Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2557

2557

Published by jaturata, 2021-05-29 15:35:55

Description: 2557

Search

Read the Text Version

นักวิจยั ท่ีผลงานวิจยั นําไปใชป ระโยชนเ ชิงพาณิชย ป 2556 สงขลาวนนั แคหรงคินณุ ทครา | 43 A PSU DAY OF PRIDE 2014

นกั วจิ ยั ทผ่ี ลงานวิจัยนาํ ไปใชประโยชนเ ชงิ พาณชิ ย ป 2556 1. นักวิจัย ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.ชยั ศรี สุขสาโรจน นักวจิ ัยรวม 1. ดร.ธนั วดี สขุ สาโรจน 2. ดร.ธนนั ท ชุบอุปการ หนว ยงาน คณะวศิ วกรรมศาสตร ชอื่ ผลงาน การศกึ ษาสมบตั ขิ องผลติ ภณั ฑด นิ เผาและจีโอพอลเิ มอรท ผี่ สมของเสยี กากขแี้ ปง เพอ่ื นาํ กลับมาใชป ระโยชนเชิงพาณิชย 2. นกั วิจัย นักวจิ ัยรวม รองศาสตราจารย ดร.เพรศิ พชิ ญ คณาธารณา 1. รองศาสตราจารย ดร.ปณต ถาวรังกรู หนวยงาน 2. ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.จงดี ธรรมเขต ชอื่ ผลงาน 3. ดร.โอภาส บญุ เกดิ คณะวทิ ยาศาสตร 3. นักวิจัย ชดุ ตรวจวดั ฟอรม าดไี ฮดร าคาประหยดั นักวจิ ัยรวม หนวยงาน ศาสตราจารย ดร.รวี เถยี รไพศาล ชอ่ื ผลงาน ดร.สพุ ชั รนิ ทร พิวฒั น คณะทนั ตแพทยศาสตร 4. นักวิจัย กรรมวิธกี ารเตรียมเช้ือ Lactobacillus paracasei SD1 และสารสกดั โปรตีนของ นักวจิ ัยรวม เชอื้ ดงั กลา วเพือ่ ใชในการยับยงั้ การเจรญิ ของเชื้อกอ โรคในชองปาก หนวยงาน ผชู วยศาสตราจารย ดร.วรากร ลมิ่ บตุ ร ชอื่ ผลงาน 1. รองศาสตราจารย ดร.เพรศิ พิชญ คณาธารณา 2. รองศาสตราจารย ดร.ปณต ถาวรังกรู 5. นักวิจยั 3. ผชู ว ยศาสตราจารยอ ดลุ ย เทย่ี งจรรยา หนวยงาน คณะวทิ ยาศาสตร ชอ่ื ผลงาน ชดุ ทดสอบสงั กะสภี าคสนาม 6. นักวิจยั ผชู วยศาสตราจารย นพ.สทิ ธโิ ชค อนันตเสรี นักวิจัยรวม คณะแพทยศาสตร หนวยงาน มดี ผา ตดั นวิ้ ลอ็ คแบบเจาะผานผวิ หนงั ชอ่ื ผลงาน ผชู ว ยศาสตราจารย นพ.สิทธโิ ชค อนันตเสรี รองศาสตราจารย ดร.เจษฎา วรรณสนิ ธุ คณะแพทยศาสตร มดี ผา ตดั ทม่ี คี วามคมเฉพาะที่ 44 | สวันงแขหงลคาุณนคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014

นักวิจัยที่ไดรับรางวัลการนําเสนอ ผลงานระดบั ชาติ/นานาชาติ ประจําป 2556 สงขลาวนนั แคหรงคินณุ ทครา  | 45 A PSU DAY OF PRIDE 2014

นกั วจิ ยั ทไี่ ดร บั รางวลั การนําเสนอ ผลงานระดบั ชาต/ิ นานาชาติ ประจําป 2556 ระดบั ชาติ 1. นกั วิจัย นพ.กําธร ยลสุรยิ นั วงศ นักวิจัยรวม นพ.สิรพิ งศ ชวี ธนากรณก ลุ หนวยงาน คณะแพทยศาสตร ชอ่ื ผลงาน Minimally Invasive Esophagectomy: 3-Hole Approach in Prone Position ช่ือรางวัล Winners for Scientific Presentation Audiovisal: Innovation ชื่อประชมุ การประชมุ วชิ าการประจาํ ป ราชวทิ ยาลยั ศัลยแพทยแหง ประเทศไทย ครงั้ ที่ 38 วนั ท/่ี สถานท่ี 22 กรกฎาคม 2556 โรงแรมแอมบาสซาเดอรซติ ้ีจอมเทียน พัทยา จงั หวดั ชลบรุ ี หนวยงานที่มอบรางวัล ราชวทิ ยาลยั ศลั ยแพทยแ หง ประเทศไทย 2. นกั วิจยั รองศาสตราจารยก าํ พล ประทปี ชยั กรู นักวจิ ัยรวม 1. รองศาสตราจารย ดร.พฤทธกิ ร สมิตไมตรี 2. ดร.กฤช สมนึก หนวยงาน 3. นายนคิ ม พรหมรตั น ชอื่ ผลงาน คณะวศิ วกรรมศาสตร ระบบผลติ ไบโอดเี ซลแบบตอ เนอ่ื งจากน้าํ มนั ปาลม ดบิ ชนดิ กรดไขมนั อสิ ระสงู ชอื่ รางวัล ดว ยทอ ผสมรว มกบั คลน่ื อลั ตราโซนคิ ช่อื ประชุม รางวลั ผลงานดเี ดน แบบบรรยายของซปุ ราคลสั เตอรด า นพลงั งาน วนั ท่/ี สถานที่ การประชมุ สุดยอดมหาวิทยาลยั วิจยั แหง ชาติ ครงั้ ที่ 2 หนวยงานท่ีมอบรางวลั 7-8 พฤษภาคม 2556 ศนู ยก ารประชมุ แหงชาตสิ ิริกิต์ิ กรงุ เทพฯ สํานกั งานคณะกรรมการการอมุ ศึกษา รว มกับ มหาวทิ ยาลยั วจิ ัยแหง ชาติ 9 แหง 3. นักวิจยั รองศาสตราจารย ดร.กติ ิเชษฐ ศรีดษิ ฐ นกั ศกึ ษา Mr.Karma Jamtsho หนวยงาน คณะวทิ ยาศาสตร ชอื่ ผลงาน A Study on the Anthropogenic Impacts on the Native Vascular Plants in the Himalayan Range of Merak, Sakteng Wildlife Sanctuary, Bhutan ชอ่ื รางวัล รางวลั การนําเสนอผลงานวจิ ยั แบบบรรยายดีเดน (รองอนั ดบั ที่ 2) ช่อื ประชุม การประชุมวชิ าการพฤกษศาสตรแ หง ประเทศไทย ครง้ั ที่ 7 วนั ท่ี/สถานท่ี 3-5 เมษายน 2556 หอประชมุ พอ ขนุ รามคาํ แหง มหาราช มหาวทิ ยาลัยรามคาํ แหง กรงุ เทพฯ 46 | สวันงแขหงลคาุณนคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014

หนว ยงานที่มอบรางวัล ภาควชิ าชวี วทิ ยา คณะวทิ ยาศาสตร มหาวทิ ยาลัยรามคําแหง มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม และมหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร รว มกบั สมาคมพฤกษศาสตรแ หง ประเทศไทย ในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ 4. นักวิจยั พญ.กสุ ุมา ชนิ อรณุ ชยั นักวิจัยรวม 1. รองศาสตราจารย ดร.นพ.สุรศกั ดิ์ สังขทตั ณ อยุธยา 2. พญ.อรวรรณ ชาญสนั ติ หนว ยงาน 3. ผชู ว ยศาสตราจารย นพ.วรวิทย จติ ตถิ าวร ชอื่ ผลงาน 4. นายพงศกร โชตเิ กษมศรี ชือ่ รางวลั คณะแพทยศาสตร ชื่อประชุม LED Light Effect on Proliferation of Fibroblast from Human Diabetic Tissue วนั ท/่ี สถานท่ี รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดับท่ี 1 ดาน Basic Science Paper in Resident Paper Award หนว ยงานท่ีมอบรางวลั การประชมุ วิชาการประจําป ราชวทิ ยาลยั ศลั ยแพทยแหง ประเทศไทย ครงั้ ท่ี 38 22 กรกฎาคม 2556 โรงแรมแอมบาสซาเดอรซติ จี้ อมเทยี น พัทยา จังหวัดชลบรุ ี ราชวทิ ยาลยั ศลั ยแพทยแ หง ประเทศไทย 5. นกั วิจัย ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.จงดี ธรรมเขต นกั ศกึ ษา นางสาวฝนทพิ ย มากเกลยี้ ง หนวยงาน คณะวทิ ยาศาสตร ชอ่ื ผลงาน สภาวะทเี่ หมาะสมสาํ หรบั การวเิ คราะหส ารพทาเลตเอสเทอรด ว ยแกส โครมาโทกราฟ ช่อื รางวลั รางวลั การนาํ เสนอผลงานวจิ ยั ดีเดน รูปแบบบรรยาย กลมุ วิทยาศาสตร เกษตร สงิ่ แวดลอ ม และเทคโนโลยี ชื่อประชมุ การประชมุ วชิ าการเสนอผลงานวิจยั ระดับบณั ฑิตศกึ ษา คร้ังท่ี 6 วันท/่ี สถานที่ 8 กนั ยายน 2556 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั จันทรเกษม หนว ยงานท่ีมอบรางวัล บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั จนั ทรเกษม 6. นักวิจัย รองศาสตราจารย ดร.เจษฏา วรรณสนิ ธุ หนวยงาน คณะวศิ วกรรมศาสตร ชอ่ื ผลงาน ผลงานประดษิ ฐ “มดี ผา ตัดนว้ิ ล็อค: A-Knife” ชื่อรางวัล รางวลั นาํ เสนอผลงานยอดเยย่ี มและผลงานทนี่ า ลงทนุ ทสี่ ดุ จากผลโหวตของนกั ลงทนุ และผูเขาประชุมในงาน NSTDA Investors’ Day 2013 ชอื่ ประชมุ NSTDA Investors’Day 2013 วนั ท่/ี สถานท่ี 12 กันยายน 2556 โรงแรม เซ็นทารา แกรนด แอท เซ็นทรัลเวลิ ด หนว ยงานท่ีมอบรางวลั สาํ นกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยแี หง ชาติ (สวทช.) สงขลาวนนั แคหรง คินุณทครา | 47 A PSU DAY OF PRIDE 2014

7. นกั วิจยั รองศาสตราจารยชอ ทพิ ย ปรุ ินทวรกลุ นักวจิ ัยรวม ผชู วยศาสตราจารย ดร.อปุ ถมั ภ มสี วสั ดิ์ นกั ศกึ ษา นายอธภิ ทั ร เงินหมนื่ หนวยงาน คณะวทิ ยาศาสตร ชอ่ื ผลงาน Salt Affected on Anatomical Changes of Sea-Shore Paspalum (Paspalum vaginatum Swartz) in Abandoned Shrimp Ponds ชอ่ื รางวลั รางวัลการนําเสนอผลงานวจิ ยั แบบบรรยายดีเดน (รองอนั ดบั ท่ี 1) ช่อื ประชุม การประชุมวิชาการพฤกษศาสตรแ หง ประเทศไทย คร้งั ที่ 7 วนั ท่ี/สถานที่ 3-5 เมษายน 2556 หอประชมุ พอ ขนุ รามคําแหงมหาราช มหาวทิ ยาลยั รามคาํ แหง กรงุ เทพฯ หนวยงานที่มอบรางวลั ภาควชิ าชวี วทิ ยา คณะวทิ ยาศาสตร มหาวทิ ยาลยั รามคําแหง มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม และมหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร รว มกบั สมาคมพฤกษศาสตรใ นพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ 8. นกั วิจยั นายญตั ตพิ งศ แกวทอง นักวิจัยรวม 1. ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.เสาวลกั ษณ รงุ ตะวนั เรืองศรี 2. นางสาวหทั ยา คุณโณ หนว ยงาน คณะการจดั การสงิ่ แวดลอ ม ชอื่ ผลงาน การพฒั นาศกั ยภาพชมุ ชนในการวจิ ยั ดว ยกระบวนการเรยี นรดู า นการประเมนิ มลู คา ทาง เศรษฐศาสตรข องทรัพยากรปาชายเลน ชมุ ชนบา นบโุ บย ต.แหลมสน อ.ละงู จ.สตลู ชื่อรางวลั รางวลั Best Paper ในการนาํ เสนอผลงานทางวิชาการ ประเภทการนําเสนอแบบ Oral Presentation กลุมสาขาเศรษฐศาสตร ชอ่ื ประชุม การประชมุ วชิ าการดา นการจัดการระดับชาติ “วลยั ลกั ษณว จิ ยั ทางการจัดการ ครงั้ ที่ 2” (WMS Management Research National Conference#2: Green and วนั ท่/ี สถานท่ี Innovation Management) หนวยงานที่มอบรางวลั 9 พฤษภาคม 2556 มหาวทิ ยาลยั วลยั ลกั ษณ จงั หวัดนครศรีธรรมราช มหาวทิ ยาลยั วลยั ลกั ษณ 9. นักวิจยั รองศาสตราจารย ดร.เบญจมาส เชยี รศลิ ป นักวิจัยรวม ดร.ศุลพี ร กิจจะ นกั ศกึ ษา นางสาวยาสมี เลาหสกลุ หนวยงาน คณะอตุ สาหกรรมเกษตร ชอื่ ผลงาน Lipid and Lipase Production by Yarrowia tipolytica using Crude Glycerol and Their Application in Biodiesel Production ชอ่ื รางวัล เปน ผเู สนอผลงานวจิ ัยดมี ากแบบโปสเตอรข องซุปราคลสั เตอรด า นพลงั งาน ชอ่ื ประชมุ การประชมุ สุดยอดมหาวิทยาลยั วิจยั แหง ชาติ ครงั้ ท่ี 2 วนั ที่/สถานท่ี 7-8 พฤษภาคม 2556 ศนู ยก ารประชุมแหงชาติสิริกิติ์ กรงุ เทพฯ หนวยงานท่ีมอบรางวลั สาํ นักงานคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา รว มกับมหาวทิ ยาลัยวิจยั แหง ชาติ 9 แหง 48 | วสันงแขหงลคาณุ นคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014

10. นกั วิจยั รองศาสตราจารย ดร.ประภาพร อทุ ารพนั ธ นักวิจัยรวม ดร.อรณชิ า รตั นาภรณ นกั ศกึ ษา นางสาวอารรี ตั น เชาวส มบรู ณ หนว ยงาน คณะวทิ ยาศาสตร ชอ่ื ผลงาน การโคลนยนี และสงั เคราะหห ร คี อมบแิ นนทข องโปรตนี จบั ลโิ พโพลแี ซคคาไรด และเบตา-1,3-กลแู คนจากกุงแชบว ย ชอื่ รางวัล รางวลั การนําเสนอผลงานวจิ ัยทางวิทยาศาสตรแ บบโปสเตอร ระดบั ยอดเยย่ี ม ชือ่ ประชุม การประชมุ วชิ าการระดับชาตสิ วนดสุ ิต: วนั นกั วจิ ยั วทิ ยาศาสตร 2013 เรอื่ ง “ปฏริ ปู การเรยี นรวู ทิ ยาศาสตรในศตวรรษที่ 21 เพ่อื สงั คมดมี คี ณุ ภาพ” วนั ที่/สถานที่ 14 มีนาคม 2556 อาคาร 50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนดสุ ติ กรงุ เทพฯ หนวยงานที่มอบรางวัล มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนดสุ ติ 11. นักวิจยั นพ.วรวทิ ย วาณชิ ยส วุ รรณ นักวิจัยรวม นพ.สิริพงศ ชวี ธนากรณก ลุ หนว ยงาน คณะแพทยศาสตร ชอื่ ผลงาน Techniques nerve preservation in Laparoscopic rectal cancer surgery ชื่อรางวัล Winners for Scientific Presentation Audiovisal: Education ชอ่ื ประชมุ การประชมุ วชิ าการประจําป ราชวทิ ยาลยั ศลั ยแพทยแหงประเทศไทย ครงั้ ท่ี 38 วนั ท่ี/สถานท่ี 22 กรกฎาคม 2556 โรงแรมแอมบาสซาเดอรซ ติ ี้จอมเทยี น พัทยา จงั หวดั ชลบรุ ี หนวยงานท่ีมอบรางวลั ราชวทิ ยาลยั ศลั ยแพทยแ หง ประเทศไทย 12. นกั วิจยั ศาสตราจารย ดร.วิมล ตันตไิ ชยากลุ หนวยงาน คณะเภสชั ศาสตร ชอ่ื ผลงาน Synergistic interaction of polysaccharide mixtures investigated by rheology, DSC and NMR for sustained drug delivery system ชอ่ื รางวลั เปน ผเู สนอผลงานวิจยั ดมี ากแบบโปสเตอรข องซปุ ราคลสั เตอรด า นสขุ ภาพ ชอ่ื ประชุม การประชมุ สุดยอดมหาวิทยาลยั วิจยั แหง ชาติ ครงั้ ที่ 2 วันท่ี/สถานท่ี 7-8 พฤษภาคม 2556 ศนู ยก ารประชุมแหง ชาตสิ ิรกิ ิติ์ กรุงเทพฯ หนว ยงานที่มอบรางวัล สาํ นกั งานคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา รวมกับมหาวทิ ยาลัยวิจยั แหง ชาติ 9 แหง 13. นกั วิจยั ศาสตราจารย ดร.สมปอง เตชะโต นักวิจัยรวม ดร.สรุ รี ัตน เย็นซอ น หนว ยงาน คณะทรพั ยากรธรรมชาติ ชอ่ื ผลงาน การใชโ ฟลไซโตเมทรตี รวจสอบความแตกตา งระหวา งพนั ธใุ นไมผลบางชนดิ ช่อื รางวัล รางวลั รองชนะเลศิ นําเสนอผลงานภาคโปสเตอร สงขลาวนันแคหรงคินุณทครา  | 49 A PSU DAY OF PRIDE 2014

ชอ่ื ประชมุ การประชมุ วชิ าการพืชสวนแหง ชาติ คร้งั ท่ี 12 วนั ท่ี/สถานท่ี 9-12 พฤษภาคม 2556 ศนู ยนทิ รรศการและการประชมุ ไบเทค กรุงเทพฯ หนว ยงานที่มอบรางวัล สมาคมพชื สวนแหง ประเทศไทย 14. นักวิจัย ผูชว ยศาสตราจารย ดร.อารีย ชดู าํ หนวยงาน คณะวทิ ยาศาสตร ชอื่ ผลงาน Rapid Quantitative Colorimetric Tests for Trinitrotoluene Using Digital Image-Based Analysis ชอื่ รางวลั รางวลั เกยี รตบิ ตั รเสนอผลงานวจิ ัยแบบโปสเตอรด ีเยยี่ ม ชอื่ ประชมุ การประชมุ วิชาการ “นกั วจิ ัยรุนใหม พบ เมธวี ิจัยอาวโุ ส สกว.” วันท/่ี สถานที่ 18 ตลุ าคม 2556 สํานกั งานกองทุนสนบั สนุนการวิจยั (สกว.) กรุงเทพฯ หนวยงานที่มอบรางวลั สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวจิ ัย (สกว.) 15. นกั วิจัย รองศาสตราจารย ดร.พรศลิ ป ผลพนั ธิน นกั ศกึ ษา นายเอกนรนิ ทร รอดเจรญิ หนว ยงาน คณะวทิ ยาศาสตร ชอ่ื ผลงาน ความหลากชนดิ ของไอโซพอดน้ํากรอ ยสกลุ Cirolona Leach, 1818 ช่อื รางวัล รางวลั ชมเชยประเภท Poster Presentation ในการนาํ เสนอผลงานวิจยั ทางดานสตั ว ชื่อประชมุ การประชุมอนุกรมวธิ านและซีสเทมาตคิ สใ นประเทศไทย ครง้ั ที่ 3 วนั ท/ี่ สถานท่ี 11-13 พฤษภาคม 2556 คณะวทิ ยาศาสตร จฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลยั หนวยงานที่มอบรางวัล คณะวทิ ยาศาสตร จฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลยั 16. นักวิจยั รองศาสตราจารย ดร.ศริ พิ ันธุ หริ ญั ญะชาตธิ าดา นกั ศกึ ษา นางสาวนวิยา ฮยุ เปา หนว ยงาน คณะวทิ ยาศาสตร ชอ่ื ผลงาน Effects of avian influenza virus (H5N1) on cytokine and chemokine gene expression in human respiratory epithelium ชอ่ื รางวัล รางวลั การนําเสนอผลงานวจิ ยั โดยวาจา ระดบั ดษุ ฎบี ณั ฑติ ชอ่ื ประชมุ การประชมุ วิชาการสรีรวิทยาสมาคมแหง ประเทศไทย คร้งั ที่ 42 ประจาํ ป 2556 เรอื่ ง “แนวโนม การสอนและการวจิ ยั ทางสรรี วทิ ยาเพอ่ื มงุ สปู ระชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น” วนั ท/่ี สถานที่ 24-26 เมษายน 2556 โรงแรมโนโวเทล หัวหิน ชะอํา บชี รสี อรทแอนทส ปา อําเภอชะอํา จงั หวัดเพชรบุรี หนว ยงานท่ีมอบรางวัล คณะแพทยศาสตร มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ รว มกบั สรรี วทิ ยาสมาคมแหง ประเทศไทย 50 | สวันงแขหงลคาณุ นคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014

17. นักวิจัย ศาสตราจารย ดร.ศภุ ยางค วรวฒุ คิ ุณชยั หนว ยงาน คณะวทิ ยาศาสตร ชอื่ ผลงาน การศกึ ษาเชงิ บูรณาการเรอ่ื งสารออกฤทธทิ์ างชวี ภาพจากกระทุ ช่ือรางวัล เปน ผเู สนอผลงานวจิ ยั ดเี ดน แบบบรรยายของซปุ ราคลสั เตอรด า นสงิ่ แวดลอ ม ชอื่ ประชุม การประชมุ สดุ ยอดมหาวทิ ยาลยั วิจยั แหง ชาติ ครง้ั ท่ี 2 วันท/ี่ สถานที่ 7-8 พฤษภาคม 2556 ศนู ยก ารประชมุ แหง ชาตสิ ิริกิติ์ กรงุ เทพฯ 18. นักวิจยั ผูชว ยศาสตราจารย ดร.สุปย นิตย ไมแพ นักวจิ ัยรวม 1. Dr. Kay Van Damme 2. นางสาวพรรณี สอาดฤทธิ์ หนวยงาน คณะวทิ ยาศาสตร ชอ่ื ผลงาน Salinalona gen. nov., an euryhaline chydorid lineage (Crustacea: Branchiopoda: Cladocera: Anomopoda) from the Oriental region ช่อื รางวลั รางวลั การนาํ เสนอแบบบรรยาย ระดับชมเชย ช่ือประชุม การประชุมวิชาการอนกุ รมวิธานและซสิ เทมาตคิ สใ นประเทศไทย ครงั้ ที่ 3 วนั ที/่ สถานท่ี 11 พฤษภาคม 2556 จฬุ าลงกรณม หาวิทยาลัย หนวยงานที่มอบรางวลั คณะวทิ ยาศาสตร จฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลยั 19. นักวิจัย รองศาสตราจารย ดร.อญั ชนา ประเทพ นกั ศกึ ษา นางสาวสภุ ทั รา พงศภ ราดร หนว ยงาน คณะวทิ ยาศาสตร ชอื่ ผลงาน การศกึ ษาความสัมพันธเ ชงิ ววิ ฒั นาการของสาหรา ยสกลุ Halimeda J. V. Lamour. (Chlorophyta) ในนา นนํ้าไทย ชอ่ื รางวลั รางวลั ดเี ดน การนําเสนอผลงานแบบโปสเตอร ชื่อประชมุ การประชุมวชิ าการสาหรา ยและแพลงกตอนแหง ชาติ ครงั้ ท่ี 6 วันที่/สถานที่ 28-30 มนี าคม 2556 ศนู ยประชุมนานาชาติเอม็ เพรส โรงแรมดเิ อ็มเพรส จงั หวัดเชยี งใหม หนว ยงานท่ีมอบรางวัล มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม มหาวทิ ยาลยั แมโ จ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม รว มกบั ชมรมสาหรา ยและแพลงกต อนแหง ประเทศไทย สงขลาวนันแคหรงคินณุ ทครา  | 51 A PSU DAY OF PRIDE 2014

ระดบั นานาชาติ 20. นกั วิจัย ดร.นิอร จริ พงศธรกลุ นักวิจัยรวม รองศาสตราจารย ดร.นันทา เชิงเชาว นกั ศกึ ษา นางสาววนิตา ปานทอง หนว ยงาน คณะวทิ ยาศาสตร ชอื่ ผลงาน เอนไซมแ ลคเคสในนาํ้ เล้ียงเชอ้ื รา Rigidoporus Microporus และความสามารถ ในการกําจดั สี ชอื่ รางวลั รางวลั การนาํ เสนอผลงานวิจยั แบบโปสเตอร ระดบั ดเี ดน ชอื่ ประชมุ การประชมุ วชิ าการและการนาํ เสนอผลงานวจิ ยั ระดบั ชาตแิ ละระดับนานาชาติ ประจําป 2556 “การวจิ ยั และพฒั นา: จากทอ งถน่ิ สปู ระชาคมอาเซยี น” หรอื The National and วันท/ี่ สถานท่ี International Research Conference 2013 “ Research and Development: from Local to ASEAN Community” หนวยงานท่ีมอบรางวัล 30 พฤศจกิ ายน - 1 ธนั วาคม 2556 อาคารยพุ ราชเบญจมงคล มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า 21. นักวิจยั รองศาสตราจารย ดร.สาธิต อินทจกั ร นักวจิ ัยรวม รองศาสตราจารย ดร.กิตติ ไพฑรู ยวฒั นกจิ หนวยงาน คณะวทิ ยาศาสตร ชอื่ ผลงาน Synthesized Theos Bands for Spectral Enhancement ชอื่ รางวลั Best Paper Awards ชื่อประชมุ 6th PSU-UNS International Conference on Engineering and Technology วันท/ี่ สถานที่ May 15th, 2013 (ICET-2013) Novi Sad, Serbia หนวยงานท่ีมอบรางวลั Prince of Songkla University, University of Novi Sad 22. นักวิจัย นพ.กรี ติ หงษส กุล หนว ยงาน คณะแพทยศาสตร ชอื่ ผลงาน Pharmacomechanical Thrombolysis versus Surgical Thrombectomy for the Treatment of Thrombosed Hemodialysis Grafts ชือ่ รางวลั The Best Non-Electronic Poster Presentation ช่ือประชุม The 16th Congress of the ASEAN Association of Radiology (AAR 2013) Incorporating the 50th Annual Scientific Meeting of the Royal College of วันท/ี่ สถานที่ Radiologists of Thailand and the Radiological Society of Thailand March 21-23, 2013, Centara Gland & Bangkok Convention Centre at CentralWorld, Bangkok, Thailand 52 | วสนั งแขหงลคาุณนคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014

หนวยงานท่ีมอบรางวัล ASEAN Association of Radiology & Royal College of Radiologists of Thailand and the Radiological Society of Thailand 23. นักวิจัย ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.จงดี ธรรมเขต นักวจิ ัยรวม 1. รองศาสตราจารย ดร.ปณต ถาวรังกรู 2. รองศาสตราจารย ดร.เพรศิ พชิ ญ คณาธารณา นกั ศกึ ษา นางสาวชรนิ รตั น ศิรธิ รรม หนวยงาน คณะวทิ ยาศาสตร ชอ่ื ผลงาน Novel Online Micro-channel Coupled with Amperometric Detection for Carbofuran Analysis ชือ่ รางวัล Analytical Sciences Poster Presentation Award ชอื่ ประชมุ The Twelfth Asian Conference on Analytical Sciences (ASIANALYSIS XII) วันท/่ี สถานที่ August 22-24, 2013, Fukuoka, Japan 24. นกั วิจัย ดร.เทียนทพิ ย ไกรพรม นักวิจัยรวม 1. รองศาสตราจารย ดร.ศรเทพ ธมั วาสร 2. รองศาสตราจารย ดร.สมเกยี รติ ประสานพานชิ หนวยงาน 3. ดร.พงศธร คงมั่น ชอื่ ผลงาน 4. นายเสาร ศริ ชิ ยั คณะวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ช่อื รางวลั Effects of Total Mixed Fiber (TMF) as Roughage Source on Rumen ชื่อประชุม Fermentation in Lactating Dairy Cows The Young Scientist Award for Presenting วันท่ี/สถานที่ The 4th International Conference on Sustainable Animal Agriculture for หนว ยงานท่ีมอบรางวลั Developing Countries (SAADC2013) July 27-31, 2013, Lanzhou University, China Lanzhou University 25. นกั วิจัย รองศาสตราจารย ดร.ปณต ถาวรงั กรู นักวิจัยรวม รองศาสตราจารย ดร.เพรศิ พิชญ คณาธารณา นกั ศกึ ษา นางสาวอรวรรณ ทพิ ยม ณี หนว ยงาน คณะวทิ ยาศาสตร ชอื่ ผลงาน Label-free Capacitive DNA Sensor Using Pyrrolidinyl PNA probe with Response Enhancement by Target DNA Overhang ช่ือรางวัล Analytical Science Best Poster Awards สงขลาวนนั แคหรงคินณุ ทครา  | 53 A PSU DAY OF PRIDE 2014

ชอ่ื ประชุม ASEAN+2013 The 2nd Regional Symposium on Biosensors, Biodiagnostics & Biochips วนั ที/่ สถานท่ี December 11-13, 2013, มหาวทิ ยาลัยแมฟา หลวง จงั หวดั เชียงราย, หนวยงานที่มอบรางวลั มหาวทิ ยาลยั แมฟ า หลวง 26. นกั วิจัย รองศาสตราจารย ดร.ปารชิ าติ วสิ ทุ ธสิ มาจาร นักวิจัยรวม ดร.ปรชั ญากรณ ไชยคช หนว ยงาน คณะการจดั การสงิ่ แวดลอ ม ชอ่ื ผลงาน Community-based Tourism in Songkhla Lake Basin: A Case Study ช่อื รางวัล Best Paper Awards ชอ่ื ประชมุ 3rd International Conference on Sustainable Tourism Management School of Tourism Development, Maejo University and 1st International วันท/ี่ สถานที่ Conference on Tourism and Hospitality College of Management, หนว ยงานที่มอบรางวัล Tainan University: Asian as One: Balance between Individuality and Integration of Asia Tourism Concepts, July 25, 2013, Furama Hotel, Chiang Mai, Thailand Maejo University, Thailand and Tainan University of Technology, Taiwan 27. นกั วิจยั ผชู วยศาสตราจารย ดร.เอกรนิ ทร สงั ขท อง หนว ยงาน คณะศกึ ษาศาสตร ชอ่ื ผลงาน Perspectives, Dilemmas, and Multicultural Leadership of Public School Principals in Southern Thailand ช่ือรางวลั International Travel Award ช่อื ประชมุ The Annual Meeting of the American Educational Research Association (AERA) วันที/่ สถานท่ี April 28, 2013, California, U.S.A. หนว ยงานท่ีมอบรางวัล The American Educational Research Association (AERA) 28. นกั วิจัย ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.ทพญ.เปรมทิพย ชลดิ าพงศ นักวิจัยรวม 1. พญ.นฤชา จริ กาลวสาน 2. รองศาสตราจารย นพ.ประกอบเกยี รติ หิรัญววิ ัฒนก ลุ หนวยงาน 3. ผชู วยศาสตราจารย นพ.โกวิทย พฤกษานศุ กั ดิ์ ชอื่ ผลงาน คณะแพทยศาสตร Efficacy of Oral Appliance Therapy in Obstructive Sleep Apnea Patients: ชื่อรางวัล A Retrospective Multicentre Study Second Place Award Poster Presentation 54 | สวนั งแขหงลคาณุ นคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014

ช่อื ประชมุ The 2nd ASEAN Sleep Congress วนั ท/่ี สถานท่ี August 3, 2013 โรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ กรงุ เทพฯ หนวยงานที่มอบรางวัล สมาคมโรคจากการหลบั แหง ประเทศไทย มลู นธิ โิ รคนอนกรนและการนอนหลบั ผดิ ปกติ และโรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ สภากาชาดไทย 29. นักวิจยั ศาสตราจารย ดร.วภิ าวี นติ ยานนั ทะ หนว ยงาน คณะแพทยศาสตร ชอ่ื ผลงาน Urban Legends Series: Oral Manifestations of HIV Infection ชอ่ื รางวัล Best Review Article หนวยงานที่มอบรางวัล Oral Diseases 30. นักวิจัย ศาสตราจารย ดร.วภิ าวี นติ ยานนั ทะ ชือ่ รางวลั Best Reviewer หนว ยงานท่ีมอบรางวัล Oral Diseases 31. นักวิจัย ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.ทพญ.ศรีสรุ างค สุทธปรยี าศรี นักวจิ ัยรวม ผูชว ยศาสตราจารย ทพ.นฤทธิ์ ลพี งษ หนวยงาน คณะทนั ตแพทยศาสตร ชอ่ื ผลงาน Alveolar Ridge Preservation with Platelet-rich Fibrin Compared to Extraction Alone for Implant Site Development ชือ่ รางวัล The first prize of the ITI Congress South East Asia 2013 poster competition ชอ่ื ประชุม ITI Congress South East Asia 2013 วันที/่ สถานท่ี May 17, 2013, Bangkok,Thailand หนว ยงานที่มอบรางวัล ITI International Team for Implantology 32. นักวิจัย ผชู ว ยศาสตราจารย ทพญ.สายใจ ตณั ฑนุช นักวิจัยรวม 1. รองศาสตราจารย ทพ.บญุ เลิศ กเู กียรตติ ระกูล 2. ทพญ.วธู เมตตาสทิ ธิกร หนวยงาน 3. ทพญ.สุลาวณั ย แววสงา ชอ่ื ผลงาน คณะทนั ตแพทยศาสตร Surface Hardness and Surface Characteristic Changes of Giamer after ช่ือรางวัล Cyclic Immersion in Different Beverages and Titratable Acidity ชื่อประชุม Second Prize (Oral Presentation) Basic Sciences Category 11th Student Scientific Conference Blooming Research Concept for วนั ที่/สถานที่ Sustainable Dental Sciences หนวยงานท่ีมอบรางวัล November 28, 2013, Malaysia Universiti Sains Malaysia สงขลาวนนั แคหรงคินณุ ทครา | 55 A PSU DAY OF PRIDE 2014

56 | วสันงแขหงลคาณุ นคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014

นกั วิจัยที่ไดร ับเชญิ เปน keynote speaker ในการประชมุ วิชาการระดบั นานาชาติ ป 2556 สงขลาวนันแคหรง คินณุ ทครา  | 57 A PSU DAY OF PRIDE 2014

นกั วิจัยที่ไดร บั เชิญเปน keynote speaker ในการประชมุ วชิ าการระดบั นานาชาติ ป 2556 1. นกั วิจยั รองศาสตราจารย ดร.ปารชิ าติ วิสทุ ธสิ มาจาร หนวยงาน คณะการจดั การสง่ิ แวดลอ ม ชอื่ ผลงาน Ecosystem Protection from Climate Change: A Case Study of Thale Noi Wetland, Upper part of Songkhla Lake Basin, Thailand ชอ่ื การประชุม EQC 2013 International Conference on Environmental Quality Concern, Control and Conservation วันท่ีนําเสนอ May 3, 2013 หนวยงานท่ีจัด National Kaohsiung Marine University, Kaohsiung, Taiwan 2. นักวิจัย รองศาสตราจารย ดร.ภาคภมู ิ พาณชิ ยปู การนนั ท หนวยงาน คณะเภสชั ศาสตร ชอื่ ผลงาน Standardization and Preparation of Active Constiuent Rich Herbal Extracts ช่อื การประชุม 8th Joints Seminar on Biomedical Sciences วันท่ีนําเสนอ October 15, 2013 หนวยงานที่จัด Kunming Medical University, China 3. นักวิจยั ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.วิไลรตั น ชวี ะเศรษฐธรรม หนว ยงาน คณะวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ชอ่ื ผลงาน Microsymposia of Rubber Process and Technology ชือ่ การประชมุ HPI-FAPS International Conference on Innovation in Polymer Science and Technology 2013 วันทน่ี าํ เสนอ October 7-10, 2013 หนว ยงานที่จดั Research Center for Physics, Indonesia Insitive of Science, Indonesia 4. นักวิจยั ศาสตราจารย ดร.ศภุ ยางค วรวฒุ คิ ุณชยั หนวยงาน คณะวทิ ยาศาสตร ชอ่ื ผลงาน National Products Research in Thailand ช่ือการประชมุ Korea-ASEAN Symposium on Nutraceutical Metabolomics วันท่ีนําเสนอ November 29, 2013 หนวยงานท่ีจัด Chung-Ang University, Seoul and Anseong Campuses, Korea 58 | สวันงแขหงลคาณุ นคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014

นักวิจัยที่ผลงานวิจัยเผยแพร ทางสื่อสารมวลชนในระดบั ชาต/ิ นานาชาติ ป 2556 สงขลาวนนั แคหรง คินุณทครา  | 59 A PSU DAY OF PRIDE 2014

นกั วจิ ยั ทผี่ ลงานวจิ ยั เผยแพรท างสอื่ สารมวลชน ในระดบั ชาต/ิ นานาชาติ ป 2556 1. นกั วิจัย รองศาสตราจารย ดร.ขวญั จิตร สันตปิ ระชา นกั ศกึ ษา นายครษิ ฐส พล หนพู รหม หนวยงาน คณะทรพั ยากรธรรมชาติ ชอื่ ผลงาน พนั ธบุ รอคโคลแี ละวนั ปลกู ทเี่ หมาะสมในจังหวดั สงขลา พนั ธกุ ะหลํา่ ปลแี ละฤดูปลกู ทเ่ี หมาะสม ในจงั หวดั สงขลา ประเภทสอ่ื สถานโี ทรทศั นช อ ง 9 อสมท. รายการหน่งึ ในพระราชดาํ ริ วันท่ี 12 มกราคม 2556 2. นักวิจัย ดร. ณวงศ บนุ นาค นักวิจัยรวม Mr.Abdul-wahab Salae หนว ยงาน คณะการแพทยแ ผนไทย ชอื่ ผลงาน Obtusinones D and E, linear and angular fused dimeric icetexane diterpenoids from Premna obtusifolia roots ประเภทส่อื VerticalNews, April 7, 2013 3. นกั วิจยั รองศาสตราจารย ดร.ภาคภมู ิ พาณชิ ยปู การนันท นกั ศกึ ษา ดร.อภริ ักษ สกลุ ปก ษ หนวยงาน คณะเภสชั ศาสตร ชอื่ ผลงาน สารตา นมะเร็งจากหมยุ และชะมวง ประเภทส่ือ 1. หนังสอื พิมพไทยรัฐ หนงั สอื พิมพเ ดลินวิ ส หนงั สอื พิมพ ASTV หนงั สือพมิ พผจู ัดการ หนงั สอื พิมพป ระชาชาติธรุ กิจ 2. สถานทโี ทรทศั นกองทพั บก ชอง 5 4. นักวิจัย ศาสตราจารย ดร.รวี เถียรไพศาล นักวจิ ัยรวม ดร.สพุ ชั รินทร พิวฒั น หนวยงาน คณะทนั ตแพทยศาสตร ชอื่ ผลงาน ผลติ ภณั ฑผ สมโพรไบโอตกิ เพอื่ ปองกันฟน ผุ ประเภทสอื่ 1. สถานโี ทรทศั นช อง 5 2. หนงั สอื พมิ พแ นวหนา หนังสอื พิมพฐ านเศรษฐกจิ 5. นักวิจยั ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.วรากร ลมิ่ บตุ ร หนว ยงาน คณะวทิ ยาศาสตร ชอ่ื ผลงาน ม.อ.ตอ ยอดนวตั กรรมชว ยเหลอื เกษตรกรผลติ ชดุ ทดสอบสงั กะสใี นดนิ -ยาง 60 | วสันงแขหงลคาุณนคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014

ประเภทสือ่ 1. หนงั สือพมิ พไทยรัฐ หนงั สอื พิมพค มชดั ลึก 2. สถานโี ทรทัศนก องทัพบก ชอ ง 5 3. เวป็ ไซตข า วออนไลนก รงุ เทพธรุ กจิ 4. เวบ็ ไซดส ภาอตุ สาหกรรมแหง ประเทศไทย 6. นกั วิจยั ผชู วยศาสตราจารย ดร.วิวฒั น พชิ ญากร หนวยงาน คณะเภสชั ศาสตร ชอื่ ผลงาน สกว. วจิ ัยยางทางการแพทย ประเภทสื่อ 1. Voice TV 2. หนงั สอื พมิ พเ ดลนิ ิวส หนังสอื พมิ พค มชดั ลึก 3. เวป็ ไซตก รงุ เทพธุรกิจ 7. นักวิจัย รองศาสตราจารย ดร.สมบรู ณ เจรญิ จริ ะตระกลู หนว ยงาน คณะเศรษฐศาสตร ประเภทสอ่ื 1. รายการโทรทัศน ทางชอ ง Thai PBS รายการ “ตอบโจทย” หัวขอ “ปญ หาและทางออก การแกปญ หาราคายางอยางยง่ั ยนื ” ถา ยทอดสด เมือ่ วันที่ 10 กนั ยายน 2556 2. รายการโทรทัศน ทางชอง ทีวีบูรพา รายการ “คยุ กบั ยักษ” หวั ขอ “ปญ หาและทางออก การแกปญหาราคายางอยา งยง่ั ยนื ” โดยอดั เทปรายการ เมอ่ื วนั ท่ี 10 กนั ยายน 2556 และมีการถา ยทอดทางโทรทศั น จํานวน 2 ครง้ั 3. รายการโทรทศั น ทางชอ ง ASTV รายการ “สภากาแฟ สภาประชาชน” หวั ขอ “ปญ หาและ ทางออกการแกป ญหาราคายางอยางยง่ั ยนื ” เมอ่ื วนั ท่ี 11 กนั ยายน 2556 4. สถานีวทิ ยกุ ระจายเสียงแหง ประเทศไทย หัวขอ “ตอบโจทยนารา ง: ความจรงิ ปญ หาและทางออก” เมอื่ วันท่ี 5 มิถนุ ายน 2556 5. หนงั สอื พมิ พ หวั ขอ “นารา ง” สงผลชายแดนใตข าดความมั่นคงดานอาหาร ในหนงั สอื พมิ พ เดลนิ วิ ส เมอ่ื วนั ท่ี 23 พฤษภาคม 2556 6. หนังสอื พิมพ หัวขอ “ทง้ิ นารา ง ใตขาดความมั่งคงดานอาหาร” ในหนังสอื พิมพม ติชน โพสตท เู ดย เมอ่ื วันที่ 31 พฤษภาคม 25567. หนังสือพมิ พ ขาวสด ไทยรฐั หวั ขอ “ตอบโจทยน ารา ง: ความจรงิ ปญ หาและทางออก” เมอ่ื วันท่ี 3 มถิ ุนายน 2556 8. นกั วิจัย รองศาสตราจารย ดร.สอาด รยิ ะจนั ทร นกั ศกึ ษา นายอศิ รา อินทฤทธิ์ หนว ยงาน คณะวทิ ยาศาสตร ชอ่ื ผลงาน โฟมรยี สู ประเภทส่อื สถานโี ทรทศั นก องทพั บก ชอ ง 7 รายการเรื่องจรงิ ผานจอ 50 ชวี ติ คดิ เปลยี่ นโลก ตอนท่ี 25 โฟมรยี สู สงขลาวนันแคหรง คินณุ ทครา  | 61 A PSU DAY OF PRIDE 2014

9. นกั วิจยั ผชู วยศาสตราจารย ดร.เอกรนิ ทร สังขท อง หนวยงาน คณะศกึ ษาศาสตร ชอ่ื ผลงาน ภาวะผนู าํ เชงิ พหวุ ฒั นธรรมของผบู รหิ ารโรงเรยี นประถมศกึ ษาในสามจงั หวดั ชายแดนภาคใต ประเภทสือ่ หนงั สอื พมิ พเ ดลนิ วิ ส คอลมั นรเู หนอื รใู ต 10. นกั วิจยั ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.เอกสิทธ์ิ กุมารสทิ ธ์ิ นกั ศกึ ษา นายดารเ นยี เจะ หะ หนว ยงาน คณะวทิ ยาศาสตร ชอ่ื ผลงาน ม.อ.ยัน “พืชกระทอ ม” ชวยลดอาการลงแดง ประเภทส่อื ASTV ผจู ดั การออนไลน 11. นกั วิจยั ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.เอกสิทธิ์ กมุ ารสิทธ์ิ หนวยงาน คณะวทิ ยาศาสตร นักวจิ ัยรวม ดร.เอกสทิ ธ์ิ จงเจรญิ รกั ษ (มหาวิทยาลัยเชยี งใหม) ชอ่ื ผลงาน ขา วกลอ งงอกพบชวยฟน ฟรู ะบบประสาทและสมอง ประเภทสือ่ 1. หนงั สอื พมิ พมตชิ น 2. ประชาชาติธรุ กิจออนไลน 3. เวบ็ ไซตฐ านเศรษฐกจิ 62 | วสันงแขหงลคาณุ นคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014

ผูประกอบการดีเดน ของศนู ยบ ม เพาะวสิ าหกจิ อยุ านวทิ ยาศาสตร มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร ป 2557 สงขลาวนันแคหรงคินุณทครา  | 63 A PSU DAY OF PRIDE 2014

ผปู ระกอบการดีเดน ของศนู ยบ ม เพาะวสิ าหกิจ อุทยานวทิ ยาศสตร มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร ประจําป 2557 1. ชอ่ื ผปู ระกอบการ นางจนั ทิมา วงษส ริ ิ ชอ่ื สถานประกอบการ หางหุน สวนจาํ กดั เฮลท อนิ โนเวชนั่ แอนด ดีไซน 2. ชอื่ ผปู ระกอบการ ผชู ว ยศาสตราจารย นพ.สิทธโิ ชค อนันตเสรี ชอื่ สถานประกอบการ บริษัท ออรโธเนียร จํากดั 3. ชอ่ื ผปู ระกอบการ นายเกยี รติศกั ด์ิ ทองใส ชอ่ื สถานประกอบการ บรษิ ทั ขนมลกู ชุบรตั นาขนมไทย จาํ กัด 64 | วสนั งแขหงลคาุณนคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014

อาจารยตวั อยา งดา นการเรียนการสอนของคณะ ประจําป 2556 สงขลาวนนั แคหรง คินุณทครา  | 65 A PSU DAY OF PRIDE 2014

อาจารยตัวอยางดานการเรียนการสอนของคณะ ประจําป 2556 1. รองศาสตราจารย นพ.เตม็ ศกั ด์ิ พ่ึงรศั มี แพทยศาสตร 2. ผชู ว ยศาสตราจารยน ที เกอื้ กลู กจิ การ พยาบาลศาสตร 3. ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.ศรรี ตั น กสิวงศ เภสชั ศาสตร 4. ดร.ทพญ.สมจนิ ต รตั นเสถยี ร ทนั ตแพทยศาสตร 5. อาจารยอ รพรรณ สกลุ แกว การแพทยแ ผนไทย 6. รองศาสตราจารย ดร.นสิ ากร จารมุ ณี ศลิ ปศาสตร 7. ศาสตราจารย ดร.ศุภยางค วรวุฒคิ ณุ ชยั วทิ ยาศาสตร 8. ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.ทิพรัตน หงภทั รครี ี อตุ สาหกรรมเกษตร 9. รองศาสตราจารย ดร.บัญชา สมบูรณส ขุ ทรพั ยากรธรรมชาติ 10. ผชู วยศาสตราจารย ดร.แสงสรุ ีย วสพุ งศอ ยั ยะ วศิ วกรรมศาสตร 11. ผชู ว ยศาสตราจารยป รญิ ญา เฉดิ โฉม เศรษฐศาสตร 12. อาจารยพ นู ศักด์ิ เงนิ หมน่ื วทิ ยาการจดั การ 13. อาจารยจ ติ รพล อนิ ทรศริ สิ วสั ดิ์ วทิ ยาลยั นานาชาติ 14. อาจารยอ ภชิ าติ จนั ทรแดง สถาบันสันตศิ กึ ษา 15. ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.สามารถ ทองเฝอ รฐั ศาสตร 16. อาจารยวนั เพญ็ กลนิ่ พทิ กั ษ วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 17. อาจารยอ าเซม็ อชั ชะรีฟ วทิ ยาลยั อสิ ลามศกึ ษา 18. อาจารยส มัชชา นิลปท ม วทิ ยาการสอ่ื สาร 19. ดร.พรปวีณ ศรงี าม มนษุ ยศาสตรแ ละสงั คมศาสตร 20. อาจารยย พุ ดี ยศวรศิ สกลุ ศกึ ษาศาสตร 21. ผชู ว ยศาสตราจารยเ จะอบั ดลุ เลาะ เจะสอเหาะ ศลิ ปกรรมศาสตร 22. ผชู วยศาสตราจารย ดร.สุรข์ิ วญั ถริ สตั ยาพิทกั ษ การบรกิ ารและการทอ งเทย่ี ว 23. ผชู ว ยศาสตราจารยกรรนกิ าร กาญจนชาตรี เทคโนโลยแี ละสง่ิ แวดลอ ม 24. ดร.ปารมี หนนู มิ่ วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม 25. ผชู วยศาสตราจารยส ชุ าดา ทพิ ยม นตรี ศลิ ปศาสตรแ ละวทิ ยาการจดั การ 26. อาจารยจ งกลนี รุงเรอื ง พาณชิ ยศาสตรแ ละการจดั การ 66 | สวันงแขหงลคาุณนคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014

อาจารยปจจุบันท่ีไดรับการเสนอช่ือโดยนกั ศกึ ษา ในฐานะท่ีเปน ทรี่ ัก ชื่นชม และศรัทธา สงขลาวนันแคหรง คินุณทครา | 67 A PSU DAY OF PRIDE 2014

อาจารยปจจุบันท่ีไดร ับการเสนอชื่อโดยนักศึกษา ในฐานะท่ีเปน ทร่ี ัก ช่นื ชม และศรัทธา 1. รองศาสตราจารย นพ.วชิ า จรูญรตั น แพทยศาสตร 2. ผชู วยศาสตราจารย นพ.วรวทิ ย จติ ติถาวร แพทยศาสตร 3. แพทยห ญงิ ศรลี า สาํ เภา แพทยศาสตร 4. ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.บศุ รา หมนื่ ศรี พยาบาลศาสตร 5. รองศาสตราจารย ดร.วนั ดี สทุ ธรงั ษี พยาบาลศาสตร 6. รองศาสตราจารย ดร.โพยม วงศภวู รกั ษ เภสชั ศาสตร 7. ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.เฉลมิ เกียรติ สงคราม เภสชั ศาสตร 8. ดร.ทพญ.สมจนิ ต รตั นเสถยี ร ทนั ตแพทยศาสตร 9. ดร.ทพญ.ออ ยทพิ ย ชาญการคา ทนั ตแพทยศาสตร 10. ดร.ทพญ.สุพชิ ชา ตลึงจิตร ทนั ตแพทยศาสตร 11. ดร.เกศรนิ มณนี นู การแพทยแ ผนไทย 12. ดร.จอมใจ สทุ ธนิ นท ศลิ ปศาสตร 13. ผชู วยศาสตราจารย ดร.กณุ ฑลยี  ไวทยะวณชิ ศลิ ปศาสตร 14. อาจารยธ รรมรักษ จติ ตะเสโน นติ ิศาสตร 15. รองศาสตราจารยว ิลาวณั ย เจรญิ จริ ะตระกลู วทิ ยาศาสตร 16. ดร.นรารกั ษ หลสี กลุ วทิ ยาศาสตร 17. อาจารยศ ภุ ศษิ ฎ กาจกาํ แหง วทิ ยาศาสตร 18. ผชู วยศาสตราจารย ดร.พิทยา อดลุ ยธรรม อตุ สาหกรรมเกษตร 19. ดร.วรพงษ อศั วเกศมณี อตุ สาหกรรมเกษตร 20. ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.อภญิ ญา รตั นไชย ทรพั ยากรธรรมชาติ 21. รองศาสตราจารยส ธุ า วัฒนสิทธ์ิ ทรพั ยากรธรรมชาติ 22. รองศาสตราจารย ดร.เจรญิ ยทุ ธ เดชวายกุ ลุ วศิ วกรรมศาสตร 23. รองศาสตราจารย ดร.ชญานุช แสงวเิ ชยี ร วศิ วกรรมศาสตร 24. ผชู วยศาสตราจารย ดร.ธีระยทุ ธ หลีวจิ ติ ร วศิ วกรรมศาสตร 25. ดร.ศกั ดช์ิ ยั คีรีพฒั น เศรษฐศาสตร 26. ผชู วยศาสตราจารย ดร.เสาวลกั ษณ รงุ ตะวันเรอื งศรี การจดั การสงิ่ แวดลอ ม 27. ผชู วยศาสตราจารยส ุพตั รา โมกขกุล วทิ ยาการจดั การ 28. ดร.พฒั นจิ โกญจนาท วทิ ยาการจดั การ 29. อาจารยจ ติ รพล อนิ ทรศริ สิ วสั ด์ิ วทิ ยาลัยนานาชาติ 30. อาจารยอภชิ ญา โออนิ ทร สถาบันสนั ตศิ ึกษา 31. อาจารยไพซอล ดาโอะ รฐั ศาสตร 32. อาจารยอ ารลี กั ษณ พูลทรพั ย รฐั ศาสตร 33. ผชู ว ยศาสตราจารยชดิ ชนก ราฮมิ มลู า รฐั ศาสตร 68 | สวนั งแขหงลคาุณนคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014

34. ดร.รัตนา จรยิ าบรู ณ วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 35. ดร.จรรี ตั น รวมเจรญิ วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 36. อาจารยเ นตรนภสิ ออ งสวุ รรณ วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 37. อาจารยภกั ดี ตวนศริ ิ วทิ ยาการสอ่ื สาร 38. อาจารยเ ชาวนเ ลศิ ลอ มลมิ้ มนษุ ยศาสตรแ ละสงั คมศาสตร 39. ดร.ธฤตตว ัชร ไชยเหมวงศ มนษุ ยศาสตรแ ละสงั คมศาสตร 40. ดร.พรปวีณ ศรงี าม มนษุ ยศาสตรแ ละสงั คมศาสตร 41. ผชู ว ยศาสตราจารยพ รเพญ็ ภทั รนธุ าพร ศกึ ษาศาสตร 42. ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.เอกรนิ ทร สังขท อง ศกึ ษาศาสตร 43. อาจารยจุฑา ธรรมชาติ ศกึ ษาศาสตร 44. อาจารยช ยั นนั ท ไชยเสน การบรกิ ารและการทอ งเทยี่ ว 45. อาจารยน ดิ า เหมงาม วเิ ทศศกึ ษา 46. ผชู ว ยศาสตราจารยกรรนกิ าร กาญจนชาตรี เทคโนโลยแี ละสง่ิ แวดลอ ม 47. อาจารยร ภสั ศกั ย เหตุทอง ศลิ ปศาสตรแ ละวทิ ยาการจดั การ 48. อาจารยว รศิ รา วงคร กั ษ ศลิ ปศาสตรแ ละวทิ ยาการจดั การ 49. อาจารยสคั คยศ สังขพนั ธ พาณชิ ยศาสตรแ ละการจดั การ 50. อาจารยส ดุ ใจ ขอเสรมิ ศรี พาณชิ ยศาสตรแ ละการจดั การ 51. อาจารยตรชี าติ เลาแกว หนู สถาปต ยกรรมศาสตร สงขลาวนันแคหรงคินณุ ทครา | 69 A PSU DAY OF PRIDE 2014

อาจารยป จ จบุ นั หรืออาจารยท เี่ กษยี ณอายรุ าชการแลว (เฉพาะอาจารยท เี่ กษยี ณอายรุ าชการในป 2555) ทไ่ี ดร บั การเสนอช่ือโดยศษิ ยเกา ในฐานะที่เปน ทรี่ ัก ช่นื ชม และศรทั ธา 70 | วสันงแขหงลคาณุ นคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014

อาจารยปจจุบันหรืออาจารยท่ีเกษียณอายุราชการแลว (เฉพาะอาจารยที่เกษยี ณอายุราชการในป 2555) ทไ่ี ดร ับการเสนอชือ่ โดยศษิ ยเ กา ในฐานะทเี่ ปน ที่รัก ชืน่ ชม และศรทั ธา 1. ผชู ว ยศาสตราจารย พญ.ประสนิ จนั ทรว ทิ นั แพทยศาสตร 2. ผชู ว ยศาสตราจารยป ระนอม หนูเพชร พยาบาลศาสตร 3. ดร.เกศรนิ มณนี นู การแพทยแ ผนไทย 4. รองศาสตราจารยม นตรี มเี นยี ม ศลิ ปศาสตร 5. อาจารยม งคล มาลยารม นติ ิศาสตร 6. ผชู วยศาสตราจารยอ มั พร ศรประสทิ ธ์ิ วทิ ยาศาสตร 7. ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.ปยรตั น ศริ ิวงศไ พศาล อตุ สาหกรรมเกษตร 8. รองศาสตราจารย ดร.จรสั ศรี นวลศรี ทรพั ยากรธรรมชาติ 9. รองศาสตราจารย ดร.วริ ิยะ ทองเรอื ง วศิ วกรรมศาสตร 10. อาจารยว ทิ วสั เหมทานนท เศรษฐศาสตร 11. ผชู ว ยศาสตราจารยเ จดิ จรรย ศริ วิ งศ การจดั การสง่ิ แวดลอ ม 12. ผชู ว ยศาสตราจารยย ุพาวดี สมบรู ณกลุ วทิ ยาการจดั การ 13. อาจารยอ ารลี ักษณ พลู ทรพั ย รฐั ศาสตร 14. ดร.สมพร ชว ยอารยี  วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 15. อาจารย ดร.นวุ รรณ ทบั เทยี่ ง วทิ ยาการสอ่ื สาร 16. ศาสตราจารย ดร.ดวงมน จติ รจ าํ นงค มนษุ ยศาสตรแ ละสงั คมศาสตร 17. ผชู ว ยศาสตราจารยสมเกยี รติ สขุ นนั ตพงศ ศกึ ษาศาสตร 18. อาจารยช ยั นนั ท ไชยเสน การบรกิ ารและการทอ งเทยี่ ว 19. ดร.ธรี าธร ลําเนาครฑุ วเิ ทศศกึ ษา 20. อาจารยชตุ มิ า ตอเจรญิ เทคโนโลยแี ละสงิ่ แวดลอ ม สงขลาวนันแคหรง คินุณทครา  | 71 A PSU DAY OF PRIDE 2014

72 | วสันงแขหงลคาณุ นคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014

รางวัลคุณภาพ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร ป 2557 สงขลาวนันแคหรงคินุณทครา  | 73 A PSU DAY OF PRIDE 2014

รางวลั คณุ ภาพ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร ป 2557 1. แนวปฏบิ ัติทเ่ี ปน เลิศ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร  ดานการเรยี นการสอนและคณุ ภาพบณั ฑติ 1. คณะอุตสาหกรรมเกษตร เรอื่ ง การจดั การเรยี นการสอนแบบสหกจิ ศกึ ษา  ดา นบรหิ ารจัดการ 1. คณะทรัพยากรธรรมชาติ เร่ือง ตลาดเกษตร ม.อ. 2. ศูนยเ ครอื่ งมือวทิ ยาศาสตร เร่อื ง ปรบั ปรงุ งานอยา งตอ เน่ืองดวยหลักการ KAIZEN 2. ผลงานดีเดน “ดา นนวตั กรรม” มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร 1. กองแผนงาน วทิ ยาเขตปต ตานี เรอื่ ง ระบบงานตรวจการจา งรายการสงิ่ กอ สรา ง วทิ ยาเขตปต ตานี (e-Checking Employment of Building Information System : e-CEBIS) 2. ศูนยค อมพวิ เตอร เรอื ง แจง การโอนเงนิ ผา นระบบ E-mail 3. ศนู ยสนเทศและการเรยี นรู วิทยาเขตสรุ าษฎรธานี เรอื่ ง การยมื -คนื -จา ยคา ปรับดว ยตอู ัตโนมตั แิ บบหยอดเหรยี ญ 3. หนว ยงานทไี่ ดรับ Best Practice ที่มหี นวยงานอนื่ นาํ ไปตอยอด/ปรบั ใช และหนวยงานที่นํา Best Practice ไปตอ ยอด/ปรบั ใช  หนวยงานท่ไี ดรบั Best Practice ทมี่ ีหนว ยงานอ่ืนนําไปตอ ยอด/ปรบั ใช 1. กองวิชาการและการพฒั นานกั ศึกษา วทิ ยาเขตสรุ าษฎรธานี เรอื่ ง การบรหิ ารจดั การเพอ่ื พฒั นาแกนนําดา นจติ ตปญญาศกึ ษา 2. คณะแพทยศาสตร เรอ่ื ง การพัฒนาการจัดการเรยี นการสอนระบบ PBL  หนว ยงานทน่ี าํ Best Practice ไปตอยอด/ปรบั ใช 1. คณะเทคนคิ การแพทย 74 | สวันงแขหงลคาุณนคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014

ภาคผนวก สงขลาวนนั แคหรง คินุณทครา | 75 A PSU DAY OF PRIDE 2014

76 | วสันงแขหงลคาณุ นคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014

เครือขายวิจัยดีเดน สงขลาวนันแคหรงคินุณทครา  | 77 A PSU DAY OF PRIDE 2014

สถานวจิ ยั ความเปน เลศิ ดานผลติ ภัณฑธรรมชาติ ผูอํานวยการสถานวิจัยความเปนเลิศ ศาสตราจารย ดร.ศุภยางค วรวฒุ ิคณุ ชัย คณะวทิ ยาศาสตร E-mail: [email protected] สถานวิจยั ความเปนเลิศดานผลิตภัณฑธรรมชาติมีเปาหมายหลักเพือ่ ที่จะดาํ เนินงานวจิ ัยตอเน่ืองจากสถานวิจัย ผลติ ภัณฑธ รรมชาติ มกี ารขยายการรวมกลุมนกั วจิ ัยหลกั จากภาควิชาเคมี ภาควชิ าจลุ ชวี วทิ ยา ภาควชิ าชวี เคมี ภาควชิ า สรีรวิทยา ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีวัสดุ ในคณะวิทยาศาสตรที่มีความเช่ียวชาญดานผลิตภัณฑธรรมชาติ โดยเพมิ่ เติมนกั วิจยั จากคณะอนื่ ๆ ในมหาวิทยาลยั ไดแก คณะเภสชั ศาสตร คณะแพทยศาสตร คณะเทคนิคการแพทย คณะทรพั ยากรธรรมชาติ คณะการแพทยแผนไทย เพ่ือท่ีจะสามารถสรา งงานวิจัยเชงิ บูรณาการไดค รบวงจรซ่งึ จะนําไปสู การนําไปใชป ระโยชนเชงิ คลนิ ิกและเชิงพาณชิ ยได ปจ จบุ นั มีคณาจารย จํานวน 19 คน นักวจิ ัยหลงั ปรญิ ญาเอก จาํ นวน 2 คน และนกั ศึกษาระดับบัณฑติ ศึกษา จาํ นวน 40 คน มีการสรา งเครอื ขายและความรวมมือในการทํางานวิจยั รวมกบั เครอื ขายวิจัยตา งๆ ในมหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร และเครอื ขายวจิ ยั จากสถาบนั การศึกษาอ่นื ๆ ทง้ั ในและตา งประเทศ รวมทงั้ หนวยงานภายนอกมหาวิทยาลยั ท้ังภาครฐั และเอกชน เพ่ือสรา งงานวจิ ยั ที่มคี ุณภาพ จากความรว มมือของนักวิจัย ในหลากสาขาวชิ า สง ผลใหเ กิดการพฒั นาบคุ ลากรในเชิงกวาง ทงั้ ระดับอาจารยและบัณฑิตศกึ ษา การเพม่ิ จาํ นวนผลงาน ตีพิมพที่มีคุณภาพเผยแพรในระดับชาติและนานาชาติ และการพัฒนาผลิตภัณฑธรรมชาติเพื่อใชประโยชนเชงิ พาณิชย ใหกับอุตสาหกรรมในประเทศไทย และเปนศูนยกลางในการทําวิจัยดานการพัฒนาผลิตภัณฑธรรมชาติของภูมิภาค สง เสริมการพฒั นาสมรรถนะในการแขง ขนั กบั นานาชาติ ในป 2556 สถานวิจยั ความเปนเลศิ ดานผลติ ภณั ฑธรรมชาติ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร ประสบความสําเรจ็ อยา งดียิ่งในการผลติ ผลงานวิจัยไดเกนิ เปา หมายที่ตกลงไวกบั มหาวทิ ยาลยั โดยมีผลงานตีพมิ พใ นวารสารวิชาการระดับ นานาชาติในฐานขอมลู ISI จํานวน 35 เรอื่ ง จดสิทธิบัตรผลติ ภณั ฑทไ่ี ดจากงานวจิ ัย จํานวน 3 เรื่อง (US 2011/ 0217293 A1, WO 2010/014199 A3, 1201004862) และอนสุ ิทธบิ ตั ร จาํ นวน 1 เรือ่ ง (1303000684) การนาํ ผลิตภณั ฑไปใชประโยชน จํานวน 1 รายการ ไดแก ผลิตภณั ฑสําหรับลดจาํ นวนเช้ือและสมานแผลติดเช้อื เรอ้ื รัง ท่มี ีสารสกัดเบญกานเี ปนองคประกอบ โดยนําไปใชร ักษาแผลผปู วยเบาหวานเร้อื รงั ในโรงพยาบาลสงเสรมิ สุขภาพตําบล: ควนลัง, คลองอูตะเภา, พะตง, บานพรุ, บานหาร นอกจากนี้ยังไดรับรางวัลดีเดนในระดบั ชาติและนานาชาติ ไดแ ก รางวัลผลงานแบบโปสเตอร จากงานประชมุ วิชาการระดับนานาชาติ NATPRO 4 และรางวัลผลงานวิจัยดีเดนแบบ บรรยายของซปุ ราคลสั เตอรด า นสง่ิ แวดลอ มจากมหาวทิ ยาลยั วจิ ยั แหง ชาติ 78 | สวันงแขหงลคาณุ นคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014

สถานวจิ ยั ยาสมนุ ไพรและเทคโนโลยชี วี ภาพทางเภสชั กรรม ผูอาํ นวยการสถานวิจัยความเปนเลิศ รองศาสตราจารย ดร.ภาคภมู ิ พาณิชยปู การนนั ท คณะเภสชั ศาสตร E-mail: [email protected] สถานวจิ ยั ยาสมนุ ไพรและเทคโนโลยชี วี ภาพทางเภสชั กรรม มที ศิ ทางการดาํ เนนิ งานวจิ ยั ใน 4 ดา น และในปท ผ่ี า นมา นักวิจัยไดผ ลิตผลงานวจิ ัยดา นตา งๆ และไดร ับการตีพมิ พใ นวารสารระดบั นานาชาตทิ ีอ่ ยใู นฐานขอ มูล ISI หรือมีผลงาน วจิ ยั ทข่ี อยน่ื จดสทิ ธบิ ัตร โดยมผี ลงานวจิ ยั เดน ไดแ ก 1. การวจิ ัยเพอ่ื คน หาตวั ยาสาํ คญั จากสมุนไพรท่ีใชต ามภูมปิ ญ ญาการแพทยแผนไทย - คน พบสารทมี่ ฤี ทธต์ิ า นมะเรง็ ชนดิ ใหมจ ากใบหมยุ - คน พบสารที่มีฤทธต์ิ า น HIV-1 integrase จากใบแดงนา้ํ , - คนพบสารทมี่ ฤี ทธติ์ านมะเรง็ และสารทมี่ ีฤทธต์ิ าน HIV-1 integrase จากหญา นางแดง และแกน แสมสาร 2. การพฒั นาผลติ ภณั ฑยาสมนุ ไพรและการควบคุมคุณภาพ - พัฒนาวธิ ีการเตรยี มสารสกดั จากบวั บกใหมสี ารสําคญั กลมุ เพ็นตะไซคลกิ ไตรเทอรป น ในปริมาณสูง และ พฒั นาตํารบั ยาน้าํ สเปรยท ม่ี ตี วั ยาสาํ คญั เปน สารเพน็ ตะไซคลกิ ไตรเทอรป นเพอื่ ใชร ักษาแผลอกั เสบในชอ งปาก - พฒั นากรรมวธิ กี ารผลติ สารสกดั รงั นกแหง 3. การศึกษาประสทิ ธิภาพและความปลอดภยั ในการใชยาสมุนไพร - ศึกษาฤทธ์ิตา นการอักสบและแกป วดเฉพาะท่ี ของสารสกัดจากเปลอื กผลทับทิมท่ีมีการควบคุมปริมาณ สารสาํ คญั อลิ ลาจกิ แอซดิ ในสตั วท ดลอง - ศึกษาผลของนา้ํ ยาบวนปากที่มตี วั ยาลอวโซนเมธิลอเี ธอรในผปู วยเอดสท ตี่ ดิ เชอ้ื แคนดดิ าในชอ งปาก และ ในผปู วยทมี่ อี าการอกั เสบในชอ งปากจากการใสฟน ปลอม 4. การวจิ ยั และพฒั นาคุณภาพวัตถดุ บิ สมนุ ไพรโดยใชเทคโนโลยชี วี ภาพ - สามารถเพิ่มการสรา งสารสาํ คัญในกลมุ แนพโธควิโนนในรากเพาะเลี้ยงของตนเทียนบานโดยการใชส าร เมไธโอนนี - สามารถเพมิ่ การสรา งสารพลมั บาจินในรากเพาะเลย้ี งของตนเจตมลู เพลงิ แดงโดยการใชร งั สีแกมมา นอกจากนส้ี ถานวจิ ยั ยาสมนุ ไพรฯ ยงั มีกจิ กรรมเผยแพรงานวจิ ยั โดยรว มกับคณะเภสชั ศาสตรแ ละสถานวิจยั ความ เปน เลศิ ระบบนาํ สงยา จัดประชมุ วิชาการระดบั นานาชาติ Current Drug Development (CDD) เปน ประจําทุก 2 ป ในสว นของความรว มมอื กับภาคอตุ สาหกรรม สถานวิจยั ฯ ไดจ ดั กิจกรรมเพือ่ พฒั นางานวจิ ยั ในเชงิ พาณิชยโ ดยจดั กิจกรรมใหนกั วิจยั หลักของสถานวิจยั ฯ ไดพ บปะกบั ผูประกอบการในอตุ สาหกรรมผลติ ภณั ฑจ ากสมนุ ไพร เพือ่ หาโจทยวจิ ยั และชองทางในการนําผลงานวจิ ัยไปใชป ระโยชนเ ชงิ พาณชิ ย สงขลาวนนั แคหรง คินุณทครา | 79 A PSU DAY OF PRIDE 2014

สถานวจิ ยั โรคทพ่ี บบอ ยในชอ งปากและวทิ ยาการระบาด ผูอาํ นวยการสถานวิจัยความเปนเลิศ ศาสตราจารย ดร.รวี เถยี รไพศาล คณะทันตแพทยศาสตร E-mail: [email protected] บุคลากรในสถานวิจัย ภาควชิ าโอษฐวทิ ยา ศ.ดร. รวี เถียรไพศาล ภาควชิ าโอษฐวทิ ยา ผศ.ดร.ทพญ.เปรมทพิ ย ชลดิ าพงศ ภาควชิ าทนั ตกรรมปอ งกนั ผศ.ดร.ทพญ.สกุ ญั ญา เธยี รววิ ฒั น ภาควชิ าทนั ตกรรมปอ งกนั ดร.ทพญ. สพุ ชั รินทร พิวฒั น ภาควชิ าโอษฐวทิ ยา ดร.ทพญ. กนกพร กําภู กอตั้งเมื่อ 11 กนั ยายน 2552 หลักการและเหตุผล เปน การสรา งกลมุ นกั วจิ ยั สหสาขาของคณะทนั ตแพทยศาสตรซ งึ่ เคยทาํ งานรว มกนั ใหม ีความเขมแขง็ อยางตอ เนอ่ื ง เพอ่ื รวมกนั ศกึ ษาโรคทพี่ บบอ ยในชอ งปากในภาคใต และเพอ่ื หาแนวทางในการปอ งกนั รกั ษาโรคทพี่ บบอ ยนน้ั ๆ โดยทผี่ า นมา มีผลงานทางวิชาการเกยี่ วกับวิทยาการระบาดของโรคในภาคใต ซ่งึ เปนการสรางองคความรูใหมและไดรบั การตพี ิมพใน วารสารระดบั นานาชาติ และนักวิจัยในกลมุ ไดร บั ทนุ สนบั สนุนทง้ั ภายในและภายนอกใหด ําเนนิ การวจิ ัยอยางตอเนอ่ื ง และ มีความพรอมของหองปฏิบัติการและครุภัณฑที่จะใชทําการวิจัยนอกจากน้ีตองการที่จะเปน แกนในการสรางนักวจิ ัยใหม และประสานกับงานวจิ ยั ของบณั ฑติ ศกึ ษา วตั ถุประสงค สรา งองคค วามรใู หมเกย่ี วกบั โรคทพ่ี บบอ ยในชอ งปากสรา งองคค วามรูพน้ื ฐานของโรคในชอ งปากทพี่ บบอยในพน้ื ท่ี ภาคใต พัฒนาและหาแนวทางการแกไ ขปญหาโรคในชอ งปากที่พบบอ ย สรางนกั วจิ ัยรนุ ใหมโ ดยการทาํ งานเปนทมี และ กระบวนการบัณฑติ ศกึ ษาจดั ทําฐานขอ มลู และเปนแหลง เผยแพรงานวิจัยเกยี่ วกับโรคทพี่ บบอยในชอ งปากและวิทยาการ ระบาดในภาคใต ทิศทางการวิจัยในชว ง 4 ป 1. ศกึ ษาความชกุ ของโรคและความผดิ ปกตทิ พี่ บบอ ยและปจ จยั เสยี่ งเปาหมาย ไดแ ก การตดิ ตามในเด็กระยะยาว ในกลุมเดก็ พิเศษ และความชุกของความผดิ ปกตขิ อตอ ขากรรไกร 2. การพฒั นา probiotics และสมนุ ไพรมาใชในการปอ งกันโรคทพี่ บบอย เชน โรคฟน ผุ 3. การใชก ารบรหิ ารจดั การเพอื่ ปอ งกนั โรคทพ่ี บบอ ย 80 | วสนั งแขหงลคาณุ นคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014

ผลติ ภณั ฑผ สมโพรไบโอติก Lactobacillus paracasei SD1 เพ่อื ปองกันฟนผุ การคน พบ จากการศึกษาข้นั ตนของทมี งานผูวจิ ยั พบวา Lactobacillus ท่แี ยกไดจ ากชองปากของเดก็ โดยเฉพาะสายพันธุ L. paracasei SD1 เปนสายพันธุท่ีแยกไดจากชองปากของเด็กซึ่งไมมีฟนผุ และจากการศึกษาคุณสมบัติของ L. paracasei SD1 ซ่ึงมีขอดหี ลายประการคือ 1. เปน สายพนั ธทุ ม่ี ีความสามารถสงู ในการยบั ยั้งการเจรญิ เตบิ โตของเชอ้ื Streptococcus mutans แล Strepto- coccus sobrinus แบคทเี รียสาเหตุของฟน ผุ 2. L. paracasei SD1 สรางกรดไดน อยกวา เมอื่ เปรียบเทยี บกับสายพันธอุ น่ื การสรางกรดเปน คุณสมบตั ิทไี่ ม พึงประสงค เนอ่ื งจากกรดทําใหเ กดิ การสูญเสียแรธาตุจากฟนเปน สาเหตขุ องฟน ผุ 3. L. paracasei SD1 สามารถเกาะติดเยอ่ื บผุ ิวในชองปากไดด ี สงขลาวนนั แคหรง คินณุ ทครา  | 81 A PSU DAY OF PRIDE 2014

หนวยวจิ ัยพลาสตกิ ชวี ภาพ ผูอาํ นวยการสถานวิจัยความเปนเลิศ รองศาสตราจารย ดร.วราภรณ ตนั รัตนกลุ คณะวทิ ยาศาสตร E-mail: [email protected] หนว ยวจิ ยั พลาสตกิ ชวี ภาพ คณะวทิ ยาศาสตร มนี กั วิจยั จํานวน 4 ทาน มาจากภาควิชาวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี วัสดุ 3 ทาน คือ รองศาสตราจารย ดร.วราภรณ ตนั รัตนกลุ ผูช วยศาสตราจารย ดร.แกว ตา แกว ตาทิพย และ ดร.ชวนพศิ ขาวคง อีก 1 ทา น คือ ดร.กมลธรรม อํ่าสกลุ ภาควชิ าจลุ ชีววิทยา วัตถุประสงคในการจดั ตั้งหนว ยวิจัยคือ เพ่ือพัฒนานักวิจัยดานพลาสติกชีวภาพและสรางทีมวิจัย และเพ่ือสรางความเขมแข็งใหกับบัณฑิตศึกษา เปาหมาย ของหนว ยวจิ ยั คอื การผลติ ผลงานตพี มิ พระดบั นานาชาติ การผลติ บณั ฑติ วจิ ัยดานพลาสตกิ ชีวภาพ และการมเี ครอื ขา ยวิจยั ตางประเทศ จดุ เดนของหนว ยวจิ ัยพลาสตกิ ชวี ภาพคือ การทาํ วจิ ัยทีส่ อดคลองกับความตอ งการของประเทศและของโลก มแี หลง ทนุ วจิ ยั สนับสนนุ และเปน หนว ยวจิ ัยทส่ี ามารถทาํ งานไดค รบวงจรคอื มีความสามารถในการสงั เคราะหห รอื การผลติ พลาสตกิ ชวี ภาพ สามารถทดสอบสมบัตติ า งๆ ขนึ้ รปู ได และสามารถวเิ คราะหก ารยอ ยสลายไดท างชวี ภาพ ผลงานของหนว ยวิจยั ระหวางเดือนกรกฎาคม 2554 จนถึงเดอื นกรกฎาคม 2557 คอื มีผลงานวจิ ัยตพี มิ พใน วารสารระดับนานาชาติ 20 บทความ วารสารระดบั ชาติ 2 บทความ ผลิตนักศึกษาระดับปรญิ ญาเอก 7 คน และ ปริญญาโท 16 คน มีนักศึกษาระดับปรญิ ญาตรที าํ การวิจยั ดานนอี้ ีก 30 คน ไดรับงบประมาณสนับสนุนการวจิ ยั จาก แหลงทุนภายนอกจํานวน 4.4 ลา นบาท และงบประมาณมหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร จํานวน 200,000 บาท นักวิจัยมี ความรวมมอื กับตางประเทศ 10 โครงการ ดงั นี้ Universit du Maine ประเทศฝรง่ั เศส จํานวน 4 โครงการ Montpellier SupAgro ประเทศฝร่ังเศส 2 โครงการ University Saine Malaysia จาํ นวน 1 โครงการ University of Novi Sad ประเทศเซอรเ บยี จาํ นวน 3 โครงการ มีการสงนกั ศกึ ษาทาํ วจิ ัยในมหาวทิ ยาลยั ดงั กลา ว ลักษณะงานวิจยั แบงเปน 5 ประเภท ดังน้ี (1) การนํายางธรรมชาตมิ าประยกุ ตใ นพลาสตกิ ชวี ภาพ เชน การ เตรยี มพอลิยูรเิ ทนจากยางธรรมชาตแิ ละพอลเิ มอรยอ ยสลายไดท างชีวภาพ เชน พอลแิ ลคตคิ แอซิดและพอลิคาโปร- แลคโทน การเตรยี มเปน บลอ คโคพอลเิ มอรระหวา งยางธรรมชาติและพอลแิ ลคตคิ แอซิด การเตรียมพอลยิ ูริเทนจากยาง ธรรมชาตแิ ละพอลแิ ลคตคิ แอซดิ โดยไมใ ชไ อโซไซยาเนต การผลติ โฟมพอลยิ รู เิ ทนจากยางธรรมชาตแิ ละพอลคิ าโปรแลคโทน เพ่ือการปลดปลอยปุย และการผลิตโฟมพอลิยูริเทนจากยางลอรถยนต (2) การเตรียมพลาสติกชีวภาพจากนาํ้ มัน ถัว่ เหลอื ง เชน การผลติ เปน แผน พลาสตกิ การผลติ เปนโฟมอพิ อกซี และการนําสารสกดั จากเปลอื กมงั คุดเปน สว นผสม (3) การสังเคราะหพ อลเิ มอรจ ากจุลนิ ทรีย เชน การผลิตพอลไิ ฮดรอกซอี ลั คาโนเอตจากแบคทีเรยี (4) การปรับปรงุ สมบัติ ของเทอรโ มพลาสตกิ สตารช เชน การผสมดว ยดนิ ขาว การผสมดว ยคราฟลกิ นนิ การปรับปรุงการเชอ่ื มขวางโมเลกลุ และ (5) การศึกษาการยอ ยสลายทางชวี ภาพของพอลิเมอรชนิดตางๆ เชน ยางธรรมชาติ พอลยิ ูรเิ ทนทส่ี ังเคราะหในขอ 1 82 | วสนั งแขหงลคาณุ นคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014

รางวัลผลงานวิจยั ที่มีประโยชนต อชมุ ชน ประจําป 2556 สงขลาวนนั แคหรง คินุณทครา  | 83 A PSU DAY OF PRIDE 2014

การพฒั นาโพรไบโอตกิ แลกโตแบซลิ ลสั พาราเคซอิ เิ อสดหี นงึ่ เพอ่ื ใชป อ งกนั ฟน ผุ ศาสตราจารย ดร.รวี เถยี รไพศาล1 และ ดร.สพุ ัชรนิ ทร พิวัฒน2 1ภาควชิ าโอษฐวทิ ยา 2ภาควชิ าทนั ตกรรมปอ งกนั คณะทนั ตแพทยศาสตร มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร ฟน ผุนับเปน ปญ หาสขุ ภาพทส่ี ําคญั ของคนไทยท่พี บไดในทกุ เพศและทุกอายุ เปน ปญ หาทเ่ี ร้ือรังเร่มิ ต้ังแตในเด็กใน ฟน นํา้ นมและตอ เนอื่ งจนเปน ฟนแทใ นผใู หญ จากการสํารวจสุขภาพชองปากแหง ชาตทิ ั่วประเทศของกระทรวงสาธารณสุข ในเด็กเล็กอายุ 3 ป พบวา มากกวา 60% ของเด็กมฟี น ผุและพบความชกุ มากท่ีสดุ ในภาคใตของไทย และจากการท่ี พบฟน ผใุ นเดก็ เล็กทาํ ใหเกิดเปน ปญ หาของฟน และผลทีต่ ามมาของฟนผุ ผลดังกลา วทําใหตองใชงบประมาณมากกวา 50% ของงบประมาณการดแู ลสุขภาพชองปากทงั้ หมด เพ่ือมารกั ษาฟน ผุและผลทตี่ ามมา เชน การอดุ ฟน ถอนฟน และ การใสฟ น ปลอม เปน ตน โพรไบโอตกิ (Probiotic) หมายถงึ จุลินทรยี ท ีม่ ีชีวิตซ่งึ เม่อื รางกายไดร ับในปริมาณท่ีเพียงพอจะทําใหเกิดผลทเ่ี ปน ประโยชนดา นสุขภาพ (คํานยิ ามของคณะกรรมการอาหารและยาของประเทศไทย และองคการอนามัยโลก) จุลินทรีย เหลา นี้เปนสายพันธุทไ่ี ดผ า นการคดั เลือกมาแลว อยา งดีวา เปน สายพันธทุ ม่ี ีคุณสมบตั ิดี เหมาะสม และปลอดภยั ในการ นาํ มาใชเปน โพรไบโอตกิ ได สว นใหญม กั เปนสายพนั ธุในกลมุ ของจีนสั Lactobacillus โดยทั่วไปเปน นาํ มาใชใ นการบริโภค เพอื่ สุขภาพในทางเดนิ อาหาร นอกจากนม้ี รี ายงานวา โพรไบโอตกิ อาจมปี ระโยชนใ นการเสรมิ สุขภาพในชอ งปาก โดยชว ยลด เชื้อกอโรคในชองปากและปองกันการติดเช้ือในชองปากดวย หากแตมีรายงานวาโพรไบโอติกเหลานั้นสามารถอยูใน ชองปากไดเพียงช่ัวคราวเทาน้ัน อาจเน่อื งจากไมใ ชส ายพันธุที่มีตนกําเนิดจากชอ งปากของคน จึงไมเ หมาะในการท่จี ะอยู กบั สิง่ แวดลอ มในชองปากได ในการศึกษานี้เปน การคดั เลอื กสายพนั ธุจุลินทรียท่มี ีตนกําเนดิ จากชอ งปากของคน เพือ่ นาํ มาใชเปนโพรไบโอตกิ เสริมสขุ ภาพในชองปาก ซึ่งไดดาํ เนนิ ข้ันตอนตามมาตรฐานกาํ หนด ท้ังในหองปฏิบัตกิ าร และการศึกษาในคน พบวา Lactobacillus paracasei SD1 มีคุณสมบตั ิในการยับย้ังการเจรญิ เตบิ โตของเชื้อกอโรคฟน ผุ และสามารถคงอยูใน ชอ งปากของอาสาสมคั รทไี่ ดรบั นมผงผสมโพรไบโอติก Lactobacillus paracasei SD1 ไดเปน เวลานาน ที่สาํ คญั คอื อาสาสมัครท่ีไดรับนมผงผสมโพรไบโอติก มีคาเฉลี่ยของฟนผุใหมที่เพิ่มข้ึนนอยกวาอาสาสมัครท่ีไดรับนมผงไมผสม โพรไบโอติก จากการศกึ ษาและคนพบจุลนิ ทรยี  Lactobacillus paracasei SD1 นา จะเปนประโยชนในการนําไปใชป องกนั ฟนผุ ในประชาชนได ท้ังนขี้ อมูลและความรูเ หลา นี้ไดเผยแพรใหก ับประชาชน โดยตีพิมพในวารสารวิชาการท้ังในประเทศและ ตางประเทศ นทิ รรศการเพือ่ สุขภาพ และถายทอดเทคโนโลยีใหก บั ภาคเอกชนเพือ่ พัฒนาเปน ผลติ ภณั ฑในการชว ยเสรมิ สขุ ภาพในการตา นฟน ผตุ อไป 84 | วสนั งแขหงลคาณุ นคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014

อนญุ าตใหบ รษิ ัทโรงงานเภสัชกรรมเกรท เตอรฟ ารม า จํากดั ใชส ทิ ธิบตั ร ในการตอ ยอดวิจยั และพัฒนาตํารบั ผลติ ภัณฑตางๆ จากหวั เชอ้ื Lactobacillus paracasei SD1 ผลติ ภณั ฑผ สมโพรไบโอติก Lactobacillus paracasei SD1 รปู แบบตางๆ ไดแ ก นมผง นมอดั เมด็ โยเกริ ต ผสมนํา้ ผลไม งานนทิ รรศการแสดงผลงาน/นวตั กรรม ในงานตลาดนดั คนรกั สขุ ภาพ ณ ศนู ยป ระชมุ นานาชาติ ฉลองสริ ริ าชสมบตั ิ 60 ป มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร วนั ท่ี 5-9 มถิ นุ ายน 2556 ประชาชนมคี วามสนใจในผลิตภัณฑต า ง ๆ ทีผ่ สมโพรไบโอติก Lactobacillus paracasei SD1 อยางมาก สงขลาวนนั แคหรงคินุณทครา  | 85 A PSU DAY OF PRIDE 2014

86 | วสันงแขหงลคาณุ นคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014

รางวัลท่ี 1 นวัตกรรมสงขลานครนิ ทร ประจําป 2556 - ระดบั ปรญิ ญาตรี - ระดบั บณั ฑิตศกึ ษา สงขลาวนนั แคหรงคินณุ ทครา  | 87 A PSU DAY OF PRIDE 2014

ระบบออพตคิ อลโคฮเี รนสโ ทโมกราฟแ บบมกี ารปรบั ปรงุ คณุ ภาพ ของภาพโครงสรา งและภาพความเรว็ ในเวลาเดียวกนั นายสาโรช ลี่ดํารงวัฒนากุล และ ผชู วยศาสตราจารย ดร.ชติ นนท บรู ณชยั (อาจารยทปี่ รึกษา) ภาควิชาฟสกิ ส คณะวทิ ยาศาสตร มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร E-mail: [email protected], [email protected] ระบบออพตคิ อลโคฮีเรนสโทโมกราฟ (Optical Coherence Tomography-OCT) เปนระบบทส่ี ามารถถา ยภาพ โครงสราง (structural image) ของตวั อยา ง และภาพความเรว็ (velocity profile) ของการไหลของของเหลวภายใน ตัวอยางโดยไมท าํ ลาย อยางไรกต็ ามการภาพถา ยทง้ั สองแบบมกั มปี ญหาของสญั ญาณรบกวนโดยเฉพาะในกรณที ต่ี วั อยา ง มีสมบัติในการกระเจงิ แสงไดดี สง ผลใหภ าพมีคณุ ภาพตาํ่ และบางครั้งไมส ามารถแยกแยะโครงสรางทีต่ อ งการศึกษาออก จากสญั ญาณพืน้ หลังได ปจจุบันมีการคิดคน กระบวนการปรับปรงุ คุณภาพภาพถายทไ่ี ดใ นหลากหลายรูปแบบ เปนท่ีนา สงั เกตวาโดยสวนใหญผูพฒั นาจะเลอื กทําการปรับปรุงคณุ ภาพของภาพชนิดใดชนดิ หนงึ่ เปน หลกั ทั้งน้ีอาจเนอ่ื งมาจาก ลักษณะของขอ มูลทตี่ อ งการหรืออาจเนอ่ื งมาจากสาเหตทุ ่วี า ภาพโครงสรา งและภาพความเรว็ ใชก ารวเิ คราะหส ัญญาณดิบ ในแงมุมท่ีแตกตางกัน การปรับปรุงภาพท้ังสองแบบจึงตองทําแยกกัน อยางไรก็ตามพบวาในการใชงานบางประเภท โดยเฉพาะการวินิจนัยโรคจากหลอดเลือดมคี วามตอ งการภาพโครงสรางและภาพความเร็วของตวั อยางในเวลาเดียวกัน ทําใหต อ งเสียเวลาในการแยกปรบั ปรงุ คณุ ภาพของภาพทง้ั สองแบบ ดังนั้นผูพฒั นาจึงไดพฒั นาระบบออพติคอลโคฮเี รนสโทโมกราฟท่ีมกี ารปรับปรุงคณุ ภาพของภาพโครงสรางและ ภาพความเร็วในเวลาเดียวกนั ขน้ึ ระบบประกอบดวยแหลงกาํ เนิดแสง ชนิด super luminescence diode (SLD) ซ่งึ ให แสงในยานอนิ ฟราเรดแบบ low coherence (1) สวนแยกทางเดนิ แสง (2) สวนอา งอิง (3) สว นกราดตรวจตวั อยาง (4) สว นวดั การแทรกสอด (5) สวนระบบควบคมุ การทาํ งาน (6) สวนการวิเคราะหและปรับปรุงคุณภาพของสญั ญาณ (7) สว นการแสดงผลและบันทกึ ภาพ (8) ดงั แสดงในรูปที่ 1 หวั ใจสําคัญของชิน้ งานคือการพฒั นาสว นการวเิ คราะหและ ปรบั ปรุงคณุ ภาพของสัญญาณ (7) โดยการเพิม่ สว นปรบั ปรงุ สญั ญาณที่กระทําบน STFT domain (short-time Fourier transform-STFT) และใชเครอื่ งมอื ในการวเิ คราะหสญั ญาณ อาทิเชน การวิเคราะหเ วฟเลต็ ในการแยกสัญญาณกอ นการ แปลงเปน สญั ญาณภาพทงั้ สอง รปู ที่ 1 แผนภาพแสดงระบบออพติคอลโคฮเี รนสโ ทโมกราฟแ บบมกี ารปรบั ปรงุ คณุ ภาพของภาพโครงสรางและ ภาพความเรว็ ในเวลาเดยี วกนั 88 | วสันงแขหงลคาุณนคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014

งานประดิษฐชิ้นนี้มีขอดีเหนือระบบเดิมท่ีมีเทคนิคการปรับปรุงสัญญาณแบบอ่ืนๆ ในแงของการประหยัดเวลา คาํ นวณและไดผ ลการปรบั ปรุงสญั ญาณทัง้ สองโดเมนพรอมกนั นอกจากนผ้ี ลการวิเคราะหคณุ ภาพของสญั ญาณหลงั ผา น การปรับปรุงพบวาสามารถเพ่ิมความถูกตองของสัญญาณในภาพความเร็วและการเพิ่มคุณภาพของสัญญาณในภาพ โครงสรางไดเ ปนอยางดโี ดยเฉพาะเม่ือพิจารณาในแงค วามคมชดั อกี ทั้งสว นวิเคราะหแ ละปรับปรงุ คุณภาพของสัญญาณ ท่ีพัฒนาขึ้นน้ีสามารถนาํ ไปประยุกตใชกับระบบออพติคอลโคฮีเรนสโทโมกราฟเครื่องอื่นๆ ท่ีมีใชงานอยูแลวโดยอาจจะ ไมจําเปน ตอ งติดตัง้ อุปกรณใดๆ เพม่ิ เตมิ จึงสามารถนําไปประยกุ ตใชไดอยางรวดเร็วโดยเฉพาะในดานการแพทย อาทิ การถายภาพหลอดเลือดหรือ catheter เพ่อื การวนิ จิ ฉยั โรค ดังรูปที่ 2 และดา นอตุ สาหกกรม อาทิ นวตั กรรมในการ ตรวจสอบคณุ ภาพสินคาและคณุ สมบตั ิของวสั ดแุ บบทนั ใดโดยไมทําลายตวั อยา ง การวดั ความหนาและความราบเรียบของ ผวิ วสั ดใุ นแตล ะชนั้ และการตรวจวดั อตั ราไหลในตวั อยา งโดยไมท ําลาย ดงั รูปท่ี 3 รูปท่ี 2 ตวั อยา งการนําผลงานไปใชในการวัดอตั ราเร็วการไหลในหลอดแคปล ารี (B) พรอมกบั วดั ความเขม ขน (จากความขนุ ) ของสารละลายและลักษณะรปู รางของทอในเวลาเดยี วกนั (A) รปู ท่ี 3 ตัวอยา งการนําผลงานไปใชในการวัดภาพโครงสรางของใบไม (a) ภาพตน ฉบับ (b) หลังผานการปรับปรุง โดยจะเห็นวา ภาพตน ฉบับ (a) เต็มไปดว ยสญั ญาณรบกวน ทาํ ใหบ ดบงั ตาํ แหนง ของผิวใบดา นลาง และผวิ ของ กระจกสไลด ในขณะท่ีปญ หาดงั กลา วไดร ับการแกไขใหหมดไปในภาพทผี่ านการปรบั ปรุง (b) ทําใหมองเห็นสว น ของผวิ ใบและผวิ กระจกสไลดอ ยา งชดั เจน สงขลาวนันแคหรงคินุณทครา | 89 A PSU DAY OF PRIDE 2014

ชดุ ตรวจคดั กรองสารพนั ธกุ รรมทาํ นายอาการแพย า ในกลมุ คารบ ามาซพิ นี นักศึกษาหัวหนาโครงการ นพ.คณตุ ม จารธุ รรมโสภณ อาจารยที่ปรึกษาโครงการ รศ.ดร.นพ.พรพรต ลม้ิ ประเสรฐิ 1 1หนว ยมนษุ ยพนั ธศุ าสตร ภาควชิ าพยาธวิ ทิ ยา คณะแพทยศาสตร มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร e-mail: [email protected] ท่ีมา ยาคารบ ามาซีพีนเปนยากันชักที่มีราคาถูกและมีประสทิ ธิภาพ แตมีผลขางเคยี งรุนแรงชนิด Stevens-Johnson syndrome และ toxic epidermal necrolysis ทาํ ใหผูปวยพิการและเสียชีวิต ในประชากรชาวเอเชีย พบวาผูที่มี ลกั ษณะทางพนั ธุกรรม “HLA-B*15:02” จะมคี วามเสย่ี งตอ การแพย ารุนแรงนสี้ ูงมาก ดว ยเหตนุ ก้ี ารตรวจคดั กรอง HLA- B*15:02 ในผูท ี่มีเชอื้ สายเอเชียกอ นการใหย าจงึ เปนแนวปฏิบัติมาตรฐานตามองคการอาหารและยาสหรัฐฯ และกาํ ลงั ถกู พฒั นาเปน นโยบายทจี่ ะประกาศใชใ นประเทศไทย แตในขณะเดียวกนั ชุดตรวจคดั กรอง HLA-B*15:02 ทมี่ ใี นทองตลาด มักมรี าคาแพง ตองใชเ ครือ่ งมือราคาแพง และใชเทคนคิ ทต่ี องมีความชํานาญสูง นอกจากน้ีชุดตรวจทอ่ี อกแบบจากตาง ประเทศยังใหผลบวกปลอมตอบางลกั ษณะที่พบในบอ ยในประชากรแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใตอกี ดวย จากขอจาํ กัด ดงั กลา วจงึ นํามาสกู ารพฒั นาชดุ ตรวจเพอ่ื ใชใ นบรบิ ทของประเทศไทย หลักการและข้ันตอนของนวัตกรรม นวตั กรรมชดุ ตรวจคดั กรองคดั กรองนอ้ี อกแบบเพอื่ ระบลุ กั ษณะทางพนั ธกุ รรม HLA-B*15:02 โดยทดสอบขนั้ แรก จากการพซี อี ารดว ยไพรเมอรท ม่ี ีความจาํ เพาะ ควบคูก บั ไพรเมอรค วบคมุ แลว จงึ ตรวจสอบหาผลผลติ จากปฏกิ ริ ยิ าพซี ีอาร (ดังรปู ) ขนั้ ที่สองทดสอบดว ยหลักการ direct dot blot hybridization โดยนําผลผลิตพีซีอารจ ากข้ันแรกมาตดิ กับวสั ดุ ยึดเกาะแลวทดสอบการจับกับโพรบจาํ เพาะ ผลผลิตท่ีสามารถจบั จาํ เพาะกับโพรบไดจ ะสามารถทําปฏกิ ิรยิ าปรากฏใหเ หน็ เปน จดุ สี (ดังรปู ) วธิ กี ารทดสอบนเี้ ปน วิธกี ารท่ไี มซับซอ นและทาํ ไดงา ยในหองปฏิบตั กิ ารทว่ั ไป ผลการทดสอบจะสามารถ ใชร ะบลุ ักษณะ HLA-B*15:02 ในผูปว ย คุณสมบัติของนวัตกรรม และการตอยอด นวตั กรรมชดุ ตรวจคดั กรองไดผานการทดสอบความแมนยาํ กบั ตวั อยางทป่ี กปด ลกั ษณะของ HLA-B จํานวน 150 ตวั อยา ง พบวา ชุดตรวจมเี ปนความไว (sensitivity) 100% ความจําเพาะ (specificity) 99.23% และมีราคาตน ทุนตอ การตรวจครงั้ ละไมเ กนิ 1,000 บาท ซงึ่ เปน ราคาทรี่ องรบั ตามระเบียบกรมวทิ ยาศาสตรก ารแพทย 90 | สวันงแขหงลคาุณนคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014

ดว ยลกั ษณะเดนของนวัตกรรมคือ ทําไดง า ย มีราคาถูก ใชเ คร่ืองมือที่มีในหอ งปฏิบตั กิ ารทวั่ ไป มีความแมนยํา ท่ีเหมาะสมกับท้ังประชากรไทย และประชากรประเทศอื่นๆ ในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ชดุ ตรวจนี้จงึ มศี กั ยภาพ ในการตอยอดทางการคาในประเทศไทย และในประเทศกลมุ ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น โดยคําขอสทิ ธิบตั รของนวตั กรรม นอ้ี ยใู นข้นั ตอนการพจิ ารณาอนมุ ตั ิ (เลขทค่ี ําขอ 1301007163) และมบี ทความวจิ ัยทอ่ี ยใู นระหวา งการยน่ื จดั สง ตพี ิมพ รูปแสดงหลกั การและผลการตรวจจากชดุ ตรวจคดั กรอง ข้นั ตอนแรก (1.) คอื ปฏกิ ริ ยิ าพีซอี ารอ ยางจาํ เพาะ ตวั อยา งทใ่ี หเ พยี งผลผลิตควบคมุ จะถกู รายงานผลลบตอ การตรวจ ในขณะทต่ี วั อยา งทใี่ หท ง้ั ผลผลติ ควบคมุ และผลผลติ จําเพาะจะถกู นํามาทดสอบ direct dot blot hybridization ในขน้ั ถดั มา (2.) ผลสดุ ทายตัวอยา งทใ่ี หผ ลบวกจะทาํ ปฏกิ ิรยิ าใหจ ดุ สบี นวสั ดุยดึ เกาะ สงขลาวนนั แคหรงคินณุ ทครา  | 91 A PSU DAY OF PRIDE 2014

92 | วสันงแขหงลคาณุ นคคา รินทร A PSU DAY OF PRIDE 2014


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook