Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore SAR_CPCAT2563

SAR_CPCAT2563

Published by thaithudN, 2021-09-15 10:34:50

Description: SAR_CPCAT2563

Search

Read the Text Version

รายงานการประเมินคุณภาพภายในโดยสถานศึกษา ( Self - Assessment Report : SAR ) ปกี ารศกึ ษา 2563 วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยชี ุมพร สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

ก คำนำ วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีชุมพร จัดทารายงานการประเมินตนเอง ประจาปีการศึกษา 2563 โดยใช้กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561 กาหนดให้สถานศึกษาแต่ละ แห่งจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โดยการกาหนดมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไ ปตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา ที่รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศกึ ษาธิการประกาศกาหนด ประกอบด้วย 3 มาตรฐาน 9 ประเด็นการประเมิน ซ่ึงเป็นการ ประเมินผล และการติดตามตรวจสอบคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาน้ัน จะต้องมี เกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาในเชิงประจักษ์ ที่สอดคล้ องกับมาตรฐาน อาชีวศึกษา พ.ศ.2561 สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จึงได้จัดทาแนวทางการประเมิน คุณภาพของสถานศกึ ษา สามารถวดั และประเมินผลคณุ ภาพได้ท้ังในเชิงปริมาณ และคุณภาพ จานวน 5 ดา้ น วิทยาลัยฯ ดาเนินการประกันคุณภาพการศึกษาโดยแต่งต้ังคณะกรรมการประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษา ประจาปีการศึกษา 2563 ทาหน้าที่วางแผนการจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ท่ี กาหนด ดาเนินการประเมินคุณภาพการจัดการเรียนการสอนและการบริหารจัดการ พร้อมท้ังสรุป และจดั ทารายงานการประเมินตนเอง บัดน้ี การจัดทารายงานดังกล่าวได้เสร็จสิ้นเรียบร้อยแล้ว จึงขอ เสนอผลการประเมินตนเองต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เก่ียวข้อง และสาธารณชน เพื่อนาไปสู่ การพฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพ่ือรองรบั การประกันคุณภาพภายนอกต่อไป วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยชี มุ พร สงิ หาคม 2564

ข สารบัญ หนา้ คานา ก สารบญั ข สว่ นที่ 1 บทสรุปสาหรบั ผู้บรหิ าร 1 ส่วนท่ี 2 ข้อมลู พนื้ ฐานของสถานศึกษา 6 ส่วนที่ 3 มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา 19 ส่วนที่ 4 รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 24 มาตรฐานที่ 1 คุณลกั ษณะของผู้สาเรจ็ การศึกษาอาชวี ศึกษาท่ีพงึ ประสงค์ 24 1.1 ด้านความรู้ 24 1.2 ด้านทกั ษะดา้ นการประยุกต์ใช้ 30 1.3 ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ 36 มาตรฐานท่ี 2 การจัดการอาชีวศึกษา 41 2.1 ด้านหลักสูตรอาชวี ศกึ ษา 41 2.2 ด้านการจดั การเรยี นการสอนอาชีวศึกษา 45 2.3 ดา้ นการบริหารจัดการ 48 2.4 ดา้ นการนานโยบายสู่การปฏิบัติ 53 มาตรฐานท่ี 3 การสรา้ งสังคมแหลง่ การเรยี นรู้ 56 3.1 ดา้ นความรว่ มมือในการสร้างสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ 56 3.2 ด้านนวตั กรรม สิง่ ประดิษฐ์ งานสรา้ งสรรค์ งานวิจยั 60 มาตรฐานท่ี 4 การประกันคุณภาพ 63 4.1 การขบั เคลื่อนการบรหิ ารจัดการโดยใชก้ ระบวนการ CCAT 63 ส่วนที่ 5 ผลการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษาตามมาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา 70 พ.ศ. 2561 สว่ นท่ี 6 แผนพัฒนาเพื่อยกระดับคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา 75 ส่วนท่ี 7 แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา 76 ภาคผนวก ภาคผนวก ก คาส่ังแตง่ ต้งั คณะกรรมการฝา่ ยตรวจสอบความถูกตอ้ งรายงานผลการ ประเมินคุณภาพภายในโดยสถานศกึ ษา (Self-Assesment Report : SAR) ประจาปีการศึกษา 2563 และกฎกระทรวงการประกันคุณภาพ การศกึ ษา พ.ศ.2561 ภาคผนวก ข มาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา พ.ศ. 2561 ภาคผนวก ค ภาพประมวลผลงานและกิจกรรมดเี ดน่ ภาคผนวก ง ภาพประมวลผลกิจกรรม

1 สว่ นท่ี 1 บทสรปุ สำหรบั ผู้บรหิ ำร  การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาในรอบปีการศึกษาท่ีจัดทารายงานการประเมินตนเอง ของสถาน ศึกษา ประกอบดว้ ยการสรปุ สาระสาคัญ ดังน้ี 1. กำรพฒั นำคุณภำพกำรศึกษำของสถำนศึกษำตำมมำตรฐำนกำรศกึ ษำของสถำนศึกษำ 1. กำรพัฒนำคณุ ภำพกำรศกึ ษำของสถำนศึกษำ 1.1 ผลสัมฤทธ์ิ สรุปผลการสังเคราะห์รายงานประจาปีของสถานศึกษา (Self Assesment Report : SAR.) ประจาปี 2563วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีชุมพร เป็นการนาเอกสารรายงานสรุปผลการประเมินคุณภาพภายใน สถาน ศึกษาตามระดับตัวบ่งช้ี ผลสัมฤทธิ์ว่าอยู่ในระดับคุณภาพ \"ยอดเย่ียม\" จานวน 16 ตัวบ่งช้ี \"ดีเลิศ\" จานวน 3 ตัวบ่งชี้ \"ดี\" จานวน 2 ตัวบ่งช้ี และ\"ปานกลาง\" จานวน 1 ตวั บง่ ชี้ 1.2 จดุ เด่น ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาปีการศึกษา 2563 วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีชุมพร ได้บริหาร จัดการ วางระบบโครงสรา้ งการบริหารงาน จัดระบบบริหารบุคคลากร ระบบการตรวจสอบติดตามผลสัมฤทธิ์และ ข้อบกพร่อง โดยการสร้างความตระหนักด้วยการประชุมชี้แจงครู บุคลากรทางการศึกษา พร้อมทั้งสร้างความ เข้าใจในการปฏิบัติ ตามนโยบายของสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา การสร้างความเข้าใจและเห็นความ สาคัญของการประกัน คุณภาพภายในตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา นอกจากน้ันวิทยาลัยฯ ได้จัดระบบโครงสร้าง การบริหารรวมทั้งได้จัด ประชมุ ช้แี จง การประยุกต์หลักการและวชิ าการในแต่ละโครงการตามแผนปฏิบัติการ ประจาปีของวิทยาลัยฯ แผนการ พัฒนาสถานศึกษาจะต้องสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา คาสง่ั อตั ลักษณ์ของสถานศกึ ษา และคุณภาพผู้เรียน วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยชี ุมพร กอ่ ตัง้ มาตัง้ แต่ปี พ.ศ.2505 เปน็ ท่ีรจู้ ักของสงั คม มศี ิษย์เกา่ จานวน มาก วิทยาลยั ฯ จึงไดร้ บั การสนับสนุนรายจา่ ยหรือปัจจยั ทสี่ ง่ เสริมต่างๆ เช่น ทุนการศึกษา การสนับสนุนวัสดุ แหล่งเรียนรู้ ท่ีจาเปน็ ในการจดั การเรยี นการสอน เพื่อส่งเสรมิ การจัดการเรยี นการสอนใหไ้ ดต้ ามมาตรฐาน วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีชุมพร มีบุคลากรท่ีมีคุณภาพและมีสัดส่วนที่เหมาะสมกับผู้เรียน มี กระบวนการในการพัฒนาบคุ ลากรใหม้ ีความรู้ ความเข้าใจ เพิ่มความเชี่ยวชาญในวิชาชีพอย่างสม่าเสมอ วิทยา ลัยฯ มี การจัดการศึกษาโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยจัดกิจกรรมต่างๆ เพ่ือส่งเสริมผู้เรียน มีการให้การ สนับสนุนโดยไม่มี ข้อกาหนด ส่วนการจัดการเรียนการสอนเพื่อตอบสนองนโยบาย Thailand 4.0 รวมทั้งการ บริหารจัดการโดยใช้ กระบวนการ CCAT เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลทาให้บุคลากรมีความสมัครสมานสามัคคี ทางานได้อย่างมี รายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR.63) วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีชมุ พร

2 ประสทิ ธภิ าพ จึงทาให้ผ้เู รยี นไดพ้ ฒั นาทกั ษะดา้ นตา่ งๆ มีผลการแข่งขันทักษะ อกท.เป็นอันดับท่ี 1 ในระดับภาค และ อันดับท่ี 3 ในระดบั ชาติ 1.3 จดุ ท่คี วรพัฒนำ ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจาปีการศึกษา 2563 ยังมีจุดที่ควรได้รับการปรับปรุงแก้ไขและ พฒั นา ใหม้ คี ณุ ภาพมากขนึ้ ไดแ้ ก่ 1) วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีชุมพร มีอัตรากาลังคนไม่เพียงพอกับภาระหน้าที่ตามโครงสร้าง การ บริหารงานของสถานศึกษา มีผลทาให้ครหู นงึ่ คนมภี าระงานอ่นื นอกเหนือจากการสอนมากกว่า 1 งาน ทา ให้การ ปฏบิ ัตงิ าน และการรายงานผลอาจทาใหล้ า้ ช้ากว่าทกี่ าหนด 2) วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีชุมพรก่อตั้งมานานกว่า 59 ปี ครุภัณฑ์และสิ่งปลูกสร้างต่างๆ ถงึ แมจ้ ะ อยใู่ นสภาพท่ีใชง้ านไดแ้ ตม่ ีสภาพท่ีมีความชารุดทรดุ โทรมคอ่ นข้างมาก และไมท่ นั สมยั 1.4 ขอ้ เสนอแนะเพอื่ กำรพฒั นำ วิทยำลัยฯ ควรดำเนนิ กำร ดังนี้ 1) เพ่มิ อัตรากาลังคนใหเ้ พียงพอกับโครงสรา้ งการบริหาร 2) พฒั นาอาคารสถานท่ีใหอ้ ยู่ในสภาพทีใ่ ช้งานได้และมปี ระสิทธภิ าพ 3) สร้างทมี งานประเมนิ คุณภาพมาตรฐานการอาชีวศึกษาในการประกันคุณภาพภายในให้พร้อมรับ การ ประเมินภายนอก เพ่ือส่งเสรมิ ใหว้ ิทยาลัยฯ พฒั นาระบบการพฒั นาภายในให้เข้มแข็ง 4) พัฒนาระบบการนเิ ทศภายในใหเ้ ปน็ แบบกัลยาณมติ รและสรา้ งสรรคง์ านเชงิ บรู ณาการ 5) จัดหาสื่อเทคโนโลยีนวัตกรรม สื่อการเรียนการสอนท่ีทันสมัยเพียงพอต่อความต้องการของ ผ้เู รียน 6) ส่งผู้เรยี นเขา้ รว่ มการแข่งขนั ในระดับหนว่ ยงานหรือสถาบันอื่นๆ เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ผู้เรียนได้ ฝกึ ทกั ษะต่างๆ มากข้นึ เน้นกิจกรรมการเรียนการสอนแบบโครงการเพราะฝึกให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และเกิดทักษะ ที่ จาเป็นตามหลักสูตรทั้งทักษะความสามารถการส่ือสาร การคิด การใช้ทักษะชีวิต การแก้ปัญหา และการใช้ เทคโนโลยี 2. กำรสรำ้ งควำมเชื่อม่ันให้แกผ่ ้มู สี ่วนเก่ียวข้อง 2. กำรสร้ำงควำมเช่อื มน่ั ใหแ้ ก่ผมู้ ีส่วนเก่ยี วข้อง วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีชุมพรขับเคล่ือนการบริหารจัดการโดยใช้กระบวนการ CCAT เพื่อ จัดระบบ การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายในการจัดการศึกษาโดยการสร้างความ ร่วมมือในการ สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ในสถานศึกษา การเรียนรู้กับบุคคล ชุมชน องค์กรต่างๆ ในประเทศ และตา่ งประเทศ การจัดการเรียนการสอนเพ่ือให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตามมาตรฐานวิชาชีพได้ใช้ กระบวนการ เรียนร้แู บบปฏิบตั ิจรงิ หรอื การเรียนการสอนแบบโครงการเพ่ือกระตุ้นให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะต่างๆ รายงานการประเมินตนเอง (SAR.63) วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยชี มุ พร

3 มากข้ึน และ เกิดทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตรทั้งทักษะความสามารถในการส่ือสาร การคิด การใช้ทักษะชีวิต การแก้ปัญหา และการใช้เทคโนโลยี เม่ือเสร็จส้ินกระบวนการส่งผู้เรียนเข้าร่วมการแข่งขันในระดับหน่วยงาน หรอื สถาบนั อน่ื ๆ เพอื่ สร้างผเู้ รียนให้มีองค์ความรู้ที่แท้จริงจากการปฏิบัติด้วยตนเอง จะเป็นความรู้ที่ไม่มีวันลืม สง่ ผลใหเ้ กดิ ทกั ษะ ความรู้ ความชานาญในอาชีพ วเิ คราะหง์ านและปฏบิ ตั ไิ ด้จริงเม่อื สาเรจ็ การศกึ ษา 3. กำรจัดกำรศึกษำของสถำนศึกษำทบี่ รรลุเป้ำประสงคข์ องหนว่ ยงำนต้นสงั กัด 3. กำรจัดกำรศึกษำของสถำนศึกษำที่บรรลุเปำ้ ประสงค์ของหน่วยงำนต้นสงั กัด จากการบริหารงานการจัดการอาชีวศึกษาในปีการศึกษา 2563 ของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีชุมพร ประสบผลสาเรจ็ ทด่ี ีเดน่ และได้รบั การยกย่องชมเชย ดังนี้ 1) วิทยาลัยฯ ได้รับโล่รางวัล ชนะเลิศอันดับที่ 1 ระดับประเทศ ประเภทท่ี 1 การดาเนินการภายใน วทิ ยาลัยดีเด่น ในการประกวดโครงการชวี วถิ เี พอ่ื การพฒั นาทยี่ ง่ั ยนื 2) วิทยาลัยฯ ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 ระดับประเทศ ประเภทท่ี 3 นักเรียน นักศึกษานาไป ขยายผลดเี ด่น ในการประกวดโครงการชวี วถิ เี พือ่ การพัฒนาอยา่ งยั่งยนื 3) วิทยาลัยฯ ได้รับเกียรติบัตร กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม วษท.ชุมพร เป็นหน่วยงานท่ี ดาเนนิ งานดา้ นการอนุรักษฟ์ ืน้ ฟู ดูแล รกั ษาต้นไม้ตามโครงการรกุ ขมรดกของแผ่นดินใต้รมพระบารมี 4) วิทยาลัยฯ ได้รับเกียรติบัตรกองอานวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร วษท.ชุมพร ได้รับ พิจารณาคัดเลือกเป็นศูนย์การเรียนรู้เกษตรทฤษฎีใหม่ ระดับดีเด่นตามโครงการอาชีวะพัฒนา ค่านิยมไทย : เกษตร ทฤษฎใี หม่และวฒั นธรรมทอ้ งถ่นิ 5) วิทยาลยั ฯ ไดร้ ับโลร่ างวัลชนะเทศอนั ดบั ท่ี 1 โครงการเกษตรเพื่อชีวิตเกษตรกรรุ่นใหม่ใส่ใจมาตรฐาน ปี 2563 สานกั งานมาตรฐานสนิ ค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 6) วทิ ยาลยั ฯ ได้รบั คะแนนรวมอันดบั ที่ 3 ในการประชุมวิชาการองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่ง ประเทศ ไทย ในพระราชปู ถมั ภส์ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมมารี ระดับชาติ ครั้งที่ 41 ระหว่างวันที่ 16-20 กุมภาพันธ์ 2563 ณ วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีสรุ าษฎรธ์ านี 4. กำรพฒั นำคุณภำพกำรศึกษำของสถำนศกึ ษำทเี่ ป็นแบบอย่ำงทด่ี ี (Best Practice) 4.1 ควำมเปน็ มำและควำมสำคัญ สถานการณ์ของโลกในยุคปัจจุบันมีการเปล่ียนแปลงไปสู่การนาวิทยาการและเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ในการ อานวยความสะดวกแก่มนุษย์ ไม่เว้นแม้กระทั้งการจัดการศึกษา ดังจะเห็นได้ว่าการจัดการศึกษาในปัจจุบันน้ัน ได้ให้ ความสาคญั กับการใชส้ ื่อเทคโนโลยที ท่ี ันสมยั ในการจดั การศกึ ษามากขนึ้ เนอื่ งจากผเู้ รียนสามารถค้นหา ความรู้ได้อย่าง รวดเร็วและทันต่อเหตุการณ์เพราะในทุกซอกทุกมุมบนโลกกลายเป็นแหล่งเรียนรู้ และแหล่งเก็บ รวบรวมองค์ความรู้ ขนาดใหญ่ท่ีสามารถค้นหาได้ผ่านทางอินเทอร์เน็ต ท่ีเป็นเช่นน้ีเพราะว่าโลกของเรากาลังก้าว เดินเข้าสู่ศตวรรษท่ี 21 รายงานการประเมินตนเอง (SAR.63) วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีชมุ พร

4 ซึ่งเป็นยุคที่ความรู้หาได้ง่าย แต่การพัฒนาให้มนุษย์มีทักษะในการแสวงหาความรู้ได้ อย่างชาญฉลาด มีความรู้ ความสามารถในการปรบั ตัวให้เขา้ กับสถานการณ์และดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมี ความสุขเป็นเรื่องท่ีสาคัญยิ่งกว่า ดังน้นั การจัดการศกึ ษาจงึ เป็นบันไดข้นั พนื้ ฐานทีม่ คี วามสาคัญซ่งึ ในการนาพาเด็กไทยก้าวสศู่ ตวรรษที่ 21 วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีชุมพร เป็นสถานศึกษาท่ีจัดการศึกษาในระดับอาชีวศึกษาด้านการเกษตร การ จัดการเรียนการสอนต้องเป็นกิจกรรมท่ีทาให้ผู้เรียนรู้สึกท้าทาย จัดแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการจัดการศึกษาทั้งใน และ นอกหอ้ งเรียนโดยต้องมีการพัฒนาคุณภาพผเู้ รียนแบบบูรณาการทงั้ ในดา้ นการกระตุ้นสมองผู้เรียนด้วยวิธี การ Brain - base Learning การใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียน การสอน เพื่อให้การ จัดการศึกษาบรรลุ เป้าหมายตามหลักสูตร วิทยาลัยฯ จึงทาแปลงสาธิตโครงการชีววิถีเพ่ือการพัฒนาอย่างยั่งยืน เป็นแหล่งเรียนรู้แบบ Project-Based Learning กับนกั เรยี น นกั ศกึ ษา ทกุ แผนกทุกช้นั ปี เพื่อเปน็ การพฒั นาผู้ เรยี นให้มคี ุณภาพพร้อมก้าวสู้ ศตวรรษท่ี 21 ได้อย่างแทจ้ ริง 4.2 วัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างแปลงสาธติ โครงการชีววิถีเพ่อื การพัฒนาอย่างยั่งยนื 2) เพื่อใช้เป็นแหล่งเรียนรู้เพื่อการสร้างจิตสานึกและคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ในด้านหลักปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพยี ง 3) เพื่อพัฒนาคุณภาพสู่ผู้เรียนสู่ศตวรรษท่ี 21 บรรลุจุดหมายของหลักสูตร และผ่านเกณฑ์ มาตรฐานการ อาชวี ศกึ ษา 4.3 วิธกี ำรดำเนนิ งำน 1) การวางแผน (Plan) - ศกึ ษาสภาพปัจจบุ นั ปัญหา และอปุ สรรคในการบรหิ ารจัดการศกึ ษา เช่น รูปแบบบริหารงาน การ จัดการ เรียนการสอนของครู การเรียนรู้ของผู้เรียนในปัจจุบัน และในด้านสภาพแวดล้อมภายนอกที่เป็นโอกาส และเป็นอุป สรรค์ในการจัดการศึกษา โดยให้ทุกฝ่ายท่ีเกี่ยวข้องมีส่วนร่วม ได้แก่ ผู้บริหาร ครู คณะกรรมการ สถานศึกษา ผู้เรียน ผู้ปกครองและชมุ ชน - วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการศึกษา และศึกษาแนวทางการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ ศตวรรษท่ี 21 ท่ีเหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษาเพ่ือกาหนดรูปแบบขอบข่ายและแนวทางในการพัฒนา และ แกป้ ัญหาการจดั การศึกษา - สร้างรูปแบบการจัดการศึกษาที่เหมาะสมกับบริบทของวิทยาลัยฯ และเอ้ือต่อการจัดการศึกษาเพ่ือ พฒั นาคณุ ภาพผ้เู รยี นได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 2) การลงมือปฏิบตั ิ (Do) - บริหารจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ตามรูปแบบ CCAT-Model เพ่ือพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ ศตวรรษท่2ี 1 รายงานการประเมินตนเอง (SAR.63) วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยชี ุมพร

5 - สอบถามความพึงพอใจของบุคลากรต่อการจัดการศึกษา CCAT-Model เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ ศตวรรษท่ี 21 3) การตรวจสอบ (Check) การตรวจสอบโดยการประเมินผลความพึงพอใจบุคลากรต่อการจัดการศึกษาแบบ CCAT - Model เพื่อ พัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียนสู่ศตวรรษท่ี 21 4) การสะท้อนผล (Action) - ศึกษาปัญหาอุปสรรค จุดบกพร่องทตี่ อ้ งปรับปรงุ แกไ้ ขในการจดั การศกึ ษาแบบ CCAT - Model เพื่อ พัฒนา ผู้เรยี นสศู่ ตวรรษท่ี 21 - นาการจัดการศึกษาแบบ CCAT - Model เพอื่ พฒั นาคุณภาพผูเ้ รยี นสูศ่ ตวรรษท่ี 21 ไปใช้และพัฒนา อย่าง ตอ่ เนอื่ ง - เผยแพร่การจัดการศึกษาแบบ CCAT - Model เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 4.4 ผลการ ดาเนินงาน/ผลสาเร็จท่ดี เี ดน่ จากการจัดการศึกษารูปแบบ CCAT - Model เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 โดยใช้แปลงสาธิต โครงการชวี วิถีเพื่อการพัฒนาอย่างยงั่ ยนื โดยมีการปฏิบตั อิ ยา่ งต่อเน่ือง ประสบผลสาเร็จที่ดีเด่น และได้รับการ ยกย่อง ชมเชย ดังนี้ 1) โลรางวัลชนะเลิศ อันดับที่ 1 ระดับประเทศ ประเภทที่ 1 การดาเนินงานภายในวิทยาลัยดีเด่น ในการ ประกวดโครงการชวี วิถีเพือ่ การพัฒนาอย่างยั่งยืน 2) โลรางวัลรองชนะเลิศ อังดับที่ 1 ระดับประเทศ ประเภทที่ 3 นักเรียน นักศึกษา นาไปขยายผลดีเด่น ใน การประกวดโครงการชวี วิถเี พ่ือการพฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื 4.5 ประโยชนท์ ไี่ ด้รับ 1) วทิ ยาลัยฯ มีแปลงสาธติ โครงการชีววถิ ีเพ่ือการพัฒนาอย่างยั่งยนื เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 ท่สี รา้ งและพฒั นาขึ้นโดยยึดหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในการดาเนินงาน 2) ผู้เรียนมีแนวโน้มในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นและมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตาม หลกั สตู ร 3) ผเู้ รียนมพี ฒั นาการท้ังในดา้ นวิชาการและคุณธรรมจรยิ ธรรม โดยมีการนอ้ มนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงมาใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวัน 4) วิทยาลัยฯ ผู้บริหาร ครู นักเรียน นักศึกษาได้รับการยกย่องชมเชยและได้รับรางวัลเกียรติยศในด้าน ตา่ งๆ 5) บุคลากรทุกฝ่ายที่มีส่วนเก่ียวข้องแปลงสาธิตโครงการชีววิถีเพื่อการพัฒนาอย่างย่ังยืน ไม่ว่าจะเป็นผู้ บรหิ าร ครู บคุ ลากร คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง นกั เรียน นกั ศึกษา และชมุ ชนมคี วามสมั พันธท์ ่ดี ีตอ่ กัน รายงานการประเมินตนเอง (SAR.63) วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยชี ุมพร

6 สว่ นท่ี 2 ขอ้ มูลพน้ื ฐานของสถานศกึ ษา  2.1 ข้อมูลพนื้ ฐานเก่ยี วกบั สถานศึกษา ที่อยู่ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีชมุ พร สถานท่ีตั้ง เลขท่ี 1 หมู่ที่ 8 ถนนทางหลวง 41 ตาบล ตะโก อาเภอทุง่ ตะโก จังหวัดชมุ พร รหัสไปรษณีย์ 86220 โทรศพั ท์ 077 611881 และ 077 611884 โทรสาร 077 611881 และ 077 611884 Website : http://www.cpcat.moe.go.th E-Mail : [email protected] ประวัติสถานศึกษา วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีชุมพร เป็นสถานศึกษาสังกัด สานักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ช่ือเดิมว่า “โรงเรียนเกษตรกรรมแผนใหม่ชุมพร” ประกาศจัดตั้งเม่ือวันท่ี 30 มกราคม พ.ศ. 2505 บนเนื้อท่ี 2,431 ไร่ 1 งาน 30.7 ตารางวา ทาพิธีเปิดป้ายชื่อโรงเรียนในวันท่ี 11 ตุลาคม พ.ศ. 2505 โรงเรียนเกษตรกรรมแผนใหมช่ มุ พร เริ่มเปิดทาการสอนวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2505 เป็น การสอนแบบหลักสูตรระยะส้ัน อบรมเกษตรกรในท้องถ่ิน รุ่นละ 5 เดือน ดาเนินการได้ 3 รุ่น มีผู้สาเรจจการ อบรม 89 คน ปี พ.ศ. 2507 ได้เปิดสอนหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลายสายอาชีพ แผนกเกษตรกรรม (ม.ศ. 4-5-6) และงดการสอนหลกั สูตรระยะสนั้ ปี พ.ศ. 2509–2512 ได้รับการคัดเลือกเข้าเป็นโรงเรียนในโครงการเงินกู้จากธนาคารโลกเพื่อ พัฒนาอาชวี ศกึ ษา และเปล่ียนชอ่ื เปน็ “โรงเรียนเกษตรกรรมชมุ พร” ในปี พ.ศ. 2512 วันท่ี 1 ตุลาคม พ.ศ. 2519 ได้รับการยกฐานะเป็น “วิทยาลัยเกษตรกรรมชุมพร” ได้รับการ คดั เลอื กเขา้ ร่วมโครงการเงนิ ยมื จากรัฐบาลเดนมารก์ เพื่อพฒั นาฟาร์มโคนมและเคร่ืองมือจกั รกลฟารม์ ปี พ.ศ. 2525 กรมอาชีวศึกษา ได้มอบรางวัลชมเชยในฐานะที่วิทยาลัยฯ สามารถปฏิบัติงาน ได้ผลตรงตามนโยบายของกรมฯ ปี พ.ศ. 2527 ได้รับการคัดเลือกเป็นสถานศึกษาดีเด่น ประเภทวิชาเกษตรกรรม ของกรม อาชวี ศกึ ษา ปี พ.ศ. 2537 ดาเนินการเปิดสอนในลักษณะวิทยาลัยชุมชนข้ึนภายในวิทยาลัยเกษตรฯ โดยใช้ ช่ือ “วิทยาลยั ชมุ ชนทงุ่ ตะโก” รายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR.63) วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีชมุ พร

๗ ปี พ.ศ. 2539 เปล่ียนชือ่ ใหม่เป็น “วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีชมุ พร” จนถงึ ปจั จบุ ัน การจัดการศึกษา ปจั จุบันวิทยาลัยฯ มกี ารจัดการศึกษาเป็น 3 ระบบ คือ 1) การศึกษาในระบบ แบง่ เป็น 2 ระดับ คอื -หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาเกษตรกรรม พาณิชยกรรม และ อตุ สาหกรรมเกษตร -หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) ประเภทวิชาเกษตรกรรม ประมง และ บริหารธรุ กิจ 2) การศึกษานอกระบบ หลักสูตรการฝึกอบรมบริการวิชาชีพระยะสั้นแก่เกษตรกรและผู้สนใจท่ัวไป (วิชาชีพ เกษตรกรรม อาชพี อสิ ระหรือ 108 อาชีพ) โครงการอาหารกลางวัน และการซ่อมบารุงคอมพิวเตอร์ ตาม โครงการพระราชดาริสมเดจจพระเทพรัตราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โครงการอาหารกลางวันในโรงเรียน สังกดั เขตพ้นื ท่ี 3) ระบบทวิภาคี จดั การเรยี นการสอนร่วมกบั สถานประกอบการทัง้ ภาครัฐและภาคเอกชน เน้นการปฏิบัติ ฝึกทักษะความรู้ ทักษะชีวิต งานอาชีพที่ทันสมัย สอดรับกับความต้องการของตลาดแรงงาน และการ ประกอบอาชพี อิสระทกุ ระดับ และสอนร่วมกับสถานประกอบการ - ทวิศึกษา คือ การจัดการศกึ ษารว่ มหลกั สตู รอาชวี ศกึ ษาและมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สภาพชุมชน เศรษฐกจิ และสงั คมของสถานศึกษา ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ประกอบอาชีพการเกษตรเป็นส่วนใหญ่ เช่น สวน ยางพารา สวนปาล์มน้ามัน สวนมะพร้าว ไม้ผล ทุเรียน เงาะ ลองกอง มังคุด ทานา อาชีพประมง อาชีพค้าขาย รบั จา้ งทว่ั ไป เปน็ ต้น เปน็ สงั คมท่ีเอ้อื อาทร ชมุ ชนสังคมให้ความรว่ มมือช่วยเหลือ สถานศึกษา อย่างดี มีวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นที่สืบทอดกันมาเป็นระยะเวลายาวนาน เช่น งานประเพณีแห่พระแข่ง เรือขน้ึ โขนชิงธง ของชาวอาเภอหลงั สวน และเป็นงานประเพณีของจังหวัดชุมพร งานเทิดพระเกียรติพลเรือ เอกพระเจ้าบรมวงค์เธอกรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ งานเปิดโลกทะเล ของชาวปากน้าตะโก และชาว ปากน้าหลงั สวน รวมถงึ วัฒนธรรมประเพณใี นวนั สาคัญของชาติ ศาสนา และพระมหากษตั รยิ ์ เป็นตน้ รายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR.63) วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีชมุ พร

๘ 2.2 แผนภูมิการบรหิ ารของสถานศกึ ษา แผนภมู กิ ารบรกิ ารสถานศึกษา วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยชี มุ พร คณะกรรมการบริหารสถานศึกษา ผบู้ ริหารสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา ว่าที่ ร.ต.นิพนธ์ ภู่พลบั รองผอู้ านวยการ รองผอู้ านวยการ รองผอู้ านวยการ รองผอู้ านวยการ ฝ่ ายบริหารทรัพยากร ฝ่ ายแผนงานและความร่วมมือ ฝ่ ายพฒั นากิจการนกั เรียน นกั ศึกษา ฝ่ ายวชิ าการ นายสนธยา เพชรรัตน์ นายสนธยา เพชรรัตน์ นายสนธยา เพชรรัตน์ นายสนธยา เพชรรัตน์  แผนกวิชาสามญั สมั พนั ธ์  งานบริหารทว่ั ไป  งานวางแผนและงบประมาณ ติ ฉิมพานะ นางกาญจนา นาคนิยม นางสาวกาญจนา สุดสมพร นางสุวภทั ร วรรณนิยม  งานกิจกรรมนกั เรียน นกั ศึกษา  แผนกวิชาสตั วศาสตร์  งานบคุ ลากร  งานศูนยข์ อ้ มูลและสารสนเทศ นางสาวปิ ยะภรณ์ กิติภทั รภมู ิกลุ นายรัฐภมู ิ พิกดั พจมานเหมาะ นางสาวสุภาพร บญุ มี นายจกั รี พรมศรี  ครูท่ีปรึกษา  แผนกวิชาประมง  งานการเงิน  งานความร่วมมือ นางสาวปิ ยะภรณ์ กิติภทั รภมู ิกลุ นายสถิตย์ จนั ทร์มณี นางสาวชญาภา ศรีหากนั ยา นางสาวปิ ยะภรณ์ กิติภทั รภมู ิกุล  งานปกครอง  แผนกวิชาชา่ งกลเกษตร  งานการบญั ชี  งานวิจยั พฒั นานวตั กรรมและ นายสุภาพ ไข่บุญนาค นายพาวุฒิ นุย้ เพชร นางสุวภทั ร วรรณนิยม ส่ิงประดิษฐ์ นางพิมพพ์ ิสุท กิตยานุกรณ์  งานแนะแนวอาชีพและการจดั หางาน  แผนกวิชาพืชศาสตร์  งานพสั ดุ นางสาวปิ ยะภรณ์ กิติภทั รภมู ิกุล นางสงั วาลย์ ขาวสุข ว่าที่ ร.ท.ธีระ โสภณมณี  งานประกนั คุณภาพและมาตรฐาน การศึกษา  งานสวสั ดิการนกั เรียน นกั ศึกษา  แผนกวิชาบริหารธุรกิจ  งานอาคารสถานที่ นางสาวปิ ยะภรณ์ กิติภทั รภูมิกลุ นายพรประเสริฐ แจง้ ใจเยน็ นายพรพนา แฝงกาย นายสถิตย์ จนั ทร์มณี  งานส่งเสริมผลิตผลการคา้ และ  งานโครงการพิเศษและการบริการ  งานพฒั นาหลกั สูตรการเรียนการ  งานทะเบียน ชุมชน สอน นางสาวกลั ยา ตุยภกั ดี ประกอบธุรกิจ นายพาวฒุ ิ นุย้ เพชร นางวราลกั ษณ์ สุขศรี นายชวนากร ฉิมเรศ  งานประชาสมั พนั ธ์  งานฟาร์มและโรงงาน  งานวดั ผล และประเมินผล นายคงคาธาร จนั ทร์โท - งานฟาร์มพืชศาสตร์ นายสมชาย ช่ืนชมแสง นางสาวจิระภา สุดสวาสด์ิ - งานฟาร์มสตั วศาสตร์  งานวทิ ยบริการและห้องสมุด นายรัฐภูมิ พิกดั พจมานเหมาะ - งานฟาร์มประมง นางกาญจนา นาคนิยม นายสถิตย์ จนั ทร์มณี  งานอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี วา่ ท่ี ร.ต.ณฐั วฒุ ิ โชติคตุ  งานส่ือการเรียนการสอน นายรัฐภมู ิ พิกดั พจมานเหมาะ รายงานการประเมินตนเอง (SAR.63) วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยชี ุมพร

๙ 2.3 ขอ้ มูลของสถานศกึ ษา ข้อมูลผู้เรยี น ระดับชั้น ปกติ ทวิภาคี ทวิศกึ ษา อศ.กช. รวม ปวช.1 120 - - - 120 ปวช.2 65 - - - 65 ปวช.3 96 - 9 - 105 รวม ปวช. 281 - 9 - 290 ระดับชั้น ปกติ ทวภิ าคี รวม ปวส.1 83 - 83 ปวส.2 144 - 144 รวม ปวส. 227 - 227 ข้อมูลด้านผู้สาเร็จการศกึ ษา ปีการศึกษา 2562 ระดับช้ัน แรกเขา้ สาเรจ็ การศึกษา คิดเป็นรอ้ ยละ 68.60 ปวช.3 86 59 85.85 ปวส.2 99 85 77.83 รวม 185 144 คิดเป็นรอ้ ยละ ขอ้ มูลดา้ นผู้สาเร็จการศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2563 98.78 87.70 ระดับช้นั แรกเขา้ สาเร็จการศึกษา 92.15 ปวช.3 82 81 ปวส.2 122 107 รวม 204 188 รายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR.63) วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีชมุ พร

๑๐ ขอ้ มูลดา้ นบคุ ลากร ประเภท ทั้งหมด มใี บประกอบวิชาชีพ สอบตรง (คน) (คน) สาขา(คน) ฝ่ายบริหาร/ผู้รบั ใบอนญุ าตผู้จัดการ/ผู้อานวยการ/ผูช้ ่วย 22 อานวยการ ขา้ ราชการครู/ครเู อกชนท่ไี ดร้ ับการบรรจ/ุ ผู้ท่ไี ด้รบั การ 22 22 22 รบั รอง ข้าราชการพลเรือน 3 4 พนักงานราชการครู 43 9 พนักงานราชการ(อ่นื ) /ลกู จ้างประจา 7 ครูพเิ ศษสอน 92 เจ้าหน้าท/่ี ลกู จ้างชัว่ คราว 27 บุคลากรอน่ื ๆ (นักการภารโรง/ยามรักษาการ/พนกั งานขับ รถ) 35 27 35 74 27 35 รวม ครู รวมทั้งสิ้น ข้อมูลหลกั สตู รการเรียนการสอน ประเภทวิชา ระดับ ปวช. ระดับ ปวส. รวม (สาขาวิชา) (สาขาวิชา) (สาขาวิชา) อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม 1 1 1 เกษตรกรรม 1 6 2 ประมง 6 1 12 เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร 1 8 8 รวมท้ังสิ้น 16 รายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR.63) วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีชมุ พร

๑๑ ขอ้ มูลอาคารสถานที่ ประเภทอาคาร จานวน(หลงั ) อาคารเรียน 10 อาคารปฏิบตั ิการ 30 อาคารวทิ ยบริการ 1 อาคารอเนกประสงค์ 3 อาคารอน่ื ๆ 12 56 รวมท้ังสิน้ ข้อมูลดา้ นงบประมาณ จานวน (บาท) ประเภทงบประมาณ 1,053,780 3,239,600 งบบคุ ลากร 13,987,800 งบดาเนินงาน 5,148,655 งบลงทนุ 3,610,080 งบเงินอุดหนุน 27,039,915 งบรายจา่ ยอืน่ รวมทั้งสิน้ 2.4 ปรัชญา อัตลักษณ์ เอกลกั ษณ์ ของสถานศึกษา ปรัชญา เรยี นเกษตรเพือ่ การผลติ ใชช้ ีวติ ใหม้ ีคณุ ธรรม อัตลักษณ์ จติ อาสา ทกั ษะเดน่ เน้นคณุ ธรรม เอกลกั ษณ์ เป็นสถานศึกษาเฉพาะทาง จัดการเรยี นการสอนดา้ นวิชาชีพเกษตรกรรมเปน็ หลกั 2.5 วิสัยทัศน์ พนั ธกจิ เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ การพฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษา วสิ ัยทัศน์ “เป็นสถานศกึ ษาที่สามารถผลิตกาลงั คนอาชีวศึกษาเกษตรทม่ี คี ุณภาพได้มาตรฐานส่สู ากล” พันธกิจ พนั ธกจิ ที่ ๑ จดั การเรยี นการสอนในระบบ นอกระบบ และทวิภาคี แก่ผเู้ รยี นอย่างมีคณุ ภาพ มาตรฐานสากล พนั ธกิจท่ี ๒ สง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นสร้างองคค์ วามรูแ้ ละเทคโนโลยพี ร้อมเผยแพรส่ ชู่ ุมชน พนั ธกจิ ท่ี ๓ ผลิตกาลังคนอาชวี ศึกษาเกษตรที่มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และลกั ษณะอนั พึงประสงค์ พันธกิจที่ ๔ บริหารจัดการให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลโดยน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง รายงานการประเมินตนเอง (SAR.63) วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีชุมพร

๑๒ เป้าประสงค์ 1. ผูเ้ รยี นมคี วามรู้ และทักษะวชิ าชีพไดม้ าตรฐานสากลวิชาทเ่ี รยี น 2. ชุมชนท้องถิ่นไดร้ บั บริการทง้ั องค์ความรแู้ ละเทคโนโลยเี พมิ่ ข้นึ 3. มนี วตั กรรมและผลงานวจิ ัยที่เป็นประโยชนต์ อ่ ผูเ้ รียน สงั คม ชุมชน และท้องถิ่น 4. ผูเ้ รยี นปฏิบตั ติ นเปน็ คนดีของสังคม ชมุ ชน และประเทศชาติ 5. สังคมเชื่อมั่นในความมีประสิทธิภาพ สิทธิผล และธรรมภิบาล ในระบบการบริหารจัดการของ สถานศกึ ษา ยทุ ธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ท่ี 1 ยกระดับคุณภาพผู้เรียนและพัฒนากระบวนการจัดการศึกษาให้ได้มาตรฐานสากล ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 เพ่ิมการถา่ ยทอดองคค์ วามรู้และเทคโนโลยีสู่สังคม ชมุ ชน และทอ้ งถน่ิ ยุทธศาสตร์ท่ี 3 เร่งรัดการทาวจิ ัยและนวตั กรรมด้านวิชาชีพที่มีประโยชน์ต่อผู้เรียน สังคม ชุมชน และ ท้องถ่นิ ยุทธศาสตร์ท่ี 4 พฒั นาผู้เรียนให้มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ยุทธศาสตร์ท่ี 5 พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการใหม้ ีคณุ ภาพ กลยทุ ธ์ 1 ปรบั ปรุง พฒั นาอาคารสถานที่ ห้องเรียน ครุภณั ฑ์การศกึ ษา 2 จัดหา ปรบั ปรุงและพฒั นาวัสดุ สอ่ื อุปกรณใ์ นการจดั การเรียนการสอนและบริการแหล่งค้นควา้ 3. ระดมทรัพยากรท้ังจากภายในและภายนอกสถานศึกษา อาศัยความร่วมมือจากสถานประกอบการ ชุมชน ทอ้ งถน่ิ และองค์กรอืน่ เพอ่ื สนับสนุนการจดั การศึกษา 4. บูรณาการการจดั การเรียนการสอนโดยปรบั วธิ เี รยี น เปลยี่ นวิธสี อน ปฎริ ปู วธิ สี อบ 5 เรง่ รดั พฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานผู้เรียนอาชีวศกึ ษาเกษตรแนวใหม่ 6 เสริมสร้างโอกาสในการเขา้ ถงึ แหลง่ เรียนรู้ทางวชิ าชพี เฉพาะทางเพ่ือดารงชพี แกช่ มชน 7 สง่ เสริมสนบั สนุนครู และผู้เรยี นในการสรา้ งนวัตกรรมใหม่ 8 จดั กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียนในดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม และลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 9 จัดทาแผนปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับนโยบายสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาและ แผนพัฒนา สถานศึกษา 10 จดั ระบบการประกนั คณุ ภาพและดาเนนิ การอยา่ งต่อเนื่อง 11 พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการโดยใชก้ ระบวนการ CCAT เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล 12 จดั วางระบบการควบคุมภายในและกาหนดแผนบรหิ ารความเสย่ี ง รายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR.63) วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยชี ุมพร

๑๓ รางวลั และผลงานของสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2563 รายการ รางวัล ระดบั ใหโ้ ดย โครงการชวี วถิ ีเพอ่ื การพัฒนาอยา่ งยง่ั ยืน ประเภทที่ 2 ครแู ละ ชนะเลศิ ชาติ การไฟฟ้าฝา่ ยผลิตแห่ง บุคลากรทางการศึกษานาไปใช้และขยายผลดเี ดน่ ประเทศไทย โครงการชวี วิถเี พ่อื การพฒั นาอย่างย่ังยนื ประเภทที่ 3 นกั เรยี น รอง ชาติ การไฟฟา้ ฝา่ ยผลติ แห่ง นกั ศึกษาปจั จุบนั นาไปใชแ้ ละขายผลดีเด่น ชนะเลศิ ประเทศไทย โครงการชีววิถเี พ่ือการพัฒนาอยา่ งยง่ั ยืน ประเภทท่ี 6 โรงเรียน ชนะเลิศ ชาติ การไฟฟ้าฝา่ ยผลติ แห่ง ได้รับความรู้จากวิทยาลัยและใช้ได้ผลดีเดน่ ประเทศไทย รางวัลและผลงานของครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ปีการศึกษา 2563 ช่ือ-สกลุ /รายการ รางวลั ระดับ ให้โดย นายชวนากร ฉิมเรศ รางวลั ชาติ คุรุสาภา รางวลั เพชรรัตนชาติ 2021 สาขาแม่พิมพ์ตวั อย่างดีเดน่ อื่น ๆ วา่ ทรี่ อ้ ยตรนี พิ นธ์ ภู่พลบั รางวลั ชาติ สานกั งานคณะกรรมการ ครูดีศรอี าชีวะ อื่น ๆ การอาชวี ศึกษา นายชวนากร ฉิมเรศ รางวลั ชาติ สานกั งาน ก.ค.ศ. อบรมหลกั สตู รโครงการพฒั นาทักษะครูอาชวี ศกึ ษาดา้ นการ อน่ื ๆ จัดการเรยี นการสอนออนไลน์ รางวัล ภาค ศนู ย์สง่ เสริมและพัฒนา นายชวนากร ฉมิ เรศ อ่นื ๆ อาชวี ศกึ ษาภาคใต้ อบรมการพัฒนาตามโครงการส่งเสริมการจดั การเรียนรู้และ บริหารจัดการห้องเรียนออนไลน์สาหรับครอู าชวี ศกึ ษาภาคใต้ รางวลั จังหวัด สานกั งานปลัดกระทรวง ดว้ ยโปรงแกรม Microsoft Teams ระดับกลาง (T3) อื่น ๆ ศึกษาธิการ นายชวนากร ฉิมเรศ รางวัล ภาค สถาบนั การอาชีวศึกษา อบรมรว่ มพฒั นาหลกั สตู รและนาเสนอรปู แบบหลกั สูตรต่อเน่อื ง อน่ื ๆ เกษตรภาคใต้ เชือ่ มโยงการศึกษาขั้นพน้ื ฐานกับอาชวี ศึกษาและอุดมศึกษา นายชวนากร ฉิมเรศ ประชุมเชิงปฏิบตั กิ าร \"การพัฒนาการเรยี นการสอนตาม หลักสูตรการสะเตจมศกึ ษา (STEM Education) ในการพัฒนา ผเู้ รียนวิชาชพี เกษตรสู่ Smart Farmer และการวัดและ ประเมนิ ผล รายงานการประเมินตนเอง (SAR.63) วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีชุมพร

๑๔ ชือ่ -สกลุ /รายการ รางวัล ระดับ ให้โดย นายชวนากร ฉมิ เรศ รางวลั สถาบนั เทคโนโลยพี ระ อบรมโครงการสร้างหลักสตู รสง่ เสริมการเรียนการสอนวิชาพนื้ ฐานที่ อ่นื ๆ ภาค จอมเกลา้ เจา้ คณุ ทหาร เก่ยี วขอ้ งสาหรับฟาร์มอัจฉรยิ ะ (Smart Farming) ลาดกระบงั นายชวนากร ฉิมเรศ รางวัล จงั หวัด สานกั งานคณะกรรมการ ครผู พู้ ัฒนาผูเ้ รียนดเี ดน่ \"ดา้ นเทคโนโลยดี ิจิตอล และการสอื่ สาร\" อนื่ ๆ การอาชวี ศกึ ษา นางวราลักษณ์ สุขศรี อบรมการพัฒนาตามโครงการสง่ เสริมการจดั การเรยี นรูแ้ ละบรหิ าร รางวลั ภาค ศูนย์ส่งเสรมิ และพฒั นา จดั การหอ้ งเรยี นออนไลนส์ าหรับครูอาชีวศกึ ษาภาคใต้ ด้วยโปรงแก อืน่ ๆ อาชีวศึกษาภาคใต้ รม Microsoft Teams ระดบั กลาง (T3) โดย ศนู ยส์ ง่ เสริมและ พฒั นาอาชีวศกึ ษาภาคใต้ นางลดาวลั ย์ ภู่พลับ อบรมการพฒั นาตามโครงการสง่ เสรมิ การจัดการเรยี นรู้และบรหิ าร รางวัล ภาค ศนู ยส์ ่งเสรมิ และพฒั นา จัดการหอ้ งเรยี นออนไลนส์ าหรบั ครูอาชีวศึกษาภาคใต้ ด้วยโปรงแก อน่ื ๆ อาชวี ศกึ ษาภาคใต้ รม Microsoft Teams ระดับกลาง (T3) โดย ศูนยส์ ่งเสริมและ พฒั นาอาชีวศกึ ษาภาคใต้ นางเพจญศรี ไข่บุญนาค อบรมการพฒั นาตามโครงการสง่ เสริมการจัดการเรียนรูแ้ ละบรหิ าร รางวัล ภาค ศูนยส์ ง่ เสริมและพัฒนา จดั การหอ้ งเรียนออนไลนส์ าหรบั ครอู าชีวศึกษาภาคใต้ ด้วยโปรงแก อื่น ๆ อาชีวศกึ ษาภาคใต้ รม Microsoft Teams ระดับกลาง (T3) โดย ศนู ยส์ ่งเสริมและ พฒั นาอาชวี ศึกษาภาคใต้ นางกาญจนา นาคนิยม อบรมการพฒั นาตามโครงการสง่ เสรมิ การจดั การเรียนรู้และบรหิ าร รางวลั ภาค ศนู ย์สง่ เสรมิ และพฒั นา จัดการหอ้ งเรยี นออนไลนส์ าหรบั ครอู าชวี ศึกษาภาคใต้ ดว้ ยโปรงแก อื่น ๆ อาชวี ศกึ ษาภาคใต้ รม Microsoft Teams ระดับกลาง (T3) โดย ศนู ยส์ ่งเสรมิ และ พัฒนาอาชีวศกึ ษาภาคใต้ นางพมิ พพ์ ิสุท กติ ยานุกรณ์ อบรมการพัฒนาตามโครงการสง่ เสรมิ การจดั การเรียนรแู้ ละบรหิ าร รางวัล ภาค ศูนย์สง่ เสริมและพัฒนา จัดการห้องเรียนออนไลนส์ าหรบั ครูอาชีวศกึ ษาภาคใต้ ด้วยโปรงแก อน่ื ๆ อาชวี ศึกษาภาคใต้ รม Microsoft Teams ระดบั กลาง (T3) โดย ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และ พัฒนาอาชวี ศึกษาภาคใต้ นางสาวจนิ ารตั น์ สายแกว้ ศนู ย์สง่ และพฒั นา อบรมการพฒั นาตามโครงการสง่ เสรมิ การจดั การเรียนรแู้ ละบริหารจดั การ รางวลั อาชวี ศึกษาภาคใต้ หอ้ งเรียนออนไลนส์ าหรับครูอาชีวศกึ ษาภาคใต้ด้วยโปรงแกรม Microsoft อน่ื ๆ ภาค Teams ระดบั กลาง (T3) โดยศนู ยส์ ่งเสรมิ และพัฒนาอาชีวศึกษาภาคใต้ รายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR.63) วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีชุมพร

๑๕ ช่ือ-สกุล/รายการ รางวลั ระดบั ใหโ้ ดย นายรฐั ภมู ิ พิกดั พจมานเหมาะ อบรมการพฒั นาตามโครงการส่งเสรมิ การจัดการเรียนรู้และ รางวัล ภาค ศนู ยส์ ง่ เสริมและพฒั นา บริหารจดั การหอ้ งเรยี นออนไลนส์ าหรับครอู าชีวศึกษาภาคใต้ อื่น ๆ อาชีวศึกษาภาคใต้ ดว้ ยโปรงแกรม Microsoft Teams ระดบั กลาง (T3) โดย ศนู ย์ ส่งเสรมิ และพัฒนาอาชวี ศึกษาภาคใต้ รางวลั และผลงานของผู้เรยี น ปีการศกึ ษา 2563 ชอ่ื -สกุล/รายการ รางวลั ระดับ ใหโ้ ดย นางสาวชนนิ าถ ปอ้ มปน่ิ รางวัลอื่น ๆ ภาค อกท.ระดบั โครงการแตงกวาปลอดสารพิษ ภาค นางสาวชนนิ าถ ปอ้ มปน่ิ รางวัลอน่ื ๆ ชาติ อกท. โครงการแตงกวาปลอดสารพิษ ระดับชาติ นางสาวปิยธดิ า ยิ้มละมัย รางวลั อน่ื ๆ ภาค อกท.ระดบั โครงการจาหนา่ ยต้นกล้ามะละกอเพ่ือหารายไดร้ ะหวา่ งเรยี น ภาค นางสาวปยิ ธิดา ยมิ้ ละมยั รางวัลอ่ืน ๆ ชาติ อกท. โครงการจาหน่ายตน้ กล้ามะละกอเพ่ือหารายได้ระหวา่ งเรียน ระดับชาติ นางสาวเมย์ธนิ ี อาจณรงค์ รางวัลอืน่ ๆ ภาค อกท.ระดับ โครงการจาหนา่ ยตน้ กล้ามะละกอเพื่อหารายไดร้ ะหวา่ งเรยี น ภาค นางสาวเมยธ์ ินี อาจณรงค์ รางวลั อื่น ๆ ชาติ อกท. โครงการจาหนา่ ยตน้ กลา้ มะละกอเพ่ือหารายไดร้ ะหว่างเรียน ระดับชาติ นางสาวสาลิตา ยอดขาว รางวัลอ่ืน ๆ ภาค อกท.ระดับ โครงการแตงกวาปลอดสารพิษ ภาค นางสาวสาลติ า ยอดขาว รางวลั อน่ื ๆ ชาติ อกท. โครงการแตงกวาปลอดสารพิษ ระดบั ชาติ นางสาวญานกิ า วชิ ยั ดษิ ฐ รางวัลอ่ืน ๆ ภาค อกท.ระดับ โครงการจาหน่ายพริก-มะเขือ ภาค นางสาวญานกิ า วชิ ัยดิษฐ รางวลั อืน่ ๆ ชาติ อกท. โครงการจาหน่ายพริก-มะเขือ ระดบั ชาติ รายงานการประเมินตนเอง (SAR.63) วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยชี ุมพร

๑๖ ช่อื -สกลุ /รายการ รางวลั ระดบั ใหโ้ ดย นางสาวพชั รา ทบศรี รางวัลอน่ื ๆ ภาค อกท.ระดบั โครงการจาหน่ายขา้ วโพดปิ้ง ภาค นางสาวพัชรา ทบศรี รางวลั อน่ื ๆ ชาติ อกท. โครงการจาหน่ายขา้ วโพดป้ิง ระดบั ชาติ นางสาวรัตนวดี นวมนม่ิ รางวัลอื่น ๆ ภาค อกท.ระดบั โครงการจาหน่ายพริก-มะเขือ ภาค นางสาวรัตนวดี นวมนิ่ม รางวลั อ่นื ๆ ชาติ อกท. โครงการจาหน่ายพริก-มะเขือ โดย อกท.ระดับภาค ระดับชาติ นายศุภโชค อนิ แปน้ รางวลั อื่น ๆ ภาค อกท.ระดับ โครงการจาหน่ายพริก-มะเขือ ภาค นายศุภโชค อินแป้น รางวัลอื่น ๆ ชาติ อกท.รัะดบั โครงการจาหน่ายพริก-มะเขือ ชาติ นางสาวชลติ า จาปาสี รางวลั อื่น ๆ ภาค อกท.ระดับ โครงการเลย้ี งสกุ ร ภาค นางสาวชลติ า จาปาสี รางวลั อน่ื ๆ ชาติ อกท. โครงการเลยี้ งสกุ ร ระดับชาติ นางสาวปยิ ะมล พาซอ่ื รางวัลอ่ืน ๆ ภาค อกท.ระดบั โครงการเกจบคา่ หอ้ งนา้ งานเกษตรตะโก ภาค นางสาวปิยะมล พาซือ่ รางวัลอ่นื ๆ ชาติ อกท. โครงการเกจบค่าหอ้ งน้างานเกษตรตะโก ระดบั ชาติ นายคณพศ แสงอรุณ รางวลั อน่ื ๆ ภาค อกท.ระดับ โครงการหารายได้ระหว่างเรยี นเกจบค่าห้องนา้ งานมหกรรมวันงานเกษตร ภาค ตะโก รางวัลอื่น ๆ ชาติ อกท. นายคณพศ แสงอรุณ ระดับชาติ โครงการหารายได้ระหว่างเรยี นเกจบคา่ ห้องน้างานมหกรรมวันงานเกษตร ตะโก รางวัลอน่ื ๆ ภาค อกท.ระดบั ภาค นางสาวชนากานต์ รักชอ่ื โครงการหารายได้ระหวา่ งเรยี นเกบจ ค่าห้องนา้ งานมหกรรมวันงานเกษตร ตะโก รายงานการประเมินตนเอง (SAR.63) วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยชี ุมพร

๑๗ ชือ่ -สกุล/รายการ รางวลั ระดบั ใหโ้ ดย นางสาวชนากานต์ รกั ช่ือ รางวัลอน่ื ๆ ชาติ อกท. โครงการหารายไดร้ ะหวา่ งเรยี นเกจบคา่ ห้องนา้ งานมหกรรมวันงานเกษตร ระดบั ชาติ ตะโก รางวัลอ่ืน ๆ ภาค อกท.ระดับ นายธนธรณ์ เลกจ วารี ภาค โครงการหารายได้ระหวา่ งเรยี นเกบจ ค่าห้องน้างานมหกรรมวันงานเกษตร ตะโก รางวลั อน่ื ๆ ชาติ อกท. ระดบั ชาติ นายธนธรณ์ เลจกวารี โครงการหารายได้ระหวา่ งเรยี นเกจบคา่ ห้องน้างานมหกรรมวันงานเกษตร รางวลั อื่น ๆ ภาค อกท.ระดบั ตะโก ภาค นายธรี พงษ์ เมฆเจรญิ รางวัลอื่น ๆ ชาติ อกท. โครงการหารายได้ระหว่างเรยี นเกบจ ค่าห้องนา้ งานมหกรรมวันงานเกษตร ระดบั ชาติ ตะโก รางวัลอน่ื ๆ ภาค อกท.ระดับ นายธีรพงษ์ เมฆเจริญ ภาค โครงการหารายไดร้ ะหว่างเรียนเกจบคา่ ห้องน้างานมหกรรมวันงานเกษตร ตะโก รางวลั อน่ื ๆ ชาติ อกท. ระดับชาติ นายพงศ์พันธ์ โยธารักษ์ โครงการหารายไดร้ ะหว่างเรียนเกจบคา่ ห้องน้างานมหกรรมวันงานเกษตร รางวัลอน่ื ๆ ภาค อกท.ระดบั ตะโก ภาค นายพงศ์พนั ธ์ โยธารกั ษ์ รางวัลอน่ื ๆ ชาติ อกท. โครงการหารายไดร้ ะหวา่ งเรยี นเกจบคา่ ห้องนา้ งานมหกรรมวันงานเกษตร ระดบั ชาติ ตะโก รางวัลอื่น ๆ ภาค อกท.ระดบั นางสาวสทุ ธดิ า พวงบุปผา ภาค โครงการขายสม้ ตาหารายไดร้ ะหว่างเรียน รางวลั อน่ื ๆ ชาติ อกท. นางสาวสุทธิดา พวงบุปผา ระดบั ชาติ โครงการขายส้มตาหารายได้ระหวา่ งเรยี น รางวลั อน่ื ๆ ภาค อกท.ระดับ นางสาวจีราภรณ์ พฤกษ์ใหผ้ ล ภาค โครงการจาหน่ายข้าวโพดอบเนย นางสาวจีราภรณ์ พฤกษใ์ หผ้ ล โครงการจาหน่ายข้าวโพดอบเนย นายเทพพทิ ักษ์ อุดมประชารักษ์ โครงการจาหนา่ ยข้าวโพดอบเนย รายงานการประเมินตนเอง (SAR.63) วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีชุมพร

๑๘ ช่ือ-สกุล/รายการ รางวัล ระดับ ใหโ้ ดย นายเทพพทิ ักษ์ อุดมประชารักษ์ รางวลั อ่นื ๆ ชาติ อกท. โครงการจาหน่ายขา้ วโพดอบเนย ระดับชาติ นายอนภุ ัทร คนดี รางวัลอื่น ๆ ภาค อกท.ระดบั โครงการจาหนา่ ยขา้ วโพดอบเนย ภาค นายอนุภทั ร คนดี รางวัลอืน่ ๆ ชาติ อกท. โครงการจาหน่ายข้าวโพดอบเนย ระดับชาติ นายณัฐวฒุ ิ พรหมเพชร รางวลั อื่น ๆ ภาค อกท.ระดบั โครงการหารายไดร้ ะหวา่ งเรียนเกบจ คา่ รถวันงานเกษตรตะโก ภาค นายณัฐวุฒิ พรหมเพชร รางวลั อน่ื ๆ ชาติ อกท. โครงการหารายไดร้ ะหวา่ งเรียนเกจบคา่ รถวนั งานเกษตรตะโก ระดบั ชาติ นายปกรณศ์ ักดิ์ ปานเปยี รางวลั อน่ื ๆ ภาค อกท.ระดับ โครงการหารายไดร้ ะหวา่ งเรียนเกบจ ค่ารถวันงานเกษตรตะโก ภาค นายปกรณศ์ ักด์ิ ปานเปีย รางวลั อืน่ ๆ ชาติ อกท. โครงการหารายได้ระหวา่ งเรียนเกบจ ค่ารถวันงานเกษตรตะโก ระดับชาติ นายพรี ภทั ร คงสวุ รรณ รางวลั อื่น ๆ ภาค อกท.ระดับ โครงการหารายได้ระหวา่ งเรียนเกบจ ค่ารถวนั งานเกษตรตะโก ภาค นายพรี ภทั ร คงสุวรรณ รางวลั อื่น ๆ ชาติ อกท. โครงการหารายได้ระหว่างเรียนเกจบคา่ รถวนั งานเกษตรตะโก ระดบั ชาติ นายนัฐพงศ์ จติ ธราปฐมาพงศ์ รางวัลอื่น ๆ ภาค อกท.ระดับ โครงการจาหนา่ ยขา้ วโพดปิ้ง ภาค นายนัฐพงศ์ จติ ธราปฐมาพงศ์ รางวลั อนื่ ๆ ชาติ อกท. โครงการจาหน่ายข้าวโพดป้ิง ระดบั ชาติ รายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR.63) วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยชี ุมพร

19 สว่ นท่ี 3 มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา  ให้สถานศึกษาระบุมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาซ่ึงเป็นไปตามมาตรฐานการอาชีวศึกษาที่ รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงศึกษาธิการประกาศกาหนด และสถานศึกษาสามารถกาหนดมาตรฐานการศึกษา หรอื ประเด็นการ ประเมินเพิ่มเตมิ ตามบรบิ ทของสถานศึกษา มาตรฐานการศึกษาของวทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีชมุ พร ประกอบด้วย 3 มาตรฐาน 9 ประเด็น การ ประเมนิ ดังนี้ มาตรฐานท่ี 1 คุณลกั ษณะของผสู้ าเรจ็ การศึกษาที่พงึ ประสงค์ การจัดการอาชีวศึกษา เป็นการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาผู้สาเร็จการศึกษาให้มีความรู้ มีทักษะและ การประยุกต์ใช้เป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับศึกษา และมีคุณธรรม จริยธรรม และ คุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ ประกอบด้วยประเดน็ การประเมนิ ดังนี้ 1.1 ดา้ นความรู้ ผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีความรู้เก่ียวกับข้อเท็จจริง ตามหลักการ ทฤษฎีและแนว ปฏิบตั ติ า่ งๆทีเ่ กยี่ วขอ้ งกับสาขาวชิ าทเี่ รียน หรือทางาน โดยเน้นความรู้เชิงทฤษฎี และหรือข้อเท็จจริงเป็นไป ตามมาตรฐานคณุ วฒุ ิอาชีวศกึ ษาแต่ละระดับการศึกษา 1.2 ด้านทักษะดา้ นการประยกุ ต์ใช้ ผสู้ าเรจ็ การศกึ ษาอาชวี ศึกษามที ักษะท่ีจาเป็นในศตวรรษท่ี 21 ทักษะวิชาชีพ และทักษะ ชวี ติ เปน็ ไปตามมาตรฐานคุณวุฒอิ าชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษา สามารถประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน และการดารงชวี ติ อยู่รว่ มกับผอู้ น่ื ไดอ้ ยา่ งมคี วามสุขตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และมีสุขภาวะที่ดี 1.3 ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม และคณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ ผูส้ าเร็จการศึกษาอาชีวศึกษามีคุณธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ เจตคติและกิจนิสัยที่ ดี ภูมใจและรักษาเอกลักษณ์ของชาติไทย เคารพกฎหมาย เคารพสิทธิของผู้อ่ืน มีความรับผิดชอบตาม บทบาทหนา้ ท่ีของตนเองตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีจิตสาธารณะ และ มีจิตสานึกรกั ษ์สงิ่ แวดลอ้ ม จดุ เด่น สถานศกึ ษามีการจดั การศกึ ษาท่ีมหี ลกั สตู รสอดคล้องกับความตอ้ งการของสถานประกอบการ ชุมชน และสังคม ผู้สาเร็จการศึกษามีคุณสมบัติตรงตามความต้องการของสถานประกอบการ ชุมชน และสังคม ผสู้ าเรจ็ การศึกษามีมาตรฐานตามคุณวุฒวิ ชิ าชพี ของอาชวี ศึกษา

20 จดุ ที่ควรพัฒนา การจัดการเรียนการสอนให้เป็นไปในรูปแบบที่ตอบสนองแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 ยทุ ธศาสตรศ์ ักยภาพต้นทนุ มนษุ ย์ จานวนสาขาท่ีจดั การเรียนการสอนระบบทวิภาคีไม่เป็นไปตาม เปา้ หมายที่กาหนดไว้ จานวนสถานประกอบการทเ่ี ข้าร่วมจดั การศกึ ษาระบบทวิภาคตี า่ กว่าเปา้ หมาย ข้อเสนอแนะเพื่อการพฒั นา 1. จดั กิจกรรมเสรมิ หลกั สูตรเพอ่ื พฒั นาผู้เรยี นทั้งด้านทฤษฎี และปฏิบตั อิ ยา่ งต่อเนือ่ ง 2. การออกแบบการจัดการการเรียนรู้ท่ีหลากหลายเพื่อตอบสนองผู้เรียนรายกลุ่ม รายบุคคล เพ่ือ ตอบสนองศักยภาพการเรียนรู้ท่ีแตกต่างเพ่ือยกระดับร้อยละของผู้เรียนท่ีมีผลสัมฤทธ์ิทางการ เรียนเฉล่ียสะสม 2.00 ข้ึนไป 3. การสรา้ งความตระหนักใหก้ ับผเู้ รียนเรอื่ งความสาคญั ของการสอบ v-net ท่ีส่งผลถึงสถานศึกษา และตวั ผูส้ าเรจ็ การศึกษา 4. การเปิดโลกทัศน์อาชีพให้ผู้เรียนเกิดวิสัยทัศน์ถุงความมั่งคงในอนาคตของการสาเร็จการศึกษา ในสาขาอาชีพต่างๆ ของวทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยชี ุมพร มาตรฐานท่ี 2 การจดั การอาชีวศกึ ษา สถานศึกษามีครูท่ีมีคุณวุฒิการศึกษาและจานวนตามเกณฑ์ท่ีกาหนด ใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะใน การจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และบริหารจัดการทรัพยากรของสถานศึกษาอย่างมี ประสทิ ธิภาพมีความสาเรจ็ ในการดาเนินการตามนโยบายสาคัญของหนว่ ยงานตน้ สังกดั หรอื หน่วยงานที่กากับ ดูแลสถานศึกษา ประกอบดว้ ยประเด็นการประเมนิ ดงั น้ี 2.1 ด้านหลักสตู รอาชีวศกึ ษา สถานศึกษาใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะท่ีสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน ชุมชน สถาน ประกอบการ ตลาดแรงงาน มีการปรบั ปรุงรายวชิ าเดมิ หรอื กาหนดรายวิชาใหม่ หรอื กลุ่มวิชาเพ่ิมเติมให้ ทันต่อการ เปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีและความต้องการของตลาดแรงงาน โดยความร่วมมือกับสถาน ประกอบการหรือ หน่วยงานทีเ่ กี่ยวขอ้ ง สถานศกึ ษาได้จดั การเรียนการสอน 3 หลักสตู ร 2.1.1 หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชพี (ปวช.) พ.ศ.2562 - คอมพิวเตอร์ธรุ กจิ - พชื ศาสตร์ - สัตวศาสตร์ - ชา่ งกลเกษตร - อุตสาหกรรมเกษตร - ผลติ สตั ว์น้า รายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR.63) วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยชี ุมพร

21 2.1.2 หลักสตู รประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชนั้ สูง (ปวส.) พ.ศ.2563 - คอมพิวเตอรธ์ รุ กิจ - เกษตรศาสตร์ - พชื สวน - การผลิตสตั ว์ - อตุ สาหกรรมเกษตร - เพาะเลย้ี งสัตวน์ ้า 2.1.3 หลักสูตรทวิภาคี สถานศึกษามีการบริหารจัดการอาชีวศึกษาโดยให้ความสาคัญในสาคัญในด้านการ ฝกึ งานหรือฝึกประสบการณว์ ิชาชพี มผี ลสมั ฤทธ์ิในระดับดีมาก จากการที่มีการบริหารจัดการโดยการติดตาม นเิ ทศ 2.2 ด้านการจดั การเรียนการสอนอาชวี ศึกษา สถานศึกษามีครูที่มีคุณวุฒิการศึกษาและมีจานวนตามเกณฑ์ที่กาหนด ได้รับการพัฒนาอย่าง เป็นระบบต่อเนื่อง เพื่อเป็นผู้พร้อมท้ังด้านคุณธรรม จริยธรรมและความเข้มแข็งทางวิชาการและวิชาชีพ จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนทั้งวัยเรียนและวัยทางาน ตามหลักสูตรมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับการศึกษา ตามระเบียบหรือข้อบังคับเก่ียวกับการจัด การศึกษาและการประเมินผลการเรียนของแต่ละหลักสูตร ส่งเสริม สนับสนุน กากับ ดูแลให้ครูจัดการเรียน การสอนรายวิชาให้ถกู ตอ้ ง ครบถ้วน สมบรู ณ์ 2.3 ดา้ นการบรหิ ารจดั การ สถานศึกษาบริหารจัดการบุคลากร สภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ อาคารสถานท่ี ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงาน ศูนย์วิทยบริการ ส่ือ แหล่งเรียนรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ครุภัณฑ์ และ งบประมาณของสถานศกึ ษาท่มี ีอยู่อยา่ งเตม็ ศกั ยภาพและมีประสทิ ธภิ าพ 2.4 ดา้ นการนานโยบายสูก่ ารปฏบิ ตั ิ สถานศึกษามีความสาเร็จในการดาเนินการบริหารจัดการสถานศึกษา ตามนโยบายสาคัญท่ี หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานท่ีกากับดูแลสถานศึกษามอบหมาย โดยความร่วมมือของผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษาและผู้เรียน รวมท้ังการช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุนจากผู้ปกครอง ชุมชน สถาน ประกอบการและหน่วยงานท่เี ก่ียวข้องทั้งภาครฐั และภาคเอกชน จดุ เดน่ 1. การสร้างเครือข่ายองค์กรท่ีให้การสนับสนุนทั้งภาครัฐและเอกชน ท่ีร่วมสนับสนุนการจัด การศึกษา 2. การบริหารจัดการเร่อื งการปฏบิ ตั ติ ามนโยบายทใี่ ห้ความสาคัญ ความสะดวกและการติดตามผล ในเชงิ สรา้ งสรรค์ รายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR.63) วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยชี ุมพร

22 จดุ ทีค่ วรพัฒนา 1. การนิเทศติดตามเพือ่ สร้างพลงั ในการสรา้ งสรรค์งานใหม่ๆ ที่ต้องประยุกต์หลักจิตวิทยาและการ ประเมินผลมาบูรณาการร่วมกนั 2. จานวนสถานประกอบการท่เี ข้าร่วมการจัดการศกึ ษาระบบทวิภาคีมีน้อย ขอ้ เสนอแนะเพื่อการพัฒนา 1. โครงการทเี่ ก่ียวขอ้ งกับคุณภาพ จริยธรรม ควรมีการจัดกลุ่มย่อยระดับครอบครัว หรือให้บุคคล ในครอบครวั ทอ้ งถนิ่ มสี ว่ นรว่ ม 2. ปรับรูปแบบของกิจกรรมและกระบวนการจดั การเรียนการสอนในรายวิชาต่างๆของหลักสูตรให้ มีความหลากหลายในทางปฏิบัติ เพ่ือมุ่งพัฒนาความรู้ทางวิชาการ เสริมสร้างทักษะในการ ปฏบิ ตั งิ าน สอดแทรกคณุ ธรรม จริยธรรมและเจตคติตอ่ การทางานรวมท้งั พัฒนาบุคลิกภาพและ มนุษยสัมพันธ์ โดยเนน้ การจดั การเรียนการสอนแบบบูรณาการ เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถนาความรู้ ในช้ันเรียนมาประยุกต์ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เสริมสร้างการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ควบคู่กับการฝึกปฏิบัติในสถานการณ์จริง เพ่ือเพิ่มความมั่นใจ ความกล้าแสดงออก ทักษะการ เข้าสงั คมอันจะเปน็ ประโยชนใ์ นการทางานต่อไปในอนาคต 3. ควรมีการทางานวิจัยเพ่ือการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน การบริหารเพื่อการจัดการเรียน การสอนจากข้อเสนอแนะของสถานประกอบการหรือผู้ที่รับผู้สาเร็จการศึกษาไปทางาน เพ่ือ นามาพัฒนาหลกั สตู ร การบรหิ ารจดั การเพื่อการพัฒนาอยา่ งตอ่ เน่ือง มาตรฐานที่ 3 การสรา้ งสงั คมแหง่ การเรียนรู้ สถานศึกษาร่วมมือกับบุคคล ชุมชน องค์กรต่าง ๆ เพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มีการจัดทา นวัตกรรม สิง่ ประดษิ ฐ์ งานสรา้ งสรรค์ งานวจิ ยั ประกอบด้วยประเดน็ การประเมิน ดังน้ี 3.1 ด้านความร่วมมอื ในการสรา้ งสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ สถานศึกษามีการสร้างความร่วมมือกับบุคคล ชุมชน องค์การต่างๆ ท้ังในประเทศและ ต่างประเทศในการจัดการศึกษา การจัดทรัพยากรทางการศึกษา กระบวนการเรียนรู้ การ บริการทางวิชาการและวิชาชีพ โดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม เพ่ือพัฒนาผู้เรียนและคนใน ชุมชนสู่สังคมแหง่ การเรียนรู้ 3.2 ดา้ นนวัตกรรม สิ่งประดษิ ฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย สถานศึกษาส่งเสริมสนับสนุนให้มีการจัดทานวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ งานวิจัย โดยผู้บริหารครู บุคลากรทางการศกึ ษา ผู้เรียน หรือวา่ ร่วมกบั บคุ ลากร ชุมชน องค์กรต่างๆ ที่ สามารถนาไปใช้ประโยชนไ์ ดต้ ามวตั ถุประสงค์ และเผยแพรส่ สู่ าธารณชน รายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR.63) วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยชี มุ พร

23 จุดเดน่ 1. สถานศึกษาจัดสร้างแหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดย บูรณาการกับแปลงสาธิตชวี วถิ ี สามารถสร้างเปน็ แหล่งเรียนรู้ในเชิงประจักษ์ให้กับผู้เรียนทุกชั้น ปี ทกุ สาขาวชิ า และเป็นแหลง่ เรยี นรู้ของสถานศึกษาใกล้เคียงรวมท้ังประชาชนทวั่ ไป 2. วิทยาลัยฯ มีการจัดการเรียนการสอนระดับ ปวช. และ ปวส. ท่ีจัดการเรียนการสอนวิชา โครงการ มผี ลงานวิจัยของนักเรียนนกั ศึกษาทุกปกี ารศึกษา 3. วิทยาลัยฯ สรา้ งโอกาสในการนาเสนอผลงานภายในวิทยาลยั ฯ อศจ. และ อกท. จดุ ท่ีควรพฒั นา 1. แหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษาท่ีเป็นเชิงประจักษ์จากสังคมภายนอก ควรจะได้รับงบประมาณ จากต้นสงั กัด ตามจานวนผู้ที่เข้ามาศึกษาดูงานในแต่ละปี เพ่ือให้เกดิ ความย่ังยนื ของโครงการ 2. วิทยาลัยฯควรส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้บริหาร ครู จัดทาและประกวด แสดง นาเสนอนวัตกรรม สง่ิ ประดิษฐ์ งานสร้างสรรคห์ รืองานวิจยั 3. ให้โอกาสครูได้ไปศึกษานวัตกรรม งานวิจัย ส่ิงประดิษฐ์ท่ีแปลกใหม่เพ่ือสร้างแรงผลักดันและ แรงกระตุ้น รวมท้ังได้เห็นคุณค่า ประโยชน์และความความสาคัญของนวัตกรรม งานวิจัย ส่ิงประดิษฐ์ ขอ้ เสนอแนะเพอ่ื การพัฒนา 1. สร้างบรรยากาศและกระบวนการในการทางานให้ทุกส่วนงานมุ่งพัฒนาความรู้ทางวิชาการ เสริมสร้างทักษะในการปฏบิ ตั งิ าน ม่งุ ผลสมั ฤทธ์ใิ นการปฏบิ ตั ิงาน โดยการใช้การวิจัยเพ่ือพัฒนา งาน โดยเฉพาะการประเมินความพึงพอใจจากผู้บริการ เพื่อนาผลการวิจัยและข้อเสนอแนะมา พัฒนาการบรหิ ารงานในส่วนงานน้นั ๆ 2. ส่งเสริมให้ผู้เรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้จัดทางานวิจัย นวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ์เพ่ิม มากขึ้น โดยกระตนุ้ ใหค้ รู และบุคลาการทางการศกึ ษาไดต้ ระหนักถงึ ความสาคัญของงานวิจยั รายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR.63) วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยชี ุมพร

24 สว่ นท่ี 4 รายงานการประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาตามมาตรฐาน การศกึ ษาของสถานศกึ ษา  สถานศึกษารายงานการประเมินผลและการตดิ ตามตรวจสอบคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของ สถาน ศึกษา ในแต่ละมาตรฐานและประเดน็ การประเมนิ ดังน้ี มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผูส้ าเรจ็ การศกึ ษาอาชีวศึกษาท่ีพึงประสงค์ 1.1 ด้านความรู้ ใหส้ ถานศึกษารายงานผลสัมฤทธ์ิในการพัฒนาคุณลักษณะของผู้สาเรจ็ การศึกษา อาชีวศกึ ษา ทพี่ งึ ประสงค์ด้านความรู้ ตามรายการประเมนิ คุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษาอาชีวศึกษา ดงั นี้ 1. รอ้ ยละของผ้เู รียนที่มีผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นเฉลย่ี สะสม 2.00 ขึ้นไป จานวนผ้เู รียน ผ้เู รียนที่ เกณฑก์ ารดัดสิน ได้ 2.00 ขึน้ ไป ชัน้ ปที ี่ สาขาวชิ า/สาขางาน ลงทะเบียนท้ังหมด ออกกลางคัน ดีมาก (ปวช.) ดี (3) = (1)-(2) คงเห ืลอ จานวน รอ้ ยละ ค่าคะแนน พอใช้ (คน) ้ตองป ัรบปรุง ้ตองป ัรบปรุงเร่งด่วน (1) (2) 4.51-5.00 3.51-4.50 2.51-3.50 1.51-2.50 0.00-1.50 ปวช.3 คอมพิวเตอร์ธรุ กิจ 23 8 15 15 100.00 5  พืชศาสตร์ 47 16 34 33 97.00 5  สตั วศาสตร์ ช่างกลเกษตร 817 5 71.00 4  อุตสาหกรรมเกษตร ผลติ สตั วน์ ้า 19 10 9 8 89.00 5 การเกษตร รวมระดับ ปวช. 312 2 100.00 5  17 11 6 4 67.00 3  909 2 22.00 1  126 47 79 69 87.00 5  รายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR.63) วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยชี มุ พร

ผู้เรยี นท่ี ๒๕ ได้ 2.00 ขึน้ ไป เกณฑ์การตัดสิน จานวนผูเ้ รยี น ชน้ั ปีท่ี สาขาวชิ า/สาขางาน ลงทะเบียน ้ัทงหมด ออกกลาง ัคน (3) = (1)-(2) คงเหลือ จานวน ดีมาก (ปวส.) (คน) ร้อยละ ค่าคะแนน ดี พอใช้ ต้องป ัรบป ุรง ต้องป ัรบป ุรงเร่งด่วน (1) (2) 4.51-5.00 3.51-4.50 2.51-3.50 1.51-2.50 0.00-1.50 ปวส.2 คอมพวิ เตอรธ์ ุรกจิ 7-7 7 100.00 5  เกษตรศาสตร์ 107 31 76 75 99.00 5  พชื สวน การผลิตสตั ว์ 15 1 14 14 100.00 5  อุตสาหกรรมเกษตร เพาะเล้ยี งสัตว์น้า 3 - 3 3 100.00 5  เครือ่ งจักรกลเกษตร รวมระดบั ปวส. 2 1 1 1 100.00 5  รวมทง้ั หมด 7 1 6 6 100.00 5  3 - 3 3 100.00 5  150 34 110 109 99.00 5  276 81 189 178 94.00 5  จ้านวนผูส้ ้าเร็จการศึกษาท่ีได้งานท้า หรือประกอบอาชีพอิสระ หรอื ศกึ ษาต่อภายใน 1 ปี = 188 คน จ้านวนผ้สู า้ เร็จการศกึ ษา = 188 คน ผลการประเมินคุณภาพระดบั สถานศกึ ษา  พอใช้  ตอ้ งปรบั ปรุง  ตอ้ งปรบั ปรุงเรง่ ดว่ น ระดบั  ดีมาก  ดี 3 2  1 คา่ คะแนน 5  4 รายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR.63) วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีชมุ พร

2. รอ้ ยละของผูเ้ รยี นทีผ่ า่ นการประเมนิ มาตรฐานวิชาชพี ๒๖ เกณฑก์ ารตดั สิน ชั้นปที ี่ จานวน ู้ผเรียน ี่ทลงทะเบียนครบตามห ัลก ูสตร ปวช. ค่าคะแนน ดีมาก สาขาวชิ า / สาขางาน จานวน ู้ผเรียน ี่ท ่ผานเกณ ์ฑ ดี ้รอยละ ู้ผ ่ผานการประเมินมาตรฐาน ิวชาชีพ ้รอยละ 65 พอใช้ ต้องป ัรบป ุรง ต้องป ัรบป ุรงเร่งด่วน 4.51-5.00 3.51-4.50 2.51-3.50 1.51-2.50 0.00-1.50 ปวช.3 คอมพวิ เตอรธ์ ุรกจิ 15 15 100.00 5   พชื ศาสตร์ 32 31 96.88 5  สตั วศาสตร์ 6 5 83.33 5  อุตสาหกรรมเกษตร 2 2 100.00 5  ผลติ สตั วน์ า้ 6 6 100.00 5  การเกษตร 9 9 100.00 5  เครือ่ งกลเกษตร 9 6 66.67 3 รวมระดบั ปวช. 79 74 93.67 5  7 7 100.00 5  ปวส.2 คอมพวิ เตอรธ์ รุ กิจ 91 73 80.22 5  เกษตรศาสตร์ 12 12 100.00 5  พืชสวน 3 3 100.00 5  การผลิตสัตว์ 1 1 100.00 5  อตุ สาหกรรมเกษตร 6 6 100.00 5  เพาะเลย้ี งสัตวน์ ้า 3 3 100.00 5  เคร่อื งจกั รกลเกษตร 123 105 85.37 5  รวมระดบั ปวส. 202 179 88.61 5  รวมทัง้ หมด ผลการประเมนิ คุณภาพระดบั สถานศกึ ษา  พอใช้  ตอ้ งปรบั ปรุง  ตอ้ งปรบั ปรุงเรง่ ดว่ น ระดบั  ดมี าก  ดี 3 2  1 คา่ คะแนน 5  4 รายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR.63) วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยชี ุมพร

๒๗ 3. ร้อยละผู้เรยี นทม่ี คี ่าคะแนนเฉลยี่ จากการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตดิ ้าน อาชวี ศึกษา (V-NET) ตัง้ แต่คะแนนเฉลี่ยระดบั ชาติข้นึ ไป 1) ผลสัมฤทธ์ิ จานวนผู้เรียน ชัน้ ปีท่ี สาขาวชิ า/สาขางาน ท่ีลงทะเบียน ่ีทได้คะแนนสูงก ่วาคะแนนเฉ ่ีลยระดับชาติ ร้อยละคา่ คะแนน ดีมาก 4.51 - 5.00 ดี 3.51 - 3.50 พอใช้ 2.51 – 3.50 ต้องป ัรบป ุรง 1.51 - 2.50 ต้องปรับป ุรงเร่งด่วน 1.00-1. 50 ปวช.3 คอมพวิ เตอรธ์ ุรกิจ/คอมพิวเตอร์ธรุ กิจ -- - เกษตรศาสตร์/พืชศาสตร์ 1 0 0.00 0.00  เกษตรศาสตร์/สตั วศาสตร์ -- - 0.00  0.00  เกษตรศาสตร/์ อตุ สาหกรรมเกษตร -- - 0.00  เกษตรศาสตร/์ ผลิตสตั ว์น้า -- - 0.00  อุตสาหกรรม/ชา่ งยนต์ 3 0 0.00 รวมระดบั ปวช. 4 0 0.00 ปวส.2 คอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ/คอมพิวเตอร์ธรุ กิจ -- - พืชศาสตร/์ พืชสวน -- - สัตวศาสตร/์ การผลิตสตั ว์ -- - เพาะเลีย้ งสตั วน์ า้ ทว่ั ไป/เพาะเลยี้ งสตั ว์นา้ - - - รวมระดบั ปวส. 0 0 0.00 รวมทัง้ หมด 4 0 0.00 ผลการประเมนิ คณุ ภาพระดบั สถานศกึ ษา  พอใช้  ตอ้ งปรบั ปรุง  ตอ้ งปรบั ปรุงเรง่ ดว่ น ระดบั  ดีมาก  ดี 3 2  1 คา่ คะแนน 5  4 รายงานการประเมินตนเอง (SAR.63) วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยชี ุมพร

๒๘ 4. รอ้ ยละของผสู้ าเร็จการศกึ ษาตามหลักสูตรเทียบกับแรกเข้า เกณฑ์การตัดสิน สาขาวชิ า/สาขางาม จานวน ู้ผลงทะเบียน ่ลาสุด ดีมาก ช้ันปีที่ จานวน ู้ผสาเร็จการศึกษา ดี ้รอยละ พอใช้ ต้องป ัรบป ุรง ต้องป ัรบป ุรงเร่งด่วน ค่า 4.51-5.00 คะแนน 3.51-4.50 2.51-3.50 1.51-2.50 0.00-1.50 ปวช.3 คอมพวิ เตอร์ธรุ กจิ /คอมพิวเตอร์ธรุ กจิ 15 15 100.00 5  เกษตรศาสตร์/พืชศาสตร์ 31 27 87.09 5  เกษตรศาสตร/์ สัตวศาสตร์ 74 57.14 2 เกษตรศาสตร/์ ช่างเกษตร 93 33.33  เกษตรศาสตร/์ อุตสาหกรรมเกษตร 22 100.00 1 เกษตรศาสตร์/ผลิตสัตวน์ ้า 61 16.6 เกษตรศาสตร์/การเกษตร 99 100.00 5 รวมระดบั ปวช. 79 61 77.21 1 77 100.00 ปวส.2 คอมพวิ เตอรธ์ รุ กิจ/คอมพวิ เตอร์ธุรกจิ 74 73 98.64 5 เกษตรศาสตร์/เกษตรศาสตร์ 13 13 100.00 4 พืชศาสตร/์ พืชสวน 33 100.00 5 สตั วศาสตร์/การผลติ สัตว์ 11 100.00 5 อุตสาหกรรมเกษตร/อุตสาหกรรมเกษตร 66 100.00 5 เพาะเลีย้ งสตั วน์ ้าทว่ั ไป/เพาะเล้ียงสตั วน์ า้ 33 100.00 5 ชา่ งกลเกษตร/เครื่องจักรกลเกษตร 107 106 99.06 5 รวมระดับ ปวส. 186 167 89.78 5 รวมทง้ั หมด 5 5 5 จ้านวนผเู้ รียนแรกเข้าของรุ่นทส่ี ้าเรจ็ การศึกษา = 186 คน จ้านวนผ้สู า้ เรจ็ การศกึ ษาจากผูเ้ รียนแรกเข้าของร่นุ = 167 คน ผลการประเมินคณุ ภาพระดับสถานศึกษา  พอใช้  ตอ้ งปรบั ปรุง  ตอ้ งปรบั ปรุงเรง่ ดว่ น ระดบั  ดีมาก  ดี 3 2  1 คา่ คะแนน 5 4 รายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR.63) วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีชมุ พร

๒๙ 1) ผลสัมฤทธ์ิ สถานศกึ ษาจดั ระบบการเรยี นการสอนจนท้าให้การศึกษามผี ลสมั ฤทธด์ิ า้ นรอ้ ยละของ ผู้เรยี นที่ผ่านการประเมนิ มาตรฐานวชิ าชีพ 100 เปอร์เซน็ ต์ 2) จดุ เดน่ การจัดการศกึ ษาทีเ่ นน้ ให้ผู้เรียนได้เรียนรูด้ ว้ ยการปฏิบัติจริง สง่ ผลให้ผทู้ ี่ส้าเร็จการศึกษา เกดิ ทกั ษะและประยกุ ต์เปน็ องค์ความรสู้ ามารถออกไปท้างานประกอบอาชีพอสิ ระ สอบผ่านการประเมิน สามารถวชิ าชีพได้ 3) จุดทคี่ วรพัฒนา การจัดการเรียนการสอนในรูปแบบที่ตอบสนองแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 12 ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพต้นทนุ มนุษย์ 4) ข้อเสนอแนะเพื่อการพฒั นา 1. การออกแบบการเรยี นรทู้ ่ีหลากหลายตอบสนองผเู้ รียนเป็นรายกล่มุ รายบคุ คล เพื่อ ตอบสนองศักยภาพการเรียนรทู้ ่ีแตกตา่ งเพ่ือยกระดับร้อยละของผเู้ รียนที่มีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนเฉลยี่ สะสม 2.00 ข้นึ ไป 2. การสรา้ งความตระหนักของผู้เรยี นเรอ่ื งความส้าคัญของการสอบ V-NET ทส่ี ง่ ผลถงึ สถานศกึ ษา และตัวผู้ส้าเรจ็ การศกึ ษา 3. การเปิดโลกทัศน์อาชีพให้ผู้เรยี นเกิดวสิ ยั ทัศน์ถึงความม่ันคงในอนาคตของการสา้ เร็จ การศึกษาในสาขาอาชีพต่างๆ ของวิทยาลยั เกษตร รายงานการประเมินตนเอง (SAR.63) วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยชี ุมพร

๓๐ 1.2 ดา้ นทกั ษะด้านการประยุกตใ์ ช้ 1. ร้อยละของผสู้ าเร็จการศกึ ษาท่ไี ด้งานทา หรอื ประกอบอาชพี อสิ ระหรือศกึ ษาตอ่ ภายใน 1 ปี เกณฑก์ ารตัดสิน จานวน ประกอบอาชีพ ิอสระ ค่า ดีมาก ทางานในสถานประกอบการ คะแนน ดี ผเู้ รยี นท่ี ึศกษาต่อ พอใช้ รวม ต้องป ัรบป ุรง ระดบั หลกั สตู ร/ประเภทวิชา/ สาเรจ็ ต้องป ัรบป ุรงเร่งด่วน สาขาวชิ า/สาขางาน การศกึ ษา ในปี การศกึ ษา ท่ีผา่ นมา 4.51-5.00 3.51-4.50 จานวน 2.51-3.50 จานวน 1.51-2.50 จานวน 0.00-1.50 จานวน ร้อยละ ปวช.3 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ 10 - - 10 10 100.00 5  พชื ศาสตร์ 35 - 10 25 35 100.00 5  สัตวศาสตร์ 8 1 1 6 8 100.00 5  ช่างกลเกษตร 3 - - 3 3 100.00 5  อสุ าหกรรมเกษตร - --- - - - - ผลติ สตั ว์นา้ 3 - - 3 3 100.00 5  รวมระดับ ปวช. 59 1 11 47 59 100.00 5  ปวส.2 คอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ 4 - 2 2 4 100.00 5  เกษตรศาสตร์ 47 5 38 4 47 100.00 5  พืชสวน 15 - 2 13 15 100.00 5  การผลิตสัตว์ 9 1 4 4 9 100.00 5  เพาะเลยี งสัตว์น้า 8 - 7 1 8 100.00 5  อุตสาหกรรมเกษตร 2 - 1 1 2 100.00 5  รวมระดบั ปวส. 85 6 54 25 85 100.00 5  รวมทั้งหมด 144 7 65 72 144 100.00 5  จานวนผู้สาเร็จการศกึ ษาท่ีได้งานทา หรอื ประกอบอาชีพอสิ ระ หรือศกึ ษาต่อภายใน 1 ปี = 144 คน จานวนผู้สาเร็จการศึกษา = 144 คน ผลการประเมนิ คุณภาพระดบั สถานศกึ ษา ระดับ  ดมี าก  ดี  พอใช้  ต้องปรบั ปรงุ  ตอ้ งปรบั ปรงุ เร่งดว่ น ค่าคะแนน  5  4  3 2 1 รายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR.63) วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีชมุ พร

2. ผลสัมฤทธใ์ิ นการเรียนวชิ าคอมพิวเตอร์ จานวนผเู้ รยี นท่ีได้ ๓๑ 2.00 ขน้ึ ไป จานวนผู้เรียน เกณฑ์การตัดสิน ท่ลี ง ออก คงเหลอื ทะเบียน กลาง คนั ชั้นปที ่ี สาขาวชิ า/สาขางาน 1 2 จานวน ร้อยละ ค่า 3 = 1-2 (คน) คะแนน ดีมาก 4.51-5.00 ดี 3.51-4.50 พอใช้ 2.51-3.50 ต้องป ัรบป ุรง 1.51-2.50 ต้องปรับป ุรงเร่งด่วน 1.00-1. 50 ปวช.3 คอมพิวเตอรธ์ ุรกจิ 23 8 15 15 100.00 5  34 100.00 5  พืชศาสตร์ 47 16 34 7 100.00 5  9 100.00 5  สตั วศาสตร์ 817 2 100.00 5  6 100.00 5  ช่างเกษตร 19 10 9 9 100.00 5  79 100.00 5  อุตสาหกรรมเกษตร 312 7 100.00 5  76 100.00 5  ผลิตสตั ว์นา้ 17 11 6 14 100.00 5  3 100.00 5  การเกษตร 9-9 1 100.00 5  6 100.00 5  รวมระดบั ปวช. 126 47 79 3 100.00 5  110 100.00 5  ปวส.2 คอมพวิ เตอร์ธุรกจิ 7-7 189 100.00 5  เกษตรศาสตร์ 107 31 76 พชื สวน 15 1 14 การผลิตสตั ว์ 3-3 อตุ สาหกรรมเกษตร 211 เพาะเลียงสตั วน์ า้ 716 เครอ่ื งจักรกลเกษตร 3-3 รวมระดับ ปวส. 150 34 110 รวมทง้ั หมด 276 81 189 ผลการประเมนิ คุณภาพระดบั สถานศึกษา ระดับ  ดมี าก  ดี  พอใช้  ตอ้ งปรบั ปรงุ  ตอ้ งปรบั ปรุงเร่งด่วน 2  1 คา่ คะแนน 5 4 3 รายงานการประเมินตนเอง (SAR.63) วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีชมุ พร

3. ผลสัมฤทธิใ์ นการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ ๓๒ จานวนผเู้ รียน เกณฑ์การตัดสิน ี่ทลงทะเบียน จานวนผเู้ รยี นทีไ่ ด้ ออกกลางคัน 2.00 ขึ้นไป คงเหลือ ชัน้ ปที ี่ สาขาวชิ า/สาขางาน ค่าคะแนน ดีมาก 4.51-5.00 ดี 3.51-3.50 จานวน รอ้ ยละ พอใช้ 2.51 – 3.50 (คน) ต้องปรับป ุรง 1.51-2.50 ต้องป ัรบปรุงเร่งด่วน 1.00-1. 50 1 2 3 = 1-2 ปวช.3 คอมพวิ เตอร์ธุรกิจ 23 8 15 8 53.33 2  3  พืชศาสตร์ 47 16 34 21 61.76 1 1  สัตวศาสตร์ 8 1 7 3 42.86 2  1  ชา่ งกลเกษตร 19 10 9 3 33.33 5  2  อตุ สาหกรรมเกษตร 3 1 2 1 50.00 5  5  ผลติ สัตวน์ า้ 17 11 6 1 16.67 4  -  การเกษตร 9 - 9 9 100.00 5 -  รวมระดบั ปวช. 126 47 82 42 51.22 5 5  ปวส.2 คอมพิวเตอรธ์ ุรกจิ 7 - 7 7 100.00 4  เกษตรศาสตร์ 107 31 76 70 92.11  พชื สวน 15 1 14 10 71.43 การผลติ สัตว์ 3-3 - 00.00 เครอ่ื งจักรกลเกษตร 3 - 3 3 100.00 อุตสาหกรรมเกษตร 2 1 1 - 00.00 เพาะเลียงสัตว์น้า 716 5 83.33 รวมระดบั ปวส. 144 34 110 95 86.36 รวมท้ังหมด 270 81 192 137 71.35 ผลการประเมนิ คุณภาพระดับสถานศึกษา ระดบั  ดีมาก  ดี  พอใช้  ต้องปรบั ปรุง  ตอ้ งปรับปรงุ เรง่ ดว่ น 2  1 ค่าคะแนน 5 4 3 รายงานการประเมินตนเอง (SAR.63) วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยชี มุ พร

4. ผลสมั ฤทธิใ์ นการแข่งขันทักษะ อกท. ๓๓ ที่ ประเดน็ พิจารณา มี ไมม่ ี 1 สถานศึกษา ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนเข้าร่วมการจัดงาน อกท.ระดับ  หนว่ ยไมน่ ้อยกวา่ 80% 2 สถานศึกษา ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนเข้าร่วมการแข่งขันทักษะ ระดับ  ภาค ไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 70% 3 ผู้เรยี นมกี ารเขา้ ร่วมการแข่งขันทักษะ อกท.ระดบั ภาค ประสบส้าเร็จได้เป็น  ตวั แทนไปแข่งระดบั ชาติไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 60% ของจา้ นวนทักษะที่สง่ 4 ผู้เรียนท่ีเข้าร่วมการแข่งขันทักษะ อกท.ระดับชาติ ประสบผลส้าเร็จได้รับ  รางวัลไมต่ า่้ กวา่ ระดับเหรียญทองแดงไม่น้อยกว่าร้อยละ 70% ของจ้านวน ทักษะทเ่ี ขา้ ร่วมแขง่ ขนั 5 ผู้เรียนที่เข้าร่วมการแข่งขันทักษะ อกท.ระดับชาติ ประสบผลส้าเร็จได้รับ  รางวลั ไม่ต้า่ กวา่ ระดับเหรียญทองแดงไม่น้อยกว่าร้อยละ 80% ของจ้านวน ทักษะท่ีเข้ารว่ มแขง่ ขนั รวม 5 ผลการประเมนิ คณุ ภาพระดับสถานศกึ ษา ระดบั  ดีมาก  ดี  พอใช้  ตอ้ งปรับปรุง  ตอ้ งปรับปรงุ เร่งด่วน 2  1 ค่าคะแนน 5 4 3 รายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR.63) วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีชุมพร

๓๔ 5. ระดบั คณุ ภาพการปลูกฝังจติ สานึกในการดารงชีวิตอย่รู ่วมกบั ผู้อน่ื ได้อย่างมีความสุขตาม ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและมสี ุขภาวะทด่ี ี ท่ี ประเด็นพิจารณา จา้ นวนนกั เรยี น จา้ นวนนกั เรียน ร้อยละ นักศกึ ษา ทังหมด นกั ศึกษาท่เี ข้าร่วม 1 กจิ กรรมสรา้ งความเข้าใจและปลูก 394 359 91.11 จติ ส้านึกการดา้ รงชวี ติ อยูร่ ่วมกบั ผ้อู ื่น อย่างมีความสุข 2 การให้ความรแู้ ละความเขา้ ใจปรชั ญาของ 394 394 100.00 เศรษฐกิจพอเพียง 3 ผู้เรียนมปี ญั หาการทะเลาะ 394 0 0 4 ผู้เรยี นมีปัญหายาเสพตดิ 394 0 0 5 ผู้เรยี นมีสว่ นรว่ มในการจัดกฬี า 394 - - หมายเหตุ ***ข้อที่ 5 งดกจิ กรรมการจัดกีฬา เนอื่ งจากสถานการณโ์ รคระบาดโควิด - 19 ผลการประเมินคุณภาพระดับสถานศึกษา ระดับ  ดีมาก  ดี  พอใช้  ต้องปรับปรงุ  ตอ้ งปรับปรุงเร่งด่วน 2  1 ค่าคะแนน 5 4 3 รายงานการประเมินตนเอง (SAR.63) วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีชมุ พร

๓๕ 1) ผลสัมฤทธ์ิ สถานศึกษาจัดการศึกษามผี ลสัมฤทธ์ดิ ้านผู้สา้ เรจ็ การศึกษาได้งานท้าหรือประกอบอาชีพ อิสระ หรือศึกษาต่อภายใน 1 ปี 100% ระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการ หน่วยงาน หรือ สถานศึกษา หรือผู้รับบริการที่มีต่อคุณภาพของผู้ส้าเร็จการศึกษาอยู่ในระดับดีมาก ผลสัมฤทธิ์ในการแข่งขัน ทักษะ อกท.อยู่ในระดับ ดีมาก และดับคุณภาพการปลูกฝังจิตส้านึกในการด้ารงชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมี ความสขุ ตามปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงและมสี ุขภาวะที่ดีอย่ใู นระดบั ดีมาก 2) จดุ เด่น การจัดการศกึ ษาทีเ่ น้นให้ผูเ้ รียนได้เรยี นรจู้ ากการปฏิบตั จิ ริงสง่ ผลใหผ้ ู้สา้ เรจ็ การศึกษา เกดิ ทักษะ และประยุกต์สรา้ งองค์ความร้ไู ด้ สามารถออกไปท้างานและประกอบอาชพี อสิ ระ วเิ คราะห์งานเปน็ ทา้ ให้ผลสัมฤทธิใ์ นการแข่งขนั ทกั ษะ อกท. ประสบผลสา้ เร็จ 3) จดุ ท่ีควรพัฒนา การจัดการเรียนในรายวิชาคอมพิวเตอร์ และวิชาภาษาองั กฤษ การออกแบบการเรียนให้ มรี ะดับความเหมาะสมกับศักยภาพของผเู้ รียน และใหผ้ เู้ รยี นได้เรียนรู้และพฒั นาในสภาพจริง 4) ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการพัฒนา 1. การจดั การเรียนในรายวชิ าคอมพิวเตอร์ควรจดั หรอื ออกแบบบทเรยี นท่ีสามารถ นา้ ไปใชก้ ับวิชาชีพโดยตรง 2. การจดั การเรียนในรายวชิ าภาษาอังกฤษ ออกแบบใหเ้ ป็นการสอ่ื สารในทักษะอาชพี และชวี ติ จรงิ แบบ Informal รายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR.63) วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยชี ุมพร

๓๖ 1.3 ด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ 1. ระดับคุณภาพในการปลูกฝงั จติ สานึก ความภูมใิ จ และรักษาเอกลักษณ์ของชาตไิ ทย ท่ี ประเด็นพจิ ารณา มี ไม่มี 1 สถานศกึ ษามีจานวนโครงการ กจิ กรรม การปลูกจิตสานกึ ความภมู ใิ จ และ  รกั ษาเอกลักษณ์ของชาติไทย ไมน่ อ้ ยกวา่ 5 โครงการ/กจิ กรรม 2 สถานศึกษาดาเนินการใหผ้ ูเ้ รียนทกุ คนเข้าร่วมโครงการ กจิ กรรมการ  ปลกู ฝงั จิตสานึก ความภมู ใิ จ และรกั ษาเอกลักษณ์ของชาติไทย 3 สถานศึกษาดาเนนิ การส่งเสริม สนบั สนุน ให้ผู้เรยี นเปน็ ผนู้ าในการทา  กจิ กรรมการปลูกฝังจติ สานกึ ความภมู ิใจ และรักษาเอกลักษณข์ องชาตไิ ทย 4 สถานศึกษามีการประเมินผลการดาเนินงานตามโครงการกิจกรรมการ  ปลกู ฝังจิตสานึก ความภูมิใจ และรักษาเอกลักษณ์ของชาติไทย โดยครูและ บุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษาและผู้เรียนเพื่อนาผลไปปรับปรุงการบริหาร จดั การ 5 สถานศกึ ษาสง่ เสรมิ สนบั สนุน และกากบั ดแู ลโดยครู และบุคลากรทุกฝ่าย  ใหผ้ ู้เรียนแต่ละคนเขา้ รว่ มกจิ กรรมการปลูกฝงั จติ สานึก ความภูมิใจ และ รักษาเอกลักษณ์ของชาติไทยไม่น้อยกวา่ 1 โครงการ รวม 5 - ผลการประเมนิ คณุ ภาพระดบั สถานศึกษา  พอใช้  ตอ้ งปรบั ปรุง  ตอ้ งปรบั ปรุงเรง่ ดว่ น ระดบั  ดมี าก  ดี 3 2  1 คา่ คะแนน 5  4 รายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR.63) วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีชมุ พร

๓๗ 2. ระดับคณุ ภาพในการปลกู ฝงั จิตสานกึ ในดา้ นการเคารพกฎหมายและเคารพสทิ ธขิ์ องผู้อน่ื ท่ี ประเด็นพิจารณา มี ไม่มี 1 สถานศึกษามจี านวนโครงการ การปลูกฝังจติ สานึกในด้านการเคารพ  กฎหมาย และเคารพสทิ ธขิ์ องผู้อน่ื ไมน่ ้อยกว่า 5 โครงการ/กจิ กรรม 2 สถานศกึ ษาดาเนินการให้ผู้เรียนทุกคนเข้ารว่ มโครงการปลูกฝงั จิตสานึกใน  ดา้ นการเคารพกฎหมาย และเคารพสิทธข์ิ องผู้อ่ืน 3 สถานศกึ ษาดาเนนิ การสง่ เสริม สนับสนนุ ใหผ้ ู้เรียนเป็นผู้นาในการทา  กิจกรรมปลกู จติ สานึกในดา้ นการเคารพกฎหมายและเคารพสิทธ์ิของผู้อื่น 4 สถานศกึ ษามีการประเมินผลการดาเนินโครงการปลูกจติ สานกึ ในดา้ นการ  เคารพสิทธ์ขิ องผู้อ่ืน 5 สถานศกึ ษากากับดูแลให้ผเู้ รยี นเขา้ รว่ มกจิ กรรมโครงการปลูกจติ สานึกใน  ดา้ นการเคารพกฎหมายและเคารพสทิ ธิ์ของผู้อืน่ ไม่น้อยกว่า 5 โครงการ/ กจิ กรรม รวม 5 - ผลการประเมินคณุ ภาพระดับสถานศกึ ษา  พอใช้  ตอ้ งปรบั ปรุง  ตอ้ งปรบั ปรุงเรง่ ดว่ น ระดบั  ดีมาก  ดี 3 2  1 คา่ คะแนน 5  4 รายงานการประเมินตนเอง (SAR.63) วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีชุมพร

๓๘ 3. ระดับคุณภาพในการปลูกฝังจิตสานึกในดา้ นความรับผิดชอบตามบทบาท หน้าท่ีของตนเอง ตามระบบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ ที่ ประเด็นพิจารณา มี ไมม่ ี 1 สถานศกึ ษามจี านวนโครงการปลกู ฝังจิตสานึกในดา้ นความรบั ผิดชอบตาม บทบาท หนา้ ท่ีของตนเองตามระบบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ์ทรง  เปน็ ประมขุ 2 สถานศึกษาดาเนนิ การให้ผ้เู รียนทุกคนเขา้ รว่ มโครงการปลูกฝงั จิตสานกึ ใน  ดา้ นความรบั ผิดชอบตามบทบาท หนา้ ทขี่ องตนเองตามระบบประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ 3 สถานศึกษาดาเนินการส่งเสริม สนบั สนุนให้ผ้เู รียนเป็นผนู้ าในการทา  กจิ กรรมการปลกู ฝงั จิตสานกึ ในดา้ นความรับผดิ ชอบตามบทบาทหน้าทข่ี อง ตนเอง ตามระบบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ 4 สถานศึกษามีการประเมนิ ผลการดาเนินตามโครงการปลูกฝังจติ สานกึ ใน  ดา้ นความรับผิดชอบตามบทบาท หน้าท่ขี องตนเองตามระบบประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข 5 สถานศกึ ษากากบั ดูแลให้ผเู้ รียนเขา้ รว่ มกจิ กรรมโครงการปลูกฝงั จิตสานกึ  ในด้านความรับผิดชอบตามบทบาทหน้าที่ของตนเอง ตามระบบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ ไมน่ ้อยกวา่ 1 กจิ กรรม รวม 5 - ผลการประเมินคุณภาพระดับสถานศึกษา  พอใช้  ตอ้ งปรบั ปรุง  ตอ้ งปรบั ปรุงเรง่ ดว่ น ระดบั  ดมี าก  ดี 3 2  1 คา่ คะแนน 5  4 รายงานการประเมินตนเอง (SAR.63) วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีชมุ พร

๓๙ 4. ระดับคุณภาพในการปลกู ฝงั จติ สานกั ดา้ นการมจี ิตสาธารณะ และมจี ติ สานกึ รกั สิ่งแวดล้อม ท่ี ประเดน็ พจิ ารณา มี ไมม่ ี 1 สถานศึกษามี จานวนโครงการปลกู ฝังจติ สานกึ ดา้ นการมีจิตสาธารณะ และ  มีจติ สานึกรกั สง่ิ แวดลอ้ ม 2 สถานศกึ ษาดาเนนิ การใหผ้ ู้เรียนทุกคนเขา้ รว่ มโครงการปลกู ฝงั จิตสานกึ  ด้านการมีจติ สาธารณะ และมีจติ สานกึ รักส่ิงแวดลอ้ ม 3 สถานศึกษาดาเนินการสง่ เสรมิ สนับสนนุ ใหผ้ ู้เรียนเปน็ ผู้นาในการทา  กิจกรรมการปลกู ฝงั จิตสานึกดา้ นการมจี ิตสาธารณะและมีจิตสานกึ รกั สิง่ แวดลอ้ ม 4 สถานศกึ ษามีการประเมนิ ผลการดาเนนิ ตามโครงการปลูกฝงั จิตสานึกดา้ น  การมีจติ สาธารณะ และมจี ิตสานกึ รักส่ิงแวดล้อม 5 สถานศึกษากากบั ดูแลให้ผ้เู รียนเขา้ รว่ มกจิ กรรมโครงการปลูกฝงั จิตสานกึ  ดา้ นการมจี ิตสาธารณะ และมีจติ สานึกรกั ส่ิงแวดลอ้ ม รวม 5 - ผลการประเมินคณุ ภาพระดบั สถานศกึ ษา  พอใช้  ตอ้ งปรบั ปรุง  ตอ้ งปรบั ปรุงเรง่ ดว่ น ระดบั  ดีมาก  ดี 3 2  1 คา่ คะแนน 5  4 รายงานการประเมินตนเอง (SAR.63) วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีชุมพร

๔๐ 1) ผลสัมฤทธิ์ สถานศกึ ษามีการจัดการศกึ ษาให้ผู้เรยี นปลูกฝังจิตสานึก ความภมู ิใจ และรกั ษา เอกลักษณ์ของชาติไทย การเคารพกฎหมาย และเคารพสทิ ธขิ์ องผูอ้ ่ืน รบั ผิดชอบบทบาทหน้าทีข่ องตนเองตาม ระบบประชาธปิ ไตย จติ สานึกดา้ นการมีจิตสาธารณะ และมีจติ สานกึ รักสิง่ แวดลอ้ ม ในระดบั ดมี าก 2) จุดเด่น สถานศึกษามีการจดั ทาโครงการเพือ่ เสรมิ สร้างคุณธรรม จริยธรรม และคณุ ลกั ษณะที่ พงึ ประสงค์ โดยมีการบูรณาการรว่ มกบั กิจกรรมอ่ืนๆ ของสถานศกึ ษา 3) จดุ ทคี่ วรพัฒนา กิจกรรมทเี่ กี่ยวข้องกบั ประชาธปิ ไตย กฎหมาย สทิ ธิหนา้ ที่ และสถาบัน พระมหากษัตรยิ ก์ ารเชญิ บคุ ลากรท่ีมีความเกย่ี วข้อง และมีความเชยี่ วชาญในด้านนน้ั มาเปน็ วทิ ยากรให้ความรู้ 4) ขอ้ เสนอแนะเพื่อการพฒั นา กิจกรรมที่เกย่ี วข้องกบั พระราชพธิ ีของพระมหากษตั ิย์ การให้นักเรยี น นกั ศึกษาได้เข้า ร่วมพธิ ี หรอื เรียนรใู้ นสถานที่ประกอบพระราชพธิ ใี นสถานทสี่ าคัญเพอ่ื เป็นการปลกู จติ สานกึ ที่ถูกต้องกบั สถาบัน รายงานการประเมินตนเอง (SAR.63) วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีชมุ พร

มาตรฐานท่ี 2 การจดั การอาชีวศึกษา มี ๔๑ 2.1 ดา้ นหลกั สูตรอาชีวศึกษา ไมม่ ี 1. ระดบั คณุ ภาพในการจดั การศกึ ษาทวภิ าคี  ที่ ประเดน็ พจิ ารณา  1 สถานศึกษามผี เู้ รยี นในระบบทวิภาคไี มน่ ้อยกว่าร้อยละ 20 ของจานวน  ผเู้ รยี น  2 จานวนหน่วยงาน สถานประกอบการ ท่ตี กลงความรว่ มมอื ในการจดั การ  - เรยี นการสอนทวิภาคี มีไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 10 ของจานวนผู้เรียนระบบทวิ ภาคี 3 มกี ารจดั ทาหลักสตู รรว่ มกบั หน่วยงาน สถานประกอบการ 4 มกี ารติดตามนิเทศผเู้ รียน 5 มกี ารวดั ผลร่วมกบั หนว่ ยงานสถานประกอบการ รวม ผลการประเมินคุณภาพระดับสถานศึกษา  พอใช้  ตอ้ งปรบั ปรุง  ตอ้ งปรบั ปรุงเรง่ ดว่ น ระดบั  ดีมาก  ดี 3 2  1 คา่ คะแนน 5 4 รายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR.63) วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยชี ุมพร

2. ระดบั คุณภาพในการฝึกงาน หรือฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี มี ๔๒ 1) ผลสัมฤทธิ์ ไมม่ ี ท่ี ประเดน็ พจิ ารณา  1 สถานศกึ ษามีการคัดเลือกสถานประกอบการ หน่วยงานและทาความ  ร่วมมือในการสง่ ผเู้ รยี นเข้าฝกึ งาน  2 มีการปฐมนิเทศผู้เรยี นเข้าฝึกงาน  3 มกี ารนเิ ทศการฝึกงานของผูเ้ รียน  4 มีการวัดผลการฝึกงานของผ้เู รียนร่วมกบั สถานประกอบการ - 5 มกี ารสมั มนาการฝกึ งานของผู้เรียนรว่ มกับสถานประกอบการหนว่ ยงานเพือ่ นาผลไปปรับปรุง รวม ผลการประเมนิ คุณภาพระดบั สถานศกึ ษา  พอใช้  ตอ้ งปรบั ปรุง  ตอ้ งปรบั ปรุงเรง่ ดว่ น ระดบั  ดีมาก  ดี 3 2  1 คา่ คะแนน 5  4 รายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR.63) วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยชี ุมพร

๔๓ 3. ระดบั คณุ ภาพในการใช้และพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะวิชาที่สอดคล้องกับความ ตอ้ งการของสถานศกึ ษา 1) ผลสัมฤทธิ์ สารวจข้อมูล พฒั นาหลกั สูตร นาหลกั สูตร ความต้องการใน ร่วมกบั สถาน ทดลองใช้ ประเมนิ ฐาน ลาดบั แผนกวิชา การพัฒนา ประกอบการ หลกั สตู ร หลักสตู ร สมรรถนะไป หลกั สูตร ใช้ มี ไมม่ ี มี ไม่มี มี ไมม่ ี มี ไม่มี มี ไม่มี 1 พชื ศาสตร์     2 สตั วศาสตร์     3 ประมง     4 อตุ สาหกรรมฯ     5 ช่างกลเกษตร      6 บริหารธรุ กิจ     7 สามัญสัมพนั ธ์      รวม 1 ประเดน็ การพจิ ารณา มี ไม่มี ที่ ประเดน็ พิจารณา  1 สถานศกึ ษามีการสารวจข้อมูลตามความต้องการในการพัฒนาหลักสูตร   2 สถานศกึ ษามีการพฒั นาหลักสตู รร่วมกบั สถานประกอบการและหนว่ ยงาน  ทเ่ี กยี่ วข้อง  3 สถานศกึ ษามีการทดลองใช้หลักสตู ร 3 4 สถานศกึ ษามีการประเมินหลักสูตร 5 มกี ารสัมมนาการฝกึ งานของผู้เรยี นร่วมกบั สถานประกอบการหน่วยงานเพอื่ นาผลไปปรบั ปรุง รวม ผลการประเมินคณุ ภาพระดับสถานศกึ ษา  พอใช้  ตอ้ งปรบั ปรุง  ตอ้ งปรบั ปรุงเรง่ ดว่ น ระดบั  ดมี าก  ดี 3 2  1 คา่ คะแนน 5  4 รายงานการประเมินตนเอง (SAR.63) วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีชมุ พร

๔๔ 1) ผลสัมฤทธิ์ สถานศึกษาบรหิ ารจดั การอาชวี ศึกษาโดยให้ความสาคญั ในดา้ นการฝกึ งานหรือฝึก ประสบการณ์วชิ าชพี มผี ลสมั ฤทธิใ์ นระดบั ดมี าก จากการมีการบรหิ ารจดั การท่ีมีการวางแผนดาเนนิ การตดิ ตาม ผล 2) จุดเด่น สถานศกึ ษามีการคัดเลือกสถานประกอบการ หน่วยงานและทาความร่วมมือในการสง่ ตัว ผู้เรยี นเขา้ ฝกึ งาน ให้ความสาคญั กับสถานประกอบการเป็นผูป้ ระเมิน และวัดผลการฝึกงานของผเู้ รยี น และมี การสมั มนาการฝกึ งานของผ้เู รียนร่วมกบั สถานประกอบการเพ่ือนาผลไปปรบั ปรุงในปีถดั ไป 3) จุดท่ีควรพัฒนา สถานศึกษาควรพัฒนาหลักสตู รรว่ มกบั สถานประกอบการเพอื่ สรา้ งและพฒั นาหลกั สตู ร ฐานสมรรถนะวิชาทีส่ อดคล้องกับการสาเรจ็ การศึกษาออกไปสู่โลกแหง่ อาชีพท่ีแท้จรงิ 4) ข้อเสนอแนะเพ่ือการพฒั นา การจัดการศกึ ษาอาชีวเกษตรควรจะมีการยืดหย่นุ ของชว่ งเวลาในการฝึกงานหรือ ประสบการณ์วิชาชพี ใหส้ อดคลอ้ งและต่อเน่ืองครบวงจรการผลิตในธุรกจิ การเกษตร รายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR.63) วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีชมุ พร

๔๕ 2.2 ด้านการจัดการเรยี นการสอนอาชวี ศกึ ษา 1. ระดบั คุณภาพการจดั การเรียนการสอน อตั ราส่วน จานวน ครูท่ีได้รับการ สาขา จานวนผูเ้ รยี น จานวนครู ผเู้ รยี นตอ่ ครผู สู้ อนตาม ฝึกอบรม/ฝึก สาขาท่จี บ ประสบการณ์/ศกึ ษาดู ครู 1 คน หรือสัมพันธ์ งานด้านวชิ าการไม่ กับรายวิชาที่ นอ้ ยกวา่ 10 ช่ัวโมง พืชศาสตร์ 279 6 46.50 จานวน รอ้ ยละ สัตวศาสตร์ 36 3 12.00 สอน 6 100 ประมง 35 4 8.75 6 3 100 อตุ สาหกรรมเกษตร 15 3 5.00 3 4 100 ช่างกลเกษตร 58 4 14.50 4 3 100 คอมพิวเตอร์ธุรกจิ 53 9 5.89 3 4 100 สามัญสัมพนั ธ์ 517 6 86.17 4 9 100 35 9 6 100 รวม 6 35 100 35 ผลการประเมินคณุ ภาพระดับสถานศึกษา  พอใช้  ตอ้ งปรบั ปรุง  ตอ้ งปรบั ปรุงเรง่ ดว่ น ระดบั  ดมี าก  ดี 3 2  1 คา่ คะแนน 5  4 รายงานการประเมินตนเอง (SAR.63) วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีชุมพร

๔๖ 2. ระดบั คุณภาพของครผู ้สู อน 1) ผลสัมฤทธิ์ จานวนรายวชิ า การใช้เทคนิค แผนกวชิ า สอน สอนตามแผนฯ มี การใช้สื่อและ วิธีการสอนที่ การนิเทศ ทง้ั หมด บนั ทกึ หลังสอน เทคโนโลยที ี่ หลากหลาย เหมาะสม เหมาะสมกับ มี ไมม่ ี  ผเู้ รยี น   จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ   พชื ศาสตร์ 6 6 100 6 100 6 100   สตั วศาสตร์ 3 3 100 3 100 3 100 ประมง 4 4 100 4 100 4 100 อุตสาหกรรมเกษตร 3 3 100 3 100 3 100 ชา่ งกลเกษตร 3 3 100 3 100 3 100 คอมพิวเตอรธ์ ุรกจิ 9 9 100 9 100 9 100 สามัญสัมพันธ์ 6 6 100 6 100 6 100 ผลการประเมินคณุ ภาพระดับสถานศึกษา  พอใช้  ตอ้ งปรบั ปรุง  ตอ้ งปรบั ปรุงเรง่ ดว่ น ระดบั  ดมี าก  ดี 3 2  1 คา่ คะแนน 5  4 รายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR.63) วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยชี ุมพร

๔๗ 1) ผลสัมฤทธ์ิ สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนอาชีวเกษตรโดยมีครูท่ีสอนจบตรงสาขาวิชา หรือ สัมพันธ์กับรายวิชาที่สอน 100% มีการสอนตามแผนการสอน บันทึกหลังสอน มีการใช้สื่อ และเทคนิคการ สอนทีห่ ลากหลายเหมาะสมกบั ผเู้ รียน 100% 2) จดุ เดน่ มกี ารอบรม ฝึกประสบการณ์ ศกึ ษาดงู านของครทู กุ คนโดยไม่น้อยกว่า 10 ชั่วโมง และมี การติดตามนิเทศการสอนท้งั ท่ีเปน็ รูปแบบและไม่เปน็ รูปแบบ 3) จุดทีค่ วรพัฒนา การสร้างแรงจูงใจให้ครูพัฒนาตนเองโดยการทาผลงานทางวิชาการหรือศึกษาต่อใน ระดับที่สงู ข้นึ และเป็นประโยชนต์ อ่ การจดั การศกึ ษาอาชวี ศกึ ษา 4) ข้อเสนอแนะเพอ่ื การพฒั นา การแสวงหาทุนการศึกษาเพื่อพัฒนาครู และบุคลากรจากหน่วยงานอ่ืน นอกเหนือจาก สอศ. รายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR.63) วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีชุมพร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook