เวทคี ณุ ภาพ || มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ เวทคี ุณภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ผพู้ ิมพ์ ศนู ย์บริหารจัดการคณุ ภาพองคก์ ร ปีท่ีพิมพ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ ตุลาคม 2563 ศนู ยบ์ รหิ ารจัดการคณุ ภาพองคก์ ร มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ โทรศัพท์ 0 7428 2822, 0 7428 2940-2 โทรสาร 0 7428 2822 URL : http://www.qa.psu.ac.th E-mail : [email protected] I
เวทคี ุณภาพ || มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ คานา เวทีคุณภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นการบูรณาการ การจัดการ ความรู้ (Knowledge Management) กับการประกันคุณภาพ โดยการถ่ายทอด ประสบการณ์แนวปฏิบัติที่เปน็ เลิศด้วยการจัดนทิ รรศการ การบรรยาย ซ่ึงผู้ที่สนใจ สามารถนาไปประยุกต์และพัฒนาวิธีการปฏิบัติ ลดระยะเวลาที่ใช้ในการปรับปรุง ประสิทธิภาพในกระบวนการปฏิบัติงาน รวมท้ังเพื่อสร้างความผูกพันระหว่าง ผู้บรหิ ารกับบคุ ลากร ขอขอบคุณคณะ/หน่วยงานที่ได้จัดทารายละเอียด เทคนิค วิธีการ กระบวนการพัฒนา ในการได้มาซ่ึงแนวปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ เพื่อจัดทาคลังความรู้ สาหรบั การพัฒนาระบบคุณภาพของมหาวิทยาลยั อย่างต่อเนื่อง และยั่งยืน ศนู ยบ์ ริหารจดั การคุณภาพองค์กร มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ II
เวทีคุณภาพ || มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สารบญั คานา ll lll สารบญั 1 Oral Presentations 21 การพัฒนากระบวนการการจัดการในการพัฒนาสมรรถนะ 48 ภาษาอังกฤษของผู้เรียนหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ที่มี 63 ประสทิ ธภิ าพ การรบั นกั ศึกษาเข้าเรยี นสถาบันอดุ มศึกษาในยคุ Disruption 83 ระบบวางแผนการเดินทางภาคสนาม 106 กระบวนการพัฒนาทักษะทางภาษาอังกฤษสาหรับนักศึกษา ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต 121 สุราษฎรธ์ านี การปรับปรุงการทางานดว้ ยการมีสว่ นรว่ มตามแนวคิดไคเซ็น 134 การบริหารจัดการดาเนินการสอบวัดความรู้ภาษาอังกฤษ นัก ศึก ษา ระ ดั บป ริญ ญา ต รี คณ ะวิ ทย า กา รจั ดก า ร มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ การบริหารจัดการการบริการสวัสดิการภาวะอุบัติเหตุและ/ หรือเสียชีวิต สาหรับนักเรียน นักศึกษา และบุคลากรของ วิทยาเขตปตั ตานี กระบวนการพิจารณาเงินเดือนค่าจ้าง คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ III
เวทคี ุณภาพ || มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ Poster Presentations 147 การจัดการเรียนการสอน เพอื่ ส่งเสริมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 158 การจัดการเรียนรู้โดยใช้วิจัยเป็นฐาน (Research Based Learning: RBL) 169 185 กระบวนการพัฒนาศกั ยภาพการวิจยั วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี 191 Infographic เพอ่ื การประชาสมั พนั ธ์และงานบริการนักศึกษา 199 โครงการวิจัยและพัฒนางานเชิงนวัตกรรม : การประดิษฐ์ อุปกรณ์ล้างตา และที่ลา้ งตัวฉุกเฉนิ (Emergency eyewash 209 fountain and safety shower) 221 ก า ร น า เ ค ร่ื อ ง มื อ QC 7 Tools : Fishbone Diagram 239 มาวิเคราะห์ปัญหา ค่าใช้จ่ายไฟฟ้า ภายในฟาร์มสัตวศาสตร์ คณะทรพั ยากรธรรมชาติ 260 273 ตลาดรกั ษ์สง่ิ แวดลอ้ ม การพัฒนาคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างการอยู่ร่วมกันในสงั คม พหุวฒั นธรรม โดยใชส้ ่ือวิทยุ โทรทัศน์ และส่ือออนไลน์ แนว ปฏิบัติเพื่อขอการรับรองเป็นหน่วยตรวจสอบ ผลิตภัณฑอ์ ตุ สาหกรรม ครุภัณฑ์ตรวจพบ จบกบั สมาร์ทโฟน ระบบน้เี พอ่ื เธอ IV
เวทคี ุณภาพ || มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ Oral Presentations V
เวทีคุณภาพ || มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ แนวปฏบิ ตั ทิ ีเ่ ป็นเลศิ ****************************************** เรอ่ื ง การพฒั นากระบวนการการจัดการในการพฒั นาสมรรถนะภาษาองั กฤษ ของผเู้ รียนหลกั สตู รพยาบาลศาสตรบณั ฑิต ที่มีประสิทธิภาพ โครงการ/กิจกรรม ด้านการเรยี นการสอนและคุณภาพบัณฑิต ช่อื หน่วยงาน คณะพยาบาลศาสตร์ วทิ ยาเขตปัตตานี คณะทางานพฒั นาแนวปฏบิ ัตทิ เี่ ป็นเลิศ 1.ผศ.ดร.รอฮานิ เจะอาแซ ที่ปรกึ ษา 2.อ.สไุ ฮดาร์ แวเตะ ประธานกรรมการ 3.อ.นฤมล ทองหนัก รองประธานกรรมการ 4.ผศ.ดร.ปรยี า แกว้ พมิ ล กรรมการ 5.ดร.จติ รลดา พิริยศาสน์ กรรมการ 6.อ.เจ๊ะยารเี ย๊าะ เจะโซ๊ะ กรรมการ 7.อ.ฉมาพร หนเู พชร กรรมการ 8.อ.นนั ทยิ า โขย้ น่งึ กรรมการ 9.อ.ฮานฟี ะฮ เจ๊ะอาลี กรรมการ 10. นางวนั ยามลี ะห์ แกว้ กบั ทอง เลขานุการ การประเมินปญั หา/ความเสี่ยง (Assessment) ด้วยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ประกาศเรื่อง เกณฑ์มาตรฐานและ แนวปฏิบัติการสอบวัดความรู้ภาษาอังกฤษเพื่อสาเร็จการศึกษาของนักศึกษา หลักสูตรระดับปริญญาตรี โดยกาหนดให้นักศึกษาใหม่ที่จะเข้าศึกษาตั้งแต่ปี การศึกษา 2559 เป็นตน้ ไป ทาให้คณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาเขตปัตตานี มีการ -1-
เวทีคณุ ภาพ || มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จดั ทาระบบและกลไกการพัฒนาทักษะด้านภาษาองั กฤษสาหรับนกั ศึกษา โดยมี คณะกรรมการวิชาการและพัฒนานักศึกษาดาเนินการตามแผนที่วางไว้ ได้แก่ การติดตามจานวนชั่วโมงการใช้ Tell Me More การจัดสอบ โปรแกรม Tell Me More ท่ี ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย Placement Test, Progress Test แ ล ะ Achievement Test โปรแกรม PSU English Test และตดิ ตามผลการสอบวัด ความรู้ภาษาอังกฤษของนักศึกษาตั้งแต่รหัส 59 ทั้งนี้จากการติดตามผลการ ดาเนินงานที่ผ่านมา พบว่า นักศึกษามีจานวนชั่วโมงเรียนภาษาอังกฤษจาก ระบบ Tell Me More น้อยและไม่เป็นไปตามเกณฑ์ท่ีมหาวิทยาลัยกาหนดโดย มกี าหนดชั่วโมงเรียนไม่น้อยกว่า 50 ชั่วโมง จึงไม่สามารถสอบ Progress Test ในรอบถัดไปได้ (ที่มา : คู่มือแนวทางการปฏิบัติเบื้องต้นในการใช้งานโปรแกรม Tell Me More) ทั้งน้ี ในส่วนของคณะท่ีไม่ได้กาหนดช่วงเวลาการสอบวัดความรู้ ภาษาอังกฤษ ประเภทการสอบ Tell Me More ตามท่ีมหาวิทยาลัยกาหนด ดว้ ยเหตุตอ่ ไปนี้ ปกี ารศกึ ษา ประเภทการสอบ Tell Me More หมายเหตุ Placement Progress Achievement Test Test Test ปี ก า ร ศึ ก ษ า มีการจดั สอบ มีการจัดสอบ ไมม่ ีการจัดสอบ 2559 (รหสั 59) ปี ก า ร ศึ ก ษ า ไม่มีการจัด ไม่มีการจัด ไมม่ ีการจัดสอบ เนื่องจาก 2560 (รหัส59- สอบ สอบ เจ้าหน้าที่ 60) ผรู้ ับผิดชอบเดมิ มี การลาออก ซึง่ การส่งต่อขอ้ มลู ไม่ครบถว้ นและ ขาดชว่ งไป ทาให้ การดาเนินการไม่ เป็นไปตามแผนที่ วางไว้ ทง้ั นีไ้ ดม้ ี -2-
เวทคี ณุ ภาพ || มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีการศกึ ษา ประเภทการสอบ Tell Me More หมายเหตุ Placement Progress Achievement Test Test Test การตรวจสอบ ระบบ Tell Me More พบว่า ในช่วงดังกลา่ ว นักศึกษาได้ ดาเนินการสอบ Placement Test เอง ซง่ึ ไม่ ผ่านการจดั สอบ โดยคณะ จึงไม่ เป็นไปตาม เง่อื นไข ข้อกาหนดในการ สอบโปรแกรม Tell Me More ทใี่ หค้ ณะเป็น ผูด้ าเนินการจัด สอบ เหตุการณ์ข้างต้นทาให้ผู้บริหารตระหนักถึงปัญหาที่จะส่งผลกระทบกับ นักศึกษาในการสาเร็จการศึกษาข้ึน จึงมีกระบวนการทบทวนการจัดการและ ติดตามการสอบวัดความรูภ้ าษาอังกฤษ โดยมีกระบวนการดงั น้ี -3-
เวทีคณุ ภาพ || มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ จากการทบทวนระบบความเสี่ยง ในปีการศึกษา 2561 คณะกรรมการ ฝ่ายวิชาการและพัฒนานักศึกษาได้มีกระบวนการกากับติดตามจานวนช่ัวโมง เรียนภาษาอังกฤษจากระบบ Tell Me More ซ่ึงกาหนด 100 ชั่วโมง ทาให้ นักศึกษาช้ันปีท่ี 1 และ 2 ไม่สามารถเก็บช่ัวโมงการเรียนภาษาอังกฤษใน โปรแกรม Tell Me More ได้ ด้วยสาเหตุนักศึกษาช้ันปีท่ี 1 และ 2 มีเรียน รายวิชาศึกษาทั่วไปจานวนมาก และ กิจกรรมท้ังของคณะ มหาวิทยาลัยมี จานวนมากเช่นกัน และสาหรับในปีการศึกษา 2562 ทาให้ทางคณะพยาบาล ศาสตร์ วิทยาเขตปัตตานีมีการทบทวนระบบความเสี่ยงอีกคร้ัง โดยเน้น กระบวนการดังน้ี 1. ตระหนักให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนในรายวิชาศึกษาท่ัวไปที่มีการ จดั การเรยี นการสอนเปน็ ภาษาองั กฤษ 2. คณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาเขตปัตตานี กาหนดภาระงานบคุ ลากรสาย วชิ าการ ตาแหน่งอาจารย์ทวั่ ไป โดยอาจารยใ์ ช้ OKRs ประเมนิ อาจารย์ในเกณฑ์ ที่เป็นตัวช้ีวัดตามแผนยุทธศาสตร์ ซ่ึงมีตัวชี้วัดด้านหลักสูตรและการจัด การศึกษา ประกอบดว้ ย 1) อัตรานักศึกษาในความดูแลที่สอบผ่านภาษาอังกฤษตาม ระยะเวลาที่กาหนด โดยมีเกณฑก์ ารวดั คอื ช้ันปที ่ี 2 ร้อยละ 80 ช้นั ปีที่ 3 รอ้ ย ละ 100 -4-
เวทคี ณุ ภาพ || มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2) การจัดการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษเต็มรูปแบบ (เฉพาะ หลักสตู รใหม่) โดยมีเกณฑ์การวัด คอื 15 ช่ัวโมงต่อภาคการศกึ ษาต่อคน (ต้องมี หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์) 3. คณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาเขตปตั ตานี กาหนดภาระงานบคุ ลากรสาย วิชาการ ดารงตาแหน่งรองคณบดแี ละผ้ชู ว่ ยท่รี ับผิดชอบด้านหลักสูตรปริญญา มี ตัวชีว้ ดั ตามภารกจิ ประกอบดว้ ย 1) ร้อยละของรายวิชาในหลักสูตรท่ีเปิดสอนเป็นภาษาอังกฤษเต็ม รูปแบบอย่างน้อยร้อยละ 80 ของจานวนช่ัวโมงท่กี าหนด (เฉพาะหลักสตู รใหม)่ 2) อัตราการสอบภาษาองั กฤษผ่าน โดยมีเกณฑก์ ารวัด คือ ชน้ั ปีที่ 2 รอ้ ยละ 80 ช้ันปีที่ 3 ร้อยละ 100 ท้ังน้ีเพื่อช่วยกันขับเคลื่อนกระบวนการและติดตามการจัดการสอบ ภาษาอังกฤษ (Exit Exam) ของคณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาเขตปัตตานี (ตาม ประกาศคณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาเขตปัตตานี เรื่อง การกาหนดภาระงาน บุคลากรตาแหน่งวิชาการ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วทิ ยาเขตปตั ตานี พ.ศ. 2562) เป้าหมาย/วตั ถุประสงค์ของโครงการ 1. เพ่ือให้นักศึกษาในหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตสอบวัดความรู้ ภาษาอังกฤษผา่ นตามระยะเวลาทีก่ าหนด 2. เพื่อให้อาจารย์ที่ปรึกษาได้กากับติดตามนักศึกษาในความดูแลสอบวัด ความรูภ้ าษาองั กฤษผา่ นเปน็ ไปตามแผนท่กี าหนด ผลที่คาดว่าจะได้รบั 1. นักศึกษาทุกคนสอบวัดความรู้ภาษาอังกฤษผ่านและสาเร็จการศึกษา ตามระยะเวลาท่กี าหนด 2. อาจารย์ท่ีปรึกษาได้กากับติดตามนักศึกษาในความดูแลสอบวัดความรู้ ภาษาองั กฤษผา่ นเปน็ ไปตามแผนท่ีกาหนด -5-
เวทีคณุ ภาพ || มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ การออกแบบกระบวนการ 1. วธิ ีการ/แนวทางการปฏิบัติจริง (PDCA) 1) คณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาเขตปัตตานี ได้ใช้กระบวนการการสอื่ สาร (Effective Communication) ดงั น้ี 2) คณะพยาบาลศาสตร์ วทิ ยาเขตปตั ตานี ได้ใช้กระบวนการ PDCA ซึ่ง มีข้ันตอนตอ่ ไป Plan Do Check Action แผน กระบวนการ ดาเนินการ ตรวจสอบ ปรบั ปรงุ แกไ้ ข 1. แผนการ 1.1 ผู้บรหิ ารคณะ สาหรับ พฒั นาระบบ มอบหมาย ผู้รับผดิ ชอบใน และ นักศกึ ษาที่ไม่ และกลไก ผู้รับผดิ ชอบที่ แต่ละสว่ น คณะกรรมการ ทาตาม ระดับคณะ ชัดเจน ดาเนนิ การใน ฝ่ายวชิ าการ เปา้ หมาย ฝ่าย 1.2 จดั ระบบ หน้าท่ที ่ีได้รับ และพฒั นา วชิ าการและ การบรหิ าร มอบหมายตาม นักศกึ ษามีการ พฒั นา จัดการโดยใช้ แผนที่ ตดิ ตาม นกั ศึกษา ระบบ คณะกรรมการ กระบวนการ กาหนด มีการ Evidence- ฝา่ ยวชิ าการ พัฒนาระบบ ติดตามดงั น้ี Based และพัฒนา และกลไกตาม 1) อาจารยท์ ี่ ประกอบดว้ ย นักศึกษา แผนทก่ี าหนด ปรึกษาติดตาม -6-
เวทคี ุณภาพ || มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ Plan Do Check Action แผน กระบวนการ ดาเนนิ การ ตรวจสอบ ปรับปรุงแกไ้ ข 1) สถติ กิ าร รบั ทราบ เพื่อ โดยมผี ้รู ับ ผิด การใชช้ วั่ โมง ขบั เคลือ่ นให้ ชอบในส่วน กอ่ นวันสอบใน สอบวดั นกั ศกึ ษาทุกคน ต่างๆว่าเปน็ ไป แตล่ ะรอบ มสี ่วนรว่ มการ ตามเป้า หมาย 2) อาจารย์ ความรู้ เรยี น และ ท่กี าหนด ประจาชน้ั ปี เป็นไปตาม หรือไม่ จัดทาแผนการ ภาษาอังกฤษ เปา้ หมายที่ เรยี นเพ่อื ให้ กาหนด ซึ่งมี นกั ศึกษาที่ไม่ 2) สถิติการ การดาเนินการ ผา่ นเก็บชั่วโมง ดังน้ี เรียนเพิ่มเตมิ เรียนใน 1) อาจารย์ 3) ให้นกั ศึกษา ผู้สอนจัดการ ทไ่ี ม่ดาเนนิ การ โปรแกรม เรียนการสอน ตามเปา้ ยน่ื คา เปน็ ร้องขอสอบ Tell Me ภาษาอังกฤษ ภาษา องั กฤษ รอ้ ยละ 80 โดยผ่านความ More 2) กาหนดให้ คดิ เหน็ จาก นักศกึ ษา อาจารยท์ ี่ 1.3 ระบบ ลงทะเบียน ปรึกษา การ เรยี นใน พิจารณาจาก การกากบั รายวชิ าหมวด ประธานกรรม วิชาศึกษาทัว่ ไป คณะกรรมการ ตดิ ตาม ท่จี ดั การเรียน ฝ่ายวชิ าการ การสอนเปน็ และพฒั นา 2. จดั ทา 2.1 ภาษาอังกฤษ นกั ศกึ ษา และ 3) อาจารยช์ ้ัน อนมุ ตั ิโดย แผนพฒั นา ขับเคลอ่ื น ปีทกุ ช้ันปี คณบดี ก่อนวนั รว่ มกนั หา สอบ 1 วนั ภาษาอังกฤษ การพัฒนา แนวทางใน โดย ภาษาองั กฤษ คณะกรรมการ และจดั ฝา่ ยวิชาการ แผนการจดั และพัฒนา กจิ กรรม นกั ศึกษา 2.2 แผนการ สอ่ื สาร ประกอบ 1) สือ่ สารให้ อาจารย์มี สว่ นร่วม ตระหนกั และให้ ความสาคญั ทุกคน -7-
เวทคี ณุ ภาพ || มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ Plan Do Check Action ตรวจสอบ ปรับปรงุ แก้ไข แผน กระบวนการ ดาเนนิ การ 2) สือ่ สารให้ กรณีท่ี บุคลากร นกั ศึกษาสอบ ตระหนักใน ภาษาองั กฤษ หนา้ ที่ ความ ไมผ่ า่ น รับผดิ ชอบ และการดแู ล 3) สอ่ื สารให้ ผ้เู รยี นรจู้ กั ให้ ความ สาคญั ของการ พัฒนา ภาษาองั กฤษ 3.เปา้ หมาย นักศกึ ษาชน้ั ปี ความสาเรจ็ ที่ ท่ี 1 ผา่ น คณะกาหนด 50% นักศึกษาชน้ั ปี ที่ 2 ผ่าน 80% นักศกึ ษาช้ันปี ท่ี 3 ผ่าน 100% 4.กาหนดภาระ 1) อตั รา งานบุคลากร นักศึกษาใน สายวชิ าการ ความดูแลที่ ตาแหน่ง สอบผ่าน อาจารยท์ ัว่ ไป ภาษาองั กฤษ โดยอาจารยใ์ ช้ ตาม OKRs ประเมนิ ระยะเวลาท่ี อาจารยใ์ น กาหนด โดยมี -8-
เวทคี ณุ ภาพ || มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ Plan Do Check Action ดาเนนิ การ ตรวจสอบ ปรบั ปรุงแกไ้ ข แผน กระบวนการ เกณฑ์ท่ีเปน็ เกณฑก์ ารวัด ตัวชีว้ ดั ตาม คือ ชั้นปีที่ 2 แผน รอ้ ยละ 80 ยุทธศาสตร์ ซึ่ง ชัน้ ปที ่ี 3 รอ้ ย มีตัวช้วี ดั ดา้ น ละ 100 หลักสตู รและ 2) การจัดการ การจัด เรยี นการสอน การศึกษา เป็น ภาษาอังกฤษ เตม็ รปู แบบ (เฉพาะ หลกั สตู รใหม)่ โดยมเี กณฑ์ การวัด คือ 15 ชว่ั โมงต่อ ภาค การศกึ ษาต่อ คน (ตอ้ งมี หลักฐานเชงิ ประจกั ษ)์ 5. คณะ 1) ร้อยละ พยาบาล ของรายวิชา ศาสตร์ วทิ ยา ในหลกั สูตรที่ เขตปตั ตานี เปดิ สอนเปน็ กาหนดภาระ ภาษาอังกฤษ งานบคุ ลากร เต็มรปู สายวชิ าการ แบบอยา่ ง ดารงตาแหน่ง นอ้ ยร้อยละ รองคณบดแี ละ 80 ของ -9-
เวทีคุณภาพ || มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ Plan Do Check Action ตรวจสอบ ปรับปรุงแกไ้ ข แผน กระบวนการ ดาเนนิ การ ผู้ช่วยท่ี จานวนช่วั โมง รบั ผดิ ชอบดา้ น ทกี่ าหนด หลกั สตู ร (เฉพาะ ปรญิ ญา มี หลกั สตู รใหม่) ตวั ช้ีวัดตาม 2) อตั ราการ ภารกิจ สอบ ภาษาองั กฤษ ผ่าน โดยมี เกณฑ์การวดั คอื ชน้ั ปีที่ 2 รอ้ ยละ 80 ช้ันปีท่ี 3 ร้อย ละ 100 2. งบประมาณท่ใี ช้ในการจดั โครงการ/กิจกรรม - ไมม่ ีงบประมาณ การวดั ผลและผลลัพธ์ (Measures) แสดงระดบั แนวโน้มขอ้ มูล เชิงเปรียบเทียบ (3ป)ี และ/หรอื เปรยี บเทียบกับหนว่ ยงานภายใน/ ภายนอก 1. จานวนนักศึกษาท่ีสอบผ่านภาษาอังกฤษในโปรแกรม Tell Me More และ PSU English test ในแตล่ ะชนั้ ปี (ข้อมลู ณ วนั ที่ 15 มกราคม 2563) - 10 -
เวทีคณุ ภาพ || มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ จานวนนกั ศึกษาท่ีสอบผา่ นภาษาองั กฤษในโปรแกรม Tell Me More หรือ PSU English test ในแต่ละชนั้ ปี (ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 15 มกราคม 2563) รหัส 59 รหัส 60 รหสั 61 รหัส 62 95.16% 97.67%100% 100% 100% 51.61% 21.43% 20% 23.26% ชน้ั ปที ี่ 1 ชนั้ ปที ี่ 2 ช้นั ปที ี่ 3 เป้าหมาย นกั ศึกษา นกั ศึกษารหัส นกั ศกึ ษา นักศกึ ษา ความสาเร็จท่คี ณะ รหสั 59 60 รหสั 61 รหัส 62 จานวน 35 จานวน 62 จานวน 62 กาหนด จานวน 43 ปกี ารศกึ ษา 2562 คน คน คน คน นกั ศกึ ษาชั้นปีท่ี 1 7 10 32 59 ผา่ น 50% (20%) 23.26%) (51.61%) (95.16%) นักศึกษาชั้นปีที่ 2 11 31 62 (100%) ผ่าน 80% (31.43%) (72.10%) นกั ศกึ ษาช้นั ปที ี่ 3 35 43 ผ่าน 100% (100%) (100%) รูปและตารางท่ี 1 จำนวนนกั ศกึ ษำท่ีสอบผ่ำนภำษำอังกฤษในโปรแกรม Tell Me More หรือ PSU English test ในแต่ละชัน้ ปี จากรูปและตารางที่ 1 พบว่า การรับรู้ของนักศึกษาเป็นการเพ่ิมทักษะ ให้กับนกั ศึกษาชนั้ ปที ่ี 1 (รหสั 62) มปี ระสิทธิภาพสูง เน่ืองจากนกั ศกึ ษาสามารถ สอบภาษาอังกฤษในโปรแกรม Tell Me More และ PSU English test ผ่าน ต้ังแต่รอบที่ 1 ได้โดยไม่ต้องเก็บช่ัวโมงการเรียนภาษาอังกฤษในโปรแกรม Tell Me More - 11 -
เวทีคุณภาพ || มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ 2. แผนการสอบของภาษาอังกฤษในโปรแกรม Tell Me More และ PSU English test ตัง้ แต่ปกี ารศกึ ษา 2559-2562 ปีการศึกษา 2559 ปีการศึกษา 2560 ปกี ารศึกษา 2561 ปกี ารศึกษา 2562 ครั้ วนั รายกา ครั้ วนั รายกา ครั้ วัน รายกา คร้ั วนั รายกา งที่ เดือ รท่จี ัด ง เดอื รทีจ่ ดั งท่ี เดอื รท่ีจัด งท่ี เดือนปี รท่ีจัด นปี สอบ ที่ นปี สอบ นปี สอบ สอบ 1 13 Tell 1 26- PSU 1 10- Tell 1 12,13, Tell ก.ย. me 28 Test 12 me 27 ก.ย. me 59 more ก.พ. ครั้งที่ ก.ย. more 62 more PL 61 1 61 PL รอบ1 2 26 Tell 2 12- Tell 2 4 ธ.ค. Tell ก.พ. me 14 me 62 me 60 more ก.พ. more more PR 62 PR รอบ2 3 10 Tell 3* ก.พ.63 Tell พ.ค. me me 62 more more AT รอบ3 4 1-4 PSU 4* เม.ย. Tell ต.ค. Test 63 me 61 คร้ังที่ more 1 รอบ4 5 28 PSU 5* มิ.ย. 63 Tell ม.ี ค. Test me 62 ครั้งที่ more 2 รอบ5 6 21 PSU 6* 19,27 PSU มิ.ย. Test ก.ย. 62 Test 62 คร้ังที่ รอบ1 3 7* 4 ธ.ค. PSU 62 Test รอบ2 8* ก.พ.63 PSU Test รอบ3 - 12 -
เวทคี ณุ ภาพ || มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ ปกี ารศึกษา 2559 ปีการศึกษา 2560 ปีการศกึ ษา 2561 ปีการศึกษา 2562 คร้ั วัน รายกา คร้ั วนั รายกา ครั้ วัน รายกา งท่ี เดอื รทจ่ี ัด ง เดอื รทจี่ ดั งท่ี เดือ รที่จดั คร้ั วนั รายกา ท่ี นปี สอบ งที่ เดือนปี รทจ่ี ดั นปี สอบ นปี สอบ 1 สอบ 2 6 9* เม.ย. PSU 63 Test รอบ4 10 ม.ิ ย. 63 PSU * Test รอบ5 10 หมายเหตุ : * หมายถึงแผนการจดั สอบที่ยงั ไม่ถึงรอบของการสอบ ตารางที่ 2 แผนกำรสอบของภำษำอังกฤษในโปรแกรม Tell Me More และ PSU English test ตง้ั แตป่ ีกำรศกึ ษำ 2559-2562 จากตารางที่ 2 พบวา่ ในปกี ารศกึ ษา 2562 การจดั การสอบในแตล่ ะรอบถี่ ข้ึน ซึ่งจากเดิมกาหนดสอบโปรแกรม Tell Me More ในระดับ Placement test และProgress Test ปีละ 1 คร้ัง แต่ในปีการศึกษา 2562 มีการปรับให้ นักศึกษาสามารถสอบได้ 5 รอบต่อปี จึงเป็นแนวทางหน่ึงที่ทาให้นักศึกษาสอบ ผ่านเรว็ ขึ้น ทั้งน้ีการจัดสอบในแต่ละรอบจะสอบได้น้ัน ผู้รับผิดชอบในการเปิดระบบ การสอบต้องดาเนินการตามเวลาทก่ี าหนดที่มหาวิทยาลัยกาหนดเช่นกัน จานวนผู้สอบผา่ นภาษาอังกฤษในโปรแกรม Tell me more หรือ PSU English test ของคณะพยาบาลศาสตร์ วทิ ยาเขตปตั ตานี และมหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี พยบ.ปน. วข.ปน. 100.00 94.61 100.00 68.86 100.00 95.16 98.51 59.03 40.96 33.22 รหสั 59 รหสั 60 รหัส 61 รหัส 62 ภาพรวม - 13 -
เวทีคุณภาพ || มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รูปที่ 2 จำนวนผสู้ อบผ่ำนภำษำองั กฤษในโปรแกรม Tell me more หรือ PSU English test ของคณะพยำบำลศำสตร์ วิทยำเขตปัตตำนี และมหำวิทยำลัยสงขลำนครนิ ทร์ วทิ ยำเขตปตั ตำนี จากรูปที่ 2 พบว่าจานวนร้อยละการสอบผ่านของนักศึกษารหัส59-62 คณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาเขตปัตตานี เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของคณะ กาหนดเปน็ อย่างสงู ทั้งนี้การกาหนดกระบวนการโดยเน้นการสื่อสาร เปน็ ปัจจัย สาคญั ในการผลักดนั ให้นักศึกษาสาเร็จตามตามแผน เมือ่ เปรียบเทียบกับคะแนน ภาพรวมของมหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ วิทยาเขตปัตตานี การเรยี นรู้ (Study/Learning) 1. แผนหรอื แนวทางการพัฒนาคณุ ภาพอยา่ งต่อเนือ่ งในอนาคต 1. ผู้บรหิ ารตอ้ งใหค้ วามสาคญั และกากบั ติดตาม 2. มีการปรับปรุงกลไกให้มีประสิทธิภาพ เน้นการส่ือสารทุกทางเพ่ือให้ เกดิ ความตระหนกั 3. Resource ท่ีมีอยู่เพียงพอท่ีจะพัฒนาแต่ต้องมีการบริหารจัดการท่ีมี ประสทิ ธภิ าพ 2. จุดแข็ง (Strength) หรือ สิ่งทที่ าได้ดีในประเด็นทน่ี าเสนอ 1. ใชห้ ลกั ฐานเชิงประจักษใ์ นการแก้ปัญหามีความต่อเนื่องของกิจกรรมซึ่ง ใช้ระบบการกากับติดตามท่ีมีประสิทธิภาพ กระบวนการนี้ทาให้บุคลากรเห็นถึง ความสาคัญตลอดถึงความรับผิดชอบตนเองซ่ึงเป็นการพัฒนาบุคลากรอย่างยัง ยืน 2. อาจารย์ประจาช้ันปแี ละอาจารย์ทีป่ รึกษามีสว่ นร่วมในทกุ กระบวนการ ของการพฒั นาความรู้ภาษาอังกฤษของนักศึกษาทดี่ แู ล 3. นักศึกษามีความตระหนักและกระตือรือร้นในการพัฒนาตนเองอย่าง ตอ่ เนือ่ ง โดยดาเนินการตามแผนของคณะจัดขน้ึ 3. กลยุทธ์ หรอื ปจั จัยทีน่ าไปส่คู วามสาเรจ็ เคล็ดลบั สู่ความสาเร็จและย่ังยนื - การสร้างความตระหนักและเห็นความสาคัญของการพัฒนาตนเองด้าน ภาษาอังกฤษในตัวนักศกึ ษา - 14 -
เวทคี ุณภาพ || มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ - การดาเนินงานตามแผนพัฒนาภาษาอังกฤษสาหรับนักศึกษา ซ่ึงมีการ กาหนดผ้รู ับผิดชอบที่ชดั เจน โดยการมีสว่ นร่วมของทุกฝา่ ย - มีระบบกากับและติดตาม โดยกาหนดให้คณะอนุกรรมการพัฒนา ภาษาอังกฤษ รายงานผลการดาเนินงานและปัญหาอุปสรรคต่อคณะกรรมการ วิชาการและพัฒนานักศึกษา รวมท้ังกาหนดให้มีการรายงานผลต่อ คณะกรรมการประจาคณะอีกด้วย ทั้งนี้การมีระบบกากับติดตามที่มี ประสิทธิภาพ จะสง่ ผลใหก้ ารดาเนินกิจกรรมตา่ งๆ เกิดความย่งั ยืน เทคนิค : การมีส่วนร่วมของอาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนในการ จัดการเรี ยนการส อนและการจัดกิจกรรมเพ่ือให้นักศึกษา ได้มีโอกาส พัฒน า ภาษาองั กฤษ เครือ่ งมอื : แผนการตดิ ตามดา้ นภาษาอังกฤษสาหรับนักศึกษา การสอ่ื สาร - ผู้บริหารส่ือสารชัดเจนถึงเป้าหมายในการพัฒนาภาษาอังกฤษสาหรับ นักศึกษา โดยส่ือสารผ่านท่ีประชุมคณะกรรมการประจาคณะ กาหนดให้ คณะกรรมการวิชาการและพัฒนานักศึกษาเป็นผู้รับผิดชอบหลักในการกากับ ติดตาม และนาเสนอผลการดาเนินงานในท่ีประชุมคณะกรรมการประจาคณะ เปน็ ระยะ - การส่ือสารทาความเข้าใจและสร้างความตระหนักให้กับนักศึกษา กาหนดให้อาจารย์ประจาชั้นปีและอาจารย์ที่ปรึกษาเป็นผู้รับผิดชอบ รวมท้ังให้ กากบั ตดิ ตาม และสนบั สนุนการพัฒนาภาษาอังกฤษของนกั ศึกษา การบริหารจดั การ : ทงั้ ในแนวดง่ิ และในแนวราบ คณะฯ จัดทาแนวปฏิบัติในการประเมินความต้องการและความคาดหวัง ของผู้เรียนและผู้มสี ว่ นได้สว่ นเสยี อย่างเปน็ ระบบ โดย (1) รบั ฟงั เสยี งผเู้ รียนและ ผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสียและใช้หลกั ฐานเชิงประจักษ์ เช่น การวิเคราะห์จานวนชั่วโมง การใช้ Tell Me More การวิเคราะห์ปัจจัยมีผลต่อทักษะภาษาอังกฤษ การใช้ ระบบเทคโนโลยีเพ่ือวิเคราะห์แนวโน้ม การวิจัยในชั้นเรียน การวิเคราะห์ข้อมูล เชิงคุณภาพจากการสนทนากับผู้เรยี นและผู้มสี ่วนได้สว่ นเสยี เพอื่ วิเคราะห์ปญั หา อุปสรรคและปัจจัยเฉพาะในการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ (2) นาข้อมูลท่ีได้มา - 15 -
เวทีคณุ ภาพ || มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วิเคราะห์และจัดทาข้อสรุปแนวทางการดาเนินงานตามสภาพปัญหาและความ ต้องการของผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ซ่ึงมีผลการวิเคราะห์ข้อมูลตามรูป 3 (3) ออกแบบกระบวนการจัดการเพ่ือพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษท่ีเหมาะสมกับ สภาพของผู้เรียนแต่ละกลุ่ม ได้แก่ ผู้เรียนท่ัวไปและผู้เรียนท่ีมีความต้องการ เฉพาะ โดยทุกๆ กระบวนการคณะฯ กาหนดให้มีกระบวนการส่ือสารเพื่อสร้าง ความตระหนักและกระบวนการมีสว่ นร่วมของผู้เรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสยี (4) ออกแบบระบบการกากับติดตามเพื่อถอดบทเรียนปัจจัยสาเร็จและปัจ จัย ล้มเหลวและออกแบบกระบวนการในการแก้ไขปัญหาเชิงระบบโดยใช้หลักฐาน เชิงประจักษ์ เช่น การวิเคราะห์จานวนชั่วโมงการใช้ Tell Me More การวิเคราะห์ปัจจัยมีผลต่อทักษะภาษาอังกฤษ การใช้ระบบเทคโนโลยีเพื่อ วิเคราะห์แนวโน้ม การวิจัยในช้ันเรียน การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพจากการ สนทนากับผูเ้ รียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพ่ือวิเคราะห์ปัญหาอปุ สรรคและปัจจัย เฉพาะในการพฒั นาทักษะภาษาอังกฤษ (5) กาหนดตัวช้วี ัดการดาเนินงานระดับ คณะและถ่ายทอดตัวชี้วัด (Objective key results) ไปสู่อาจารย์ (ตาราง 3) และกากับติดตามตัวชี้วัดระดับคณะ ปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินงานโดย คณะกรรมการประจาคณะทุกไตรมาส ทบทวน ให้ข้อเสนอแนะและความ ช่วยเหลือเพ่ือปรับปรุงกระบวนการดาเนินการหากพบว่าการดาเนินการไม่ เป็นไปตามเป้าหมาย และติดตามตัวชี้วัดระดับอาจารย์ทุก 6 เดือนตามรอบการ ประเมนิ ผเู้ รยี น/ผู้ วธิ ีการ ความถี่ ผรู้ บั ผดิ ชอบ ความต้องการและ มสี ว่ นได้ ความคาดหวัง ส่วนเสีย ผู้เรยี น ปฐมนเิ ทศ ปีละ 1 คร้ัง กรรมการ สามารถพูดและ นกั ศกึ ษาใหม่ วิชาการ สอ่ื สาร ภาษาองั กฤษได้ จริง สาเร็จ การศกึ ษาตาม หลักสตู ร - 16 -
เวทคี ณุ ภาพ || มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ ผเู้ รียน/ผู้ วธิ กี าร ความถ่ี ผรู้ บั ผดิ ชอบ ความตอ้ งการและ มสี ่วนได้ ความคาดหวัง ส่วนเสีย สัมมนาสโมสร ปีละ 1 ครง้ั ฝา่ ยพฒั นา นักศึกษา นักศึกษา กจิ กรรมทพ่ี ัฒนา ผูส้ อน/ ประชุมชนั้ ปี เทอมละ 1 อาจารย์ ทักษะภาษาอังกฤษ บคุ ลากร คร้ัง ประจาช้ันปี ไดจ้ ริง สนับสนนุ คณบดีพบ WiFi ที่มคี วามแรง นกั ศึกษา ปลี ะ 1 ครง้ั คณบดี และครอบคลมุ การจัดการเรอ่ื ง การใหค้ าปรึกษา ตามสภาพ อาจารยท์ ี่ เวลา เฉพาะราย ปญั หาและ ปรกึ ษา WiFi ทีม่ คี วามแรง ความ และครอบคลุม ประเมนิ การพฒั นา ต้องการของ ผูร้ บั ผดิ ชอบ การจดั การเรือ่ ง ภาษาอังกฤษระดบั นกั ศกึ ษา รายวชิ า เวลา รายวิชาทกุ วิชา เมือ่ สน้ิ สุด กรรมการ อปุ กรณ์ทจี่ าเปน็ ประเมนิ หลกั สตู ร รายวชิ า วชิ าการ เช่น คอมพวิ เตอร์ ปลี ะ 1 คร้งั รายงานผลการ กรรมการ การจดั การเรยี น ดาเนนิ งานของ เมื่อสิน้ สุด วิชาการ การสอนและส่ือ รายวิชา ภาษาองั กฤษ การจัดการเรยี น การสอนเปน็ ภาษา องั กฤษ การ สนบั สนนุ สิง่ สนบั สนุนการ เรียนรู้ การพฒั นาทกั ษะ การจดั การเรยี น การสอนเปน็ - 17 -
เวทคี ุณภาพ || มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ ผ้เู รยี น/ผู้ วธิ ีการ ความถ่ี ผู้รบั ผดิ ชอบ ความต้องการและ มสี ว่ นได้ ทกุ 2 เดือน ความคาดหวงั ส่วนเสีย รายวิชา (มคอ. 5, ทกุ 1 เดอื น 6) ทุกรายวชิ า การประชมุ กรรมการ ภาษาอังกฤษ คณะกรรมการ วชิ าการ สาหรับอาจารย์ วิชาการ กรรมการ การกากบั ตดิ ตาม การประชมุ คณะ และการสนับสนนุ กรรมการประจา ดา้ นนโยบายและ คณะ งบประมาณ การกากับติดตาม และการสนบั สนนุ ดา้ นนโยบายและ งบประมาณคณะ ตาราง 3 : กระบวนการเรยี นรคู้ วามตอ้ งการและความคาดหวังดา้ นการพฒั นาภาษาองั กฤษ ของผู้เรยี นและผมู้ ีส่วนไดส้ ว่ นเสยี ตัวช้ีวดั ระดับคณะ ตวั ชีว้ ัดระดับอาจารย์ นักศึกษาชน้ั ปีท่ี 1 ผา่ น 50% นกั ศกึ ษาชัน้ ปีที่ 2 ผา่ น 80% นักศึกษาช้นั ปที ่ี 2 ผ่าน 80% นักศกึ ษาชั้นปที ี่ 3 ผา่ น 100% นกั ศึกษาชน้ั ปที ่ี 3 ผ่าน 100% ตาราง 1: ตวั ชีว้ ัดผลสาเรจ็ ของการดาเนนิ งาน - 18 -
เวทีคุณภาพ || มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประเดน็ (จดุ เดน่ ) ที่เปน็ แนวปฏิบัติที่เปน็ เลศิ 1.ก า ร มี ร ะ บ บ แ ล ะ ก ล ไ ก ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม ต ร ะ ห นั ก ใ น ก า ร พั ฒ น า ภาษาองั กฤษของนกั ศึกษา 2.การมีแผนพัฒนาภาษาอังกฤษสาหรับนักศึกษา มีการกาหนด ผูร้ บั ผิดชอบทีช่ ดั เจน รวมท้ังมีระบบกากับติดตามอย่างต่อเนื่อง 3.การมีส่วนร่วมของนักศึกษา อาจารย์ และบุคลากรสายสนับสนุนตั้งแต่ กระบวนการวางแผนในการจัดทาแผนเพ่ือให้มีความสอดคล้องกับความต้องการ และปญั หาในการพัฒนาภาษาอังกฤษ 4.มีการวิเคราะห์ข้อมูลและปัญหาอุปสรรคในการพัฒนาภาษาอังกฤษ สาหรับนักศึกษาอย่างต่อเนื่อง เพื่อปรับปรุงการดาเนินงานให้บรรลุตาม เปา้ หมายทีว่ างไว้ เอกสารอา้ งอิง 1.ประกาศเรื่องการกาหนดชั่วโมงการเรียนโปรแกรม Tell Me More ของคณะพยาบาลศาสตร์ วทิ ยาเขตปัตตานี 2.คารอ้ งขอสอบภาษาองั กฤษในโปรแกรม Tell Me More คณะพยาบาล ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตปัตตานี 3.ประกาศคณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาเขตปัตตานี เรื่อง การกาหนด ภ า ร ะ ง า น บุ ค ล า ก ร ต า แ ห น่ ง วิ ช า ก า ร ค ณ ะ พ ย า บ า ล ศ า ส ต ร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ วิทยาเขตปัตตานี พ.ศ. 2562 บทสรปุ กลไกขับเคล่ือนกระบวนการการจัดการและติดตามการสอบวัดความรู้ ภาษาอังกฤษ ของคณะพยาบาลศาสตร์ วทิ ยาเขตปัตตานี ให้เกิดความสาเร็จได้ นั้น อาศัยความร่วมมือจากนักศึกษา อาจารย์ และผู้บริหารของคณะ ซึ่งเป็น กระบวนการที่สาคัญยิ่งในการขบั เคล่ือน โดยอาศัยการเข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา - 19 -
เวทคี ณุ ภาพ || มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ โดยท่ีกลไกขับเคล่ือนของการดาเนินการในครั้งนี้ เป็นกลไกท่ีช่วยสร้างเครอื ข่าย ความรว่ มมือระหว่างอาจารย์กับนกั ศึกษาไดอ้ ยา่ งดยี ่งิ ทาให้บรรลุเปา้ หมายของ ค ณ ะ พ ย า บ า ล ศ า ส ต ร์ วิ ท ย า เ ข ต ปั ต ต า นี แ ล ะ เ ป้ า ป ร ะ ส ง ค์ ข อ ง ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ง ข ล า น ค ริ น ท ร์ ใ น ก า ร พั ฒ น า ง า น สู่ ค ว า ม เ ป็ น เ ลิ ศ (Best-Practice) ด้านด้านการเรียนการสอนและคุณภาพบัณฑิต และท่ีสาคัญ นักศึกษาสามารถใช้ภาษาอังกฤษสื่อสารในชีวิตประจาวัน และในการทางานได้ ในระดับดี ซ่ึงหมายถึง นักศึกษาสามารถอ่าน และฟังภาษาอังกฤษเข้าใจ และ สามารถส่อื สารให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างถกู ต้องทั้งการพูดและการเขียน - 20 -
เวทคี ุณภาพ || มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ แนวปฏบิ ัติท่เี ป็นเลศิ ****************************************** เรอื่ ง การรับนกั ศกึ ษาเข้าเรียนสถาบันอดุ มศกึ ษาในยคุ Disruption ชือ่ หน่วยงาน คณะรฐั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปตั ตานี โครงการ/กิจกรรม ดา้ นการเรยี นการสอนและคุณภาพบัณฑติ คณะทางานพัฒนาแนวปฏบิ ัตทิ ่ีเป็นเลิศ 1. คณบดคี ณะรฐั ศาสตร์ 2. ทมี บรหิ าร คณะรฐั ศาสตร์ 3. คณาจารย์ คณะรฐั ศาสตร์ 4. บุคลากรสายสนับสนนุ คณะรัฐศาสตร์ 5. ทีมสโมสรนักศึกษาคณะรฐั ศาสตร์ และนักศึกษาคณะรฐั ศาสตร์ 6. ศิษยเ์ กา่ คณะรฐั ศาสตร์ การประเมนิ ปัญหา/ความเสี่ยง ( Assessment) สภาวะปัจจุบันสถาบันอุดมศึกษาทุกแห่งอยู่ข้ันวิกฤติ สร้างความกังวล ให้กับผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาทั่วโลกไม่ว่าจะเป็นสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย ญ่ีปุ่น สิงคโปร์ และประเทศไทย ก็ไม่สามารถหลีกเลี่ยงวิกฤติสภาวะการมี จานวนนักศึกษาลดลง เป็นผลมาจากความผันแปรของภูมิศาสตร์ทางการเมือง ความผันผวนของระบบเศรษฐกิจ สังคม ความเปลี่ยนแปลงหรือการพัฒนาของ เทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว และการก้าวส่ยู ุคสังคมสูงอายุ (Aging Society) จานวน ประชาการท่ีเกิดใหม่มีจานวนลดน้อยลง นิยมใช้ชีวิตโสด หรือแต่งงานเม่ืออายุ มากข้ึน ทาให้เกิดสภ าว ะปกติแบบใหม่ ( The New Normal) ท่ีเป็น ปั จ จั ย ใ ห้ กั บ ทุ ก อ ง ค์ ก ร ต้ อ ง ลุ ก ข้ึ น ม า ป รั บ ตั ว ( วิ ก ฤ ติ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ไ ท ย https://today.line.me/th/pc/article/วิกฤติ มหาวิทยาลัยไทย-Mev3Zz สืบค้นเมื่อ 2 เมษายน 2563) ขณะเดียวกันผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาทั่วโลก ตอ้ งเผชญิ กับสภาวะการแข่งขนั ที่ทวีความรนุ แรงเพ่มิ ขน้ึ เรื่อย ๆ - 21 -
เวทีคุณภาพ || มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ แม้การเปล่ียนแปลงเป็นส่ิงที่เกิดข้ึนและหลีกเล่ียงไม่ได้ แต่ธรรมชาติของ มนุษย์น้ันยึดติดกับสภาวะที่ม่ันคง สมดุล ซึ่งเป็นแนวโน้มท่ีเกิดขึ้นกับบุคลากร ทุกองค์กรที่ต้องการจะรักษาสภาวะต่างๆ ให้คงเดิม ผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษา ต้องมีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล ก้าวข้ามไปสู่การเปล่ียนแปลงในยุค “Disruption” เป็นทางรอดเดียวท่ีจะทาให้องค์กร บุคลากรอยู่รอดในสภาวะท่ี “ความไม่ แน่นอน คือ ความแน่นอน” และการ “คิดใหม่ ทาใหม่” การปรับ การเปลี่ยน การพัฒนา ก้าวข้ามสะพานการเปลี่ยนแปลง ซ่ึงเป็นส่ิงจาเป็นและท้าทายอยู่ เสมอ สถาบันอดุ มศึกษามีบทบาทสาคัญในการสร้าง ผลิตทรพั ยากรมนุษย์ ซึ่ง เ ป็ น ก ล ไ ก ก า ร ขั บ เ ค ลื่ อ น ก า ร พั ฒ น า ป ร ะ เ ท ศ พั ฒ น า โ ล ก อ ย่ า ง ต่ อ เ น่ื อ ง สถาบันอุดมศึกษาต้องร่วมกันผลักดัน สร้างคนให้เป็นผู้นาแห่งการเปล่ียนแปลง และสร้างคนดีมีคุณธรรมอันจะนาไปสู่องค์กรท่ีมีจริยธรรมได้ เพราะการศึกษา จะเชื่อมโยงกับการสร้างคน สร้างหลักคิด สร้างชาติ รวมท้ังสร้างคนให้อยู่ ร่วมกับสังคม มีทักษะในการทางาน มีความอดทนอดกล้ัน เคารพในสิทธิ ไม่ถือ ตนเองเป็นใหญ่ ตลอดจนเคารพกฎหมาย (ประยุทธ์ จันทร์โอชา,2560) ดังน้ัน สถาบันอุดมศึกษาจาเป็นต้องมีการเปล่ียนแปลง ก้าวทันให้กับการพัฒนา ยิ่ง สมรรถนะทางการศึกษามีมากขึ้น โอกาสทางการศึกษาก็ยิ่งมีข้อเปรียบเทียบ และภาวะสถานศึกษามีการแข่งขันสูง ต้องการสร้างต้นทุนให้กับผู้เรียนท้ังทุน ด้านสังคมและคุณธรรมจริยธรรมก่อนออกจากมหาวิทยาลัยเพื่ อเข้าสู่สังคม ประกอบกับทา่ มกลางสังคมที่มีอัตราความเหลื่อมลา้ สูงทางด้านเศรษฐกจิ สังคม การศึกษา รวมถึงมีปัจจัยด้านความขัดแย้งในสังคมและความรุนแรงที่เกิดขึ้น ปัจจัยตา่ งๆ ทาให้เกิดความเส่ียงในการบรหิ ารสถาบันอุดมศึกษา และจากข้อมูล สถิติอุดมศึกษา 2558-2560 สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ข้อมูล นักศึกษาเข้าใหม่ในสถาบันการศึกษาของประเทศไทย พบว่าจานวนนักศึกษา ใหม่มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ มีนักศึกษาเพ่ิมมากท่ีสุด รองลงมาวิทยาลัย ชุมชน และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล มีจานวนน้อยที่สุด นักศึกษา สาเร็จระดับปริญญาตรีในอัตราที่มากที่สุดโดยอยู่ในกลุ่มมหาวิทยาลัยในกากับ ของรัฐ รองลงมาเป็นกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏและกลุ่มวทิ ยาลัยชุมชนมีผู้สาเร็จ การศึกษาน้อยทีส่ ดุ ภาวการณ์มีงานทาของบัณฑิตที่สาเร็จการศึกษา ปีการศึกษา 2557- 2559 ส่วนใหญ่เป็นพนักงานบริษัท/องค์กรธุรกิจเอกชนมีจานวนมากท่ีสุด - 22 -
เวทคี ณุ ภาพ || มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ รองลงมากลุ่มข้าราชการ/เจ้าหน้าที่หน่วยงานของรัฐ ส่วนผู้ว่างงาน ระหว่าง เดือนกันยายน 2561 และปี 2562 เป็นผู้สาเรจ็ การศกึ ษากลุ่มระดับอุดมศกึ ษามี อัตราการว่างงาน มีจานวนมากท่ีสุด (สถิติอุดมศึกษา 2558-2560 สานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา www.info.mua.go.th สืบค้นเม่ือวันท่ี 2 เมษายน 2563 ) จ า ก ข้ อ มู ล ดั ง ก ล่ า ว จ ะ เ ห็ น ว่ า นั ก ศึ ก ษ า ที่ เ ข้ า ม า ใ ห ม่ ใ น สถาบันอุดมศึกษาทุกกลุ่มสาขาวิชามีจานวนลดลง แต่จานวนของผู้ที่เลือกใน สาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มีจานวนมากเม่ือเทียบกับกลุ่มวิชาอ่ืน และการเลือกเข้าศึกษาของนักศึกษาใหม่เน้นไปท่ีมหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ เป็นอันดับแรก ตอ้ งการในการเรียนในระดับปริญญาตรีสูงกว่าระดับอื่น จานวน ผู้สาเร็จการศึกษามีจานวนลดลง ภาวะการมีงานทาน้อยลง จานวนผู้ว่างงานใน แต่ละปีมีอัตราสูงข้ึน ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่า จานวนผู้เรียนน้อย โอกาส ทางเลือก ในการศึกษาท่ีหลากหลายข้ึน สถาบันอุดมศึกษาที่เกิดข้ึนใหม่มีมากข้ึน ความ ต้องการของผู้เรยี น ต้องการเรยี นในสาขาที่ตรงกับความต้องการของตนเองและ ตรงกับความต้องการของตลาดหรือสถานประกอบการ ประกอบกับการนา เทคโนโลยีมาใชก้ ับทกุ ภาคส่วน ทาให้มอี ัตราการวา่ งงานมีมากขึน้ จากผลจานวนนักศึกษาลดน้อยลง ทาให้หลายๆ หลักสูตรไม่สามารถ เปิดหลักสูตรได้ สถาบันอุดมศึกษาบางแห่งต้องปิดตัวลง คุณภาพทางการศึกษา ถดถอย บัณฑิตมีภาวะการไม่มีงานทาสูงขึ้น มีการแข่งขันทางการศึกษา นักศึกษาสนใจเข้าเรียนมีจานวนลดน้อยลง การเปิดสาขาวิชาที่ไม่ตรงกับความ ต้องการของผู้เรียน การผลิตบัณฑิตท่ีไม่ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน หรือสถานประกอบการ กระบวนการเรียนการสอนไม่ตอบสนองต่อความ ต้องการในอนาคต การไม่มีส่วนร่วมของสถาบันการศึกษากับชุมชน สภาวะการ อยู่รอดของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เช่น ผู้เรียน องค์กร ผู้ปกครอง บุคลากร ชุมชน สังคม หรือขาดโอกาสการปฏิบัติงานจริงกับองค์กรหรือหน่วยงานตามสายงาน ทัง้ ระดับภายในและต่างประเทศ ปัจจัยความเสี่ยงท่ีกล่าวมาข้างต้น แม้รัฐบาลได้กาหนดยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี สู่การเปลี่ยนแปลงผ่านการเป็นประเทศกาลังพัฒนา การกาหนดเป็น นโยบายหลักผ่าน Model Thailand 4.0 และการขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมเพ่ือ ตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลงที่รวดเร็ว รองรับการแข่งขันที่รุนแรงในยุค Disruption สถาบันอุดมศึกษาจะต้องตอบสนองภารกิจหลักของมหาวิทยาลัยสู่ - 23 -
เวทคี ณุ ภาพ || มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ ความเป็นเลิศผ่านการสร้างคนหรือผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพและตรงกับความ ต้องการของสังคม โดยการสร้างความรู้ให้คนเป็นคนดีคนเก่ง ตรงกับความ ต้องการท้ังระดับชุมชน ท้องถ่ิน ระดับภูมิภาค ระดับประเทศ และการก้าวสู่ ระดับโลกให้กับสังคมโดยการสร้างนวัตกรรมอย่างแท้จริง (วิจิตร ศรีสะอ้าน ,2559) เม่ือพิจารณาความเสี่ยงภาพรวมในระดับประเทศ พื้นที่ต้ังของ มหาวิทยาลัยซึ่งอยู่ในพ้ืนที่ชายแดนใต้ เป็นอีกความเสี่ยงที่ปรากฏให้เห็น ไม่ว่า จะเป็นเหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ รวมถึงปัญหาทาง สังคมท่ีเป็นผลมาจากสภาพเศรษฐกิจที่อ่อนแอ มีอัตราความยากจนสูง ทาให้ เกิดความไมม่ ่ันคงในชวี ิตและสังคม ท่ามกลางความเสีย่ งหลายประการท่ปี รากฏ พบวา่ ในพื้นท่ีสามจังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นพน้ื ท่ีทอี่ ัตราของประชากรทีเ่ พ่ิมข้ึน อยา่ งต่อเน่ือง ดังตารางที่ 1 จังหวัด/ 2558 2559 2560 2561 2562 ปี 699,494 708,200 716,420 723,449 520,932 528,872 530,828 525,872 ปตั ตานี 692,643 788,464 795,003 801,193 795,003 ยะลา 516,785 นราธวิ าส 781,839 ตารางท่ี 1 จานวนประชากรในพ้ืนทีส่ ามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ต้งั แต่ปี 2558 ถงึ 2562 ทม่ี า: กรมการปกครอง, http://stat.dopa.go.th/stat/statnew/statMenu/newStat/sumyear.php เปา้ หมาย/วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ 1.เพ่ือขับเคล่ือนการรับนักศึกษาเชิงรุกให้กับคณะหรือสถาบันอุดมศึกษา มีจานวนนกั ศึกษาเพิ่มมากขนึ้ 2.เพ่ือพัฒนาการผลิตบัณฑิตที่ตรงกับความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วน เสยี 3.เพ่อื พัฒนาบัณฑติ ใหม้ คี วามพร้อมสู่การประกอบอาชีพในอนาคต - 24 -
เวทีคุณภาพ || มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ 4.เพ่อื สร้างนวัตกรรมการรับนักศึกษาในยุค Disruption ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. จานวนนักศึกษาท่ีรับและนักศึกษาคงอยู่มีจานวนเกินกว่าแผนการรับ นกั ศึกษาขององคก์ ร 2. หลักสูตรการเรียนการสอนตอบสนองต่อความต้องการของผู้มีส่วนได้ สว่ นเสียในสังคมท้ังในระดับประเทศและในพนื้ ทีช่ ายแดนภาคใต้ รวมถงึ ในระดับ ระหวา่ งประเทศ 3. บัณฑิตมีองค์ความรู้ทีห่ ลากหลาย มีส่วนร่วมกับชุมชน สังคม มีการฝึก ปฏิบัติสหกิจศึกษากับสถานประกอบการจริงทั้งในและต่างประเทศ หลังสาเร็จ การศกึ ษาสามารถทางานได้ 4. เป็นนวัตกรรมการรับนักศึกษาท่ีตอบโจทย์การแข่งขันทางการศึกษา ภาวการณม์ ีงานทาตลอดทัง้ สร้างความย่ังยืนให้กบั องค์กร บุคลากร การออกแบบกระบวนการ 1. วธิ ีการ/แนวทางการปฏบิ ตั จิ ริง สาหรับกระบวนการทางานในอดีต สามารถแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะท่ี 1 ปี 2550-2553 คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็น หน่วยงานเพิ่งจัดตั้งข้ึนใหม่ ภายใต้ข้อจากัดของบุคลากร แต่ภาระงานจะต้อง ขับเคลื่อนเต็มรูปแบบ โดยเปิดสอนแขนงวิชาการปกครอง การปกครองท้องถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และแขนงวิชานโยบายสาธารณะ ซึ่งการ ดาเนินงานในยุคน้ีเน้นการขับเคล่ือนการจัดต้ังองค์กรควบคู่กับภารกิจการเรียน การสอน การดาเนินการรับนักศึกษาเข้าศึกษาในคณะรัฐศาสตร์ ยังไม่ได้เน้น เทคนิควิธีการ การวิเคราะห์หลักสูตร ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การวิเคราะห์ทิศทาง หรือแนวโน้มอนาคต อย่างเต็มรูปแบบมากนัก จึงทาให้การรับนักศึกษาในแต่ ละปกี ารศึกษามจี านวนน้อย เป็นดังรปู ภาพท่ี 2 - 25 -
เวทีคณุ ภาพ || มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ กระบวนการและวธิ ปี ฏบิ ัติในการรับนกั ศกึ ษาเข้าเรยี น (ในอดีต) 1. คณะรัฐศาสตร์ มีการบริหารงานแบบ Top down เป็นการส่ังการ โดยตรงระหว่างผบู้ ังคับบัญชากับเจ้าหนา้ ท่ีผปู้ ฏิบตั โิ ดยตรง 2. คณะมกี ารกาหนดแผนการรับ/จานวนการรับนักศกึ ษาไว้ล่วงหน้า 3. แจง้ แผนการรบั นักศกึ ษาไปยงั หนว่ ยงาน มหาวิทยาลยั 4. คณะรัฐศาสตร์ร่วมโครงการประชาสัมพันธ์หลักสูตรตาม กับ มหาวทิ ยาลยั 5. รอการแจ้งผลการรบั นกั ศึกษาจากหนว่ ยงานท่รี ับผดิ ชอบ 6. เจ้าหน้าท่ีรายงานผลการรบั นกั ศึกษาตอ่ ผบู้ ริหารคณะรัฐศาสตร์ ผลการดาเนินงานในอดีต (ปี 2550-2553) ระยะที่ 1 เปน็ ชว่ งของการจดั ตั้งคณะใหม่ ความไม่พรอ้ มทางด้านบคุ ลากร สถานท่ี งบประมาณ ประกอบกับภายใต้สถานการณ์ความขัดแย้งและความ รุนแรงจากสถานการณ์ความไม่สงบในพ้ืนที่ชายแดนใต้อย่างต่อเน่ือง การ ดาเนินงานด้านการรับนักศึกษายังไม่มีการขับเคลื่อนมากนัก ดังข้อมูลที่ปรากฏ ในตาราง - 26 -
เวทคี ณุ ภาพ || มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ จานวนนักศกึ ษาเข้าเรยี นในคณะรัฐศาสตร์ ปกี ารศึกษา 2550-2553 ปีการศกึ ษา 2550 2551 2552 2553 207 คน 237 คน 180 คน 138 คน ตารางท่ี 2 จานวนนักศึกษาเขา้ เรียนในคณะรฐั ศาสตร์ ปีการศึกษา 2550-2553 ลักษณะปัญหาทีเ่ กิดข้ึนในอดตี ระยะที่ 1 ปี 2550-2553 1. เน่ืองจากคณะรฐั ศาสตรเ์ พงิ่ จดั ต้ังขึ้นใหม่ 2. ข้อจากัดของบุคลากร จานวนน้อย และภาระงานจะต้องขับเคลื่อนเต็ม รูปแบบ 3. การรับนักศึกษายังไม่เน้นการวิเคราะห์หลักสูตร ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การวิเคราะห์ทิศทางหรอื แนวโนม้ อนาคต 4. จานวนความรุนแรงจากสถานการณค์ วามไมส่ งบในพืน้ ทชี่ ายแดนใต้ 5. จานวนนกั ศึกษาท่ีรายงานตวั เขา้ มาศกึ ษาเร่มิ มจี านวนน้อยลง 6. การให้ความสาคัญผมู้ สี ่วนไดส้ ว่ นเสยี มนี อ้ ย 7. การทางานไมไ่ ดม้ ่งุ ผลสมั ฤทธิ์ของงาน ระยะที่ 2 ปี 2554-2558 คณะรัฐศาสตร์ เร่ิมมีจานวนบุคลากรเพิ่มมาก ขึ้น มีการทางานเป็นระบบย่ิงขึ้น ภาระงานมีความชัดเจนของระบบการทางาน ในส่วนงานบริหารและงานฝ่ายสนับสนุนในเร่ืองการรับนักศึกษา ตลอดจนถึง ส่วนงานท่ีหนุนเสริมการทางานเพ่ือรับนักศึกษา ทาให้การรับนักศึกษาเข้าเรียน ในคณะรัฐศาสตร์โดยมีกระบวนการท่ีเป็นข้ันเปน็ ตอน และเรมิ่ มสี ่วนงานท่ีเป็นผู้ มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามามีส่วนในกระบวนการ ทาให้เห็นถึงความต้องการของ บัณฑิตท่ีควรผลิตออกไป นอกจากน้ียังมีการขยายเครือข่ายการทางานกับ หน่วยงานอื่นๆ และมีกิจกรรมที่หนุนเสรมิ การเรียน ท่ีทาให้คณะรฐั ศาสตร์เริ่มมี จุดเด่น มีผู้สนใจเข้าศึกษาในคณะรัฐศาสตร์มากข้ึน มีการทางานโดยเน้นการ ทางานร่วมกันระหว่างฝ่ายบริหารและบุคลากรในการวางกรอบในการรับ - 27 -
เวทคี ุณภาพ || มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ นกั ศึกษา ซึง่ อยู่บนฐานการวิเคราะหค์ วามต้องการของผเู้ รียนผ่านการดงึ ผู้มีสว่ น ได้ส่วนเสียบางกลุ่มเข้ามาร่วมแสดงความคิดเห็น จากนั้นก็มีการติดตามผลการ ดาเนินงานอย่างใกล้ชิด และมีการทบทวนการรับนักศึกษา และควรมีการเพ่ิม การประชาสัมพันธ์เพิ่มเติมมากขึ้น ซึ่งเม่ือมีการดาเนินการในกระบวนการน้ี ประกอบกับการมีศิษย์เก่ามาร่วมเป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและช่วยเหลือในการ ประชาสัมพันธ์พร้อมกับส่วนงานอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นงานประชาสัมพันธ์ของคณะ หรือสโมสรนักศึกษาของคณะรัฐศาสตร์ท่ีช่วยหนุนเสริมกัน ทาให้ในปี 2554- 2558 จานวนของนักศึกษาที่เข้าศึกษาในคณะรัฐศาสตร์มีจานวนมากขึ้น ซึ่ง กระบวนการรบั นักศกึ ษาของคณะรฐั ศาสตร์ ดังภาพที่ 3 ภาพที่ 3 การรับนกั ศกึ ษาของคณะรฐั ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ กระบวนการและวิธีปฏบิ ัตใิ นการรับนักศกึ ษา (อดีต) ระยะที่ 2 มีกระบวนการ ดงั น้ี 1. มีการนากระบวนการ PDCA มาใช้ในการรับนักศึกษาเข้าคณะ รัฐศาสตร์ 2. การทางานร่วมกันระหว่างผู้บริหารกับบุคลากร เพื่อเตรียมการวาง แผนการรับนักศึกษา 3. มีการปรับปรุงหลกั สูตร โดยวิเคราะห์ความต้องการของผู้เรียน ผูม้ ีส่วน ได้ส่วนเสียต่อหลักสูตร เพื่อให้หลักสูตรมีความสอดคล้องกับตรงกับความ ตอ้ งการของผ้เู รียน 4. วิเคราะห์สภาพปัญหา การรับนักศึกษาท่ีเข้าเรียนในคณะรัฐศาสตร์ ของปผี ่านมา - 28 -
เวทคี ณุ ภาพ || มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 5. ผู้บริหาร คณาจารย์ เจ้าหน้าท่ีร่วมกาหนดแผนการรับนักศึกษา/ จานวนการรบั นักศกึ ษา 6. แจ้งแผนการรับนักศกึ ษาของคณะรัฐศาสตร์ ไปยังหน่วยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง 7. ผลักดันรูปแบบ วิธีการประชาสัมพันธ์ ให้มีความหลากหลายช่องทาง เช่น การทาแผ่นพับหลักสูตร การเข้าร่วมกิจกรรม road show ของ มหาวทิ ยาลยั การประชาสัมพันธ์ตามโรงเรียน การแนะแนวนกั เรยี นร่นุ น้อง 8. เน้นการทางานร่วมกับเครือขา่ ยมากข้ึน เช่น ศษิ ย์เกา่ สโมสรนกั ศึกษา นักศกึ ษาปัจจุบันเพ่ือช่วยประชาสมั พนั ธ์ 9. เจา้ หน้าท่ี รายงานผลการสมคั รเข้าเรยี นในคณะรัฐศาสตร์ และรายงาน จานวนนักเรียนที่ยืนยันเข้าเรียนในคณะรัฐศาสตร์ แต่ละรอบ การสอบแต่ละ ประเภท ให้ผู้บรหิ ารทราบ 10. คณบดีมีการติดตามและมกี ารทบทวนการรับนักศึกษา ผลการดาเนินงานในอดีต (ปี 2554-2558) ระยะท่ี 2 เม่ือนากระบวนการ PDCA มาใช้ในการรับนักศึกษาเขา้ เรียนใน คณะรัฐศาสตร์ ในปี 2554-2558 มีจานวนนักศึกษาที่สนใจเข้าศึกษาในคณะ รฐั ศาสตร์ ดงั ขอ้ มลู ทปี่ รากฏในตารางที่ 3 จานวนนกั ศกึ ษาเข้าเรียนในคณะรฐั ศาสตร์ ปีการศกึ ษา 2554-2558 2554 2555 2556 2557 2558 186 คน 184 คน 172 คน 248 คน 253 คน ตารางท่ี 3 จานวนนกั ศึกษาเข้าเรยี นในคณะรัฐศาสตร์ ปีการศกึ ษา 2554-2558 ลกั ษณะปัญหาท่ีเกิดข้ึนในอดีต ปี 2554-2558 1. ผลลัพธจ์ านวนนักศึกษาทีเ่ ขา้ ศกึ ษาคณะรัฐศาสตรร์ ะยะแรกมีไมม่ าก นักและ 2 ปีตอ่ มาเริ่มมจี านวนเพ่ิมข้นึ 2. ไม่มีการกาหนดทิศทางเปา้ หมายของการรับนักศึกษาหรือการทางาน ยงั ไม่มีทิศทางของเป้าหมายที่ชัดเจน - 29 -
เวทีคณุ ภาพ || มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ 3. บคุ ลากรยังไมม่ ีการรับรู้เป้าหมายการรับนักศึกษาร่วมกัน 4. ไมม่ ีการกาหนดผลลพั ธ์ทชี่ ัดเจน 5. กระบวนการ/วธิ ปี ฏบิ ตั ิยังไมเ่ หมะสมกับสถานการณ/์ การแข่งขนั 6. การทบทวน ปรับปรุงแก้ไขไมไ่ ดท้ าอย่างรวดเรว็ ทาใหไ้ ม่สามารถ แก้ไขปัญหาได้ทนั ชว่ งเวลา กระบวนการและวิธปี ฏิบตั ิทีไ่ ด้ปรับปรงุ ใหม่ จากสภาพปัญหา กระบวนการ ผลลพั ธข์ องการดาเนินการในอดตี และการ ก้าวเข้ายุค Disruption ในปี 2559 คณะรัฐศาสตร์ได้มีการปรับปรุงหลักสูตร ใหม่ในช่วงเวลานี้นับได้ว่าเป็นรอยต่อท่ีเชื่อมมาถึงปัจจุบัน ในช่วงระหว่างปีน้ี นอกจากที่ได้มีการใช้กระบวนการทางานร่วมกันทุกฝ่าย การปฏิบัติงานเป็นไป ทิศทางเดียวกนั เพอื่ ให้องค์กรบรรลเุ ปา้ หมาย ดังภาพท่ี 4 คณบดี วตั ถุประสงค์ : เพ่ิมจานวนนกั ศกึ ษา ผลลัพธห์ ลัก : เพ่มิ ข้ึน สายสนบั สนนุ สายวชิ าการ วตั ถปุ ระสงค์ : เพ่ิมการประชาสมั พนั ธ์ วตั ถุประสงค์ : ลดการย้าย-ลาออกของนกั ศึกษาจาก ผลลัพธห์ ลัก : ชอ่ งทางการสอื่ สาร คณะฯ เพ่ิมขน้ึ ผลลพั ธห์ ลัก : จานวนนกั ศึกษาย้าย-ลาออก ลดลง ภาพท่ี 4 กระบวนการรับนกั ศึกษาของคณะรฐั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ คณะรัฐศาสตร์มีการพัฒนา “นวัตกรรมงานรับนักศึกษา” ท่ีช่วยหนุน เสริมความสนใจของนักศึกษาใหม่ให้เลือกเข้าศึกษาในคณะรัฐศาสตร์และเลือก ลงทะเบียนรายวชิ าของคณะรัฐศาสตร์ ซงึ่ มีข้นั ตอนตอ่ ไปน้ี - 30 -
เวทีคณุ ภาพ || มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ ตดิ ตาม/ กาหนด+แจง้ ประเมนิ ผล เปา้ หมาย การรบั นกั ศึกษา วิธีการบรรลุ เป้าหมาย ขั้นตอนสาคัญและวิธีปฏิบัติเพ่ือป้องกันปัญหาไม่ให้เกิดข้ึนซ้า และยกระดับ คุณค่าการรับนักศึกษาเข้าเรียนในสถาบันอุดมศึกษา ยุค Disruption มี แนวทางการดาเนินการ ดังนี้ ข้นั ตอนที่ 1 ผู้บริหารกาหนดและแจ้งเป้าหมายการรับนักศึกษาประจาปี โดย มแี นวทางปฏิบตั ิ ดังน้ี 1. คณบดี ทีมบริหารและเจา้ หน้าท่ที ี่รบั ผิดชอบร่วมถอดบทเรียนการรบั นกั ศึกษาท่ผี ่านมา ปรับเปลยี่ นวธิ กี ารรับนกั ศกึ ษา หาจดุ เด่นจุดด้อย การวิเคราะห์ทศิ ทางอนาคต ทางเลือกของผู้เรยี น 2. คณบดีและทีมบริหาร ประชุมร่วมกับคณาจารย์ ร่วมกาหนดจานวน การรับนักศึกษา เพื่อนาข้อมูลจัดทาแผนการรับนักศึกษาของคณะ รัฐศาสตร์ 3. นาแผนการรบั นักศึกษาเสนอที่ประชุมคณะกรรมการประจาคณะเพ่ือ พิจารณา กล่ันกรอง และให้ความเห็นชอบต่อแผนการรับนักศึกษา ของคณะรฐั ศาสตร์ 4. มอบหมายให้ฝ่ายสายสนับสนุนวิชาการ ดาเนินการแจ้งหน่วยงานท่ี เกี่ยวข้อง เช่น งานนโยบายและแผน งานรับนักศึกษา กองแผนงาน กองบริการการศึกษา เพ่ือบรรจุแผนการรับนักศึกษาหรือกาหนดการ วางแผนการรับนักศึกษาล่วงหน้า และกาหนดเป้าหมาย ผลลัพธ์การ รับนกั ศกึ ษาทต่ี ้องการ 5. ตั้งเป้าหมายแผนการรับนักศึกษา 4 แขนงวิชา และ Focus งานให้ บรรลผุ ลในทิศทางเดียวกนั - 31 -
เวทีคุณภาพ || มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ ขั้นตอนท่ี 2 วิธกี ารบรรลุเปา้ หมายการรับนกั ศึกษา โดยมีแนวทางปฏบิ ัติ ดังน้ี 1. มีการปรับปรุงหลักสูตรให้มีความสอดคล้องกับความต้องการของ ผู้เรียน 2. สร้างรายวชิ าที่ตอบสนองต่อผู้เรยี นตามสถานการณ์ ตอบยุทธศาสตร์ ของประเทศ ของมหาวทิ ยาลัย 3. คณบดี วิเคราะห์แนวโน้ม ทิศทางการรับนกั ศึกษา วิธีการรับนกั ศกึ ษา ตามสถานการณ์ โดยให้ค่าน้าหนักจานวนการรับนักศึกษาแต่ละ ประเภท/โครงการ 4. กาหนดค่าความสาเรจ็ ทจ่ี ะทาให้การรับนกั ศึกษาบรรลุ โดย 4.1 เน้นทางานแบบมีส่วนร่วม/บูรณาการการทางานร่วมกัน ระหว่างผู้บริหาร บุคลากร สโมสรนักศึกษา นักศึกษา ปจั จบุ นั ศษิ ยเ์ กา่ มสี ว่ นร่วมในการกาหนดเปา้ หมาย 4.2 ผบู้ รหิ ารขับเคล่อื น กาหนดนโยบายการรบั 4.3 ประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ ในการรับนักศึกษา มีการ แนะนาหลักสูตร รายวชิ า พรอ้ มใหบ้ ริการ 4.4 สโ มสรนักศึกษา นักศึกษาปัจจุบัน ศิษย์เก่า ช่ว ย ประชาสัมพันธ์หลักสูตร ข้อมูลข่าวสารการสมัครให้กับ โรงเรียน ตอบข้อสงสัยข้อมูลช่องทางต่างๆใหก้ ับนกั เรยี นที่มี ความสนใจสมคั รเข้าเรียนในคณะรัฐศาสตร์ 4.5 สร้างรายวิชาที่ตอบสนองต่อความสนใจของผู้เรียนหรือ สนบั สนุนการมีงานทาตอ่ บณั ฑติ ดงั น้ี 4.5.1 คณะรัฐศาสตร์เปิดรายวิชาศึกษาท่ัวไป (General Education) ท่ีตรงกับยุค สมัย ตรงกับความต้องการ และตอบสนองต่อผูเ้ รียนในยุคปัจจุบัน ทาให้นักศึกษา ต่างคณะ มีความสนใจลงทะเบียนเรียนแต่ละปี การศกึ ษาเพ่ิมขนึ้ 4.5.2 รายวชิ ามีการฝกึ ปฏบิ ตั ริ ว่ มกบั ชมุ ชน 4.5.3 มีก า ร เ ชิ ญ วิ ท ย า ก ร ห รือ ผู้ เ ช่ี ย ว ช า ญ ใ น แ ล ะ ตา่ งประเทศ มาบรรยายพิเศษในรายวชิ าให้กบั ผูเ้ รยี น - 32 -
เวทคี ณุ ภาพ || มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ 4.5.4 กาหนดรายวิชาการฝึกปฏิบัติสหกิจมาใช้เสริมการ ผลิตบัณฑิตเพื่อพร้อมการทางาน หรือการก้าวสู่ ผู้ประกอบการทนั ทหี ลังสาเรจ็ การศึกษา 4.6 มกี ารแลกเปลี่ยนนกั ศึกษาทัง้ ในและต่างประเทศ 4.7 ก า ร ท า MOU กั บ ห น่ ว ย ง า น ภ า ย ใ น ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ ตา่ งประเทศ 4.8 การเปรียบเทียบความพึงพอใจกบั คูแ่ ข่ง 4.9 ค ณ ะ รั ฐ ศ า ส ต ร์ ร่ ว ม กั บ ก ร ม ก า ร ป ก ค ร อ ง กระทรวงมหาดไทย จัดสง่ นกั ศกึ ษาโครงการลกู นายอาเภอ 4.10 คณะรัฐศาสตร์ ให้ความสาคัญกับเรื่องสิทธิมนุษยชนโดย คณะรัฐศาสตร์ มีรายวิชาสิทธิมนุษยชนให้นักศึกษาเรียน และเคารพในความหลากหลายของสงั คมพหวุ ัฒนธรรม 4.11 การสนับสนุนทุนการศึกษาให้กับนักศึกษาที่เรียนดีแต่ขาด แคลนทุนทรัพย์ หรือขาดแคลนโอกาส นักศึกษาท่ีได้รับ ผลกระทบจากสถานการณ์ความไม่สงบ จากสถานการณ์ จังหวดั ชายแดนภาคใต้ ขั้นตอนที่ 3 การติดตาม/ประเมินผล โดยมแี นวปฏบิ ตั ิ ดังน้ี 1. ผบู้ ริหารติดตามผลการรบั นักศกึ ษา 2. คณบดีและทีมบริหาร ทาการประเมินสถานการณ์ และหากจานวน นกั ศึกษาสนใจเข้าเรียนน้อยก็จะเพ่มิ การประชาสัมพันธ์เชิงลึก มีการ เข้าถึงกลุ่มผู้สมัครตามโรงเรียนต่างๆ หรือการเพ่ิมช่องทางการ ประชาสัมพนั ธ์ ใช้ Social Media สโมสรนกั ศกึ ษา ศิษยเ์ ก่า นักศึกษา รุ่นพี่ ทั้งนี้การตัดสินใจเชิงบริหารขึ้นอยู่กับผู้บริหารเพื่อให้งานบรรลุ เป้าหมายท่ีตั้งไว้ 3. มีเจ้าหน้าที่คอยช่วยตอบคาถาม ข้อมูล ข้อสงสัยของผู้สมัคร เช่น หลักสตู รหรือเกี่ยวกับการเรียนการสอนหรืออื่นๆ ในช่องทางต่างๆ ที่ คณะจดั เตรยี มให้ เช่น โทรศพั ท์ เพจ เฟสบุ๊คคณะรฐั ศาสตร์ 4. มกี ารประเมินผลการรบั นักศึกษา 5. สรุปผลการรับนักศึกษา ท้ังจานวนผู้ยืนยันสิทธิ์เข้าศึกษาในคณะ รัฐศาสตร์ ในแต่ละรอบ การจาแนกผู้เข้าศึกษาตามแขนงวิชา การ - 33 -
เวทีคุณภาพ || มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ จาแนกตามที่อยู่อาศัยใน 3 จังหวัด และนอกพื้นท่ี 3 จังหัวดภาคใต้ ให้ผู้บริหารทราบ เพ่ือเป็นข้อมูลการจัดการเรียนการสอน และ สาหรับการสมัครนักศึกษาในปีถัดไป การวัดผลและผลลัพธ์ (Measures)แสดงระดับแนวโนม้ ข้อมูลเชิง เปรยี บเทียบ (3 ปี) และ/หรือเปรยี บเทียบกับหนว่ ยงานภายใน/ภายนอก 1. การวัดผล การวัดผลการรับนักศึกษาที่เข้าเรียนในคณะรัฐศาสตร์ และ จานวนนักศกึ ษาคงอยู่ 2. ผลลัพธ์ ผลการดาเนินงานท่ีมีการปรับปรุงวิธีการรับนักศึกษาท่ีเน้น ตอบสนองต่อความต้องการ ความคาดหวัง ความพงึ พอใจของกลุ่มลูกค้าโดย เน้นกระบวนการทางานร่วมกันเพ่ือให้ผลลัพธ์เป็นไปตามเป้าหมายของ องคก์ ร ดังนี้ 1) จานวนนักศึกษาท่ีมารายงานตัวเข้าศึกษาคณะรัฐศาสตร์ ปีการศึกษา 2558-2562 ปี การศึกษา นักศกึ ษาที่มารายงานตวั 2558 252 2559 294 2560 329 2561 246 2562 318 ตารางท่ี 4 จานวนนกั ศึกษาทมี่ ารายงานตัวเขา้ ศึกษาคณะรฐั ศาสตร์ ปกี ารศึกษา 2558-2562 จากตารางที่ 4 จะเห็นได้ว่านักศึกษามีความสนใจเข้าศึกษาในคณะ รัฐศาสตร์ โดยในปกี ารศกึ ษา 2558 จานวนนกั ศกึ ษาทสี่ นใจเขา้ ศกึ ษามารายงาน ตัว มีจานวน 253 คน ปีการศึกษา 2559 นักศึกษารายงานตัว 294 คน ปีการศึกษา 2560 นักศึกษารายงานตัว 329 คน ปีการศึกษา 2561 นักศึกษา รายงานตัว 246 คนและปีการศึกษา 2562 จานวน 318 คน จานวนนักศึกษา ทมี่ ารายงานตัวภาพรวมมีจานวนนกั ศกึ ษาเพิ่มขนึ้ - 34 -
เวทคี ณุ ภาพ || มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ 2) ผลลัพธ์เชิงเปรียบเทียบจานวนนักศึกษา ระดับปริญญาตรี ของคณะ ต่างๆในมหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตปตั ตานี ปี 2558-2562 ดังตาราง ปกี ารศกึ ษา คณะ 2558 2559 2560 2561 2562 จานวนนกั ศกึ ษา ศึกษาศาสตร์ 457 379 416 379 424 มนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ 725 640 553 466 459 วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 338 251 202 185 190 วทิ ยาลยั อสิ ลามศึกษา 242 232 188 147 131 วทิ ยาการสอื่ สาร 188 171 137 76 136 ศิลปกรรมศาสตร์ 35 30 46 37 53 รัฐศาสตร์ 253 294 329 246 318 พยาบาลศาสตร์ 45 36 46 62 62 รวม 2283 2033 1917 1598 1773 ตารางที่ 5 ผลลัพธ์เชิงเปรยี บเทียบจานวนนักศกึ ษา ระดับปรญิ ญาตรี ของคณะ ตา่ งๆในมหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ ปี 2558-2562 จากข้อมูลสถิตินักศึกษาในภาพรวมจะเห็นได้ว่า จานวนนักศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วทิ ยาเขตปตั ตานี จาแนกตามคณะ ในปีการศึกษา 2558-2562 คณะรัฐศาสตร์จานวนนักศึกษาเชิงเปรียบเทียบกับคณะต่างๆซ่ึง เป็นหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี คณะ รฐั ศาสตร์ เปิดรับนักศึกษา 4 แขนงวิชา แต่จานวนนักศึกษาท่ีเลือกเข้าศึกษาใน คณะรัฐศาสตรม์ ผี ู้สนใจเข้าศกึ ษาในคณะรัฐศาสตรจ์ านวนมาก 3) จานวนนักศึกษาท่ีรายงานตัวกับนักศึกษาคงอยู่ ปีการศึกษา 2558- 2562 คณะรัฐศาสตร์ จานวนนักศึกษาที่รายงานตัวเข้าศึกษาในคณะรัฐศาสตร์แต่ละปีเม่ือ เปรียบเทียบกับการออกกลางคันเช่น ตกออก ลาออก ตาย ไม่มาลงทะเบียน เรียน ยา้ ยออก มีข้อมลู ปรากฏ ดงั ตาราง - 35 -
เวทีคณุ ภาพ || มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ จากตาราง จะเห็นได้ว่า คณะรัฐศาสตร์ มีจานวนนักศึกษารับเข้าศึกษา ตัง้ แต่ปีการศึกษา 2558 จานวน 253 คน ตกออก ลาออก และไม่มาลงทะเบียน จานวน 21 คน มีนักศึกษาต่างคณะย้ายเข้ามาศึกษา จานวน 3 คน รวม นกั ศึกษา 234 คน สาเร็จการศึกษา 229 คน คงอยู่ 5 คน ปกี ารศึกษา 2559 มีจานวนนักศึกษา 294 คน ตกออก ลาออก และไมม่ า ลงทะเบยี น จานวน 32 คน นกั ศกึ ษายา้ ยเขา้ มาศึกษา จานวน 8 คน รวมจานวน นกั ศกึ ษา 270 คน สาเร็จการศึกษา 251 คน คงอยู่ 19 คน ปกี ารศึกษา 2560 มีจานวนนกั ศึกษา 329 คน ตกออก ลาออก และไมม่ า ลงทะเบียน จานวน 29 คน มนี ักศึกษาตา่ งคณะย้ายเข้ามาศึกษา จานวน 2 คน นักศกึ ษาคงอยจู่ านวน 302 คน ปีการศึกษา 2561 มีจานวนนักศึกษา 246 คน ตกออ ลาออก และไม่มา ลงทะเบียน จานวน 30 คน มีนักศึกษาต่างคณะย้ายเข้ามาศึกษา จานวน 10 คน นกั ศึกษาคงอยูจ่ านวน 226 คน ปกี ารศึกษา 2562 มีจานวนนกั ศึกษา 318 คน ตกออก ลาออก และไมม่ า ลงทะเบียน จานวน 16 คน มีนักศึกษาตา่ งคณะย้ายเขา้ มาศึกษา จานวน 4 คน นกั ศึกษาคงอยู่จานวน 306 คน ซ่ึงจากข้อมูลนักศึกษาที่เข้ามาศึกษาคณะรัฐศาสตร์ ส่วนใหญ่เป็น นักศึกษาที่มีภูมิลาเนาในจังหวัดปัตตานี จังหวัดนราธิวาส จังหวัดยะลา และ จงั หวัดสงขลา นับถือศาสนาอิสลาม 85.53% และศาสนาพุทธ จานวน 14.47% นักศึกษาท่ีขอลาออกจากคณะรัฐศาสตร์ ส่วนมากขอลาออกเพื่อไปสอบเข้ารับ ราชการตารวจและได้รับทุนศึกษา ณ ต่างประเทศ และสาหรับนักศึกษาที่ย้าย เข้ามาศึกษาในคณะรัฐศาสตร์ มีทั้งนักศึกษาจากคณะต่างๆภายในวิทยาเขต ปัตตานแี ละตา่ งวิทยาเขต 4) รายวชิ าศึกษาทัว่ ไปทีเ่ ปดิ ในปีการศึกษา 2558-2562 คณะรฐั ศาสตร์ - 36 -
เวทีคุณภาพ || มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ คณะรัฐศาสตร์ ได้จัดทารายวิชาการศึกษาทั่วไปท่ีเป็นที่ต้องการของ กลุ่มลูกค้า ซึ่งในแต่ละปีการศึกษามีการเปิดรายวิชาการศึกษาท่ัวไปให้กับ นักศึกษาทั้งนักศึกษาสังกัดคณะรัฐศาสตร์ และนักศึกษาท่ีสนใจท่ัวไปได้เรียน มี รายละเอยี ดดังตาราง ปี จานวน ผ้เู รียน การศึกษา 2406 รายวชิ าที่ รายวชิ า 2562 เปดิ 4 196-101 Political Life and Citizenship 196-101 Citizenship 196-103 Leadership and Management 196-100 Benefit of Mankinds 2561 4 196-101 Political Life and Citizenship 1951 196-101 Citizenship 196-103 Leadership and Management 196-100 Benefit of Mankinds 2560 3 196-100 Co-Curricular Activities 1638 196-101 Political Life and Citizenship S1t9u6d-2y01 English for Political Science 1623 2559 2 196-100 Co-Curricular Activities 196-101 Political Life and Citizenship 2558 3 196-100 Co-Curricular Activities 1373 196-101 Political Life and Citizenship 1an96d-1G0o1veSroncmieetyn,tEocfoTnhoamilayn, dPolitics ตารางท่ี 7 ขอ้ มูลรายวิชาศึกษาท่วั ไปของคณะรฐั ศาสตรท์ ีเ่ ปดิ สอน - 37 -
เวทีคณุ ภาพ || มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 5) การทา MOU กับมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์มีการทา MOU กับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มี วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาศักยภาพนักศึกษาของคณะรัฐศาสตร์ให้มีมาตรฐาน การศึกษาเท่าเทียมกับมหาวิทยาลัยท่ีมีช่ือเสียงในระดับประเทศ สามารถนาผล มาปรับปรุง เปิดโลกทัศน์ การพัฒนาการเรียนแบบการศึกษา ท่ีเน้นและให้ ความสาคัญกับการผลิตบัณฑิตท่ีมีคุณภาพสูงได้มาตรฐานสากล ด้วย กระบวนการเรียนการสอนในรูปแบบที่มีความหลากหลาย มีการแลกเปล่ียน นักศึกษาและมีการศึกษาข้ามเขตแดน (Diversity,Student Mobility and Cross Border Education) ท า ใ ห้ นั ก ศึ ก ษ า ท่ี มี ค ว า ม ฝั น อ ย า ก เ รี ย น ที่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แต่เน่ืองด้วยปัญหาเศรษฐกิจ หรือเหตุผลอื่นๆ ไม่ สามารถไปเรียนได้ มีโอกาสทาตามความฝัน คือ เลือกเรียน เข้าศึกษาในคณะ รัฐศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และเข้าร่วมโครงการแลกเปล่ียนที่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จานวน 1 ภาคการศึกษา ซ่ึงโครงการดังกล่าวมีมา ตั้งแตป่ ี 2553 ดงั ตารางที่ 8 ภาค การ การ ความสัมพนั ธ์ นโยบาย รวม การศกึ ษา ปกครอง ปกครอง ระหว่างประเทศ สาธารณ ทอ้ งถนิ่ 10 2/53 ะ 10 35 2/54 2 37 2/55 4 25 2/56 3 9 11 2/57 2 7 13 2/58 6 13 2 23 2/59 8 20 2/60 9 1 10 15 20 2/61 5 8 2 19 2/62 8 1 ตารางท่ี 8 ข้อมลู นกั ศึกษาคณะรฐั ศาสตร์ เขา้ เรยี นร่วมกบั นกั ศกึ ษา คณะรฐั ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ - 38 -
เวทคี ุณภาพ || มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ 6 ) ข้ อ มู ล เ ค รื อ ข่ า ย แ ล ะ คู่ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ข อ ง ค ณ ะ รั ฐ ศ า ส ต ร์ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ คณะรัฐศาสตร์ มีเครือข่ายและคู่ความร่วมมือกับหน่วยงาน องค์กรต่างๆ เพื่อเพ่ิมศักยภาพในการผลิตบัณฑิต การวิจัย การบริการวิชาการ ตลอดทั้ง เช่ือมโยงการเขา้ สูต่ ลาดแรงงานของบัณฑติ รฐั ศาสตร์ ดงั ตาราง ปี คคู่ วามรว่ มมอื จานวน 2561 -The Nonviolent Peaceforce 3 -The North South Initiative,Selangor,Malaysia 3 -คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 2 วิทยาเขตปัตตานี กบั คณะพาณชิ ยแ์ ละการจัดการ มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตตรัง 2560 -North South Initiative; Indonesia -กรมยุโรป กระทรวงตา่ งประเทศ -กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย (โครงการลูก นายอาเภอ) 2559 -Amnesty International Thailand -International Committee of Red Cross ตารางที่ 9 ข้อมูลเครือขา่ ยและคู่ความร่วมมอื ของคณะรฐั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 7) การส่งนักศึกษาไปสหกิจศึกษา ปีการศึกษา 2553 -2561 คณะ รฐั ศาสตร์ จากการท่ีคณะรัฐศาสตร์ กาหนดให้มีรายวิชาฝึกสหกิจศึกษา เพื่อเสริม การผลิตบัณฑิต เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับบัณฑิตก่อนการสาเร็จการศึกษา ตลอดทั้งเป็นการให้โอกาสและยกระดับการศึกษาให้กับบัณฑิต ผลการการส่ง นกั ศกึ ษาไปสหกจิ ศึกษา ปีการศกึ ษา 2553 -2561 ดังตารางท่ี 10 - 39 -
เวทคี ุณภาพ || มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ กกาปษรีาศึ นศ.ไป ประ(สกแถอหาบง่ น)การ นศ.ไปสหกจิ (คน) จานวน ช่ือประเทศ จหางนนา่วนวยน สหกจิ ปรใศนะเท ต่างประเทศ ประเทศ (คน) 2553 225 127 224 1 1 มาเลเซีย 1 2554 221 109 212 9 2 มสางิ เคลโเปซรยี ์ 4 2555 156 82 141 15 6 มสาิงตเคลรุ โเกปซี รยี ์ 8 เวยี ดนาม 109 15 อโองั กมฤานษ 145 18 2556 124 62 137 27 3 อมนิ าโลเดลานเวซเี ซยี ีย 6 2557 163 82 94 37 2 อินโดนเี ซีย 10 2558 164 75 มาเลเซยี จีน 198 11 226 13 7 อนิ โดนเี ซีย 13 240 24 มาเลเซยี จีน สาหเรยลฐั อาอรวเมมรนั กิ - 40 - อินเดยี 2559 131 74 9 บาเรนห์ 19 มอาจเินีนลโอเดซนิ นยี เเีดซลยี ียาว อนิ โดนเี ซีย ฟลิ ปิ ปินส์ สงิ คโปร์ 2560 209 118 2 อมินาโเดลนเซเี ซยี ีย 3 2561 239 124 3 อมนิ าโเดลนเซีเซยี ยี 6 อนิ เดีย 2562 264 121 6 มาเลเซีย 9 อินโดนเี ซยี
เวทีคณุ ภาพ || มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ กกาปษรีาศึ นศ.ไป ประ(สกแถอหาบ่งน)การ นศ.ไปสหกจิ (คน) จานวน ช่ือประเทศ จหางนนา่วนวยน สหกจิ ปรใศนะเท ต่างประเทศ ประเทศ (คน) บจตนีุรากเรอี นนิ หเด์ ยี ตารางที่ 10 การส่งนกั ศึกษาไปสหกิจศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2553 -2562 8) การเปรียบเทยี บความพงึ พอใจกบั ค่แู ข่ง ผลการเปรียบเทียบความพึงพอใจกับคู่แข่ง เพ่ือเป็นการพัฒนาคุณภาพ กระบวนการเรียนการสอน โดยคณะรัฐศาสตร์ได้ให้นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน ร่วมกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประเมินความพึงพอใจที่มีต่อคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งเป็นการกาหนดคู่เทียบในด้านการเรียนการสอน เพ่ือนามาพัฒนา ปรับปรุงหลักสูตรให้มีมาตรฐาน รองรับความต้องการของ ผ้เู รียน สอดคล้องกบั ตลาดสถานประกอบการเพื่อยกระดับมาตรฐานสูงขึ้น โดย ปี 2561 ความพึงพอใจของนักศึกษารัฐศาสตร์ ที่มีต่อคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ความพึงพอใจอยู่ท่ี 4.15 (ระดับมาก) และปี 2562 ระดับความพึงพอใจอยู่ที่ 3.40 (ระดับมาก) ซึ่งเป็นคณะเดียวในประเทศท่ีมีการ เปรยี บคูแ่ ขง่ ซึ่งถอื เปน็ จดุ เด่นของมหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ 9) การส่งนักศึกษาเข้าร่วมโครงการกับกรมการปกครอง โครงการลูก นายอาเภอ คณะรัฐศาสตร์ ไดด้ าเนนิ การร่วมกับกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ในการจัดส่งนักศึกษาในโครงการลูกนายอาเภอ ซึ่งเป็นการเรียนรู้จากต้นแบบใน สายวิชาชีพหรือในศาสตร์ท่ีตรงกับผู้เรียน ให้มีความลึกซึ้ง เข้าใจ เข้าถึง โดยมี นักศึกษาเข้าเรียนรู้ประสบการณ์ทางานจริงจากนายอาเภอ ต่างๆ ในพื้นท่ี 4 จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ โดยมีนักศกึ ษา จานวน 58 คน ซง่ึ ทาให้คณะรัฐศาสตร์มี การยอมรับจากกรมการปกครอง ผู้ปกครอง และเป็นแรงจูงใจ แรงบันดาลใด ใหก้ ับนักศึกษาเขา้ มาเรยี นในคณะรัฐศาสตร์มากข้นึ 10) การสนบั สนนุ ทุนการศึกษาให้กบั นักศกึ ษา คณะรัฐศาสตร์ มีการสนับสนุนทุนการศึกษาให้กับนักศึกษา ท่ีเรียนดี แต่ ขาดแคลนทุนทรัพย์หรือขาดแคลนโอกาส นักเรียนต่างด้าว นักเรียนท่ีได้รับ - 41 -
เวทีคุณภาพ || มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ ผลกระทบจากสถานการณ์ความไม่สงบ และนักเรียนที่มีภูมิลาเนานอก 3 จงั หวดั ชายแดนภาคใตท้ ี่เข้ามาเรยี นในคณะรัฐศาสตร์ ทนุ แรงจูงใจ ทุนตน้ กล้า 11) การเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ฝึกเรียนรู้หรือเสริมสร้างประสบการณ์ การทางานจากสานกั งาน คณะรัฐศาสตร์ เปิดโอกาสให้นักศึกษาที่มีปัญหาทางด้านการเงินหรือขาด แคลนทุนทรัพย์ ไดม้ ีประสบการณ์การทางานในสานักงานคณะรฐั ศาสตร์ โดยการ ช่วยเหลือนักศึกษาท่ีขาดแคลนทุนทรัพย์ โดยให้ทุนนักศึกษาช่วยงานในคณะ รัฐศาสตร์ 12) การสนับสนุนทรัพยากรการเรียนรู้ คณะรัฐศาสตร์ ได้มีการเตรียม ความพร้อมเร่ืองการสนับสนุนทรัพยากรการเรียนรู้ให้กับนักศึกษาคณะ รัฐศาสตร์ เพ่ือสะดวกการศึกษาค้นคว้าและการเรียนรู้ท้ังในห้องและนอก ห้องเรียน เช่น ฟรีอินเตอรเ์ นต็ ไว้บรกิ ารนักศึกษา มหี ้องปฏิบัตกิ ารคอมพิวเตอร์ มหี ้องสมุด มีพืน้ ท่ีการเรยี นรู้ ห้องสาหรบั ทากจิ กรรม หอ้ ง study room หอ้ งจุด ประกาย มีห้องละหมาดสาหรับปฏิบัติศาสนกิจของผู้นับถือศาสนาอิสลาม มีตู้ ทาน้าเย็นน้าร้อนไว้บริการนักศึกษา มีภูมิทัศน์ท้ังบริเวณภายในและภายนอก อาคารท่ีเหมาะกับการเรียนรู้และเป็นพ้ืนท่ีเปิดตลอดเวลา โดยมีพนักงานรักษา ความปลอดภยั ดแู ละความเรยี บร้อย 13) การใชพ้ ้ืนท่ีส่วนกลางร่วมกัน คณะรัฐศาสตร์ มีการใช้พืน้ ที่ส่วนกลาง ร่วมกันเช่น ห้องสาหรับการเรียนการสอน มีห้องเรียน ห้องบรรยายเพ่ือรองรับ การเรียนการสอนให้นักศึกษา นอกจากน้ีนักศึกษาสามารถใช้ห้องปฏิบัติการ คอมพิวเตอร์และหอสมุดของมหาวิทยาลัย อาคารกิจการนักศึกษา เพ่ือเข้าทา กจิ กรรม เข้าชมรมตา่ งๆท่นี กั ศกึ ษาสนใจได้ การเรียนรู้ ( study/Learning) 1. แผนหรือแนวทางการพัฒนาคณุ ภาพอย่างต่อเน่อื งในอนาคต จ า ก ส ภ า พ ปั ญ ห า ก า ร เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง ห รื อ ก า ร พั ฒ น า ทั่ ว โ ล ก สถาบันอุดมศึกษาจะต้องปรับเปล่ียน เรียนรู้ เพ่ือความอยู่รอดขององค์กรและ บคุ ลากร เช่นเดยี วกับคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ท่ีเรยี นรู้จาก สภาพ ปัญหาการเปลี่ยนแปลง ที่จะทาให้การพัฒนาองค์กรมีคุณภาพอย่าง ต่อเนื่องในอนาคต ดังนี้ - 42 -
เวทีคณุ ภาพ || มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ 1) คณะรัฐศาสตร์ มีการศึกษาสภาพปัญหา ทบทวนหรือสารวจความ ต้องการ ความคาดหวังของ Stakeholder เช่น ผู้เรียน ชุมชน สถาน ประกอบการอย่างต่อเนื่องทุกปี เพ่ือการปรับปรุง พัฒนาหลักสูตร พัฒนา บุคลากรทุกสายงานที่เก่ียวข้อง พัฒนาผู้เรียน ให้ตอบสนองต่อความต้องการ หรือความคาดหวงั ของลูกค้า เพ่ือรองรับการเปล่ียนแปลงในอนาคต 2) คณะรัฐศาสตร์ มีการดาเนินงานเชิงรุก ปรับ เปล่ียนแปลง พัฒนา ทุกส่วนในทิศทางเดียวกัน เพื่อรองรับการประเมินคุณภาพตามเกณฑ์ EdPEx AUN–QA เช่น การพัฒนาตนเอง ทัง้ ด้านวชิ าการและวิชาชพี เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะในเรื่องต่างๆ ให้เป็นไปตามการประเมินคุณภาพอย่างต่อเนื่องท่ัวท้ัง องค์กร 3) คณะรัฐศาสตร์ เน้นการทางานร่วมกันของบุคลากรทุกฝ่าย และ สร้างขวัญกาลังใจให้กับบุคลากร เพื่อพัฒนาบุคลากรและสร้างความท้าทาย ให้กบั องคก์ ร 4) คณะรัฐศาสตร์ มีการปรับเปล่ียนเรียนรู้ ความต้องการความ คาดหวังของกลุ่มลูกค้าเพื่อตอบสนองต่อความต้องการ ความคาดหวัง และ ความพงึ พอใจของลูกคา้ โดยอาศยั กระบวนการต่างๆ เพื่อให้บรรลเุ ปา้ หมายการ รับนักศึกษา การคงอยู่ของนักศึกษา ตลอดทั้งเพ่ือความอยู่รอดขององค์กรและ บุคลากร 2. จุดแข็ง (Strength) หรอื สิ่งท่ีทาไดด้ ใี นประเดน็ ท่ีนาเสนอ 1) ทศิ ทาง นโยบาย การวางแผนการบรหิ ารจัดการ ภาวการณ์เปน็ ผนู้ า ของคณบดี รองคณบดีหรือทีมบริหาร มีความชัดเจน เป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยกาหนดวัตถุประสงค์หลัก บุคลากรมีศักยภาพ ทางานเป็นทีม มีความทุ่มเท เสยี สละ มุ่งผลสัมฤทธิท์ างการศึกษาของผเู้ รียน องคก์ รเป็นหลัก 2) มีการบูรณาการการทางานร่วมกันท้ังสายวิชาการ สายสนับสนุน เพื่อทาให้บรรลุเป้าหมายการรับนักศึกษาผ่านรูปแบบการเรียนการสอนที่ ตอบสนองต่อความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีกิจกรรมเสริมการเรียนรู้ ตลอดจนการปฏิบัติสหกจิ ศึกษา 3) เน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน ทั้งเครือข่ายองค์กรท่ีทางานท้ังใน ภาครฐั ภาคเอกชน องคก์ รพัฒนาเอกชยและองคก์ รคู่ความร่วมมือ - 43 -
เวทีคณุ ภาพ || มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 4) ภายใต้วิกฤติของสถาบันการศึกษาทั้งภายในและต่างประเทศ มี จานวนนักศึกษาลดลง แต่คณะรัฐศาสตร์มีการรับนักศึกษาในรอบแต่ละปี การศึกษาและมีจานวนนักศึกษาคงอยู่จานวนมากกว่าร้อยละ 80 ของนักศึกษา ที่มารายงานตัว 3. กลยทุ ธ์ หรอื ปจั จยั ทน่ี าไปสู่ความสาเรจ็ 1) ภาวะการเปน็ ผู้นาขององค์กรทด่ี ี ในการสร้างคน สร้างความรู้ สร้าง นวัตกรรม เน้นทางานเชิงรุก ตลอดท้ังสร้าง Entrepreneurship Mindset ให้กับบัณฑิตทกุ คนสาหรบั โลกยคุ ใหม่ 2) บุคลากรคณะรัฐศาสตร์ มีองค์ความรู้ที่หลากหลายท้ังศาสตร์ด้าน OKR เน้นการกาหนดวัตถุประสงค์และผลลัพธ์แลว้ แบง่ งานตามสาย เพ่อื ส่งเสริม การทางานร่วมกนั เป็นทีมของบุคลากรทุกสายงาน 3) เน้นวิชาศึกษาท่ัวไป (General Education–GE) ที่สนับสนุนให้ ผู้เรียนเรียนรู้ รจู้ ักตนเอง ผู้อื่น สังคม วัฒนธรรม สภาพแวดล้อม การอยู่ร่วมกัน ในสังคมตลอดทง้ั เป็นรายวิชาที่ตอบสนองต่อการสร้างบุคลการตามนโยบายของ รัฐและสภาวะปัจจบุ ัน ให้กบั ผู้เรียนทเี่ ปน็ นักศึกษาภายในคณะและนักศึกษาต่าง คณะ เช่น วชิ าความเปน็ พลเมือง ภาวะผู้นา และรายวิชาต่อดา้ นทจุ รติ 4) การสร้างการมีส่วนร่วมกับชุมชนของบุคลากรในการนาองค์ความรู้ ถ่ายทอด สร้าง พัฒนาชุมชน ตลอดท้ังการสร้างเครือข่าย เช่น การนานักศึกษา ในรายวิชาลงพื้นท่ีเพ่ือทาโครงการร่วมกับชุมชน การนาองค์ความรู้เชิงวิชาการ ในการแก้ไขสภาพ ปัญหา พัฒนาชุมชน สังคม โดยการทาวิจัย การสร้าง การ พัฒนาอาชีพของชุมชน การถ่ายทอดเทคโนโลยีลงสู่ชุมชน หรือการทา MOU ร่วมกับองค์กร หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน เช่น การทา MOU กับองค์การ บรหิ ารสว่ นจงั หวัด เชน่ เรือ่ ง การจัดการขยะในพ้ืนทีจ่ งั หวัดปัตตานี ประเด็น(จดุ เดน่ )ทเ่ี ป็นแนวปฏบิ ตั ิท่เี ป็นเลศิ 1. ทิศทาง นโยบาย การวางแผนการบริหารจัดการ ภาวะการเป็นผู้นา ของคณบดี รองคณบดีหรือทีมบริหาร มีความชัดเจน เป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยกาหนดวัตถุประสงค์หลัก บุคลากรมีศักยภาพ ทางานเป็นทีม มีความทุ่มเท เสียสละ มงุ่ ผลสมั ฤทธทิ์ างการศกึ ษาของผู้เรยี น องคก์ รเปน็ หลกั 2. มีการบูรณาการการทางานร่วมกันท้ังสายวิชาการ สายสนับสนุน เพื่อ ทาให้บรรลุเป้าหมายการรับนกั ศึกษา ผ่านรปู แบบการเรยี นการสอนทีต่ อบสนอง - 44 -
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292