Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัยในชั้นเรียน 2/2563

วิจัยในชั้นเรียน 2/2563

Published by Chanthawan Suwanhitathorn, 2021-07-05 14:56:52

Description: การพัฒนาทักษะในการแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/4 โดยใช้กลวิธี ADSAC

Search

Read the Text Version

สํา ัน ก ง า น เ ข ต พื น ีท ก า ร ึศ ก ษ า มั ธ ย ม ึศ ก ษ า จั น ท ุบ รี ต ร า ด วิ จั ย ใ น ชั น เ รี ย น สํา ัน ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร ึศ ก ษ า ขั น พื น ฐ า น ก ร ะ ท ร ว ง ึศ ก ษ า ธิ ก า ร 2/2563 ก ่ลุ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น ูร้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี ก า ร พั ฒ น า ทั ก ษ ะ ใ น ก า ร แ ก้ โ จ ท ย์ ป ญ ห า ฟ สิ ก ส์ โ ร ง เ รี ย น ค ล อ ง ใ ห ญ่ วิ ท ย า ค ม จั ง ห วั ด ต ร า ด แ ล ะ ผ ล สั ม ฤ ท ธิ ท า ง ก า ร เ รี ย น เ รื อ ง ไ ฟ ฟ า แ ล ะ ส น า ม แ ม่ เ ห ล็ ก ข อ ง นั ก เ รี ย น ชั น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ป ที 5 / 4 โ ด ย ใ ช้ ก ล วิ ธี A D S A C ผู้ วิ จั ย น า ง ส า ว ฉั น ท ว ร ร ณ สุ ว ร ร ณ หิ ต า ท ร

ก ชอื่ งานวิจัย การพัฒนาทกั ษะในการแก้โจทยป์ ญั หาฟิสิกสแ์ ละผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น เร่อื ง ไฟฟา้ และ ช่ือผู้วิจยั สนามแมเ่ หล็ก ของนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 5/4 โดยใช้กลวิธี ADSAC นางสาวฉันทวรรณ สวุ รรณหติ าทร บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อพัฒนาทักษะในการแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์ เร่ือง ไฟฟ้าและ สนามแม่เหล็ก ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5/4 โดยใช้กลวิธี ADSAC เปรียบเทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 70 2) เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5/4 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน 3) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เรื่อง ไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5/4 เปรียบเทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 70 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 5/4 ตอ่ การแก้โจทย์ปัญหาฟสิ กิ ส์ เรื่อง ไฟฟา้ และสนามแม่เหล็ก โดยใช้กลวิธี ADSAC ประชากรในการวิจัยคร้ังนี้ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์- คณิตศาสตร์ โรงเรียนคลองใหญ่วิทยาคม อำเภอคลองใหญ่ จังหวัดตราด ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 3 ห้องเรียน รวม 79 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5/4 แผนการเรียนวทิ ยาศาสตร์-คณติ ศาสตร์ โรงเรียนคลองใหญ่วิทยาคม อำเภอคลองใหญ่ จังหวัดตราด ภาคเรียน ท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 17 คน ซ่ึงได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยกลุ่ม ตัวอย่างได้รับการจดั การเรยี นรู้ เรอื่ ง ไฟฟ้าและสนามแมเ่ หล็ก โดยใช้กลวธิ ี ADSAC เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังนี้ ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ท่ีใช้การแก้โจทย์ปัญหาด้วยกลวิธี ADSAC เรอื่ ง ไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก 2) แบบทดสอบวัดทักษะในการแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์ เรื่อง ไฟฟ้าและ สนามแม่เหล็ก จำนวน 3 ฉบับ ฉบับละ 5 ข้อ 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่ือง ไฟฟ้าและ สนามแม่เหล็ก จำนวน 20 ข้อ 4) แบบวัดความพึงพอใจของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5/4 ต่อการแก้โจทย์ ปญั หาฟิสกิ ส์ เรือ่ ง ไฟฟ้าและสนามแม่เหลก็ โดยใชก้ ลวธิ ี ADSAC ผลการวิจยั พบว่า 1) ทักษะในการแก้โจทย์ปัญหาฟสิ ิกส์ของนักเรยี นที่ได้รับการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ในการแก้โจทย์ปัญหาด้วยกลวิธี ADSAC หลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 2) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของ นักเรียนท่ีได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในการแก้โจทย์ปัญหาด้วยกลวิธี ADSAC หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน 3) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนท่ีได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในการแก้โจทย์ปัญหาด้วยกลวิธี ADSAC หลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 4) ความพึงพอใจของนักเรียนต่อการแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์ เรื่อง ไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก มีระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับ มาก ซ่ึงมีค่าเฉลี่ย 3.75 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน 1.00

ข กติ ตกิ รรมประกาศ รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเล่มน้ีสำเร็จลงได้ด้วยความร่วมมือของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5/4 ขอขอบคุณคณะครโู รงเรยี นคลองใหญ่วทิ ยาคม ทีใ่ หก้ ำลังใจจนทำการวิจัยครั้งน้สี ำเร็จ ผู้วิจัยขออุทิศความสำเร็จของงานวิจัยฉบับนี้แด่ครูอาจารย์ทุกท่านที่ประสิทธิ์ประสาทความรู้ และ บดิ า มารดาท่ไี ด้ใหช้ วี ิต สตปิ ญั ญา และอบรมสั่งสอนให้ลูกประสบความสำเรจ็ สมความต้งั ใจทกุ ประการ ฉนั ทวรรณ สุวรรณหิตาทร เมษายน 2564

สารบัญ ค เรอ่ื ง หน้า ก บทคัดย่อ ข กิตตกิ รรมประกาศ ค สารบญั จ สารบัญตาราง 1 บทท่ี 1 บทนำ 1 4 ความเปน็ มาและความสำคญั ของปัญหา 4 วัตถปุ ระสงค์ของการวิจัย 5 ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจยั 6 ขอบเขตของการวจิ ัย 6 กรอบแนวคิดในการวจิ ยั 8 นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ 9 บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเกยี่ วข้อง หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2560) 12 กล่มุ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนคลองใหญ่วทิ ยาคม กลุม่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ 14 และเทคโนโลยี 23 ความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหา 28 รูปแบบการแกโ้ จทย์ปัญหาตามเทคนิคของโพลยา 39 ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน 42 งานวจิ ัยทเี่ ก่ียวข้อง 42 บทท่ี 3 วิธีการดำเนนิ งาน 42 ประชากรและกล่มุ ตัวอยา่ ง 43 เครอื่ งมือท่ีใช้ในการวิจยั 43 วิธดี ำเนนิ การทดลองและเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 44 การวิเคราะห์ข้อมูล สถิติท่ีใชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มูล

ง สารบัญ (ต่อ) เรอื่ ง หน้า บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล 45 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู เพื่อเปรยี บเทยี บทักษะในการแกโ้ จทย์ปัญหาฟสิ กิ สข์ องนักเรยี น 45 ทไี่ ด้รบั การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ในการแกโ้ จทย์ปัญหาดว้ ยกลวิธี ADSAC หลังเรยี น กับเกณฑร์ อ้ ยละ 70 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเพ่ือเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นฟิสกิ ส์ของนกั เรียน ก่อนเรียน 46 และหลงั เรยี น การวิเคราะห์ขอ้ มูลเพ่ือเปรยี บเทียบผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนฟสิ กิ ส์ของนกั เรยี น หลังเรียน 46 กับเกณฑร์ ้อยละ 70 การศกึ ษาความพึงพอใจของนักเรียนต่อการแก้โจทยป์ ัญหาฟสิ ิกส์ เรื่อง ไฟฟ้าและสนามแม่เหลก็ 47 โดยใชก้ ลวธิ ี ADSAC บทที่ 5 สรปุ ผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 49 สรปุ ผลการวจิ ยั 50 อภิปรายผลการวจิ ยั 50 ข้อเสนอแนะในการทำวจิ ัย 51 บรรณานกุ รม 53 ภาคผนวก 55 ภาคผนวก ก 56 ภาคผนวก ข 59

จ สารบญั ตาราง ตารางท่ี หน้า ตารางที่ 4.1 ผลการเปรยี บเทียบทักษะในการแกโ้ จทย์ปัญหาฟิสกิ สข์ องนกั เรยี นทีไ่ ดร้ บั การจัดกจิ กรรม 45 การเรียนรใู้ นการแกโ้ จทยป์ ัญหาดว้ ยกลวิธี ADSAC หลังเรียนกบั เกณฑ์ร้อยละ 70 46 46 ตารางที่ 4.2 ผลการเปรยี บเทียบผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นฟิสกิ สข์ องนักเรยี น ก่อนเรียนและหลังเรียน 47 ตารางที่ 4.3 ผลการเปรียบเทียบผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนฟิสิกส์ของนักเรยี น หลงั เรียนกับเกณฑ์ 57 58 รอ้ ยละ 70 ตารางที่ 4.4 ผลการศึกษาความพงึ พอใจของนักเรียนต่อการแก้โจทยป์ ญั หาฟิสิกส์ เรอื่ ง ไฟฟา้ และ สนามแม่เหล็ก โดยใชก้ ลวธิ ี ADSAC ตาราง ก-1 คะแนนทักษะในการแกโ้ จทย์ปัญหาฟสิ ิกสข์ องนักเรยี นทไ่ี ด้รบั การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ในการแกโ้ จทยป์ ญั หาดว้ ยกลวิธี ADSAC ตาราง ก-2 คะแนนผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนฟสิ ิกสข์ องนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน

บทที่ 1 บทนำ ความเปน็ มาและความสำคัญของปัญหา วิทยาศาสตร์มีบทบาทสำคัญย่งิ ในสงั คมโลกปัจจุบันและอนาคต เพราะวทิ ยาศาสตร์เก่ียวขอ้ งกับทุกคนทั้ง ในชีวิตประจำวันและการงานอาชีพต่าง ๆ ตลอดจนเทคโนโลยี เคร่ืองมือ เคร่ืองใช้และผลผลิตต่าง ๆ ที่มนุษย์ใช้ เพ่ืออำนวยความสะดวกในชีวิตและการทำงาน เหล่านี้ล้วนเป็นผลของความรู้วิทยาศาสตร์ผสมผสานกับความคิด สร้างสรรค์และศาสตร์อ่ืน ๆ วิทยาศาสตร์ช่วยให้มนุษย์พัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทักษะสำคัญในการค้นหาความรู้ มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551, หน้า 92) โดยในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้ให้ ความสำคัญของการแก้ปัญหา โดยกำหนดให้เป็นสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน เพราะความสามารถในการแกป้ ัญหา เป็นความสามารถในการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่จะเผชิญได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ซ่ึงตั้งอยู่บน พื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เพื่อให้เข้าใจความสัมพันธ์และการเปล่ียนแปลงของ เหตุการณ์ ต่าง ๆ ในสังคม แสดงหาความรู้ ประยุกต์ ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญ หา (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551, หน้า 6) นอกจากนี้การแก้ปัญหายังช่วยให้นักเรียนมีแนวทางการคิดท่ีหลากหลาย มนี สิ ัยกระตอื รือรน้ ไมย่ ่อท้อและมคี วามม่ันใจในการแก้ปัญหาท่ีเผชญิ อย่ทู ้ังภายในและกายนอกห้องเรียน ตลอดจน เป็นทักษะพ้ืนฐานที่นักเรียนสามารถนำติดตัวไปใช้ในชีวิตประจำวันได้นานตลอดชีวิต (สถาบันส่งเสริมการสอน วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี, 2551, หนา้ 6) ความสามารถในการแก้ปัญหาท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอน โดยปกติจะพบได้ในวิชา คณิตศาสตร์ ส่วนในรายวิชาวิทยาศาสตร์ก็ปรากฏทักษะน้ีในรายวิชาฟิสิกส์ ซึ่งเป็นศาสตร์อีกสาขาหน่ึงของ วทิ ยาศาสตร์ทีม่ ุ่งใหผ้ ู้เรียนได้ศึกษากฎต่าง ๆ เพ่ือนำมาอธิบายปรากฎการณ์ในธรรมชาติ (สถาบันส่งเสริมการสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2553, หนำ 11) เพ่ือให้สามารถนำไปใช้ในการแก้ปัญหาและการประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจำวันได้ ซ่ึงปัญหาในรายวิชาฟิสิกส์ก็จะเป็นลักษณะโจทย์ปัญหาท่ีเป็นสถานการณ์ท่ีเก่ียวข้อง ในชวี ิตประจำวนั จากขา้ งตน้ จะเหน็ ได้ว่าการแกป้ ญั หาเป็นส่งิ ทีส่ ำคัญและจำเป็นท่ีผู้เรยี นทุกคนจะต้องเรียนรู้ เข้าใจ สมารถ คิดเป็น แก้ปัญหาได้ เพื่อท่ีจะได้นำกระบวนการน้ีไปใช้ในการแก้ปัญหาในการสอนนักเรียนให้รู้จักแก้ปัญหา จะช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักคิดอย่างมเี หตผุ ล มขี ้ันตอนมีระเบียบแบบแผนและรู้จักตดั สนิ ใจได้อย่างถูกต้อง (สิรพิ ร ทิพยัดง, 2544, หนำ 4) ดังนั้นจุดมุ่งหมายหน่ึงในการเรียนวิชาฟิสิกส์ ก็คือ นักเรียนจะต้องมีความสามารถในการ

2 แก้ปญั หาทางฟิสิกส์ ซ่ึงปัญหาที่กล่าวถงึ นี้มีลักษณะเป็นโจทย์ปัญหาที่เปีนสถานการณ์ต่าง ๆ ที่ครูเป็นผู้เตรียมให้มี ความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพกับนักเรียน และต้องดำเนินกิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้องและ เหมาะสมกับเนื้อหาและความสามารถของนักเรยี นด้วย การเรยี นการสอนวิชาฟิสิกส์ พบวา่ เม่ือครูให้นกั เรียนแก้โจทยป์ ัญหาฟิสิกส์ นักเรยี นสว่ นใหญจ่ ะวเิ คราะห์ โจทย์ไม่ได้ ไม่รู้ว่าข้อมูลท่ีโจทย์ให้มากับสิ่งที่โจทย์ต้องการถามมีความสัมพันธ์หรือเชื่อมโยงกันอย่างไร หรือเม่ือได้ ตัวแปรมาแล้วนักเรียนจะพยายามหาสูตรแล้วแทนค่าตัวแปรจากท่ีโจทย์ให้มาทันที แต่ในบางครั้งการทำโจทย์ ฟิสิกส์ สถานการณ์หรือโจทย์ปัญหาที่ให้มาก็ไม่ได้ให้ตัวแปรที่จะนำไปใช้ในการแทนค่าได้เลย ต้องหาจากข้อมูลท่ี โจทย์ให้มาอีกรอบก่อน นอกจากนี้ด้วยเนื้อหาการเรียนเป็นจำนวนมาก ทำให้ครูส่วนใหญ่กังวลกับเวลาว่าจะสอน ไม่ทัน ทำให้ครูเลือกท่ีจะใช้วิธีการสอนแบบบรรยายแทนวิธีการสอนที่จะให้นักเรียนลงมือทำกิจกรรมเอง ซึ่งทำให้ นักเรียนขาดความสนใจอยากจะเรียน จึงส่งผลใหผ้ ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของนักเรียนไม่ดีเท่าทคี่ วร ผลการวิเคราะห์สาหตุของปัญหาในการแก้โจทย์ปัญหาและผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนฟสิ ิกสข์ องนักเรยี นจาก แบบฝกึ ทัดท่ีนักเรยี นเคยทำในห้องเรยี นก็พบว่าในส่วนของการแก้โจทย์ปญั หาฟิสกิ ส์ของนกั เรยี นนัน้ นกั เรียนยังไม่ มีข้ันตอนในการคิดแก้โจทย์ปัญหาว่าควรจะเร่ิมจากตรงไหนก่อน และยังเช่ือมโยงความสัมพันธ์ของตัวแปรต่าง ๆ กับหลักการทางฟิสิกส์ไม่ค่อยได้ นอกจากน้ีในการจัดการเรียนการสอนของครูเองยังเน้นวิธีการสอนแบบบรรยาย ซ่ึงทำให้นักเรียนเกิดความเบ่ือหน่ายท่ีจะเรียน สอดคล้องกับแนวความคิดของอรนุช ลิมตศิริ (2556, หน้า 174) ทกี่ ล่าวว่าการเรียนการสอนยังมุ่งเน้นการถ่ายทอดเนื้อหาวิชามากกว่าการเรียนรู้จากสภาพท่ีเป็นจริง ขาดการเน้น ให้นักเรียนได้พัฒนาการคิด วิเคราะห์ วิจารณ์ สังเคราะห์ ประเมินค่า การแสดงความคิดเห็น และการแสวงหา ความรู้ด้วยตนเอง และครคู วรส่งเสริมให้เด็กแสวงหาความรู้และเรยี นรูอ้ ยู่ตลอดวลา และศศิธร แม้นสงวน (2ร56, หน้า169) ยังได้ไห้ข้อเสนอแนะว่า ครูควรจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีส่งเสริมให้นักเรียนได้ฝึกฝนการแก้ปัญหาอย่าง สม่ำเสมอ เพื่อท่ีจะช่วยให้นักเรียนมีความสามารณเผชิญกับสถานการณ์ของปัญหาที่แตกต่างกันออกไป โดยผูส้ อน ควรใช้เทคนิคการเรียนรู้และวิธีการสอนที่มีความหลากหลาย ดังนั้นเพ่ือแก้ปัญหาในการจัดการเรียนการสอน ฟสิ ิกส์ ครคู วรสอดแทรกกระบวนการแกป้ ัญหาเขา้ ไปส่กู ระบวนการเรยี นการสอนทุกคร้ัง กระบวนการแก้ปัญหานั้นมีหลากหลายรูปแบบและหลากหลายข้ันตอน แต่กระบวนการที่ยอมรับและ นำมาใช้กันอย่างแพร่หลาย คือ กระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา (Polya, 1957, pp.16-17) ซ่ึงประกอบไปด้วย 4 ข้ันตอนคอื 1) ข้ันทำความเข้าใจปัญหา เป็นข้ันการวิเคราะห์เพ่ือทำความเข้าใจปัญหา โดยระบุว่าข้อมูลมีอะไรบ้าง และส่ิงทต่ี ้องการทราบคืออะไร

3 2) ข้ันวางแผนแก้ปัญหา ขั้นนี้เป็นขั้นการเช่ือมโยงความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลในปัญหากับส่ิงที่ต้องการ ทราบ 3 ขน้ั ปฏิบัติตามแผน ข้นั น้ีเป็นขนั้ ท่ีผู้เรียนลงมอื ปฏบิ ัติตามแผนทีไ่ ดว้ างเอาไว้ 4) ข้ันตรวจสอบ ขั้นนี้เป็นการตรวจสอบผลลัพธ์ โดยการมองย้อนกลับไปยังคำตอบที่ได้มาว่า มขี อ้ ผิดพลาดตรงไหนหรือไม่ โดยขั้นตอนการแก้ปัญหาท้งั 4 ข้ันตอนของโพลยาจะเป็นรปู แบบทีม่ ีความตอ่ เนื่องและเก่ียวเนอ่ื งกันในทุก ขั้นตอน ซึง่ จะช่วยให้ผู้เรียนได้ฝกึ การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ มกี ารวางแผนและกำกับการทำงานไดอ้ ย่างต่อเนือ่ ง (อัมพร ม้าคนอง, 2553, หน้า 41) ดังเห็นได้จากผลการวิจัยของไพริน ขุนเพชร (2554, หน้า 60) พบว่านักเรียน ท่ไี ดร้ ับการสอนตามวิธีการของโพลยา มีความสามารถในการแก้โจทยป์ ัญหาคณติ ศาสตร์หลงั เรียนสูงกว่ากอ่ นเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 และสอดคล้องกับผลการวิจัยของอธิชา อินทอง (2557, หน้า 106) พบว่า นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหาความรู้ 7 ข้ัน ร่วมกับเทคนิคของโพลยา มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนคณิตศาสตร์และความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน หลังเรียนสูงกว่า กอ่ นเรียนอยา่ งมนี ัยสำคญั ทางสถติ ทิ ่ีระดับ .01 และยงั สอดคล้องกบั ผลการวจิ ัยของปรียาภรณ์ เกลาเกลี้ยง (2556, หน้า 70) พบว่านักเรียนที่ได้รับการสอนโดยใช้ชุดการสอนที่เน้นยุทธวิธีการแก้ปัญหาตามรูปแบบการแก้โจทย์ ปัญหาของโพลยา มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรห์ ลังเรียนสูงกวา่ ก่อนเรยี นอย่างมนี ัยสำคัญทางสถิติท่ี ระดับ .01 รวมไปถึงผลการวิจัยของวิวรรัตน์ สีมา (2555, หน้า 167) พบว่านักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรแู้ บบ รว่ มมือกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนเป็นรายบุคคลรว่ มกับกระบวนการแก้ปัญหาของโพลยา มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการแก้โจทยป์ ญั หาคณิตศาสตรห์ ลังเรยี นสงู กวา่ ก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่ง แสดงให้เห็นว่ากระบวนการแก้ปญั หาของโพลยาสามารถพฒั นาความสามารถในการแก้โจทย์ปญั หาและผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนไดเ้ ปน็ อยา่ งดี จากที่กล่าวมาในข้างต้น เพื่อให้นักเรียนเกิดทักษะในการแก้โจทย์ปัญหา ได้ฝึกการคิดวิเคราะห์ คิดอย่าง เปน็ ระบบ เกดิ การแก้ปัญหาอยา่ งเปน็ ลำดับข้ันตอน ผวู้ ิจยั จงึ นำเทคนิคการแกป้ ญั หาของโพลยามาปรบั ประยุกต์ใช้ ให้เหมาะสมกบั บรบิ ท เกิดเป็นกลวิธีการแกป้ ญั หาแบบ ADSAC ประกอบไปดว้ ย 5 ขั้นตอน คือ 1) Analyze the problem. : A คือ การวิเคราะห์เพ่ือทำความเข้าใจโจทย์ปัญหา โดยเป็นการระบุสิ่งท่ี โจทยใ์ ห้มาและส่งิ ท่โี จทยต์ อ้ งการถาม 2) Draw a picture. : D คือ การสรา้ งภาพจากข้อมูล ตามรายละเอยี ดท่โี จทยไ์ ดร้ ะบุมา 3) Select the equation. : S คือ การเลอื กใช้สมการ เป็นขัน้ การเชื่อมโยงความสัมพนั ธร์ ะหว่างสิ่งท่รี ะบุ ในโจทย์ปัญหากบั สิง่ ทต่ี อ้ งการทราบ

4 4) Answer the problem. : A คือ การหาคำตอบ เป็นข้ันตอนการแก้โจทย์ปัญหาตามท่ีได้วางแผนไว้ เพ่อื ให้ได้คำตอบทถี่ ูกตอ้ งครบถว้ น 5) Check answer. : C คือ การตรวจสอบคำตอบ เป็นการตรวจสอบย้อนกลับคำตอบที่ได้มาว่ามี ข้อผดิ พลาดหรอื ไม่ โดยผู้วิจัยได้นำกลวิธีการแก้ปัญหานี้ มาใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอน เร่ือง ไฟฟ้าและ สนามแม่เหล็ก ให้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/4 เพื่อพัฒนาทักษะในการแก้โจทย์ปัญหาและผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี นวิชาฟิสิกส์ วตั ถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อพัฒนาทักษะในการแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์ เร่ือง ไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 5/4 โดยใช้กลวธิ ี ADSAC เปรยี บเทยี บกบั เกณฑ์รอ้ ยละ 70 2. เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เรื่อง ไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก ของนักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 5/4 หลังเรียนสงู กว่าก่อนเรียน 3. เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรอื่ ง ไฟฟ้าและสนามแม่เหลก็ ของนักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 5/4 เปรียบเทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 70 4. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5/4 ต่อการแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์ เรื่อง ไฟฟ้า และสนามแมเ่ หล็ก โดยใช้กลวธิ ี ADSAC ประโยชนท์ ไี่ ดร้ ับจากการวิจัย 1. ได้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์ เรื่อง ไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก โดยใช้การแก้โจทย์ปัญหา ด้วยกลวิธี ADSAC ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 อย่างเป็นลำดับข้ันตอน ซ่ึงสามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการ พัฒนาการเรยี นการสอนวชิ าฟิสิกส์ในระดับอ่นื ๆ 2. เป็นแนวทางสำหรับครผู ู้สอนรายวิชาวทิ ยาศาสตร์และผู้สนใจนำการจัดกิจกรรมการเรียนรโู้ ดยใชก้ ลวิธี ADSAC ไปประยุกตใ์ ชใ้ นการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 3. ผเู้ รียนสามารถนำวธิ กี ารคิดอยา่ งเป็นลำดบั ขนั้ ตอนไปประยุกตใ์ ชใ้ นการแกป้ ญั หาในชีวิตประจำวันได้

5 ขอบเขตของการวิจยั ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ งที่ใชใ้ นการวจิ ัย 1. ประชากรท่ีใช้ในการวิจยั คร้งั นี้ ได้แก่ นักเรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 แผนการเรยี นวิทยาศาสตร์- คณิตศาสตร์ โรงเรียนคลองใหญ่วทิ ยาคม อำเภอคลองใหญ่ จังหวดั ตราด ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 3 ห้องเรยี น รวม 79 คน 2. กลมุ่ ตัวอย่างที่ใชใ้ นการวจิ ัยครงั้ น้ี ไดแ้ ก่ นกั เรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5/4 แผนการเรียนวทิ ยาศาสตร์- คณติ ศาสตร์ โรงเรยี นคลองใหญว่ ิทยาคม อำเภอคลองใหญ่ จังหวดั ตราด ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 17 คน ซง่ึ ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยกลุ่มตัวอยา่ งได้รบั การจัดการเรียนรู้ เร่ือง ไฟฟา้ และสนามแม่เหลก็ โดยใช้กลวิธี ADSAC ตวั แปรทศ่ี กึ ษา 1. ตัวแปรตน้ ได้แก่ การจัดการเรียนร้โู ดยใชก้ ลวิธี ADSAC 2. ตัวแปรตาม ไดแ้ ก่ 2.1 ทักษะการแกโ้ จทย์ปญั หาฟสิ กิ สข์ องนกั เรียน เร่ือง ไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก 2.2 ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของนักเรียน เรื่อง ไฟฟ้าและสนามแม่เหลก็ 2.3 ความพึงพอใจของนักเรียนตอ่ การจดั การเรยี นรู้โดยใช้กลวธิ ี ADSAC ขอบเขตของเน้ือหา เน้อื หาที่ใชใ้ นการวิจัยคร้ังนีค้ ือ เร่ือง ไฟฟา้ และสนามแม่เหล็ก รายวชิ า ฟสิ ิกสไ์ ฟฟ้า (ว32207) ช้ัน มธั ยมศึกษา ปีท่ี 5 ตามหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นคลองใหญ่วิทยาคม ระยะเวลาที่ใชใ้ นการศึกษา ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563 ใชเ้ วลาในการทดลอง 7 ชว่ั โมง โดยผูว้ ิจยั เปน็ ผู้ดำเนินการจดั การเรียนรู้ และเกบ็ รวบรวมข้อมูล

กรอบแนวคดิ ในการวิจัย 6 ตัวแปรตน้ ตวั แปรตาม การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนฟสิ ิกส์ 1. ทกั ษะการแก้โจทยป์ ัญหาฟิสิกส์ของนักเรียน เรื่อง ไฟฟ้าและสนามแมเ่ หล็ก โดยใช้ เรอื่ ง ไฟฟา้ และสนามแม่เหล็ก กลวธิ ี ADSAC 2. ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของนกั เรยี น เรือ่ ง ไฟฟา้ และสนามแม่เหล็ก 3. ความพึงพอใจของนกั เรียนตอ่ การจดั การเรียนรู้ โดยใชก้ ลวิธี ADSAC นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ 1. การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนโดยใชก้ ลวิธี ADSAC หมายถึง การจดั การเรยี นการสอนให้นกั เรยี น สามารถแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์ ซ่ึงผู้วิจัยพัฒนามาจากเทคนิคการแก้ปัญหาของโพลยา โดยมีลำดับข้ันตอนในการ แกป้ ญั หา 5 ขั้นตอน ดงั น้ี 1) Analyze the problem. : A คือ การวิเคราะห์เพ่ือทำความเข้าใจโจทย์ปัญหา โดยเป็นการระบุสิ่งที่ โจทย์ใหม้ าและส่ิงทโี่ จทย์ต้องการถาม 2) Draw a picture. : D คอื การสรา้ งภาพจากขอ้ มลู ตามรายละเอียดท่โี จทย์ไดร้ ะบมุ า 3) Select the equation. : S คือ การเลอื กใช้สมการ เป็นขน้ั การเชอื่ มโยงความสัมพันธร์ ะหว่างส่งิ ท่ีระบุ ในโจทยป์ ัญหากับส่งิ ท่ตี ้องการทราบ 4) Answer the problem. : A คือ การหาคำตอบ เป็นข้ันตอนการแก้โจทย์ปัญหาตามท่ีได้วางแผนไว้ เพือ่ ให้ได้คำตอบทถี่ กู ต้องครบถ้วน 5) Check answer. : C คือ การตรวจสอบคำตอบ เป็นการตรวจสอบย้อนกลับคำตอบที่ได้มาว่ามี ขอ้ ผดิ พลาดหรอื ไม่ 2. โจทย์ปัญหา หมายถึง สถานการณ์ทางฟิสิกส์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเพ่ือใช้วัดความรู้ ความเข้าใจ รวมถึง ทกั ษะการคำนวณทีเ่ กย่ี วขอ้ งกับเนื้อหา เรอ่ื ง ไฟฟ้าและสนามแมเ่ หลก็

7 3. ทักษะการแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์ หมายถึง ทักษะในการใช้ความรู้ การคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ กระบวนการตา่ ง ๆ และประสบการณเ์ ดิม เพ่อื หาคำตอบของปัญหาทางฟสิ ิกส์ 4. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนฟิสิกส์ หมายถึง ความสามารถของนักเรียนในการเรียนวชิ าฟิสิกส์ เรื่อง ไฟฟ้า และสนามแม่เหล็ก ซ่ึงวัดได้จากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนฟิสิกส์ ในด้านความรู้ความจำ ด้านความ เข้าใจ ด้านการนำไปใช้ ดา้ นการวิเคราะห์ ด้านการสังเคราะห์ และด้านการประเมินค่า โดยพิจารณาให้ครอบคลุม ตามจุดประสงค์การเรียนรู้ในเนื้อหา เรอื่ ง ไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก ซึ่งเป็นแบบทดสอบเลือกตอบชนิด 4 ตัวเลือก จำนวน 20 ขอ้ ทีผ่ วู้ ิจยั สรา้ งข้นึ 5. เกณฑ์ หมายถึง คะแนนขั้นตำ่ ท่ียอมรับว่านักเรยี นมีทักษะในการแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์และผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนฟิสิกส์ วิเคราะห์ได้จากคะแนนสอบหลังเรียน แล้วนำคะแนนมาเฉล่ียคิดเป็นร้อยละเทียบกับเกณฑ์ โดยผู้วิจัยใช้เกณฑ์ร้อยละ 70 ข้ึนของคะแนนรวม ซึ่งเป็นเกณฑ์ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดยเกณฑ์ดังกลา่ วอยู่ในระดับดขี ้ึนไป

8 บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวขอ้ ง การวิจัยเร่ือง การพัฒนาทักษะในการแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ไฟฟ้าและ สนามแม่เหล็ก ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5/4 โดยใช้กลวิธี ADSAC ผู้วิจัยได้ทำการศึกษาเอกสารและ งานวิจัยทเ่ี กย่ี วขอ้ งดงั น้ี 1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) กลุ่มสาระ การเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2. หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นคลองใหญว่ ทิ ยาคม กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3. ความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหา 3.1 ความหมายของปัญหา 3.2 ความหมายของการแก้ปัญหา 3.3 ข้นั ตอนในการแกป้ ญั หา 3.4 การวัดและประเมินผลความสามารถในการแก้ปญั หา 1) เคร่ืองมือที่ใช้วัดความสามารถในการแกป้ ญั หา 2) เกณฑก์ ารประเมินความสามารถในการแก้ปัญหา 4. รปู แบบการแก้โจทยป์ ัญหาตามเทคนิคของโพลยา 4.1 ประวตั คิ วามเปน็ มาของโพลยา 4.2 เทคนคิ การแก้ปญั หาของโพลยา 4.3 การสอนการแก้ปัญหาตามข้นั ตอนของโพลยา 5. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น 5.1 ความหมายของผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน 5.2 การวดั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นวทิ ยาศาสตร์ 5.3 ความหมายของแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น 5.4 ประเภทของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 6. งานวิจยั ท่เี กีย่ วขอ้ ง 6.1 งานวิจยั ในประเทศ 6.2 งานวิจัยในตา่ งประเทศ

9 1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) กลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วทิ ยาศาสตรม์ ีบทบาทสำคัญยงิ่ ในสังคมโลกปัจจุบันและอนาคต เพราะวิทยาศาสตร์เกี่ยวขอ้ งกับทุกคนท้ัง ในชีวติ ประจำวันและการงานอาชีพต่าง ๆ ตลอดจนเทคโนโลยี เครื่องมือเครื่องใชแ้ ละผลผลิตต่าง ๆ ที่มนุษย์ได้ใช้ เพื่ออำนวยความสะดวกในชีวิตและการทำงาน เหล่าน้ีล้วนเป็นผลของความรู้วิทยาศาสตร์ ผสมผสานกับความคิด สร้างสรรค์และศาสตร์อื่น ๆ วิทยาศาสตร์ช่วยให้มนุษย์ ได้พัฒนาวิธีคิด ท้ังความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสรา้ งสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทักษะสำคัญในการค้นคว้าหาความรู้ มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสนิ ใจโดยใช้ข้อมลู ท่หี ลากหลายและมปี ระจักษ์พยานทตี่ รวจสอบได้ วิทยาศาสตร์เป็นวัฒนธรรมของโลก สมัยใหม่ซึ่งเป็นสงั คมแห่งการเรยี นรู้ (knowledge-based society) ดงั น้ันทุกคนจึงจำเป็นต้องได้รับการพัฒนาให้ รวู้ ทิ ยาศาสตร์ เพ่ือทจ่ี ะมคี วามรู้ความเข้าใจในธรรมชาตแิ ละเทคโนโลยีท่ีมนุษย์สร้างสรรคข์ ้ึน สามารถนำความร้ไู ป ใชอ้ ย่างมีเหตผุ ล สร้างสรรค์ และมคี ณุ ธรรม เรียนรูอ้ ะไรในวทิ ยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มุ่งหวังให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ท่ีเน้นการเชื่อมโยงความรู้กับ กระบวนการ มีทักษะสำคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการในการสืบเสาะหาความรู้ และ การแก้ปัญหาทห่ี ลากหลาย ให้ผเู้ รยี นมีสว่ นรว่ มในการเรียนรู้ทุกข้ันตอน มีการทำกิจกรรมด้วยการลงมอื ปฏิบัติจริง อยา่ งหลากหลาย เหมาะสมกบั ระดบั ชน้ั โดยไดก้ ำหนดสาระสำคญั ไวด้ งั น้ี • วิทยาศาสตร์ชีวภาพ เรียนรู้เก่ียวกับชีวิตในส่ิงแวดล้อม องค์ประกอบของส่ิงมีชีวิต การดำรงชีวิตของ มนุษย์และสตั ว์ การดำรงชวี ติ ของพชื พนั ธกุ รรม ความหลากหลายทางชีวภาพ และววิ ฒั นาการของสิ่งมีชวี ติ • วิทยาศาสตร์กายภาพ เรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชาติของสาร การเปล่ียนแปลงของสาร การเคล่ือนที่ พลงั งาน และคลื่น • วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ เรียนรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบของเอกภพ ปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ เทคโนโลยีอวกาศ ระบบโลก การเปล่ียนแปลงทางธรณีวิทยา กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ และผลต่อ สิ่งมชี วี ิตและสิ่งแวดล้อม • เทคโนโลยี - การออกแบบและเทคโนโลยี เรียนรู้เก่ียวกับเทคโนโลยีเพ่ือการดำรงชีวิต ในสังคมที่มีการ เปลย่ี นแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรแู้ ละทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อนื่ ๆ เพ่ือแก้ปัญหา หรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่าง เหมาะสมโดยคำนงึ ถึงผลกระทบตอ่ ชวี ติ สังคม และสง่ิ แวดลอ้ ม

10 - วิทยาการคำนวณ เรียนรู้เกี่ยวกับการคิดเชิงคำนวณ การคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาเป็นขั้นตอน และเป็นระบบ ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการ แกป้ ญั หาที่พบในชวี ิตจรงิ ได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานกำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี จำนวน 10 มาตรฐาน ดงั น้ี สาระท่ี 1 วทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอด พลังงาน การเปล่ียนแปลงแทนท่ีในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและ ผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหาสงิ่ แวดลอ้ ม รวมทั้งนำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพ้ืนฐานของส่ิงมีชีวิต การลำเลียงสารเข้าและออกจาก เซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าท่ีของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ ทำงานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าท่ีของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ ทำงานสมั พันธ์กัน รวมท้ังนำความรไู้ ปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมสาร พันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อส่ิงมีชีวิต ความหลากหลายทาง ชีวภาพและววิ ัฒนาการของสิง่ มีชีวิต รวมทง้ั นำความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ สาระที่ 2 วทิ ยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลง สถานะของสสาร การเกดิ สารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงท่ีกระทำต่อวัตถุ ลักษณะการ เคลอื่ นท่ีแบบตา่ ง ๆ ของวตั ถุ รวมทงั้ นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปล่ียนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างสสารและพลงั งาน พลังงานในชวี ิตประจำวนั ธรรมชาตขิ องคลืน่ ปรากฏการณ์ที่ เกีย่ วข้องกับเสียง แสง และคลืน่ แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ รวมท้งั นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

11 สาระท่ี 3 วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมท้งั ปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุรยิ ะท่ีส่งผลต่อสงิ่ มชี ีวิต และ การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยอี วกาศ มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปล่ียนแปลงภายใน โลกและบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศ โลก รวมทง้ั ผลต่อสิง่ มชี วี ิตและส่งิ แวดลอ้ ม สาระท่ี 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิตในสังคมท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ เพื่อ แก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิง วิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยคำนึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และ ส่งิ แวดล้อม มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและ เป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการ แก้ปัญหาได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ รูเ้ ท่าทัน และมีจริยธรรม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ ซ่ึงการ พฒั นาผ้เู รียนให้บรรลุมาตรฐานการเรยี นรู้ท่กี ำหนดน้นั จะช่วยให้ผู้เรยี นเกดิ สมรรถนะสำคัญ5ประการดงั นี้ 1. ความสามารถในการส่ือสาร เป็นความสามารถในการรับส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอด ความคดิ ความรู้ความเข้าใจ ความรสู้ ึก และทศั นของตนเองเพ่ือแลกเปลีย่ นข้อมลู ขา่ วสาร และประสบการณ์อนั จะ เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผล และความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสารที่มี ประสทิ ธิภาพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบท่ีมีตอ่ ตนเองและสงั คม 2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง สรา้ งสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพ่ือ การตัดสินใจเกี่ยวกบั ตนเองและสงั คมได้อย่างเหมาะสม 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ท่ีเผชิญได้อย่าง ถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ เปล่ียนแปลงของเหตกุ ารณ์ต่าง ๆ ในสงั คม แสวงหาความรู้ ประยกุ ตค์ วามรู้มาใชใ้ นการป้องกนั และแก้ปัญหา และ มกี ารตัดสินใจทมี่ ีประสิทธิภาพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบที่เกิดขนึ้ ต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม

12 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดำเนิน ชีวติ ประจำวัน การเรียนรดู้ ้วยตนเอง การเรยี นร้อู ย่างต่อเนือ่ ง การทำงาน และการอยู่รว่ มกันในสงั คมดว้ ยการสร้าง เสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรบั ตัวให้ทัน กับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ท่ีส่งผลกระทบ ตอ่ ตนเองและผู้อื่น 5.ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมี ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน การแกป้ ญั หาอย่างสร้างสรรค์ ถกู ตอ้ งเหมาะสม และมคี ณุ ธรรม 2. หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนคลองใหญ่วิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คำอธบิ ายรายวชิ า ฟสิ กิ สไ์ ฟฟ้า (ว32207) ศกึ ษาแรงไฟฟ้า และกฎของคูลอมบ์ สนามไฟฟ้า ศักย์ไฟฟา้ ความจุไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และกฎของโอห์ม วงจรไฟฟ้ากระแสตรง พลังงานไฟฟ้า และกำลังไฟฟ้า การเปล่ียนพลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้า สนามแมเ่ หลก็ แรงแม่เหลก็ ท่ีกระทำกบั ประจุไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า การเหนี่ยวนำแมเ่ หล็กไฟฟ้าและกฎของฟารา เดย์ ไฟฟา้ กระแสสลับ คลืน่ แมเ่ หล็กไฟฟ้าและการส่ือสาร รวมทัง้ นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล และ การอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารส่ิงที่เรียนรู้มีความสามารถ ในการตัดสินใจ นำความรู้ไปใช้ในชีวติ ประจำวัน มจี ิตวิทยาศาสตร์และเจตคตทิ ่ีรว่ มกันรับผิดชอบต่อความเป็นเขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ อำเภอคลองใหญ่ ผลการเรียนรู้ 1. ทดลอง และอธิบายการทำวัตถุท่ีเป็นกลางทางไฟฟ้าให้มีประจุไฟฟ้าโดยการขัดสีกันและการเหน่ียวนำ ไฟฟา้ สถติ 2. อธิบาย และคำนวณแรงไฟฟ้าตามกฎของคลู อมบ์ 3. อธิบาย และคำนวณสนามไฟฟ้าและแรงไฟฟ้าที่กระทำกับอนุภาคท่ีมีประจุไฟฟ้าท่ีอยู่ในสนามไฟฟ้า รวมทง้ั หาสนามไฟฟา้ ลัพธ์เน่ืองจากระบบจุดประจโุ ดยรวมกนั แบบเวกเตอร์ 4. อธิบาย และคำนวณพลังงานศักยไ์ ฟฟา้ ศกั ย์ไฟฟา้ และความต่างศักย์ระหว่างสองตำแหน่งใด ๆ 5. อธบิ ายส่วนประกอบของตัวเก็บประจุ ความสัมพันธ์ระหวา่ งประจไุ ฟฟ้า ความตา่ งศกั ย์ และความจุของ ตัวเก็บประจุ และอธิบายพลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ และความจุสมมูล รวมท้ังคำนวณปริมาณต่าง ๆ ท่ี เกีย่ วข้อง 6. นำความรู้เร่ืองไฟฟ้าสถิตไปอธิบายหลักการทำงานของเครื่องใช้ไฟฟ้าบางชนิด และปรากฏการณ์ใน ชวี ติ ประจำวนั

13 7. อธิบายการเคล่ือนที่ของอิเล็กตรอนอิสระและกระแสไฟฟ้าในลวดตัวนำ ความสัมพันธ์ระหว่าง กระแสไฟฟ้าในลวดตัวนำกับความเร็วลอยเลื่อนของอิเล็กตรอนอิสระ ความหนาแน่นของอิเล็กตรอนในลวดตัวนำ และพืน้ ทห่ี นา้ ตดั ของลวดตัวนำ และคำนวณปรมิ าณต่าง ๆ ทีเ่ ก่ียวข้อง 8. ทดลอง และอธิบายกฎของโอห์ม อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความต้านทานกับความยาว พ้ืนท่ีหน้าตัด และสภาพต้านทานของตัวนำโลหะท่ีอุณหภูมิคงตัว และคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้ง อธบิ ายและคำนวณความตา้ นทานสมมลู เม่อื นำตวั ต้านทานมาต่อกันแบบอนกุ รมและแบบขนาน 9. ทดลอง อธิบาย และคำนวณอีเอ็มเอฟของแหล่งกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรง รวมท้ังอธิบายและคำนวณ พลังงานไฟฟ้า และกำลงั ไฟฟา้ 10. ทดลอง และคำนวณอีเอ็มเอฟสมมูลจากการต่อแบตเตอรี่แบบอนุกรมและแบบขนานรวมทั้งคำนวณ ปริมาณต่าง ๆ ทีเ่ กี่ยวขอ้ งในวงจรไฟฟา้ กระแสตรงซ่ึงประกอบด้วยแบตเตอรแี่ ละตัวตา้ นทาน 11. อธิบายการเปล่ียนพลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้า รวมทั้งสืบค้นและอภิปรายเกี่ยวกับเทคโนโลยี ท่ีนำมาแก้ปัญหาหรือตอบสนองความต้องการทางด้านพลังงานไฟฟ้า โดยเน้นด้านประสิทธิภาพและความคุ้มค่า ด้านค่าใชจ้ ่าย 12. สังเกต และอธิบายเส้นสนามแม่เหล็ก อธิบายและคำนวณฟลักซ์แม่เหล็กในบริเวณท่ีกำหนด รวมท้ัง สังเกต และอธบิ ายสนามแมเ่ หลก็ ทเ่ี กดิ จากกระแสไฟฟา้ ในลวดตวั นำเสน้ ตรง และโซเลนอยด์ 13. อธิบาย และคำนวณแรงแม่เหล็กท่ีกระทำต่ออนุภาคท่ีมีประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็ก แรงแม่เหล็กท่ีกระทำต่อเส้นลวดท่ีมีกระแสไฟฟ้าผ่านและวางในสนามแม่เหล็ก รัศมีความโค้งของการเคล่ือนที่เม่ือ ประจุเคลือ่ นท่ีตง้ั ฉากกบั สนามแมเ่ หล็ก รวมท้ังอธบิ ายแรงระหว่างเส้นลวดตัวนำคู่ขนานที่มกี ระแสไฟฟา้ ผา่ น 14. อธิบายหลักการทำงานของแกลแวนอมิเตอร์ และมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง รวมท้ังคำนวณปริมาณ ตา่ ง ๆ ที่เกยี่ วข้อง 15. สังเกต และอธิบายการเกิดอีเอ็มเอฟเหนี่ยวนำ กฎการเหนี่ยวนำของฟาราเดย์ และคำนวณปริมาณ ตา่ ง ๆ ทเ่ี กย่ี วข้อง รวมท้ังนำความรเู้ รอ่ื งอเี อม็ เอฟเหน่ียวนำไปอธบิ ายการทำงานของเคร่ืองใช้ไฟฟา้ 16. อธบิ าย และคำนวณความต่างศกั ย์อาร์เอม็ เอสและกระแสไฟฟา้ อารเ์ อ็มเอส 17. อธิบายหลักการทำงานและประโยชน์ของเคร่ืองกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส การแปลงอีเอ็มเอฟ ของหม้อแปลง และคำนวณปริมาณต่าง ๆ ทเี่ กย่ี วข้อง 18. อธิบายการเกิดและลักษณะเฉพาะของ คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า แสงไม่โพลาไรส์ แสงโพลาไรส์เชิงเส้น และแผ่นโพลารอยด์ รวมท้ังอธิบายการนำคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในช่วงความถ่ีต่าง ๆ ไปประยุกต์ใช้และหลักการ ทำงานของอุปกรณท์ ่เี กย่ี วขอ้ ง

14 19. สบื ค้น และอธิบายการส่ือสารโดยอาศัยคลื่นแม่เหลก็ ไฟฟ้าในการสง่ ผา่ นสารสนเทศ และเปรียบเทยี บ การสอื่ สารด้วยสัญญาณแอนะลอ็ กกับสัญญาณดจิ ทิ ัล รวมท้ังหมด 19 ผลการเรียนรู้ จากการศึกษาเก่ียวกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) และหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนคลองใหญ่วิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้วิจัยนำผลการเรียนรู้จากรายวิชา ฟิสิกส์ไฟฟ้า ข้อ 13. อธิบาย และคำนวณแรงแม่เหล็กท่ีกระทำต่ออนุภาคท่ีมี ประจุไฟฟ้าเคลื่อนท่ีในสนามแม่เหล็ก แรงแม่เหล็กท่ีกระทำต่อเส้นลวดที่มีกระแสไฟฟ้าผ่านและวางใน สนามแม่เหล็ก รัศมีความโค้งของการเคลื่อนที่เมื่อประจุเคล่ือนท่ีตั้งฉากกับสนามแม่เหล็ก รวมทั้งอธิบายแรง ระหว่างเส้นลวดตัวนำคู่ขนานที่มีกระแสไฟฟ้าผ่าน และ ขอ้ 14. อธิบายหลักการทำงานของแกลแวนอมิเตอร์ และ มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง รวมทั้งคำนวณปริมาณต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้อง มาเป็นแนวทางในการกำหนดกิจกรรมการ เรียนรู้ให้สอดคล้องกบั วัตถปุ ระสงค์และเป้าหมายการพฒั นาความสามารถในการแกโ้ จทยป์ ญั หาฟิสิกส์ 3. ความสามารถในการแก้โจทยป์ ัญหา 3.1 ความหมายของปัญหา ราชบัณฑิตขสถาน (2525, หน้า 527) ให้ความหมายของปัญหา ว่าหมายถึง ข้อสงสัย ความสงสัย สิ่งท่ี เขา้ ใจยาก สิ่งทต่ี นไม่ร้หู รอื คำถาม อนั ไดแ้ ก่ โจทย์ในแบบฝึกหัดหรือข้อสอบเพ่อื ประเมินผล รศนา อัชชะกิจ (2539, หน้า 2) ให้ความหมายของปัญหา ว่าหมายถึง เหตุการณ์ที่ยุ่งยากที่จะต้องแก้ไข หรือสภาวการณ์ที่ไม่พึงประสงคห์ รือเหตกุ ารณ์ท่ีเป็นไปไม่ตรงตามคาดหวังโดยไม่ทราบสาเหตุ รวมถึงการท่ีมนุษย์ ไม่รู้จักวิธีทำอย่างไรจึงจะบรรลุเป้าหมายตามที่กำหนดและเหตุการณ์ในอนาคตที่มีแนวโน้มว่าจะเป็นไปไม่ตรงตาม ประสงค์ คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (2544, หน้า 89) ให้ความหมายของปัญหา ว่าหมายถึง สถานการณ์ท่ี ต้องคดิ การแก้ไขปัญหาทไี่ ด้มาจากการสังเคราะห์ความรู้ทเ่ี คยเรยี นรู้มาก่อน ซ่ึงเก่ียวข้องกับ 3 สิ่ง คือ การยอมรับ ว่าเป็นปัญหาหรืออุปสรรคของจุดมุ่งหมาย อุปสรรคของปัญหาหรืออุปสรรคของจุดมุ่งหมาย และการแก้ปัญหาท่ี จะบรรลุจุดมงุ่ หมาย จากความหมายของปัญหา สรุปได้ว่า ปัญหา คอื สถานการณ์ทท่ี ำให้เกิดอปุ สรรคในการดำเนินงาน ซึง่ มา ขัดขวางไม่ให้บรรลุเป้หมาย และสำหรับปัญหาในงานวิจัยคร้ังน้ีจะหมายถึงโจทย์ปัญหาซ่ึงเป็นสถานการณ์โจทย์ ทางฟสิ กิ สท์ ีผ่ ู้วิจัยสร้างขนึ้ เรือ่ ง ไฟฟ้าและสนามแมเ่ หลก็ ในวิชา ฟิสิกส์ไฟฟ้า ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5

15 3.2 ความหมายของการแก้ปญั หา ภพ เลาหไพบูลย์ (2542, หน้า 332) กล่าวว่า การมองเห็นปัญหาและการหาทางท่ีจะแก้ปัญหา ประกอบด้วยความสามารถย่อย ๆ ถือ การยอมรับและมองเห็นปัญหา การตั้งสมมติฐาน การเลือกวิธีการท่ี เหมาะสมในการทดสอบสมมตฐิ านและการออกแบบการทดลองท่ีเหมาะสำหรบั ทดสอบสมมติฐาน สิริพร ทิพย์คง (2545, หน้า 112) กล่าวว่า การแก้ปัญหา หมายถึง กระบวนการที่ใช้เพ่ือให้ได้มาซ่ึง คำตอบ และในการแก้ปัญหาจะต้องมีการวางแผนการรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ การกำหนดสารสนเทศท่ีต้องการ เพ่ิมเติม มีการแสดกวามคิดเห็น เสนอแนะแนวทางวิธีการแก้ปัญหาที่หลากหลาย และทดสอบการแก้ปัญหาที่ เหมาะสม เพอื่ นำไปส่ขู ้อสรปุ การแก้ปญั หาท่ีเป็นทยี่ อมรับกนั โดยท่ัวไป คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (2544, หน้า 54) ได้ให้ความหมายของการแก้ปัญหา ว่าเป็น กระบวนการทำงานที่สลับซับซ้อนของสมองที่ต้องอาศัยสติปัญญา ทักษะ ความรู้ ความเข้าใจ ความคิด การรับรู้ ความชำนาญ รูปแบบ พฤติกรรมต่าง ๆ ประสบการณ์เดิมท้ังจากทางตรง (เรียนรู้ด้วยตนเอง) และทางอ้อม (มีผู้ อบรมสั่งสอน) มโนมติ กฎเกณฑ์ ข้อสรุป การพิจารณา การสังเกต และการใช้กลยุทธ์ทางสติปัญญาที่จะวิเคราะห์ สังเคราะห์ ความรู้ความเข้าใจต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณ มีหตุผลและจินตนาการเพื่อหาแนวทางปฏิบัติให้ปัญหา นน้ั หมดส้นิ ไป จากความหมายของการแก้ปัญหา สรุปได้ว่า การแก้ปัญหาเป็นกระบวนการที่ใช้เพ่ือให้ได้มาซ่ึงคำตอบ โดยต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจรวมถึงสติปัญญาและการคิด เพ่ือทำให้ปัญหานั้นหมดไป สำหรับการแก้ปัญหาใน งานวิจัยนี้จะหมายถึง การแก้โจทย์ปัญหาซึ่งเป็นสถานการณ์โจทย์ทางฟิสิกส์ท่ีผู้วิจัยสร้างขึ้น เร่ือง ไฟฟ้าและ สนามแมเ่ หลก็ ในวิชา ฟสิ ิกส์ไฟฟ้า ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 3.3 ขัน้ ตอนในการแกป้ ัญหา การจัดการเรียนการสอนที่เน้นการแก้ปัญหาน้ัน ผู้สอนควรฝึกทักษะกระบวนการคิดของผู้เรียนให้เป็น ระบบขน้ั ตอน ซึง่ มีนักการศึกษาหลายท่านไดก้ ล่าวถึงข้ันตอนในการแก้ปัญหาดังน้ี Heller and Heller (2000 อ้างถึงใน เอกวิทย์ ดวงแก้ว, 2558, หน้า 39) ได้นำเสนอกลวิธีในการแก้ โจทยป์ ัญหาทางฟิสิกส์ ซึง่ ประกอบดว้ ย 5 ข้ันตอน ดงั นี้ ข้นั ที่ 1 ข้นั พิจารณาปญั หา (Focus the problem) เป็นขั้นตอนท่ีต้องทำความเข้าใจโจทย์ปัญหาให้ชัดเจน โดยการสร้างภาพข้ึนในใจเก่ียวกับลำดับของ เหตกุ ารณ์ด่าง ๆ ในโจทยป์ ญั หา พรอ้ มกับแสดงรายละเอียดของโจทย์ปัญหาท่ีบอกข้อมูลทโ่ี จทย์กำหนดมาให้อยา่ ง หยาบ ๆ และเขียนสิง่ ท่โี จทย์ต้องการให้หาคำตอบ ข้นั ท่ี 2 ข้นั อธิบายหลักการทางฟิสกิ ส์ (Describe the physics)

16 เป็นขั้นตอนที่ต้องแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลที่โจทย์กำหนดมาให้ โดยการสร้างแผนภาพและเขียนตัว แปรต่าง ๆ ทงั้ ที่ทราบคา่ และไมท่ ราบค่า ที่ตงั้ อยู่บนพน้ื ฐานของหลกั การทางฟสิ ิกส์ ข้นั ท่ี 3 ขนั้ วางแผนแก้ปญั หา (Plan the solution) เป็นขั้นตอนที่ต้องนำความสัมพันธ์จากการอธิบายหลักการทางฟิสิกส์ในขั้นท่ี 2 ไปสร้างเป็นสมการที่จะ นำไปใชใ้ นการแกโ้ จทย์ปัญหาเพ่ือหาค่าของตัวแปรที่ไมท่ ราบค่า ขั้นที่ 4 ข้นั ดำเนนิ การตามแผนทีว่ างไว้ (Execute the plan) ข้ันตอนนี้เป็นการดำเนินการหาคำตอบตามสมการท่ีได้วางแผนเอาไว้ในข้ันท่ี 3 โดยการแทนค่าตัวแปร ต่าง ๆ ทงั้ ท่ที ราบคา่ และไม่ทราบค่า ขน้ั ที่ 5 ขน้ั ตรวจสอบผลลัพธ์ (Evaluate the answer) ขั้นตอนนี้เป็นการตรวจสอบคำตอบที่ได้ว่ามีความสมเหตุสมผลหรือไม่ และคำตอบที่ได้น้ันจะต้องมีความ ถูกตอ้ งตรงตามส่งิ ท่ีโจทย์ถาม Krulik and Rudnick (1993, pp. 39-57) กล่าวถึงขัน้ ตอนของการแกป้ ญั หา โดยแบ่งเปน็ 5 ขน้ั ตอนดังน้ี 1. ขนั้ การอ่านและคิด เปน็ ข้ันที่ผู้เรียนได้อ่านขอ้ ปัญหา ตีความจากภาษา สร้างความสมั พนั ธ์และระลึกถึง สถานการณ์ที่คล้ายคลึงกัน ซึ่งโดยท่ัวไปแล้วปัญหาจะประกอบด้วยข้อเท็จจริงและคำถามอยู่รวมกันอาจทำให้เกิด การไขว้เขวได้ ในขน้ั นี้ผู้เรยี นจะต้องแยกแยะข้อเท็จริงและข้อคำถาม มองเห็นภาพของหตุการณ์ บอกสิ่งท่ีกำหนด และสิง่ ท่ตี ้องการ และกลา่ วถึงปัญหาในภาษาของเขาเองได้ 2. ขั้นสำรวจและวางแผน ในข้ันน้ีผู้แก้ปัญหาจะวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลท่ีมีอยู่ในปัญหา รวบรวม ข้อมูล พิจารณาว่าข้อมูลที่มีอยู่เพียงพอหรือไม่ เชื่อมโยงข้อมูลเข้ากับความรู้เดิม เพ่ือหาคำตอบที่เป็นไปได้ แส้ว วางแผนเพ่ือแก้ปัญหา โดยนำเอาข้อมูลท่ีมีอยู่สร้างเป็นแผนภาพหรือรูปแบบต่าง ๆ เช่น แผนผัง ตาราง กราฟ หรือวาดภาพประกอบ 3. ขั้นการเลือกวิธีการแก้ปัญหา ในข้ันน้ีผู้แก้ปัญหาต้องเลือกวิธีการที่เหมาะสมที่สุด แต่ละบุคคลจะ เลือกใช้วิธีการแก้ปัญหาที่แตกต่างกันออกไป และในการแก้ปัญหาหนึ่งปัญหาอาจจะมีการนำเอาหลาย ๆ วิธีการ แก้ปัญหามาประยุกต์เพื่อแก้ปัญหาเหล่าน้ัน ได้แก่ การกันหาแบบรูป การทำย้อนกลับ การคาดเดาและตรวจสอบ การแสดงบทบาทสมมติหรือการทดลอง การสรุป รวบรวม หรือการขยายความ การแจงรายกรณีอย่างเป็นระบบ การใหเ้ หตผุ ลเชงิ ตรรกศาสตร์ 4. การค้นหาคำตอบ เม่ือเข้าใจปัญหาและเลือกวธิ ีในการแก้ปัญหาได้แล้ว ผู้เรียนควรจะประมาณคำตอบ ท่ีเป็นไปได้ ในขั้นนี้ผู้รียนควรลงมือปฏิบัติด้วยวิธีการทางคณิตศาสตร์ให้ได้มาซึ่งคำตอบท่ีถูกต้อง ซึ่งจะต้องอาศั ย การประมาณค่า การใช้ทกั ษะการคิดคำนวณ การใชท้ ักษะทางพีชคณิต และการใชท้ ักษะทางเรขาคณิต

17 5. การมองย้อนและขยายผล ถ้าคำตอบที่ได้ไม่ใช่ผลท่ีต้องการ ก็ต้องย้อนกลับไปยังกระบวนการท่ีใช้ใน การแก้ปัญหาเพื่อหาวิธีการที่ใช้ในการหาคำตอบที่ถูกต้องใหม่ และนำเอาวิธีการที่ได้มาซ่ึงคำตอบที่ถูกต้องไป ประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์อ่ืนต่อไป ในข้ันนี้ประกอบด้วยการตรวจสอบคำตอบ การค้นพบ ทางเลือกท่ีนำไปสู่ผลลัพธ์ การมองความสัมพันธ์ระหว่างข้อเท็จจริงและคำถม การขยายผลลัพธ์ท่ีได้ กรพิจารณา ผลลัพธท์ ไ่ี ด้ และการสร้างสรรค์ปัญหาทีน่ า่ สนใจจากขอ้ ปญั หาเดิม สิริพร ทิพยค์ ง (2545, หน้า 97) กล่าวถึงกระบวนการที่ใชใ้ นการแก้ปัญหา ซึ่งมีอยู่ 4 ขั้นตอนดังน้ี 1. การทำความเข้าใจปัญหาหรือการวิเคราะห์ปัญหา ผู้เรียนต้องแยกแยะวา่ โจทย์กำหนดอะไรมาให้ โจทย์ ต้องการใหห้ าอะไร หรือโจทยถ์ ามอะไร หรือโจทย์ตอ้ งการใหพ้ ิสูจน์อะไร 2. การวางแผนแก้ปัญหา เป็นขั้นตอนท่ีสำคัญท่ีสุด ซึ่งผู้เรียนต้องอาศัยทักษะในการนำความรู้ หลักการ กฎ สตู ร หรือทฤษฎีท่ีเรยี นรู้มาแล้วมาใช้ เช่น การเขียนตารางแผนภาพช่วยในการแก้ปญั หา บางครั้งในบางปัญหา อาจใช้ทกั ษะในการประมาณคา่ การกาดเดาคำตอบมาประกอบด้วย 3. การดำเนินการแก้ปัญหาตามแผนที่ได้วางไว้ ซ่ึงอาจใช้ทักษะการคิดคำนวณหรือการดำเนินการทาง คณิตศาสตร์ 4. การตรวจสอบหรือการมองย้อนกลับ เป็นการตรวจสอบว่ามีวิธีการอื่นในการหาคำตอบอีกหรือไม่ ตลอดจนการพจิ ารณาความสมเหตสุ มผลของคำตอบ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2551, หนา้ 8-10) ได้เสนอกระบวนการแก้ปญั หาซึ่ง ประกอบดว้ ย 4 ขั้นตอนดงั นี้ ข้ันที่ 1 ข้ันทำความเข้าใจปัญหา เป็นข้ันเร่ิมต้นของการแก้ปัญหาที่ต้องการคิดเก่ียวกับปัญหา และ ตดั สินใจว่าอะไรคือสิ่งที่ตอ้ งการค้นหา ในขั้นตอนนผี้ ู้เรยี นต้องทำความเข้าใจปัญหา และระบุส่วนสำคัญของปญั หา ซ่ึงได้แก่ ตัวไม่ทราบค่า ข้อมูลและเง่ือนไข ในการทำความเข้าใจปัญหา ผู้เรยี นอาจพิจารณาส่วนสำคัญของปัญหา อย่างถี่ถ้วน พิจารณาช้ำไปซ้ำมา พิจารณาในหลากหลายมุมมอง หรืออาจใช้วิธีต่าง ๆ ช่วยในการทำความเข้าใจ ปัญหา เชน่ การเขียนรูป การเขยี นแผนภูมิ หรือการเขยี นสาระของปัญหาดว้ ยถ้อยคำของตนองก็ได้ ขัน้ ที่ 2 ขั้นวางแผนแก้ปัญหา ขั้นน้ีต้องการให้ผู้เรยี นค้นหาความเชื่อมโยงหรือความสมั พันธ์ระหว่างข้อมูล และตัวแปรท่ีไม่ทราบค่า แล้วนำความสัมพันธ์น้ันมาผสมผสานกับประสบการณ์ในการแก้ปัญหา เพื่อกำหนด แนวทางหรอื แผนในการแก้ปญั หา และสดุ ทา้ ยเลือกยุทธวธิ ที ี่จะนำมาใชใ้ นการแกป้ ัญหา ข้ันท่ี 3 ข้ันดำเนินการแก้ปัญหา ในขั้นนี้ต้องการให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติตามแนวทางหรือแผนที่วางไว้ โดย เริ่มจากการตรวจสอบความเป็นไปได้ของแผน เพิ่มเติมรายละเอียดต่าง ๆ ของแผนให้ชัดเจน แล้วลงมือปฏิบัติ

18 จนกระทั่งสามารถหาคำตอบได้ ถ้าแผนหรือยุทธวิธีที่เลือกไว้ไม่สามารถแก้ปัญหาได้ ผู้เรียนจะต้องค้นหาแผนหรือ ยทุ ธวธิ แี ก้ปัญหาใหม่อกี ครง้ั การค้นหาแผนหรือยทุ ธวธิ แี ก้ปญั หาใหมถ่ อื เป็นการพฒั นาผแู้ กป้ ัญหาท่ีดีด้วยเชน่ กนั ข้ันที่ 4 ข้ันมองย้อนกลับ ในขั้นน้ีต้องการให้ผู้เรียนมองย้อนกลับไปยังคำตอบที่ได้มา โดยเริ่มจากการ ตรวจสอบความถูกต้อง ความสมเหตุสมผลของคำตอบและยุทธวิธีแก้ปัญหาท่ีใช้ แล้วพิจารณาว่ามีคำตอบหรือ ยุทธวิธีแก้ปัญหาอย่างอ่ืนอีกหรือไม่ สำหรับผู้เรียนท่ีคาดเดาคำตอบก่อนลงมือปฏิบัติก็สามารถเปรียบเทียบหรือ ตรวจสอบความสมหตสุ มผลของคำตอบที่คาดเดาและคำตอบจรงิ ในข้นั นี้ได้ จากที่กล่าวมาข้างต้น จะเห็นได้ว่าข้ันตอนในการแก้ปัญหานั้นสามารถมีได้หลายรูปแบบ แต่พอจะสรุป ขั้นตอนในการแก้ปัญหาได้อย่างคร่าว ๆ ดังน้ี 1) ทำความเข้าใจปัญหา 2) วางแผนแก้ปัญหา 3) ดำเนินการ แกป้ ญั หา และ 4) ตรวจสอบ 3.4 การวดั และประเมนิ ผลความสามารถในการแก้ปญั หา เวชฤทธ์ิ อังกนะภัทรขจร (2555 ข, หน้า 109-110) กล่าวว่า การประเมินทักษะและกระบวนการโดยใช้ กรทดสอบ เปน็ การประเมนิ โดยใชข้ ้อสอบ และข้อสอบทีใ่ ช้ในปัจจบุ ันแบง่ ออกเปน็ 2 ประเภทดงั นี้ 1. ข้อสอบแบบปรนัย เป็นข้อสอบที่มีคำตอบไว้ให้แล้ว ผู้สอบต้องตัดสินเสือกคำตอบที่ถูกต้องหรือ พิจารณาข้อความที่ใหว้ ่าถูกหรอื ผิด ซง่ึ การวัดและประเมินผลโดยใช้ข้อสอบแบบปรนยั นั้นม่งุ วดั พฤตกิ รรมดา้ นพุทธิ พสิ ยั หรือความรูใ้ นเนื้อหาวชิ าเปน็ ส่วนใหญ่ แต่ก็สามารถนำมาใชใ้ นการวดั ทักษะและกระบวนการได้ โดยข้ึนอยู่กับ คำถามหรอื ปัญหาที่ถาม ข้อสอบประเภทนส้ี ามารถแบง่ ออกไดเ้ ปน็ 5 ประเภทดงั นี้ 1.1 ข้อสอบแบบถูก-ผิด เป็นข้อสอบชนิดเลือกตอบ 2 ตวั เลือก โดยมีข้อความให้ผู้เรยี นเลอื กตอบ วา่ ถกู หรือผิด ใชห่ รอื ไมใ่ ช่ จริงหรอื เทจ็ เหน็ ดว้ ยหรือไม่เห็นด้วย เปน็ ต้น 1.2 ข้อสอบแบบเติมคำหรือตอบส้ัน ๆ เป็นข้อสอบท่ีให้ผู้เรียนเติมคำหรือข้อความส้ัน ๆ ลงใน ช่องว่าง 1.3 ข้อสอบแบบจับคู่ เป็นข้อสอบท่ีประกอบด้วยข้อความเรียงกันเป็นแถว โดยท่ัวไปจะให้ ข้อความทางซ้ายมือเป็นคำถามหรือตัวนำเรื่อง และข้อความทางขวามือเป็นคำตอบหรือข้อเลือก ผู้เรียนจะต้อง เลอื กข้อความทางขวามือท่ีสอดคล้องหรือจับคู่กับข้อความทางซ้ายมือ โดยนำเอาตัวเลขหรือตัวอกั ษรหน้าข้อความ ทางขวามอื มาใส่ไว้หน้ำข้อความทางซา้ ยมือที่มคี วามสอดคล้องกนั 1.4 ข้อสอบแบบจัดลำดับ เป็นข้อสอบที่มักจะถามถึงข้ันตอนหรือลำดับของการพิสูจน์หรือการ พิจารณาว่าการแก้โจทยป์ ัญหาตอ้ งทำอะไรก่อนหรอื หลงั

19 1.5 ข้อสอบแบบเลือกตอบ เป็นข้อสอบแบบปรนัยที่ใช้กันอย่างกว้างขวางในการทดสอบของ ผู้สอนหรือในการทดสอบท่ีเป็นมาตรฐาน เป็นข้อสอบท่ีคำถามแต่ละข้อมีตัวเลือกหลายตัวเลือกให้เลื อก แต่ให้ ผู้เรียนเลอื กคำตอบทีถ่ กู ต้องที่สดุ เพยี งตัวเลือกเดียว 2. ข้อสอบแบบอัตนัย เป็นข้อสอบที่กำหนดปัญหาหรือคำถามมาให้ แล้วให้ผู้ตอบแสดงความรู้ ความ เขา้ ใจ และความคิดต้ังแตก่ วา้ งจนถึงแคบทส่ี ดุ หรอื เฉพาะเจาะจงตามทโ่ี จทย์กำหนด การใช้ภาษาในการเขียนตอบ ขึ้นอยู่กับความสามารถของตัวผู้สอบ ข้อสอบแบบอัตนัยสามารถวัดความสมารถของผู้เรียนได้หลายด้านท้ังในด้าน ความรู้ และด้านทักษะและกระบวนการ การใช้ข้อสอบแบบอัตนัยจะช่วยให้ผู้สอนสามารถประเมินผู้เรียนได้ หลากหลายทักษะและหลากหลายมุมมอง เนื่องจากการเขียนของผู้เรียนนอกจากจะสะท้อนความสามารถในการ นำความรู้ไปใช้แล้ว ยังสะท้อนความรู้ วิธีคิด มโนทัศน์ และความสามารถในการสื่อสารอีกด้วย ดังน้ันผู้สอนควร ประเมนิ แยกกนั ระหวา่ งความสามารถในการเขยี นกับทกั ษะและกระบวนการ การใช้ข้อสอบแบบอัตนัยจะสามารถประเมินทักษะและกระบวนการได้มากกว่าการใช้ข้อสอบแบบปรนัย เน่ืองจากผู้สอนสามารถถามในพฤติกรรมน้ันได้โดยตรง เช่น ถ้าต้องการถามเก่ียวกับการให้เหตุผล อาจถามว่า \"เพราะหตใุ ด\" \"ทำไมจึงเปีนเช่นนี\"้ หรือถ้าต้องการให้ผู้เรยี นเกดิ การเช่ือมโยงอาจถามว่า \"เราเคยเห็นคำถามแบบน้ี ทีไหนหรือไม่\" \"แนวคิดเหล่าน้ีสัมพันธ์กันอย่างไร\" แต่อย่างไรก็ตามผู้สอนควรมีการคิดแนวทางของคำตอบไว้ ลว่ งหน้าและมีเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนทช่ี ดั เจนสำหรับการประเมินคำตอบของผเู้ รียน คงนิตา เกยนิยม และสุวมิ ล จรญู โสตร์ (2553, หน้า 21) กล่าวว่า การใช้คำถามท่ีมิใช่ถามความจำ ความ เข้าใจหรือคำถามท่ีมีคำตอบถูกเพียงคำตอบเดียวเท่านั้น แต่ควรเป็นคำถามแบบปลายเปิดท่ีนักเรียนต้องคิดกว้าง และหลากหลายใช้ความคิดระดับสูงในการตอบ มีการนำข้อมูลความรู้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ พัฒนาแนวคิดใหม่ ประเมนิ ความเหมาะสมและคดิ สรา้ งสงิ่ ใหม่ จากเครื่องมือท่ีใช้วัดความสามารถในการแกป้ ัญหาที่กล่าวมาข้างต้นนนั้ สรุปไดว้ ่า แบบทดสอบที่นำมาใช้ วัดความสามารถในการแก้ปัญหานั้นแบ่งออกเปน็ 2 ประเภท คือ 1)แบบทดสอบปรนยั และ 2) แบบทดสอบอตั นัย ซ่ึงการวัดและประเมินผลความสามารถในการแก้ปัญหาหาฟิสิกส์ส่วนใหญ่จะวัดและประเมิ นผลตามข้ันตอนของ การแกป้ ญั หา เพ่ือตรวจสอบว่าผู้เรยี นมขี อ้ บกพร่องส่วนใดและจะได้แก้ไขได้ถกู ต้อง สำหรับในงานวิจยั น้ี ผู้วิจัย เลือกใช้แบบทดสอบวัดความสามารถในการแกป้ ัญหาฟิสิกส์เป็นแบบอตั นัย 1) เคร่อื งมอื ท่ใี ช้วดั ความสามารถในการแก้ปัญหา เวชฤทธ์ิ อังกนะภัทรขจร (2555 ข, หน้า 109-110) กล่าวว่า การประเมินทักษะและ กระบวนการโดยใช้การทดสอบ เป็นการประเมินโดยใช้ข้อสอบ และข้อสอบที่ใช้ในปัจจุบันแบ่งออกเป็น 2 ประเภทดังนี้

20 1. ข้อสอบแบบปรนัยเป็นข้อสอบทีม่ ีคำตอบไวใ้ ห้แล้ว ผสู้ อบตอ้ งตดั สนิ เลือกคำตอบที่ถกู ตอ้ งหรือ พจิ ารณาขอ้ ความที่ใหว้ ่าถูกหรือผิด ซ่ึงการวัดและประเมินผลโดยใช้ขอ้ สอบแบบปรนัยนน้ั มงุ่ วัดพฤติกรรม ด้านพุทธิพิสัยหรือความรู้ในเน้ือหาวิชาเป็นส่วนใหญ่ แต่ก็สามารถนำมาใช้ในการวัดทักษะและ กระบวนการได้ โดยขึ้นอยู่กับคำถามหรือปัญหาท่ีถาม ข้อสอบประเภทน้ีสามารถแบ่งออกได้เป็น 5 ประเภทดงั น้ี 1.1 ขอ้ สอบแบบถูก-ผิด เป็นข้อสอบชนดิ เลือกตอบ 2 ตัวเลือก โดยมีข้อความใหผ้ ู้เรยี น เลือกตอบว่าถูกหรือผดิ ใช่หรือไม่ใช่ จริงหรอื เท็จ เหน็ ดว้ ยหรือไม่เหน็ ด้วย เป็นต้น 1.2 ข้อสอบแบบเตมิ คำหรอื ตอบสัน้ ๆ เปน็ ข้อสอบท่ีให้ผู้เรยี นเติมคำหรือข้อความสนั้ ๆ ลงในชอ่ งว่าง 1.3 ข้อสอบแบบจับคู่ เปน็ ข้อสอบที่ประกอบดว้ ยข้อความเรยี งกันเปน็ แถว โดยทั่วไปจะ ให้ขอ้ ความทางซ้ายมอื เป็นคำถามหรือตวั นำเรอื่ ง และข้อความทางขวามอื เป็นคำตอบหรอื ข้อเลือก ผู้เรยี น จะต้องเลือกข้อความทางขวามือท่ีสอดคล้องหรือจับคู่กับข้อความทางซ้ายมือ โดยนำเอาตัวเลขหรือ ตวั อกั ษรหน้าข้อความทางขวามอื มาใส่ไวห้ น้าขอ้ ความทางซ้ายมือทมี่ ีความสอดคล้องกัน 1.4 ข้อสอบแบบจัดลำดบั เป็นขอ้ สอบท่ีมักจะถามถึงขน้ั ตอนหรือลำดบั ของการพสิ จู น์ หรอื การพิจารณาวา่ การแกโ้ จทยป์ ญั หาตอ้ งทำอะไรก่อนหรือหลัง 1.5 ขอ้ สอบแบบเลือกตอบ เป็นขอ้ สอบแบบปรนยั ท่ีใชก้ ันอยา่ งกวา้ งขวางในการทดสอบ ของผสู้ อนหรือในการทดสอบท่ีเป็นมาตรฐาน เปน็ ข้อสอบท่ีคำถามแต่ละข้อมีตวั เลือกหลายตวั เลอื กให้ เลือก แต่ใหผ้ ู้เรยี นเลือกคำตอบท่ีถูกต้องที่สุดเพียงตัวเลือกเดียว 2. ข้อสอบแบบอัตนัย เป็นข้อสอบที่กำหนดปัญหาหรือคำถามมาให้ แล้วให้ผู้ตอบแสดงความรู้ ความเข้าใจ และความคิดตั้งแต่กว้างจนถึงแคบท่ีสุด หรือเฉพาะเจาะจงตามที่โจทย์กำหนด การใช้ทักษะ ในการเขียนตอบข้ึนอยู่กับความสามารถของตัวผู้สอบ ข้อสอบแบบอัตนัยสามารถวัดวามสามารถของ ผู้เรียนได้หลายดา้ นท้ังในด้านความรู้ และด้านทักษะและกระบวนการ การใช้ข้อสอบแบบอัตนัยจะช่วยให้ ผู้สอนสามารถประเมินผู้เรียนได้หลากหลายทักษะและหลากหลายมุมมอง เน่ืองจากการเขียนของผู้เรียน นอกจากจะสะท้อนความสามารถในการนำความรู้ไปใช้แล้ว ยังสะท้อนความรู้ วิธีคิด มโนทัศน์ และ ความสามารถในการสื่อสารอีกด้วย ดังนัน้ ผูส้ อนควรประเมนิ แยกกันระหวา่ งความสามารถในการเขยี นกับ ทักษะและกระบวนการ การใช้ข้อสอบแบบอัตนัยจะสามารถประเมินทักษะและกระบวนการได้มากกว่าการใช้ข้อสอบ แบบปรนัย เนื่องจากผู้สอนสามารถถามในพฤติกรรมนั้นได้โดยตรง เช่น ถ้าต้องการถามเกี่ยวกับการให้

21 เหตุผล อาจถามว่า \"เพราะเหตุใด\" \"ทำไมจึงเป็นเช่นน้ี\" หรือถ้าตอ้ งการให้ผูเ้ รียนเกดิ การเชื่อมโยงอาจถาม วา่ \"เราเคยเหน็ คำถามแบบนี้ท่ีไหนหรือไม\"่ \"แนวคดิ เหล่านี้สัมพนั ธ์กันอย่างไร\" แต่อย่างไรกต็ ามผสู้ อนควร มีการคิดแนวทางของคำตอบไว้ล่วงหน้าและมีเกณฑ์การให้คะแนนที่ชัดเจนสำหรับการประเมินคำตอบ ของผู้เรยี น คงนิตา เคยนิยม และสุวิมล จรูญโสตร์ (2553, หน้า 21 กล่าวว่า ควรใช้คำถามที่มิใช่ถาม ความจำ ความเข้าใจหรือคำถามที่มีคำตอบถูกเพียงคำตอบเดียวเท่าน้ัน แต่ควรเป็นคำถามแบบปลายเปิด ที่นักเรียนต้องคิดกว้างและหลากหลายใช้ความคิดระดับสูงในการตอบ มีการนำข้อมูลความรู้ไปใช้ใน สถานการณ์ใหม่ พฒั นาแนวคิดใหมป่ ระเมินความเหมาะสมและคดิ สร้างสิ่งใหม่ จากเครื่องมือทีใ่ ช้วดั ความสามารถในการแก้ปัญหาที่กลา่ วมาข้างต้นน้ัน สรุปได้วา่ แบบทดสอบที่ นำมาใช้วัดความสามารถในการแก้ปัญหานั้นแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1) แบบทดสอบปรนัย และ 2) แบบทดสอบอัตนัย ซึ่งการวัดและประเมินผลความสามารถในการแก้ปัญหาทางฟิสิกส์ส่วนใหญ่จะวัด และประเมนิ ผลตามขนั้ ตอนของการแก้ปัญหา เพื่อตรวจสอบว่าผู้เรียนมขี ้อบกพร่องสว่ นใดและจะได้แกไ้ ข ไดถ้ กู ต้อง สำหรบั ในงานวจิ ัยน้ี ผวู้ จิ ัยเลือกใช้แบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาฟิสิกส์เป็นแบบ อัตนัย เพ่ือตรวจสอบว่าผู้เรียนมีความสามารถในการแก้ปัญหาโจทย์ทางฟิสิกส์อย่างไรบ้าง และมี ข้อบกพรอ่ งในส่วนใดบา้ ง 2) เกณฑก์ ารประเมินความสามารถในการแก้ปญั หา รีส์ ซุยแคม และลินควิสท์ (Reys, Suydam & Lindquist, 1995, p.313) ได้กำหนดรูบริคของ ความสามารถในการแก้ปญั หาโดยที่แต่ละขัน้ ตอนของกระบวนการแก้ปัญหา จะใหค้ ะแนนตงั้ แต่ 0-2 คะแนน ตามรายละเอียดดงั น้ี 1. ดา้ นความเขา้ ใจ 0 หมายถงึ ไมเ่ ข้าใจในปัญหาเลย 1 หมายถงึ เขา้ ใจปญั หาบางส่วนหรือแปลความหมายบางสว่ นคลาดเคลอ่ื น 2 หมายถงึ เขา้ ใจปัญหาไดด้ ี กระบวนสมบรู ณ์ 2. ดา้ นวางแผนการแก้ปัญหา 0 หมายถึง ไม่พยายาม หรือวางแผนได้ไมเ่ หมาะสมทง้ั หมด 1 หมายถึง วางแผนได้ถูกต้องบางสว่ น 2 หมายถงึ วางแผนเพ่อื นำไปสกู่ ารแกป้ ญั หาได้ถูกต้อง

22 3. ด้านคำตอบ 0 หมายถงึ ไมต่ อบ หรอื ตอบผิดในสว่ นทวี่ างแผนไมเ่ หมาะสม 1 หมายถงึ คัดลอกผดิ พลาด คำนวณผิดพลาด ตอบบางสว่ นสำหรับปัญหาที่มี หลายคำตอบ 2 หมายถงึ ตอบได้ถูกตอ้ งและใช้ภาษาไดถ้ ูกต้อง สิริพร ทิพย์คง (2544, หนำ 113-114) กล่าวว่า การประเมินความสามารถในการแก้ปัญหาควร จะมีวิธีการทีม่ ากกวา่ การได้คำตอบที่ถูกต้อง และได้เสนอเกณฑ์การประเมินในการแก้ปัญหา ดังน้ี 1. ความเข้าใจปญั หา 2 คะแนน สำหรบั ความเข้าใจปัญหาไดถ้ กู ตอ้ ง 1 คะแนน สำหรบั การเข้าใจโจทยบ์ างสว่ นไมถ่ กู ตอ้ ง 0 คะแนน เมอื่ มีหลกั ฐานท่แี สดงว่าเข้าใจน้อยมาก หรอื ไม่เขา้ ใจเลย 2. การเลือกยทุ ธวธิ ีการแกป้ ัญหา 2 คะแนน สำหรับการเลือกวธิ กี ารแกป้ ัญหาไดถ้ ูกตอ้ ง และเขียนประโยคคณิตศาสตร์ ถกู ต้อง 1 คะแนน สำหรับการเลอื กวิธีการแก้ปัญหา ซึง่ อาจนำไปสู่คำตอบท่ีถูก แต่ยังมีบางสว่ น ผิดโดยอาจเขียนประโยคคณิตศาสตรไ์ ม่ถูกต้อง 0 คะแนน สำหรบั การเลือกวิธกี ารแกป้ ญั หาไม่ถกู ตอ้ ง 3. การใช้ยุทธวิธกี ารแกป้ ัญหา 2 คะแนน สำหรับการนำยทุ ธวิธกี ารแกป้ ัญหาไปใช้ได้ถกู ตอ้ ง 1 คะแนน สำหรบั การนำวธิ กี ารแกป้ ัญหาบางส่วนไปใชไ้ ด้ถกู 0 คะแนน สำหรับการใช้ยุทธวิธกี ารแก้ปญั หาไมถ่ ูกต้อง 4. การตอบ 2 คะแนน สำหรบั การตอบคำถามได้ถกู ต้อง สมบรู ณ์ 1 คะแนน สำหรับการตอบท่ีไม่สมบรู ณห์ รอื ใชส้ ญั ลักษณ์ผดิ 0 คะแนน เมื่อไม่ไดร้ ะบคุ ำตอบ อัมพร ม้าคนอง (2546, หน้า 92) กล่าวถึง การให้คะแนนแต่ละข้ันตอนของกระบวนการ แก้ปัญหาว่า ผู้สอนต้องกำหนดไว้ล่วงหน้าว่าจะให้ผู้เรียนทำกี่ขั้นตอน และแต่ละขึ้นตอนจะให้คะแนน อย่างไร ดังน้ี

23 ข้นั ทำความเข้าใจปัญหา 0 ไมเ่ ขา้ ใจปัญหาเลย 1 เขา้ ใจปัญหาเปน็ บางสว่ น 2 เข้าใจปัญหาทั้งหมด ขนั้ วางแผนแกป้ ัญหา 0 วางแผนการแก้ปัญหาไมเ่ หมาะสม 1 ใชข้ ้อมลู จากปญั หาวางแผนการแก้ปญั หา ถูกต้องเปน็ บางส่วน 2 แผนท่วี างไวจ้ ะได้คำตอบที่ถูกต้องได้ ถ้าดำเนนิ การถกู ต้อง ช าร์ล แล ะเลส เต อ ร์ (Charles & Lester, 1982, pp. 11-12) ได้ เสน อ รูป แบ บ ก ารวัด ความสามารถในการแกป้ ัญหาทาคณติ ศาสตร์ไว้ โดยพิจารณาถึงความสามารถ 3 ประการดงั น้ี 1. ความเขา้ ใจในปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาโจทย์ มวี ธิ ีการให้คะแนน ดังนี้ 0 หมายถงึ แปลความหมายผดิ โดยสน้ิ เชงิ 1 หมายถึง แปลความหมายผิดบางส่วน 2 หมายถงึ แปลความหมายโจทยถ์ กู ต้อง 4. รูปแบบการแก้โจทย์ปญั หาตามเทคนคิ ของโพลยา 4.1 ประวตั คิ วามเปน็ มาของโพลยา การแก้ปัญหาโจทย์ตามเทคนิคของโพลยาเป็นการจัดการเรียนการสอนแบบแก้ปัญหาโดยใช้รูปแบบการ แกป้ ัญหาของโพลยา ซ่ึงใชใ้ นวิชาคณิตศาสตร์ ไดส้ รปุ เกยี่ วกับความเปน็ มาของโพลยา ดังนี้ George Polya เกิดในประเทศฮังการี ได้รับปริญญาเอกทางด้านคณิตศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยบูคาเปสต์ โพลยาให้ความสนใจเก่ียวกับกระบวนการค้นพบ การที่จะเข้าใจทฤษฎีน้ัน ประการแรกจะต้องทราบว่าทฤษฎีน้ัน ค้นพบข้ึนมาได้อย่างไร ดังนั้นโพลยาจึงเน้นกระบวนการค้นพบมากกว่าการพัฒนาทักษะ โพลยามีผลงานทางด้าน คณิตศาสตร์ ซ่ึงเป็นที่ยอมรับกันโดยท่ัวไปมากกว่า 250 บทความ มีหนังสือ 3 เล่ม ที่กล่าวถึงการแก้ปัญหา คณิตศาสตร์ หนังสือท่ีเกี่ยวกับการแก้ปัญหาท่ีมีชื่อเสียง ชื่อ “How to Solve It” เป็นหนังสือเก่ียวกับการ แก้ปัญหาสี่ขั้นตอนของโพลยา โดยแนวคิดการแก้ปัญหาของโพลยานับว่ามีอิทธิพลต่อนักคณิตศาสตร์ศึกษาใน ปัจจบุ นั มาก

24 4.2 เทคนิคการแก้ปญั หาของโพลยา การแก้โจทย์ปัญหาตามเทคนิคของโพลยา เป็นการจัดการเรียนการสอนแบบแก้ปัญหาท่ีเป็นที่ยอมรบั กัน โดยท่ัวไป (Polya, pp. 1887-1985 อ้างถึงใน ปรีชา เนาว์เย็นผล, 2537, น. 12-16) ประกอบด้วยขั้นตอนการ แก้ปญั หา 4 ข้ันตอน ดงั นี้ ขั้นตอนที่ 1 ขั้นทำความเข้าใจ เป็นการมองไปท่ีสาระของตัวปัญหาโดยพยายามเข้าใจปัญหา ต้องการ อะไร ชัดเจนหรือไม่ มีข้อตกลงอะไรอยู่เบ้ืองหลังบ้าง มีคำศัพท์เฉพาะที่ต้องแปลความหมายหรือไม่ มีข้อมูล อะไรบ้างท่ีเกี่ยวข้อง ข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันอย่างไร หากเกิดความกำกวมหรือสับสน ควรใช้การเขี ยนสรุป หรือเขียนปัญหาที่กำหนดใหใ้ หมด่ ว้ ยถอ้ ยคำของผู้แก้ไขปญั หาเอง ก็จะทำให้เข้าใจโจทย์ปญั หาดีย่งิ ข้นึ ขั้นตอนท่ี 2 ข้ันวางแผน เป็นข้ันตอนท่ีค้นหาความเช่ือมโยงระหว่างข้อมูลที่กำหนดให้กับสิ่งที่ต้องการหา ถ้าแก้ปัญหาไม่ได้ ควรอาศัยการวางแผนว่าเป็นโจทย์ปญั หาทเี่ คยแก้มาก่อนหรอื ไม่ รูจ้ ักทฤษฎีที่จะแก้หรือไม่ ถ้าไม่ สามารถแก้ไดท้ ันที ก็ควรพยายามแก้ปัญหาบางส่วนทีส่ ัมพันธ์กันก่อนแล้วจึงหาส่ิงทไี่ ม่ทราบคำอื่น ๆ ถัดไป ในข้ัน วางแผนนี้ผู้แก้ปัญหาต้องใช้ประสบการณ์เดิมผสมผสานกันมากำหนดเป็นวิธีการซึ่งต้องพิจารณาว่าจะใช้วิธีการ แก้ปัญหาแบบใดให้เหมาะสมกับโจทย์ปัญหานั้น ๆ เน่ืองจากโจทย์ปัญหาบางอย่างอาจจะเลือกใช้กลวิธีใดวิธีหนึ่ง หรือหลายวธิ ดี ว้ ยกันได้ เชน่ เดาและตรวจสอบ เขียนภาพ แผนภูมิ สร้างตาราง เปน็ ต้น ข้นั ตอนที่ 3 ข้ันดำเนินการดามแผน เป็นข้ันลงมือปฏิบัติตามแผน โดยการดำเนินการตามกลยุทธ์ที่เลือก ไว้ คิดคำนวณจนกระทั่งได้คำตอบ ถ้าแก้ปัญหาไม่สำเร็จตามแผนท่ีวางไว้ผู้แก้ปัญหาต้องคันหาสาเหตุแล้วใช้ ประโยชนจ์ ากความผิดพลาคคร้ังแรกๆ ในการแกป้ ัญหาครงั้ ใหม่ ขัน้ ตอนที่ 4 ข้นั ตรวจสอบ เปน็ ขั้นตอนทผ่ี ้แู ก้ปัญหาตอ้ งมองย้อนกลบั ไปที่ขน้ั ตอนต่าง ๆ ของกระบวนการ แกป้ ัญหาว่ามีความสมบูรณ์ถกู ต้องเพียงใด เพื่อปรบั ปรงุ แก้ไขใหด้ ีขึ้น และขยายวิธกี ารแก้ปญั หาไปใช้ให้กว้างขวาง ขึน้ กว่าเดมิ พิมพส์ รณ์ ตกุ เตียน (2552, น. 55) ไดส้ รุปขัน้ ตอนในการแกป้ ัญหาตามเทคนคิ ของโพลยา 4 ขน้ั ตอน ดังน้ี ขั้นที่ 1 ทำความเข้าใจโจทย์ปัญหา (Understanding the problem) นำปัญหามาให้นักเรียนทำความ เข้าใจปัญหา โดยให้นักเรียนอ่านและพิจารณาว่า อะไรคือข้อมูล อะไรคือสิ่งที่ไม่รู้ อะไรคือเง่ือนไขของปัญหา ปัญหาต้องการให้หาคะไร คำตคาของปญั หาอยใู่ นรูปแบบใด ขน้ั ท่ี 2 วางแผนการแก้โจทยป์ ัญหา (Devising a plan) เป็นข้ันตอนท่ีต้องพิจารณาวา่ จะแก้ปัญหาด้วยวธิ ี ใด แก้อย่างไร การวางแผนจะช่วยให้นักเรียนประสบความสำเร็จมากข้ึน ครูจะนำโจทย์ปัญหาลักษณะต่าง ๆ ให้ นักเรียนฝึกเรยี นรู้และใช้วิธีการแก้ปัญหาทห่ี ลากหลาย เพ่ือเป็นประสบการณ์ในการวางแผนแกป้ ัญหาได้เหมาะสม มากข้นึ

25 ขั้นที่ 3 ดำเนินการตามแผน (Carrying out the plan) เป็นขั้นลงมือปฏิบัติตามแผนท่ีวางไว้ ตรวจสอบ ความเป็นไปได้ของแผน ตรวจสอบในแต่ละข้ันตอนท่ีปฏิบัติว่าถูกต้องหรือไม่ แล้วลงมือปฏิบัติโดยการแสดงวิธีทำ และคำนวณหาคำตอบจนกระทัง่ พบคำตอบ หรือพบวิธกี ารแกป้ ัญหาได้ ขั้นท่ี 4 ตรวจสอบผลลัพธ์ (Looking back) เป็นการตรวจสอบผลที่ได้ในแต่ละขั้นตอนที่ผ่านมา เพื่อดู ความถูกต้องของคำตอบ และวิธีการในการแก้ปัญหา พิจารณาว่ายังมีคำตอบอ่ืนหรือวิธีการแก้ปัญหาวิธีอ่ืน ๆ อีก หรือไม่ แล้วตรวจสอบว่าผลลัพธ์ตรงกันหรือไม่ ครูอาจจะใช้คำถามเพ่ือช่วยให้นักเรียนมองย้อนกลับไปในขั้นตอน ตา่ ง ๆ ที่ผา่ นมา ชยั วัฒน์ สุทธริ ัตน์ (2557, น. 70) ได้สรุปขั้นตอนการแกป้ ัญหาตามเทคนคิ ของโพลยา 4 ขัน้ ตอน คือ ขั้นที่ 1 ทำความเข้าใจในปัญหา โดยการพยายามทำความเข้าใจในสัญลักษณ์ต่าง ๆ ในปัญหา สรุป วิเคราะห์ แปลความ ทำความเข้าใจให้ได้ว่าโจทย์ถามถึงอะไร ข้อมูลท่ีโจทย์ให้มามีอะไรบ้าง ข้อมูลมีเพียงพอ หรือไม่ ขั้นท่ี 2 การวางแผนในการแก้ปัญหา โดยมีการแจกแจงปัญหาออกเป็นส่วนย่อย ๆ เพ่ือสะดวกต่อการ แก้ปัญหาและวางแผนว่าจะใช้วิธีใดในการแก้ปัญหา เช่น การลองผิดลองถูก การหารูปแบบ การหาความสัมพันธ์ ของขอ้ มลู ตลอดจนความคล้ายคลงึ ของปัญหาเดมิ ทเี่ คยทำมา ข้ันท่ี 3 การลงมือทำตามแผน เป็นขั้นที่ดำเนินการแก้ปัญหาตามแผนท่ีวางไว้ ถ้าขาดลักษณะใดจะต้อง เพิ่ม เพ่ือนำไปใช้ใหเ้ กิดผลดี ข้ันนี้จะรวมถงึ วิธีการแก้ปญั หาด้วย ข้ันท่ี 4 การตรวจสอบวิธีการและคำตอบของปัญหา เพ่ือให้แน่ใจว่าวิธีการแก้ปัญหานั้นเป็นวิธีการ ทถี่ ูกต้อง ขนิษฐา ภักดีบุญ (2557, น.18) ได้เสนอขั้นตอนในกระบวนการแก้ปัญหาตามแนวคิดของโพลยา 4 ขัน้ ตอน คอื ข้ันท่ี 1 ทำความเข้าใจในปัญหา ข้ันตอนนี้เป็นข้ันเริ่มต้นการแก้ปัญหาท่ีต้องการให้นักเรียนคิดเก่ียวกับ ปัญหาและตัดสินว่าอะไรคือส่ิงท่ีต้องการค้นหา นักเรียนต้องทำความเข้าใจปัญหา และระบุส่วนสำคัญของปัญหา ซงึ่ ได้แก่ ตัวไม่รู้ค่า ข้อมูลและเงื่อนไข ในการทำความเขา้ ใจปัญหานักเรียนอาจพิจารณาสว่ นสำคัญของปญั หาอย่าง ถี่ถ้วน พิจารณาซ้ำไปซ้ำมา พิจารณาในหลากหลายมุมมอง หรืออาจใช้วิธีต่าง ๆ ช่วยทำความเข้าใจปัญหา เช่น การวาดรูป การเขยี นแผนภูมิ ขั้นที่ 2 การวางแผนแก้ปัญหา ข้ันตอนนี้นักเรียนต้องคันหาความเชื่อมโยง หรือความสัมพันธ์ระหว่าง ข้อมูลและตวั ไมร่ ู้ค่า แลว้ นำความสมั พันธ์นน้ั มาผสมผสานกบั ประสบการณ์ในการแกป้ ัญหา เพ่ือกำหนดแผนในการ แก้ปญั หา และท้ายสุดเลือกยทุ ธวิธีทีจ่ ะนำมาใช้แกป้ ัญหา

26 ขัน้ ท่ี 3 ดำเนินการตามแผน ขน้ั ตอนน้ีนักเรียนต้องลงมือปฏบิ ัตติ ามแนวทางหรอื แผนที่วางไว้ โดยเริ่มจาก การตรวจสอบความเป็นไปได้ของแผน เพิ่มเติมรายละเอียดต่าง ๆ ของแผนให้ชัดเจน นักเรียนต้องค้นหาแผนหรือ ยุทธวธิ ีแกป้ ัญหาใหม่อีกครงั้ การคน้ หาแผนหรือยุทธวธิ ีแก้ปัญหาใหม่ ถอื เป็นการพฒั นาผูแ้ กป้ ญั หาท่ดี ีด้วยเชน่ กัน ขั้นท่ี 4 ตรวจสอบผล ขั้นตอนน้ีต้องให้นักเรียนมองย้อนกลับไปยังคำตอบท่ีได้มาโดยเริ่มจากการ ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำตอบ และยุทธวิธแี ก้ปัญหาท่ใี ช้ แล้วพิจารณาว่ามีคำตอบหรอื ยุทธวธิ ีแก้ปัญหา อย่างอ่ืนอีกหรือไม่ สำหรับนักเรียนท่ีคาดเดาคำตอบก่อนลงมือปฏิบัติก็สามารถเปรียบเทียบหรือตรวจสอ บ ความสมเหตสุ มผลของคำตอบท่คี าดเดา และคำตอบจริงในข้นั ตอนน้ีได้ จากท่ีกล่าวมาสรุปได้ว่า การแก้โจทย์ปัญหาตามเทคนิคของโพลยา เป็นการจัดการเรียนการสอนท่ีมุ่งให้ ผ้เู รียนได้ฝึกคิดแก้โจทยป์ ญั หาอยา่ งเปน็ ระบบ มขี ้ันตอนการแก้โจทยป์ ัญหาทช่ี ัดเจน ประกอบด้วย 4 ขัน้ ตอน คอื ขั้นท่ี 1 ทำความเข้าใจโจทย์ปัญหา หมายถึง การระบุปัญหาที่กำหนด ทำความเข้าใจในโจทย์ปัญหา ว่า โจทยป์ ัญหานัน้ ต้องการทราบอะไร ขั้นท่ี 2 วางแผนการแก้โจทย์ปัญหา หมายถึง การมองเห็นแนวทางในการแก้โจทย์ปัญหาว่า การแก้โจทย์ ปญั หาจะตอ้ งใชว้ ิธกี ารใดบ้าง และจะเลอื กใช้วิธีการใดในการแกโ้ จทยป์ ญั หา ข้ันท่ี 3 ดำเนินการตามแผน หมายถึง การเลือกวิธีการและปฏิบัติการตามแผนท่ีได้กำหนดไว้เพ่ือหา คำตอบของโจทยป์ ญั หา ขั้นที่ 4 ตรวจสอบผล หมายถึง การตรวจสอบผลท่ีได้ในแต่ละข้ันตอนท่ีผ่านมา เพ่ือดูความถูกต้องของ วิธีการ และคำตอบในการแก้โจทย์ปัญหา และพิจารณาว่าสามารถหาคำตอบโดยใช้วิธีการแก้โจทย์ปัญหาวธิ ีอื่น ๆ ไดอ้ ีกหรือไม่ 4.3 การสอนการแกป้ ัญหาตามขั้นตอนของโพลยา กรมวชิ าการ (2541, น. 5-6 อ้างถึงใน โสมภิลยั สวุ รรณ์, 2554, น. 26-28) แนะนำขน้ั ตอนในการสอนแก้ โจทย์ปญั หา โดยพิจารณาตามขั้นตอนของโพลยา แนะนำมาเป็นแนวทางในการช่วยพัฒนาความสามารถในการแก้ โจทย์ปัญหาของนักเรียน ดงั น้ี 1) ก่อนท่ีครูจะสอนนักเรีขนแก้โจทย์ปัญหา ครูผู้สอนควรให้นักเรียนอ่านสถานการณ์ให้เข้าใจ (สำหรับ นักเรียนท่ีอ่านหนังสือไม่คล่อง ครูผู้สอนอาจอ่านให้นักเรียนฟัง) แล้วให้นักเรียนพิจารณารายละเอียดของ สถานการณ์ว่าให้อะไรบ้าง แล้วจำแนกสถานการณ์ ส่ิงท่ีต้องการให้หาโดยในสถานการณ์มีการซ่อนเงื่อนไขในการ แก้ปัญหาไว้หรอื ไม่ และนักเรียนสามารถเดาหรอื คาดคะเนคำตอบท่เี ป็นไปไดห้ รอื ไม่ 2) วางแผนแก้ปัญหา สถานการณ์ท่ีกำหนดให้ จะมีการแก้ปัญหามากมาย ครูอาจยกตัวอยา่ งแสดงวิธีการ แก้ปัญหาแต่ละวิธใี ห้นักเรียนดู เพื่อเป็นแนวทางให้นักเรียน นักเรยี นบางคนอาจมีวธิ ีทแ่ี ตกต่างไปจากครูเสนอแนะ

27 ก็ได้ ครูไม่ควรยึดติดกับคำตอบเท่านั้น ครูควรดูวิธีแก้ปัญหาของนักเรียน ในการสอนทุกคร้ังควรมีการสรุป ช้ีแนะ ให้นักเรียนได้พิจารณาวิธีการแก้ปัญหา เพ่ือสร้างนิสัยให้นักเรียนคิดวางแผนก่อนลงมือทำ และรู้จักเลือกวิธี แก้ปัญหาที่ง่าย ส้ันและสะดวกท่ีสุด ยุทธวธิ ีในการแก้ปัญหามีหลายวิธี เช่น เดาคำตอบ ทำปัญหาให้ง่ายลง ค้นหา รูปแบบ วาครูป หรือแผนภาพ ทำตาราง แจงกรณีอย่างมีระบบ ทำย้อนกลับ ใช้หลักเหตุผล การแสดงบทบาท สมมติ 3) แกไ้ ขตามแผนที่วางไว้ ครูผู้สอนควรให้นักเรียนเลอื กยุทธวิธีทเ่ี หมาะสมตามความสามารถของแต่ละคน ครูผู้สอนไม่ควรกำหนดว่านักเรียนใช้ยุทธวิธีน้ีจึงจะถูกต้องและในบางสถานการณ์อาจใช้หลายยุทธวิธีผสมกันก็ได้ ถ้านักเรยี นยงั คิดหายทุ ธวธิ ีที่เหมาะสมในการแก้ปัญหาไม่ได้ ครูผู้สอนควรให้การเสริมแรงทางบวก เพื่อใหน้ ักเรียน มีกำลังใจในการทำต่อไป สถานการณ์ท่ีมีการคิดคำนวณ ถ้านักเรยี นวางแผนแก้ปัญหาได้ถูกต้องเหมาะสม ชัดเจน ในขั้นลงมือแก้ปัญหาดามแผนมักจะมีปัญหาอยู่การคิดคำนวณเท่านั้น ซ่ึงถ้านักเรียนได้รับการฝึกทักษะมาอย่าง เพียงพอก็จะไม่มีปัญหาแต่อยา่ งใด สำหรับปัญหาที่ต้องการคำอธิบาย การให้เหตุผล ครสู ามารถสร้างกิจกรรมเพ่ือ ปลูกฝังและฝึกฝนการใช้ความคิด ในการให้เหตุผลของนักเรียน เช่น การสร้างโจทย์ปัญหาท่ีมีคำตอบเป็นปริมาณ ครูควรฝึกให้นักเรียนตรวจสอบการวางแผนก่อนท่ีจะลงมือทำตามแผนโดยพิจารณาความเป็นไปได้ ความถูกต้อง ของแผนท่ีวางไว้ว่าเหมาะสมกับการแก้ปัญหาหรือไม่ ปัญหาบางปัญหาในชีวิตจริงไม่สามารถนำวิธีการทาง คณติ ศาสตรไ์ ปใช้ได้โดยตรง ครคู วรฝึกใหน้ กั เรียนพิจารณาและปรับปรงุ วธิ ีการใหเ้ หมาะสม 4) การตรวจคำตอบ ครผู ู้สอนสว่ นใหญจ่ ะมองข้ามความสำคัญในการตรวจสอบ เนอ่ื งจากการจัดการเรียน การสอนในปัจจุบัน มักให้ความสำคัญกับคำตอบท่ีถูกต้องมากกว่าคำนึงถึงกระบวนการในการคิด จึงมีแนวโน้มว่า ครูผู้สอนจะหยุดทำการสอนทันทีเมื่อนักเรียนได้ผลลัพธ์แล้ว ครผู ู้สอนไม่ควรปล่อยให้การสอนมีลักษณะดังท่ีกล่าว มานี้ แต่ควรจัดกิจกรรมให้นักเรียนมองย้อนกลับไปทบทวนและตรวจสอบขั้นตอนต่าง ๆ ท่ีผ่านมาแล้ว โดย พิจารณาความสมเหตุสมผลของคำตอบ และพิจารณาว่าน่าจะมีคำตอบอ่ืนหรือวิธีการคิดอย่างอ่ืนอีกหรือไม่ โดย ครผู สู้ อนอาจใชค้ ำถามเพ่ือชว่ ยใหน้ ักเรียนมองยอ้ นกลบั หรอื ตรวจสอบขน้ั ตอนต่าง ๆ ในลกั ษณะต่อไปนี้ (4.1) วธิ ีการท่ีใชแ้ ก้โจทยป์ ัญหาสมเหตุสมผลหรือไม่ (4.2) ใช้ขอ้ มูลทั้งหมดทโ่ี จทยอ์ า้ งถึงครบหรอื ไม่ (4.3) สามารถพิสจู นผ์ ลลพั ธท์ ี่ได้วา่ เปน็ ความจรงิ หรือไม่ (4.4) มสี ว่ นใดในวธิ ีการของนกั เรยี นท่ีน่าปรับใหง้ ่ายข้ึนบา้ ง (4.5) สามารถใช้วธิ อี ่ืนในการแกโ้ จทยป์ ัญหาขอ้ เดิมน้ไี ด้อกี หรือไม่ (4.6) วธิ กี ารท่ีนักเรยี นใช้จะสามารถนำไปใชแ้ ก้ปญั หาอืน่ ๆ ไดบ้ ้างหรือไม่

28 หลังจากที่ครูใหน้ ักเรยี นแก้สถานการณ์ต่าง ๆ แล้วอาจจะมีการฝึกทักษะในการแก้ปัญหา มีตัวอย่างให้ใน บางสถานการณ์ หรือฝึกสร้างโจทย์ปัญหา โดยอาศัยสถานการณ์จากสภาพแวดล้อม จากกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิต จริง รวมทั้งดัดแปลงจากปัญหาเดิม เพื่อฝึกการมองไปข้างหน้า ความเคยชินจากกระบวนการเหล่าน้ี จะช่วย ส่งเสริมใหน้ กั เรียนเปน็ นักแกป้ ัญหาทม่ี คี วามสามารถตอ่ ไป การสอนการแก้โจทย์ปัญหาตามขั้นตอนของโพลยานั้น โดยก่อนท่ีจะสอนการแก้โจทย์ปัญหา ครูผู้สอน ตอ้ งให้นกั เรียนวเิ คราะห์โจทย์ปญั หาให้เข้าใจ จากนัน้ ครตู อ้ งจัดกิจกรรมการเรียนฝึกให้นักเรียนคิดวางแผนก่อนลง มอื ทำ และร้จู ักเลือกวิธแี ก้ปัญหาที่ง่าย สั้น และสะดวกทีส่ ดุ แล้วควรให้นักเรียนเลอื กยทุ ธวิธีในการแกโ้ จทย์ปัญหา ท่ีเหมาะสมตามความสามารถของแต่ละคน จากนั้นครูผู้สอนควรจัดกิจกรรมให้นักเรียนตรวจสอบข้ันตอนต่าง ๆ ท่ีผา่ นมาแลว้ เพอื่ เป็นการมองย้อนกลบั ไปทบทวนอีกครงั้ 5. ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน 5.1 ความหมายของผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน ศิริชัย กาญจนวาสี (2552, หน้า 166) ได้ให้ความหมายของ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนว่าหมายถึง ผลการ เรยี นรตู้ ามแผนทก่ี ำหนดไว้ลว่ งหน้า อันเกิดจากกระบวนการเรียนการสอนในชว่ งระยะเวลาใดเวลาหนง่ึ ทผี่ ่านมา ชนินทร์ชัย อินทิราภรณ์ และสุวิทย์ หิรัณยกาณฑ์ (2548, หน้า 5) ได้ให้ความหมายของผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ว่าหมายถึง ความสำเร็จท่ีได้รับจากความสามารถ ความรู้และทักษะ หรือผลของการเรียนการสอน หรือผลงานที่เดก็ ไดจ้ ากการประกอบกจิ กรรมส่วนน้ัน ๆ ราชบัณฑิตยสถาน (2553, หน้า 9) ได้ให้ความหมายของ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนว่าหมายถึง ผลการ เรียนรู้ท่ีวัดหรือเทียบจากเกณฑ์ท่ีกำหนด โดยใช้แบบทคสอบหรือเคร่ืองมืออ่ืนท่ีเหมาะสมประเมินผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน จากความหมายของผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน สรปุ ได้ว่า ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน หมายถงึ ผลทเี่ กิดจากการ เรียนรู้ของผู้เรียนในช่วงระยะเวลาใดเวลาหนึ่งที่ผ่านมา ซ่ึงในงานวิจัยคร้ังน้ีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จะหมายถึง ความรู้ความสามารถของผู้เรียนที่ได้จากการทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนฟิสิกส์ เร่ือง ไฟฟ้าและ สนามแมเ่ หล็ก ในวิชา ฟสิ ิกส์ไฟฟ้า ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 5.2 การวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นวิทยาศาสตร์ Bloom (1956 อ้างถึงใน ภพ เลาหไพบูลย์, 2542, หน้า 97-99) ได้จำแนกประเภทของวัตถุประสงค์ทาง การศกึ ษาออกเปน็ 3 ดา้ น ได้แก่ ค้นพุทธิพิสยั ดา้ นเจตพสิ ัย และดา้ นทกั ษะพิสัย

29 1. พุทธิพิสยั เป็นวัตถุประสงค์ทางการศกึ ษาทเี่ ก่ยี วกับความรู้ ความเขา้ ใจ การใชค้ วามคิด เปน็ การเรยี นรู้ ทางด้านสตปิ ญั ญา การเรยี นรูด้ า้ นพุทธิพิสยั แบง่ เป็น 6 ขั้น ซงึ่ เรียงลำดบั จากข้ันต่ำไปสขู่ ั้นสูงดงั นี้ 1.1 ความรู้ เป็นความสามารถในการรับรู้และจำเร่ืองต่าง ๆ อาจจำแนกย่อยได้เป็นความรู้ เก่ียวกับคำศัพท์หรือเทอมเฉพาะ ความรู้เก่ียวกับข้อเท็จจริง ความรู้ในแบบแผนข้อตกลงลำดับขั้นตอน และแนวโนม้ การจดั ประเภท เกณฑ์ และเทคนิควิธีการ 1.2 ความเข้าใจ เป็นความสามารถในการแปลความ การตีความ การขยายความ สรุป อ้างอิง อธิบาย บรรยายในเรื่องราวและเหตุการณ์ตา่ ง ๆ 1.3 การนำไปใช้ เป็นความสามารถในการนำหลักการ กฎเกณฑ์ ไปใช้ในการแก้ปัญหาใน สถานการณใ์ หมไ่ ด้ 1.4 การวิเคราะห์ เป็นความสามารถในการแยกแยะความรู้ต่าง ๆ เป็นการหาองค์ประกอบย่อย จนกระท่ังมองเห็นความสำคัญ และหาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ข้อมูลย่อย ๆ เหล่าน้ัน และหา หลกั การของความรนู้ นั้ ได้ 1.5 การสังเคราะห์ เป็นความสามารถในการผสมผสานส่วนย่อยเข้าเป็นเรื่องราวเดียวกัน การ สังเคราะห์แบ่งออกได้เป็น การสังเคราะห์เป็นแผนงานหรือกิจกรรมที่จะปฏิบัติ การสังเคราะห์เป็น นามธรรม หรือการสร้างหลักการ ทฤษฎตี ่าง ๆ 1.6 การประเมินคา่ เป็นความสามารถในการวินิจฉัยหรือตัดสินเกี่ยวกับคุณค่าของการกระทำส่ิง หนงึ่ ส่ิงใดลงไป โดยยึดถือเกณฑ์เปน็ หลกั 2. เจตพิสัย เป็นวัตถุประสงค์ทางการศึกษาท่ีเก่ียวกับความสนใจ เจตคติ คุณธรรม หรือค่านิยม ความ ซาบซ้ึง ซ่ึงเป็นการเรียนรู้ทางด้านความรู้สึก การเรียนรู้ด้านเจตพิสัยแบ่งเป็น 5 ข้ันตอน ซ่ึงเรียงลำดับจากข้ันต่ำ ไปสขู่ ั้นสูงดงั น้ี 2.1 การรับรู้สิ่งเร้า คือ การที่ผู้เรียนได้รับประสบการณ์จากสภาพแวดล้อมต่าง ๆ แล้วเกิดความ สนใจและรับรู้ส่ิงแวดล้อมนัน้ โดยทีผ่ ู้เรยี นมคี วามรู้ตัว ต้งั ใจ รับรู้ หรือต้ังใจที่ถูกควบคมุ ใหร้ บั รู้ 2.2 การตอบสนอง เม่ือผู้เรียนได้รับรู้สิ่งแวดล้อม ผู้เรียนเริ่มมีปฏิกิริยาโด้ตอบกับสิ่งแวดล้อมท่ี รับเขา้ มา มคี วามต้งั ใจทีจ่ ะตอบสนอง มีความพึงพอใจในการตอบสนองต่อสงิ่ แวดลอ้ มน้ัน 2.3 การสร้างค่านยิ ม เม่ือผู้เรยี นไดร้ ับรแู้ ละมปี ฏกิ ิริยาโต้ตอบแล้ว ตอ่ มาเป็นการสร้างค่านิยม คือ การยอมรบั คณุ คา่ ของส่ิงนัน้ มีความพึงพอใจในคณุ ค่าของส่งิ นั้น และมีความแน่ใจผกู พันในคา่ นยิ มนัน้ 2.4 การจัดระบบค่านิยม เมื่อผู้เรียนได้สร้างค่านิยมแล้ว ผู้เรียนจะพิจารณาจัดรวบรวมค่านิยม เหล่านน้ั ทีม่ คี วามสมั พนั ธ์กนั เปน็ หมวดหม่เู ดียวกนั และจัดเป็นระบบค่านยิ ม

30 2.5 การสร้างลักษณะนิสัยตามค่านิยม เป็นการผสมผสานค่านิยมที่สร้างข้ึนจนเป็นลักษณะนิสัย เฉพาะของแตล่ ะบคุ คลจนกลายเป็นความประพฤติ บุคลกิ ภาพ อคุ มคตขิ องชวี ติ 3. ทักษะพิสัย เป็นวัตถุประสงค์ทางการศึกษาท่ีเก่ียวกับการกระทำอย่างมีทักษะในการดำเนินการ เก่ียวกับเรื่องต่าง ๆ มีความสามารถในการใช้อวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายปฏิบัติงาน การเรียนรู้ด้านการปฏิบัติแบ่ง ออกเป็น 7 ขนั้ ซงึ่ เรยี งลำดับจากขั้นตำ่ ไปสูข่ ้นั สูงดงั น้ี 3.1 การรับรู้ เป็นข้ันแรกของการเริ่มกิจกรรมใดก็ตาม เป็นการรับรู้โดยการกระตุ้นต่อโสต ประสาทความรู้สึกอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ได้แก่ การได้ยินทางหู การเกิดภาพในสมองทางตา การสัมผัสทางมือ การกระตุ้นให้ได้รสทางสิ้น การกระตุ้นให้ได้กล่ินทางจมูก การกระตุ้นทางกล้ามเน้ือ และเป็นการตัดสินว่าจะเลือกส่ิงเร้าใดที่จะตอบสนอง เป็นการแปลความเก่ียวข้องของสิ่งเร้าและแสดง อาการตอบสนอง 3.2 การเตรยี มพรอ้ มปฏิบัติ เปน็ การเตรยี มการปรบั ตัวท้งั ทางรา่ งกาย สมองและอารมณ์ให้พรอ้ ม ท่ีจะทำการอย่างใดอย่างหน่ึง การพร้อมทางสมองเป็นการพร้อมในเชิงความคิดท่ีต้องมีมาก่อน อาศัย ความรู้ท่ีมีมาก่อนประกอบด้วยการพร้อมทางร่างกาย เป็นการจัดท่าของร่างกายให้พร้อม และการพร้อม ทางอารมณเ์ ป็นการปรบั เจตคติให้เกิดความตง้ั ใจตอบสนอง 3.3 การตอบสนองตามแนวทางที่ให้เป็นการแสดงพฤติกรรมของผู้เรียนแต่ละคน ภายใต้ คำแนะนำของผู้สอน จำแนกเป็นการเลียนแบบและการลองผิดลองถูก การเลียนแบบเป็นการตอบสนอง ตามแบบที่ให้ เช่น การแสดงให้ดูแล้วให้ทำตาม การลองผิดลองถูกเป็นความพยายามที่จะตอบสนองใน รูปแบบต่าง ๆ 3.4 กลไกในการปฏิบัติ เป็นการสร้างระบบ วิธีการ จากประสบการณ์ความรู้ที่สะสมไว้เป็นการ แสดงออกที่เกิดจากการเรียนรู้จนเป็นนิสัย ผู้เรียนมีความม่ันใจและมีความชำนาญพอท่ีจะปฏิบัติงาน น้นั ๆ ได้ 3.5 การตอบสนองท่ีชับซ้อน เป็นการแสดงออกท่ีอาศัยทักษะมาก เพ่ือให้สามารถแสดงออก อย่างราบร่ืนและมีประสิทธิภาพ เป็นการตอบสนองโดยไม่ลังเลใจแบบอัตโนมัติ คือใช้เวลาและพลังงาน นอ้ ยทส่ี ดุ 3.6 การดัดแปลงให้เหมาะสม เป็นการเปลี่ยนแปลงกิจกรรมการเคล่ือนไหวทางร่างกาย ทาง สมอง ให้สอดคล้องกับความตอ้ งการในปญั หาแบบใหม่ 3.7 การริเริ่มส่ิงใหม่ เป็นการริเร่ิมรูปแบบการเคล่ือนไหวใหม่ ๆ ท่ีเหมาะกับสถานการณ์เฉพาะ อยา่ งหรอื ปัญหาเฉพาะอย่างโดยไม่เคยทำมากอ่ น

31 Klopfer (n.d. อ้างถึงใน ภพ เลาห ไพบูลย์, 2542, หน้า 99-110) ได้ศึกษาวัตถุประสงค์ทางการศึกษา ของบลูม แลว้ นำมากำหนดเป็นวัตถปุ ระสงค์ให้เหมาะสมกบั การเรยี นการสอนวิชาวทิ ยาศาสตร์ เพ่อื ใหไ้ ด้ทง้ั เนื้อหา ที่เป็นความรู้ทางวิทยาศาสตร์และพฤติกรรมที่ต้องการให้เกิดขึ้นในตัวผู้เรียน ซึ่งวัตถุประสงค์การเรียนการสอน วิทยาศาสตรต์ ามแนวของคลอปเฟอร์มีดังน้ี 1. ความรู้และความเข้าใจ ผ้เู รยี นอาจได้รับมาจากกระบวนการค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์แบ่งไดเ้ ป็นความรู้ วทิ ยาศาสตร์ และความเข้าใจวิทยาศาสตร์ 1.1 ความรวู้ ิทยาศาสตร์ หมายถึง เน้ือหาทเี่ ปน็ ความรูท้ างวทิ ยาศาสตร์ ซึง่ แบ่งเปน็ 9 ประเภท คือ 1.1.1 ความรู้เกี่ยวกบั ข้อเท็จจริง ข้อเท็จจริง เป็นความจริงเฉพาะท่ีเลก็ ท่ีสดุ ของความรู้ซ่ึงมีอยู่แล้วในธรรมชาติ สามารถสงั เกตเห็น ได้โดยตรง และทดสอบซำ้ แลว้ ไดผ้ ลเหมือนเดิมทกุ ครัง้ 1.1.2 ความรู้เกีย่ วกบั คำศพั ทท์ างวทิ ยาศาสตร์ คำศพั ท์ทางวิทยาศาสตร์ เปน็ คำศัพทเ์ ฉพาะทางวทิ ยาศาสตร์ หรือคำนิยามศัพท์ 1.1.3 ความรู้เกีย่ วกบั มโนมติทางวิทยาศาสตร์ มโนมติหรือความคิดรวบยอด คือ การนำความจริงเฉพาะหลายข้อท่ีมีความเก่ียวข้องกันมา ผสมผสานกนั เป็นรปู ใหม่ 1.1.4 ความรเู้ กย่ี วกับข้อตกลง ข้อตกลง หมายถึง ข้อตกลงร่วมกันของนักวิทยาศาสตร์ในการใช้อักษรย่อ สัญลักษณ์ และ เครื่องหมายต่าง ๆ แทนคำพูดเฉพาะ 1.1.5 ความรู้เกยี่ วกบั แนวโน้มและลำดบั ขนั้ ตอน ปรากฏการณ์ธรรมชาติบางอย่างมีการหมุนเวียนเป็นวัฏจักรเป็นวงจรชีวติ ซึ่งทำให้สามารถบอก ลำดับขั้นตอนของปรากฏการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง หรือในการทำการทดลองทางวิทยาศาสตร์ ก็จะมี ลำดบั ข้ันตอนเชน่ กัน 1.1.6 ความรูเ้ กย่ี วกับการจำแนกประเภท จัดประเภทและเกณฑ์ ในการแบ่งสิ่งต่าง ๆ ออกเป็นประเภทน้ัน ต้องมีเกณฑ์เป็นมาตรฐานในการแบ่งผู้เรียน ต้องบอก หมวดหมู่ของส่ิงของหรือปรากฎการณ์ต่าง ๆ ได้ตามท่ีนักวิทยาศาสตร์กำหนดไว้ และสามารถจดจำ ลักษณะหรือคุณสมบตั ซิ งึ่ ใชเ้ ปน็ เกณฑ์ได้ 1.1.7 ความรเู้ กย่ี วกบั เทคนคิ และกรรมวิธีทางวิทยาศาสตร์

32 เทคนิคและวิธีการต่าง ๆ ท่ีนักวิทยาศาสตร์ทั้งหลายใช้กันอยู่มีมากมายหลายวิธี ซ่ึงเทคนิคและ กรรมวิธีทางวทิ ยาศาสตรน์ ี้จะเน้นเฉพาะความสามารถท่ีผ้เู รียนไดเ้ รียนรู้เท่านั้น เป็นความรทู้ ่ีได้รับมาจาก การบอกเล่าของครู หรือจากการอา่ นหนงั สือ ไมใ่ ช่ความรทู้ ่ีได้มาจากกระบวนการเสาะแสวงหาความรู้ 1.1.8 ความรเู้ กย่ี วกับหลกั การและกฎวิทยาศาสตร์ หลักการ เป็นความจริงท่ีใช้เป็นหลักอ้างอิง ได้จากการนำมโนมติหลายอันที่มีความเกี่ยวข้องกัน มาผสมผสานกันเป็นรูปใหม่ เป็นหลักการทางวิทยาศาสตร์ ส่วนกฎวิทยาศาสตร์ คือ หลักการท่ีเน้นใน เรื่องความสมั พันธร์ ะหวา่ งเหตุกับผล 1.1.9 ความร้เู ก่ยี วกับทฤษฎีทางวทิ ยาศาสตร์ ทฤษฎี หมายถึง ข้อความที่ใช้อธิบายและพยากรณ์ปรากฏการณ์ต่าง ๆ เป็นแนวคิดหลักท่ีใช้ อธิบายไดอ้ ยา่ งกวา้ งขวางในวิชานน้ั ๆ 1.2 ความเข้าใจวทิ ยาศาสตร์ เปน็ การใช้ความคดิ ที่สงู กวา่ ความจำ แบง่ เปน็ 2 ประเภท คอื 1.2.1 การนำความรู้ไปใชใ้ นส่ิงใหม่ มีความเข้าใจข้อเท็จจริง วิธีการ กฎเกณฑ์ หลักการและทฤษฎีต่าง ๆ คือ สามารถบรรยายใน รปู แบบใหม่ที่แตกตา่ งจากรปู แบบที่เคยเรียนมา 1.2.2 การแปลความหมายของความร้ใู นรูปของสัญลกั ษณห์ น่ึงไปเป็นรปู ของอีกสัญลักษณห์ น่งึ มีความเข้าใจเก่ียวกับการแปลความหมายของข้อเท็จจริง คำศัพท์ มโนมติ หลักการ และทฤษฎี ท่ีอยู่ในรูปของสญั ลกั ษณ์หน่ึงไปเป็นรูปของสัญลักษณ์อน่ื ได้ 2. กระบวนการสบื เสาะหาความร้ทู างวทิ ยาศาสตร์ คือ การท่ผี ้เู รียนได้แสดงพฤตกิ รรมถึงการมสี ่วนร่วมใน การสืบเสาะหาความรู้ด้วยตนเอง เป็นกระบวนการที่นักวิทยาศาสตร์ใช้สำหรับการศึกษาเร่ืองราวของธรรมชาติ และสร้างสรรคแ์ นวความคดิ ใหม่ ๆ ขึ้นมา ซงึ่ กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์มีดงั นี้ 2.1 การสังเกตและการวัด การสังเกตเป็นการใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้ าเข้าไปสำรวจวัตถุหรือ ปรากฏการณ์ธรรมชาติโดยตรง ซ่ึงถ้าใช้การสังเกตเพียงอย่างเดียวก็จะไม่สามารถบอกปริมาณที่ถูกต้องแน่นอนได้ ตอ้ งใช้ท้ังการสงั เกตและการวัดควบคกู่ นั ไป 2.2 การมองเห็นปัญหาและหาทางท่ีจะแก้ปัญหา การสังเกตและการวดั จะช่วยให้ผู้เรียนมองเห็นปัญหา ต่าง ๆ และหาทางทจี่ ะแกป้ ัญหาน้ัน 2.3 การตคี วามหมายข้อมลู และการสร้างข้อสรปุ ขอ้ มูลท่ีผู้เรียนได้จากการทดลองน้ันเป็นการบันทึกผล ของการสังเกตและการวัดต่าง ๆ ซ่ึงข้อมูลเหล่านั้นจะต้องถูกจัดกระทำต่อไป เพ่ือให้ได้ผลลัพธ์ที่มีคุณค่าสูงข้ึนใน การศกึ ษาเรอื่ งน้นั ๆ

33 2.4 การสร้าง ทดสอบ และปรับปรุงแบบจำลองทฤษฎี การศึกษาทางวิทยาศาสตร์ท่ีก้าวหน้าไป ทำให้ ได้ข้อสังเกตและความรู้เก่ียวกับปรากฏการณ์ท้ังหลายเพ่ิมพูนข้ึนเป็นลำดับ ทำให้ได้กฎเกณฑ์ หลักการและ ขอ้ สรุปตา่ ง ๆ มากขึ้น แต่ในบางคร้ังหลักการเก่ียวกับปรากฎการณ์ท่ีศึกษายังไม่ได้กำหนดชัดเจน หรอื บางคร้ังผล การศึกษาค้นคว้าใหม่ขัดกบั ข้อสรุปเดิม ทำใหผ้ ู้เรียนจำเป็นต้องสร้างแบบจำลองทฤษฎีที่เข้ากันกับข้อเท็จจริงและ หลักการต่าง ๆ ที่อยู่ในขอบข่ายของเรื่องที่ศึกษา แบบจำลองทฤษฎีท่ีได้น้ันต้องสามารถท่ีจะใช้แสดงถึง ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งขอ้ เท็จจรงิ และหลกั การเหล่านัน้ ได้ 3. การนำความรู้และวิธีการทางวิทยาศาสตร์ไปใช้ ความสามารถในการนำความรู้ไปใช้น้ัน คือ การท่ี ผู้เรียนใช้ความรู้หรือวิธีการเพื่อจัดการกับปัญหาใหม่ ๆ ท่ีไม่เคยพบมาก่อน แต่ถ้าเป็นการแก้ปัญหาท่ีเคยพบหรือ ทำมาแล้วจะเปน็ แคเ่ พียงความจำไมใ่ ช่การนำไปใช้ ซ่งึ ผ้เู รียนควรฝึกการแก้ปญั หา 3 ประการดังนี้ 3.1 การนำไปใชแ้ ก้ปัญหาท่ีเปน็ เรอื่ งของวิทยาศาสตร์ในสาขาเดยี วกัน 3.2 การนำไปใช้แกป้ ญั หาทเี่ ป็นเรอ่ื งของวทิ ยาศาสตร์สาขาอืน่ 3.3 การนำไปใช้แก้ปญั หาทนี่ อกเหนอื ไปจากเรื่องของวทิ ยาศาสตร์ 4. ทักษะปฏิบตั ิในการใชเ้ คร่ืองมอื ในการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ ผู้เรยี นตอ้ งทำการทดลองเพื่อหา คำตอบของปัญหา จงึ จำเป็นต้องฝกึ ให้ผ้เู รียนได้มีทกั ษะในการใช้เครอื่ งมือทางวทิ ยาศาสตร์ และทักษะในการตดิ ต้ัง เครื่องมือสำหรับการทดลอง เพื่อให้เกิดความคล่องแคล่วในการปฏิบัติ ไม่ทำให้เครื่องมือท่ีใช้ชำรุดเสียหายไม่เป็น อนั ตรายต่อตนเองและผู้อน่ื 5. เจตคติและความสนใจ คือ ต้องการให้ผู้เรียนได้พัฒนาการเก่ียวกับเจต คติและความสนใจใน วทิ ยาศาสตร์ 6. การมีแนวโน้มในทางวิทยาศาสตร์ คือ ต้องการให้ผู้เรียนเกิดความประทับใจในวิทยาศาสตร์ เป็นผู้มี จติ ใจเปน็ วทิ ยาศาสตร์ และชักนำให้ผูเ้ รียนมคี วามสนใจในความสัมพันธ์ท่ซี ับซ้อนระหวา่ งวทิ ยาศาสตร์กับสังคม Robert M. Gagne and Leslie J. Briggs (n.d. อ้างถึงใน สมนึก ภัททิยธนี , 2546, หน้า 27) ได้จำแนก ประเภทของจุดมุ่งหมายทางการศกึ ษาไว้ 5 ดา้ นดังนี้ 1. ทักษะทางปัญญา หมายถึง ความสามารถทางสมองของบุคคลในการเรียนรู้และการคิดในด้านต่าง ๆ และเป็นสมรรถภาพที่ทำใหบ้ ุคคลสามารถตอบสนองต่อสิ่งแวดลอ้ ม โดยผ่านทางสญั ลักษณ์ที่เป็นภาษา ตัวเลขและ สญั ลักษณอ์ ืน่ ๆ ซ่งึ ทกั ษะทางปัญญาแบ่งออกตามความซบั ซ้อนเปน็ 5 ประเภท คือ 1.1 การจำแนก คอื ความสามารถในการจำแนกความเหมอื นหรือความต่างของส่ิงตา่ ง ๆ 1.2 มโนทศั นร์ ูปธรรม คือ ความสามารถในการจดั พวกส่งิ ต่าง ๆ ตามคุณสมบตั ทิ เี่ หมือนกันได้

34 1.3 มโนทัศน์นิยาม คือ ความสามารถในการสาธติ ความหมายของประเภทของสง่ิ ต่าง ๆ หรือเหตกุ ารณ์ ต่าง ๆ หรอื ความสมั พันธ์ต่าง ๆ ได้ 1.4 กฎ มนุษย์ทุกคนจำเป็นต้องเรียนรู้และปฏิบัติตามกฎในสถานการณ์ต่าง ๆ กฎเป็นตัวคอยควบคุม เพ่ือให้มนุษย์สามารถดำเนินชีวิต ปฏิบัติภารกิจ หรือทำกิจกรรมต่าง ๆ ได้อย่างราบร่ืน เช่น การขับรถยนต์ การ เลน่ กีฬา การพูดจาส่ือสารกัน เป็นตน้ ล้วนแต่ต้องควบคุมด้วยกฎท้ังนน้ั 1.5 การแก้ปัญหา คือ สภาพการณ์ที่ผู้เรียนค้นพบการใช้กฎต่าง ๆ ท่ีได้เรียนมาก่อนร่วมกันในการ แก้ปัญหาทเ่ี ป็นปญั หาใหม่ เรียกไดว้ า่ เปน็ การใช้กฎที่ซับซ้อน การแก้ปัญหาไมไ่ ด้หมายถงึ การนำเอากฎทไ่ี ดเ้ รียนรู้ มาก่อนมาใช้ แต่เป็นกระบวนการที่ก่อให้เกิดการเรียนรู้ใหม่ เมื่อผู้เรียนเผชิญกับปัญหา เขาระลึกกฎต่าง ๆ ท่ีเรียนรู้มาก่อน เพื่อหาทางแก้ปัญหา เขาอาจต้ังสมมติฐานจำนวนหน่ึงและทคสอบสมมติฐานเหล่านั้น เมื่อ สามารถแก้ปัญหาได้ โดยใช้กฎต่าง ๆ ร่วมกัน เขาจะเกิดการเรียนรู้สิ่งใหม่ น่ันคือได้กฎใหม่ หรือชุดของกฎใหม่ อาจเปน็ กฎท่ซี ับซ้อนมากข้ึน 2. ยุทธศาสตร์ทางความคิด คือทักษะทางปัญญาชนิดพิเศษ ซึ่งมีความสำคัญมาก เป็นสมรรถภาพท่ี ควบคุมการเรียนรู้ ความต้ังใจ การจำ และพฤติกรรมการคิดของบุคคล เป็นกระบวนการทำงานภายในสมอง ทักษะน้ีจะเก่ียวข้องกับกระบวนการคิดของผู้เรียนและแตกต่างจากทักษะทางปัญญา ซึ่งเกี่ยวข้องกับส่ิงแวดล้อม ภายนอกคือต้องมีส่ิงภายนอกเป็นส่ือ เช่น การฝึกให้เขียนประโยค เขียนกราฟ การแก้สมการทางคณิตศาสตร์ เป็นต้น แต่ในบางขณะการฝึกดังกล่าว นักเรียนบางคนอาจจะใช้กระบวนการคิดที่ต่างจากครูสอน หรือใช้ กระบวนการคดิ พิเศษซงึ่ เปน็ ความสามารถเฉพาะตวั สง่ิ เหล่านคี้ อื ยุทธศาสตรท์ างความคิด 3. สารสนเทศ มนุษย์ทุกคนเรียนรู้สารสนเทศ หรือข้อมูลความรู้จำนวนมหาศาลและสั่งสมไว้ในสมอง ทั้งจากโรงเรียนหรือภายนอกโรงเรียน เช่น จากการอ่านหนังสือ ตำรา หนังสือพิมพ์ ฟังรายการวิทยุ ดูโทรทัศน์ ใช้ระบบสืบค้นดว้ ยคอมพวิ เตอร์ เปน็ ตน้ ซ่งึ การเรียนรเู้ กีย่ วกับสารสนเทศมี 3 ประเภทดงั น้ี 3.1 การเรยี นรู้ช่อื หมายถงึ ความสามารถในการจดจำชื่อและบอกชอื่ ได้ 3.2 การเรียนรู้ข้อเท็จจริง หมายถึง การจดจำข้อเท็จจริงต่าง ๆ ซ่ึงข้อเท็จจริง ก็คือ ข้อความที่แสดง ความสมั พันธ์ระหวา่ งชอื่ ของส่ิงต่าง ๆ หรอื เหตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ 3.3 การเรียนรู้เรื่องราว หมายถึง การเรียนรู้สาระของเร่ืองราวต่าง ๆ ซ่ึงก็คือความเช่ือมโยงของ ขอ้ เท็จจรงิ ทไี่ ดจ้ ัดระบบไวแ้ ล้ว 4. ทักษะการเคลื่อนไหว หมายถึง ความชำนาญในการเคลื่อนไหวกล้ามเน้ือหรือการใช้อวัยวะส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกายในการทำกจิ กรรมต่าง ๆ การประสานงานของกล้ามเนือ้ และประสาทดา้ นต่าง ๆ

35 5. เจตคติ หมายถงึ ความร้สู กึ ท่มี ีตอ่ สง่ิ ต่าง ๆ ต่อบุคคล และตอ่ สถานการณ์ โรงเรียนควรสร้างเจตคติด้าน การนับถอื บคุ คลอน่ื การร่วมมอื กัน การรบั ผิดชอบ และเจตคตทิ ่ีดีตอ่ การเรียนรู้ ตอ่ วชิ า ต่อสังคม จากการท่ีนักการศึกษาไดจ้ ำแนกวัตถุประสงค์ทางการศึกษา สามารถสรุปได้วา่ การวัดผลสัมฤทธ์ิทางการ เรียนวิทยาศาสตร์น้ันเป็นการวัด 3 ด้าน คือ ด้านพุทธิพิสัย ด้านเจตพิสัย และด้านทักษะพิสัย ซึ่งในงานวิจัยคร้ังน้ี ผู้วิจัยได้ทำการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนฟิสิกส์ในด้านพุทธิพิสัย (ด้านความรู้) ตามแนวคิดของบลูม 6 ด้าน คือ ด้านความรูค้ วามจำ ดา้ นความเข้าใจ ด้านการนำไปใช้ ดา้ นการวเิ คราะห์ ด้านการสงั เคราะห์ และด้านการประเมิน ค่า เน่ืองจากการจำแนกวัตถุประสงคท์ างการศึกษาของบลูมในด้านพุทธิพิสัยไดแ้ บ่งเป็นด้านท่ีชดั เจน ผวู้ ิจยั จึงเห็น ว่าเหมาะทีจ่ ะนำมาใชใ้ นงานวจิ ัยคร้งั นี้ 5.3 ความหมายของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน พิชิต ฤทธ์ิจรูญ (2548, หน้า 96) ได้ให้ความหมายของ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ว่าหมายถึง แบบทดสอบท่ีใช้วัดความรู้ ทักษะ และความสามารถทางวิชาการท่ีผู้เรียนได้เรียนรู้มาแล้ว ว่าบรรลุผลสำเร็จตาม จุดประสงคท์ ีก่ ำหนดไวเ้ พียงใด สมนึก ภัททิยธนี (2546, หน้า 73) ได้ให้ความหมายของ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิว่าหมายถึง แบบทดสอบทีว่ ดั สมรรถภาพสมองดา้ นตา่ ง ๆ ทีน่ ักเรียนได้รบั การเรียนรผู้ า่ นมาแลว้ ศิริชัย กาญจนวาสี (2552, หน้า 165) ได้ให้ความหมายของ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิว่าหมายถึง เครื่องมือที่ใช้วัดและประเมินผลสัมฤทธิ์ของการเรียนรู้ของผู้เรียนตามเป้าหมายท่ีกำหนดไว้ ทำให้ผู้สอนทราบว่า ผู้เรียนได้พัฒนาความรู้ ความสามารถถึงระดับมาตรฐานท่ีผู้สอนกำาหนดไว้หรือยัง หรือมีความรู้ความสามารถถึง ระดบั ใด หรือมคี วามรู้ความสามารถดเี พยี งไร เม่ือเปรยี บเทียบกับเพือ่ น ๆ ท่เี รียนด้วยกนั ชนินทรช์ ัย อนิ ทิราภรณ์ และสุวิทย์ หิรัณยกาณฑ์ (2548, หนา้ 5) ได้ให้ความหมายของแบบทดสอบวัดผล สมั ฤทธ์ิ วา่ หมายถงึ แบบท่ีจัดไวเ้ พ่ือทดสอบความรู้ ทักษะ ทศั นกติ และความสามารถอื่น ชวาล แพรัตกุล (2552, หน้า 74) ได้ให้ความหมายของ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิว่าหมายถึง แบบทดสอบท่ีวัดความรู้ ทักษะ และสมรรถภาพสมองด้านต่าง ๆ ที่เด็กได้รับจากประสบการณ์ทงั้ ปวง ทั้งจากทาง โรงเรียนและทางบ้าน ลว้ น สายยศ และองั คณา สายยศ (2541, หน้า 146-147) ได้ใหค้ วามหมายของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ ว่าหมายถึง แบบทดสอบท่ีวัดความรู้ของนักเรียนที่ได้เรียนไปแล้ว ซ่ึงมักจะเป็นข้อคำถามให้นักเรียนตอบด้วย กระดาษและดนิ สอ (Paper and pencil test) กับให้นักเรียนปฏบิ ตั ิจรงิ (Performance test) บุญชม ศรีสะอาด (2545, หน้า 53) ได้ให้ความหมายของ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ว่าหมายถึง แบบทดสอบที่ใช้วัดความรู้ความสามารถของบุคคลในค้านวิชาการ ซึ่งเป็นผลจากการเรียนรู้ในเนื้อหา สาระ และ

36 ตามจุดประสงค์ของวชิ า หรอื เนอื้ หาทส่ี อนนัน้ โดยท่ัวไปจะวดั ผลสัมฤทธิใ์ นวชิ าต่าง ๆ ท่ีเรียนในโรงเรียน วิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั หรอื สถาบนั การศกึ ษาต่าง ๆ จากความหมายของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ สรุปได้ว่า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้วัดความรู้และทักษะความสามารถทางวิชาการท่ีผู้เรียนเคยเรียนรู้มาแล้ว ซึ่งในงานวิจัยครั้งน้ี แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ จะหมายถึงเคร่ืองมือที่ใช้วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนฟิสิกส์ เร่ือง ไฟฟ้าและ สนามแม่เหล็ก ในวิชา ฟิสิกส์ไฟฟ้า ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 ท่ีผู้วิจัยสร้างขึ้น ซึ่งวัดพฤติกรรม 6 ด้านตามการ จำแนกจุดประสงค์ทางการศึกษาของบลูม ได้แก่ ความรู้ความจำ ความเข้าใจ การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การ สงั เคราะห์ และการประเมินคา่ โดยพิจารณาให้ครอบคลมุ ตามจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 5.4 ประเภทของแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน พชิ ติ ฤทธ์จิ รญู (2548, หน้า 96) ได้สรปุ ประเภทของแบบทคสอบวดั ผลสัมฤทธิไ์ ว้ 2 ประเภท คอื 1. แบบทดสอบท่ีครูสร้างข้ึนเอง หมายถึง แบบทคสอบที่มุ่งวัดวัคผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียนเฉพาะกลุ่มท่ีครู สอน เป็นแบบทคสอบท่ีครูสร้างข้ึนใช้กันโดยทั่วไปในสถานศกึ ษา มลี ักษณะเป็นแบบทดสอบข้อเขียน ซึ่งแบ่งไดอ้ ีก 2 ชนิด คอื 1.1 แบบทดสอบอัตนัย เป็นแบบทดสอบท่ีกำหนดคำถามหรือปัญหาให้ แล้วให้ผู้ตอบเขียน โดยแสดงความรู้ ความคิด และเจตคตไิ ดอ้ ยา่ งเต็มที่ 1.2 แบบทดสอบปรนัยหรือแบบให้ตอบส้ัน ๆ เป็นแบบทดสอบท่กี ำหนดให้ผู้ตอบเขียนตอบสัน้ ๆ หรือมีคำตอบให้เลือกแบบจำกัดคำตอบ ผู้ตอบไม่มีโอกาสแสดงความรู้ ความคิดได้อย่างกวา้ งขวางเหมือน แบบทสอบอัตนัย แบบทดสอบชนิดนี้ แบ่งออกเป็น 4 แบบ คือ แบบทดสอบถูก-ผิด แบบทดสอบเติมคำ แบบทคสอบจบั คู่ แบบทดสอบเลือกตอบ 2. แบบทดสอบมาตรฐาน หมายถึง แบบทดสอบท่ีมุ่งวัดผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียนทั่ว ๆ ไป ซ่ึงสร้างโดย ผู้เชีย่ วชาญ มกี ารวเิ คราะหแ์ ละปรบั ปรงุ อยา่ งดจี นมคี ุณภาพและมีมาตรฐาน ศิริชัย กาญจนวาสี (2552, หน้า 167-169) ได้จำแนกประเภทของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ไว้หลาย ลักษณะขึ้นอยกู่ ับเกณฑท์ ่ใี ชใ้ นการจำแนก ดังนี้ 1. จำแนกตามผูส้ รา้ ง 1.1 แบบทดสอบมาตรฐาน เป็นแบบทดสอบท่ีสร้างขึ้นด้วยกระบวนการมาตรฐานโดยสำนัก ทดสอบ หรือบริษัทสร้างแบบทดสอบซ่ึงมักออกแบบให้ครอบคลุมเนื้อหาสาระอย่างกว้าง ๆ ท่ีสอนใน หลักสูตรต่าง ๆ เพื่อให้สามารถใช้ได้กับสถาบันการศึกษาท่ัว ๆ ไป โดยท่ัวไปมีรูปแบบที่เป็นมาตรฐาน

37 สำหรับการให้บริการ การดำเนินการสอบ การตรวจให้คะแนน การแปลผลเปรียบเทียบกับบรรทัดฐาน ระดับชาติ การรายงานผล และการรายงานคณุ ภาพของแบบทดสอบ 1.2 แบบทดสอบท่ีผู้สอนสร้าง เป็นแบบทดสอบท่ีผู้สอนเป็นคนสร้างข้ึนมาใช้เอง จึงมักเป็น แบบทดสอบท่ีครอบคลุมเน้ือหาเฉพาะตามหลักสูตรของสถาบันใดสถาบันหน่ึง การตรวจให้คะแนนและ การแปลผลจึงมักทำการเปรียบเทียบผลเฉพาะกลุ่มที่สอบด้วยกัน หรือเปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่ผู้สอน กำหนดไวเ้ ฉพาะ 2. จำแนกตามเน้ือหาวชิ า แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์สามารถใช้กับวิชาต่าง ๆ ได้ จึงอาจจำแนกแบบสอบตามชื่อเน้ือหาวิชา เช่น แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ประวัติศาสตร์ แคลคูลสั สถิตศิ าสตร์ วจิ ัยทางสังคมศาสตร์ คอมพิวเตอร์ เป็นตน้ 3. จำแนกตามการใช้ 3.1 แบบทดสอบความพร้อม เป็นแบบทดสอบท่ีมุ่งวัดทักษะพื้นฐานท่ีจำเป็นสำหรับการเรียนรู้ วิชา/ บทเรียน/ หน่วยการเรียน เพื่อพิจารณาว่าผู้เรียนมีพื้นฐานเพียงพอหรือไม่ จะได้ทบทวนหรือ ปพู น้ื ฐานท่ีจำเป็นก่อนเร่ิมเรยี นวชิ า/ บทเรียน/ หน่วยการเรยี นนน้ั 3.2 แบบทดสอบวินิจฉัย เป็นแบบทดสอบที่มุ่งวัดจุดเด่นจุดด้อยของทักษะการเรียนรู้สำคัญอัน เป็นปัญหาของผู้เรียน แบบทดสอบมุ่งตรวจสอบกลไก องค์ประกอบย่อย ๆ ท่ีครอบคลุมกระบวนการ สำคัญของทักษะท่ีเป็นเป้าหมายของการเรียนรู้ เพื่อระบุว่าผู้เรียนมีปัญหาของการเรียนรู้ตรงจุดไหน อนั จะเป็นประโยชนต์ ่อการปรับปรุงแก้ไขและสอนซ่อมเสรมิ 3.3 แบบทดสอบสมรรถภาพ เป็นแบบทดสอบที่ใช้วัดว่าผู้สอบมีสมรรถนะถึงระดับที่เหมาะสม หรือยัง เพ่ือใช้เป็นเคร่ืองบ่งข้ีถึงระดับความสามารถสำหรับการคัดเลือกหรือให้สิทธิบางประการ เช่น การสอบใบขบั ขรี่ ถยนต์ การสอบความสามารถทางภาษา การสอบความสามารถทางคอมพวิ เตอร์เบ้ืองต้น เปน็ ตน้ 3.4 แบบทดสอบเชิงสำรวจ เป็นแบบทดสอบที่ใช้สำรวจวัดระดับความรู้เชิงสรุปทั่วไปของ นักเรียนหรอื นิสิตนักศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ แบบทดสอบจึงควรครอบคลุมเน้ือหาทั่วไปท่ีสุ่มได้จากมวล เนอ้ื หาอยา่ งกว้างขวาง เพือ่ ทดสอบผลการเรยี นรทู้ ว่ั ไป เชน่ แบบทดสอบปลายภาคเรยี น เป็นตน้ 4. จำแนกตามการแปลผล 4.1 แบบทดสอบอิงกลุ่ม เป็นแบบทดสอบที่มุ่งวัดผลการเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง ความรู้ ความสามารถของผู้สอบ ข้อสอบอิงกลุ่มจึงถูกสร้างและเลือกมาใช้เพื่อทำหน้าท่ีจำแนกระดั บ

38 ความสามารถของผู้สอบที่แตกต่างกัน คะแนนสอบท่ีได้จึงนำไปใช้แปลความหมายโดยการเปรียบเทียบ ความรู้ ความสามารถระหว่างกลุ่มผ้สู อบด้วยกนั เอง 4.2 แบบทดสอนอิงเกณฑ์ เป็นแบบทดสอบที่มุ่งวัดระดับการเรียนรู้ของผู้เรียนว่ามีความรู้ ความสามารถอะไรบ้าง ข้อสอบอิงเกณฑ์ถูกสร้างให้ครอบคลุมความรู้ หรือทักษะสำคัญของการเรียนรู้ที่ ต้องการใหเ้ กิดข้ึน คะแนนสอบทไี่ ดจ้ งึ แปลผลโดยการเปรยี บเทยี บกับเกณฑ์หรือมาตรฐานที่กำหนดไว้ 5. จำแนกตามรปู แบบการตอบ 5.1 แบบทดสอบประเภทเสนอคำตอบ 5.1.1 แบบทดสอบความเรยี ง - แบบทดสอบความเรียงไม่จำกัดคำตอบ - แบบทดสอบความเรียงจำกัดคำตอบ 5.1.2 แบบทดสอบแบบตอบส้ัน 5.1.3 แบบทดสอบแบบเตมิ คำ 5.2 แบบทดสอบประเภทเลอื กคำตอบ 5.2.1 แบบทดสอบแบบถูก-ผดิ 5.2.2 แบบทดสอบแบบจบั คู่ 5.2.3 แบบทดสอบแบบหลายตัวเลือก ชวาล แพรัตกุล (2552, หน้า 74-75) ได้สรุปประเภทของแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธไิ์ ว้ 2 ประเภท คอื 1. แบบทดสอบของครู หมายถึง ข้อสอบ ข้อปัญหา และ โจทย์ข้อค้าถามต่าง ๆ ที่ครูสร้างข้ึนใช้เอง ข้อสอบชนิดนี้ครูสามารถพลิกแพลงให้เหมาะสมกับสภาพและเหตุการณ์ได้ และใช้เป็นเคร่ืองมือวัดพื้นฐานความรู้ เดิม วัดความงอกงามในการเรียนการสอน วัดดูความบกพร่องเพื่อจัดสอนซ่อมแซม วัดดูความพร้อมท่ีจะข้ึน บทเรยี นใหม่ เป็นต้น 2. แบบทดสอบมาตรฐาน หมายถึง แบบทดสอบที่สร้างขึ้นด้วยกระบวนการมาตรฐานซึ่งมาตรฐานตรง วธิ ีดำเนนิ การและวธิ ีการแปลคะแนน สมนึก ภัททิยธนี (2546, หน้า 73-97) ได้จำแนกประเภทของแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็น 2 ประเภท คือ 1) แบบทคสอบท่ีครูสร้าง และ 2) แบบทดสอบมาตรฐาน ซึ่งแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนประเภททคี่ รสู ร้างมีหลายรปู แบบ แตท่ ่ีนยิ มใช้มี 6 แบบคือ 1. ขอ้ สอบแบบอัตนัยหรอื ความเรยี ง 2. ขอ้ สอบแบบกาถกู -ผิด

39 3. ข้อสอบแบบเตมิ คำ 1. ข้อสอบแบบตอบสนั้ ๆ 5. ขอ้ สอบแบบจับคู่ 6. ขอ้ สอบแบบเลือกตอบ บญุ ชม ศรสี ะอาด (2545, หน้า 53) ได้จำแนกประเภทของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็น 2 ประเภทคือ 1. แบบทดสอบแบบอิงเกณฑ์ หมายถึง แบบทคสอบท่ีสร้างข้ึนตามจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม มีคะแนน จุดตัดหรือคะแนนเกณฑ์สำหรับใช้ตัดสินว่าผู้สอบมีความรู้ตามเกณฑ์ที่กำหนดหรือไม่ การวัดตรงตามจุดประสงค์ เป็นหัวใจสำคัญของข้อสอบในแบบทดสอบประเภทน้ี 2. แบบทดสอบอิงกลุ่ม หมายถึง แบบทดสอบท่ีมุ่งสร้างเพ่ือวัดให้ครอบคลุมหลักสูตรจึงสร้างตามตาราง วิเคราะห์หลักสูตร ความสามารถในการจำแนกผู้สอบตามความเก่งอ่อนได้ดี เป็นหัวใจของข้อสอบในแบบทดสอบ ประเกทนี้ การรายงานผลการสอบอาศยั คะแนนมาตรฐานซ่ึงเป็นคะแนนที่สามารถให้ความหมายแสดงถึงคุณภาพ ความสามารถของบคุ คลนั้นเม่อื เปรยี บเทยี บกับบุคคลอ่นื ๆ ทใ่ี ชเ้ ป็นกล่มุ เปรียบเทียบ สรุปได้ว่า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ เป็นแบบทดสอบที่ใช้วัดความรู้ ทักษะ ความสามารถทางวิชาการ ที่ผู้เรียนเคยเรียนมาแล้ว ซึ่งมีท้ังแบบทดสอบที่ครูสร้างขึ้นเองและแบบทดสอบมาตรฐานที่สร้างโคยผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งในงานวิจัยคร้ังน้ี ผู้วิจัยได้ทำการวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนฟิสิกส์ในด้านพุทธิพิสัย (ด้านความรู้) ตามแนวคิด ของบลูม 6 ด้าน คือ ดา้ นความรู้ ความจำ ด้านความเขา้ ใจ ด้านการนำไปใช้ ด้านการวิเคราะห์ ด้านการสังเคราะห์ และด้านการประเมินค่า ในวิชาฟิสิกส์ไฟฟ้า ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5 เรื่อง ไฟฟ้าและแม่เหล็ก ดังนั้น แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จึงหมายถึง เคร่ืองมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนฟิสิกส์ ในเน้ือหาเรื่อง ไฟฟ้าและแม่เหล็ก ท่ีผู้วิจัยสร้างขึ้น จำนวนทั้งหมด 20 ข้อ ซ่ึงวัดพฤติกรรมทั้งหมด 6 ด้านตามแนวคิดของบลูม ได้แก่ ด้านความรู้ความจำ ด้านความเข้าใจ ด้านการนำไปใช้ ด้านการวิเคราะห์ ด้านการสังเคราะห์ และด้านการ ประเมนิ คา่ โดยพจิ ารณาให้สอดคล้องและครอบคลุมกบั จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ เร่ือง ไฟฟ้าและสนามแมเ่ หล็ก 6. งานวิจยั ท่เี ก่ียวข้อง 6.1 งานวิจัยในประเทศ อรพินท์ ชนื่ ชอบ (2549) ไดท้ ำการศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นฟสิ ิกส์และความสามารถในการแกป้ ัญหา ทางฟิสกิ ส์ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ดว้ ยวิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ โดยเสริมการแก้ปัญหาตามเทคนิค ของโพลยา ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนฟิสิกส์และความสามารถในการแก้ปัญหาทางฟิสิ กส์ของ

40 นกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังเรียนด้วยวิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ โดยเสริมการแก้ปัญหาตามเทคนิคของ โพลยา สงู กว่าก่อนเรียนและสูงกว่าเกณฑอ์ ย่างมนี ัยสำคญั ทางสถติ ิทีร่ ะดบั .01 ฐาปนีย์ อัยวรรณ (2555) ได้ทำการศึกษาความสามารถในการแก้ปัญหาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา วิทยาศาสตร์ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 โดยการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการสืบเสาะหา ความรู้ (5Es) ผลการวิจัยพบว่า ความสามารถในการแก้ปัญหาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของ นักเรยี นทีไ่ ด้รบั การจัดการเรยี นร้แู บบวัฏจักรการสบื เสาะหาความรู้ (5Es) หลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 สมปอง เรืองสมสมัย (2556) ได้ทำการศึกษาความสามารถในการแก้ปัญหาวิทยาศาสตร์และผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โดยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) ผลการวิจยั พบว่า ความสามารถในการแกป้ ัญหาวิทยาศาสตร์และผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นวิทยาศาสตร์ของนกั เรยี น ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน และมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หลังเรยี นสูงกว่าเกณฑ์รอ้ ยละ 70 อยา่ งมีนยั สำคัญทางสถติ ทิ รี่ ะดับ .05 อาซิ ดราแม (2558) ได้ทำการศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนฟิสิกส์และความสามารถในการแก้โจทย์ ปญั หาฟิสิกส์ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 6 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความร้รู ่วมกับ วิธีแก้โจทย์ปัญหาของโพลยา ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนฟิสิกส์และความสามารถในการแก้โจทย์ ปัญหาฟิสิกส์ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 หลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหา ความร้รู ว่ มกบั วธิ ีแก้โจทย์ปญั หาของโพลยาสูงกวา่ ก่อนเรียนอยา่ งมนี ยั สำคัญทางสถิติทร่ี ะดบั .01 6.2 งานวจิ ัยในตา่ งประเทศ Baker (1992) ได้ทำการศึกษาผลการสอนนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาท่ีมีความสามารถทาง คณิตศาสตร์อยู่ในระดับต่ำ โดยใช้วิธีวาดภาพและใช้กระบวนการแก้โจทย์ปัญหา 4 ขั้นตอน ได้แก่ ข้ันทำความ เข้าใจโจทย์ปัญหา ข้ันวางแผนในการแก้โจทย์ปัญหา ขั้นดำเนินการตามแผน และข้ันตรวจสอบ ซึ่งในกลุ่มทดลอง จะให้นักเรียนใช้วิธีการวาดภาพช่วยในการแก้โจทย์ปัญหา ผลการวิจัยพบว่าท้ังกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมี คะแนนความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์หลังการสอนไม่แตกต่างกันแต่ท้ังสองกลุ่มมีคะแนน ความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์หลังการสอนสูงกว่าก่อนได้รับการสอนและกลุ่มทดลองมีการใช้ วธิ กี ารวาดภาพในการแสดงข้อมูลท่ี โจทยก์ ำหนดได้มากข้ึนกวา่ ก่อนได้รับการสอน Selcuk, Caliskan, and Erol (2008) ทำการศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและความสามารถในการแก้ โจทย์ปัญหาวิชาฟิสิกส์ โดยกลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนสาขาการศึกษาช้ันปีท่ี 1 โดยแบ่งเป็นกลุ่ม ทดลองและกลุ่มควบคุมกลมุ่ ละ 37 คน กลุ่มทดลองจะได้รับการเสรมิ กระบวนการแก้ปัญหาตามเทคนิคของโพลยา ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการสอนตามปกติ เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน

41 แบบวัดความสามารถในแก้โจทย์ปัญหาและแบบประเมินทักษะการดำเนินการในการแก้โจทย์ปัญหา 4 ข้ันตอน คือ ความเข้าใจปัญหา การวางแผนการแกป้ ญั หา การดำเนนิ การแกป้ ัญหา และการตรวจสอบผลลัพธ์ ผลการวจิ ัย พบว่า นักเรียนท่ีได้รับการสอนโดยใช้กระบวนการแกโ้ จทย์ปญั หาตามเทคนิคของโพลยา มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาและทักษะในการดำเนินการแก้โจทย์ปัญหา 4 ข้ันตอน หลังได้รับการสอนสูง กวา่ นกั เรยี นทไี่ ดร้ บั การสอนตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่รี ะดับ .05 จากการศกึ ษางานวิจัยที่เกยี่ วข้องทั้งในและต่างประเทศท่ีเก่ยี วข้องกับความสามารถในการแก้โจทย์ปญั หา และผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับเทคนิคการแก้ปัญหาของโพลยา พบวา่ ความสามารถในการแกโ้ จทยป์ ัญหาและผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน สามารถส่งเสรมิ และพฒั นาใหด้ ีได้ด้วยการ จัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับเทคนิคการแก้ปัญหาของโพลยา ซึ่งสำหรับงานวิจัยน้ี ผู้วิจัยได้นำการ จัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับเทคนิคการแก้ปัญหาของโพลยา ไปใช้ในการสร้างแผนการจัดการ เรียนรู้ เพ่ือพัฒนาความสามารถในการแกโ้ จทย์ปัญหาฟิสิกส์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนฟิสิกส์ ในเรื่อง โมเมนตัม และการชน ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4

42 บทท่ี 3 วธิ ีการดำเนนิ งาน การพัฒนาทักษะในการแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์และผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เรื่อง ไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก ของนักเรียนชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 5/4 โดยใช้กลวธิ ี ADSAC ผูว้ ิจัยไดด้ ำเนินการดงั รายละเอยี ดต่อไปนี้ 1. ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง 2. เครื่องมือทใ่ี ช้ในการวิจัย 3. วิธีดำเนนิ การทดลองและเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 4. การวเิ คราะหข์ ้อมูล 5. สถติ ิท่ีใชใ้ นการวเิ คราะหข์ อ้ มูล 1. ประชากรและกล่มุ ตัวอย่าง 1. ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคร้ังนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์- คณิตศาสตร์ โรงเรียนคลองใหญ่วิทยาคม อำเภอคลองใหญ่ จงั หวัดตราด ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 3 หอ้ งเรียน รวม 79 คน 2. กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังน้ี ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5/4 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์- คณิตศาสตร์ โรงเรียนคลองใหญ่วทิ ยาคม อำเภอคลองใหญ่ จงั หวัดตราด ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 17 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยกลุ่มตัวอย่างได้รับการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ไฟฟา้ และสนามแมเ่ หลก็ โดยใช้กลวิธี ADSAC 2. เคร่ืองมอื ท่ีใช้ในการวจิ ยั 1. แผนการจัดการเรียนรู้ท่ีใช้การแก้โจทย์ปัญหาด้วยกลวิธี ADSAC เร่ือง ไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก จำนวน 4 แผน คือ 1.1 เรอ่ื ง ทิศของแรงที่สนามแม่เหลก็ กระทำต่อประจุ เวลา 1 ชั่วโมง 1.2 เรอ่ื ง ขนาดของแรงทส่ี นามแมเ่ หล็กกระทำต่อประจุ เวลา 2 ชัว่ โมง 1.3 เร่ือง แรงกระทำต่อลวดตัวนำตรงทมี่ ีกระแสไฟฟา้ ผา่ นและอย่ใู นสนามแมเ่ หล็ก เวลา 2 ชั่วโมง 1.4 เรอ่ื ง แรงแมเ่ หล็กทกี่ ระทำตอ่ ขดลวดทีม่ กี ระแสไฟฟา้ ไหลผ่าน เวลา 2 ช่วั โมง

43 2. แบบทดสอบวัดทกั ษะในการแกโ้ จทย์ปัญหาฟิสิกส์ เรอ่ื ง ไฟฟ้าและสนามแม่เหลก็ จำนวน 3 ฉบับ ฉบับ ละ 5 ขอ้ คอื 2.1 เรอื่ ง แรงทีส่ นามแมเ่ หลก็ กระทำตอ่ ประจุ 2.2 เรอ่ื ง แรงท่ีกระทำต่อลวดตวั นำตรงทมี่ ีกระแสไฟฟา้ ผ่านและอยู่ในสนามแมเ่ หลก็ 2.3 เรื่อง แรงที่กระทำต่อขดลวดทม่ี ีกระแสไฟฟ้าผ่านและอยูใ่ นสนามแมเ่ หล็ก 3. แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน เรื่อง ไฟฟ้าและสนามแมเ่ หลก็ จำนวน 20 ข้อ 4. แบบวัดความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5/4 ต่อการแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์ เรื่อง ไฟฟ้า และสนามแมเ่ หล็ก โดยใช้กลวธิ ี ADSAC แบบมาตราสว่ นประมาณคา่ 5 ระดับ 3. วธิ ีดำเนนิ การทดลองและเก็บรวบรวมขอ้ มูล 1. แนะนำข้นั ตอนการทำกิจกรรมและบทบาทของนักเรยี นในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 2. ผู้วิจัยดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้กับนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง ตามแผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบ เสาะหาความรู้ร่วมกับการแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้กลวิธี ADSAC เรื่อง ไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก โดยใช้เวลาท้ังส้ิน 7 ช่ัวโมง 3. ผู้วิจัยให้นักเรียนทำแบบประเมินความพึงพอใจต่อการแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์ เรื่อง ไฟฟ้าและ สนามแมเ่ หลก็ โดยใช้กลวธิ ี ADSAC 4. นำผลคะแนนที่ได้จากการตรวจแบบทดสอบวัดทักษะในการแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์ เร่ือง ไฟฟ้าและ สนามแม่เหลก็ และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่ือง ไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก มาวิเคราะห์โดยวิธกี าร ทางสถิติ 4. การวเิ คราะห์ขอ้ มลู 1. วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเปรียบเทียบทักษะในการแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์ของนักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรม การเรยี นรู้ในการแก้โจทย์ปญั หาด้วยกลวิธี ADSAC หลงั เรียนกบั เกณฑ์รอ้ ยละ 70 2. วิเคราะหข์ ้อมลู เพ่อื เปรียบเทียบผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นฟสิ ิกส์ของนักเรยี น กอ่ นเรียนและหลังเรียน 3. วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนฟิสิกส์ของนักเรียน หลังเรียนกับเกณฑ์ ร้อยละ 70 4. ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนต่อการแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์ เรื่อง ไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก โดยใช้ กลวธิ ี ADSAC

44 5. สถิตทิ ่ใี ชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมูล 5.1 หาคา่ เฉลีย่ ของคะแนน ( x ) โดยใช้สูตร (สมบตั ิ ทา้ ยเรอื คำ, 2555, หน้า 128) x = x n เมอ่ื x แทน คา่ เฉลยี่ ของคะแนน x แทน ผลรวมของคะแนนท้งั หมด n แทน จำนวนนักเรยี นในกลุ่มตัวอย่าง 5.2 หาความเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) โดยใช้สตู ร (ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ, 2543, หนา้ 307) S.D. = Nx2 − (x)2 N(N − 1) เมื่อ S.D. แทน สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน x2 แทน ผลรวมของคะแนนแตล่ ะด้านยกกำลงั สอง (x )2 แทน ผลรวมของคะแนนทง้ั หมดยกกำลงั สอง N แทน จำนวนนักเรียนในกลุ่มตัวอย่าง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook