Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานประจำปี 2553 สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล

รายงานประจำปี 2553 สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล

Published by local library, 2019-12-05 21:36:27

Description: รายงานประจำปี 2553 สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา

Keywords: รายงานประจำปี,สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล,มหาวิทยาลัยบูรพา,จดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยบูรพา

Search

Read the Text Version

พระราชดำ� รสั พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ในโอกาสเสด็จพระราชด�ำเนนิ ไปทรงเปดิ อาคาร ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรท์ างทะเล ณ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ บางแสน วันองั คารท่ี 24 กรกฎาคม 2527 ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์ทางทะเลน้ี ตั้งข้นึ โดยมจี ดุ ประสงค์ส�ำคญั ทีจ่ ะให้เปน็ ศนู ย์กลาง เพื่อการศึกษาวิจัยและเผยแพร่วิทยาการด้านวิทยาศาสตร์ทางทะเล ส�ำหรับภูมิภาคเอเชีย ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ผมู้ สี ว่ นเปน็ เจา้ ของและมสี ว่ นรว่ มดำ� เนนิ งานของศนู ยท์ กุ ฝา่ ย ควรจะถนอม รักษาไว้ด้วยความภาคภูมิใจและควรจะได้ร่วมมือกันปฏิบัติบริหารงาน โดยสมานฉันท์ให้ บรรลุผลเลศิ ตามวัตถปุ ระสงค์ทกุ ๆ ประการ พระทนี่ งั่ บรมพมิ าน วันที่ 17 กรกฎาคม พุทธศกั ราช 2527

www.BIMS.buu.ac.th

Annual Report 2010 Institute of Marine Science, Burapha University ค�ำน�ำ สถาบันวทิ ยาศาสตรท์ างทะเล เปน็ ส่วนงานเทยี บเทา่ คณะสงั กัดมหาวิทยาลยั บรู พา มีหน้าที่หลกั ในดา้ น การวจิ ยั และใหบ้ รกิ ารทางวชิ าการทางดา้ นวทิ ยาศาสตรท์ างทะเล แกน่ กั เรยี น นสิ ติ นกั ศกึ ษา และบคุ คลทวั่ ไป นอกจาก น้ีสถาบนั ฯ ยังมีสถานเลย้ี งสัตว์นำ�้ เค็ม และพพิ ิธภณั ฑว์ ทิ ยาศาสตร์ทางทะเลส�ำหรบั ให้เยาวชนและบคุ คลทวั่ ไปได้เขา้ มาศกึ ษาหาความรไู้ ดต้ ามอธั ยาศยั ดว้ ยตนเอง ซง่ึ จดั เปน็ แหลง่ การเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ ตามพระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 การจดั ท�ำรายงานประจำ� ปี พ.ศ. 2553 เป็นการรวบรวมขอ้ มลู ในการดำ� เนินงานของปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ระหวา่ งวนั ท่ี 1 ตลุ าคม พ.ศ. 2552 ถงึ วนั ที่ 30 กนั ยายน พ.ศ. 2553 ประกอบดว้ ยขอ้ มลู เกยี่ วกบั การบรหิ าร การวจิ ยั ทางดา้ นวทิ ยาศาสตรท์ างทะเลและสาขาวชิ าทเี่ กย่ี วขอ้ ง การใหบ้ รกิ ารตา่ งๆ ไดแ้ ก่ สถติ ผิ เู้ ขา้ ชมสถานเลย้ี งสตั ว์ น�ำ้ เคม็ และพพิ ธิ ภัณฑว์ ิทยาศาสตรท์ างทะเล การฝึกอบรม ประชมุ และสัมมนา การให้ค�ำปรึกษาทางวิชาการ การให้ บรกิ ารด้านการทำ� วิทยานพิ นธห์ รือปญั หาพเิ ศษของนสิ ิตนกั ศึกษาในระดบั อุดมศึกษา รวมทง้ั การให้บรกิ ารขอ้ มูลทาง ด้านวิทยาศาสตรท์ างทะเล เปน็ ตน้ รายงานประจ�ำปี พ.ศ. 2553 ฉบับนี้ ได้รวบรวมข้อมูลสรุปผลการด�ำเนินงานจากฝ่ายต่างๆ คือ ส�ำนักงานเลขานุการ ฝ่ายวิจัยวิทยาศาสตร์ทางทะเล ฝ่ายบริการวิชาการ ฝ่ายสถานเล้ียงสัตว์นำ�้ เค็ม ฝ่ายพิพิธภัณฑ์ วิทยาศาสตร์ทางทะเล และสถานีวิจัย สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเลหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ข้อมูลท่ีปรากฏในรายงาน ฉบบั นี้ คงเปน็ ประโยชนส์ �ำหรับหน่วยงานต่างๆ บา้ งตามสมควร และเป็นท่ีคาดหวังวา่ ขอ้ มลู เหล่าน้จี ะเป็นเคร่ืองช้ีน�ำ ในการปรบั ปรุงและพัฒนางานของสถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเลในทุกๆ ด้านสบื ไป คณะผจู้ ัดทำ�

รายงานประจำป 2553 สถาบันวท� ยาศาสตรทางทะเล มหาว�ทยาลยั บรู พา หนา้ สารบญั 1 2 3 13 ค�ำนำ� 14 ประวตั ิความเปน็ มาของสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล 15 ปรัชญา วสิ ยั ทศั น์ วัตถุประสงค์ นโยบายดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม 16 นโยบายแนวทางการพฒั นาและการบรหิ ารสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล 17 โครงสรา้ งการบริหาร 19 โครงสรา้ งการแบ่งสว่ นงาน 19 คณะกรรมการประจ�ำสถาบันวทิ ยาศาสตร์ทางทะเล 19 คณะกรรมการบริหารสถาบันวทิ ยาศาสตรท์ างทะเล 20 บคุ ลากรสถาบนั วิทยาศาสตร์ทางทะเล 20 การแบ่งส่วนงาน 21 21 ส�ำนักงานเลขานุการ 22 ฝา่ ยบริการวิชาการ 23 ฝ่ายวจิ ยั วทิ ยาศาสตร์ทางทะเล ฝา่ ยสถานเล้ียงสัตว์น้�ำเคม็ 26 ฝ่ายพพิ ธิ ภัณฑ์วทิ ยาศาสตร์ทางทะเล 43 สถานวี จิ ยั 62 เงินทุนหมุนเวียน สถาบันวทิ ยาศาสตรท์ างทะเล 80 ศูนย์เรยี นรโู้ ลกใตท้ ะเลบางแสน สถาบนั วิทยาศาสตร์ทางทะเล 84 สรุปผลงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (ตุลาคม 2552 – กันยายน 2553) ด้านการวิจยั และงานสร้างสรรค์ ดา้ นการบริการวชิ าการ ด้านการบรหิ ารจดั การ โครงการเดน่ ในรอบปี สรปุ ภาพกจิ กรรมในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (ตลุ าคม 2552– กนั ยายน 2553) ภาคผนวก

Annual Report 2010 Institute of Marine Science, Burapha University สารบัญตาราง หนา้ 17 ตารางท ่ี 17 1 จำ� นวนบคุ ลากรจ�ำแนกประเภทตามฝ่ายตา่ ง ๆ 18 2 จ�ำนวนบคุ ลากรจำ� แนกตามวฒุ ิการศึกษา 27 3 จำ� นวนบคุ ลากรจ�ำแนกตามต�ำแหนง่ 31 4 โครงการวจิ ยั จากงบประมาณเงนิ แผ่นดิน 32 5 โครงการวิจัยจากแหล่งทุนภายในสถาบนั ฯ (งบประมาณเงนิ รายได)้ 32 6 โครงการวิจัยจากแหล่งทนุ ภายนอกอ่นื 33 7 รายละเอยี ดโครงการทที่ ำ� ร่วมกบั องค์กรหรือหนว่ ยงานอ่ืน 34 8 รายงานวจิ ยั ฉบับสมบูรณ์ 34 9 การเผยแพร่ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ 36 10 การเผยแพรใ่ นวารสารวิชาการระดับชาติ 37 11 การเสนอผลงานวิจยั แบบบรรยายในการประชมุ วิชาการระดับนานาชาติ 38 12 การเสนอผลงานวิจัยแบบบรรยายในการประชมุ วิชาการระดบั ชาติ 38 13 การเสนอผลงานวิจัยแบบโปสเตอรใ์ นการประชมุ วิชาการระดบั นานาชาติ 39 14 การเสนอผลงานวิจัยแบบโปสเตอรใ์ นการประชมุ วชิ าการระดับชาติ 41 15 การเขยี นบทความเผยแพร่ทางส่งิ พมิ พ์ 16 บทความวิจัยทไี่ ดร้ บั การอา้ งอิงใน refereed journal หรือในฐานข้อมูลระดบั ชาติหรือระดับ 46 นานาชาต ิ 46 17 การจดั นทิ รรศการภายในมหาวทิ ยาลยั 48 18 การจัดนทิ รรศการภายนอกมหาวทิ ยาลัย 48 19 โครงการ/กจิ กรรมด้านวิทยาศาสตร์ทางทะเล 49 20 โครงการบรกิ ารวิชาการแกส่ งั คมทไ่ี ดร้ ับการจัดสรรจากแหล่งเงนิ ทนุ อนื่ 50 21 นักวจิ ัยต่างประเทศทีม่ าปฏบิ ตั ิงานวจิ ัย 50 22 การได้รับเชญิ เป็นวิทยากรภายในมหาวทิ ยาลยั บรู พา 53 23 การได้รบั เชิญเปน็ วิทยากรภายนอกมหาวิทยาลยั 24 การไดร้ ับเชิญเป็นกรรมการที่ปรึกษา/กรรมการผ้ทู รงคณุ วุฒิ 53 ภายในมหาวทิ ยาลัย 25 การได้รับเชิญเปน็ กรรมการทป่ี รึกษา/กรรมการผทู้ รงคุณวุฒิ 58 ภายนอกมหาวิทยาลัย 26 การรับนิสิตเขา้ มาท�ำปญั หาพเิ ศษ/วทิ ยานพิ นธ์

รายงานประจำป 2553 สถาบนั วท� ยาศาสตรท างทะเล มหาวท� ยาลยั บรู พา สารบญั ตาราง (ตอ่ ) ตารางท ี่ หน้า 27 การรับนสิ ติ /นกั ศกึ ษาเข้าฝึกงาน 60 28 สรุปจ�ำนวนการส่งบคุ ลากรไปศกึ ษาต่อ ฝึกอบรม ดูงาน และประชุมสัมมนาในประเทศ 62 29 งบประมาณเงินรายได้ประจำ� ปงี บประมาณ พ.ศ.2553 64 30 งบประมาณเงินแผ่นดินประจำ� ปงี บประมาณ พ.ศ.2553 64 31 สถติ ิผเู้ ข้าชมในปงี บประมาณ พ.ศ.2553 70 32 การประชาสัมพนั ธ์ ปีงบประมาณ พ.ศ.2553 (สือ่ วทิ ยุ โทรทัศน์ และเคเบิลทีวี) 72 33 การตลาด ปงี บประมาณ พ.ศ. 2553 75 34 ผลการประเมินคุณภาพภายในตามองคป์ ระกอบ 78

Annual Report 2010 Institute of Marine Science, Burapha University สารบัญภาพ ภาพท ่ี หน้า 1 แสดงความพึงพอใจ (ร้อยละ) ในการเข้าชมสถานเลีย้ งสัตว์นำ้� เคม็ พพิ ิธภัณฑ์ และ 45 วิทยากร ตง้ั แต่เดือนตลุ าคม 2552 - กนั ยายน 2553 2 แสดงจ�ำนวนผู้เขา้ ชมสถาบันวทิ ยาศาสตรท์ างทะเล 70 ตงั้ แต่ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2540 – 2553 3 แสดงร้อยละการส�ำรวจความพึงพอใจและความคดิ เห็นของผูม้ ารับบริการ 71 ประจำ� ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553

www.BIMS.buu.ac.th

Annual Report 2010 Institute of Marine Science, Burapha University ประวตั ิความเป็นมาของสถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล สถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล มหาวทิ ยาลยั บรู พา ไดร้ บั การพฒั นามาจาก “พพิ ธิ ภณั ฑส์ ตั วแ์ ละสถานเลยี้ ง สัตว์น�ำ้ เค็ม” มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ วิทยาเขตบางแสน ซึ่งก่อตัง้ เมอื่ เดอื นกันยายน พ.ศ. 2512 โดยคณะ อาจารยภ์ าควชิ าชวี วทิ ยาและนสิ ติ จำ� นวนหนงึ่ ภายใตก้ ารสนบั สนนุ ของ ดร.บญุ ถน่ิ อตั ถากร อดตี อธบิ ดกี รมการฝกึ หดั ครแู ละอดตี ปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ไดเ้ ปดิ ใหป้ ระชาชนเขา้ ชมอยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการตง้ั แตเ่ ดอื นธนั วาคม พ.ศ. 2513 ต่อมาเมื่อวันท่ี 26 ตลุ าคม พ.ศ. 2519 มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ วทิ ยาเขตบางแสน ไดก้ ราบทูลเชิญสมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอเจา้ ฟา้ จฬุ าภรณว์ ลยั ลกั ษณอ์ คั รราชกมุ ารี ทรงประกอบพธิ เี ปดิ พพิ ธิ ภณั ฑส์ ตั วแ์ ละสถานเลย้ี งสตั วน์ ้�ำเคม็ พิพิธภัณฑ์สัตว์และสถานเลี้ยงสัตว์น�้ำเค็มได้รับการพัฒนาขึ้นเป็นล�ำดับจนไม่สามารถขยายออกไปได้อีก ทงั้ นเี้ นอ่ื งจากตวั อาคารมขี นาดจำ� กดั และไมไ่ ดอ้ อกแบบไวส้ ำ� หรบั การนโี้ ดยตรง เพอื่ เปน็ การขยายกจิ การของพพิ ธิ ภณั ฑ์ สตั วแ์ ละสถานเลย้ี งสตั วน์ ำ�้ เคม็ ใหก้ วา้ งขวางยง่ิ ขนึ้ กวา่ เดมิ ทางมหาวทิ ยาลยั โดยการน�ำของ ดร.ทวี หอมชงและคณะ ได้ จัดท�ำโครงการขอความชว่ ยเหลือจากรฐั บาลญ่ปี ุ่นเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2523 รฐั บาลญป่ี นุ่ ได้ให้ความช่วยเหลอื แบบให้เปล่าในการจัดต้ังศูนย์วิทยาศาสตร์ทางทะเลเป็นมูลค่า 230 ล้านบาท โดยเริ่มก่อสร้างในวันท่ี 1 ธันวาคม พ.ศ. 2524 ณ บริเวณดา้ นหน้าของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ วิทยาเขตบางแสน ในเน้ือทป่ี ระมาณ 30 ไร่ โดย มสี มเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมเสดจ็ วางศิลาฤกษเ์ ม่อื วันท่ี 23 มนี าคม พ.ศ. 2525 การก่อสร้างแลว้ เสรจ็ และมพี ธิ มี อบใหแ้ กม่ หาวิทยาลยั เมื่อวนั ท่ี 1 มีนาคม พ.ศ. 2526 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เสด็จพระราชด�ำเนินทรงเปิดอาคารศูนย์วิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ วทิ ยาเขตบางแสน ในวนั ที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2527 จากนนั้ ศูนย์วิทยาศาสตรท์ าง ทะเลได้จัดท�ำโครงการเพ่ือยกฐานะเป็นสถาบันและได้รับอนุมัติให้เป็นสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2528 1

รายงานประจำป 2553 สถาบันว�ทยาศาสตรท างทะเล มหาวท� ยาลัยบรู พา ปรชั ญา พัฒนางานวิจัย ใส่ใจให้บริการ ประสานความร่วมมือ ยึดถือแนวทางอนุรักษ์ พิทักษ์ทะเลไทย วสิ ัยทัศน์ เปน็ ศนู ยก์ ลางแหง่ ความเปน็ เลศิ ทางการวจิ ยั และบรกิ ารวชิ าการดา้ นวทิ ยาศาสตรท์ างทะเล วัตถปุ ระสงค์ 1. เพอ่ื เปน็ แหลง่ ศึกษาคน้ คว้าวจิ ัยด้านวทิ ยาศาสตร์ทางทะเล 2. เพอ่ื เป็นแหลง่ เรียนรู้ แหลง่ ทอ่ งเท่ียวเชิงวิชาการ และการอนรุ ักษท์ รัพยากร ตลอดจน สนับสนนุ การเรียนการสอนด้านวิทยาศาสตรท์ างทะเลท้ังภายในและตา่ งประเทศ 3. เพื่อเป็นองคก์ รทมี่ ีระบบบรหิ ารจดั การทดี่ ีและมีประสิทธิภาพ นโยบายด้านสิง่ แวดลอ้ ม สถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล มหาวทิ ยาลยั บรู พา เปน็ สว่ นงานทม่ี หี นา้ ทใ่ี นการวจิ ยั ใหบ้ รกิ ารวชิ าการ ด้านวิทยาศาสตร์ทางทะเลและสาขาวิชาที่เก่ียวข้อง แก่นักเรียน นิสิต นักศึกษา ประชาชนโดยท่ัวไป นอกจากนี้ยัง สนบั สนนุ การเรยี นการสอนของมหาวทิ ยาลยั บรู พาและสถาบนั การศกึ ษาอนื่ ๆ ในการใหค้ �ำปรกึ ษาการสนบั สนนุ สถาน ที่ เครอ่ื งมือ อุปกรณ์ ส�ำหรับท�ำวทิ ยานพิ นธแ์ ละการฝกึ งานของนิสิต สถาบนั วทิ ยาศาสตร์ทางทะเลไดต้ ระหนกั ถึง ความสำ� คญั ของปญั หาสง่ิ แวดลอ้ มจากการดำ� เนนิ งานของสถาบนั ฯและเพอื่ เปน็ การสรา้ งคณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ใี นการทำ� งาน ของบคุ ลากรจงึ มนี โยบายทจี่ ะปรบั ปรงุ การท�ำงานในทกุ ๆดา้ นทม่ี ผี ลกระทบตอ่ สง่ิ แวดลอ้ มอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง โดยผบู้ รหิ าร และบุคลากรของสถาบนั วิทยาศาสตรท์ างทะเลมีความมุง่ มน่ั ทจ่ี ะปฏิบัตดิ ังน้ี 1. จะปฏิบตั ใิ หถ้ ูกตอ้ งตามกฎหมายด้านส่งิ แวดลอ้ มโดยการนำ� ข้อก�ำหนดตา่ งๆ มาจดั ทำ� เป็น มาตรฐานในการดำ� เนนิ งาน 2. จะใหค้ วามรแู้ ละสรา้ งจติ สำ� นึกให้บคุ ลากรทกุ คนมคี วามเขา้ ใจตระหนกั ถึงหนา้ ท่ีความรับผิดชอบ ในการที่จะปฏิบตั ิการปรบั ปรงุ เพื่อรกั ษาสิง่ แวดล้อมอยา่ งต่อเนอื่ ง 3. จะอนรุ กั ษ์พลังงานไฟฟ้า นำ�้ ประปา ทรพั ยากรธรรมชาติ โดยมุ่งมน่ั จะใช้ทรพั ยากรอย่าง ประหยดั และใหเ้ กิดประโยชน์สูงสดุ 4. จะควบคุมระบบการจัดการของเสยี โดยวิธที ป่ี ลอดภัยไดม้ าตรฐานและถกู ตอ้ งตามกฎหมาย 5. จะรบั ฟงั ความคดิ เห็นจากทกุ ฝา่ ยสง่ เสริมสนับสนนุ ในการพฒั นาปรับปรงุ ทบทวนวัตถุประสงค์ เป้าหมายทางด้านสิง่ แวดลอ้ ม โดยผู้บรหิ ารอยา่ งตอ่ เนื่องสม่ำ� เสมอและพร้อมทจ่ี ะเผยแพรต่ ่อ สาธารณะ 2

Annual Report 2010 Institute of Marine Science, Burapha University นโยบายแนวทางการพฒั นาและการบรหิ ารสถาบันวทิ ยาศาสตร์ทางทะเล (พ.ศ. 2552 – 2556) โดย ดร. วรเทพ มธุ วุ รรณ ผ้อู �ำนวยการสถาบนั วิทยาศาสตรท์ างทะเล วสิ ยั ทศั น์ ศูนยก์ ลางแห่งความเปน็ เลศิ ทางการวจิ ัยและบริการวชิ าการดา้ นวทิ ยาศาสตรท์ างทะเล เปา้ หมาย 1. เพอื่ เปน็ ศูนย์กลางแหง่ ความเปน็ เลศิ ทางการวจิ ัยและบรกิ ารวชิ าการ ดา้ นวิทยาศาสตร์ทางทะเล 1.1 มผี ลงานวจิ ยั ทม่ี คี ณุ ภาพในระดบั สากลและ/หรอื งานวจิ ยั ทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ ผลตอ่ ประชาชนอยา่ งเปน็ รปู ธรรมซงึ่ สามารถนำ� ไปใช้ประโยชน์ได้จริง 1.2 พฒั นาสถานเลย้ี งสตั วน์ ำ�้ เคม็ และพพิ ธิ ภณั ฑว์ ทิ ยาศาสตรท์ างทะเลอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ใหเ้ ปน็ แหลง่ เรยี น รนู้ อกระบบและแหลง่ ท่องเที่ยว ทางด้านวิทยาศาสตรท์ างทะเลที่ดที ส่ี ุดของประเทศ 1.3 เป็นทีใ่ หบ้ รกิ ารทางวิชาการ เผยแพร่ ถ่ายทอดเทคโนโลยี และนวัตกรรมใหแ้ กบ่ คุ คลทว่ั ไป ทั้งท่ี เป็นบริการสาธารณะ และทีส่ ามารถสร้างรายไดใ้ ห้กับหนว่ ยงาน 1.4 เป็นผนู้ �ำทางความคดิ และมบี ทบาทสำ� คัญในด้านการอนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาตทิ างทะเล 2. พฒั นาส่กู ารเป็นองค์กรแห่งการเรยี นรู้ 3. มีกระบวนการบริหารจดั การทีม่ ปี ระสิทธิภาพ โปร่งใสและเปน็ ธรรม แผนกลยทุ ธ์ เพอื่ ให้การดำ� เนนิ งานของสถาบันฯ บรรลุเป้าหมายท่กี �ำหนดไว้ จงึ ตอ้ งมีการวางแนวนโยบายการบริหาร จดั การ วตั ถปุ ระสงค์ และกลยทุ ธใ์ นการด�ำเนนิ งานของสถาบนั ฯ ในดา้ นตา่ งๆไว้ เพอ่ื เปน็ แนวทางในการบรหิ ารจดั การ ดังต่อไปนี้ ประเดน็ ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการบริหารจดั การ มีกระบวนการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ มีความคล่องตัว โปร่งใสและเป็นธรรม มีแผนการด�ำเนิน งานที่ชัดเจนและยืดหยุ่น พร้อมรับการเปล่ียนแปลงไปสู่การเป็นองค์กรในกำ� กับของรัฐและการเปล่ียนแปลงที่เป็น ประโยชน์ต่อองค์กร ให้ความสำ� คัญกับการพัฒนาบุคลากรและการประเมินในทุกระดับโดยเน้นความสำ� คัญของผล การปฏิบตั ิงาน มีระบบส่อื สารภายในองค์กรทม่ี ปี ระสิทธภิ าพ เพื่อส่ือสารและสรา้ งความเขา้ ใจระหวา่ งบคุ ลากร และ บคุ ลากรกบั ผบู้ ริหารทกุ ระดับ เปา้ ประสงค์ท่ี 1 เพอื่ ให้มกี ารบรหิ ารจัดการท่มี ีประสิทธิภาพและมีคณุ ภาพ มคี วามคลอ่ งตัว โปรง่ ใส และเป็นธรรม มีการประเมนิ ในทกุ ระดับโดยเน้นความสำ�คัญของผลการปฏบิ ตั งิ าน 3

รายงานประจำป 2553 สถาบนั วท� ยาศาสตรท างทะเล มหาว�ทยาลยั บรู พา กลยุทธ์ 1. พฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื การบรหิ ารใหส้ มบรู ณ์ พรอ้ มขอ้ มลู ทที่ นั สมยั เปน็ ปจั จบุ นั ส�ำหรบั ใช้ในการบริหารจดั การ 1.1 มกี ารนำ� เอาระบบงานทางอเิ ลกทรอนกิ สม์ าใชเ้ พอื่ เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ และลดขนั้ ตอนการดำ� เนนิ งาน 1.2 อนญุ าตใหบ้ คุ ลากรทมี่ สี ว่ นไดเ้ สยี ในการบรหิ ารจดั การ สามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ในการบรหิ ารจดั การ ในสว่ นท่ีเกีย่ วข้องได้ 2. พฒั นาชอ่ งทางการสอื่ สารขอ้ มลู การปฏบิ ตั งิ าน เพอ่ื เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ตั งิ าน และเพม่ิ ชอ่ ง ทางในการติดต่อสอื่ สารสำ� หรับบคุ ลากรของสถาบนั ฯและสำ� หรบั ประชาชนทว่ั ไป 2.1 ปรบั ปรุงเว็บไซต์ของสถาบนั ฯ ใหเ้ ป็นจุดทีใ่ หบ้ ริการเบด็ เสร็จ ส�ำหรับบุคลากรของสถาบันฯ และ มกี ารพัฒนาอยา่ งต่อเนือ่ ง 2.2 ใชร้ ะบบสอื่ สารใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพสงู สดุ ในการประชาสมั พนั ธ์ เพอื่ เผยแพร่ ขอ้ มลู ทช่ี ดั เจน ถกู ตอ้ ง ครบถ้วน เหมาะสมกับเวลาและสถานการณ์ สูบ่ คุ ลากรทกุ ระดบั 2.3 สรา้ งวัฒนธรรมการใช้ระบบส่ือสารภายในองคก์ ร ให้บคุ ลากรในทกุ ระดับ เพือ่ การส่ือสารข้อมูล และใช้แสดงความเห็น 2.4 ปรบั ปรงุ เวบ็ ไซตข์ องสถาบนั ฯใหเ้ ปน็ จดุ ทใี่ หบ้ รกิ ารทางวชิ าการสำ� หรบั ประชาชนทวั่ ไปทจี่ ะเขา้ มา หาความรู้ และสอบถามขอ้ มูลทางวชิ าการได้อย่างสะดวก 2.5 ปรับปรุงเวบ็ ไซต์ของสถาบันฯโดยเพมิ่ ช่องทางในการประชาสัมพันธแ์ ละการตลาดให้กบั องค์กร 3. สร้างโอกาสให้บุคลากรมสี ่วนร่วมในการเสนอความเห็น ในการบริหารจัดการ และการจัดทำ� แผนใน ระดบั ต่างๆ 3.1 บคุ ลากรมสี ว่ นรว่ มในการจดั ท�ำแผนยทุ ธศาสตร์ แผนการด�ำเนนิ งาน ในระดบั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง และสอ่ื ถึงบุคลากรอย่างทว่ั ถงึ มกี ารประเมิน และทบทวนแผนการดำ� เนนิ งานเป็นระยะเพือ่ ใหบ้ รรลุเป้า หมาย 3.2 บุคลากรมีส่วนร่วมในการวางแผนงาน กฎ ระเบียบ กติกา และวิธีปฏิบัติอ่ืน ๆ และยึดถือสิ่งท่ี กำ� หนดขึน้ ในการบริหาร จดั การ โดยไม่เลือกปฏบิ ัติ 4. มีกระบวนการบริหารบคุ ลากรที่มีคณุ ภาพ คุณธรรม โปรง่ ใส 4.1 มีระบบการท�ำงานท่ีให้บุคลากรของสถาบันฯ มุ่งสู่เป้าหมายหลักเดียวกันของสถาบันฯและ มหาวิทยาลัย 4.2 มีระบบประเมินบุคลากรที่สัมพันธ์กับผลการปฏิบัติงาน มีความยุติธรรมและโปร่งใส ตรวจสอบ ได้ 4.3 มรี ะบบทเ่ี อือ้ ให้คนดี มคี วามสามารถ สามารถทำ� งานไดอ้ ยา่ งเต็มศักยภาพ และมเี กยี รติ 5. มรี ะบบการประกนั คณุ ภาพทเ่ี ปน็ สว่ นหนง่ึ ของการบรหิ ารและมกี ารตรวจตดิ ตามอยา่ งสม�่ำเสมอ โดย ระบบการตรวจติดตามภายในองค์กร และการตรวจติดตามโดยบุคคลภายนอก 4

Annual Report 2010 Institute of Marine Science, Burapha University เป้าประสงค์ที่ 2 เพอ่ื ให้เป็นองคก์ รท่พี รอ้ มรับการเปลยี่ นแปลงไปท่ีเปน็ ประโยชน์ต่อองค์กร มกี าร ปรบั องคก์ รใหเ้ ขา้ สรู่ ะบบใหมท่ ม่ี หาวทิ ยาลยั ได้กลายเปน็ มหาวทิ ยาลยั ในก�ำกับของรัฐ กลยุทธ์ 1. มกี ารสอื่ สารอยา่ งสมำ�่ เสมอ เพอ่ื ใหบ้ คุ ลากรไดท้ ราบถงึ ขอ้ มลู และความเปลย่ี นแปลงตา่ งๆ โดยเฉพาะ ในเรือ่ งของ ขอ้ บงั คับ ระเบยี บ ประกาศ ฯลฯ ตา่ งๆทเี่ กดิ ขนึ้ ตามมา 2. มกี ารเตรยี มการในการปรบั ปรงุ โครงสรา้ งองคก์ รภายใน และระเบยี บปฏบิ ตั ติ า่ งๆทส่ี ามารถดำ� เนนิ การ ได้ ให้มีความคลอ่ งตัวมากขึ้นและสอดคลอ้ งกับ กฏหมาย ขอ้ บังคับ ระเบยี บ ฯลฯ ทม่ี ีการประกาศใช้ใหม่ 3. พฒั นาความเขม้ แข็งของสถาบนั ฯ ในดา้ นตา่ งๆ เชน่ การวจิ ยั การบรกิ ารวชิ าการ การจัดหารายได้ ให้ สามารถพึ่งพาตนเองไดโ้ ดยเร็ว โดยเฉพาะบุคลากรต้องมปี ระสทิ ธภิ าพ ทักษะ และความสามารถในงานท่รี บั ผิดชอบ มากขึน้ 4. เพ่มิ ชอ่ งทางการจัดหารายไดน้ อกงบประมาณ จากองคค์ วามรูท้ างการวจิ ยั และวชิ าการให้มากข้ึน เป้าประสงค์ท่ี 3 เพอื่ พฒั นาบุคลากรในทุกระดบั และทกุ กลมุ่ ตามศักยภาพ และหนา้ ที่รบั ผิดชอบท่ี ปฏบิ ัตอิ ยู่ กลยทุ ธ์ 1. ส�ำรวจและจัดท�ำแผนพัฒนาบุคลากรของฝ่ายต่างๆอย่างเป็นระบบ และสอดคล้องกับทิศทางการ พัฒนาของสถาบันฯและมหาวทิ ยาลัย 2. สง่ เสริมให้บคุ ลากรใหม้ ีความก้าวหน้าในสายงาน โดยยดึ หลักผลสัมฤทธิ์ของงาน 3. สง่ เสรมิ ให้บุคลากรมกี ารพฒั นาทั้งในดา้ นงานอาชีพ และการศึกษา ตามศกั ยภาพและความตอ้ งการ ของสถาบันฯ 4. มีระบบการติดตามและประเมินผลการพัฒนาบคุ ลากรอยา่ งเหมาะสม ประเด็นยทุ ธศาสตรด์ ้านการเงนิ และงบประมาณ มีระบบการบริหารจัดการงบประมาณท่ีมีประสิทธิภาพ และใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการ เพื่อ ผลักดันให้บรรลุเป้าหมายของสถาบันฯได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ มีการเพิ่มแหล่งทุนนอกงบประมาณโดย ใช้ทรัพย์สินท่ีมีอยู่ให้เกิดรายได้สูงสุดและเพ่ิมช่องทางในการจัดหารายได้โดยเฉพาะจากงานวิจัยเชิงพาณิชย์และการ บรกิ ารวชิ าการทเ่ี กดิ ขน้ึ จากการวิจัย เพื่อการพง่ึ พาตนเอง เป้าประสงคท์ ี่ 1 เพือ่ พัฒนาและ/หรือ ใชป้ ระโยชน์ระบบบรหิ ารจดั การงบประมาณอยา่ งมี ประสทิ ธภิ าพสงู สดุ และมกี ารจัดสรรงบประมาณตามผลของการปฏบิ ัตงิ าน 5

รายงานประจำป 2553 สถาบนั วท� ยาศาสตรทางทะเล มหาว�ทยาลยั บูรพา กลยทุ ธ์ 1. ใหค้ วามสำ� คญั กบั การพฒั นาหรอื นำ� เอาระบบทใ่ี ชใ้ นการบรหิ ารจดั การงบประมาณ มาใชใ้ นการบรหิ าร จดั การ อย่างมปี ระสิทธิภาพ มขี ้อมลู ทท่ี นั สมยั และเปน็ ปจั จุบนั สามารถใชใ้ นการตัดสนิ ใจไดท้ ุกเวลา 2. มรี ะบบงบประมาณทมี่ กี ารรายงาน การประเมนิ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ โปรง่ ใส และสามารถตรวจสอบ ได้ เปา้ ประสงค์ที่ 2 เพอื่ ใช้ระบบการงบประมาณในการส่งเสริมใหส้ ถาบนั ฯ สามารถบรรลุเปา้ หมายใน การบรหิ ารได้อย่างรวดเรว็ และมปี ระสทิ ธภิ าพ กลยุทธ์ 1. สง่ เสรมิ การใชร้ ะบบการงบประมาณ เปน็ เครอ่ื งมอื ในการผลกั ดนั องคก์ รใหก้ า้ วไปสเู่ ปา้ หมายหลกั ของ สถาบันฯ 2. มกี ารจดั สรรงบประมาณตามผลสัมฤทธขิ์ องงานและงานทสี่ อดคลอ้ งกับเป้าหมายของสถาบนั ฯ เป้าประสงค์ท่ี 3 เพอ่ื ให้มีการจัดหาแหลง่ ทุนนอกงบประมาณมากขน้ึ โดยเฉพาะรายได้ทเ่ี กิดจาก องคค์ วามรู้ของสถาบนั ฯ กลยทุ ธ์ 1. สรา้ งตราผลติ ภณั ฑข์ องสถาบันฯและสรา้ งมูลคา่ ใหก้ บั ตราผลติ ภณั ฑ์ เพอื่ ใช้ในผลติ ภณั ฑต์ า่ งๆ ท่ีเกดิ ข้ึน 2. สง่ เสรมิ การนำ� เอาองคค์ วามรจู้ ากการวจิ ยั และความรทู้ างวชิ าการ มาพฒั นาเปน็ ผลติ ภณั ฑแ์ ละบรกิ าร ทางวชิ าการ ที่สามารถสร้างรายไดใ้ ห้กับสถาบันฯ และมหาวิทยาลยั ”โครงการองคค์ วามรสู้ ผู่ ลิตภัณฑ”์ 3. มรี ะบบทสี่ รา้ งแรงจงู ใจ เชน่ ผลตอบแทนในสดั สว่ นทเี่ หมาะสม ใหก้ บั ผวู้ จิ ยั หรอื กลมุ่ วจิ ยั ทพ่ี ฒั นาองค์ ความรู้จากการวิจยั มาสผู่ ลติ ภณั ฑ์และการบรกิ าร 4. มกี ารใชท้ รพั ยส์ นิ ทม่ี อี ยใู่ หเ้ กดิ รายไดส้ งู สดุ เพอ่ื ลดภาระคา่ บำ� รงุ รกั ษาดว้ ยเงนิ งบประมาณและเปน็ การ เพ่ิมรายได้ เช่น ใหม้ ีการใชเ้ ครอ่ื งมอื วิจัย รบั จา้ งหรือใหเ้ ช่า ตรวจ วเิ คราะห์ ทางห้องปฏิบัติการ 5. ส่งเสริมให้เอกชนและ/หรือหน่วยงานหารายได้ของสถาบันฯ เข้ามามีส่วนร่วมในการลงทุน พัฒนา ผลิตภัณฑ์ การบริการทางวิชาการ และการตลาด 6. จัดใหม้ รี ะบบในการจดั สรร ผลประโยชนท์ ่ีเกดิ ข้ึนจากผลประโยชนใ์ นงานวจิ ัยในกรณีทีเ่ อกชนเข้ามา มีสว่ นรว่ มในการสนบั สนนุ งบประมาณในการวจิ ัยและพัฒนา 7. สรา้ งเครอื ขา่ ยกบั เอกชนและชกั ชวนใหห้ นว่ ยงานเอกชนเขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการสนบั สนนุ งบประมาณ เพ่ือการเผยแพร่ความรู้ การอนุรักษ์ทรัพยากร ฯลฯ 8. ให้มกี ารทบทวน ปรบั ปรุงระเบยี บ และวิธปี ฏบิ ตั ิ ในส่วนของการหารายได้อยา่ งสม่ำ� เสมอ เพื่อให้เกดิ ความคล่องตวั และมปี ระสทิ ธภิ าพสูงสุด 6

Annual Report 2010 Institute of Marine Science, Burapha University ประเด็นยทุ ธศาสตรด์ า้ นการวจิ ยั มีความเปน็ เลศิ ในดา้ นการวจิ ยั ทางด้านวิทยาศาสตรท์ างทะเลและเป็นทยี่ อมรับในระดับสากล โดยมกี าร กำ� หนดทศิ ทางการวจิ ยั ทช่ี ดั เจนสอดคลอ้ งกบั เปา้ หมายของสถาบนั ฯ มหาวทิ ยาลยั และยทุ ธศาสตรก์ ารวจิ ยั ของประเทศ สนับสนนุ งานวจิ ยั ทส่ี ามารถน�ำไปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชนใ์ นด้านต่างๆ มีระบบช่วยในการบรหิ ารงานวิจัยทมี่ ปี ระสทิ ธิภาพ และสนบั สนนุ ใหน้ กั วจิ ยั สามารถท�ำงานไดอ้ ยา่ งเตม็ ประสทิ ธภิ าพ สง่ เสรมิ และสรา้ งเครอื ขา่ ยความรว่ มมอื ของนกั วจิ ยั และสถาบนั วิจยั ท้ังในและนอกประเทศ เปา้ ประสงคท์ ่ี 1 เพ่อื สร้างความเป็นเลิศในการวจิ ัยทางดา้ นวิทยาศาสตรท์ างทะเล กลยทุ ธ์ 1. สนบั สนนุ กล่มุ วิจัยทเี่ ขม้ แข็งและมผี ลงานท่โี ดดเดน่ สามารถไดเ้ ปรยี บในเชงิ การแขง่ ขนั ให้พัฒนางาน วิจัยอย่างต่อเนื่อง และผลักดันให้กลายเป็นหน่วยวิจัยท่ีเป็นเลิศเฉพาะทางโดยเร็วและดำ� รงสถานภาพของความเป็น เลิศไดอ้ ยา่ งยง่ั ยนื “Marine Ornamentals Research Center” 2. ทบทวน ปรบั ปรุงโครงสรา้ ง หนา้ ที่ บุคลากรวิจยั ใหม้ คี วามเหมาะสมกบั ปรมิ าณงาน คณุ ภาพของ งาน และความร้คู วามสามารถของนกั วจิ ัย เพอื่ นำ� ไปสกู่ ารพฒั นาส่คู วามเปน็ เลิศของกลุ่มวิจยั 3. จัดล�ำดับการพัฒนากลุ่มวิจัยเพ่ือให้ก้าวสู่ความเป็นเลิศตามศักยภาพ โดยสนับสนุนให้มีความพร้อม และความเขม้ แข็ง เพื่อให้ผลิตมผี ลงานที่โดดเด่นเป็นสากล และผลักดันให้เกดิ หนว่ ยวจิ ัยทเ่ี ป็นเลศิ เฉพาะทางต่อไป 4. มรี ะบบสนับสนนุ ผมู้ คี วามสามารถในการวิจัยเปน็ พิเศษ 5. สนับสนนุ ใหม้ ีกองทุนวิจยั เพื่อการพัฒนางานวิจยั อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เปา้ ประสงคท์ ี่ 2 เพ่ือใหง้ านวจิ ัยของสถาบันฯเป็นทีย่ อมรับในระดบั ประเทศและระดับสากล กลยุทธ์ 1. มีระบบตอบแทนนกั วิจยั ที่มีการพัฒนาคณุ ภาพของงานวจิ ัยใหม้ คี ณุ ภาพ เป็นสากล เชน่ สามารถตี พิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ ท่มี ี impact factor สงู อยา่ งสม�่ำเสมอ หรอื งานวิจยั ที่สามารถนำ� ไปเผยแพร่และเกิด ประโยชนแ์ กป่ ระชาชน สงั คม หรืออุตสาหกรรม หรือสรา้ งรายได้ใหก้ ับสถาบันฯและมหาวทิ ยาลัย 2. สนบั สนนุ งานวจิ ยั ทเ่ี ปน็ ทต่ี อ้ งการของชมุ ชน ประเทศชาติ และสามารถนำ� ผลไปสกู่ ารจดสทิ ธบิ ตั รหรอื สร้างรายได้ให้กบั หน่วยงาน 3. พัฒนาคุณภาพของนักวจิ ัยอย่างต่อเนือ่ ง และมรี ะบบสนบั สนนุ เพอื่ เพมิ่ ขดี ความสามารถของนกั วิจัย 4. สนบั สนุนโครงสรา้ งพื้นฐาน เครื่องมือ อุปกรณ์ สงิ่ อ�ำนวยความสะดวกและเวลา ในการท�ำวิจัยให้กบั นกั วิจยั อย่างเพียงพอ 5. สรา้ งระบบประกนั คณุ ภาพงานวจิ ยั โดยมรี ะบบชว่ ยเหลอื นกั วจิ ยั ในการเขยี นขอ้ เสนอโครงการวจิ ยั ทมี่ ี คณุ ภาพ เพอื่ แสวงหาทนุ วจิ ยั ทงั้ ในและนอกประเทศ และการปรบั ปรุงคุณภาพของงานวจิ ัยใหม้ ีคณุ ภาพในระดับสากล 6. มรี ะบบสนบั สนนุ ใหม้ ีการเผยแพร่ผลงานวิจัย ในทกุ รูปแบบ โดยเน้นการเพม่ิ ศักยภาพของ นักวิจยั ใหส้ งู ขึ้นเปน็ ล�ำดบั มากกว่าการส่งเสรมิ โดยปราศจากการพฒั นานักวิจยั 7

รายงานประจำป 2553 สถาบันว�ทยาศาสตรทางทะเล มหาว�ทยาลยั บูรพา เปา้ ประสงคท์ ่ี 3 เพ่ือก�ำหนดทิศทางการวิจยั ทช่ี ัดเจน สอดคลอ้ งกบั เปา้ หมายของสถาบนั ฯ มหาวิทยาลัย และยุทธศาสตร์การวจิ ัยของประเทศ และเพ่อื สนบั สนนุ งานวจิ ยั ท่ีสามารถน�ำไปใช้ให้เกิด ประโยชน์ในด้านต่างๆไดจ้ รงิ กลยุทธ์ 1. มีการก�ำหนดแผนยุทธศาสตร์ด้านการวิจัยของสถาบันฯให้สอดคล้องกับเป้าหมายของสถาบัน มหาวทิ ยาลัย และตามยทุ ธศาสตรข์ องชาติ 2. สง่ เสรมิ งานวจิ ยั ทม่ี ที ศิ ทาง สอดคลอ้ งกบั เปา้ หมายของสถาบนั ฯ และตรงตามความตอ้ งการของชมุ ชน ผใู้ ชส้ ามารถน�ำไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้จรงิ 3. สรา้ งเครอื ขา่ ยความรว่ มมอื กบั องคก์ ารปกครองทอ้ งถนิ่ และชมุ ชน ใหเ้ ขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการตง้ั โจทย์ วจิ ยั และ/หรอื มีส่วนสนบั สนนุ งบประมาณในการวิจัย ท่เี ป็นท่ตี อ้ งการของทอ้ งถน่ิ 4. ส่งเสริมงานวจิ ัยเชิงพาณิชย์ ท่สี ามารถสร้างรายไดใ้ หก้ บั สถาบนั ฯและมหาวทิ ยาลัย 5. สนับสนุนให้เอกชนเข้ามามีส่วนร่วมสนับสนุนงบประมาณในงานวิจัย และ/หรือร่วมสนับสนุนงบ ประมาณเพอื่ พฒั นาผลิตภัณฑ์จากผลงานวจิ ัย เปา้ ประสงคท์ ี่ 4 เพ่อื สรา้ งระบบบรหิ ารงานวิจัยท่ีมีประสทิ ธภิ าพ กลยทุ ธ์ 1. พัฒนาระบบบรหิ ารงานวจิ ัยที่เนน้ การชว่ ยเหลือ และแก้ปัญหาให้กับผู้วจิ ยั 2. พัฒนาระบบฐานขอ้ มูลวจิ ยั ใหท้ นั สมยั ขอ้ มลู เป็นปจั จุบนั 3. พัฒนาระบบสารสนเทศการวจิ ยั ของสถาบนั ฯ รวมถึงหอ้ งสมุดเฉพาะทางของสถาบันฯ 4. พัฒนาวิธปี ระเมินคุณภาพผลงานวิจยั ที่กอ่ ให้เกิดผลต่อประชาชนอย่างเป็นรูปธรรมโดยให้ ความส�ำคัญกับผลงานทเ่ี กดิ ข้ึน เพ่อื สง่ เสรมิ ใหม้ ีการวจิ ัยที่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ประโยชน์อยา่ งแทจ้ ริง เปา้ ประสงคท์ ่ี 5 เพอ่ื ส่งเสริมและสรา้ งเครอื ข่ายความร่วมมือของนกั วจิ ัยและสถาบนั วจิ ัยทั้งในและ นอกประเทศ กลยทุ ธ์ 1. สรา้ งเครอื ขา่ ยการวจิ ยั ในระดบั ประเทศและระดบั นานาชาติ และสนบั สนนุ ใหเ้ กดิ ความรว่ มมอื ในดา้ น การวิจัยอย่างแทจ้ รงิ 2. มีการแลกเปลยี่ นนกั วจิ ัย เพอ่ื ทำ� งานวจิ ัยรว่ มกัน กบั หน่วยงานทั้งภายใน ภายนอกและตา่ งประเทศ ประเด็นยุทธศาสตรด์ า้ นการบรกิ ารวชิ าการ มีการพัฒนาสถานเล้ียงสัตว์น�้ำเค็มและพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ทางทะเลอย่างต่อเนื่องและเป็นผู้น�ำทาง ความคิดและการปฏิบัติโดยเฉพาะด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลท่ีดีที่สุดในประเทศ เป็นแหล่งรวม ความรทู้ างดา้ นวทิ ยาศาสตรท์ างทะเลและใหบ้ รกิ ารวชิ าการในเชงิ รกุ โดยมรี ปู แบบทหี่ ลากหลาย ทนั สมยั บคุ คลทว่ั ไป 8

Annual Report 2010 Institute of Marine Science, Burapha University สามารถเข้าถึงได้ง่าย สะดวกและมีมาตรฐาน เป็นแหล่งถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมและสนับสนุนการเรียน การสอนภาคปฏบิ ตั ิ โดยให้บรกิ ารในรูปแบบประโยชน์สาธารณะหรอื มีค่าบรกิ าร และเปน็ ท่พี งึ่ ของชุมชน เป้าประสงค์ที่ 1 เพื่อพัฒนาสถานเลี้ยงสตั วน์ ้ำ� เคม็ และพพิ ธิ ภัณฑ์วทิ ยาศาสตร์ทางทะเลอย่างต่อเน่ือง และเป็นผนู้ �ำทางความคิดและการปฏบิ ตั โิ ดยเฉพาะดา้ นการอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติทางทะเลทด่ี ี ที่สุดในประเทศ กลยทุ ธ์ 1. สร้างความเป็นผู้น�ำทางด้านการจัดการทรัพยากร และการบริหารจัดการสถานเลี้ยงสัตว์น้�ำเค็มและ พพิ ธิ ภณั ฑท์ างดา้ นวทิ ยาศาสตรท์ างทะเลของประเทศ โดยนำ� ผลงานจากการวจิ ยั มาผนวกกบั แนวคดิ การจดั แสดงแลว้ นำ� เสนอใหก้ บั ผเู้ ขา้ ชม เพอ่ื สรา้ งความตระหนกั และแนวรว่ มในการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตทิ างทะเล เชน่ การเปลย่ี น วิธีการจัดแสดงในสถานเลี้ยงสัตว์น้�ำเค็ม จากเดิมท่ีเป็นการใช้ทรัพยากร ให้กลายเป็นการอนุรักษ์พันธุกรรมและการ ขยายพนั ธส์ุ งิ่ มชี วี ติ โดยใชส้ งิ่ ทดแทน และสง่ิ มชี วี ติ ทเ่ี กดิ จากการเพาะขยายพนั ธ(์ุ Captive bred marine organisms) และเปน็ ผลผลติ จากการวจิ ยั และพฒั นา “Environmental Friendly Aquarium” “Zero-impact Aquarium” และสร้างมาตรฐานคุณภาพในการบริหารจัดการสถานแสดงพันธุ์สัตว์น�้ำเค็ม และส่งเสริมให้มีการใช้เป็นแนวทางใน การบรหิ ารจัดการสถานแสดงพนั ธส์ุ ัตว์น�้ำในประเทศไทย “Standard of Practice for Public Aquarium” 2. พฒั นาสถานเลย้ี งสัตวน์ �้ำเคม็ และพพิ ธิ ภณั ฑใ์ ห้มรี ูปแบบการจดั แสดงท่ีทนั สมัย มีข้อมูลทเ่ี ป็นปัจจุบนั และสอดคลอ้ งกบั เหตกุ ารณเ์ ปลยี่ นแปลงอยา่ งรวดเรว็ ของโลก เพอ่ื ใหเ้ ปน็ แหลง่ เรยี นรตู้ ลอดชวี ติ ทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์ ทางทะเลที่ดที ส่ี ุดของประเทศ 3. พัฒนาและปรับเปล่ียนรูปแบบการจัดแสดงอย่างต่อเนื่อง และนำ� เอาผลงานวิจัยเข้าไปมีส่วนร่วมใน การให้ความร้แู ละจัดแสดงมากข้นึ 4. มกี ารประชาสัมพนั ธ์ในเชงิ รุก เพอ่ื ชักชวนใหน้ กั เรยี น นกั ศึกษา ประชาชน และผสู้ นใจ เกดิ ความตนื่ ตวั และเขา้ มาเยยี่ มชมเพื่อศึกษา หาความร้มู ากขน้ึ เปา้ ประสงคท์ ่ี 2 เพื่อเป็นแหลง่ รวบรวมความรูท้ างดา้ นวิทยาศาสตร์ทางทะเล และการใหบ้ รกิ าร วชิ าการในเชิงรุก โดยมรี ูปแบบท่หี ลากหลาย ทนั สมัย บคุ คลท่วั ไปสามารถเข้าถึงไดง้ า่ ย สะดวก และมี มาตรฐาน ท้ังในรปู แบบสาธารณะและมีคา่ บรกิ าร กลยุทธ์ 1. จดั ใหม้ หี นว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบดา้ นการสง่ เสรมิ การศกึ ษาของสถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล ทท่ี ำ� หนา้ ที่ พัฒนาหลักสูตร และกิจกรรมส่งเสริมการศึกษา รวมท้ังการดำ� เนินงาน การฝึกอบรม นักเรยี น นิสติ นักศกึ ษา และผู้ที่ เขา้ มารับบรกิ าร 2. การใหบ้ รกิ ารวชิ าการเปน็ ไปในเชงิ รกุ โดยมปี ระชาสมั พนั ธ์ และมกี ารประเมนิ เพอ่ื ทราบความตอ้ งการ ของผ้รู ับบรกิ ารและสามารถสนองตอบต่อความตอ้ งการขอ้ มูลไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 3. มกี ารจดั ท�ำฐานขอ้ มลู ความรใู้ นดา้ นตา่ งๆทเี่ กยี่ วขอ้ งทางดา้ นวทิ ยาศาสตรท์ างทะเลครอบคลมุ ภารกจิ ของสถาบนั ฯ 9

รายงานประจำป 2553 สถาบันว�ทยาศาสตรทางทะเล มหาวท� ยาลัยบรู พา 4. มกี ารจดั ท�ำและพัฒนารูปแบบการใหบ้ ริการทีห่ ลากหลาย เชน่ ในรปู แบบของซีดี เอกสาร แผ่นปลวิ ขอ้ มลู บนเว็บไซตห์ นว่ ยงาน กระดานข่าว กระดานถาม-ตอบปญั หา การใหบ้ ริการทางโทรศัพท์ ฯลฯ 5. มกี ารใหบ้ รกิ ารในแบบท่ี นกั เรยี น นสิ ติ นกั ศกึ ษา ประชาชนผสู้ นใจ สามารถทจี่ ะเขา้ มาหาความรแู้ ละ สอบถามปญั หา ไดส้ ะดวก ตลอดเวลา 6. มรี ะบบประกนั คณุ ภาพ ในการใหบ้ รกิ ารทางวชิ าการ โดยมกี ารตดิ ตามผล และปรบั ปรงุ การใหบ้ รกิ าร อยา่ งตอ่ เน่อื ง เป้าประสงค์ท่ี 3 เพือ่ เป็นแหลง่ ถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวตั กรรมและสนบั สนุนการเรยี นการสอน ภาคปฏบิ ัติ กลยทุ ธ์ 1. ก�ำหนดและสนับสนุนให้มีการเผยแพร่และถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรม สู่ผู้ใช้อย่างท่ัวถึง โดย เฉพาะเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมทส่ี ามารถนำ� ไปใช้ประโยชน์ได้จรงิ 2. กำ� หนดให้บคุ ลากรทางการวิจัยทั้งหมดมหี นา้ ที่ในการเผยแพร่ ถ่ายทอดเทคโนโลยแี ละนวัตกรรม 3. สนบั สนนุ ใหบ้ คุ ลากรทางการวจิ ยั มสี ว่ นรว่ มในการเรยี นการสอนมากขนึ้ โดยเฉพาะในดา้ นการปฏบิ ตั ิ และงานวจิ ัย 4. สรา้ งความรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานทม่ี กี ารเรยี นการสอน เพอื่ เสรมิ ใหก้ ารเรยี นการสอนในหลกั สตู ร มคี วาม เข้มแขง็ มากขึ้นในด้านการปฏิบัติ 5. วางรากฐานในการพฒั นา “ศูนยเ์ ผยแพร่ ถ่ายทอดเทคโนโลยแี ละนวัตกรรม” โดยสง่ เสรมิ ใหม้ กี าร ถา่ ยทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรม ในรปู แบบทเ่ี ปน็ การสร้างรายไดใ้ หก้ บั สถาบันฯและมหาวิทยาลยั อย่างตอ่ เน่ือง โครงการท่ีสำ� คัญในแผนการด�ำเนนิ งาน 1. โครงการโลกใต้ทะเล (World Beneath the Sea) โครงการโลกใต้ทะเล เป็นโครงการที่สถาบันฯได้ด�ำเนินการมาต้ังแต่ต้น และต่อมาจังหวัดชลบุรี และ องค์การบริหารส่วนจังหวัดได้เข้ามาสนับสนุนการจัดสร้าง โครงการน้ีเป็นโครงการส่วนต่อขยายการเข้าชมของสถาน เลี้ยงสัตว์น้�ำเค็ม ให้มีขอบเขตพ้ืนท่ีกว้างขวางมากย่ิงขึ้น และจะช่วยสนับสนุนการด�ำเนินงานของสถาบันฯต่อไปใน อนาคต ปัจจุบันอยู่ระหว่างการก่อสร้าง ซึ่งแผนการก่อสร้างจะเสร็จสิ้น ราวต้นปี 2553 ในการน้ีทางสถาบันฯต้อง เขา้ ไปเปน็ คณะกรรมการกำ� กบั การดำ� เนนิ งาน และกรรมการอนื่ ๆ เพอื่ ชว่ ยใหค้ วามเหน็ ในการกอ่ สรา้ งในดา้ นวชิ าการ ที่เกี่ยวข้องกับส่วนของการเลี้ยงสัตว์นำ�้ และด�ำเนินการวางกรอบเพื่อเสนอคณะกรรมการที่มีอำ� นาจในการพิจารณา ในการบริหารจดั การโครงการก่อนเปดิ โครงการและการด�ำเนนิ โครงการตอ่ ไปในอนาคต 2. โครงการ “From Environmental Friendly Aquarium to Zero-impact Aquarium” ในปัจจุบันมีสถานเล้ียงและแสดงพันธุ์สัตว์น้�ำเกิดข้ึนและก�ำลังจะเกิดขึ้นอีกจ�ำนวนมาก ซ่ึงส่วนที่เกิดขึ้น แล้วส่วนใหญ่มักจะมีปัญหาในการจัดการ และถูกมองว่าเป็นสถานท่ีท�ำลายทรัพยากรสัตว์น�้ำ ซ่ึงส่งผลกระทบท่ัวไป 10

Annual Report 2010 Institute of Marine Science, Burapha University สถาบันฯ เองเป็นหน่วยงานที่มีสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้�ำเค็มมาเป็นเวลานานมากกว่า 25 ปี และเป็นผู้น�ำในด้านการ จัดการสถานเลี้ยงสัตว์น�้ำเค็ม จึงมีความคิดที่จะท�ำการปฏิรูป วิธีการและแนวคิดการจัดแสดง โดยจะน�ำเอาผลงาน วิจัยทพี่ ฒั นาขนึ้ มาผนวกกับแนวคดิ ในการจัดแสดงทจี่ ะลดผลกระทบตอ่ การใชท้ รพั ยากรธรรมชาติลงใหน้ อ้ ยท่ีสุด จงึ เปน็ ท่ีมาของแนวคิด สถานเล้ียงสัตวน์ ้�ำเคม็ ที่เป็นมิตรกบั ส่งิ แวดล้อม โดยการจัดแสดงจะพยายามลดการใชท้ รัพยากร จากธรรมชาตลิ ง และนำ� เอาสตั วแ์ ละพชื สวยงามนำ�้ เคม็ ทไี่ ดจ้ ากการพฒั นาวธิ กี ารเพาะขยายพนั ธข์ุ องหนว่ ยวจิ ยั เขา้ ไป จัดแสดงทดแทน รวมทั้งให้ความรู้ แก่ผู้เข้าชม รวมท้ังน�ำเอาผลจากการวิจัยเร่ืองระบบการเล้ียง และการเพาะเลี้ยง ปะการังในท่ีเล้ียง ไปท�ำการจัดแสดงโดยเปลี่ยนการจัดแสดงปะการังท่ีทำ� จากเรซิ่น มาเป็นแนวปะการังท่ีมีชีวิตจริง (Reef Aquarium) โดยจะท�ำการปรับเปลี่ยนจนในที่สุดให้หลายตู้จัดแสดงเป็นตู้ท่ีมีส่ิงมีชีวิตท้ังหมดในตู้ได้จากการ เพาะขยายพนั ธุข์ องสัตวใ์ นที่เลี้ยงทง้ั สิน้ 3. การปรับปรงุ โครงสร้างองคก์ ร และการสง่ เสรมิ ให้มสี ่วนส่งเสริมการศึกษา ปจั จบุ นั มหาวทิ ยาลยั บรู พาไดเ้ ปลย่ี นมาเปน็ มหาวทิ ยาลยั ในก�ำกบั ของรฐั การปรบั ปรงุ โครงสรา้ งสว่ นงาน และการทบทวนตำ� แหนง่ หนา้ ท่ี ภาระงานของแต่ละตำ� แหน่งมีความสำ� คญั รวมถึงการวางแผนการทดแทนตำ� แหนง่ ที่จะว่างลงหรอื เพ่มิ เติมเพ่อื รองรบั การเติบโตของสว่ นงานในอนาคตมีความจำ� เปน็ อย่างย่ิงทีต่ ้องวางแผนในระยะยาว เพราะบุคลากรถือเป็นส่วนสำ� คัญอย่างย่ิงที่จะส่งเสริมความก้าวหน้าของส่วนงาน อีกทั้งสถาบันฯ นั้นเป็นแหล่งเรียน รตู้ ลอดชีวติ ต้นแบบ มกี ารใหค้ วามรใู้ นด้านตา่ งๆ มากมาย จึงจำ� เปน็ ตอ้ งมีส่วนท่มี ภี ารกิจในการส่งเสริมการศกึ ษามา รับผดิ ชอบอย่างชัดเจน 4. ศนู ย์วิจยั การเพาะเลย้ี งสัตวแ์ ละพืชสวยงามนำ้� เค็ม (Marine Ornamentals Research Center) สถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล มกี ารแบง่ กลมุ่ งานวจิ ยั ออกเปน็ 4 กลมุ่ ดว้ ยกนั คอื งานวจิ ยั การเพาะเลยี้ ง สตั วแ์ ละพชื ทะเล งานวจิ ยั ความหลากหลายทางชวี ภาพทางทะเล งานวจิ ยั เทคโนโลยชี วี ภาพทางทะเล และงานวจิ ยั สงิ่ แวดล้อมทางทะเล ซ่งึ มีนักวทิ ยาศาสตร์ทที่ ำ� งานวิจัยในสาขาวิชาการดงั กลา่ ว ทำ� การศึกษาวจิ ัยในสาขาทต่ี นเองถนดั และมผี ลงานออกมาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง แต่อยา่ งไรกต็ ามสถาบันวทิ ยาศาสตร์ทางทะเล ได้รับการยอมรบั ว่ามีผลงานวจิ ัยที่ โดดเดน่ ทางดา้ นการเพาะเลยี้ งสตั วน์ �้ำโดยเฉพาะสตั วแ์ ละพชื สวยงามน�้ำเคม็ และเปน็ ทร่ี จู้ กั ของบคุ ลากรในวงการวจิ ยั และประชาชนท่วั ไป รวมทั้งต่างประเทศ มสี อื่ ตา่ งๆ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ หนังสอื พมิ พ์ วารสาร หนงั สือเฉพาะกจิ ต่างๆ น�ำเอาผลงานวิจัยที่ด�ำเนินการอยู่ไปเผยแพร่อย่างต่อเนื่อง เช่น การเพาะเลี้ยงม้าน้�ำ การเพาะเล้ียงปลาการ์ตูน การ เพาะเล้ียงหอยหวาน และการเพาะเล้ียงสัตว์สวยงามนำ้� เค็มอื่นๆ อีกท้ังผลงานวิจัย พัฒนาเหล่านี้ ยังได้ถูกถ่ายทอด ไปสู่ผใู้ ช้ ท�ำใหเ้ กดิ ผลผลิตและรายได้อย่างเปน็ รปู ธรรม การวิจยั ในด้านการเพาะเลีย้ งสัตว์น้�ำ โดยท่เี น้นหนกั ทางดา้ นสตั ว์และพืชสวยงามน้ำ� เคม็ ในประเทศไทย มีจ�ำนวนน้อยมาก และแม้แต่ในต่างประเทศเองก็อยู่ในวงจ�ำกัด และผลงานวิจัยท้ังหมดส่วนใหญ่จะน�ำไปสู่การผลิต เชิงพาณิชย์และเป็นความลับทางการค้าทั้งสิ้น จะเห็นได้ว่าการวิจัยในสาขาดังกล่าวสถาบันฯ มีความได้เปรียบเป็น อย่างสงู ในด้านการแข่งขัน และมคี วามก้าวหนา้ มากกว่าหนว่ ยงานใดๆ ในประเทศ และมีความกา้ วหนา้ เทียบเคยี งกบั ทด่ี ำ� เนนิ การอยใู่ นตา่ งประเทศ ดงั นนั้ การสนบั สนนุ ใหก้ ลมุ่ วจิ ยั ดงั กลา่ วด�ำเนนิ การพฒั นาไปสศู่ นู ยแ์ หง่ ความเปน็ เลศิ ใน ดา้ นการวจิ ยั เฉพาะทางทเี่ กยี่ วกบั สตั วแ์ ละพชื สวยงามนำ้� เคม็ ในอนั ดบั แรก จะสามารถทำ� ใหส้ ถาบนั ฯ สามารถกา้ วไปสู่ เปา้ หมายของความเปน็ เลศิ ไดเ้ รว็ ขนึ้ ขณะเดยี วกนั จะท�ำการสนบั สนนุ ใหง้ านวจิ ยั อนื่ ๆ สรา้ งความพรอ้ มและความเขม้ แข็งเพ่อื ทใ่ี ห้สามารถแข่งขนั ไดแ้ ละกา้ วไปส่คู วามเป็นเลิศในลำ� ดบั ตอ่ ๆ ไป 11

รายงานประจำป 2553 สถาบันวท� ยาศาสตรทางทะเล มหาวท� ยาลัยบรู พา 5. โครงการองคค์ วามรูส้ ่ผู ลิตภัณฑ์ เปน็ โครงการทจี่ ะน�ำเอาองคค์ วามรขู้ องนกั วจิ ยั ของสถาบนั ฯทมี่ อี ยแู่ ละทจ่ี ะเกดิ จากการวจิ ยั พฒั นา และ งานวิจัยเชิงพาณิชย์ มาพัฒนาต่อยอดให้กลายเป็นผลิตภัณฑ์ท่ีเป็นที่ต้องการของตลาด โดยให้หน่วยงานหารายได้ ของสถาบันฯ คือโครงการเงินทุนหมนุ เวียนสถาบนั ฯ เขา้ มาลงทุน ในการพฒั นาผลติ ภัณฑ์ ผลติ ท�ำการตลาด และจดั จ�ำหนา่ ย โดยจะตอ้ งมกี ารจดั สรรผลตอบแทนใหก้ ับเจ้าของผลงานวิจยั หรอื กลมุ่ วจิ ัย และสมทบกองทุนวจิ ัยส่วนหน่ึง เพอ่ื จงู ใจใหน้ กั วจิ ยั สรา้ งผลงานวจิ ยั ทสี่ ามารถกอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนไ์ ดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ ตวั อยา่ ง เชน่ การผลติ สอื่ สง่ เสรมิ การ ศกึ ษารปู แบบตา่ งๆ การผลติ อาหารสตั วน์ �้ำวยั ออ่ น การผลติ อาหารสตั วน์ �้ำสวยงาม การผลติ สตั วแ์ ละพชื ทะเลสวยงาม เพือ่ จดั จ�ำหนา่ ยใหก้ ับสถานแสดงพันธุส์ ตั ว์นำ�้ เค็มและผเู้ ลีย้ งสัตวท์ ะเลสวยงาม เป็นต้น 6. การพฒั นาเว็บไซตข์ องสถาบันฯ เปน็ การพัฒนาเวบ็ ไซต์ของสถาบันฯ ให้เปน็ แหลง่ ข้อมลู ส�ำหรบั การบริหาร การให้บริการและการสอ่ื สาร ข้อมูล ระหว่างบุคลากรทุกระดับ และกับบุคคลภายนอกผู้มาใช้บริการ เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการท�ำงาน และการ บรหิ ารองคก์ รของสถาบนั ฯ ทงั้ นรี้ วมทงั้ การเผยแพรผ่ ลงานทางวชิ าการเพอ่ื ความเปน็ เลศิ ทางวชิ าการ ไมว่ า่ จะเปน็ การ วิจยั การให้บริการทางวชิ าการ รวมท้ังการประชาสัมพันธ์ และการตลาด 12

Annual Report 2010 Institute of Marine Science, Burapha University โครงสร้างการบริหาร สภามหาวทิ ยาลยั อธิการบดี คณะกรรมการประจำ�สถาบนั ฯ ผู้อำ�นวยการ คณะกรรมการบรหิ ารสถาบันฯ เลขานุการสถาบันฯ รองผู้อำ�นวยการ รองผู้อำ�นวยการ รองผู้อำ�นวยการ ประธานโครงการ คณะกรรมการ ผู้ชว่ ยผอู้ ำ�นวยการ ผ้ชู ่วยผอู้ ำ�นวยการ ผู้ชว่ ยผูอ้ ำ�นวยการ ร้านค้าสถาบนั ฯ อำ�นวยการ โครงการจัดต้งั ศนู ยก์ ารเรียนรู้ โลกใต้ทะเล หัวหนา้ สำ�นกั งาน หัวหน้าฝา่ ยวิจัย หัวหนา้ ฝา่ ยสถานเลี้ยงสตั วน์ ้ำ� เค็ม เลขานกุ าร วิทยาศาสตร์ทางทะเล หัวหน้าฝ่ายบริการวิชาการ หวั หนา้ สถานีวิจัย หวั หนา้ ฝา่ ยพพิ ธิ ภัณฑ์วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล 13

รายงานประจำป 2553 สถาบันว�ทยาศาสตรท างทะเล มหาวท� ยาลยั บูรพา โครงสร้างการแบ่งส่วนงาน มหาวทิ ยาลยั บูรพา สถาบันวทิ ยาศาสตรท์ างทะเล สำ�นักงาน ฝ่ายบรกิ าร ฝ่ายวิจัย ฝา่ ยสถาน ฝา่ ยพพิ ธิ ภัณฑ์ สถานีวจิ ัย โครงการ โครงการ เลขานุการ วิชาการ วทิ ยาศาสตร์ เลยี้ งสัตว์ วทิ ยาศาสตร์ เงนิ ทนุ จัดตงั้ ศนู ย์ ทางทะเล น�ำ้ เคม็ ทางทะเล หมนุ เวยี น การเรยี นรู้ โลกใตท้ ะเล งานบริหาร งาน งานวิจยั งานอาหาร งานจดั สร้าง สถานีวิจยั โครงการ ฝา่ ยบริหาร งานทั่วไป ฝกึ อบรม ส่งิ สัตว์นำ้� และบำ� รุง ชะอำ� ร้านค้า ฝ่ายวิชาการ งานบรหิ าร ประชุม งานจดั พิพธิ ภัณฑ์ งานบริหาร สถาบนั งานบุคคล แวดล้อม แสดงพันธุ์ และธรุ การ วทิ ยาศาสตร์ และ ทางทะเล สตั วน์ �ำ้ งาน ทางทะเล และ สมั มนา งานวจิ ัย งานจัดหา พพิ ธิ ภณั ฑ์ แผนงาน งาน เทคโนโลยี ตวั อยา่ ง อา้ งอิงและ งานวิจัย ฝ่ายบรหิ าร สง่ เสริม ชีวภาพ และ ธรรมชาติ วิทยาศาสตร์ และจัดการ งาน และ ทางทะเล อนุบาล ทางทะเล ฝ่ายบัญชี การเงิน เผยแพร่ งานวิจยั สตั วน์ �ำ้ วทิ ยา งานบรกิ าร และพสั ดุ งานศนู ย์ การเพาะ งาน วิชาการ และ ข้อมูลสาร เล้ยี งสตั ว์ นิทรรศการ คลังสนิ ค้า สนเทศฯ และพชื ฝ่ายขาย งานจัดการ งาน ทะเล ระบบ ศิลปกรรม โครงการ กรองและ จัดตั้ง งานวิจัย ควบคุม สถานวี ิจยั ความ แสมสาร หลาก คุณภาพนำ้� หลายทาง งานดำ� น�้ำ ชวี ภาพ เพ่อื การ ทางทะเล วิจัย 14

Annual Report 2010 Institute of Marine Science, Burapha University คณะกรรมการประจำ�สถาบันวทิ ยาศาสตรท์ างทะเล ศาสตราจารย์ ดร.สุชาติ อุปถัมภ์ อธกิ ารบดี ประธานกรรมการ ดร.วรเทพ มธุ วุ รรณ ผู้อำ�นวยการสถาบันวิทยาศาสตรท์ างทะเล รองประธานกรรมการ กรรมการผูท้ รงคณุ วฒุ ิ ผศ.ดร.พชิ าญ สว่างวงศ์ อาจารย์ ดร.พชิ ยั สนแจง้ อาจารยศ์ ภุ ชยั เมืองรักษ์ พลเรือเอกคำ�รณ นุชนารถ กรรมการและหวั หนา้ ฝา่ ย ดร.แววตา ทองระอา ดร.เสาวภา สวสั ดพิ์ ีระ นายกำ�พล กงั วาลโชคชยั ดร.สพุ รรณี ลโี ทชวลติ กรรมการและเลขานกุ าร นายภทั รพงศ์ ธนาพงศ์สมนกึ 15

รายงานประจำป 2554 สถาบันวท� ยาศาสตรทางทะเล มหาว�ทยาลัยบรู พา คณะกรรมการบรหิ ารสถาบันวทิ ยาศาสตร์ทางทะเล ดร.วรเทพ มธุ ุวรรณ ผู้อำ�นวยการสถาบนั วิทยาศาสตร์ทางทะเล นายภทั รพงศ์ ธนาพงศ์สมนึก ดร.เสาวภา สวัสดิ์พรี ะ ดร.แววตา ทองระอา รองผอู้ ำ�นวยการและเลขานกุ าร รองผ้อู �ำนวยการ หวั หน้างานวิจยั การเพาะเลี้ยงสัตว์ ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการและหวั หนา้ สถาบันวิทยาศาสตรท์ างทะเล และพชื ทะเล และรักษาการแทนหัวหนา้ ฝ่ายบริการวชิ าการ ฝ่ายวิจยั วิทยาศาสตร์ทางทะเล นางเออื้ งนภา กำ�บญุ เลศิ ดร.สุพรรณี ลีโทชวลติ นายกำ�พล กงั วาลโชคชยั ผชู้ ่วยผอู้ ำ�นวยการ หวั หน้าฝา่ ยสถานเลีย้ งสตั วน์ ำ้ �เคม็ รักษาการแทนหัวหน้าฝ่ายพพิ ิธภัณฑ์ และหวั หนา้ งานการเงนิ และพสั ดุ วิทยาศาสตรท์ างทะเล ดร.วรเทพ มุธุวรรณ นางสาวฉลวย มุสกิ ะ ดร.ชุติวรรณ เดชสกลุ วัฒนา รักษาการแทนหวั หนา้ สถานวี ิจัย หวั หนา้ งานวจิ ัยสิง่ แวดลอ้ มทางทะเล หวั หนา้ งานวิจัยเทคโนโลยีชวี ภาพทางทะเล ดร.สุเมตต์ ปุจฉาการ นางวรรณา ศภุ จติ กลุ ชยั นางสาวเบญจวรรณ ทับพร หัวหนา้ งานวจิ ัยความหลากหลาย หัวหนา้ งานบริหารงานทัว่ ไป หัวหน้างานบรหิ ารงานบุคคลและแผนงาน ทางชีวภาพทางทะเล 16

Annual Report 2010 Institute of Marine Science, Burapha University บคุ ลากรสถาบันวทิ ยาศาสตรท์ างทะเล สถาบันวทิ ยาศาสตร์ทางทะเล มีบุคลากรปฏิบัตงิ านในฝา่ ยต่างๆ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 รวม ทง้ั สิน้ 123 คน จ�ำแนกเป็น ข้าราชการ จ�ำนวน 24 คน พนกั งานมหาวทิ ยาลยั เงินแผ่นดิน จ�ำนวน 29 คน ลูกจา้ ง ประจ�ำ จ�ำนวน 8 คน และพนกั งานมหาวิทยาลยั เงนิ รายได้ จ�ำนวน 59 คน ลกู จ้างมหาวทิ ยาลยั เงนิ รายได้ จ�ำนวน 3 คน ดังรายละเอยี ดในตารางที่ 1 ตารางท่ ี 1 จ�ำนวนบคุ ลากรจำ� แนกประเภทตามฝา่ ยตา่ ง ๆ ฝ่าย ขา้ ราชการ พนักงาน ลกู จ้าง พนกั งาน ลกู จา้ ง รวม มหาวิทยาลยั ประจ�ำ มหาวิทยาลยั มหาวทิ ยาลัย เงินแผน่ ดนิ เงนิ รายได้ เงนิ รายได้ 35 33 1. สำ� นักงานเลขานุการ 4 12 3 15 1 7 9 1 2. ฝ่ายวจิ ยั วิทยาศาสตรท์ างทะเล 13 82 2 8 1 8 3. ฝา่ ยพิพธิ ภัณฑ์วิทยาศาสตร์ 4 1- - 9 ทางทะเล 5 3 23 5 4. ฝา่ ยสถานเลย้ี งสตั ว์นำ�้ เค็ม 2 33 23 123 5. สถานวี จิ ัย 1 1- 59 6. ฝ่ายบรกิ ารวชิ าการ - 4- 7. โครงการรา้ นคา้ สถาบนั - - - วิทยาศาสตรท์ างทะเล รวม 24 29 8 ตารางท ี่ 2 จ�ำนวนบุคลากรจ�ำแนกตามวฒุ ิการศกึ ษา สงั กดั ฝ่าย จำ� แนกตามวฒุ ิการศึกษา รวม 1. สำ� นกั งานเลขานุการ ตำ�่ กวา่ ปรญิ ญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก 35 2. ฝา่ ยวิจยั วทิ ยาศาสตร์ทางทะเล ปรญิ ญาตรี 33 3. ฝา่ ยพพิ ธิ ภณั ฑว์ ิทยาศาสตร์ทางทะเล 7 4. ฝ่ายบรกิ ารวชิ าการ 15 14 6 - 9 5. ฝา่ ยสถานเล้ยี งสตั ว์น้�ำเค็ม 8 6. สถานวี จิ ยั 7 7 11 8 8 7. โครงการรา้ นค้าสถาบันวทิ ยาศาสตร์ทางทะเล 23 -43 - 123 รวม 161 1 4-3 1 331 1 21 2 - - 51 36 25 11 17

รายงานประจำป 2553 สถาบันวท� ยาศาสตรทางทะเล มหาว�ทยาลยั บูรพา ตารางท ่ี 3 จำ� นวนบุคลากรจ�ำแนกตามตำ� แหน่ง ลำ� ดบั ที่ ตำ� แหนง่ จ�ำนวน (คน) 1 1 นักวิทยาศาสตร์เชี่ยวชาญ 9 28 2. นกั วทิ ยาศาสตรช์ �ำนาญการ 1 4 3. นักวทิ ยาศาสตร์ 2 1 4 นักวิชาการเงินและบญั ชชี �ำนาญการ 1 1 5 นกั วิชาการเงนิ และบัญชี 4 1 6 นกั วชิ าการพัสดุ 2 1 7. นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชำ� นาญการ 6 1 8 นักวิชาการช่างศลิ ป์ช�ำนาญการ 6 7 9 นกั วิชาการชา่ งศิลป์ 4 2 10. นักวิชาการศกึ ษา 1 4 11 นกั วิชาการโสตทัศนศึกษา 5 4 12 นกั ประชาสัมพนั ธ์ 1 1 13. เจา้ หน้าทีบ่ รหิ ารงานทั่วไปชำ� นาญการ 2 14. เจา้ หน้าทบ่ี รหิ ารงานทวั่ ไป 2 1 15. นกั เอกสารสนเทศ 2 1 16. ผปู้ ฏิบัตงิ านบรหิ าร 1 1 17. ผปู้ ฏบิ ัติงานวทิ ยาศาสตร์ 1 14 18. ชา่ งเทคนคิ 123 19. ช่างศิลป์ 20. ผชู้ ่วยช่างท่ัวไป 21. พนักงานขับรถยนต์ 22. พนกั งานเกบ็ บตั รเข้าชม 23. พนักงานผลิตทดลอง 24. พนักงานรับโทรศพั ท์ 25 พนกั งานทัว่ ไป 26. คนงาน โครงการรา้ นคา้ สถาบนั วิทยาศาสตร์ทางทะเล 27. ผชู้ ่วยผ้จู ดั การ 28. ผชู้ ่วยคลังสินค้า 29. ผปู้ ฏิบัติงานบรหิ าร 30. ผูช้ ่วยนักวทิ ยาศาสตร์ 31. ผู้ชว่ ยเจ้าหนา้ ทีค่ ลังสินค้า 32. นักวทิ ยาศาสตร์ 33. พนักงานคลงั สนิ คา้ 34. พนักงานขาย รวม 18

Annual Report 2010 Institute of Marine Science, Burapha University การแบง่ ส่วนงาน สถาบันวทิ ยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบรู พา ไดแ้ บ่งการดำ� เนินงานออกเปน็ 1 สำ� นักงาน 4 ฝา่ ย 2 สถานีวิจัย และ 1โครงการ ได้แก่ สำ� นักงานเลขานุการ ฝ่ายบริการวิชาการ ฝ่ายวิจัยวิทยาศาสตร์ทางทะเล ฝ่าย สถานเล้ยี งสตั วน์ ำ้� เคม็ ฝา่ ยพิพธิ ภัณฑว์ ิทยาศาสตร์ทางทะเล สถานวี ิจยั ปจั จบุ นั ประกอบดว้ ย สถานวี ิจยั ชะอ�ำ สถานี วิจัยแสมสาร และโครงการเงนิ ทุนหมุนเวยี น ซึ่งมรี ายละเอียด ไดด้ งั นี้ 1. สำ� นักงานเลขานกุ าร ในปัจจุบันส�ำนักงานเลขานุการเป็นหน่วยงานกลางในการประสานการดำ� เนินงานของทุกฝ่ายและภาย นอกสถาบันฯ ได้พัฒนาและปรับปรุงการด�ำเนินงานให้คล่องตัวและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยมีการแบ่งการบริหาร งานออกเป็น 3 งาน ดงั นี้ 1.1 งานบรหิ ารงานทวั่ ไป รบั ผดิ ชอบในการบรหิ ารจดั การ การควบคมุ ดแู ลและประสานงานโดยทวั่ ไป เพอื่ สนบั สนนุ ภารกจิ ของฝา่ ยตา่ งๆใหด้ ำ� เนนิ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยมหี นว่ ยงานทรี่ บั ผดิ ชอบคอื หนว่ ยสารบรรณ หนว่ ยประชาสัมพันธ์ หน่วยการตลาด หน่วยชา่ งเทคนคิ หน่วยอาคารสถานท่แี ละยานพาหนะ 1.2 งานบริหารงานบุคคลและแผนงาน รับผดิ ชอบเก่ียวกบั การบริหารจดั การทรพั ยากรบุคคล ทั้งใน ด้านการสรรหา การบ�ำรุงรักษาและการพัฒนาบุคลากรรับผิดชอบและประสานงานในการจัดท�ำแผนพัฒนาหน่วย งาน ทัง้ ระยะส้ัน ระยะกลาง ระยะยาว การจัดทำ� ค�ำของบประมาณประจำ� ปี การจัดท�ำรายงานประจำ� ปี การจดั เกบ็ วเิ คราะหข์ อ้ มลู พน้ื ฐานตา่ งๆ เพอื่ ใชเ้ ปน็ ฐานขอ้ มลู ในการบรหิ ารงานของสถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล และรบั ผดิ ชอบ ในการดำ� เนนิ การระบบประกนั คณุ ภาพของสถาบนั ฯโดยมหี นว่ ยงานทรี่ บั ผดิ ชอบคอื หนว่ ยบคุ คล หนว่ ยแผนงาน และ หนว่ ยประกันคณุ ภาพ 1.3 งานการเงนิ และพัสดุ รับผดิ ชอบในการรับจา่ ยเงิน การตรวจสอบเอกสารหลักฐานในการเบิกจา่ ย การจดั ทำ� งบประมาณประจำ� ปี ตลอดจนการรายงานทางการเงนิ และบญั ชแี ละรบั ผดิ ชอบในการจดั หาพสั ดุ การควบคมุ การตรวจสอบความถกู ตอ้ งของพสั ดทุ ไี่ ดร้ บั จดั ทำ� ทะเบยี นพสั ดุ ครภุ ณั ฑ์ เปน็ ตน้ โดยมหี นว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบ คอื หนว่ ย การเงนิ หน่วยบญั ชี หน่วยรับเงนิ รายได้ และหนว่ ยพสั ดุ 2. ฝ่ายบรกิ ารวชิ าการ ฝ่ายบริการวิชาการมีหน้าที่ในด้านบริการวิชาการและประสานงานกับฝ่ายต่างๆ เพื่อให้บริการวิชาการ สู่สังคม จัดท�ำส่ือในรูปแบบต่างๆ เพื่อเผยแพร่และให้บริการ รวมท้ังการจัดท�ำฐานข้อมูลสารสนเทศเพ่ือการบริหาร จดั การด้านต่างๆ ของสถาบนั ฯ โดยมีการแบ่งการบรหิ ารงานออกเปน็ 3 งานดังน้ี 2.1 งานฝึกอบรม ประชุมและสัมมนา ท�ำหน้าท่ีในการจัดและประสานงานเพ่ือจัดในการด�ำเนินงาน ด้านการฝึกอบรม ประชุมและสัมมนา เช่น โครงการฝึกอบรม โครงการค่ายเก่ียวกับด้านวิทยาศาสตร์ทางทะเลและ การอนุรักษ์ การประชุมและสัมมนาด้านวิทยาศาสตร์ทางทะเล การฝึกงานของนิสิต/นักศึกษาและการเป็นวิทยากร ประจำ� สถาบันฯ 2.2 งานสง่ เสรมิ และเผยแพร่ รบั ผดิ ชอบในการดำ� เนนิ การในดา้ นการผลติ และประสานงานเพอ่ื ผลติ สอื่ ในรปู แบบตา่ งๆ เพอ่ื เผยแพรผ่ ลงานและกจิ กรรมของสถาบนั รวมทง้ั การผลติ สอ่ื เพอื่ เผยแพรแ่ ละใหบ้ รกิ ารความรทู้ าง ดา้ นวิทยาศาสตร์ทางทะเลสสู่ งั คมผา่ นทางอิเล็คโทรนิกสารสนเทศ 2.3 งานศนู ยข์ อ้ มลู สารสนเทศวทิ ยาศาสตรท์ างทะเล รบั ผดิ ชอบในการดำ� เนนิ การดา้ นการจดั ทำ� ระบบ เครอื ขา่ ยภายในสถาบนั ฯ เพอื่ ใชใ้ นการบรหิ ารจดั การของสถาบนั ฯ จดั ทำ� ฐานขอ้ มลู ดา้ นการบรหิ ารจดั การ การจดั การ 19

รายงานประจำป 2553 สถาบนั วท� ยาศาสตรทางทะเล มหาว�ทยาลยั บูรพา ความรทู้ างวชิ าการ ประสานงานเพอื่ ด�ำเนนิ การเผยแพรผ่ ลงานกจิ กรรมและการด�ำเนนิ ของสถาบนั ฯ ความรตู้ า่ งๆดา้ น วทิ ยาศาสตรท์ างทะเลผา่ นทางระบบเครอื ขา่ ยสารสนเทศสสู่ งั คม ดแู ล รกั ษา และใหบ้ รกิ ารเกยี่ วกบั การใชค้ อมพวิ เตอร์ และอุปกรณเ์ ช่อื มโยงภายในสถาบันฯ 3. ฝ่ายวจิ ัยวิทยาศาสตรท์ างทะเล มหี นา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบในการศกึ ษา คน้ ควา้ วจิ ยั ทางดา้ นวทิ ยาศาสตรท์ างทะเล และสาขาทเ่ี กยี่ วขอ้ ง นอกจากน้ี ยงั มบี ทบาทส�ำคญั ในเรอ่ื งของงานบรกิ ารวชิ าการแกช่ มุ ชนและสงั คม ตลอดจนการใหบ้ รกิ ารเกยี่ วกบั งานวจิ ยั แกน่ สิ ติ นกั ศกึ ษา อาจารย์ และขา้ ราชการในสถาบนั อืน่ ๆ อีกดว้ ย โดยมกี ารแบ่งการบริหารงานออกเป็น 4 งาน ดงั น้ี 3.1 งานวิจัยสิ่งแวดล้อมทางทะเล ท�ำหน้าท่ีศึกษา ค้นคว้า วิจัยเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงคุณภาพสิ่ง แวดล้อมทางทะเลการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดล้อมในน้�ำทะเลดินตะกอนและส่ิงมีชีวิต ศึกษาผลกระทบ ของสารมลพิษต่อสิ่งมีชีวิตและการฟื้นฟูคุณภาพส่ิงแวดล้อมทางทะเลรวมทั้งการให้บริการตรวจวิเคราะห์คุณภาพส่ิง แวดลอ้ ม 3.2 งานวจิ ยั การเพาะเลยี้ งสตั วแ์ ละพชื ทะเล ทำ� หนา้ ทใี่ นการศกึ ษา คน้ ควา้ วจิ ยั และพฒั นาเทคโนโลยี การเพาะเลย้ี งสิ่งมีชีวติ นำ�้ เคม็ เพื่อการอนุรักษแ์ ละการเพาะเลย้ี งเชิงพาณชิ ย์ ไดแ้ ก่ ชีววิทยาของสิ่งมชี วี ิตที่มศี กั ยภาพ ในการพัฒนาเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยง ระบบส�ำหรับการเพาะเล้ียงและการจัดการระบบ อาหารมีชีวิตและอาหาร สำ� เร็จรปู เทคนิคการเพาะเลย้ี ง การดแู ลสุขภาพสัตวน์ �้ำ และโรคสตั ว์นำ้� เคม็ 3.3 งานวจิ ยั เทคโนโลยชี วี ภาพทางทะเล ทำ� หนา้ ท่ี ศกึ ษา คน้ ควา้ วจิ ยั เพอ่ื ตรวจหาและพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ ธรรมชาตจิ ากสงิ่ มีชีวิตในทะเล ไดแ้ ก่ จลุ นิ ทรีย์ พชื และสัตว์ ซึง่ จะนำ� ไปใช้ประโยชน์ในดา้ นอาหาร ยารกั ษาโรค และ สิ่งแวดล้อม 3.4 งานวจิ ยั ความหลากหลายทางชวี ภาพทางทะเล ทำ� หนา้ ที่ ศกึ ษา คน้ ควา้ วจิ ยั เกย่ี วกบั นเิ วศวทิ ยา ของสงิ่ มชี วี ติ ในทะเล การจดั จำ� แนกชนดิ และศกึ ษาชวี วทิ ยาของสงิ่ มชี วี ติ ทง้ั พชื และสตั วใ์ นทะเล การศกึ ษาความสมั พนั ธ์ ด้านนเิ วศวทิ ยาทางเศรษฐกจิ และการเฝ้าระวงั และติดตามสถานการณ์ของสิ่งมชี วี ติ ในทะเล 4. ฝา่ ยสถานเลีย้ งสัตวน์ ้ำ� เค็ม มีภารกิจหลักคือ การจัดแสดงสิ่งมีชีวิตในทะเลเพ่ือเป็นแหล่งเรียนรู้ตามอัธยาศัยสำ� หรับนักเรียน นิสิต นกั ศกึ ษาและประชาชนทวั่ ไป ใหเ้ ขา้ ใจถงึ สภาพความเปน็ อยตู่ ลอดจนชนดิ ของสตั วท์ ะเลมชี วี ติ ตา่ งๆ และเปน็ แหลง่ ทอ่ ง เทย่ี วพักผ่อนหย่อนใจ สง่ิ มีชวี ิตที่นำ� มาจัดแสดงประกอบด้วยสตั วไ์ มม่ กี ระดูกสันหลงั ปลาสวยงาม และปลาเศรษฐกจิ ต่างๆ เปน็ ตน้ นอกจากนยี้ งั ท�ำการศกึ ษาเกี่ยวกับพฤติกรรมของสิง่ มีชวี ิตต่างๆ ตลอดจนระบบการจดั แสดงสตั วน์ ำ�้ ใน ตู้แสดงขนาดตา่ งๆโดยมีการแบง่ การบริหารงานออกเปน็ 5 งาน ดงั นี้ 4.1 งานอาหารสัตว์น�้ำ รับผิดชอบในการจัดหา จัดเตรียมอาหารสัตว์นำ้� รวมถึงควบคุมดูแลการให้ อาหารสัตว์น้�ำ การศึกษาพฤติกรรมการกินอาหารของสัตว์น้�ำแต่ละชนิด การพัฒนาอาหารสัตว์น้�ำ เพื่อให้เหมาะสม กบั สัตว์น้ำ� แต่ละชนิด 4.2 งานจดั แสดงพนั ธส์ุ ตั วน์ ำ�้ รบั ผดิ ชอบในการจดั ตกแตง่ และปรบั ปรงุ รปู แบบการจดั แสดง รวมถงึ การ จดั ท�ำบอรด์ ป้ายชื่อสตั ว์น้ำ� การจดั นทิ รรศการเคล่ือนที่ 4.3 งานจดั หาตวั อยา่ งและอนบุ าลสตั วน์ ำ้� รบั ผดิ ชอบในการจดั หาตวั อยา่ งสตั วน์ �้ำเพอ่ื ใชใ้ นการจดั แสดง อนบุ าลสตั วน์ ำ้� ทเี่ กดิ ขนึ้ ภายในตจู้ ดั แสดง ดแู ลรบั ผดิ ชอบสตั วน์ ำ�้ สำ� รองในตแู้ ละถงั อนบุ าล ดแู ล กกั กนั และควบคมุ โรค 20

Annual Report 2010 Institute of Marine Science, Burapha University สตั วน์ ำ�้ แรกเขา้ ในถงั อนบุ าลและตจู้ ดั แสดง ดแู ลการใชย้ าและสารเคมใี นการกำ� จดั โรคสตั วน์ ำ้� ภายในสถานเลย้ี งสตั วน์ ำ�้ เค็ม ตรวจวินิจฉยั และรกั ษาโรคสัตว์น้ำ� เบ้ืองต้น พฒั นาเทคนิคการขนสง่ ตวั อย่างสัตวน์ ำ้� 4.4 งานจดั การระบบกรองและควบคมุ คณุ ภาพนำ�้ รบั ผดิ ชอบในการดแู ล และควบคมุ ระบบกรองของตู้ จดั แสดงและตอู้ นบุ าล การลา้ งทำ� ความสะอาด การพฒั นาและปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพของระบบกรอง การนำ� เทคโนโลยี ต่างๆ มาใช้เพ่ือให้ระบบกรองท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งการควบคุมคุณภาพน�้ำของตู้จัดแสดง ตู้อนุบาล การปรบั ปรุงคุณภาพน้ำ� ของตู้จดั แสดง และตอู้ นบุ าล การจดั หาน้ำ� ทะเลเพ่อื นำ� มาใชภ้ ายในสถาบนั ฯ 4.5 งานดำ� นำ�้ เพอื่ การวิจยั รับผิดชอบในการด�ำน�้ำให้บริการเก็บตัวอย่างพืชและสัตว์ทะเลเพื่อใช้ใน การวิจัยและใช้ในการจัดแสดงในสถานเล้ียงสัตว์นำ้� เค็ม การด�ำน้�ำให้อาหารปลาในตู้แสดงขนาดใหญ่ของสถานเล้ียง สตั วน์ ำ�้ เคม็ ตลอดจนการดแู ลตรวจเชค็ อปุ กรณท์ จี่ ะใชใ้ นการด�ำนำ�้ ใหอ้ ยใู่ นสภาพปลอดภยั และพรอ้ มใชง้ านตลอดเวลา 5. ฝา่ ยพิพธิ ภณั ฑว์ ทิ ยาศาสตร์ทางทะเล ภารกจิ หลกั ของฝา่ ยพพิ ธิ ภณั ฑว์ ทิ ยาศาสตรท์ างทะเลคอื การจดั แสดงเพอ่ื เผยแพรค่ วามรดู้ า้ นวทิ ยาศาสตร์ ทางทะเลสู่สาธารณชน ดังนั้นการจัดแสดงของฝ่ายที่จะเผยแพร่ไปสู่สาธารณะไม่ว่าจะอยู่ในส่วนของพิพิธภัณฑ์ วทิ ยาศาสตรท์ างทะเลหรอื การไปจดั นทิ รรศการนอกสถานทจ่ี ะดำ� เนนิ การในรปู แบบทที่ ำ� ใหบ้ คุ คลทว่ั ไปสามารถเขา้ ใจ ได้งา่ ยรวมท้งั ไดม้ ีการพฒั นาเทคโนโลยที างดา้ นส่ือมาชว่ ยปรับปรุงการจัดแสดงอย่างต่อเนือ่ ง การดำ� เนินงานของฝ่าย จะมงี านวจิ ยั ความหลากหลายทางชวี ภาพทางทะเลของฝา่ ยวจิ ยั มาเปน็ สว่ นสนบั สนนุ กจิ กรรมในแตล่ ะงาน มกี ารแบง่ การบรหิ ารออกเป็น 4 งาน ดงั น้ี 5.1 งานจัดสร้างและบ�ำรุงพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ทางทะเล รับผิดชอบในส่วนของพิพิธภัณฑ์ วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล เชน่ หาขอ้ มลู หาตวั อยา่ งจดั แสดงและ บำ� รงุ รกั ษาตวั อยา่ งและสว่ นตา่ งๆของพพิ ธิ ภณั ฑ์ ตลอด จนการค้นคว้าหาวิธีการหรือเทคนคิ ใหมๆ่ มาปรับปรงุ การจดั แสดงในพิพิธภณั ฑว์ ทิ ยาศาสตร์ทางทะเล 5.2 งานพพิ ธิ ภณั ฑอ์ า้ งองิ และธรรมชาตวิ ทิ ยา มหี นา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบรว่ มกบั งานวจิ ยั ความหลากหลายทาง ชีวภาพทางทะเลในการจัดรวบรวมตัวอย่างสิ่งมีชีวิตทางทะเล และน�ำไปจัดท�ำเป็นฐานข้อมูลทรัพยากรสิ่งมีชีวิตทาง ทะเลใหเ้ ปน็ หมวดหมู่ เพอื่ ใชใ้ นการอา้ งองิ ดา้ นอนกุ รมวธิ านและการน�ำไปจดั แสดงในพพิ ธิ ภณั ฑฯ์ หรอื นทิ รรศการของ สถาบนั ฯ ดแู ล รกั ษาและจดั เกบ็ ตวั อยา่ ง ออกส�ำรวจและเกบ็ ตวั อยา่ ง และใหบ้ รกิ ารขอ้ มลู ทางวชิ าการดา้ นทรพั ยากร ส่งิ มีชวี ิตทางทะเล 5.3 งานนิทรรศการ มหี น้าท่ีรับผดิ ชอบในการจัดท�ำและจดั แสดงนทิ รรศการเก่ยี วกบั วิทยาศาสตร์ทาง ทะเล ในรปู แบบตา่ งๆ เชน่ นทิ รรศการถาวร และนทิ รรศการชวั่ คราวในพพิ ธิ ภณั ฑว์ ทิ ยาศาสตรท์ างทะเลของสถาบนั ฯ ตลอดจนการจัดนิทรรศการนอกสถานที่ เพื่อเผยแพรค่ วามรแู้ ก่ประชาชนท่ัวไป 5.4 งานศิลปกรรม มหี น้าท่รี บั ผิดชอบในงานศิลปะต่างๆ ทจ่ี ดั แสดงในสว่ นพิพิธภณั ฑว์ ทิ ยาศาสตรท์ าง ทะเล เช่น สต๊ัฟฟ์สัตว์ ท�ำตัวอย่างเทียม/โมเดล การออกแบบการจัดแสดง และการวาดภาพส่ิงมีชีวิตเพื่อประกอบ กจิ กรรมในงานพพิ ิธภัณฑ์อ้างองิ เปน็ ต้น นอกจากน้ยี ังมภี าระหนา้ ทีใ่ นงานด้านศลิ ปะตา่ งๆ ของสถาบันฯ หรอื หนว่ ย งานที่ขอความร่วมมือ เช่น การออกแบบโปสเตอร์ประชาสัมพันธ์ งานเขียนแบบตัวอาคาร การวาดภาพในงานวิจัย ตกแตง่ ส่วนตา่ งๆ ของสถาบนั ฯ เปน็ ตน้ 6. สถานวี ิจยั สถานีวิจัย เป็นหน่วยงานเทียบเท่าระดับฝ่ายของ สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล จัดตั้งข้ึนมาเพ่ือเสริม 21

รายงานประจำป 2553 สถาบนั วท� ยาศาสตรท างทะเล มหาว�ทยาลัยบูรพา ศกั ยภาพในการดำ� เนนิ งานของสถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล ในดา้ นการวจิ ยั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล และการใหบ้ รกิ าร วิชาการในพ้นื ท่ีตงั้ และบริเวณใกลเ้ คียง สถานีวิจยั แต่ละแห่งมีขอบข่ายงานและความรบั ผดิ ชอบดังต่อไปนี้ 6.1 สถานวี จิ ยั ชะอำ� เปน็ สถานวี จิ ยั แหง่ เดยี วทไี่ ดจ้ ดั ตงั้ ขนึ้ และมกี ารด�ำเนนิ งานอยใู่ นปจั จบุ นั ตงั้ อยทู่ บ่ี า้ น บอ่ ใหญ่ ตำ� บลบางเกา่ อำ� เภอชะอำ� จงั หวดั เพชรบรุ ี วตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ เปน็ สถานทด่ี ำ� เนนิ งานวจิ ยั ทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์ ทางทะเล และเปน็ สถานทใ่ี หบ้ รกิ ารวชิ าการแกช่ มุ ชน โดยเฉพาะการสนบั สนนุ การเพาะเลยี้ งสตั วน์ ำ้� ชายฝง่ั ในพน้ื ทต่ี งั้ และจังหวัดใกล้เคยี ง และยงั ใชเ้ ปน็ สถานท่ฝี ึกงาน ฝึกอบรม ของนิสิต นักศกึ ษา และประชาชนทว่ั ไป สถานีวิจัยชะอำ� มกี ารแบ่งการบริหารงานออกเปน็ 3 งาน ดังนี้ 6.1.1 งานบรหิ ารและธรุ การ รบั ผดิ ชอบการดำ� เนนิ งานดา้ นการบรหิ ารจดั การในดา้ นตา่ งๆ ของสถานี วจิ ัย เช่น งานสารบรรณและการเจ้าหน้าที่ งานอาคารสถานทแ่ี ละยานพาหนะ เปน็ ตน้ 6.1.2 งานวิจัยวิทยาศาสตร์ทางทะเล รับผิดชอบการด�ำเนินงานในด้านการวิจัยในสาขาต่างๆ ที่ เกยี่ วขอ้ งกบั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล สนบั สนนุ การดำ� เนนิ งานวจิ ยั ของสถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล การดแู ลหอ้ งปฏบิ ตั ิ การวจิ ัยและเคร่อื งมือวิจัย รวมทงั้ งานพื้นฐานทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับการสนบั สนนุ การวจิ ยั 6.1.3 งานบริการวิชาการ รับผิดชอบในการให้บริการวิชาการแก่ประชาชนทั่วไป นักเรียน นิสิต นักศึกษา ครู อาจารย์ และนักวิจัย ในรูปแบบต่างๆ เช่น การให้คำ� ปรึกษา การให้บริการด้านการวิเคราะห์ตัวอย่าง การใหบ้ ริการอาหารสตั วน์ ำ้� วัยออ่ น การให้บริการด้านการฝกึ อบรม ดูงาน ฝึกปฏบิ ัตงิ าน เป็นต้น 6.2 สถานวี จิ ยั แสมสาร เปน็ สถานวี จิ ยั รว่ มระหวา่ งกองทพั เรอื และมหาวทิ ยาลยั บรู พา ตงั้ อยใู่ นเขตพนื้ ที่ กรมกอ่ สรา้ งและพฒั นา ฐานทพั เรอื สตั หบี ตำ� บลแสมสาร อำ� เภอสตั หบี จงั หวดั ชลบรุ ี ปจั จบุ นั เปดิ ดำ� เนนิ การตงั้ แตต่ น้ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 7. เงนิ ทุนหมนุ เวยี น สถาบันวทิ ยาศาสตร์ทางทะเล โครงการร้านค้าสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล จัดตั้งขึ้นเม่ือปี พ.ศ. 2540 โดยการรวมโครงการร้าน จำ� หนา่ ยของทรี่ ะลกึ โครงการรา้ นอาหารและเครอื่ งดม่ื และโครงการสอื่ การศกึ ษา ทง้ั 3 โครงการเขา้ ดว้ ยกนั เพอ่ื ใหก้ าร ดำ� เนนิ งานเปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ สะดวก คลอ่ งตวั รวดเรว็ และเหมาะสม ซงึ่ โครงการรา้ นคา้ สถาบนั วทิ ยาศาสตร์ ทางทะเลไดด้ ำ� เนนิ งานมาจนถงึ ปจั จบุ นั และมผี ลประกอบการเปน็ ทน่ี า่ พอใจ สามารถน�ำผลกำ� ไรของโครงการสง่ เขา้ เปน็ เงนิ รายไดส้ ถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเลเพื่อใช้ในการสนบั สนุนการด�ำเนนิ งานมาอย่างตอ่ เนอ่ื ง วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อหารายได้มาสนับสนนุ การดำ� เนนิ งานของสถาบนั ฯ ในดา้ นตา่ งๆ 2. เพ่ือให้บริการแก่ผู้มาเข้าชมพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ทางทะเล และสถานเลี้ยงสัตว์น้�ำเค็ม ข้าราชการ และพนกั งานของสถาบันฯ รวมท้งั อาจารย์และนสิ ิตในมหาวทิ ยาลยั บรู พา 3. เพอ่ื สนับสนุนงานทางด้านการศึกษาและวจิ ัยทางด้านวิทยาศาสตรท์ างทะเล 4. เพือ่ การเผยแพร่ผลงานและวิทยาการทางดา้ นความก้าวหน้าทางดา้ นวทิ ยาศาสตรท์ างทะเล 5. เพ่ือส่งเสริมให้บุคลากรของสถาบันฯ ได้มีผลงานทางวิชาการในรูปแบบของ หนังสือ หรือ สื่อการ ศึกษาอื่นๆ การบรหิ ารงาน โครงการร้านค้าสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเลบริหารจัดการภายใต้ระเบียบมหาวิทยาลัยบูรพาว่าด้วย เงินทนุ หมนุ เวยี น พ.ศ. 2540 มกี รรมการบรหิ ารโครงการฯแตง่ ตงั้ จาก ขา้ ราชการ พนักงานมหาวิทยาลยั รับผดิ ชอบ 22

Annual Report 2010 Institute of Marine Science, Burapha University โครงการดำ� เนนิ โครงการ มปี ระกาศโครงการเรื่อง หลกั เกณฑก์ ารรบั – จ่าย เงนิ /บญั ชเี งนิ เดือนพนกั งานฯ สำ� หรบั ใช้ ในการดำ� เนนิ โครงการเปน็ การเฉพาะ ท�ำใหส้ ามารถบรหิ ารจดั การได้คล่องตวั มากขึน้ ประเภทของสินคา้ ปัจจุบันโครงการร้านค้าสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเลจัดแบ่งแผนกจ�ำหน่ายสินค้าออกเป็น 18 แผนก โดยแบ่งสินคา้ เปน็ 4 กลุ่ม ดงั นี้ 1. สินคา้ ประเภทของที่ระลึก เช่น สินค้าตราสถาบันฯ ของเล่น เครือ่ งประดบั เคร่อื งจักรสาน เส้ือผา้ 2. สินค้าประเภทอาหารและเคร่อื งดื่ม เช่น ไอศครีม อาหาร น้�ำดื่ม 3. สินคา้ ประเภทส่ือการศึกษา เช่น เครอ่ื งเขียน หนงั สือ โปสเตอร์ ซดี รี อม 4. สนิ ค้าประเภทผลติ ภัณฑจ์ ากงานวจิ ัย เช่น หัวเชอ้ื แพลงก์ตอนใชส้ ำ� หรับเลย้ี งสตั วน์ �้ำวัยอ่อน เป็นต้น โครงการรา้ นคา้ สถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล ไดจ้ ดั ทำ� โครงการพฒั นาองคค์ วามรสู้ ผู่ ลติ ภณั ฑ์ เพอ่ื พฒั นา องคค์ วามรจู้ ากงานวิจัยของสถาบันวทิ ยาศาสตรท์ างทะเลใหเ้ ปน็ ผลิตภัณฑ์เชิงพาณชิ ย์และนำ� มาจ�ำหนา่ ยในโครงการ ให้หลากหลายมากข้นึ เป็นการเพ่ิมศกั ยภาพในการจัดหารายไดใ้ ห้กับสถาบันวทิ ยาศาสตรท์ างทะเล 8. ศูนยเ์ รียนรู้โลกใตท้ ะเล บางแสน สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลยั บูรพา ศนู ยเ์ รยี นรโู้ ลกใตท้ ะเล บางแสน กอ่ ตง้ั ขน้ึ โดยความรว่ มมอื ของสถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล มหาวทิ ยาลยั บูรพา องค์การบริหารส่วนจังหวดั ชลบุรี และจงั หวัดชลบรุ ี โดยองค์การบริหารสว่ นจังหวดั ชลบุรี และจงั หวัดชลบุรไี ด้ สนบั สนนุ งบประมาณจำ� นวน 546.7 ลา้ นบาท สำ� หรบั การกอ่ สรา้ งศนู ยเ์ รยี นรโู้ ลกใตท้ ะเลดงั กลา่ ว ตงั้ แตป่ งี บประมาณ พ.ศ. 2549 นอกจากน้ีองค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี ยังได้สนับสนุนงบประมาณเพิ่มเติมอีกจำ� นวน 79.97 ล้าน บาท ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2553 ส�ำหรับการตกแตง่ ภายในและงานนทิ รรศการเพมิ่ เติม ซึ่งคาดว่าจะด�ำเนนิ การแลว้ เสร็จในกลางปี พ.ศ. 2554 ปัจจุบันสภามหาวิทยาลัยบูรพา ได้ให้ความเห็นชอบและมหาวิทยาลัยบูรพา ได้มีค�ำสั่งแต่งต้ังคณะ กรรมการอำ� นวยการศูนยเ์ รียนรู้โลกใต้ทะเล บางแสน สถาบันวทิ ยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา แล้ว โดยมี องคป์ ระกอบของคณะกรรมการฯ จากสถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล มหาวทิ ยาลยั บรู พา จงั หวดั ชลบรุ ี องคก์ ารบรหิ าร สว่ นจงั หวดั ชลบรุ ี เทศบาลเมืองแสนสุข และผูท้ รงคุณวุฒภิ ายนอกรว่ มเป็นคณะกรรมการฯ เพ่อื กำ� หนดเปา้ หมายใน การด�ำเนินงานของศูนยเ์ รยี นร้โู ลกใตท้ ะเลฯ ต่อไป 23

www.BIMS.buu.ac.th

Annual Report 2010 Institute of Marine Science, Burapha University สรปุ ผลงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ 2553 (ตลุ าคม 2552 – กนั ยายน 2553) 25

รายงานประจำป 2553 สถาบันว�ทยาศาสตรทางทะเล มหาว�ทยาลยั บูรพา สรุปผลงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (ตลุ าคม พ.ศ. 2552 – กนั ยายน พ.ศ. 2553) สถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล มหาวทิ ยาลยั บรู พา ไดแ้ บง่ การดำ� เนนิ งานตามภารกจิ ทด่ี ำ� เนนิ งานอยอู่ อก เปน็ 3 ด้าน คอื ด้านการวจิ ัยและงานสรา้ งสรรค์ ด้านการบริการวชิ าการ ดา้ นการบริหารจัดการ ดงั รายละเอียด ต่อไปนี้ 1. ด้านการวิจัยและงานสรา้ งสรรค์ สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มีภารกิจหลักที่ส�ำคัญประการหนึ่ง คือ การวิจัยและเผยแพร่ผลงานสู่ สาธารณชน โดยมนี โยบายสนับสนุนการวิจัยท่เี ปน็ ความต้องการและสอดคลอ้ งกบั แนวทางการวจิ ัยของมหาวิทยาลัย และของประเทศ และผลท่ีได้ต้องเอื้อต่อการพัฒนาของประเทศเป็นส�ำคัญ โดยมุ่งเน้นการวิจัยในสาขาวิทยาศาสตร์ ทางทะเล จากนโยบายดงั กล่าวจงึ ไดม้ กี ารแบง่ ส่วนงานในฝา่ ยวจิ ัยวทิ ยาศาสตรท์ างทะเล ออกเป็น 4 งานวจิ ยั คอื 1) งานวิจยั ส่งิ แวดล้อมทางทะเล 2) งานวจิ ัยความหลากหลายทางชีวภาพทางทะเล 3) งานวิจัยเทคโนโลยีชวี ภาพทางทะเล 4) งานวิจัยการเพาะเลี้ยงสตั วแ์ ละพชื ทะเล ในปงี บประมาณ พ.ศ 2553 สถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเลไดร้ บั ทนุ อดุ หนนุ การวจิ ยั จากงบประมาณแผน่ ดนิ ประกอบดว้ ย 3 แผนงานวจิ ยั (ชดุ โครงการวจิ ยั ) รวม 15 โครงการยอ่ ย และ โครงการวจิ ยั เดย่ี วอกี 4 โครงการ เปน็ เงิน 6,508,400 บาท ทุนอุดหนุนการวิจยั จากงบประมาณเงนิ รายไดข้ องสถาบันฯ 7 โครงการ เปน็ เงิน 153,700 บาท และทนุ อดุ หนนุ การวจิ ยั จากแหลง่ ทนุ ภายนอก 1 โครงการ เปน็ เงนิ 239,550 บาท รวมเปน็ งบประมาณการวจิ ยั ทง้ั สน้ิ 6,901,650 บาท นอกจากนส้ี ถาบนั ฯยงั ใหค้ วามรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานอน่ื ในการทำ� วจิ ยั รว่ มกนั ไดแ้ ก่ คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบูรพา และคณะประมง มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ เปน็ ตน้ 26

Annual Report 2010 Institute of Marine Science, Burapha University สรุปรายละเอยี ดโครงการวจิ ยั ที่ได้รบั งบประมาณตามแหล่งทุนตา่ งๆ ในตารางต่อไปนี้ ตารางที่ 4 โครงการวิจยั จากงบประมาณแผ่นดนิ ล�ำดับ ชื่อแผนงานวจิ ัย/ หัวหน้าโครงการและ แหลง่ ทุน จำ� นวนเงิน งานวจิ ยั ที่รับผดิ ที่ โครงการวจิ ยั คณะผู้วจิ ัย (บาท) ชอบ 1 แผนงานวิจัย ทรัพยากร ชวี ภาพทางทะเลกบั การ อนรุ ักษแ์ ละการใชป้ ระโยชน์ อยา่ งยงั่ ยืน กรณีศกึ ษาหาด นางรอง เกาะจระเข้และ กลุม่ เกาะจวง อ�ำเภอสัตหบี จังหวดั ชลบุรี (สนองพระ ราชดำ� ริในโครงการอนรุ ักษ์ พันธกุ รรมพชื อนั เนอื่ งมา จากพระราชด�ำริ สมเดจ็ พระ เทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกมุ ารี) ประกอบดว้ ย 4 โครงการย่อยดงั รายละเอียด ในข้อ 1.1-1.4) 1.1 สถานภาพทรัพยากรสิง่ มีชวี ติ ดร. กิติธร สรรพานิช งบประมาณ 253,300 งานวจิ ัยความหลาก ในระบบนเิ วศชายฝัง่ ทะเล ดร. สุเมตต์ ปุจฉาการ แผน่ ดนิ หลายทางชีวภาพ บริเวณหาดนางรอง เกาะ นายสุชา มัน่ คงสมบูรณ์ ทางทะเล จระเข้และกลมุ่ เกาะจวง นางสาวธิดารัตน์ อ.สัตหีบ จ.ชลบรุ ี น้อยรกั ษา 1.2 ความหลากหลายทางชีวภาพ ดร. จิตรา ตรี ะเมธี งบประมาณ 59,600 งานวิจัยความหลาก ของแพลงก์ตอนทะเลบรเิ วณ แผน่ ดนิ หลายทางชีวภาพ ชายฝ่งั ทะเลบรเิ วณหาด ทางทะเล นางรอง เกาะจระเข้และกลุ่ม เกาะจวง อ. สตั หบี จ. ชลบุรี 1.3 ความหลากหลายทางชวี ภาพ นางขวัญเรอื น ศรนี ยุ้ งบประมาณ 99,000 งานวิจัยความหลาก ของโคพพี อดและไมซิดบริเวณ แผ่นดนิ หลายทางชีวภาพ ชายฝงั่ ทะเลบริเวณหาด ทางทะเล นางรอง เกาะจระเขแ้ ละกลมุ่ เกาะจวง อ.สตั หีบ จ.ชลบุรี 1.4 ลักษณะทางพนั ธกุ รรมและ ดร. ชุติวรรณ งบประมาณ 435,800 งานวจิ ยั เทคโนโลยี ความหลากหลายของจลุ ชีพท่ี เดชสกุลวัฒนา แผ่นดนิ ชวี ภาพทางทะเล อาศยั อยู่ร่วมกับฟองนำ�้ ทะเล ผศ. ดร. ชตู า บญุ ภกั ดี 27

รายงานประจำป 2553 สถาบันว�ทยาศาสตรท างทะเล มหาวท� ยาลัยบรู พา ล�ำดับ ช่อื แผนงานวิจัย/ หัวหน้าโครงการและคณะ แหล่งทุน จำ� นวนเงนิ งานวจิ ัยทีร่ บั ผิด ที่ โครงการวิจยั ผวู้ ิจัย (บาท) ชอบ 2 แผนงานวิจัย เร่ืองการคน้ หา ดร. ชตุ วิ รรณ งบประมาณ 382,200 งานวจิ ยั เทคโนโลยี และพัฒนาสารตวั ยาจาก เดชสกลุ วฒั นา แผน่ ดนิ ชวี ภาพทางทะเล น่านน�้ำไทย ประกอบดว้ ย 4 โครงการยอ่ ยดงั รายละเอียด ในข้อ 2.1-2.4) 2.1 ความหลากหลายทางชนิดของ ดร. สุเมตต์ ปจุ ฉาการ งบประมาณ 157,200 งานวจิ ยั ความหลาก ฟองน�้ำทะเลทีอ่ าศัยอยู่ตาม แผ่นดิน หลายทางชีวภาพ ชายฝั่งทะเลอ่าวไทยฝ่ังตะวัน ทางทะเล ตก 2.2 จลุ ชีพทีอ่ าศัยอยู่กบั ฟองน�ำ้ ดร. ชตุ ิวรรณ งบประมาณ 1,096,000 งานวจิ ยั เทคโนโลยี แหลง่ ใหมข่ องสารออกฤทธ์ิ เดชสกลุ วฒั นา แผน่ ดิน ชวี ภาพทางทะเล ทางชวี ภาพและผลติ ภัณฑ์ เสริมอาหาร 2.3 การคน้ หาสารต้านเชอื้ วัณโรค ดร. รวิวรรณ วัฒนดลิ ก งบประมาณ 282,900 งานวจิ ยั เทคโนโลยี จากฟองน้�ำทะเล นางสาวปาริชาติ แผ่นดนิ ชวี ภาพทางทะเล นารีบญุ นางสาวจงกลณี จงอรา่ มเรือง 2.4 ชนิดและปรมิ าณกรดไขมันใน นางปยิ ะวรรณ ศรีวิลาศ งบประมาณ 157,200 งานวิจยั เทคโนโลยี ฟองน้ำ� และแบคทเี รียทอี่ าศัย แผ่นดนิ ชีวภาพทางทะเล อย่ใู นฟองนำ�้ 3 แผนงานวจิ ัยการพัฒนา ดร. วรเทพ มุธวุ รรณ งบประมาณ 284,500 งานวิจัยการเพาะ เทคโนโลยีการเพาะเล้ียงกุ้ง แผน่ ดนิ เล้ยี งสตั วแ์ ละพืช ทะเลสวยงาม (กุ้งการ์ตูน, ทะเล Hymenocera picta) เพื่อ การอนุรักษ์และการผลิต เชิงพาณิชย์ ประกอบดว้ ย 7 โครงการยอ่ ยดังรายละเอียด ในข้อ 3.1-3.7) 3.1 การเจริญเติบโต การเจรญิ นายธรรมศกั ด์ิ ถาพรพันธุ์ งบประมาณ 264,000 งานวจิ ยั การเพาะ พนั ธุ์ และพฤติกรรมการ นางสาวพิทยารตั น์ แผ่นดนิ เลีย้ งสัตวแ์ ละพืช สืบพันธุข์ องกุง้ การ์ตนู สขุ สเุ ดช ทะเล (Hymenocera picta) ดร. วรเทพ มธุ ุวรรณ นายณัฐวุฒิ เหลืองออ่ น 28

Annual Report 2010 Institute of Marine Science, Burapha University ล�ำดบั ชอ่ื แผนงานวิจัย/ หวั หน้าโครงการและ แหล่งทนุ จำ� นวนเงนิ งานวิจยั ที่รบั ผดิ ที่ โครงการวิจัย คณะผวู้ ิจัย (บาท) ชอบ 256,500 งานวจิ ยั การเพาะ 3.2 การศกึ ษาพฒั นาการของ นางปรารถนา เขม็ ทอง งบประมาณ เลี้ยงสตั วแ์ ละพชื คัพพะและของกุ้งการต์ ูนวัย นางสาววิรชา เจริญดี แผ่นดนิ ทะเล ออ่ น (Hymenocera picta) นางสาวพทิ ยารัตน์ 268,000 งานวิจยั การเพาะ สุขสุเดช เลีย้ งสตั วแ์ ละพชื ทะเล 3.3 ผลของชนิดของอาหารและ นายณัฐวฒุ ิ เหลืองออ่ น งบประมาณ ความถีใ่ นการให้อาหารต่อการ ดร.เสาวภา สวัสดิพ์ ีระ แผ่นดิน 284,000 งานวิจัยการเพาะ เจรญิ เตบิ โตการสบื พนั ธุ์ และ นายสุรพล ปุ้ยเจริญ เลย้ี งสตั ว์และพชื การผลิตตวั ออ่ นของกงุ้ การต์ นู นายธรรมศกั ดิ์ ถาพรพันธุ์ ทะเล (Hymenocera picta) 3.4 ผลของการเสรมิ กรดไขมัน ดร.เสาวภา สวัสดพ์ิ รี ะ งบประมาณ และไวตามินซีลงในแพลงก์ ดร.วรเทพ มธุ วุ รรณ แผน่ ดนิ ตอนสัตว์ตอ่ พัฒนาการ การ นายอภิชาต เจรญิ เตบิ โต อัตราการรอด โชติหริ ัญพาณชิ ย์ ตาย ของลูกกงุ้ การ์ตนู วยั ออ่ น นางสาวอัญชนา (Hymenocera picta) จนั ทรจนา 3.5 ผลของการอนบุ าลลกู กงุ้ ดร.เสาวภา สวสั ด์ิพีระ งบประมาณ 307,000 งานวิจัยการเพาะ การ์ตนู วัยออ่ นด้วยโคพีพอด ดร.วรเทพ มธุ วุ รรณ แผน่ ดนิ เลีย้ งสตั วแ์ ละพชื ต่อพัฒนาการ การเจริญ นายสุรพล ฉลาดคิด งบประมาณ ทะเล เตบิ โต อัตราการรอดตาย ของ นางสาวอัญชนา แผน่ ดนิ ลกู กุ้งการ์ตูนวยั อ่อน (Hy- จนั ทรจนา งบประมาณ 413,300 งานวจิ ัยการเพาะ menocera picta) แผน่ ดนิ เลย้ี งสัตว์และพชื ทะเล 3.6 พฒั นาการ การเจรญิ เติบโต ดร.วรเทพ มุธวุ รรณ และ อัตราการรอดตายของ ดร.เสาวภา สวัสดิ์พีระ 409,700 งานวิจยั การเพาะ ลูกกุง้ การ์ตนู วัยอ่อน (Hy- นายณฐั วุฒิ เหลอื งอ่อน เล้ียงสัตวแ์ ละพืช menocera picta) ท่ีอนุบาล นางปรารถนา เข็มทอง ทะเล ดว้ ยระบบการเลย้ี งท่แี ตกตา่ ง นางสาวพิทยารตั น์ กัน สุขสุเดช 3.7 ธุรกิจการค้าสัตวท์ ะเล ดร. วรเทพ มุธวุ รรณ สวยงามในกลุ่มกงุ้ ก้งั ปู ของ ดร. เสาวภา สวสั ดิ์พรี ะ ประเทศไทย นายณัฐวุฒิ เหลืองอ่อน นางปรารถนา เขม็ ทอง นางสาววิรชา เจริญดี 29

รายงานประจำป 2553 สถาบันวท� ยาศาสตรท างทะเล มหาว�ทยาลัยบูรพา ลำ� ดบั ชื่อแผนงานวิจัย/ หัวหนา้ โครงการและ แหลง่ ทุน จำ� นวนเงนิ งานวิจัยที่รบั ผดิ ท่ี โครงการวจิ ัย คณะผู้วิจยั งบประมาณ (บาท) ชอบ แผน่ ดนิ 4 การย้ายปลกู สาหรา่ ย นางสาวธดิ ารตั น์ 643,100 งานวิจยั ความหลาก Sargassum บรเิ วณเกาะแรด น้อยรักษา งบประมาณ หลายทางชีวภาพ อำ� เภอสตั หีบ จงั หวดั ชลบรุ ี ดร.อนกุ ลู แผ่นดนิ ทางทะเล บูรณประทีปรตั น์ งบประมาณ แผ่นดนิ 5 การกำ� จดั ไนโตรเจนจาก นายพัฒนา ภลู เปยี่ ม งบประมาณ 70,400 งานวิจัยสิ่งแวดลอ้ ม น�ำ้ เล้ียงสตั วน์ ้ำ� เคม็ โดยบงึ แผ่นดนิ ทางทะเล ประดษิ ฐ์ประยกุ ต์ 6 การพัฒนาเทคโนโลยกี ารเพาะ นายประหยดั มะหมดั 138,700 สถานเลย้ี งสัตว์น�ำ้ เล้ยี งปะการังหนังในระบบของ เคม็ การเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำ 7 ความผนั แปรของลักษณะทาง ดร. ทรรศนิ 246,000 งานวจิ ัยความหลาก สณั ฐานวิทยาและลกั ษณะทาง ปณธิ านะรักษ์ หลายทางชวี ภาพ พนั ธกุ รรมของปะการงั อ่อน, นายสราวุธ ศิรวิ งศ์ ทางทะเล Sinularia May, 1898 (Oc- ดร. สเุ มตต์ ปุจฉาการ tocorallia, Alcyonacea) ท่ี นายสหรัฐ ธีระคัมพร พบบรเิ วณหาดนางรอง เกาะ จระเขแ้ ละกลุ่มเกาะจวง อ. สัตหบี จ. ชลบุรี รวมงบประมาณการวิจัยทั้งส้ิน 6,508,400 30

Annual Report 2010 Institute of Marine Science, Burapha University ตารางท ่ี 5 โครงการวจิ ยั จากแหลง่ ทนุ ภายในสถาบันฯ (งบประมาณเงนิ รายได)้ ล�ำดบั ช่อื แผนงานวจิ ยั / หัวหนา้ โครงการและ แหล่งทนุ จ�ำนวนเงิน งานวิจัยทรี่ บั ผิด ท่ี โครงการวจิ ยั คณะผู้วจิ ยั (บาท) ชอบ 1 ผลของอารท์ เี มียในความถ่ี นางสาววริ ชา เจริญดี งบประมาณ 16,000 งานวจิ ัยการเพาะ ท่ีต่างกนั ตอ่ อัตราการเจรญิ นายณฐั วฒุ ิ เหลืองออ่ น เงินรายได้ เลีย้ งสัตวแ์ ละพืช เตบิ โตของปะการงั ดอกกะหลำ�่ นายธรรมศกั ดิ์ ถาพรพนั ธ์ุ สถาบนั ฯ ทะเล Pocillopora damicornis นางสาววไิ ลวรรณ พวงสันเทียะ นายไพรชั ทองระอา 2 การเจริญพนั ธแุ์ ละพฤตกิ รรม นายธรรมศกั ดิ์ ถาพรพนั ธ์ุ งบประมาณ 15,100 งานวจิ ยั การเพาะ การสืบพนั ธขุ์ องมา้ นำ้� แคระ นายณฐั วฒุ ิ เหลอื งอ่อน เงินรายได้ เลย้ี งสตั วแ์ ละพืช (Hippocaumpus moh- นางสาววิไลวรรณ สถาบันฯ ทะเล nikei) ซง่ึ ไดร้ บั อารท์ เี มยี พวงสันเทยี ะ (Artemia salina) ท่ีเสรมิ นายไพรัช ทองระอา ด้วยสารอาหารที่ตา่ งกัน นางฑิฆัมพร นามกร 3 การเสรมิ วติ ามนิ ซที ั้ง 2 ชนดิ นางสาววิไลวรรณ งบประมาณ 37,600 งานวิจยั การเพาะ Ascorbyl palmitate และ พวงสันเทยี ะ เงินรายได้ เลี้ยงสตั ว์และพชื Acorbic acid ในระดับความ นายณฐั วฒุ ิ เหลืองอ่อน สถาบันฯ ทะเล เข้มข้นตา่ งๆ ท่ีมีผลตอ่ อตั รา นางสาววริ ชา เจรญิ ดี การเจรญิ เติบโตและอัตราการ นายธรรมศกั ด์ิ ถาพรพันธุ์ รอดตายของลกู ปลาการต์ ูน นางฑิฆัมพร นามกร สม้ ขาว (Amphiprion ocel- laris Cuvier, 1830) 4 การศกึ ษาเรอ่ื งการรักษาและ นางสาวนภสั สร ต่อเจริญ งบประมาณ 20,000 งานวจิ ัยการเพาะ การปอ้ งกนั กลมุ่ อาการดา่ ง นางสาววรรณภา กสิฤกษ์ เงนิ รายได้ เลย้ี งสตั ว์และพชื ขาวในมา้ น�้ำที่เล้ยี งในสถาบัน นายธรรมศักดิ์ ถาพรพนั ธุ์ สถาบนั ฯ ทะเล วทิ ยาศาสตร์ทางทะเล 5 การศึกษาเปรียบเทยี บ นางสาวพทิ ยารัตน์ งบประมาณ 10,000 สถานวี จิ ัยย่อยชะอ�ำ คุณภาพและปริมาณของไข่ สขุ สเุ ดช เงินรายได้ และลกู หอยหวานท่ีได้จากพอ่ นางปรารถนา เขม็ ทอง สถาบันฯ แมพ่ ันธ์ุในธรรมชาติและจาก นางสาวดวงทพิ ย์ อยู่สบาย การเล้ยี งในโรงเพาะฟกั นางฐมิ าพร พฒั นแ์ กว้ 6 คณุ ภาพน้ำ� ทะเลในแหล่ง นายอาวุธ หมนั่ หาผล งบประมาณ 45,000 งานวิจยั สง่ิ แวดล้อม เพาะเล้ียงบริเวณชายฝั่งอ่าว นายวนั ชยั วงสุดาวรรณ เงินรายได้ ทางทะเล ชลบุรี นางสาวฉลวย มสุ ิกะ สถาบนั ฯ 31

รายงานประจำป 2553 สถาบันว�ทยาศาสตรทางทะเล มหาว�ทยาลัยบูรพา ลำ� ดับ ช่ือแผนงานวิจัย/ หวั หน้าโครงการและ แหลง่ ทนุ จ�ำนวนเงิน งานวจิ ยั ท่รี ับผดิ ท่ี โครงการวิจยั คณะผวู้ จิ ยั งบประมาณ (บาท) ชอบ เงนิ รายได้ 10,000 งานวิจยั ความหลาก 7 การเปล่ียนแปลงความหนา นางสาวสพุ ัตรา ตะเหล็บ สถาบันฯ หลายทางชวี ภาพ แนน่ ของแพลงก์ตอนพืชใน ทางทะเล พืน้ ที่แหล่งเลี้ยงหอยบรเิ วณ 153,700 อา่ วชลบรุ ีในรอบปี 2553 รวมงบประมาณการวจิ ยั ทั้งสิ้น ตารางที่ 6 โครงการวจิ ยั จากแหล่งทนุ ภายนอกอื่น ลำ� ดับ ชอ่ื โครงการ แหล่งทนุ คณะผูว้ จิ ยั จ�ำนวนเงิน ที่ (บาท) 239,550 1 ความหลากหลายของชนิดฟองน�้ำ ทนุ ส่งเสรมิ นักวิจัยรุ่นใหม่ ประจำ� ดร.สเุ มตต์ ปุจฉาการ ทะเลบริเวณหมู่เกาะพพี ี จงั หวดั ปี 2552 จากสำ� นกั งานกองทุน 239,550 กระบ่ี สนับสนนุ การวจิ ัย (สกว.) รวมงบประมาณการวิจัยทัง้ สน้ิ ตารางที่ 7 รายละเอยี ดโครงการวิจัยท่ีท�ำรว่ มกับองคก์ ร หรอื หน่วยงานอ่ืน ล�ำดบั ช่อื โครงการวจิ ัย ผู้รับผดิ ชอบ หนว่ ยงานทดี่ �ำเนินการรว่ ม ที่ 1 การศกึ ษาศักยภาพในการใหบ้ รกิ าร ผศ.ธรี ะพงศ์ ดว้ งดี คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เชิงนิเวศของระบบนิเวศทางทะเล ดร.กติ ธิ ร สรรพานชิ / ศูนย์วจิ ัยทรพั ยากรทางทะเลและ ปากแม่น�้ำประแสรโ์ ดยใชข้ อ้ มลู ความ ดร.สุเมตต์ ปุจฉาการ ชายฝ่งั อ่าวไทยฝั่งตะวันออก กรม หลากหลายของทรัพยากรชวี ภาพทาง นางสาวธิดารัตน์ น้อยรกั ษา ทรพั ยากรทางทะเลและชายฝง่ั ทะเล นายสชุ า มั่นตงสมบูรณ์ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ ดร.จิตรา ตีระเมธี แวดลอ้ ม/ ศนู ย์วิจัยและ พฒั นาประมง ทะเลอา่ วไทยฝง่ั ตะวนั ออก ส�ำนักวจิ ัย และพฒั นาประมงทะเล กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ / ภาค วิชาการจดั การปา่ ไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ 2 ความหลากชนดิ ของไรน้ำ� ดร.นุกูล แสงพนั ธุ์ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี (Cladocera) ในวงศ์ Moinidae ดร.จิตรา ตีระเมธี สพุ รรณบุรี ส�ำนักงานคณะกรรมการ ในประเทศไทย อุดมศกึ ษา 3 แพลงก์ตอนสตั วใ์ นถงั น�ำ้ อบั เฉาเรอื ดร.รวมทรัพย์ คะเนดะ กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝ่ัง เดินสมทุ ร ดร.จติ รา ตรี ะเมธี 32

Annual Report 2010 Institute of Marine Science, Burapha University ลำ� ดบั ชื่อโครงการวิจัย ผรู้ บั ผิดชอบ หนว่ ยงานทีด่ �ำเนนิ การร่วม ที่ 4 การประเมินความเสี่ยงจากผลกระทบ ดร. ปภาศริ ิ บาร์เนท ภาควิชาวารชิ ศาสตร์ คณะ สารอนิ ทรียร์ ะเหย สาร PAHs และ ดร. พิชาญ สวา่ งวงศ์ วทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบูรพา โลหะหนัก ตอ่ สุขภาพของประชาชน ดร. ไพฑูรย์ มกกงไผ่ ในพืน้ ทนี่ ิคมอุตสาหกรรมมาบตาพดุ นางปยิ วรรณ ศรวี ลิ าศ จงั หวดั ระยอง 5 Actinomycetes from coastal นางสาวรัตนาภรณ์ ศรวี บิ ูลย์ มหาวิทยาลัย เชยี งใหม่ and mangrove sediments of (เปน็ ผรู้ ่วมโครงการ) มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ Thailand and their potential in Chinese Academy bioactive metabolite produc- of Tropical Agriculture Sciences tion 6 Charateristics and function of นางสาวรตั นาภรณ์ ศรวี ิบลู ย์ Sojo University, Japan marine yeast fermentation การเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั ผลงานวจิ ยั ทนี่ กั วทิ ยาศาสตรไ์ ดท้ ำ� เสรจ็ แลว้ ไดถ้ กู นำ� ไปเผยแพรใ่ นรปู แบบตา่ งๆ ทง้ั นส้ี ถาบนั วทิ ยาศาสตร์ ทางทะเลมนี โยบายสง่ เสรมิ ใหน้ กั วทิ ยาศาสตรไ์ ดเ้ ผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั ทง้ั ในรปู แบบของการตพี มิ พใ์ นวารสารทางวชิ าการ และการนำ� เสนอผลงานในการประชมุ วิชาการท้ังในและตา่ งประเทศโดยสนับสนุนคา่ ใช้จา่ ยให้ ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2553 ไดม้ กี ารเผยแพร่ผลงานวิจัยท้งั สิน้ 34 เรอื่ ง แบ่งเป็นรายงานการวิจัยฉบับสมบรู ณ์ เอกสารเผยแพร่ 2 เรื่อง ตี พมิ พ์ในวารสารวชิ าการระดับนานาชาติจ�ำนวน 3 เรื่อง ตีพมิ พใ์ นวารสารวิชาการระดับชาติ (รวม Proceedings ท่ี มี Peer review) 9 เรอ่ื ง การน�ำเสนอผลงานวจิ ยั แบบบรรยายในการประชมุ วิชาการระดับนานาชาติ 3 เรอื่ ง การน�ำ เสนอผลงานวิจัยแบบบรรยายในการประชุมวิชาการระดับชาติ 5 เร่ือง การนำ� เสนอผลงานวิจัยแบบโปสเตอร์ในการ ประชมุ วชิ าการระดบั นานาชาติจ�ำนวน 1 เรือ่ งและระดับชาติ จ�ำนวน 11 เรื่อง รายละเอียด ดังแสดงในตารางต่อไป นี้ (ส�ำหรบั บทคดั ยอ่ ของผลงานวจิ ัยตา่ งๆ น้ี ดรู ายละเอียดไดใ้ นภาคผนวก) ตารางท่ี 8 รายงานวิจยั ฉบบั สมบรู ณ/์ เอกสารเผยแพร่ ล�ำดับที่ เรอ่ื ง คณะผวู้ จิ ัย รูปแบบการเผยแพร่ รายงานการวิจัยฉบบั สมบรู ณ์ 1 การวิเคราะหส์ ถานการณแ์ ละผลงาน ดร.รววิ รรณ วฒั นดิลก เสนอตอ่ สถาบันคลงั สมองของชาติ ศกึ ษาวิจยั ทางความปลอดภยั ดา้ น นางสาววรรณภา กสฤิ กษ์ ประจ�ำปงี บประมาณ พ.ศ. 2553 อาหารในกลมุ่ สตั วน์ ้ำ� และผลิตภัณฑ์ ดร.แววตา ทองระอา นางสาวชตุ ินนั ท์ ศรสี มั พันธ์ 33

รายงานประจำป 2553 สถาบันว�ทยาศาสตรท างทะเล มหาวท� ยาลยั บรู พา ลำ� ดบั ท่ี เร่ือง คณะผวู้ ิจยั รูปแบบการเผยแพร่ นางเพญ็ แข คุณาวงคเดช เอกสารวชิ าการฉบับที่ 10/2552 2 ผลของความเค็มตอการพฒั นา นายนพดล คา ขาย ศูนยศ กึ ษาการพัฒนาอาวคุงกระเบน เซลลสืบพันธเุ ปนตน แกมีโตไฟต นางสาวธดิ ารัตน นอยรักษา อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาํ ริ สํานกั ของสาหรา ยไสไก (Ulva วิจัยและพัฒนาประมงชายฝง กรม intestinalis Linnaeus, 1753) ประมง, 2552, 21 หน้า ตารางท ่ี 9 การเผยแพร่ในวารสารวชิ าการระดบั นานาชาติ ล�ำดบั เร่ือง คณะผวู้ ิจยั ชือ่ วารสารทตี่ พี มิ พ์/ปที ่ีพิมพ์/ ท่ี ฉบับท่ีพิมพ์/วนั เดือน ปี ท่ีตีพิมพ/์ หนา้ ท่ีลงพิมพ์ 1 Molecular Characterization of Praparsiri, Kachanopas- Asian Journal of Water, Environment Cytochrome P450 1A (CY- Barnette., Mokkongpai, and Pollution. 2010. 7(2): 43-51. TP1A) in Asian Sea bass (Lates P., Wassmur, B., Celand- calcalifer Bloch) and Its Ap- er. C. M. and Sawang- plication as a Biomarker in the wong, P. Gulf of Thailand 2 Taxonomic characterization Rattanaporn Srivibool Annals of Microbiology, 2010 of Steptomyces strain CH54-4 Kanpicha Jaidee 60: 299-305 isolated from mangrove sedi- Morako Sukchotirattana ment Shinji Tokuyama Wasu Pathom-aree 3 Population genetics of the Thadsin Panithanaruk Zoological Studies spotted seahorse (Hippo- Ratima Karuwancharoen 2010, 49(4): 564-576 campus kuda) in Thai waters: Uthairat Na-Nakorn implications for conservation Thuy Thi Thu Nguyen ตารางที่ 10 การเผยแพรใ่ นวารสารวชิ าการระดบั ชาติ ลำ� ดับ เรอ่ื ง คณะผวู้ ิจัย ชอ่ื วารสารท่ีตพี มิ พ์/ปที ่ีพิมพ์/ฉบับทพี่ มิ พ์/ ที่ วนั เดอื น ปี ทตี่ พี ิมพ์/หน้าที่ลงพมิ พ์ 1 Cytotoxic activities of crude Chantarawan Saengkhae, Burapha Sci. J. 2009, 14(2) : 88-98 extract from seaweeds along Jongkolnee Jongaram- the gulf of Thailand on can- ruong and Thidarat cer cells. Noiraksar 34

Annual Report 2010 Institute of Marine Science, Burapha University ลำ� ดับ เร่อื ง คณะผวู้ ิจยั ช่อื วารสารท่ีตพี มิ พ์/ปที ่ีพิมพ/์ ฉบบั ทพ่ี ิมพ/์ ท่ี วัน เดอื น ปี ทต่ี ีพมิ พ/์ หนา้ ที่ลงพมิ พ์ 2 Antiproliferative activities Chantarawan Saengkhae, Chula Med J. 2010, 54(1): 13-24. and apoptosis of extracts Jongkolnee Jongaram- from Sargassum binderi ruong and Thidarat Sonder on human cervical Noiraksar cancer cells (HeLa) 3 ความหลากหลายของสาหราย ศาสตราจารย์กาญจนภาชน การประชุมวิชาการชมรมคณะปฏิบตั งิ าน ทะเลและหญาทะเล บริเวณ ลว่ิ มโนมนต วิทยาการ อพ.สธ. ครง้ั ที่ 4 “ทรพั ยากร อุทยานแหง ชาติ หมูเกาะตะรเุ ตา นางสาวธดิ ารตั น นอ ยรกั ษา ไทย: ผนั สวู่ ถิ ใี หม่ในฐานไทย”, 20-23 จังหวดั สตลู นางสาวสพุ ัตรา ตะเหลบ ตลุ าคม 2552, สวนสัตวเ์ ปดิ เขาเขียว นางสาวจฑุ ารตั น อ.ศรรี าชา จ.ชลบรุ ี หน้าที่ 188-201 วริ ิยะดําริกลุ นายอลงกรณ พุดหอม 4 ความหลากหลายของชนิดฟองนำ�้ นางสาววรรณวภิ า ชอบรัมย์ การประชุมวชิ าการชมรมคณะปฏบิ ัติงาน ทะเล (PHYLUM PORIFERA) นางสาววาสนา พุม่ บวั วิทยาการ อพ.สธ. ครง้ั ที่ 4 “ทรัพยากร บริเวณหมู่เกาะตะรุเตาและหมู่ ดร.สุเมตต์ ปจุ ฉาการ ไทย: ผันสวู่ ิถใี หมใ่ นฐานไทย”, 20-23 เกาะอาดัง–ราวี จงั หวดั สตลู นายคมสนั หงภัทรครี ี ตุลาคม 2552, สวนสตั วเ์ ปดิ เขาเขยี ว รองศาสตราจารย์สุรินทร์ อ.ศรรี าชา จ.ชลบุรี หนา้ ที่ 140-159 มัจฉาชพี 5 ความหลากหลายของชนิดฟองน�้ำ นางสาววาสนา พมุ่ บัว การประชุมวิชาการชมรมคณะปฏบิ ัตงิ าน ทะเลบริเวณหาดนางรอง เกาะ นางสาววรรณวิภา ชอบรมั ย์ วทิ ยาการ อพ.สธ. ครั้งท่ี 4 “ทรพั ยากร จระเข้ และกลุม่ เกาะจวง อ�ำเภอ ดร.สเุ มตต์ ปุจฉาการ ไทย: ผนั ส่วู ิถีใหม่ในฐานไทย”, 20-23 สัตหีบ จงั หวัดชลบุรี รองศาสตราจารยส์ ุรินทร์ ตุลาคม 2552, สวนสัตว์เปดิ เขาเขยี ว มจั ฉาชีพ อ.ศรีราชา จ.ชลบรุ ี หน้าที่ 160-175 ดร.กิตธิ ร สรรพานชิ ดร.วภิ ูษติ มณั ฑะจิตร 6 ความหลากหลายทางชนิดของ นางขวัญเรอื น ศรนี ุย้ การประชมุ วชิ าการชมรมคณะปฏบิ ัตงิ าน โคพพี อดและไมซดิ บรเิ วณหาด วิทยาการ อพ.สธ. ครง้ั ที่ 4 “ทรัพยากร นางรอง เกาะจระเข้ และกลมุ่ ไทย: ผนั ส่วู ิถใี หมใ่ นฐานไทย”, 20-23 เกาะจวง อำ� เภอสตั หบี จังหวัด ตลุ าคม 2552, สวนสตั วเ์ ปดิ เขาเขยี ว ชลบุรี อ.ศรีราชา จ.ชลบรุ ี หน้าที่ 552-559 35

รายงานประจำป 2553 สถาบันว�ทยาศาสตรท างทะเล มหาวท� ยาลัยบรู พา ล�ำดับ เรอื่ ง คณะผวู้ ิจยั ชอ่ื วารสารทีต่ พี ิมพ์/ปที ่ีพิมพ์/ฉบับทีพ่ ิมพ์/ ท่ี วนั เดือน ปี ที่ตพี มิ พ/์ หน้าทลี่ งพิมพ์ 7 ความหลากหลายของแพลงก์ตอน ดร.จติ รา ตรี ะเมธี การประชุมวชิ าการชมรมคณะปฏิบัติงาน สตั ว์ทะเลบริเวณเกาะตะรเุ ตา นางสาวณฏั ฐวดี ภคู ำ� วทิ ยาการ อพ.สธ. คร้งั ท่ี 4 “ทรพั ยากร จงั หวดั สตลู ไทย: ผนั ส่วู ิถใี หมใ่ นฐานไทย”, 20-23 ตุลาคม 2552, สวนสัตวเ์ ปิดเขาเขียว อ.ศรีราชา จ.ชลบรุ ี หน้าที่ 128-139 8 ความหลากหลายของชนดิ ของ ดร.กิตธิ ร สรรพานชิ การประชมุ วิชาการชมรมคณะปฏิบตั ิงาน สตั ว์กลุ่มหอยบรเิ วณหาดนางรอง ผศ.ดร.ธีระพงศ์ ด้วงดี วิทยาการ อพ.สธ. คร้ังที่ 4 “ทรัพยากร เกาะจระเข้ และกล่มุ เกาะจวง ไทย: ผนั สวู่ ถิ ีใหมใ่ นฐานไทย”, 20-23 จงั หวัดชลบรุ ี ตลุ าคม 2552, สวนสัตว์เปดิ เขาเขียว อ.ศรรี าชา จ.ชลบรุ ี หน้าที่ 251-266 9 ความหลากชนดิ ของสัตว์กลุ่มหอย ผศ.ดร. ธรี ะพงศ์ ดว้ งดี การประชมุ วชิ าการชมรมคณะปฏบิ ตั งิ าน ทะเลในแนวปะการังและพนื้ ที่ ดร.กิตธิ ร สรรพานิช วทิ ยาการ อพ.สธ. คร้งั ที่ 4 “ทรัพยากร ใกลเ้ คยี งอุทยานแห่งชาตติ ะรเุ ตา นางสาวศรัณยพ์ ร ทองภิญโญ ไทย: ผนั สวู่ ถิ ีใหม่ในฐานไทย”, 20-23 จงั หวดั สตูล ชัย ตุลาคม 2552, สวนสตั วเ์ ปิดเขาเขียว อ.ศรรี าชา จ.ชลบรุ ี หน้าท่ี 234-250 ตารางท่ี 11 การเสนอผลงานวิจัยแบบบรรยายในการประชมุ วิชาการระดับนานาชาติ ลำ� ดบั ท่ี เร่อื ง คณะผวู้ จิ ยั ช่อื การประชมุ วชิ าการ วันที่ สถานท่จี ัด 1 Species diversity of marine Sumaitt Putchakarn NaGISA-JSPS Western Pacific Marine sponges along Chantha Buri Biodiversity Conference, Decem- and Trat provinces, the eastern ber 15-16, 2009 at United Nation coast of the Gulf of Thailand University, Tokyo, Japan 2 Gastropods from Chang and Kitithorn Sanpanich Scientific Conference Molluscs Kood Islands, Trat Province, and Teerapong Duang- 2009 Emmanuel College, Uni- Thailand dee versity of Queensland, Brisbane, Australia, 25-27 November 2009 3 Actinomycetes from coastal Rattanaporn Srivibool XXXIII International Congress in marine sediments: A potential Thitinat Sirima Microbial Ecology on Health and source for antimicrobial/ anti- Chantarawan Saeng- Disease 6-10 September 2010 cancer antibiotics khae Calypso Ship, Athens, Greece 36

Annual Report 2010 Institute of Marine Science, Burapha University ตารางท่ี 12 การเสนอผลงานวิจยั แบบบรรยายในการประชุมวชิ าการระดบั ชาติ ล�ำดับท่ี เรื่อง คณะผวู้ จิ ัย ชอ่ื การประชมุ วชิ าการ วันที่ สถานท่ีจัด 1 การประเมินความเส่ยี งของสาร นายอาวธุ หมน่ั หาผล การประชุมวชิ าการวิทยาศาสตร์ทาง อาหารในน้�ำทะเล บรเิ วณนคิ ม นางสาว ฉลวย มสุ กิ ะ ทะเล 2553 วนั ที่ 28 – 30 มถิ ุนายน อุตสาหกรรมชายฝ่งั ทะเลภาคตะวัน ดร.แววตา ทองระอา 2553 ณ โรงแรมรอยลั ซิต้ี จังหวัดภูเกต็ ออก นายวันชัย วงสุดาวรรณ 2 การเปรยี บเทยี บอัตราการนำ� เขา้ นางปรารถนา เข็มทอง การประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์ทาง ระหว่างแอมโมเนีย-ไนโตรเจนและ ดร.วรเทพ มุธุวรรณ ทะเล 2553 วนั ท่ี 28 – 30 มถิ นุ ายน ไนเตรต-ไนโตรเจนของสาหร่ายทะเล นางสาวพิทยารตั น์ 2553 ณ โรงแรมรอยัลซิต้ี จงั หวดั ภูเก็ต 2 ชนดิ และอัตราส่วนของไนโตรเจน สุขสเุ ดช ตอ่ ฟอสฟอรัสทแ่ี ตกตา่ งกัน นางสาวดวงทพิ ย์ อยู่สบาย 3 ผลของความเขม้ ขน้ ของฮอร์โมนโก ดร.เสาวภา สวัสด์ิพรี ะ การประชุมวชิ าการวทิ ยาศาสตรท์ าง นาโดโทรปิน รีลีสซ่งิ ฮอร์โมน นายณฐั วุฒิ เหลืองออ่ น ทะเล 2553 วนั ท่ี 28 – 30 มิถนุ ายน อนาลอกซ์ (Gonadotropin Re- ดร.วรเทพ มธุ ุวรรณ 2553 ณ โรงแรมรอยลั ซิต้ี จงั หวดั ภเู ก็ต leasing Hormone Analogues) ชนิดออกฤทธิ์นานในรูปแบบไมโคร สเฟียร์ ตอ่ การวางไขข่ องปลาการ์ตนู อานม้า Amphiprion polymnus (Linnaeus 1758) 4 การเสรมิ วติ ามนิ ซีชนิด L-Ascorbic นางสาววิไลวรรณ การประชมุ วิชาการวทิ ยาศาสตร์ทาง Acid ในระดบั ความเข้มขน้ ตา่ ง ๆ พวงสันเทียะ ทะเล 2553 วนั ที่ 28 – 30 มิถนุ ายน ท่มี ผี ลต่ออัตราการเจริญเติบโต ดร.วรเทพ มุธวุ รรณ 2553 ณ โรงแรมรอยัลซิตี้ จังหวัดภเู ก็ต และอตั ราการรอดตายของลูกปลา ดร.เสาวภา สวสั ดพิ์ รี ะ การต์ นู ส้มขาว (Amphiprion ocel- นายณฐั วฒุ ิ เหลอื งออ่ น laris Cuvier, 1830) นางสาววริ ชา เจริญดี นายธรรมศกั ด์ิ ถาพรพันธุ์ 5 การสะสมสารโพลไี ซคลกิ อะโร นายไพฑูรย์ มกกงไผ่ การประชมุ วิชาการวิทยาศาสตรท์ าง มาติก ไฮโดรคารบ์ อน (พเี อเฮช) ใน นางปยิ ะวรรณ ศรีวิลาศ ทะเล 2553 วันที่ 28 – 30 มิถนุ ายน สตั ว์น�้ำเศรษฐกจิ และดนิ ตะกอน รองศาสตราจารย์ ดร. 2553 ณ โรงแรมรอยัลซิต้ี จังหวัดภเู กต็ บรเิ วณชายฝัง่ ทะเลตะวนั ออกของ พชิ าญ สว่างวงศ์ ประเทศไทย นางสาวกานตพ์ ิชชา ใจดี 37

รายงานประจำป 2553 สถาบนั วท� ยาศาสตรท างทะเล มหาวท� ยาลัยบรู พา ตารางท่ี 13 การเสนอผลงานวิจยั แบบโปสเตอรใ์ นการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ล�ำดบั ท่ี เรือ่ ง คณะผู้วจิ ัย ชอ่ื การประชมุ วิชาการ วนั ที่ สถานทีจ่ ัด 1 Genetic diversity of soft corals T. Panithanarak 2nd Asia Pacific Coral Reef Sympo- of the family Alcyoniidae along S. Siriwong, sium, June 20 – 24, 2010, Phuket, Nang-rong Beach, Jorake Island S. Putchakarn and Thailand and Juang Islands, Amphur Sat- S. Dheerakamporn tahip, Chonburi Province ตารางที่ 14 การเสนอผลงานวิจยั แบบโปสเตอรใ์ นการประชุมวิชาการระดบั ชาติ ลำ� ดบั ท่ี เรื่อง คณะผูว้ จิ ัย ชื่อการประชมุ วชิ าการ วนั ที่ สถานทจ่ี ัด 1 ความหลากหลายทางพนั ธกุ รรมของ ดร.ทรรศนิ ปณธิ านะรักษ์ การประชุมวชิ าการวิทยาศาสตรแ์ ละ ปะการงั อ่อนในวงศ์ Alcyoniidae ที่ นายสราวุธ ศริ วิ งศ์ เทคโนโลยีแหง่ ประเทศไทย ครงั้ ท่ี 35 พบบริเวณหาดนางรอง เกาะจระเข้ ดร.สเุ มตต์ ปจุ ฉาการ วันที่ 15-17 ตลุ าคม. 2552 ณ โรงแรม และกล่มุ เกาะจวง อำ� เภอสัตหบี นายสหรัฐ ธีระคมั พร เดอะไทด์ รสี อรท์ บางแสน จ.ชลบุรี จงั หวัดชลบุรี 2 การประเมินความเส่ียงต่อสุขภาพ ดร.แววตา ทองระอา การประชุมวิชาการวิทยาศาสตรท์ างทะเล ของคนไทยจากการได้รบั โลหะหนกั นายวนั ชยั วงสดุ าวรรณ 2553 วนั ท่ี 28 – 30 มิถุนายน 2553 ในอาหารทะเลบริเวณพน้ื ทช่ี ายฝ่งั นายอาวธุ หมนั่ หาผล ณ โรงแรมรอยลั ซิตี้ จงั หวัดภเู ก็ต ทะเลภาคตะวนั ออก นางสาวฉลวย มุสิกะ 3 การประเมินความเสีย่ งของโลหะ นางสาวฉลวย มุสกิ ะ การประชุมวิชาการวทิ ยาศาสตร์ทางทะเล หนักบางชนิด บรเิ วณชายฝงั่ ทะเล นายอาวุธ หมั่นหาผล 2553 วนั ที่ 28 – 30 มิถนุ ายน 2553 นคิ มอตุ สาหกรรมมาบตาพุด จงั หวัด นายวนั ชัย วงสดุ าวรรณ ณ โรงแรมรอยลั ซิตี้ จังหวดั ภูเกต็ ระยอง ดร.แววตา ทองระอา 4 ปรมิ าณสารอาหารในดินตะกอน นายวันชยั วงสดุ าวรรณ การประชมุ วชิ าการวทิ ยาศาสตร์ทาง บริเวณปากแมน่ ้ำ� บางปะกง ถึง ดร.แววตา ทองระอา ทะเล 2553 วนั ที่ 28-30 มิถนุ ายน 2553 เกาะสีชงั จงั หวัดชลบรุ ี นางสาวฉลวย มสุ กิ ะ ณ โรงแรมรอยัลภูเกต็ ซติ ี้ จังหวดั ภูเกต็ นายอาวุธ หมั่นหาผล 5 ตวั กรองชวี ภาพจากเปลอื กห้มุ นายพฒั นา ภูลเป่ยี ม การประชุมวชิ าการวทิ ยาศาสตรท์ าง ลกู มะพร้าวส�ำหรับเลีย้ งกงุ้ กลุ าด�ำ ทะเล 2553 วนั ที่ 28-30 มถิ ุนายน 2553 (Penaeus monodon) ณ โรงแรมรอยัลภูเก็ตซิตี้ จังหวดั ภเู กต็ 6 ความหลากหลายของแอคตโิ นมัยซที นางสาวรัตนาภรณ์ การประชุมวชิ าการวทิ ยาศาสตรท์ าง ในตะกอนดินป่าชายเลน : แหลง่ ศรวี บิ ลู ย์ ทะเล 2553 วันท่ี 28-30 มิถุนายน2553 ของโพรไบโอตกิ ท่ีสำ� คญั ของการ นางสาวธติ ินาถ ศริ ิมา ณ โรงแรมรอยลั ภูเก็ตซิตี้ จังหวดั ภเู ก็ต เพาะเลีย้ งสัตว์นำ้� 38

Annual Report 2010 Institute of Marine Science, Burapha University ลำ� ดับที่ เรอื่ ง คณะผู้วจิ ัย ช่ือการประชมุ วชิ าการ วนั ที่ สถานทจ่ี ัด 7 แอกกลตู นิ ินและฤทธ์ยิ บั ยง้ั แบคทเี รีย ดร.จันทรจ์ รสั วฒั นะโชติ การประชมุ วชิ าการวิทยาศาสตรท์ างทะเล ของสิ่งสกัดโปรตีนจากหอยเสยี บ นางสาวยุวรรณา สะสงิ ห์ 2553 วนั ท่ี 28-30 มถิ นุ ายน 2553 (Donax faba) ณ โรงแรมรอยลั ภเู ก็ตซิต้ี จังหวดั ภเู ก็ต 8 การกระตนุ้ ภูมิคุม้ กันปลาขา้ วเมา่ น�ำ้ ดร.สุพรรณี ลีโทชวลิต การประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์ทางทะเล ลึก (Sargocentron rubrum) ใน ดร.จนั ทรจ์ รัส วัฒนะโชติ 2553 วนั ที่ 28-30 มิถนุ ายน2553 การปอ้ งกนั การตดิ เชอ้ื ปรสิตจุดขาว นางสาววลี ยา ณ โรงแรมรอยลั ภเู กต็ ซติ ้ี จงั หวัดภเู กต็ นำ�้ เค็ม Cryptocaryon irritans แก่นจนั ทร์ นางสาวอญั ชลี ป้องเมอื ง 9 ความผันแปรทางพนั ธุกรรมของ ดร.ทรรศิน ปณธิ านะรกั ษ์ การประชมุ วิชาการวิทยาศาสตร์ทางทะเล ปะการังอ่อน Sinularia May, 1898 2553 วนั ที่ 28 – 30 มิถุนายน 2553 (Octocorallia: Alcyonacea) ที่ ณ โรงแรมรอยัลภเู ก็ตซติ ้ี จังหวัดภเู ก็ต พบบริเวณเกาะจระเขแ้ ละกลมุ่ เกาะ จวง อ�ำเภอสตั หบี จังหวัดชลบุรี 10 ความหนาแนน่ ของแพลงก์ตอนพชื นางสาวสุพัตรา ตะเหลบ การประชุมวชิ าการวทิ ยาศาสตร์ทางทะเล บริเวณชายฝ่ังจงั หวดั ชลบุรี ปี 2552 2553 วนั ที่ 28 – 30 มิถุนายน 2553 ณ โรงแรมรอยัลภูเก็ตซติ ี้ จงั หวดั ภูเกต็ 11 แพลงกต์ อนสตั ว์ทปี่ นมากบั น้�ำ ดร. รวมทรพั ย์ คะเนะดะ การประชมุ วิชาการวทิ ยาศาสตรท์ าง อบั เฉา ดร จติ รา ตีระเมธี ทะเล 2553 วนั ท่ี 28-30 มิถุนายน 2553 นางสาวอรอนงค์ บัณฑิต ณ โรงแรมรอยลั ภเู กต็ ซิตี้ จงั หวัดภเู ก็ต ตารางท่ี 15 การเขียนบทความเผยแพรท่ างส่งิ พมิ พ์ ช่อื ผเู้ ขยี น ช่อื บทความ จลุ สาร/วารสาร/หนังสือทต่ี พี มิ พ์ PET-MAG 11(124):102-107 ดร.วรเทพ มุธวุ รรณ การเพาะเล้ยี งปลาการ์ตนู ตอนที่ 1 AQUA BIZ 3(26):54-55 PET-MAG 11(125):37-42 ดร.วรเทพ มุธวุ รรณ คลนิ ิกโรคสัตวท์ ะเล AQUA BIZ 3(27):76-77 PET-MAG 11(126):56-62 ดร.วรเทพ มุธุวรรณ การเพาะเล้ยี งปลาการต์ ูน ตอนที่ 2 AQUA BIZ 3(28):80-81 PET-MAG 11(127):39-45 ดร.วรเทพ มธุ ุวรรณ คลินิกโรคสตั วท์ ะเล AQUA BIZ 3(29):84-85 ดร.วรเทพ มุธวุ รรณ การเพาะเล้ยี งปลาการ์ตนู ตอนที่ 3 39 ดร.วรเทพ มธุ ุวรรณ คลนิ กิ โรคสัตว์ทะเล ดร.วรเทพ มธุ ุวรรณ การเพาะเลย้ี งปลาการต์ นู ตอนท่ี 4 ดร.วรเทพ มธุ ุวรรณ คลินิกโรคสตั ว์ทะเล

รายงานประจำป 2553 สถาบันวท� ยาศาสตรทางทะเล มหาวท� ยาลัยบูรพา ช่อื ผู้เขยี น ช่อื บทความ จลุ สาร/วารสาร/หนังสอื ทตี่ พี มิ พ์ ดร.วรเทพ มธุ ุวรรณ การเพาะเลี้ยงปลาการ์ตนู ตอนท่ี 5 PET-MAG 11(128):39-45 ดร.วรเทพ มธุ ุวรรณ คลินิกโรคสตั วท์ ะเล AQUA BIZ 4(30):92-93 ดร.วรเทพ มุธุวรรณ การเพาะเลยี้ งปลาการต์ นู ตอนที่ 6 PET-MAG 11(129):103-107 ดร.วรเทพ มธุ วุ รรณ คลนิ ิกโรคสัตว์ทะเล AQUA BIZ 4(31):94-95 ดร.วรเทพ มุธวุ รรณ การเพาะเล้ียงปลาการ์ตนู ตอนท่ี 7 PET-MAG 11(130):21-27 ดร.วรเทพ มุธุวรรณ คลนิ กิ โรคสตั ว์ทะเล AQUA BIZ 4(32):86-87 ดร.วรเทพ มธุ ุวรรณ การเพาะเล้ยี งปลาการต์ ูน ตอนท่ี 8 PET-MAG 11(131):99-105 ดร.วรเทพ มุธุวรรณ คลินิกโรคสัตว์ทะเล AQUA BIZ 4(33):90-91 ดร.วรเทพ มธุ วุ รรณ การเพาะเล้ียงปลาการต์ นู ตอนที่ 9 PET-MAG 11(133):159-165 ดร.วรเทพ มุธุวรรณ คลินิกโรคสัตว์ทะเล AQUA BIZ 4(35):104-105 ดร.วรเทพ มุธวุ รรณ การเพาะเลย้ี งปลาการต์ ูน ตอนท่ี 10 PET-MAG 11(134):114-119 ดร.วรเทพ มุธวุ รรณ คลนิ ิกโรคสตั วท์ ะเล AQUA BIZ 4(36):112-113 ดร.วรเทพ มุธุวรรณ การเพาะเลีย้ งปลาแมนดาริน ตอนที่ 1 AQUARIUM BIZ 1(2): 36-43 ดร.วรเทพ มธุ วุ รรณ การเพาะเล้ยี งปลาการ์ตูน ตอนที่ 11 PET-MAG 11(135):161-166 ดร.วรเทพ มธุ ุวรรณ คลินิกโรคสัตวท์ ะเล AQUA BIZ 4(37):112-113 ดร.วรเทพ มธุ วุ รรณ การเพาะเลยี้ งปลาการ์ตนู ตอนจบ PET-MAG 11(136):101-107 ดร.วรเทพ มธุ ุวรรณ คลินกิ โรคสตั วท์ ะเล AQUA BIZ 4(38): ดร.วรเทพ มุธวุ รรณ การเพาะเลี้ยงปลาแมนดาริน ตอนจบ AQUARIUM BIZ 1(3): 64-77 40

Annual Report 2010 Institute of Marine Science, Burapha University ตารางที่ 16 บทความวิจัยที่ได้รับการอา้ งอิงใน refereed journal หรือในฐานข้อมูลระดับชาติหรอื ระดับ นานาชาติ ล�ำดับ ชือ่ บทความวิจยั ช่ือวารสาร ปี คณะผวู้ จิ ัย ชอ่ื ฐาน จ�ำนวนคร้ัง ปี พ.ศ.ได้ ที่ ฉบบั ท่ี หนา้ ท่ีตีพมิ พ์ ข้อมลู เช่น ทไ่ี ดร้ ับการ รบั การ ISI, Scopus, อา้ งอิง AGRICOLA อ้างองิ (Times etc. cited) 1 Ecdysteroids from JOURNAL OF NAT- Suksamrarn ISI 1 2009 a Zoanthus sp. URAL PRODUCTS   A, Jankam A, Volume: 65 Issue: Tarnchompoo 8 Pages: 1194-1197 B, Putchakarn S, Published: 2002 et al. Impact factor: 2.843 2 Species diversity JOURNAL OF THE Putchakarn S. ISI 1 Dec. of marine spong- MARINE BIOLOGI- 2009 es dwelling in CAL ASSOCIATION coral reefs in Had OF THE UNITED Khanom-Mo Ko KINGDOM     Thale Tai National Volume: 87    Is- Park, Nakhon Si sue: 6  Pages: Thammarat Prov- 1635-1642 Pub- ince, Thailand lished: DEC 2007 Impact fac- tor: 1.056 3 Anticancer activ- Marine Drugs, Kijjoa A, ISI 2 Dec. ity evaluation of 2007, 5(2): 6-22 Wattanadilok R, 2009; kuanoniamines Campos N, et al. Feb. A and C isolated 2010 rom the marine sponge Oceana- pia sagittria, col- lected from the Gulf of Thailand 41


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook