Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 6ข้อตรวจพบจากการตรวจสอบการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐของ-สตง.

6ข้อตรวจพบจากการตรวจสอบการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐของ-สตง.

Published by khun.noojira, 2020-05-13 06:38:00

Description: 6ข้อตรวจพบจากการตรวจสอบการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐของ-สตง.

Search

Read the Text Version

ข้อตรวจพบจากการตรวจสอบการจดั ซื้อ จดั จ้างและการบริหารพสั ดุภาครัฐ ของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดนิ นายชัชวาลย์ สังขดษิ ฐ์ วศิ วกรชานาญการ

หัวข้อบรรยาย • แนวทางและหลกั เกณฑ์ในการตรวจสอบการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุภาครัฐของสานักงานการตรวจเงิน แผ่นดนิ • ข้อตรวจพบของสานักงานการตรวจเงนิ แผ่นดิน

วตั ถุประสงค์การบรรยาย • รู้แนวทางการตรวจสอบและข้อควรระวงั ในการ ตรวจสอบของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดนิ

ประเภทการตรวจสอบ • ตามอานาจทไ่ี ด้รับ สตง.ได้แบ่งกล่มุ การตรวจสอบออกเป็ น ๕ กลุ่มการตรวจสอบ ดังนี้ ๑. กล่มุ ตรวจสอบงบการเงิน ๒. กลุ่มตรวจสอบบริหารพสั ดุ ๓. กลุ่มตรวจสอบสืบสวน ๔. กลุ่มตรวจสอบดาเนินงาน ๕. กล่มุ ตรวจสอบการจดั เกบ็ รายได้

วิธีการตรวจสอบ ๑. ตรวจสอบเอกสาร ๒. ตรวจสอบสังเกตการณ์ ๓. สัมภาษณ์/สอบถาม ๔. สอบปากคา ๕. วเิ คราะห์ข้อมูล

กระบวนการจดั ซ้ือจดั จา้ ง ๑. การประเมินความต้องการในการจัดซื้อ (การสารวจความ ต้องการ / การสารวจเพอื่ การออกแบบ) ๒. การจดั ทาแผนการจดซื้อจดจ้างเชิงกลยุทธ์ (ส้ัน ปานกลาง ยาว) ๓. การกาหนดคุณสมบัติ มาตรฐานของพสั ดุ/งานจ้าง การกาหนด คุณลักษณะเฉพาะ / แบบรูป รายการละเอียด ขอบเขตของงาน และเง่ือนไขการจัดซื้อจัดจ้าง (กาหนดคุณลักษณะเฉพาะ/การ ออกแบบ)

กระบวนการจดั ซ้ือจดั จา้ ง ๔. การของบประมาณ (การกาหนดราคามาตรฐาน / ราคา กลาง) ๕. การกาหนดวิธีการจดั ซื้อจดั จ้าง ๖. การรายงานขอซื้อหรือขอจ้าง การแต่งตงั้ คณะกรรมการ การคดเลือกหรือกาหนดคณุ สมบตั ิของผรู้ บั จ้าง/ผขู้ าย ๗. การจัดเตรียมเก่ียวกับการแข่งขันราคา การกาหนด เง่ือนไขในประกาศและเอกสารการประกวดราคา/สอบ ราคา

กระบวนการจัดซือ้ จดั จ้าง ๘. การเผยแพร่ขา่ วสารการประกวดราคา / สอบราคา ๙. การพิจารณาผลการประกวดราคา / การเปิ ดซองสอบราคา การ เจรจาต่อรองกบั ผรู้ ับจา้ ง/ผขู้ าย ๑. ตรวจสอบข้นั ตอนการจดั ซ้ือจดั จา้ ง (ม.๑-๑๕,๕๔-๖๘ และ ขอ้ ๔-๑๐๐) 10. การทาสญั ญา ๒. ตรวจสอบข้นั ตอนการทาสญั ญา(ม.๙๓-๙๙ และ ขอ้ ๑๖๑– ๑๗๔)

กระบวนการจดั ซ้ือจดั จา้ ง ๑๑. การบริหารสญั ญา การควบคุมงาน การทดสอบ การตรวจรับ งาน/การตรวจการจา้ ง การเบิกจ่ายเงิน ๓.ตรวจสอบการบริหารสัญญา(ม.๑๐๐-๑๐๕ และ ขอ้ ๑๗๕ – ๑๘๙) ๑๒. การประเมินผลการจดั ซ้ือจดั จา้ ง (การใชป้ ระโยชน์และการ ประกนั ความชารุดบกพร่อง) ๔. ตรวจสอบการบริหารพสั ดุใชป้ ระโยชน์/การรับประกนั ความ ชารุดบกพร่อง(ม.๑๑๒-๑๑๓ และ ขอ้ ๒๐๒ – ๒๑๙) ๑๓. การควบคุมและการจาหน่ายพสั ดุ

๑. แนวทางการตรวจสอบในการจัดซือ้ จัดจ้างและ ข้อสังเกตของ สตง.

แนวทางการตรวจสอบ ๑. การสารวจความต้องการ/สารวจออกแบบ ๒. กาหนดคุณลักษณะเฉพาะ ๓. งบประมาณและราคากลาง(สาหรับของบ) ๔. วธิ ีการจดั หา ๕. การอนุมัตจิ ัดซือ้ จดั จ้างเป็ นไปตามอานาจหรือไม่

แนวทางการตรวจสอบ ๖. การแต่งตงั้ คณะกรรมการ ๗. การปฏบิ ตั งิ าน ๘. การจัดทาเอกสาร/การเผยแพร่ ๙. การรับและเปิ ดซอง ๑๐. การพจิ ารณาผล

ข้อสังเกตในข้นั ตอนการสารวจความต้องการ/สารวจ ออกแบบ ๑. ไม่มีการสารวจความต้องการ/สารวจออกแบบ ๒. ไม่มีความต้องการใช้พสั ดุนัน้ ๆ ๓. ความต้องการเทยี ม ๔. ใช้ผลสารวจนานแล้วมาออกแบบ ๕. ใช้แบบมาตรฐานโดยไม่ปรับให้เหมาะสมกบั พนื้ ท่ี ๖. ออกแบบไม่ตรงกับผลสารวจ

การกาหนดวธิ ีการจัดหา ๑. มีการแบ่งซือ้ แบ่งจ้างเพ่อื ลดวิธีการจดั หา ๒. ไ ม่ ร ว ม จั ด ห า ส า ห รั บ โ ค ร ง ก า ร ท่ี ส า ม า ร ถ ดาเนินการพร้ อมกันในคราวเดียวกันได้ ๓. ใช้วธิ ีพเิ ศษโดยไม่มีเหตุผลอันควร

รายงานขอซื้อหรือขอจ้าง ๑. รายงานขอซื้อหรือขอจ้าง/เอกสารประกวดราคาไม่ตรงกับเอกสาร โครงการ/เอกสารงบประมาณ เช่น ส่ิงก่อสร้างไม่ตรงกับวัตถุประสงค์ ของโครงการ คุณลักษณะ/ส่วนประกอบของงานก่อสร้างท่ีขอจ้างและ/ หรือเอกสารประกวดราคาไม่ตรงกบั เอกสารงบประมาณ ๒. ไม่ระบุคุณลกั ษณะเฉพาะ/คุณภาพของวสั ดุก่อสร้าง/งานก่อสร้าง ๓. งานก่อสร้างอยู่นอกขอบเขตความรับผดิ ชอบ และอานาจหน้าท่ี ๔. กาหนดเวลาแล้วเสร็จ ตามเอกสารการประกวดราคา, สัญญา ไม่ สอดคล้องกบั ระยะเวลาตามความต้องการของโครงการ ท้งั ทไ่ี ด้รับอนุมัติ งบประมาณต้งั แต่ต้นปี

การกาหนดเง่ือนไขการประกวดราคา/สอบราคา ๑. คุณลักษณะ ปริมาณงาน แบบรูปรายการละเอียดตามรายงาน ขอจ้างไม่ถูกต้องตรงกับเอกสารโครงการและงบประมาณ ๒. ไม่ ระบุคุณลักษณะเฉพาะ/คุณภาพของวัสดุก่ อสร้ าง/งาน ก่ อสร้ าง ๓. กาหนดราคาขายเอกสารประกวดราคาเกินสมควรกับค่าใช้จ่าย ท่ีทางราชการจะต้องเสียไปในการจัดทาเอกสารประกวดราคา นัน้

การกาหนดเงอ่ื นไขการประกวดราคา/สอบราคา ๕. กาหนดคุณสมบัติผู้มีสิทธิเสนอราคา/วันย่ืนซอง/ช่วงเวลาขาย เอกสารประกวดราคา/เกนิ กว่าตวั อย่างแนบท้ายระเบียบ ๖. ประเภท/รูปแบบ/ข้ อความ/จานวนเงินของหลักประกันไม่ ถกู ต้องตามระเบียบ ๗. กรณีสัญญากาหนดเง่ือนไขการจ่ายเงนิ เป็ นราคาต่อหน่วย ไม่มี การกาหนดเง่ ือนไขการเสนอแผนงานของผ้ ูรั บจ้ างและให้ ถือ เป็ นส่วนหน่ึงของสัญญาไว้ในเอกสารประกวดราคา ๘. กรณีสัญญากาหนดเง่อื นไขการจ่ายเงนิ เป็ นราคาเหมารวม ไม่มี การกาหนดแผนงาน หรือมีการกาหนดการจ่ายเงินงวดแรกๆ มากกว่าค่างานท่ตี ้องส่งมอบ

การกาหนดเงือ่ นไขการประกวดราคา/สอบราคา ๙. ประกาศและเอกสารประกวดราคา/สอบราคาจ้างก่อสร้าง ไม่ระบุสัญญาแบบปรับราคาได้ ๑๐. ระบุสูตรค่า K ไม่ครบประเภทและลกั ษณะงาน ๑๑. ระบุสูตรค่า K ไว้ไม่ถกู ต้องตามประเภทและลักษณะงาน ๑๒. กาหนดเง่ือนไขความรับผิดชอบในความชารุดบกพร่ อง ของงานจ้ างในเอกสารประกวดราคาไว้ น้ อยกว่ าท่ ีกาหนด ไว้ในมตคิ ณะรัฐมนตรี ๑๓. กาหนดเง่ือนไขค่าปรับในเอกสารประกวดราคาไว้ต่ากว่า อัตราท่กี าหนดไว้ในระเบียบ

การพจิ ารณาผลการประกวดราคา / การเปิ ดซองสอบราคา 1. การพจิ ารณา/ไม่พจิ ารณาส่วนท่เี ป็ นสาระสาคัญ 2. ไม่พจิ ารณาราคาฐานเดยี วกนั 3. ไม่เปรียบเทียบกับราคากลาง(ไม่พิจารณาราคา ทกุ รายการ) 4. ดาเนินการล่าช้าโดยไม่มีเหตผุ ลอนั ควร

ข้อสังเกตในการซือ้ /จ้าง ๑. ซือ้ พสั ดเุ กินความจาเป็ น ๒. แบ่งซือ้ /แบ่งจ้าง ๓. ซือ้ ครุภณั ฑ์เกนิ ราคามาตรฐาน ๔. ซือ้ ครุภัณฑ์โดยกาหนดคุณลักษณะเฉพาะเจาะจง เพ่อื ต้องการให้ได้สินค้าย่หี ้อท่พี งึ ประสงค์

กาหนดคุณลกั ษณะเฉพาะ 1. กาหนดคุณลักษณะเฉพาะไม่ตรงตามวัตถุประสงค์ ของการใช้งาน 2. กาหนดคุณลักษณะเฉพาะในลักษณะกีดกันผู้อ่ืน 3. กาหนดคุณลักษณะท่เี ป็ นการล็อกสเปค

๒. แนวทางการตรวจสอบสัญญา และ ข้อสังเกตของ สตง. 23

แนวทางการตรวจสอบสัญญา ๑. รวบรวมเอกสาร ๒. วเิ คราะห์เอกสาร ๓. สรุปผล

แนวทางการตรวจสอบสัญญา ๑. รวบรวมเอกสาร - เอกสารสัญญาและเอกสารอันเป็ นส่วนหน่ึงของสัญญา - TOR - ประกาศและเอกสารประกอบ - แบบรูปรายการประกอบสัญญา(ถ้ามี) - ราคากลางของคณะกรรมการกาหนดราคากลาง(ถ้ามี)

แนวทางการตรวจสอบสัญญา ๒. วเิ คราะห์เอกสาร - การส่งสัญญาให้ สตง.และกรมสรรพากร เพ่ือตรวจสอบ - สัญญาเป็ นไปตามตวั อย่างแนบท้ายระเบยี บ หรือไม่ - การแบ่งงวดงานเหมาะสมและตรงตามประกาศ หรือไม่ - การวางหลักประกันสัญญา ครบถ้วนถูกต้อง หรือไม่ - การตดิ อากร ครบถ้วนถูกต้อง หรือไม่

แนวทางการตรวจสอบสัญญา - กาหนดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุถูกต้องตรงกันกับ ประกาศ หรือไม่ - มีการกาหนดรายละเอียด หรือคุณลกั ษณะเฉพาะหรือรายการ ตามมาตรฐานผลิตภณั ฑ์อตุ สาหกรรมตามระเบียบฯหรือมติ ค.ร.ม. หรือไม่ - การกาหนดค่ าปรับตรงกับประกาศ และเป็ นไปตาม ระเบยี บหรือไม่

แนวทางการตรวจสอบสัญญา • การจัดเอกสารอันเป็ นส่วนหน่ึงของสัญญาครบถ้วน ถูกต้อง ตามท่กี าหนดหรือไม่(การส่งสัญญา,หนังสือคา้ ประกัน,การติด อากร ฯลฯ) • การปฏิบัติหน้าท่ีของคณะกรรมการตรวจรับ คณะกรรมการ ตรวจการจ้าง ผู้ควบคุมงานเป็ นไปตามท่รี ะเบยี บฯ หรือไม่ • เอกสารการเบกิ จ่ายมีเอกสารครบถ้วนถกู ต้องหรือไม่

แนวทางการตรวจสอบสัญญา ๓. สรุปผลการตรวจสอบและความเหน็ - ส่งิ ท่คี วรจะเป็ น - ส่งิ ท่เี ป็ นอยู่ - สาเหตุ - ผลกระทบ - ข้อเสนอแนะ

ข้อสังเกต ๑. เง่อื นไขไม่ตรงกับเอกสารการประกวดราคา/สอบราคา ๒. ไม่มีการสอบยนั หลักประกันสัญญา ๓. เอกสารอนั เป็ นส่วนหน่ึงของสัญญาไม่ครบถ้วนถูกต้อง ๔. กาหนดงวดงานไม่เหมาะสมกบั ลักษณะงานและการตรวจรับ ๕. กาหนดงวดการจ่ายเงนิ เกินกว่าค่างานท่สี ่งมอบ ๖. ประกาศและเอกสารประกวดราคา/สอบราคาระบุให้ใช้สัญญา แบบปรับราคาได้ แต่ตามสัญญาไม่ใช้สัญญาแบบปรับราคา ได้

ข้อสังเกต ๗. สัญญาไม่เป็ นไปตามตวั อย่างแนบท้ายระเบยี บ ๘. สัญญาไม่ระบุรายละเอยี ดของปริมาณงานท่ีจ้าง ๙. เง่ือนไขในสัญญาไม่ ตรงกับท่ีระบุไว้ ในประกาศสอบ / ประกวดราคา ๑๐. ตดิ อากรแสตมป์ ไม่เป็ นไปตามประมวลรัษฎากร ๑๑. การจ้างทาของตัง้ แต่ ๒๐๐,๐๐๐ บาท ไม่ชาระอากรเป็ นตัว เงนิ ภายในกาหนดเวลาตามประมวลรัษฎากร ๑๒. ไม่ส่งสาเนาสัญญา/ข้อตกลงตัง้ แต่ ๑ ล้านบาท ให้สตง. และสรรพากร ภายใน ๓๐ วัน นับจากวันลงนามหรือส่งให้ แต่ล่าช้ากว่าท่กี าหนด

๓. แนวทางการตรวจสอบการบริหารสัญญา และ ข้อสังเกตของ สตง. 32

๓.ตรวจสอบการปฏิบตั ิงาน/การบริหารสัญญา • เป็ นการตรวจสอบงานซือ้ หรืองานจ้างตามสญั ญาซ่ึงต้องเป็ น การตรวจสอบร่วมกันของเอกสารสญั ญากบั การตรวจงานจริง ว่า งานซือ้ หรืองานจ้างที่ส่วนราชการได้รับเป็ นไปตามสญั ญา หรือไม่ โดยงานซือ้ ก็จะมีรายละเอียดคณุ ลกั ษณะเฉพาะของท่ี ซือ้ ส่วนงานจ้างก็จะมีรายละเอียดงานจ้าง หากเป็ นงานจ้าง ก่อสร้างก็จะมีแบบแปลน BOQ รายงานการควบคมุ งาน รายวนั และรายสปั ดาห์ ไว้ตรวจสอบ

การบริหารสัญญา ๑. การตรวจรับพสั ดุ ๒. การควบคุมงานจ้างก่อสร้าง ๓. การตรวจการจ้าง ๔. การคดิ ค่าเงนิ ชดเชยการก่อสร้าง ๕. การจ่ายเงิน

การตรวจสอบการตรวจรับพสั ดุ 35

ข้อควรปฏบิ ัตขิ องคณะกรรมการตรวจรับพสั ดุ ๑. ศึกษาสัญญา และแบบรูปรายการละเอยี ดประกอบสัญญา ๒. ทาการตรวจรับตามหน้าท่ี ๓. ทาการตรวจโดยเร็ว ๔. ลงนามในใบบนั ทกึ การตรวจรับพสั ดุ ๕. กรณเี ปลย่ี นแปลงแก้ไขสัญญา ให้เสนอหัวหน้าส่วนราชการ ๖. คณะกรรมการฯต้องมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง มติเอก ฉันท์

ข้อสังเกตการตรวจรับพสั ดุ ๗. ตรวจรับงานท้งั ๆ ทง่ี านยงั ไม่แล้วเสร็จตามสัญญา ๘. ตรวจรับพสั ดุ ท้งั ๆทไี่ ม่มพี สั ดุให้ตรวจรับ ๙. ทาใบตรวจรับเป็ นเทจ็ ๑๐. ลงนามในใบตรวจรับโดยไม่ได้ตรวจนับพัสดุ/ตรวจ งาน ๑๑. พัสดุท่ีต้องทาการทดสอบไม่ได้ทาการทดสอบ แต่เชื่อ หนังสือของผู้รับขาย/ผู้รับจ้าง

การตรวจสอบการควบคมุ งาน 38

สรุปการควบคุมงาน ๑. แต่งต้งั โดยหัวหน้าส่วนราชการ ๒. คุณสมบัติ ๓. การแต่งต้งั บุคคล กล่มุ บุคคล ?ความหมายงานก่อสร้าง (มาตรา ๔ และ ว ๒๕๙ ลว. ๔ มิ.ย. ๖๑)

แนวทางการตรวจสอบการควบคุมงาน ๑. การแต่งตงั้ ๒. คุณสมบตั ขิ องคณะกรรมการ ๓. บนั ทกึ ผู้ควบคุมงาน การบันทึกการปฏิบัติงานของผู้รั บจ้ างให้ ระบุ รายละเอยี ดขัน้ ตอนการปฏบิ ตั งิ านและวัสดุท่ใี ช้ด้วย ๔. การส่งงานแต่ละงวดงานสอดคล้องกับบันทึกผู้ควบคุม งานหรือไม่

แนวทางการตรวจสอบการควบคุมงาน ๕. งานก่อสร้ างถูกต้อง ครบถ้วน ตามแบบรูปรายการ ละเอยี ด ประกอบสัญญา หรือไม่ ๖. มีบันทึกแจ้งคณะกรรมการตรวจการจ้ างในวันท่ีผู้ รับจ้างเร่ิมทางาน และทางานแล้วเสร็จในแต่ละงวด หรือไม่ ๗. มีรูปถ่ายประกอบการทางานในแต่ละขัน้ ตอน ๘. มกี ารแก้ไขงาน ส่ังหยุดงาน เหมาะสม หรือไม่

แนวทางการตรวจสอบการควบคุมงาน ๙. มีการแก้ไขงาน ส่ังหยุดงาน แล้วแจ้งคณะกรรมการ หรือไม่ ๑๐. มกี ารตรวจสอบวัสดุ และอนุมตั ใิ ช้ หรือไม่ ๑๑. มีการตรวจสอบงานก่ อนอนุมัติให้ ดาเนินการเท คอนกรีต

การตรวจสอบการตรวจการจ้าง 43

สรุปการตรวจการจ้าง ๑. แต่งต้งั คณะกรรมการ โดยหัวหน้าส่วนราชการ ๒. คุณสมบตั ิ ๓. หน้าท่ี (ตามระเบยี บข้อ ๑๗๖) - ตรวจสอบคุณวุฒิของผู้คุมงานของผู้รับจ้าง - ตรวจสอบรายงานของผู้ควบคุมงานกบั สัญญา - ออกตรวจงานในสถานทกี่ ่อสร้าง - ปกติให้ตรวจงานทส่ี ่งมอบภายใน ๓ วนั ทาการ - ถูกต้องครบถ้วน ให้นับวนั ทส่ี ่งงาน - ถ้าความเห็นไม่ตรงกนั กบั ผู้คุมงานให้เสนอหัวหน้าส่วนราชการ

ข้อควรปฏบิ ตั ขิ องคณะกรรมการตรวจการจ้าง ๑. ศกึ ษาสัญญา และแบบรูปรายการละเอียดประกอบสัญญา ๒. ทาการตรวจรับตามหน้าท่ี ๓. ทาการตรวจโดยเร็ว ๔. ลงนามในใบบันทกึ การตรวจการจ้าง ๕. กรณีเปล่ียนแปลงแก้ไขสัญญา ให้เสนอหวั หน้าส่วนราชการ ๖. คณะกรรมการฯต้องมาประชุมไม่น้อยกว่าก่ึงหน่ึง มติเอก ฉันท์

แนวทางการตรวจสอบการตรวจการจ้าง ๑. การแต่งตงั้ ๒. คุณสมบัตขิ องคณะกรรมการ ๓. ตรวจสอบบันทกึ ผู้ควบคุมงาน ๔. ตรวจรับงานแต่ละงวดงานสอดคล้องกับบันทกึ ผู้ควบคุมงาน หรือไม่ ๕. ตรวจรับงานก่อสร้างถูกต้อง ครบถ้วน ตามแบบรูปรายการ ละเอียด ประกอบสัญญา หรือไม่

แนวทางการตรวจสอบการตรวจการจ้าง ๖. ในแต่ละขัน้ ตอนต้องแจ้งหวั หน้าส่วนราชการ ๗. มีรูปถ่ายประกอบการทางานในแต่ละขัน้ ตอน ๘. มกี ารแก้ไขงาน ส่ังหยุดงาน เหมาะสม หรือไม่ ๙. มีการแก้ ไขงาน ส่ังหยุดงาน แล้ วแจ้ งหัวหน้ าส่ วน ราชการหรือไม่ ๑๐. ตรวจรับงานแต่ละงวดงานโดยเร็ว

ข้อสังเกตของ สตง. ในการควบคมุ งานก่อสร้าง และการตรวจการจ้าง 48

การควบคุมงาน ๑. ไม่ ส่ังพักงานแล้ ว รายงานคณะกรรมการตรวจการจ้าง โดยเร็ว ในกรณีท่ีปรากฏว่าแบบรูปรายการละเอียดหรือ ข้อกาหนดในสัญญามีข้อความขัดกัน ๒. ไม่จดบันทกึ สภาพการปฏบิ ตั งิ านของผู้รับจ้างและเหตุการณ์ แวดล้อมเป็ นรายวนั โดยละเอียดทุกวนั ๓. ไม่รายงานคณะกรรมการตรวจการจ้างทราบทุกสัปดาห์ ๔. ไม่ส่งมอบบันทึกให้แก่เจ้าหน้าท่ีพัสดุเม่ือเสร็จงานแต่ละ งวด

การควบคุมงาน ๕. ไม่รายงานผลการปฏิบัติงานของผู้รับจ้างในวันกาหนด ลงมือทาการของผู้รับจ้างตามสัญญาว่าเป็ นไปตาม สัญญาหรือไม่ ๖. ไม่รายงานผลการปฏิบัติงานของผู้รับจ้างในวันถึง กาหนดส่งมอบงานแต่ละงวดว่าเป็ นไปตามสัญญา หรือไม่ ๗. ไม่รายงานคณะกรรมการตรวจการจ้างภายใน 3 วันทา การ นับแต่วันถงึ กาหนดนัน้ ๆ