Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงสร้างหลักสูตรภาษาไทย-ปี-๖๑-ใหม่

โครงสร้างหลักสูตรภาษาไทย-ปี-๖๑-ใหม่

Published by Khwankamon Boonsit, 2022-08-19 06:41:19

Description: โครงสร้างหลักสูตรภาษาไทย-ปี-๖๑-ใหม่

Search

Read the Text Version

โครงสร้างหลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นยูงทองพทิ ยาคม กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย พทุ ธศักราช 2560 สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 20 สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนยูงทองพิทยาคม กระทรวงศึกษาธิการ

คำนำ กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทยโรงเรยี นยูงทองพทิ ยาคม ได้จดั ทำหลักสูตรสถานศึกษา พทุ ธศักราช 2560 โดยยดึ หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 เป็นหลัก อีกทงั้ คำนงึ ถงึ วสิ ยั ทัศน์ การจดั การศกึ ษาของโรงเรยี น ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ตลอดจนความต้องการของผู้เรยี นและชุมชนเพอื่ เปน็ แนวทางในการจดั กระบวนการเรยี นร้ทู ีม่ ีประสทิ ธภิ าพ สรรค์สร้างผ้เู รยี นให้เป็นคนดีมีความรคู้ วามสามารถ รักและภาคภมู ใิ จในความเปน็ ไทย มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม สามารถดำรงชีวิตอยใู่ นสังคมไดอ้ ย่างมคี วามสุข การจัดทำหลกั สูตรสถานศกึ ษาของกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทยสำเรจ็ ได้ด้วยความรว่ มมือรว่ มใจและ คำแนะนำจากบุคคลทม่ี ีรายนาม ดงั น้ี 1. นายสมาน ประวันโต ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นยงู ทองพิทยาคม 2. นายบรรพต โสภากลุ รองผู้อำนวยการ 3. นายก้องตะวนั โสภิณ รองผอู้ ำนวยการ 4. นายพงษ์พันธ์ มาลาอ่อน หัวหนา้ ฝ่ายบริหารวิชาการ 5. นางชยานันท์ ภหู อ้ งเพชร หัวหน้างานหลกั สูตรสถานศกึ ษา 6. นางสาวนารี ขนุ พรม ครู 7. นางชลธิชา สรอ้ ยธนู ครู 8. นายจณิ ภพ ศรีชัย ครูผ้ชู ว่ ย 9. นางสาวพชิ ญาพร ธาตุมี พนักงานราชการ ขอขอบคุณคณะครูโรงเรยี นยูงทองพทิ ยาคมทกุ ท่าน ท่ีไดใ้ หค้ ำแนะนำในการจัดทำหลกั สตู ร สถานศกึ ษาโรงเรยี นยงู ทองพทิ ยาคม พทุ ธศกั ราช 2560 คร้ังนี้ (นางสาวนารี ขุนพรม) หัวหน้ากล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

สารบญั หน้า คำนำ................................................................................................................ ก สารบญั ............................................................................................................ ข วสิ ยั ทัศน์ พนั ธกจิ เปา้ ประสงค์โรงเรียนยูงทองพทิ ยาคม.............................................. 1 วิสัยทัศนห์ ลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 ..................... 2 หลักการ จุดมุง่ หมาย หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ....... 3 สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น ............................................................................................ 4 คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นยงู ทองพทิ ยาคมระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ ............... แผนการเรยี นรทู้ ่ี 1 แผนวิทยาศาสตร์-คณติ ศาสตร์................................................................... โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนยูงทองพทิ ยาคมระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย ............ แผนการเรยี นรู้ท่ี 2 แผนศิลป-์ ภาษา ........................................................................................ โครงสร้างกลุ่มสาระ ................................................................................................................. คณุ ภาพของผูเ้ รียน .................................................................................................................... ตัวช้วี ัดหลักสูตรแกนกลาง ....................................................................................................... คำอธบิ ายวชิ า กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ..........................................................................

วสิ ยั ทัศน์ “ภายในปี 2561 เปน็ สถานศกึ ษาคุณภาพ บนวิถคี วามเปน็ ไทย กา้ วไกลสู่สากล” ภายใต้แนวคิดใน การพฒั นาในกรอบระยะเวลา 4 ปี ดังน้ี “เป็นสถานศกึ ษาที่ประสบผลสำเร็จอยา่ งต่อเนอ่ื ง มผี ลงานโดดเด่นเป็นทยี่ อมรับมคี วามสามารถใน การสรา้ งมาตรฐานการทำงานท่ีเป็นเลศิ บนพนื้ ฐานขององค์กรแห่งการเรียนรพู้ ร้อมก้าวสูป่ ระชาคมอาเซยี น และประชาคมโลก บนพ้ืนฐานของความเปน็ ไทยทีง่ ดงาม พนั ธกิจ 1. พฒั นารูปแบบการบรหิ ารดว้ ยระบบคุณภาพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2 พฒั นาผเู้ รียนใหม้ รี ะเบยี บวินัย ใฝ่เรียนรู้ เชดิ ชูคุณธรรม มีความเป็นจิตอาสา 3. พฒั นาผู้เรยี นเต็มศักยภาพตามมาตรฐานสากล ใช้เทคโนโลยอี ยา่ งมจี ิตสำนกึ 4. พัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศึกษาให้มีมาตรฐานคณุ ภาพตามเกณฑม์ าตรฐานวชิ าชีพ 5. ส่งเสรมิ การมีส่วนรว่ มของผู้มสี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี 6. สง่ เสรมิ ความเปน็ ไทย การอนรุ กั ษ์ทรพั ยากร ส่ิงแวดล้อมและสรา้ งสงั คมแห่งการเรยี นรู้ 7. สง่ เสริมการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ เปา้ หมาย ผเู้ รียนทุกคนได้รบั การพฒั นาอยา่ งเต็มศกั ยภาพทั้งด้านคณุ ธรรม วิชาการตามมาตรฐานสากล มคี วาม เป็นไทย มีจิตสำนึกในการอนุรักษท์ รพั ยากร ส่งิ แวดล้อม สามารถอยู่ในสังคมอย่างมคี วามสขุ ภายใต้การ ปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมุข ดังนี้ 1. นักเรียนในเขตพื้นทีบ่ รกิ ารได้รับโอกาสทางการศกึ ษาอย่างท่ัวถึงมคี ณุ ภาพและเสมอภาค 2. นักเรียนไดร้ บั การศกึ ษาอย่างมคี ุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาและพัฒนาสคู่ วามเปน็ เลิศ 3. นักเรยี นได้รับการพฒั นาดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรมคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ตามหลักสตู รและมีค่านยิ ม 12 ประการ 4. บุคลากรในสถานศึกษามีทักษะท่เี หมาะสม มีวัฒนธรรมการทำงานทม่ี งุ่ เนน้ ผลสมั ฤทธิ์ 5. สถานศึกษามปี ระสทิ ธิภาพเป็นกลไกทขี่ ับเคลื่อนการศึกษาสสู่ ากล 6. สถานศกึ ษาบรหิ ารแบบมีสว่ นรว่ ม มีความรบั ผดิ ชอบต่อคณุ ภาพการศกึ ษา อัตลกั ษณ์ จรรยาดี วิถพี อเพียง เอกลักษณ์ บรรยากาศดี กีฬาเด่น เน้นเทคโนโลยี มีคุณธรรม นำความรู้ วิสยั ทัศนห์ ลกั สตู รแกนกลาง 2551 หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐานมงุ่ พฒั นาผเู้ รยี นทกุ คนใหเ้ ปน็ มนุษยท์ ่มี คี วามสมดลุ ทง้ั ด้านรา่ งกาย ความรู้ คณุ ธรรม มจี ิตสำนกึ ในความเปน็ พลเมอื งไทยและเปน็ พลโลก ยดึ ม่นั ในการปกครองตามระบอบ ประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั ริย์เปน็ ประมุข มคี วามรูแ้ ละทกั ษะพื้นฐาน รวมทงั้ เจตคตทิ จ่ี ำเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศกึ ษาตลอดชีวติ โดยมุ่งเน้นผเู้ รียนเปน็ สำคญั บนพ้ืนฐานความเชอ่ื ทว่ี า่ ทกุ คนสามารถ เรยี นรูแ้ ละพัฒนาตนเองไดเ้ ตม็ ตามศกั ยภาพ

วสิ ัยทศั นห์ ลกั สตู รแกนกลาง 2551 - พัฒนาผ้เู รียน - สมดุลดา้ นร่างกาย ความรู้ คณุ ธรรม - จติ สำนึกในความเป็นพลเมอื งไทยและเป็นพลเมืองโลก - ยดึ มัน่ ในการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ มีความร+ู้ ทักษะพ้นื ฐาน+ เจตคติ พรอ้ มสำหรบั การศึกษาตอ่ การประกอบอาชีพ การศึกษาตลอดชวี ติ หลักการ หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 มีหลกั การที่สำคัญ ดังน้ี 1. เป็นหลกั สูตรการศึกษาเพอ่ื ความเปน็ เอกภาพของชาติมีจุดมงุ่ หมายและมาตรฐานการเรียนรู้ เป็นเปา้ หมายสำหรบั พัฒนาเด็ก และเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมพน้ื ฐานของความเปน็ ไทย ควบคูก่ ับความเปน็ สากล 2. เป็นหลักสตู รการศกึ ษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมโี อกาสไดร้ บั การศึกษาอย่างเสมอภาค และมี คณุ ภาพ 3. เปน็ หลกั สูตรการศกึ ษาที่สนองการกระจายอำนาจ ให้สังคมมสี ว่ นรว่ ม ในการจดั การ ศึกษาให้ สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของทอ้ งถน่ิ 4. เป็นหลกั สูตรทีม่ ีโครงสรา้ งยืดหยุ่นทง้ั ดา้ นสาระการเรียนรู้ เวลา และการจดั การเรียนรู้ 5. เป็นหลักสูตรการศึกษาท่เี นน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ 6. เป็นหลกั สูตรการศกึ ษาสำหรบั การศกึ ษาในระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศยั ครอบคลมุ ทุก กลุ่มเปา้ หมาย สามารถเทียบโอนผลการเรยี นรู้ และประสบการณ์ จุดหมาย หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 มงุ่ พฒั นาผเู้ รียนใหเ้ ป็นคนดี มีปญั ญา มคี วามสุข มีศกั ยภาพในการศกึ ษาตอ่ และประกอบอาชพี จงึ กำหนดเป็นจดุ หมายเพ่ือใหเ้ กิดกบั ผู้เรียน เมื่อ จบการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ดงั นี้

1. มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่พี ึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มวี ินัยและปฏบิ ตั ติ นตาม หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรอื ศาสนาทีต่ นนบั ถอื ยึดหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 2. มีความรู้ ความสามารถในการส่ือสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทกั ษะชวี ิต 3. มสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ที่ดี มสี ุขนิสยั และรักการออกกำลังกาย 4. มีความรกั ชาติ มีจิตสำนึกในความเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ยดึ มัน่ ในวิถีชีวติ และ การปกครอง ตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมุข 5. มจี ิตสำนกึ ในการอนุรกั ษ์วฒั นธรรมและภูมิปญั ญาไทย การอนุรกั ษแ์ ละพฒั นาส่ิงแวดล้อม มีจิตสาธารณะ ท่มี ุง่ ทำประโยชน์และสรา้ งสิ่งทดี่ ีงามในสังคม และอยรู่ ่วมกันในสงั คม และอยู่ร่วมกันในสังคม อยา่ งมีความสขุ สมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขันพื้นฐานมงุ่ พัฒนาผู้เรียนใหม้ ีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ ซ่ึงการ พฒั นาผูเ้ รยี นใหบ้ รรลุมาตรฐานการเรยี นร้ทู ีก่ ำหนดนั้น จะชว่ ยให้ผเู้ รียนเกดิ สมรรถนะสำคัญ 5 ประการ ดังน้ี 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร เปน็ ความสามารถในการรบั และสง่ สาร มีวฒั นธรรมในการใช้ ภาษาถา่ ยทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเอง เพ่ือแลก เปล่ยี นข้อมูลขา่ วสาร และประสบการณ์อันจะเป็นประโยชนต์ อ่ การพัฒนาตนเองและสงั คม รวมท้ังการเจรจาตอ่ รองเพ่อื ขจดั และลด ปัญหาความขดั แยง้ ต่าง ๆ การเลอื กรับหรอื ไม่รับข้อมลู ข่าวสารด้วยหลกั เหตผุ ลและความถกู ต้อง ตลอดจน เลอื กใชว้ ิธีการสอ่ื สารท่ีมปี ระสิทธภิ าพโดยคำนึงถึงผลกระทบทม่ี ตี ่อตนเองและสงั คม 2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสงั เคราะห์ การคดิ อย่าง สร้างสรรค์ การคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบเพอ่ื นำไปสู่การสร้างองคค์ วามรหู้ รอื สารสนเทศ เพือ่ การตัดสินใจเกยี่ วกบั ตนเองและสังคมได้อยา่ งเหมาะสม 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา เป็นความสามารถในการแกป้ ญั หาและอปุ สรรคตา่ งๆ ท่ีเผชิญได้ อยา่ งถูกต้องเหมาะสมนบพ้นื ฐานของหลกั สตู รคุณธรรมและขอ้ มูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธแ์ ละการ เปล่ยี นแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยกุ ต์ความรมู้ าใช้ในการป้องกนั และแกไ้ ข ปญั หา และมีการตดั สินใจท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพโดยคำนงึ ผลกระทบท่ีเกิดขึน้ ตอ่ ตนเอง สังคมและส่ิงแวดลอ้ ม 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใชใ้ นการ ดำเนินชีวติ ประจำวัน การเรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง การเรียนรู้อยา่ งต่อเนื่อง การทำงานและการอยู่รว่ มกันในสังคม ดว้ ยการสรา้ งเสรมิ ความสมั พันธอ์ ันดรี ะหว่างบคุ คล การจัดปญั หาและความขดั แย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตวั ให้ทนั กับการเปลีย่ นแปลงของสงั คมและสภาพแวดลอ้ ม และการรจู้ ักหลกี เลยี่ งพฤติกรรมไมพ่ งึ ประสงคท์ ส่ี ่งผลกระทบตอ่ ตนเองและผอู้ ืน่ 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลอื กและใช้เทคโนโลยดี า้ นตา่ ง ๆ และมที ักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพือ่ การพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้ การสอื่ สารการ ทำงาน การแก้ ปัญหาอย่างสร้างสรรคถ์ กู ต้องเหมาะสมและมีคณุ ธรรม

คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพ่ือให้ สามารถอยรู่ ่วมกับผ้อู นื่ ในสังคมไดอ้ ย่างมีความสขุ ในฐานะเป็นพลเมอื งไทยและพลโลก ดังน้ี 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ 2. ซือ่ สัตย์สุจริต 3. มีวินยั 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อย่อู ยา่ งพอเพียง 6. ม่งุ มัน่ ในการทำงาน 7. รกั ความเป็นไทย 8. มีจติ สาธารณะ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ 1 การอ่าน ใช้กระบวนการอา่ นสรา้ งความรู้และความคิดเพอ่ื นำไปใช้ตัดสนิ ใจ แก้ปัญหาในการ มาตรฐาน ท 1.1 ดำเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน สาระท่ี 2 การเขยี น ใชก้ ระบวนการเขียน เขียนสอื่ สาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเร่อื งราว มาตรฐาน ท 2.1 ในรูปแบบตา่ ง ๆ เขยี นรายงานขอ้ มลู ขา่ วสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ อยา่ มปี ระสิทธภิ าพ สารท่ี 3 การฟงั การดู และการพูด มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลอื กฟังและดอู ย่างมีวิจารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคิด ความรู้สกึ ในโอกาสต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณ และสรา้ งสรรค์ สาระที่ 4 หลักการใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท 4.1 เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปลย่ี นแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา ภมู ิปญั ญาทางภาษา และรักษา ภาษาไทยไว้เป็นสมบตั ขิ องชาติ สารที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท 5.1 เขา้ ใจและแสดงความคดิ เหน็ วจิ ารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมไทยอยา่ งเหน็ คณุ ค่าและนำมาประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ จรงิ

โครงสร้างเวลาเรยี นของหลักสตู รโรงเรียนยูงทองพิทยาคม กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ เวลาเรยี น /กิจกรรม ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย • กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ม.1 ม.2 ม.3 ม. 4 - 6 ม. 4 - 6 ม. 4 - 6 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ย์ - คณิต ศลิ ป-์ ภาษา การงานฯ วทิ ยาศาสตร์ สงั คมศกึ ษาศาสนาและวฒั นธรรม 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 240 (6 นก.) 240 (6 นก.) 240 (6 นก.) - ประวัตศิ าสตร์ - ศาสนาศลี ธรรมและจริยธรรม 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 240 (6 นก.) 240 (6 นก.) 240 (6 นก.) - ภูมศิ าสตร์ - เศรษฐศาสตร์ 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 240 (6 นก.) 240 (6 นก.) 240 (6 นก.) สุขศกึ ษาและพลศึกษา ศิลปะ 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 320 (8 นก.) 320 (8 นก.) 320 (8 นก.) การงานอาชีพและเทคโนโลยี ภาษาต่างประเทศ 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) รวมเวลาเรยี น (พืน้ ฐาน) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 240 (6 นก.) 240 (6 นก.) 240 (6 นก.) • รายวชิ าเพิม่ เติม 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) • กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) -กิจกรรมแนะแนว - กิจกรรมนกั เรยี น 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) - ลูกเสือ ยวุ กาชาดฯ 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 240 (6 นก.) 240 (6 นก.) 240 (6 นก.) - ชมุ นมุ - จติ สาธารณะ 880 880 880 1,640 1,640 1,640 - กจิ กรรมเพอื่ สังคมและ (22 นก.) (22นก.) (22นก.) (41นก.) (41นก.) (41นก.) สาธารณประโยชน์ รวมเวลากจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น 200 200 200 2,140 2,040 2,080 รวมเวลาเรียนทั้งหมด (5 นก.) (5 นก.) (5 นก.) (53.5นก.) (51นก.) (52นก.) ช่ัวโมง ชว่ั โมง ช่วั โมง ชวั่ โมง ชว่ั โมง ชวั่ โมง 40 40 40 120 120 120 40 40 40 20 20 20 120 120 120 20 20 20 80 80 80 40 40 40 120 120 120 360 360 360 1,200 ชัว่ โมง 1,200ชั่วโมง 1,240ช่วั โมง 4,380ชั่วโมง 4,040ชั่วโมง 4,080 ชั่วโมง หมายเหตุ กจิ กรรมจิตสาธารณะ ช้นั ม.1-3 ใช้เวลาเรยี นตามปกตทิ โี่ รงเรยี นกำหนด กจิ กรรมจิตสาธารณะ ชนั้ ม.4-6 ใชเ้ วลาในวันหยุดบรหิ ารจดั การ โดยใหค้ รทู ่ปี รึกษามีส่วนรว่ ม

แผนการเรียนระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น โรงเรยี นยงู ทองพทิ ยาคม อำเภอนายูง จังหวดั อุดรธานี รายวิชา ชัน้ ม.1 จำนวนชัว่ โมง / สปั ดาห์ ชนั้ ม.3 ภาคเรียน ภาคเรียน ชั้น ม.2 ภาคเรียน ภาคเรียน สาระพนื้ ฐาน 1. ภาษาไทย ท่ี 1 ท่ี 2 ภาคเรียน ภาคเรยี น ท่ี 1 ท่ี 2 2. คณิตศาสตร์ (440) (440) ท่ี 1 ท่ี 2 (440) (440) 3. วิทยาศาสตร์ 60 60 (440) (440) 60 60 4. สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 60 60 60 60 60 60 5. ประวัตศิ าสตร์ 60 60 60 60 60 60 6. สุขศกึ ษา 60 60 60 60 60 60 7. พลศึกษา 20 20 60 60 20 20 8. ศลิ ปะ 20 20 20 20 20 20 9. การงานอาชพี และเทคโนโลยี 20 20 20 20 20 20 10. ภาษาอังกฤษ 40 40 20 20 40 40 40 40 40 40 40 40 60 60 40 40 60 60 60 60 สาระเพิ่มเตมิ (100) (100) (100) (100) (100) (100) เลือกเสรีกล่มุ 1 40 40 40 40 40 40 เลือกเสรีกล่มุ 2 60 60 60 60 60 60 (60) (60) (60) (60) (100) (60) กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น 20 20 20 20 20 20 กจิ กรรมแนะแนว 10 10 10 10 10 10 กจิ กรรมชุมนุม 10 10 10 10 10 10 กจิ กรรมจิตสาธารณะ 20 20 20 20 20 20 กจิ กรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บำเพญ็ ฯ -- -- 40 - กจิ กรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์(IS3) 600 600 600 600 600 600 รวมเวลาเรยี น / ภาคเรียน 1,200 1,200 1,200 รวมเวลาเรียนทั้งหมด / ปี

แผนการเรียนระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนยงู ทองพทิ ยาคม อำเภอนายูง จังหวดั อุดรธานี แผนการเรียนที่ 1 วทิ ยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์ จำนวนชว่ั โมง / สปั ดาห์ รายวิชา ช้ัน ม.4 ชั้น ม.5 ชั้น ม.6 ภาคเรียนที่1 ภาคเรยี นท่ี2 ภาคเรยี นท่ี1 ภาคเรียนท่ี 2 ภาคเรยี นที่ 1 ภาคเรยี นท่ี 2 สาระพน้ื ฐาน (400) (240) (240) (240) (220) (300) 1. ภาษาไทย 40 40 40 40 40 40 2. คณิตศาสตร์ 40 40 40 40 40 40 3. วิทยาศาสตร์ 160 - - - - - -ฟสิ ิกส์ - - - - - 80 -เคมี - 60 - - - - - -ชีววิทยา - 60 - - - - - -โลกและดาราศาสตร์ - 40 - - - - - 4. สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 40 40 40 40 40 40 5. ประวัติศาสตร์ 20 20 20 20 - - 6.สุขศึกษา 20 20 20 20 20 20 7. ศิลปะ 20 20 20 20 20 20 8. การงานอาชีพและเทคโนโลยี 20 20 20 20 20 20 9. ภาษาอังกฤษ 40 40 40 40 40 40 สาระเพิม่ เติม (240) (400) (420) (400) (380) (300) 1.ฟิสิกส์ 80 80 80 80 80 - 2.เคมี - 60 60 60 60 60 3.ชีววิทยา - 60 60 60 60 60 4.คณติ ศาสตร์ 60 60 60 60 60 60 5.ภาษาอังกฤษ 40 40 40 40 40 40 6.อาเซยี นศึกษา - - 20 20 - - 8.พลศกึ ษา 20 20 20 20 20 20 9.คอมพิวเตอร์ 40 40 40 40 40 40 10.หน้าที่พลเมอื ง - - 20 - 20 20 11.โครงงานวทิ ยาศาสตร์ - - - - - 40 กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น (60) (60) (60) (40) (60) (60) กิจกรรมแนะแนว 20 20 20 20 20 20 กจิ กรรมชุมนมุ 20 20 20 20 20 20 กิจกรรมจติ สาธารณะ 20 20 - - 20 20 กจิ กรรมสาธารณประโยชน์ - - 20 20 - - รวมเวลาเรียน / ภาคเรียน 700 700 700 700 660 660 รวมเวลาเรยี นทง้ั หมด / ปี 1,400 1,400 1,320 หมายเหตุ กิจกรรมจิตสาธารณะ ช้นั ม.4-6 ใชเ้ วลาในวนั หยดุ บริหารจดั การ โดยให้ครูที่ปรึกษามสี ่วนร่วม

แผนการเรียนระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนยงู ทองพทิ ยาคม อำเภอนายูง จังหวัดอุดรธานี แผนการเรียนที่ 2 ศิลป์-ภาษา จำนวนชว่ั โมง / สัปดาห์ รายวชิ า ช้นั ม.4 ชน้ั ม.5 ช้ัน ม.6 ภาคเรียนที่1 ภาคเรยี นท่ี2 ภาคเรยี นที่ 1 ภาคเรยี นท่ี ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนท่ี 2 2 สาระพื้นฐาน (280) (300) (320) (300) (220) (220) 1.ภาษาไทย 40 40 40 40 40 40 2.คณิตศาสตร์ 40 40 40 40 40 40 3.วิทยาศาสตร์ 40 60 80 60 - - 4.สังคมศกึ ษา ศาสนาและ 40 40 40 40 40 40 วฒั นธรรม 5.ประวัติศาสตร์ 20 20 20 20 - - 6.สุขศกึ ษา 20 20 20 20 20 20 7.ศิลปะ 20 20 20 20 20 20 7.การงานอาชีพและเทคโนโลยี 20 20 20 20 20 20 8.ภาษาอังกฤษ 40 40 40 40 40 40 สาระเพม่ิ เติม (340) (340) (340) (340) (360) (320) 1.IS 40 40 - - - - 2.ภาษาไทย 40 40 40 40 40 40 3.สังคมศกึ ษา 40 40 40 40 40 40 4.พลศกึ ษา 20 20 20 20 20 20 5.ศลิ ปะ 40 40 40 40 40 40 6.การงาน 40 - - 40 - 80 7.คอมพวิ เตอร์ - 40 40 - 40 - 8.ภาษาองั กฤษเพ่มิ เติม 1 40 40 40 40 40 40 9.ภาษาองั กฤษเพิม่ เตมิ 2 40 40 40 40 40 40 10.อาเซียนศกึ ษา - - 20 20 - - 11.ภาษาจีน 40 40 40 40 40 40 12.หน้าท่พี ลเมือง - - 20 20 20 20 13.โครงงานวทิ ยาศาสตร์ - - - - 40 - กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน (60) (60) (80) (40) (60) (60) กจิ กรรมแนะแนว 20 20 20 20 20 20 กจิ กรรมชุมนมุ 20 20 20 20 20 20 กจิ กรรมจิตสาธารณะ 20 20 - - 20 20 กิจกรรมเพือ่ สงั คมและ - - 40 - - - สาธารณประโยชน์ รวมเวลาเรียน / ภาคเรียน 680 700 700 700 640 640 รวมเวลาเรียนทั้งหมด / ปี 1,380 1,400 1,280 หมายเหตุ กจิ กรรมจติ สาธารณะ ช้ัน ม.4-6 ใชเ้ วลาในวนั หยุดบรหิ ารจดั การ โดยใหค้ รทู ป่ี รกึ ษามสี ่วนรว่ ม

โครงสรา้ งหลักสตู ร กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ชัน้ รหสั วชิ า ชอื่ วิชา จำนวนชัว่ โมง จำนวนช่วั โมง จำนวน ตอ่ สัปดาห์ ตอ่ ภาคเรยี น หนว่ ยกติ พื้นฐาน ม. 1 ท21101 ภาษาไทย 3 60 1.5 ท21102 ภาษาไทย 3 60 1.5 ม. 2 ท22101 ภาษาไทย 3 60 1.5 ท22102 ภาษาไทย 3 60 1.5 ม. 3 ท23101 ภาษาไทย 3 60 1.5 ท23102 ภาษาไทย 3 60 1.5 เพ่มิ เติม ม. 2 I 22201 การศกึ ษาค้นคว้าและสรา้ งองคค์ วามรู้ 1 1 20 0.5 I 22202 การสอื่ สารและการนำเสนอ 1 20 0.5 พ้นื ฐาน ม. 4 ท31101 ภาษาไทย 2 40 1 ท31102 ภาษาไทย 2 40 1 ม. 5 ท32101 ภาษาไทย 2 40 1 ท32102 ภาษาไทย 2 40 1 ม. 6 ท33101 ภาษาไทย 2 40 1 ท33102 ภาษาไทย 2 40 1 เพิม่ เตมิ ม. 4-6 ท30201 วรรณกรรมทอ้ งถ่นิ 2 40 1 ท30202 วรรณกรรมปจั จบุ นั 2 40 1 I 31201 การศึกษาคน้ ควา้ และสรา้ งองค์ความรู้ 2 40 1 I 31202 การสือ่ สารและการนำเสนอ 2 40 1 ท30203 การเขียน 1 2 40 1 ท30204 การเขยี น 2 2 40 1 ท30205 ภาษาไทยเพอ่ื พัฒนาการคดิ 2 40 1 ท30206 การพดู 2 40 1

คณุ ภาพผเู้ รยี น จบช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 3 • อ่านออกเสยี งบทร้อยแก้วและบทรอ้ ยกรองเปน็ ทำนองเสนาะไดถ้ ูกต้อง เข้าใจความหมายโดยตรง และความหมายโดยนยั จบั ใจความสำคญั และรายละเอยี ดของส่ิงทอ่ี ่าน แสดงความคิดเหน็ และข้อโตแ้ ยง้ เก่ียวกับเรือ่ งทีอ่ ่าน และเขียนกรอบแนวคดิ ผงั ความคิด ย่อความ เขียนรายงานจาก สงิ่ ท่ีอ่านได้ วิเคราะห์ วจิ ารณ์ อย่างมเี หตุผล ลำดบั ความอย่างมีขนั้ ตอนและความเปน็ ไปได้ของเรอื่ งทอ่ี ่าน รวมทง้ั ประเมินความถกู ตอ้ งของข้อมูลทใี่ ช้สนบั สนนุ จากเร่ืองท่ีอา่ น • เขยี นสือ่ สารดว้ ยลายมอื ท่ีอ่านงา่ ยชัดเจน ใชถ้ อ้ ยคำได้ถูกต้องเหมาะสมตามระดับภาษาเขียนคำ ขวัญ คำคม คำอวยพรในโอกาสตา่ งๆ โฆษณา คติพจน์ สนุ ทรพจน์ ชีวประวัติ อัตชีวประวตั ิและประสบการณ์ ต่างๆ เขยี นยอ่ ความ จดหมายกิจธรุ ะ แบบกรอกสมคั รงาน เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรคู้ วามคดิ หรอื โต้แยง้ อย่างมเี หตผุ ล ตลอดจนเขียนรายงานการศึกษาคน้ คว้าและเขยี นโครงงาน • พูดแสดงความคิดเห็น วิเคราะห์ วจิ ารณ์ ประเมนิ สิง่ ทไี่ ด้จากการฟงั และดู นำขอ้ คิดไปประยุกต์ใช้ ในชวี ติ ประจำวนั พูดรายงานเรื่องหรอื ประเด็นท่ีไดจ้ ากการศกึ ษาค้นคว้าอยา่ งเปน็ ระบบ มีศิลปะในการพดู พดู ใน โอกาสตา่ งๆ ไดต้ รงตามวตั ถุประสงค์ และพูดโนม้ น้าวอยา่ งมเี หตุผลนา่ เช่อื ถอื รวมทงั้ มมี ารยาทในการฟงั ดู และ พดู • เข้าใจและใช้คำราชาศพั ท์ คำบาลีสนั สกฤต คำภาษาต่างประเทศอ่ืนๆ คำทบั ศัพท์ และศพั ท์ บัญญตั ใิ นภาษาไทย วเิ คราะห์ความแตกต่างในภาษาพูด ภาษาเขยี น โครงสร้างของประโยครวม ประโยคซอ้ น ลักษณะภาษาที่เป็นทางการ ก่ึงทางการและไม่เป็นทางการ และแต่งบทร้อยกรองประเภทกลอนสุภาพ กาพย์ และ โคลงส่ีสุภาพ • สรปุ เนือ้ หาวรรณคดแี ละวรรณกรรมทอี่ ่าน วิเคราะหต์ ัวละครสำคญั วถิ ีชีวิตไทย และคุณค่าท่ไี ดร้ ับ จากวรรณคดีวรรณกรรมและบทอาขยาน พรอ้ มท้งั สรปุ ความรขู้ ้อคิดเพื่อนำไปประยกุ ต์ใช้ในชีวติ จรงิ

จบชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 6 • อ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแก้วและบทรอ้ ยกรองเปน็ ทำนองเสนาะไดถ้ ูกต้องและเขา้ ใจ ตีความ แปล ความ และขยายความเร่ืองทีอ่ า่ นได้ วิเคราะหว์ ิจารณเ์ รอื่ งที่อ่าน แสดงความคิดเห็นโตแ้ ย้งและเสนอ ความคดิ ใหม่จากการอา่ นอยา่ งมีเหตุผล คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องท่อี า่ น เขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ย่อความ และเขียนรายงานจากสิง่ ทีอ่ า่ น สังเคราะห์ ประเมนิ ค่า และนำความรู้ความคิดจากการอ่าน มาพฒั นาตน พัฒนาการเรียน และพฒั นาความรู้ทางอาชีพ และ นำความรู้ความคดิ ไปประยกุ ตใ์ ช้แกป้ ญั หา ในการดำเนินชวี ิต มีมารยาทและมีนสิ ัยรักการอา่ น • เขยี นส่ือสารในรปู แบบต่างๆ โดยใชภ้ าษาไดถ้ ูกต้องตรงตามวัตถปุ ระสงค์ ย่อความจากส่อื ทีม่ ี รูปแบบและเน้ือหาท่ีหลากหลาย เรยี งความแสดงแนวคิดเชงิ สรา้ งสรรค์โดยใช้โวหารต่างๆ เขยี นบันทกึ รายงานการศกึ ษาคน้ คว้าตามหลกั การเขยี นทางวิชาการ ใช้ขอ้ มูลสารสนเทศในการอา้ งอิง ผลติ ผลงานของ ตนเองในรปู แบบต่างๆ ทง้ั สารคดีและบนั เทงิ คดี รวมทง้ั ประเมนิ งานเขยี นของผอู้ ื่นและนำมาพฒั นางาน เขียนของตนเอง • ตงั้ คำถามและแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับเร่ืองท่ฟี ังและดู มีวจิ ารณญาณในการเลอื กเร่อื งที่ฟังและ ดู วิเคราะหว์ ัตถุประสงค์ แนวคดิ การใชภ้ าษา ความนา่ เชือ่ ถอื ของเร่ืองที่ฟังและดู ประเมินสิง่ ทฟี่ งั และดู แลว้ นำไปประยกุ ต์ใช้ในการดำเนินชีวิต มีทักษะการพดู ในโอกาสต่างๆ ทงั้ ท่เี ป็นทางการและไม่เป็นทางการโดย ใชภ้ าษาทถี่ กู ต้อง พูดแสดงทรรศนะ โตแ้ ย้ง โน้มน้าว และเสนอแนวคดิ ใหมอ่ ย่างมีเหตุผล รวมทง้ั มี มารยาทในการฟงั ดู และพดู • เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษา อทิ ธพิ ลของภาษา และลกั ษณะของภาษาไทย ใช้คำและกลมุ่ คำสรา้ ง ประโยคได้ตรงตามวตั ถุประสงค์ แตง่ คำประพันธป์ ระเภท กาพย์ โคลง ร่ายและฉันท์ ใชภ้ าษาได้เหมาะสม กับกาลเทศะและใช้คำราชาศพั ท์และคำสุภาพได้อย่างถูกตอ้ ง วเิ คราะห์หลักการ สร้างคำในภาษาไทย อทิ ธพิ ลของภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทยและภาษาถิน่ วเิ คราะหแ์ ละประเมินการใช้ภาษาจากสอ่ื ส่งิ พมิ พ์และ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ • วิเคราะหว์ ิจารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวจิ ารณว์ รรณคดเี บ้ืองต้น ร้แู ละเข้าใจ ลกั ษณะเดน่ ของวรรณคดี ภมู ิปญั ญาทางภาษาและวรรณกรรมพ้ืนบ้าน เชื่อมโยงกบั การเรียนรู้ทาง ประวตั ศิ าสตรแ์ ละวถิ ไี ทย ประเมนิ คณุ ค่าดา้ นวรรณศิลป์ และนำขอ้ คิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมไป ประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ จรงิ

ตวั ช้วี ัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระที่ 1 การอ่าน มาตรฐาน ท 1.1 ใชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความร้แู ละความคดิ เพอ่ื นำไปใช้ตัดสนิ ใจ แก้ปัญหาในการ ดำเนินชวี ติ และมนี ิสยั รกั การอา่ น ช้ัน ตัวชี้วัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ม.1 1. อา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแก้วและ  การอา่ นออกเสยี ง ประกอบด้วย บทร้อยกรองได้ถูกต้องเหมาะสมกับเร่อื งท่ี - บทร้อยแกว้ ท่เี ปน็ บทบรรยาย อา่ น - บทร้อยกรอง เช่น กลอนสุภาพ กลอน สักวา กาพย์ยานี 11 กาพย์ฉบงั 16 กาพย์ สรุ างคนางค์ 28 และโคลงสสี่ ภาพ 2. จบั ใจความสำคญั จากเรอ่ื งทอี่ า่ น  การอา่ นจบั ใจความสำคญั ต่าง ๆ เช่น 3. ระบุเหตผุ ล และขอ้ เทจ็ จรงิ - เรอ่ื งเล่าจากประสบการณ์ กับข้อคิดเหน็ จากเรือ่ งทอี่ ่าน - เรื่องส้ัน 4. ระบุและอธบิ ายคำเปรยี บเทียบ และคำ - บทสนทนา ทม่ี หี ลายความหมายในบรบิ ทต่าง ๆ จาก - นิทานชาดก การอา่ น - วรรณคดใี นบทเรียน 5. ตีความคำยากในเอกสารวชิ าการ - งานเขยี นเชงิ สรา้ งสรรค์ โดยพิจารณาจากบรบิ ท - บทความ 6. ระบขุ อ้ สงั เกตและความสมเหตุสมผล - สารคดี ของงานเขยี นประเภทชักจงู โนม้ น้าวใจ - บนั เทิงคดี - เอกสารทางวิชาการที่มคี ำ ประโยคและ ขอ้ ความทีต่ อ้ งใช้บรบิ ทชว่ ยพจิ ารณา ความหมาย - งานเขียนประเภทชกั จงู โน้มน้าวใจ เชิงสรา้ งสรรค์ 7. ปฏิบตั ติ ามคมู่ อื แนะนำวธิ ีการใช้งานของ  การอ่านและปฏบิ ตั ิตามเอกสารคู่มือ เครอ่ื งมอื หรอื เครือ่ งใช้ในระดบั ทยี่ ากขึ้น 8. วิเคราะห์คณุ ค่าที่ไดร้ ับจากการอา่ นงาน  การอา่ นหนังสอื ตามความสนใจ เช่น เขียนอยา่ งหลากหลาย เพ่อื นำไปใช้ - หนังสอื ทีน่ กั เรียนสนใจและเหมาะสม แก้ปัญหาในชีวิต กับวัย - หนังสืออา่ นทีค่ รูและนักเรยี นกำหนด รว่ มกัน 9. มมี ารยาทในการอ่าน มารยาทในการอ่าน ม.2 1.อา่ นออกเสยี งบทร้อยแก้วและบทร้อย  การอ่านออกเสียง ประกอบดว้ ย

กรองได้ถกู ตอ้ ง - บทร้อยแกว้ ท่ีเปน็ บทบรรยายและ บทพรรณนา - บทร้อยกรอง เชน่ กลอนบทละคร ชน้ั ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ม.2 กลอนนิทาน กลอนเพลงยาว และกาพยห์ ่อ โคลง 2. จับใจความสำคัญสรุปความและอธบิ าย  การอา่ นจับใจความจากสอื่ ตา่ ง ๆ เช่น รายละเอียดจากเรื่องทอ่ี า่ น - วรรณคดใี นบทเรยี น 3. เขยี นผงั ความคิด เพื่อแสดงความเข้าใจ - บทความ ในบทเรียนต่าง ๆ ที่อ่าน - บันทกึ เหตกุ ารณ์ 4. อภิปรายแสดงความคิดเห็นและขอ้ - บทสนทนา โต้แยง้ เกยี่ วกับเร่อื งท่อี า่ น - บทโฆษณา 5. วเิ คราะห์และจำแนกข้อเทจ็ จริง ข้อมูล - งานเขยี นประเภทโนม้ น้าวใจ สนับสนุนและขอ้ คดิ เหน็ จากบทความท่อี า่ น - งานเขียนหรือบทความแสดงขอ้ เท็จจรงิ 6. ระบขุ อ้ สังเกต การชวนเชอ่ื การโนม้ น้าว - เรื่องราวจากบทเรยี นในกลมุ่ สาระการ หรือความสมเหตสุ มผลของงานเขยี น เรยี นรภู้ าษาไทย และกลมุ่ สาระการเรียนรู้อ่นื 7. อา่ นหนังสอื บทความหรือคำประพันธ์  การอ่านตามความสนใจ เช่น อยา่ งหลากหลาย และประเมนิ คุณคา่ หรือ - หนงั สอื อ่านนอกเวลา แนวคิดที่ไดจ้ ากการอ่าน เพ่ือนำไปใช้ - หนังสอื ทนี่ ักเรยี นสนใจและเหมาะสมกบั วัย แก้ปญั หาในชวี ิต - หนังสอื อ่านทีค่ รูและนกั เรียนกำหนด รว่ มกนั 8. มีมารยาทในการอา่ น  มารยาทในการอ่าน ม. 3 1. อา่ นออกเสยี งบทร้อยแกว้ และบทรอ้ ย  การอ่านออกเสียง ประกอบดว้ ย กรองได้ถกู ต้องและเหมาระสมกบั เร่ืองที่ - บทรอ้ ยแก้วท่เี ปน็ บทความทว่ั ไปและ อา่ น บทความปกิณกะ - บทร้อยกรอง เชน่ กลอนบทละคร กลอน สักวา กาพย์ยานี ๑๑ กาพยฉ์ บงั ๑๖ และ โคลงส่ีสุภาพ 2. ระบุความแตกตา่ งของคำม่ีมีความหมาย  การอา่ นจบั ใจความจากสอ่ื ตา่ ง ๆ เชน่ โดยตรง และความหมายโดยนยั - วรรณคดใี นบทเรยี น 3. ระบุใจความสำคญั และรายละเอียดของ - ขา่ วและเหตกุ ารณส์ ำคัญ ข้อมูลที่สนับสนุนจากเร่อื งท่อี ่าน - บทความ 4. อา่ นเรอ่ื งตา่ ง ๆ แล้วเขยี นกรอบแนวคดิ - บนั เทงิ คดี ผังความคดิ บันทกึ ย่อความและรายงาน - สารคดี 5. วเิ คราะห์ วิจารณ์และประเมินเรอ่ื งท่ี - สารคดีเชิงประวัติ อา่ นโดยใชก้ ลวธิ กี ารเปรยี บเทียบเพอื่ ให้ - ตำนาน ผอู้ า่ นเข้าใจได้ดีข้นึ - งานเขียนเชิงสรา้ งสรรค์ 6. ประเมนิ ความถูกต้องของข้อมูล ที่ใช้ - เรือ่ งราวจากบทเรยี นในกลมุ่ สาระ สนับสนนุ ในเรือ่ งทอี่ ่าน การเรียนรู้อืน่ 7. วิจารณค์ วามสมเหตสุ มผล การลำดับ

ความและความเป็นไปได้ของเรอื่ ง 8. วเิ คราะห์เพ่อื แสดงความคิดเหน็ โต้แยง้ เกย่ี วกับเรอื่ งทอี่ ่าน ชั้น ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม. 3 9. ตคี วามและประเมนิ คุณคา่ แนวคิดท่ีได้  การอ่านตามความสนใจ เช่น จากงานเขียน อย่างหลากหลายเพอ่ื - หนังสืออ่านนอกเวลา นำไปใช้แก้ปัญหาในชีวติ - หนงั สืออ่านตามความสนใจและตามวยั ของ นกั เรยี น - หนงั สืออ่านท่คี รูและนักเรียนร่วมกัน กำหนด 10. มีมารยาทในการอา่ น  มารยาทในการอ่าน ม.4-6 1. อ่านออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ และบทรอ้ ย  การอ่านออกเสียง ประกอบดว้ ย กรองได้อย่างถูกต้อง ไพเราะและ - บทรอ้ ยแกว้ ประเภทต่าง ๆ เช่น บทความ เหมาะสมกับเร่ืองทอี่ ่าน นวนยิ าย และความเรยี ง - บทร้อยกรอง เชน่ โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน รา่ ย และลิลติ 2. ตีความ แปลความ และขยายความ  การอ่านจับใจความจากส่ือต่าง ๆ เชน่ เร่ืองทีอ่ ่าน - ข่าวสารจากสอื่ สงิ่ พิมพ์ สื่ออเิ ลก็ ทรอนิกส์ 3. วิเคราะห์และวจิ ารณ์เรอ่ื งทอี่ ่านในทุก และแหลง่ เรียนร้ตู ่าง ๆ ในชุมชน ๆ ด้านอยา่ งมีเหตผุ ล - บทความ 4. คาดคะเนเหตุการณจ์ ากเร่อื งทอ่ี ่านและ - นิทาน ประเมินคา่ เพื่อนำความรคู้ วามคดิ ไปใช้ - เร่ืองส้ัน ตัดสนิ ใจแกป้ ญั หาในการดำเนนิ ชีวติ - นวนยิ าย 5. วิเคราะห์ วจิ ารณ์ แสดงความคดิ เหน็ - วรรณกรรมพ้นื บ้าน โตแ้ ยง้ เก่ยี วกบั เร่ืองทอ่ี า่ น และเสนอ - วรรณคดใี นบทเรยี น ความคิดใหม่อย่างมีเหตุผล - บทโฆษณา 6. ตอบคำถามจากการอ่านงานเขยี น - สารคดี ประเภทตา่ ง ๆ ภายในเวลาท่กี ำหนด - บันเทิงคดี 7. อ่านเรือ่ งต่าง ๆ และเขียนกรอบแนวคดิ - ปาฐกถา ผงั ความคิด บันทกึ ย่อความ และรายงาน - พระบรมราโชวาท 8. สังเคราะห์ความรูจ้ ากการอ่าน สอื่ - เทศนา สงิ่ พมิ พ์ สื่ออเิ ลก็ ทรอนิกส์ และแหลง่ - คำบรรยาย เรียนรู้ต่าง ๆ มาพฒั นาตน พฒั นาการ - คำสอน เขียน และพฒั นาความรู้ ทางอาชีพ - บทร้อยกรองรว่ มสมยั - บทเพลง - บทอาเศียรวาท - คำขวัญ 9. มมี ารยาทในการอ่าน มารยาทในการอ่าน

สาระที่ 2 การเขียน มาตรฐาน ท 2.1 ใชก้ ระบวนการเขยี น เขียนส่ือสาร เขยี นเรยี งความ ย่อความ และเขียนเรอื่ งราวในรูปแบบ ต่าง ๆ เขยี นรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงาน การศึกษาค้นควา้ อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ชั้น ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ม. 1 1. คดั บายมอื ตัวบรรจงครึง่ บรรทัด  การคดั ลายมอื ตวั บรรจงครึ่งบรรทัดตาม รปู แบบการเขยี นตัวอักษรไทย 2. เขยี นสอื่ สารโดยใช้ถอ้ ยคำถกู ต้อง ชดั เจน  การเขยี นสือ่ สาร เช่น เหมาะสมและสละสลวย - การเขยี นแนะนำตนเอง - การเขียนแนะนำสถานทส่ี ำคัญ ๆ - การเขียนบนสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ 3. เขียนบรรยาย ประสบการณโ์ ดยระบุ  การบรรยายประสบการณ์ สาระสำคัญ และรายละเอยี ดสนบั สนนุ 4. เขียนเรยี งความ  การเขยี นเรยี งความเชิงพรรณนา 5. เขยี นยอ่ ความจากเรอ่ื งทีอ่ า่ น การเขยี นย่อความจากสอ่ื ตา่ ง ๆ เชน่ เรอื่ งสน้ั คำสอน โอวาท คำปราศรัย สนุ ทรพจน์ รายงาน ระเบยี บ คำสง่ั บทสนทนา เรื่องเลา่ ประสบการณ์ 6. เขยี นแสดงความคดิ เหน็ เกีย่ วกับสาระ  การเขียนแสดงความคดิ เหน็ เก่ียวกบั สาระจาก จากส่ือท่ไี ดร้ บั สอ่ื ตา่ ง ๆ เช่น - บทความ - หนังสอื อ่านนอกเวลา - ข่าวและเหตกุ ารณ์ประจำวัน - เหตกุ ารณ์สำคญั ตา่ ง ๆ 7. เขียนจดหมายสว่ นตัวและจดหมายธรุ กิจ  การเขยี นจดหมายสว่ นตัว - จดหมายขอความชว่ ยเหลือ - จดหมายแนะนำ  การเขยี นจดหมายกจิ ธุระ - จดหมายสอบถามข้อมูล 8. เขยี นรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้  การเขยี นรายงาน ได้แก่ และโครงงาน - การเขียนรายงานจากการศกึ ษาคน้ คว้า - การเขยี นรายงานโครงงาน 9. มมี ารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขียน ม. 2 1. คัดลายมือตวั บรรจงครงึ่ บรรทดั  การคัดลายมือตวั บรรจงคร่ึงบรรทัดตาม รูปแบบการเขียนตัวอกั ษรไทย 2. เขียนบรรยายและพรรณนา  การเขยี นบรรยายและพรรณนา 3. เขยี นเรยี งความ  การเขยี นเรียงความเก่ยี วกับประสบการณ์

4. เขียนย่อความ  การเขียนย่อความจากส่อื ตา่ ง ๆ เช่น นทิ าน คำสอน บทความทางวิชาการ บนั ทกึ เหตุการณ์ เรือ่ งราวในบทเรยี นในกลุม่ สาระ ชั้น ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ม. 2 การเรยี นรอู้ ื่น นิทานชาดก 5. เขยี นรายงานการศกึ ษาค้นควา้  การเขียนรายงาน - การเขยี นรายงานจากการศึกษาคน้ ควา้ - การเขยี นรายงานโครงงาน 6. เขียนจดหมายกิจธรุ ะ  การเขียนจดหมายกจิ ธุระ - จดหมายเชิญวทิ ยากร - จดหมายขอความอนเุ คราะห์ 7. เขยี นวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดง  การเขียนวิเคราะห์ วจิ ารณ์ และแสดง ความรู้ ความรู้ ความคดิ เห็น หรือโต้แยง้ ในเร่อื งที่ ความคดิ เห็น หรือโตแ้ ย้ง จากส่อื ต่าง ๆ เช่น อา่ นอย่างมเี หตุผล - บทความ - บทเพลง - หนงั สืออา่ นนอกเวลา - สารคดี - บนั เทิงคดี 8. มมี ารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขยี น ม. 3 1. คดั ลายมอื ตวั บรรจงครึง่ บรรทัด  การคดั ลายมือตัวบรรจงคร่งึ บรรทดั ตาม รูปแบบการเขยี นตวั อกั ษรไทย 2. เขยี นข้อความโดยใชถ้ ้อยคำไดถ้ ูกตอ้ ง  การเขียนข้อความตามสถานการณ์และโอกาส ตามระดับภาษา ต่าง ๆ เชน่ - คำอวยพรในโอกาสตา่ ง ๆ - คำขวัญ - คำคม - โฆษณา - คติพจน์ - สนุ ทรพจน์ 3. เขียนชีวประวัติหรอื อตั ชวี ประวตั ิ โดยเล่า  การเขียนอัตชวี ประวตั ิหรอื ชวี ประวตั ิ เหตกุ ารณ์ ข้อคิดเห็น และทัศนคตใิ นเรอื่ ง ต่าง ๆ 4. เขียนยอ่ ความ  การเขียนยอ่ ความจากสือ่ ต่าง ๆ เชน่ นิทาน ประวัติ ตำนาน สารคดีทางวชิ าการ พระราชดำรสั พระบรมราโชวาท จดหมาย ราชการ 5. เขยี นจดหมายกิจธุระ  การเขียนจดหมายกิจธรุ ะ - จดหมายเชิญวทิ ยากร -จดหมายของความอนเุ คราะห์

6. เขยี นอธิบาย ชแ้ี จง้ แสดงความคิดเหน็ - จดหมายแสดงความขอบคุณ และโต้แย้งอย่างมีเหตผุ ล  การเขียนอธิบาย ชี้แจ้ง แสดงความคดิ เห็นและ โตแ้ ย้งในเรอ่ื งตา่ ง ๆ ชน้ั ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ม. 3 7. เขยี นวเิ คราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้  การเขยี นวเิ คราะห์ วิจารณ์ และแสดง ความรู้ ความคิดเหน็ หรือโต้แยง้ ในเรือ่ งตา่ งๆ ความคิดเห็น หรือโตแ้ ย้ง จากสื่อตา่ งๆ เชน่ - บทโฆษณา - บทความทางวิชาการ 8. กรอกแบบสมัครงานพรอ้ มเขียนบรรยาย  กรอกแบบสมัครงาน เก่ียวกบั ความรู้และทักษะของตนเองที่ เหมาะสมกับงาน 9. เขียนรายงานการศึกษาค้นควา้ และ  การเขียนรายงาน ไดแ้ ก่ โครงงาน - การเขยี นรายงานจากการศกึ ษาค้นควา้ - การเขียนรายงานโครงงาน 10. มมี ารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขยี น ม.4-6 1. เขยี นส่ือสารในรูปแบบตา่ ง ๆ ได้ตรงตาม  การเขียนส่อื สารในรูปแบบต่าง ๆ เชน่ วตั ถุประสงค์ โดยใช้ภาษาเรยี บเรียงถูกต้อง - อธิบาย มีขอ้ มลู และสาระสำคัญชดั เจน - บรรยาย - พรรณนา - แสดงทรรศนะ - โต้แย้ง - โนม้ นา้ ว - เชญิ ชวน - ประกาศ - จดหมายกิจธุระ - โครงการและรายงานการดำเนนิ โครงการ - รายงานการประชุม - การกรอกแบบรายงานตา่ ง ๆ 2. เขยี นเรียงความ  การเขยี นเรยี งความ 3. เขียนย่อความจากสอื่ ทม่ี ีรปู แบบและ  การเขียนยอ่ ความจากส่ือต่าง ๆ เชน่ เนอ้ื หาหลากหลาย - กวีนิพนธ์ และวรรณคดี - เร่อื งสัน้ สารคดี นวนยิ าย บทความทาง วิชาการ และวรรณกรรมพ้นื บา้ น 4. ผลติ งานเขียนของตนเองในรปู แบบตา่ งๆ  การเขยี นในรูปแบบต่าง ๆ เช่น - สารคดี - บนั เทงิ คดี 5. ประเมนิ งานเขยี นของผอู้ ื่น แล้วนำมา  การประเมนิ คณุ คา่ งานเขยี นในด้านต่าง ๆ เช่น พัฒนางานเขยี นของตนเอง - แนวคดิ ของผเู้ ขยี น

- การใช้ถอ้ ยคำ - การเรยี บเรียง - สำนวนโวหาร ชั้น ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ม. 4-6 - กลวธิ ใี นการเขียน 6. เขียนรายงานการศึกษาคน้ คว้าเรอ่ื งที่  การเขยี นรายงานเชงิ วชิ าการ สนใจตามหลกั การเขียนเชิงวิชาการ และใช้  การเขยี นอ้างองิ ข้อมลู สารสนเทศ ขอ้ มลู สารสนเทศอ้างอิงถูกต้อง 7. บันทกึ การศกึ ษาคน้ คว้าเพ่ือนำไปพฒั นา  การเขยี นบันทึกความรูจ้ ากแหล่งเรยี นรทู้ ่ี ตนเองอย่างสม่ำเสมอ หลากหลาย 8. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขียน

สาระท่ี 3 การฟงั การดู การพูด มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลอื กฟังและดูอย่างมีวจิ ารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรูส้ กึ ใน โอกาสตา่ ง ๆ อย่างมีวิจารณญาณและสรา้ งสรรค์ ชัน้ ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม. 1 1. พดู สรปุ ใจความสำคญั ของเร่อื งท่ฟี งั  การพดู สรปุ ความ พูดแสดงความรู้ และดู ความคดิ อย่างสร้างสรรค์จากเรอ่ื งทีฟ่ ังและดู 2. เล่าเรอื่ งยอ่ จากเรื่องทฟ่ี ังและดู  การพูดประเมินความน่าเชอื่ ถือของสือ่ ทีม่ ี 3. พูดแสดงความคดิ เหน็ อยา่ งสรา้ งสรรค์ เนอ้ื หาโน้มน้าว เกี่ยวกับเรอ่ื งทฟี่ ังและดู 4. ประเมนิ ความน่าเชือ่ ถือของส่ือ ท่ีมเี นื้อหาโน้มนา้ วใจ 5. พดู รายงานเร่อื งหรอื ประเดน็ ที่ศกึ ษา  การพดู รายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ จากแหลง่ ค้นคว้าจากการฟัง การดู เรยี นร้ตู า่ ง ๆ ในชมุ ชนและท้องถนิ่ ของตน และการสนทนา 6. มีมารยาทในการฟงั การดู และการพูด  มารยาทในการฟงั การดู และการพูด ม.2 1. พดู สรปุ ใจความสำคัญของเรอื่ งที่ฟัง  การพูดสรุปความจากเรอื่ งที่ฟงั และดู และดู 2. วิเคราะห์ขอ้ เท็จจริง ขอ้ คิดเห็น  การพดู วเิ คราะห์และและวจิ ารณ์จากเรอ่ื ง และความนา่ เช่อื ถอื ของขา่ วสารจากส่อื ทฟี่ งั และดู ตา่ ง ๆ 3. วิเคราะห์และวจิ ารณ์เรอื่ งทฟี่ งั และดู อย่างมเี หตุผล เพ่ือนำข้อคดิ มาประยกุ ต์ ใชใ้ นการดำเนินชวี ิต 4. พูดในโอกาสตา่ ง ๆ ได้ตรงตาม  การพดู ในโอกาสต่าง ๆ วตั ถปุ ระสงค์ - การพูดอวยพร - การพูดโนม้ น้าว - การพดู โฆษณา 5. พูดรายงานเรื่องหรือประเดน็ ทศี่ กึ ษา  การพดู รายงานการศึกษาคน้ คว้าจาก ค้นควา้ จากการฟัง การดแู ละการสนทนา แหลง่ เรยี นรู้ตา่ ง ๆ 6. มีมารยาทในการฟัง การดูและการพดู  มารยาทในการฟงั การดู และการพูด ม.3 1. แสดงความคิดเห็นและประเมนิ เรอ่ื ง  การพดู แสดงความคิดเห็นและประเมนิ จากการฟังและการดู เร่อื งจากการฟังและการดู 2. วิเคราะห์และวิจารณ์เรือ่ งทีฟ่ ังและดู  การพดู วิเคราะห์ วจิ ารณ์จากเร่อื ง

เพอ่ื นำข้อคดิ มาประยกุ ต์ใชใ้ นการ ท่ีฟงั และดู ดำเนินชวี ิต ชัน้ ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ม. 3 3. พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นทศี่ กึ ษา  การพดู รายงานการศกึ ษาคน้ คว้า คน้ คว้าจากการฟงั การดแู ละการสนทนา เก่ียวกับภูมปิ ัญญาท้องถิ่น 4. พดู ในโอกาสตา่ ง ๆ ได้ตรงตาม  การพูดในโอกาสต่าง ๆ เช่น วัตถุประสงค์ - การพดู โตว้ าที - การอภิปราย - การพดู ยอวาที 5. พดู โนม้ น้าวโดยนำเสนอหลกั ฐาน  การพดู โน้มน้าว ตามลำดับเนอื้ หาอย่างมเี หตุผลและ น่าเชื่อถือ 6. มีมารยาทในการฟัง การดู  มารยาทในการฟัง การดู และการพูด และการพูด ม. 4-6 1. สรปุ แนวคดิ และแสดงความคดิ เห็น  การพูดสรปุ แนวคิดและการแสดง จากเร่ืองท่ีฟงั และดู ความคดิ เห็นจากเร่ืองท่ีฟงั และดู 2. วเิ คราะห์แนวคดิ การใชภ้ าษา และ  การวิเคราะหแ์ นวคดิ การใชภ้ าษา และ ความนา่ เช่ือถอื จากเรือ่ งท่ฟี ังและดู ความนา่ เชอ่ื ถอื จากเร่ืองท่ฟี ังและดู อย่างมเี หตุผล  การเลอื กเรอ่ื งท่ฟี งั และดูอยา่ งมวี จิ ารณญาณ 3. ประเมนิ เรือ่ งทฟ่ี งั และดู แล้วกำหนด  การประเมนิ เรอ่ื งทีฟ่ ังและดูเพอ่ื กำหนด แนวทางนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในการ แนวทางนำไปประยกุ ต์ใช้ ดำเนินชวี ิต 4. มวี จิ ารณญาณในการเลอื กเร่อื งทฟ่ี ัง และดู 5. พูดในโอกาสต่าง ๆ พดู แสดงทรรศนะ  การพดู ในโอกาสต่าง ๆ เชน่ โต้แยง้ โนม้ นา้ วใจ และเสนอ - การพูดตอ่ ทปี่ ระชมุ ชน แนวคิดใหม่ด้วยภาษาถกู ต้องเหมาะสม - การพูดอภปิ ราย - การพูดแสดงทรรศนะ - การพดู โน้มน้าวใจ 6. มมี ารยาทในการฟงั การดู  มารยาทในการฟัง การดู และการพูด และการพูด

สาระที่ 4 หลกั การใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลยี่ นแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภมู ปิ ัญญาทางภาษา และรกั ภาษาไทยไว้เป็นสมบตั ขิ องชาติ ชัน้ ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.1 1. อธบิ ายลักษณะของเสยี งในภาษาไทย  เสยี งในภาษาไทย 2. สร้างคำในภาษาไทย  การการสรา้ งคำ เชน่ - คำประสม คำซ้ำ คำซอ้ น - คำพ้อง 3. วเิ คราะห์ชนดิ และหนา้ ท่ีของคำใน  ชนดิ และหน้าท่ขี องคำ ประโยค 4. วิเคราะห์ความแตกต่างของภาษาพูด  ภาษาพดู และภาษาเขียน  ภาษาเขียน 5. แต่งบทรอ้ ยกรอง  กาพยย์ านี ๑๑ 6. จำแนกและใช้สำนวนทเ่ี ปน็ คำพังเพย  สำนวนทีเ่ ปน็ คำพงั เพยและสภุ าษิต และสุภาษติ ม.2 1. สรา้ งคำในภาษาไทย  การสร้างคำสมาส  ลักษณะของประโยคในภาษาไทย 2. วเิ คราะห์โครงสร้างประโยคสามัญ ประโยครวม และประโยคซอ้ น - ประโยคสามญั - ประโยครวม 3. แต่งบทร้อยกรอง - ประโยคซอ้ น 4. ใชค้ ำราชาศัพท์  กลอนสภุ าพ 5. รวบรวมและอธิบายความหมายของ  คำราชาศพั ท์ คำภาษาตา่ งประเทศท่ีใช้ในภาษาไทย  คำท่มี าจากภาษาต่างประเทศ ม.3 1. จำแนกและใช้คำภาษาตา่ งประเทศ  คำทม่ี าจากภาษาตา่ งประเทศ ที่ใช้ในภาษาไทย 2. วิเคราะห์โครงสร้างประโยคซับซ้อน  ประโยคซบั ซอ้ น 3. วิเคราะหร์ ะดบั ภาษา  ระดับภาษา 4. ใช้คำทบั ศพั ทแ์ ละศัพทบ์ ัญญัติ  คำทับศพั ท์  คำศพั ทบ์ ญั ญตั ิ ม.3 5. อธิบายความหมายคำศัพท์ทาง  คำศัพทท์ างวิชาการและวชิ าชพี วชิ าการและวชิ าชพี  โคลงสี่สุภาพ 6. แต่งบทรอ้ ยกรอง  ธรรมชาติของภาษา ม.4-6 1. อธิบายธรรมชาตขิ องภาษา พลงั ของ  พลังของภาษา ภาษา และลกั ษณะของภาษา

 ลักษณะของภาษา - เสียงในภาษา ช้นั ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ม.4-6 - ส่วนประกอบของภาษา - องค์ประกอบของพยางค์และคำ 2. ใชค้ ำและกลุ่มคำสรา้ งประโยค  การใช้คำและกลมุ่ คำสรา้ งประโยค ตรงตามวตั ถุประสงค์ - คำและสำนวน - การรอ้ ยเรยี งประโยค - การเพิ่มคำ - การใช้คำ - การเขียนสะกดคำ 3. ใช้ภาษาเหมาะสมแก่โอกาสกาลเทศะ  ระดบั ของภาษา และบุคคล รวมทั้งคำราชาศพั ท์อยา่ ง  คำราชาศพั ท์ เหมาะสม 4. แตง่ บทรอ้ ยกรอง  กาพย์ โคลง รา่ ย และฉันท์ 5. วเิ คราะห์อิทธพิ ลของภาษา  อิทธิพลของภาษาตา่ งประเทศ ต่างประเทศและภาษาถิน่ และภาษาถน่ิ 6. อธิบายและวเิ คราะห์หลักการสร้างคำ  หลกั การสรา้ งคำในภาษาไทย ในภาษาไทย 7. วเิ คราะห์และประเมินการใชภ้ าษา  การประเมนิ การใช้ภาษาจากสื่อส่งิ พิมพ์ จากสอ่ื ส่งิ พิมพแ์ ละส่ืออิเล็กทรอนิกส์ และส่ืออิเล็กทรอนกิ ส์

สาระท่ี 5 วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วจิ ารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอย่างเหน็ คณุ ค่าและ นำมาประยุกต์ใชใ้ นชีวิตจรงิ ชน้ั ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ม.1 1. สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรม  วรรณคดีและวรรณกรรมเก่ียวกับ ทีอ่ ่าน - ศาสนา - ประเพณี - พธิ กี รรม - สุภาษติ คำสอน - เหตกุ ารณ์ประวตั ศิ าสตร์ - บนั เทิงคดี - บนั ทกึ การเดินทาง - วรรณกรรมทอ้ งถนิ่ 2. วเิ คราะห์วรรณคดแี ละวรรณกรรม  การวิเคราะห์คณุ คา่ และขอ้ คิดจากวรรณคดี ท่อี า่ นพร้อมยกเหตผุ ลประกอบ และวรรณกรรม 3. อธิบายคณุ ค่าของวรรณคดแี ละ วรรณกรรมท่ีอา่ น 4. สรุปความรแู้ ละขอ้ คิดจากการอา่ น เพือ่ ประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ จริง 5. ทอ่ งจำบทอาขยานตามท่ีกำหนด  บทอาขยานและบทรอ้ ยกรองที่มคี ุณคา่ และบทร้อยกรองที่มคี ณุ ค่าตามความ - บทอาขยานตามที่กำหนด สนใจ - บทรอ้ ยกรองตามความสนใจ ม.2 1. สรุปเนอ้ื หาวรรณคดีและวรรณกรรม  วรรณคดแี ละวรรณกรรมเกี่ยวกับ ท่ีอา่ นในระดับทีย่ ากข้ึน - ศาสนา - ประเพณี - พิธีกรรม - สุภาษิต คำสอน - เหตกุ ารณ์ประวัตศิ าสตร์ - บนั เทิงคดี - บนั ทึกการเดินทาง 2. วเิ คราะหแ์ ละวิจารณ์วรรณคดี  การวเิ คราะห์คณุ ค่าและขอ้ คดิ จากวรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมทอ้ งถ่นิ วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถนิ่ ทอ่ี ่าน พร้อมยกเหตุผลประกอบ 3. อธิบายคุณคา่ ของวรรณคดีและ วรรณกรรมท่ีอ่าน 4. สรุปความรแู้ ละขอ้ คดิ จากการอา่ น ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ จริง 5. ทอ่ งจำบทอาขยานตามที่กำหนด  บทอาขยานและบทร้อยกรองทีม่ ีคุณค่า

และบทรอ้ ยกรองท่ีมีคณุ ค่า - บทอาขยานตามท่ีกำหนด ตามความสนใจ - บทอาขยานตามความสนใจ ช้นั ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ม.3 1. สรุปเนอื้ หาวรรณคดีและวรรณกรรม  วรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถิน่ ในระดับ ท้องถิ่นเกี่ยวกบั ท่ียากยงิ่ ขน้ึ - ศาสนา - ประเพณี - พิธีกรรม - สภุ าษติ คำสอน - เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ - บนั เทิงคดี 2. วเิ คราะห์วิถีไทยและคุณค่าจาก  การวเิ คราะห์วถิ ไี ทยและคณุ คา่ จากวรรณคดี วรรณคดแี ละวรรณกรรมท่ีอา่ น และวรรณกรรม 3. สรุปความรแู้ ละข้อคดิ จากการอา่ น เพื่อนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตจรงิ 4. ทอ่ งจำและบอกคุณค่าบทอาขยาน  บทอาขยานและบทร้อยกรองทม่ี คี ณุ คา่ ตามทกี่ ำหนด และบทร้อยกรองท่ีมี - บทอาขยานตามทีก่ ำหนด คุณค่าตามความสนใจและนำไปใช้อา้ งอิง - บทรอ้ ยกรองตามความสนใจ ม.4-6 1. วิเคราะหแ์ ละวจิ ารณว์ รรณคดแี ละ  หลกั การวเิ คราะห์และวจิ ารณ์ วรรณคดีและ วรรณกรรมตามหลักการวจิ ารณ์เบ้อื งตน้ วรรณกรรมเบื้องตน้ - จดุ มุ่งหมายการแต่งวรรณคดีและ วรรณกรรม - การพิจารณารูปแบบของวรรณคดแี ละ วรรณกรรม - การพจิ ารณาเนอื้ หาและกลวธิ ใี นวรรณคดี และวรรณกรรม - การวเิ คราะห์และการวิจารณ์วรรณคดีและ วรรณกรรม 2. วิเคราะหล์ ักษณะเดน่ ของวรรณคดี  การวิเคราะห์ลกั ษณะเดน่ ของวรรณคดี เชอ่ื มโยงกบั การเรยี นร้ทู างประวัติศาสตร์ และวรรณกรรมเกย่ี วกับเหตกุ ารณ์ และวถิ ชี ีวิตของสงั คม ประวตั ศิ าสตรแ์ ละวถิ ีชวี ิตของสังคมในอดตี ในอดตี 3. วเิ คราะห์และประเมินคณุ ค่าดา้ น  การวิเคราะห์และประเมนิ คุณค่าวรรณคดี วรรณศลิ ปข์ องวรรณคดีและวรรณกรรม และวรรณกรรม ในฐานะที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม - ด้านวรรณศลิ ป์ ของชาติ - ด้านสงั คมและวัฒนธรรม 4. สงั เคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดีและ  การสงั เคราะหว์ รรณคดแี ละ วรรณกรรมเพือ่ นำไปประยุกตใ์ ช้ วรรณกรรม ในชวี ิตจริง

5. รวบรวมวรรณกรรมพื้นบ้าน  วรรณกรรมพ้ืนบ้านทแ่ี สดงถงึ และอธิบายภมู ปิ ญั ญาทางภาษา - ภาษากบั วัฒนธรรม - ภาษาถนิ่ ชั้น ตวั ชีว้ ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ม. 4-6 6. ทอ่ งจำและบอกคุณค่าบทอาขยาน  บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มคี ุณคา่ ตามทก่ี ำหนด และบทรอ้ ยกรองทมี่ ี - บทอาขยานตามท่กี ำหนด คุณค่าตามความสนใจและนำไปใช้อ้างองิ - บทร้อยกรองตามความสนใจ

คำอธิบายรายวิชา รายวชิ า ภาษาไทย รหสั วชิ า ท 21101 ภาคเรียนท่ี 1 ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลา 3 ช่ัวโมง/สัปดาห์ จำนวน 1.5 หน่วยกิต ........................................................................................................................................................................ ศึกษาวเิ คราะห์บทรอ้ ยแก้วบทรอ้ ยกรอง จับใจความจากสอ่ื ต่างๆ เชน่ เรอ่ื งเลา่ จากประสบการณ์ เรอื่ งสน้ั บทสนทนา นิทานชาดก วรรณคดีในบทเรยี น งานเขยี นเชงิ สรา้ งสรรค์ บทความ สารคดี บันเทงิ คดี ระบเุ หตแุ ละผล ข้อเทจ็ จริงกับข้อคิดเห็นจากเรื่องท่ีอ่าน อธิบายคำเปรียบเทยี บและคำทม่ี หี ลาย ความหมายในบริบทต่างๆ มีมารยาทในการอ่าน การคัดลายมือตวั บรรจงคร่ึงบรรทดั การเขยี นส่อื สารโดยใช้ ถอ้ ยคำถูกต้องชัดเจน เหมาะสมและสละสลวย เขยี นบรรยายประสบการณโ์ ดยระบุสาระสำคญั และ รายละเอียดสนบั สนนุ การเขียนเรยี งความเชงิ พรรณนา มมี ารยาทในการเขยี น พดู สรปุ ใจความสำคัญ พดู แสดงความรูค้ วามคดิ สร้างสรรค์จากเรอ่ื งท่ไี ดฟ้ ังและดู เลา่ เรอื่ งย่อพร้อมทัง้ ประเมนิ ค่าความนา่ เช่ือถือของสอื่ ท่ี มเี นื้อหาโน้มน้าวใจ มมี ารยาทในการฟัง การดแู ละการพูด อธิบายลักษณะของเสยี งและการสรา้ งคำใน ภาษาไทย คำประสม คำซำ้ คำซ้อน คำพอ้ ง ชนิดและหนา้ ที่ของคำในประโยค ภาษาพดู ภาษาเขียน สรปุ เน้อื หาวรรณคดแี ละวรรณกรรมทอ่ี ่าน เก่ียวกับศาสนา ประเพณี พธิ กี รรม สุภาษิตคำสอน เหตุการณ์ ประวัติศาสตร์ บนั เทิงคดี บนั ทึกการเดินทาง วรรณกรรมท้องถ่นิ วิเคราะห์คณุ คา่ และขอ้ คดิ จากวรรณคดี และวรรณกรรม โดยใชก้ ระบวนการอ่าน การเขยี น การฟัง การดแู ละการพูด หลักและการใช้ภาษาไทย การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขยี น เพอื่ ให้เกดิ ความรู้ ความคดิ ความเข้าใจสามารถนำส่ิงที่เรยี นรมู้ าเปน็ เครื่องมือส่อื สาร แสวงหาความรเู้ พ่มิ เติมและเช่ือมโยงกบั กลมุ่ สาระอ่นื เพ่อื ใหเ้ ห็นคุณค่าของภาษาไทยทีต่ ้องฝึกฝนจนเกดิ ความชำนาญในการใช้ภาษาเพอื่ การสื่อสาร การเรียนรู้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ใฝร่ ู้ใฝ่เรยี น รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ความซือ่ สัตย์ มวี ินยั รกั ความเป็นไทย รบั ผดิ ชอบควบคกู่ บั การมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและนำไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั และมนี ิสยั รกั การอ่าน รหสั ตัวชี้วัด ท 1.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/9 ท 2.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/9 ท 3.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ท 4.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ท 5.1 ม.1/1 รวมทัง้ หมด 19 ตวั ช้ีวัด

โครงสรา้ งการจัดหนว่ ยการเรยี นรู้ รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท 21101 กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 เวลาเรยี น 60 ชว่ั โมง ( 1.5 หนว่ ยกิต) ลำดับท่ี ชื่อหน่วยการเรียน มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา น้ำหนัก เรียนรู้/ตัวชีว้ ัด (ชั่วโมง) คะแนน 1 การอ่านออกเสียง ท 1.1 ม.1/1 การอา่ นออกเสียงเปน็ การส่อื สารท่ี 2 3 สำคัญ ทำให้ผ้รู บั สารมีความเข้าใจ และเกิดความรคู้ วามบันเทงิ ได้ ผอู้ ่าน จะต้องรู้หลักในการอ่านออกเสียงท้ัง ร้อยแก้วและรอ้ ยกรอง จึงจะทำให้ การอ่านออกเสยี งน่าฟังและมีความ ถูกตอ้ งตามหลักการอ่าน 2 การอา่ นใน ท 1.1 ม.1/2 การอ่านเป็นการรบั รขู้ ้อมลู ขา่ วสาร 4 2 ชีวิตประจำวัน ม.1/3 ความรู้ ความบนั เทงิ ซง่ึ ส่งผลให้ ม.1/5 ผอู้ า่ นมคี วามฉลาดรอบรู้และทนั ตอ่ ม.1/6 เหตกุ ารณ์ ม.1/7 ม.1/8 ม.1/9 3 การเขียนส่ือสาร ท 2/1 ม.1/1 การคัดลายมือมีความสำคัญมากตอ่ 4 5 ด้วยถอ้ ยคำ ม.1/2 การพฒั นาไปสู่ทกั ษะการเขยี น ซ่ึง ม.1/9 การเขยี นเป็นการสอ่ื สารที่จะต้องรู้ หลักเกณฑ์ วธิ กี ารเขียน เพือ่ ให้ สามารถเลอื กใช้ถอ้ ยคำในการสอ่ื สาร ได้อย่างถกู ตอ้ ง เหมาะสมและแสดง ใหเ้ ห็นการมมี ารยาทที่ดใี นการเขยี น 4 การเขยี นเพ่อื การ ท 2.1 ม.1/2 การเขยี นเป็นการสื่อสารที่มงุ่ ให้ผูอ้ า่ น 6 5 สอื่ สาร ม.1/3 รบั รู้ เข้าใจเร่ืองราวอย่างใดอยา่ งหนึ่ง ม.1/4 โดยผู้เขียนจะต้องมีจดุ มุ่งหมาย และ ม.1/5 ศกึ ษาหลกั การเขียนส่ือสารแต่ละ ม.1/7 ประเภทให้เขา้ ใจ จึงจะทำใหก้ าร ม.1/8 เขยี นสื่อสารมีประสิทธภิ าพและมี ม.1/9 มารยาทที่ดีในการเขียน

5 การเขียนแสดงความ ท 2.1 ม.1/6 การเขียนแสดงความคิดเหน็ เปน็ การ 4 5 คดิ เห็นจากสือ่ เขยี นถ่ายทอดความรู้สึกเกีย่ วกบั สาระจากสื่อต่างๆ ทไ่ี ด้รบั ใน ชีวติ ประจำวนั ส่งผลทำให้เกดิ ความรู้ และการแลกเปลยี่ นทัศนคติระหว่าง กนั ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียน มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั 6 การฟงั และการดสู ่อื เรยี นร/ู้ ตวั ชี้วัด (ชัว่ โมง) คะแนน 7 การฟัง การดู และ ท 3.1 ม.1/4 การฟงั การดูสอ่ื ตา่ งๆ เปน็ ทกั ษะทีม่ ี 4 2 การพดู ใน ชวี ติ ประจำวัน ม.1/6 ความสำคญั ในชีวติ ประจำวนั เพราะ 3 8 เสยี งในภาษาไทย ตอ้ งอาศยั การฟัง การดเู พ่ือเรยี นรสู้ ่งิ 20 และการสรา้ งคำ 6 ตา่ งๆ โดยใช้ความคิดพิจารณา 9 ชนดิ และหนา้ ที่ของ 10 คำในประโยค ไตร่ตรองให้รอบคอบ และมมี ารยาท ที่ดี จึงจะชว่ ยให้การฟงั หรือการดนู น้ั มีประสิทธภิ าพและเกดิ ประโยชน์ สูงสุดในการดำเนนิ ชีวติ ท 3.1 ม.1/1 การฟงั การดู และการพูดเป็นทักษะ 3 ม.1/2 ที่ใช้ควบคู่กนั เสมอในชีวติ ประจำวัน ม.1/3 เพอื่ ให้ผสู้ ง่ สารและผ้รู บั สารมีความ ม.1/5 เขา้ ใจตรงกนั ดงั นน้ั จงึ ควรรจู้ ัก ม.1/6 พิจารณาเรื่องทฟ่ี งั ทด่ี ใู ห้เปน็ เรอื่ งท่ี เกิดประโยชนเ์ พ่ือนำมารวบรวมเปน็ ข้อมลู ความรู้ และนำไปปรบั ใช้ให้เกดิ ประโยชน์ สอบกลางภาค 1 ท 4.1 ม.1/1 ภาษาประกอบดว้ ยเสียงและ 9 ม.1/2 ความหมาย การใชภ้ าษาไทยจึงควร คำนงึ ถึงการออกเสียงใหถ้ กู ตอ้ งและ ชดั เจน เพอ่ื ใหก้ ารสอื่ ความหมายมี ประสทิ ธิภาพ อีกท้ังควรเข้าใจ ลักษณะของเสยี งภาษาไทย สว่ นการ สร้างคำในภาษาไทยมีความสำคัญย่งิ เพราะทำใหม้ ีคำใหม่ในภาษาเพิ่มมาก ขึ้น และสามารถนำคำใหม่เหล่านน้ั ไป ใชใ้ นการส่อื สารใหเ้ กิดประโยชนไ์ ด้ ท 4.1 ม.1/3 คำในภาษาไทย สามารถจำแนกได้ 10 ตามชนดิ และหนา้ ทีซ่ ่งึ ปรากฏใน ตำแหนง่ ตา่ งๆ ในประโยค การเข้าใจ ชนดิ และหน้าท่ขี องคำแตล่ ะชนิดน้ัน

จะชว่ ยให้การสื่อสารถกู ตอ้ งตรงตาม ความหมาย ชดั เจนและถูกตอ้ งตาม หลักไวยากรณ์ ลำดับที่ ช่ือหนว่ ยการเรยี น มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา น้ำหนัก 10 ความแตกต่างของ เรียนร/ู้ ตัวช้วี ัด (ชัว่ โมง) คะแนน ภาษา 11 ท 4.1 ม.1/4 ภาษาพดู และภาษาเขียนต้องใช้ให้ 4 2 สำนวน คำพงั เพย 12 และสภุ าษิต ถกู ต้องตามหลักภาษา กาลเทศะและ 3 2 การแต่งบทรอ้ ยกรอง บคุ คล เพอ่ื ให้การสอื่ สารน้นั บรรลุ 5 5 ตามเป้าหมายทกี่ ำหนดไว้ ภาษาพดู 1 30 60 100 กับภาษาเขียนนน้ั มีความแตกต่างกนั การใช้ภาษาจงึ ต้องมคี วามระมดั ระวงั เพอ่ื ใชใ้ ห้เหมาะสม ท 4.1 ม.1/6 สำนวน คำพงั เพย และสุภาษิตทใ่ี ช้ อยู่ในชีวติ ประจำวนั ควรคำนึงถงึ ความถูกต้อง และใชใ้ หเ้ หมาะสมตาม ความหมายและบรบิ ทของการใช้ สำนวน เพ่อื ให้การส่ือสารน้ัน สมั ฤทธผิ ล ท 4.1 ม.1/5 การแต่งคำประพนั ธ์ ควรทราบถงึ ลกั ษณะฉนั ทลักษณ์และความ สละสลวยของภาษาเพ่ือให้เหมาะสม กับเนอ้ื เรอื่ ง สอบปลายภาค รวมตลอดภาคเรียน

คำอธบิ ายรายวิชา รายวิชา ภาษาไทย รหสั วิชา ท 21102 ภาคเรยี นท่ี 2 ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 เวลา 3 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ จำนวน 1.5 หน่วยกิต ...................................................................................................................................................................... ศึกษาวิเคราะห์ตีความคำยากในเอกสารทางวิชาการท่ีมีคำ ประโยคและข้อความท่ีต้องใช้บริบทช่วย พิจารณาความหมาย ความสมเหตุสมผลของงานเขียนประเภทชกั จูงโนม้ นา้ วใจ การอา่ นและปฏบิ ัตติ ามเอกสาร คู่มือแนะนำวิธีการใช้งานของเคร่ืองมือเครื่องใช้ คุณค่าที่ได้รับจากการอ่านงานเขียนอย่างหลากหลายเพื่อ นำไปใช้แก้ปัญหาในชีวิต การอ่านหนังสือตามความสนใจ หนังสือที่เหมาะสมกับวัย มีมารยาทในการอ่าน การเขียนย่อความเรื่องสั้น คำสอน โอวาท คำปราศรัย สุนทรพจน์ รายงาน บทสนทนา เร่ืองเล่า ประสบการณ์ เขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ ข่าวและเหตุการณ์ประจำวัน เหตุการณ์สำคัญต่างๆ การ เขียนจดหมายส่วนตวั จดหมายกิจธุระ เขียนรายงานการศกึ ษาค้นควา้ และโครงงาน พูดรายงานการศึกษา คน้ ควา้ จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ในชุมชนและท้องถ่ินของตน มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด แต่งบท รอ้ ยกรองประเภท กาพยย์ านี11 ใช้สำนวนคำพังเพยและสุภาษติ วิเคราะหค์ ุณค่าและขอ้ คิดจากวรรณคดแี ละ วรรณกรรม ทอ่ งจำบทอาขยานและบทรอ้ ยกรองทมี่ ีคณุ ค่า โดยใช้กระบวนการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน การฟัง การดูและการพูด หลักและการใช้ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจสามารถนำสิ่งที่เรียนรู้มาเป็นเครื่องมือ สอื่ สาร แสวงหาความร้เู พิ่มเติมและความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยี เพอื่ ให้เหน็ คณุ ค่าของภาษาไทยซง่ึ เป็นเอกลักษณ์ของชาติ มีนิสัยรักการอ่าน มุง่ ม่ันในการทำงาน การ เรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน กตัญญู รักความเป็นไทย รับผิดชอบ มีวินัย และสามารถนำไป ประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจำวนั รหัสตัวชี้วดั ท 1.1 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7 ม.1/8 ท 2.1 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7 ม.1/8 ท 3.1 ม.1/5 ม.1/6 ท 4.1 ม.1/5 ม.1/6 ท 5.1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 รวมทงั้ หมด 16 ตัวชี้วัด

โครงสร้างการจัดหน่วยการเรยี นรู้ รายวชิ า ภาษาไทย รหัสวชิ า ท 21102 กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 เวลาเรียน 60 ช่วั โมง ( 1.5 หนว่ ยกิต) ลำดบั ที่ ชอ่ื หนว่ ยการเรียน มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก เรยี นร้/ู ตวั ชี้วัด (ช่ัวโมง) คะแนน 1 นริ าศภเู ขาทอง ท 5.1 ม.1/1 นิราศภเู ขาทอง เป็นผลงาน 6 5 ม.1/2 ประพนั ธ์ประเภทนิราศของสุนทรภู่ ม.1/3 มคี วามยาวทง้ั สน้ิ 176 คำกลอน ม.1/4 แต่งในสมยั พระบาทสมเด็จพระนง่ั ม.1/5 เกล้าเจ้าอยู่หัว เปน็ การเลา่ เร่อื ง เกย่ี วกบั บนั ทกึ การเดินทางจากวัด ราชบรุ ณะไปยังจงั หวัดพระนคร ศรอี ยุธยาเพ่อื นมัสการเจดยี ์ภเู ขา ทอง โดยมกี ารกลา่ วถึงพระมหา กรณุ าธิคณุ ของพระบาทสมเด็จ พระพุทธเลศิ หล้านภาลยั ที่มีตอ่ สุนทรภู่ พรอ้ มทัง้ สอดแทรกข้อคิด และวถิ ชี ีวิตของคน ในรมิ ฝั่งแม่นำ้ เจ้าพระยา 2 โคลงโลกนิติ ท 5.1 ม.1/1 โคลงโลกนติ ิ เปน็ โคลงสุภาษิต 6 10 ม.1/2 เก่าแกท่ ี่ให้แนะแนวทางการปฏบิ ัติ ม.1/3 ตนในสังคม คนไทยใช้สอนและ ม.1/4 ยดึ ถอื ปฏบิ ตั กิ นั มาตงั้ แต่สมยั กรงุ ศรี อยุธยา ถอ้ ยคำภาษาท่ใี ช้เปน็ คำ งา่ ยๆ แตม่ ีความไพเราะ และมี ความเปรียบคมคาย จึงทำใหเ้ ป็นท่ี จดจำกนั สืบต่อมา 3 สภุ าษติ พระร่วง ท 5.1 ม.1/1 สภุ าษิตพระร่วงเปน็ คำสอนทม่ี มี า 9 5 ม.1/2 ม.1/3 ตง้ั แต่อดตี และยึดถอื เป็นคติ ม.1/4 เตอื นใจมาจนถงึ ปจั จบุ นั ด้วยเปน็ สภุ าษิตทีม่ ีคณุ คา่ ให้ขอ้ คดิ คติ ธรรมในการดำเนินชีวติ นบั ว่าเป็น วรรณคดที ีม่ คี ุณคา่ ตอ่ บุคคลและ สงั คม ซ่งึ ควรคูแ่ กก่ ารศกึ ษาและ ปฏิบัติตามคำสอนเพ่ือความ

เจรญิ รุ่งเรอื งและเป็นสิริมงคล ลำดับที่ ชอ่ื หน่วยการเรียน มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา น้ำหนัก 4 กาพย์ เร่อื ง เรยี นร/ู้ ตวั ชวี้ ัด (ชว่ั โมง) คะแนน พระไชยสรุ ยิ า 5 ท 5.1 ม.1/1 กาพยเ์ ร่ืองพระไชยสรุ ยิ า มคี วาม 9 5 ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา ม.1/2 ไพเราะ คำท่ีใช้เป็นคำไทยงา่ ยๆ 20 5 ม.1/3 มีสัมผสั คล้องจอง เหมาะสำหรับ ม.1/4 การท่องจำและยังไดเ้ รียนรูเ้ กยี่ วกบั ม.1/5 มาตราตัวสะกดและลกั ษณะของ การแต่งคำประพนั ธ์ประเภทกาพย์ ท้ังยังไดข้ อ้ คิดคติธรรมจากเน้อื เรือ่ ง อกี ด้วย สอบกลางภาค 1 ท 5.1 ม.1/1 ราชาธริ าช เปน็ เรือ่ งแปลจาก 10 ม.1/2 พงศาวดารมอญมาเรียบเรยี งเป็น ม.1/3 ร้อยแกว้ มีสำนวนภาษาสละสลวย ม.1/4 เจา้ พระยาพระคลัง (หน) เปน็ ผู้อำนวยการแปลรว่ มกับกวที า่ นอืน่ ซ่งึ ในการแปลครง้ั นม้ี พี ระราช ประสงค์เพือ่ เปน็ การบำรงุ และ สง่ เสรมิ สตปิ ญั ญาของคนในชาติ ดังนัน้ เรื่อง ราชาธริ าช จงึ ควรค่า แกก่ ารศึกษา ทัง้ ในดา้ นเนื้อเร่ือง สำนวน ภาษาและคุณคา่ ในดา้ น ต่างๆ 6 กาพย์เหช่ มเคร่ือง ท 5.1 ม.1/1 กาพย์เห่ชมเคร่ืองคาวหวาน เปน็ 9 10 คาวหวาน ม.1/2 ผลงานพระราชนิพนธข์ อง ม.1/3 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า ม.1/4 นภาลัย ทแ่ี สดงให้เห็นถึงพระ ม.1/5 ปรชี าสามารถในเชงิ กวขี อง พระองค์ เป็นวรรณคดที ่สี ะทอ้ นให้ เหน็ ถึงสภาพวิถีชวี ิตของชาววังท่ีมี ความละเอียดออ่ นและพิถพี ิถันใน ทุกขัน้ ตอนของการทำท้ังอาหาร คาว อาหารหวาน และผลไม้ แสดงให้เห็นถึงความเอาใจใสแ่ ละ

ฝีมือของผูท้ ำเปน็ อยา่ งยิง่ ช่อื หน่วยการเรยี น มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนัก (ชวั่ โมง) คะแนน ลำดบั ที่ เรียนรู้/ตวั ชว้ี ัด 7 นทิ านพ้นื บ้าน ท 5.1 ม.1/1 นทิ านพ้ืนบ้าน เปน็ เร่อื งเล่าสืบ 9 10 ม.1/2 ทอดกันมาด้วยปากต่อปากจาก ม.1/3 ความทรงจำ จงึ ไม่อาจสืบสาวได้ 1 30 60 100 ม.1/4 ว่า ใครเปน็ ผู้แต่งหรือผู้เลา่ เปน็ ครัง้ แรก นิทานเป็นเรือ่ งเลา่ ที่มมี าชา้ นาน เนื้อเร่ืองมีความสนุกสนาน ต่ืนเต้น โลดโผน และเสรมิ สร้าง จนิ ตนาการ นิทานจงึ เป็น เครอื่ งมอื สำคญั ในการอบรมสงั่ สอนเยาวชน สอบปลายภาค รวมตลอดภาคเรียน

คำอธิบายรายวชิ า รายวชิ าภาษาไทย รหสั วชิ า ท 22101 ภาคเรียนท่ี 1 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 2 เวลา 3 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต ......................................................................................................................................................................... ศึกษาและฝึกปฏิบัติเก่ียวกับการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง อ่านจับใจความจากส่ือ ต่างๆ อา่ นหนงั สอื ตามความสนใจ ใหจ้ ับใจความสำคญั สรุปความ และอธบิ ายรายละเอยี ด พร้อมวิเคราะหแ์ ละ จำแนกขอ้ เท็จจริง ขอ้ สนับสนุน การชวนเช่ือ การโนม้ น้าว หรือความสมเหตสุ มผลของงานเขียน อภิปรายแสดง ความคิดเหน็ โตแ้ ยง้ เรื่องท่ีอ่าน เขียนแผนผงั ความคดิ แสดงความเขา้ ใจในเรือ่ งท่อี ่าน การเขียนส่ือสารด้วยลายมือตัวเองครึ่งบรรทัด เขียนบรรยายและพรรณนา เขียนเรียงความ เขียนย่อ ความ เขียนรายงานการศึกษาคน้ คว้า เขียนจดหมายกิจธุระ เขียนวเิ คราะห์ วิจารณ์ แสดงความรคู้ วามคิดเห็น หรือโต้แย้งเรื่องที่อ่านได้อย่างมีเหตุผล ให้สามารถวิเคราะห์ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น และความน่าเช่ือถือของ ข่าวสารจากส่ือ การพูดในโอกาสต่างๆ พูดรายงานที่ศึกษาค้นคว้า พูดสรุปใจความสำคัญของเร่ืองที่ฟังและดู ให้สามารถวิเคราะห์เรื่องที่ฟังและดูได้อย่างมีเหตุผล การแต่งบทร้อยกรอง ศึกษาวิเคราะห์ การสร้างคำสมาส คำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย คำราชาศัพท์ โครงสร้างประโยคสามัญ ประโยครวม ประโยคซ้อน การใช้ คำราชาศัพท์ การแต่งบทร้อยกรองประเภทกลอน ให้ถกู ต้องเหมาะสมและการแตง่ บทร้อยกรองประเภทกลอน เพือ่ แสดงให้เห็นถึงปฏิภาณ ไหวพริบในการใช้ภาษาไทยได้ถูกต้อง ฝึกทักษะโดยใช้กระบวนการทางภาษา การอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด กระบวนการ กลมุ่ กระบวนการคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ กระบวนการปฏบิ ัติ เพ่ือให้เกิดเจตคติที่ดีต่อการเรียนวิชาภาษาไทย ใช้ภาษาไทยได้ถูกต้องเหมาะสม เห็นคุณค่าใน การศกึ ษาวรรณคดไี ทย มีวินยั ใฝ่ร้ใู ฝเ่ รยี น มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูดนำความรู้ ไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจำวัน รหัสตัวช้ีวดั ท 1.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6 ม.2/7 ม.2/8 ท 2.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6 ม.2/7 ม.2/8 ท 3.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6 ท 4.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ท 5.1 ม.2/2 ม.2/5 รวม 29 ตัวชวี้ ัด

โครงสร้างการจัดหนว่ ยการเรยี นรู้ รายวิชาภาษาไทย รหสั วชิ า ท 22101 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 เวลาเรยี น 60 ช่ัวโมง (1.5 หน่วยกิต) ลำดบั ท่ี ชอื่ หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั เรยี นรู้/ตวั ช้วี ัด (ชัว่ โมง) คะแนน 1 การอา่ นออกเสียง ท 1.1 ม.2/1 การอ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ และ 6 5 ม.2/8 บทรอ้ ยกรอง มีหลักในการอ่านท่ีตอ้ ง นำไปฝกึ ปฏบิ ัติ และตอ้ งมมี ารยาทใน การอ่าน 2 การอา่ นในชีวติ ท 1.1 ม.2/2 การอา่ นในชีวติ ประจำวันใหจ้ บั 5 5 ประจำวัน ม.2/3 ใจความสำคญั สรปุ ความ และอธบิ าย ม.2/4 รายละเอยี ดของเรือ่ ง อภิปรายแสดง ม.2/5 ความคดิ เหน็ และข้อโต้แยง้ วิเคราะห์ ม.2/6 และจำแนกขอ้ เท็จจริง ข้อมูล ม.2/7 สนบั สนนุ และขอ้ คดิ เห็นจากบทความ ม.2/8 ทีอ่ ่าน ระบุขอ้ สังเกตการชวนเชือ่ การ โนม้ น้าว หรือความสมเหตุสมผลของ งานเขียน ประเมินคณุ คา่ หรือแนวคิด ทไ่ี ด้จากการอา่ น เพื่อนำไปใช้ แกป้ ัญหาในชีวติ เขียนผังความคดิ เพอ่ื แสดงความเข้าใจในบทเรยี นต่างๆ ที่ อ่าน และมมี ารยาทในการอา่ น 3 การคดั ลายมือ ท 2.1 ม.2/1 การคดั ลายมือตวั บรรจงครึ่งบรรทัด 4 4 ต้องรหู้ ลกั ในการคัดและเขยี นตัว อกั ษรไทยตามรูปแบบตา่ งๆ 4 การเขยี นเพอ่ื การ ท 2.1 ม.2/2 การเขยี นบรรยายและพรรณนา เขียน 12 6 สอื่ สาร ม.2/3 ม.2/4 เรยี งความ เขียนยอ่ ความ เขยี น ม.2/5 รายงานการศกึ ษาคน้ คว้าและรายงาน ม.2/6 โครงงาน เขียนจดหมายกจิ ธุระ เขียน ม.2/7 ม.2/8 วิเคราะห์ วจิ ารณ์ และแสดงความรู้ ความคดิ เหน็ หรอื โตแ้ ยง้ ในเรอื่ งที่อา่ น เป็นการเขยี นเพ่อื การสือ่ สาร ตอ้ ง เขยี นให้ถูกตอ้ งตามหลักการเขียน

และมมี ารยาทในการเขยี น ลำดบั ที่ ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั 5 หลักการฟังและ เรยี นรู้/ ตวั ชีว้ ัด (ช่ัวโมง) คะแนน การดูสื่อ ท 3.1 ม.2/2 การวเิ คราะหว์ จิ ารณเ์ รื่องทฟ่ี ังและดู 4 5 6 การพูดสรุปความ ม.2/3 จากสอ่ื ทีฟ่ งั และดู ม.2/6 เพือ่ นำขอ้ คิดมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการ ดำเนนิ ชวี ิต ต้องวิเคราะห์ข้อเท็จจรงิ 7 การพดู ในโอกาส ต่างๆ และการพูด ขอ้ คดิ เหน็ และความนา่ เชอื่ ถือของ รายงาน ข่าวสาร และมมี ารยาทในการฟงั การดู และการพดู 8 การสร้างคำและ ประโยค สอบกลางภาค 1 20 9 คำราชาศัพท์ ท 3.1 ม.2/1 การพดู สรุปใจความสำคัญ การ 6 3 ม.2/3 วเิ คราะห์และวิจารณ์เรือ่ งทฟี่ งั และดู ม.2/6 เพ่อื นำขอ้ คดิ มาประยุกต์ใชใ้ นการ ดำเนนิ ชวี ิต ตอ้ งมีความรเู้ รือ่ ง หลักการฟัง การดู และการพดู และ มมี ารยาทในการฟงั การดู และการ พดู ท 3.1 ม.2/4 การพูดในโอกาสตา่ งๆ และการพูด 3 3 ม.2/5 รายงานเรื่องหรือประเดน็ ท่ีศึกษา ม.2/6 ค้นคว้าจากการฟงั การดู และการ สนทนา ตอ้ งพูดให้ถกู ต้องตาม หลกั การพดู และมมี ารยาทในการฟัง การดู และการพดู ท 4.1 ม.2/1 การศึกษาหลกั ภาษาไทย ตอ้ งมี 9 10 ม.2/2 ความรู้เรอ่ื งการสรา้ งคำ สามารถ ม.2/5 รวบรวมและอธิบายความหมายของ คำตา่ งประเทศทใ่ี ชใ้ นภาษาไทย รวมถงึ การวเิ คราะห์โครงสร้าง ประโยคสามัญ ประโยครวม และ ประโยคซอ้ น ได้ถกู ต้อง ท 4.1 ม.2/4 คำราชาศพั ท์เป็นระเบียบแบบแผน 3 4 ในการใช้ภาษาทต่ี อ้ งใช้ใหถ้ กู ตอ้ ง ตามระดบั ของบุคคล

ลำดบั ท่ี ช่ือหนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั เรียนร้/ู ตวั ชว้ี ัด (ช่วั โมง) คะแนน 10 การแต่งบทร้อยกรอง ท 2.1 ม.2/2 การแต่งบทร้อยกรองประเภทกลอน 6 5 ประเภทกลอน ม.2/7 ตอ้ งมคี วามร้เู ร่อื งฉนั ทลกั ษณ์และ ม.2/8 ร้จู กั สรรคำมาใชใ้ ห้เหมาะสม ท 4.1 ม.2/3 วิเคราะห์ วิจารณ์ และอธิบายคุณค่า ท 5.1 ม.2/2 จาก เรอ่ื งทอ่ี ่านและเขยี นพรอ้ มกับ สรปุ ความรูแ้ ละข้อคิด เพ่ือนำไป ม.2/5 ประยุกต์ใช้ในชีวติ จรงิ และทอ่ งจำ บทอาขยานทม่ี ีคุณค่าได้ สอบปลายภาค 1 30 รวมตลอดภาคเรียน 60 100

คำอธบิ ายรายวิชา รายวชิ า ภาษาไทย รหสั วชิ า ท 22102 ภาคเรียนท่ี 2 ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 เวลา 3 ช่วั โมง/สปั ดาห์ จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ ......................................................................................................................................................................... ศกึ ษาและฝึกปฏบิ ัตเิ กยี่ วกับการอา่ น การเขียน การฟัง การดู และการพูด การวิเคราะห์และประเมนิ ค่า วรรณคดีและวรรณกรรม โดยศึกษาเก่ียวกับการอ่านออกเสียง การอ่านจับใจความ การอ่านตามความสนใจ ฝึกทักษะ การเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ ความคิดเห็น หรือโต้แย้ง การพูดสรุปความ พูด วิเคราะหแ์ ละวิจารณ์จากเรื่องทีฟ่ ังและดู พูดรายงานการศกึ ษาค้นควา้ การรวบรวมและอธิบายความหมายการ สร้างคำและลักษณะประโยคในภาษาไทยและศกึ ษาลกั ษณะคำประพนั ธ์ การแต่งบทรอ้ ยกรอง ประเภท กาพย์ กลอนสภุ าพเพือ่ นำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง และท่องจำบทอาขยานท่ีมีคุณค่าได้ ฝึกทักษะวิเคราะห์ ประเมินค่า และข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเรื่อง โคลงภาพพระราช พงศาวดาร บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมาและสามัคคีเสวก ศิลาจารึกหลักท่ี 1 บทละครเรื่อง รามเกียรต์ิ ตอน นารายณ์ปราบนนทก กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง โคลงสุภาษิตพระราชนิพนธ์ พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กลอนดอกสร้อยรำพึงในป่าช้า และนิราศเมืองแกลง ท่องจำบท อาขยานตามทก่ี ำหนด และบทรอ้ ยกรองทีม่ ีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่านเพ่ือสร้างความรู้ความคิดนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต กระบวนการเขยี นเพ่ือการสื่อสารอย่างมีประสิทธภิ าพ กระบวนการฟัง การดู และการพดู สามารถเลือกฟงั และ ดู และพดู แสดงความร้คู วามคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ เพ่ือให้เข้าใจธรรมชาติภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา พลังภาษา ภูมิปัญญาทาง ภาษา วเิ คราะหว์ จิ ารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมอย่างเหน็ คุณคา่ นำมาประยุกต์ใช้ในชีวติ จริง รักษาภาษาไทยไว้ เปน็ สมบัตขิ องชาติ และมนี สิ ัยรกั การอา่ น การเขยี น มีมารยาทในการอ่าน การเขยี น การฟัง การดู และการพูด ตวั ชว้ี ัด ท 1.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6 ม.2/8 ท 2.1 ม.2/2 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/7 ม.2/8 ท 3.1 ม.2/1 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6 ท 4.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ท 5.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 รวม 26 ตวั ชว้ี ดั

โครงสรา้ งการจัดหนว่ ยการเรียนรู้ รายวชิ า ภาษาไทย รหัสวิชา ท 22102 กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 เวลาเรยี น 60 ช่ัวโมง (1.5 หนว่ ยกติ ) ลำดับท่ี ช่อื หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก 1 เรียนรู้/ตัวช้ีวัด (ชั่วโมง) คะแนน 2 โคลงภาพพระราช ท 1.1 ม.2/1 การอ่านออกเสยี งวรรณคดีเรื่อง โคลงภาพ 5 4 พงศาวดาร ม.2/2 พระราชพงศาวดาร จะตอ้ งอ่านอย่าง 3 ถูกตอ้ ง สรุปใจความสำคัญ วเิ คราะหแ์ ละ 4 ท 5.1 ม.2/1 วจิ ารณ์ อธิบายคุณค่าจากเรื่องที่อ่าน ม.2/2 ม.2/3 พร้อมกับสรปุ ความร้แู ละข้อคิดเพือ่ นำไป ม.2/4 ประยกุ ต์ใช้ ในชีวติ จรงิ และทอ่ งจำ ม.2/5 บทร้อยกรองทม่ี คี ุณคา่ บทเสภาสามัคคีเสวก ท 1.1 ม.2/1 การอ่านออกเสยี งเร่อื ง บทเสภาสามัคคี 5 4 ตอน วิศวกรรมา ม.2/2 เสวก ตอน วิศวกรรมาและสามัคคีเสวก และสามัคคีเสวก จะต้องอา่ นอย่างถกู ต้อง สรุปใจความ ท 5.1 ม.2/1 สำคญั วิเคราะห์และวิจารณ์ อธิบายคุณค่า ม.2/2 จากเร่ืองท่ีอ่าน พร้อมกับสรปุ ความรู้และ ม.2/3 ขอ้ คิดเพ่ือนำไปประยุกต์ใช้ในชีวติ จริง และ ม.2/4 ทอ่ งจำบทอาขยานที่มคี ุณค่า ม.2/5 ศิลาจารกึ หลักที่ 1 ท 1.1 ม.2/1 การศึกษาเรื่อง ศิลาจารึกหลักท่ี 1 จะต้อง 5 5 ม.2/2 อา่ นออกเสียงอย่างถูกตอ้ ง จับใจความ ท 5.1 ม.2/1 สำคัญ สรุปเนอ้ื หา วิเคราะหว์ ิจารณ์ และ ม.2/2 อธบิ ายคุณค่าจากเรอ่ื งทอ่ี ่าน พร้อมกับสรุป ม.2/3 ความรูแ้ ละข้อคิดเพอ่ื นำไปประยุกต์ใช้ใน ม.2/4 ชีวติ จริง บทละครเรือ่ ง ท 1.1 ม.2/1 การอ่านบทละครเรอ่ื ง รามเกียรติ์ ตอน 4 4 รามเกียรต์ิ ตอน ม.2/2 นารายณ์ปราบนนทก จะตอ้ งอ่านให้ถูกต้อง นารายณ์ปราบนนทก ท 5.1 ม.2/1 สรุปใจความสำคัญ วเิ คราะห์วิจารณ์ และ ม.2/2 อธบิ ายคุณค่าจากเรอื่ งทอ่ี ่าน พรอ้ มกบั สรุป ม.2/3 ความรู้และข้อคิดเพอ่ื นำไปประยุกต์ใช้ ม.2/4 ในชีวิตจรงิ และท่องจำบทอาขยานทม่ี ี ม.2/5 คุณค่า

ลำดับที่ ช่อื หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั 5 กาพย์ห่อโคลง เรยี นร้/ู ตัวชีว้ ัด (ชัว่ โมง) คะแนน ประพาสธารทองแดง 6 ท 1.1 ม.2/2 การศกึ ษาเรื่อง กาพย์ห่อโคลง 5 4 โคลงสภุ าษิต ท 5.1 ม.2/1 พระราชนพิ นธ์ ประพาสธารทองแดง จะต้องสรปุ 4 พระบาทสมเด็จ ม.2/2 ใจความสำคัญ วิเคราะห์ วิจารณ์ และ พระจุลจอมเกล้า ม.2/3 อธิบายคุณค่าจากเรื่องทอี่ ่าน พร้อม เจา้ อยหู่ ัว ม.2/4 กบั สรปุ ความร้แู ละข้อคิดเพอื่ นำไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ท 5.1 ม.2/1 การศึกษาเรื่อง โคลงสุภาษิตพระราช 5 ม.2/2 นพิ นธ์ พระบาทสมเด็จพระ ม.2/3 จลุ จอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว จะต้องสรปุ ม.2/4 ใจความสำคัญ วิเคราะห์ วจิ ารณ์ และ ม.2/5 อธิบายคุณค่าจากเรื่องทอ่ี ่าน พร้อม กับสรุปความรู้และข้อคิดเพื่อนำไป ประยกุ ต์ใช้ ในชีวิตจรงิ พร้อมกับ ท่องจำบทอาขยานตามทก่ี ำหนดได้ สอบกลางภาค 1 20 4 3 7 กลอนดอกสร้อย ท 1.1 ม.2/1 การศึกษาเร่ือง กลอนดอกสรอ้ ยรำพงึ รำพงึ ในปา่ ช้า ม.2/2 ในป่าช้า จะต้องอา่ นอย่างถกู ต้อง สรปุ 4 3 8 นิราศเมอื งแกลง ท 5.1 ม.2/1 ใจความสำคัญ วิเคราะห์ วิจารณ์ และ ม.2/2 อธบิ ายคุณค่าจากเรอื่ งทอี่ ่าน พร้อม ม.2/3 กับสรปุ ความรู้และข้อคิดเพือ่ นำไป ม.2/4 ประยุกต์ใช้ในชวี ิตจริง และท่องจำบท ม.2/5 อาขยานท่ีมีคุณคา่ ท 1.1 ม.2/1 การศกึ ษาวรรณคดีเรอ่ื ง นริ าศเมืองแก ม.2/2 ลง จะต้องอ่านอย่างถูกต้องสรปุ ท 5.1 ม.2/1 ใจความสำคญั วิเคราะห์ วิจารณ์ และ ม.2/2 อธบิ ายคุณค่าจาก ม.2/3 เรือ่ งทีอ่ ่าน พรอ้ มกับสรปุ ความรแู้ ละ ม.2/4 ขอ้ คิด เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในชวี ติ ม.2/5 จรงิ และทอ่ งจำบทอาขยานที่มคี ุณค่า

มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนัก ลำดับที่ ชอื่ หน่วยการเรยี นรู้ เรยี นรู้/ตัวช้ีวัด (ช่วั โมง) คะแนน 9 การพดู สรุปความ ท 3.1 ม.2/1 การพูดสรุปใจความสำคญั การ 3 4 จากสือ่ ทฟี่ ัง ดแู ละ ม.2/3 วเิ คราะหว์ ิจารณ์เร่อื งท่ฟี ัง ดู การพดู พดู ในโอกาสต่างๆ 5 ม.2/4 ในโอกาสต่างๆ และการพูดรายงาน ม.2/5 เพ่ือนำข้อคิดมาประยุกต์ใช้ในการ 5 ม.2/6 ดำเนนิ ชวี ิต ตอ้ งมคี วามรู้เร่ืองหลกั การ 5 ฟงั การดู และการพูด และมีมารยาท ในการฟัง การดู และการพูด 10 การเขยี นเพื่อการ ท 2.1 ม.2/2 การเขียนบรรยายและพรรณนา การ 6 ส่อื สาร ม.2/3 เขียนเรียงความ ยอ่ ความ เขียน ม.2/4 รายงานการศกึ ษาคน้ คว้าและ เขยี น ม.2/5 วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ และแสดงความรู้ ม.2/7 ความคิดเหน็ หรือโต้แย้งในเรอื่ งที่ ม.2/8 อ่าน เป็นการเขยี นเพอ่ื การสอ่ื สาร ต้องเขยี นให้ถูกต้องตามหลกั การเขียน และมีมารยาทในการเขียน 11 การสรา้ งคำและ ท 4.1 ม.2/1 การศึกษาหลักภาษาไทย ตอ้ งมี 6 ประโยค ม.2/2 ความรู้เรอื่ งการสร้างคำ สามารถ ม.2/5 รวบรวมและอธบิ ายความหมายของ คำภาษาต่างประเทศท่ีใช้ใน ภาษาไทย รวมถงึ การวเิ คราะห์ โครงสรา้ งประโยคสามัญ ประโยค รวม และประโยคซอ้ น ไดถ้ ูกตอ้ ง 12 การแตง่ บทร้อยกรอง ท 2.1 ม.2/2 การแตง่ บทร้อยกรองประเภท กาพย์ 6 ประเภท กาพย์ ม.2/7 กลอน ต้องมีความรเู้ รอ่ื งฉนั ทลกั ษณ์ และรู้จกั สรรคำมาใช้ให้เหมาะสม กลอน ม.2/8 วเิ คราะห์ วิจารณ์ และอธบิ ายคุณค่า ท 4.1 ม.2/3 จาก เร่ืองที่อ่านและเขียนพร้อมกับ สรุปความรู้และขอ้ คิด เพอ่ื นำไป ประยุกต์ใช้ในชวี ิตจริง และท่องจำบท อาขยานที่มีคุณคา่ ได้ สอบปลายภาค 1 30

รวมตลอดภาคเรยี น 60 100 คำอธิบายรายวิชา รายวิชาภาษาไทย รหัสวชิ า ท 23101 ภาคเรียนที่ 1 ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 เวลา 3 ชวั่ โมง/สปั ดาห์ จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ ......................................................................................................................................................................... อ่านออกเสยี งบทร้อยแก้วที่เป็นบทความท่ัวไปและบทความปกณิ กะ บทร้อยกรองประเภทกลอน บทละคร กลอนเสภา และโคลงส่สี ุภาพเปน็ ทำนองเสนาะ ได้อย่างถูกตอ้ ง และเหมาะสมกับเร่อื ง อ่านวรรณคดี ในบทเรียน ข่าวและเหตุการณ์สำคัญ บทความ และบันเทิงคดี แล้วเข้าใจความหมายโดยตรงและความหมาย โดยนัย จับใจความสำคัญและรายละเอียดของเรื่องท่ีอ่าน แสดงความคิดเห็นโต้แย้งเกี่ยวกับเรื่องท่ีอ่านและ เขยี นกรอบแนวคิด ผังความคิด ย่อความ วิเคราะห์ วิจารณ์ และประเมินเรอ่ื งท่ีอ่านอยา่ งมเี หตผุ ล ลำดบั ความ อย่างมีขั้นตอน และความเปน็ ไปได้ของเรื่องที่อ่าน รวมทัง้ ประเมินความถกู ต้องของข้อมูลท่ีใช้สนับสนุนเรื่องที่ อ่าน อ่านหนังสือนอกเวลา และหนังสือท่ีครูและนักเรียนร่วมกันกำหนด แล้วตีความ ประเมินคุณค่า บอก แนวคดิ ทไ่ี ด้จากเรอื่ ง เพื่อนำไปใช้แก้ปัญหาในชวี ติ รวมท้ังมมี ารยาทและนสิ ัยรักการอ่าน คัดลายมือตัวบรรจงคร่ึงบรรทัด และเขียนส่ือสารด้วยลายมือท่ีอ่านง่าย ชัดเจน เขียนคำอวยพรใน โอกาสต่าง ๆ เขียนชีวประวัติ อัตชีวประวัติ เขียนย่อความ โดยใช้ถ้อยคำให้ถูกต้องเหมาะสมตามระดับของ ภาษาเขียนอธิบาย ช้ีแจง แสดงความรู้ ความคดิ เหน็ และโตแ้ ย้งอยา่ งมเี หตุผล มีมารยาทในการเขียน พูดแสดงความคดิ เห็น วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ และประเมินเรอื่ งจากการฟังและการดู นำขอ้ คิดไประยกุ ต์ใช้ ในชีวิตประจำวัน พูดในโอกาสต่าง ๆ พูดอภิปราย พูดโน้มน้าวใจได้ตรงตามวัตถุประสงค์ มีเหตุผล และ นา่ เชอื่ ถือ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด ศกึ ษาหลักการใช้ภาษาเรื่องลักษณะของคำไทยแท้กับคำท่ีมาจากภาษาอื่น การใช้ประโยคท่ีซับซ้อน และระดับของภาษา ศึกษาวรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมทอ้ งถ่นิ แล้วสรุปเนอื้ หา วเิ คราะห์ตัวละครสำคญั วิถีไทยและคุณค่าจากวรรณคดี และวรรณกรรมท่ีอ่านพร้อมท้ังสรุปความรู้และข้อคิดเพ่ือนำไปใช้ในชีวิตจริง ท่องจำและบอกคุณค่าบทอาขยานตามท่กี ำหนด และบทร้อยกรองตามความสนใจ นำไปใชอ้ า้ งอิง เห็นคณุ ค่าของภาษาไทย ตระหนักในความสำคัญท่ีจะตอ้ งช่วยกันอนรุ ักษ์ภาษาไทยในฐานะมรดกของ ชาติ รู้จักพัฒนาตนเองเพ่ือให้เกิดความรู้และทักษะทางภาษาไทย เพ่ือนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน และมี คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ รหัสตวั ชี้วดั ท 1.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ม.3/7 ม.3/8 ม.3/9 ม.3/10 ท 2.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/6 ม.3/10 ท 3.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ท 4.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ท 5.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 รวมทัง้ หมด 28 ตวั ชีว้ ัด

โครงสร้างหนว่ ยการเรียนรู้ รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท 23101 กลุม่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 เวลาเรยี น 60 ชวั่ โมง (1.5 หน่วยกติ ) ลำดบั ท่ี ชอ่ื หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั 1 เรียนรู้ / ตวั ช้วี ัด (ชั่วโมง) คะแนน 2 การอ่านออกเสยี งบทร้อยแก้วและบท 3 การอ่านออกเสยี ง ท 1.1 ม. 3/1 รอ้ ยกรองผเู้ รยี นตอ้ งรหู้ ลักการอา่ น 4 4 จึงจะสามารถอ่านไดถ้ ูกตอ้ งเหมาะสม 9 4 4 การอ่านอย่างมี ท 1.1 ม. 3/3 กับเรือ่ งทีอ่ า่ น วจิ ารณญาณ ม. 3/4 การอา่ นสื่อตา่ งๆ ผูเ้ รยี นตอ้ งระบุ 6 5 ม. 3/9 ใจความสำคญั และรายละเอยี ดของ ข้อมลู ที่สนับสนนุ จากเรื่องท่ีอ่าน 2 2 การอา่ นวนิ ิจสาร ท 1.1 ม. 3/2 ตีความและประเมินคุณค่า แนวคิดที่ ม. 3/3 ได้จากงานเขียนอยา่ งหลากหลาย เพอื่ นำไปใชแ้ ก้ปญั หาในชวี ติ และ ม. 3/4 เขียนกรอบแนวคิด ผงั ความคดิ ม. 3/5 บนั ทึก ย่อความ และรายงาน การอา่ นจับใจความจากสอ่ื ตา่ งๆ ม. 3/6 ตอ้ งระบคุ วามแตกตา่ งของคำท่มี ี ม. 3/7 ความหมายโดยตรงและความหมาย ม. 3/8 โดยนัย ระบใุ จความสำคญั และ รายละเอียดของข้อมลู ที่สนับสนนุ การคดั ลายมือ ท 2.1 ม. 3/1 จากเรื่องแลว้ เขยี นกรอบแนวคดิ ผัง ความคดิ บนั ทกึ ยอ่ ความ และ รายงาน วิเคราะห์ วิจารณ์ และ ประเมนิ เรื่องทอ่ี า่ นโดยใชก้ ลวิธกี าร เปรียบเทียบ ประเมนิ ความถกู ต้อง ของขอ้ มูลทีใ่ ชส้ นับสนนุ ในเรอ่ื ง วิจารณ์ความสมเหตุสมผล การลำดับ ความและความเป็นไปไดข้ องเรื่อง วิเคราะห์เพอ่ื แสดงความคิดเหน็ โต้แยง้ เกีย่ วกบั เร่ือง การคดั ลายมือทถ่ี ูกต้อง จะตอ้ งคดั ลายมือตวั บรรจงคร่งึ บรรทัดตาม รูปแบบการเขียนตวั อกั ษรไทย

ลำดับที่ ชือ่ หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั เรียนรู้ / ตวั ช้ีวัด (ชั่วโมง) คะแนน 5 การเขียนเพ่ือการ ท 1.1 ม. 3/2 การเขียนเพอื่ การสอ่ื สาร ผเู้ รียนต้อง 8 5 สื่อสาร 1 ม. 3/3 เขียนข้อความโดยใชถ้ อ้ ยคำได้ 7 5 ม. 3/4 ถกู ต้องตามระดับ ของภาษา เขียน 1 20 6 4 ม. 3/5 ชีวประวัติ หรืออัตชวี ประวัติ เขียน 6 4 ม. 3/8 ย่อความ เขยี นจดหมายกจิ ธุระ 4 6 ม. 3/10 กรอกแบบสมคั รงาน พรอ้ มเขยี น บรรยายเก่ียวกับความรู้ แลมะ. ท3กั/4ษะ ของตนเองทเี่ หมาะสมกับงาน และมี มารยาทในการเขียน 6 การเขียนเพื่อการ ท 2.1 ม. 3/6 การเขยี นอธบิ าย ชีแ้ จง แสดงความ ส่อื สาร 2 ม. 3/7 คดิ เหน็ เขียนวเิ คราะห์ วิจารณ์ และ ม. 3/9 แสดงความรู้ ความคดิ เหน็ หรือ โต้แย้งอย่างมเี หตผุ ล รวมทมง้ั เ.ข3ยี /น4 รายงานแสดงการศกึ ษาคน้ ควา้ และ โครงงาน เป็นการเขยี นเพ่อื การ สอื่ สารท่ีตอ้ งคำนึงถึงรูปแบบ และ วธิ กี ารเขยี นที่ถกู ต้อง สอบกลางภาค 7 การพูดเร่ืองจากสอื่ ท 3.1 ม. 3/1 การพูดแสดงความคิดเห็นและ ทฟ่ี งั และดู ม. 3/2 ประเมินเร่อื งจากการฟังและดู ม. 3/3 จะตอ้ งอาศัยการวิเคราะห์ วจิ ารณ์ ม. 3/6 เพือ่ ใหส้ ามารถนำข้อคดิ ท่ไี ดร้ บั มา ประยุกต์ใชใ้ นการดำเนนิ ชีวติ และ พดู รายงานเรอื่ งหรอื ประเด็นทศ่ี กึ ษา คน้ ควา้ ไดอ้ ย่างมีมารยาท 8 การพู ดใน โอกาส ท 3.1 ม. 3/4 การพูดในโอกาสตา่ งๆ และการพดู ตา่ งๆ ม. 3/5 โน้มนา้ ว ตอ้ งพดู ให้ตรงตาม ม. 3/6 วตั ถปุ ระสงค์และนำเสนอหลักฐาน ตามลำดับเน้อื หาอย่างมเี หตุผลและ น่าเชอ่ื ถอื มีมารยาทในการพูด 9 การใช้คำใน ท 4.1 ม. 3/1 การศึกษาเร่อื งการใชค้ ำในภาษาไทย ภาษาไทย ม. 3/4 จะช่วยใหจ้ ำแนกและใช้คำ ม. 3/5 ภาษาตา่ งประเทศทใี่ ช้ในภาษาไทย ใช้คำทบั ศพั ท์และศพั ท์บัญญัติได้ อย่างถกู ตอ้ ง และสามารถอธิบาย

ความหมายของคำศพั ทท์ างวิชาการ และวิชาชีพ ลำดับท่ี ชื่อหน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั 10 เรยี นรู้ / ตัวชว้ี ัด (ช่ัวโมง) คะแนน 11 การวเิ คราะห์ภาษา ท 4.1 ม. 3/2 การศึกษาหลักภาษาไทยต้องสามารถ 3 6 ม. 3/3 วิเคราะหโ์ ครงสรา้ งประโยคซบั ซ้อน 3 5 เพื่อสร้างประโยคทสี่ ละสลวมย. 3ส/่ือ4 1 30 60 100 ความหมายได้ชัดเจน และวิเคราะห์ ระดับภาษาทีใ่ ชใ้ นการสื่อสารได้ ถูกตอ้ งและเหมาะสม การแตง่ บท ท 4.1 ม. 3/6 การแตง่ บทรอ้ ยกรองประเภทโคลงสี่ ร้อยกรองประเภท สุภาพ จะต้องแต่งใหถ้ กู ต้องมต.า3ม/4 โคลงส่สี ุภาพ ลักษณะบงั คับและเลือกสรรถ้อยคำ ภาษาท่ีมคี วามหมายลกึ ซึ้ง กินใจ และมีความไพเราะ สอบปลายภาค รวมตลอดภาคเรยี น

คำอธบิ ายรายวิชา รายวชิ าภาษาไทย รหสั วชิ า ท 23102 ภาคเรยี นที่ 2 ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 3 เวลา 3 ช่ัวโมง/สปั ดาห์ จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต ……………………………………………………………………………………………………………..................................................... อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วทเ่ี ป็นบทความท่ัวไปและบทความปกิณกะ บทร้อยกรองประเภทกาพย์ยานี 11 กาพย์ฉบัง 16 และโคลงส่ีสุภาพเป็นทำนองเสนาะ ได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสมกับเรื่อง อ่านสารคดี สารคดีเชิงประวัติ ตำนาน งานเขียนเชิงสร้างสรรค์ เรื่องราวจากบทเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทยและกลุ่มสาระการเรียนรูอ้ ื่น แล้วเข้าใจความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัย จบั ใจความสำคัญ และรายละเอียดของเร่ืองที่อ่าน แสดงความคิดเห็นโต้แยง้ เกี่ยวกับเร่อื งทีอ่ ่าน เขียนบันทึก รายงาน วเิ คราะห์ วิจารณ์ และประเมินเร่ืองที่อ่านอย่างมีเหตุผล ลำดับความอย่างมีขั้นตอน และความเป็นไปได้ของเรื่องที่อ่าน รวมทั้งประเมินความถกู ตอ้ งของข้อมูลที่ใช้สนับสนุนเร่อื งท่อี ่าน อา่ นหนังสอื นอกเวลา และหนังสอื ตามความ สนใจของนักเรียน แล้วตีความ ประเมินคุณค่า บอกแนวคิดที่ได้จากเรื่อง เพอ่ื นำไปใช้แก้ปญั หาในชีวติ รวมทั้ง มีมารยาทและนสิ ยั รักการอา่ น คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด และเขียนส่ือสารด้วยลายมือท่ีอ่านง่าย ชัดเจน เขียนคำขวัญ คำคม คตพิ จน์ โฆษณา เขยี นจดหมายกิจธุระ เขียนรายงานและโครงงานโดยใชถ้ ้อยคำใหถ้ ูกตอ้ งเหมาะสมตามระดับ ของภาษา เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์และแสดงความรู้ ความคดิ เห็น และโต้แย้งอย่างมีเหตุผล มีมารยาทในการ เขยี น พูดแสดงความคิดเห็น วเิ คราะห์ วิจารณ์ และประเมนิ เรอื่ งจากการฟงั และการดู นำข้อคิดไประยกุ ต์ใช้ ในชีวิตประจำวัน พูดรายงานเร่ืองท่ีศึกษาจากการฟัง การดูและการสนทนา พูดในโอกาสต่าง ๆ พูดโต้วาที พดู ยอวาที ได้ตรงตามวตั ถุประสงค์ มเี หตผุ ล และน่าเชอ่ื ถอื มีมารยาทในการฟงั การดูและการพดู ศึกษาหลกั การใช้ภาษาเรื่องการใช้คำทับศพั ทแ์ ละศัพท์บัญญัติ คำศพั ท์ทางวิชาการและวชิ าชีพ และ แตง่ โคลงสส่ี ภุ าพ ศึกษาวรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถน่ิ แล้วสรปุ เนือ้ หา วิเคราะห์ตัวละครสำคัญ วิถไี ทย และคุณค่าจากเร่ืองที่อ่าน พร้อมท้ังสรปุ ความรู้และข้อคิดเพ่ือนำไปใช้ในชีวิตจริง ท่องจำและบอกคุณค่าบท อาขยานตามท่ีกำหนด และบทรอ้ ยกรองตามความสนใจ นำไปใช้อ้างองิ เหน็ คุณคา่ ของภาษาไทย ตระหนักในความสำคัญท่ีจะต้องชว่ ยกันอนุรักษ์ภาษาไทยในฐานะมรดกของ ชาติ รู้จักพัฒนาตนเองเพื่อให้เกิดความรู้และทักษะทางภาษาไทย เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน และมี คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ รหสั ตัวช้ีวัด ท 1.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ม.3/7 ม.3/8 ม.3/9 ม.3/10 ท 2.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/5 ม.3/7 ม.3/8 ม.3/9 ม.3/10 ท 3.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/6 ท 4.1 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ท 5.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook