แนวปฏิบัติที่เปนเลิศ ดา นการเรยี นการสอนและคณุ ภาพบณั ฑติ สงขลาวนนั แคหรงคินุณทครา | 93 A PSU DAY OF PRIDE 2014
การจดั การเรยี นการสอนแบบสหกจิ ศกึ ษา คณะอุตสาหกรรมเกษตร คณะทาํ งานพฒั นาแนวปฏิบัติที่เปน เลศิ ทปี่ รกึ ษา 1. คณบดีคณะอตุ สาหกรรมเกษตร ทปี่ รกึ ษา 2. รองคณบดีฝา ยวชิ าการและบณั ฑติ ศกึ ษา ประธานกรรมการ 3. นางสาวมณฑิรา เอยี ดเสน กรรมการ 4. ดร.กนั ยา อัครอารยี กรรมการและเลขานกุ าร 5. นางภควดี คงแจม ขอมูลทัว่ ไปของคณะคณะอุตสาหกรรมเกษตร วิสยั ทัศน เปน ผนู าํ ทางวิชาการและการวิจัยดานอตุ สาหกรรมเกษตร ในระดับภมู ิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต และใหบริการ วชิ าการสชู มุ ชนโดยมกี ารวจิ ยั เปน ฐาน พนั ธกจิ 1. จัดการศึกษาท่ีมีมาตรฐานเพ่ือผลิตบัณฑิตทางอุตสาหกรรมเกษตรที่มีคุณภาพในระดับสากล มีคุณธรรม จรรยาบรรณในวชิ าชพี และตรงตามความตอ งการของผใู ชบ ณั ฑติ 2. ผลติ งานวจิ ยั พืน้ ฐานและงานวิจยั ประยกุ ตใ หส อดคลอ งตามแผนยทุ ธศาสตรชาติ ทีม่ ีคณุ ภาพระดับสากลและ เชอื่ มโยงการใชประโยชนจากงานวจิ ยั อยางเปน ระบบ 3. ใหบ รกิ ารวชิ าการและมสี ว นรว มกบั ชมุ ชนและอุตสาหกรรมภาคใต เพอื่ การพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ที่ดี และพง่ึ พา ตนเองไดอ ยา งยงั่ ยนื 4. จดั การบรหิ ารองคก รและระบบการเงนิ ใหมคี วามคลอ งตวั มีประสทิ ธภิ าพและมน่ั คง 5. ปลกู ฝงการมศี ลิ ปวฒั นธรรมภาคใต บคุ ลากร/นกั ศกึ ษา 1. จํานวนอาจารยแ ละบคุ ลากร ปการศกึ ษา 2556 คณะอตุ สาหกรรมเกษตร มจี าํ นวนอาจารยแ ละบุคลากร ดงั นี้ 1. ขา ราชการสายอาจารย 26 คน 2. พนกั งานมหาวทิ ยาลยั สายอาจารย 15 คน 3. ขาราชการสายสนบั สนุน 11 คน 4. พนกั งานมหาวทิ ยาลยั สายสนบั สนุน 18 คน 5. ลูกจา งประจํา 7 คน 6. พนกั งานเงนิ รายไดคณะฯ 14 คน รวม 91 คน 94 | วสนั งแขหงลคาุณนคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014
2. จาํ นวนนักศึกษา ในปก ารศกึ ษา 2556 คณะอตุ สาหกรรมเกษตร มีจํานวนนกั ศึกษา ดังน้ี 1. นักศกึ ษาปริญญาตรี 546 คน 2. นักศกึ ษาปรญิ ญาโท 100 คน 3. นกั ศึกษาปรญิ ญาเอก 89 คน รวม 735 คน งบประมาณ คณะอุตสาหกรรมเกษตร ไดรับการจดั สรรงบประมาณประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2556 จากงบประมาณแผนดนิ จํานวน 34,086,300 บาท และงบประมาณเงินรายได จํานวน 15,975,865.89 บาท รวมทัง้ ส้นิ 50,062,165.89 บาท และไดจัดสรรงบประมาณเพ่ือการดาํ เนนิ งานสหกิจศึกษา ปการศกึ ษา 2556 จากเงินงบประมาณแผนดิน จํานวน 204,000 บาท และงบประมาณเงินรายไดเ พอ่ื สนบั สนนุ โครงงานสหกิจศึกษา จํานวน 255,000 บาท หลักการและเหตุผล อตุ สาหกรรมเกษตรเปน อุตสาหกรรมหลกั ท่ีมีบทบาทสําคญั ตอเศรษฐกิจของประเทศไทย และยงั มีแนวโนม ขยาย ตัวอยา งตอเน่ือง จากความตองการสนิ คาอุตสาหกรรมเกษตรที่มีเพิ่มมากขึ้นเปนลําดับ อันเปนผลมาจากปญหาการ ขาดความมัน่ คงทางอาหารและพลงั งานของโลกในปจ จบุ ันและอนาคต ถงึ แมจะกลาวไดวาอุตสาหกรรมเกษตรของไทย มีศักยภาพในการผลิตและการสงออกในระดับหนึ่ง แตภาวะการแขงขันทางธุรกิจทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ การกีดกันทางการคาโดยมิใชก าํ แพงภาษี (non tariff barrier) และขอ จํากัดเรื่องทรพั ยากรในการผลติ เชน วัตถุดบิ แรงงาน ทาํ ใหผูประกอบการดานอุตสาหกรรมเกษตรยงั คงตองมีการปรับตัวอยางตอเน่ืองตอบริบทการเปลี่ยนแปลง โดยมุงเนนใหม ีการพัฒนาตลอดหว งโซอปุ ทานเพื่อเพิม่ ขีดความสามารถในการแขงขัน ดังน้ันจงึ มีความจาํ เปนตองมีการ พฒั นาบคุ ลากรทมี่ คี วามรคู วามเขา ใจในการบรหิ ารงานดา นอุตสาหกรรมเกษตรใหม ปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ล สหกิจศกึ ษา (Cooperative Education) เปนระบบการศกึ ษาท่ีจัดใหมีการเรยี นการสอนในสถานศึกษา สลับ กบั การไปหาประสบการณตรงจากการปฏบิ ตั ิงานจริง ณ สถานประกอบการอยางมรี ะบบ ดว ยความรวมมือจากสถาน ประกอบการและทกุ ฝายที่เกี่ยวขอ ง เปนระบบการศึกษาที่ผสมผสานการเรยี นกับการปฏิบัติงาน (Work Integrated Learning) ภายใตแ นวคิดใหญ 2 แนวคดิ คอื 1) การตระหนักถึงการเตรยี มความพรอมดา นการประกอบอาชพี และ การเขาสรู ะบบการทํางานของบณั ฑิตกอนสาํ เร็จการศึกษา 2) การพัฒนาคุณภาพบณั ฑิตตามความตองการของตลาด แรงงาน ซ่ึงการท่ีนักศึกษาไดผานการเรียนรูตามกระบวนการของสหกิจศึกษาก็จะทําใหนักศึกษาเกิดการพัฒนาทักษะ ทางดา นตา งๆ หมายถึงเปน การพฒั นาตนเอง และยงั ฝกความรับผิดชอบเมื่อไดรบั มอบหมายงาน ไมว าจะเปน งานประจาํ หรอื โครงการงานตา งๆ คณะอุตสาหกรรมเกษตรมภี ารกิจหลักในการจัดการเรียนการสอนตามมาตรฐานวชิ าการและวิชาชีพ และตาม ความตองการของตลาดแรงงาน เพื่อพัฒนาบัณฑิตที่มีคุณภาพในการเสริมสรางขีดความสามารถในการแขงขันของ อตุ สาหกรรมเกษตรของประเทศ ดังน้ันเพ่ือเพ่ิมศักยภาพบณั ฑิตและเปน การเตรียมความพรอมดานการประกอบอาชพี ของนักศึกษา จึงไดนําสหกิจศึกษามาใชในการจัดการเรียนการสอนของคณะฯ ตั้งแตปการศึกษา 2547 เปนตนมา โดยการพัฒนารูปแบบการดาํ เนินงานและการบริหารจัดการเรื่อยมา จนไดรับการยอมรับอยางกวางขวางจากสถาน ประกอบการดานอุตสาหกรรมเกษตร รวมท้ังยังเปน ตนแบบในการดาํ เนินงานสหกจิ ศกึ ษาของหนวยงานทั้งภายในและ ภายนอกมหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทรอ กี ดว ย สงขลาวนันแคหรง คินุณทครา | 95 A PSU DAY OF PRIDE 2014
วัตถุประสงคของโครงการ 1. เพ่ือใหน ักศึกษาไดพฒั นาทกั ษะวิชาการและวชิ าชีพผานการฝกประสบการณวชิ าชีพดานอตุ สาหกรรมเกษตร ในสถานประกอบการจรงิ 2. เพอ่ื ใหน กั ศกึ ษาของคณะมคี วามพรอมดา นการประกอบวิชาชพี และการเขา สรู ะบบการทํางาน 3. เพื่อเปดโอกาสใหห นว ยงานภาครัฐและเอกชนทม่ี คี ณุ ภาพมีสว นรว มในการพัฒนาคุณภาพบณั ฑิต และความ รว มมอื ดา นอน่ื ตัวช้ีวัดและเปาหมายของโครงการ ตัวช้ีวัด เปา หมาย 40 % 1. จาํ นวนนกั ศึกษาสหกจิ ศกึ ษา (รอ ยละของนกั ศกึ ษาสหกจิ ศึกษาเทยี บกบั จํานวนนกั ศกึ ษา 80% ทง้ั หมดในชน้ั ป) 80% 2. จาํ นวนนกั ศกึ ษาท่ีผา นการคดั เลอื กเปนนกั ศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา (รอ ยละของนกั ศึกษา 80% ทผ่ี า นการคดั เลอื กเปน นกั ศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษาเทยี บกบั จํานวนนกั ศกึ ษาทสี่ มคั รเขา 80% โครงการทง้ั หมด) 80% 3. การไดง านทําของนกั ศึกษาสหกิจศึกษา (รอยละ)* 4. ผลการประเมนิ ความพรอ มดา นวชิ าการและวชิ าชพี ของนกั ศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา โดยสถานประกอบการ (รอยละ)** 5. ผลการประเมนิ ความพึงพอใจในการดําเนนิ งานสหกจิ ศกึ ษาของคณะฯ โดยสถานประกอบการ (รอยละ)** 6. ผลการประเมนิ คุณภาพของสถานประกอบการโดยอาจารยทปี่ รกึ ษาและ นักศกึ ษาสหกิจศกึ ษา (รอ ยละ)** หมายเหต:ุ * ขอมลู จากการสํารวจการมงี านทําของงานกิจการนักศกึ ษา ** ประเมินโดยใชแบบฟอรมประเมิน แผนงาน (Approach)/งบประมาณในการจดั โครงการ-กิจกรรม 1. การแตงต้งั คณะกรรมการฝกงานและสหกจิ ศกึ ษา คณะอตุ สาหกรรมเกษตร เพอื่ กาํ หนดนโยบายและกลยทุ ธ การดาํ เนนิ งานสหกิจศกึ ษา ประจําปการศกึ ษา พฒั นากระบวนการทาํ งานใหส อดคลอ งกบั สภาพปจ จบุ นั และกาํ กบั ตดิ ตาม และประเมินผลการดําเนินงานสหกิจศึกษา รวมทั้งประสานงานและสรางความเขาใจเก่ียวกบั งานสหกิจศกึ ษาของคณะ อตุ สาหกรรมเกษตรใหแกบ คุ ลากรและหนว ยงานตางๆ ทเี่ กย่ี วขอ งทง้ั ภายในและภายนอก 2. การกําหนดนโยบายสหกิจศกึ ษา ประจําปการศึกษา โดยใชผ ลปอ นกลบั (Feedback) และผลการประเมนิ ในปก ารศกึ ษาทผ่ี า นมาโดยกําหนด (1) สดั สว นจํานวนนกั ศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษาตอ จาํ นวนนกั ศกึ ษาทง้ั หมด (2) กรอบงบประมาณและแผนการใชจ า ยงบประมาณ และ (3) การทบทวนสถานประกอบการทจ่ี ะเขา รว ม 96 | วสันงแขหงลคาุณนคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014
3. การกาํ หนดผจู ัดการวชิ าสหกจิ ศกึ ษา และอาจารยต วั แทนภาควิชาทุกภาควชิ า เพอ่ื ดําเนนิ งานและประสานงาน สหกจิ ศกึ ษา ในแตล ะปก ารศกึ ษา 4. การจดั ทาํ แผนการฝก งานภาคฤดรู อ นสําหรบั สหกจิ ศกึ ษาและแผนปฏบิ ตั งิ านสหกจิ ศกึ ษา ประจําปก ารศกึ ษา 5. การสรา งความรูและความเขาใจใหแ กบ คุ ลากรและหนว ยงานตางๆ ท่เี กยี่ วของ โดยผลักดนั บุคลากรเขารวม อบรมในหลักสูตรตางๆ ท่ีเกี่ยวของกับงานสหกิจศึกษา เชน หลักสูตรอาจารยนิเทศ เปนตน และการพบปะสถาน ประกอบการเพอ่ื สรา งความเขา ใจในรูปแบบการดําเนินงานสหกจิ ศกึ ษาของคณะอตุ สาหกรรมเกษตร 6. การประเมินศักยภาพนักศกึ ษาและจัดหลกั สตู รการเตรียมความพรอมนักศึกษาสําหรบั การปฏิบัตงิ านสหกิจ ศกึ ษาใหสอดคลอ งกบั การเตมิ เตม็ ทกั ษะดานตางๆ ของนกั ศกึ ษา และใหตรงตามความตอ งการของสถานประกอบการ 7. การจัดทําแผนการนิเทศเพื่อติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ท้ังสวนของนักศึกษาและ โครงงานสหกจิ ศกึ ษา ภายใตกรอบงบประมาณสหกจิ ศกึ ษาทไี่ ดร บั การจดั สรร 8. การจดั ทําแผนการประเมนิ ผลการดําเนินงานสหกิจศกึ ษา ประจาํ ปก ารศกึ ษา ประกอบดว ย (1) การประเมนิ นักศกึ ษา โดยสถานประกอบและอาจารยทป่ี รึกษา จากการนิเทศสหกจิ ศึกษาจํานวน 3 ครงั้ (การนาํ เสนอโครงรา งสหกจิ ศกึ ษา การติดตามความกาวหนา และการประเมนิ ผลสาํ เรจ็ โครงงานสหกจิ ศกึ ษา) การนาํ เสนอ สมั มนาสหกจิ ศกึ ษา และการจดั ทํารายงานสหกจิ ศกึ ษา ซงึ่ จะประเมินนักศกึ ษาในดานตา งๆ ดงั น้ี - ความรคู วามสามารถ ไดแ ก ความรคู วามสามารถทางวชิ าการ ความสามารถในการเรยี นรแู ละประยกุ ต วชิ าการ การจดั การและวางแผนดาํ เนนิ งาน และทกั ษะสอ่ื สาร - ความรบั ผดิ ชอบตอหนาท่ี ไดแ ก ความรับผดิ ชอบและเปนผทู ไ่ี ววางใจได ความสนใจ อุตสาหะในการ ทํางาน ความสามารถเรมิ่ ตน ทาํ งานไดดว ยตนเอง การตอบสนองตอ การสั่งการ - ลกั ษณะสว นบคุ คล ไดแก ความมรี ะเบยี บวินัย ปฏิบตั ิตามวฒั นธรรมขององคก ร บุคลิกภาพและการ วางตัว มนษุ ยสมั พนั ธ คณุ ธรรมและจรยิ ธรรม (2) การประเมินสถานประกอบการทเี่ ขา รว มโดยอาจารยท ปี่ รึกษาและนกั ศึกษา (3) การประเมนิ การดําเนนิ งานสหกจิ ศกึ ษาของคณะอตุ สาหกรรมเกษตรโดยสถานประกอบการ 9. การสรุปและทบทวนผลประเมินการดาํ เนินงานสหกจิ ศกึ ษา ประจาํ ปการศึกษา พรอมสงขอมลู ปอ นกลับ (Feedback) ไปยงั นักศกึ ษา อาจารยทปี่ รกึ ษา ผูบรหิ าร และสถานประกอบการ เพ่ือปรบั ปรงุ พฒั นาการดาํ เนนิ งาน สหกิจศกึ ษา สําหรบั ปก ารศกึ ษาหนา กระบวนการ (Process) หรือการปฏิบัตงิ านตามแผน (Deploy) 1. ประชุมคณะกรรมการฝกงานและสหกิจศึกษา เพื่อกําหนดนโยบาย กลยุทธ และเปาหมายการดําเนินงาน สหกจิ ศึกษา ประจาํ ปก ารศกึ ษา 2. ประชุมคณะทํางานสหกิจศึกษา ซ่ึงประกอบไปดวยผูจัดการวิชาสหกิจศกึ ษา และอาจารยตัวแทนภาควิชาทุก ภาควชิ าเพอื่ กาํ หนดแผนการดาํ เนนิ งานประจาํ ปก ารศกึ ษา 3. ประชาสัมพันธหลกั สูตรสหกจิ ศึกษาตอ สถานประกอบการ เพ่ือสรา งความรูความเขาใจเกี่ยวกับสหกิจศกึ ษา และเปน การจดั หางานคณุ ภาพใหน กั ศกึ ษา 4. การรบั สมคั รนกั ศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษาและการคดั เลอื ก 4.1 ประชมุ ชแ้ี จงและใหขอมลู สหกจิ ศึกษา แกนักศึกษาชน้ั ปท ่ี 3 4.2 รบั สมคั รนักศกึ ษาสหกิจศกึ ษา โดยใหน กั ศกึ ษายนื่ ใบสมัครพรอมเอกสารประกอบทเ่ี จาหนา ทส่ี หกิจศกึ ษา ประจําคณะ สงขลาวนันแคหรง คินณุ ทครา | 97 A PSU DAY OF PRIDE 2014
4.3 คัดเลอื กนักศึกษาสหกจิ ศึกษา โดยนกั ศึกษาจะตองมคี ณุ สมบัตติ รงตามทส่ี าขาวิชากําหนดและตอ งผา น การสมั ภาษณจ ากคณะทํางานสหกจิ ศึกษา ซึง่ ประเมินนักศึกษาในหัวขอ ความรูค วามเขาใจเร่อื งสหกจิ ศึกษา ความรูทาง วชิ าการทศั นคตใิ นการทาํ งาน บุคลกิ ภาพ ทกั ษะในการสอ่ื สาร และความสามารถในการปรบั ตวั 5. การจดั หางานสหกจิ ศกึ ษา 5.1 สถานประกอบการแจงตําแหนงงานสหกจิ ศกึ ษาตอ คณะฯ 5.2 คณะทาํ งานสหกจิ ศกึ ษารบั รองคุณภาพงานจากสถานประกอบการ 5.3 ประกาศรายชื่อสถานประกอบการสหกจิ ศึกษา และตําแหนง งานทร่ี บั สมคั ร 6. การสมคั รงาน และการจบั ครู ะหวางนักศกึ ษากับสถานประกอบการ 6.1 นกั ศกึ ษายน่ื สมคั รงานสหกจิ ศกึ ษา 6.2 สถานประกอบการคดั เลือกนักศกึ ษา โดยการสัมภาษณนักศกึ ษาที่คณะฯ สมั ภาษณทางโทรศัพทห รอื มอบหมายใหค ณะทํางานสหกจิ ศกึ ษาของคณะฯ ดาํ เนนิ การคดั เลอื กใหต ามคณุ สมบตั ทิ ส่ี ถานประกอบการกําหนด 6.3 ประกาศรายชอื่ นกั ศกึ ษาสหกิจศกึ ษาและสถานประกอบการ 7. การปฏบิ ัตงิ านสหกิจศกึ ษาครง้ั ที่ 1 (การฝก งานฤดูรอ นเพอื่ สหกจิ ศกึ ษา) มีวัตถปุ ระสงคเพอื่ ใหน ักศกึ ษาไดเ รียนรรู ะบบงานที่เกี่ยวขอ งกบั สาขาวชิ าชีพ และไดคน หาหวั ขอ ปญ หาสาํ หรบั การทําโครงงานสหกจิ ศกึ ษา โดยมรี ายละเอียดดงั นี้ 7.1 ปฐมนเิ ทศการปฏิบตั ิงานสหกจิ ศกึ ษาครง้ั ท่ี 1 7.2 นักศึกษาปฏบิ ตั ิงานเปนระยะเวลา 8 สปั ดาห ในชวงภาคการศกึ ษาที่ 3 ของช้นั ปท ่ี 3 7.3 นิเทศงาน ณ สถานประกอบการเพอื่ ประเมินการปฏบิ ัตงิ านของนกั ศึกษา รับฟงปญ หา ขอ เสนอแนะ จากสถานประกอบการ 7.4 นําเสนอผลการปฏบิ ตั งิ านสหกจิ ศกึ ษาครงั้ ท่ี 1 7.5 ประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านสหกจิ ศกึ ษาครงั้ ที่ 1 8. ประชุมคณะกรรมการฝกงานและสหกิจศึกษา เพื่อตดิ ตามผลการดําเนนิ งาน รวมทั้งปญหาอุปสรรคในการ ดาํ เนนิ งานจากการปฏิบตั งิ านสหกจิ ศึกษาครง้ั ที่ 1 9. จัดกจิ กรรมเตรียมความพรอมการปฏิบตั งิ านสหกิจศึกษา โดยการจดั การเรียนการสอนวิชาสหกิจศกึ ษา 1 ซ่ึงประกอบไปดวยหัวขอการเตรียมความพรอมทางดานวิชาการและทักษะอาชีพ เชน การพัฒนาขอเสนอโครงการ การเขียนรายงานกระบวน การและเครอ่ื งมือในการแกปญหาการเขยี นแบบในอุตสาหกรรม การวิเคราะหและประมวล ผลขอมูลดว ย Excel การนาํ เสนอผล งานการพฒั นาบคุ ลกิ ภาพ ทัศนคตใิ นการทํางาน เปน ตน 10. การปฏิบตั งิ านสหกจิ ศกึ ษาครงั้ ที่ 2 นกั ศึกษาปฏิบตั งิ านในตาํ แหนง งานทไ่ี ดร บั โดยตองมกี ารทําโครงงานสหกิจศกึ ษา ควบคกู บั งานประจาํ ที่ไดร บั มอบหมาย มรี ายละเอยี ดการปฏบิ ัตงิ านดงั น้ี 10.1 ปฐมนเิ ทศการปฏบิ ตั ิงานสหกจิ ศึกษาครง้ั ที่ 2 10.2 นกั ศึกษาปฏิบตั งิ านเปน ระยะเวลา 16 สัปดาห ในชว งภาคการศกึ ษาที่ 2 ของชั้นปท ่ี 4 10.3 การนเิ ทศงานสหกจิ ศกึ ษา ระหวา งการปฏบิ ัตงิ านสหกจิ ศกึ ษา คณะฯ กําหนดใหมกี ารนเิ ทศงาน จํานวน 3 คร้งั โดยมรี ายละเอียด การนิเทศแตล ะครง้ั ดังน้ี 98 | สวนั งแขหงลคาณุ นคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014
(1) การนิเทศงานสหกิจศกึ ษาคร้งั ท่ี 1 ณ สถานประกอบการเพอ่ื ตดิ ตามลักษณะงานที่มอบหมายให นักศกึ ษาปฏิบตั ิ แผนการปฏบิ ัติงานตลอดระยะเวลาการปฏิบตั ิงาน และประเมนิ ผลการนาํ เสนอโครงรา งโครงงานสหกิจ ศกึ ษา (2) การนิเทศงานสหกิจศึกษาครั้งที่ 2 ณ สถานประกอบการหรือผานระบบ Teleconference เพื่อประเมนิ ผลการนาํ เสนอความกา วหนา โครงงานสหกิจศึกษา ใหคําแนะนําเก่ียวกับปญหาในการทําโครงงานและการ ทาํ งาน ติดตามพัฒนาการดา นทกั ษะตา งๆ ของนกั ศกึ ษา (3) การนเิ ทศงานสหกจิ ศกึ ษาคร้ังท่ี 3 ณ สถานประกอบการเพอื่ ประเมนิ ผลการนาํ เสนอ ผลสาํ เร็จ ของโครงงาน สหกจิ ศกึ ษาประเมินความรคู วามสามารถ/ทกั ษะวชิ าการและวชิ าชพี ทเี่ กี่ยวขอ ง 11. หลงั การปฏบิ ตั งิ านสหกจิ ศกึ ษา นกั ศกึ ษานาํ เสนอสมั มนาสหกจิ ศกึ ษา ในวนั เสนอผลงานสหกจิ ศกึ ษา 12. นกั ศกึ ษาประเมนิ ตนเองหลงั การปฏบิ ัติงานสหกจิ ศกึ ษา วิเคราะหจ ดุ แขง็ จดุ ออน จดุ ทตี่ องพฒั นา 13. ประเมินผลการดาํ เนนิ งานสหกจิ ศกึ ษา โดยการประเมนิ ดงั นี้ 13.1 การประเมินนกั ศกึ ษาสหกิจศกึ ษา: ประเมินผลการปฏิบตั งิ าน และความพรอมในการทาํ งาน โดยสถาน ประกอบการ และอาจารยท ่ปี รึกษาสหกจิ ศกึ ษา 13.2 การประเมินสถานประกอบการสหกจิ ศึกษา: ประเมนิ ความรูค วามเขาใจในหลกั การสหกิจศกึ ษา ความ พรอ มและความรว มมือของสถานประกอบการ และคุณลักษณะงานทีเ่ หมาะสมตรงกับสาขาวชิ า ประเมินโดยนักศกึ ษา สหกิจศึกษา และอาจารยท ป่ี รกึ ษาสหกจิ ศึกษา 13.3 การประเมนิ ความพึงพอใจในการดําเนนิ งานสหกจิ ศกึ ษาของคณะอตุ สาหกรรมเกษตร: ประเมินรปู แบบ การดําเนินงานสหกิจศกึ ษาของคณะฯ การจดั การและการสนบั สนุนการดาํ เนินงาน ความพงึ พอใจในผลสําเรจ็ ของการ ปฏิบตั งิ าน ประเมนิ โดยสถานประกอบการ อาจารยท ปี่ รกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา และนกั ศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา 13.4 ใหข อมลู สะทอ นกลบั จากการประเมนิ แกน กั ศกึ ษา สถานประกอบการ และหนว ยงานทเี่ กยี่ วขอ ง 14. ประชุมคณะกรรมการฝกงานและสหกิจศึกษา และคณะกรรมการดําเนินงานสหกิจศึกษา เพ่ือสรุปผลการ ดาํ เนนิ งาน สงขลาวนันแคหรงคินณุ ทครา | 99 A PSU DAY OF PRIDE 2014
กระบวนการสหกิจศึกษา คณะอตุ สาหกรรมเกษตร 100 | วสันงแขหงลคาุณนคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014
การประเมินทบทวนผลการดําเนนิ งาน (Assessment & Review) 1. การประชมุ สรปุ และทบทวนผลการดาํ เนนิ งานสหกจิ ศกึ ษาหลงั การปฏบิ ตั งิ านครงั้ ที่ 1 (การฝก งานภาคฤดรู อ น) 2. การดาํ เนนิ งานสหกจิ ศกึ ษา ประจาํ ปก ารศึกษา 3. การนําเสนอและรายงานผลการดําเนินงานสหกิจศึกษาในท่ีประชุมคณะกรรมการวิชาการประจําคณะ และ คณะกรรมการประจาํ คณะอตุ สาหกรรมเกษตร แผนหรือแนวทางการพัฒนาคุณภาพอยางตอเน่ืองในอนาคต 1. การเตรยี มความพรอ มนักศึกษารวมกับสถานประกอบการ โดยใหสถานประกอบการเขา มามีสวนรวมในการ เตรยี มความพรอมนกั ศึกษาสาํ หรบั การปฏบิ ตั ิงานสหกจิ ศกึ ษามากขนึ้ เชน การจดั หวั ขอ อบรมตางๆ 2. การสรา งเครอื ขา ยกบั ภาคอตุ สาหกรรมในตา งประเทศ 3. การจัดการระบบเอกสารสาํ หรบั งานสหกิจศึกษาผานระบบ e-co-op โดยจัดทาํ ฐานขอมูลงานสหกิจศึกษา และปรับปรุงการรับขอมูลตางๆ ผานทางเว็บไซตคณะ เชน การสงใบสมัครปฏิบัติงานสหกิจศึกษาของนักศึกษา การประเมนิ ผลโดยสถานประกอบและอาจารยท ปี่ รกึ ษา เปนตน จดุ แขง็ (Strength) หรอื ส่ิงท่ที าํ ไดดีในประเด็นท่ีนําเสนอ 1. มโี ครงสรา งการบรหิ ารงานสหกจิ ศกึ ษาทชี่ ดั เจน 2. มเี จา หนา ทรี่ ับผิดชอบงานสหกจิ ศกึ ษาโดยตรง 3. มีผลลัพธของโครงงานสหกิจศึกษาที่สามารถนาํ ไปใชประโยชนไดจริงในสถานประกอบการ และประเมนิ ผล เชงิ เศรษฐศาสตรไ ด 4. มีการประเมินผลการปฏิบัติงานสหกิจศึกษาท่ีครอบคลุม ครบถวนทุกประเด็น และนาํ ผลการประเมินมา ปรบั ปรงุ พัฒนาการดําเนนิ งานสหกจิ ศึกษาอยา งตอ เนอื่ ง 5. มกี ารกําหนดกรอบงบประมาณสนบั สนนุ การดําเนนิ งานสหกจิ ศกึ ษาทชี่ ดั เจน 6. มกี ารกาํ หนดคาภาระงานสหกจิ ศึกษา (Load Unit) ทชี่ ดั เจน กลยทุ ธหรือปจจัยที่นาํ ไปสูค วามสาํ เร็จ 1. การกาํ หนดนโยบายดา นสหกจิ ศกึ ษาทช่ี ดั เจนโดยใหท กุ หลกั สตู รในระดบั ปรญิ ญาตรี มกี ารจดั การเรยี นการสอน แบบสหกิจศกึ ษา และกาํ หนดสัดสวนจํานวนนักศึกษาสหกจิ ศึกษา อยางนอยรอยละ 45 ของจํานวนนักศึกษาทงั้ หมด รวมทง้ั กําหนดกรอบงบประมาณแผน ดนิ และงบประมาณเงนิ รายไดคณะ สาํ หรบั สนบั สนุนงานสหกจิ ศกึ ษาอยา งชดั เจน 2. การขบั เคลอื่ นการดําเนนิ งานสหกิจศึกษา โดยคณะกรรมการฝกงานและสหกิจศึกษา ซ่งึ กาํ หนดนโยบายและ ทศิ ทางการดาํ เนนิ งาน กระจายนโยบายมาสูก ารปฏบิ ตั จิ ริง รวมถึงการกาํ กบั ดแู ลและผลกั ดันการดาํ เนินงานสหกจิ ศึกษา ใหเ ปนไปตามเปาหมายทต่ี ง้ั ไว 3. ความรว มมอื ทด่ี รี ะหวา งสถานประกอบการและคณะ 4. ความจรงิ ใจทมุ เทของผบู รหิ าร อาจารยท ป่ี รกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา และเจา หนา ทสี่ หกจิ ศึกษา สงขลาวนนั แคหรงคินุณทครา | 101 A PSU DAY OF PRIDE 2014
ผลการดําเนินงาน (Result)/(เปรยี บเทยี บ 3 ป) และ/หรือเปรียบเทยี บกับหนว ยงานภายใน/ภายนอก 1. ผลการดําเนินงานตามตัวชวี้ ัด ตวั ชี้วัด เปา หมาย ผลลพั ธก ารดําเนนิ งาน 1. จาํ นวนนกั ศกึ ษาสหกจิ ศึกษา(รอยละของนกั ศกึ ษา 40% ปก ารศกึ ษา ปก ารศกึ ษา ปการศกึ ษา สหกจิ ศกึ ษาเทยี บกบั จํานวนนกั ศกึ ษาทงั้ หมดในชนั้ ป) 80% 2554 2555 2556 2. จํานวนนักศกึ ษาทผี่ า นการคดั เลอื กเปน นกั ศึกษา 80% 38 30 48 สหกจิ ศกึ ษา (รอ ยละของนกั ศึกษาทผี่ า นการคดั เลอื ก 80% เปน นักศึกษาสหกจิ ศกึ ษาเทียบกบั จาํ นวนนกั ศกึ ษาท่ี 90.38 95 100 สมคั รเขาโครงการทง้ั หมด) 80% 93.33 76.47 - 3. การไดง านทาํ ของนักศกึ ษาสหกิจศกึ ษา (รอ ยละ) 80% 83.8 83.2 88.6 4. ผลการประเมนิ ความพรอ มดา นวิชาการและวชิ าชพี 66.8 85.6 85.2 ของนกั ศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษาโดยสถานประกอบการ (รอยละ)* 84.2 81.6 86.9 5. ผลการประเมนิ ความพึงพอใจในการดําเนนิ งาน สหกิจศึกษาของคณะฯโดยสถานประกอบการ (รอยละ)* 6. ผลการประเมินคุณภาพของสถานประกอบการ โดยอาจารยท ป่ี รกึ ษาและนกั ศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา (รอ ยละ)* 102 | สวนั งแขหงลคาุณนคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014
2. รางวลั ตางๆ ที่ไดร ับ ปการศกึ ษา รางวัล 2552 2553 รางวลั โครงงานสหกจิ ศกึ ษาดเี ดน ดา นวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ระดบั เครอื ขา ย 2553 ผูไดร บั รางวลั : นายเจษฎา ซอประยรู 2554 รางวลั สถานประกอบการดําเนินงานสหกจิ ศกึ ษาดเี ดน ระดบั เครอื ขายสถานประกอบการขนาดใหญ 2555 ผูไ ดร บั รางวลั : บรษิ ทั ฟูดสตาร จํากดั ผูไดรบั รางวลั : บรษิ ัท สงขลาแคนน่งิ จํากัด (มหาชน) 2556 รางวลั ผบู รหิ ารสถานประกอบการดําเนนิ งานดา นสหกจิ ศกึ ษาดเี ดน ระดับเครอื ขา ยสถานประกอบการ ขนาดใหญ ผไู ดรับรางวลั : นายอรัญ องั ศานาม บรษิ ทั ฟูดสตาร จํากัด ผูไ ดรับรางวลั : นายวชั ระ แสงสวาง บริษัท สงขลาแคนนงิ่ จํากดั (มหาชน) รางวลั โครงงานสหกิจศกึ ษาดเี ดน ดา นวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ระดบั เครือขา ย ผไู ดรับรางวัล: นางสาวฝนทพิ ย สวุ รรณละออง ผไู ดรบั รางวัล: นายศราวธุ ทองเรือง รางวลั โครงงานสหกิจศกึ ษาดเี ดน ดา นวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ระดบั เครือขา ย ผไู ดรบั รางวัล: นางสาวกัญญสริ ิ โพธดิ ารา รางวลั ผปู ฏบิ ัตงิ านสหกจิ ศกึ ษาดเี ดน ในสถานศกึ ษา ระดบั เครอื ขา ย ผไู ดรบั รางวลั : อาจารยม ณฑิรา เอยี ดเสน รางวัลผปู ฏิบตั ิสหกจิ ศกึ ษาดเี ดน ในสถานประกอบการ ระดบั เครอื ขา ย ผไู ดรบั รางวัล: นายธรี ยุทธ แกว แววนอ ย บรษิ ัท เจรญิ โภคภัณฑอ าหาร จาํ กดั มหาชน (โรงงานแปรรปู มหาชยั ) รางวลั สถานประกอบการดําเนนิ งานสหกิจศึกษาดเี ดน ระดับเครอื ขา ยสถานประกอบการขนาดใหญ ผไู ดรับรางวลั : บริษทั สงขลาแคนน่งิ จาํ กัด (มหาชน) รางวลั โครงงานสหกิจศกึ ษาดเี ดน ดา นวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ระดบั เครือขา ย ผไู ดร บั รางวลั : นางสาวจริ นั ดา เบญจปญ ญาวงศ รางวัลนกั ศกึ ษาสหกิจศกึ ษานานาชาติดเี ดน ระดบั เครอื ขา ย ผไู ดร บั รางวลั : นางสาวอนลวรรณ อนิ ทศร สงขลาวนันแคหรงคินณุ ทครา | 103 A PSU DAY OF PRIDE 2014
บทสรปุ การจดั การเรยี นการสอนแบบสหกจิ ศกึ ษา ของคณะอตุ สาหกรรมเกษตร ขับเคลอ่ื นไปสคู วามสําเร็จอยา งตอเนอื่ ง ไดโ ดยนโยบายสงเสรมิ และสนบั สนุนจากผูบริหาร และโดยความรว มมือจากท้งั อาจารยท่ีปรกึ ษาสหกิจศกึ ษา นักศึกษา สหกิจศึกษา และสถานประกอบการทเ่ี ขา รวม ดังจะเห็นไดจ ากผลการดาํ เนนิ งานสหกิจศึกษาของคณะอตุ สาหกรรมเกษตร ท่ีเปน ท่ียอมรับและพงึ พอใจจากสถานประกอบการและหนวยงานตางๆ และกอใหเกดิ การพัฒนาบัณฑิตที่มีคุณภาพและ ศักยภาพเขา สรู ะบบการทํางานในสถานประกอบอยางตอ เนอ่ื ง เอกสารอา งองิ 1. คาํ สงั่ แตงต้ังคณะกรรมการฝก งานและสหกจิ ศึกษา คณะอตุ สาหกรรมเกษตร 2. รายงานการประชมุ คณะกรรมการฝก งานและสหกจิ ศกึ ษา คณะอตุ สาหกรรมเกษตร 3. รายงานการประชมุ คณะกรรมการประจาํ คณะอุตสาหกรรมเกษตร 4. รายงานผลการดาํ เนนิ งานสหกจิ ศกึ ษา ประจาํ ปก ารศกึ ษา 5. วิชาการเตรยี มความพรอมนักศึกษาสาํ หรับการปฏิบัตงิ านสหกิจศกึ ษา (แผนการเรยี นการสอน วิชาสหกจิ ศกึ ษา (850-491), วิชาสัมมนาสหกจิ ศึกษา (855-494), และวชิ าสหกจิ ศกึ ษา I (857-498)) 6. คมู อื สหกิจศึกษา ประจําปก ารศกึ ษา 2556 (ฉบบั ภาษาไทย และภาษาองั กฤษ) 104 | วสันงแขหงลคาณุ นคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014
แนวปฏิบัติที่เปนเลิศ ดา นบรหิ ารจดั การ สงขลาวนนั แคหรง คินณุ ทครา | 105 A PSU DAY OF PRIDE 2014
ตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรัพยากรธรรมชาติ คณะทํางานพัฒนาแนวปฏิบัติท่ีเปน เลศิ ทปี่ รกึ ษา 1. ผชู วยศาสตราจารยท วีศักดิ์ นยิ มบณั ฑิต คณบดคี ณะทรพั ยากรธรรมชาติ ทปี่ รกึ ษา 2. รองศาสตราจารยดร.อรญั งามผอ งใส รองคณบดฝี า ยบรหิ ารและวางแผน ประธานกรรมการ 3. นางวรภทั ร ไผแกว กรรมการ 4. นางสนุ ทั ณี แสงแจม กรรมการ 5. นางสาววไิ ลลกั ษณ สงิ ขรตั น กรรมการและเลขานกุ าร 6. นางสาวกาญจนา อุไรรตั น ขอ มลู ทั่วไปของคณะทรพั ยากรธรรมชาติ วิสยั ทัศน นําผลงานทางวชิ าการและผลผลติ ของคณะทรัพยากรธรรมชาตมิ าบรหิ ารจดั การใหเพม่ิ มูลคา อยางมปี ระสิทธภิ าพ และประสทิ ธผิ ล รวมทั้งเปนที่พง่ึ ของเกษตรกรในการกระจายผลผลติ ทางการเกษตรทีม่ คี ุณภาพ และเปนศูนยก ลางดาน อาหารปลอดภยั พันธกิจ 1. สนับสนุนการดําเนินงานของคณะทรัพยากรธรรมชาติ การประสานงานใหเพิ่มมูลคาใหแกผลผลิตท่ีไดจ าก การเรียนการสอน การวจิ ยั และบริการวชิ าการ 2. จดั การผลประโยชนใ นทรพั ยส นิ และกจิ กรรมของคณะทรพั ยากรธรรมชาติ ใหไ ดร บั ประโยชนส ูงสดุ 3. สงเสริมและใหบริการวิชาการในการเปนศูนยกลางดานอาหารปลอดภัย และการกระจายผลผลิตทางการ เกษตรทมี่ คี ณุ ภาพ บคุ ลากรในกลมุ งานจดั การผลประโยชนท างวชิ าการ จํานวนบคุ ลากรจาํ แนกตามสถานภาพ รวม 5 คน ขา ราชการ สาย ค 1 คน พนกั งานมหาวทิ ยาลยั 1 คน พนกั งานเงนิ รายได 3 คน หลักการและเหตุผล คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร มจี ดั การเรียนการสอนทางดา นการเกษตร ในกระบวน การเรียนการสอนนักศึกษา และการดาํ เนินงานวิจยั นั้น กอใหเ กิดผลผลิตทางการเกษตรซ่ึงเปน ผลพลอยไดทมี่ ีคุณภาพ แตไมมีกระบวนการบริหารจัดการท่ีดีจนกอใหเกิดปญหาผลผลิตมากเกินความตองการของตลาด และผลผลิตที่ไดไม สมาํ่ เสมอ ทําใหใ นบางครง้ั ตอ งจาํ หนา ยผลผลติ ดงั กลา วในราคาถูกเพอ่ื เปน การแกป ญ หาดงั กลา ว คณะทรพั ยากรธรรมชาติ 106 | วสนั งแขหงลคาณุ นคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014
จึงเปดใหบรกิ ารตลาดเกษตร ม.อ. ข้นึ ในวนั ที่ 2 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2544 เพือ่ เปน ศูนยก ลางในการจําหนายผลผลติ ท่มี ี คณุ ภาพของคณะทรพั ยากรธรรมชาติ และเปน แหลง อาหารทม่ี คี วามปลอดภยั การดาํ เนนิ งานตลาดท่ขี าดความรู ความเขา ใจในเรือ่ งสุขาภิบาลอาหาร ทาํ ใหเกิดขอ รองเรยี นจากผูใชบรกิ ารทัง้ ทางตรง และผานสื่อวิทยุ ในเร่ืองคณุ ภาพและความปลอดภัยของอาหาร ผลผลิตทางการเกษตร และสุขอนามยั ของ ผจู ําหนา ยอาหาร เนอื่ งจากตลาดเกษตร ม.อ. เปน ตลาดในความคาดหวงั ของผบู รโิ ภคทแ่ี ตกตา งจากตลาดโดยทวั่ ไป ดงั นน้ั คณะทรพั ยากรธรรมชาติ จงึ เรมิ่ ตระหนกั ถงึ ความสําคัญของการเปน ทพี่ งึ่ ของชมุ ชนในดา นสขุ ลกั ษณะของอาหารทปี่ ลอดภยั โดยเริ่มพฒั นาตลาดเกษตร ม.อ. ใหมีคุณภาพ จนกระทั่งในป พ.ศ. 2547 รัฐบาลมีนโยบายเร่ือง “ตลาดสดนา ซื้อ” ตลาดเกษตร ม.อ. จงึ สมัครเขา รวมโครงการ “ตลาดสดนา ซอ้ื ” ผา นสํานกั งานสาธารณสขุ อาํ เภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา และเรม่ิ ดําเนนิ การพฒั นาตลาดเกษตร ม.อ. ใหม คี ณุ ภาพ ในป พ.ศ. 2551 กระทรวงสาธารณสขุ ไดอ อกประกาศกฎกระทรวงวาดว ยสุขลักษณะของตลาด พ.ศ. 2551 ตลาดเกษตร ม.อ. ถกู จดั อยูใ นตลาดประเภทท่ี 2 ไดแ ก ตลาดทไ่ี มมีโครงสรา งอาคาร และกระทรวงสาธารณสุข ไดอ อก เกณฑป ระเมนิ การพฒั นาและยกระดบั “ตลาดนดั นา ซอ้ื ” เพื่อเปน เกณฑใ นการพฒั นาตลาดสดประเภท 2 (ตลาดนัด) ใหไ ดค ณุ ภาพ ตลาดเกษตร ม.อ. จึงใชเกณฑป ระเมนิ ดังกลาว ควบคูกับกระบวนการประกนั คุณภาพ PDCA เพ่ือพฒั นา และยกระดบั คุณภาพตลาดเกษตร ม.อ. วัตถุประสงคของโครงการ 1. เพอื่ พฒั นาตลาดเกษตร ม.อ. ใหเปน สถานทจ่ี ําหนา ยอาหารทมี่ ีคณุ ภาพ และปลอดภัย 2. เพ่ือพัฒนาตลาดเกษตร ม.อ. ใหไดมาตรฐานตลาดนัดนา ซ้ือตามกฎกระทรวงวาดว ยสขุ ลักษณะของตลาด พ.ศ. 2551 ตัวช้ีวัดและเปาหมายของโครงการ 1. สนิ คา ในตลาดเกษตร ม.อ. ผา นการตรวจตามเกณฑด า นความปลอดภยั อาหาร 100% 2. ความพึงพอใจของผบู ริโภคในระดบั ดี ไมน อยกวา 80% 3. ตลาดเกษตร ม.อ. ผา นการประเมนิ มาตรฐานระดบั ดีมากของกระทรวงสาธารณสขุ แผนงาน (Approach)/งบประมาณในการจดั โครงการ-กิจกรรม ใชงบประมาณเงินรายไดท ี่ไดจ ากการบริหารจัดการภายในตลาดเกษตร ม.อ. เชน คาเชา พ้ืนท่ี การจาํ หนาย ผลผลติ ทางการเกษตรของคณะฯ เปน ตน ซึง่ สามารถเลยี้ งตวั เองได และเปน แหลง รายไดใ นการพัฒนาคณะฯ ไดรับเงินสนับสนุนจากสํานักงานกองทุนสนับสนุนการเสริมสรางสุขภาพ (สสส.) ผานทางสถาบันการจัดการ ระบบสุขภาพ (สจรส.) จาํ นวนเงิน 900,000 บาท (พฤศจกิ ายน 2556 - เมษายน 2557) และการสนับสนนุ จาก สํานกั งานสาธารณสขุ อําเภอหาดใหญ จงั หวดั สงขลา สงขลาวนนั แคหรง คินุณทครา | 107 A PSU DAY OF PRIDE 2014
108 | วสนังแขหงลคาณุ นคคารินทร ตารางที่ 1 แผนงานประจําปก ารศึกษา 2556 (1 มิถนุ ายน 2556 - 31 พฤษภาคม A PSU DAY OF PRIDE 2014 ข้นั ตอนการดาํ เนินงาน ม 1. ทบทวนผลการดําเนนิ งาน รวบรวมขอมูลท่ีตอ งปรับปรุง 2. ประชุมวางแนวทางปฏิบัติและกฎระเบียบ 3. คัดเลือกผูจําหนายสินคาในตลาดเกษตร ม.อ. 4. ดานพัฒนาผูจําหนายสินคาในตลาดเกษตร ม.อ. 4.1 อบรมหลักสุขาภิบาลอาหาร 4.2 อบรมเพื่อพัฒนาศกั ยภาพผูจาํ หนายสินคาในตลาดเกษตร ม.อ. 4.3 อบรมการตรวจสอบสารปนเปอนในอาหาร 5. ข้ันตอนการตรวจคุณภาพ 5.1 ดานอาหารปลอดภัย 5.2 ดา นสุขวิทยาเบอ้ื งตน 5.3 ดานสุขาภิบาลแวดลอม 5.4 ดานความพึงพอใจของผูใชบรกิ าร 6. สรุปผลการดาํ เนนิ งานประจาํ ปการศึกษา/ปงบประมาณ
2557) ป 2556 พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ป 2557 ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค.
กระบวนการ (Process) หรอื การปฏบิ ตั ิงานตามแผน (Deploy) 1. ทบทวนผลการดาํ เนนิ งานโดยรวบรวมขอ มลู ทไี่ ดจ ากการดําเนนิ งานในรอบปท ผ่ี า นมา 1.1 ขอ รอ งเรยี นจากผใู ชบ ริการ 1.2 ผลจากการตรวจสอบดานอาหารปลอดภยั , สขุ าภบิ าลเบอ้ื งตน และสขุ าภบิ าลแวดลอ ม 2. ประชมุ เพอื่ วางแผนการดําเนินงานเพือ่ พฒั นาไปสตู ลาดแหง คณุ ภาพ โดยสรา งแนวปฏิบตั ิ ดังน้ี 2.1 สรางมาตรฐานในการปฏบิ ัติงานในตลาดเกษตร ม.อ. ใหกับบุคลากรในกลุมงานจัดการผลประโยชน ทางวชิ าการ 2.2 สรา งแนวปฏบิ ัตทิ ่ดี ที ใ่ี ชเ ปน ขอ บงั คบั ใหแ กผ จู าํ หนา ยสนิ คาในตลาดเกษตร ม.อ. 3. คดั เลอื กผจู ําหนา ยสนิ คา ในตลาดเกษตร ม.อ. 3.1 เปด รบั สมัครผจู าํ หนา ยสนิ คา ใหมท กุ ป โดยผสู มคั รรายเดมิ กต็ อ งสมคั รใหม 3.2 ผสู มคั รทกุ รายจะตองแนบใบรบั รองแพทย เพ่ือรบั รองสุขภาพเบอื้ งตน 3.3 ผูสมคั รรายเดมิ และผูสมคั รรายใหมจะตองสอบสัมภาษณ และนาํ สินคาท่ีจําหนายใหคณะกรรมการ พจิ ารณาทกุ ราย 4. พฒั นาผจู ําหนา ยสนิ คา ในตลาดเกษตร ม.อ. 4.1 จดั ใหมีการอบรมหลักสุขาภบิ าลอาหารเปน ประจําทุกป ในชวงกลางเดือนสงิ หาคม เพ่ือใหความรูดา น สขุ าภบิ าลอาหารแกผ จู ําหนา ยรายเดมิ และรายใหม 4.2 ผูผา นการพิจารณาจะตองเขาปฐมนเิ ทศ เพื่อสรางความเขาใจในการปฏบิ ัติตนตามแนวปฏิบัตใิ นคูมือ การจาํ หนา ยสนิ คา 4.3 อบรมการตรวจสอบสารปนเปอนในอาหาร เพอ่ื ใหผ จู ําหนายและเจา หนาท่ีสามารถใชชดุ ทดสอบอาหาร (Food Test kit) ไดด วยตนเอง 5. การตรวจคุณภาพ ดาํ เนนิ การตรวจคุณภาพ 3 ดา น คือ ดา นอาหารปลอดภยั ดานสุขาภิบาลแวดลอม และ สํารวจความพงึ พอใจของผใู ชบ รกิ ารในตลาดเกษตร ม.อ. 5.1 ดานอาหารปลอดภัย มกี ารตรวจสอบสารปนเปอน 5 ชนิด ตามมาตรฐานตลาดนัดนา ซ้ือคือ สาร ฟอรมาลิน (น้าํ ยาดองศพ), สารกันรา (ซาลิซิลิก), สารบอแรกซ, สารฟอกขาว, นาํ้ มันทอดซา้ํ จากเจาหนาทภี่ ายในคณะฯ จากคณะกรรมการอาหารปลอดภยั อําเภอหาดใหญ จากสาํ นกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สงขลา และจากศนู ยอ นามยั เขต 12 5.2 ดานสุขาภบิ าลแวดลอม ตลาดเกษตร ม.อ. ถูกประเมนิ จากสํานักงานสาธารณสุขอําเภอหาดใหญ จงั หวัดสงขลา และศูนยอ นามยั เขต 12 โดยมีเกณฑการประเมิน 20 หัวขอ (แบบ ตล.2) 5.3 ดานสุขวทิ ยาเบือ้ งตน ดําเนินการตรวจสอบโดยเจาหนาทจ่ี ากกลมุ งานจดั การผลประโยชนทางวิชาการ เดินตรวจสอบแบบไมบ ันทึกเปนลายลักษณอักษรทกุ วันท่ีเปดตลาด ใชว ิธีการแจงเตือนเม่ือพบการกระทําผิด และสุม ตรวจบนั ทกึ เปน ลายลกั ษณอ ักษร โดยไมแ จง ลวงหนา เพอื่ บนั ทกึ คะแนนใชใ นการพิจารณาการรับสมคั รในปถ ัดไป 5.4 สํารวจความพงึ พอใจของผูใชบรกิ าร โดยดาํ เนนิ การสํารวจความพึงพอใจของผูบรกิ ารในตลาดเกษตร ม.อ. ปละ 1 ครง้ั 6. สรุปผลการดําเนินงานประจําปการศึกษา/ ปงบประมาณ รวบรวมผลการดําเนินงานจัดทําเปนรายงานใน รอบปงบประมาณเพ่ือนาํ เสนอผลการดําเนินงานในรอบ 1 ป ในเวทีการนาํ เสนอขอมูลรายงานประจาํ ปการประเมิน คุณภาพ (SAR) และนําเสนอผลงานเดน ในรอบปก ารศกึ ษา/ปง บประมาณ สงขลาวนนั แคหรงคินุณทครา | 109 A PSU DAY OF PRIDE 2014
การประเมนิ ทบทวนผลการดาํ เนินงาน (Assessment & Review) 1. มีข้ันตอนการปฏิบัติงานในตลาดเกษตร ม.อ. เปนลายลักษณอักษร เพ่ือใหบุคลากรสามารถปฏิบัติงาน ไดอ ยางเปน มาตรฐานเดียวกนั 2. มคี มู อื ผจู ําหนา ยสนิ คา ในตลาดเกษตร ม.อ. เปน แนวปฏิบตั ใิ หผ จู ําหนา ยทกุ คนใชเ ปน แนวทางในการปฏบิ ตั ติ น 3. ผลจากการตรวจสอบดา นอาหารปลอดภยั ผา นทุกตวั อยางคดิ เปน 100% จากสาํ นกั งานสาธารณสุข อาํ เภอ หาดใหญ จงั หวัดสงขลา ศนู ยอ นามยั เขต 12 4. ผลการประเมินสขุ าภิบาลแวดลอม ตามแบบประเมินการพัฒนาและยกระดับตลาดนดั นาซอ้ื (แบบ ตล.2) โดยสาํ นักงานสาธารณสุขอาํ เภอหาดใหญ จังหวดั สงขลา และศูนยอนามยั เขต 12 ประเมินตลาดเกษตร ม.อ. ผาน เกณฑใ นระดับดมี าก และเปน ตลาดนัดแหง แรกในประเทศทผี่ า นเกณฑก ารประเมนิ ในระดบั น้ี 5. ผลการเดินตรวจเปน ประจาํ ทุกวนั โดยไมบันทกึ พบวา ผูจําหนายปฏบิ ัติตนตามหลักสขุ าภิบาลอาหารไดเ ปน กจิ วตั รปกตโิ ดยไมตองตกั เตือน และผลการตรวจบนั ทึกพบวาผูจําหนา ยปฏบิ ตั ติ ามสขุ วทิ ยาเบอื้ งตน ได 100% 6. มีชอ งทางการรับขอ รองเรียน ไดแก การรองเรียนโดยตรง ตรู ับความคดิ เห็นหนาเฟสบุค โทรศพั ท E-mail และเจาหนา ทป่ี ระจาํ ทต่ี ลาดเปดใหบ รกิ าร แผนหรือแนวทางการพัฒนาคุณภาพอยางตอเนื่องในอนาคต 1. เพมิ่ ศักยภาพของผจู าํ หนา ยสินคา โดยการจัดอบรม สัมมนา ทศั นศึกษาดงู าน เพือ่ เพม่ิ พูนความรู และเห็น แนวปฏบิ ัตทิ ่ดี ี สนบั สนุนผูจ ําหนายใหมีการออมทรัพยอ ยางเปน ระบบ โดยคณะทรพั ยากรธรรมชาตจิ ะต้งั กลุม ออมทรพั ย เพอื่ ชว ยใหเกษตรกรและผปู ระกอบการสามารถวางแผนการใชเ งนิ ไดอ ยา งเปน ระบบ 2. ยกระดับมาตรฐานการผลิตใหดีย่ิงขึ้น โดยใหเกษตรกรและผูประกอบการในตลาดเกษตร ม.อ. มีความรู และทศั นคตทิ ี่ดใี นการผลิตสินคาที่มีคุณภาพ มีคณุ คา ทางโภชนาการเพ่ือนาํ มาจําหนายในตลาดเกษตร ม.อ. ผูบริโภค สามารถตดิ ตามแหลงทม่ี าของสนิ คา แตล ะชนดิ ไดจ ากตราสนิ คา ทต่ี ดิ หนา บรรจภุ ณั ฑของทกุ รา น 3. พัฒนาตลาดเกษตร ม.อ. ใหเปนสถานท่ีในการแลกเปลี่ยนอาหารปลอดภัยของชุมชนจากกลุมเกษตรกร ผผู ลติ ถงึ ผบู รโิ ภครายยอ ยขยายไปสรู า นอาหาร เพอ่ื เปน แหลงอาหารทป่ี ลอดภยั ใหแ กช มุ ชนอยา งแทจ รงิ 4. ใหความรูแกผ ูใชบริการในตลาดเกษตร ม.อ. ทมี่ าใชบริการเฉล่ยี มากกวา 5,000 คน/วัน เพ่อื ยกระดบั คณุ ภาพชีวติ โดยการจดั นทิ รรศการบรเิ วณหนา ตลาดเกษตร ม.อ. ในเรอื่ งอาหารปลอดภัย ถูกหลกั โภชนาการ 5. ตลาดเกษตร ม.อ. มงุ เปา ในการรวมรกั ษาส่งิ แวดลอม โดยใชห ลกั 3R (Reduce Reuse Recycle) จุดแขง็ (Strength) หรือสงิ่ ที่ทาํ ไดด ีในประเดน็ ท่นี ําเสนอ 1. มแี นวปฏบิ ตั สิ าํ หรับผจู ําหนา ยทช่ี ดั เจน จดั ทาํ เปน คมู อื ขอบงั คับใหผ จู ําหนา ยทุกคนใชเปน แนวปฏบิ ตั ทิ ด่ี ี 2. มกี ารจดั อบรมสขุ าภบิ าลใหผ จู ําหนา ยและผชู วยทกุ คน และจดั ปฐมนเิ ทศผจู ําหนา ยเปน ประจาํ ทกุ ป 3. เจาหนาทีเ่ ขม งวดในการตรวจสอบใหผจู าํ หนา ยปฏิบัตติ ามขอบงั คับอยา งจริงจัง ใชวิธกี ารลงโทษผูก ระทาํ ผิด ดว ยการตักเตือนในเบ้ืองตน, มีการบนั ทึกคะแนน, แจงดวยใบเตือน ในกรณีกระทาํ ผิดหลกั สขุ าวิทยา, ละเมิดสิทธิผูใช บรกิ าร และไลอ อกในกรณพี บวา อาหารทจี่ าํ หนา ยปนเปอ นสารปนเปอ น 5 ชนดิ ตามเกณฑอ าหารปลอดภยั 4. การใหส ิทธผิ จู าํ หนายทุกราย จําหนา ยสนิ คาไดเ พียงรายละ 1 ป และตองสมัครใหม โดยพจิ ารณาจากคะแนน สะสมทใี่ ชใ นปท ผี่ านมา พรอ มพจิ ารณาจากสมดุ ออมทรพั ยท ผ่ี จู าํ หนา ยตอ งฝากเงนิ อยางสมา่ํ เสมอทกุ เดอื น 110 | สวันงแขหงลคาุณนคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014
5. เปนตลาดที่มีระบบบริหารจัดการโดยสรางวัฒนธรรมองคกรใหผูจําหนายชวยเหลือพึ่งพากัน ทุกคนเปน เจาของตลาด ผูจาํ หนายทกุ คนรบั ผิดชอบตอขยะท่ีเกิดข้ึน นาํ ขยะกลับไปจัดการดวยวิธที ี่ถูกตอง เนื่องจากในบริเวณ รอบตลาดไมม ถี ังขยะกลางรองรับ ทาํ ใหไมม ขี ยะตกคางในตลาด นอกจากนีผ้ ูจ ําหนา ยรับผิดชอบในการเปด -ปดไฟตลาด ดวยตนเอง และดําเนินการทําความสะอาดรานจําหนายของตนเปนประจําทุกวันท่ีเปดทาํ การ และรวมกันลางตลาด เปน ประจําทกุ เดอื น กลยุทธหรือปจจัยท่ีนาํ ไปสคู วามสําเร็จ 1. เขม งวด กวดขนั โดยกําหนดใหม ีการตรวจตลาดทุกวนั ตลอด 10 ปแ รกของการดําเนินงาน การตรวจตลาด อยางเขมงวดตามหลกั สุขาภิบาลเบ้ืองตน ตักเตอื นทันทีที่เห็นขอผิดพลาดจากผูประกอบการ ทาํ ใหการปฏบิ ัติตนตาม หลกั สขุ าภบิ าลอาหารของผจู าํ หนา ยกลายเปน กจิ วตั รทสี่ ามารถปฏบิ ตั ไิ ดเ ปน กจิ นสิ ยั และมวี นิ ัยในตนเอง 2. รับขอรองเรียนทกุ ชองทาง เชน การรอ งเรยี นโดยตรง ตูรบั ความคิดเหน็ โทรศพั ท E-mail และนําปญหา ดงั กลา วดําเนนิ การแกไ ขใหผ ใู ชบ รกิ ารทนั ทอี ยา งรวดเรว็ ติดตามผลอยา งตอ เนอ่ื งจนกวา จะดําเนนิ การแกไขเสรจ็ สน้ิ 3. ยึดหลักการทํางาน “รูจักรูใจ” ซึ่งทําใหเขาใจพ้ืนฐานครอบครัวและประวัติครอบครัวของเกษตรกรและ ผูประกอบการแตละราย ทําใหเกิดสัมพันธภาพที่ดีตอกนั ซึ่งชวยใหการทาํ งาน การแกไขปญหาตางๆ สามารถทําได อยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ 4. จดั โครงการใหเ กษตรกรและผูประกอบการมสี วนรวมในการพัฒนาตลาดเกษตร ม.อ. เชน กิจกรรม Big Cleaning Day, โครงการแบง ปน สนิ คา โดยวธิ แี ลกเปลีย่ นสนิ คา ซง่ึ กันและกันในวันทสี่ ินคาจําหนา ยไมห มด, โครงการการ พฒั นาศักยภาพ เชน การปฐมนเิ ทศ การอบรมสัมมนาเรอ่ื ง การออกแบบบรรจภุ ณั ฑแ ละตราสนิ คา การออมเงิน เพ่ือความมนั่ คงของชวี ิต เปน ตน 5. ปรับปรงุ ระเบยี บขอ ปฏิบัตใิ นตลาดเกษตร ม.อ. ใหค รอบคลมุ เร่ืองทไ่ี ดร ับการรอ งเรียนจากผบู ริโภค เชน ไมอ นญุ าตใหใ ชโ ฟมเปน ภาชนะบรรจอุ าหาร ไมอ นญุ าตใหใชล วดเยบ็ กระดาษ เยบ็ บรรจภุ ณั ฑท บ่ี รรจอุ าหาร ผูจ าํ หนา ยสินคา ตอ งมีถงั ขยะหนาราน และนําขยะกลบั ไปจัดการดว ยวธิ กี ารท่ีถูกตอง ทําใหต ลาดเกษตร ม.อ. ปลอดขยะตกคาง ปลอดแมลงวัน แมลงสาบ และหนู ผจู ําหนายสินคาทุกคนมาลงชื่อ และลา งมือกอ นการจาํ หนายสนิ คาทุกครั้ง เพอื่ ลดการปนเปอนเช้ือโรค ในเบอื้ งตน กําหนดใหผ จู ําหนา ยสินคา ปฏบิ ตั ติ ามหลักสขุ าภบิ าลอาหารเบอ้ื งตน 100% 6. วางขอ บงั คบั ใหผ ูจําหนา ยสนิ คา ทําสญั ญาปต อ ป โดยทกุ รายตอ งเขาสมั ภาษณใ หมท ุกป ทําใหผ จู าํ หนายมคี วาม กระตือรือรน ใหความรวมมือ และปฏิบตั ิตามกฎเกณฑ ขอบังคบั ตางๆ อยางเครง ครดั จนกลายเปนวัฒนธรรมของตลาด เกษตร ม.อ. ทที่ กุ คนตองมาชว ยงานสว นรวมอยา งพรอ มเพรยี ง สงขลาวนันแคหรงคินุณทครา | 111 A PSU DAY OF PRIDE 2014
ผลการดาํ เนนิ งาน (Result)/(เปรียบเทยี บ 3 ป) และ/หรือเปรียบเทียบกับหนว ยงานภายใน/ภายนอก รายการ ป 2555 ป 2556 ป 2557 แบบประเมนิ การพฒั นาและยกระดับตลาดนัดนา ซอื้ (แบบ ตล.2) ดมี าก ดมี าก ดมี าก โดย สํานักงานสาธารณสขุ อําเภอหาดใหญ จงั หวดั สงขลา แบบประเมนิ การพฒั นาและยกระดบั ตลาดนดั นา ซอ้ื (แบบ ตล.2) ดมี าก ดมี าก ดมี าก โดย ศูนยอนามัย เขตที่ 12 แบบประเมนิ ความพงึ พอใจผใู ชบ รกิ ารในตลาดเกษตร ม.อ. โดยภาพรวม - 79.5% 88.4% มคี วามพึงพอใจระดบั มากและมากทสี่ ุด ผา น ผา น ผา น การตรวจสารฟอรม าลิน (นํา้ ยาดองศพ) ผา น ผา น ผา น การตรวจสารกนั รา (ซาลซิ ิลกิ ) ผา น ผา น ผา น การตรวจสารบอแรกซ ผา น ผา น ผา น การตรวจสารฟอกขาว ผา น ผา น ผา น การตรวจนา้ํ มนั ทอดซํา้ 1 ครง้ั การเขา รบั ศกึ ษาดงู านจากหนว ยงานภายใน/ภายนอก 2 ครั้ง - ผบู ริหารและเจาหนา ทจ่ี ากมหาวทิ ยาลยั ทกั ษิณ 1 ครง้ั - ผบู รหิ ารและเจา หนา ทจ่ี ากมหาวทิ ยาลยั แมโจ 1 ครั้ง - ผบู ริหารและเจาหนาท่ีจากมหาวทิ ยาลัยขอนแกน 1 คร้ัง - ผบู รหิ ารและเจา หนา ทจี่ ากมหาวิทยาลยั ราชมงคลศรีวชิ ยั ไสใหญ - เจา หนา ที่จากศูนยบ รกิ ารวชิ าการ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร บทสรุป ตลาดเกษตร ม.อ. เปน ตลาดสดประเภท 2 (ตลาดนดั ) ที่มกี ารบรหิ ารจดั การท่ีดี มปี ระสทิ ธภิ าพ มแี นวปฏิบตั ิ ของผูจาํ หนายทด่ี ี มีการพัฒนาศกั ยภาพผูจาํ หนา ยสนิ คา และขัน้ ตอนการตรวจคุณภาพ มงุ ม่นั ที่จะดําเนินงานดวยการ สรา งแนวปฏบิ ัตทิ ด่ี ใี หแกผ ูจาํ หนาย มุงเนน การพัฒนาผจู าํ หนายโดยมเี ปาหมายทีจ่ ะดําเนินงานดา นความปลอดภยั อาหาร และดา นการคมุ ครองผบู รโิ ภคใหส ําเรจ็ ตามเปา หมายทกี่ ําหนด จากความพยายามพฒั นาอยางตอเน่ือง ตลาดเกษตร ม.อ. สามารถพึ่งพาตนเองได เปนศูนยก ลางดานอาหาร ปลอดภยั 100% เปน ตลาดท่ใี สใจในคุณภาพชีวติ ของผบู รโิ ภค รับฟง ขอ รอ งเรยี น ขอเสนอแนะของผูบรโิ ภคและหนว ยงาน ทเี่ ก่ียวขอ งดานอาหารปลอดภยั โดยสามารถยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรและผูป ระกอบการใหพ ง่ึ ตนเองไดอยาง ยั่งยืน ผจู ําหนา ยทกุ คนมสี ว นรว มในการพฒั นาตลาดเกษตร ม.อ. สมาํ่ เสมอ อนั เปนวฒั นธรรมท่ีดงี ามของตลาดเกษตร ม.อ. สามารถปฏิบตั ติ ามหลักสุขวิทยาจนเปน แนวปฏิบตั ทิ ่ตี ลาดเกษตร ม.อ. มีการปรับปรงุ ภูมทิ ศั น และสถานทีท่ าง กายภาพ มพี นื้ ตลาดแหง และสะอาด ทั้งยังตระหนักถงึ คณุ ภาพ ความปลอดภยั ของผบู รโิ ภค ตลาดเกษตร ม.อ. ไดรับปาย “รับรองมาตรฐานตลาดสดนาซื้อผานมาตรฐานดานสุขลักษณะและใสใจการ คมุ ครองผบู ริโภค” จากคณะทํางานอาหารปลอดภัย อาํ เภอหาดใหญ จงั หวัดสงขลา ตัง้ แตป พ.ศ. 2550 และผานการ ตรวจประเมินเพอื่ รบั รองปา ยเปน ประจาํ ทกุ ป 112 | วสันงแขหงลคาุณนคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014
ตลาดเกษตร ม.อ. ผา นการตรวจสอบเกณฑอ าหารปลอดภัยต้งั แต ป พ.ศ.2552 จนถงึ ปจ จุบนั เกษตรกรและ ผูประกอบการผานเกณฑการตรวจสอบสารปนเปอ น 100% ผานการอบรมสขุ าภิบาลอาหาร และผานเกณฑก ารตรวจ ดา นกายภาพและสุขวทิ ยาสว นบุคคล 100% จากรานคาทัง้ หมด 183 ราน ซงึ่ ในปจจุบันตลาดเกษตร ม.อ. ยงั มีการ ดาํ เนนิ การตรวจสอบสารปนเปอ นเปน ประจาํ อยา งสมาํ่ เสมอ ตลาดเกษตร ม.อ. ไดรับคัดเลือกจากสาํ นักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลาใหเปนตลาดนัดตนแบบของจังหวัด สงขลาใน “โครงการหนึ่งจังหวดั หน่ึงตลาดนดั ตนแบบ” ในป พ.ศ. 2555 ผลการประเมนิ การพัฒนาและยกระดบั ตลาดนัดนา ซือ้ (แบบ ตล.2) ตั้งแตป พ.ศ. 2555-2557 ตลาดเกษตร ม.อ. ไดผ ลการประเมินในระดบั ดมี าก อนั เปน เกณฑส ูงสดุ ทม่ี ี และเปน ตลาดนัดแหง แรกในประเทศทผี่ า นเกณฑก ารประเมิน ในระดบั น้ี อนั เปนตวั ชว้ี ดั ความสาํ เร็จของการพัฒนาตลาดเกษตร ม.อ. เอกสารอางอิง กฎกระทรวง วาดวยสุขลกั ษณะของตลาด พ.ศ. 2551 แบบประเมนิ การพัฒนาและยกระดับตลาดนดั นา ซอื้ (ตล.2) วรภทั ร ไผแกว กวา จะเปน ตลาดเกษตร ม.อ. คณะทรพั ยากรธรรมชาติ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร คมู ือผจู าํ หนา ยในตลาดเกษตร ม.อ. สงขลาวนันแคหรงคินณุ ทครา | 113 A PSU DAY OF PRIDE 2014
ปรบั ปรงุ งานอยา งตอ เนอ่ื งดว ยหลกั การ KAIZEN ศูนยเครื่องมือวิทยาศาสตร คณะทาํ งานพัฒนาแนวปฏบิ ัติที่เปน เลศิ ทปี่ รกึ ษา 1. ผอู ํานวยการศนู ยเ ครอื่ งมอื วทิ ยาศาสตร ทป่ี รกึ ษา 2. รองผอู าํ นวยการศนู ยเ ครอ่ื งมอื วทิ ยาศาสตร ทปี่ รกึ ษา 3. รองผอู ํานวยการฝายบรกิ ารวิชาการ ประธานคณะทาํ งาน 4. นางสาวรัชนี ซันยวิ า คณะทาํ งาน 5. นางรสุ นี กลุ วิจิตร คณะทาํ งาน 6. นายอทุ ัย ไทยเจรญิ คณะทาํ งาน 7. นายสตั ยา บญุ รัตนชู คณะทาํ งาน 8. นายมนตรี สงิ หสวุ รรณ คณะทํางานและเลขานกุ าร 9. นางสาวลลิลทิพย กองพานชิ กุล ขอมูลทั่วไปของศูนยเคร่ืองมือวิทยาศาสตร วิสัยทัศน ใหบ รกิ ารวชิ าการทางวทิ ยาศาสตรท ม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพตามมาตรฐานสากล พันธกิจ เปนองคกรภาครัฐท่ีเตบิ โตดวยความมุงมั่นสูการเปน องคกรที่มีสมรรถนะสูงและย่ังยืนจากการใหบ ริการทดสอบ ดว ยเครอ่ื งมอื วจิ ัยทางวทิ ยาศาสตร คา นยิ ม Service Mind จติ บรกิ าร Happiness อยรู ว มกนั อยา งมคี วามสขุ Innovation สรา งสรรคน วตั กรรม Professionalism เชยี่ วชาญอยา งมืออาชีพ วฒั นธรรมองคกร มงุ เนน คณุ ภาพ ยดึ ถือภราดรภาพ พรอ มรับการประเมนิ บุคลากร อัตรากําลงั ปจจบุ ันของศนู ยเครื่องมือวทิ ยาศาสตร ประกอบดวย ผบู รหิ ารสงู สดุ 3 ทา น คือ ผูอาํ นวยการ ศูนยเ ครอื่ งมือวิทยาศาสตร และรองผอู ํานวยการศูนยเ คร่ืองมอื วิทยาศาสตร 2 ทา น บุคลากรมีทั้งส้ิน 40 อตั รา (ขอมูล ณ วันที่ 3 มีนาคม 2557) โดยแบงตามฝายตางๆ ได ดงั นี้ สาํ นกั งานเลขานกุ าร 10 คน ฝา ยบรกิ ารเครอื่ งมอื วจิ ยั ทางวทิ ยาศาสตร 24 คน ฝา ยซอ มบาํ รุงรักษาและพฒั นาเครอ่ื งมอื 6 คน รวม 40 คน 114 | สวันงแขหงลคาณุ นคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014
หลักการและเหตุผล ภายในองคก รประกอบดว ยสิ่งสาํ คญั อยู 2 สงิ่ คอื คนและงาน โดยคนจะเปนทรัพยากรพื้นฐานในการขบั เคลอ่ื น งานที่สําคัญเพือ่ ทาํ ใหเ กดิ ประสทิ ธิภาพ ประสิทธผิ ลของงาน และนาํ มาซึง่ ความสาํ เรจ็ ตามเปา หมาย เหตุเพราะวา การ ทํางานตา งๆ ตองมีการปรบั ปรุงอยเู สมอ ตามแนวคิดทว่ี า “วิธกี ารทาํ งานในวนั นี้ยังไมใ ชวธิ กี ารทํางานที่ดีทส่ี ุดและการ ปรบั ปรุงไมมีทส่ี ้ินสุด” การปรับปรุงงานอยางตอเน่ืองมีหลักการที่นยิ มนาํ มาใชกนั และไดผ ลเปนอยางดีน่ันคอื หลักการ Kaizen ซึ่งคําวา Kaizen นน้ั เปน คําศพั ทภ าษาญป่ี นุ Kai แปลวา การเปลย่ี นแปลง Zen แปลวา ดี ดงั น้ัน Kaizen จึงแปลวา การเปล่ยี นแปลง ปรบั ปรงุ ใหด ีขนึ้ อยางตอเนือ่ ง (Continuous Improvement) นยิ มนาํ มาใชเปนวธิ ีการพฒั นา ปรบั ปรงุ กระบวนการผลติ หรอื กระบวนการทาํ งานทด่ี ขี น้ึ ในลักษณะของการปรบั ปรงุ แบบตอ เนอ่ื งไมม ที สี่ ิ้นสดุ หลักการ Kaizen คือ การใหบคุ ลากรพจิ ารณาปญหาเพ่อี ใหเ กดิ แนวคิด จนนําไปสูการหามาตรการนาํ เสนอ ปรับปรุงกระบวนการทาํ งานของตนเองโดยไมติดกับดักของกรอบความคิดแบบเดิมๆ โดยเร่ิมจากการเปล่ียนแปลง ทลี ะเล็กทลี ะนอ ยไปสูการปรบั ปรุงอยา งตอ เนอ่ื ง จากหลกั การของ Kaizen ดังกลา ว ศนู ยเ คร่อื งมอื วทิ ยาศาสตรซง่ึ เปนหนวยงานทีใ่ หบริการทางวิชาการ มกี าร ดําเนนิ งานภายใตร ะบบการบรหิ ารงานคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 9001 : 2008 และ ISO 17025 : 2005 มงุ เนน บุคลากรเปนสาํ คญั และเช่ือวา บคุ ลากรทกุ คนเปน ผูมีศกั ยภาพและมคี วามคดิ สรา งสรรค จึงไดน ําหลกั การของ Kaizen มาใชในการดาํ เนินงานเพื่อเปดโอกาสใหบุคลากรไดแสดงออกซึ่งความคิดเกี่ยวกับการปรับปรุงพัฒนางานท่ีตนเองได ปฏบิ ัติอยหู รือที่เกีย่ วขอ ง เปน การระดมสมองเพือ่ คนหาวิธกี ารทาํ งานและวิธกี ารแกไ ขปญ หาทีด่ กี วาวิธีในปจ จบุ ัน อันจะ กอ ใหเ กดิ ประโยชนแกอ งคกรโดยสามารถลดกระบวนการทาํ งานทส่ี ูญเปลา ลดการสน้ิ เปลืองงบประมาณ และเสริมสราง ศกั ยภาพขององคก รสง ผลใหอ งคก รเจริญเติบโตอยา งยั่งยนื ตอ ไป วัตถุประสงคของโครงการ 1. เพอื่ สง เสรมิ ใหบ คุ ลากรมคี วามมนั่ ใจในศกั ยภาพ ความรู ความสามารถ จากการนําเสนอการปรับปรงุ งานดว ย ตนเอง 2. เพือ่ ลดความสญู เสียในกระบวนการดําเนนิ งานสวนตา งๆ ท้ังเรอ่ื งการใชทรัพยากร เวลา ตน ทุน สง ผลใหก าร บรกิ ารมคี ุณภาพ และรวดเร็ว ตอบสนองความพึงพอใจของลกู คาไดอ ยา งตอ เนอ่ื ง 3. เพอ่ื สรางบรรยากาศทีด่ ใี นองคก ร สรางความสามัคคี สรา งทีมทํางานทม่ี ปี ระสิทธิภาพ เกดิ การแลกเปล่ยี น เรยี นรใู นองคก รสง ผลใหเ กิดเปน องคก รแหง การเรยี นรู ตัวชี้วัดและเปาหมายของโครงการ ศนู ยเ ครอ่ื งมอื วทิ ยาศาสตรไ ดก ําหนดตวั ชวี้ ดั และเปาหมายของการจดั กจิ กรรม Kaizen Day ดงั น้ี - จาํ นวนกจิ กรรม Kaizen เปาหมาย 12 เร่ือง/ป - รอยละความพงึ พอใจจากการจดั กจิ กรรม Kaizen Day เปา หมาย > 85% แผนงาน (Approach)/งบประมาณในการจดั โครงการ-กิจกรรม ศูนยเครื่องมือวิทยาศาสตร เปนหนวยงานระดับคณะ ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ มีระบบการบรหิ ารคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 9001 : 2008 และ ISO/IEC 17025 : 2005 เพอ่ื ตอบสนองตอ ความตอ งการของลูกคา อนั ไดแก นักศกึ ษา อาจารย นักวิจัย รวมถงึ บรษิ ทั เอกชนตางๆ ในกระบวนการพัฒนาองคกรน้ัน สงขลาวนันแคหรง คินณุ ทครา | 115 A PSU DAY OF PRIDE 2014
ศูนยเครอ่ื งมอื วทิ ยาศาสตรใชท ั้ง Knowledge Management (KM) และ Kaizen เพอ่ื ปรบั ปรงุ และพฒั นากระบวนการ ภายใน เพมิ่ พนู ศกั ยภาพในการทํางานของบคุ ลากร เกดิ การพฒั นาอยา งตอ เนอื่ ง ศนู ยเ ครือ่ งมือวิทยาศาสตรไ ดน ําเอา Kaizen มาใชใ นการดําเนนิ งานขององคกร ตั้งแตป พ.ศ. 2550 โดยได แตงต้งั ทีมท่ีรบั ผิดชอบเพือ่ ศึกษาขอมูลและใหความรูในเรือ่ งของ Kaizen แกบุคลากร คือ ทีม Zero defect ซึ่งใน ชวงแรกทเี่ รมิ่ ดาํ เนนิ การนนั้ ไดมกี ารนําเอาวทิ ยากรจากภายนอกมาใหค วามรใู นเรือ่ งของการทาํ Kaizen และเรม่ิ จากการ ใหบ ุคลากรเขียนเปนขอ เสนอแนะในการปรบั ปรุงพฒั นางาน ตอ มาเพมิ่ เติมเปนการเปดเวที Kaizen Day ใหบคุ ลากร รวมทีมกนั ตามความสมคั รใจและตามความเหมาะสมรว มนําเสนอ Kaizen ของตนเอง มีการมอบรางวัลตอบแทนแกทีม ทีม่ ผี ลงาน Kaizen ยอดเยยี่ ม เพอ่ื เปน ขวญั และกําลังใจในการปรับปรงุ พฒั นางานอยางตอ เนอื่ ง จากการดาํ เนินกจิ กรรม Kaizen มาอยางยาวนาน ทําใหศนู ยเคร่อื งมอื วทิ ยาศาสตรไ ดส งผลงานเขา รวมกจิ กรรม กบั สมาคมสงเสรมิ เทคโนโลยไี ทย-ญ่ีปนุ ในงาน Thailand Kaizen Award และเรม่ิ สงผลงานเขาประกวดในป พ.ศ. 2556 จาํ นวนสองผลงานคือ Lab booking และระบบสารสนเทศเพ่ือบรกิ ารทดสอบตวั อยาง ซ่ึงผานรอบเอกสารเขาสูรอบ คัดเลือกท้ังสองผลงาน และมีหน่ึงผลงานที่สามารถผานเขาสูรอบชิงชนะเลิศคือ “ระบบสารสนเทศเพื่อบริการทดสอบ ตวั อยา ง” จนไดร ับรางวัล Certificate จากผเู ขารว มสงผลงานท้งั ประเทศไมต่ํากวา 100 ผลงาน แมว าศนู ยเ คร่ืองมอื วทิ ยาศาสตรจะประสบความสําเร็จในการดาํ เนนิ กิจกรรม Kaizen ไปบางแลวนัน้ แตกย็ ังมี แนวคดิ ในการทจ่ี ะปลูกฝง การดาํ เนินงานโดยใช Kaizen ใหม อี ยอู ยางตอ เนอ่ื งในองคกร โดยมกี ารนาํ เอากจิ กรรม Kaizen Day ซึง่ เปน การประกวดผลงาน Kaizen ภายในองคกร เขา มาไวในแผนการดาํ เนินงานของทีม Zero defect โดยกาํ หนด ใหม ีการดาํ เนนิ การ 2 ครง้ั /ป ซึ่งจะดําเนนิ การในชวงเดือนมกราคมและมิถนุ ายนของทุกป มีการตดิ ตามผลจากการ นาํ เสนอแนวคดิ Kaizen ของบคุ ลากรทไ่ี ดน ําเสนอไปแลว งบประมาณในการจดั กิจกรรม Kaizen Day ป 2556 ของทางศนู ยเครื่องมือวทิ ยาศาสตร ไดรับการจดั สรรไวท ่ี 250,000 บาท เพอื่ ใชเ ปน คา ดาํ เนนิ การตา งๆ และเปน รางวลั ใหแ กบ คุ ลากรทมี่ ีผลงานในการนําเสนอทนี่ า สนใจ กระบวนการ (Process) หรอื การปฏิบตั ิงานตามแผน (Deployment) การดําเนนิ กจิ กรรมในปง บประมาณ 2556 นนั้ จะใหบ คุ ลากรรวมกลมุ กนั ไมเ กนิ 3 คน นาํ เสนอผลงานกลมุ ละไมเ กนิ 5 นาที โดยคะแนนทไ่ี ดจ ะมาจากการใหค ะแนนของบคุ ลากรและผบู รหิ าร ซงึ่ จะมรี างวลั ใหก บั บคุ ลากรทไี่ ดค ะแนนสงู สดุ สามลาํ ดบั และรางวลั ลลี าโดนใจอีก 1 รางวลั เพอ่ื สรา งขวญั และกาํ ลงั ใจในการสรา งสรรคผ ลงาน เมอ่ื ดาํ เนินการแลวเสร็จ ทมี Zero defect ไดกําหนดใหมกี ารเขยี นบนั ทกึ ปรบั ปรุงพัฒนางานเพอื่ เปนการติดตาม ผลการดาํ เนนิ การตามทไ่ี ดมีการนาํ เสนอไว ซง่ึ จะมกี ารกาํ หนดวันทด่ี าํ เนินการแลว เสรจ็ เพอื่ ใหส ามารถตดิ ตามการดําเนิน งานได 116 | วสนั งแขหงลคาณุ นคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014
ตารางท่ี 1 ขน้ั ตอนและรายละเอยี ดการดําเนนิ กจิ กรรม Kaizen ข้ันตอนการดําเนินกิจกรรม รายละเอียด 1. แตงตั้งผูรับผดิ ชอบ ดาํ เนนิ การแตง ตง้ั กอนเรมิ่ ปง บประมาณใหม 2. ศกึ ษาหาความรเู กย่ี วกับ Kaizen และมกี ารทบทวนสมาชกิ ทกุ ๆ ป ใชช อ งทางทห่ี ลากหลาย เชน ฝก อบรมภายนอก ผมู ีความรภู ายใน 3. กาํ หนดแผนปฏบิ ตั กิ ารและถา ยทอดความรู และแหลง ความรตู า งๆ แกบ คุ ลากร กาํ หนดโครงการ/กจิ กรรม แผนการดาํ เนนิ งาน ซงึ่ เปน โครงการ ทสี่ นับสนนุ แผนกลยุทธป ระจําป 4. สอ่ื สารการจดั กจิ กรรม ประชาสมั พันธกจิ กรรมผา นแผนกลยทุ ธป ระจําปแ ละสอื่ ตา งๆ ไปยงั บุคลากร 5. สรา งแรงจงู ใจในการเขา รว มกจิ กรรม ใหร างวลั คะแนนโหวตสงู สดุ 3 ลาํ ดบั แรก รางวลั ลลี าโดนใจ จัดเปน ผลการปฏบิ ัตงิ านในทุกรอบ 6 เดอื น 6. นําเสนอกจิ กรรม Kaizen นําเสนอ 2 ครงั้ /ป ในชว งเดอื นมกราคมและมถิ ุนายน 7. นาํ แนวคดิ ไปสกู ารปฏบิ ตั ิ ดาํ เนนิ กจิ กรรม Kaizen ทนี่ าํ เสนอ ตามแผนทว่ี างไว 8. ตดิ ตามและควบคมุ ตดิ ตามและควบคมุ แตล ะกจิ กรรมทกุ ๆ เดอื น เพอ่ื ใหแ ลว เสรจ็ ภายใน 3 เดอื น กอ นนาํ เสนอรอบใหม 9. ประเมนิ ผลและทบทวน ประเมนิ ผลตามวตั ถุประสงคข องแตล ะกจิ กรรม เปรยี บเทยี บผล การดําเนนิ งานกอ นและหลงั ทบทวนผลการจดั กจิ กรรม 10. ปรบั แผนการทํางาน หากมอี ปุ สรรคในการดาํ เนนิ งานทาํ ใหไ มเ ปน ไปตามแผน จะปรบั แผนใหมโ ดยเลอื่ นใหเ รว็ ขน้ึ หรอื ชา ลง และนําขอ มลู ทไ่ี มเ ปนไปตาม 11. แลกเปลยี่ นเรยี นรู เปา ประสงคม าดาํ เนนิ การเพม่ิ เตมิ ในการวางแผนครง้ั ตอไป นําเสนอผลการดาํ เนินงานของแตละกิจกรรมทง้ั 2 รอบ ผานกิจกรรม KM Dialogue กอ นสนิ้ ปง บประมาณ สงขลาวนันแคหรงคินณุ ทครา | 117 A PSU DAY OF PRIDE 2014
118 | วสนังแขหงลคาณุ นคคารินทร ตารางท่ี 2 ชว งระยะเวลาของข้ันตอนการดําเนินกจิ กรรม Kaizen ประจาํ ปงบประมาณ A PSU DAY OF PRIDE 2014 พ ขนั้ ตอนการดาํ เนินกิจกรรม ก.ย. ต 1. แตงตั้งทมี Zero Defect รบั ผิดชอบ 2. ศกึ ษาหาความรเู กี่ยวกับ Kaizen จากแหลงตางๆ 3. กําหนดแผนปฏิบัติการและถายทอดความรูแกบุคลากร 4. ส่ือสารการจัดกิจกรรม 5. สรางแรงจูงใจในการเขารวมกิจกรรม 6. นาํ เสนอกิจกรรม Kaizen 7. นําแนวคิดไปสูการปฏิบัติ 8. ติดตามและควบคุม 9. ประเมินผลและทบทวน 10. ปรับแผนการทาํ งาน 11. แลกเปล่ียนเรียนรู
ณ 2556 ธ.ค. ม.ค. ก.พ. พ.ศ. 2556 ก.ค. ส.ค. ก.ย. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. พ.ศ. 2555 ต.ค. พ.ย.
ศนู ยเครื่องมือวิทยาศาสตรม ีกระบวนการหรอื ข้ันตอนการดําเนินกิจกรรม Kaizen เพื่อใหเ กดิ การพฒั นาอยา ง ตอ เนื่องมกี ารปรับปรงุ อยา งไมส น้ิ สุด และเกิดประสทิ ธภิ าพในการดําเนนิ งาน ซึง่ จะเปน ไปตามกระบวนการ PDCA ดงั รูป รูปที่ 1 กระบวนการ PDCA ของกิจกรรม Kaizen รูปที่ 2 ภาพการจดั กจิ กรรม Kaizen ปง บประมาณ 2556 นอกจากน้ีไดมีการสง ผลงานเขา รว มประกวดกับสมาคมสงเสริมเทคโนโลยีไทย-ญีป่ นุ ในงาน Thailand Kaizen Award 2013 จํานวนสองผลงานคือ Lab booking และระบบสารสนเทศเพ่อื บริการทดสอบตัวอยาง ผลปรากฏวา ผลงานทีส่ ามารถผา นเขา สรู อบชิงชนะเลิศคือ “ระบบสารสนเทศเพอื่ บรกิ ารทดสอบตวั อยา ง” และไดร บั รางวลั Certificate สงขลาวนนั แคหรง คินุณทครา | 119 A PSU DAY OF PRIDE 2014
รปู ท่ี 3 ภาพบรรยากาศการเขา รว มแขง ขนั Thailand Kaizen Award ปงบประมาณ 2556 การประเมินทบทวนผลการดําเนนิ งาน (Assessment & Review) การดําเนนิ กจิ กรรม Kaizen Day ของทางศนู ยเคร่ืองมือวทิ ยาศาสตรน้ัน มีการขับเคลื่อนกจิ กรรมโดยทีม Zero Defect ซง่ึ วางแผนการดําเนินกิจกรรมไว 2 ครง้ั /ป ไดม กี ารตดิ ตามประเมินผล ดว ยการใชแบบสอบถามความ พงึ พอใจตอ การจัดกิจกรรม Kaizen Day มกี ารเก็บขอมลู ในสวนของจาํ นวนกจิ กรรม Kaizen ซึง่ กําหนดไวว าไมตาํ่ กวา 12 เรอื่ ง/ป นอกจากนน้ั ยังมกี ารติดตามผลจากการทีแ่ ตละทมี ไดน าํ เสนอดวย โดยจะมีการใหผูท ่ีนาํ เสนอกําหนดวันที่ ดําเนนิ การแลว เสร็จ และเมอื่ สน้ิ สดุ กจิ กรรมในแตล ะปจะมีการทบทวนผลการดําเนนิ งานเพอ่ื วางแผนการดาํ เนนิ งานในครง้ั ตอไป แผนหรือแนวทางการพัฒนาคุณภาพอยางตอเนื่องในอนาคต ศนู ยเ ครอื่ งมอื วทิ ยาศาสตรไ ดม กี ารวางแนวทางในการพัฒนาคุณภาพอยา งตอ เนอื่ งดงั ตอ ไปนี้ 1. มีแนวทางในการกําหนดกิจกรรม Kaizen Day ใหเ ปนงานประจําของศูนยเคร่ืองมือวทิ ยาศาสตร โดยยังคง กาํ หนดใหม กี ารจดั กจิ กรรม 2 ครง้ั /ป เพอ่ื เปนการกระตนุ ใหเ กิดการพฒั นาอยางตอ เนอื่ ง 2. มีการจูงใจโดยการใหรางวลั ไมว าจะเปนในสว นของเงนิ รางวัลหรอื เกียรตบิ ัตร เพ่ือกระตนุ ใหเกดิ การสราง แนวคดิ ใหมๆ ในการทํางาน 3. ผลงานท่ีนาสนใจกจ็ ะผลักดนั เขาสกู ารประกวดผลงานระดบั ประเทศในงาน Thailand Kaizen Award เพอ่ื สรา งความภาคภมู ใิ จในผลงานของตนเอง 4. มกี ารประเมินผลความพึงพอใจจากการจัดกจิ กรรม และมีการทบทวนการปฏิบัตงิ านเพ่ือการปรับปรุงและ พัฒนาอยา งตอเนอื่ ง 5. มีแนวทางใหบคุ ลากรของศนู ยเคร่ืองมอื วิทยาศาสตรเปน วทิ ยากรอบรมเรอ่ื งของ Kaizen ใหแกห นวยงาน ภายนอก 120 | สวันงแขหงลคาณุ นคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014
ตารางท่ี 3 ตวั อยางหวั ขอของกจิ กรรม Kaizen Day ในป 2556 หวั ขอกจิ กรรม ประเด็นการปรบั ปรงุ 1. การจดั การงานซอ มเสรจ็ - จดั วางเครอื่ งซอ มใหเปน ระเบียบ ดาํ เนนิ การสง มอบเครอื่ งมือ ทชี่ ดั เจน เพอ่ื ใหส ามารถหาเครอ่ื งมอื ไดอ ยา งรวดเรว็ 2. การจัดเกบ็ ตวั อยา งงานสรา งภาพ - เปลี่ยนแทน วาง stub จากฟองน้าํ เปน Acrylic เพ่อื ความแขง็ แรง 3. ลดผดิ ทนทาน 4. ลงเลขกอ นกลบั - ใชโ ปรแกรมภาระงานเพอื่ ลดความผดิ พลาดในการกรอกชอ่ื ทอ่ี ยลู กู คา 5. Saponification - ใหล กู คาลงเลขทใ่ี บเสร็จรบั เงนิ และจาํ นวนเงินใน Log book 6. การนาํ ตวั อยา งทเี่ หลอื จากการทดสอบ ใชเ ครอื่ งมอื ฯ เพอื่ ปอ งกนั การลมื ชําระเงนิ เมอื่ ใชเ ครือ่ งแลว เสรจ็ มาทวนสอบเครือ่ ง DMTA - เพ่ิมชุด Reflux ใน water bath ใหม ากขึ้น และใชส ายยาง 7. การระเหยตวั อยา งนํ้า ซลิ โิ คนแทนสายยางธรรมดา เพอื่ ทาํ ใหก ารทดสอบ Saponification สะดวก รวดเร็วยง่ิ ขน้ึ 8. TGA high speed cooling 9. Q-Blog - ปรบั ปรงุ ในเรอื่ งของการทวนสอบตวั อยา งเพอ่ื เพมิ่ ความ 10. NMR หลากหลายและปรมิ าณของตวั อยา งทวนสอบ 11. Training for using Equipment - ใช water bath ที่ 100 องศา ระเหยนาํ้ ตวั อยา ง ทาํ ใหร ะเหยตัวอยา งไดเ รว็ ขนึ้ 12. เครอ่ื งเกา ...อพั เดทใหม - ลดระยะเวลาการ Cooling ตวั อยา งโดยเพม่ิ พดั ลมดดู อากาศ 13. การจดั การใบรบั รองการฝก อบรมใช - จดั ทําโปรแกรมใหค ะแนน Q-blog แทนการใชโ ปรแกรม Excel เครือ่ งมือฯ ใหล ูกคาอยางมีประสทิ ธภิ าพ - เปลี่ยนจากถงั Liquid Nitrogen 180 ลิตร มาเปน 50 ลติ ร 14. หอ งเภตรา โดยเพม่ิ ลอ ลากเพ่อื ใหส ะดวกตอ การเติม Liquid Nitrogen - นําระบบสารสนเทศมาชว ยสนบั สนนุ การใหบ รกิ าร โดยจดั ทาํ 15. Cleaning server 2 โปรแกรมสําหรบั จองอบรมการใชเ ครอ่ื งมอื โดยเฉพาะ - เปล่ยี น โดยซื้อ GPIB แบบ PCI จาก Ebay แทนแบบ ISA ซงึ่ ไมส ามารถใชก บั คอมพวิ เตอรร นุ ใหมไ ด สามารถลดคา ใชจ า ย จากการซอื้ GPIB ใหมจาก Agilent - แนบใบรับรองการฝกอบรมกบั บตั รประชาชนของลกู คา เพอ่ื ปอ งกนั การลมื รบั ใบรับรองการฝก อบรมของลูกคา - จดั ทาํ คมู อื การปฏิบตั งิ านใหช ดั เจน และสอื่ สารใหม คี วามเขา ใจ ตรงกัน - จดั ระเบยี บโฟลเดอรแ ละไฟลใ น Server 2 sec. save ใหเปน ระเบียบเรยี บรอ ยเพอื่ ใหส ะดวกตอ การคน หาขอ มลู สงขลาวนันแคหรง คินุณทครา | 121 A PSU DAY OF PRIDE 2014
จุดแขง็ (Strength) หรือสิง่ ท่ีทาํ ไดดีในประเดน็ ทนี่ าํ เสนอ 1. บคุ ลากรเกิดความคิดเชิงบวก มีแนวคิดในการทจ่ี ะปรบั ปรุงและพัฒนางานอยูตลอดเวลา เน่อื งจากไดมีการ ดาํ เนินกจิ กรรมอยางตอเน่ืองจนเกิดเปนวัฒนธรรมขององคกร ทาํ ใหบคุ ลากรมีความกลาท่ีจะเสนอความคดิ เหน็ และเกดิ การสรา งสรรคแ นวคดิ ใหมๆ ซง่ึ เปน การเพมิ่ ขดี ความสามารถของบคุ ลากร 2. จากการนําแนวคดิ ของ Kaizen มาใชใ นองคกร ทําใหอ งคกรสามารถลดความสญู เสียในกระบวนการดําเนิน งานสว นตางๆ ทง้ั เรอ่ื งการใชท รัพยากร เวลา ตน ทุน สง ผลใหการบริการมีคุณภาพ รวดเรว็ ตอบสนองความพงึ พอใจ ของลกู คา ไดอ ยา งตอเนอ่ื ง และเปนองคกรทมี่ คี ณุ ภาพสามารถเติบโตไดอยา งย่ังยนื 3. เพ่ือสรา งบรรยากาศท่ีดีในองคกร สรางความสามัคคี สรา งทีมทาํ งานทม่ี ีประสทิ ธิภาพ เกดิ การแลกเปลยี่ น เรยี นรใู นองคก รสง ผลใหเ กิดเปน องคก รแหง การเรยี นรู กลยทุ ธหรือปจจยั ที่นาํ ไปสคู วามสาํ เร็จ ศนู ยเ ครอ่ื งมอื วทิ ยาศาสตรมกี ระบวนการในการนาํ หลกั การ Kaizen มาใชใ หส ําเรจ็ ดงั น้ี 1. ผบู รหิ ารใหความสําคัญกบั บุคลากรทุกคน ทกุ ระดบั ช้ัน และทุกตําแหนงงาน มกี ารมุง เปา ไปท่กี ารเสริมสรา ง ศกั ยภาพสว นบคุ คล เพอื่ บรหิ ารจดั การกบั ความแปรปรวนรายวนั ทเี่ กดิ ขน้ึ ในกระบวนการทาํ งาน 2. ผูบ รหิ ารสนบั สนุนกจิ กรรม Kaizen เพื่อเปด โอกาสใหบคุ ลากรไดแ สดงความคดิ เหน็ และความคดิ สรา งสรรค ในการปรับปรงุ พฒั นางาน โดยการจัดเวทีประกวด ใหรางวลั และยกยอ งชมเชย รวมทัง้ ประเมนิ เปนผลการปฏิบัติงานใน ทกุ รอบ 6 เดอื น 3. มผี ูร บั ผิดชอบโดยตรงคอื ทมี Zero Defect ทร่ี ับผิดชอบในการวางแผน การจัดกจิ กรรมหรือโครงการ รวมทง้ั ตดิ ตามผลการดาํ เนนิ กิจกรรม Kaizen มฝี ายประกนั คุณภาพคอยควบคมุ การดาํ เนินงาน และตดิ ตามผลการดาํ เนิน กจิ กรรมหรอื โครงการตา ง ๆ 4. บุคลากรทุกคนใหความสนใจในการเขารวมกิจกรรม เนื่องจากบุคลากรสามารถแสดงความคิดเห็นในการ สรา งสรรคผ ลงานไดอ ยา งอสิ ระ และสามารถนาํ แนวคดิ ดังกลา วมาปรบั ปรุงงานทต่ี นเองรบั ผดิ ชอบ 5. ศนู ยเ ครอ่ื งมือวิทยาศาสตรม วี ฒั นธรรมการรว มกจิ กรรมแบบ 100% มาอยา งตอ เนอื่ ง ตงั้ แตผ บู รหิ ารระดบั สงู ลงมาในทุกระดบั และมวี ัฒนธรรมภราดรภาพของความเปน พน่ี อ ง จงึ ทําใหเ กดิ การทาํ Kaizen ขา มฝา ยไดโ ดยงา ย ผลการดาํ เนนิ งาน (Result)/(เปรียบเทยี บ 3 ป) และ/หรือเปรยี บเทยี บกับหนวยงานภายใน/ภายนอก จากการที่ผบู ริหารของศูนยเ คร่ืองมือวทิ ยาศาสตร มแี นวคดิ ในเร่อื งของการนาํ เอา Kaizen เขามาเปนเคร่อื งมอื ทใ่ี ชใ นการกระตนุ ใหบ ุคลากรตระหนกั ถงึ ปญหาอยเู สมอ พรอมที่จะคิดหาทางแกไขปญ หา ไมยึดตดิ กับกรอบความคดิ แบบ เดิมๆ อีกทงั้ ผบู ริหารรับฟง ในทกุ แนวคิดของบคุ ลากร สง ผลใหบคุ ลากรมีความมน่ั ใจในศกั ยภาพและความรูค วามสามารถ จะเหน็ ไดจ ากการประเมนิ ขดี ความสามารถของบคุ ลากรทมี่ เี ปอรเ ซ็นตเ พมิ่ ขน้ึ อยา งตอ เนอ่ื ง การนํา Kaizen เขามาใชใ นองคก ร ไมเ พียงแตจ ะพัฒนาขีดความสามารถของบคุ ลากรเทานั้น การใหบรกิ ารของ ศนู ยเ คร่ืองมอื วทิ ยาศาสตรม ีความรวดเร็วเพิม่ มากข้ึน เนือ่ งจากมกี ารลดขนั้ ตอน กระบวนการดาํ เนนิ งานสวนตางๆ และ เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการทํางาน สง ผลใหล กู คา ไดร บั บรกิ ารทรี่ วดเรว็ 122 | วสันงแขหงลคาณุ นคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014
รูปที่ 4 ผลการประเมินขดี ความสามารถของบคุ ลากรป 2554-2556 รปู ท่ี 5 ผลการประเมนิ ความรวดเรว็ ในการใหบ รกิ าร 2554-2556 นอกจากน้ันการจัดกจิ กรรม Kaizen Day ยังเปนการสรางบรรยากาศทีด่ ใี นศนู ยเ ครอื่ งมือวิทยาศาสตร สราง ความผกู พนั ความสามคั คี และมกี ารสรางทมี เพ่อื ดาํ เนินกิจกรรม Kaizen เกิดเปน บรรยากาศของการแลกเปลย่ี นเรียนรู ซ่งึ ในการนาํ เสนอผลงานนั้น แตล ะทมี ก็จะนาํ เสนอในสวนของมลู เหตจุ ูงใจในการทํา Kaizen วัตถปุ ระสงค และรอบในการ ดําเนนิ การลด เลกิ หรือเปลย่ี น พรอ มท้งั สรุปผลจากการทาํ กจิ กรรม Kaizen ของแตละทีม พรอมรบั ฟงขอเสนอแนะจาก คณะกรรมการ ซงึ่ กระบวนการทกี่ ลา วมานนั้ เปน กระบวนการทท่ี าํ ใหเ กดิ การแลกเปลยี่ นเรียนรใู นองคก รอยา งดยี ง่ิ กิจกรรม Kaizen Day ของทางศนู ยเครอื่ งมือวิทยาศาสตร เนนการมีสวนรวมของบุคลากร บรรยากาศในการ นาํ เสนอจะเปนแบบสบายๆ เพื่อความสนุกสนานในการนําเสนอ โดยมีรางวัลเปนสว นชวยในการกระตุนใหบุคลากร ตองการมสี วนรวมซงึ่ กจิ กรรม Kaizen ของแตละปไดกําหนดไวว า จะตองมีกิจกรรม Kaizen ไมนอยกวา 12 เร่อื ง/ป ซึง่ ในปงบประมาณ 2556 มบี คุ ลากรสงผลงานเขา รวมการแขงขันทัง้ ส้นิ 16 ผลงาน ซ่ึงมจี ํานวนผลงานมากกวาทไ่ี ด ต้ังเปา หมายไว และจากการประเมินความพึงพอใจของการเขารว มกิจกรรม Kaizen Day พบวา มีความพึงพอใจเพิม่ ขน้ึ อยางตอเนอ่ื ง รปู ที่ 6 ผลการประเมนิ การแลกเปลีย่ นเรยี นรใู นองคกร 2554-2556 | 123 สงขลาวนนั แคหรงคินุณทครา A PSU DAY OF PRIDE 2014
รูปที่ 7 ผลการประเมนิ ความพึงพอใจจากการจดั กจิ กรรม Kaizen Day ป 2554-2556 บทสรุป ศนู ยเครอื่ งมอื วทิ ยาศาสตรใ หค วามสําคญั กบั การพัฒนาบคุ ลากรเปน อยา งมาก เนอื่ งจากองคกรจะกา วหนา หรอื ไม ข้ึนอยูกับความรวมมอื รว มใจและความสามารถของบุคลากร ซึ่งผบู รหิ ารของศูนยเครื่องมอื วทิ ยาศาสตรมองเห็นความ สาํ คญั ในเรื่องของการพัฒนาบุคลากรใหมีศกั ยภาพ จึงไดจัดต้ังทีม Zero Defect เพื่อรบั ผิดชอบการดําเนนิ กจิ กรรม Kaizen การทํา Kaizen เปนแนวคิดทางการบริหารงานของประเทศญ่ีปุนทีไ่ ดรับการยอมรับวาจะนาํ มาซึ่งการปรบั ปรงุ ทุกดา นใหดีขึน้ อยา งตอเน่อื งตลอดเวลา ไมม ที สี่ น้ิ สุด เปนการปรับปรุงการเปล่ยี นแปลงวธิ ีการคิด หรอื การทาํ งานแบบ ทีละเลก็ ละนอ ยในสิง่ ใกลต ัวทบ่ี คุ ลากรสามารถทาํ ไดด ว ยตนเอง เปนการพฒั นาการทาํ งานของบคุ ลากรใหร จู กั คิด วางแผน แกปญหาของตนเองแทนการรอฟงคําสั่งจากหัวหนา บุคลากรสรางผลงานของตนเองทาํ ใหเกิดการสรา งทีมงานที่มี ประสิทธิภาพ อนั จะนาํ มาซง่ึ การสรา งบคุ ลากรทมี่ ีคณุ ภาพอยา งยงั่ ยนื จากความสาํ คญั ของการนําหลกั การ Kaizen มาใชใ นการดําเนนิ งาน ศูนยเ ครอ่ื งมอื วทิ ยาศาสตรม ีแนวทางในการ ทีจ่ ะพฒั นาบุคลากรและองคก รอยา งตอเนอื่ ง ไมเพียงแคด ําเนินกจิ กรรม Kaizen ในองคก ร และพฒั นาผลงานไปสูการ แขง ขนั ระดบั ประเทศเทา นั้น แตศ ูนยเคร่ืองมอื วิทยาศาสตรมีความมุงม่ันทจ่ี ะใหแนวคิด ลด เลิก เปล่ียน ของ Kaizen เขาไปสูจิตสาํ นึกในการทาํ งานของบุคลากรท่ีจะสรางสรรคผลงานจากการดําเนินงานของตนเองในแนวทางใหมๆ จน สามารถพฒั นาตนเอง และนาํ ไปสกู ารพัฒนาองคกรอยางยงั่ ยนื ตอ ไป เอกสารอางอิง 1. แผนการดําเนนิ งานของทีม Zero Defect 2. รายงาน 3 เดอื นของศูนยเ ครอื่ งมอื วทิ ยาศาสตร 3. แผนกลยทุ ธป ระจาํ ปข องศนู ยเครอื่ งมือวทิ ยาศาสตร 4. แบบประเมนิ ขดี ความสามารถของบคุ ลากรป 2554-2556 5. แบบประเมินความพงึ พอใจของลกู คา ป 2554-2556 6. แบบประเมินความพงึ พอใจจากการจดั กจิ กรรม Kaizen Day 124 | สวนั งแขหงลคาณุ นคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014
ผลงานดเี ดน “ดา นนวตั กรรม” มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร สงขลาวนนั แคหรง คินุณทครา | 125 A PSU DAY OF PRIDE 2014
ระบบงานตรวจการจา งรายการสง่ิ กอ สรา งวทิ ยาเขตปต ตานี กองแผนงาน วิทยาเขตปตตานี คณะทาํ งานพฒั นาแนวปฏิบตั ิที่เปนเลิศ ทป่ี รกึ ษา 1. ผชู วยศาสตราจารยน พพร เหรียญทอง ทปี่ รกึ ษา 2. นายวรี ะพงค อาภารตั นคุณ หวั หนา โครงการ 3. นายสรุ ิยะ มาศจติ ต กรรมการ 4. นายอนนั ต กาเดร กรรมการ 5. นายชนกานต ซีซ่ า ย กรรมการ 6. นายสมบูรณ เภอทอง กรรมการ 7. นายนริ ตั น เพชรเต็ม กรรมการ 8. นายอิศรา วชิ ัยยุทธ กรรมการ 9. นางชนตุ ธณัฐ ขนุ ทอง กรรมการ 10. นายศักดช์ิ ัย นาทอภินนั ท กรรมการและเลขานกุ าร 11. นางสาวกรกมล มณีนวล ขอมูลทั่วไปของกองแผนงาน วิทยาเขตปตตานี วิสยั ทศั น เปนองคกรท่ีมีความเขมแข็ง ทันสมัย และเชื่อถือได เพ่ือเปนกลไกในการสนับสนุนการพัฒนาวิทยาเขตและ มหาวิทยาลยั อยางเหมาะสม สอดคลอ งกับสถานการณ รวมทั้งจดั การและจดั สรรทรพั ยากรอยางมปี ระสทิ ธิภาพและ ประสทิ ธผิ ล พันธกิจ 1. จดั ทาํ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลแผนดานตางๆ ไดแก แผนพฒั นาวิทยาเขต แผนงบประมาณ แผนอตั รากาํ ลงั แผนกายภาพ แผนพฒั นาการศกึ ษาในเขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร วิทยาเขตปตตานี 2. พัฒนาระบบการดาํ เนนิ งานโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื สนับสนุนการดาํ เนินงาน จดั ทําแผน การตดิ ตาม และประเมนิ ผล รวมถงึ การบรหิ ารจดั การ บุคลากร ปงบประมาณ 2557 กองแผนงานวทิ ยาเขตปตตานมี บี ุคลากรทัง้ ส้ิน 16 อัตรา ประกอบดวย - ขา ราชการ 6 อัตรา - พนกั งานมหาวทิ ยาลยั 5 อตั รา - พนกั งานราชการ 2 อัตรา - พนกั งานเงนิ รายได 3 อัตรา งบประมาณ/ภาระงาน ไมใ ชงบประมาณ 126 | วสนั งแขหงลคาุณนคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014
หลักการและเหตุผล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วทิ ยาเขตปตตานี มรี ายการส่ิงกอ สรา งหลายรายการ ทง้ั รายการสิง่ กอสราง 1 ป รายการกอสรา งผูกพัน ซ่ึงทุกรายการจะมีคณะกรรมการตรวจการจางที่ไดรับการแตงต้ังจากวิทยาเขต เพื่อทําหนาท่ี ตรวจการจา งใหก ารกอ สรา งเปน ไปตามสญั ญาทกี่ ําหนด การตรวจการจางของทุกรายการ เลขานุการคณะกรรมการตรวจการจา งตองจดั เตรยี มวาระ/เอกสารประกอบ การประชุมและจัดทาํ รายงานการประชมุ ซ่ึงเปน การดาํ เนนิ การท่ีใชเวลาคอ นขางมาก การบันทกึ รายงานการประชุมใน ปจจุบัน มีการจัดเกบ็ ในแฟมหรือบันทึกในเคร่ืองคอมพิวเตอร ซ่ึงไมส ะดวกในการติดตามและนาํ ขอมูลมาใชประโยชน ทั้งการรายงานผลใหคณะกรรมการติดตามการใชจายงบประมาณรายการสิ่งกอสรางของมหาวิทยาลัย หรือกรณีท่ีมี ขอ พพิ าททอ่ี าจจะเกิดข้ึน ซึง่ จําเปนตอ งใชข อ มลู เหลา นใี้ นการอางองิ กองแผนงานวิทยาเขตปตตานีจึงเห็นความจาํ เปนท่ีจะตองพัฒนาระบบงานตรวจการจางรายการส่ิงกอสราง วิทยาเขตปตตานขี ้ึน เพ่อื ประโยชนในการจดั เก็บขอ มลู การประชุมของคณะกรรมการตรวจการจา งทกุ รายการในรปู แบบ ไฟลอ ิเลก็ ทรอนิกสท ส่ี ามารถใหผบู รหิ ารหรือผเู กีย่ วขอ งสามารถนาํ ไปใชประโยชนไดท ันทวงที การพฒั นาระบบงานตรวจ การจางฯ น้ี เปน การพฒั นาที่สามารถเชอื่ มโยงกบั ระบบการติดตามความกา วหนา ของงานกอ สรา งซึง่ งานพัสดุ วิทยาเขต ปตตานี เปนผูรับผิดชอบดวย นบั วา เปนประโยชนอยางยิ่งตอผูบรหิ ารและผูเกี่ยวของทจ่ี ะสามารถตดิ ตาม ตรวจสอบ รายการกอ สรา งไดใ นทุกมติ ิ วัตถุประสงคของโครงการ 1. วิทยาเขตมีระบบงานตรวจการจางฯ ที่สามารถตรวจสอบตดิ ตามผล ไดสะดวกและเชื่อมโยงกับระบบการ ตดิ ตามงานกอสรา ง 2. ลดเวลา ขน้ั ตอน และคาใชจา ยในการประชมุ ตรวจการจา ง 3. ผบู ริหาร/ผทู เ่ี กยี่ วขอ งสามารถรบั รผู ลการดําเนนิ โครงการกอ สรา งไดท กุ เวลา ทกุ มติ ิ ตัวชี้วัดและเปาหมายของโครงการ 1. งบประมาณทใ่ี ชในการจดั ทาํ เอกสารประกอบการประชุมลดลง 90% 2. เวลาทใ่ี ชใ นกระบวนการประชมุ ลดลง 50% สงขลาวนันแคหรง คินุณทครา | 127 A PSU DAY OF PRIDE 2014
แผนงาน (Approach)/งบประมาณในการจัดโครงการ-กิจกรรม กิจกรรม ปท ี่ดําเนนิ การ (พ.ศ.2555-2557) 55 55 56 56 57 57 1. ประชมุ คณะกรรมการฯ ม.ค.-มิ.ย. ก.ค.-ธ.ค. ม.ค.-ม.ิ ย. ก.ค.-ธ.ค. ม.ค.-ม.ิ ย. ก.ค.-ธ.ค. 2. จดั ทําและพัฒนาระบบ 3. ทดลองใชร ะบบ 4. แกไ ข/ปรับปรุงระบบ 5. รายงานผลการใชง านระบบตอ ผบู รหิ าร 6. จดั ทาํ คูมอื การใชระบบ 7. ประชมุ ผเู กย่ี วขอ งเพอื่ ตดิ ตามผล จากการใชร ะบบ กระบวนการ (Process) หรือการปฏบิ ตั ิงานตามแผน (Deployment) รูปที่ 1 กระบวนการจัดการเอกสารในระบบงานตรวจการจาง ฯ 128 | สวันงแขหงลคาุณนคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014
มิ.ย.56การนําระบบการจัดการและการพัฒนาระบบงานตรวจการจางรายการส่ิงกอสรางวิทยาเขตปตตานีมาบริหาร ก.ค.56จดั การเอกสาร ดงั รปู ที่ 1 เพอื่ ใชใ นการพจิ ารณาการกอ สรา งของคณะกรรมการตรวจการจา งผานเวบ็ ไซตข องมหาวทิ ยาลยั ส.ค.56สงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี โดยนาํ เอกสารจากผูรับจางเขา ระบบประชมุ ในรูปของไฟล PDF ทาํ ใหสามารถจัด ก.ย.56เอกสารตา งๆ เขาระบบประชมุ อยา งสะดวก รวดเรว็ โดยไมต อ งถา ยสาํ เนาเพอ่ื แจกจา ยใหก บั คณะกรรมการตรวจการจา ง ต.ค.56 พ.ย.56การประเมนิ ทบทวนผลการดาํ เนินงาน (Assessment & Review) ธ.ค.56ระบบการทาํ งานทง้ั หมดของระบบงานตรวจการจางฯ ขอ มูลที่ไดจากเว็บเพจ จะสงไปยงั ฐานขอ มูล โดยสามารถ ม.ค.57 ก.พ.57นาํ ขอมลู มาแสดงผล ลบ คน หา แกไข รวมถึงรายงานผล และทาํ การทดสอบการทาํ งานของโปรแกรมทั้งระบบโดยผา น มี.ค.57ทางเว็บเพจ เพอ่ื ตรวจสอบหาขอ ผดิ พลาดตา งๆ พรอมท้ังปรบั ปรุงแกไ ขจนไมพบขอผดิ พลาดและพฒั นาใหมคี วามสะดวก เม.ย.57และนา ใชย ง่ิ ขนึ้ พ.ค.57 แผนหรือแนวทางการพัฒนาคุณภาพอยางตอเนื่องในอนาคต การประเมินความพึงพอใจของผูใชร ะบบงานตรวจการจา งรายการสิ่งกอสรางวทิ ยาเขตปตตานี มขี อเสนอแนะ ดา นตา งๆ ซึ่งจะนํามาพัฒนาระบบใหดียงิ่ ขึน้ จึงไดก าํ หนดแผนการปรับปรงุ ในป พ.ศ. 2556-2557 ดังน้ี รายการพฒั นา 1. เพิ่มสัญลักษณภาพควบคูก ับตวั หนังสือเพื่อความ สะดวกในการใชง าน 2. สรางคูมือการใชงานและเผยแพรในระบบ 3. สรางระบบสง ขอ มลู ผาน e-mail ของผูรบั บริการ เมื่อมกี ารสง เอกสารใหมห รือมกี ารนัดหมาย การประชุม 4. สรางระบบประมวลผลรายงานความกาวหนาของ แตละโครงการ 5. สรางระบบเชื่อมโยงกลองวงจรปดในแตละ โครงการกับระบบงานกอสราง จุดแข็ง (Strength) หรอื สง่ิ ที่ทาํ ไดดีในประเด็นท่ีนาํ เสนอ 1. บคุ ลากรมคี วามรคู วามสามารถในการใชร ะบบเทคโนโลยีสารเทศในการปฏบิ ัตงิ านอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ 2. บุคลากรมีความคิดริเริ่มและกระตือรือรน ในการศึกษาหาความรูเพิ่มเติม เพ่ือนํามาพัฒนาระบบการทํางาน อยางตอเน่ือง 3. ผบู งั คบั บญั ชามคี วามสนใจและสนบั สนนุ ใหม กี ารทํางานโดยใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศทท่ี นั สมยั สงขลาวนันแคหรงคินุณทครา | 129 A PSU DAY OF PRIDE 2014
กลยุทธ หรอื ปจจยั ทนี่ าํ ไปสคู วามสาํ เรจ็ การนาํ ระบบการจดั การและระบบงานตรวจการจางรายการส่ิงกอสรางวิทยาเขตปตตานมี าใชส าํ หรับการประชมุ และรายงานผลความกา วหนา ของแตละโครงการ ตลอดจนเชอื่ มโยงกบั หนว ยงานทเ่ี กยี่ วขอ งเพอ่ื เปน ประโยชนต อ หนว ยงาน องคกร และบุคลากรในวิทยาเขต ไดเขา ถึงและรับทราบโครงการตางๆ ท่เี กดิ ขึ้น ถอื ไดวาเปน การประชาสัมพันธและ รวมกนั ตรวจสอบการดาํ เนนิ งานภายในองคก รเพ่ือลดความเสี่ยงทเ่ี กดิ ขึ้นท้งั ทางตรงและทางออ ม จากการพัฒนาระบบฯ ดงั กลา วสง ผลใหอ งคก รประสบความสาํ เรจ็ ในกระบวนการทํางานดงั นี้ 1. พฒั นาคุณภาพ เปน การบรู ณาการกระบวนการทํางานใหม ีคณุ ภาพมากขนึ้ 2. ลดตนทนุ สามารถลดคา ใชจ า ย ลดเวลาในการทาํ งาน และลดการใชทรัพยากรบุคคล 3. เพม่ิ ผลผลติ สามารถทํางานไดม ากขน้ึ ในขณะทใ่ี ชเ วลาลดลง 4. ลดกระบวนการทํางาน ลดข้ันตอนการทาํ งานใหก ระชับและเรว็ ขนึ้ สามารถปองกัน/ลดความผิดพลาดที่ อาจจะเกดิ ในแตล ะขนั้ ตอน สง ผลใหง านมคี ณุ ภาพ 5. คุณภาพงานเพมิ่ ขนึ้ ผลการดาํ เนนิ งานที่ผานกระบวนการของระบบงานตรวจการจางฯ จะมคี ุณภาพมากขน้ึ น่นั คือ ผูมีสวนเกยี่ วของสามารถดําเนนิ การตรวจงาน ติดตามผลการดําเนนิ งานกอสรา ง ประชุมสรุปผลงานไดทนั ระยะเวลาทกี่ าํ หนดโดยไมต องรอระบบเอกสาร ผลการดําเนนิ งาน (Result)/(เปรยี บเทยี บ 3 ป) และ/หรอื เปรียบเทียบกับหนว ยงานภายใน/ภายนอก ผลจากการพฒั นาระบบงานตรวจการจางรายการสิง่ กอสรางวิทยาเขตปตตานี ต้งั แตวนั ท่ี 1 มกราคม 2555 ถึง 31 มีนาคม 2557 จากการประชุมคณะกรรมการตรวจการจางและคณะกรรมการตรวจและรับมอบงาน (การวา จาง ทีป่ รึกษาควบคมุ งาน) โครงการกอสรางตางๆ ซึ่งผลการดาํ เนินงาน (Result) เปน ดังนี้ 1. การประเมินคาใชจ ายในกระบวนการ ผลการประเมนิ คา ใชจ า ยกอ น/หลงั การใชร ะบบงานตรวจการจา งรายการสง่ิ กอ สรา งวทิ ยาเขตปต ตานี (ตาราง ที่ 1) โดยศกึ ษาจากการประชุมคณะกรรมการตรวจการจางโครงการกอ สรา ง พบวา กอ นใชโปรแกรม คาใชจ าย 1) คา ถา ยสําเนาเอกสารการประชมุ ตอเดือน 2,688 บาท 2) คา แฟม เกบ็ เอกสาร 360 บาท 3) คา ใชเครอื่ งมอื /อปุ กรณอิเล็กทรอนิกส เชน เครอ่ื งสแกน 33 บาท (คํานวณจากการใชไ ฟฟา 5 นาท/ี ครงั้ ในรอบ 1 เดอื นมีการประชมุ 35 คร้ัง (5 นาที x 35 คร้ัง/60 นาท)ี เทา กบั 2.92 ช่วั โมง/เดอื น คิดเปนคา ใชจ ายในการใชจา ยคาไฟฟาตอ หนวยไฟฟา กิโลวัตตช ่ัวโมง (KWh.) ในรอบ 1 เดอื นการทาํ งาน (คดิ ระยะเวลา 22 วัน ไมร วมเสารและอาทติ ย) เทากับ (กําลังไฟฟา 180 w x 2.92 hr x 22 day)/1,000 x ราคาตอหนว ยคา ไฟฟา 2.83 บาท) หลังใชโปรแกรม คาใชจาย 1) คาถายสําเนาเอกสารการประชุมตอเดือน ไมมี เมื่อเทียบกับกอนใช โปรแกรมทําใหคา ใชจ า ยลดลง 2,688 บาท คิดเปนรอยละ 100.0 2) คาแฟมเกบ็ เอกสาร 120 บาท เมอื่ เทียบกับ กอ นใชโ ปรแกรมทาํ ใหค าใชจ ายลดลง 240 บาท คดิ เปน รอยละ 66.67 3) คาใชเครือ่ งมอื /อปุ กรณอิเลก็ ทรอนิกส 130 บาท (คาํ นวณจากการใชไ ฟฟา 20 นาทตี อ 1 ครั้ง ในรอบ 1 เดือนมกี ารประชุม 35 คร้ัง (20 นาที x 35 ครั้ง)/ 60 นาที เทา กบั 11.65 ชั่วโมงตอเดอื น คิดเปนคาใชจายในการจายคาไฟฟาตอหนว ยไฟฟา กิโลวัตตชั่วโมง (KWh.) ใน รอบ 1 เดอื นการทํางาน (คิดระยะเวลา 22 วนั ไมร วมเสารแ ละอาทติ ย) เทา กบั (กาํ ลงั ไฟฟา 180 w x 11.65 hr x 22 day)/1,000 x ราคาตอ หนวยคาไฟฟา 2.83 บาท เมอ่ื เทียบกบั กอ นใชโปรแกรมทาํ ใหคาใชจายเพิม่ ขึน้ 97 บาท คิดเปนรอ ยละ 74.62 โดยภาพรวม พบวา คา ใชจ า ยทใ่ี ชใ นการดําเนินงานทงั้ หมดลดลงเปน จํานวนเงนิ 2,831 บาท คดิ เปน รอ ยละ 91.88 130 | สวนั งแขหงลคาณุ นคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014
ตารางที่ 1 ผลการประเมินคา ใชจ ายกอ น/หลังการใชระบบงานตรวจการจา งรายการสงิ่ กอสรางวทิ ยาเขตปตตานี การใชทรพั ยากร กอ นใชโ ปรแกรม หลงั ใชโ ปรแกรม ผลการประเมนิ หมายเหตุ ดําเนนิ งาน คา ใชจา ย/เดอื น จาํ นวน/ คา ใชจ า ย/ จาํ นวน/ คา ใชจา ย/ สําเนาเอกสารการประชมุ หนว ย/ เดอื น หนว ย/ เดอื น ลดลง เดอื น เดอื น 2,688 บาท แฟม เกบ็ เอกสาร (100%) 7,680 แผน 2,688 บาท - ไมม ี การใชเ ครอ่ื งมอื /อปุ กรณ ลดลง ทางอเิ ลก็ ทรอนกิ สท ี่ 6 แฟม 360 บาท 2 แฟม 120 บาท 240 บาท เกี่ยวของ (66.67%) (5 นาที x 33 บาท (20 นาที x 130 บาท เพมิ่ ขนึ้ ประชมุ สรุป 35 ครั้ง) 35 คร้งั ) 97 บาท 35 คร้ัง = 2.92 ชม. = 11.65 ชม. (74.62%) /เดอื น 3,081 บาท 250 บาท ลดลง 91.88% 2,831 บาท ทีม่ า: รายงานขอ มูลขออนมุ ตั ซิ อ้ื และเบกิ จา ยเงนิ คา วสั ดุ เงินรายไดว ิทยาเขตปต ตานี หมวดสาํ รองจา ยทวั่ ไป ปง บประมาณ พ.ศ. 2555-2557 2. การประเมินระยะเวลาในกระบวนการ การประเมินระยะเวลากอน/หลังการใชระบบงานตรวจการจางรายการส่ิงกอสรางวิทยาเขตปตตานี เก็บขอมูลโดยการจบั เวลาเมื่องานสารบรรณ วิทยาเขตปตตานี ลงรับหนังสือ/เอกสารจากผูรบั จางใน 1 โครงการ เทยี บกบั ระยะเวลาหลงั การใชร ะบบงานตรวจการจา งฯ ผลการประเมนิ ระยะเวลากอ น/หลงั การใชร ะบบงานตรวจการจา งรายการสงิ่ กอ สรา งวทิ ยาเขตปต ตานี (ตาราง ท่ี 2) พบวา ระยะเวลาในกระบวนการตรวจการจา งท้ังหมด กอ นใชระบบงานตรวจการจางฯ ใชเ วลา 490 นาที ขณะที่ หลังใชระบบ งานตรวจการจา งฯ ใชเวลา 250 นาที ซึง่ ลดลงจากกอ นใชระบบคิดเปน 48.98% 3. การประเมินดว ยแบบสอบถาม การประเมินผลความพึงพอใจของการใชระบบงานตรวจการจา งรายการสิง่ กอ สรา งวิทยาเขตปตตานี ใชว ิธี สรา งแบบประเมนิ ความพงึ พอใจออนไลนแกผ ูใชร ะบบและเปนผรู บั ผดิ ชอบในแตล ะโครงการ จาํ นวน 40 คน แบงเปน - ผบู รหิ ารมหาวทิ ยาลยั 7 คน - อาจารยผ สู อน 6 คน - บคุ ลากรสายสนบั สนนุ 10 คน - ทปี่ รกึ ษาควบคมุ งาน 9 คน - ผรู ับจา ง 8 คน สงขลาวนันแคหรงคินุณทครา | 131 A PSU DAY OF PRIDE 2014
ตารางท่ี 2 ผลการประเมนิ ระยะเวลากอ น/หลงั การใชระบบงานตรวจการจา งรายการสง่ิ กอ สรา งวทิ ยาเขตปต ตานี ขน้ั ตอนกระบวนการ กอ นใชร ะบบ หลงั ใชร ะบบ ผลการประเมนิ (นาท)ี (นาที) ลดระยะเวลา(%) 1. หนงั สอื เขาระบบงานสารบรรณมหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร 30 30 คงเดมิ 2. หนังสอื เขาระบบงานผังแมบทฯ กองแผนงานวิทยาเขตปต ตานี 40 5 87.50 3. ผคู วบคมุ งานตรวจสอบและจดั ทํารายงานเสนอประธานกรรมการ ตรวจการจา ง ผา นเลขานกุ ารคณะกรรมการตรวจการจา ง 30 30 คงเดมิ 4. เลขานกุ ารฯ รวบรวมเอกสารทเ่ี กยี่ วขอ งและประสานงาน การประชุมกบั ผเู ก่ียวขอ งตามวนั /เวลาทปี่ ระธานกําหนด 120 20 83.33 5. ประชมุ คณะกรรมการตรวจการจา ง 180 120 33.33 6. เลขานกุ ารฯ และผคู วบคมุ งานจัดทําสรปุ รายงานการประชมุ พรอ มนาํ เสนอคณะกรรมการตรวจการจา งลงนาม และสง หนงั สอื แจง มตกิ ารประชุมใหผรู บั จา งรบั ทราบ 45 20 55.56 7. เลขานกุ ารฯ สง เอกสารใหง านพสั ดุ วิทยาเขตปต ตานี นาํ เสนอ หวั หนา สว นราชการเพอ่ื ดาํ เนนิ การตามระเบยี บสญั ญาตอ ไป 30 20 33.33 8. เลขานุการฯ จดั เก็บเอกสารเขา ตแู ฟม โครงการตาง ๆ 15 5 66.67 สรุป 490 250 48.98 ตารางที่ 3 เกณฑก ารใหค ะแนนของแบบประเมนิ ความพึงพอใจ เกณฑการใหค ะแนน ความหมาย เชงิ คณุ ภาพ เชงิ ปริมาณ ระบบสามารถสนบั สนนุ และรองรบั การทาํ งานดา นการบรหิ ารจดั การ ดมี าก 2.34–3.00 ไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพในระดับทด่ี มี าก ระบบสามารถสนบั สนนุ และรองรบั การทํางานดา นการบรหิ ารจดั การ ปานกลาง 1.67–2.33 ไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพในระดับปานกลาง ระบบสามารถสนบั สนนุ และรองรบั การทํางานดา นการบรหิ ารจดั การ ตํ่า 1.00–1.66 ไดอ ยางมีประสทิ ธภิ าพในระดบั ต่ํา การประเมินความพึงพอใจของผูใชระบบงานตรวจการจางรายการส่ิงกอสรางวิทยาเขตปตตานี แบงการ ประเมินออกเปน 3 ดา น คอื ผใู ชง านและผรู บั บรกิ าร เจา หนา ท่ี และสาํ หรับผูบรหิ าร โดยแบง ข้นั ตอนการประเมนิ ดงั น้ี 1) ระยะเวลาการทดสอบ ระหวา งวันที่ 1 มกราคม 2555 ถงึ 31 มีนาคม 2557 132 | วสนั งแขหงลคาุณนคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014
2) วเิ คราะหผลการทดสอบ ดงั น้ี - คาเฉลยี่ ( X ) เพอื่ หาระดับคะแนนเฉลยี่ ของกลุมตัวอยาง - คาเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D) เพื่อหาคากระจายของกลมุ ตวั อยา ง ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจการใชระบบงานตรวจการจางรายการสงิ่ กอสรางวทิ ยาเขตปต ตานี (ตารางที่ 4) ผูต อบแบบสอบถามออนไลนจาํ นวน 40 คน พบวา จาก 42 ประเดน็ มี 40 ประเดน็ ท่คี วามพงึ พอใจในระดบั ดมี าก และ 2 ประเดน็ มคี วามพงึ พอใจในระดับปานกลาง ดังนน้ั ระบบสามารถสนับสนนุ และรองรับการทาํ งานดา นการตรวจการจาง รายการสง่ิ กอสรา งมหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร วิทยาเขตปต ตานี ไดอ ยา งมปี ระสทิ ธิภาพในระดบั ดีมาก ตารางท่ี 4 ผลการประเมินความพงึ พอใจการใชร ะบบงานตรวจการจา งรายการสง่ิ กอ สรา งวทิ ยาเขตปตตานี ลําดบั คําถาม ผลการประเมนิ X S.D. ระดบั 1 สว นผใู ชง านและผูร บั บรกิ าร (หนาเวบ็ เพจ สญั ญา/เรง รัด/ช้แี จง) 1.1 ดา นความครบถว นของขอ มลู 2.85 0.36 ดมี าก 0.53 ดมี าก 1.2 ดา นความทนั สมยั ในรปู แบบ/ดไี ซดข องเวบ็ ไซต 2.67 0.55 ดมี าก 1.3 ดา นความเหมาะสมของรปู แบบและการนําไปใช 2.45 0.54 ดมี าก 0.48 ดมี าก 2 สว นผูใชง านและผรู บั บรกิ าร (หนา เว็บเพจ รายงานรายการกอ สรา ง) 0.59 ดมี าก 2.1 ดา นความครบถว นของขอ มลู 2.62 0.54 ดมี าก 0.55 ดมี าก 2.2 ดา นความทนั สมัยในรปู แบบ/ดไี ซดข องเวบ็ ไซต 2.65 0.60 ดมี าก 2.3 ดา นความเหมาะสมของรปู แบบและการนาํ ไปใช 2.42 0.59 ดมี าก 0.70 ดมี าก 3 สว นผใู ชง านและผรู ับบรกิ าร (หนาเวบ็ เพจ แจง ซอ มบริการ) 0.64 ดมี าก 3.1 ดา นความครบถว นของขอ มลู 2.38 0.55 ดมี าก 0.54 ดมี าก 3.2 ดา นความทนั สมัยในรปู แบบ/ดไี ซดของเวบ็ ไซต 2.40 0.73 ปานกลาง 3.3 ดา นความเหมาะสมของรปู แบบและการนาํ ไปใช 2.55 0.59 ดมี าก 0.55 ดมี าก 4 สว นผใู ชง านและผรู บั บรกิ าร (หนา เวบ็ เพจ โปรแกรมคํานวณวนั ขยายเวลากอ สรา ง) 0.55 ดมี าก 4.1 ดา นความครบถว นของขอ มลู 2.38 4.2 ดา นความทนั สมัยในรปู แบบ/ดไี ซดของเวบ็ ไซต 2.38 4.3 ดา นความเหมาะสมของรปู แบบและการนําไปใช 2.42 5 สว นเจา หนาท่ี (หนา เว็บเพจ วาระ/มต/ิ หนังสอื การประชมุ ) 5.1 ดา นขอมลู นําเขา ระบบ 2.50 5.2 ความรวดเรว็ ในการนําขอ มลู แขวนเวบ็ ไซต 2.38 5.3 เมนูตางๆ ในเวบ็ ไซตใชง านไดงา ย 2.23 6 สว นเจา หนา ท่ี (หนาเวบ็ เพจ สญั ญาผรู บั จาง/ทป่ี รกึ ษาฯ) 6.1 ดานขอมลู นาํ เขา ระบบ 2.40 6.2 ความรวดเรว็ ในการนาํ ขอ มลู ขน้ึ เวบ็ ไซต 2.52 6.3 เมนูตา ง ๆ ในเว็บไซตใชงานไดงา ย 2.48 สงขลาวนันแคหรง คินุณทครา | 133 A PSU DAY OF PRIDE 2014
ตารางท่ี 4 (ตอ) ผลการประเมนิ X S.D. ระดบั ลาํ ดับ คาํ ถาม 2.52 0.55 ดมี าก 7 สวนเจา หนา ที่ (หนา เวบ็ เพจ หนังสอื เรง รดั และช้ีแจง) 2.42 0.59 ดมี าก 7.1 ดา นขอมลู นําเขาระบบ 2.42 0.59 ดมี าก 7.2 ความรวดเรว็ ในการนาํ ขอ มลู ขน้ึ เวบ็ ไซต 7.3 เมนตู างๆ ในเวบ็ ไซตใ ชง านไดง าย 2.38 0.49 ดมี าก 2.45 0.60 ดมี าก 8 สวนเจา หนาที่ (หนา เวบ็ เพจ หนังสอื แจง ซอ ม (บรกิ ารหลังการขาย)) 2.50 0.60 ดมี าก 8.1 ดา นขอ มลู นาํ เขา ระบบ 8.2 ความรวดเรว็ ในการนําขอ มลู ขน้ึ เวบ็ ไซต 2.65 0.48 ดมี าก 8.3 เมนูตางๆ ในเว็บไซตใ ชงานไดง าย 2.50 0.51 ดมี าก 2.40 0.55 ดมี าก 9 สว นเจา หนา ที่ (หนาเวบ็ เพจ ผรู บั ผดิ ชอบขอ มูล) 9.1 ดานขอ มลู นําเขา ระบบ 2.45 0.55 ดมี าก 9.2 ความรวดเรว็ ในการนําขอ มลู แขวนเวบ็ ไซต 2.45 0.55 ดมี าก 9.3 เมนูตางๆ ในเวบ็ ไซตใ ชงานไดงา ย 2.30 0.56 ปานกลาง 10 สว นเจา หนา ที่ (หนา เว็บเพจ สทิ ธเิ จาหนา ทปี่ ระจาํ โครงการ) 2.35 0.62 ดมี าก 10.1 ดานขอมลู นาํ เขาระบบ 2.45 0.50 ดมี าก 10.2 ความรวดเรว็ ในการนําขอ มลู แขวนเวบ็ ไซต 2.50 0.60 ดมี าก 10.3 เมนูตางๆ ในเวบ็ ไซตใ ชง านไดง าย 2.50 0.51 ดมี าก 11 สว นเจาหนาที่ (หนา เวบ็ เพจ รายชอ่ื ผเู ขา ระบบการประชุม) 2.35 0.58 ดมี าก 11.1 ดา นขอมลู นําเขา ระบบ 2.35 0.62 ดมี าก 11.2 ความรวดเรว็ ในการนําขอ มลู ขน้ึ เวบ็ ไซต 11.3 เมนูตา งๆ ในเว็บไซตใชงานไดง า ย 2.48 0.55 ดมี าก 2.70 0.52 ดมี าก 12 สว นเจา หนา ท่ี (หนา เวบ็ เพจ รายการประชมุ ทง้ั หมด) 2.62 0.54 ดมี าก 12.1 ดานขอมลู นาํ เขา ระบบ 12.2 ความรวดเรว็ ในการนาํ ขอ มลู แขวนเวบ็ ไซต 2.73 0.45 ดมี าก 12.3 เมนูตา งๆ ในเว็บไซตใชง านไดงา ย 2.75 0.44 ดมี าก 2.38 0.59 ดมี าก 13 สว นเจา หนา ที่ (หนา เวบ็ เพจ คนหาวาระการประชมุ ) 13.1 ดา นขอ มลู นําเขาระบบ 13.2 ความรวดเรว็ ในการนาํ ขอ มลู ขน้ึ เวบ็ ไซต 13.3 เมนตู า งๆ ในเวบ็ ไซตใ ชง านไดง าย 14 สว นสาํ หรบั ผบู รหิ าร 14.1 รูปแบบการนําเสนอ (ความสวยงามเขา ใจงา ย) 14.2 ขอ มูลท่ีไดรบั ตรงตามความตอ งการสามารถนาํ ไปใชอยางมีประสทิ ธภิ าพ 14.3 ขอ มลู มกี ารอัพเดทเปน ปจ จบุ นั 134 | วสนั งแขหงลคาณุ นคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014
บทสรปุ ระบบงานตรวจการจา งรายการสงิ่ กอ สรางวิทยาเขตปต ตานี เปน ระบบประชมุ และรายงานความกาวหนาโครงการ กอสรางภายในวิทยาเขตปตตานี ผานเว็บไซตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี โดยใหผูควบคุมงาน คณะกรรมการตรวจการจาง และผูบริหาร ตรวจสอบเอกสารตา งๆ ที่เก่ียวของกับงานกอสรางในโครงการนั้นๆ และ รบั ทราบผลการดาํ เนนิ โครงการท่ีเกดิ ขึ้นภายในวิทยาเขต โดยแบง การบริการออกเปน 2 สว น ไดแ ก 1) สาํ หรับผูใชงาน ซ่ึงสามารถเขาเปดอานขอมูลไดประกอบดวยผูบริหาร ผูใชท่ัวไป และผูเกี่ยวของตามคําส่ัง 2) สําหรับเจาหนาท่ีซึ่ง สามารถลบ แกไข/เพ่ิมเติมขอมูล ซึง่ ประกอบดว ยเลขานุการคณะกรรมการตรวจการจางและผดู ูแลระบบ ดังแสดงใน รปู ที่ 2 รปู ท่ี 2 ฟง กชันโปรแกรมระบบงานตรวจการจา งฯ | 135 สาํ หรบั ผูใช 1. คน หาวาระการประชมุ 2. ดูรายงานผลการเรงรดั งานและการชแี้ จงของฝา ยตา งๆ ทเี่ กย่ี วขอ ง 3. ดรู ายงานผลการกอ สรา งโครงการตา งๆ 4. ดผู ลการแจง ซอ มจากการกอ สรา งแลว เสรจ็ 5. คาํ นวณวนั ในสญั ญาหรอื วนั เวลาแลว เสรจ็ ดว ยโปรแกรมคาํ นวณ สาํ หรับเจาหนาท่ี 1. ลบหรอื แกไ ขขอ มูลการรายงานผลการกอ สรา ง 2. จดั การขอ มลู เกย่ี วกบั วาระและมติ 3. แขวนสญั ญาการกอ สรา งในโครงการตา งๆ 4. แขวนผลการเรงรดั งานและการชแี้ จงในฝา ยตา งๆ ทเี่ กย่ี วขอ ง 5. ใหส ทิ ธผิ รู บั ผดิ ชอบในจดั การขอมลู การประชมุ คณะกรรมการตรวจการจา งประจําโครงการตา งๆ สงขลาวนนั แคหรงคินณุ ทครา A PSU DAY OF PRIDE 2014
สาํ หรบั ผูบริหาร 1. ดขู อ มลู เชงิ บรหิ ารไดด ว ยดว ยระบบ Management Dashboards เอกสารอางอิง 1. สามารถเขาใชระบบงานตรวจการจางรายการสิ่งกอสรางวิทยาเขตปตตานี ไดท ี่เว็บไซตของกองแผนงาน วทิ ยาเขตปต ตานี URL: http://planning.pn.psu.ac.th/town_plan/index.php 2. กองแผนงานวิทยาเขตปตตานีไดสงโครงการระบบงานตรวจการจางรายการส่ิงกอสรางวิทยาเขตปตตานี เขา รวมประกวดแนวปฏิบตั ทิ ด่ี ี (Best Practice) เพือ่ ยกระดับคุณภาพการศึกษา จัดโดย มหาวทิ ยาลยั นราธิวาสราช- นครินทร ในวนั ท่ี 26 พฤษภาคม 2557 ท้ังนโ้ี ครงการดังกลาวไดร ับรางวัล “ชนะเลศิ ” ดา นการพัฒนางานสนับสนุนและ งานบริหาร ประเภท Oral Presentation รายละเอยี ดดังรปู ท่ี 3 รปู ที่ 3 ประกาศนยี บตั ร “ชนะเลศิ ” โครงการแนวปฏบิ ตั ิทีด่ ี รูปประกอบ (ตัวอยา งระบบงานฯ) 1. ฟง กช นั การใชง าน ผูใชงานสามารถดฟู ง กชันตางๆ ในระบบงานตรวจการจา งรายการส่งิ กอสรา งวิทยาเขตปต ตานี โดยเขา ระบบ การใชง านดังรปู ที่ 4 ซ่ึงแยกฟง กช ันบรกิ ารออกเปน 2 สว น คอื สาํ หรบั ผใู ชง านและสําหรับเจา หนา ทแ่ี สดงในรปู ท่ี 5 รูปที่ 4 การเขา สูร ะบบการใชงาน 136 | วสันงแขหงลคาุณนคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014
รปู ที่ 5 การเขา ระบบการใชงาน สญั ญาจาง/เรงรัดโครงการกอ สรางและการชี้แจงหนงั สือโตต อบระหวา งคสู ญั ญา ซงึ่ ผูใ ชสามารถคน หาขอ มลู ท่ี รับผดิ ชอบเพอ่ื ศึกษารายละเอยี ดขอ มลู ตา งๆ ในโครงการ ดังแสดงในรปู ท่ี 6 รูปท่ี 6 หนา เวบ็ เพจแสดงสญั ญา/เรง รดั /ชแ้ี จงของโครงการ ผใู ชงานสามารถเขาดหู นังสือสัญญา หนังสือเรงรัดงาน และหนังสือช้ีแจงตางๆ ของแตล ะโครงการได โดยจะ ปรากฏ วนั /เดือน/ป ทสี่ ง หนังสอื ซงึ่ ผใู ชง านสามารถเปด อา นไดดงั แสดงในรปู ที่ 7 รูปท่ี 7 หนา เวบ็ เพจแสดงหนงั สือสญั ญา หนงั สอื เรง รดั งานและหนังสือชแ้ี จงตา งๆ สงขลาวนันแคหรงคินณุ ทครา | 137 A PSU DAY OF PRIDE 2014
2. รายงานรายการกอ สรา ง การรายงานความกาวหนาโครงการกอ สรางแตละโครงการ ผูใชงานสามารถดูขอมูลในแตละงานหรือสรุป โครงการในภาพรวม ซงึ่ ไดป ระมวลผลทัง้ โครงการโดยแสดงแถบสไี ว หากเปน แถบสแี ดง หมายถงึ งานมคี วามลา ชา แถบสเี หลอื ง หมายถึง งานใกลห มดสญั ญาซึ่งจะแสดงเตอื นในชว งเวลาเหลอื นอยกวา 30 วนั กอนหมดสญั ญา แถบสีเขยี ว หมายถงึ จบโครงการแลว และแถบสขี าว หมายถึง งานอยูในสถานะปกติ แสดงดังในภาพท่ี 8 รปู ที่ 8 หนา เวบ็ เพจแสดงรายงานรายการกอ สราง 3. รายงานสรปุ ขอ มลู เชงิ บรหิ าร ขอมูลเชิงบรหิ ารแสดงในรปู ของกราฟและตัวเลขสรปุ ทาํ ใหทราบความกา วหนาของโครงการรวมทั้งแนวโนม ที่คาดวาจะเกิดขึ้น เพ่ือเปนสัญญาณเตือนใหผ ูเก่ียวของหรือผูบริหารไดทราบลวงหนาในการติดตามแกไขปญหาหาก ผลการดําเนินงานตํ่ากวาเกณฑทก่ี าํ หนด โดยแสดงขอมูลเปน 3 สวน ไดแก 1) กราฟเสน S-curve เสน สีนาํ้ เงิน แสดงถึงแผนงานหลกั ท่วี างแผนไวก อ นดําเนนิ โครงการ เสนสีแดงแสดงถงึ แผนงานจริงท่ีผรู บั เหมาทาํ ไดใ นเดือนปจ จุบนั 2) กราฟเข็มไมลรถ แสดงการดาํ เนินงานของผูรับเหมาซ่ึงแสดงในรูปเข็มสีแดง โดยจะตองเรงใหทันตอเสนสีน้ําเงิน ซึ่งเปนแผนงานหลกั ท่ีบอกเปอรเ ซ็นตไ ว 3) กราฟแทง แสดงถึงเวลาของโครงการ โดยแทงสีแดงบอกถึงระยะเวลา ทใ่ี ชไ ปแลวและคงเหลอื เวลาตามแทงสีนาํ้ เงนิ ดงั แสดงในรปู ที่ 9 138 | รปู ท่ี 9 ขอมลู เชงิ บริหารสาํ หรับรายงานผูบริหาร วสนั งแขหงลคาุณนคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014
4. รายการวาระการประชุม มติที่ประชุม และหนงั สือการประชมุ การนําเอกสารตางๆ เขาในระบบงานตรวจการจา งฯ เพอื่ ใชประกอบการประชมุ เจาหนา ท่ีหรือเลขานกุ ารฯ เม่อื ไดรบั เอกสารตางๆ ท่ีเกีย่ วขอ งในแตละโครงการจะอพั โหลดขอ มูลเขา ระบบในรปู แบบไฟล PDF คณะกรรมการตรวจ การจางสามารถเขาดูวาระการประชุมพรอมเอกสารประกอบกอนการประชุมตามวัน เวลาท่ีประธานกําหนด โดยการ แจงเวยี นบันทกึ ขอ ความเชิญประชุม และสง E-mail ใหผูเ ขาประชุมรบั ทราบ ดงั แสดงในรปู ท่ี 10 รปู ที่ 10 หนา เว็บเพจแสดงวาระการประชุม มติท่ปี ระชุม และหนงั สอื การประชมุ การจดั การเกี่ยวกับวาระและมติท่ีประชมุ เชน ตอ งการจัดวาระการประชุมของโครงการใด สามารถคลกิ ท่ี “ตรวจการจาง” จะแสดงดังรูปท่ี 11 รปู ท่ี 11 หนาเวบ็ เพจแสดงการจดั การวาระการประชุมคร้ังใหม 5. รายการประชุมทั้งหมด การรายงานภาพรวมการประชุมคณะกรรมการตรวจการจางและคณะกรรมการตรวจและรับมอบงานของ โครงการกอสรา งทกุ รายการเพอ่ื ตรวจสอบความถกู ตอ งหรอื แกไ ขเพมิ่ เตมิ ดงั แสดงในรปู ท่ี 12 สงขลาวนันแคหรงคินณุ ทครา | 139 A PSU DAY OF PRIDE 2014
รปู ท่ี 12 หนา เวบ็ เพจแสดงรายการประชมุ ทง้ั หมด เมอ่ื ผูใชงานตองการดูรายการประชุมทั้งหมดของแตละโครงการ สามารถเขาไปท่ีฟง กชันรายการประชมุ ท้งั หมด แลว เลือกโครงการทต่ี อ งการ โดยจะแสดงรายการประชุมวามีการประชมุ กค่ี รง้ั วนั เวลาใด และสามารถดาวนโ หลดเอกสาร ได แสดงดงั รูปท่ี 13 รูปท่ี 13 หนา เวบ็ เพจแสดงรายการประชุมทง้ั หมดของแตละโครงการ 140 | สวันงแขหงลคาณุ นคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185