน อยา งอ่นื ซัพพลายเออรต องแสดงความสอดคลอ งกับมาตรฐาน ISO 9001 โดยไดรับการ รับรองโดย CB ทไี่ ดร ับการยอมรับจากสมาชิก IAF MLA ซึ่งขอบขา ยของ AB รวมถงึ การรบั รองระบบการจัดการมาตรฐาน ISO/IEC 17021; c) ไดรับการรับรองมาตรฐาน ISO 9001 และสอดคลองกบั ขอ กาํ หนด QMS อ่ืนๆ ท่ีลูกคา กําหนด (เชนขอ กาํ หนดขั้นตํ่าของ Automotive QMS สําหรับซัพพลายเออร ยอย) [MAQMSR] หรือเทียบเทา) โดย 2nd party audit; d) ไดร บั การรบั รองมาตรฐาน ISO 9001 และสอดคลองกบั IATF 16949 โดย 2nd party audit; e) ไดร บั การรับรอง IATF 16949 โดย CB ที่ IATF ยอมรบั www.stemma.co.th 32

www.stemma.co.th 33

8.4.2.3.1 Automotive product-related software or automotive products with embedded software องคกรตอ งใชซ ัพพลายเออรท่พี ฒั นาซอฟแวรท เี่ ก่ยี วของกับผลิตภณั ฑยานยนต หรอื ผลิตภัณฑย านยนตท ี่มีซอฟแวรฝง ตัวอยูภายใน ดําเนินการ และคงไวถ ึง กระบวนการในการประกนั คณุ ภาพซอฟแวรสําหรบั ผลิตภัณฑ นั้น ตอ งนําวธิ กี ารประเมนิ การพฒั นาซอฟแวรม าใชใ นการประเมินกระบวนการพฒั นา ซอฟแวรข องซัพพลายเออร, จดั ลาํ ดบั ความสําคัญข้ึนอยูก ับความเสีย่ งและ ผลกระทบที่อาจเกดิ ขึน้ กบั ลูกคา, องคก รตองใหซ พั พลายเออรเก็บบนั ทกึ การ ประเมนิ ตนเอง เกี่ยวกบั ความสามารถในการพัฒนาซอฟแวร 8.4.2.4 Supplier Monitoring องคก รตองมีเอกสารของกระบวนการและเกณฑก ารประเมนิ สมรรถณะของซพั พลาย เออร เพอ่ื มั่นใจในความสอดคลองของผลติ ภณั ฑ กระบวนการและการบริการจาก ภาพนอกตอขอ กําหนดของลูกคา ทงั้ ภายในและภายนอก ตองเฝาดสู มรรถณะของซัพพลายเออรต อ ไปน้ี เปน อยา งนอย: a) ความสอดคลองกบั ขอ กาํ หนดของผลติ ภณั ฑท่ีสง มอบ; b) การหยุดชะงักของลูกคาที่โรงงาน รวมทัง้ ลานจอดของรถมปี ญหา(yard hold) และหยดุ สง; c) สมรรถณะการสง มอบ; d) จาํ นวนการเกิดคาขนสงพเิ ศษ ถา ลกู คามีขอมลู ให, องคการยังรวมเรอ่ื งตอไปนี้ตามความเหมาะสมในการเฝาดู สมรรถณะของซัพพลายเออร e) การแจงเตือนสถานะพิเศษจากลูกคา ที่เกี่ยวของกับคุณภาพหรอื การสงมอบ f) การคืนจากตวั แทนจําหนาย, การรับประกนั , การจัดการปญ หาในทองตลาดและ การเรียกคนื www.stemma.co.th 34

8.4.2.4.1 Second party audits องคกรตอ งรวมกระบวนการ 2nd party audit ในการจัดการซัพพลายเออร 2nd party audit อาจจะใชใ นกรณีตอ ไปนี้: a) การประเมินความเสย่ี งซัพพลายเออร; b) การเฝาดซู ัพพลายเออร; c) การพัฒนาระบบบริหารคณุ ภาพของซพั พลายเออร d) Product audits e) Process audits อา งองิ การวเิ คราะหความเสี่ยง รวมถงึ ขอ กําหนดความปลอดภัยของผลิตภณั ฑ, สมรรถนะของซัพพลายเออรแ ละระดับการรับรองระบบบรหิ ารคุณภาพ องคกรตอง จัดทําเอกสารเกณฑใ นการกําหนด ความตอ งการ ชนดิ ความถี่และขอบขายของ 2nd party audit องคกรตองเกบ็ บนั ทึกรายงาน 2nd party audit หากขอบขายของ 2nd party audit คือการประเมินระบบการจดั การคุณภาพของซัพพลายเออรแ ลววิธีการจะตอ ง สอดคลอ งกบั Automotive process approach Note: แนวทางตาม IATF auditor guide และ ISO 19011 8.4.2.5 Supplier Development องคก รตอ งกําหนดลาํ ดบั ความสําคญั ชนิด ขอบเขตและระยะเวลา ของการพัฒนาซพั พลายเออร สําหรับซัพพลายเออรท ่ีใชง านอยู ขอ มลู (input) ในการกาํ หนดรวมถงึ : a) ปญ หาดานสมรรถนะท่มี าจากการฝงดซู ัพพลายเออร (ดู 8.4.2.4); b) สิง่ ทีพ่ บจาก 2nd party audit (ดู 8.4.2.4.1); c) สถานการณการรับรองระบบคุณภาพโดย CB; d) การวเิ คราะหค วามเสีย่ ง องคก รตองดําเนนิ การทจี่ าํ เปน เพ่ือแกไขประเดน็ ปญหาดา นสมรรถนะ และติดตาม โอกาสในการปรบั ปรุงอยา งตอ เนอื่ ง 8.4.3 Information for external providers See requirements of ISO 9001:2015 8.4.3.1 Information for external providers – supplemental องคก รตองสงตอ ทุกขอกําหนดตามกฎหมาย และกฎระเบียบ และ S/C ไปยังซัพ พลายเออรและตอ งใชซ ัพพลายเออรนําขอกําหนดท้งั หมด ไปยงั หว งโซผูผลิต (supply chain) ไปยังจดุ ท่ที ําการผลติ www.stemma.co.th 35

8.5 Production and service provision 8.5.1 Control of production and service provision See requirements of ISO 9001:2015 8.5.1.1 Control plan องคกรตอ งจดั ทาํ control plan (ตามภาคผนวก A) ทรี่ ะบบยอย, สว นประกอบ,และ วตั ถุดิบ สาํ หรับโรงงานทเ่ี ก่ยี วขอ งและทกุ ผลิตภัณฑที่สงมอบ รวมถึงกระบวนการผลิต bulk material และช้ินสว น, Family control plan ใชไ ดกับ bulk material และ ชนิ้ งานท่ีคลายกันโดยใชก ระบวนการผลติ แบบเดยี วกนั องคก รตองมี control plan สําหรบั pre-launch และ production ที่แสดงใหเหน็ ความ เช่อื มโยง และรวมขอ มลู จากการ วเิ คราะหความเสี่ยงการออกแบบ (ถาลกู คามใี ห) , process flow แผนภาพการไหล ของกระบวนการ และผลการวเิ คราะห ความเสย่ี งกระบวนการผลติ (เชน FMEA) ถาลกู คาตอ งการ องคก รตองจัดหาขอ มลู การวัดท่เี ก็บรวบรวมในการดาํ เนินการตาม pre-launch หรือ production control plan 8.5.1.1 Control plan องคก รตองรวมส่งิ เหลานี้อยใู น control plan: a) การควบคุมท่ีใชค วบคมุ กระบวนการผลติ รวมทัง้ การตรวจสอบหลังตั้ง เครอื่ ง; b) การตรวจสอบชน้ิ แรก / ช้ินสุดทา ยตามความเหมาะสม c) วธิ กี ารควบคุม S/C (ดภู าคผนวก A) ที่กาํ หนดโดยลกู คา และองคก ร d) ขอ มลู ที่ลกู คาตองการ ถามี e) แผนแกไ ข (ดูภาคผนวก A); เมอ่ื ตรวจพบของเสยี หรอื กระบวนการไม เสถยี ร หรือ Cpk ไมไ ด องคก รตองทบทวนและอัพเดท control plan ตามความจาํ เปนสาํ หรับกรณีตอ ไปนี้: f) องคก รไดมีการจัดสงของเสียใหก ับลกู คา ; g) เมอื่ มกี ารเปลีย่ นแปลงใด ท่มี ีผลกระทบตอ ผลิตภณั ฑ, กระบวนการผลติ , การ วดั , การขนสง , ซพั พลายเออร, เปลีย่ นปริมาณการผลติ หรอื การวเิ คราะหค วาม เสยี ง (FMEA) (ดภู าคผนวก A); h) หลังจากท่ีมกี ารรองเรียนของลกู คา และดาํ เนินการแกไข i) ตามความถี่ที่กาํ หนดตามการวเิ คราะหความเสยี่ ง ถาลูกคา ตองการ องคกรตองไดร บั การอนุมตั จิ ากลกู คา หลงั จากการทบทวนหรอื แกไข control plan www.stemma.co.th 36

8.5.1.2 Standardized work – operator instructions and visual standards องคกรตอ งม่ันใจวา เอกสารการทาํ งานทไ่ี ดมาตรฐาน (SWI) เปนดงั น้ี a) ส่ือสารและเขาใจโดยพนักงานทม่ี คี วามรับผิดชอบในการปฏิบตั ิงานนัน้ b) อา นได; c) นาํ เสนอในภาษาท่ีเขาใจโดยบคุ ลากรทม่ี ีความรบั ผิดชอบในการปฏิบัตงิ านน้ัน; d) สามารถเขาถงึ ใชง านได ในพ้นื ทที่ ํางานทก่ี าํ หนด เอกสารการทํางานท่ีไดมาตรฐานใหร วมถึงกฎระเบียบเพ่ือความปลอดภัยของ พนกั งาน 8.5.1.3 Verification of job set-ups องคกรจะตอง: a) ทวนสอบงานตง้ั เครือ่ ง เชน การเรม่ิ ตนผลิตงาน, เปลยี่ นวตั ถดุ ิบ หรือเปล่ียนงานท่ีตองตั้ง เครอื่ งใหม ; b) มีขอมลู เอกสารสาํ หรบั บุคลากรทต่ี ้ังเครื่อง; c)ใชว ธิ ีการทางสถิติในการทวนตรวจสอบ ถาใชไ ด d) ตรวจสอบชน้ิ แรก/ชน้ิ สุดทา ย ท่ปี ระยุกตไดตามความเหมาะสม ชนิ้ แรกควรจะเก็บไว เปรียบเทียบกับช้นิ สดุ ทา ย ตามความเหมาะสม ช้ินสุดทายควรจะเกบ็ ไวเปรยี บเทียบกบั ช้ินแรก ของการผลิตคร้ังตอ มา; e) เก็บบนั ทึกการอนุมัตกิ ระบวนการและผลิตภณั ฑ จากการทวนสอบการตง้ั เครื่องและการ ตรวจสอบช้ินแรก/ช้ินสุดทาย 8.5.1.4 Verification after shutdown 37 องคกรตอ งกาํ หนดและดาํ เนินการทีจ่ ําเปน เพอื่ ใหม ่ันใจวาผลติ ภณั ฑสอดคลองกับ ขอ กําหนดหลังจากชว งที่หยดุ การผลิตตามแผน หรอื ไมไ ดวางแผนก็ตาม 8.5.1.5 Total productive maintenance องคกรตองจดั ทาํ ปฏิบตั ิ และคงไวใ นเอกสารระบบการบาํ รงุ รักษาทวีผล (TPM) ระบบจะตองรวมถงึ ตอ ไปน้ี อยา งนอ ยท่สี ดุ : a) ระบุเครือ่ งจักรในกระบวนการผลิตที่จําเปนในการผลิตสินคาในปริมาณกําหนด; b) จัดหาอะไหลสาํ หรับเครอื่ งจกั รท่รี ะบุใน a); c) จดั หาทรพั ยากรในการบาํ รุงรกั ษาเคร่อื งจักรและสาธารณูปโภค; d) บรรจุและการเกบ็ รกั ษา เคร่อื งจกั ร เครอื่ งมือ และเกจวัด; e) CSR ท่ีเกย่ี วของ f) เอกสารเปาหมายการซอมบํารงุ ตวั อยา งเชน: OEE, MTBF, MTTR และตัวชว้ี ัด บาํ รุงรกั ษาเชิงปอ งกนั สมรรถณะการบรรลเุ ปาหมายการบํารงุ รักษาจะเปน ขอ มูลในการ ทบทวนฝา ยบริหาร (ดุ ISO 9001 ขอ 9.3); g) ทบทวนแผนและเปาหมายการซอ มบํารงุ และทําแผนการแกไ ขทเ่ี ปน เอกสาร เมื่อไม บรรลเุ ปาหมาย; h) ใชว ธิ ีการบํารุงรกั ษาเชิงปอ งกัน; i) ใชวธิ กี ารบํารุงรักษาเชิงพยากรณ เมื่อประยกุ ตใ ชได j) ยกเคร่อื งเปนระยะๆ www.stemma.co.th

8.5.1.6 Management of production tooling and manufacturing, test, inspection tooling and equipment องคกรตอ งจัดใหม ที รัพยากรสําหรับการออกแบบ ผลติ ตรวจสอบ เครื่องมอื และเกจวดั ที่ใชส าํ หรับชนิ้ งาน และ bulk material ตามความเหมาะสม องคกรตองจัดทําและดําเนนิ การระบบบรหิ ารจดั การเครื่องมือไมว าจะเปน ขององคก ร หรืดลกู คา รวมไปถงึ : a) บคุ ลากรและสาธารณปู โภคในการบํารงุ รกั ษาและซอ มแซม b) การจัดเกบ็ ขอ มูลและการนํากบั มาใชใ หม; c) การติดต้งั ; d) แผนการเปลี่ยนเครอ่ื งมือทม่ี ีอายุการใชง าน e) เอกสารการเปลี่ยนการออกแบบเครอ่ื งมอื รวมถงึ ระดบั การเปล่ยี นแปลงทาง วศิ วกรรมของผลิตภัณฑ; f) การปรับเปลี่ยนเคร่อื งมอื และการแกไขเอกสาร; g) การชบ้ี ง เครอื่ งมือ เชน หมายเลขเคร่อื ง หรอื หมายเลขสินทรัพย สถานะเชน ผลิด ซอมแซม หรอื กาํ จัด; เจา ของ; และสถานทต่ี ้ัง องคกรตองตรวจสอบวาเครือ่ งมือ เครอ่ื งจกั รในการผลติ และเครื่องทดสอบ ของลกู คา น้ันมกี ารทาํ เคร่อื งหมายอยางถาวรในตาํ แหนง ท่ีมองเห็น เพื่อใหท ราบถงึ ความเปน เจา ของและการใชงานของแตละรายการ องคก รตองใชร ะบบการตรวจสอบกิจกรรมเหลานีถ้ า ทําโดย outsourced 8.5.1.7 Production scheduling องคก รตอ งวางแผนการผลิตเพอ่ื ตอบสนองคําสั่งซื้อ/ความตองการของลูกคา เชน Just-In-Time (JIT) และโดยมรี ะบบสารสนเทศสนบั สนุนขอ มลู การผลติ ในขั้นตอนท่ี สาํ คัญ และเปน การผลิตตามคําส่งั ซ้ือ (Order-driven) องคกรตองมขี อ มลู ท่ีเกี่ยวขอ งในระหวางการวางแผนการผลิต เชน คาํ สัง่ ซอื้ ของ ลกู คา , สมรรถนะการสงมอบของซพั พลายเออร, กําลงั การผลิต, สัดสว นการโหลด งาน (พื้นท่ีท่ีทําหลายชนิ้ งานรวมกัน), ระยะเวลา(lead time), ระดบั สินคาคงคลัง, การบาํ รุงรักษาเชงิ ปอ งกนั และการสอบเทยี บ 8.5.2 Identification and traceability See requirements of ISO 9001:2015 www.stemma.co.th 38

8.5.2.1 Identification and traceability-supplemental วัตถปุ ระสงคของการสอบยอ นกลบั เพ่ือสนับสนุนการชบ้ี ง ท่ีชัดเจนในจดุ เร่ิมตนและ จุดส้ินสุดสําหรับผลิตภัณฑท ี่ลกู คาไดร บั หรอื ในทองตลาดท่ีอาจมีขอ บกพรองดาน คณุ ภาพและ/หรอื ความปลอดภัย ดังน้ันองคก รตอ งใชก ระบวนการชีบ้ งและสอบยอนกลับตามระบุไวดา นลา ง องคก รตอ งวเิ คราะหข อ กําหนดภายใน, ลกู คาและกฎหมาย ในเรือ่ งการสอบยอ นกลบั สําหรบั ผลิตภัณฑย านยนตท้งั หมด รวมท้งั แผนการสอบยอนกลบั ที่เปนเอกสาร ขึน้ อยกู ับระดบั ความเสย่ี ง หรือ ความรุนแรงของความลม เหลวตอพนกั งาน ลูกคา และผบู รโิ ภค แผนเหลานี้ตองกาํ หนดระบบ กระบวนการ และวิธการสอบยอนกลับ โดยผลติ ภัณฑ กระบวนการ และสถานที่ผลิตซึ่ง: a) ชวยใหอ งคก รในการระบุผลติ ภัณฑไ มเปนไปตามขอ กาํ หนดและ/หรือ ผลิตภัณฑต องสงสัย; b) ชวยใหอ งคกรแยกผลติ ภัณฑไ มเ ปนไปตามขอกาํ หนดและ/หรือผลิตภณั ฑตอง สงสัย c) ใหม ่นั ใจถงึ ความสามารถในการตอบสนองตามขอกําหนดของลูกคา และ/หรือ กฎระเบียบในเรือ่ งระยะเวลาการตอบสนอง 8.5.2.1 Identification and traceability-supplemental d) ใหมน่ั ใจวา มกี ารเกบ็ บันทึกในรปู แบบ (อเิ ล็คทรอนกิ ส, กระดาษ) ทําใหองคกร บรรลขุ อ กําหนดในเรื่องระยะเวลาการตอบสนอง e) ใหม น่ั ใจการระบหุ มายเลขประจําของแตล ะผลิตภัณฑ ถาระบโุ ดยลกู คา หรือ กฎระเบียบ f) ใหมน่ั ใจวา ขอกําหนดในเร่อื งการช้บี ง และสอบยอ นกลับ ขยายไปยัง ผลิตภณั ฑท ีม่ าจากภายนอกที่คณุ ลักษณะดา นความปลอดภยั / กฎระเบียบ 8.5.3 Property belonging to customers or external providers 8.5.4 Preservation See requirements of ISO 9001:2015 www.stemma.co.th 39

8.5.4.1 Preservation-supplemental การถนอมรกั ษารวมถึง ชีบ้ ง,เคล่ือนยา ย,การควบคุมการปนเปอน,การบรรจ,ุ การ จัดเก็บ การสงหรอื การขนสง และการปองกัน การถนอมรกั ษาจะใชกบั วตั ถดุ บิ และชิ้นสว นประกอบจากผูใหบริการภายนอกและ/ หรอื กระบวนการภายใน รวมถงึ การสงมอบและการจดั สง จนถงึ มอื ลกู คา/ยอมรบั จาก ลูกคา เพอ่ื ตรวจสอบการเสอ่ื มสภาพ องคกรตอ งประเมินสภาพของสนิ คา ในสตอ็ ก, สถานท/ี่ ประเภทของภาชนะที่เกบ็ , และสภาพแวดลอ มในการจัดเกบ็ ในชวงเวลาท่ีวางแผน ตามความเหมาะสม องคกรตอ งใชระบบการจดั การสินคาคงคลงั เพื่อเพ่มิ ประสทิ ธิภาพการหมุนเวียนของ สินคาคงคลัง และใหม ั่นใจในการหมุนเวียนเชน FIFO องคก รตองทาํ ใหม ่นั ใจวาผลิตภณั ฑทล่ี าสมยั ถูกควบคุมในลักษณะทค่ี ลา ยกับ ผลติ ภณั ฑไ มเ ปนไปตามขอกาํ หนด องคก รจะตองปฏิบตั ิตามขอกาํ หนดลกู คา การเกบ็ รกั ษา, บรรจุภณั ฑ, การจดั สงสนิ คา ,ฉลาก 8.5.5 Post-delivery activities See requirements of ISO 9001:2015 8.5.5.1 Feedback of information from service องคกรตอ งมนั่ ใจวาไดจ ัดทํา ดาํ เนนิ การ และคงไวในกระบวนการสาํ หรับการส่อื สาร ขอ มูลประเดน็ การบรกิ ารใหกบั กจิ กรรมการผลิต การเคลอ่ื นยา ยวัสดุ โลจสิ ติก วิศวกรรมและการออกแบบ Note 1 เจตนาในการเพิ่ม \"ประเดน็ การบริการ\" เพ่ือใหแนใจวาองคก รตระหนกั ถงึ ผลิตภัณฑแ ละวตั ถุดบิ ทไ่ี มสอดคลอง ท่พี บที่ลกู คา หรือในทอ งตลาด Note 2 “ประเดน็ การบริการ” ควรจะรวมถึงผลของการวิเคราะหข อ มลู การทดสอบความ ลม เหลวในทอ งตลาด(ดู 10.2.6) 8.5.5.2 Service agreement with customer เมอ่ื มีการตกลงการใหบรกิ ารกับลกู คา องคก รตอ ง a) ทวนสอบศูนยบ รกิ ารวา สอดคลองกบั ขอ กําหนดที่บงั คบั ใช b) ทวนสอบประสทิ ธิผลของเครื่องมอื และเครือ่ งมอื วดั ทพ่ี ิเศษเฉพาะ c) มนั่ ใจวา บคุ ลากรผใู หบ รกิ ารไดร ับการฝกอบรมในขอกําหนดทบี่ ังคบั ใช www.stemma.co.th 40

8.5.6 Control of changes See requirements of ISO 9001:2015 8.5.6.1 Control of changes – supplemental องคก์ รตอ้ งมกี ระบวนการทเี ป็ นเอกสาร ในการควบคุมและตอบสนองต่อการเปลยี นแปลงที ส่งผลกระทบต่อการผลติ ภณั ฑ ์ ตอ้ งประเมนิ ผลกระทบของการเปลยี นแปลงทเี กดิ จากองคก์ ร ลกู คา้ หรอื ซพั พลายเออร ์ องคก์ รจะตอ้ ง : a) กาํ หนดทวนสอบ (verify) และรบั รอง (validate) เพอื ใหส้ อดคลอ้ งกบั ขอ้ กาํ หนดของ ลกู คา้ ; b) รบั รอง(validate)การเปลยี นแปลงกอ่ นการดําเนินการ; c) มเี อกสารหลกั ฐานของการวเิ คราะหค์ วามเสยี งทเี กยี วขอ้ ง; d) เกบ็ บนั ทกึ ของการทวนสอบ (verify)และรบั รอง (validate) การเปลยี นแปลงรวมถงึ ทเี กดิ ขนึ ทซี พั พลายเออร ์ ควรจะตอ้ งมกี ารทดลองผลติ เพอื ทวนสอบ การเปลยี นแปลง(เชน่ การเปลยี นแปลงการออกแบบชนิ งาน สถานทผี ลติ หรอื กระบวนการ ผลติ เพอื ตรวจสอบ(validate) ผลกระทบของการเปลยี นแปลงใดๆในกระบวนการผลติ เมอื ลกู คา้ ตอ้ งการ องคก์ รตอ้ ง: 8.5.6.1 Control of changes – supplemental e) แจง้ ใหล้ ูกคา้ ทราบการเปลยี นแปลงใดๆทเี กดิ ขนึ ในการผลติ ผลติ ภณั ฑท์ วี างแผนไว ้ หลงั จากทกี ารอนุมตั ผิ ลติ ภณั ฑค์ รงั ล่าสุด f) ไดร้ บั การอนุมตั เิ ป็ นเอกสารกอ่ นทจี ะดําเนินการเปลยี นแปลง; g) ทาํ การชบี ง่ หรอื ทวนสอบเพมิ เตมิ ตามขอ้ กาํ หนด เชน่ ทดลองผลติ และรบั รอง ผลติ ภณั ฑใ์ หม่ องคก์ รตอ้ งระบุ มเี อกสารและคงไวร้ ายการควบคุมกระบวนการรวมทงั การตรวจสอบ การวดั การทดสอบ และอุปกรณก์ นั โง่ ซงึ รวมถงึ การควบคมุ กระบวนการโดยหลกั และวธิ ที างเลอื ก สํารองทไี ดร้ บั การอนุมตั ิ องคก์ รตอ้ งมเี อกสารของกระบวนการทจี ะใชว้ ธิ กี ารควบคุมทางเลอื กสํารอง องคก์ รจะตอ้ งไดร้ บั การอนุมตั ภิ ายในกอ่ นทจี ะดาํ เนินการผลติ ดว้ ยวธิ กี ารทางเลอื กสาํ รอง อา้ งองิ ตามการวเิ คราะหค์ วามเสยี ง (เชน่ FMEA),ความรนุ แรง www.stemma.co.th 41

8.5.6.1.1 Temporary change of process controls กอนทีจ่ ะสงมอบผลติ ภณั ฑท ่ีไดร บั การตรวจสอบหรอื ทดสอบโดยใชว ิธีการทางเลือก สาํ รอง องคก รจะตอ งไดร ับการอนุมัตจิ ากลูกคา (ถาตองการ) องคกรตองรักษาและทบทวนเปน ระยะในรายการวธิ ีการควบคมุ กระบวนการทางเลือก สาํ รองที่ไดรับการอนุมัติ ที่มีการอา งองิ ใน control plan ตอ งมี SWI ในแตล ะวิธีการควบคมุ กระบวนการทางเลือกสาํ รอง องคก รตอ งทบทวนการดําเนินงานของการควบคุมกระบวนการทางเลือกสํารองทุกวัน เปนอยางนอ ย เพอ่ื ตรวจสอบการทาํ งานมาตรฐาน โดยมีเปา หมายเพอื่ กลับไปยงั กระบวนการมาตรฐานตามท่กี ําหนดใน control plan โดยเรว็ ทีส่ ดุ เทา ท่ีเปนไปได วิธีการตวั อยางรวมถึง (แตไมจ าํ กัด): a) การตรวจประเมินประจําวนั ทม่ี งุ เนน คุณภาพ (เชน Layer process audit ตามเหมาะสม); b) การประชุมประจาํ วนั ระดับหัวหนา การทวนสอบการเรม่ิ ตนผลิตใหมตามปกติ ตอ งเปนเอกสาร ในระยะเวลาท่ีกําหนด ตามความรุนแรง และยืนยันวาทกุ คุณสมบัตขิ องอุปกรณก นั โง หรือกระบวนการนํา กลบั มาใชไดอยา งมปี ระสทิ ธผิ ล องคกรตองดําเนนิ การสอบยอ นกลับผลติ ภณั ฑท ้ังหมดทผ่ี ลติ โดยกระบวนการทางเลอื ก สาํ รอง(เชน ทวนสอบและการเก็บรักษาชิน้ แรกและช้ินสดุ ทายจากทกุ กะ) www.stemma.co.th 42

8.6 Release of products and services See requirements of ISO 9001:2015 8.6.1 Release of products and services – supplemental องคกรตองมั่นใจวา การตรวจสอบผลิตภัณฑและบรกิ ารใหสอดคลองตามขอกําหนดที่ กาํ หนดใน control plan และมีเอกสารตามท่รี ะบไุ วใ น control plan (ดภู าคผนวก A) องคกรตอ งมน่ั ใจวาแผนการตรวจปลอยของผลิตภณั ฑแ ละบรกิ ารครัง้ แรก ครอบคลุม การอนมุ ตั ผิ ลติ ภัณฑห รือบริการ องคก รตอ งม่นั ใจวา การอนุมัติผลติ ภณั ฑหรือบรกิ ารเสร็จสิ้น หลังจากการ เปล่ยี นแปลงทเ่ี กดิ ข้นึ หลงั จากการตรวจปลอยครง้ั แรก ตามมาตรฐาน ISO 9001 8.5.6 8.6.2 Layout inspection and functional testing ตอ งทาํ การตรวจสอบทกุ มติ ิและทดสอบการทาํ งานตามมาตรฐานทางวิศวกรรมของ ลกู คาและมาตรฐานสมรรถนะในแตล ะผลิตภัณฑตามทก่ี าํ หนดใน control plan ผล การตรวจสอบตอ งมพี รอ มทีจ่ ะแสดงใหล ูกคาทบทวน Note 1 Layout inspection คอื การตรวจวดั ขนาดทกุ มติ ทิ ่รี ะบุไวใ นบนั ทกึ การ ออกแบบ (Drawing) Note 2 ความถขี่ อง Layout inspection กําหนดโดยลูกคา 8.6.3 Appearance items สาํ หรับองคกรท่ีผลิตช้ินสวนทล่ี กู คากาํ หนดวา เปน \"ผลติ ภัณฑท แี่ สดงลักษณะ ภายนอก\" องคก รตองจัดใหมี a) มีทรพั ยากรทเี่ หมาะสมในการประเมิน รวมถงึ แสงสวา ง b) มีตน แบบของเฉดส,ี ลายเสน ,ความเงา,ความันวาวของโลหะ,ลักษณะผวิ หนา, การแยกแยะภาพเงา และเทคโนโลยี Haptic ตามความเหมาะสม c) มีการบาํ รุงรกั ษาและควบคมุ ตวั ตนแบบของลักษณะภายนอก และอปุ กรณใ นการ ประเมนิ d) มกี ารทวนสอบวาผูทท่ี าํ การประเมนิ ลักษณะภายนอกน้นั มคี ณุ สมบัตเิ หมาะสม 8.6.4 Verification and acceptance of conformity of externally provided products and services องคกรตองมีกระบวนการเพอ่ื ใหม นั่ ใจในคุณภาพของ ผลติ ภัณฑ กระบวนการ และ บริการทมี่ าจากภายนอก โดยใชห นง่ึ ในวธิ กี ารตอ ไปน:้ี a) รบั และการประเมนิ ขอ มูลทางสถติ ิท่ซี ัพพลายเออรใ หก ับองคก ร; b) ตรวจรบั เขา และ/หรือการทดสอบ เชน การสมุ ตัวอยางตามสมรรถนะ c) การตรวจประเมนิ ณ สถานทขี่ องผูส งมอบโดยบุคคลทส่ี องหรือทีส่ าม รว มกับบนั ทึก คณุ ภาพท่ีสามารถยอมรับได d) การประเมนิ ผลช้ินงานโดยหอ งปฏิบตั ิการท่ีกาํ หนด; e) วิธอี ื่นตกลงกับลกู คา www.stemma.co.th 43

8.6.5 Statutory and regulatory conformity กอนทจ่ี ะปลอ ยของผลิตภณั ฑจ ากภายนอกเขาสกู ระบวนการผลิต องคก รตอ งยืนยนั และสามารถท่จี ะแสดงหลักฐานวา ผลิตภัณฑ กระบวนการและบรกิ ารทมี่ าจาก ภายนอกสอดคลองตามกฎหมาย กฎระเบยี บ และขอกําหนดอ่ืนๆลา สดุ ในประเทศ ผผู ลิตและในประเทศปลายทางทลี่ ูกคาระบุ ถา มีขอมูลให 8.6.6 Acceptance criteria องคกรตองกาํ หนดเกณฑก ารยอมรับและอนมุ ัติโดยลกู คา ตามความเหมาะสมหรอื ตามท่ีลกู คา ตองการ สาํ หรับขอ มูลคณุ ลกั ษณะ ระดบั การยอมรบั ใหเ ปนของเสียเปน ศนู ย (ดู 9.1.1.1) 8.7 Control of nonconforming outputs 8.7.1 See requirements of ISO 9001:2015 8.7.1.1 Customer authorization for concession องคก รตอ งไดร บั การยนิ ยอมจากลูกคา หรอื การอนุญาตใหเบีย่ งเบนกอนท่จี ะดาํ เนนิ การ ตอไป เมอ่ื ใดกต็ ามที่ผลิตภัณฑหรือกระบวนการผลิตที่แตกตา งจากส่ิงท่ีไดร บั การอนุมตั ิ ในปจจบุ นั องคก รตองไดรับการอนมุ ัตจิ ากลูกคา กอนท่จี ะดําเนนิ การตอไปสําหรับ “การใชต าม สภาพ” และการทําซาํ้ (Rework) ของผลิตภณั ฑไ มเ ปน ไปตามขอกาํ หนด ถา ช้นิ สวน ประกอบยอ ยจะถูกนํากลับมาใชซาํ้ ในการผลิต, ชิน้ สวนประกอบยอ ยทใี่ ชซ้าํ นั้นจะตอ ง มีการสื่อสารอยา งชดั เจนใหกับลกู คาเพื่อใหไดรบั การยนิ ยอมจากลูกคา หรอื การ อนุญาตใหเบี่ยงเบน องคก รตองเกบ็ บนั ทกึ วนั ท่ีหมดอายุการอนุญาติหรือปรมิ าณที่ไดร ับอนุญาต องคก รตอง สอดคลอ งกบั สเปคแรกเริ่มหลังจากส้ินสดุ การอนุมัติ ชิ้นสวนทจ่ี ดั สงภายใตก ารอนมุ ตั ิ พเิ ศษจะตองถกู ชีบ้ ง อยางเหมาะสมในแตละภาชนะขนสง (ประยกุ ตนใ้ี ชกบั ผลิตภณั ฑที่ ซอ้ื เขา มาเชนกนั ) องคกรตองอนมุ ตั ิการรอ งขอใดๆ จากซพั พลายเออรกอนท่ีจะสง ใหก ับลกู คา www.stemma.co.th 44

8.7.1.2 Control of nonconforming product – customer – specified process องคก รตอ งปฏิบตั ิตามการควบคุมผลติ ภัณฑทไี่ มเปน ไปตามขอ กาํ หนดทร่ี ะบุโดยลกู คา 8.7.1.3 Control of suspect product องคกรตองใหแนใ จวาผลิตภัณฑท ไี่ มไ ดระบสุ ถานะหรอื ตองสงสัยใหค วบคมุ เหมือนผลติ ภณั ฑท ่ี ไมเปนไปตามขอกาํ หนด องคกรตอ งม่ันใจวาบุคลากรในสว นผลิตไดร บั การฝกอบรมเกีย่ วกับการกักผลติ ภัณฑต อ งสงสยั และผลติ ภณั ฑท ่ไี มเปน ไปตามขอกาํ หนด www.stemma.co.th 45

8.7.1.4 Control of reworked product องคกรตอ งใชการวธิ กี ารวเิ คราะหค วามเสี่ยง (เชน FMEA) เพอ่ื ประเมินความเสยี งใน การทาํ ซ้าํ (Rework) กอ นที่จะตดั สินใจ Rework ผลติ ภณั ฑ ถา ลูกคา ตอ งการ องคกร ตองไดร ับการอนมุ ตั ิจากลูกคา กอนท่ีจะทาํ การ Rework ผลิตภณั ฑ องคกรตอ งมกี ระบวนการท่ีเปนเอกสาร เพ่อื ยืนยนั การ Rework ตาม control plan หรอื เอกสารอน่ื เพอ่ื ทวนสอบวา สอดคลองตามขอ กาํ หนดเดมิ วธิ กี ารถอดชิน้ สว นหรอื Rework รวมทัง้ การตรวจสอบซาํ้ และขอ กําหนดการสอบ ยอนกลับจะตอ งมใี หแ ละนาํ มาใชโดยบุคลากรทีเ่ หมาะสม องคก รตอ งเก็บบันทึกในการจดั การงาน Rework รวมถงึ จาํ นวน, การดาํ เนินการ, วันท่ดี ําเนนิ การ และขอ มลู การสอบยอ นกลับ 8.7.1.5 Control of repaired product องคก รตองใชวธิ ีการวเิ คราะหค วามเสย่ี ง (เชน FMEA) เพื่อประเมินความเส่ยี งใน กระบวนการซอ มแซมกอนท่ีจะมกี ารตดั สินใจในการซอมสนิ คา องคกรตองไดร บั การอนุมตั ิจากลูกคากอนท่ีจะทําการซอ มแซมสนิ คา องคก รตอ งมีกระบวนการทเี่ ปน เอกสารเพ่อื ยืนยันการซอมแซม ตาม control plan หรอื เอกสารอื่น วธิ กี ารถอดชิ้นสว นหรือซอ มแซม รวมทง้ั การตรวจสอบซํ้าและขอกาํ หนดการสอบ ยอ นกลบั จะตองมีใหและนํามาใชโดยบคุ ลากรทเ่ี หมาะสม องคการตองไดร บั การอนุมตั ิจากลูกคา เปน เอกสารในการยินยอมในการซอ มแซม ผลติ ภณั ฑ องคก รตอ งเก็บบันทกึ ในการจดั การงานซอ มแซม รวมถึงจาํ นวน, การดําเนนิ การ, วนั ทดี่ ําเนินการ และขอ มลู การสอบยอนกลบั www.stemma.co.th 46

8.7.1.6 Customer notification องคก รตอ งแจงใหล ูกคา ทราบทันที ในกรณีทีไ่ ดส งผลิตภณั ฑทไี่ มเ ปนไปตาม ขอกําหนดการสือสารในตอนแรกจะตองตามมาดวยเอกสารรายละเอยี ดของเหตุการณ 8.7.1.7 Nonconforming product disposition องคกรตองมกี ระบวนการท่เี ปน เอกสารสําหรับการจัดการผลติ ภณั ฑท่ีไมเ ปน ไปตาม ขอกาํ หนดไมว า Rework หรือซอมแซม สาํ หรับผลติ ภณั ฑท ่ไี มเปน ไปตามสเปค องคก รตองทวนสอบวา ผลิตภัณฑท ่ีจะถกู ท้งิ มีการทําใหไ มส ามารถใชง านไดก อ นทีจ่ ะกําจัดท้งิ องคกรตอ งโอนผลิตภัณฑที่ไมเ ปนไปตามขอกาํ หนดไปใชใ นงานบรกิ ารหรือการ ใชง านอื่นๆกอ นท่ีลกู คา จะอนุมตั ิ 8.7.2 See requirements of ISO 9001:2015 9 Performance evaluation See requirements of ISO 9001:2015 9.1 Monitoring, measurement, analysis and evaluation 9.1.1 General 9.1.1.1 Monitoring and measurement of manufacturing processes องคก รตองทําการศึกษากระบวนการ สําหรบั กระบวนการผลติ ใหมทกุ กระบวนการ (รวมถึงการประกอบหรอื การเรียงลําดบั )เพ่อื ทวนสอบความสามารถของ กระบวนการ และเพอ่ื ใหข อมลู เพ่ิมเติมในการควบคุมกระบวนการ รวมถึงจดุ S/C Note สาํ หรบั บางกระบวนการผลติ กอ็ าจจะไมเปน ไปไดท ่ีจะแสดงใหเ ห็นถึง ความสอดคลอ งของผลติ ภณั ฑผานทาง Cpk สําหรับกระบวนการเหลา นน้ั อาจ ใชวิธกี ารอื่นเชน จาํ นวนกลุม (batch) ทสี่ อดคลองตามสเปค องคก รตอ งรกั ษาความสามารถหรือสมรรถนะของกระบวนการผลิต (Cpk, Ppk) ตามทล่ี ูกคาระบไุ วในขอ กาํ หนด PPAP องคกรตองทวนสอบวา process flow, PFMEA และ control plan ไดน ํามาปฏิบัตริ วมถึงหัวขอตอ ไปน:ี้ www.stemma.co.th 47

9.1.1.1 Monitoring and measurement of manufacturing processes a) เทคนคิ การวัด; b) แผนการสมุ ตัวอยา ง; c) เกณฑการยอมรบั ; d) บันทกึ คา การวัดจรงิ และ/หรอื ผลการทดสอบสาํ หรับขอมลู ผนั แปร; e) มแี ผนการแกไขและกระบวนการยกระดบั เมื่อไมบ รรลุเกณฑก ารยอมรับ เหตกุ ารณสาํ คญั ที่เกดิ ข้นึ ในกระบวนการ เชน การเปลย่ี นแปลง tooling หรอื ซอ ม เคร่ืองจกั รตองมกี ารบันทกึ และเก็บบนั ทึกไว องคกรตองดาํ เนินการตามแผนแกไขทรี่ ะบุไวใน control plan และประเมนิ ผลกระทบ ของคุณลกั ษณะที่ไมมคี วามสามารถทางสถิติหรอื ไมเ สถยี ร แผนแกไ ขน้ีรวมถึงการกักผลิตภัณฑแ ละการตรวจสอบ 100% ตามความเหมาะสม แผนการแกไ ขปองกันจะตองดําเนินการโดยองคกร โดยระบกุ ารดําเนินการที่ เฉพาะเจาะจงระยะเวลาและผูรับผดิ ชอบ เพอ่ื ใหแนใ จวา กระบวนการกลับมาเสถยี ร และมีความสามารถทางสถิติ แผนการแกไขปองกันจะตอ งไดร บั การทบทวนและอนุมัติ โดยลกู คาเมอื่ ลกู คา ตอ งการองคก รตองเก็บบันทกึ ของวนั ที่ของวนั ทีม่ ีผลบังคับใชของ การเปลย่ี นแปลงกระบวนการ 9.1.1.2 Identification of statistical tools องคก รตอ งกาํ หนดการใชง านทีเ่ หมาะสมของเครอ่ื งมือทางสถิติ องคก รจะตอ งทวน สอบวา เคร่ืองมอื ทางสถิตทิ เี่ หมาะสมไดรวมอยูในกระบวนการ APQP(หรอื เทยี บเทา ) และรวมอยูในการวิเคราะหความเส่ียงของการออกแบบ (เชน DFMEA) (ในกรณที ่ี ใชไ ด) , การวิเคราะหความเสยี่ งของกระบวนการ (เชน PFMEA) และ control plan 9.1.1.3 Application of statistical concepts พนักงานท่ีเกยี่ วขอ งในการเก็บรวบรวม วเิ คราะหแ ละจัดการขอ มลู ทางสถติ ิจะตอ ง เขา ใจและใชงาน แนวคดิ ทางสถติ ิ เชน ความผนั แปร, การควบคมุ (ความเสถียร), ความสามารถของกระบวนการ และผลของการปรบั คาเกินจาํ เปน 9.1.2 Customer satisfaction See requirements of ISO 9001:2015 www.stemma.co.th 48

9.1.2.1 Customer satisfaction – supplemental ความพงึ พอใจของลูกคาตอองคกร จะตอ งไดรับการเฝาดูผา นการประเมนิ ผลอยาง ตอเนือ่ งของตวั ชีว้ ัดสมรรถนะภายในและภายนอก เพ่อื ใหม ั่นใจในความสอดคลอ งกบั ขอกําหนดของผลิตภณั ฑและกระบวนการ และขอ กาํ หนดอ่นื ๆของลกู คา ตัวช้วี ดั สมรรถนะจะตอ งอยูบนพ้นื ฐานของหลักฐานท่เี ปน รูปธรรมและรวมถึงตอไปนี้ (แตไมจํากัดเพยี งเทา น)ี้ : a) สมรรถนะคณุ ภาพของช้นิ งานที่สง มอบ; b) การหยุดชะงกั ของลูกคา c) การคนื ผลิตภณั ฑจากทอ งตลาด, การเรียกคืนผลิตภัณฑ, และการรับประกัน d) สมรรถนะการสง มอบ (รวมถงึ เหตกุ ารณท ีเ่ กดิ คา ขนสงพิเศษ); e) การแจงเตือนจากลกู คาท่ีเก่ยี วของกบั ประเดน็ ปญหาคุณภาพหรือการสง มอบ รวมท้งั สถานะพเิ ศษ องคกรตอ งเฝา ดูสมรรถนะของกระบวนการผลิตเพ่อื แสดงใหเห็นถงึ ความสอดคลอ ง กับขอกาํ หนดของลูกคาในดานคุณภาพของผลิตภัณฑ และประสิทธิภาพของ กระบวนการการเฝา ดูตองรวมถงึ การทบทวนขอมูลสมรรถนะจากลูกคารวมทง้ั เว็บ ออนไลนข องลูกคา และใบคะแนนที่ลูกคาประเมนิ (customer scorecard) ถามี 9.1.3 Analysis and evaluation See requirements of ISO 9001:2015 9.1.3.1 Prioritization แนวโนมในดานคุณภาพและประสทิ ธิภาพดําเนินงานจะตองนาํ มาเปรียบเทียบกับ เปาหมาย และนําไปสกู ารดาํ เนนิ การเพือ่ สนบั สนนุ การจดั ลาํ ดบั ความสําคัญของการ ปฏบิ ัติเพื่อปรบั ปรุงความถงึ พอใจของลูกคา 9.2 Internal audit 9.2.1 9.2.2 See requirements of ISO 9001:2015 www.stemma.co.th 49


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook