Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2557

2557

Published by jaturata, 2021-05-29 15:35:55

Description: 2557

Search

Read the Text Version

แจง การโอนเงนิ ผา นระบบ E-mail งานการเงนิ สํานกั งานเลขานุการ ศูนยคอมพวิ เตอร คณะทาํ งานพฒั นาแนวปฏบิ ตั ิท่ีเปน เลศิ ทป่ี รกึ ษาโครงการ 1. ผอู าํ นวยการศนู ยค อมพวิ เตอร 2. หวั หนา สาํ นกั งานเลขานกุ าร 3. หวั หนา กลมุ งานบรกิ ารพฒั นาระบบสานสนเทศ หวั หนา /ผูรับผดิ ชอบโครงการ 1. นางปรดี า นาคสวาสด์ิ นกั วชิ าการเงินและบญั ชชี าํ นาญการ 2. นางสาวพนิดา องคศ ลิ ปรศั มี นกั วิชาการเงนิ และบัญชี 3. นายคณกรณ หอศริ ธิ รรม นกั วทิ ยาศาสตร ขอมลู ท่ัวไปของศูนยคอมพิวเตอร ศนู ยคอมพวิ เตอร มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร เปน หนวยงานสนบั สนุนเทยี บเทาคณะ ตง้ั ข้นึ เพ่อื เปนแหลงกลาง ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทรในการใหบริการคอมพิวเตอร และขยายขอบขายการใหบริการไปถึงการใหบริการ สารสนเทศบริการเครือขา ยและสอ่ื สาร และบรกิ ารฝก อบรมคอมพวิ เตอร ศนู ยคอมพวิ เตอร เปน หนว ยงานแรกที่นาํ ระบบ คณุ ภาพมาใชใ นการบรหิ ารองคก รโดยไดรบั การรบั รองมาตรฐานคณุ ภาพ ISO 9002 : 1994 เมอื่ ป พ.ศ. 2542 และ รกั ษาการรบั รองมาอยา งตอ เนอ่ื ง โดยไดป รับกระบวนการตา งๆ ใหร องรบั มาตรฐานทั่วท้งั องคกรมาจนปจจุบัน ไดร บั การ รบั รองตามมาตรฐาน ISO 9001 : 2008 ตามกระบวนการคณุ ภาพทใ่ี หความสาํ คญั กบั ลกู คา เปน หลกั ทําใหม กี ารปรบั ปรงุ กระบวนการตา งๆ ใหสอดรบั กบั ความตอ งการของลกู คา ซง่ึ เปน ลกู คา ทงั้ ภายในและภายนอก โดยมี นโยบายคุณภาพ ศนู ยค อมพวิ เตอรม งุ มนั่ ทจ่ี ะใหบ รกิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารทมี่ คี ณุ ภาพอยา งตอ เนอื่ งเพอ่ื ตอบสนอง ความพงึ พอใจของผรู ับบริการ วิสัยทัศน เปน ผนู ําการใหบ รกิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศระดบั ประเทศภายในป 2559 พันธกิจ แสวงหา พฒั นา และบรกิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศทเ่ี หมาะสม เพอ่ื สนบั สนนุ พนั ธกจิ ของมหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร เปา หมาย เปนศูนยคอมพิวเตอรท ่ีไดรับการรบั รองการใหบ ริการดา นไอทีตามมาตรฐาน ISO 20000-1 : 2011 ภายในป 2559 พฒั นาระบบสารสนเทศทีเ่ ปน สากลเพอื่ ใชง านในมหาวิทยาลยั และพรอมเผยแพรส ูระดบั ประเทศ เปน ศนู ยถ า ยทอด เทคโนโลยีสารสนเทศสชู มุ ชน การบรหิ ารจดั การเครอื ขา ยไดร บั การยอมรบั ระดบั แนวหนา ของประเทศ ภารกิจ (Mission) 1. ใหบ รกิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศในงานวชิ าการ ไดแ ก ดา นการเรยี นการสอนและการวจิ ยั 2. ใหบ รกิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศในงานบรหิ ารของมหาวทิ ยาลยั สงขลาวนันแคหรง คินุณทครา  | 141 A PSU DAY OF PRIDE 2014

3. เปน ผนู าํ ในการวางแผน ปฏบิ ัติการ และใหค ําแนะนาํ แกฝ า ยบรหิ าร และหนวยงานของมหาวทิ ยาลยั ในการ พฒั นาและนําเทคโนโลยสี ารสนเทศมาประยกุ ตใ ช 4. ใหค าํ ปรึกษา ออกแบบ และพฒั นาระบบสารสนเทศ ใหเชาอุปกรณ และใหบ รกิ ารฝกอบรมเทคโนโลยี สารสนเทศแกช มุ ชนภาคใต ดา นวิชาการ ศูนยคอมพิวเตอรไดจัดหาเครื่องคอมพิวเตอรและซอฟตแวรจํานวนมากไวบริการแกนักศึกษา อาจารย และ ขาราชการของ ม.อ. คอมพิวเตอรเหลานี้เช่ือมตออยูบนเครือขา ย ทาํ ใหผูใชสามารถเขาใชบริการคอมพวิ เตอรและใช บรกิ าร Internet ไดท้ังทห่ี องปฏิบัติการของศูนยคอมพิวเตอร และจากหนวยงานตางๆ ทกุ หนว ยงาน ดานการบรหิ าร ศนู ยค อมพวิ เตอร เปน ผรู บั ผดิ ชอบการพฒั นาและการจดั การโครงสรา งพนื้ ฐานสารสนเทศ (information infra-struc- ture) ของมหาวทิ ยาลัย ซง่ึ รวมถึงระบบฐานขอ มลู และระบบ Intranet เพื่อสนบั สนนุ การบริหารงานของมหาวทิ ยาลัย ดานเทคโนโลยี ศนู ยค อมพวิ เตอร เปน แกนนาํ ในการรณรงคใ หน กั ศกึ ษา และบคุ ลากรใชง านโอเพน ซอรส ซอฟตแ วร (Opensource software) และฟรีแวร (Freeware) ใหมากข้ึน โดยศูนยคอมพิวเตอรไดจัดอบรมหลกั สตู รการใชงานโอเพนซอรส ซอฟตแ วรใ หค วามรูแกน กั ศกึ ษา ผสู นใจ และจดั ตง้ั ฝา ยวจิ ัยและพฒั นา เพอ่ื ศกึ ษาและพัฒนาระบบงานท่ีใชโ อเพน ซอรส ซอฟตแวรแ ละฟรแี วร เพอ่ื ประยกุ ตใ ชทศ่ี นู ยค อมพิวเตอร จะไดเ ปน แนวทางในการใชง านใหแ กห นวยงานอน่ื ๆ คานิยมรวม (Core Value) คา นยิ มรวมของศูนยค อมพวิ เตอร คอื WISH3 เพอ่ื สรา งความตระหนักใหบุคลากรทกุ คนปฏิบัติงานเปนทมี อยา งมคี วามสขุ ทงั้ กายและใจ ความหมาย W = Wisdom ปญ ญา คือ มีความรู ความเขา ใจในการปฏบิ ัตงิ านอยา งถอ งแท I = Integrity มจี รยิ ธรรมและคณุ ธรรม ลงมอื ทาํ ในสงิ่ ควรทําและมจี ติ สํานกึ ดว ยตนเอง S = Service mind มีจติ บริการ เชน เตม็ ใจใหบ รกิ าร H = Happy ปฏบิ ัตงิ านอยา งมคี วามสุข Healthy สขุ กายสบายใจ Harmony ความพรอมเพรียง สามคั คี สาํ นกั งานเลขานุการ ศนู ยคอมพวิ เตอร เปนหนวยงานสนบั สนุนภายใน ประกอบดว ยงานหลักๆ 8 งาน ไดแ ก การเงิน บคุ ลากร สารบรรณ พสั ดุ อาคารสถานท่ี ประชาสมั พันธ นโยบายแผน และระบบคุณภาพ ลกู คาของงานการเงิน มที ้งั 2 สว นคอื 1. ลูกคาภายนอก เชน ผใู ชบรกิ ารจากคณะ/หนว ยงาน บรษิ ทั และบคุ คลทว่ั ไป 2. ลูกคา ภายใน ไดแก บคุ ลากรของศนู ยค อมพวิ เตอรเ อง ซ่งึ มจี ํานวน 98 คน สาํ นกั งานเลขานุการไดก ําหนดมาตรฐานในการใหบรกิ ารและมเี ปาหมายในการใหบ ริการท่ชี ัดเจน มีการทบทวน กระบวนการและปรับการทาํ งานใหสอดรบั กบั ระเบียบและความตอ งการของลกู คา โดยในสวนของการจา ยเงนิ ไดก ําหนด ระยะเวลาชัดเจนวาลกู คา จะไดร บั เงินภายใน 4 วันทําการหลังจากย่ืนเอกสารครบถว น ประกอบกบั ศนู ยคอมพิวเตอรมี นโยบายใหบคุ ลากรในกลุมงานตางๆ จดั ทาํ โครงการพฒั นางานข้ึน เพอื่ ลดภาระในการทาํ งานและทําใหง านมปี ระสิทธภิ าพ มากขนึ้ โดยสนบั สนนุ งบประมาณตามขนาดของโครงการ 142 | สวนั งแขหงลคาุณนคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014

หลักการและเหตุผล งานการเงิน สาํ นกั งานเลขานุการ ศูนยคอมพิวเตอร เปนหนว ยบริการกลางของศนู ยใหบ ริการทั้งลูกคา ภายใน และภายนอก ทีม่ าติดตอใชบรกิ ารและตอ งชําระคาบรกิ ารทศ่ี ูนยค อมพิวเตอร และลูกคาภายในคอื พนักงานเจา หนาที่ ของศูนยคอมพวิ เตอร ซง่ึ มีจาํ นวนเพิม่ มากขึน้ ปจ จบุ ันมจี าํ นวนลูกคา ภายในรวม 92 คน ซึ่งสว นใหญใ ชบ ริการซ้าํ ๆ และ บางเร่อื งตองดําเนนิ การใหท กุ เดือน เมือ่ ผูใชบ ริการมากขน้ึ กิจกรรมท่ีตอ งติดตอ การเงนิ มากขึ้น ทีมการเงินจึงไดคดิ หาวธิ ี ปรับปรงุ งานใหตอบสนองตอ ผูใชบ ริการ และทําใหข ั้นตอนการทาํ งานของงานการเงนิ ลดลง จึงวเิ คราะหแ ละหาแนวทาง ในการปรับปรงุ งาน พบวา กจิ กรรมเกี่ยวกับการทดรองจายเงนิ ใหบ คุ ลากร ไดแก เงนิ ยมื ทดรองจาย คา ตอบแทนปฏิบตั ิ งานนอกเวลาราชการ คารกั ษาพยาบาล คาชว ยเหลือการศกึ ษาบตุ ร คาจางนักศึกษาชว ยงานราชการ คาตอบแทน วิทยากร/ผชู วยวิทยากรในการจดั อบรมคอมพิวเตอร คา โทรศัพทข องผูบ รหิ ารและหัวหนากลมุ งาน และอ่นื ๆ ในการน้ี เจา หนา ทกี่ ารเงนิ ตอ งถอนเงนิ จํานวนมากจากธนาคารเพอ่ื จายเงนิ ใหแกบ คุ ลากร ซง่ึ ทําใหเ สยี เวลา อาจเกิดความผดิ พลาด ในการตรวจนับเงิน ความไมป ลอดภัยในการเดนิ ทางระหวางธนาคารกบั สาํ นักงาน และเสยี เวลาในการตดิ ตอกับผรู ับเงนิ แตละครั้งดว ย จึงเห็นวาควรทาํ การดาํ เนินการโอนเงินทดรองจายผานระบบ SCB Business Net จะทําใหเจาหนา ท่ี การเงินและผูรบั เงนิ ไดรบั ความสะดวก รวดเรว็ และถกู ตอ ง ตอ มาเมือ่ ไดด าํ เนนิ การโอนเงนิ ทดรองจา ยผา นระบบ SCB Business Net ใหแกบ ุคลากรของศนู ยคอมพิวเตอรไปแลวนนั้ แมวา โครงการปรบั ปรงุ งานดังกลาวจะทาํ ใหเจาหนา ที่ การเงนิ และผูรับเงนิ ไดรับความสะดวก รวดเรว็ และถูกตอง แตการใชงานระบบดังกลาว ผูรบั เงนิ ไมส ามารถทราบ รายละเอียดการรับเงินแตล ะคร้ัง ซ่งึ หากผูรบั เงินตองการทราบรายละเอียดการรับเงิน กจ็ ะตอ งสอบถามจากเจาหนาที่ การเงินโดยตรง ทําใหเจา หนา ทก่ี ารเงินเสยี เวลาในการคนหารายละเอยี ดการโอนเงิน และผรู ับบริการไมพึงพอใจ ดังน้ัน จึงไดห าวธิ กี ารแจง การโอนเงนิ ผา นระบบ E-mail วัตถุประสงคของโครงการ 1. เพอื่ แจง รายละเอยี ดการโอนเงินทดรองใหแ กผ รู บั เงนิ 2. เพื่อลดข้ันตอนการทาํ งาน และลดความผิดพลาดในการรับ-จา ยเงิน เพิ่มประสิทธิภาพในการปฏบิ ัติงานที่ สะดวก รวดเรว็ และถกู ตอ ง 3. เพอื่ ลดเวลาเจา หนา ทก่ี ารเงนิ ในการติดตอกับผรู บั เงนิ และธนาคาร และลดเวลาในการตอบขอ ซกั ถาม ตัวชี้วัดและเปาหมายของโครงการ 1. เพอ่ื แจง รายละเอยี ดการโอนเงินทดรองใหแ กผ รู บั เงนิ 2. เพอ่ื ลดเวลาเจา หนา ทก่ี ารเงนิ ในการคน หารายละเอยี ดการโอนเงนิ 3. เพอื่ ลดขนั้ ตอนการทาํ งาน สงขลาวนนั แคหรงคินุณทครา  | 143 A PSU DAY OF PRIDE 2014

แผนงาน (Approach)/งบประมาณในการจัดโครงการ-กิจกรรม 1 มถิ นุ ายน – 30 กรกฎาคม 2553 กิจกรรม มิถนุ ายน 2553 กรกฎาคม 2553 1. ศกึ ษาขอ มลู สปั ดาหท ี่ 1 สัปดาหท ่ี 2 สปั ดาหท ี่ 3 สัปดาหท ี่ 4 สปั ดาหท่ี 1-3 สัปดาหท ่ี 4 2. ประสานงานกบั ผพู ฒั นา โปรแกรม 3. จดั การฐานขอ มลู 4. ออกแบบรายงาน 5. ทดลองใชง านและ ประชาสมั พันธ 6. ใชง านจรงิ 7. ประเมนิ ผล 8. สรปุ รายงาน กระบวนการ (Process) หรือการปฏบิ ตั งิ านตามแผน (Deployment) 1. ศกึ ษาขอ มูลทเี่ กย่ี วขอ ง 2. ประสานงานกับผพู ฒั นาโปรแกรม 3. จดั การฐานขอ มูล ชื่อเลขท่ีบญั ชเี งนิ ฝากธนาคาร กับ E-mail 4. ออกแบบรายงาน 5. ทดลองการใชงาน และประชาสัมพนั ธ 6. ใชง านจริง 7. ประเมนิ ผล 8. สรปุ รายงาน การประเมนิ ทบทวนผลการดําเนินงาน (Assessment & Review) ทดลองใชง านภายในกลมุ งานและใหแ จงปญ หา ขอ ผดิ พลาดเปน ระยะเวลา 3 เดอื นจากนนั้ เปดใชง านจรงิ แผนหรือแนวทางการพัฒนาคุณภาพอยางตอเนื่องในอนาคต 1. ปรบั ขนั้ ตอนการทาํ งานใหง ายขน้ึ 2. มรี ายละเอยี ดของยอดเงนิ ทโ่ี อนเขา มากขนึ้ จดุ แข็ง (Strength) หรือสิง่ ทีท่ ําไดด ใี นประเด็นที่นาํ เสนอ 1. เจาหนาท่ีความรูความสามารถและเขาใจวิธีปฏิบัติงานไดด ีสามารถสรุปปญหาความตอ งการในการพัฒนา ไดอ ยา งเปน ขน้ั ตอนและชดั เจน ทาํ ใหส ามารถพฒั นาสว นเพมิ่ เติมไดร วดเรว็ และตรงตามความตอ งการ 144 | สวันงแขหงลคาณุ นคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014

2. เจา หนา ทม่ี คี วามกระตอื รอื รน ในการหาทางแกป ญ หาและหาแนวรว มขอความรว มมอื ในการพฒั นาได 3. ผบู งั คบั บัญชาใหการสนบั สนุน และเขา ใจ กลยทุ ธ หรอื ปจ จัยท่ีนาํ ไปสคู วามสาํ เรจ็ 1. ความพยามยามของเจา หนาทใี่ นการลดขนั้ ตอนในการทํางานและมคี วามตระหนกั ในการใหบ รกิ ารทม่ี งุ ใหความ สําคญั แกลกู คา ผใู ชบรกิ ารเปน หลกั 2. ความรว มมือของผพู ฒั นาระบบ webmail ซึ่งใหค วามชวยเหลอื ในการพฒั นาเพมิ่ เตมิ ตอ ยอดใหระบบสามารถ ดาํ เนนิ ไปไดแ ละปรบั ปรงุ ใหเ มอื่ พบปญ หาในการใชง าน ผลการดาํ เนนิ งาน (Result)/(เปรยี บเทียบ 3 ป) และ/หรอื เปรยี บเทียบกับหนว ยงานภายใน/ภายนอก วิธีการประเมนิ ผล งานการเงินไดใหบริการแจงการโอนเงนิ ผา นระบบ E-mail ตงั้ แตวันที่ 29 มิถุนายน 2553 การประเมนิ ผล มีวตั ถุประสงคเพื่อประเมินความพงึ พอใจในการใหบริการดังกลาวจากบุคลากรของศูนยคอมพิวเตอร โดยประเมินผาน ระบบเครือขา ยคอมพวิ เตอร โปรแกรม SharePoint ในการเกบ็ ขอมลู และกาํ หนดใหผตู อบแบบสอบถามไดเ พียงคร้งั เดยี ว ผลการประเมิน จากการประเมนิ มผี ตู อบแบบสอบถาม จาํ นวน 55 ราย เฉล่ียความพงึ พอใจในการใหบ ริการแจง การโอนเงนิ ผาน ระบบ E-mail โดยรวมในระดบั พอใจกบั บริการระบบดังกลาวตามรายละเอียดดงั น้ี ตารางท่ี 1 จาํ นวนและรอ ยละของกลมุ งานผตู อบแบบสอบถาม บรหิ ารทวั่ ไป จาํ นวน รอ ยละ บรกิ ารวชิ าการ จัดการนโยบาย แผน และระบบคุณภาพ 8 14 บรกิ ารระบบเครอื ขา ยและสอื่ สาร 7 13 บรกิ ารและพฒั นาระบบสารสนเทศ 1 2 วจิ ยั และพฒั นา 13 23 26 46 รวม 1 2 56 100 ตารางท่ี 2 จาํ นวนและรอยละของเพศผตู อบแบบสอบถาม รอ ยละ 48 เพศ จาํ นวน 52 ชาย 27 100 หญงิ 29 รวม 56 สงขลาวนันแคหรงคินุณทครา  A PSU DAY OF PRIDE 2014 | 145

ตารางท่ี 3 จาํ นวนและรอ ยละของอายผุ ตู อบแบบสอบถาม อายุ จาํ นวน รอ ยละ ต่ํากวา 25 ป 5 9 26-35 ป 31 55 36 ปขึน้ ไป 20 36 รวม 56 100 ตารางที่ 4 จาํ นวนและรอ ยละของการไดร บั บริการแจงการโอนเงนิ ผานระบบ E-mail จาํ นวน รอ ยละ เคยไดร บั บรกิ าร 52 93 ไมเ คยไดร บั บรกิ าร 47 รวม 56 100 ตารางที่ 5 จํานวนรอยละของความพอใจกับบรกิ ารแจงการโอนเงนิ ผานระบบ E-mail จาํ นวน รอ ยละ พอใจ 56 100 เฉย ๆ - - ไมพ อใจ - - รวม 56 100 ขอมลู ที่ตองการเพมิ่ เตมิ จากระบบแจง การโอนเงนิ ผา น E-mail 1. รายการที่ถกู หัก (1 คน) 2. ขอใหป รับใจความใหมค ะ ควรจะมี “คะ ” ลงทา ยตอนใหผูรบั เงินโอนไปตรวจสอบขอ มลู (1 คน) 3. ตอ งการทราบรายละเอยี ดของเงนิ แตละประเภทท่ไี ดร ับ (1 คน) ความคดิ เหน็ /ขอ เสนอแนะเพ่มิ เตมิ เกยี่ วกบั ระบบแจง การโอนเงนิ ผาน E-mail 1. ถามรี ายการยอ ยหลายรายการและโอนเงนิ ยอดเดยี ว ชวยแจง รายการยอ ยแตล ะรายการ (1 คน) 2. ดมี ากเลยคะ จากทไ่ี มทราบวา เงินทเ่ี ขา มาเปนเงนิ อะไร จะไดไ มง งอีก (1 คน) 3. เปนระบบทด่ี มี ากๆ เปน กาํ ลงั ใจใหพฒั นาตอไป (2 คน) 4. เปนบริการท่ีชว ยอาํ นวยความสะดวก ทําใหเจาของบัญชที ราบวามีการโอนเงินเขาบัญชี และเปนยอดของ รายการใด (1 คน) 5. อยากใหค รอบคลมุ ถงึ กลมุ นกั ศกึ ษาที่ชว ยงานของศนู ยค อมพวิ เตอรด ว ย (1 คน) 146 | วสันงแขหงลคาณุ นคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014

ส่ิงทต่ี อ งการใหงานการเงินปรบั ปรุง/พฒั นาเพิ่มเติม เพอ่ื อาํ นวยความสะดวกในการรับบรกิ าร 1. การเรียกดูรายการยอนหลงั โดยการสรุปเงินท่ีโอนเขาเปน เดือนๆ ของผูรับแตล ะคน เชน เดือนมิ.ย 53 มเี งินโอนเขา เทาไหร คาอะไรบาง (1 คน) บทสรปุ จากการนําระบบแจงการโอนเงนิ ผานระบบ E-mail เพอื่ แจง การโอนเงินทดรองจา ยผา นระบบ SCB Business Net ของศูนยคอมพิวเตอร ทําใหบคุ ลากรไดร บั รายละเอยี ดเงนิ โอนเงนิ จาก E-mail ดังกลา ว โดยไมเ สยี เวลาเจาหนาที่ การเงินในการคนหารายละเอียด และผูรับเงนิ ไมเสียเวลาการสอบถามและการรอรายละเอียด ดังนั้นการดาํ เนินการแจง การโอนเงนิ ผา นระบบ E-mail ทําใหเ จา หนา ทกี่ ารเงนิ และผรู บั เงนิ ไดร ับความสะดวก จากการใชง านจริงประมาณ 1 เดอื น ระบบดงั กลาวไดเ กิดปญหาในกรณีการสง E-mail คราวละจาํ นวนมาก ระบบไมส ามารถสง E-mail ดงั กลา ว ไดเ นอื่ งจากระบบ PSU E-mail จํากดั การสงจดหมายแตละเคร่ืองไดไ มเกนิ 60 ฉบบั ตอ นาที หลงั จากการเจอปญ หาดงั กลา ว ผพู ฒั นาโปรแกรมไดด าํ เนนิ การแกไ ขใหส ง จดหมายไดโ ดยไมจ าํ กดั หลงั จากระบบ “แจงการโอนเงินผา นระบบ E-mail” สามารถใชงานไดส มบรู ณ ผูจัดทําโครงการไดด ําเนินการ เผยแพร โดยการเชิญเจาหนา ที่การเงินและผูสนใจของคณะ/หนวยงาน เขารวมฟงการนําเสนอผลงานระบบดงั กลาว เม่ือวนั ที่ 23 กรกฎาคม 2553 ณ หอ งประชมุ 200 อาคารศูนยค อมพวิ เตอร ซ่ึงไดมีเจา หนาทกี่ ารเงินและผูส นใจจาก คณะ/หนว ยงานตา งๆ เขา รว มฟง จํานวน 24 คน จากการนาํ เสนอระบบ “แจงการโอนเงนิ ผานระบบ E-mail” มคี ณะ/ หนว ยงานไดขอความอนเุ คราะหร ะบบดงั กลา วไปใชงาน ซ่ึงเปนระบบทีใ่ ชงานงา ย เปน ประโยชน และไมมคี าใชจ า ย ขอแตกตา งระหวางระบบเดมิ ไมไดแ จง การโอนเงินกับระบบใหม แจง การโอนเงนิ ผานระบบ E-mail ดงั น้ี ประโยชนท ี่ไดรับ ระบบเดิม ระบบใหม 1. เพอื่ แจง รายละเอยี ดการโอนเงนิ ผรู ับเงินไมทราบรายละเอยี ดตอ ง ผรู บั เงนิ ไดร บั รายละเอยี ดจาก E-mail ทดรองใหแ กผ รู ับเงนิ สอบถาม เจา หนา ทก่ี ารเงนิ “แจงการโอนเงินผานระบบ E-mail” 2. เพอ่ื ลดเวลาเจา หนา ทกี่ ารเงนิ ใน - ผรู บั เงนิ สอบถามรายละเอยี ด จากฐานขอ มลู ทมี่ อี ยแู ลว ลดเวลาในการ คน หารายละเอยี ดการโอนเงนิ การคน หารายละเอยี ดการโอนเงนิ - เจา หนา ทกี่ ารเงนิ เสยี เวลาคน หา 1. ผรู บั บริการพึงพอใจ 2. ลดขนั้ ตอนการทาํ งาน ขอมลู 3. เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการ - ปฏบิ ตั งิ านการเงิน โดยสรปุ บคุ ลากรของศนู ยคอมพิวเตอร พงึ พอใจกับบริการแจงการโอนเงินผา นระบบ E-mail ทําใหผูรบั เงิน ไดร บั ความสะดวก สว นความตอ งการเพม่ิ เตมิ ของผใู ชบ ริการ เปนการเรียกดูรายการยอนหลงั แยกเปนรายเดือนของผรู บั แตล ะคน ซงึ่ ระบบดงั กลา วสามารถนําไปใชป ระโยชนก บั หนว ยงานอนื่ ไดด ว ย สงขลาวนันแคหรง คินณุ ทครา  | 147 A PSU DAY OF PRIDE 2014

เอกสารอางอิง หนวยงานภายในที่ไดส นใจนาํ ไปใชงาน 1. คณะอตุ สาหกรรมเกษตร 2. คณะเภสชั ศาสตร 3. คณะพยาบาลศาสตร 4. คณะการแพทยแ ผนไทย 5. งานการเงิน กองคลัง สาํ นกั งานอธิการบดี หนว ยงานภายนอก 1. โรงเรียนศรนี คร อําเภอหาดใหญ จงั หวดั สงขลา รูปที่ 1 คณะเภสัชศาสตรขอความอนเุ คราะหนําไปใชงาน 148 | รูปท่ี 2 คณะพยาบาลขอความอนุเคราะหนําไปใชงาน สวนั งแขหงลคาุณนคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014

รปู ที่ 3 คณะการแพทยแ ผนไทยขอความอนเุ คราะหน าํ ไปใชง าน รูปท่ี 4 งานการเงนิ กองคลงั สาํ นักงานอธิการบดขี อความอนเุ คราะหนาํ ไปใชงาน สงขลาวนันแคหรงคินุณทครา | 149 A PSU DAY OF PRIDE 2014

การยมื -คนื -จา ยคา ปรบั ดว ยตอู ตั โนมตั แิ บบหยอดเหรยี ญ งานบรรณสารสนเทศ ศูนยสนเทศและการเรียนรู วทิ ยาเขตสรุ าษฎรธ านี คณะทํางานพัฒนาแนวปฏิบัติท่ีเปนเลศิ 1. ผชู ว ยอธกิ ารบดฝี า ยสารสนเทศและการจดั การทรพั ยส นิ (ดร.สชุ าติ เชงิ ทอง) 2. นายทนงเดช หนสู แี กว นกั วทิ ยาศาสตร 3. บคุ ลากรงานบรรณสารสนเทศทกุ คน ขอมูลท่ัวไปของศนู ยสนเทศและการเรียนรู วิสัยทัศน เปน ศนู ยบ รกิ ารสารสนเทศและการเรยี นรทู สี่ ามารถใหก ารสนบั สนนุ ภายในมหาวทิ ยาลยั อยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ พนั ธกจิ 1. สนบั สนนุ การเรยี นการสอนดว ยทรพั ยากรการเรยี นรู เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมทางการศกึ ษา 2. สนบั สนนุ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารเพอื่ การบรหิ ารจดั การ 3. สนบั สนนุ การคน ควา การจดั การขอ มลู และเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื การวจิ ยั 4. สนบั สนนุ ทรพั ยากรการเรยี นรแู ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพอื่ การบรกิ ารวชิ าการและทาํ นบุ ํารงุ ศลิ ปวฒั นธรรม ขอบเขตความรบั ผดิ ชอบ แบงออกเปน 2 งาน คือ 1. งานเทคโนโลยแี ละการเรยี นรู 2. งานบรรณสารสนเทศ บคุ ลากร/นกั ศึกษา - จํานวนบุคลากรของวิทยาเขต แยกตามคณะ/หนวยงาน คณะ/หนว ยงาน สายวชิ าการ สายสนบั สนนุ รวม คณะวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม 95 5 100 คณะศลิ ปศาสตรแ ละวทิ ยาการจดั การ 57 5 62 สํานกั งานอธกิ ารบดวี ทิ ยาเขตสรุ าษฎรธ านี - 112 112 วทิ ยาลยั ชมุ ชนสรุ าษฎรธ านี - 8 8 รวม 152 130 282 150 | สวันงแขหงลคาณุ นคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014

- จาํ นวนบุคลากรของศูนยส นเทศและการเรยี นรู แยกตามงานในศนู ยสนเทศและการเรยี นรู งาน จํานวนบคุ ลากร (คน) งานเทคโนโลยแี ละการเรยี นรู 12 งานบรรณสารสนเทศ 5 รวมทั้งสนิ้ 17 - จํานวนนักศึกษาแยกตามระดบั การศกึ ษา ระดับการศกึ ษา จํานวนนักศกึ ษา (คน) ปรญิ ญาโท 182 ปรญิ ญาตรี 3,743 รวมทงั้ สน้ิ 3,925 สงขลาวนันแคหรง คินุณทครา  | 151 A PSU DAY OF PRIDE 2014

152 | วสนังแขหงลคาณุ นคคารินทร โครงสรา ง/ภาระงานของงานบรรณสารสนเทศ รองอธิการบ A PSU DAY OF PRIDE 2014 ศนู ยสนเทศและการเรียนรู ผูชวยอธิการบดีฝาย รักษาการในตําแห งานสํานักงาน งานพัฒนาทรัพยากร งานวิเคราะหหมวดหมู งานส่ือโสตท - นางลาภลกั ษณ-พ. และทํารายการ - น.ส.สุพรพ - นางลาภลกั ษณ- พ. - น.ส.น้าํ ฝน ดิษกุล ทองธรรมชาติ - นางสุนนั ทา สงั ขม าลี บุญชวย ทองธรรมชาติ - นางสนุ นั ทา สังขมาลี - น.ส.สุพรพรรณ - การคดั เลือก - การวิเคราะหห มวดหมู - การลงทะเบ บญุ ชว ย - การจดั ซอ้ื หนังสือภาษาไทย จดั เก็บ - ธุรการ - การขอรับอภินันทนาการ - การวเิ คราะหหมวดหมู - การจัดทาํ ส - บุคลากร - การเงิน - การขอแลกเปลี่ยน หนังสอื ภาษาตางประเทศ - การวิเคราะ - พัสดุ - อาคารสถานที่ - การตรวจรับและลงทะเบียน - การลงรายการเพื่อการสืบคน และลงรายก - สถิติ - ประชาสัมพนั ธ - การกรอกรายการลง - การจัดทาํ หนังสือออกบรกิ าร - การจดั ทําอ - นโยบายและแผน - ประกนั คุณภาพ ฐานขอ มลู ของหองสมุด - การเผยแพรหนังสอื ใหม - การเผยแพร - สถิติ - ประชาสัมพนั ธ - การซอมแซมหนังสือ สือ่ โสตทัศน - การพฒั นาร และแนะนําก บริการ

บดีวิทยาเขตสรุ าษฎรธ านี ยสารสนเทศและการจัดการทรัพยส ิน หนงหัวหนา งานบรรณสารสนเทศ ทัศน งานสิ่งพิมพตอเน่ือง งานบริการ งานคอมพิวเตอรและเทคโนโลยี รพรรณ - น.ส.สุพรพรรณ - น.ส.สุพรพรรณ ของหองสมดุ บียนและ บุญชวย บญุ ชวย - น.ส.อลิษา โตะ เสน็ - นางสนุ นั ทา สังขม าลี - นางลาภลักษณ-พ. ทองธรรมชาติ สําเนา - น.ส.อลษิ า โตะ เสน็ ะหหัวเรือ่ ง - น.ส.น้ําฝน ดษิ กุล การ - การคดั เลือก - ดูแลการบรกิ ารตนเอง ออกบรกิ าร - น.ส.สุพรพรรณ บุญชวย ร - การบอกรับ - บริการรับฝากเงนิ นใหม - การดแู ล แกไข บํารงุ รักษา และพัฒนา ระบบ - การขอรับอภินันทนาการ คา ปรับ/รบั เงนิ คาปรับ คอมพิวเตอรแ ละอปุ กรณประกอบ การให ท้ังหมด ในหองสมุดใหใชงานไดเ ปน - การติดตามทวงถาม - ดูแลสถานภาพสมาชิก ปกติตลอดเวลา - การตรวจรับและ - บริการหนังสือจอง - การดูแล แกไข พฒั นาระบบฐานขอมูล ของหองสมุดใหใชง านไดเปน ปกติ ลงทะเบียน - บริการหนังสอื สํารอง ตลอดเวลา - การบริการ - บริการระหวางหองสมุด - ประสานงานการพฒั นาระบบหองสมุด อตั โนมตั ริ วมกับผดู ูแลระบบของ - การเขา เลม สงิ่ พมิ พ - บริการตอบคําถามและ วทิ ยาเขตสุราษฎรธ านี ตอ เน่ืองฉบบั ลว งเวลา ชว ยการคนควา - ประสานงานการพัฒนาระบบหองสมุด อัตโนมตั ริ ว มกับศูนยคอมพิวเตอร - การจดั ทาํ ดรรชนวี ารสาร - การตรวจกอนออกฯ ของวิทยาเขตหาดใหญ/หอสมดุ คุณหญิงหลงฯ (บทความจากวารสาร - ดแู ลตรู ับคืนนอกเวลา - ดแู ลการจัดทํา ปรับปรุง พัฒนาขอมูล วิชาการ) - การจัดปายนทิ รรศการ และบรกิ ารบนเวบ็ ไซตข องหองสมดุ ใหเปนปจจุบนั และมีขอมูลที่นา สนใจ/ - การ Scan สารบญั - ปฐมนเิ ทศการใช หลากหลาย วารสาร ข้ึนบรกิ ารบน หองสมุดใหนกั ศึกษาใหม เว็บไซต - แนะนาํ การใชหองสมุด - การจดั ทํากฤตภาค สง เสรมิ การใชใ นรปู แบบ (บทความวิชาการจาก ตางๆ หนงั สือพิมพ) ขนึ้ บริการ บนเว็บไซต

หลักการและเหตุผล หอบรรณสารสนเทศ วทิ ยาเขตสรุ าษฎรธานี ไดจ ดั ทาํ งานวิจยั ส่งิ ประดษิ ฐ ตูยมื -คนื -จายคา ปรับอตั โนมัติข้ึนมาให บริการ โดยไดพัฒนาตมู าเปนระยะๆ จากการจายคาปรับแบบฝากเงินจาํ นวนเต็มลักษณะเดียวกบั การซื้อบตั รเติมเงิน โทรศัพทม อื ถอื แลว หกั คาปรบั ในระบบ เมอื่ เงนิ ในบัญชหี มดผูใชบริการตองมาเตมิ เงนิ กบั เจาหนา ท่ีเพ่ือออกใบเสรจ็ รบั เงิน ท่ีถูกตองตามระเบียบการเงินของทางราชการ ซึ่งทําใหผูใชบริการยังไมสะดวกอยางเต็มท่ี เพราะจะตองมาติดตอ เจาหนาที่เมื่อมีคา ปรับ งานบรรณสารสนเทศจึงไดห ารือผเู ก่ยี วขอ งทกุ ฝายในการจัดใหผูใชบริการสามารถจา ยคาปรับ แบบหยอดเหรยี ญได โดยมีหลกั ฐานการรบั เงินเปน สลิปจากเคร่ืองพมิ พในตูอตั โนมัติใหกบั ผูใชบริการ และออกใบเสร็จ รบั เงนิ เพยี งใบเดยี วจากสรปุ รายงานรบั คา ปรบั ประจําวันนําสง งานการเงินทกุ วนั ราชการ วัตถุประสงคของโครงการ 1. เพอ่ื ใหผ รู บั บรกิ ารสามารถยืม-คนื และจา ยคา ปรบั ดว ยตนเองไดอ ยา งสะดวก รวดเรว็ 2. เพอื่ ใหผ ใู หบ รกิ ารลดภาระงานบริการพน้ื ฐานไปปฏบิ ตั ิงานอนื่ ๆ ไดห ลากหลายมากยงิ่ ขนึ้ ตัวช้ีวัดและเปาหมายของโครงการ 1. เพิ่มความสะดวก รวดเรว็ ใหก บั ผรู บั บรกิ ารยืม-คนื -จายคาปรบั ท่ใี ชบ ริการจากตูอตั โนมัติโดยไมต องรอ เจาหนา ท่ี โดยมีการสอบถามความคิดเห็นในการใชบ รกิ ารจายคาปรับแบบหยอดเหรยี ญดว ยการวางแบบสอบถามไว ขางตอู ัตโนมตั เิ พือ่ ใหผใู ชบ ริการใหค วามคิดเห็น มผี ตู อบแบบสอบถาม จาํ นวน 594 คน มีความพอใจในบริการ จาํ นวน 513 คน คิดเปนรอยละ 86.3 ไมพอใจ จาํ นวน 52 คน คดิ เปน รอ ยละ 8.8 และไมต อบแบบสอบถาม จํานวน 29 คน คดิ เปน รอ ยละ 4.9 โดยเหตผุ ลทพี่ อใจ 3 ลาํ ดบั แรกคือ สะดวก รวดเรว็ ทนั ใจ, มีความทนั สมยั และไมต อ งติดตอ เจา หนา ท่ี สว นเหตผุ ลทไ่ี มพอใจ 3 ลาํ ดบั แรก คอื คาปรบั แพงเกินไป, ควรใชธนบตั รในการจา ยคาปรับดว ย และลําบากในการแลก เหรียญ (เอกสารอา งองิ หมายเลข 2) นอกจากนี้ ยังมีการสอบถามความพงึ พอใจของผูรับบริการทุกปการศึกษา ซึ่งมีผลความพึงพอใจในดานความ สะดวก รวดเรว็ ในการรบั บรกิ ารจากตอู ัตโนมตั ิ ดังน้ี - ปการศึกษา 2556 ใชแ บบสอบถามความพงึ พอใจทม่ี ขี อคําถามเหมือนกนั ท้งั 5 วิทยาเขต จากการประสาน ความรวมมือกนั ของหอ งสมดุ ภายในมหาวิทยาลยั สงขลานครินทร มผี ลความพึงพอใจในเร่ืองข้ันตอนการขอรับบรกิ าร ไมย ุงยากซับซอน เขา ใจงา ย อยูในระดบั มาก (คะแนน 3.90 จากคะแนนเต็ม 5) การใหบริการมคี วามถูกตอ ง และรวดเรว็ อยูในระดบั มาก (คะแนน 3.87 จากคะแนนเตม็ 5) (เอกสารอางองิ หมายเลข 3) - ปการศกึ ษา 2555 ใชแ บบสอบถามความพงึ พอใจที่มขี อคําถามเหมอื นกนั ท้ัง 5 วทิ ยาเขต จากการประสาน ความรวมมือกนั ของหอ งสมุดภายในมหาวิทยาลยั สงขลานครินทร มีผลความพึงพอใจในเร่ืองขัน้ ตอนการขอรับบรกิ าร ไมยุงยากซับซอน เขาใจงา ย อยใู นระดับมาก (คะแนน 3.83 จากคะแนนเตม็ 5) การใหบ รกิ ารมีความถกู ตองและรวดเรว็ อยใู นระดบั มาก (คะแนน 3.86 จากคะแนนเตม็ 5) (เอกสารอางอิงหมายเลข 4) - ปการศึกษา 2554 ใชแบบสอบถามที่ออกแบบโดยหอบรรณสารสนเทศ มีผลความพึงพอใจในตูยืม-คืน- จา ยคาปรับอัตโนมัติ อยใู นระดับมาก (คะแนน 3.6 จากคะแนนเต็ม 5) (เอกสารอา งองิ หมายเลข 5) - ปการศึกษา 2553 ใชแบบสอบถามที่ออกแบบโดยหอบรรณสารสนเทศ มีผลความพึงพอใจในตูยืม-คืน- จา ยคาปรับอตั โนมตั ิ อยใู นระดับมาก (คะแนน 3.7 จากคะแนนเตม็ 5) (เอกสารอา งองิ หมายเลข 6) 2. ลดตน ทุนในการจา งบคุ ลากรผใู หบริการยืม-คนื -จายคาปรบั ปล ะประมาณ 108,000 บาทตอ คน สงขลาวนนั แคหรงคินณุ ทครา | 153 A PSU DAY OF PRIDE 2014

แผนงาน (Approach)/งบประมาณในการจดั โครงการ-กิจกรรม 1. แผนงาน แบงออกเปน 3 ชวงเวลา ดงั น้ี ชว งที่ 1 หารอื รวมกับผูจ ดั ทําระบบหองสมุดอตั โนมัตทิ ดี่ แู ลตยู มื -คืน-จา ยคาปรับอตั โนมตั ิ (โปรแกรมเมอร ในงานเทคโนโลยแี ละการเรยี นรขู องศูนยส นเทศและการเรยี นรู) และบคุ ลากรภายในหอบรรณสารสนเทศเพอ่ื ศกึ ษาความ เปนไปไดในการจัดใหบ รกิ ารจายคา ปรับแบบหยอดเหรยี ญทดแทนระบบเดมิ ท่ีเปน การจา ยคา ปรับแบบฝากเงินจาํ นวนเตม็ กบั เจา หนา ทแ่ี ลว หกั เงนิ ในระบบลกั ษณะเดยี วกับบัตรเติมเงนิ มือถอื ชวงที่ 2 หารือผูเกี่ยวของทุกฝายทั้งดวยวาจาและจัดทําบันทึกขอความ ท้ังภายในและภายนอกวิทยาเขต ไดแ ก หนวยตรวจสอบภายในวิทยาเขตหาดใหญ งานงบประมาณและพสั ดุ วิทยาเขตสุราษฎรธานี ผบู ริหารทุกระดบั ที่ เกี่ยวขอ ง ชวงที่ 3 จดั ทาํ ระบบ ทดสอบ และเปดใชง าน 2. งบประมาณในการจดั กิจกรรม จดั ซอื้ กลองหยอดเหรยี ญพรอ มอปุ กรณป ระกอบมาตดิ ต้ังในตอู ัตโนมตั ิแบบเดมิ เปนเงนิ 5,000 บาท กระบวนการ (Process) หรือการปฏิบัตงิ านตามแผน (Deployment) กระบวนการนาํ เสนอขอมูลในขอ 1. - 2. (เอกสารอางอิงหมายเลข 7) 3. การปฏบิ ัตงิ านตามแผน ชว งท่ี 1 หารอื รว มกบั ผจู ัดทาํ ระบบหองสมดุ อัตโนมตั ิทด่ี แู ลตูยมื -คืน-จายคาปรบั อัตโนมตั ิ (โปรแกรมเมอร ในงานเทคโนโลยแี ละการเรยี นรขู องศนู ยสนเทศและการเรยี นรู) และบคุ ลากรภายในหอบรรณสารสนเทศเพื่อศึกษาความ เปน ไปไดใ นการจัดใหบ ริการจายคา ปรับแบบหยอดเหรยี ญทดแทนระบบเดมิ ทเี่ ปนการจายคา ปรบั แบบฝากเงินจาํ นวนเต็ม กบั เจา หนา ทแ่ี ลว หกั เงนิ ในระบบลกั ษณะเดยี วกับบตั รเติมเงนิ มือถอื จากการใหบริการตูยืม-คืน-จายคาปรับอัตโนมัติแบบเดิมดวยการฝากเงินจํานวนเต็มท่ีเจาหนาที่เพ่ือออก ใบเสร็จรับเงินที่ถูกตองตามระเบียบของทางราชการ จากน้ันใหผูใชบริการไปหักเงินคาปรับผานระบบจากตูอัตโนมัติ เมอื่ เงนิ ในบญั ชีหมด จะตอ งมาติดตอ เจา หนา ท่ีเพ่ือเตมิ เงนิ จงึ ทาํ ใหไมส ะดวก รวดเรว็ เทา ท่ีควร หากเปล่ียนเปนใหผ ใู ช สามารถหยอดเหรียญไดเอง จะทาํ ใหจายคาปรับไดสะดวก รวดเร็วขึ้นโดยไมตองไปเปดบัญชีเปนเงินจํานวนเต็มอีก โดยระบบจะออกสลิปทุกคร้งั ทจี่ ายคาปรับกบั ตใู หก บั ผูใ ช และมรี ายงานรบั คา ปรบั ประจาํ วนั สง ใหกับงานการเงนิ พรอ มกบั รวบรวมขอ มูลการรับเงินคาปรับประจาํ วนั ลงในใบเสรจ็ รับเงินเพียงใบเดยี วนําสงพรอมเงนิ ท่ีไดรับจากการหยอดเหรยี ญ ใหก ับงานการเงินทุกวนั ราชการ เมื่อไดห ารือรวมกนั ท้ังผูจ ัดทําระบบและผูใชงานซง่ึ เปน ผูใหบ ริการที่จะชวยลดเวลาและ เพม่ิ ความสะดวกใหก ับผใู ช จงึ มคี วามเหน็ ตรงกนั ในการจดั ทาํ ระบบนข้ี นึ้ ชว งที่ 2 หารอื ผเู กย่ี วขอ งทุกฝา ยทง้ั ดว ยวาจาและจดั ทําบันทึกขอความทง้ั ภายในและภายนอกวทิ ยาเขต ไดแ ก หนว ยตรวจสอบภายในทว่ี ทิ ยาเขตหาดใหญ งานบรหิ ารงบประมาณของวทิ ยาเขตสรุ าษฎรธ านี ผบู รหิ ารทกุ ระดบั ทเ่ี กย่ี วขอ ง มีการประชุมรวมกันระหวางผูบริหารของวิทยาเขต บุคลากรของงานบรหิ ารงบประมาณ โปรแกรมเมอรผูจัดทําระบบ หอ งสมดุ อัตโนมัติท่ีดูแลตูยมื -คืน-จายคาปรับอตั โนมัติ และบุคลากรของหอบรรณสารสนเทศ เพ่ือประสานสอบถาม ความเปนไปไดในการจัดทําระบบใหบริการบนพ้ืนฐานของระเบยี บทางการเงนิ ของทางราชการ ควบคูไปกับการจัดทาํ บันทึกขอความหารือไปยงั หัวหนา หนวยตรวจสอบภายในที่วิทยาเขตหาดใหญ โดยงานบรรณสารสนเทศไดจัดทาํ ขอ มูล ตา งๆ ทีไ่ ดรบั การรอ งขอเพือ่ รองรบั การจดั ทําระบบจนไดร ับอนมุ ตั ิใหด ําเนนิ การ 154 | วสันงแขหงลคาุณนคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014

ชว งที่ 3 จัดทาํ ระบบ ทดสอบ และเปดใชงานเมอ่ื ไดอ นมุ ัตใิ หด าํ เนินการ โปรแกรมเมอรแ ละบคุ ลากรของ หอบรรณสารสนเทศจึงไดรวมกันประสานงานในการใหขอมูลตา งๆ ใหกับโปรแกรมเมอรเ พ่ือจัดทําระบบ และขออนมุ ัติ จดั ซ้ือกลองหยอดเหรียญพรอ มอุปกรณประกอบมาตดิ ต้ังเพ่มิ เติมในตูอัตโนมัติเดมิ จนระบบใชงานได จึงทดลองใชงาน เปน เวลา 1 เดอื นกอนเปด บรกิ าร และประเมนิ ผลหลังการใชง าน การประเมนิ ทบทวนผลการดําเนินงาน (Assessment & Review) 1. จัดใหมีการประเมินความพึงพอใจในการรับบริการดานกระบวนการ/ขั้นตอนการบริการของหองสมุด ผูต อบแบบสอบถามมีความพึงพอใจในเร่ืองการใหบ รกิ ารมคี วามถูกตอ งและรวดเรว็ มากที่สดุ (คะแนน 3.86 จากคะแนน เตม็ 5) 2. ตูอัตโนมัติชวยลดตนทุนในการจางบุคลากรมาน่ังประจําเพ่ือใหบริการยืม-คืน-จายคาปรับ ปละประมาณ 108,000 บาทตอคน แผนหรือแนวทางการพัฒนาคุณภาพอยางตอเนื่องในอนาคต เดิมเปนตูยืม-คืน-จา ยคา ปรับแบบฝากเงินจํานวนเต็มแลวหักคาปรับในบญั ชี ไดพัฒนามาเปนจายคา ปรับแบบ หยอดเหรียญ และอยรู ะหวา งพฒั นาใหจา ยคา ปรบั แบบหยอ นธนบัตรและทอนเงนิ ไดใ นปก ารศึกษา 2557 น้ี จุดแขง็ (Strength) หรือส่งิ ที่ทําไดดใี นประเด็นทน่ี ําเสนอ จดุ แข็งหรือส่งิ ทที่ าํ ไดด ีของตอู ตั โนมัตินค้ี อื ไดร ับการจดอนสุ ทิ ธิบัตร เครอ่ื งยมื -คนื -จา ยคา ปรับอตั โนมัติ ในนาม ของมหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร และในป 2551 ไดร บั รางวัลสภาวิจัยแหง ชาติ ประเภทผลงานประดษิ ฐค ดิ คน ระดับ ชมเชยจากสํานักงานคณะกรรมการวิจยั แหงชาติ (วช.) รบั เกยี รตบิ ัตรและเงนิ รางวัล 50,000 บาท รางวัล Inventor Award ดานวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ระดบั ดเี ดน จากสาํ นกั งานคณะกรรมการวจิ ัยแหงชาติ (วช.) รับถวยรางวลั และ เงนิ รางวลั 10,000 บาท รางวัลในเวทีพัฒนางาน ที่จัดโดยกองการเจาหนา ท่ี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร รับเงิน รางวลั 3,000 บาท รางวัลผลงานวจิ ัยท่ีมีประโยชนต อ ชมุ ชน จากมหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร รับโลแ ละเงนิ รางวลั 10,000 บาท ซึ่งขณะนั้นเปน ตูทีจ่ ายคา ปรับโดยการฝากเงินจํานวนเตม็ กบั เจาหนาที่แลวหกั เงินคาปรับในระบบ เพราะ จะตองดาํ เนินการตามระเบียบทางการเงินของทางราชการที่จะตองมีใบเสร็จรับเงินที่ถูกตองในการรับเงินแตละคร้ัง เมอื่ ปรับเปลย่ี นมาเปนการหยอดเหรยี ญแทนการฝากเงิน จงึ เปน การเพม่ิ ความสะดวก รวดเร็วใหก บั ผรู บั บริการมากยงิ่ ขน้ึ เพราะแนวปฏิบัติของหอบรรณสารสนเทศในเรื่องการจายคาปรับ หากผูรับบริการมีคาปรับคางอยู จะไมส ามารถยืม ทรพั ยากรสารสนเทศใดๆ ไดอกี จงึ จาํ เปน ตองจา ยคาปรบั ใหเสร็จส้นิ หากตอ งการยมื ตอ ดังนัน้ เมื่อมคี า ปรบั แลวจะตอง ไปเปด บัญชฝี ากเงิน หรือเงนิ ในบัญชหี มดตอ งไปตดิ ตอ เตมิ เงินกับเจา หนา ทเี่ พอื่ ใหไ ดใ บเสร็จรับเงนิ ทถี่ ูกตองตามระเบยี บ ราชการ จงึ ทาํ ใหไ มไ ดร บั ความสะดวกเทา ทคี่ วรเมอ่ื มคี า ปรบั แลว สามารถหยอดเหรยี ญไดทนั ที ทาํ ใหส ามารถยมื ตอไดอ ยา ง สะดวกรวดเร็ว โดยในสว นของระเบยี บราชการ ระบบมหี ลักฐานเปน สลปิ ใหกบั ผรู บั บรกิ ารและรายงานประจาํ วัน/ประจํา เดอื นทงั้ ทจ่ี ดั เกบ็ ไวในระบบคอมพวิ เตอรแ ละรายงานทางเอกสารใหก บั งานการเงนิ ควบคไู ปกบั การนําสง เงนิ ทกุ วนั ราชการ สงขลาวนนั แคหรงคินณุ ทครา  | 155 A PSU DAY OF PRIDE 2014

กลยทุ ธหรือปจจัยที่นาํ ไปสคู วามสาํ เร็จ 1. ความรู ความสามารถ และความมุงม่ัน พัฒนาของโปรแกรมเมอรผูดูแลระบบหองสมุดอัตโนมัตทิ ่ีสามารถ ปรับเปลี่ยนระบบตา งๆ ใหตสู ามารถใชงานไดหลากหลาย 2. ความรวมมือ รว มใจ ของบคุ ลากรในงานบรรณสารสนเทศและงานเทคโนโลยแี ละการเรียนรทู รี่ วมกันใหข อ มูล ประสานงาน และชว ยเหลอื เกอื้ กลู กนั ในดา นตา งๆ เพื่อใหก ารพฒั นางานสําเรจ็ ไปไดด ว ยดี 3. ผูบรหิ ารทกุ ระดับและผเู กย่ี วขอ งทุกฝา ยทง้ั ในและนอกวทิ ยาเขต ทใี่ หก ารสนบั สนนุ และเขา ใจในการพฒั นางาน ดานตางๆ ภายใตก ฎระเบียบทางการเงินของทางราชการ โดยคาํ นงึ ถึงประโยชนของนักศกึ ษาซ่ึงเปนผูรับบริการหลัก ของหนว ยงานเปน สําคญั 4. บุคลากรทกุ ฝา ยภายในวทิ ยาเขตซ่งึ เปน สวนหนงึ่ ของผรู บั บริการทีใ่ หค วามรวมมือและใหกาํ ลังใจในการพฒั นา ระบบบรกิ าร โดยรว มใหขอ มลู ดา นตางๆ เพอ่ื เสนอแนะและปรบั ปรุงการใชง านตอู ตั โนมตั ิดงั กลาว 5. กลุมผูรบั บรกิ ารโดยเฉพาะนักศกึ ษาท่พี รอมรบั สาํ หรบั การปรบั เปลีย่ นระบบการใหบ รกิ ารอยูเสมอ โดยรว มให ขอมลู ขอเสนอแนะ ขอ ปรับปรุงตา งๆ ทง้ั ทเ่ี ปนทางการและไมเปนทางการ เพอื่ นํามาพัฒนาไปดวยกัน ผลการดาํ เนนิ งาน (Result)/(เปรียบเทยี บ 3 ป) และ/หรอื เปรียบเทยี บกบั หนวยงานภายใน/ภายนอก 1. ผลการดาํ เนนิ งาน 3 ป ในป 2554-2555 มีการหารือรวมกันระหวางผูจัดทาํ ระบบหองสมดุ อัตโนมัติที่ดูแลตูยืม-คืน-จายคาปรับ อัตโนมัติ (โปรแกรมเมอรในงานเทคโนโลยีและการเรียนรูของศูนยสนเทศและการเรียนรู) และบุคลากรภายใน หอบรรณสารสนเทศ เพ่ือระดมความคิดในการจัดใหบริการจายคาปรับแบบหยอดเหรียญทดแทนระบบเดิมท่ีเปนการ จายคาปรับแบบฝากเงินจํานวนเต็มกับเจาหนาที่แลวหักเงินในระบบลักษณะเดียวกับบัตรเติมเงินโทรศัพทมือถือ โดยพจิ ารณาความเปน ไปไดจากเทคโนโลยกี ารหยอดเหรียญท่ีมีใชโ ดยทัว่ ไปในหลายๆ กจิ การ รว มกบั ขอ มลู จากสรปุ ผล การประเมินความพึงพอใจในแตละปการศึกษาท่ีผูรับบริการตองการใหมกี ารจายคาปรับแบบหยอดเหรียญ และ/หรือ ธนบัตร เพ่ือเพิ่มความสะดวก รวดเรว็ มากกวา การไปติดตอเจา หนาท่ีเพอ่ื เปดบัญชีเงินรบั ฝากทุกครง้ั ท่ีมีคาปรับหรือ เงินในบัญชีหมด โดยหารอื ผูเกยี่ วขอ งทุกฝา ยทั้งดวยวาจาและจัดทําบนั ทึกขอความทง้ั ภายในและภายนอกวทิ ยาเขต ไดแก หนวยตรวจสอบภายใน วิทยาเขตหาดใหญ งานงบประมาณและพสั ดวุ ทิ ยาเขตสุราษฎรธ านี ผูบ ริหารทุกระดับทีเ่ ก่ียวขอ ง ดว ยการประชมุ รว มกันระหวางผบู รหิ ารของวทิ ยาเขต บุคลากรของงานงบประมาณและพสั ดุ โปรแกรมเมอรผ จู ดั ทาํ ระบบ หองสมุดอัตโนมัติท่ีดูแลตูยืม-คืน-จายคาปรับอัตโนมัติ และบุคลากรของหอบรรณสารสนเทศ เพื่อประสานสอบถาม ความเปนไปได ในการจัดทาํ ระบบใหบริการบนพื้นฐานของระเบียบทางการเงินของทางราชการควบคูไปกับการจัดทํา บนั ทกึ ขอความหารือไปยังหวั หนา หนวยตรวจสอบภายในที่วิทยาเขตหาดใหญ โดยงานบรรณสารสนเทศไดจ ดั ทําขอ มูล ตางๆ ท่ีไดร บั การรอ งขอเพ่ือรองรบั การจัดทาํ ระบบ เมอ่ื ไดอ นุมัติใหด ําเนนิ การ โปรแกรมเมอรแ ละบคุ ลากรของหอ บรรณสารสนเทศ จงึ ไดร วมกนั ประสานงานในการใหขอ มูลตา งๆใหกบั โปรแกรมเมอรเ พอื่ จดั ทําระบบ และขออนมุ ตั จิ ดั ซอื้ กลองหยอดเหรียญพรอมอุปกรณป ระกอบมาตดิ ตงั้ เพิ่มเติมในตอู ตั โนมตั เิ ดิม จนระบบใชงานได จงึ ทดลองใชงานเปนเวลา 1 เดอื นกอนเปด บริการ และประเมนิ ผลหลงั เปดบรกิ าร โดยสอบถามความคิดเห็นดวยการวางแบบสอบถามไวข า งตู อัตโนมตั ิเพอ่ื ใหผ ูใ ชบ ริการใหความคดิ เห็นหลงั รบั บริการ มผี ตู อบแบบสอบถาม จาํ นวน 594 คน มีความพอใจในบริการ จาํ นวน 513 คน คิดเปน 86.3% ไมพอใจ จาํ นวน 52 คน คดิ เปน 8.8% และไมต อบแบบสอบถาม จาํ นวน 29 คน คดิ เปน 4.9% โดยเหตผุ ลทพี่ อใจ 3 ลําดบั แรกคอื สะดวก รวดเร็ว ทันใจ มคี วามทันสมยั และไมต องติดตอเจาหนา ที่ สวนเหตุผลทีไ่ มพอใจ 3 ลาํ ดบั แรกคือ คาปรบั แพงเกนิ ไป ควรใชธนบตั รในการจา ยคาปรับดว ย และลําบากในการแลก เหรียญ (เอกสารอา งองิ หมายเลข 2) 156 | สวนั งแขหงลคาุณนคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014

ในป 2555-2557 ตูอตั โนมัติทีจ่ า ยคา ปรับแบบหยอดเหรียญยงั คงใหบ รกิ ารแกสมาชิกของหอบรรณสารสนเทศ โดยจดั ใหม ีการประเมนิ ผลความพึงพอใจในการรับบรกิ ารทุกปการศึกษา ซึง่ มหี อ งสมดุ ของสถาบันตา งๆ ใหค วามสนใจ สอบถามราคาและขอมูลทางเทคนิคในการจัดซ้ือตูอัตโนมัติไปบริการในหองสมุด อาทิเชน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สถาบันบัณฑติ พัฒนบริหารศาสตร มหาวทิ ยาลัยหาดใหญ เปนตน โดยหอบรรณสารสนเทศไดเ สนอวาระเพ่ือพจิ ารณา เขาหารือการนาํ ตูอัตโนมัติท่ีไดรับการจดอนุสิทธิบัตรเขาสูเชิงพาณิชยในที่ประชุมผูบริหารของวิทยาเขตสุราษฎรธานี ท่ปี ระชุมมมี ตใิ หข ายสทิ ธิของอนุสิทธิบตั รใหก ับบริษทั เอกชนไปจดั ทาํ จําหนาย ดวยวิทยาเขตสุราษฎรธานีมีขอจํากดั ดา น กาํ ลงั คนในการจดั ทําตเู พอ่ื จาํ หนา ยรวมถงึ บรกิ ารหลงั การขายและอนื่ ๆ 2. ผลการดาํ เนนิ งาน 3 ป เมื่อเปรยี บเทยี บกับหนว ยงานภายใน/ภายนอก 2.1 ผูรบั บริการสามารถยมื -คืน-จายคาปรบั ดว ยตนเองไดอยา งสะดวกรวดเร็ว โดยในชว งเวลา 3 ป มกี าร ปรับปรงุ พัฒนาจากการยืม-คืน-จายคา ปรับแบบฝากเงินจํานวนเต็มแลวหักคาปรับในระบบมาเปนจายคา ปรับดวยการ หยอดเหรยี ญ ทําใหไดรบั ความสะดวก รวดเร็วและทนั สมัยมากยงิ่ ขนึ้ โดยหนว ยงานภายในคอื หองสมุดท้ัง 5 วิทยาเขต ของมหาวิทยาลยั สงขลานครินทร และหอ งสมุดของมหาวทิ ยาลยั อื่นๆ รวมถึงหนวยงานตางๆ ยงั ไมม ตี อู ตั โนมัติบรกิ าร ดังกลาว ดวยตอู ัตโนมัตินีไ้ ดร ับการจดอนสุ ทิ ธบิ ัตรไวใ นนามของมหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร โดยวิทยาเขตสุราษฎรธานี เปน ผยู นื่ คาํ ขอ 2.2 ผใู หบริการลดภาระงานบริการพนื้ ฐานไปปฏบิ ัตงิ านอื่นๆ ไดหลากหลายมากยิ่งขึ้น ไดแก การตรวจกอน ออกจากหองสมุด การข้ึนชั้นหนังสือ-วารสาร การจัดปายนิทรรศการ การตอบคําถามและชวยการคนควา เปนตน โดยในปก ารศึกษา 2556 มีสถิติการยมื ท่ีรายงานจากระบบหองสมุดอัตโนมัติ จาํ นวน 20,779 คน ท่ีชวยลดตนทุน ในการจางบคุ ลากรมานั่งประจําเพ่อื ใหบ ริการยมื -คนื -จา ยคาปรบั ปล ะประมาณ 108,000 บาท/คน โดยหนวยงานอืน่ ๆ ยงั ตอ งมีบคุ ลากรใหบ รกิ ารในดา นนซ้ี งึ่ จะตอ งจดั ใหเพยี งพอตอ จาํ นวนผรู ับบริการของแตล ะหนว ยงาน 2.3 ผูเ ก่ยี วของทุกฝา ยมที กั ษะในการใชเ ทคโนโลยีใหเ กิดประโยชนอ ยางเตม็ ที่ แมเ ปน กิจกรรมอนื่ ๆ ทไี่ มเ ก่ยี ว กับหอ งสมุด ทาํ ใหเกิดความกลา ทีจ่ ะใชส่อื ตา งๆ ไดอยา งคลองแคลว เชน การซอื้ บตั รโดยสารรถไฟฟา รถใตด นิ การ เตมิ นํ้ามันดวยตนเองจากตอู ัตโนมตั ิ เปนตน ในสวนการใชบริการจากหองสมดุ ทําใหเ กดิ แรงจูงใจในการยมื ทรัพยากร สารสนเทศไปศกึ ษาคน ควา เกิดความสนกุ ในการรับบรกิ าร เกิดการสอื่ สารระหวางกลมุ ตางๆทีจ่ ะเชิญชวนเขาใชบรกิ าร หอ งสมดุ สง ผลใหเกดิ ความรแู ละเชดิ ชสู ถาบนั ไดอ ีกทางหนงึ่ บทสรปุ หอบรรณสารสนเทศ ศนู ยส นเทศและการเรยี นรู วทิ ยาเขตสุราษฎรธ านี เปน หองสมุดขนาดเลก็ ท่ีมุงม่ันพัฒนา บริการดานตา งๆ โดยคํานึงถงึ ประโยชนข องนักศกึ ษาซึง่ เปนผูรับบริการหลักของหนวยงานเปนสําคญั ซง่ึ ภายใตขอ จํากดั เรือ่ งกาํ ลงั คน การนาํ เทคโนโลยีตา งๆ มาชว ยงาน ทําใหช วยแกป ญหาและพัฒนางานไปไดพรอ มกนั ทงั้ นี้การจะพฒั นา งานดา นตางๆ ไปไดด ว ยความราบรนื่ และสาํ เรจ็ นน้ั จะตอ งมาจากความรว มมอื รวมใจ และรว มแรงของทกุ ฝา ยทง้ั ผบู รหิ าร ผูปฏบิ ัติงาน และผูรับบริการ ภายใตกฎระเบียบของทางราชการ โดยยึดหลักพระปณิธานของพระราชบิดาดังคาํ ท่ีวา “ประโยชนข องเพอ่ื นมนุษยเ ปน กจิ ท่หี นง่ึ ” สงขลาวนนั แคหรงคินณุ ทครา | 157 A PSU DAY OF PRIDE 2014

158 | วสนั งแขหงลคาณุ นคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014

หนวยงานทีไ่ ดรับ Best Practice ทมี่ หี นว ยงานอน่ื นําไปตอ ยอด/ปรบั ใช และหนวยงานทน่ี ํา Best Practice ไปตอยอด/ปรบั ใช สงขลาวนันแคหรงคินณุ ทครา | 159 A PSU DAY OF PRIDE 2014

หนวยงานท่ไี ดรบั Best Practice ทมี่ ีหนว ยงานอน่ื นําไปตอ ยอด/ปรบั ใช และหนวยงานท่ีนาํ Best Practice ไปตอยอด/ปรบั ใช หนว ยงานทมี่ แี นวปฏบิ ตั ทิ เี่ ปน เลศิ แนวปฏบิ ตั ทิ เี่ ปน เลศิ หนว ยงานทน่ี ําแนวปฏบิ ตั ิ ปก ารศกึ ษา 2546-2555 ที่เปน เลศิ ไปตอ ยอด/ปรบั ใช การบรหิ ารจดั การเพอ่ื พฒั นา 1. กองวชิ าการและการพฒั นานกั ศกึ ษา แกนนาํ ดา นจติ ตปญ ญาศกึ ษา 1. คณะเทคนิคการแพทย วิทยาเขตสรุ าษฎรธ านี การพฒั นาการจดั การเรยี น การสอนระบบ PBL 2. คณะแพทยศาสตร รายงานขอ มลู สําหรบั หนว ยงานท่นี าํ Best Practice ไปตอยอด/ปรับใช คณะเทคนคิ การแพทยไดน ําแนวปฏิบัติทีเ่ ปนเลศิ ของหนวยงานอนื่ ไปใชในการดําเนนิ งาน หรอื นาํ ไปตอ ยอดในการ ทํางานดงั น้ี แนวปฏิบัตทิ ่ีเปนเลิศ แนวปฏิบัติ หนวยงานของทานนําไปใชงาน ผลท่ีไดจากการนําไป หลกั ฐานการนาํ ไป ตอยอด/ปรับใช ตอยอด/นําไปใช เร่อื ง/ ของหนวยงาน ท่ีเปนเลิศ หรือนําไปตอยอด ปการศึกษา การทาํ งานอยางไร 1. การบริหารจัดการ 2554 คณะเทคนิคการแพทยไดนาํ นกั ศกึ ษาทลี่ งทะเบียนเรียน 1. แนวปฏิบัติทีด่ ี เรอ่ื ง เพอื่ พฒั นาแกนนาํ ดาน หลักการบริหารจัดการและพัฒนา รายวิชา 135-171 จิตวิวฒั น “จติ ตปญ ญาศกึ ษาเพอ่ื พฒั นา จิตตปญญาศึกษา/ นักศึกษาดว ยกระบวนการจิตต- เพ่ือการพัฒนาศักยภาพ ศกั ยภาพนกั ศึกษาแบบองค กองวชิ าการและการ ปญญาศึกษามาใชงานตอโดยคณะ ตนเองแบบองคร วม รวม” ซ่งึ คณะเทคนิคการ พัฒนานกั ศกึ ษา ไดเปดรายวิชาเลือกเสรชี ื่อรายวิชา ภาคการศึกษา 2/2556 แพทย ไดสง ใหสาํ นักงาน วิทยาเขต จติ ววิ ัฒนเพ่อื พฒั นาศกั ยภาพตนเอง ทกุ คนมีผลการเรียน A ประกนั คุณภาพไปแลวตาม สุราษฎรธานี แบบองคร วมจาํ นวน 1 หนว ยกติ และมีผลประเมนิ ความ หนงั สอื เลขท่ี มอ.135/632 ตัง้ แตป พ.ศ. 2555 เพ่อื พฒั นา พึงพอใจตอรายวิชาเฉลี่ย ลงวนั ท่ี 1 เมษายน 2557 นักศึกษาดวยกระบวนการจิตต- = 4.44 และมขี อเสนอแนะ เพื่อรวมคดั เลือกเปนแนว ปญ ญาศึกษา โดยจดั รูปแบบการ ในทางบวก (Positive) ตอ ปฏิบัติที่เปนเลิศปการศึกษา เรยี นใหงา ยขน้ึ ใชเ วลานอ ยลงแต การจัดการเรียนการสอน 2556 ประสทิ ธิภาพสงู โดยใหนักศกึ ษามี รายวชิ าน้ี (ดังรายละเอียด 2. สน.13 ใบระดบั คะแนน สว นรวม ไดแสดงออก แลกเปลยี่ น ใน “สรุปผลการประเมินการ รายวชิ า 135-171 จิตวิวัฒน เรยี นรูรวมกนั เรียนรูจากประสบ- สอนภาคทฤษฎีโดยนักศึกษา เพอื่ การพฒั นาศกั ยภาพตนเอง การณตรงในชีวิตประจาํ วัน โดย รายวิชา 135-171 จิตวิวัฒน แบบองครวม เนนดานคณุ ธรรม จริยธรรม เพ่ือการพัฒนาศักยภาพ 3. สรุปผลการประเมนิ การ การเขาใจดานในจติ ใจตนเองและ ตนเองแบบองครวม”) สอนภาคทฤษฎี โดยนักศึกษา ความจรงิ ของธรรมชาติ รวมทงั้ การ รายวิชา 135-171 จิตววิ ัฒน มีปญญาภายในปลอยวางอารมณ เพื่อการพัฒนาศักยภาพ ดา นลบ การใหอภยั และขอขมากรรม ตนเองแบบองคร วม 160 | วสนั งแขหงลคาุณนคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014

แนวปฏิบัตทิ ่ีเปนเลิศ แนวปฏิบัติ หนว ยงานของทา นนาํ ไปใชงาน ผลที่ไดจากการนําไป หลกั ฐานการนําไป ตอยอด/ปรับใช ตอยอด/นาํ ไปใช เรอื่ ง/ ของหนว ยงาน ที่เปนเลิศ หรือนําไปตอยอด ปการศึกษา การทํางานอยางไร เมื่อทําผดิ รวมท้ังพหวุ ัฒนธรรม สนั ติภาพและความสขุ และปรบั ปรงุ กจิ กรรมทันทีทีน่ ักศกึ ษาแนะนํา นักศกึ ษามปี ระสบการณตรงกบั ความสขุ และจิตสงบจากเครอ่ื งมอื ของจติ ตปญญาคอื สติ นอกจากนนั้ คณะยังไดป รบั ปรุง โดยใหอาจารยไปอบรมเพมิ่ เติมดาน กระบวนการทางจติ ตปญญาเพ่ือ พัฒนามนุษยท แี่ ทจริงทาํ ใหห ลกั สูตร ในรายวิชาของคณะไดเพ่ิมเติม เน้ือหาขั้นสงู ของการจัดการอารมณ และความคดิ ไรสาระ ทําใหการ จัดการเรียนรูท่ีมีประสิทธิภาพ ไดผ ลดพี ัฒนานักศกึ ษา คิดเปน รอ ยละ 100 2. การพฒั นาการจัดการ 2553 1. นําไปใชในการเรียนการสอน นักศึกษาท่ลี งทะเบียนเรียน เอกสารแนบหมายเลข 2-5 เรียนการสอนระบบ PBL/ รายวิชา 135-361 ธนาคารเลือด รายวชิ า 135-361 ธนาคาร ดงั น้ี คณะแพทยศาสตร (Blood Bank) โดยเขารว ม เลอื ด (Blood Bank) มคี วาม 2. รายละเอียดกระบวนการ โครงการจดั การเรยี นการสอน พึงพอใจตอรายวิชาในภาค จัดการเรียนการสอน ตามการจัดการศึกษาในศตวรรษท่ี ทฤษฎเี ฉล่ยี = 3.52 และ 3. เอกสารการเขารวม 21 (เอกสารหมายเลข 2-3) พึงพอใจตอรายวิชาภาค โครงการจัดการเรียนการ 2. จัดการเรยี นการสอนโดย ปฏบิ ัตเิ ฉลย่ี = 3.57 โดยมี สอนตามการจัดการศึกษาใน ประยุกตจ าก PBL ของคณะแพทย- ความคดิ เหน็ และขอเสนอแนะ ศตวรรษท่ี 21 ศาสตร (เอกสารหมายเลข 4) ของนักศกึ ษาดัง “เอกสาร 4. การเรียนรูโดยใชปญหา 3. มีการใหนักศกึ ษาแสดงความ หมายเลข 5” ซงึ่ คณะจะนาํ เปน ฐาน (PBL) วิชาธนาคาร คิดเหน็ ตอ การเรยี นแบบ Active ไปใชในการปรับปรุงการ เลือด Learning (เอกสารหมาย เลข 5) สอนวธิ นี ี้ใหดยี ง่ิ ขึ้นในอนาคต 5. ความคิดเห็นและขอ เสนอแนะของนกั ศึกษาตอ การเรยี นแบบ Active Learning 6. รายละเอียดผลการ ประเมินการสอนรายวชิ า 135-361 ธนาคารเลอื ด (Blood Bank) ภาคการ ศกึ ษา 1/2556 สงขลาวนนั แคหรงคินณุ ทครา | 161 A PSU DAY OF PRIDE 2014

กระบวนการคดั เลอื กแนวปฏบิ ตั ทิ เี่ ปน เลศิ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทรมีการคัดเลอื กแนวปฏิบตั ิที่เปนเลิศ ต้ังแตปการศึกษา 2548 จนถงึ ปก ารศกึ ษา 2556 นับเปน ปท ี่ 9 โดยมีการพฒั นากระบวนการคดั เลอื กมาโดยตลอดเพอื่ ความเหมาะสม สําหรับปก ารศึกษา 2556 มหาวทิ ยาลัยมีการกําหนดแผนดาํ เนนิ การและกรอบเวลาท่ีชัดเจน เพอ่ื ใหไดผ ลการพิจารณากอนการจดั ทาํ SAR ระดับ มหาวทิ ยาลัย โดยมรี ายละเอยี ดดงั นี้ 1. มหาวทิ ยาลยั แจง ใหคณะ/หนวยงานนาํ เสนอแนวปฏิบตั ทิ ด่ี ี เพื่อใหกรรมการพจิ ารณาแนวปฏิบตั ิท่ีเปน เลศิ คัดเลือก โดยจดั สงเอกสารพรอมไฟลดงั กลา วมายงั สาํ นกั งานประกันคุณภาพ ภายในวันท่ี 4 เมษายน 2557 ในปก าร ศึกษา 2556 จํานวน 19 เรอ่ื ง จาก 16 คณะ/หนว ยงาน แบงตามรายดานท่รี ะบใุ นแบบฟอรมการนําเสนอแนวปฏิบตั ิทีด่ ี ปก ารศึกษา 2556 ดังนี้ 1) ดา นการเรยี นการสอนและคณุ ภาพบณั ฑติ จํานวน 7 เรอื่ ง 2) ดา นบรหิ ารจดั การ จาํ นวน 10 เร่อื ง 3) ดา นบรกิ ารวชิ าการ จํานวน 2 เร่ือง 2. พิจารณาคัดเลือกหนวยงานท่ีมแี นวปฏิบตั ทิ เี่ ปนเลิศ/นวัตกรรม คณะกรรมการพจิ ารณาแนวปฏบิ ตั ิทีเ่ ปน เลศิ มเี กณฑในการพจิ ารณาดงั น้ี 1. การรายงานผลการดาํ เนนิ งาน จะตองมีความสอดคลองกับวตั ถุประสงค และตัวชี้วัด/เปา หมายของ โครงการ 2. แสดงกระบวนการ PDCA ท่ีชดั เจน 3. แสดงผลการดาํ เนนิ งานที่เนนถงึ พฒั นาการครบ 3 ป กอนสงแนวปฏบิ ตั ิท่ีดที ั้งหมดใหค ณะกรรมการพิจารณาแนวปฏบิ ัติที่เปนเลศิ สาํ นกั งานประกันคุณภาพจะทํา Check List เพอื่ ตรวจสอบความครบถว นของการกรอกแบบฟอรมแลว สง แนวปฏิบตั ิท่ีดีทั้งหมดใหค ณะกรรมการแตล ะ ทา นลว งหนา 2 สัปดาห (Individual Assessment) แลว จงึ นดั ประชุมเพอ่ื พจิ ารณารวมกัน (Consensus Assessment) และตดั สนิ ผล คณะกรรมการพจิ ารณาแนวปฏบิ ตั ิที่เปน เลิศ ประกอบดว ย 1. รองอธกิ ารบดีฝา ยวางแผนและการเงนิ ประธานกรรมการ 2. ผชู ว ยรองอธกิ ารบดฝี ายประกันคณุ ภาพ รองประธานกรรมการ 3. ผชู ว ยอธกิ ารบดฝี า ยวางแผนและพัฒนา กรรมการ 4. ผชู ว ยอธิการบดฝี ายประกนั คณุ ภาพ วทิ ยาเขตปต ตานี กรรมการ 5. ผชู ว ยอธิการบดฝี า ยการศกึ ษาและการประกนั คุณภาพ วิทยาเขตตรงั กรรมการ 6. รองศาสตราจารย ดร.ไพรตั น โสภโณดร กรรมการ 7. รองศาสตราจารย ดร.วนั ดี สทุ ธรงั ษี กรรมการ 8. รองศาสตราจารย ดร.ธรี พงษ แกน อนิ ทร กรรมการ 9. ผชู ว ยศาสตราจารยจ ุฬาลกั ษณ พฒั นศกั ดภ์ิ ญิ โญ กรรมการ 10. ดร.ลพั ณา กจิ รงุ โรจน กรรมการ 162 | วสันงแขหงลคาณุ นคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014

11. ดร.อุษา อินทรกั ษา กรรมการ 12. นางสาวบญุ ยเรศ ภักดรี จุ รี ตั น เลขานกุ าร 13. นางสาวกติ ติยา แสะอาหลี ผชู ว ยเลขานุการ คณะกรรมการพจิ ารณาแนวปฏิบตั ทิ ่เี ปนเลิศ ประชมุ เม่อื วนั ที่ 29 พฤษภาคม 2557 ไดพิจารณาใหรางวลั แก คณะ/หนว ยงานทผ่ี า นการคดั เลอื กจากการพิจารณาแนวปฏบิ ตั ทิ ี่ดี ใหเ ปน แนวปฏบิ ตั ทิ เ่ี ปนเลิศ/นวตั กรรม มหาวทิ ยาลัย สงขลานครนิ ทร ปการศกึ ษา 2556 ดงั น้ี 1. คดั เลอื กเปนแนวปฏิบตั ทิ เี่ ปน เลศิ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร จํานวน 3 โครงการ 2. คดั เลอื กเปนผลงานดเี ดน “ดา นนวตั กรรม” มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร จาํ นวน 3 โครงการ 3. พจิ ารณาเพ่ิมเติมรางวัลใหกับหนวยงานท่ีไดรับ Best Practice ท่มี ีหนว ยงานอ่ืนนําไปตอ ยอด/ปรบั ใช และหนวยงานทีน่ าํ Best Practice ไปตอยอด/ปรบั ใช ที่ประชุมคณะกรรมการพิจารณาแนวปฏิบัติที่เปนเลิศ ไดพิจารณาเพ่ิมเติมการใหรางวัลกับหนวยงานที่นํา แนวปฏบิ ัตทิ ่เี ปนเลิศไปตอ ยอด/ปรับใช และเจา ของหนว ยงานที่มีแนวปฏิบัตทิ ีเ่ ปนเลิศ ปก ารศึกษา 2546-2555 ซ่ึงมี คณะ/หนว ยงานรายงานขอ มูลมา จาํ นวน 7 หนว ยงาน คณะกรรมการพจิ ารณาแนวปฏบิ ตั ทิ เ่ี ปน เลศิ มเี กณฑใ นการพจิ ารณามอบรางวลั ดงั นี้ 1. มอบรางวัลใหกับคณะ/หนว ยงานที่นาํ แนวปฏบิ ตั ิท่เี ปนเลศิ ไปตอ ยอด/ปรบั ใช และเจา ของหนวยงานทม่ี ี แนวปฏบิ ตั ทิ เ่ี ปน เลศิ 2. คณะ/หนวยงานจะตอ งมกี ารแนบหลักฐานการนาํ ไปตอยอด/ปรับใช และอธิบายใหชัดเจนวา ไดน ําไป ตอ ยอด/ปรับใชอ ยางไร ซง่ึ หนวยงานทไี่ ดร บั รางวลั จํานวน 3 คณะ/หนว ยงาน เม่ือคณะกรรมการพิจารณาแลว จึงนําเขาเสนอตอท่ีประชุมคณบดี พิจารณาใหความเห็นชอบและประกาศ แนวปฏิบัติท่เี ปน เลศิ /นวตั กรรมระดบั มหาวิทยาลัย มอบรางวัลและจัดแลกเปลยี่ นเรียนรูใ นโครงการ “เวทคี ณุ ภาพ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร” แตเ นอ่ื งจากมหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทรมนี โยบายรวมการจดั งาน 3 งาน คือ งาน วันนักวิจัยและนวัตกรรม ม.อ. งานวัดเชิดชูครูสงขลานครินทร และโครงการเวทีคุณภาพเขาดวยกัน จงึ ใชชื่องานวา “วันแหง คณุ คา สงขลานครนิ ทร (A PSU DAY OF PRIDE) คร้ังที่ 1 ประจาํ ป 2557” สงขลาวนนั แคหรงคินุณทครา | 163 A PSU DAY OF PRIDE 2014

164 | วสนั งแขหงลคาณุ นคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014

ผปู ระกอบการดเี ดน สงขลาวนันแคหรงคินณุ ทครา  | 165 A PSU DAY OF PRIDE 2014

ผปู ระกอบการดเี ดน ของศนู ยบ ม เพาะวสิ าหกจิ อทุ ยานวทิ ยาศาสตร มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร ประจําป 2557 1. นางจนั ทมิ า วงษศริ ิ หา งหุน สวนจาํ กดั เฮลท อนิ โนเวชนั่ แอนด ดไี ซน คุณลักษณะและจดุ เดนของผลติ ภณั ฑและบรกิ าร เปน แผนรองรองเทา ทผ่ี ลติ จากวสั ดุ Poly ethylene (PU) Foam ท่มี คี ณุ สมบัติพิเศษในการรับแรงกระแทก และ กระจายแรงกดไดด ี เนือ่ งจากคณุ สมบตั ิของความยืดหยุน ที่ รบั พลงั งานจากแรงกระแทก และคืนพลงั งานกลับ รวมกบั การใชเ ทคโนโลยีใหม Physical Pressure Release Innovation (PPFI) ที่มลี กั ษณะการกระจายแรงตามสรีระของรา งกาย รวมถงึ มีเจลชว ยรบั แรงกระแทกทด่ี ยี ง่ิ ขน้ึ โดยเฉพาะในบรเิ วณสน เทา ประโยชนใชสอย/สรรพคณุ ใชเปนแผน รองสน เทา ท่ีออกแบบใหมลี ักษณะสอดคลอ งกับสรีระของรา งกาย เพื่อใหผูสวมใสรสู ึกสบายจากการ กระจายแรงกดตามโครงสรา งและสรรี ะทถ่ี กู ตอ ง ทดแทนแผน รองรองเทา แบบเกา ไมม รี ะบบลดแรงกระแทกเฉพาะที่ 166 | วสันงแขหงลคาณุ นคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014

2. ผศ.นพ.สิทธิโชค อนนั ตเสรี บรษิ ัท ออรโธเนียร จํากดั คณุ ลักษณะและจดุ เดน ของผลติ ภณั ฑและบรกิ าร เปนผลิตภัณฑทถ่ี ูกพัฒนาจากประสบการณดา นการผาตัดในผปู ว ยจรงิ ซึง่ เครอ่ื งมอื ที่ใชผ า ตดั แบบเดมิ ยงั ไมตอบ สนองการใชงานของแพทย จึงพฒั นาผลติ ภณั ฑใ หมีการใชงานไดง าย ประหยัดเวลาในการผาตัด ทาํ ใหแพทยสามารถ ผาตดั ผูปวยในแตละวันไดห ลายราย โดยจดุ เดน ของผลิตภัณฑค อื ไดรับการออกแบบใหป ลายมดี มีลกั ษณะมน โดยแพทย จะใชเข่ียหาปลอกหมุ เอน็ ซ่ึงทําใหทราบตาํ แหนงปลอกหมุ เอ็นไดอ ยา งแมนยาํ ไมมกี ารคาดเดาอยางเชนการใชเ ข็มหรือ อปุ กรณปลายแหลมชนดิ อน่ื มีสวนโคงและสวนคมมดี ขนาดเล็ก ทําใหส ามารถตดั ปลอกที่รัดเอน็ ออกได เกดิ การบาดเจบ็ ตอ เน้ือเย่ือขา งเคยี งนอ ยมาก กา นของมีดมขี นาดเล็กสามารถสอดผา นรเู จาะทผี่ วิ หนงั ขนาด 2 มม. ทําใหแ ผลเล็ก เจบ็ นอ ย หลงั ผา ตัดไมตองเยบ็ แผล ผปู ว ยหายเรว็ สามารถใชง านมือไดใ น 24 ชั่วโมง จากปกติทจ่ี ะตอ งหา มโดนนาํ้ เปนระยะเวลา 7 วนั ซึ่งลดระยะเวลาการพกั รักษาตวั ผปู ว ยไมต อ งกลับมาตัดไหม และไมต อ งทานยาแกอ กั เสบหรือยาตา นเชอื้ แบคทเี รยี ตดิ ตอกนั เปน เวลานาน สามารถทาํ งานไดแ บบปกตเิ ร็วขนึ้ เมอ่ื เทียบกับการผา ตดั ดวยวธิ กี ารเดิม คุณลกั ษณะเฉพาะมดี งั นี้ - สว นปลายมีด กลม มน ขนาดเลก็ ใชเข่ยี เกย่ี วและตดั A1 pulley ไมท าํ ใหเกิด Tendon Laceration - สว นคมมีดกวา ง 3 มม. สําหรับตัด A1 Pulley เกิด Softtissue injury นอยท่สี ุด - มมุ และความโคง ปลายมดี สอดผา นแผลเจาะและเกย่ี วตดั ปลอกหมุ เอน็ อยา งลงตวั - แกนมดี กวา ง 2 มม. ประโยชนใชส อย/สรรพคณุ : ใชผ า ตดั รกั ษาอาการนว้ิ ล็อค ซ่ึงใหผ ลดีกวา วิธกี ารผา ตัดแบบเปด ผิวหนงั (วิธกี ารเดมิ ) ตารางเปรียบเทยี บการผา ตดั แบบเปด ผวิ หนงั และแบบเจาะผา นผวิ หนงั ขอ มูล วธิ ผี า แบบเปด ผวิ หนงั วธิ เี จาะ เวลาในการผา ตดั ประมาณ 10-15 นาที 2-3 นาที ชดุ อปุ กรณผ า ตดั มาตรฐาน ตองใช ไมใ ช ผชู วยแพทยผ า ตดั ไมต อ งมี การเยบ็ แผล อยา งนอย 1 คน ขนาดของบาดแผล เย็บ ไมตองเยบ็ การหายของบาดแผลผา ตดั ประมาณ 2 มม. การกลบั ไปใชงานของมอื ประมาณ 1-1.5 ซม. 1 วัน การเปน ซ้าํ 7 วัน 1 วนั เสน ประสาทบาดเจบ็ 7 วนั 0-1% 0-1% 1% 1% สงขลาวนันแคหรงคินณุ ทครา | 167 A PSU DAY OF PRIDE 2014

3. นายเกยี รตศิ กั ด์ิ ทองใส บรษิ ทั ลกู ชุปรตั นาขนมไทย จํากัด คณุ ลกั ษณะและจดุ เดน ของผลติ ภณั ฑและบรกิ าร การผลิตขนมลูกชปุ โดยผลติ จากวัตถุดบิ อยางดี ไมมีสวนผสมของแปง ทาํ ใหไดลูกชปุ เนอ้ื แนน เหนยี วนุม พรอ ม ทาน สามารถเก็บไวในตูเยน็ ได 1 เดอื น และขนมเปย ะระดับพรีเมียม ผลิตจากวตั ถุดิบอยางดี ดว ยสว นประกอบแปงท่นี มุ ปริมาณไสทีเ่ ยอะและใชไขแ ดงจากไขเค็มไชยาแท ซ่งึ เปนของดีของจังหวดั มาเปน วตั ถุดบิ ปราศจากสารกนั เสีย สามารถ เก็บไวไ ดน าน 3 เดือน ประโยชนใชส อย/สรรพคณุ ใชเปนขนมในงานประเพณใี นพื้นที่ อาทิ งานพิธมี งคลสมรส อปุ สมบท ขึ้นบานใหม เปนตนและงานเล้ยี งรับรอง ตา งๆ รวมทงั้ สามารถซ้อื เปนของขวญั ของฝากใหก บั คนรจู ัก หรอื ซื้อเพอ่ื รบั ประทานเอง 168 | สวนั งแขหงลคาุณนคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014

คณะกรรมการจัดงาน “วันแหงคุณคาสงขลานครินทร (A PSU DAY OF PRIDE 2014) ครัง้ ที่ 1 ประจาํ ป 2557 สงขลาวนนั แคหรง คินณุ ทครา | 169 A PSU DAY OF PRIDE 2014

170 | วสนั งแขหงลคาณุ นคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014

สงขลาวนนั แคหรงคินุณทครา | 171 A PSU DAY OF PRIDE 2014

172 | วสนั งแขหงลคาณุ นคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014

สงขลาวนนั แคหรงคินุณทครา | 173 A PSU DAY OF PRIDE 2014

174 | วสนั งแขหงลคาณุ นคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook