Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานประจำปี 2557 สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล

รายงานประจำปี 2557 สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล

Published by local library, 2019-12-05 21:54:03

Description: รายงานประจำปี 2557 สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา

Keywords: รายงานประจำปี,สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล,มหาวิทยาลัยบูรพา,จดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยบูรพา

Search

Read the Text Version

พระราชดำ�รสั พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในโอกาสเสด็จพระราชด�ำ เนนิ ไปทรงเปิดอาคารศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรท์ างทะเล ณ มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บางแสน วันอังคารที่ 24 กรกฎาคม 2527 ศนู ยว์ ิทยาศาสตรท์ างทะเลน้ี ตัง้ ข้ึนโดยมีจุดประสงค์ส�ำ คญั ท่จี ะใหเ้ ปน็ ศนู ยก์ ลางเพ่ือการศกึ ษาวจิ ัยและเผยแพรว่ ิทยาการ ดา้ นวิทยาศาสตร์ทางทะเลสำ�หรบั ภูมภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ ผู้มสี ่วนเป็นเจา้ ของและมสี ว่ นร่วมดำ�เนนิ งานของศนู ย์ทกุ ฝ่ายควร จะถนอมรักษาไวด้ ้วยความภาคภมู ิใจและควรจะไดร้ ่วมมือกันปฏบิ ตั ิ บรหิ ารงานโดยสมานฉันท์ใหบ้ รรลผุ ลเลิศตามวตั ถปุ ระสงค์ทุกๆประการ พระที่น่ังบรมพมิ าน วันท่ี 17 กรกฎาคม พุทธศกั ราช 2527

รายงานประจำ�ปี 2557 สถาบนั วิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบรู พา ค�ำนำ� สถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล เปน็ สว่ นงานสงั กดั มหาวทิ ยาลยั บรู พา มหี นา้ ทว่ี จิ ยั และบรกิ ารวชิ าการดา้ นวทิ ยาศาสตร์ ทางทะเล รวมถงึ สนบั สนนุ งานดา้ นการเรยี นการสอนและการวจิ ยั ตลอดระยะเวลา 30 ปที ผ่ี า่ นมา สถานเลยี้ งสตั วน์ ำ้� เคม็ และพพิ ธิ ภณั ฑว์ ทิ ยาศาสตรท์ างทะเล ยงั เปน็ แหลง่ เยย่ี มชมเพอื่ ศกึ ษา หาความรู้ ของนกั เรยี น นสิ ติ นกั ศกึ ษา เยาวชนและ บุคคลทว่ั ไป สถาบันวทิ ยาศาสตรท์ างทะเลจึงจดั เป็นแหลง่ เรยี นรู้ตลอดชวี ิตต้นแบบ ตามมาตรา 25 ของพระราชบญั ญตั ิ การศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพมิ่ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 สำ� หรบั การเรียนรขู้ องผู้เรยี นในระบบ ผูเ้ รียน นอกระบบ และผู้เรยี นตามอัธยาศัย ดว้ ยภารกจิ และการดำ� เนนิ งานทม่ี คี วามมงุ่ มน่ั ในการพฒั นาองคก์ ร ใหเ้ ปน็ แหลง่ เรยี นรดู้ า้ นวทิ ยาศาสตรท์ างทะเล ท่ีดีที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศ ทำ� ให้สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเลได้รับการยกย่องให้เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตต้นแบบ 1 ใน 31 แหล่งของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2550 จากส�ำนักเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ รวมถึงได้ รบั รางวัลดีเด่นแหลง่ ทอ่ งเท่ียวนันทนาการเพอื่ การเรียนรู้ในปี พ.ศ. 2553 จากการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2555 ได้รับการยกย่องจาก TripAdvisor ซ่ึงเป็นเว็บไซต์การท่องเที่ยวที่ใหญ่ที่สุดในโลกได้มอบตรารับรอง และจัดให้ สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเลเป็นแหล่งท่องเท่ียวท่ีได้รับความพึงพอใจและมีการบริการที่ได้มาตรฐานแห่งหน่ึง ส�ำหรับ ในปี พ.ศ. 2557 สถาบันฯยังไดร้ ับการรบั รองมาตรฐานการทอ่ งเท่ียวไทยเพื่อนันทนาการ โดยเข้ารบั เคร่อื งหมายรบั รอง มาตรฐานท่องเที่ยวไทย โดยนางกอบกาญจน์ วัฒนวรางกูล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงท่องเท่ียวและกีฬา เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2557 นอกจากน้ีสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเลยังได้รับการรับรองมาตรฐานด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม (ISO 14001) ต้งั แตป่ ี พ.ศ. 2548 จนถึงปัจจุบนั การจดั ท�ำรายงานประจำ� ปี พ.ศ. 2557 เปน็ การรวบรวมขอ้ มูลในการดำ� เนนิ งานของปงี บประมาณ พ.ศ. 2557 ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2556 ถงึ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2557 ประกอบด้วยขอ้ มูลเก่ยี วกับการบรหิ ารจดั การ การวิจยั ทางด้านวิทยาศาสตร์ทางทะเลและสาขาวชิ าทีเ่ กย่ี วขอ้ ง และการใหบ้ รกิ ารวชิ าการ เชน่ สถติ ิผ้เู ข้าชมสถานเลยี้ ง สตั วน์ �ำ้ เคม็ และพพิ ธิ ภณั ฑว์ ิทยาศาสตร์ทางทะเล การฝกึ อบรม ประชุมและสัมมนา การให้คำ� ปรกึ ษาทางวชิ าการ การให้ บรกิ ารดา้ นการทำ� วทิ ยานพิ นธห์ รอื ปญั หาพเิ ศษของนสิ ติ นกั ศกึ ษาในระดบั อดุ มศกึ ษา รวมทง้ั การใหบ้ รกิ ารขอ้ มลู ทางดา้ น วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล เปน็ ต้น รายงานประจ�ำปี พ.ศ. 2557 ฉบับนี้ ได้รวบรวมข้อมูลสรุปผลการด�ำเนินงานจากฝ่ายต่างๆ ได้แก่ส�ำนักงาน ผอู้ ำ� นวยการ ฝา่ ยวจิ ยั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล ฝา่ ยบรกิ ารวชิ าการ ฝา่ ยสถานเลย้ี งสตั วน์ ำ้� เคม็ ฝา่ ยพพิ ธิ ภณั ฑว์ ทิ ยาศาสตร์ ทางทะเลและสถานวี จิ ยั สถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเลหวงั เปน็ อยา่ งยงิ่ วา่ ขอ้ มลู ทป่ี รากฏในรายงานฉบบั น้ี คงเปน็ ประโยชน์ ส�ำหรับหน่วยงานต่างๆ บ้างตามสมควร และเป็นที่คาดหวังว่าข้อมูลเหล่าน้ีจะเป็นเคร่ืองชี้น�ำในการปรับปรุงและพัฒนา งานของสถาบันวทิ ยาศาสตร์ทางทะเลในทกุ ๆ ดา้ นสบื ไป

Annual Report 2014 Institute of Marine Science, Burapha University สารบัญ หน้า 1 2 คำ� น�ำ 3 ประวัติความเปน็ มาของสถาบนั วิทยาศาสตรท์ างทะเล 11 ปรชั ญา วิสัยทศั น์ วัตถุประสงค์ นโยบายด้านส่งิ แวดลอ้ ม 12 นโยบายแนวทางการพฒั นาและการบริหารสถาบันวทิ ยาศาสตร์ทางทะเล 13 โครงสร้างการบริหาร 14 โครงสรา้ งการแบง่ สว่ นงาน 15 คณะกรรมการประจ�ำสถาบันวิทยาศาสตรท์ างทะเล คณะกรรมการบริหารสถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล 17 บุคลากรสถาบนั วิทยาศาสตรท์ างทะเล 18 การแบง่ สว่ นงาน 18 19 ส�ำนกั งานผอู้ ำ� นวยการ 19 ฝ่ายบริการวิชาการ 20 ฝ่ายวิจยั วทิ ยาศาสตร์ทางทะเล 20 ฝา่ ยสถานเลีย้ งสตั วน์ ้�ำเคม็ 21 ฝา่ ยพพิ ธิ ภณั ฑว์ ทิ ยาศาสตรท์ างทะเล สถานีวิจัย 23 ร้านค้าสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล 44 ศนู ย์เรยี นรโู้ ลกใต้ทะเลบางแสน 64 สรปุ ผลงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 (ตุลาคม 2556 – กันยายน 2557) 80 ดา้ นการวิจยั และงานสรา้ งสรรค์ 83 ด้านการบรกิ ารวิชาการ ด้านการบริหารจดั การ โครงการเดน่ สรปุ ภาพกจิ กรรมในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 (ตุลาคม 2556– กันยายน 2557) ภาคผนวก

รายงานประจ�ำ ปี 2557 สถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล มหาวิทยาลยั บูรพา หน้า สารบัญตาราง 15 15 ตารางที่ 15 23 1 จำ�นวนบุคลากรจำ�แนกประเภทตามฝ่ายต่าง ๆ 27 2 จำ�นวนบคุ ลากรจำ�แนกตามวุฒิการศึกษา 27 3 จำ�นวนบุคลากรจำ�แนกตามตำ�แหน่ง 28 4 โครงการวจิ ัยจากเงนิ อดุ หนนุ รฐั บาล 32 5 โครงการวจิ ยั จากแหล่งทุนภายนอกอื่น 33 6 รายละเอยี ดโครงการวจิ ยั ทีท่ ำ�ร่วมกบั องคก์ ร หรือหนว่ ยงานอ่ืน 34 7 รายงานวจิ ยั ฉบบั สมบูรณ์ 37 8 การเผยแพรใ่ นวารสารวชิ าการระดับชาติ 38 9 การเผยแพร่ในวารสารวชิ าการระดบั นานาชาติ 39 10 ผลงานวิจัยทไี่ ดร้ ับการตีพิมพใ์ นรายงานเนื่องมาจากการประชมุ ระดับชาติ 41 11 ผลงานวิจยั ที่ไดร้ ับการตีพิมพ์ในรายงานเน่ืองมาจากการประชุมระดับนานาชาติ 47 12 การเสนอผลงานวจิ ัยแบบบรรยายในการประชมุ วชิ าการระดับชาติ 48 13 การเสนอผลงานแบบโปสเตอร์ในการประชุมวชิ าการระดับชาติ 52 14 การเสนอผลงานแบบโปสเตอร์ในการประชมุ วิชาการระดบั นานาชาติ 55 15 การรับเชญิ เป็นอาจารยพ์ ิเศษภายในมหาวทิ ยาลัย 56 16 การรบั เชญิ เป็นวิทยากรภายในมหาวทิ ยาลัย 58 17 การรับเชญิ เปน็ วิทยากรภายนอกมหาวทิ ยาลัย 59 18 การไดร้ ับเชิญเปน็ กรรมการทป่ี รึกษา/กรรมการผทู้ รงคุณวฒุ ิภายนในมหาวทิ ยาลยั 59 19 การได้รับเชิญเป็นกรรมการท่ปี รกึ ษา/กรรมการผูท้ รงคุณวฒภิ ายนอกมหาวิทยาลยั 60 20 การฝึกอบรมแก่นักวจิ ยั /นิสติ /นกั ศึกษา/ไทย/ชาวตา่ งประเทศ 61 21 การให้บริการดา้ นวจิ ัย/โครงการบรกิ ารวิชาการ 64 22 การทำ�ปญั หาพิเศษ/วิทยานิพนธ์ 66 23 แสดงรายช่อื สถานศึกษาทสี่ ่งนสิ ิต/นกั ศึกษาเขา้ รับการฝึกงาน 66 24 การเขียนบทความเผยแพรส่ อ่ื ต่างๆ 68 25 จำ�นวนการสง่ บุคลากรไปศกึ ษาต่อ ฝกึ อบรม ดูงาน ประชุมและสมั มนาทง้ั ในและตา่ งประเทศ 69 26 งบประมาณรายจ่ายจากงบประมาณแผ่นดินและงบประมาณเงนิ รายไดจ้ ากเงินอดุ หนนุ รัฐบาล 71 27 ขอ้ มูลทางการเงินที่สำ�คญั ของเงนิ รายได้สถาบันฯ 74 28 การเปรยี บเทยี บรายไดแ้ ละค่าใชจ้ า่ ยปีงบประมาณ พ.ศ. 2556- 2557 76 29 สถติ ิผเู้ ขา้ ชมในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 78 30 การประชาสัมพนั ธ์ : การเผยแพรป่ ระชาสมั พนั ธ์ในส่อื โทรทศั น์ เคเบลิ ทวี ี ทวี ีดาวเทยี ม 31 การประชาสมั พันธ์ : ข่าวที่ไดร้ ับการเผยแพร่ในสื่อสงิ่ พมิ พ์ หนา้ 32 การตลาด : การรว่ มกิจกรรมสง่ เสรมิ การขายกับเครอื ขา่ ยดา้ นการทอ่ งเท่ยี วทัง้ ภาครัฐและเอกชน 33 ผลการประเมินคุณภาพการศกึ ษาภายใน 70 สารบัญภาพ ภาพท่ี 1 แสดงร้อยละการสำ�รวจความพงึ พอใจและความคดิ เห็นของผมู้ ารับบรกิ ารประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557

Annual Report 2014 Institute of Marine Science, Burapha University 1 ประวตั ิความเปน็ มาของสถาบนั วทิ ยาศาสตร์ทางทะเล สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา ได้รับการพัฒนามาจาก “พิพิธภัณฑ์สัตว์และสถานเลี้ยงสัตว์ น�ำ้ เค็ม” มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ วทิ ยาเขตบางแสน ซ่ึงก่อตั้งเมอื่ เดือนกันยายน พ.ศ.2512 โดยคณะอาจารย์ภาค วิชาชีววิทยาและนิสิตจ�ำนวนหน่ึงภายใต้การสนับสนุนของ ดร.บุญถ่ิน อัตถากร อดีตอธิบดีกรมการฝึกหัดครูและอดีต ปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร ไดเ้ ปดิ ให้ประชาชนเขา้ ชมอยา่ งไมเ่ ป็นทางการตง้ั แตเ่ ดือนธันวาคม พ.ศ.2513 ตอ่ มาเมื่อวันท่ี 26 ตุลาคม พ.ศ.2519 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตบางแสน ได้กราบทูลเชิญสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้า จุฬาภรณ์วลัยลักษณ์อคั รราชกมุ ารี ทรงประกอบพธิ ีเปิดพิพิธภณั ฑ์สตั ว์และสถานเลยี้ งสตั วน์ �ำ้ เคม็ อยา่ งเป็นทางการ พพิ ธิ ภณั ฑส์ ตั วแ์ ละสถานเลยี้ งสตั วน์ ำ�้ เคม็ ไดร้ บั การพฒั นาขนึ้ เปน็ ลำ� ดบั แตเ่ นอื่ งจากตวั อาคารมขี นาดจำ� กดั และไม่ ได้ออกแบบไว้ส�ำหรับการน้ีโดยตรงและเพื่อเป็นการขยายกิจกรรมของพิพิธภัณฑ์สัตว์และสถานเล้ียงสัตว์น�้ำเค็มให้กว้าง ขวางมากยง่ิ ขนึ้ กวา่ เดมิ ทางมหาวทิ ยาลยั โดยการนำ� ของ ดร.ทวี หอมชงและคณะ ไดจ้ ดั ทำ� โครงการขอความชว่ ยเหลอื จาก รัฐบาลญป่ี ่นุ เมอ่ื เดือนกรกฎาคม พ.ศ.2523 รฐั บาลญ่ปี ุ่นได้ให้ความช่วยเหลือแบบให้เปลา่ ในการจัดต้ังศนู ย์วทิ ยาศาสตร์ ทางทะเลเปน็ มลู ค่า 230 ล้านบาท โดยเรมิ่ กอ่ สร้างในวันท่ี 1 ธนั วาคม พ.ศ.2524 ณ บรเิ วณด้านหน้าของมหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตบางแสน บนพื้นท่ีประมาณ 30 ไร่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จทรงวางศิลาฤกษ์เม่ือวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ.2525 การก่อสร้างแล้วเสร็จ และมีพิธีมอบให้แก่มหาวิทยาลัย เม่อื วันที่ 1 มนี าคม พ.ศ. 2526 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯเสด็จพระราชด�ำเนินทรงเปิดอาคารศูนย์วิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัย ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ วทิ ยาเขตบางแสน ในวนั ที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ.2527 จากนนั้ ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรท์ างทะเลไดจ้ ดั ทำ� โครงการ เพื่อยกฐานะเป็นสถาบนั และได้รับอนุมตั ใิ ห้เป็นสถาบนั วิทยาศาสตรท์ างทะเล เมือ่ วันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ.2528

2 รายงานประจ�ำ ปี 2557 สถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล มหาวทิ ยาลัยบูรพา ปรชั ญา พฒั นางานวจิ ัย ใสใ่ จใหบ้ รกิ าร ประสานความร่วมมอื ยดึ ถือแนวทางอนรุ กั ษ์ พิทักษ์ทะเลไทย วิสยั ทศั น์ เปน็ ศนู ยก์ ลางแห่งความเป็นเลิศทางการวจิ ยั และบรกิ ารวิชาการด้านวิทยาศาสตรท์ างทะเล วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพื่อเป็นแหลง่ ศกึ ษาค้นคว้าวจิ ัยด้านวิทยาศาสตรท์ างทะเล 2. เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ แหล่งท่องเท่ียวเชิงวิชาการ และการอนุรักษ์ทรัพยากรตลอดจนสนับสนุนการเรียนการ สอนดา้ นวิทยาศาสตรท์ างทะเลทัง้ ภายในและต่างประเทศ 3. เพื่อเปน็ องคก์ รท่ีมีระบบบรหิ ารจัดการทด่ี ีและมีประสิทธภิ าพ นโยบายด้านสิ่งแวดล้อม สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา เป็นส่วนงานที่มีหน้าท่ีในการวิจัยและบริการวิชาการ ด้าน วทิ ยาศาสตรท์ างทะเลและสาขาวชิ าทเี่ กยี่ วขอ้ ง แกน่ กั เรยี น นสิ ติ นกั ศกึ ษา และประชาชนโดยทวั่ ไป นอกจากนยี้ งั มหี นา้ ที่ ในการสนับสนุนการเรียนการสอนและการวิจัยแก่นิสิต นักศึกษา ครูอาจารย์ และนักวิจัยของมหาวิทยาลัยบูรพาและ สถาบันการศึกษาอ่ืนๆ ได้แก่การให้ค�ำปรึกษา การสนับสนุนสถานท่ี เครื่องมือ อุปกรณ์ ส�ำหรับท�ำวิทยานิพนธ์ วิจัย และการฝึกงานของนิสิต สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเลได้ตระหนักถึงความส�ำคัญของปัญหาสิ่งแวดล้อมจากการด�ำเนิน งานของสถาบันฯและเพ่ือเป็นการสร้างคุณภาพชีวิตท่ีดีในการท�ำงานของบุคลากรจึงมีนโยบายท่ีจะปรับปรุงการท�ำงาน ในทุกๆ ด้านท่ีมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง โดยผู้บริหารและบุคลากรของสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเลมี ความมงุ่ ม่ันทจ่ี ะปฏบิ ตั ิดังนี้ 1. จะปฏิบัติให้ถูกต้องตามกฎหมายด้านสิ่งแวดล้อมโดยการน�ำข้อก�ำหนดต่างๆ มาจัดท�ำเป็นมาตรฐานในการ ดำ� เนินงาน 2. จะให้ความรู้และสร้างจิตส�ำนึกให้บุคลากรทุกคนมีความเข้าใจตระหนักถึงหน้าท่ีความรับผิดชอบในการท่ีจะ ปฏบิ ัตกิ ารปรับปรุงเพอ่ื รกั ษาสิง่ แวดลอ้ มอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง 3. จะอนุรกั ษ์พลังงานไฟฟ้า น้ำ� ประปา ทรัพยากรธรรมชาติ โดยมุ่งมน่ั จะใชท้ รพั ยากรอย่างประหยัดและใหเ้ กิด ประโยชน์สูงสุด 4. จะควบคุมระบบการจัดการของเสียโดยวธิ ีท่ปี ลอดภัยได้มาตรฐานและถูกต้องตามกฎหมาย 5. จะรับฟงั ความคิดเห็นจากทกุ ฝ่ายส่งเสรมิ สนับสนุนในการพัฒนาปรบั ปรุงทบทวนวัตถุประสงค์ เป้าหมายทาง ดา้ นส่งิ แวดล้อม โดยผู้บรหิ ารอย่างตอ่ เน่ืองสม่�ำเสมอและพรอ้ มท่จี ะเผยแพรต่ ่อสาธารณะ

Annual Report 2014 Institute of Marine Science, Burapha University 3 นโยบายแนวทางการพฒั นาและการบรหิ ารสถาบันวทิ ยาศาสตรท์ างทะเล นางสาวเสาวภา สวัสดิพ์ ีระ ผ้อู �ำนวยการสถาบนั วิทยาศาสตรท์ างทะเล นโยบาย พฒั นาการวจิ ยั และการบรกิ ารวชิ าการสงั คมดา้ นวทิ ยาศาสตรท์ างทะเลซง่ึ เปน็ ภารกจิ หลกั ของสถาบนั ฯ ใหม้ คี ณุ ภาพใน ระดบั สากลเพอ่ื สนบั สนนุ และสง่ เสรมิ เปา้ หมายของมหาวทิ ยาลยั ใน 2 ดา้ นคอื “พฒั นามหาวทิ ยาลยั สกู่ ารเปน็ มหาวทิ ยาลยั วจิ ัย มงุ่ เน้นการวิจยั เพ่อื สรา้ งองคค์ วามรู้และการวจิ ัยเชิงบรู ณาการ” และ “ให้บรกิ ารวชิ าการและถ่ายทอดเทคโนโลยแี ก่ สังคม ให้สังคมมกี ารเรยี นรอู้ ย่างตอ่ เน่อื งเพ่อื ให้เกดิ สังคม ฐานความรู้ (Knowledge - Based Society) สามารถพง่ึ พา ตนเองและมคี ณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ขี น้ึ ” รว่ มทง้ั แผนยทุ ธศาสตรม์ หาวทิ ยาลยั บรู พาสกู่ ารเปน็ มหาวทิ ยาลยั ของสงั คมในภาคตะวนั ออกประเทศไทย และอาเซียนในปี 2563 (BUU2020) วสิ ยั ทัศนข์ องสถาบันวทิ ยาศาสตรท์ างทะเล “เปน็ ศนู ย์กลางแหง่ ความเป็นเลิศทางการวจิ ัย และบรกิ ารวิชาการดา้ นวิทยาศาสตร์ทางทะเล” วสิ ยั ทัศน์ในอีก 4 ปีขา้ งหน้า (2557 - 2560) พัฒนาคุณภาพทางการวิจัยและการบริการวิชาการด้านวิทยาศาสตร์ทางทะเลให้มีคุณภาพในระดับสากล เพ่ือ ก้าวไปสู่การเป็นศูนย์กลางความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ทางทะเลและเป็นที่พ่ึงทางวิชาการของสังคม ด้วยการบริหารจัดการ ท่ีมคี ณุ ภาพและประสิทธิภาพดงั น้ี การพฒั นาคณุ ภาพทางการวจิ ยั การพฒั นาระบบกลไกและคณุ ภาพบคุ ลากรทางการวจิ ยั ใหส้ ามารถสรา้ งผลงาน วจิ ยั ทางดา้ นวทิ ยาศาสตรท์ างทะเลทมี่ คี ณุ ภาพเปน็ ทยี่ อมรบั ในระดบั สากล โดยเฉพาะในสงั คมภาคตะวนั ออกของประเทศ และสงั คมอาเซียน รวมถึงการสรา้ งเครือข่ายทางการวจิ ยั ทง้ั ในและต่างประเทศ การพัฒนาคุณภาพทางด้านการบริการวิชาการแก่สังคม การพัฒนาระบบและกลไกและคุณภาพบุคลากรใน ด้านการบริการวิชาการด้านวิทยาศาสตร์ทางทะเลแก่สังคมด้วยความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้อง พัฒนาประสิทธิภาพในการ ให้บริการวิชาการท่ีตอบสนองความต้องการของสังคม รวมทั้งการสร้างเครือข่ายในการบริการวิชาการด้านวิทยาศาสตร์ ทางทะเลทั้งในและตา่ งประเทศ การบริหารจัดการท่ีมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ การพัฒนาระบบกลไกและคุณภาพบุคลากรทางการบริหาร จดั การในดา้ นตา่ งๆ เชน่ การคลงั และทรพั ยส์ นิ การอำ� นวยการ เปน็ ตน้ เพอื่ สนบั สนนุ ภารกจิ หลกั ขององคก์ รใหม้ คี ณุ ภาพ อย่างต่อเน่ือง รวมท้ังการพัฒนาระบบสารสนเทศที่เช่ือมโยงกับมหาวิทยาลัยเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ อยา่ งมีคณุ ภาพ มคี วามคล่องตัว โปรง่ ไส เป็นธรรม และตรวจสอบได้ เป้าหมายสำ� หรับ 4 ปี เป้าหมายในระยะ 4 ปี ขา้ งหนา้ (2557 - 2560) เปน็ เปา้ หมายหลักในข้นั ตอนหนง่ึ ของแผนการดำ� เนนิ งานท่จี ะ ทำ� ใหส้ ถาบนั ฯ สามารถสรา้ งคณุ ภาพในพนั ธกจิ หลกั คอื การวจิ ยั การบรกิ ารวชิ าการ และการสนบั สนนุ การเรยี นการสอน ดว้ ยกระบวนการบรหิ ารจดั การทม่ี ีคณุ ภาพ ซง่ึ จะท�ำให้สถาบันฯ สามารถกา้ วเดนิ ไปสู่ความเป็นเลศิ ดา้ นวิทยาศาสตร์ทาง ทะเลในระดบั สากล เปน็ แหลง่ ความรดู้ า้ นวทิ ยาศาสตรท์ างทะเลของสงั คมภาคตะวนั ออก และประชาคมอาเซยี นได้ ซง่ึ เปา้ หมายเหลา่ นเ้ี ปน็ เปา้ หมายทบ่ี ง่ ชถี้ งึ การกา้ วไปสคู่ วามเปน็ เลศิ ดา้ นวทิ ยาศาสตรท์ างทะเล และจะถกู นำ� ไปใชใ้ นการกำ� หนด กลยทุ ธ และตัวชี้วัดในแผนยุทธศาสตรข์ องสถาบันฯ ต่อไป จงึ ก�ำหนดเป้าหมายในดา้ นต่างๆ ดงั ตอ่ ไปนี้

4 รายงานประจ�ำ ปี 2557 สถาบันวทิ ยาศาสตรท์ างทะเล มหาวิทยาลัยบรู พา ดา้ นวจิ ัย 1. พฒั นานกั วิทยาศาสตร์ร่นุ เยาว์ อายงุ านตำ่� กวา่ 10 ปี ซงึ่ มีประมาณรอ้ ยละ 30 ให้สามารถผลติ ผลงานวจิ ัยท่ี มคี ุณภาพอย่างน้อยปีละ 1 เรือ่ ง 2. พฒั นานกั วทิ ยาศาสตรใ์ หส้ ามารถเขยี นผลงานวจิ ยั ทต่ี พี มิ พเ์ ผยแพรใ่ นวารสารทไ่ี ดร้ บั การยอมรบั ในระดบั สากล และมี Impact Factor สูง เพิ่มข้นึ จากสัดสว่ นของ เรือ่ ง:จำ� นวนนกั วทิ ยาศาสตร์ท�ำงานวจิ ยั เต็มเวลา (FTER, Full time equivalent Researcher,) จาก 1:7 ใหไ้ ด้ 1:5 ในปี 2560 หมายเหต:ุ FTER ทำ� การวเิ คราะหโ์ ดยประมาณจากสดั สว่ นการทำ� งานวจิ ยั ของนกั วทิ ยาศาสตรท์ ง้ั หมด 40 คน ซง่ึ เม่อื คิดเป็นนักวทิ ยาศาสตรท์ �ำงานวิจยั เต็มเวลาแล้วจะได้ประมาณ 27 คน จึงใช้เป็นค่า FTER 3. ผลักดันให้เกิดแผนปฏิบัติการในการก้าวไปสู่ศูนย์แห่งความเป็นเลิศเฉพาะทางด้านส่ิงมีชีวิตสวยงามน้�ำเค็ม (Marine Ornamentals Research Center) 4. สนบั สนนุ และสง่ เสรมิ ใหม้ งี านวจิ ยั ทเี่ ปน็ ทต่ี อ้ งการของชมุ ชนทส่ี ามารถนำ� ผลไปสกู่ ารจดสทิ ธบิ ตั รหรอื สรา้ งราย ได้ให้กับหน่วยงานอย่างนอ้ ย 1 เรื่อง 5. สรา้ งเครอื ข่ายทางการวจิ ัยท่ีมีกจิ กรรมการวิจัยเกดิ ขึน้ จรงิ กับประเทศในกลุ่มอาเซยี นอยา่ งน้อย 2 ประเทศ ดา้ นบริการวิชาการ 1. รอ้ ยละ 60 ของสถานเลย้ี งสตั วน์ ำ้� เคม็ และพพิ ธิ ภณั ฑว์ ทิ ยาศาสตรท์ างทะเล มกี ารพฒั นาและปรบั ปรงุ รปู แบบ การจัดแสดงใหท้ ันสมยั ขอ้ มลู เปน็ ปจั จบุ นั และมีการปฏสิ ัมพนั ธ์กับผรู้ ับบริการ 2. มโี ครงการขยายขอบขา่ ยการบรกิ ารวิชาการสสู่ งั คมและชมุ ชน (USR) อยา่ งน้อย 1 โครงการ 3. สรา้ งเครือข่ายการบรกิ ารวิชาการดา้ นวิทยาศาสตร์ทางทะเลทงั้ ในและต่างประเทศอยา่ งน้อย 3 หนว่ ยงาน ด้านบรหิ ารจดั การ 1. ผลการปฏบิ ัตงิ านตามแผนยุทธศาสตร์ในด้านตา่ งๆ บรรลุผลตามแผนอย่างนอ้ ยร้อยละ 80 2. จัดท�ำแผนยุทธศาสตร์ทางด้านงบประมาณท่ีสอดคล้องแผนยุทธศาสตร์และรายได้ขององค์กร เพื่อใช้เป็น เครื่องมือในการผลักดนั ใหบ้ รรลุเปา้ หมายของสถาบนั ฯ อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพสูงสดุ 3. ท�ำการวิเคราะห์บุคลลากรในแต่ละต�ำแหน่งเพ่ือน�ำมาใช้ในการวางแผนพัฒนาบุคลากรในการเพ่ิมประสิทธ ภาพในการท�ำงาน 4. สานต่อโครงการสำ� คัญท่อี ยใู่ นระหว่างการด�ำเนินการ ไดแ้ ก่ - โครงการศนู ยเ์ รยี นรูโ้ ลกใต้ทะเล (World Beneath the Sea) - โครงการปรบั ปรงุ สถานเลย้ี งสตั ว์น�ำ้ เคม็ - โครงการสถานท่ปี ฏบิ ตั ิงานวจิ ยั ท่เี ปน็ มาตรฐาน - โครงการสรา้ งองคค์ วามรู้สู่ผลิตภณั ฑ์ 5. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศต่อเน่ืองเพื่อให้มีฐานข้อมูลในด้านต่างๆ ท้ังองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ทางทะเลเพื่อใช้เป็นแหล่งเผยแพร่ความรู้ขององค์กรสู่ภายนอก และฐานข้อมูลท่ีใช้ภายในองค์กรเพื่อการบริหารจัดการ ภารกจิ ต่างๆ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ แนวทางในการพฒั นา: มแี ผนในการพฒั นางานวจิ ยั และการบรกิ ารวชิ าการดา้ นวทิ ยาศาสตรท์ างทะเลแกส่ งั คมที่ ตอบสนองความตอ้ งการของกลมุ่ เปา้ หมายตา่ งๆ ใหม้ ากขน้ึ เชน่ งานวจิ ยั เกยี่ วกบั การใชป้ ระโยชนจ์ ากทรพั ยากธรรมชาติ ทางทะเล งานวจิ ยั ทน่ี ำ� ไปสกู่ ารสรา้ งรายไดข้ องสงั คมและชมุ ชน เปน็ ตน้ ดา้ นบรกิ ารวชิ าการ เชน่ โครงการฝกึ อบรมการทำ� วจิ ยั สำ� หรบั นกั เรยี นทม่ี คี วามสามารถพเิ ศษของโรงเรยี นตา่ งๆ โครงการอบรมใหค้ วามรใู้ นการจดั ทำ� พพิ ธิ ภณั ฑว์ ทิ ยาศาสตร์ ทางทะเล โครงการให้ความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงปลาทะเลสวยงาม โครงการให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการสถานเลี้ยงสัตว์ นำ�้ เคม็ เปน็ ตน้

Annual Report 2014 Institute of Marine Science, Burapha University 5 ยุทธศาสตร์ในการพฒั นาสถาบันวทิ ยาศาสตร์ทางทะเล เพอื่ ใหเ้ ปา้ หมายบรรลผุ ลจงึ ไดจ้ ดั ทำ� ยทุ ธศาสตรส์ ำ� หรบั เปน็ แนวทางปฏบิ ติ กิ ารเพอ่ื การพฒั นาสถาบนั วทิ ยาศาสตร์ ทางทะเลในการกา้ วไปสจู่ ดุ หมาย ในระยะ 4 ปี (2557 - 2560) ซงึ่ ในขน้ั ตอนตอ่ ไปตอ้ งดำ� เนนิ การแปลงแผนยทุ ธศาสตร์ นี้ใหเ้ ปน็ แผนปฏิบัติการและก�ำหนดตัวชว้ี ดั ทีต่ อบโจทยก์ ลยทุ ธต่อไป โดยแผนยุทธศาสตรท์ ่วี างได้มีดงั น้ี ประเดน็ ยุทธศาสตร์ จากพันธกิจของสถาบันฯ เป้าหมาย และวิสัยทัศน์ท่ีได้มีการก�ำหนดร่วมกันของบุคลากรสถาบันฯ ทุกระดับ จึง ไดว้ างประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ไว้ 3 ด้าน คอื ด้านวิจัย บริการวิชาการ (ซงึ่ รวมถงึ การสนับสนนุ การเรียนการสอนด้วย) และ ดา้ นบริหารจดั การ ดงั น้ี 1. พัฒนากระบวนการทางการวจิ ยั ใหส้ ามารถก้าวไปสคู่ วามเปน็ เลิศทางด้านวทิ ยาศาสตรท์ างทะเล 2. พัฒนากระบวนการการบรกิ ารวชิ าการทางดา้ นวิทยาศาสตร์ทางทะเลใหม้ ีประสทิ ธภิ าพอยา่ งมืออาชีพ 3. พัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การให้มคี ุณภาพและประสิทธภิ าพ ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 1: พฒั นากระบวนการทางการวิจัยใหส้ ามารถกา้ วไปสูค่ วามเปน็ เลศิ ทาง ด้านวิทยาศาสตรท์ างทะเล เพ่ือก้าวไปสู่ความเป็นเลิศในด้านการวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์ทางทะเลและเป็นที่ยอมรับในระดับสากลโดย เฉพาะอย่างย่ิงประชาคมอาเชียนซ่ึงเป็นเป้าหมายของมหาวิทยาลัยในปี 2563 จึงควรมีการก�ำหนดทิศทางการวิจัยที่ ชดั เจนสอดคลอ้ งกับเป้าหมายของสถาบนั ฯ มหาวทิ ยาลัย และยทุ ธศาสตร์การวจิ ัยของประเทศ มกี ารสนบั สนนุ งานวจิ ัย ท่ีสามารถน�ำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในด้านต่างๆ มีระบบและกลไกในการบริหารงานวิจัยท่ีมีประสิทธิภาพและสนับสนุน ให้นักวิจัยสามารถท�ำงานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ส่งเสริมและสร้างเครือข่ายความร่วมมือของนักวิจัยและสถาบันวิจัย ทั้งในและนอกประเทศ โดยมเี ปา้ ประสงค์ และกลยุทธประกอบดังนี้ เป้าประสงค์ที่ 1 : สถาบันฯ มีผลงานวิจัยท่ีมีคุณภาพในระดับสากล และ/หรืองานวิจัยที่ก่อให้เกิดผลต่อสังคม หรอื ชมุ ชนอย่างเป็นรูปธรรมซึง่ สามารถน�ำไปใช้ประโยชนไ์ ด้จริง กลยทุ ธท่ี 1 : พฒั นาและปรบั ปรุงกระบวนการทางการบริหารงานวิจยั ใหค้ รบวงจรระบบคุณภาพ เพ่ือใหเ้ กิด ผลงานวิจัยทมี่ คี ุณภาพ โดดเด่น แนวทางในการด�ำเนนิ งาน : yy ก�ำหนดแผนงานวิจัยของสถาบันฯ ท่ีมีเป้าหมายและทิศทางทางการวิจัยขององค์กรที่ชัดเจน โดยสอดคล้องกับ เปา้ สถาบันฯ มหาวิทยาลยั และตามยทุ ธศาสตรข์ องชาติ yy มกี ารประเมนิ และทบทวนคณุ ภาพผลงานวจิ ยั บคุ ลากรทางการวจิ ยั โครงสรา้ ง หนา้ ท่ี เพอ่ื ปรบั ปรงุ ใหเ้ หมาะสม กับปริมาณงาน ความรแู้ ละความสามารถ yy มีการวิเคราะห์หาสาเหตุ ปญั หา แนวทางในการแกไ้ ข และแนวทางในการสง่ เสรมิ ให้ดียิ่งขึน้ เปน็ ระยะ yy นำ� ผลการวเิ คราะห์มาใชเ้ ป็นเปา้ หมายในการพฒั นาและปรับปรงุ yy การวางแผนและกระบวนการพฒั นาและปรบั ปรงุ yy มกี ารตดิ ตามผล ประเมินผล และทบทวนกระบวนการ

6 รายงานประจำ�ปี 2557 สถาบันวทิ ยาศาสตร์ทางทะเล มหาวทิ ยาลัยบรู พา กลยทุ ธท่ี 2:สร้างกลไกในการส่งเสรมิ และสนับสนุนให้นกั วทิ ยาศาสตรม์ ีผลงานทางวิชาการท่ีมโี ดดเดน่ แนวทางในการด�ำเนนิ งาน : yy มีกลไกในพัฒนาเพอื่ เพ่ิมขดี ความสามารถของนกั วิทยาศาสตรอ์ ย่างตอ่ เนื่อง yy สนบั สนุนและส่งเสรมิ นักวิทยาศาสตรท์ ีม่ คี วามสามารถในการวจิ ยั เปน็ พเิ ศษ yy มกี ลไกในการผลกั ดนั ใหน้ กั วจิ ยั มผี ลงานทม่ี คี ณุ ภาพในระดบั สากล และไดร้ บั การตพี มิ พใ์ นวารสารทเ่ี ปน็ ทย่ี อมรบั ในระดับสากลทมี ี impact factor สงู อย่างตอ่ เนอ่ื ง yy มแี ผนสำ� รวจและสนบั สนนุ โครงสร้างพนื้ ฐานทางดา้ นการวจิ ยั และเวลาในการทำ� วจิ ยั อย่างเพยี งพอ เปา้ ประสงคท์ ี่ 2: สถาบันเปน็ แหล่งความรู้ และแหล่งอ้างอิงทางวิชาการดา้ นวทิ ยาศาสตร์ทางทะเลของประเทศ และระดับนานาชาติ กลยุทธท่ี 3 : มีกลไกในการสรา้ งความเป็นเลิศทางด้านวทิ ยาศาสตร์ทางทะเล แนวทางในการดำ� เนินงาน : yy สนบั สนุนกลมุ่ วจิ ัยที่เขม้ แข็งและมีผลงานทโี่ ดดเด่น สามารถไดเ้ ปรยี บในเชิงการแขง่ ขัน ให้พัฒนางานวจิ ัยอยา่ ง ต่อเน่ือง และมีแผนในการผลักดันให้กลายเป็นหน่วยวิจัยท่ีเป็นเลิศเฉพาะทางโดยเร็วและด�ำรงสถานภาพของ ความเปน็ เลศิ ได้อย่างยั่งยืน “Marine Ornamentals Research Center” yy จดั ลำ� ดบั การพฒั นากลมุ่ วจิ ยั เพอื่ ใหก้ า้ วสคู่ วามเปน็ เลศิ ตามศกั ยภาพ โดยสนบั สนนุ ใหม้ คี วามพรอ้ มและความเขม้ แข็ง เพอื่ ใหผ้ ลิตมีผลงานทโ่ี ดดเดน่ เปน็ สากล และผลักดันใหเ้ กิดหน่วยวจิ ัยที่เป็นเลศิ เฉพาะทางต่อไป yy สร้างเครอื ข่ายทางการวจิ ยั ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ทางทะเลกบั หน่วยงานต่างๆ ท้ังภายในและภายนอกประเทศ กลยทุ ธท่ี 4 : บรู ณาการทรพั ยากรทงั้ ระบบเพอ่ื สรา้ งองคค์ วามรู้ นวตั กรรมทางดา้ นวทิ ยาศาสตรท์ างทะเล และ สงั คมทส่ี ามารถน�ำไปใชใ้ ห้เกิดประโยชน์และตอบสนองต่อความตอ้ งการของสังคม แนวทางในการด�ำเนินงาน : yy สนับสนนุ งานวจิ ยั ที่เปน็ ทต่ี ้องการของชุมชน ประเทศชาติ และสามารถน�ำผลไปสกู่ ารจดสทิ ธบิ ัตรหรอื สรา้ งราย ได้ให้กบั หนว่ ยงาน yy สนบั สนนุ และส่งเสรมิ ให้นักวทิ ยาศาสตร์มีงานวิจัยท่บี ูรณาการองคค์ วามรขู้ องแตล่ ะด้านเข้าด้วยกนั yy สรา้ งเครอื ขา่ ยความรว่ มมอื กบั องคก์ ารปกครองทอ้ งถน่ิ และชมุ ชน ใหเ้ ขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการตงั้ โจทยว์ จิ ยั และ/ หรอื มีส่วนสนบั สนนุ งบประมาณในการวิจยั ที่เปน็ ท่ีต้องการของท้องถิ่น yy มงี านวิจัยท่ีบูรณาการเขา้ กับการบรกิ ารวชิ าการและสนับสนนุ การเรียนการสอนดา้ นวทิ ยาศาสตรท์ างทะเล กลยทุ ธที่ 5 : สรา้ งเครอื ขา่ ยทางการวจิ ยั ดา้ นวทิ ยาศาสตรท์ างทะเลกบั หนว่ ยงานตา่ งๆ ทง้ั ภายในและภายนอก ประเทศ เพอ่ื การแลกเปลีย่ นความรแู้ ละพัฒนาการวจิ ยั ของสถาบันฯ แนวทางในการด�ำเนินงาน : yy สนบั สนนุ กลุ่มวจิ ยั ทีเ่ ข้มแข็งและมีผลงานที่โดดเด่น สามารถได้เปรียบในเชงิ การแขง่ ขนั ใหพ้ ัฒนางานวจิ ัยอยา่ ง ต่อเนื่อง และมีแผนในการผลักดันให้กลายเป็นหน่วยวิจัยท่ีเป็นเลิศเฉพาะทางโดยเร็วและด�ำรงสถานภาพของ ความเปน็ เลศิ ได้อยา่ งย่งั ยืน เชน่ ประสานงานกับมหาวิทยาลัยในการวางแผนพฒั นาศูนย์วิจยั ความเป็นเลิศดา้ น สง่ิ มชี วี ิตสวยงามนำ�้ เค็ม (Marine Ornamentals Research Center) เป็นตน้ yy มีการสร้างเครือข่ายกับหน่วยงานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ทางทะเลท้ังในและต่างประเทศ เพ่ือสร้างให้มีการแลก เปลย่ี นความรู้ และน�ำมาใช้ในการพฒั นาและปรบั ปรงุ งานวจิ ัยของสถาบนั ฯ อย่างตอ่ เนือ่ ง

Annual Report 2014 Institute of Marine Science, Burapha University 7 ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ี่ 2: พฒั นากระบวนการการบรกิ ารวิชาการทางด้านวิทยาศาสตร์ทางทะเล ใหม้ ีประสิทธภิ าพอย่างมอื อาชพี และสรา้ งรายได้จากการใหบ้ รกิ ารด้านตา่ งๆ บรกิ ารวชิ าการแกส่ งั คมนน้ั เปน็ พนั ธกจิ หลกั ดา้ นหนงึ่ ของสถาบนั ฯ ซงึ่ มนี โยบายและเปา้ หมายในการนำ� องคค์ วาม รู้ต่างๆ ด้านวิทยาศาสตร์ทางทะเลของสถาบันฯ มาบูรณาการสู่กิจกรรมการบริการวิชาการแก่สังคม เพ่ือให้สังคมได้รับ ความรแู้ ละความเขา้ ใจเกยี่ วกบั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเลอยา่ งถกู ตอ้ ง ซงึ่ สอดคลอ้ งกบั วสิ ยั ทศั นข์ องมหาวทิ ยาลยั ในสว่ นของ การสรา้ งปญั ญาใหแ้ ผน่ ดนิ เพอ่ื นำ� พาสงั คมไทยสสู่ งั คมอดุ มปญั ญา เชน่ มกี ารพฒั นาสถานเลยี้ งสตั วน์ ำ้� เคม็ และพพิ ธิ ภณั ฑ์ วทิ ยาศาสตรท์ างทะเลอยา่ งตอ่ เนอื่ งเพอื่ ใหเ้ ปน็ แหลง่ เรยี นรตู้ ลอดชวี ติ ทด่ี ที สี่ ดุ ของประเทศสำ� หรบั เยาวชนและบคุ คลทวั่ ไป เปน็ ผนู้ ำ� ทางความคดิ และการปฏบิ ตั โิ ดยเฉพาะดา้ นการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตทิ างทะเลอยา่ งถกู ตอ้ งตามหลกั วชิ าการ ที่ดีของในประเทศ เป็นแหล่งรวมความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ทางทะเลเพ่ือเป็นแหล่งอ้างอิงทางวิชาการและให้บริการ วิชาการในเชงิ รุก โดยมรี ูปแบบทีห่ ลากหลาย ทันสมยั บคุ คลทวั่ ไปสามารถเขา้ ถงึ ไดง้ ่าย สะดวกและมมี าตรฐาน และเปน็ แหล่งถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมและสนับสนุนการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ โดยให้บริการในรูปแบบประโยชน์ สาธารณะหรือมีค่าบริการและเป็นท่ีพึ่งของชุมชน รวมทั้งการน�ำองค์ความรู้เหล่านั้นมาสร้างรายได้ให้แก่องค์กร เช่น การสร้างผลิตภัณฑ์จากงานวิจัย การให้ บริการท�ำวิจัยให้แก่หน่วยต่างๆ ภายนอก การจัดท�ำโครงการฝึกอบรม/ค่ายวิทยาศาสตร์ทางทะเลหรือโครงการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ มใหแ้ ก่หนว่ ยงานต่างๆ ภายนอก การให้คำ� ปรึกษาทางวชิ าการ เปน็ ตน้ เพ่ือใหก้ ารดำ� เนินงานบรรลเุ ป้าหมายจงึ ได้วางเป้าประสงคแ์ ละกลยทุ ธประกอบดงั ต่อไปนี้ เปา้ ประสงคท์ ี่ 3:สรา้ งระบบการบรกิ ารวชิ าการทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ เพอื่ เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการใหบ้ รกิ ารวชิ าการที่ สอบสนองความตอ้ งการของชมุ ชน สังคม และประเทศชาติ กลยทุ ธที่ 6:พฒั นาและปรบั ปรงุ ระบบการบรกิ ารวชิ าการใหค้ รบวงจรคณุ ภาพ เพอ่ื เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการให้ บรกิ ารวชิ าการอยา่ งมืออาชีพ แนวทางในการดำ� เนนิ งาน : yy ก�ำหนดเปา้ หมายในการใหบ้ รกิ ารวิชาการทสี่ อดคลอ้ งกับพันธกจิ วสิ ัยทศั น์ และเปา้ หมายของสถาบนั ฯ yy มีการประเมินผลการด�ำเนินงานด้านบริการวิชาการ ประสิทธิภาพของบุคลากรทางการวิจัย โครงสร้าง หน้าท่ี เพื่อปรบั ปรุงให้เหมาะสมกบั ปริมาณงาน ความรู้และความสามารถ yy มกี ารวเิ คราะห์หาสาเหตุ ปัญหา แนวทางในการแกไ้ ข และแนวทางในการส่งเสรมิ ให้ดยี ่งิ ขึ้นเปน็ ระยะ yy น�ำผลการวเิ คราะหม์ าใช้เปน็ เป้าหมายในการพฒั นาและปรบั ปรุง yy การวางแผนและกระบวนการพฒั นาและปรับปรุง yy มกี ารตดิ ตามผล ประเมินผล และทบทวนกระบวนการการให้บรกิ ารวิชาการ เป้าประสงค์ที่ 4:เป็นแหล่งรวบรวมความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ทางทะเล ท่ีน�ำไปสู่การบริการวิชาการในรูปแบบ ตา่ งๆ และมีชอ่ งทางทีห่ ลากหลาย กลยทุ ธที่ 6:พฒั นาและปรบั ปรงุ สถานแสดงพนั ธส์ุ ตั วน์ ำ�้ เคม็ และพพิ ธิ ภณั ฑว์ ทิ ยาศาสตรท์ างทะเลใหเ้ ปน็ แหลง่ เรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ทางทะเลท่ีไดม้ าตรฐาน และเป็นแหลง่ ท่องเท่ียวนนั ทนาการเพอื่ การเรียนรู้ แนวทางในการด�ำเนินงาน : สร้างกระบวนการบริหารจัดการสถานเล้ียงสัตว์น�้ำเค็มและพิพิธภัณฑ์ทางด้านวิทยาศาสตร์ทางทะเล โดยน�ำผล

8 รายงานประจ�ำ ปี 2557 สถาบันวิทยาศาสตรท์ างทะเล มหาวทิ ยาลัยบรู พา งานจากการวิจัยมาผนวกกับแนวคิดการจัดแสดงแล้วน�ำเสนอให้กับผู้เข้าชม เพื่อสร้างความตระหนักและแนวร่วมในการ อนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติทางทะเล เชน่ การเปล่ียนวิธีการจดั แสดงในสถานเลีย้ งสตั วน์ ำ�้ เคม็ yy สร้างมาตรฐานคณุ ภาพในการบรหิ ารจดั การสถานแสดงพันธุส์ ตั ว์น�ำ้ เค็ม เพอื่ เป็นผนู้ ำ� ในการสง่ เสรมิ ให้มกี ารใช้ เปน็ แนวทางในการบริหารจดั การ yy สถานแสดงพนั ธ์ุสตั วน์ �้ำในประเทศไทย “Best Practice for Public Aquarium” yy วางแผนในการพฒั นาสถานเลยี้ งสตั วน์ ำ้� เคม็ และพพิ ธิ ภณั ฑใ์ หม้ รี ปู แบบการจดั แสดงทท่ี นั สมยั ขอ้ มลู เปน็ ปจั จบุ นั และสอดคล้องกับเหตุการณ์เปลย่ี นแปลงอย่างรวดเรว็ ของโลก yy มีการน�ำเอาผลงานวิจัยเขา้ ไปมสี ่วนรว่ มในการให้ความรแู้ ละจดั แสดงมากข้ึน yy มีการประชาสมั พนั ธ์ในเชงิ รกุ เพ่ือชกั ชวนให้นกั เรยี น นักศึกษา ประชาชน และผ้สู นใจ เกดิ ความต่นื ตวั และเขา้ มาเย่ียมชมเพอ่ื ศกึ ษา หาความรูม้ ากข้ึน กลยุทธท่ี 7:บูรณาการองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ทางทะเลของสถาบันฯ มาใช้ในการให้บริการวิชาการที่ตอบ สนองตอ่ ความตอ้ งการของสังคมในรูปแบบตา่ งๆ แนวทางในการด�ำเนินงาน : yy มกี ารจดั ทำ� ฐานขอ้ มลู ความรใู้ นดา้ นตา่ งๆทเ่ี กย่ี วขอ้ งทางดา้ นวทิ ยาศาสตรท์ างทะเลครอบคลมุ ภารกจิ ของสถาบนั ฯ เพ่อื นำ� ไปสกู่ ารบรู ณาการองค์ความรใู้ นการใหบ้ ริการทางวิชาการทค่ี รอบคลมุ ภารกิจของสถาบนั ฯ yy มกี ารจดั ทำ� และพฒั นารปู แบบการใหบ้ รกิ ารทห่ี ลากหลาย เชน่ โครงการอบรม/สมั มนาตา่ งๆ การเผยแพรค่ วามรู้ ดา้ นวทิ ยาศาสตรท์ างทะเลในรปู แบบของซดี ี เอกสาร แผน่ ปลวิ ขอ้ มลู บนเวบ็ ไซตห์ นว่ ยงาน กระดานขา่ ว เปน็ ตน้ yy มีการให้บริการทางวิชาการ เผยแพร่ ถ่ายทอดเทคโนโลยี และนวัตกรรมให้แก่บุคคลท่ัวไป ท้ังที่เป็นบริการ สาธารณะ และที่สามารถสรา้ งรายได้ให้กับหนว่ ยงาน yy มกี ารใหบ้ รกิ ารในรปู แบบที่ นกั เรยี น นสิ ติ นกั ศกึ ษา ประชาชนผสู้ นใจ สามารถทจี่ ะเขา้ มาหาความรแู้ ละสอบถาม ปัญหา ได้สะดวก ทง้ั ทมี่ าพบด้วยตนเองหรอื ทางโทรศัพท์ กระดานถาม-ตอบปญั หา facebook เปน็ ตน้ yy มกี ารใหบ้ รกิ ารวชิ าการเปน็ ไปในเชงิ รกุ โดยมปี ระชาสมั พนั ธ์ และมกี ารประเมนิ และสำ� รวจความตอ้ งการของผรู้ บั บริการและสามารถสนองตอบตอ่ ความตอ้ งการขอ้ มลู ได้อย่างมีประสิทธภิ าพ กลยุทธที่ 8:สร้างเครือข่ายความร่วมมือในการให้บริการวิชาการด้านวิทยาศาสตร์ทางทะเลกับหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกประเทศ เพือ่ แลกเปล่ียนความรู้ และน�ำมาใชใ้ นการพัฒนากจิ กรรมการบรกิ ารวชิ าการ แนวทางในการด�ำเนนิ งาน : yy มีการประสานงานกบั ในชมุ ชนในทอ้ งถ่ิน หน่วยงานต่างๆทั้งภายในและภายนอกประเทศ ทงั้ ภาครัฐและเอกชน เพือ่ สรา้ งเครอื ข่ายการให้บรกิ ารวชิ าการท่สี ามารถตอบสนองความตอ้ งการของสงั คมได้ yy ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3: พฒั นาระบบการบริหารจัดการใหม้ ีคณุ ภาพและประสทิ ธภิ าพ yy มีกระบวนการบริหารจัดการท่ีมีประสิทธิภาพ คล่องตัว โปร่งใสและเป็นธรรม มีแผนการด�ำเนินงานที่ชัดเจน และยดื หยนุ่ พรอ้ มรบั การเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยแี ละและการเปลย่ี นแปลงท่ีเป็นประโยชนต์ อ่ องคก์ ร มีการ วางแผนและประเมินผลการใช้งบประมาณ ให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาบุคลากรและการประเมินในทุกระดับ โดยเน้นความส�ำคัญของผลการปฏิบัติงาน มีระบบส่ือสารภายในองค์กรที่มีประสิทธิภาพ เพ่ือส่ือสารและสร้าง ความเข้าใจระหวา่ งบคุ ลากร และบคุ ลากรกับผบู้ รหิ ารทุกระดบั

Annual Report 2014 Institute of Marine Science, Burapha University 9 เปา้ ประสงคท์ ่ี 5: สถาบนั ฯ มรี ะบบการบริหารจดั การในด้านต่างๆ ทเ่ี ขม้ แขง็ มีประสิทธภิ าพเอ้อื ต่อการพัฒนา สถาบนั ฯ ไปสอู่ งค์กรแห่งความเปน็ เลศิ ด้านวิทยาศาสตรท์ างทะเล และพึง่ ตนเองได้ กลยทุ ธที่ 9:มีระบบและกลไกในการการบรหิ ารจัดการองค์กรทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพ และ เพ่ือผลักดันการด�ำเนิน งานในดา้ นต่างบรรลุเปา้ หมายของสถาบันอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพและคณุ ภาพ แนวทางในการด�ำเนนิ งาน : yy มรี ะบบการตดิ ตามการดำ� เนนิ งานในดา้ นตา่ งๆ เพอื่ นำ� มาประเมนิ และวเิ คราะห์ ทบทวน และนำ� ผลไปใชใ้ นการ พฒั นาและปรบั ปรงุ การด�ำเนินงานอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง yy สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ใหม้ กี ารวจิ ยั สถาบนั ฯ เชน่ การวเิ คราะหอ์ ตั รากำ� ลงั ทส่ี อดคลอ้ งกบั ภารกจิ ขององคก์ ร เปน็ ตน้ yy นำ� ระบบการประกันคณุ ภาพทางการศึกษามาใชใ้ นการบริหารจดั การดา้ นต่างๆ ของสถาบันฯ yy สรา้ งระบบทเ่ี อื้อใหค้ นดี มีความสามารถ สามารถท�ำงานได้อย่างเตม็ ศักยภาพ และมเี กยี รติ yy สร้างระบบการทำ� งานทใ่ี ห้บุคลการของสถาบันฯ มุ่งสเู่ ปา้ หมายหลักเดยี วกนั กบั ของสถาบนั ฯ และมหาวิทยาลัย yy บุคลากรมีส่วนร่วมในการวางแผนงาน และมคี วามเข้าใจใน กฎ ระเบยี บ กติกา และวธิ ปี ฏบิ ัติอ่นื ๆ และมวี นิ ัย ในการปฏิบัตติ ามกฎ ระเบยี บ กติกา และวธิ ปี ฏบิ ัตติ ่างๆ กลยทุ ธที่ 10:มรี ะบบการบรหิ ารจดั การงบประมาณทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ และใชเ้ ปน็ เครอื่ งมอื ในการบรหิ ารจดั การ เพ่ือผลกั ดนั ให้บรรลเุ ป้าหมายของสถาบันไดอ้ ยา่ งรวดเร็วและมีประสิทธภิ าพ แนวทางในการด�ำเนนิ งาน : yy มกี ารจัดทำ� แผนการใช้งบประมาณทีส่ อดคลอ้ งกับยทุ ธศาสตรข์ ององค์กร yy มกี ารจดั สรรงบประมาณตามผลสมั ฤทธข์ิ องงานและงานที่สอดคล้องกับเปา้ หมายของสถาบันฯ yy มีการประเมนิ ตดิ ตาม วิเคราะห์และรายงานผล การใชง้ บประมาณ เพ่อื นำ� มาใช้ในการทบทวนเพ่อื พฒั นาและ ปรับแผนการใชง้ บประมาณในการสง่ เสรมิ และผลักดันให้องคก์ รก้าวไปสู่เป้าหมายหลักของสถาบันฯ yy มีการหาแหลง่ ทุนนอกงบประมาณโดยใช้ทรพั ย์สินที่มอี ยใู่ ห้เกิดรายได้สงู สุด yy มีการหาช่องทางในการจัดหารายได้โดยเฉพาะจากงานวิจัยเชิงพาณิชย์และการบริการวิชาการท่ีเกิดขึ้นจากการ วิจัย เพ่อื การพ่งึ พาตนเอง กลยทุ ธที่ 11:พฒั นาและปรบั ปรงุ โครงสรา้ งพนื้ ฐาน และสว่ นประกอบตา่ งๆ ทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั และบรกิ ารวชิ าการ ให้เอื่อตอ่ การด�ำเนินงานตามพนั ธกจิ และยทุ ธศาสตร์ของสถาบันฯ เนอ่ื งจากโครงสรา้ ง เครอื่ งมอื และอปุ กรณต์ า่ งๆ ทใี่ ชใ้ นการวจิ ยั และบรกิ ารวชิ าการมอี ายกุ ารใชง้ านมานานถงึ เกอื บ 30 ปี อาคารวิจยั สถานเลีย้ งสตั วน์ ้ำ� เค็ม และพพิ ธิ ภณั ฑ์วิทยาศาสตร์ทางทะเล รวมทงั้ ส่วนตา่ งๆ ท่ีใชใ้ นงานอ�ำนวยการ มกี ารเสอ่ื มโทรมลงไป นอกจากนก้ี จิ กรรมตา่ งๆ ทงั้ ทางดา้ นการวจิ ยั และบรกิ ารวชิ าการกม็ กี ารพฒั นาและปรบั ปรงุ อยา่ ง ต่อเน่อื ง จงึ จำ� เปน็ ตอ้ งมกี ารจัดท�ำแผนการพัฒนาและปรบั ปรุงใหส้ อดคล้องกับยทุ ธศาสตร์และงบประมาณของสถาบันฯ แนวทางในการดำ� เนนิ งาน : yy มีการจัดท�ำแผนพัฒนาและปรับปรุงโครงสร้างต่างๆ ให้สอดคล้องกับงบประมาณของสถาบันฯ เช่น โครงการ สร้างอาคารวิจัยท่ีได้มาตรฐาน มีการวางแผนการพัฒนาและปรับปรุงสถานเลี้ยงสัตว์น้�ำเค็ม มีการวางแผนใน การบำ� รงุ รกั ษา ซอ่ มแซม หรอื ทดแทน อุปกรณ์และเครอื่ งมอื ในการใชง้ านตา่ งๆ เปน็ ต้น

10 รายงานประจำ�ปี 2557 สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวทิ ยาลัยบูรพา กลยทุ ธที่ 12;พฒั นาบรหิ ารจดั การทรพั ยากรใหเ้ กดิ ประโยชนอ์ ยา่ งคมุ้ คา่ และเออื้ ตอ่ การดำ� เนนิ งานของสถาบนั วทิ ยาศาสตร์ทางทะเล แนวทางในการดำ� เนนิ งาน : yy มกี ารวเิ คราะห์ ประเมนิ ตดิ ตาม และรายงานผลการใชท้ รพั ยากรตา่ งๆ ของสถาบนั ฯ เพอื่ นำ� มาใชใ้ นการพฒั นา แผนบริการจดั การทรัพยากรให้เกดิ ประโยชน์สงู สดุ yy มีการนำ� ระบบการประกันคณุ ภาพดา้ นต่างๆ มาใชใ้ นการบรหิ ารจดั การการใชท้ รัพยากร เช่น ระบบการประกัน คุณภาพดา้ นส่ิงแวดล้อม เปน็ ตน้ yy มีมาตรการในการประหยดั และอนรุ กั ษพ์ ลงั งานในด้านตา่ งๆ กลยุทธที่ 13:พัฒนาบุคลากรให้มีศักยภาพสูงและมีความพร้อมในการปฏิบัติงานและมีความพร้อมในการ ยอมรบั การเปล่ียนแปลงในดา้ นต่างๆ แนวทางในการด�ำเนนิ งาน : yy ส�ำรวจและจัดท�ำแผนพัฒนาบุคลากรของฝ่ายต่างๆ อย่างเป็นระบบ และสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาของ สถาบันฯและมหาวทิ ยาลยั yy สง่ เสรมิ ใหบ้ คุ ลากรมกี ารพฒั นาทง้ั ในดา้ นงานอาชพี และการศกึ ษา ตามศกั ยภาพและความตอ้ งการของสถาบนั ฯ yy ส่งเสรมิ ให้บคุ ลากรใหม้ ีความก้าวหน้าในสายงาน โดยยดึ หลกั ผลสัมฤทธ์ขิ องงาน yy มีการประเมิน วิเคราะห์ บุคลากรในแตล่ ะตำ� แหนง่ เพอื่ พฒั นาบุคลากรตามสายวิชาชีพใหม้ ศี กั ยภาพ และวาง เส้นทางเดนิ ของอาชีพ (career parts) ทชี่ ัดเจน yy มรี ะบบการตดิ ตามและประเมนิ ผลการพฒั นาบคุ ลากรทม่ี คี วามสมั พนั ธก์ บั ผลการปฏบิ ตั งิ าน ตำ� แหนง่ ประสบการณ์ อยา่ งความยตุ ธิ รรม โปร่งใส และตรวจสอบได้ กลยุทธท่ี 14:พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือเป็นเคร่ืองมือหน่ึงในการพัฒนาสถาบันฯ ไปสู่องค์กร แห่งการเรยี นรู้ แนวทางในการด�ำเนนิ งาน : yy จัดท�ำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ พร้อมข้อมูลท่ีทันสมัย เป็นปัจจุบันส�ำหรับใช้ในการบริหารจัดการด้านต่างๆ ของสถาบันฯ yy มีการติดตามและรายงานผลการด�ำเนินงาน เพ่ือใช้ในการประเมิน วิเคราะห์ และทบทวน และน�ำไปใช้ในการ พฒั นาและปรับปรงุ แผนการพัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างตอ่ เนอ่ื ง yy มกี ระบวนการจัดเก็บฐานขอ้ มูลทใ่ี ช้ในการบรหิ ารจดั การดา้ นตา่ งๆ อย่างเป็นระบบ yy มีกระบวนการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการส่อื สารภายในองคก์ รได้อย่างมีประสิทธภิ าพ yy มีกระบวนการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นส่ือในการจัดการความรู้ขององค์กร และเผยแพร่ความรู้ต่างๆ ขององค์กรสู่ภายนอก

Annual Report 2014 Institute of Marine Science, Burapha University 11 โครงสร้างการบรหิ าร สภามหาวทิ ยาลยั อธกิ ารบดี ผ้อู �ำนวยการ คณะกรรมการประจ�ำสถาบันฯ เลขานกุ ารสถาบันฯ คณะกรรมการบรหิ ารสถาบันฯ รองผอู้ �ำนวยการ รองผู้อ�ำนวยการ รองผอู้ �ำนวยการ คณะอนุกรรมการ คณะกรรมการ ผู้ชว่ ยผู้อ�ำนวยการ กองทนุ อ�ำนวยการ ศนู ยเ์ รยี นรูโ้ ลกใต้ สวสั ดิการสถาบนั ทะเล ผ้ชู ่วยผู้อ�ำนวยการ ผู้ชว่ ยผูอ้ �ำนวยการ หัวหนา้ ส�ำนกั งาน หวั หน้าฝา่ ยวิจยั หัวหนา้ ฝ่าย ผอู้ �ำนวยการ วิทยาศาสตร์ทางทะเล สถานเลีย้ งสตั วน์ ำ�้ เค็ม หวั หน้าสถานีวิจยั หัวหน้าฝา่ ย บรกิ ารวิชาการ หวั หนา้ ฝา่ ยพพิ ธิ ภณั ฑว์ ิทยาศาสตร์ทางทะเล

12 รายงานประจำ�ปี 2557 สถาบันวิทยาศาสตรท์ างทะเล มหาวทิ ยาลยั บูรพา โครงสรา้ งการแบง่ ส่วนงาน สถาบนั วทิ ยาศาสตร์ทางทะเล ส�ำ นกั งาน ฝา่ ย ฝา่ ยวจิ ยั ฝา่ ยพพิ ธิ ภณั ฑ์ ฝา่ ยสถานเลย้ี ง สถานวี จิ ยั กองทุนสวดั ิการ ศนู ย์เรียนรู้ ผอู้ �ำ นวยการ บรกิ ารวชิ าการ วทิ ยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สตั วน์ �ำ้ เคม็ สถาบันวทิ ยา- โลกใตท้ ะเล ศาสตร์ทางทะเล บางแสน ทางทะเล ทางทะเล งานบรหิ าร งานฝกึ อบรม งานวิจัยเพาะเล้ยี ง งานจัดสร้าง งานจดั การ สถานีวิจัย รา้ นอาหาร ฝา่ ยบริหาร งานทว่ั ไป ประชมุ สมั มนา และ สตั ว์และพชื ทะเล และบ�ำ รงุ พพิ ธิ สถานเล้ียงสตั ว์ ชะอ�ำ และเครอ่ื งดมื่ วทิ ยากร ภณั ฑฯ์ น้�ำ เค็ม งานแผนและประกนั งานสง่ เสรมิ งานวจิ ยั สง่ิ แวดลอ้ ม งานพพิ ิธภณั ฑ์ งานวิชาการ สถานวี จิ ัยสัตว์ ฝา่ ยวชิ าการ คณุ ภาพ การเรยี นรู้ ทางทะเล อา้ งอิงและ และนทิ รรศการ ทะเล งานคลงั และ ศนู ยข์ อ้ มลู ธรรมชาติวทิ ยา หายากและ ทรพั ยส์ นิ สารสนเทศ ใกล้สูญพนั ธุ์ วทิ ยาศาสตร์ งานการตลาด ทางทะเล งานวจิ ยั ความ งานนิทรรศการ ประชาสมั พนั ธแ์ ละ หลากหลาย สอ่ื สารองคก์ ร ทางชีวภาพ ทางทะเล งานวจิ ัยเทคโนโลยี งาน ทางชวี ภาพทาง ศิลปกรรม ทะเล

Annual Report 2014 Institute of Marine Science, Burapha University 13 คณะกรรมการประจำ� สถาบนั วิทยาศาสตร์ทางทะเล ผู้ช่วยศาสตราจารยว์ โิ รจน์ เรืองประเทืองสขุ รองอธกิ ารบดฝี ่ายบรหิ าร ประธานกรรมการ ดร.เสาวภา สวสั ดพ์ิ รี ะ ผู้อ�ำ นวยการสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล รองประธานกรรมการ กรรมการผ้ทู รงคุณวุฒิ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.พชิ าญ สวา่ งวงศ์ อาจารย์ ดร.พชิ ยั สนแจง้ นายณรงคช์ ยั คุณปล้มื พลเรือเอกค�ำ รณ นุชนารถ กรรมการจากหวั หนา้ ฝ่าย ดร .แววตา ทองระอา ดร.วรเทพ มุธวุ รรณ ดร.สพุ รรณี ลโี ทชวลติ ดร.อดสิ รณ์ มนต์วิเศษ นายภัทรพงศ์ ธนาพงศส์ มนกึ กรรมการและเลขานกุ าร

14 รายงานประจ�ำ ปี 2557 สถาบนั วทิ ยาศาสตร์ทางทะเล มหาวทิ ยาลัยบรู พา คณะกรรมการบรหิ ารสถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล ดร.เสาวภา สวสั ดิพ์ รี ะ ผู้อำ�นวยการ รักษาการหัวหนา้ ฝา่ ยบรกิ ารวิชาการและ หวั หน้างานวิจัยการเพาะเล้ยี งสัตวแ์ ละพืชทะเล นายภัทรพงศ์ ธนาพงศ์สมนึก ดร.วรเทพ มุธุวรรณ นางเออ้ื งนภา กำ�บุญเลศิ รองผู้อำ�นวยการและเลขานกุ าร รองผู้อ�ำ นวยการ ผูช้ ่วยผูอ้ ำ�นวยการ สถาบันวทิ ยาศาสตรท์ างทะเล และรกั ษาการหัวหนา้ สถานีวจิ ยั และหวั หนา้ งานคลงั และทรพั ยส์ นิ ดร.แววตา ทองระอา ดร.สพุ รรณี ลโี ทชวลิต ดร.อดิสรณ์ มนตว์ เิ ศษ หัวหนา้ ฝา่ ยวจิ ัยวิทยาศาสตรท์ างทะเล หัวหน้าฝา่ ยสถานเลี้ยงสตั วน์ ำ�้ เคม็ หัวหน้าฝา่ ยพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ทางทะเล นางสาวฉลวย มสุ ิกะ ดร.สเุ มตต์ ปุจฉาการ ดร.ชตุ ิวรรณ เดชสกลุ วฒั นา หวั หนา้ งานวิจยั ส่ิงแวดล้อมทางทะเล หวั หน้างานวจิ ัยความหลากหลายทางชีวภาพทางทะเล หัวหนา้ งานวิจยั เทคโนโลยีชวี ภาพทางทะเล นางวรรณา ศุภจิตกลุ ชัย นางสาวเบญจวรรณ ทับพร หวั หน้างานบริหารงานทว่ั ไป หวั หนา้ งานแผนและประกันคุณภาพ

Annual Report 2014 Institute of Marine Science, Burapha University 15 บุคลากรสถาบนั วิทยาศาสตรท์ างทะเล สถาบนั วิทยาศาสตร์ทางทะเล มีบคุ ลากรปฏบิ ตั ิงานในฝ่ายต่างๆ ในปีงบประมาณ พ.ศ 2557 รวมทั้งส้นิ 122 คน จ�ำแนกเปน็ ขา้ ราชการ จ�ำนวน 20 คน พนกั งานมหาวิทยาลัยซงึ่ จ้างด้วยเงนิ อดุ หนนุ รฐั บาล จำ� นวน 34 คน ลกู จา้ ง ประจำ� จำ� นวน 8 คน พนกั งานซงึ่ จา้ งดว้ ยเงนิ รายไดส้ ว่ นงาน จำ� นวน 33 คน และลกู จา้ งมหาวิทยาลัยซ่งึ จา้ งด้วยเงนิ ราย ไดส้ ่วนงาน 27 คน ดังรายละเอยี ดในตารางท่ี 1 ตารางท่ี 1 จ�ำนวนบคุ ลากรจำ� แนกประเภทตามฝ่ายตา่ ง ๆ ฝ่าย ขา้ ราชการ พนักงาน ลกู จา้ ง พนักงาน ลกู จา้ ง มหาวทิ ยาลัยเงิน ประจ�ำ มหาวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัย รวม อุดหนนุ รัฐบาล เงินรายได้ เงินรายได้ 1. สำ�นักงานผูอ้ ำ�นวยการ 4 12 3 14 2 35 2 33 2.ฝา่ ยวิจัยวิทยาศาสตร์ทางทะเล 11 10 2 8 -6 -9 3.ฝ่ายพิพธิ ภัณฑ์วทิ ยาศาสตร์ทางทะเล 3 2 -1 -8 19 4. ฝ่ายบริการวิชาการ - 4 -5 21 21 27 121 5. ฝ่ายสถานเลยี้ งสตั ว์นำ้ �เคม็ 2 3 3- 6. สถานวี จิ ยั - 3 -5 7.รา้ นคา้ สถาบนั วิทยาศาสตรท์ างทะเล - - -- รวม 20 34 8 33 ตารางที่ 2 จำ� นวนบคุ ลากรจ�ำแนกตามวุฒิการศึกษา สงั กดั ฝ่าย จ�ำแนกตามวฒุ กิ ารศกึ ษา ปรญิ ญาเอก รวม ต่ำ� กวา่ ปรญิ ญาตรี ปริญญาตรี ปริญญาโท - 8 35 1. สำ�นกั งานผู้อำ�นวยการ 15 15 5 1 33 1 6 2. ฝ่ายวจิ ัยวิทยาศาสตร์ทางทะเล 7 7 11 1 9 1 8 3. ฝ่ายพพิ ธิ ภัณฑว์ ทิ ยาศาสตร์ทางทะเล - 32 - 9 12 21 4. ฝ่ายบริการวิชาการ 1 61 121 5. ฝ่ายสถานเลีย้ งสัตวน์ ้ำ�เคม็ 4 -3 6. สถานีวิจยั 3 41 7.ร้านคา้ สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล 18 3- รวม 49 38 23 ตารางที่ 3 จ�ำนวนบุคลากรจ�ำแนกตามตำ� แหนง่ ลำ�ดับที่ ต�ำ แหน่ง จ�ำ นวน (คน) 1 นกั วิทยาศาสตร์เชยี่ วชาญ 1 2 นักวิทยาศาสตรช์ ำ�นาญการพิเศษ 9 3 นักวิทยาศาสตร์ชำ�นาญการ 9 4 นักวิทยาศาสตรป์ ฏิบตั ิการ 1

16 รายงานประจำ�ปี 2557 สถาบนั วิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลยั บรู พา ลำ�ดับท่ี ตำ�แหน่ง จ�ำ นวน (คน) 1 5 สัตวแพทย์ 19 1 5 นักวิทยาศาสตร์ 2 6 นักวชิ าการเงินและบัญชีชำ�นาญการพิเศษ 1 7 นักวิชาการเงนิ และบญั ชีชำ�นาญการ 2 8 นักวชิ าการเงินและบัญชี 1 9 นกั วชิ าการพสั ดุ 1 10 นักวเิ คราะห์นโยบายและแผนชำ�นาญการพิเศษ 1 11 นักวชิ าการชา่ งศิลปช์ ำ�นาญการพิเศษ 4 12 นกั วชิ าการช่างศลิ ป์ 1 13 นักวชิ าการศึกษา 1 14 นักวิชาการโสตทัศนศกึ ษา 1 15 นักประชาสมั พันธช์ ำ�นาญการ 1 16 นกั ประชาสัมพนั ธ์ 1 17 เจ้าหน้าท่ีบรหิ ารงานทว่ั ไปชำ�นาญการพิเศษ 6 18 เจ้าหนา้ ทบี่ รหิ ารงานท่วั ไปชำ�นาญการ 1 19 เจา้ หนา้ ที่บรหิ ารงานท่ัวไป 6 20 นกั เอกสารสนเทศ 1 21 ผู้ปฏิบัติงานบริหาร 6 22 ผู้ปฏิบัตงิ านวทิ ยาศาสตร์ชำ�นาญงาน 2 23 ผปู้ ฏิบัติงานวิทยาศาสตร์ 2 24 ผู้ปฏิบตั ิงานช่าง 1 25 ลูกมือชา่ ง 3 26 ช่างศิลป์ 5 27 พนักงานขบั รถยนต์ 5 28 พนักงานเกบ็ บตั รเข้าชม 1 29 พนกั งานผลิตทดลอง 1 30 พนักงานรับโทรศัพท์ 2 31 พนักงานทวั่ ไป 32 คนงาน 3 2 ร้านค้าสถาบันวทิ ยาศาสตร์ทางทะเล 12 33 เจา้ หนา้ ที่บริหารงานทว่ั ไป 1 34 ผ้ปู ฏบิ ัตงิ านบรหิ าร 1 35 พนกั งานขาย 2 36 นักวทิ ยาศาสตร์ 121 37 ผูช้ ่วยนักวิทยาศาสตร์ 38 ผชู้ ่วยผู้ปฏิบัติงานบรหิ าร รวม

Annual Report 2014 Institute of Marine Science, Burapha University 17 การแบง่ สว่ นงาน สถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล มหาวทิ ยาลยั บรู พา ไดแ้ บง่ การดำ� เนนิ งานออกเปน็ 1 สำ� นกั งาน 4 ฝา่ ย 2 สถานวี จิ ยั และ 1 ศนู ย์ ไดแ้ ก่ สำ� นกั งานผอู้ ำ� นวยการ ฝา่ ยบรกิ ารวชิ าการ ฝา่ ยวจิ ยั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล ฝา่ ยสถานเลย้ี งสตั วน์ ำ้� เคม็ ฝ่ายพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ทางทะเล สถานีวิจัยปัจจุบันประกอบด้วย สถานีวิจัยชะอ�ำ สถานีวิจัยแสมสาร และกองทุน สวัสดกิ ารรา้ นคา้ สถาบนั วิทยาศาสตรท์ างทะเล นอกจากน้ียงั มีหนว่ ยงานในกำ� กบั ของสถาบันวทิ ยาศาสตรท์ างทะเล คอื ศนู ยเ์ รียนรโู้ ลกใต้ทะเล บางแสน โดยเป็นการบริหารจดั การร่วมกับหน่วยงานทอ้ งถน่ิ คือ จังหวัดชลบุรี องคก์ ารบริหาร สว่ นจังหวัดชลบุรีและเทศบาลเมืองแสนสุข โดยมรี ายละเอียดหนว่ ยงานต่างๆ ของสถาบันวทิ ยาศาสตร์ทางทะเลดงั นี้ 1. สำ� นักงานผู้อำ� นวยการ สำ� นกั งานผอู้ ำ� นวยการมหี นา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบในการประสานงานอำ� นวยการของสถาบนั ฯ สนบั สนนุ ภารกจิ ตา่ งๆ ของ สถาบัน ใหส้ ามารถด�ำเนินงานไปไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยมหี น่วยงานในความรบั ผิดชอบดังน้ี 1.1 งานบรหิ ารงานท่ัวไป รับผิดชอบในการควบคุม ดูแล บริหารจัดการ ประสานงานโดยท่ัวไป เพ่ือสนับสนุนภารกิจของฝ่ายต่างๆ ใน สถาบนั ฯ ใหด้ ำ� เนนิ ไปอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยมหี นว่ ยงานรับผดิ ชอบ คอื หนว่ ยสารบรรณ หน่วยบคุ คล หนว่ ยอาคาร สถานท่ีและยานพาหนะ 1.2 งานแผนและประกนั คุณภาพ รบั ผดิ ชอบในการจดั ทำ� แผนยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาสว่ นงาน ทงั้ ระยะสน้ั ระยะกลาง ระยะยาว แผนปฏบิ ตั งิ านประจำ� ปี การจดั ทำ� คำ� ของบประมาณประจำ� ปี การจดั เกบ็ วเิ คราะหแ์ ละประมวลผลขอ้ มลู พน้ื ฐานตา่ งๆ เพอื่ ใชเ้ ปน็ ฐานขอ้ มลู ใน การบรหิ ารงานของสถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล และรบั ผดิ ชอบในการดำ� เนนิ การระบบประกนั คณุ ภาพของสถาบนั ฯ โดย มหี นว่ ยงานที่รบั ผดิ ชอบ คือ หน่วยแผนและตดิ ตามประเมินผล หน่วยวเิ คราะห์งบประมาณ และหนว่ ยประกนั คณุ ภาพ 1.3 งานคลงั และทรัพยส์ นิ รับผิดชอบในการรับ-จ่ายเงินทุกประเภท จัดท�ำและตรวจสอบเอกสารหลักฐานในการรับเงินและการเบิกจ่ายเงิน การเกบ็ รกั ษาเงนิ และเอกสารทางการเงนิ ไว้ในทีป่ ลอดภยั การก�ำกบั ควบคมุ และตดิ ตามผลการใช้จา่ ยเงินของฝา่ ยต่างๆ ให้เป็นไปตามแผน และถูกต้องตามหลักเกณฑ์และระเบียบที่ก�ำหนด การลงบันทึกรายการทางบัญชี การจัดท�ำรายงาน ทางการเงนิ และบัญชี รวมทงั้ เอกสารประกอบตา่ งๆ เพอ่ื น�ำเสนอตอ่ หน่วยงานทีเ่ กีย่ วขอ้ ง ตลอดจนการจดั ท�ำฐานข้อมูล ทางการเงินและบัญชีเพ่ือการใช้งานของผู้บริหารและบุคลากร และรับผิดชอบในการด�ำเนินการจัดซ้ือจัดหาพัสดุตาม ระเบยี บทีเ่ กยี่ วขอ้ ง การควบคมุ ตรวจสอบความถูกตอ้ งของพัสดุทไี่ ด้รับ จดั ท�ำทะเบียนพสั ดุ-ครุภัณฑ์ การดแู ลรกั ษาและ การจ�ำหน่ายพสั ดุ ครภุ ณั ฑ์ออกจากบญั ชี เป็นต้น โดยมีหน่วยงานทร่ี บั ผดิ ชอบ คอื หน่วยการเงิน หน่วยบัญชี หน่วยรบั เงินรายได้ และหน่วยพัสดุ 1.4 งานการตลาด ประชาสมั พนั ธแ์ ละสือ่ สารองค์กร มีหน้าที่รับผิดชอบในการรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูลทางการตลาดท่ีเกี่ยวข้องกับการดำ� เนินงานของ สถาบันวทิ ยาศาสตร์ทางทะเล จัดทำ� แผนการตลาดประจ�ำปใี นภาพรวมของสถาบนั ฯ การดแู ลกล่มุ ลูกค้าผูเ้ ขา้ ชมเดมิ เพ่ือ ก่อใหเ้ กดิ ความผกู พนั และกลบั มาเขา้ ชมสถาบนั ฯ อกี การสรา้ งสรรคก์ ิจกรรมใหมๆ่ เพื่อดึงดูดใหผ้ ูเ้ ขา้ ชมทเ่ี ป็นกลมุ่ เปา้ หมายใหมม่ าเข้าชมมากข้นึ ตลอดจนการสรา้ งความร่วมมอื ทางการตลาด กับแหล่งทอ่ งเที่ยวอน่ื และหนว่ ยงานด้านการ ท่องเทยี่ วตา่ งๆ เพ่อื สร้างความสมั พนั ธอ์ นั ดแี ละด�ำเนินกจิ กรรมทางการตลาดและสง่ เสรมิ การขายรว่ มกนั รวมทั้งรบั ผดิ ชอบในการเผยแพร่ข่าวสารประชาสัมพันธ์กิจกรรมของสถาบันฯ ทางสื่อต่างๆ เช่น ระบบอินเตอร์เนตทางเว็บไซต์ของ สถาบันฯ ทางระบบ LAN ภายในสถาบันฯ และการส่งขา่ วไปยังสอื่ มวลชนในรูปแบบของเอกสาร การใหก้ ารต้อนรบั และ ใหข้ อ้ มลู กบั สอื่ มวลชนตา่ งๆ ทม่ี าขอขอ้ มลู ของสถาบนั ฯ การตอ้ นรบั และประสานงานอำ� นวยความสะดวกแกผ่ เู้ ขา้ ชม เชน่ เรอ่ื งบตั รเขา้ ชม วทิ ยากรบรรยาย และระเบียบการเขา้ ชม เป็นตน้ ตลอดจนการใหบ้ ริการและอ�ำนวยความสะดวกแก่ผูม้ า รับบรกิ ารดา้ นอื่นๆ และการส่อื สารเพือ่ สร้างความเขา้ ใจอนั ดแี กบ่ คุ ลากรของสถาบนั ฯ

18 รายงานประจ�ำ ปี 2557 สถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล มหาวทิ ยาลยั บรู พา 2. ฝา่ ยบรกิ ารวชิ าการ ฝา่ ยบรกิ ารวชิ าการมภี าระหนา้ ทใี่ นดา้ นบรกิ ารวชิ าการและประสานงานกบั ฝา่ ยตา่ งๆ เพอ่ื ใหบ้ รกิ ารวชิ าการสสู่ งั คม จัดท�ำสื่อในรูปแบบต่างๆ เพ่ือเผยแพร่และให้บริการ รวมทั้งการจัดท�ำฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการด้าน ต่างๆ ของสถาบันฯ และการเผยแพร่องค์ความรู้ออกสู่ภายนอกผ่านทางเครือข่ายสารสนเทศ โดยมีการแบ่งการบริหาร งานภายในออกเป็น 3 งานดงั นี้ 2.1 งานฝกึ อบรม ประชมุ สมั มนา และวทิ ยากร ทำ� หนา้ ทใี่ นการจดั และประสานงานเพอื่ จดั ในการดำ� เนนิ งานดา้ น การฝกึ อบรม ประชมุ และสมั มนา เชน่ โครงการฝกึ อบรม โครงการคา่ ยเกยี่ วกบั ดา้ นวทิ ยาศาสตรท์ างทะเลและการอนรุ กั ษ์ การประชุมและสมั มนาด้านวทิ ยาศาสตร์ทางทะเล การฝกึ งานของนสิ ิต/นักศกึ ษาและการเปน็ วทิ ยากรประจำ� สถาบนั ฯ 2.2 งานส่งเสรมิ การเรียนรู้ รบั ผดิ ชอบในการด�ำเนินการในดา้ นการผลิตและประสานงานเพื่อผลิตสื่อในรูปแบบ ตา่ งๆ เพอ่ื เผยแพรผ่ ลงานและกจิ กรรมของสถาบนั การผลติ สอื่ เพอ่ื เผยแพร่ การใหบ้ รกิ ารความรทู้ างดา้ นวทิ ยาศาสตรท์ าง ทะเลสสู่ งั คมผา่ นทางสอ่ื อเิ ลค็ โทรนกิ สารสนเทศ รวมทงั้ การเปน็ หลกั ในการดำ� เนนิ กจิ กรรมสง่ เสรมิ การเรยี นรขู้ องสถาบนั ฯ 2.3 งานศูนย์ข้อมูลสารสนเทศวิทยาศาสตร์ทางทะเล รับผิดชอบในการด�ำเนินการด้านการจัดท�ำระบบเครือ ข่ายภายในสถาบันฯ เพ่ือใช้ในการบริหารจัดการของสถาบันฯ จัดท�ำฐานข้อมูลด้านการบริหารจัดการ การจัดการความ รู้ทางวิชาการ ประสานงานเพื่อด�ำเนินการเผยแพร่ผลงานกิจกรรมและการด�ำเนินงานของสถาบันฯ ความรู้ต่างๆด้าน วทิ ยาศาสตรท์ างทะเลผา่ นทางระบบเครอื ขา่ ยสารสนเทศสสู่ งั คม การดแู ล รกั ษา และใหบ้ รกิ ารเกยี่ วกบั การใชค้ อมพวิ เตอร์ และอปุ กรณ์เชอื่ มโยงภายในสถาบันฯ 3. ฝา่ ยวจิ ยั วิทยาศาสตร์ทางทะเล ฝา่ ยวจิ ยั วิทยาศาสตรท์ างทะเล มหี น้าท่รี บั ผิดชอบในการศกึ ษา ค้นควา้ วจิ ัยทางด้านวิทยาศาสตร์ทางทะเลและ สาขาท่เี กย่ี วข้อง นอกจากน้ียังมบี ทบาทสำ� คัญในเรือ่ งของงานบรกิ ารวิชาการแก่ชมุ ชนและสังคม ตลอดจนการใหบ้ รกิ าร เกยี่ วกบั งานวจิ ยั แกน่ สิ ติ นกั ศกึ ษา อาจารยแ์ ละขา้ ราชการในสถาบนั อน่ื ๆ อกี ดว้ ย ฝา่ ยวจิ ยั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล ไดแ้ บง่ การบรหิ ารงานออกเปน็ 4 งาน ดังน้ี 3.1 งานวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์และพืชทะเล รบั ผดิ ชอบในการศึกษา ค้นควา้ และวจิ ัย เพอ่ื พฒั นาเทคนิคการเพาะเลย้ี งส่ิงมชี ีวติ น�ำ้ เค็ม เพือ่ การอนุรักษ์ และ การเพาะเลยี้ งเชิงพาณิชย์ การศึกษาและวจิ ยั เพ่อื พัฒนา อาหารมีชีวิตและอาหารสำ� เร็จรปู ส�ำหรับใช้ในการเพาะเล้ียงสัตว์น้�ำ รวมท้ังการศึกษาและวิจัยด้านโรคและพยาธิของสัตว์น้�ำเค็ม นอกจากนี้ยังมี ภาระหน้าท่ีในการถ่ายทอดเทคโนโลยีท่ีได้จากงานวิจัยให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม โดยเป้าหมายหลักของการพัฒนางาน วจิ ัยคอื การพัฒนาเทคโนโลยกี ารเพาะเลีย้ งส่งิ มชี ีวติ สวยงามน�้ำเค็มซ่ึงส่วนใหญเ่ ป็นสิ่งมีชวี ิต ทอ่ี าศยั อยู่ในแนวปะการงั 3.2 งานวิจยั ส่ิงแวดลอ้ มทางทะเล รบั ผดิ ชอบในการศกึ ษา คน้ ควา้ และวจิ ยั เกยี่ วกบั การเปลยี่ นแปลงคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ มทางทะเล โดยเฉพาะใน บรเิ วณชายฝ่งั ภาคตะวันออก โดยมีขอบเขตความรับผดิ ชอบในการตดิ ตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมทงั้ ทางกายภาพ เคมี และชีวภาพ ในน�้ำทะเล ดนิ ตะกอน และส่งิ มชี วี ติ ตลอดจนศกึ ษาปญั หามลพษิ ทางทะเล การศึกษาผลกระทบของ สารมลพษิ ต่อสิง่ มีชวี ติ ในทะเลและการประเมนิ ผลกระทบ รวมท้งั การแจ้งเตือนความเสื่อมโทรมของคุณภาพส่งิ แวดลอ้ ม การฟน้ื ฟคู ณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ มทางทะเลเพอื่ การดำ� รงชวี ติ ทดี่ ขี องสง่ิ มชี วี ติ ในทะเล และการใหบ้ รกิ ารตรวจสอบคณุ ภาพสงิ่ แวดล้อมทางทะเล 3.3 งานวิจัยความหลากหลายทางชวี ภาพทางทะเล รับผิดชอบในการศึกษา ค้นคว้า และวิจัยเก่ียวกับนิเวศวิทยาของสิ่งมีชีวิตในทะเล การจัดจ�ำแนกชนิดและศึกษา ชวี วิทยาของส่ิงมีชวี ติ ท้งั พชื และสัตว์ในทะเล การศึกษาความสัมพนั ธ์ด้านนิเวศวทิ ยาทางเศรษฐกจิ และการเฝ้าระวงั และ ติดตามสถานการณ์ของสิ่งมีชีวิตในทะเล โดยมีเป้าหมายหลัก เพ่ือเป็นศูนย์ของความหลากหลายทางชีวภาพทางทะเล

Annual Report 2014 Institute of Marine Science, Burapha University 19 (Marine Biodiversity Center) ของภาคตะวันออก การแพรก่ ระจาย และทำ� การคัดแยกจลุ ินทรยี ์ โดยเฉพาะแบคทเี รยี จากน�้ำทะเลชายฝั่ง ตลอดจนที่อาศัยอยกู่ ับสตั วแ์ ละพชื ทะเล 3.4 งานวิจยั เทคโนโลยีชีวภาพทางทะเล รับผดิ ชอบในการศกึ ษา คน้ คว้า และวิจัยเพือ่ ตรวจหาและพัฒนาผลติ ภณั ฑธ์ รรมชาติจากสิ่งมีชวี ติ ในทะเล ได้แก่ จุลนิ ทรยี ์ พืช และสตั ว์ ซึ่งจะนำ� ไปใชป้ ระโยชนใ์ นด้านอาหาร ยารักษาโรคและส่ิงแวดล้อม 4. ฝ่ายสถานเล้ยี งสัตว์นำ�้ เคม็ ฝ่ายสถานเลยี้ งสัตวน์ ้�ำเค็ม มีภารกจิ หลกั คือ การจดั แสดงพันธุ์สตั ว์นำ�้ และส่งิ มีชวี ติ ต่างๆ ในทะเลเพือ่ เปน็ แหล่ง เรียนรู้ส�ำหรับนักเรียน นิสิต นักศึกษาและประชาชนทั่วไป ให้เข้าใจถึงสภาพความเป็นอยู่ตลอดจนชนิดของพืชและสัตว์ ท่ียังมีชีวิตโดยส่ิงมีชีวิตเหล่าน้ีจะถูกเล้ียงในระบบน�้ำหมุนเวียนแบบปิดและมีระบบยังชีพส�ำหรับส่ิงมีชีวิตต่างๆ เหล่าน้ี สามารถด�ำรงชีวิตอยู่ได้ ในแต่ละตู้จะมีสภาพใกล้เคียงกับธรรมชาติมากท่ีสุด สถานเล้ียงสัตว์น้�ำเค็มได้จัดตู้แสดงสิ่งมี ชีวิต ต่างๆ คอื สตั ว์ทีอ่ าศัยอยู่ในเขตน้�ำขนึ้ น้ำ� ลง ปลาในแนวปะการัง การอยู่ร่วมกันของส่งิ มชี ีวติ ในทะเล สัตว์มีกระดกู สันหลัง ปลาเศรษฐกิจปลารูปร่างแปลก และปลาท่ีอาศัยอยู่ในมหาสมุทร สถานเล้ียงสัตว์น้�ำเค็มได้แบ่งการบริหารงาน ออกเป็น 2 งาน ดงั นี้ 4.1 งานจดั การสถานเลย้ี งสตั วน์ ำ้� เคม็ รบั ผดิ ชอบดแู ล การดำ� เนนิ งานในดา้ นการจดั แสดง ของสถานสตั วเ์ ลย้ี งนำ้� เคม็ 4.2 งานวชิ าการและนทิ รรศการ รบั ผิดชอบดูแล จัดทำ� ข้อมลู ด้านวิชาการตา่ งๆ ของสถานสตั วเ์ ลีย้ งน�้ำเคม็ 5. ฝา่ ยพพิ ิธภณั ฑว์ ทิ ยาศาสตร์ทางทะเล ฝา่ ยพพิ ธิ ภณั ฑว์ ทิ ยาศาสตรท์ างทะเล มหี นา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบในการจดั แสดงเพอื่ เผยแพรค่ วามรดู้ า้ นวทิ ยาศาสตร์ ทางทะเลสสู่ าธารณชน โดยการจดั แสดงจะอยใู่ นสว่ นของพพิ ธิ ภณั ฑว์ ทิ ยาศาสตรท์ างทะเลบรเิ วณชนั้ สองของอาคารสถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเลในรปู แบบของพพิ ธิ ภณั ฑค์ วามรแู้ ละตวั อยา่ งสงิ่ มชี วี ติ ในทะเล รวมทง้ั การไปจดั แสดงนทิ รรศการนอก สถานที่ ใหก้ บั หนว่ ยงานทตี่ ดิ ตอ่ มาในรปู แบบของการจดั แสดงเนน้ ใหผ้ ชู้ มเขา้ ใจงา่ ย อกี ทง้ั การพฒั นาเทคโนโลยที างดา้ นสอ่ื มาชว่ ยปรบั ปรงุ การจดั แสดงอยา่ งตอ่ เนอื่ ง การดำ� เนนิ งานไดร้ บั การสนบั สนนุ กจิ กรรมจากหนว่ ยงานความหลากหลายทาง ขวี ภาพฝ่ายวิจัยวทิ ยาศาสตร์ทางทะเล ฝา่ ยพพิ ธิ ภัณฑ์วิทยาศาสตร์ทางทะเล มกี ารแบง่ การบริหารออกเปน็ 4 งาน ดังน้ี 5.1 งานจัดสรา้ งและบ�ำรุงพิพธิ ภัณฑ์วทิ ยาศาสตร์ทางทะเล รับผิดชอบในสว่ นของพพิ ิธภัณฑว์ ิทยาศาสตรท์ าง ทะเล เชน่ หาข้อมลู หาตวั อยา่ งตกแตง่ และบำ� รงุ รักษาตวั อยา่ งและส่วนตา่ งๆ ของพพิ ธิ ภณั ฑ์ ตลอดจนการค้นควา้ หาวิธี การหรอื เทคนคิ ใหม่ๆ มาปรบั ปรุงการจัดแสดงในพพิ ธิ ภณั ฑว์ ทิ ยาศาสตร์ทางทะเล 5.2 งานพิพิธภัณฑ์อ้างอิงและธรรมชาติวิทยา มีหน้าท่ีรับผิดชอบร่วมกับงานวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพ ทางทะเลในการรวบรวมตัวอย่างส่ิงมีชีวิตทางทะเล และน�ำไปจัดท�ำเป็นฐานข้อมูลทรัพยากรสิ่งมีชีวิตทางทะเลให้เป็น หมวดหมู่ เพื่อใช้ในการอา้ งองิ ดา้ นอนุกรมวธิ านและการน�ำไปจดั แสดงในพพิ ิธภณั ฑ์ฯ หรอื นทิ รรศการของสถาบนั ฯ ดแู ล รักษาและจดั เกบ็ ตวั อย่าง ออกสำ� รวจและเกบ็ ตวั อย่าง และให้บรกิ ารขอ้ มูลทางวชิ าการดา้ นทรพั ยากรสิง่ มชี ีวิตทางทะเล 5.3 งานนทิ รรศการ มหี นา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบในการจดั ทำ� และจดั แสดงนทิ รรศการเกย่ี วกบั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล ในรปู แบบตา่ งๆ เชน่ นิทรรศการถาวร และนทิ รรศการชว่ั คราวในพิพธิ ภณั ฑว์ ทิ ยาศาสตร์ทางทะเลของสถาบนั ฯ ตลอดจนการ จดั นิทรรศการนอกสถานท่ี เพอ่ื เผยแพร่ความรู้แกป่ ระชาชนทว่ั ไป 5.4. งานศลิ ปกรรม มหี นา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบในงานศลิ ปะตา่ งๆ ในการจดั แสดงในสว่ นพพิ ธิ ภณั ฑว์ ทิ ยาศาสตรท์ างทะเล เชน่ สตฟั๊ ฟส์ ตั ว์ ทำ� ตวั อยา่ งเทยี มหรอื โมเดล การออกแบบการจดั แสดง การวาดภาพสง่ิ มชี วี ติ เพอ่ื ประกอบกจิ กรรมในงาน พพิ ธิ ภณั ฑอ์ า้ งองิ งานซอ่ มบำ� รงุ รกั ษาตวั อยา่ งทใี่ ชใ้ นการจดั แสดงตา่ งๆ และ งานกราฟฟกิ คอมพวิ เตอร์ เปน็ ตน้ นอกจาก นี้ยังมีภาระหน้าที่ในงานด้านศิลปะต่างๆ ของสถาบันฯ หรือหน่วยงาน ที่ขอความร่วมมือ เช่น การออกแบบโปสเตอร์ ประชาสัมพนั ธ์ งานเขยี นแบบตัวอาคาร การวาดภาพในงานวจิ ยั ตกแตง่ สว่ นตา่ งๆ ของสถาบนั ฯ เป็นต้น

20 รายงานประจำ�ปี 2557 สถาบนั วิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวทิ ยาลยั บูรพา 6. สถานวี จิ ัย สถานีวิจัยเป็นหน่วยงานเทียบเท่าระดับฝ่ายของสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเลมีหน้าที่ความรับผิดชอบในการส่ง เสรมิ ศกั ยภาพการดำ� เนนิ งานของสถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล ในดา้ นการวจิ ยั และการใหบ้ รกิ ารวชิ าการในพนื้ ทตี่ ง้ั และ บริเวณใกล้เคยี งสถานวี ิจัย สถานวี ิจัยของสถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล มี 2 แห่ง คือ 6.1 สถานวี ิจัยชะอ�ำ ตัง้ อยู่ที่บา้ นบ่อใหญ่ ต�ำบลบางเก่า อำ� เภอชะอ�ำ จังหวัดเพชรบรุ ี 6.2 สถานวี จิ ยั การเพาะขยายพนั ธส์ุ ตั วท์ ะเลหายากและใกลส้ ญู พนั ธ์ุ กองทพั เรอื รว่ มกบั มหาวทิ ยาลยั บรู พา ตง้ั อยู่ในเขตพ้ืนท่ีกรมกอ่ สร้างและพฒั นาฐานทัพเรือสตั หีบ ต�ำบลแสมสาร อ�ำเภอสตั หบี จงั หวดั ชลบุรี สถานวี จิ ยั แตล่ ะแหง่ มหี นา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบการดำ� เนนิ งานวจิ ยั และบรกิ ารวชิ าการแกช่ มุ ชนทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์ ทางทะเล เชน่ การสนบั สนนุ การเพาะเลย้ี งสตั วน์ ำ�้ ชายฝง่ั ในพน้ื ทตี่ งั้ และจงั หวดั ใกลเ้ คยี ง นอกจากนยี้ งั ใชเ้ ปน็ สถานทฝ่ี กึ งาน ฝึกอบรมของนสิ ิต นกั ศึกษาและประชาชนทวั่ ไป สถานวี จิ ัยทั้งสองแห่งมีการแบง่ การบรหิ ารงานออกเป็น 3 งาน ดงั น้ี 1. งานบริหารสถานี ผู้ปฏิบัติงานบริหารของสถานีวิจัย จะท�ำหน้าท่ีด�ำเนินการและประสานงานกับงานต่างๆ ของสำ� นักงานผู้อำ� นวยการและฝ่ายต่างๆ ที่เก่ียวขอ้ ง เพ่อื การด�ำเนนิ งานในดา้ นตา่ งๆ ของสถานีวิจยั เช่น เรอ่ื งบุคลากร อาคารสถานทีแ่ ละยานพาหนะ การเงินและพสั ดุ เปน็ ต้น 2.งานวจิ ยั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล รบั ผดิ ชอบการดำ� เนนิ งานในดา้ นการวจิ ยั ในสาขาตา่ งๆ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั วทิ ยาศาสตร์ ทางทะเล สนับสนนุ การด�ำเนินงานวจิ ัยของสถาบันวิทยาศาสตรท์ างทะเล การดูแลห้องปฏิบัตกิ ารวิจัยและเครอื่ งมอื วิจัย รวมทง้ั งานพนื้ ฐานท่เี ก่ียวข้องกับการสนับสนนุ การวิจัย 3. งานบรกิ ารวชิ าการ รบั ผดิ ชอบในการใหบ้ รกิ ารวชิ าการแกป่ ระชาชนทวั่ ไป นกั เรยี น นสิ ติ นกั ศกึ ษา ครู อาจารย์ และนักวจิ ยั ในรูปแบบตา่ งๆ เชน่ การใหค้ ำ� ปรึกษา การใหบ้ ริการด้านการวเิ คราะห์ตัวอยา่ ง การใหบ้ รกิ ารอาหารสตั วน์ �ำ้ วัยอ่อน การใหบ้ ริการดา้ นการฝกึ อบรม ดูงาน ฝึกปฏิบตั งิ าน เปน็ ต้น 7. รา้ นค้าสถาบนั วิทยาศาสตร์ทางทะเล กองทนุ สวสั ดกิ ารสถาบนั วิทยาศาสตร์ทางทะเล สถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล มหาวทิ ยาลยั บรู พา นอกจากมภี ารกจิ หลกั ในการคน้ ควา้ วจิ ยั และใหบ้ รกิ ารเพอื่ เผย แพร่ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ทางทะเลแล้ว สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเลยังมีสถานเลี้ยงสัตว์น�้ำเค็มและพิพิธภัณฑ์ วิทยาศาสตร์ทางทะเลที่จัดเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีช่ือเสียงของจังหวัดชลบุรีและประเทศไทย ซึ่งได้รับการยอมรับทั้งใน ระดับชาติและนานาชาติ ตลอดระยะเวลา 30 ปี ทเ่ี ปิดให้มีการเข้าชมสถานเลยี้ งสัตวน์ �ำ้ เคม็ และพพิ ิธภัณฑว์ ทิ ยาศาสตร์ ทางทะเล มีจ�ำนวนผู้เข้าชมที่เป็นนักเรียน นิสิต นักศึกษาและประชาชนท่ัวไปมากกว่า 20 ล้านคน ในแต่ละปีสถาบัน วิทยาศาสตร์ทางทะเลได้รับงบประมาณเพื่อสนับสนุนการด�ำเนินงานจากเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และรายได้จากการ จ�ำหนา่ ยบัตรเข้าชม แต่งบประมาณทีไ่ ดร้ ับไมเ่ พียงพอตอ่ การพฒั นาและปรบั ปรงุ แหลง่ เรยี นรู้ ดังนน้ั เพอ่ื เปน็ การสง่ เสรมิ ให้สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเลเป็นแหล่งเรียนรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ทางทะเลส�ำหรับเยาวชนและประชาชนท่ัวไปท่ีมี ความพร้อมดา้ นงบประมาณในการพัฒนาบุคลากรอย่างเพยี งพอ และเพ่อื เปน็ การให้บรกิ ารต่อเนอ่ื งแก่บุคลากรผู้ปฏบิ ตั ิ งานในมหาวิทยาลัยบูรพาและผู้มาเข้าชมในด้านอาหารเครื่องดื่ม หนังสือ ส่ือการศึกษา และของท่ีระลึก จึงจัดให้มีเงิน ทนุ หมนุ เวยี นโครงการรา้ นคา้ สถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเลขน้ึ ตอ่ มาในปงี บประมาณ 2556 ไดม้ กี ารปรบั เงนิ ทนุ หมนุ เวยี น โครงการร้านค้าสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเลให้เข้าไปอยู่ในกองทุนสวัสดิการสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล เป็นร้านค้า สถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล กองทนุ สวสั ดกิ ารสถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล โดยโอนกจิ การเงนิ ทนุ หมนุ เวยี น โครงการ ร้านค้าสถาบันวิทยาศาสตรท์ างทะเล ตามรายงานทางการเงนิ ณ วนั ที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 มาเป็นทุนเรม่ิ ตน้ ทั้งนี้ ต้ังแตว่ นั ที่ 1 ตลุ าคม พ.ศ. 2555 เป็นต้นไป

Annual Report 2014 Institute of Marine Science, Burapha University 21 8. ศนู ยเ์ รียนรู้โลกใตท้ ะเลบางแสน สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบรู พา ศูนย์เรียนรโู้ ลกใต้ทะเล บางแสน กอ่ ตัง้ ขึน้ โดยความรว่ มมอื ของ มหาวทิ ยาลัยบูรพา องค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวดั ชลบุรี และจังหวัดชลบุรี โดยองค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี และจังหวัดชลบุรีได้สนับสนุนงบประมาณ จ�ำนวนเงิน 675.67 ลา้ นบาท และมหาวทิ ยาลยั บรู พาสนบั สนนุ ในสว่ นของพนื้ ทแ่ี ละองคค์ วามรทู้ างวชิ าการเกยี่ วกบั การจดั การสถาน แสดงพนั ธส์ุ ตั วน์ ำ้� ทงั้ นค้ี าดวา่ การดำ� เนนิ การกอ่ สรา้ งจะแลว้ เสรจ็ ประมาณปลายปี พ.ศ. 2558 ซง่ึ ปจั จบุ นั องคก์ ารบรหิ าร ส่วนจังหวัดชลบุรี เป็นเจ้าของสัญญาและเจ้าของโครงการและเมื่อก่อสร้างเรียบร้อยแล้วทางองค์การบริหารส่วนจังหวัด ชลบุรี จะทำ� พิธีมอศนู ย์เรียนรู้โลกใต้ทะเลบางแสน ใหก้ ับมหาวทิ ยาลัยบรู พาตอ่ ไป ในด้านการบริหารจัดการสภามหาวิทยาลัยได้แต่งต้ังคณะกรรมการอ�ำนวยการศูนย์เรียนรู้โลกใต้ทะเล บางแสน สถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล มหาวทิ ยาลยั บูรพา ซงึ่ ประกอบดว้ ยตวั แทนจากมหาวิทยาลยั บูรพา สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล จังหวัดชลบุรี องค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี เทศบาลเมืองแสนสุข และผู้ทรง คณุ วุฒภิ ายนอกรว่ มเป็นคณะกรรมการฯ เพ่อื กำ� หนดนโยบายและแนวทางในการดำ� เนินงานของศูนย์ ภาพอาคารศนู ยเ์ รียนรูโ้ ลกใต้ทะเลบางแสน

22 รายงานประจ�ำ ปี 2557 สถาบนั วิทยาศาสตรท์ างทะเล มหาวทิ ยาลยั บรู พา สรุปผลงานในรอบปงี บประมาณ พ.ศ. 2557 (ตลุ าคม 2556 – กนั ยายน 2557)

Annual Report 2014 Institute of Marine Science, Burapha University 23 สรปุ ผลงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 (ตลุ าคม พ.ศ. 2556 – กันยายน พ.ศ. 2557) สถาบันวทิ ยาศาสตรท์ างทะเล มหาวทิ ยาลยั บูรพา ได้แบ่งการด�ำเนินงานตามภารกิจทด่ี �ำเนินงานอยอู่ อกเปน็ 3 ดา้ น คือ ด้านการวจิ ยั และงานสรา้ งสรรค์ ดา้ นการบรกิ ารวิชาการ ดา้ นการบริหารจดั การ ดังรายละเอยี ดตอ่ ไปนี้ 1. ดา้ นการวจิ ยั และงานสร้างสรรค์ สถาบนั วิทยาศาสตรท์ างทะเล มีภารกิจหลักท่ีส�ำคญั ประการหนึง่ คือ การวิจัยและเผยแพร่ผลงานสูส่ าธารณชน โดยมนี โยบายสนบั สนนุ การวจิ ยั ทเี่ ปน็ ความตอ้ งการและสอดคลอ้ งกบั แนวทางการวจิ ยั ของมหาวทิ ยาลยั และของประเทศ และผลทไ่ี ดต้ ้องเออื้ ตอ่ การพฒั นาของประเทศเป็นส�ำคญั โดยมุ่งเนน้ การวิจัยในสาขาวิทยาศาสตร์ทางทะเล จากนโยบาย ดงั กลา่ วจึงไดม้ กี ารแบ่งหนว่ ยงานในฝา่ ยวิจยั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล ออกเปน็ 4 งานวิจัย คอื 1) งานวจิ ยั ส่ิงแวดล้อมทางทะเล 2) งานวจิ ัยความหลากหลายทางชวี ภาพทางทะเล 3) งานวจิ ัยเทคโนโลยีชีวภาพทางทะเล 4) งานวิจัยการเพาะเลยี้ งสัตว์และพืชทะเล ในปงี บประมาณ พ.ศ 2557 สถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเลไดร้ บั ทนุ อดุ หนนุ การวจิ ยั จากงบประมาณเงนิ อดุ หนนุ จาก รฐั บาลประกอบดว้ ย 3 แผนงานวจิ ยั ( 15 โครงการยอ่ ย) และโครงการวจิ ยั เดย่ี ว 9 โครงการ เปน็ เงนิ ทง้ั สนิ้ 18,727,700 บาท และทนุ อดุ หนุนการวิจยั จากแหล่งทุนภายนอก 1 โครงการ เปน็ เงิน 1,400,000 บาท รวมเปน็ งบประมาณการวจิ ัย ทง้ั สนิ้ 20,127,700 บาท นอกจากนส้ี ถาบนั ฯยงั ใหค้ วามรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานอนื่ ในการทำ� วจิ ยั รว่ มกนั จำ� นวน 7 โครงการ สรุปรายละเอยี ดโครงการวจิ ยั ทีไ่ ด้รบั ตามแหล่งทนุ ตา่ งๆ ในตารางต่อไปนี้ ตารางท่ี 4 โครงการวจิ ัยจากเงนิ อดุ หนุนรัฐบาล ล�ำดับ ช่อื แผนงานวิจัย/โครงการวิจยั หวั หนา้ โครงการและคณะผ้วู จิ ยั จ�ำนวนเงิน งานวิจัยท่ี ที่ (บาท) รบั ผิดชอบ งานวิจัยการ 1 แผนงานวิจัย เรื่องการพัฒนาเทคโนโลยี 1. ดร.เสาวภา สวัสด์ิพีระ 800,000 เพาะเลย้ี งสตั ว์ และพืชทะเล การเพาะเลี้ยงปลาแมนดาริน, 2. นางสาววิรชา เจริญดี 450,000 490,000 งานวิจัยการ Synchiropus splendidus (Herre, 1927) เพาะเลี้ยงสตั ว์ และพืชทะเล เพื่อการอนุรักษ์และการผลิตเชิงพาณิชย์ งานวจิ ยั การ (ประกอบด้วย 7โครงการยอ่ ยดงั รายละเอยี ด เพาะเลีย้ งสตั ว์ และพชื ทะเล ในข้อ 1.1-1.7) 1.1 การศกึ ษาชวี วทิ ยาบางประการของปลา 1. ดร.เสาวภา สวัสดิ์พีระ แมนดาริน, Synchiropus splendidus 2. นางสาววริ ชา เจริญดี (Herre, 1927) ในท่ีกักขัง 3. นางสาววิไลวรรณ พวงสนั เทยี ะ 4. นายนฤชิต เสาวคนธ์ 1.2 การออกแบบและพฒั นาระบบการเพาะเล้ียง 1. นายณฐั วฒุ ิ เหลืองอ่อน ปลาแมนดาริน, Synchiropus splendidus 2. นางสาววริ ชา เจริญดี (Herre, 1927) 3. นางสาววิไลวรรณ พวงสันเทยี ะ

24 รายงานประจ�ำ ปี 2557 สถาบันวิทยาศาสตรท์ างทะเล มหาวิทยาลัยบรู พา ล�ำดบั ชือ่ แผนงานวจิ ยั /โครงการวิจัย หัวหนา้ โครงการและคณะผูว้ จิ ยั จ�ำนวนเงิน งานวิจยั ที่ ท่ี (บาท) รับผิดชอบ 1.3 ผลของความหนาแน่นของลกู ปลา โรตเิ ฟอร์ 1.นางสาวดวงทพิ ย์ อยูส่ บาย 500,000 สถานวี ิจยั ยอ่ ย และระยะเวลาเปลย่ี นชนดิ ของอาหารตอ่ 2. ดร. วรเทพ มธุ วุ รรณ ชะอำ� อัตรารอดและการเจรญิ เตบิ โตของลูกปลา แมนดาริน, Synchiropus splendidus (Herre, 1927) 1.4 ผลของการเสริมกรดไขมันและวิตามินซีลง นางสาววิไลวรรณ พวงสนั เทียะ 470,000 งานวิจัยการ ในแพลงกต์ อนสตั ว์ต่อ อตั รารอด การเจริญ เพาะเลีย้ งสตั ว์ เตบิ โต และพฒั นาการของลกู ปลาแมนดารนิ , และพชื ทะเล Synchiropus splendidus (Herre,1927) 1.5 ผลของการเล้ยี งพ่อแม่พันธุ์ปลาแมนดาริน, 1.ดร.จารุนนั ท์ ประทุมยศ 490,000 งานวจิ ยั การ Synchiropus splendidus, Herre, 1927 2.ดร.สุพรรณี ลโี ทชวลติ เพาะเลี้ยงสัตว์ ด้วยอาหารสำ�เร็จรปู ท่ผี ลติ ข้ึนเพอื่ ทดแทน และพชื ทะเล อาหารมีชวี ติ : การยอมรบั อาหารและการ สบื พันธ์ุ 1.6 การสะสมปริมาณสารสีในลูกปลาแมนดาริน, ดร.อมรรตั น์ กนกรงุ่ 640,000 งานวิจยั การ Synchiropus splendidus (Herre, 1927) เพาะเล้ยี งสตั ว์ เม่ืออนุบาลดว้ ย แพลงกต์ อนสัตวท์ ีเ่ ล้ียงดว้ ย และพชื ทะเล แพลงก์ตอนพชื ตา่ งชนิด 1.7 การสำ�รวจความชุกและโอกาสการเกิดโรคใน 1. นายสมรฐั ทวเี ดช 430,000 งานวิจยั การ เพาะเลี้ยงสัตว์ ปลาแมนดาริน, Synchiropus splendidus 2. นางสาววิรชา เจริญดี และพชื ทะเล (Herre, 1927) 3. นายชนะ เทศคง 4. นายณัฐวฒุ ิ เหลอื งออ่ น 2 แผนงานวจิ ัย เร่อื งจลุ นิ ทรยี ์ทะเล: แหลง่ 1.ดร.รววิ รรณ วฒั นดิลก 760,000 งานวิจัย 450,000 เทคโนโลยี ใหม่ของสารตัวยาและผลติ ภัณฑ์เสรมิ 2.นางณษิ า สริ นนทธ์ นา 870,000 ชีวภาพทาง 530,000 ทะเล อาหาร (ประกอบดว้ ย 6 โครงการยอ่ ยดังราย งานวจิ ัยความ ละเอียดในขอ้ 2.1-2.6) หลากหลาย ทางชีวภาพทาง 2.1 ความหลากหลายทางชนิดของฟองนำ้ �ทะเล ดร. สเุ มตต์ ปุจฉาการ ทะเล บรเิ วณชายฝ่งั ทะเลอา่ วไทย ตอนกลาง งานวิจยั 2.2 ศกั ยภาพของแบคทีเรยี ทะเล: แหล่งสารออก ดร.ชุติวรรณ เดชสกลุ วฒั นา เทคโนโลยี ฤทธ์ทิ างชีวภพและผลติ ภัณฑ์ เสรมิ อาหาร ชวี ภาพทาง ทะเล 2.3 การคน้ หารงควัตถุทีอ่ อกฤทธ์ิทางชีวภาพจาก 1.ดร.รววิ รรณ วฒั นดลิ ก งานวจิ ยั จลุ นิ ทรียท์ ะเล 2. ดร.ปาริชาต นารีบุญ เทคโนโลยี ชวี ภาพทาง 3.ดร.จงกลณี จงอร่ามเรอื ง ทะเล 4. นางสาวรัตนาภรณ์ ศรวี ิบูลย์

Annual Report 2014 Institute of Marine Science, Burapha University 25 ล�ำดับ ชอ่ื แผนงานวิจัย/โครงการวจิ ยั หัวหนา้ โครงการและคณะผูว้ ิจยั จ�ำนวนเงนิ งานวิจัยท่ี ท่ี (บาท) รบั ผดิ ชอบ 2.4 ศกั ยภาพของจลุ นิ ทรีย์ทะเล: แหล่งกรดไขมนั 1. นางณษิ า สริ นนท์ธนา 380,000 งานวจิ ัย เทคโนโลยี ชนิดจำ�เปน็ 2. ดร.จารุนนั ท์ ประทมุ ยศ 460,000 ชวี ภาพทาง ทะเล 3. ดร.จันทร์จรสั วฒั นะโชติ 560,000 งานวิจัย 2.5 การพฒั นาการผลติ สารออกฤทธิ์ชวี ภาพจาก นางสาวรัตนาภรณ์ ศรวี บิ ลู ย์ เทคโนโลยี แอคติโนมยั ซีทและการผลิตปรมิ าณมาก ชวี ภาพทาง ทะเล 2.6 การพัฒนาการผลิตวคั ซีนและสารเสรมิ 1.ดร.สุพรรณี ลีโทชวลิต งานวจิ ัย อาหารโดยเทคนิคการตรงึ เพือ่ กระตุน้ 2.ดร.จันทรจ์ รสั วฒั นะโชติ เทคโนโลยี ชวี ภาพทาง ภมู ิคุ้มกนั ของปลาทะเลตอ่ ปรสติ สตั วน์ ้ำ�หรือ 3.ดร.จารนุ ันท์ ประทุมยศ ทะเล แบคทีเรยี 4. นายศรนั ยู คำ�เมอื ง 5. นางสาวรักฤดี สารธิมา 3 แผนงานวิจยั เรอ่ื ง ฟองน้ำ�ทะเล: ดัชนีชี้วัด 1.ดร. แววตา ทองระอา 600,000 งานวจิ ัยสิ่ง ทางชีวภาพที่เป็นทางเลือกใหม่ในการใช้ 2. นางสาวฉลวย มสุ ิกะ แวดล้อมทาง ตรวจติดตามมลพิษจากโลหะหนักบริเวณ ทะเล ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของไทย ประกอบดว้ ย 2 โครงการยอ่ ยดังรายละเอียด ในขอ้ 3.1-3.2) 3.1 การตดิ ตามการสะสมของโลหะหนักใน 1.นางสาวฉลวย มุสกิ ะ 560,000 งานวิจัยสิ่ง แวดล้อมทาง ฟองนำ้ �ทะเล บริเวณชายฝง่ั ทะเลภาคตะวนั 2.นายวันชยั วงสดุ าวรรณ ทะเล ออกของไทย 3.นายอาวธุ หมนั่ หาผล 4.ดรแววตา ทองระอา 3.2 คณุ ภาพส่งิ แวดล้อมในถ่ินอาศัยของฟองน้ำ� 1.นายอาวธุ หมัน่ หาผล 500,000 งานวิจัยส่ิง ทะเล บรเิ วณชายฝ่งั ทะเลภาคตะวันออกของ 2.นายวันชยั วงสุดาวรรณ แวดล้อมทาง ไทย 3.นายสุเมตต์ ปจุ ฉาการ ทะเล 4.นางสุพตั รา อย่างสวย 5.นางสาวฉลวย มุสิกะ 6.ดร.แววตา ทองระอา 4 ศักยภาพของจลุ ินทรยี ์ทะเลในน้ำ�หมกั ชวี ภาพ นายพฒั นา ภลู เปี่ยม 250,000 งานวิจยั สง่ิ สำ�หรับกจิ กรรมทใี่ ช้นำ้ �ทะเล 738,800 แวดล้อมทาง ทะเล 5 ชุมชนฟองน้ำ�ทะเลและเอคไคโนเดิร์มกับ 1. ดร.สเุ มตต์ ปจุ ฉาการ ความแปรผันของสภาพภมู ิอากาศในพ้นื ทป่ี ก 2. ดร.คมสนั หงภัทรคีรี งานวจิ ัยความ ปกั พนั ธกุ รรมพชื ทางทะเล หมู่เกาะแสมสาร หลากหลาย จงั หวดั ชลบรุ (ี สนองพระราชดำ�ริในโครงการ ทางชวี ภาพทาง อนรุ กั ษ์พันธุกรรมพืชอนั เน่อื งมาจากพระ ทะเล ราชดำ�ริ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยาม บรมราชกมุ ารี)

26 รายงานประจำ�ปี 2557 สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา ล�ำดับ ช่อื แผนงานวจิ ัย/โครงการวจิ ัย หัวหนา้ โครงการและคณะผูว้ ิจยั จ�ำนวนเงนิ งานวิจัยท่ี ท่ี (บาท) รับผิดชอบ 6 ความผันแปรตามฤดกู าลและลักษณะทาง นางขวญั เรอื น ศรนี ้ยุ 900,000 งานวิจยั ความ หลากหลาย พนั ธุกรรมของประชาคมแพลงก์ตอนสัตว์ ใน ทางชวี ภาพทาง ทะเล พ้ืนท่ปี กปักพันธุกรรมพืชทางทะเล หมเู่ กาะ แสมสาร จงั หวดั ชลบรุ ี (สนองพระราชดำ�ริ ในโครงการอนรุ ักษพ์ ันธุกรรมพืชอนั เน่ืองมา จากพระราชดำ�ริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี) 7 ลกั ษณะทางพนั ธุกรรมของประชาคม 1.ดร.ชุติวรรณ เดชสกุลวฒั นา 1,403,100 งานวิจยั 407,400 เทคโนโลยี แบคทเี รียและการใชป้ ระโยชน์ในพนื้ ที่ปก 2.ดร.สุเมตต์ ปุจฉาการ ชีวภาพทาง ทะเล ปกั พันธกุ รรมพชื ทางทะเล หมู่เกาะแสมสาร งานวจิ ัยความ จงั หวดั ชลบรุ ี หลากหลาย ทางชวี ภาพทาง 8 ผลกระทบของปัจจยั ด้านสิง่ แวดลอ้ มตอ่ ชนิด ดร.ทรรศิน ปณธิ านะรักษ์ ทะเล และความหลากหลายของสาหร่ายซูแซนเทล ลี่ (Symbiodinium spp.) ทอ่ี าศยั อยูร่ ว่ มกบั ปะการงั อ่อนในพืน้ ท่ีปกปักพันธุกรรมพืชทาง ทะเล หมเู่ กาะแสมสาร จงั หวัดชลบรุ ี (สนอง พระราชดำ�รใิ นโครงการอนรุ กั ษ์พนั ธุกรรมพืช อนั เน่อื งมาจากพระราชดำ�ริ สมเด็จพระเทพ รตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมาร)ี 9 การพัฒนาทรพั ยากรชวี ภาพบรเิ วณหมู่เกาะ 1.ดร.สเุ มตต์ ปจุ ฉาการ 2,450,000 งานวจิ ยั ความ 620,000 หลากหลาย แสมสาร จงั หวดั ชลบรุ เี พื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ 2. นางสาวสิรินทร เทพมงั กร 810,000 ทางชีวภาพทาง ทะเล และการทอ่ งเทีย่ วเชงิ อนรุ ักษ์ 3. นายเศรษฐพงษ์ ปจุ ฉาการ งานวจิ ัยความ 10 ความหลากหลายทางชีวภาพทางทะเลของ 1. ดร.สุเมตต์ ปจุ ฉาการ หลากหลาย กล่มุ สตั ว์ทะเลที่มโี ลโฟฟอร์ (Lophophor- 2. ดร.คมสัน หงภทั รครี ี ทางชีวภาพทาง ates) บริเวณชายฝัง่ ทะเลภาคตะวนั ออกของ ทะเล ไทย งานวิจัยความ 11 การประเมินสถานภาพของหอยมอื เสือ 1.ดร.กิติธร สรรพานชิ หลากหลาย ทางชีวภาพทาง ครอบครวั Tridacnidae บริเวณแนวปะการัง 2.ผศ.ธรี ะพงศ์ ดว้ งดี ทะเล หมู่เกาะสตั หีบ จังหวัดชลบุรี (ภายใต้ 3.นางสาวอญั ชลี จันทรค์ ง โครงการอนรุ กั ษพ์ ันธุกรรมพืชอันเน่อื งมา จากพระราชดำ�ริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกมุ าร)ี 12 การเพาะเลยี้ งสาหรา่ ยสนี ำ้ �ตาล สกลุ นางสาวธดิ ารัตน์ นอ้ ยรักษา 698,400 งานวจิ ัยความ หลากหลาย Sargassum C. Agardh (ภายใต้ โครงการ ทางชีวภาพทาง ทะเล อนรุ ักษพ์ นั ธุกรรมพชื อนั เน่ืองมาจากพระ ราชดำ�ริสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยาม บรมราชกุมาร)ี

Annual Report 2014 Institute of Marine Science, Burapha University 27 ล�ำดบั ช่อื แผนงานวจิ ยั /โครงการวิจยั หวั หน้าโครงการและคณะผวู้ ิจัย จ�ำนวนเงนิ งานวิจยั ที่ ที่ (บาท) รบั ผิดชอบ 13 การพฒั นาวธิ กี ารขยายพนั ธุป์ ะการงั 1.นางสาววริ ชา เจริญดี ดอกกะหลำ่ � Pocillopora damicornis 2. นายณัฐวุฒิ เหลอื งอ่อน 510,000 งานวิจัยการ (Linnaeus, 1758) ในระบบเล้ยี งเพื่อใหไ้ ด้ 3. นายชนะ เทศคง เพาะเล้ียงสตั ว์ จำ�นวนมาก ในระยะเวลาอันสน้ั 4. นายธรรมศกั ด์ิ ถาพรพันธ์ และพืชทะเล 5. นายนฤชิต เสาวคนธ์ รวมงบประมาณการวจิ ยั ทัง้ สิ้น 18,727,700 ตารางที่ 5 โครงการวิจยั จากแหล่งทนุ ภายนอกอ่นื ล�ำดบั ช่อื โครงการ แหล่งทุน คณะผู้วิจยั จ�ำนวนเงิน ที่ (บาท) 1 ระบบนิเวศการเพาะเล้ียง และ สำ�นกั งานพฒั นา 1. นางสาวธิดารตั น์ น้อยรักษา 1,400,000 การอนุรกั ษ์สาหร่ายสีน้ำ�ตาล สกลุ Sargassum C. Agardh วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 2. รศ.ดร.วภิ ูษติ มณั ฑะจติ แห่งชาติ (2557-2558) 3. ดร.จิตรา ตรี ะเมธี 4. ดร.กติ ิธร สรรพานิช 5. ผศ.ดร.อนกุ ลู บูรณประทปี รัตน์ 6. ผศ.ธรี ะพงศ์ ดว้ งดี 7. ดร.ภาสิณี วรชนะนนั ท์ 8. ดร.คมสัน หงภทั รคีรี ตารางท่ี 6 รายละเอียดโครงการวิจัยท่ที ำ� ร่วมกบั องค์กร หรือหนว่ ยงานอืน่ ล�ำดับ ชื่อโครงการวิจัย ผ้รู บั ผดิ ชอบ หนว่ ยงานท่ดี �ำเนินการร่วม ที่ 1 การประเมนิ ผลกระทบของโลหะหนักและสาร 1. ผศ. ดร.ปภาศิริ บารเ์ นท ภาควิชาวารชิ ศาสตร์ อินทรยี ค์ าร์บอนต่อสัตวท์ ะเลแนวชายฝงั่ ทะเล 2. ผศ. ดร.สวุ รรณา ภานุตระกูล คณะวทิ ยาศาสตร์ อตุ สาหกรรมมาบตาพดุ จงั หวดั ระยอง 3. ดร.พอจติ นันทนาวัฒน์ มหาวิทยาลยั บรู พา 4. ผศ. ดร.นนั ทพร ภทั รพุทธ 5. อาจารยน์ ภิ า มหารชั พงศ์ 6. ดร.ไพฑรู ย์ มกกงไผ่ 7. นายอาวธุ หม่นั หาผล 2 Actinomycetes from coastal and 1. ดร.วสุ ปฐมอารยี ์ 1.มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ mangrove sediments of Thailand and 2. ผศ. กรรณิการ์ ดวงมาลย์ 2.มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ their potential in bioactive metabolite 3. นางสาวรตั นาภรณ์ ศรีวบิ ลู ย์ 3.Wuhan University, China production (โครงการร่วมระหวา่ งประเทศ ไทย-จนี ) 3 Biodiversity of actinomycetes in coastal 1.Ms. Rattanaporn Srivibool University of Leipzig marine ecosystems in the Gulf of Thailand. 2 Dr. Janjarus Watanachote ประเทศเยอรมันนี (ทนุ สนับสนุน ยังอย่รู ะหว่างการพจิ ารณา จาก (โครงการรว่ มระหวา่ ง Biotec-BMBF) ประเทศไทย-เยอรมันนี)

28 รายงานประจ�ำ ปี 2557 สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวทิ ยาลัยบูรพา ล�ำดบั ชอ่ื โครงการวิจยั ผู้รบั ผิดชอบ หนว่ ยงานทดี่ �ำเนินการร่วม ท่ี 4 Fermentation of rice wine from Thai ma- 1. Ms. Rattanaporn Srivibool Burapha University rine yeasts. Sojo University (Core to Core Program, NRCT- JSPS) 5 การศึกษาทิศทางการเคล่ือนท่แี ละผลกระทบ 1. ผศ.ดร.มณฑล อนงค์พรยศกุล 1.ภาควชิ าวทิ ยาศาสตร์ทาง ของคราบนำ้ �มันต่อสงิ่ มชี ีวติ บรเิ วณเกาะเสมด็ 2. ผศ.ดร.จรวย สุขแสงจันทร์ ทะเล และพน้ื ที่ใกล้เคียง จังหวดั ระยอง 3. อ.ดร.เยาวลกั ษณ์ มัน่ ธรรม 2.คณะประมง มหาวิทยาลัย 4. อ.ดร.นภาขวัญ แหวนเพชร เกษตรศาสตร์ 5. ดร.ภาสนิ ี วรชนะนันท์ 6. ดร.จิตรา ตรี ะเมธี 6 โครงการสำ�รวจความหลากหลายทางชีวภาพ 1. ดร.กติ ิธร สรรพานิช สถานวจิ ัยความเป็นเลิศความ และประเมนิ ระบบนิเวศแนวปะการัง บริเวณ 2. ผศ.ธีระพงศ์ ดว้ งดี หลากหลายทางชีวภาพแห่ง ทางตอนใต้ของหม่เู กาะเมอร์กยุ สาธารณรัฐแห่ง คาบสมทุ รไทย สหภาพพมา่ คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 7 โครงการสำ�รวจตดิ ตามและประเมนิ ผลด้าน 1. ดร.กติ ธิ ร สรรพานิช ศนู ย์วิจยั และพัฒนาทรพั ยากร นิเวศวิทยาและสงิ่ แวดลอ้ ม ภายหลงั การจัดวาง 2. ผศ.ธีระพงศ์ ด้วงดี ทางทะเลและชายฝง่ั อา่ วไทย ปะการังเทียมรปู แบบโครงสรา้ งเหลก็ บริเวณ ตอนกลาง เกาะพะงัน จงั หวดั สุราษฎร์ธานี การเผยแพรผ่ ลงานวิจัย ผลงานวิจัยที่นักวิทยาศาสตร์ได้ท�ำเสร็จแล้ว ได้ถูกน�ำไปเผยแพร่ในรูปแบบต่างๆ ท้ังนี้สถาบันวิทยาศาสตร์ทาง ทะเลมีนโยบายส่งเสริมให้นักวิทยาศาสตร์ได้เผยแพร่ผลงานวิจัยทั้งในรูปแบบของการตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการ และ การนำ� เสนอผลงานในการประชมุ วิชาการทง้ั ในและตา่ งประเทศ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 มีการเผยแพร่ผลงานวิจยั ทงั้ ส้นิ 105 เร่ือง แบง่ เป็น รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ 30 เร่อื ง ตพี ิมพ์ในวารสารวชิ าการระดับชาติ 5 เรื่องและระดับ นานาชาติ 7 เร่ือง ตีพิมพ์ในรายงานสืบเน่ืองจากการประชุมวิชาการระดับชาติ 14 เร่ือง การน�ำเสนอผลงานวิจัยแบบ บรรยายในการประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ 6 เรอื่ งและระดบั นานาชาติ 4 เรอื่ ง การนำ� เสนอผลงานวจิ ยั แบบโปสเตอรใ์ นการ ประชมุ วชิ าการระดับชาติจำ� นวน 15 เรอ่ื งและระดบั นานาชาติ 24 เรื่อง รายละเอยี ด ดงั แสดงในตารางต่อไปนี้ ตารางท่ี 7 รายงานวจิ ยั ฉบับสมบูรณ์ คณะผู้วจิ ยั แหลง่ ทุน ล�ำดบั เรือ่ ง 1.นางณษิ า สิรนนทธ์ นา งบประมาณเงนิ รายได้ ที่ 2.ดร.จารนุ นั ท์ ประทุมยศ (เงินอุดหนุนจากรฐั บาล) 1 ศักยภาพของจุลินทรยี ์ทะเล: แหล่งกรดไขมนั 3.ดร.จันทรจ์ รัส วัฒนะโชติ ประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ. ชนดิ จำ�เปน็ 2556

Annual Report 2014 Institute of Marine Science, Burapha University 29 ล�ำดบั เรื่อง คณะผู้วิจัย แหลง่ ทุน ท่ี 1.นางสาวรัตนาภรณ์ ศรีวบิ ลู ย์ งบประมาณเงนิ รายได้ 2 การพฒั นาการผลิตสารแอนติไบโอตกิ จาก (เงินอดุ หนนุ จากรัฐบาล) แอคติโนมัยซที และการผลิตเซลลป์ ริมาณมาก ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 3 ความหลากหลายทางชนดิ และลกั ษณะทาง 1. ดร.ชตุ ิวรรณ เดชสกุลวฒั นา พันธกุ รรมของจุลชพี ท่อี าศยั อยรู่ ว่ มกับฟองน้ำ� 2. ดร.สเุ มตต์ ปจุ ฉาการ งบประมาณเงินรายได้ ทะเลพ้นื ทปี่ กปักษพ์ ันธุกรรมพชื ทางทะเล (เงนิ อุดหนุนจากรฐั บาล) หมูเ่ กาะแสมสาร จงั หวัดชลบุรี (อพ.สธ) ประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ. 2556 4 ศักยภาพของแบคทีเรียทะเล: แหลง่ ของสาร 1. ดร.ชุติวรรณ เดชสกุลวัฒนา ออกฤทธ์ทิ างชวี ภาพและผลิตภณั ฑเ์ สริมอาหาร 2. ผศ.ดร.ปรีชา ภวู ไพรศริ ศิ าล งบประมาณเงนิ รายได้ แผนงานวิจัย จลุ ินทรยี ์ทะเล: แหลง่ ใหม่ของ (เงนิ อุดหนนุ จากรัฐบาล) สารตวั ยาและผลิตภัณฑ์เสรมิ อาหาร ประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ. 2556 5 แผนงานวิจัย จลุ ินทรยี ท์ ะเล: แหล่งใหม่ของ 1.ดร.รววิ รรณ วฒั นดลิ ก งบประมาณเงนิ รายได้ สารตัวยาและผลิตภณั ฑ์เสรมิ อาหาร 2. นางณิษา สิรนนท์ธนา (เงนิ อดุ หนนุ จากรัฐบาล) ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 6 การค้นหารงควัตถุทีอ่ อกฤทธิ์ทางชีวภาพจาก 1.ดร.รววิ รรณ วฒั นดลิ ก 2556 จุลินทรีย์ทะเล 2.ดร.ปารชิ าต นารีบญุ งบประมาณเงนิ รายได้ (เงินอุดหนนุ จากรัฐบาล) 3.ดร.จงกลณี จงอร่ามเรอื ง ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 4.นางสาวรัตนาภรณ์ ศรีวิบลู ย์ งบประมาณเงินรายได้ 7 การพัฒนาการผลติ วัคซนี และสารเสริมอาหาร 1.ดร.สพุ รรณี ลโี ทชวลติ (เงินอุดหนุนจากรฐั บาล) ประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ. โดยเทคนิคการตรึงเพอ่ื กระตุ้นภมู คิ ุม้ กันของ 2.ดร.จันทร์จรัส วฒั นะโชติ 2556 ปลาทะเลตอ่ ปรสติ สตั ว์น้ำ�หรอื แบคทเี รยี 3.ดร.จารนุ นั ท์ ประทมุ ยศ งบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรฐั บาล) 8 การสะสมและการแพรก่ ระจายของโลหะหนกั 1.ดร.แววตา ทองระอา ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. บางชนิดในน้ำ� ดินตะกอน และพชื ปา่ ชายเลน 2.นางสาวฉลวย มุสกิ ะ 2556 ในชมุ ชนบ้านแหลมฉบงั จังหวัดชลบรุ ี และ 3.นายวันชัย วงสดุ าวรรณ ศกั ยภาพของพชื ปา่ ชายเลนในการเปน็ ดัชนชี ี้วดั 4.นายอาวุธ หม่นั หาผล งบประมาณเงนิ รายได้ ทางชวี ภาพตรวจวดั มลพษิ จากโลหะหนัก 5.นายอภวิ ชิ ญ์ นวลแกว้ (เงินอดุ หนุนจากรฐั บาล) ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 9 การประเมนิ ผลกระทบของโลหะหนักและสาร 1. ผศ.ดร.ปภาศริ ิ บารเ์ นท 2556 อินทรีย์คาร์บอนต่อสตั ว์ทะเลแนวชายฝ่งั ทะเล 2. ผศ.ดร.สวุ รรณา ภานตุ ระกูล อตุ สาหกรรมมาบ 3. ดร.พอจติ นันทนาวัฒน์ ตาพุด จังหวดั ระยอง 4. ผศ.ดร.นนั ทพร ภัทรพุทธ 5. อาจารย์นิภา มหารัชพงศ์ 6. ดร.ไพฑรู ย์ มกกงไผ่ 7. นายอาวุธ หมัน่ หาผล

30 รายงานประจำ�ปี 2557 สถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล มหาวิทยาลยั บรู พา ล�ำดบั เรื่อง คณะผ้วู ิจัย แหล่งทุน ท่ี 1.ดร.สพุ รรณี ลีโทชวลติ งบประมาณเงนิ รายได้ 10 การพฒั นาการผลิตวัคซีนและสารเสริมอาหาร 2.ดร.จันทรจ์ รัส วัฒนะโชติ (เงนิ อุดหนุนจากรัฐบาล) โดยเทคนคิ การตรึงเพ่อื กระต้นุ ภมู ิคมุ้ กนั ของ 3.ดร.จารุนันท์ ประทุมยศ ประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ. ปลาทะเลต่อปรสิตสัตว์น้ำ�หรอื แบคทีเรยี 2556 ทุนอดุ หนนุ การวิจัยเงนิ ราย 11 การปนเปื้อนพีเอเอชและตัวชว้ี ดั ชีวภาพในปลา 1. ผศ. ดร. ปภาศริ ิ บาร์เนท ไดจ้ ากการวจิ ัย มหาวทิ ยาลยั บรู พา (สนับสนนุ จากบริษัท พี ทะเลจากน้ำ�มนั รัว่ จงั หวัดระยอง 2. ดร. พอจิต นันทนาวัฒน์ ทีที โกลบอล เคมิคอล จำ�กดั (มหาชน) 3. ผศ. ดร. นนั ทพร ภทั รพทุ ธ มลู นธิ สิ ถาบนั สิ่งแวดล้อมไทย 4. ดร. ไพฑรู ย์ มกกงไผ่ ปี 2556 5. นายอาวุธ หมน่ั หาผล งบประมาณเงนิ รายได้ (เงนิ อดุ หนนุ จากรฐั บาล) 6. นางสาววราพร ชลอำ�ไพ ประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ. 2556 12 การศกึ ษาทิศทางการเคลื่อนท่แี ละผลกระทบ 1. ผศ.ดร.จรวย สขุ แสงจันทร์ งบประมาณเงนิ รายได้ ของคราบนำ้ �มันตอ่ ส่งิ มชี ีวติ บรเิ วณเกาะเสมด็ 2. ผศ.ดร.มณฑล อนงคพ์ รยศกุล (เงินอดุ หนุนจากรัฐบาล) และพน้ื ทใ่ี กลเ้ คยี ง จังหวัดระยอง 3. อ.ดร.เยาวลกั ษณ์ มั่นธรรม ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 4. อ.ดร.นภาขวัญ แหวนเพชร 2556 5. อ.ดร.ภาสนิ ี วรชนะนนั ท์ 6. ดร.จิตรา ตีระเมธี งบประมาณเงินรายได้ (เงนิ อดุ หนุนจากรัฐบาล) 13 ฟองน้ำ�ทะเลและเอคไคโนเดิรม์ ในพน้ื ท่ีปก 1. ดร.สเุ มตต์ ปจุ ฉาการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ปักพนั ธกุ รรมพืชทางทะเล หมู่เกาะแสมสาร 2. ดร.คมสัน หงภัทรครี ี 2556 จงั หวดั ชลบุรี งบประมาณเงนิ รายได้ (เงนิ อุดหนุนจากรัฐบาล) 14 ทรพั ยากรชวี ภาพทางทะเลในพนื้ ที่ปกปกั 1. ดร.สเุ มตต์ ปุจฉาการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. พนั ธกุ รรมพชื ทางทะเล หม่เู กาะแสมสาร 2. นางขวญั เรอื น ศรีน้ยุ 2556 จังหวดั ชลบุรี : องคค์ วามรูผ้ นั สวู่ ิถไี ทยและการ งบประมาณเงนิ รายได้ ใชป้ ระ โยชน์อยา่ งยัง่ ยนื (สนองพระราช ดำ�ริ (เงนิ อดุ หนนุ จากรัฐบาล) ในโครงการอนรุ ักษ์พันธกุ รรมพืชอนั เน่อื งมา ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. จากพระราชดำ�ริ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ 2556 สยามบรมราชกุมาร)ี 15 ความหลากหลายทางชวี ภาพของกลุม่ สตั ว์ 1. ดร.สุเมตต์ ปจุ ฉาการ ทะเลทม่ี ี 2. ดร.คมสนั หงภัทรคีรี โลโฟฟอร์ (Lophophorates) บริเวณชายฝ่ัง ทะเลภาคตะวันออกของไทย 16 การพัฒนาทรัพยากรชวี ภาพทางทะเลบรเิ วณ 1. ดร.สุเมตต์ ปจุ ฉาการ หมเู่ กาะแสมสาร จังหวัดชลบุรเี พ่อื เป็นแหลง่ 2. สิรินทร เทพมงั กร เรยี นร้แู ละการท่องเทีย่ วเชงิ อนุรกั ษ์ 3. นายเศรษฐพงษ์ ปุจฉาการ 17 ความหลากหลายทางชนิดของฟองน้ำ�ทะเลท่ี 1. ดร.สเุ มตต์ ปจุ ฉาการ อาศัยอยู่ตามชายฝั่งทะเลอ่าวไทยตอนกลาง

Annual Report 2014 Institute of Marine Science, Burapha University 31 ล�ำดับ เรื่อง คณะผูว้ จิ ัย แหล่งทนุ ท่ี 1. ดร.สุเมตต์ ปุจฉาการ ทนุ อดุ หนนุ การวิจัยเงนิ ราย 18 การตดิ ตามและเฝ้าระวังความหลากหลาย 2. นางสาวดวงธมลพร นุตเจรญิ ได้จากการวจิ ยั มหาวิทยาลยั ทางชนิดและปรมิ าณสตั วท์ ะเลหนา้ ดิน บรู พา (สนับสนุนจากบริษัท บรเิ วณชายฝ่ังทะเล จ.ระยอง อันเน่ืองมาจาก พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จำ�กดั เหตุการณ์น้ำ�มันดบิ ร่ัวไหลลงสทู่ ะเล (มหาชน) งบประมาณเงินรายได้ 19 การประเมนิ สถานภาพของหอยมอื เสือ 1.ดร.กติ ธิ ร สรรพานชิ (เงินอดุ หนนุ จากรฐั บาล) ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ครอบครวั Tridacnidae บรเิ วณแนวปะการงั 2.ผศ.ดร.ธีระพงศ์ ด้วงดี 2556 หมเู่ กาะสตั หบี จังหวัดชลบรุ ี (ภายใตโ้ ครงการ 3.นางสาวอญั ชลี จันทร์คง งบประมาณเงินรายได้ (เงนิ อุดหนนุ จากรัฐบาล) อนุรกั ษ์พนั ธกุ รรมพืชอันเน่อื งมาจากพระ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ราชดำ�ริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม งบประมาณเงินรายไดส้ ่วน บรมราชกมุ าร)ี งาน ประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ. 2553 20 ความหลากหลายทางชนดิ ของโคพพี อดและไม นางขวญั เรือน ศรีนุ้ย งบประมาณเงินรายได้ ซดิ ในพนื้ ทปี่ กปักพันธกุ รรมพืชทางทะเล หมู่ (เงนิ อดุ หนนุ จากรฐั บาล) เกาะแสมสาร จังหวัดชลบรุ ี (ภายใตโ้ ครงการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. อนรุ ักษพ์ นั ธุกรรมพชื อันเนอื่ งมาจากพระ 2556 ราชดำ�ริ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยาม บรมราชกมุ ารี)” ภายในแผนงานวิจยั เร่ือง งบประมาณเงนิ รายได้ “ทรพั ยากรชีวภาพทางทะเลในพืน้ ท่ีปกปกั (เงนิ อดุ หนนุ จากรัฐบาล) พันธุกรรมพืชทางทะเล หมู่เกาะแสมสาร ประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ. จงั หวัดชลบรุ ี : องค์ความรู้ผันส่วู ถิ ีไทยและการ 2556 ใช้ประโยชน์อยา่ งยง่ั ยนื ” งบประมาณเงนิ รายได้ (เงนิ อดุ หนุนจากรฐั บาล) 21 การเปล่ียนแปลงความหนาแนน่ ของแพลงก์ นางสาวสุพตั รา ตะเหลบ ประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ. ตอนพชื ในพนื้ ท่แี หลง่ เลยี้ งหอยบรเิ วณอ่าว 2556 ชลบรุ ีในปี 2553 22 การพฒั นาวธิ ีการขยายพันธปุ์ ะการงั ดอก 1.นางสาววิรชา เจริญดี กะหลำ่ � Pocillopora damicornis (Linnaeus, 2.นายชนะ เทศคง 1758) ในระบบเลย้ี งเพ่อื ใหไ้ ด้จำ�นวนมากใน 3.นายณฐั วุฒิ เหลอื งอ่อน ระยะเวลาอนั สน้ั . 4.นายนฤชติ เสาวคนธ์ 5.นางสาวศิรวิ รรณ ชศู รี 23 แผนงานวิจัย การพัฒนาเทคโนโลยีการเพาะ 1.ดร.เสาวภา สวสั ด์ิพีระ เลี้ยงปลาแมนดาริน, Synchiropus splendi- 2.นางสาววิรชา เจริญดี dus (Herre, 1927) เพื่อการอนุรักษ์และ การผลิตเชิงพาณิชย์ 24 การศึกษาชีววิทยาบางประการของปลาแมน 1. ดร.เสาวภา สวัสดพิ์ ีระ ดาริน, Synchiropus splendidus (Herre, 2. นางสาววริ ชา เจรญิ ดี 1927) ในทกี่ กั ขัง 3. นางสาววิไลวรรณ พวงสนั เที ยะ

32 รายงานประจ�ำ ปี 2557 สถาบนั วทิ ยาศาสตร์ทางทะเล มหาวทิ ยาลยั บูรพา ล�ำดบั เรื่อง คณะผวู้ ิจยั แหลง่ ทนุ ท่ี 25 การออกแบบและพฒั นาระบบการเพาะเลย้ี ง 1. นายณฐั วุฒิ เหลอื งอ่อน งบประมาณเงินรายได้ ปลาแมนดารนิ , Synchiropus splendidus (Herre, 1927) 2.นางสาววริ ชา เจรญิ ดี (เงนิ อดุ หนนุ จากรฐั บาล) 26 การสำ�รวจความชกุ และโอกาสการเกิดโรคใน 3.นางสาววไิ ลวรรณ พวงสนั เทยี ะ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. ปลาแมนดารนิ , Synchiropus splendidus (Herre, 1927) 4. นางสาวศริ ิวรรณ ชูศรี 2556 27 พันธศุ าสตร์เซลของปลาแมนดารนิ , 1.น.สพ.สมรฐั ทวีเดช งบประมาณเงินรายได้ Synchiropus spp. 2.นายณฐั วุฒิ เหลอื งออ่ น (เงนิ อุดหนุนจากรฐั บาล) 3.นางสาววริ ชา เจริญดี ประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ. 28 ผลของความหนาแน่นของลูกปลา โรตเิ ฟอร์ 4.นายชนะ เทศคง 2556 และระยะเวลาการเปลี่ยนอาหารต่ออัตรารอด และการเจรญิ เตบิ โตของลูกปลาแมนดาริน 1.นางสาววรรณภา กสฤิ กษ์ งบประมาณเงนิ รายได้ 2.รศ.ดร.อลงกลด แทนออมทอง (เงนิ อดุ หนนุ จากรัฐบาล) 29 การเจริญเติบโตของปะการังจาน (Turbinaria 3.นายณัฐวฒุ ิ เหลืองออ่ น ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. sp.) ทไ่ี ดจ้ ากการขยายพนั ธุแ์ บบไม่อาศัยเพศ 2556 ในระบบการเลีย้ งทีแ่ ตกต่างกัน 1.นางดวงทิพย์ อ่เู งนิ งบประมาณเงนิ รายได้ 2.ดร.วรเทพ มธุ ุวรรณ (เงนิ อดุ หนนุ จากรัฐบาล) 3.ดร.เสาวภา สวสั ดิ์พีระ ประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ. 4.นางสาวศิรประภา ฟ้ากระจา่ ง 2556 5.นางสาววิไลวรรณ พวงสนั เทยี ะ 6.นางสาวภาวนิ ี ภทั รปรีชาการ 7.นางปรารถนา ควรดี 1.นายชนะ เทศคง เงินรายได้สว่ นงานประจำ� 2.นายนฤชติ เสาวคนธ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 3.นายวรเทพ มธุ ุวรรณ ตารางที่ 8 การเผยแพรใ่ นวารสารวิชาการระดับชาติ ล�ำดับ เร่อื ง คณะผวู้ ิจัย ช่ือวารสาร/ปีทตี่ พี มิ พ์/ ที่ ฉบับที/่ หน้าทต่ี พี ิมพ์ 1 Effect on dietary protein, lipid and astax- 1.Dr. Kanokrung, A. Journal of Science Tech- nology and Humanities, anthin levels on growth and carotenoid 2.Dr. Watanadilok, R. 2013, 2: 95-103 accumulation in anemone fish, Amphiprion 3.Dr. Muthuwan, V. ocellaris. 4.Dr.Santawanpas, S. 2 Extraction of Micromonospora aurantiaca- 1.Dr. Chantarawan Saengkhae Physiol Biomed Sci , from Coastal Marine Sediments Enhances 2.Ms. Jantharat Pumpunphol 2556, 26: 76-68 Doxorubicin-Induced Apoptosis in KB Cells 3. Ms. Rattanaporn Srivibool 3 การศกึ ษาสภาวะท่เี หมาะสมในการสกดั และ 1. ดร.ศิริรัตน์ ชาญไววทิ ย์ วารสารวทิ ยาศาสตรบ์ ูรพา วเิ คราะหก์ รดไขมนั จากเนื้อในเมล็ดมะมว่ งด้วย 2. นางสาวอภินทรพ์ ร ทวีพรกุลพัฒน์ ฉบับพเิ ศษ 2557, 365- เทคนคิ GC-FID ใชค้ อลัมน์ DB-225 ความยาว 3.นางปยิ ะวรรณ ศรวี ลิ าศ 379 20 เมตร 4. ผศ.ดร.สุนันทา วังกานต์

Annual Report 2014 Institute of Marine Science, Burapha University 33 ล�ำดับ เรือ่ ง คณะผวู้ ิจัย ช่ือวารสาร/ปที ตี่ พี ิมพ/์ ท่ี ฉบับที/่ หน้าท่ตี พี ิมพ์ 4 คณุ ภาพน้ำ�ในแหล่งทอ่ งเที่ยวทางทะเล จงั หวดั 1.นางสาวฉลวย มสุ กิ ะ วารสารวทิ ยาศาสตร์บรู พา, ชลบุรี 2.นายวันชัย วงสดุ าวรรณ 2556, 19:11-23 3.นายอาวธุ หมน่ั หาผล 5 การเปลย่ี นแปลงชนดิ ของอาหารจากโรตเิ ฟอร์ 4.นายพฒั นา ภูลเปีย่ ม วารสารวจิ ยั เทคโนโลยกี าร เป็นอาร์ทเี มียวยั ออ่ นทอ่ี ายขุ องลกู ปลาต่างกัน 5.ดร.แววตา ทองระอา ประมง,2556, 1: 20-29 สง่ ผลต่ออัตรารอดและการเจรญิ เตบิ โตของ 1.นางดวงทพิ ย์ อเู่ งนิ ลกู ปลาการ์ตนู เพอคลู ่า (Amphiprion percula 2.ดร.วรเทพ มธุ ุวรรณ Locépède 1802) 3.นางปรารถนา ควรดี ตารางที่ 9 การเผยแพร่ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ ล�ำดับ เรื่อง คณะผวู้ จิ ยั ช่อื วารสาร/ปที ่ีตีพิมพ/์ ฉบบั ที่ ท/่ี หน้าทต่ี พี ิมพ์ 1 10-Oxoabolene and 12-Oxocur- 1. Mr. Afsaneh Yegdaneha Natural Product Communi- cuphenol, Aromatic Bisabolanes 2. Dr. Sumaitt Putchakarn cations (NPC) from the Sponge Myrmekioder- 3. Miss Supreeya Yuenyongsawad Impact Factor: 0.956 ma sp. 4. Dr. Alireza Ghannadi (2012), 2013, 8 : 1355- 5. Assoc. Prof. Dr. Anuchit Plubrukarn 1357 2 Levels and distribution patterns 1. Mr. Attachai Kantachumpoo J Appl Phycol. of mitochondrial cox3 gene 2. Dr. Shinya Uwai (doi:10.1007/s10811- variation in brown seaweed, 3. Miss Thidarat Noiraksar 013-0175-4), Received: Sargassum polycystum C. 4. Assoc. Prof. Teruhisa Komatsu 26 May 2013 /Revised Agardh (Fucales, Phaeophyceae) and accepted: 25 Septem- from Southeast Asia ber 2013, Published online 6 November ,2013, 3 A New species of Pseudodiapto- 1.Mrs. Khwanruan Srinui Zookeys. 2013; (338): mus (Crutacea,Copepoda,Cala- 2.Dr.Shuhei Nishida 39–54. Published online 2 noida,Pseudodiaptomidae) From 3.Dr.Susumu Ohtsuka October, 2013. the Prasae River Estuary, Gulf of Thailand 4 A new flat Gracilaria: Gracilaria 1. Mr. Narongrit Muangmai Phycologia, 2014, 53(2): 137-145 lantaensis sp. nov. (Gracilariales, 2. Assoc. Prof. Dr.Giuseppe C. Rhodophyta) from the Andaman Zuccarello coast of Thailand 3. Miss Thidarat Noiraksar 4. Prof. Dr. Khanjanapaj Lewmanomont

34 รายงานประจ�ำ ปี 2557 สถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล มหาวทิ ยาลยั บรู พา ล�ำดบั เรอ่ื ง คณะผู้วจิ ัย ช่ือวารสาร/ปที ตี่ พี ิมพ/์ ฉบบั ท่ี ที/่ หน้าท่ีตีพมิ พ์ Galaxea, Journal of Coral 5 Genetic diversity of soft corals 1. Dr. Thadsin Panithanarak Reef Studies, 2013,15: 182-188 of the family Alcyoniidae along 2. Mr. Sarawut Siriwong Malaysian Journal of Sci- Nang Rong Beach, Jorake 3. Dr. Sumaitt Putchakarn ence, 2013, 47-64 Island and Juang Island, Amphur 4. Mr. Saharath Dheerakamporn Songklanakarin J. Sci. Technol., 2014, 36(1): Sattahip, Chonburi Province, 45-49 Thailand 6 The biodiversity of marine gas- 1. Dr. Kitithorn Sanpanich tropods of Thailand in the late 2. Dr. Teerapong Duangdee decade. 7 Changes in the fatty acid com- 1. Dr. Jarunan Pratoomyot position of wild harlequin shrimp, 2. Mrs. Nisa Siranonthana Hymenocera picta Dana, 1852 from eggs, newly hatched zoea and juvenile stages: an insight into the fatty acid requirements for aquaculture ตารางที่ 10 ผลงานวิจยั ทีไ่ ดร้ ับการตีพมิ พใ์ นรายงานสบื เนื่องจากการประชมุ วชิ าการระดับชาติ ล�ำดบั ที่ ชอื่ เร่อื งผลงานวจิ ยั คณะผู้วิจยั ชื่อการประชุมวิชาการ วันท/ี่ สถานทีจ่ ัด,หนา้ ทตี่ พี มิ พ์ 1 ระบบหมุนเวยี นน้ำ�แบบปิดโดยใชส้ าหร่าย 1.นางสาวศิรประภา ฟา้ กระจา่ ง การประชุมวชิ าการประมง ประจำ�ปี 2557 กรมประมง คโี ตมอรฟ์ าเป็นตวั กรองชีวภาพ (Cha- 2.นางดวงทิพย์ อย่สู บาย กรงุ เทพฯ, หนา้ 262-278,หน้า 144-156 etomorpha sp.) สำ�หรับอนุบาลลูกปลา 3.นางปรารถนา ควรดี การประชมุ วชิ าการวทิ ยาศาสตร์ การต์ ูนส้มขาววัยออ่ น (Amphiprion 4.นางสาวเสาวภา พีระสวสั ดิ์ ทางทะเล 2555 “การบรู ณา การการศกึ ษาวทิ ยาศาสตร์ ocellaris Cuvier, 1830) 5.นางสาวชยารตั น์ ปล้มื สำ�ราญ ทางทะเลภายใตส้ ภาวะการ เปล่ียนแปลงของโลก” วนั ท่ี 6.นายวรเทพ มุธวุ รรณ 17-19 ตุลาคม 2555 ณ โรง แรมตวันนา กรงุ เทพฯ,หนา้ 2 คุณภาพนำ้ �ทะเลและดนิ ตะกอน บริเวณ 1.นายอาวธุ หม่นั หาผล 395-403 ชายฝั่งทะเล จังหวัดชลบรุ ี 2.ดร. แววตา ทองระอา 3.นางสาวฉลวย มสุ ิกะ 4.นายวนั ชยั วงสุดาวรรณ

Annual Report 2014 Institute of Marine Science, Burapha University 35 ล�ำดบั ที่ ช่อื เรอ่ื งผลงานวิจัย คณะผู้วจิ ยั ชอื่ การประชมุ วชิ าการ วันท่ี/ สถานที่จัด,หน้าทตี่ พี ิมพ์ 3 ความสมั พนั ธร์ ะหว่างคณุ ภาพนำ้ � และแพ 1.นายวันชยั วงสุดาวรรณ ลงกต์ อนพชื บรเิ วณชายฝัง่ ทะเล จังหวดั 2.นายอาวธุ หมัน่ หาผล การประชมุ วิชาการวิทยาศาสตร์ ชลบุรี 3.นางสุพตั รา อยา่ งสวย ทางทะเล 2555 “การบรู ณา 4.นางสาวฉลวย มสุ ิกะ การการศกึ ษาวทิ ยาศาสตร์ 5.ดร. แววตา ทองระอา ทางทะเลภายใตส้ ภาวะการ เปลี่ยนแปลงของโลก” วันที่ 4 การบำ�บดั น้ำ�เสยี สำ�หรบั เล้ียงกงุ้ กุลาดำ� 1. นายพฒั นา ภูลเปยี่ ม 17-19 ตุลาคม 2555 ณ โรง Penaeus monodon วัยออ่ น โดยบึง แรมตวันนา กรุงเทพฯ,หน้า ประดิษฐป์ ระยุกต์ 364-370 5 ผลของไนโตรเจนทใี่ ช้เลยี้ งสาหรา่ ย 1. ดร.อมรรัตน์ กนกรงุ่ การประชุมวชิ าการวิทยาศาสตร์ Isochrysis galbaba ต่อองคป์ ระกอบ 2. ดร.จารนุ นั ท์ ประทมุ ยศ ทางทะเล 2555 “การบูรณา ทางเคมีของโคพีพอดและการเจรญิ เติบโต 3. นางณิษา สริ นนท์ธนา การการศกึ ษาวิทยาศาสตร์ ของลกู ปลาการต์ นู ดำ�แดง Amphiprion ทางทะเลภายใต้สภาวะการ ephipium เปลี่ยนแปลงของโลก” วนั ท่ี 17-19 ตุลาคม 2555 ณ โรง 6 การเจรญิ ของเอม็ บรโิ อก้งุ การ์ตนู 1.นางสาววิรชา เจริญดี แรมตวันนา กรงุ เทพฯ,หนา้ Hymenocera picta Dana,1852 2.ดร.เสาวภา สวัสดพ์ิ รี ะ 203-209 3.ดร.วรเทพ มุธวุ รรณ 4.นางสาวศริ ิวรรณ ชศู รี การประชุมวชิ าการวทิ ยาศาสตร์ 5.นางสาวอนงค์ คณู อาจ ทางทะเล 2555 “การบูรณา การการศึกษาวทิ ยาศาสตร์ 7 กล่มุ ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมและ 1. ดร.ทรรศิน ปณธิ านะรักษ์ ทางทะเลภายใต้สภาวะการ ความหลากหลายของสาหร่ายซูแซนเทล เปล่ยี นแปลงของโลก” วนั ท่ี ลีท่ อ่ี าศัยอยูร่ ่วมกบั ปะการงั ออ่ นวงศ์ 17-19 ตุลาคม 2555 ณ โรง Alcyoniidae แรมตวนั นา กรุงเทพฯ,หนา้ 210-219 การประชมุ วชิ าการวิทยาศาสตร์ ทางทะเล 2555 “การบรู ณา การการศกึ ษาวิทยาศาสตร์ ทางทะเลภายใต้สภาวะการ เปลีย่ นแปลงของโลก” วันที่ 17-19 ตลุ าคม 2555 ณ โรง แรมตวนั นา กรงุ เทพฯ,หนา้ 195-202 การประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์ ทางทะเล 2555 “การบูรณา การการศกึ ษาวิทยาศาสตร์ ทางทะเลภายใต้สภาวะการ เปลีย่ นแปลงของโลก” วันที่ 17-19 ตุลาคม 2555 ณ โรง แรมตวนั นา กรุงเทพฯ,หน้า 169-184

36 รายงานประจำ�ปี 2557 สถาบันวทิ ยาศาสตรท์ างทะเล มหาวิทยาลยั บูรพา ล�ำดับที่ ช่อื เรื่องผลงานวิจัย คณะผวู้ จิ ยั ชอื่ การประชมุ วชิ าการ วันท/่ี สถานทจี่ ัด,หน้าทีต่ พี ิมพ์ 8 การเปลี่ยนอาหารในช่วงอายขุ องการ 1.นางสาวดวงทพิ ย์ อยสู่ บาย อนบุ าลทีต่ า่ งกนั ทผี ลตอ่ อัตรารอดของ 2.ดร.วรเทพ มุธุวรรณ การประชุมวชิ าการวทิ ยาศาสตร์ ลกู ปลาการ์ตูนส้มขาว (Amphiprion 3.นางปรารถนา ควรดี ทางทะเล 2555 “การบูรณา ocellaris Cuvier, 1830) 4.นายนฤชติ เสาวคนธ์ การการศึกษาวทิ ยาศาสตร์ 5.นายชนะเทศคง ทางทะเลภายใต้สภาวะการ 6.นางสาวศิรประภา ฟา้ กระจา่ ง เปลยี่ นแปลงของโลก” วนั ที่ 17- 19 ตลุ าคม 2555 ณ โรงแรมต วนั นา กรุงเทพฯ,หนา้ 85-94 9 ชนิดของปะการังออ่ นและปะการงั แขง็ 1.นายนฤชิต เสาวคนธ์ การประชมุ วชิ าการวิทยาศาสตร์ บรเิ วณสถานีวิจัยการเพาะขยายพันธส์ุ ตั ว์ 2.นายชนะ เทศคง ทางทะเล 2555 “การบูรณา ทะเลท่หี ายากและใกลส้ ูญพันธ์ุ (หาดน้ำ� 3.นางสาว นภัสสร ต่อเจริญ การการศกึ ษาวทิ ยาศาสตร์ หนาว) อำ�เภอสตั หีบ จังหวัดชลบรุ ี 5.นางสาววริ ชา เจรญิ ดี ทางทะเลภายใต้สภาวะการ 6.นายวรเทพ มธุ วุ รรณ เปลย่ี นแปลงของโลก” วันที่ 17- 19 ตลุ าคม 2555 ณ โรงแรมต 10 การเพาะพนั ธ์หุ อยหวานทไ่ี ด้จากพ่อแม่ 1นางปรารถนา ควรดี วนั นา กรุงเทพฯ,หนา้ พันธ์ใุ นธรรมชาติและจากการเพาะเลีย้ ง 2นางสาวดวงทิพย์ อย่สู บาย การประชมุ วิชาการวทิ ยาศาสตร์ ทางทะเล 2555 “การบรู ณา ในโรงเพาะฟกั 3นางสาวศริ ะประภา ฟ้ากระจา่ ง การการศึกษาวิทยาศาสตร์ ทางทะเลภายใตส้ ภาวะการ 11 เอคไคโนเดิรม์ บริเวณเกาะแสมสาร 1. ดร.สุเมตต์ ปจุ ฉาการ เปล่ียนแปลงของโลก” วันที่ 17- จังหวัดชลบุรี 2. นายคมสนั หงภทั รครี ี 19 ตลุ าคม 2555 ณ โรงแรมต วันนา กรงุ เทพฯ,หน้า 95-103 การประชุมวิชาการชมรมคณะ ปฏิบัตงิ านวทิ ยาการ อพ.สธ. คร้งั ที่ 6 “ทรพั ยากรไทย : นำ� สิง่ ดีงามสตู่ าโลก”วนั ที่ 21-23 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ณ.เข่ือน ศรนี ครินทร์ การไฟฟ้าฝ่ายผลติ แหง่ ประเทศไทย, หน้า 162- 168 12 ความหลากชนดิ และความชกุ ชมุ ของแพ 1.ดร.จิตรา ตรี ะเมธี การประชมุ วิชาการชมรมคณะ ปฏบิ ตั ิงานวิทยาการ อพ.สธ. ลงกต์ อนสตั วท์ ะเล บรเิ วณอทุ ยานแหง่ ชาติ 2.นางสาวณฏั ฐวดี ภคู ำ� ครง้ั ท่ี 6 “ทรัพยากรไทย : นำ� ส่ิงดีงามสู่ตาโลก”วันที่ 21-23 หมเู่ กาะสรุ นิ ทร์ จงั หวดั พงั งา 3. ผศ.สนุ นั ท์ ภัทรจินดา ธันวาคม พ.ศ. 2556 ณ.เข่อื น ศรนี ครนิ ทร์ การไฟฟ้าฝ่ายผลติ แหง่ ประเทศไทย, หน้า 341- 353

Annual Report 2014 Institute of Marine Science, Burapha University 37 ล�ำดับท่ี ชื่อเรอ่ื งผลงานวิจยั คณะผ้วู ิจัย ช่อื การประชมุ วชิ าการ วันท/ี่ สถานทจ่ี ดั ,หนา้ ท่ีตพี ิมพ์ 13 ความหลากหลากทางชวี ภาพของสาหรา่ ย 1. ศาสตราจารย์กาญจน การประชมุ วิชาการชมรมคณะ ทะเล และหญา้ ทะเล บรเิ วณอุทยานแหง่ ภาชน์ ล่วิ มโนมนต์ ปฏิบตั งิ านวิทยาการ อพ.สธ. คร้งั ที่ 6 “ทรพั ยากรไทย : นำ� ชาตหิ มู่เกาะสรุ นิ ทร์ จงั หวัดพังงา 2. นางสาวธดิ ารตั น์ นอ้ ยรกั ษา ส่งิ ดงี ามสตู่ าโลก”วันท่ี 21-23 ธนั วาคม พ.ศ. 2556 ณ.เขอื่ น 3. นางสาวจันทนา แสงแกว้ ศรนี ครนิ ทร์ การไฟฟา้ ฝา่ ยผลติ แห่งประเทศไทย , หน้า 262- 4. ดร. จันทนา ไพรบรู ณ์ 278 5. นางสาวศิรกิ ลุ โตขำ� การประชุมวิชาการชมรมคณะ ปฏิบตั ิงานวทิ ยาการ อพ.สธ. 6. นางสาวจฑุ ารตั น์ วิริยะดารกิ ลุ คร้งั ท่ี 6 “ทรัพยากรไทย : นำ� สิง่ ดีงามสตู่ าโลก”วนั ท่ี 21-23 7. นายอรรถชัย คันธะชมพู ธนั วาคม พ.ศ. 2556 ณ.เข่ือน ศรีนครินทร์ การไฟฟ้าฝา่ ยผลติ 14 ความหลากชนิดของสตั วก์ ลุม่ หอยทะเล 1.ผศ.ธรี ะพงศ์ ด้วงดี แห่งประเทศไทย, หน้า 294- บรเิ วณหมเู่ กาะสรุ ินทร์ จังหวดั พังงา 2.ดร.กิติธร สรรพานิช 310 3.นางสาวศรณั ยพ์ ร ทองภญิ โญชยั 4.ผศ.วรี ะยตุ ขุย้ ศร ตารางท่ี 11 การเสนอผลงานวิจัยแบบบรรยายในการประชมุ วชิ าการระดบั นานาชาติ ล�ำดบั เรอ่ื ง คณะผ้วู ิจยั ช่อื การประชมุ วิชาการ ท่ี วนั ท่ี/สถานท่ีจดั 1 Brachidontes striatulus (Hanley, 1.Dr.Kitithorn Sanpanich ASEAN-India International Work- 1843) (Bivalvia: Mytilidae) first 2. Assis.Prof.Teerapong Duangdee shop “Extent of Transfer of alien recorded in Thai waters 3.Ms. Anchalee Chankong invasive organisms in South/ Southeast Asia region by ship- ping”November 26-28 ,2013 2 Development of a decision tree 1. Assoc. Prof. Teruhisa Komatsu NRCT – JSPS Joint International method to classify seagrass beds: example in Kung Kraben 2. Miss.Thidarat Noiraksar Seminar on Coastal Ecosystems Bay, Golf of Thailand, with use of ALOS AVNIR-2 3. Dr.Shingo X. Sakamoto in Southeast Asia .November 4. Dr.Hiroomi Miyamoto 15-17, 2013 5. Mr.Sophany Phauk 6. Mr.Pornthep Thongdee 7. Mr.Suthep Jualaong 8. Mr.Shuhei Sawayama 9. Prof. Dr.Shuhei Nishida

38 รายงานประจำ�ปี 2557 สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวทิ ยาลยั บูรพา ล�ำดบั เรื่อง คณะผู้วิจัย ชือ่ การประชมุ วชิ าการ ท่ี วันท/่ี สถานทจ่ี ดั 1. Dr.Vorathap Muthuwan 3 Marine Ornamental Decapods 2.Dr.Saowapa Sawatpeera The 21st annual conference of 3.Mr.Nattawut Luang-oon South East Asian zoo associa- Trade in Thailand. 4.Ms.Wiracha Charoendee tion, Thao Tcamvien Saigon zoo 5.Ms.Prattana Kuandee & botanical gardens, Hochiminh 4 Propagation of Marine city / Vietnam. November 18- Ornamental shrimp, Herlequin 1. Dr.Saowapa Sawatpeera 20, 2013 shrimp (Hymenocera picta) at 2.Dr.Vorathap Muthuwan Bangsean Aquarium 3.Mr.Nattawut Luang-oon 4.Ms.Wiracha Charoendee ตารางที่ 12 การเสนอผลงานวจิ ยั แบบบรรยายในการประชุมวชิ าการระดับชาติ ล�ำดับ เรือ่ ง คณะผ้วู ิจยั ชอ่ื การประชมุ วิชาการ วนั ที/่ ท่ี สถานทจี่ ัด 1 ความหลากชนดิ ของสตั ว์กลุ่มหอยทะเล 1.ผศ.ธีระพงศ์ ดว้ งดี บริเวณหมเู่ กาะสรุ ินทร์ จังหวัดพงั งา 2.ดร.กติ ิธร สรรพานิช 3.นางสาวศรณั ยพ์ ร ทองภญิ โญชยั 4 ผศ.วีระยุต ขยุ้ ศร การประชมุ วชิ าการชมรมคณะ 2 ความหลากหลากทางชีวภาพของ 1. ศาสตราจารย์กาญจนภาชน์ ปฏิบัตงิ านวทิ ยาการ อพ.สธ. ครง้ั สาหรา่ ยทะเล และหญ้าทะเล บรเิ วณ ลิ่วมโนมนต์ ท่ี 6 “ทรพั ยากรไทย : นำ�ส่งิ ดงี ามสู่ อุทยานแห่งชาติหมเู่ กาะสรุ นิ ทร์ จงั หวดั 2. นางสาวธดิ ารัตน์ นอ้ ยรักษา ตาโลก”วันท่ี 21-23 ธนั วาคม พ.ศ. พังงา 3. นางสาวจนั ทนา แสงแก้ว 2556 ณ.เข่อื นศรีนครินทร์ การไฟฟา้ 4. ดร. จันทนา ไพรบูรณ์ ฝ่ายผลิตแหง่ ประเทศไทย 5. นางสาวศริ ิกลุ โตขำ� 6. นางสาวจฑุ ารัตน์ วริ ิยะดาริกลุ 7. นายอรรถชัย คนั ธะชมพู 3 การศึกษาสภาวะทเ่ี หมาะสมในการ 1.ดร.ศริ ริ ัตน์ ชาญไววทิ ย์ การประชมุ วิชาการระดับชาติ สกัดและวเิ คราะห์กรดไขมนั จากเนอ้ื 2.นางสาวอภนิ ทรพ์ ร วทิ ยาศาสตรว์ จิ ัยครงั้ ท่ี 6 วนั ท่ี 20- ในเมล็ดมะมว่ งด้วยเทคนิค แกส๊ โครมา ทวีพรกุลพฒั น์ 21 มนี าคม 2557 ณ.มหาวทิ ยาลยั โทรกราฟ 3.นางปิยะวรรณ ศรวี ลิ าศ บูรพา 4.ผศ.ดร.สนุ นั ทา วังกานต์ 4 ผลของกรดไขมันตอ่ อตั รารอด อัตรา 1.ดร.เสาวภา สวัสดพ์ิ ีระ การประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์ทาง การเจริญเตบิ โต และพัฒนาการของ 2.ดร.วรเทพ มุธวุ รรณ ทะเล ครั้งที่ 4 “วทิ ยาการในโลก กุง้ การต์ ูน (Hymenocera picta 3.นางสาววิไลวรรณ พวงสันเทยี ะ ของทะเลสีคราม” วนั ท่ี 10 – 12 Dana,1852) ระยะวัยอ่อน 4นางสาวศริ วิ รรณ ชศู รี มถิ นุ ายน 2557 ณ. ศูนย์ประชุม 5.นางสาวอนงค์ คณู อาจ นานาชาตฉิ ลองสริ ิราชสมบัติครบ 60 ปี มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ หาดใหญ่

Annual Report 2014 Institute of Marine Science, Burapha University 39 ล�ำดบั เร่ือง คณะผูว้ ิจัย ชื่อการประชุมวชิ าการ วันท/ี่ ท่ี นางปรารถนา ควรดี สถานท่จี ดั 5 ผลของวิตามนิ ซตี ่ออัตราการรอดและ การประชุมวชิ าการวทิ ยาศาสตรท์ าง ทะเล คร้ังที่ 4 “วิทยาการในโลก อัตราการเจริญเติบโตของหอยหวาน ของทะเลสคี ราม” วันที่ 10 – 12 มถิ ุนายน 2557 ณ. ศนู ย์ประชมุ ระยะลงเกาะถงึ 2 เดือน นานาชาติฉลองสิรริ าชสมบตั ิครบ 60 ปี มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ 6 ระบบหมนุ เวยี นนำ้ �แบบปิดโดยใช้ 1.นางสาวศิรประภา ฟา้ กระจ่าง หาดใหญ่ สาหร่ายคีโตมอร์ฟาเป็นตวั กรองชวี ภาพ 2.นางดวงทพิ ย์ อย่สู บาย การประชมุ วชิ าการประมงประจำ�ปี 2557 กรมประมง กรุงเทพฯ (Chaetomorpha sp.) สำ�หรบั อนุบาล 3.นางปรารถนา ควรดี ลกู ปลาการ์ตูนส้มขาววัยอ่อน (Amphi- 4.นางสาวเสาวภา พรี ะสวสั ด์ิ prion ocellaris Cuvier, 1830) 5.นางสาวชยารตั น์ ปลืม้ สำ�ราญ 6.นายวรเทพ มุธวุ รรณ ตารางที่ 13 การเสนอผลงานวจิ ยั แบบโปสเตอร์ในการประชุมวชิ าการระดับชาติ ล�ำดบั เร่อื ง คณะผู้วิจัย ชือ่ การประชมุ วชิ าการ วนั ที่ ท่ี สถานทีจ่ ดั 1.ดร.สเุ มตต์ ปุจฉาการ 1 เอคไคโนเดิรม์ บรเิ วณเกาะแสมสาร 2.ดร.คมสนั หงภทั รคีรี การประชุมวชิ าการชมรมคณะ จังหวัดชลบุรี ปฏิบตั ิงานวิทยาการ อพ.สธ. ครง้ั ที่ 6 “ทรพั ยากรไทย : นำ�ส่งิ ดงี ามสู่ 2 ความหลากชนดิ และความชกุ ชมุ ของแพ 1.ดร.จิตรา ตีระเมธี ตาโลก”วนั ที่ 21-23 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ณ.เข่อื นศรนี ครนิ ทร์ การ ลงกต์ อนสตั วท์ ะเล บรเิ วณอทุ ยานแหง่ 2. นางสาวณัฏฐวดี ภูคำ� ไฟฟา้ ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ชาตหิ มเู่ กาะสรุ นิ ทร์ จงั หวดั พงั งา 3. ผศ.สนุ นั ท์ ภทั รจินดา 3 การกระจายและการสะสมโลหะหนกั 1.นางสาวฉลวย มุสิกะ การประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์ทาง ในดนิ ตะกอนบรเิ วณอ่าวไทยตอนใน 2.นายวันชัย วงสดุ าวรรณ ทะเล คร้ังท่ี 4 “วทิ ยาการในโลก 3.นายอาวุธ หมั่นหาผล ของทะเลสคี ราม” วนั ที่ 10 – 12 4.ดร.แววตา ทองระอา มถิ ุนายน 2557 ณ. ศนู ย์ประชุม นานาชาตฉิ ลองสิรริ าชสมบตั คิ รบ 4 คุณลกั ษณะดินตะกอนในบรเิ วณชายฝงั่ 1นาย.อาวุธ หม่นั หาผล 60 ปี มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ หาดใหญ่ ทะเลตะวนั ออกของอา่ วไทย 2.ดร.แววตา ทองระอา 3.นางสาวฉลวย มุสิกะ 4.นายวนั ชัย วงสุดาวรรณ 5 การสะสมโลหะหนักบางชนดิ 1.นายวันชัย วงสุดาวรรณ ในดนิ ตะกอนป่าชายเลนชมุ ชน 2.ดร.แววตา ทองระอา บ้านแหลมฉบงั 3.นางสาวฉลวย มุสิกะ 4.นายอาวุธ หม่ันหาผล 6 พลังงานชีวภาพจากขยะในครวั เรอื น 1. นายพัฒนา ภูลเปย่ี ม ชุมชนชายฝงั่ ทะเลหาดวอนนภา

40 รายงานประจ�ำ ปี 2557 สถาบนั วิทยาศาสตรท์ างทะเล มหาวทิ ยาลัยบรู พา ล�ำดับ เร่ือง คณะผู้วจิ ยั ชื่อการประชมุ วิชาการ วันท่ี ท่ี สถานท่จี ดั 7 การเปลี่ยนแปลงความหนาแน่นของ 1.นางสาวสุพตั รา ตะเหลบ การประชมุ วชิ าการวทิ ยาศาสตร์ทาง ทะเล ครง้ั ท่ี 4 “วทิ ยาการในโลก แพลงกต์ อนพืชในพน้ื ท่ีแหลง่ เลยี้ งหอย 2.นายอาวุธ หมน่ั หาผล ของทะเลสีคราม” วันที่ 10 – 12 มิถุนายน 2557 ณ. ศนู ยป์ ระชมุ บริเวณอ่าวชลบรุ ีในปี 2553 3.นายวันชยั วงสุดาวรรณ นานาชาติฉลองสิริราชสมบตั ิครบ 60 ปี มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ 8 การจำ�แนกชนิดแมงกะพรนุ หลากสี 1. ดร. ทรรศนิ ปณธิ านะรกั ษ์ หาดใหญ่ บรเิ วณชายฝง่ั ทะเล จงั หวัดตราดโดยใช้ 2. นายณฐั วุฒิ เหลอื งอ่อน การประชมุ วชิ าการวทิ ยาศาสตรท์ าง ทะเล คร้งั ที่ 4 “วทิ ยาการในโลก เทคนิคทางอณูพันธศุ าสตร์ 3. นายอาวุธ หมั่นหาผล ของทะเลสคี ราม” วนั ท่ี 10 – 12 มถิ นุ ายน 2557 ณ. ศนู ย์ประชุม 4. นางสาวสุพตั รา ตะเหลบ นานาชาติฉลองสริ ริ าชสมบัตคิ รบ 60 ปี มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ 5. นางสาววริ ชา เจรญิ ดี หาดใหญ่ 9 คาลานอยดโ์ คพพี อดทะเลบรเิ วณอทุ ยาน 1. ดร.จิตรา ตีระเมธี การประชุมวิชาการวทิ ยาศาสตรท์ าง แหง่ ชาตหิ มเู่ กาะลนั ตา จงั หวดั กระบ่ี ทะเล ครง้ั ที่ 4 “วิทยาการในโลก ของทะเลสีคราม” วันท่ี 10 – 12 10 ความหลากหลายของหอยทะเล 1.ดร.กิตธิ ร สรรพานชิ มิถุนายน 2557 ณ. ศูนย์ประชมุ บริเวณตอนใต้ของหมูเ่ กาะเมอร์กยุ 2.ผศ. ดร.ธีระพงศ์ ดว้ งดี นานาชาตฉิ ลองสริ ิราชสมบตั คิ รบ สาธารณรฐั แหง่ สหภาพพมา่ 60 ปี มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ หาดใหญ่ 11 การเปลี่ยนแปลงความหนาแนน่ ของ 1.นางสาวสุพัตรา ตะเหลบ แพลงก์ตอนพชื ในพน้ื ท่ีแหล่งเลย้ี งหอย 2.นายอาวุธ หมนั่ หาผล บริเวณอา่ วชลบุรีในปี 2553 3.นายวนั ชยั วงสุดาวรรณ 12 ความหลากหลายของสัตว์ทะเลหนา้ ดิน 1. ดร.พัชรญา อปุ นนั ท์ ขนาดใหญโ่ ดยการลากคราดในอ่าวไทย 2. ดร.สเุ มตต์ ปจุ ฉาการ 3. ดร.ชลี ไพบูลย์กจิ กูล 4. ดร.วิโรจน์ ละอองมณี 5. ดร.เพญ็ จันทร์ ละอองมณี 6. ดร.เบ็ญจมาศ ไพบลู ยก์ ิจกูล 13 ผลของความถใี่ นการให้อาหารตอ่ การ 1.นายณฐั วุฒิ เหลืองออ่ น เจริญเติบโต การสืบพันธุ์ และการผลิต 2.ดร.เสาวภา สวสั ด์ิพีระ ตัวออ่ นของกงุ้ การต์ นู (Hymenocera 3.นางสาววิไลวรรณ พวงสันเทียะ picta) 4.นายอธิกพันธ์ ภธู นศริ ชิ นิสรา 14 การจำ�แนกชนิดแมงกะพรนุ หลากสี 1.นางสาวทรรศิน ปณธิ านะรักษ์ บริเวณชายฝงั่ ทะเล จงั หวดั ตราด โดย 2.นายณฐั วฒุ ิ เหลอื งอ่อน ใชเ้ ทคนิคทางอณูพันธศุ าสตร์ 3.นายอาวธุ หมนั่ หาผล 4.นางสาวสุพตั รา ตะเหลบ 5.นางสาววริ ชา เจรญิ ดี 15 ผลของวิตามนิ ซตี ่ออตั รารอด อัตรา 1.ดร.เสาวภา สวสั ด์ิพรี ะ การเจริญเติบโตและพฒั นาการของก้งุ 2.ดร.วรเทพ มุธวุ รรณ การ์ตูน(Hymenocera picta Dana, 3.นางสาววิไลวรรณ พวงสันเทยี ะ 1852) ระยะวยั ออ่ น 4.นางสาวศริ ิวรรณ ชูศรี 5.นางสาวอนงค์ คูณอาจ

Annual Report 2014 Institute of Marine Science, Burapha University 41 ตารางที่ 14 การเสนอผลงานวจิ ัยแบบโปสเตอร์ในการประชุมวชิ าการระดบั นานาชาติ ล�ำดบั เรื่อง คณะผู้วิจัย ช่อื การประชุมวชิ าการ ท่ี วันที่ /สถานทีจ่ ดั 1 Comparison of immune parameters in 1. Dr.Janjarus Watanachote cultured oyster (Saccostrea sp.) along 2. Dr.Supannee Leethochavalit the eastern coast of Thailand 3. Miss Nareerat Rittirut 2 Perkinsus atlanticus Infestation in undu- 1. Dr. Supannee Leethochavalit lated surf clam, Paphia undulata, along 2. Dr. Janjarus Watanachote the east coast of Thailand. 3. Miss Nareerat Rittirut 10th International 3 Antimicrobial activity of total lipids 1. Mrs. Nisa Siranonthana Marine Biotechnology extracted from Thai marine sponges. 2.Dr. Rawiwan Watanadilok conference (IMBC 2013) , 3. Mr. Somrat Taweedet 11-15 Nov.2013, Brisbane 4 Anti-MRSA and antioxidant activities 1.Ms. Rattanaporn Srivibool Convention and Exhibition of actinomycetes isolated from marine 2.Dr. Rawiwan Watanadilok Center, Australia sponges 3. Assoc. Prof. Dr. Subanthit Nimrat 5 Antioxidant activity of extracts from 1.Dr.Chutiwan sponge-associated bacteria collected Dechsakulwattana from Tao Island, Gulf of Thailand 2. Dr.Sumaitt Putchakarn 6 Species diversity of marine sponges 1. Dr.Sumaitt Putchakarn The Ninth World Sponge Conference, 4-8 Nov. along the western coast of the Gulf of 2. Dr. Komson 2013, The Esplanade Hotel Fremantle/ Australia Thailand Hongpadharakiree 7 Mapping Sargassum beds in the East 1. Miss.Thidarat Noiraksar Coast of the Gulf of Thailand, using 2. Assoc. Prof.Teruhisa ALOS AVNIR-2 image Komatsu NRCT – JSPS Joint Interna- 3. Mr.Shuhei Sawayama tional Seminar on Coastal 4. Prof. Dr.Shuhei Nishida Ecosystems in Southeast 5. Dr.Ken-ichi Hayashizaki Asia, 15-17 Nov. 2013, 8 Water currents at Samaesan, Chon- 1. Miss. Siraporn Tong-u-dom Khum Phucome, Chiang- mai, Thailand. buri, Thailand from July to December 2. Assist. Prof.Anukul 2011 Buranapratheprat 3. Miss. Thidarat Noiraksar 9 “A comparison of the fatty acid 1. Dr.Jarunan Pratoomyot “The 3rd International Fisheries Symposium (IFS) composition across the larval stages 2. Mrs.Nisa Siranonthana 2013”, 28-30 Nov. 2013, Ambassador of harlequin shrimp Hymenocera picta City Jomtien, Pattaya, Thailand Dana 1852 using wild, newly hatched and juvenile shrimp as standard: A perspective for aquaculture”

42 รายงานประจ�ำ ปี 2557 สถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล มหาวทิ ยาลัยบูรพา ล�ำดับ เรอ่ื ง คณะผ้วู จิ ยั ช่ือการประชมุ วชิ าการ ท่ี วนั ท่ี /สถานทจ่ี ัด 10 Antibacterial Activity Against Fish 1. Mrs.Nisa Siranonthana Pathogens and GC-FID Analysis of Lip- 2. Dr.Rawiwan Watanadilok id Extracts from Streptomyces sp. NS 3. Mr. Somrat Taweedet 4-6 Isolated from Mangrove Sediment. 4. Miss.Rattanaporn Srivibool Burapha University Inter- national Conference 2014 11 Antioxidative Pigment Isolated from 1. Dr.Rawiwan Watanadilok (BUU2014) , 3-4 July Streptomyces StrainCH 54-8. 2. Mrs.Nisa Siranonthana, 2014, Dusit Thani hotel 3. Ms.Rattanaporn Srivibool Pattaya, Chonburi, Thailand 13 Algicidal bacteria associated with 1. Dr.Chutiwan blooms of dinoflagellate Noctiluca Dechsakulwattana scintillans and diatom Skeletonema sp. the coast of Chonburi Province and Bangpakong Estuary 14 Screening of antimicrobial producing 1. Miss.Rattanaporn Srivibool Burapha University Inter- actinomycetes from mangrove sedi- 2. Manita Kamjam national Conference 2014 ments 3. Dr. Rawiwan Watanadilok (BUU2014) , 3-4 July 4. Assist. Dr. Kannikar 2014, Dusit Thani hotel 15 Freeradical scavenging activity of Duangmal Pattaya, Chonburi,Thailand marine actinomycetes isolated from 5. Prof. Dr.Kui Hong sediments 6. Dr. WasuPathom-aree 1.Ms.Thippaon Ouingao 2.Ms.Kanda Aiamkhod 3.Dr.Krongchan Ratanaphadit 4. Dr.RawiwanWatanadilok 16 A comparison of feeding live comet 1. Miss Siriwan Choosri seastars and two different, frozen spe- 2. Dr. Vorathep Muthuwan cies of seastar on the survival, growth 3. Mr. Nattawut Luang-oon and maturation of captive bred harle- 4. Miss Wiracha Charoendee Burapha University Inter- quin shrimp Hymenocera picta 5. Miss Wilaiwan Phuangsanthia national Conference 2014 6.Dr. Jarunan Pratoomyot (BUU2014) , 3-4 July 17 The Larval Development of The Harle- 1. Miss Wiracha Charoendee 2014, Dusit Thani hotel quin Shrimp Hymenocera picta Dana, 2. Dr. Saowapa Sawatpeera Pattaya, Chonburi,Thailand 1852 3.Dr. Vorathep Muthuwan 4. Miss Siriwan Choosri 5. Miss Anong Koonart 18 Antibacterial Activity Against Fish 1. Mrs. Nisa Siranonthana Burapha University Inter- Pathogens and GC-FID Analysis of 2.Dr. Rawiwan Watanadilok national Conference 2014 Lipid Extracts from Streptomyces 3. Mr. Somrat Taweedet (BUU2014) , 3-4 July sp. NS 4-6 Isolated from Mangrove 4.Miss Rattanaporn Srivibool 2014, Dusit Thani Hotel Sediment Pattaya, Chonburi,Thailand

Annual Report 2014 Institute of Marine Science, Burapha University 43 ล�ำดบั เรอ่ื ง คณะผวู้ จิ ยั ชื่อการประชมุ วิชาการ ที่ วนั ที่ /สถานที่จัด 19 Impacts of salinity on the growth, total 1.Dr. Amornrat kanokrung lipid, total protein content and fatty 2. Mrs. Nisa siranonthana acid profiles of Tetraselmis glacilis 3. Mrs. Thikumporn namkorn Bims-ppo17 Burapha University Inter- 20 Effects of larval density on survival rate 1.Ms. Doungtip Yousabuy national Conference 2014 and growth of Mandarin fish, Synchiro- 2.Dr. Vorathap Muthuwan (BUU2014) , 3-4 July pus splendidus (Herre, 1927) larvae 3.Dr. Saowapa Sawatpeera 2014, Dusit Thani Hotel 4.Ms. Siraprapa Fakrajung Pattaya, Chonburi,Thailand 5.Ms. Wilaiwan Phuangsanthia 6.Ms.Pawinee Pattarapreechakon 7.Ms. Prattana Kuandee 21 Morphological study of actinomycete 1. Ms. Rattanaporn Srivibool 18th International Micros- producing isolates from marine sedi- copy Congress, Sep 7-12, ments 2014, Prague Congress Centre, Prague, Czeck Republic 22 Systematics of marine brown alga Sar- 1. Mr. Attachai Kantachumpoo gassum from Thailand: a preliminary 2. Dr. Shinya Uwai study base on morphological data and 3. Miss Thidarat Noiraksar nuclear ribosomal internal transcribed 4. Assoc. Prof. Dr. Teruhisa spacer 2(ITS2) sequence Komatsu 23 Can a decision tree method to classify 1. Assoc. Prof. Dr. Teruhisa WESTPAC 9th International Scientific Symposium, seagrass beds in Kung Kraben Bay, Komatsu 22-25 April 2014, Nha Trang, Vietnam Gulf of Thailand, with use of ALOS 2. Miss Thidarat Noiraksar AVNIR-2? 3. Dr. Shingo X. Sakamoto 4. Dr. Hiroomi Miyamoto 5. Mr. Sophany Phauk 6. Mr. Pornthep Thongdee 7. Mr. Suthep Jualaong 8. Mr. Shuhei Sawayama 9. Prof. Dr. Shuhei Nishida 24 Morphological and Molecular Variations 1.Miss Khwanruan Srinui 12th International Conference on Copepoda, of the Plantkonic Calanoid 2. Dr. Susumu Ohtsuka 11-19 July 2014, korea Copepod Acartia pacifica Steuer, 3. Dr. Wansook Senanan 1915 in Asian Waters 4. Masahide Nishibori 5. KoTo Mikaa

44 รายงานประจำ�ปี 2557 สถาบันวทิ ยาศาสตรท์ างทะเล มหาวิทยาลยั บูรพา 2. ด้านบรกิ ารวชิ าการ ภารกจิ หลกั หนง่ึ ของสถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเลคอื การบรกิ ารวชิ าการเพอ่ื เผยแพรค่ วามรเู้ กยี่ วกบั วทิ ยาศาสตร์ ทางทะเล และสร้างความตระหนักเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมทางทะเลสู่สังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สถาบันวิทยาศาสตรท์ างทะเลยังมีสถานะเป็นแหล่งเรียนรูต้ ลอดชวี ิต ตามพระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 25 ทก่ี ลา่ วไวว้ ่า “รัฐต้องส่งเสริมการดำ� เนินงานและการจดั ตง้ั แหล่งการเรยี นรูต้ ลอดชวี ิตทุกรูปแบบ ได้แก่ หอ้ ง สมุดประชาชน พิพธิ ภณั ฑ์ หอศลิ ป์ สวนสัตว์ สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร์ อทุ ยานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ศนู ย์ การกฬี าและนันทนาการ แหลง่ ข้อมูล และแหลง่ การเรียนรอู้ ื่นอย่างพอเพียงและมปี ระสทิ ธิภาพ” ซงึ่ สถาบันวทิ ยาศาสตร์ ทางทะเล มสี ถานเลยี้ งสตั วน์ ำ�้ เคม็ และพพิ ธิ ภณั ฑว์ ทิ ยาศาสตรท์ างทะเล ทจี่ ดั เปน็ แหลง่ เรยี นรตู้ ามอธั ยาศยั สำ� หรบั เยาวชน และประชาชนทั่วไป นอกจากสถานเล้ียงสัตว์น�้ำเค็มและพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ทางทะเลแล้ว สถาบันฯ ยังมีกิจกรรม ด้านการบริการวิชาอ่ืนๆ อีกรวมทั้งกิจกรรมสนับสนุนการเรียนการสอน เช่น การจัดค่ายวิทยาศาสตร์และการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติทางทะเล การจดั การถา่ ยทอดเทคโนโลยี การฝกึ งานใหแ้ กเ่ กษตรกรและผู้ที่สนใจ การจัดทำ� จลุ สารส ถาบันฯ เพ่ือเผยแพร่ความรู้ การให้ค�ำปรึกษาหรือความรู้เก่ียวกับวิทยาศาสตร์ทางทะเลแก่บุคคลทั่วไปในรูปแบบต่างๆ การไดร้ บั เชิญไปเป็นอาจารยพ์ ิเศษหรอื วทิ ยากรบรรยายพเิ ศษ เป็นตน้ ซึง่ กิจกรรมตา่ งๆถือวา่ มคี วามส�ำคญั ในการบรู ณา การความรู้ที่ได้จากการวิจัย และองค์ความรู้ของบุคลากรในสถาบันฯ ไปสู่การให้บริการวิชาการแก่สังคมอย่างเป็นรูป ธรรม เปน็ ต้น เพื่อใหก้ ารด�ำเนินงานมีประสิทธภิ าพและเปน็ ไปตามนโยบาย เป้าหมาย และยุทธศาสตรข์ องสถาบนั ฯ ใน แตล่ ะปงี บประมาณจงึ มกี ารจดั ทำ� แผนปฏบิ ตั งิ านดา้ นบรกิ ารวชิ าการประจำ� ปใี หส้ อดคลอ้ งและสนบั สนนุ แผนยทุ ธศาสตร์ หลักของสถาบันฯ และมีการติดตามประเมนิ ผลและสรปุ ผลการปฏบิ ัตงิ าน สำ� หรับในปีงบประมาณ พ.ศ.2557 มีผลการ ปฏิบตั งิ านพอสรปุ ได้ดังนี้ 1. การจดั แสดง สถานเลี้ยงสัตว์น�้ำเค็มและพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ทางทะเล เป็นส่วนจัดแสดงส�ำหรับให้ความรู้แก่สาธารณชนท่ี บุคคลท่ัวไปสามารถเข้ามาชมเพื่อหาความรู้และได้รับความเพลิดเพลินไปด้วย จึงต้องมีการพัฒนาปรับปรุงการจัดแสดง อยา่ งต่อเนือ่ ง และทางสถาบนั ฯ ได้จัดให้มวี ทิ ยากรส�ำหรบั ใหค้ วามรูค้ วามเขา้ ใจก่อนเข้าชมรวมทง้ั การให้ความรเู้ พมิ่ เตมิ ระหวา่ งการเขา้ ชมอกี ดว้ ย สำ� หรบั ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2557 ไดม้ กี ารพฒั นาและปรบั ปรงุ ในสว่ นการจดั แสดงดงั ตอ่ ไปน้ี การจัดแสดงในสถานเลย้ี งสัตวน์ ำ�้ เคม็ เป็นส่วนท่ีจัดแสดงส่ิงมีชีวิตในทะเล โดยเฉพาะสัตว์ทะเลที่อาศัยอยู่ในท้องทะเลของไทย เพ่ือให้ความรู้ความ เข้าใจเกยี่ วกบั การดำ� รงชวี ติ ของสตั วท์ ะเล ซ่งึ ผู้เข้าชมจะมโี อกาสไดศ้ กึ ษาชนิด ความเป็นอยู่ และพฤตกิ รรมของสง่ิ มีชวี ติ ในทะเลที่นำ� มาจัดแสดงไดอ้ ยา่ งใกล้ชดิ โดยในปีงบประมาณ พ.ศ.2557 สถานเลยี้ งสตั ว์น้�ำเคม็ ไดม้ กี ารปรบั ปรุงจดั แสดง ต่างๆดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ตแู้ ปลก...สวยซอ่ นพิษ ในส่วนนี้ จดั แสดงเกีย่ วกบั ปลาสิงโต (Lionfish) ทไี่ ดช้ ือ่ วา่ ราชาแห่งท้องทะเล และปลากะรังหัวโขน(Stonefish) ท่ีได้ชอื่ ว่าพิษรา้ ยแรงทสี่ ดุ ชนิดหน่งึ ในท้องทะเล 2. การจดั ท�ำป้ายชอ่ื และนทิ รรศการภายในสถานเลยี้ งสัตวน์ �ำ้ เคม็ ในปนี ที้ างฝา่ ยสถานเลย้ี งสตั วน์ ำ�้ เคม็ ไดร้ บั งบประมาณจากเงนิ รายไดข้ องสถาบนั ฯ ในการจดั ทำ� ปา้ ยชอ่ื สตั วน์ ำ�้ และ นทิ รรศการภายในสถานเลยี้ งสตั ว์นำ�้ เค็ม เป็นจำ� นวนเงิน 1,800,000 บาท 3. การจัดสมั มนาสถานแสดงพันธ์สุ ัตว์นำ�้ แห่งประเทศไทย ครัง้ ที่ 5 เพอื่ เปน็ การเฉลมิ ฉลองเนอ่ื งในโอกาส 30 ปสี ถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล ทางฝา่ ยสถานเลย้ี งสตั วน์ ำ�้ เคม็ สถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเลจงึ ไดจ้ ดั โครงการสมั มนาครง้ั นขี้ นึ้ โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์ เพอ่ื จดั ทำ� รา่ งมาตรฐานสถานแสดงพนั ธส์ุ ตั วน์ ำ้� ของ

Annual Report 2014 Institute of Marine Science, Burapha University 45 ประเทศไทย รวมถึงเพื่อให้เกิดการแลกเปล่ียนวิชาการด้านสถานแสดงพันธุ์สัตว์น�้ำ และก่อให้เกิดความร่วมมือระหว่าง สถานแสดงพนั ธสุ์ ตั ว์น้�ำ เชน่ การแลกเปลย่ี นสัตวน์ ้�ำ การจดั ทำ� กจิ กรรมตามภารกจิ รว่ มกัน ทง้ั นี้งานได้มขี ึ้นระหวา่ งวันที่ 21-22 สงิ หาคม พ.ศ.2557 โดยมจี �ำนวนคนลงทะเบยี น 104 คน และผรู้ ่วมงานจากสถานแสดงพนั ธส์ุ ัตว์น้�ำ 11 แหง่ นอกจากน้ใี นปงี บประมาณ พ.ศ. 2557 นี้ ทางฝา่ ยสถานเล้ยี งสัตวน์ �้ำเคม็ ยังไดร้ ่วมมือกบั บริษทั ซคี อน บางแค ในการจัดนิทรรศการ “อภิมหาหอย” ที่ห้างซีคอนบางแค กรุงเทพฯ และร่วมมือกับบริษัทซีคอนดีเวลลอปเมนต์ จ�ำกัด จดั นทิ รรศการในงาน SEACON PET PLANET” ระหวา่ งวนั ที่ 21- 30 มนี าคม พ.ศ. 2557 ทหี่ า้ งซคี อน สาขาศรนี ครนิ ทร์ กรงุ เทพฯ 2. พพิ ิธภณั ฑว์ ทิ ยาศาสตร์ทางทะเล ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ฝา่ ยพพิ ธิ ภัณฑว์ ิทยาศาสตรท์ างทะเลไดม้ ผี ลการดำ� เนินงานของฝา่ ยฯตามแผนการ ปฏบิ ตั ิงานประจำ� ปี พ.ศ. 2557 ดงั น้ี 1. ปรบั ปรงุ การจัดแสดงและชดุ นทิ รรศการในสว่ นของพิพธิ ภัณฑ์วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล ได้แก่ 1.1 ชดุ นิทรรศการตจู้ ัดแสดงเรื่อง ฟองน�ำ้ 1.2 ชดุ นิทรรศการตจู้ ดั แสดงเรอื่ ง เอคไคโนเดิร์ม 1.3 ชุดนิทรรศการตู้จัดแสดงเร่อื ง ซากดกึ ด�ำบรรพ์ 2. การจัดนทิ รรศการเผยแพร่ความรู้ 2.1 นทิ รรศการวนั พ่อแห่งชาติ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2556 2.2 นทิ รรศการและกจิ กรรมในงานวันเด็กแหง่ ชาติ 2.3 นิทรรศการวันสถาปนาสถาบนั วิทยาศาสตร์ทางทะเล ครบรอบ 30 ปี วันท่ี 24 กรกฎาคม พ.ศ.2557 2.4 นทิ รรศการวนั แมแ่ ห่งชาติ “แม่ลกู ปลูกรัก ทอถักสายใย ร่วมใจปลูกปา่ ชายเลน ปที ่ี 2” 2.5 นิทรรศการวันวทิ ยาศาสตร์แหง่ ชาติ และผลงานวจิ ยั ด้านวทิ ยาศาสตร์ทางทะเลของสถาบันวิทยาศาสตร์ ทางทะเล 3. การผลิตส่ือเผยแพร่ความรู้ 3.1 หนงั สือเผยแพร่ “โครงการร่วมมอื กนั สรา้ งสรรค์แหล่งเรยี นรูท้ างทะเล” 3.2 หนังสือเผยแพร่ “ครบรอบ 30 ปี สถาบันวทิ ยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลยั บรู พา” 3.3 บอรด์ นทิ รรศการเรอื่ ง “ประวตั ิความเปน็ มา และผลงานในรอบ 30 ปี ของสถาบันวิทยาศาสตรท์ างทะเล ในหัวขอ้ “ความแข็งแกร่งบนเส้นทางแหง่ เกลียวคลน่ื และผนื ทะเลสคี ราม” 3.4 โปสเตอร์และสิ่งพมิ พเ์ ผยแพรค่ วามรู้ที่สนับสนนุ งานวิจยั และบริการวชิ าการจำ� นวน 158 ชน้ิ งาน 4. การจัดการพิพธิ ภณั ฑ์อ้างอิง 4.1 การส�ำรวจและเก็บรวบรวมตัวอย่าง/เนื้อเย่ือ ภาคสนามและพื้นท่ีด�ำเนินงานวิจัย เพ่ือใช้ในพิพิธภัณฑ์ อ้างอิง จ�ำนวน 475 ตัวอย่าง/ปี ดังน้ี - แพลงกต์ อนพืช 119 ตวั อยา่ ง - แพลงกต์ อนสัตว์ 153 ตวั อยา่ ง - สาหรา่ ยทะเลขนาดใหญ่ 40 ตัวอยา่ ง - ฟองน�ำ้ 45 ตวั อย่าง - เอคไคโนเดริ ์ม 30 ตวั อย่าง - ไบรโอซวั 5 ตวั อยา่ ง - แบคทเี รีย 8 ตัวอยา่ ง 4.2 การจ�ำแนกชนดิ และลงทะเบียนตัวอย่าง/สกดั DNA จากเนื้อเยือ่ สง่ิ มชี วี ิตในทะเล เพื่อจดั ท�ำฐานข้อมูล ของพิพิธภัณฑอ์ ้างองิ 200 ตวั อยา่ ง/ปี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook