Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนพัฒนาการจัดการศึกษา

แผนพัฒนาการจัดการศึกษา

Published by kittisaktech, 2021-05-26 14:49:59

Description: แผนพัฒนาการจัดการศึกษา

Search

Read the Text Version

แผนพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษา 4 ปี ปีการศกึ ษา 2564- 2567 โรงเรียนบา้ นบงุ่ ฝาง สำนักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอทุ ัยธานี เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คำนำ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ กำหนดให้คณะรัฐมนตรี ต้องจัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดิน เพ่ือใช้เป็นกรอบการดำเนินงาน เชิงยุทธศาสตร์ของรัฐบาลตลอดระยะเวลา ๔ ปี โดยขณะนี้รัฐบาลชุดปัจจุบัน นายกรัฐมนตรี ได้ จัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๕๙ (๓ ปี ตามระยะเวลาที่เหลือตามวาระ ของรฐั บาล) และไดม้ ีการแถลงนโยบายต่อรฐั สภาเม่อื วันท่ี ๗ ตุลาคม ๒๕๕๑ จากพระราชกฤษฎกี า ฉบับดังกล่าวส่วนราชการจะต้องดำเนินการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพ ๔ ปี เพื่อรองรับการนำกรอบ ทิศทางและนโยบายของรัฐบาลไปสู่การปฏิบัติ กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ข้ันพื้นฐาน โรงเรียนบ้านบ่อยาง ซึ่งถือว่าเป็นหน่วยงานในแต่ละระดับท่ีจะต้องดำเนินการจัดทำ แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ๔ ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี ให้สอดคล้อง เช่ือมโยง และสัมพนั ธก์ บั แผนการบริหารราชการแผน่ ดนิ โรงเรียนบ้านบุ่งฝาง ในฐานะที่เป็นส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จึงไดจ้ ัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ๔ ปี เพื่อรองรับ กรอบทิศทางการดำเนินงานในระยะเวลา ๔ ปี (๒๕๖๔ – ๒๕๖๗) ของสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาอุทัยธานี เขต ๒ และสถานศึกษาในสังกัด โดยแสดงให้เห็นถึงความ สอดคล้อง เชื่อมโยง ละสัมพันธ์กับแผนการบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาล แผนพัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา ๔ ปี ของกระทรวงศึกษาธิการ แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ๔ ปี ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ๔ ปี ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุทัยธานี เขต ๒ เพ่ือนำไปสู่การปฏิบัติที่สมบูรณ์ ถูกต้อง เป็นธรรม อย่างมีประสทิ ธิภาพต่อไป โรงเรียนบ้านบุ่งฝาง ขอขอบคุณผู้มีส่วนเก่ียวข้องในการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา ๔ ปี (๒๕๖๔ – ๒๕๖๗) ให้สำเร็จลุล่วงด้วยดี และหวังเป็นอย่างย่ิงว่าแผนพัฒนา คุณภาพ ๔ ปี ฉบับน้ี จะเป็นประโยชน์ในการใช้เป็นกรอบในการดำเนินงานบริหารจัดการศึกษา ได้ อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพตอ่ ไป โรงเรียนบ้านบงุ่ ฝาง สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาอุทัยธานี เขต ๒

สารบัญ หนา้ ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานและบริบทของโรงเรยี น ๑. ความสำคัญ........................................................................................................................1 ๒. ขอ้ มูลพ้นื ฐาน.....................................................................................................................2 - ประวัตแิ ละความเปน็ มา………………………………………………………………..…………………2 - ท่ตี งั้ ปัจจบุ ัน.................................................................................................................4 - ขอ้ มลู นักเรยี น…………………………………………………………………………………………………5 3. โครงสร้างขอบข่ายและภารกจิ การบรหิ ารงานโรงเรยี นบ้านบุ่งฝาง…………..…………………...6 4. สภาพชุมชนในเขตบริการทางการศึกษา.............................................................................7 5. การวิเคราะห์ SWOT Analysis .........................................................................................8 สว่ นท่ี 2 ทศิ ทางการบรหิ ารจดั การการศกึ ษา 2.1 วิสยั ทศั น/์ พันธกจิ /เปา้ ประสงค์……………………………………………………………………………..11 2.2 ปณธิ านของคร/ู ปรัชญาโรงเรียน/คำขวญั /คตธิ รรม/คติพจน/์ สีประจำโรงเรียน/ อตั ลกั ษณ/์ เอกลักษณ.์ .....................................................................................................12 2.3 ตวั ชว้ี ัดตามเป้าประสงค์....................................................................................................13 2.4 กลยทุ ธ์โรงเรยี น……………………………………………………………………………………………………14 ส่วนท่ี 3 การประเมนิ คุณภาพภายในสถานศกึ ษา 3.1 ระดับการศึกษาปฐมวัย……………………………………………………………………………………….15 - มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพเด็ก……………………………………………………………………………15 - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ…………………………………………..16 - มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณท์ เี่ น้นเดก็ เปน็ สำคญั ……………………………........16 - สรปุ ผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวยั ...............................17 3.2 ระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐาน - มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพผเู้ รียน……………………………………………………………………….18 - มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ…………………………………………..18 - มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นรทู้ เ่ี นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สำคญั ...........................19 - สรปุ ผลการประเมินคณุ ภาพมาตรฐานการศึกษา ระดบั การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน.........19 ส่วนที่ 4 มาตรฐานการศึกษา / ค่าเปา้ หมาย 4.1 มาตรฐานการศกึ ษาระดับการศกึ ษาปฐมวัย…………………………………………………………….21 4.2 มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน................................................................23 4.3 ค่าเปา้ หมายระดบั การศึกษาปฐมวยั ..................................................................................27 4.4 ค่าเป้าหมายระดับการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน……………………………………………………………………32 สว่ นท่ี 5 เป้าหมายความสำเรจ็ ของโครงการ และการใช้งบประมาณของโครงการต่างๆ 5.1 เป้าหมายความสำเรจ็ ของโครงการ....................................................................................38 5.2 การใช้งบประมาณของโครงการตา่ งๆ………………………………………………………………………44 ภาคผนวก คำส่งั คณะทำงาน ……………………………………………………………………………………...............................……50

การให้ความเห็นชอบแผนพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษา ของโรงเรียนบา้ นบงุ่ ฝาง .................................................. ทปี่ ระชมุ คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พืน้ ฐานโรงเรียนบา้ นบุง่ ฝาง คร้งั ท่ี ๑/๒๕64 เมอ่ื วนั ท่ี 23 กุมภาพันธ์ 2564 ได้พิจารณาแผนพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษา ๔ ปี (ปกี ารศึกษา ๒๕๖4 – ๒๕๖7) ของโรงเรียนบ้านบุง่ ฝางแล้ว เห็นชอบให้ดำเนินการตามแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ๔ ปี ได้ (ลงช่อื ) ................................... (นายภูวนารถ ชโลธร) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พื้นฐาน โรงเรยี นบา้ นบุ่งฝาง

บทนำ แผนการบริหารราชการแผ่นดิน (พ.ศ.๒๕๖4-๒๕๖7) เป็นแผนที่แสดงให้เห็นถึงทิศทางการ ทำงานของรัฐบาลว่าด้วยการมุ่งเน้นไปสู่จุดหมายท่ีต้องการ สามารถขับเคล่ือนไปสู่ส่ิงท่ีต้องการดังกล่าวด้วย วิธีการอย่างไร วัดความก้าวหน้าและผลสำเร็จได้จากอะไร ต้องระดมสรรพกำลังและทรัพยากรมากน้อย เพียงใด และมีหน่วยงานใดบ้างท่ีเข้ามาเก่ียวข้องในฐานะเป็นเจ้าภาพผู้รับผิดชอบ ซึ่งใน แผนพัฒนา คุณภาพการจัดการศึกษา ๔ ปี จะได้กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ตัวช้ีวัด เป้าหมาย กลยุทธ์หลัก และเจ้าภาพไว้อย่างชัดเจน รวมทั้งกำหนดให้ทุกส่วนราชการต้องจัดทำ แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ๔ ปี ให้สอดคล้องกับแผนการบรหิ ารราชการแผน่ ดิน โรงเรียนบ้านบุ่งฝาง เป็นส่วนราชการท่ีจะต้องจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ๔ ปี ใหม้ ีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับแผนปฏิบัติการ ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ๔ ปี ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุทัยธานี เขต 2 โดยเฉพาะอย่างยิ่งจะต้องตอบสนองในประเด็นยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการที่เกี่ยวข้อง กบั สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน คือ การสร้างโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอด ชวี ติ ซึ่งสาระสำคัญของแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ๔ ปี จะประกอบไปด้วย วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ ตัวชี้วัดและเป้าหมายความสำเร็จ งาน/ โครงการที่รองรับกลยุทธ์ ประมาณการงบประมาณตามกลยทุ ธ์ ซ่ึงทัง้ หมดน้ีคือปัจจัยแห่งความสำเร็จในการนำแผนพัฒนาคุณภาพ การจดั การศกึ ษา ๔ ปี ไปสู่การปฏิบัติ

๑ บทที่ ๑ ข้อมูลพน้ื ฐานและบริบทของโรงเรียน ความสำคัญ โรงเรียน เป็นองค์กรในระบบการศึกษา ท่ีมีความใกล้ชิดกับนักเรียนมากท่ีสุด จึงเป็น องค์กรที่มี ความสำคัญสูงสุดท่ีควรได้รับการพัฒนาให้มีความเข้มแข็ง เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานในการพัฒนาคุณภาพ นักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ โรงเรียนบ้านบุ่งฝาง จึงต้องสร้างระบบการจัดการศึกษาให้มีความเข้มแข็งทั้ง ระบบ โดยมงุ่ เน้นท่ีการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ตามมาตรฐานการศกึ ษาเป็นสำคัญ ภารกิจเรง่ ด่วนของโรงเรียนบ้านบุ่งฝาง คือ การปฏบิ ัตงิ าน เพ่ือส่งเสริมให้ระบบการศึกษาเปน็ ระบบ ที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพควบคู่กันไป หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ต้องส่งเสริม สนับสนุนให้ครู บุคลากร ทางการศึกษาและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้ตระหนักและเห็นความสำคัญในการดำเนินการพัฒนาคุณภาพนักเรียน ใหไ้ ดต้ ามมาตรฐาน ทหี่ ลกั สูตรกำหนดอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ภายใต้ขอ้ จำกดั ดา้ นทรัพยากรท่ีมอี ยู่ สภาพการณ์การปฏิบัติงานของโรงเรียนบ้านบุ่งฝางในปัจจุบัน พบว่า โรงเรียนบ้านบุ่งฝาง สามารถ ดำเนินการจัดการศึกษาได้อย่างเข้มแข็ง โดยพิจารณาจากผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน จากการทดสอบระดับชาติ พบวา่ อยู่ระดับปานกลาง และผลการประเมินของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) จะเหน็ วา่ โรงเรียนบา้ นบุ่งฝาง มผี ลการประเมนิ ด้านคุณภาพนกั เรียน อยรู่ ะดบั ดมี าก โรงเรียนบ้าน บงุ่ ฝาง มีนักเรียน 67 คน มีข้าราชการครู จำนวน 4 คน เจ้าหน้าที่ธุรการ 1 คน ในส่วนของการดำเนินการ ทผี่ า่ นมา พบว่า มีปัญหาและอปุ สรรคที่สำคญั ในการพฒั นาคุณภาพการศึกษาดังน้ี ๑. งบประมาณในการส่งเสริมให้สถานศึกษา ดำเนินการบริหารจัดการศึกษา และพัฒนาระบบ ระบบและดำเนนิ การพฒั นาคณุ ภาพภายในมจี ำกัด ๒. ความเข้าใจและความร่วมมือของบุคลากรต่อการพัฒนาระบบการพัฒนาคุณภาพภายใน สถานศกึ ษา ยงั เขา้ ใจไมต่ รงกันและยังไม่ให้ความรว่ มมืออยา่ งเพียงพอ ๓. การฝึกอบรมครู ผู้บริหารและบุคลากรทางการศึกษา ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้มี ความรู้ ความเขา้ ใจสามารถมสี ว่ นรว่ มในกระบวนการพัฒนาระบบคุณภาพการศึกษา ไม่ครอบคลุมและกว้างขวางเพยี งพอ ๔. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ชุมชน และนักเรียน ยังมิได้รับการส่งเสริมอย่างเป็น รูปธรรมเพยี งพอ ๕. การสร้างเครือข่ายสถานศึกษาที่อยู่ห่างไกล เพื่อให้สามารถเตรียมความพร้อมร่วมกัน ใช้ ทรพั ยากรร่วมกัน ยงั มไิ ดร้ บั การสนับสนุนส่งเสริมอยา่ งจริงจังและเพยี งพอ ๖. การประสานกับหน่วยงานต่าง ๆ ท้ังของรัฐและเอกชน ยังขาดความเช่ือมโยง และเห็น ความสำคัญของการศกึ ษาร่วมกัน เปน็ การประสานงานเพยี งเปน็ พธิ ีเทา่ นั้น ๗. การนำผลการประเมนิ และการประกันคุณภาพท้งั ภายใน และภายนอกไปใชแ้ ละ ยังกระทำจำกัดและไมเ่ หน็ ผลเป็นรปู ธรรม จากสภาพดังกล่าวข้างต้น โรงเรียนซึ่งเป็นหน่วยงานปฏิบัติ ท่ีสำคัญท่ีสุดท่ี ในการผลักดันให้การ พัฒนาคุณภาพการศึกษา เป็นไปตามเจตนารมณ์ของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้รับการยอมรับจาก ชุมชนและสงั คม ซงึ่ จะส่งผลต่อการพฒั นาทรพั ยากรคนของชาตใิ นอนาคตได้ตอ่ ไป

๒ ขอ้ มลู พ้ืนฐาน ประวัติและความเปน็ มา (สังเขป) ชื่อสถานศึกษา โรงเรียนบา้ นบุ่งฝาง ต้งั อยเู่ ลขท่ี 183 หมู่ 2 ตาบลทุ่งนางาม อาเภอลานสัก จงั หวดั อุทยั ธานี รหสั ไปรษณีย์ 61160 โทรศพั ท์ - 084-492-8445 สังกดั (  ) สพฐ. ( ) สช. ( ) กทม. ( ) มท. ( ) อื่นๆ ระบ.ุ ....... เขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาอุทยั ธานี เขต 2 เปิ ดสอนต้งั แต่ระดบั อนุบาลช้นั ปี ท่ี 1 ถึงระดบั ประถมศึกษาปี ที่ 6 เขตพ้นื ท่ีบริการทางการศึกษา 2 หมูบ่ า้ น ไดแ้ ก่ หมู่ 1 บา้ นดินแดง และ หมู่ 9 บา้ นบุ่งฝาง ประวตั ิความเป็ นมาของโรงเรียนบ้านบ่งุ ฝาง โรงเรียนบา้ นบุ่งฝาง ก่อสร้างเมื่อเดือนมีนาคม 2511 ดว้ ยความร่วมมือของราษฎรบา้ นบุ่งฝาง บา้ น หว้ ยโศก พร้อมดว้ ยกานนั ผใู้ หญบ่ า้ น โดยก่อสร้างตามแบบท่ีทางอาเภอกาหนด เป็นอาคารเรียนแบบ ป.1จ 5 ห้องเรียน โดยไดร้ ับการบริจาคที่ดินก่อสร้าง จากนายชม ปรีชา เปิ ดทาการเรียนการสอนเมื่อวนั ท่ี 13 พฤษภาคม 2512 พ.ศ. 2514 ได้รับงบประมาณจากองค์การบริหารส่วนจังหวดั อุทัยธานี จานวน 90,000 บาท (เกา้ หม่ืนบาทถว้ น) ปรับปรุงอาคารเรียน แบบ ป.1จ 5 หอ้ งเรียน พ.ศ. 2517 ไดร้ ับงบประมาณจากสานกั งานกองสลากกินแบ่งรัฐบาล จานวน 240,000 บาท (สอง แสนส่ีหม่ืนบาทถว้ น) สร้างอาคารเรียนแบบ ป.1ข 4 หอ้ งเรียน 1 หลงั พ.ศ. 2519 ไดร้ ับงบประมาณ จานวน 135,000 บาท (หน่ึงแสนสามหม่ืนหา้ พนั บาทถว้ น) ก่อสร้าง บา้ นพกั ครูแบบกรมสามญั จานวน 3 หลงั พร้อมกบั งบประมาณก่อสร้างส้วม 4 ที่นงั่ งบประมาณ 4,000 บาท (ส่ีพนั บาทถว้ น) พ.ศ. 2520 ได้รับงบประมาณ จานวน 269,400 บาท (สองแสนหกหม่ืนเก้าพันสี่ร้อยบาทถ้วน) ก่อสร้างอาคารเรียน แบบ ป. 1 ข 3 หอ้ งเรียน 1 หลงั พ.ศ. 2520 ไดร้ ับงบประมาณ จานวน 60,000 บาท (หกหม่ืนบาทถว้ น) ก่อสร้างโรงฝึกงาน 1 หลงั พ.ศ. 2531 ได้รับงบประมาณ จานวน 40,000 บาท (ส่ีหมื่นบาทถ้วน) ก่อสร้างส้วม แบบ สปช 601/26 จานวน 1 หลงั 4 ท่ีนงั่ พ.ศ. 2538 ประชาชนร่วมกนั บริจาคเงิน จานวน 40,000 บาท (สี่หมื่นบาทถว้ น) สร้างร้ัวโรงเรียน ดา้ นหนา้ ยาว 70 เมตร พ.ศ. 2538 ไดร้ ับงบประมาณ จานวน 70,000 บาท (เจด็ หม่ืนบาทถว้ น) สร้างถงั เกบ็ น้าฝน แบบ ฝ. 30 พิเศษ จานวน 1 ชุด 6 ถงั

๓ พ.ศ. 2545 ไดร้ ับงบประมาณของกรมพลศึกษา จานวน 100,000 บาท (หน่ึงแสนบาทถว้ น) ก่อสร้าง ลานกีฬาเอนกประสงค์ จานวน 1 สนาม พ.ศ. 2547 ได้รับงบประมาณจากสานักงานกองสลากกินแบ่งรัฐบาล จานวนเงิน 300,000 บาท (สามแสนบาทถว้ น) กบั เงินบริจาคจากผปู้ กครองนกั เรียน จานวน 180,000 บาท (หน่ึงแสนแปดหมื่น บาท ถว้ น) ก่อสร้างหอ้ งสมุดทรงไทยเป็นไมส้ ักท้งั หลงั กวา้ ง 11 ม. ยาว 12 ม. จานวน 1 หลงั ราคาโดยประมาณ 1,200,000 บาท (หน่ึงลา้ นสองแสนบาทถว้ น) พ.ศ. 2548 ประชาชน ผูป้ กครองนักเรียนร่วมกับบริจาคสิ่งของก่อสร้างป้ายชื่อโรงเรียน ราคา ประมาณ 40,000 บาท (ส่ีหมื่นบาทถว้ น) พ.ศ. 2551 คุณภาวดี การมิตรีและคณะ บริจาคเงินซ้ือกระเบ้ืองปูพ้ืนอาคารเพื่อใชเ้ ป็ นห้องประชุม ราคา 67,000 บาท (หกหม่ืนเจด็ พนั บาทถว้ น) พ.ศ. 2552 ไดร้ ับงบประมาณปรับปรุงบริเวณโรงเรียน สร้างศาลาท่ีพกั และซุม้ การเวก 90,000 บาท (เกา้ หม่ืนสองพนั บาทถว้ น) พ.ศ. 2553 มูลนิธิซีเมนต์ไทย โครงการสนามเด็กเล่นเพ่ือน้อง บริจาคเงินจดั ซ้ือ และทาสนามเด็ก เล่นจานวนเงิน 100,000 บาท (หน่ึงแสนบาทถว้ น) พ.ศ. 2557 กลุ่มแรลล่ี กองวิศวกรรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ไดบ้ ริจาคอุปกรณ์การเรียน อปุ กรณ์กีฬา และสร้างท่ีแปรงฟัน พ.ศ. 2557 นกั ศึกษาจากมหาวิทยาลยั ราชภฏั จนั ทรเกษม โครงการค่ายอาสาพฒั นาสถานศึกษาและ ชุมชน เปลี่ยนหลงั คาอาคารอเนกประสงค์ และทาสีร้ัวโรงเรียน พ.ศ. 2558 ธนาคารเพ่ือการส่งออกและนาเขา้ แห่งประเทศไทย บริจาคคอมพิวเตอร์เคล่ือนท่ี จานวน 20 เครื่อง พ.ศ. 2560 ชมรมเติมฝันปันน้าใจ ทาสีสนามเดก็ เลน่ และมอบอุปกรณ์การเรียน พ.ศ. 2562 ชมรมเติมฝันปันน้าใจ ทาสีสนามเด็กเล่น ปรับปรุงซ่อมแซมห้องน้านักเรียน และมอบ อปุ กรณ์การเรียน ปัจจุบัน (พ.ศ. 2564) โรงเรียนบา้ นบุ่งฝาง มี นายกิตติศกั ด์ิ กิจติยา เป็ นผูอ้ านวยการโรงเรียน มี ขา้ ราชการครูท้งั หมด 4 คน และนกั เรียน 64 คน เปิ ดสอนต้งั แต่ช้นั อนุบาล 2 ถึงช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 6 รวม 8 หอ้ งเรียน

๔ ที่ตั้งปัจจุบัน

ตารางที่ ๑ แสดงข้อมลู นักเรียน จำแนกตามเพศ ตามระดับชน้ั เรยี นทเี่ ปดิ สอน ๕ ขอ้ มูล จำนวน จำนวนนักเรียน รวม ระดับชั้น หอ้ งเรียน ชาย หญงิ - อนบุ าล ๑ -- ๔ อนุบาล ๒ - ๔- ๖ อนุบาล ๓ ๑ ๓๓ ๑๐ รวมก่อนประถมศึกษา ๑ ๗๓ ๖ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ ๒ ๔๒ ๘ ประถมศึกษาปีท่ี ๒ ๑ ๔๔ ๗ ประถมศึกษาปที ่ี ๓ ๑ ๒๕ ๑๑ ประถมศึกษาปที ี่ ๔ ๑ ๔๗ ๑๔ ประถมศึกษาปีที่ ๕ ๑ ๖๘ ๘ ประถมศึกษาปที ี่ ๖ ๑ ๖๒ ๕๔ รวมประถมศกึ ษา ๑ ๒๖ ๒๘ ๖๔ รวมทั้งส้ิน ๖ ๓๓ ๓๑ ๘ ตารางท่ี ๒ แสดงข้อมลู ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา บคุ ลากร ผู้บริหาร ครผู ู้สอน พนกั งานราชการ ครอู ัตราจา้ ง เจา้ หน้าทอ่ี น่ื ๆ ปีการศึกษา 256๔ 1 ๔ - ๑- สรปุ จำนวน......๑.........คน จำนวน......๔.........คน ๑. ผบู้ ริหารโรงเรียน (ผอ. ร.ร.) จำนวน......1.........คน ๒. จำนวนครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา จำนวน.......-..........คน ๓. ครูอัตราจา้ ง จำนวน......๑.........คน ๔. ลกู จ้างประจำ ๕. เจา้ หน้าทธ่ี ุรการ

๓. โครงสรา้ งขอบข่ายและภารกิจการบรหิ ารงานโรงเรยี นบ้านบุ่งฝาง คณะกรรมการทปี่ รึกษา ผ้อู ำนวยก กลุ่มบริหารวชิ าการ กล่มุ บริหารงบประมาณ กลุม่ บริหา 1. การพฒั นาหลักสตู รสถานศกึ ษา 1. การจัดทำและเสนอขอ 1. การวางแ 2. การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ งบประมาณ และกำหนดต 3. การวัดผลประเมนิ ผลและเทยี บ 2. การจัดสรรงบประมาณ 2. การสรรห โอนผลการเรยี น 3. การตรวจสอบ ตดิ ตาม บรรจแุ ตง่ ตงั้ 4. การวจิ ยั เพือ่ พฒั นาคณุ ภาพ ประเมินผล และรายงานผล 3. การเสรมิ การศกึ ษา การใช้เงินและผลการ ประสิทธภิ าพ 5. การพัฒนาสอ่ื นวตั กรรมและ ดำเนนิ งาน ราชการ เทคโนโลยที างการศกึ ษา 4. การระดมทรัพยากรและ 4. วินัยและก 6. การพัฒนาแหลง่ เรยี นรู้ การลงทนุ เพื่อการศกึ ษา 5. การออกจ 7. การแนะแนวการศกึ ษา 5. การบริหารการเงนิ 8. การนิเทศการศกึ ษา 6. การบริหารบญั ชี 9. การพัฒนาระบบการประกนั 7. การบริหารพสั ดุและ คณุ ภาพภายในสถานศึกษา สินทรพั ย์ 10. การประสานความร่วมมือ ในการพฒั นาวชิ าการ กบั สถานศึกษาอ่ืน

๖ การโรงเรยี น คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ารงานบคุ คล กลุ่มบริหารทั่วไป แผนอตั รากำลัง 1. การดำเนินงานธุรการ 10. งานบรกิ ารสาธารณะ ตำแหน่ง 2. งานเลขานกุ ารคณะกรรมการ 11. งานอ่นื ๆทีไ่ มไ่ ดร้ ะบไุ ว้ หาและการ สถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน 12. การแนะแนวการศกึ ษา 3. งานพัฒนาระบบเครือข่าย 13. การสง่ เสรมิ ความรู้ดา้ นวิชาการ มสร้าง สารสนเทศ แกช่ มุ ชน พในการปฏบิ ตั ิ 4. การประสานและพัฒนา 14.การส่งเสริมและสนบั สนุนงาน เครอื ขา่ ยการศกึ ษา วิชาการแก่บคุ คล ครอบครัว การรักษาวินยั 5. การจดั ระบบการบรหิ ารและ องค์กร หนว่ ยงาน และสถาบันอนื่ จากราชการ พฒั นาองค์กร ทจี่ ดั การศึกษา 6. การดแู ลอาคารสถานท่ีและ 15.สำมะโนผูเ้ รยี น สภาพแวดลอ้ ม 16.รบั นกั เรียน 7. งานสง่ เสรมิ งานกจิ การนกั เรยี น 17. งานสง่ เสริมการศกึ ษา 8. การประชาสมั พนั ธง์ าน 18. ระบบควบคมุ ภายในหน่วยงาน การศกึ ษา 19. งานอาหารกลางวนั 9. งานประสานราชการกับเขต 20. งานสหกรณ์โรงเรยี น พนื้ ท่ีการศกึ ษาและหนว่ ยงานอ่ืน 21.งานอนามยั โรงเรียน

๗ สภาพชมุ ชนในเขตบรกิ ารทางการศึกษา 1. สภาพที่ตั้ง และการคมนาคม สภาพชุมชนในเขตพนื้ ทีบ่ ริการของโรงเรียน มีสถานทสี่ ำคัญ ใกลเ้ คียงบรเิ วณโรงเรียน ได้แก่ 1. วดั ดนิ แดง 2. องค์การบรหิ ารสว่ นตำบลทุ่งนางาม 3. โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตำบลประด่ยู ืน ด้านการคมนาคมโดยรอบของเขตพ้ืนท่ีบริการ ร้อยละ 70 มีความสะดวกสบายในการเดินทาง เนื่องจากเปน็ เส้นทางหลักในการจราจร ร้อยละ 30 เปน็ ลักษณะทางดินและทางลูกรงั เน่ืองจากเป็นเขตพ้ืนที่ หมูบ่ ้าน ซ่ึงประกอบอาชพี เกษตรกรรมและรับจ้าง ศาสนาท่ีผู้ปกครองนับถือสว่ นใหญค่ ือ ศาสนาพุทธ ศาสนาครสิ ต์ ตามลำดับ  รายไดเ้ ฉลยี่ ของผู้ปกครองต่อครอบครวั ต่อปี ผู้ปกครองส่วนใหญ่ จบการศึกษาระดับการศึกษาภาคบังคับ อาชีพหลัก คือ เกษตรกรและรับจ้างส่วนใหญ่ นับถือศาสนาพุทธ ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายได้โดยเฉล่ียต่อครอบครัว ต่อปี 30,000 บาทจำนวนคนเฉลี่ยตอ่ ครอบครัว 4-6 คน  โอกาสของสถานศกึ ษากบั ความรว่ มมอื ในดา้ นตา่ งๆ ของชมุ ชน อยู่ใกล้แหล่งเรียนรู้ เช่น เขาปลาร้า หุบป่าตาด อยู่ใกล้บริเวณวัดเขาดินแดง ได้รับการส่งเสริม สนับสนุนจากชมุ ชน ผนู้ ำชมุ ชน องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น  ขอ้ จำกัดของสถานศกึ ษากบั ความร่วมมือของชุมชน เนื่องดว้ ยผู้ปกครองมีรายไดน้ อ้ ยฐานะยากจน ผปู้ กครองไปทำงานตา่ งจังหวดั และปญั หาการ หยา่ รา้ งมมี าก ทำใหน้ กั เรยี นต้องอาศยั อยกู่ บั ปยู่ า่ ตายาย ซ่ึงต้องออกไปทำงานไม่มเี วลาดูแลนักเรียน ๒. สภาพเศรษฐกิจ และการประกอบอาชพี อาชีพหลักของคนในชุมชนในเขตพ้นื ทบ่ี ริการของโรงเรยี นส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม รับจา้ ง ทำสวนมะมว่ ง และค้าขาย ๓. ศาสนาและวฒั นธรรมประเพณี ศาสนาท่ีผู้ปกครองนบั ถอื สว่ นใหญ่คอื ศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต์ ตามลำดบั ประชากรที่นบั ถอื ศาสนาพทุ ธ ไดส้ บื สานและรกั ษาประเพณแี ละวฒั นธรรมมาจนถึงปจั จุบนั ประเพณีที่สำคัญ คือ ประเพณวี นั สงกรานต์ วนั เข้าพรรษา วันออกพรรษา วันลอยกระทงและประเพณที ำขนมจนี โบราณ

๘ การวเิ คราะห์ SWOT Analysis จดุ แขง็ (Strength) ดา้ นนกั เรียน ผเู้ รียนมีคณุ ธรรมจริยธรรมและคา่ นิยมทพ่ี ึงประสงค์ โดยเฉพาะทางดา้ นความกตัญญูกตเวที เออ้ื เฟื้อเผื่อแผแ่ ละกระทำตนเป็นประโยชน์ต่อสว่ นรวมมสี ุขนสิ ยั สขุ ภาพกาย และสขุ ภาพจิตทด่ี ี มีสุนทรยี ภาพ ทางด้านศิลปะ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นไดแ้ ละมีเจตคติทด่ี ตี ่ออาชพี สจุ ริต ผ้เู รียนส่วนใหญ่สามารถอา่ น เขยี นได้ รว่ มท้งั มีทักษะในดา้ นงานใบตอง สามารถใช้เทคโนโลยีได้เหมาะสมกับวัย ดา้ นครู ครูมีคณุ วุฒริ ะดบั ปริญญาตรีข้ึนไปทกุ คน และความถนัดมปี ระสบการณ์ในการสอนเฉลี่ยเกนิ ๑0 ปี และไดร้ บั การพฒั นาให้มีความเช่ยี วชาญทางวชิ าชพี เชน่ การอบรมโครงการพัฒนาครใู นรูปแบบครบวงจร อบรมผ่านระบบ Online ตา่ งๆ ดา้ นผู้บรหิ าร ผูบ้ ริหารมีภาวะความเป็นผ้นู ำสูง มีความสามารถในการบริหารจดั การประสานกบั หน่วยงานท้งั ภาครฐั เอกชน และองค์กรตา่ ง ๆ ใหเ้ ข้ามาสนับสนุนดา้ นการศกึ ษา ใช้หลักการบรหิ ารโดยยึดหลกั ธรรมาภิบาลโดยมี โมเดล Bungfang SSH Model ในการบรหิ าร ผูป้ กครอง ชมุ ชน ให้ความเช่ือถือ ศรทั ธา สนับสนนุ และ ส่งเสริมคณุ ภาพผูเ้ รียนด้วยการจัดกิจกรรมอย่างหลากหลาย ดา้ นบริหารจัดการ สถานศกึ ษามีการสร้างเครือข่ายความร่วมมือกบั ผูท้ เี่ กยี่ วข้องในการจัดการศึกษาของโรงเรียนใหม้ ี ความเขม้ แขง็ มีสว่ นร่วมรับผิดชอบต่อผลการจดั การศึกษา และขบั เคลื่อนคุณภาพการศึกษาใหเ้ กิดความ ตอ่ เน่อื งแตท่ ั้งนีโ้ รงเรียนยงั สนบั สนุนให้ครูและบุคลากรทางการศกึ ษา นักเรียน เข้ารว่ มกิจกรรมในวนั สำคัญ ทางศาสนา และเข้าร่วมกจิ กรรมสัมพันธก์ บั ชมุ ชน นอกจากนผ้ี ้บู ริหารสถานศึกษายงั จัดโครงสรา้ งการ บริหารงาน โดยแบ่งงานออกเปน็ ๔ ดา้ น ไดแ้ ก่ ดา้ นวชิ าการ ด้านบุคลากร ดา้ นบริหารงานทั่วไป และดา้ น งบประมาณ นอกจากนส้ี ถานศกึ ษายังสง่ เสริมการจัดการเรียนการสอนโดยเนน้ ผู้เรยี นเป็นสำคญั และสง่ เสริมให้ ผู้เรยี นสามารถเรียนรู้ไดเ้ ต็มศักยภาพ

๙ จุดอ่อน (Weakness) ดา้ นนักเรยี น ผู้เรียนต้ังแต่ระดับประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 ยงั ต้องพัฒนาการเชื่อมโยงความรู้ และการสร้างชน้ิ งาน จากองค์ความรู้ท่ไี ดเ้ รยี นมา และตอ้ งพัฒนาทักษะด้านการอภิปราย นำเสนอผลงานของตนใหเ้ ป็นขัน้ ตอน กระชบั ได้ใจความมากขึน้ อกี ทัง้ ตอ้ งยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติใหด้ ยี ิ่งข้นึ ผ่าน เกณฑ์มาตรฐานทต่ี ั้งไว้ ด้านครู ครูควรทำการวจิ ยั ในชั้นเรียนทกุ กลุม่ สาระการเรียนรู้ เพื่อแกป้ ญั หาและพัฒนาด้านการเรียนการสอน ดา้ นผบู้ รหิ าร ควรพัฒนาทางดา้ นการนำศักยภาพมาบรหิ ารจัดการงานวชิ าการดว้ ยการทำให้เกิดผลการพัฒนา ผเู้ รยี นตามมาตรฐานการศึกษา ควรกำหนดการนเิ ทศกำกบั ติดตาม และประเมนิ ผลเปรียบเทียบกับเปา้ หมาย อย่างต่อเนอ่ื งตามที่ได้วางแผนไว้ โอกาส (Opportunity) ชมุ ชน – คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้นื ฐานให้การสนบั สนนุ ในดา้ น อาหาร อุปกรณ์ของเลน่ สถานศกึ ษามคี ณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐานถึง ๓ หมบู่ า้ น มีความเขม้ แข็งชว่ ยประสานสมั พนั ธก์ ับ ผ้ปู กครองและชุมชนในการร่วมกันพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษา รวมทั้ง อบต.ทงุ่ นางาม ให้การสนับสนุน ปราชญ์ชาวบา้ น ด้านงบประมาณเพอื่ จัดซื้อ จดั ทำ จดั จ้าง ท้ังวสั ดุอปุ กรณ์ ส่ือเทคโนโลยแี ละจัดเปน็ ทนุ การศึกษา สนบั สนุนกิจกรรมของโรงเรยี น อุปสรรค (Treat) ชุมชนมีสภาพความเป็นอยู่ยากจน ชุมชน ผูป้ กครองส่วนใหญป่ ระกอบอาชีพเกษตรกรรม ยังมีส่วนให้ ความสำคัญต่อการศึกษาของบุตรหลานยังนอ้ ย ผู้ปกครองบางสว่ นให้ลกู ของตนเองอยู่กับบ้าน ปู่ ยา่ ตา ยาย หรือทวด โดยพ่อแม่ของเด็กไปทำงานตา่ งจงั หวัด ทำใหข้ าดการดูแลเอาใจใส่อย่างใกลช้ ิด จากการศึกษาสภาพปัญหาของโรงเรยี นบ้านบงุ่ ฝางที่ผา่ นมาพบว่า โรงเรียนบ้านบงุ่ ฝาง ประสบ ปัญหาในการพัฒนาคุณภาพ ๓ ด้าน คอื ดา้ นการบรหิ ารจัดการ ด้านการเรยี นการสอน ด้านความพร้อมทาง ปจั จัยของโรงเรยี น ซึ่งจะขอกลา่ วโดยสังเขป ดงั นี้ ๑. ปญั หาดา้ นบริหารจัดการ สถานศกึ ษายังขาดแคลนครทู ี่ใความตามวิชาเอกและไม่ครบชนั้ เนอ่ื งจากจำนวนนักเรียนมีน้อยจึง ทำใหม้ ผี ลต่อการกำหนดอัตรากำลงั ขา้ ราชการครู อีกทง้ั ครูมีภาระงานพิเศษที่ต้องรับผิดชอบ จึงส่งผลให้ นักเรยี นมีผลสมฤทธทิ์ างการเรียนและผลการทดสอบระดบั ชาติไม่ดเี ทา่ ท่คี วร ๒. ปญั หาด้านการเรียนการสอน ครูต้องพัฒนาความรู้ด้านการผลิตส่ือการสอนที่สามารถตอบโต้(Interactive) และให้สามารถวัดผล การเรียนรู้ในกิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ พร้อมทั้งรายงานผลการทดสอบและจุดที่ นักเรียนต้องแก้ไขให้ทราบในทันทีได้ ครูควรจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนในระดับชั้น ป.1-ป.3 ให้

๑๐ สามารถนำเสนออภิปรายและแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างสมเหตุสมผล และมีทักษะในการแก้ปัญหาตาม สถานการณ์ไดอ้ ย่างเหมาะสม ๓. ปญั หาด้านความพร้อมเกย่ี วกบั ปัจจยั สนับสนุน สถานศึกษาต้องมีโครงการในการระดมทรพั ยากรเพือ่ การศึกษา โดยการขอความร่วมมือจากองคก์ ร ต่าง ๆ และหน่วยงานราชการทีเ่ กี่ยวข้อง และขอตง้ั งบประมาณประจำปี เพอื่ ใหม้ ีงบประมาณในบรหิ ารจัดการ โรงเรยี นอยา่ งตอ่ เนอ่ื งและเพยี งพอ ลำดบั ความสำคัญของปญั หา ลำดับปญั หา แนวทางพฒั นา/แก้ไข ๑. สถานศกึ ษายังขาดแคลนครทู ใ่ี ความตามวิชาเอก ๑.ประกาศรบั ย้าย และขออตั รากำลงั จากเขตพน้ื ท่ี และไม่ครบชัน้ เน่อื งจากจำนวนนักเรยี นมนี ้อยจงึ การศกึ ษาอทุ ยั ธานี เขต ๒ และจ้างครูอตั ราจา้ ง ทำใหม้ ีผลตอ่ การกำหนดอตั รากำลังขา้ ราชการครู ใหต้ รงตามวิชาเอกที่ขาด อกี ท้ังครูมีภาระงานพเิ ศษทต่ี ้องรบั ผิดชอบ จึงส่งผล ใหน้ ักเรยี นมีผลสมฤทธ์ิทางการเรียนและผลการ ทดสอบระดบั ชาตไิ มด่ เี ทา่ ที่ควร ๒.ครตู ้องพฒั นาความรดู้ ้านการผลิตสอื่ การสอนที่ ๑.สนบั สนนุ ให้ครพู ฒั นาความร้ทู างวิชาชีพและมีการ สามารถตอบโต(้ Interactive) และให้สามารถวดั ผล รวมกลุ่มพัฒนาชมุ ชนวิชาชพี แห่งการเรียนรู้ การเรยี นรใู้ นกจิ กรรมการเรยี นร้ตู า่ งๆ ผา่ นระบบ ๒.จัดทำระบบวัดและประเมนิ ผลโดยใช้ระบบ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ พร้อมท้งั รายงานผลการทดสอบและ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ จดุ ท่ีนกั เรียนต้องแก้ไขให้ทราบในทันทีได้ ครคู วร จัดกิจกรรมการเรยี นรเู้ พ่ือพฒั นาผู้เรียนในระดบั ช้ัน ป.1-ป.3 ให้สามารถนำเสนออภิปรายและ แลกเปลย่ี นเรียนรอู้ ยา่ งสมเหตุสมผล และมีทักษะ ในการแกป้ ญั หาตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม ๓.สถานศกึ ษาต้องมีโครงการในการระดมทรัพยากร ๑.ขอตง้ั งบประมาณประจำปี เพื่อการศึกษา โดยการขอความร่วมมือจากองคก์ ร ๒.เขียนโครงการเพ่ือขอรบั การสนบั สนุนในการจัดหาปัจจยั ตา่ ง ๆ และหนว่ ยงานราชการทีเ่ กี่ยวข้อง และขอตั้ง ดา้ นการจดั การศึกษาจากหน่วยงานท่ีเก่ยี วข้อง งบประมาณประจำปี เพื่อให้มีงบประมาณใน ๓.ระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาโดยใชร้ ะบบ E-Donation บรหิ ารจัดการโรงเรียนอยา่ งต่อเนอ่ื งและเพยี งพอ

๑๑ ส่วนท่ี 2 ทิศทางการบริหารจดั การการศกึ ษา ทศิ ทางการจัดการศึกษาของโรงเรยี นบ้านบุง่ ฝาง โรงเรียนบ้านบุ่งฝาง พัฒนาโรงเรียนโดยใช้ Bungfang SSH Model จะร่วมมือกับชุมชน พัฒนา อาคารสถานท่ีให้สวยงาม สะอาดตา ร่มร่ืน เอ้ือต่อการเรียนรู้ พัฒนาครใู ห้มีความรู้ ความสามารถใน การ จัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพ่ือให้เป็นโรงเรียนที่มีความเป็นเลิศทางวิชาการ ผลิตนักเรียน ให้เป็นคนเก่ง คนแขง็ แรง และเป็นคนดีของสังคม โดยเน้นให้มีทักษะการใช้ภาษาเพื่อการส่ือสาร มีทักษะ ทางคณิตศาสตร์ มีความรู้และทกั ษะทางกระบวนการวทิ ยาศาสตร์ มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีเพือ่ การเรียนรู้ในศตวรรษ ท่ี 21 (3 Rs8Cs) โดยเน้นให้นักเรียนมีความสามารถด้านดนตรี กีฬาและงานอาชีพ และการปฏิบัติงานมี ความซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อหน้าที่ มีวินัย เสียสละ มีสัมมาคารวะ มีสุขภาพสมบูรณ์ทั้งกายและใจ อยู่ในสังคม อย่างมีความสุข ความสำคญั ของแผนพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศึกษา ๔ ปี ของโรงเรียนบ้านบงุ่ ฝาง โรงเรยี นบ้านบงุ่ ฝาง ในฐานะท่ีเปน็ ส่วนราชการท่สี งั กดั กระทรวงศกึ ษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน มปี ระเด็นยทุ ธศาสตร์สอดคล้องเชอ่ื มโยงกับประเด็นยุทธศาสตรส์ ำนักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ซึ่งเปน็ ภารกิจท่ีต้องดำเนินการ ไดแ้ ก่ การสร้างโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ ตลอดชวี ติ มาจดั ทำแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศกึ ษา ๔ ปี เพื่อสนับสนุนและรองรับ นโยบายตาม แผนพฒั นาคุณภาพการจัดการศกึ ษา ๔ ปี ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุทัยธานี เขต ๒ ใช้เป็นกรอบ ทิศทางการดำเนินงานในระยะเวลา ๔ ปี (๒๕๖๔ – ๒๕๖๗) ของโรงเรียนในสังกัด ให้ สอดคล้องและเช่ือมโยงสัมพันธ์กันต่อไป วิสยั ทัศน์ โรงเรียนบ้านบุ่งฝาง เป็นโรงเรียนที่มุ่งมั่นพัฒนาด้านคณุ ธรรม ดา้ นวิชาการและเทคโนโลยี มีพ้ืนฐาน งาน อาชีพและทักษะ ในการดำรงชีวิต ตามพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั รัชกาลท่ี 10 และหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง พนั ธกจิ โรงเรียนบ้านบุ่งฝาง จัดการศึกษาต้ังแต่ระดับปฐมวัยถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เพ่ือดำเนินการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพ สอดคล้องกับความต้องการของสังคมทางด้านความรู้ ความสามารถในการคิด การปฏิบัติ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม พัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการ รู้จักเกบ็ ออม และนอ้ มนำปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพยี งไปปฏิบัติ สามารถดำรงชีวิตอย่ใู นสังคมได้อยา่ งมีความสุข เป้าประสงค์ ๑. เยาวชนทุกคนไดร้ ับโอกาสในการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ๑๒ ปี ตามสิทธเิ ทา่ เทียมและทว่ั ถงึ และตามศักยภาพ

๑๒ ๒. ผู้เรียนทกุ คนได้รับการศกึ ษาทมี่ ีคุณภาพตามหลกั สูตรการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน ปณิธานของครู จะเทดิ ทนู ราชวงศ์องค์จักรี จะมุง่ มัน่ ทำดีท่ีสรา้ งสรรค์ จะรวมพลังทั้งมวลประสานกัน ม่งุ ม่ันพฒั นาเดก็ ไทยใหส้ มบรู ณ์ ปรชั ญาโรงเรียน นตตฺ ิ ปญั ญา สมาอาภา แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี คำขวัญ “เรียนดี มีวนิ ยั ใฝ่คณุ ธรรม” คติธรรม นตตฺ ิ ปญั ญา สมาอาภา แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี คติพจน์ ความพยายามอยู่ท่ไี หน ความสำเรจ็ อยู่ท่นี ั่น สปี ระจำโรงเรียน เหลอื ง ฟ้า อัตลกั ษณ์ “รักการออม” เอกลักษณ์ “งานใบตอง”

๑๓ ตัวช้ีวดั ตามเป้าประสงค์ เป้าประสงค์ที่ ๑ เยาวชนทุกคนไดร้ ับโอกาสในการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน ๑๒ ปี ตามสทิ ธเิ ท่าเทียมและท่วั ถึง และตามศกั ยภาพ ตวั ชวี้ ัด เป้าหมาย ๖๔ ๖๕ ๖๖ ๖๗ ๖๔-๖๗ ๑. จำนวนนกั เรยี นก่อนประถมศกึ ษา ๑๐ ๑๒ ๑๓ ๑๕ ๒. จำนวนนักเรยี นระดบั ประถม (ป.๑ – ป.๖) ๕๐ ๕๔ ๕๕ ๕๗ ๖๐ ๓. ร้อยละของผู้ปกครองทมี่ คี วามพึงพอใจตอ่ ๒๒๖ การบรหิ ารสถานศกึ ษา ๘๐ ๘๐ ๙๐ ๙๐ ๘๕ เปา้ ประสงค์ท่ี ๒ ผู้เรยี นทุกคนไดร้ ับการศกึ ษาทมี่ ีคณุ ภาพตามหลกั สูตรการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน ตวั ชี้วดั ๑. รอ้ ยละของผเู้ รยี นระดบั ศึกษาข้ันพ้นื ฐาน ๗๒.๕ ๗๐ ๗๐ ๗๕ ๗๕ ท่ผี ่านการประเมินระดบั ชาติในระดับดี ๒. ร้อยละของนักเรียนทผ่ี ่านชว่ งช้นั ของหลักสตู ร ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๓. รอ้ ยละของผเู้ รียนมีคณุ ลักษณะท่ปี ระสงคต์ ามมาตรฐาน ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ การศึกษา ๔. ร้อยละของผปู้ กครองทีม่ ีความพึงพอใจต่อ ๘๒.๕ ๘๐ ๘๐ ๘๕ ๘๕ ระดบั คณุ ภาพของผ้เู รยี น

๑๔ กลยทุ ธ์โรงเรียนบ้านบุง่ ฝาง กลยุทธ์ท่ี 1 : พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและส่งเสริมความสามารถ ด้านเทคโนโลยเี พอื่ เปน็ เคร่อื งมือในการเรียนรู้ กลยทุ ธท์ ่ี 2 : เสรมิ สรา้ งคุณธรรม ความสำนึกในความเป็นไทย และวถิ ีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง กลยทุ ธท์ ่ี 3 : พัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาทัง้ ระบบ กลยทุ ธ์ที่ 4 : สรา้ งจิตสำนึกในการอนรุ ักษส์ ิ่งแวดล้อมและพัฒนาสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคม ให้เอ้อื ตอ่ การเรียนรูข้ องผ้เู รียน กลยทุ ธ์ท่ี 5 : พัฒนาประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การศึกษาตามหลักธรรมาภบิ าลเน้นการมีส่วนร่วมจาก ทกุ ภาคส่วน

๑๕ สว่ นที่ 3 การประเมนิ คุณภาพภายในสถานศกึ ษา 3. การประเมนิ คุณภาพภายในสถานศกึ ษา 3.1 ระดับการศกึ ษาปฐมวัย 3.1.1 มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพเดก็ กระบวนการพัฒนา จัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาเด็กอย่างหลากหลาย เป็นไปตามศักยภาพเด็ก โดยมุ่งเน้นการพัฒนาเด็ก ทกุ ด้าน ท้ังดา้ นร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปญั ญา โดยอย่บู นพื้นฐานของประสบการณเ์ ดิมที่เด็กมี อยู่ และประสบการณ์ใหม่ที่เด็กจะได้รับต้องมีความหมายกับตัวเด็ก เป็นหลักสูตรท่ีให้โอกาสท้ังเด็กปกติ เด็ก ดอ้ ยโอกาส และเด็กพิเศษได้พฒั นา รวมทงั้ ยอมรับในวฒั นธรรมและภาษาของเด็ก พัฒนาเดก็ ให้รู้สกึ เป็นสุขใน ปจั จุบัน อีกท้ังสร้างสภาพแวดลอ้ มท่ีเอ้ือต่อการเรยี นรู้ของเดก็ สภาพแวดล้อมที่เอ้อื ตอ่ การเรียนร้จู ะต้องอยใู่ น สภาพที่สนองความต้องการ ความสนใจของเด็กท้ังภายในและภายนอกห้องเรียน จัดสภาพแวดล้อมให้เด็กได้ อยู่ในท่ีท่ีสะอาด ปลอดภัย อากาศสดชื่น ผ่อนคลาย ไม่เครียด มีโอกาสออกกำลังกายและพักผ่อน มีส่ือ วัสดุอุปกรณ์ มีของเล่นทหี่ ลากหลาย เหมาะสมกับวัย ให้เดก็ มีโอกาสได้เลือกเล่น เรียนรู้เกี่ยวกับตนเองและ โลกที่เด็กอยู่ รวมท้ังพัฒนาการอยู่ร่วมกับคนอ่ืนในสังคม จัดกิจกรรมท่ีส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ของ เด็ก โดยผู้สอนต้องเปล่ียนบทบาทจากผู้บอกความรู้หรือสั่งให้เด็กทำมาเป็นผู้อำนวยความสะดวก ในการจัด สภาพแวดล้อมประสบการณ์และกิจกรรมส่งเสริมพฒั นาการและการเรียนรู้ของเด็กทีผ่ ู้สอนและเด็กมสี ่วนท่ีจะ ริเริ่มท้ัง ๒ ฝ่าย โดยผู้สอนจะเป็น ผู้สนับสนุน ชี้แนะ และเรียนรู้ร่วมกับเด็ก ส่วนเด็กเป็นผู้ลงมือกระทำ เรียนรู้ และคน้ พบด้วยตนเอง ดังนั้น ผ้สู อนจะต้องยอมรับ เห็นคุณค่า รู้จักและเข้าใจเด็กแต่ละคนท่ีตนดแู ล รบั ผิดชอบก่อน เพื่อจะไดว้ างแผน สร้างสภาพแวดล้อม และจัดกจิ กรรมท่จี ะส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ ของเด็กได้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ผู้สอนต้องรู้จักพัฒนาตนเอง ปรับปรุงใช้เทคนิคการจัดกิจกรรมต่างๆให้ เหมาะกับเด็ก และการประเมนิ พฒั นาการและการเรยี นร้ขู องเด็กยดึ วิธี การสังเกตเปน็ ส่วนใหญ่ ผู้สอนจะต้อง สังเกตและประเมินท้ังการสอนของตนและพัฒนาการการเรียนรู้ของเด็กว่าได้บรรลุตามจุดประสงค์และ เปา้ หมายทว่ี างไวห้ รือไม่ ผลท่ไี ด้จากการสงั เกตพฒั นาการ จากขอ้ มูลเชิงบรรยาย จากการรวบรวมผลงาน การ แสดงออกในสภาพที่เป็นจริง ข้อมูลจากครอบครัวของเด็ก ตลอดจนการที่เด็กประเมินตนเองหรือผลงาน สามารถบอกได้ว่าเด็กเกิดการเรียนรู้และมีความก้าวหน้าเพียงใด ข้อมูลจากการประเมินพัฒนาการจะช่วย ผสู้ อนในการวางแผนการจัดกจิ กรรม ช้ีให้เห็นความต้องการพเิ ศษของเด็กแต่ละคน ใช้เป็นข้อมูลในการสื่อสาร กับพ่อแม่ ผปู้ กครองเดก็ และขณะเดียวกนั ยงั ใช้ในการประเมินประสิทธภิ าพการจัดการศึกษาให้กับเด็กด้วย นอกจากนส้ี ถานศึกษายังเน้นใหผ้ เู้ รียนมีวินัย ซื่อสัตย์ รบั ผดิ ชอบ และมีจติ สาธารณะ มรี ะบบแนะแนว และระบบดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียนเพื่อให้เขา้ ถึงนกั เรียนเป็นรายบคุ คล นำภมู ปิ ญั ญาชาวบา้ นมาร่วมกันวาง แผนการจดั การเรียนการสอน พร้อมทั้งนำนกั เรยี นเข้าไปศึกษากับปราชญ์ในท้องถิ่น เพ่ือซึมซบั วัฒนาธรรมท่ีดี งามของชมุ ชน นอกจากน้ีโรงเรยี นยังไดจ้ ัดกจิ กรรมการแปรงฟันหลงั อาหารกลางวัน และใหค้ วามรเู้ กีย่ วกบั พิษ ภัยจากน้ำอดั ลม ขนมกรุบกรอบ ส่งเสริมให้นกั เรยี นออกกำลงั กายการเลน่ กีฬา และจดั กิจกรรมลดเวลาเรียน เพมิ่ เวลารู้ เพ่ือให้ผู้เรยี นได้ค้นหาความถนดั ของตนเองและฝกึ ทกั ษะทีจ่ ำเปน็ ตอ่ การดำเนินชวี ติ

๑๖ 3.1.2 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ กระบวนการพัฒนา วิเคราะห์หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 256๔ และจัดทำเป็นหลักสูตรปรับปรุงปฐมวัย ระดับสถานศึกษา พุทธศักราช 256๔ โดยเน้นการจัดประสบการณ์ให้ครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน ออกแบบการจัดประสบการณ์สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยไม่เร่งรัดวิชาการมากเกินสมควร เน้น การเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติตอบสนองความต้องการและความแตกต่างของเด็กปกติและกลุ่มเป้าหมาย เฉพาะ โดยสอดคล้องกับวิถีชีวิตของครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่น จัดครูให้เหมาะสมและเพียงพอต่อผู้เรียน รวมทั้งส่งเสริมใหค้ รูมีความเชี่ยวชาญในการจัดประสบการณ์ เช่น การอบรม การรวมกลุ่มชุมชนการเรียนรู้ทาง วิชาชีพ PLC การอบรมพฒั นาครูทงั้ ระบบรูปแบบครบวงจร ฯลฯ จนสามารถมารถนำประสบการณ์สำคัญมาใช้ ในการออกแบบการเรยี นรู้และจัดประสบการณ์ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ จดั สภาพแวดลอ้ มใหเ้ อื้ออำนวยต่อการ เรียนรู้ท้ังไฟส่องสว่าง พัดลม มีมุมจัดประสบการณ์ สื่อการเรียนรู้ อีกทั้งยังจัดให้มีส่ือการจัดประสบการณ์ใน รูปของ CAI รวมทั้งอุปกรณ์เพ่ือสนับสนับสนุนการจัดประสบการณ์ สถานศึกษาจัดทำแผนพัฒนาการศึกษา ของสถานศึกษาท่ีสอดรับกับมาตรฐานสถานศึกษาโดยดำเนินการอย่างต่อเน่ือง กำหนดมาตรฐานการศึกษา สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพภายในเป็นระยะ จัดทำ รายงานผลการประเมินตนเองประจำปี โดยให้ผู้เกี่ยวขอ้ งทุกฝ่ายมีส่วนร่วม และรายงานผลการประเมินตนเอง ใหห้ นว่ ยงานตน้ สังกดั 3.1.3 มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณ์ท่เี น้นเดก็ เป็นสำคญั กระบวนการพัฒนา โรงเรียนดำเนนิ การสง่ เสริมให้ครูจดั ประสบการณ์โดยเนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญโดยการดำเนินงาน และกิจกรรมทห่ี ลากหลาย มีกระบวนการการจดั ประสบการณใ์ ห้เด็กมคี ุณภาพและพัฒนาการทกุ ดา้ นอย่าง สมดลุ เตม็ ศกั ยภาพ รูจ้ ักวเิ คราะหน์ ักเรียนเป็นรายบุคคลและสรา้ งโอกาสให้เด็กทกุ คนใหไ้ ดร้ บั ประสบการณ์ ตรง เล่นและลงมือกระทำผา่ นประสาทสัมผัส จัดบรรยากาศในหอ้ งเรียนใชส้ ือ่ เทคโนโลยีใหเ้ หมาะสมกับวยั มี การตดิ ตามประเมินผลพฒั นาการเดก็ อย่างเปน็ ระบบและต่อเน่ือง ตามสภาพจรงิ จดั ทำหลักสูตรสถานศึกษา ระดบั ปฐมวัย ให้สอดคล้องกับหลกั สตู รการศึกษาปฐมวัยของกระทรวงศึกษาธิการ วเิ คราะห์มาตรฐานและ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์และนำมาจดั ทำแผนการจัดประสบการณ์โดยมีกิจกรรมท่ีครอบคลุมพัฒนาการเด็ก ท้งั 4 ดา้ น เช่อื มโยงกับประสบการณเ์ ดิม เดก็ มีโอกาสเลือกทำกจิ กรรมอย่างอิสระ ตามความตอ้ งการ ความ สนใจ อกี ทง้ั เดก็ ไดเ้ ลอื กทจี่ ะเลน่ เรียนรู้ ลงมือ กระทำ และสร้างองคค์ วามรู้ดว้ ยตนเองอยา่ งสร้างสรรค์ได้ เหมาะสมกับวัย หลากหลายเป็นประสบการณต์ รงทเ่ี ด็กมโี อกาสให้พอ่ แม่ผู้ปกครองชุมชนมสี ว่ นร่วมในการ พฒั นา อีกทั้งจัดประสบการณ์ใหเ้ ดก็ มีทกั ษะชีวติ และสามารถปฏิบัตติ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เป็นคนดี มวี ินัย และมีความสุข

๑๗ สรปุ ผลการประเมนิ คณุ ภาพมาตรฐานการศกึ ษา ระดบั ปฐมวยั ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาอยใู่ นระดบั ๔ : ดีเลศิ จากผลการดำเนินงาน โครงการ และกิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียน ส่งผลให้การพัฒนาคุณภาพ การศึกษาประสบความสำเร็จตามเป้าหมายท่ีวางไว้ในแต่ละมาตรฐาน จากผลการประเมินสรุปได้ว่าอยู่ใน ระดับ ดี ท้ังน้ีเพราะมาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน อยู่ในระดับดี มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารจัด การศึกษา อยู่ในระดับดีเลิศ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ อยู่ใน ระดับดเี ลศิ ดงั ต่อไปนี้ ด้านคุณภาพเด็ก อยู่ในระดับ ดี โดยเด็กมีพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและ สติปญั ญาบรรลตุ ามเป้าหมายตามที่สถานศกึ ษากำหนด และมนี ้ำหนักและส่วนสูงไดม้ าตรฐาน เคล่ือนไหวและ ทรงตัว ฝึกกล้ามเน้ือมือได้ดี รักษาสุขภาพอนามัยได้ดี หลีกเล่ียงสภาวะที่เส่ียงต่อโรค สิ่งเสพติด และระวังภัย จากสิง่ แวดลอ้ ม บุคคล สถานการณ์ท่ีเสียงอันตรายได้ เด็กมีความรา่ เริงแจ่มใส แสดงอารมณ์ความรู้สึกได้อย่าง เหมาะสม รู้จักการช่วยเหลือแบ่งปัน มีคุณธรรม จริยธรรม สามารถสร้างสรรค์งานศิลปะ ได้เหมาะสมกับวัย สามารถชว่ ยเหลือตนเองในกิจกรรมประจำวนั ได้ มีมารยาทเข้าร่วมสังคมได้ อีกทัง้ เด็กบางสว่ นสามารถตอบโต้ และเล่าเรื่องในส่ิงที่ตนเองสนใจ สื่อสารได้ มีความคิดเป็นระบบแสวงหาความรู้ ใช้ส่ือเทคโนโลยีเบ้ืองต้นได้ เหมาะสมกับวัย ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ อยู่ในระดับดีเลิศ สถานศึกษาได้จัดทำหลักสูตร ฉบับปรับปรงุ ปี พ.ศ.256๔ ให้สอดคล้องกบั หลักสตู รปฐมวยั ของกระทรวงศึกษาธกิ าร ฉบบั ปี 2560 มีความ ยืดหยุ่นสอดคล้องกบั บริบทของท้องถน่ิ จัดทำแผนพัฒนาการศึกษา 4 ปี จัดครูท้ังข้าราชการครูและครูอัตรา จ้างในวิชาเอก การศึกษาปฐมวัย เพียงพอต่อนักเรียน โดยระดับช้ันอนุบาล 2-๓ มีครูผู้สอนประจำชั้น 1 คน อีกทั้งครูได้พัฒนาตนเองโดยการอบรมโครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจร เพื่อให้เกิดความเช่ียวชาญในการ จัดประสบการณ์ จัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้รายคนและรายกลุ่ม มีมุมจัดประสบการณ์ ให้ความรู้ เกี่ยวกับ สระ พยัญชนะพื้นฐาน อีกทั้งจัดสื่อการจัดประสบการณ์ให้พร้อมต่อการเรียนรู้ของเด็ก เช่น บัตรคำ จ๊ิกซอว์ ลูกฟุตบอลสี หุ่นนิ้วมือ หนังสือนิทาน และมีส่ือการจัดประสบการณ์ในรูปแบบ CAI Flash Drive Computer Notebook TV LED ขนาด 50 นิ้ว ชุมชน ผู้ปกครองและผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้องบางส่วนมีส่วน ร่วมกันในการจัดประสบการณ์ให้เด็กและระบบงานประกันคุณภาพ และสรุปรายงานผลการพัฒนาตนเอง ปี การศึกษา 256๓ ไปยังสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา อุทัยธานีเขต ๒ และได้นำผลการประเมิน มาวางแผนการพัฒนาในปีการศึกษาถัดไปให้มีคุณภาพมากขึ้น ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนโดยเน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญ อยู่ในระดับดีเลิศ ดังต่อไปนี้ เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สติปัญญา จิตใจ สังคม และสติปญั ญา อย่างสมดุล เต็มศักยภาพ เรียนรู้อยา่ งมคี วามสุขจากการจัดประสบการณ์ที่หลากหลาย ทั้งผ่าน มุมจัดประสบการณ์ บัตรคำ จิ๊กซอว์ ลูกฟุตบอลสี หุ่นนิ้วมือ หนังสือนิทาน ใช้สื่อการเรียนรู้ด้านเทคโนโลยี รวมถึงติดตามประเมินเด็กเป็นระยะเป็นรายบุคคลเพ่ือนำผลการพัฒนามาปรับปรุงให้ดียิ่งข้ึน อักท้ังได้ดำเนิน โครงการเพ่อื ส่งเสริมการจดั ประสบการณใ์ ห้มปี ระสทิ ธภิ าพมากยง่ิ ข้ึน

๑๘ 3.2 ระดับการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน 3.2.1 มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรยี น กระบวนการพัฒนา สถานศึกษาได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนท่ีหลากหลาย ครูจัดการเรียนการสอน ให้เป็นไปตามศักยภาพของผู้เรยี น และเป็นไปตามมาตรฐานและตวั ช้ีวดั ของหลักสูตรสถานศึกษาฉบับปรังปรุง ปีการศึกษา 256๓ สอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ มีการออกแบบการจัดการเรียนรู้ท่ี เหมาะสมกับผู้เรียน โดยมีการจัดการเรียนรู้ทั้งแบบระดมสมองแบบลงมือปฏิบัติจริง แบบใช้กระบวนการคิด กระบวนการแก้ปัญหาเป็นหลัก และเน้นการอ่านออกเขียนได้ของผู้เรียนเป็นเร่ืองสำคัญ โดยมุ่งพัฒนาให้ ผ้เู รียนทกุ คนอา่ นออกเขียนได้ต้ังแต่ระดบั ชน้ั ป.1-๖ เพื่อสง่ ตอ่ ใหก้ ับระดับชั้นถัดไป พัฒนาทกั ษะกระบวนการ คิด การสร้างสรรค์นวัตกรรมจากกิจกรรมลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารู้ กิจกรรม STEM ศึกษาพัฒนาครูทุกคนให้มี ความสามารถในการนำเทคนิควิธีการสอนให้ตรงตามศักยภาพผู้เรียน มีการรวมกลุ่มชุมชนการเรียนรู้ทาง วชิ าชีพ(PLC) ใชส้ ่ือเทคโนโลยีในการจดั การเรียนการสอน ส่งเสรมิ ให้ครูใชแ้ หล่งเรียนรทู้ ัง้ ภายในและภายนอก การวัดและประเมินผลแบบบูรณาการ ครูเน้นการใช้คำถามเพ่ือพัฒนาทักษะการคิดของผู้เรียน นอกจากน้ี โรงเรียนยังได้ดำเนินการพัฒนาทักษะชีวิตของผู้เรียน เพ่ือให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข เน้นการพัฒนา คุณธรรม จริยธรรมที่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน และตามนโยบายของการพัฒนาชาติ โดยจัดกิจกรรมอบรม คุณธรรมจรยิ ธรรมทุกวนั ศกุ รใ์ ห้กบั นักเรยี นทุกระดับช้นั นอกจากนี้สถานศึกษายังเนน้ ให้ผู้เรยี นมีวินยั ซอ่ื สตั ย์ รับผิดชอบ และมีจิตสาธารณะ มรี ะบบแนะแนว และระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนเพื่อให้เข้าถึงนักเรียนเป็นรายบุคคล นำภูมิปัญญาชาวบ้านมาร่วมกันวาง แผนการจัดการเรยี นการสอน พรอ้ มทั้งนำนกั เรียนเข้าไปศึกษากับปราชญ์ในทอ้ งถิ่น เพ่ือซึมซบั วัฒนาธรรมที่ดี งามของชุมชน นอกจากน้โี รงเรียนยังได้จัดกิจกรรมการแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน และใหค้ วามรู้เก่ียวกับพิษ ภัยจากน้ำอัดลม ขนมกรุบกรอบ ส่งเสริมให้นักเรียนออกกำลังกายการเล่นกีฬา และจัดกิจกรรมลดเวลาเรียน เพมิ่ เวลารู้ เพอื่ ให้ผู้เรยี นได้ค้นหาความถนดั ของตนเองและฝกึ ทักษะทีจ่ ำเปน็ ต่อการดำเนินชวี ิตในทกุ ระดบั ชน้ั 3.2.2 มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ กระบวนการพัฒนา โรงเรียนได้ดำเนินการวิเคราะห์สภาพปัญหา ผลการจัดการศึกษาท่ีผ่านมา โดยการศึกษา ข้อมูล สารสนเทศจากการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการจัดการศึกษาตามนโยบาย จัดประชุมชุมชนวิชาชีพ ทางการเรียนรู้(PLC) ส่งเสริมพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความเช่ียวชาญทางวิชาชีพ และจัด ระดมความคิดเห็นจากบุคลากรเพ่อื วางแผนร่วมกันกำหนดเป้าหมาย วสิ ัยทัศน์ กำหนดพันธกิจ กลยทุ ธใ์ นการ จัดการศึกษาของสถานศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียน มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติราชการ ประจำปี ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของชุมชน มีการวางแผนการพัฒนากระบวนการ จัดการเรียนรู้สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษาฉบับปรับปรุงปีการศึกษา 256๓ ตามประกาศ/คำสั่ง/ มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขึ้นพื้นฐาน จัดสภาพแวดล้อมภายในโรงเรียนใหเ้ อื้อ ต่อการจัดการเรียนรู้พร้อมทั้งจัดหาทรัพยากร จัดสรรงบประมาณ มอบหมายงานให้ผู้รับผิดชอบดำเนินการ

๑๙ พัฒนาตามแผนงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายท่ีได้ร่วมกันกำหนดข้ึน มีการนิเทศ กำกับติดตาม ประเมินผลการ ดำเนินงาน และสรปุ ผลการดำเนนิ งาน 3.2.3 มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนรทู้ ี่เน้นผู้เรยี นเปน็ สำคญั กระบวนการพัฒนา โรงเรยี นดำเนินการสง่ เสรมิ ให้ครูจดั การเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญ สอดคล้องกับ หลักสูตรสถานศึกษาฉบบั ปรับปรุงปีการศึกษา 256๓ ให้สอดคล้องกับประกาศ/คำส่งั /มาตรฐาน/ตัวชวี้ ดั ของ สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นึ พ้ืนฐาน ปรับโครงสร้างหลกั สูตร วิเคราะห์หลกั สตู ร การจัดทำหน่วยการ เรียนรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ และดำเนินงาน/กจิ กรรมอย่างหลากหลาย ไดแ้ ก่ การบรู ณาการ ภาระงาน ชน้ิ งาน โดยจัดบูรณาการการเรยี นรู้สอดคลอ้ งกับหน่วยการเรียนรู้ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง กำหนด ตวั ชว้ี ัดทต่ี อ้ งรู้ ควรรู้ ดำเนนิ กิจกรรมลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารู้ กจิ กรรม STEM ศึกษา กำหนดคุณลักษณะอนั พึง ประสงคท์ ี่สอดคล้องกบั หน่วยการเรียนรู้ สนับสนนุ ให้ครูจดั การเรยี นการสอนทสี่ รา้ งโอกาสให้ผ้เู รยี นทุกคนมี สว่ นรว่ ม ไดล้ งมอื ปฏบิ ัตจิ รงิ จนสามารถสรปุ ความรู้ไดด้ ว้ ยตนเอง จัดการเรียนการสอนที่เน้นทักษะการคดิ เน้น พัฒนาทักษะการอา่ น การเขยี น ครมู ีการมอบหมายงานทั้งในและนอกหอ้ งเรยี น ครูใช้สอ่ื การเรยี นการสอน นวตั กรรมและเทคโนโลยี ภูมปิ ญั ญาท้องถ่นิ กำหนดวิธกี ารประเมนิ ผลการจัดการเรยี นรู้อยา่ งเป็นระบบ มี ชมุ ชนวิชาชีพแห่งการเรยี นรู้เพื่อร่วมกันปรับปรงุ การจดั การเรียนรู้ และกำหนดวิธีการ/เครอ่ื งมือในการวัดและ ประเมนิ ผลทห่ี ลากหลายสอดคล้องกับกิจกรรมการจดั การเรยี นรู้มกี ารประเมินคุณภาพและประสิทธภิ าพของ สอ่ื การสอน ครทู ุกคนมีการวิจยั ในชนั้ เรียน ภาคเรยี นละ 1 เรื่อง สรปุ ผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานการศกึ ษา ระดับการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาอย่ใู นระดบั ๕ : ยอดเยี่ยม จากผลการดำเนินงาน โครงการ และกิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียน ส่งผลให้การพัฒนาคุณภาพ การศึกษาประสบความสำเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้ในแต่ละมาตรฐาน จากผลการประเมินสรุปได้ว่าอยู่ใน ระดับ ยอดเย่ียม ทั้งนี้เพราะมาตรฐานที่ 1 ผลการจัดการศึกษา อยู่ในระดับยอดเยี่ยม มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารจัดการศึกษา อยู่ในระดับดีเลิศ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้น ผเู้ รียนเปน็ สำคญั อยู่ในระดับยอดเยี่ยม ทั้งน้ีโรงเรียนมีการจัดกิจกรรการเรียนรู้ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนอย่างหลากหลายท่ีเน้นไปตาม ปัญหาและความต้องการพัฒนาด้านคุณภาพผู้เรียน สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา ฉบับปรับปรุงปี การศึกษา 256๓ สอดคล้องกับจุดเน้นของโรงเรียนและชุมชน จนมีผลพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนอยู่ในระดับ ยอดเย่ียม โดยผู้เรียนมีส่วนมากความสามารถในการอ่านและการเขียน การส่ือสาร ความสามารถในการคิด คำนวณ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารได้ดี และมีความประพฤติด้านคุณธรรมจริยธรรม มี ค่านิยมตามท่ีสถานศึกษากำหนด และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ท่ีดี ในด้านการกระบวนการบริหารและการ จดั การ มผี ลการประเมินอยู่ในระดบั ดีเลิศ โดยโรงเรียนมกี ารกำหนดเป้าหมาย วสิ ัยทัศนแ์ ละพันธกิจสอดคล้อง กับสภาพปัญหาและความต้องการพัฒนาของสถานศึกษา นโยบายการปฏิรูปการศึกษา ความต้องการของ ชุมชน และสอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษาชาติ อีกทั้งแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติ การประจำปี สอดคล้องกับการพัฒนาผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย มีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้

๒๐ เป็นผู้ท่ีมีความรู้ความเช่ียวชาญตามมาตรฐานตำแหน่ง โดยเข้าร่วมการอบรมโครงการพัฒนาครูรูปแบบครบ วงจร มีข้อมูลสารสนเทศที่ถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย เป็นระบบ นำไปใช้ได้อย่างสะดวกรวดเร็ว และกิจกรรม กระตุ้นผู้เรียนให้เป็นผู้ที่ใฝ่รู้ใฝ่เรียน โรงเรียนได้ปรับแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี โดยผู้ที่เก่ียวข้องทุกฝ่ายและเครือข่ายการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ได้มีการนิเทศติดตาม และประเมินผล การบริหารและการจดั การศกึ ษาอย่างเป็นระบบและต่อเน่ือง เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนเก่ียวข้องได้ร่วมแสดงความ คิดเห็น โรงเรียนมีรูปแบบการบริหารและการจัดการเชิงระบบ โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ยึดหลัก ธรรมาภิบาล และแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมุ่งเน้นการพัฒนาผู้เรียนเป็นสำคัญ โรงเรียนได้มีการ ระดมทรัพยากรเพ่ือการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยชุมชน ตลอดจนหน่วยงานท้ังภาครัฐและเอกชน มีส่วน รว่ มในการระดมทรัพยากร ให้การสนับสนุนงบประมาณเพื่อพัฒนาการศึกษา ส่งผลให้โรงเรียนมีส่ือและแหล่ง เรียนรู้ท่ีมีคุณภาพ ในด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีผลการประเมินอยู่ใน ระดับยอดเยีย่ ม โรงเรยี นได้ดำเนินการจดั กจิ กรรมการเรียนร้สู อดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษาฉบับปรับปรุงปี การศกึ ษา 256๓ ครูผสู้ อนจัดทำหน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ เปิดโอกาสให้นักเรียนแสวงหาและ สรา้ งองคค์ วามรไู้ ดด้ ้วยตนเอง นกั เรียนทุกช้ันไดฝ้ กึ กระบวนการคิดและลงมือปฏิบตั ิ มที กั ษะกระบวนการกลุ่ม กล้าแสดงออก นำเสนอผลงานที่ตนเองสร้างสรรค์ได้ดี อีกท้ังโรงเรียนได้ดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ ประจำปี/โครงการ/ กิจกรรมอ่ืนๆ ครูประชุมชุมชนวิชาชีพแห่งการเรียนรู้แต่ละช่วงช้ัน เพื่อช่วยกันปรบั ปรุง/ ออกแบบกิจกรรมการจดั การเรยี นการรู้โดยเน้นผเู้ รียนเป็นสำคัญ

๒๑ ส่วนท่ี 4 มาตรฐานการศกึ ษา/คา่ เปา้ หมาย มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวัย มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของเด็ก ๑.๑ มพี ัฒนาการด้านรา่ งกาย แขง็ แรง มีสุขนิสัยทดี่ ี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ ๑)เดก็ มีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์กรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุข และมีเคล่อื นไหวรา่ งกาย คลอ่ งแคล่วประสานสมั พันธ์ และทรงตวั ได้ ๒)เดก็ สามารถปฏิบัติตามกจิ วตั รประจำวันของตนเองได้ ๓) เดก็ สามารถบอกโทษ หลีกเล่ยี ง ปฏิเสธสง่ิ เสพตดิ และสภาวะท่ีเส่ยี งตอ่ โรค อบุ ตั เิ หตุ สถานการณ์ทเ่ี ส่ยี งอันตราย ๑.๒ มพี ฒั นาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้ ๑)เด็กร่าเรงิ แจ่มใส สนุกสนานสมวยั แสดงความรู้สกึ ความพึงพอใจในผลงานของตนเองและ ผู้อืน่ ชืน่ ชมและมีความสุขกับงานศิลปะ ร้องเพลง และเคลื่อนไหวประกอบจังหวะได้อยา่ งเหมาะสมกับวยั ๒)เดก็ มีความมนั่ ใจ กล้าแสดงออก เคารพสิทธข์ิ องผู้อน่ื มีความรบั ผิดชอบสามารถ ปฏิบตั กิ ิจกรรมได้ รู้จกั อดทนในการรอคอยตามลำดบั ก่อน-หลงั ได้ ๓)เด็กมีความซ่ือสตั ย์สจุ รติ ช่วยเหลือแบง่ ปัน มคี ุณธรรม จริยธรรมตามท่ี สถานศึกษากำหนด ๑.๓ มีพฒั นาการด้านสงั คม ชว่ ยเหลอื ตนเอง และเป็นสมาชกิ ท่ีดีของสังคม ๑)เด็กปฏิบัติกจิ วัตรประจำวนั ของตนเอง มนี ิสยั รักการซ่ิอสัตย์เปน็ อตั ลักษณ์ของ โรงเรียน ๒)เด็กเล่นและทำงานรว่ มกบั ผู้อน่ื ได้ มีระเบียบวินัย มีสว่ นชว่ ยดแู ลรกั ษา ส่งิ แวดลอ้ มในและนอกห้องเรียนใหส้ ะอาด ๓)เด็กมีมารยาท ตามวฒั นธรรมไทย และยอมรับฟงั ความคิดเหน็ ของผู้อื่นได้ ๑.๔ มีพฒั นาการด้านสตปิ ัญญา สือ่ สารได้ มีทักษะการคิดพน้ื ฐาน และแสวงหาความรู้ได้ ๑)เดก็ สนทนาโตต้ อบ อ่านนิทาน และเลา่ เรอ่ื งให้ผู้อ่ืนเข้าใจ ตง้ั คำถาม และคน้ หา คำตอบ ในสง่ิ ทต่ี นเองสนใจหรอื สงสยั ไดเ้ หมาะสมกบั วัย ๒)เดก็ มีความสามารถในการคิดรวบยอด คดิ เชิงเหตุผลทางคณติ ศาสตร์และ วิทยาศาสตร์ คดิ แกป้ ัญหาเร่ืองง่ายๆ และสรา้ งสรรคผ์ ลงานตามจินตนาการ ๓)เดก็ ใช้สอื่ เทคโนโลยีในการแสวงหาความรู้ มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ ๒.๑ มีหลักสตู รครอบคลมุ พัฒนาการทัง้ ๔ ด้าน สอดคล้องกบั บรบิ ทของท้องถ่นิ ๑)สถานศึกษามีหลักสตู รสถานศึกษาท่ียดื หยนุ่ และสอดคล้องกับหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย และบรบิ ทของท้องถน่ิ โดยบรู ณาการการจัดการเรียนรู้ สะเต็มศกึ ษา บ้านนักวิทยาศาสตร์นอ้ ย และเศรษฐกิจ พอเพยี ง

๒๒ ๒)สถานศกึ ษาออกแบบการจัดประสบการณเ์ ตรยี มความพร้อม เน้นการเรยี นรู้ผา่ น การเลน่ และลงมือปฏิบตั ิจรงิ ตามความสนใจ และความแตกต่างระหว่างบคุ คล ๓)มกี ารวิจยั เพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษา ๔)การพัฒนาสื่อ นวตั กรรม และเทคโนโลยเี พื่อการศึกษา ๒.๒ จัดครูใหเ้ พียงพอกับช้ันเรยี น ๑)สถานศึกษาจดั ครเู หมาะสมกบั ภารกจิ การจดั การเรียนการสอน มีครวู ฒุ กิ ารศึกษา ปฐมวัย ๒.๓ ส่งเสรมิ ให้ครูมีความเช่ียวชาญดา้ นการจัดประสบการณ์ ๑)สง่ เสรมิ ใหค้ รูพัฒนาตนเอง ด้านหลักสตู รและการจัดประสบการณ์ การจดั ทำสื่อ นวัตกรรมการเรียนการสอน ๒)มกี ารประเมนิ พฒั นาการเด็กเป็นรายบคุ คล ๒.๔ จดั สภาพแวดล้อมและส่ือเพ่อื การเรียนรู้ อยา่ งปลอดภยั และเพียงพอ ๑)สถานศึกษาจัดสภาพแวดลอ้ มภายในและภายนอกหอ้ งเรียน สะอาด ปลอดภยั ๒)สถานศึกษาจัดห้องเรยี น จัดมมุ ประสบการณ์ตามหลกั สูตร มสี นามเด็กเลน่ สอ่ื ICT นวัตกรรมส่งเสรมิ ทักษะทางคณิตศาสตร์ และส่งเสรมิ การจดั ประสบการณ์ ๒.๕ ใหบ้ ริการส่ือเทคโนโลยสี ารสนเทศและสือ่ การเรียนรเู้ พ่ือสนับสนนุ การจัดประสบการณ์ ๑)สถานศกึ ษามสี ่ือเทคโนโลยีสารสนเทศวสั ดุ อุปกรณ์ เพอ่ื สนบั สนนุ ส่งเสรมิ การจัด ประสบการณ์ ๒.๖ มีระบบบริหารคณุ ภาพท่ีเปิดโอกาสให้ผูเ้ กี่ยวข้องทุกฝ่ายมสี ่วนร่วม ๑)สถานศึกษามีระบบการบริหารจัดการทีด่ ี เพ่ือจดั การบริหารการศกึ ษาในรปู แบบการบริหารจดั การ โรงเรยี นคุณภาพท่สี อดคล้องกบั มาตรฐานการศกึ ษาปฐมวัย และอัตลักษณ์ทส่ี ถานศึกษากำหนด ๒)สถานศกึ ษามีการประเมินผลตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศกึ ษาตดิ ตามผลการดำเนินงาน และ จดั ทำแผนพฒั นาการศึกษาแผนปฏบิ ัติการประจำปี และจัดทำรายงานการประเมนิ ตนเองประจำปแี ละสง่ ให้ หน่วยงานต้นสงั กดั มาตรฐานท่ี ๓ การจัดประสบการณ์ที่เนน้ เด็กเปน็ สาํ คญั ๓.๑. จัดประสบการณท์ ี่ส่งเสรมิ ให้เด็กมพี ัฒนาการทกุ ด้านอย่างสมดลุ เตม็ ศักยภาพ ๑)จดั ประสบการณ์ทส่ี ่งเสรมิ ใหเ้ ดก็ มีพัฒนาการทุกด้านอยา่ งสมดุลเต็มศักยภาพ โดยบูรณาการ วทิ ยาศาสตร์และเศรษฐกิจพอเพยี ง ๒)รจู้ ักเดก็ เป็นรายบคุ คล ๓)จดั ทำแผนการจัดประสบการณ์ สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา ๓.๒ สรา้ งโอกาสใหเ้ ดก็ ไดร้ บั ประสบการณต์ รง เลน่ และปฏิบตั อิ ย่างมคี วามสขุ ๑)จัดประสบการณ์ตามหลักสตู รสร้างโอกาสในการรบั ประสบการณ์ตรงภายในและ ภายนอกห้องเรยี นทห่ี ลากหลาย น่าสนใจ ๒)จัดกจิ กรรมบ้านนกั วิทยาศาสตร์น้อยและการเรียนรแู้ บบเศรษฐกิจพอเพยี ง ๓)สถานศึกษาจดั ระบบดแู ลนักเรยี นระดบั ปฐมวัย

๒๓ ๓.๓ จัดบรรยากาศทเี่ อื้อต่อการเรยี นรใู้ ชส้ ื่อและเทคโนโลยีท่เี หมาะสมกับวยั ๑)ครจู ดั ห้องเรียนใหส้ ะอาด อากาศถ่ายเท ปลอดภัย มีมุมจัดประสบการณ์ มสี ่ือ และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ๓.๔ ประเมนิ พัฒนาการเด็กตามสภาพจรงิ และนาํ ผลการประเมนิ พัฒนาการเด็กไปปรับปรงุ การจัด ประสบการณ์และพัฒนาเดก็ ๑)มีการวัดผลประเมินผลเด็กตามสภาพจริงดว้ ยวิธีการท่หี ลากหลาย โดยผ้ปู กครอง และ ผู้เกี่ยวข้องมสี ่วนร่วมในการประเมนิ ผล ๒)มวี ิจัยในชัน้ เรียน นวัตกรรมในการจดั การเรียนการสอน มกี ารนำผลการประเมิน ไปปรับปรงุ การจัดประสบการณแ์ ละพฒั นาเดก็ มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรยี น ๑.๑ ผลสมั ฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน ๑) ผู้เรยี นมีความสามารถในการอา่ น การเขียน การส่อื สาร และการคิดคำนวณ - ผู้เรยี นสามารถอ่าน คำในบทเรียน ไดอ้ ย่างถูกตอ้ งตามหลกั ภาษา - ผเู้ รยี นสามารถเขยี นคำในบทเรียนได้อยา่ งถกู ตอ้ งตามหลักภาษา - ผเู้ รยี นสามารถเขียนคำพ้ืนฐาน เขียนตามคำบอก เขียนเรอ่ื งใหส้ อดคลอ้ งกับ รปู ภาพ และตอบคำถามจากเรื่องที่อ่านตามระดับชน้ั เรียน - ผเู้ รยี นมที กั ษะในการคิดคำนวณและแก้ปญั หา ๒) มีความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คิดอย่างมวี จิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปล่ียน - ผูเ้ รียนมคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห์ สังเคราะห์ พิจารณาอยา่ งรอบคอบ โดย ใช้เหตผุ ลประกอบการตดั สินใจ มีการอภปิ รายแลกเปลยี่ นความคิดเหน็ และแกป้ ญั หาอย่างมีเหตุผล - ผเู้ รยี นสามารถแยกแยะข้อเท็จจริง รายละเอยี ด และสรุปความคิดจากเรือ่ งที่ อ่าน ฟงั และดู - นำความร้เู ดมิ มาอธบิ าย และเสนอความคดิ จากเรือ่ งที่ อ่าน ฟัง และดู โดยการพดู หรือเขยี นไดห้ ลายรปู แบบตามความคดิ เห็นของ ตนเองได้อยา่ งสมเหตุผล ๓) มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม - ผู้เรียนมคี วามสามารถในการคิดรเิ ร่มิ สร้างองค์ความรู้ ประยกุ ต์ใช้ความรู้ในการสร้างสรรค์ ผลงานทเ่ี กดิ จากการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง และการร่วมกิจกรรม โดยใช้ทกั ษะกระบวนการกลุ่ม ๔) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร - ผ้เู รียนมคี วามรู้ ความเข้าใจ และสามารถใช้โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ทั้งพื้นฐาน และเฉพาะ ทาง สบื คน้ นำเสนอขอ้ มลู และผลงาน เพอ่ื พฒั นาการเรยี นรู้ของตนเองได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ ๕) มีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา - ผู้เรียนมผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น ๘ กลุ่มสาระ ตามหลักสูตรของสถานศกึ ษากำหนดและ ผา่ นเกณฑ์มาตรฐานการทดสอบระดบั ชาติ

๒๔ ๖) มีความรู้ ทักษะพน้ื ฐาน และเจตคตทิ ด่ี ตี อ่ งานอาชีพ - ผูเ้ รียนมคี วามรู้ เจตคตทิ ด่ี ีต่อวชิ าชีพ มที กั ษะพ้นื ฐานในการทำงาน อยา่ งเป็นขนั้ ตอน มกี าร ปรับปรงุ แก้ไขการทำงานจนบรรลผุ ลสำเร็จตามวัตถุประสงคท์ ่กี ำหนด ๑.๒ คณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ของผูเ้ รียน ๑) มีคุณลกั ษณะและคา่ นิยมทด่ี ตี ามที่สถานศึกษากำหนด - ผู้เรยี นมีคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลาง และคา่ นิยมหลกั ตามเกณฑ์ที่ สถานศกึ ษากำหนด ๒) มีความภูมใิ จในท้องถนิ่ และความเปน็ ไทย - ผู้เรยี นมีความภาคภมู ิใจ เข้าใจ ตระหนักถึง เหน็ คุณค่า ชน่ื ชม มีสว่ นรว่ มในการอนุรกั ษ์ สืบ ทอด ขนบธรรมเนยี มประเพณี ศลิ ปะและวัฒนธรรมไทย มคี วามกตัญญูกตเวที ตลอดจนมีความภูมิในทอ้ งถิน่ ของตน - ร่วมกิจกรรมทางวัฒนธรรมและสงั คม ท้องถิน่ และปรับตัวได้อยา่ งกลมกลนื ทัง้ ในและนอก สถานศกึ ษาดว้ ยความเต็มใจ ๓) ยอมรบั ที่จะอยู่รว่ มกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย - ผู้เรยี นสามารถแสดงความคิดเหน็ พูดคยุ กันด้วยความสภุ าพ รับฟังความคดิ เหน็ ของผู้อ่ืน ด้วยความเข้าใจท่ีดี ๔) มสี ขุ ภาวะทางร่างกาย และจิตสงั คม - ผู้เรียนมสี ุขภาพแขง็ แรง แต่งกายสะอาดเรียบร้อย - ปฏิบตั ิตนตามสขุ บัญญัติแห่งชาติ ๑๐ ประการครบถ้วน - เขา้ ร่วมกิจกรรมการออกกำลังกายและปฏบิ ตั ิตน จนเป็นนสิ ยั - มีสว่ นรว่ มในการเผยแพรห่ รือรณรงค์เก่ียวกบั การดูแลรักษาสขุ ภาพกับ หนว่ ยงาน ภายนอก - ผเู้ รียน มนี ้ำหนัก สว่ นสงู และพฒั นาการทางรา่ งกายเจริญเตบิ โตตามเกณฑ์ มาตรฐานของ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข - มีสมรรถภาพทางกายเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมพลศกึ ษา มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ ๒.๑ มเี ป้าหมายวสิ ัยทศั นแ์ ละพันธกิจทีส่ ถานศึกษากำหนดชัดเจน 1)สถานศึกษามเี ป้าหมาย วสิ ยั ทัศน์ และพนั ธกิจ ไว้อยา่ งชัดเจน สอดคล้องกับบรบิ ทของ สถานศึกษา ความต้องการของชุมชน ท้องถิน่ วัตถปุ ระสงค์ของแผนการศึกษาแหง่ ชาติ นโยบายของรฐั บาล และของต้นสงั กัดรวมท้งั ทนั ต่อการเปลยี่ นแปลงของสงั คม ๒.๒ มรี ะบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษา 1)สถานศึกษาสามารถบริหารจัดการคณุ ภาพของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบทั้งในส่วนการ วางแผน พฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษา การนำแผนไปสู่การปฏบิ ัตเิ พอื่ พฒั นาคุณภาพการศกึ ษา 2)มีการติดตามตรวจสอบ ประเมนิ ผลและปรบั ปรุงพฒั นางานอยา่ งต่อเนอ่ื ง

๒๕ ๓)มกี ารบรหิ ารอตั รากำลัง ทรัพยากรทางการศึกษา และระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียน ๔)สรา้ งการมีส่วนรว่ มของผ้เู ก่ียวขอ้ งทุกฝา่ ย ให้รว่ มรับผิดชอบตอ่ ผล การจดั การศึกษา ๒.๓ ดำเนนิ งานพัฒนาวชิ าการท่เี นน้ คุณภาพผเู้ รยี นรอบด้านตามหลกั สตู รสถานศึกษา และทุก กลุ่มเป้าหมาย ๑)สถานศกึ ษาบรหิ ารจดั การเก่ียวกับงานวิชาการ ทงั้ ดา้ นการพฒั นาหลกั สตู รกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน ทเี่ น้นคณุ ภาพผเู้ รียนตามศักยภาพ และความพร้อมของแต่ละบคุ คล โดยสอดคล้องกับบรบิ ทของ สถานศึกษา และชมุ ชน ๒.๔ พัฒนาครแู ละบุคลากรใหม้ คี วามเช่ียวชาญทางวชิ าชีพ ๑)สถานศกึ ษาสง่ เสริม สนับสนุนพัฒนาครู บุคลากร ใหม้ ีความเชย่ี วชาญทางวชิ าชีพ ๒)สถานศกึ ษาจดั ให้มีชมุ ชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ มาใช้ในการพฒั นางานและการเรยี นรู้ ของผเู้ รียน ๒.๕ การจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมที่เอ้ือตอ่ การจดั การเรียนรู้ ๑)สถานศึกษาจัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพท้งั ภายในและภายนอกห้องเรยี น และสภาพแวดลอ้ ม ทางสงั คมท่ีเอื้อต่อการจัดการเรยี นรู้และมคี วามปลอดภัย ๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ สนับสนนุ การบริหารและการจัดการเรียนรู้ ๑)สถานศกึ ษาจัดระบบการจัดหา การพฒั นาและการบริการ เทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ ใชใ้ นการ บริหารจดั การจัดการเรยี นรู้ ที่เหมาะสมกบั สภาพของสถานศกึ ษา มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สำคัญ ๓.๑ จดั การเรยี นรผู้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั จิ ริง และสามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ ได้ ๑)ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัดของหลักสูตรสถานศึกษาท่ีเน้นให้ ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง โดยบูรณาการกับโครงการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด และแกป้ ญั หาอย่างเป็นระบบ โครงการสรา้ งงานสร้างอาชีพ มุ่งสู่ศตวรรษท่ี ๒๑ ๒)ครูมีแผนการจัดการเรียนรู้ที่สามารถนำไปจัดกิจกรรมได้จริง มีรูปแบบการจัดการเรียนรู้เฉพาะ สำหรับผู้ทม่ี ีความจำเป็นและตอ้ งการความชว่ ยเหลอื พิเศษ ๓)ผู้เรียนได้รับการฝึกทักษะ แสดงออกแสดงความคิดเห็น สรุปองค์ความรู้ นำเสนอผลงานและ สามารถนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตได้ ๓.๒ ใช้สื่อ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรูท้ เ่ี ออื้ ต่อการเรยี นรู้ เพอ่ื ให้ผู้เรยี นแสวงหา ความรไู้ ด้ด้วยตนเอง ๑)ครูมกี ารใชส้ ือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ แหลง่ เรียนรภู้ ายในโรงเรียน ๒)นำภูมปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ มาชว่ ยพัฒนาคุณภาพการจดั การเรียนการสอนให้มีประสทิ ธิภาพ ๓.๓ มีการบริหารจัดการชน้ั เรียนเชงิ บวก ๑)ครผู ู้สอนมีการบริหารจัดการชั้นเรียนโดยจดั บรรยากาศหอ้ งเรยี นที่เออื้ ตอ่ การเรียนรู้

๒๖ ๒)ครูเน้นการมีปฏิสัมพนั ธเ์ ชงิ บวก ได้แก่ มคี วามยุตธิ รรมและให้ความเทา่ เทียมกบั นักเรยี นทกุ คน ไมเ่ ลือกปฏบิ ัติ พยายามพฒั นาและสร้างแรงจูงใจ สรา้ งให้เดก็ มีความรักครู รักทจี่ ะเรียนรู้ สามารถอย่รู ่วมกนั อยา่ งมีความสุข ๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผูเ้ รยี นอยา่ งเปน็ ระบบ และนำผลมาพฒั นาผู้เรียน ๑)ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเปน็ ระบบและมีประสิทธิภาพ ประเมินผู้เรียนจากสภาพจริง มขี ั้นตอนตรวจสอบและประเมนิ อยา่ งเปน็ ระบบ ๒)ใชเ้ ครือ่ งมือและวิธีการวัดและประเมินผลท่เี หมาะสมกบั เป้าหมายในการจัดการเรียนรู้ ๓)นักเรียนและผู้ที่มีสว่ นเกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการวัดและประเมินผล ให้ขอ้ มูลย้อนกลับแก่ผูเ้ รียน และผ้ทู ีม่ ีส่วนเก่ยี วข้อง ผูเ้ รยี นนำผลไปใช้พัฒนาตนเอง ๓.๕ ครูและผมู้ สี ่วนเกี่ยวข้องร่วมกันแลกเปลี่ยนความร้ปู ระสบการณ์และรายงานข้อมูลและนำไปใช้ ๑)ครูและผ้มู ีสว่ นเก่ยี วข้องรว่ มกันแลกเปลี่ยนความรปู้ ระสบการณแ์ ละรายงานขอ้ มลู และนำไปใช้ ๒)ครูแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรยี นรู้ เพื่อสง่ ผลให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ ๓)ครจู ดั ทำวิจัยชัน้ เรยี นและใหข้ อ้ มลู สะทอ้ นกลับเพื่อพฒั นาและปรับปรงุ การจัดการเรียนรู้และ รายงานขอ้ มลู และนำไปใช้

๒๗ คา่ เปา้ หมาย - ระดบั ปฐมวยั มาตรฐานการศกึ ษา มาตรฐานการศึกษาของ ค่าเป้าหมาย คา่ เปา้ หมายแต่ละปี กระทรวงฯ โรงเรียน 256๔ 256๕ 256๖ 256๗ มาตรฐานที 1 คุณภาพเด็ก ระดับ คุณภาพ 1.1 มพี ัฒนาการด้าน ๑ .เดก็ มนี ้ำหนกั ส่วนสูงตาม ร้อยละ90 80 ๘0 ๘0 90 ร่างกาย แข็งแรง มีสุข เกณฑ์กรมอนามยั กระทรวง นสิ ยั ท่ดี ี และดแู ลความ สาธารณสขุ และ ปลอดภยั ของตนเองได้ เคลื่อนไหวร่างกาย คล่องแคล่วประสานสัมพันธ์ และทรงตัวได้ ๒.เด็กสามารถปฏิบตั ิตาม กจิ วตั รประจำวนั ของตนเอง ได้ ๓. เดก็ สามารถบอกโทษ หลกี เลีย่ ง ปฏเิ สธส่ิงเสพตดิ และสภาวะทเ่ี สีย่ งต่อโรค อบุ ตั เิ หตุ สถานการณ์ทีเ่ สยี่ ง อนั ตราย ๑.๒ มีพฒั นาการด้าน ๑.เด็กรา่ เริงแจม่ ใส สนุกสนาน ร้อยละ 80 80 80 80 80 อารมณ์ จติ ใจ ควบคุม สมวัย แสดงความร้สู กึ ความพึง และแสดงออกทาง พอใจในผลงานของตนเอง อารมณ์ได้ และผูอ้ ื่น ช่ืนชมและมี ความสขุ กับงานศลิ ปะ ร้อง เพลง และเคลอ่ื นไหว ประกอบจังหวะได้อย่าง เหมาะสมกบั วัย ๒.เด็กมคี วามมั่นใจ กลา้ แสดงออก เคารพสิทธิข์ อง ผ้อู ่ืน มคี วามรบั ผดิ ชอบ สามารถปฏิบัติกจิ กรรมได้ รูจ้ กั อดทนในการรอคอย ตามลำดบั ก่อน-หลงั ได้ ๓.เดก็ มีความซื่อสตั ย์สจุ ริต ช่วยเหลือแบ่งปนั มคี ณุ ธรรม

๒๘ มาตรฐานการศึกษา มาตรฐานการศกึ ษาของ ค่าเป้าหมาย คา่ เป้าหมายแตล่ ะปี กระทรวงฯ โรงเรยี น จริยธรรมตามท่สี ถานศึกษา ระดบั คุณภาพ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ๒๕๖๖ ๒๕๖๗ กำหนด ๑.๓ มีพัฒนาการด้าน ๑.เด็กปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน รอ้ ยละ 90 80 80 90 90 สงั คม ชว่ ยเหลอื ตนเอง ของตน เอง มีนิ สัยรักการ และเป็นสมาชกิ ทีด่ ขี อง ซ่ือสัตย์เป็นอัตลักษณ์ ของ สงั คม โรงเรียน ๒.เดก็ เล่นและทำงานร่วมกับ ผ้อู ่ืนได้ มีระเบียบวนิ ัย มีสว่ น ชว่ ยดูแลรกั ษาส่ิงแวดล้อมใน และนอกห้องเรียนใหส้ ะอาด ๓.เด็กมีมารยาท ตาม วัฒนธรรมไทย และยอมรับ ฟงั ความคดิ เห็นของผู้อืน่ ได้ ๑.๔ มพี ัฒนาการดา้ น ๑.เดก็ สนทนาโต้ตอบ อ่าน ร้อยละ 90 80 80 ๘0 90 สติปัญญา ส่อื สารได้ มี นิทาน และเล่าเร่ืองใหผ้ อู้ น่ื ทกั ษะการคดิ พ้นื ฐาน เข้าใจ ตัง้ คำถาม และคน้ หา และแสวงหาความรู้ได้ คำตอบ ในสง่ิ ท่ตี นเองสนใจ หรอื สงสยั ไดเ้ หมาะสมกบั วัย ๒.เด็กมีความสามารถในการ คดิ รวบยอด คิดเชงิ เหตผุ ล ทางคณิตศาสตร์และ วทิ ยาศาสตร์ คิดแกป้ ัญหา เรื่องงา่ ยๆ และสร้างสรรค์ ผลงานตามจนิ ตนาการ ๓.เดก็ ใช้สอื่ เทคโนโลยใี นการ แสวงหาความรู้ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ระดับคณุ ภาพ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ๒๕๖๖ ๒๕๖๗ 2.1 มีหลักสตู รครอบคลุม ๑.สถานศึกษามหี ลักสูตร ร้อยละ 80 80 80 80 80 พัฒนาการทงั้ ๔ ด้าน สถานศึกษาท่ยี ดื หยุ่นและ สอดคล้องกับบริบทของ สอดคลอ้ งกบั หลกั สูตร ทอ้ งถนิ่ การศกึ ษาปฐมวัย และบรบิ ท ของท้องถน่ิ โดยบรู ณาการ การจัดการเรยี นรู้ สะเตม็

๒๙ มาตรฐานการศึกษา มาตรฐานการศึกษาของ ค่าเป้าหมาย ค่าเป้าหมายแตล่ ะปี กระทรวงฯ โรงเรียน รอ้ ยละ 100 ๘0 90 90 100 ร้อยละ 90 60 70 80 90 ศกึ ษา บ้านนักวิทยาศาสตร์ ร้อยละ 80 ๗0 ๗0 80 80 น้อย และเศรษฐกจิ พอเพยี ง ร้อยละ 100 70 80 90 100 ๒.สถานศึกษาออกแบบการ จดั ประสบการณเ์ ตรยี มความ พรอ้ ม เน้นการเรยี นรผู้ ่านการ เลน่ และลงมือปฏิบตั ิจรงิ ตาม ความสนใจ และความ แตกตา่ งระหวา่ งบุคคล ๓.มีการวจิ ัยเพอื่ พฒั นา คุณภาพการศึกษา ๔.การพัฒนาสือ่ นวตั กรรม และเทคโนโลยีเพ่ือการศกึ ษา ๒.๒ จดั ครูใหเ้ พียงพอกบั ๑.สถานศกึ ษาจดั ครูเหมาะสม ช้ันเรยี น กับภารกจิ การจัดการเรียน การสอน มีครวู ุฒิการศกึ ษา ปฐมวัย ๒.๓ สง่ เสริมใหค้ รูมีความ ๑. สง่ เสรมิ ใหค้ รูพัฒนาตนเอง เชีย่ วชาญดา้ นการจัด ด้านหลักสตู รและการจัด ประสบการณ์ ประสบการณ์ การจัดทำส่ือ นวัตกรรมการเรียนการสอน ๒.มกี ารประเมนิ พฒั นาการ เดก็ เป็นรายบุคคล ๒.๔ จดั สภาพแวดล้อม ๑.สถานศึกษาจดั และสอ่ื เพือ่ การเรยี นรู้ สภาพแวดล้อมภายในและ อยา่ งปลอดภัย และ ภายนอกห้องเรียน สะอาด เพยี งพอ ปลอดภัย ๒.สถานศึกษาจัดห้องเรยี น จดั มุมประสบการณ์ตาม หลกั สตู ร มีสนามเด็กเล่น สอ่ื ICT นวตั กรรมส่งเสรมิ ทักษะ ทางคณิตศาสตร์ และสง่ เสริม การจัดประสบการณ์ ๒.๕ ให้บริการสอ่ื ๑.สถานศกึ ษามสี ่อื เทคโนโลยี เทคโนโลยีสารสนเทศและ สารสนเทศวัสดุ อุปกรณ์ เพ่ือ สื่อการเรยี นรเู้ พ่ือ สนับสนุนส่งเสรมิ การจัด

๓๐ มาตรฐานการศึกษา มาตรฐานการศึกษาของ คา่ เปา้ หมาย คา่ เป้าหมายแตล่ ะปี กระทรวงฯ โรงเรียน สนบั สนนุ การจัด ประสบการณ์ ประสบการณ์ ๒.๖ มรี ะบบบรหิ าร ๑.สถานศึกษามรี ะบบการ ร้อยละ 80 80 80 80 80 คุณภาพทเ่ี ปิดโอกาสให้ บริหารจัดการท่ดี ี เพ่ือจดั การ ผู้เก่ยี วขอ้ งทุกฝา่ ยมีสว่ น บริหารการศึกษาในรูปแบบ รว่ ม การบริหารจดั การโรงเรียน คณุ ภาพท่ีสอดคล้องกบั มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และอัตลักษณ์ท่ีสถานศึกษา กำหนด ๒.สถานศกึ ษามกี าร ประเมนิ ผลตรวจสอบคุณภาพ ภายในสถานศึกษาตดิ ตามผล การดำเนนิ งาน และจดั ทำ แผนพฒั นาการศกึ ษา แผนปฏบิ ัติการประจำปี และ จดั ทำรายงานการประเมนิ ตนเองประจำปแี ละส่งให้ หน่วยงานต้นสังกัด มาตรฐานท่ี ๓ การจดั ประสบการณ์ทเี่ นน้ เด็กเปน็ สำคัญ ระดบั คณุ ภาพ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ๒๕๖๖ ๒๕๖๗ ๓.๑ จดั ประสบการณ์ที่ ๑. จดั ประสบการณ์ทีส่ ่งเสรมิ รอ้ ยละ 80 80 80 80 80 ส่งเสรมิ ให้เดก็ มี ให้เดก็ มีพฒั นาการทกุ ด้าน พัฒนาการ อย่างสมดุลเต็มศกั ยภาพโดย ทกุ ด้านอย่างสมดลุ เต็ม บูรณาการ วิทยาศาสตร์และ ศักยภาพ เศรษฐกจิ พอเพียง ๒.รู้จักเดก็ เปน็ รายบุคคล ๓.จัดทำแผนการจัด ประสบการณ์ สอดคล้องกับ หลกั สูตรสถานศกึ ษา ๓.๒ สร้างโอกาสใหเ้ ดก็ ๑. จัดประสบการณ์ตาม รอ้ ยละ 100 80 80 90 100 ได้รับประสบการณ์ตรง หลักสูตรสร้างโอกาสในการ เลน่ และปฏบิ ตั ิอยา่ งมี รับประสบการณ์ตรงภายใน ความสขุ และภายนอกห้องเรยี นที่

๓๑ มาตรฐานการศกึ ษา มาตรฐานการศกึ ษาของ คา่ เป้าหมาย คา่ เป้าหมายแตล่ ะปี กระทรวงฯ โรงเรยี น ร้อยละ 100 80 90 90 100 ๓.๓ จัดบรรยากาศที่เอื้อ หลากหลาย นา่ สนใจ ตอ่ การเรยี นรู้ ใชส้ ื่อ และ เทคโนโลยีทีเ่ หมาะสมกับ ๒.จดั กจิ กรรมบา้ น วัย นักวิทยาศาสตร์น้อยและการ เรยี นรู้แบบเศรษฐกจิ พอเพียง ๓. สถานศกึ ษาจดั ระบบดแู ล นักเรียนระดับปฐมวัย ๑. ครจู ดั ห้องเรียนให้สะอาด อากาศถา่ ยเท ปลอดภยั มีมุม จดั ประสบการณ์ มสี ือ่ และ เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ ๓.๔ ประเมินพฒั นาการ ๑. มีการวัดผลประเมินผลเด็ก ร้อยละ 80 80 80 80 80 เด็กตามสภาพจริง และ ตามสภาพจริงด้วยวิธีการที่ นำผลการประเมนิ หลากหลาย โดยผู้ปกครอง พัฒนาการเด็กไปปรบั ปรงุ และ ผู้เก่ียวข้องมีส่วนร่วมใน การจดั ประสบการณแ์ ละ การประเมินผล พัฒนาเดก็

๓๒ ระดบั การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน มาตรฐาน ค่า เป้าหมาย การศึกษา มาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน ค่าเปา้ หมายของแตล่ ะปี กระทรวงฯ มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพเด็ก ระดบั คุณภาพ 256๔ 256๕ 256๖ 256๗ 1.1 ผลสัมฤทธิท์ างวชิ าการของผเู้ รียน ๑) มคี วามสามารถ ๑. ผู้เรียนสามารถอ่าน คำในบทเรียน ได้ ร้อยละ 80 80 80 80 ในการอ่าน การ อยา่ งถกู ตอ้ งตามหลักภาษา 80 เขียน การสื่อสาร ๒. ผู้เรียนสามารถเขียนคำในบทเรยี นได้อย่าง และการคิดคำนวณ ถกู ตอ้ งตามหลักภาษา ๓. ผู้เรียนสามารถเขียนคำพ้ืนฐาน เขียนตาม คำบอก เขียนเร่ืองให้สอดคล้องกับรูปภาพ และตอบคำถามจากเรื่องที่อ่านตามระดับช้ัน เรียน ๔. ผู้เรยี นมีทักษะในการคิดคำนวณและ แก้ปัญหา ๒) มคี วามสามารถ ๑. ผูเ้ รยี นมีความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ รอ้ ยละ 80 80 80 80 ในการคดิ วเิ คราะห์ สังเคราะห์ พจิ ารณาอย่างรอบคอบ โดยใช้ 80 คดิ อย่างมี เหตผุ ลประกอบการตดั สินใจ มีการอภปิ ราย วิจารณญาณ แลกเปล่ยี นความคิดเห็น และแกป้ ญั หาอยา่ ง อภปิ ราย มเี หตผุ ล แลกเปลี่ยน ความ ๒. ผู้เรียนสามารถแยกแยะขอ้ เท็จจรงิ คิดเหน็ และ รายละเอียด และสรปุ ความคิดจากเรื่องที่ แกป้ ญั หา อา่ น ฟัง และดู ๓. นำความรเู้ ดมิ มาอธบิ าย และเสนอ ความคิดจากเรอ่ื งท่ี อา่ น ฟัง และดู โดยการ พูดหรอื เขยี นได้หลายรูปแบบตามความ คดิ เหน็ ของ ตนเองได้อย่างสมเหตุผล ๓) มีความสามารถ ๑. ผเู้ รยี นมคี วามสามารถในการคิดริเรมิ่ รอ้ ยละ 60 70 70 80 ในการสรา้ ง สร้างองค์ความรู้ ประยุกต์ใช้ความร้ใู นการ 80 นวัตกรรม สร้างสรรค์ผลงานท่เี กิดจากการเรียนรู้ด้วย ตนเอง และการร่วมกิจกรรม โดยใช้ทกั ษะ กระบวนการกลุ่ม

๓๓ มาตรฐาน ค่า เปา้ หมาย การศึกษา มาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน ร้อยละ ค่าเป้าหมายของแต่ละปี 70 80 80 90 กระทรวงฯ 90 80 80 80 80 ๔) มคี วามสามารถ ๑. ผเู้ รียนมีความรู้ ความเขา้ ใจ และสามารถ ร้อยละ 80 80 85 85 80 ในการใชเ้ ทคโนโลยี ใชโ้ ปรแกรมคอมพิวเตอร์ท้ังพื้นฐาน และ 80 85 90 100 ร้อยละ ๙๕ ๙๕ ๙๕ ๙๕ สารสนเทศและการ เฉพาะทาง สืบคน้ นำเสนอข้อมูล และผลงาน 85 สื่อสาร เพอ่ื พัฒนาการเรียนร้ขู องตนเองได้อย่างมี ร้อยละ 100 ประสทิ ธิภาพ รอ้ ยละ ๕) มผี ลสมั ฤทธ์ิ ๑.ผ้เู รียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น ๘ กลุ่ม ๙๕ ทางการเรยี นตาม สาระ ตามหลกั สูตรของสถานศึกษากำหนด หลักสูตร และผา่ นเกณฑม์ าตรฐานการทดสอบ สถานศึกษา ระดบั ชาติ ๖) มีความรู้ ทกั ษะ ๑.ผูเ้ รยี นมคี วามรู้ เจตคติทีด่ ีต่อวิชาชีพ พืน้ ฐาน และเจตคติ มีทักษะพ้ืนฐานในการทำงาน อยา่ งเป็น ทดี่ ตี อ่ งานอาชีพ ขั้นตอน มีการปรับปรุงแก้ไขการทำงานจน บรรลุผลสำเรจ็ ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด 1.2 คุณลักษณะอันพงึ ประสงคข์ องผู้เรียน ๑) การมี ๑. ผู้เรยี นมีคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ตาม คณุ ลกั ษณะและ หลักสูตรแกนกลาง และคา่ นิยมหลัก ตาม คา่ นิยมที่ดีตามท่ี เกณฑ์ท่ีสถานศึกษากำหนด สถานทก่ี ำหนด ๒) ความภูมิใจใน ๑. ผู้เรียนมคี วามภาคภูมใิ จ เข้าใจ ตระหนัก ทอ้ งถน่ิ และความ ถงึ เหน็ คณุ ค่า ช่ืนชม มีสว่ นรว่ มในการ เปน็ ไทย อนุรกั ษ์ สบื ทอด ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรมไทย มคี วามกตญั ญู กตเวที ตลอดจนมีความภมู ิในทอ้ งถิ่นของตน ๒. รว่ มกจิ กรรมทางวัฒนธรรมและสังคม ทอ้ งถ่นิ และปรบั ตัวไดอ้ ย่างกลมกลืนท้ัง ใน และนอกสถานศึกษาดว้ ยความเต็มใจ ๓) การยอมรบั ทจ่ี ะ ๑.ผ้เู รียนสามารถแสดงความคดิ เห็น พูดคยุ รอ้ ยละ 100 100 100 100 อยรู่ ่วมกนั บนความ กันด้วยความสภุ าพ รบั ฟังความคดิ เห็นของ 100 แตกตา่ งและ ผอู้ ืน่ ด้วยความเข้าใจทีด่ ี หลากหลาย

๓๔ มาตรฐาน ค่า เปา้ หมาย การศกึ ษา มาตรฐานการศึกษาของโรงเรยี น คา่ เปา้ หมายของแตล่ ะปี รอ้ ยละ 80 85 90 95 กระทรวงฯ 95 ๔) สขุ ภาวะทาง ๑.ผูเ้ รียนมีสุขภาพแขง็ แรง แตง่ กายสะอาด รา่ งกาย และจิต เรยี บร้อย สงั คม ๒.ปฏิบัติตนตามสุขบัญญัติแห่งชาติ ๑๐ ประการครบถ้วน ๓.เข้ารว่ มกจิ กรรมการออกกำลงั กายและ ปฏิบัตติ น จนเป็นนสิ ัย ๔.มีสว่ นร่วมในการเผยแพร่หรอื รณรงค์ เก่ียวกบั การดูแลรกั ษาสุขภาพกับ หน่วยงาน ภายนอก ๕.ผู้เรียน มีน้ำหนกั สว่ นสงู และพัฒนาการ ทางร่างกายเจริญเตบิ โตตามเกณฑ์ มาตรฐานของกรมอนามยั กระทรวง สาธารณสขุ ๖.มสี มรรถภาพทางกายเป็นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานของกรมพลศึกษา มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารจดั การ ระดบั ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ๒๕๖๖ ๒๕๖๗ คุณภาพ ๒.๑ มเี ปา้ หมาย ๑. สถานศึกษามเี ป้าหมาย วิสัยทัศน์ และ รอ้ ยละ 100 100 100 100 100 90 90 90 90 วสิ ยั ทศั น์และพันธ พนั ธกิจ ไว้อย่างชัดเจน สอดคล้องกบั บรบิ ท รอ้ ยละ กจิ ทสี่ ถานศึกษา ของสถานศึกษา ความต้องการของชมุ ชน 90 กำหนดชัดเจน ทอ้ งถ่ิน วัตถุประสงค์ของแผนการศึกษา แหง่ ชาติ นโยบายของรัฐบาล และของต้น สังกัดรวมทง้ั ทันตอ่ การเปลย่ี นแปลงของสงั คม ๒.๒ มรี ะบบบริหาร ๑. สถานศึกษาสามารถบริหารจัดการคณุ ภาพ จดั การคุณภาพของ ของสถานศึกษาอยา่ งเปน็ ระบบทั้งในส่วนการ สถานศึกษา วางแผน พฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษา การนำแผนไปสู่การปฏบิ ตั ิเพื่อพัฒนาคุณภาพ การศกึ ษา ๒. มกี ารตดิ ตามตรวจสอบ ประเมินผลและ ปรับปรงุ พฒั นางานอย่างต่อเนือ่ ง ๓. มกี ารบรหิ ารอัตรากำลงั ทรัพยากร ทางการศกึ ษา และระบบดูแลช่วยเหลือ นกั เรยี น

๓๕ มาตรฐาน ค่า เปา้ หมาย การศึกษา มาตรฐานการศกึ ษาของโรงเรยี น รอ้ ยละ คา่ เป้าหมายของแต่ละปี 80 80 80 80 กระทรวงฯ 80 80 80 90 90 ๒.๓ ดำเนนิ งาน ๑. สถานศกึ ษาบรหิ ารจัดการเกีย่ วกับงาน รอ้ ยละ 80 80 80 80 90 พัฒนาวชิ าการท่ี วชิ าการ ทัง้ ดา้ นการพฒั นาหลักสตู รกิจกรรม 80 80 90 90 รอ้ ยละ เน้นคุณภาพผเู้ รียน พัฒนาผเู้ รียน ท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนตาม 80 รอบดา้ นตาม ศกั ยภาพ และความพรอ้ มของแต่ละบคุ คล รอ้ ยละ 90 หลักสตู ร โดยสอดคลอ้ งกบั บริบทของ สถานศึกษาและ สถานศึกษาและทุก ชุมชน กลมุ่ เป้าหมาย ๒.๔ พัฒนาครูและ ๑.สถานศึกษาส่งเสริม สนับสนุนพัฒนาครู บคุ ลากรให้มีความ บุคลากร ให้มคี วามเชยี่ วชาญทางวชิ าชีพ เชย่ี วชาญทาง ๒.สถานศกึ ษาจัดใหม้ ชี ุมชนการเรียนรทู้ าง วิชาชพี วิชาชพี มาใชใ้ นการพฒั นางานและการเรยี นรู้ ของผู้เรียน ๒.๕ จัด ๑.สถานศึกษาจดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ สภาพแวดลอ้ มทาง ทง้ั ภายในและภายนอกห้องเรียน และ กายภาพและสังคม สภาพแวดล้อมทางสงั คมทีเ่ อื้อต่อการจัดการ ทเ่ี อื้อตอ่ การจดั การ เรยี นรแู้ ละมคี วามปลอดภยั เรยี นรอู้ ยา่ งมี คุณภาพ ๒.๖ จดั ระบบ ๑.สถานศึกษาจัดระบบการจดั หา การพัฒนา เทคโนโลยี และการบริการ เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือใช้ สารสนเทศเพ่ือ ในการบริหารจดั การจัดการเรียนรู้ ที่ สนับสนนุ การ เหมาะสมกบั สภาพของสถานศึกษา บริหารจัดการและ การจัดการเรยี นรู้

๓๖ มาตรฐาน คา่ เปา้ หมาย การศกึ ษา มาตรฐานการศกึ ษาของโรงเรียน ค่าเป้าหมายของแตล่ ะปี กระทรวงฯ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการบริหารจัดการเรยี นการสอนท่ีเนน้ ระดับ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ๒๕๖๖ ๒๕๖๗ คณุ ภาพ ผ้เู รยี นเปน็ สำคญั ๓.๑ จัดการเรียนรู้ ๑. ครจู ดั กิจกรรมการเรยี นรตู้ ามมาตรฐาน รอ้ ยละ 80 80 80 80 ผ่านกระบวนการ การเรยี นรู้ ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษาท่ี 80 คิดและปฏิบัตจิ ริง เนน้ ใหผ้ ู้เรยี นได้เรยี นรูผ้ า่ นกระบวนการคดิ และสามารถนำไป และปฏบิ ตั ิจริง โดยบูรณาการกบั โครงการ ประยุกตใ์ ช้ในชีวติ พัฒนาทกั ษะกระบวนการคิดและโครงการ ได้ สรา้ งงานสร้างอาชีพ ๒.ครูมีแผนการจดั การเรียนรู้ท่ีสามารถนำไป จัดกิจกรรมได้จริง มรี ูปแบบการจดั การเรียนรู้ เฉพาะสำหรบั ผทู้ ่ีมีความจำเป็นและต้องการ ความช่วยเหลือพิเศษ ๓.ผเู้ รียนได้รบั การฝกึ ทักษะ แสดงออกแสดง ความคิดเหน็ สรปุ องคค์ วามรู้ นำเสนอผลงาน และสามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ในชีวิตได้ ๓.๒ ใชส้ ่อื ๑.ครูมีการใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ แหล่ง ร้อยละ 80 80 80 80 เทคโนโลยี เรียนร้ภู ายในโรงเรยี น 80 สารสนเทศ และ ๒.นำภูมิปญั ญาท้องถ่นิ มาช่วยพฒั นาคุณภาพ แหลง่ เรยี นร้ทู ่เี อ้ือ การจดั การเรยี นการสอนให้มีประสทิ ธภิ าพ ต่อการเรียนรู้ ๓.๓ มีการบรหิ าร ๑.ครูผู้สอนมีการบริหารจัดการชนั้ เรียนโดย ร้อยละ 80 80 80 80 จดั การชัน้ เรยี นเชิง จดั บรรยากาศห้องเรียนทีเ่ อ้ือต่อการเรียนรู้ 80 บวก ๒.ครเู น้นการมีปฏิสมั พนั ธเ์ ชงิ บวก ไดแ้ ก่ มี ความยุติธรรมและให้ความเท่าเทยี มกบั นกั เรยี นทุกคน ไมเ่ ลือกปฏบิ ัติ พยายาม พัฒนาและสรา้ งแรงจูงใจ สร้างให้เด็กมีความ รกั ครู รกั ท่ีจะเรยี นรู้ สามารถอยูร่ ่วมกนั อยา่ ง มีความสขุ ๓.๔ ตรวจสอบและ ๑. ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็น ร้อยละ 80 80 80 80 ประเมินผูเ้ รียน ระบบและมีประสทิ ธิภาพ ประเมินผู้เรียนจาก 80 อย่างเป็นระบบ สภาพจริง มีขั้นตอนตรวจสอบและประเมิน และนำผลมา อย่างเปน็ ระบบ พฒั นาผู้เรยี น

๓๗ มาตรฐาน ค่า เป้าหมาย การศึกษา มาตรฐานการศกึ ษาของโรงเรยี น คา่ เป้าหมายของแต่ละปี ร้อยละ 80 80 80 80 กระทรวงฯ 80 ๒.ใช้เคร่ืองมือและวิธกี ารวดั และประเมนิ ผลท่ี เหมาะสมกับเปา้ หมายในการจัดการเรียนรู้ ๓.นักเรียนและผู้ทีม่ ีส่วนเก่ยี วขอ้ งมีสว่ นรว่ ม ในการวัดและประเมนิ ผล ให้ข้อมลู ย้อนกลบั แกผ่ ู้เรียน และผ้ทู ่ีมีส่วนเกี่ยวข้อง ผเู้ รียนนำ ผลไปใช้พฒั นาตนเอง ๑. ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็น ระบบและมีประสทิ ธภิ าพ ประเมินผู้เรียนจาก สภาพจริง มีขั้นตอนตรวจสอบและประเมิน อยา่ งเป็นระบบ ๓.๕ มกี าร ๑. ครูและผมู้ ีส่วนเกยี่ วขอ้ งร่วมกัน แลกเปลย่ี นเรียนรู้ แลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณแ์ ละรายงาน และให้ข้อมลู ข้อมูลและนำไปใช้ สะทอ้ นกลบั เพื่อ พัฒนาและ ปรบั ปรุงการจัดการ เรยี นรู้

สว่ น เป้าหมายความสำเร็จของโครงการ และ 5.1 เป้าหมายความสำเรจ็ ของโครงการ เป้าหมายความสำเรจ็ คิดเปน็ รอ้ ย กลยุทธ์โรงเรียน สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการศกึ ษาของ โรงเรียน กลยุทธท์ ่ี 1 : พัฒนา มฐ ท่ี 1 (ขอ้ ที่ 1.1 , 1.2 , 1.3 , 1.4 ) โครง คณุ ภาพและมาตรฐาน มฐ. ท่ี 2 (ข้อท่ี 2.4, 2.5, 2.6) ระดบั การศกึ ษาทกุ ระดับตาม มฐ ท่ี 3 (ขอ้ ที่ 3.1 ,3.2 ,3.3 ,3.4 ) หลักสตู รและส่งเสรมิ ความสามารถด้านเทคโนโลยี มฐ ท่ี 1 (ขอ้ ที่ 1.1 , 1.2 , 1.3 , 1.4 ) โครง เพ่อื เปน็ เครือ่ งมือในการเรยี นรู้ มฐ ที่ 3 (ข้อท่ี 3.1 ,3.2 ,3.3 ,3.4 ) มฐ ที่ 1 (ข้อท่ี 1.1 , 1.2 , 1.3 , 1.4 ) โครง มฐ ที่ 3 (ข้อที่ 3.1 ,3.2 ,3.3 ,3.4 ) อนา มฐ ที่ 1 (ขอ้ ที่ 1.1 , 1.2 , 1.3 , 1.4 ) มฐ ที่ 3 (ข้อท่ี 3.1 ,3.2 ,3.3 ,3.4 ) มฐ ท่ี 1 (ขอ้ ท่ี 1.1 , 1.2 , 1.3 , 1.4 ) โครง มฐ. ที่ 2 (ข้อที่ 2.1, 2.5, 2.6) การศ มฐ ท่ี 3 (ขอ้ ท่ี 3.1 ,3.2 ,3.3 ,3.4 ) คณุ ภ ระดบั

๓๘ นที่ 5 ะการใช้งบประมาณของโครงการต่างๆ ยละของโครงการ เปา้ หมาย โครงการ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ๒๕๖๖ ๒๕๖๗ งการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน 80 85 90 95 บปฐมวยั งการบา้ นนกั วิทยาศาสตร์น้อย 80 85 90 100 งการส่งเสรมิ สุขภาพและ ามยั นักเรียน 80 85 90 95 งการพฒั นามาตรฐาน 80 85 90 95 ศกึ ษาและระบบการประกนั ภาพภายในสถานศึกษา บปฐมวัย

เป้าหมายความสำเรจ็ คิดเป็นรอ้ ย กลยทุ ธ์โรงเรียน สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการศกึ ษาของ โรงเรียน มฐ ท่ี 1 (ขอ้ ท่ี 1.1 , 1.2) โครง มฐ ท่ี 3 (ขอ้ ท่ี 3.1 , 3.2 , 3.3, 3.4,3.5) ทางก ระดบั มฐ ที่ 1 (ข้อที่ 1.1 , 1.2) โครง มฐ ท่ี 2 (ข้อท2่ี .1,2.2, 2.3 , 2.5, 2.6) คิดแ โครง สถาน มฐ ที่ 1 (ข้อที่ 1.1 , 1.2 , 1.3 , 1.4 ) โครง มฐ ท่ี 3 (ขอ้ ที่ 3.1 ,3.2 ,3.3 ,3.4 ) นกั เร มฐ ท่ี 1 (ข้อท่ี 1.1 , 1.2 ) มฐ ที่ 3 (ขอ้ ท่ี 3.3 ,3.4,3.5 ) มฐ ที่ 2 (ข้อที่ 2.1,2.2,2.3,2.5 ) โครง มฐ ท่ี 3 (ขอ้ ท่ี 3.1,3.2,3.3,3.4,3.5 ) การศ คุณภ มฐ ที่ 1 (ขอ้ ที่ 1.1 , 1.2 ) โครง มฐ ท่ี 3 (ข้อที่ 3.1 ,3.2 ,3.3 ,3.4 ) สารส

๓๙ ยละของโครงการ เป้าหมาย โครงการ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ๒๕๖๖ ๒๕๖๗ งการยกระดับผลสมั ฤทธิ์ 80 80 80 80 การเรียนและการทดสอบ บชาติ งการพฒั นาทกั ษะกระบวนการ 8o 80 80 80 และแกป้ ัญหาอย่างเปน็ ระบบ งการพัฒนาหลักสูตร นศกึ ษาขั้นพื้นฐาน 90 90 90 90 งการระบบดูแลช่วยเหลือ รียน 100 100 100 100 งการพัฒนามาตรฐาน 95 95 95 95 ศกึ ษาและระบบการประกัน 80 80 90 90 ภาพภายในสถานศึกษา งการพัฒนาระบบเทคโนโลยี สนเทศเพ่ือการศึกษา

เปา้ หมายความสำเร็จคิดเป็นร้อย กลยุทธ์โรงเรียน สอดคล้องกบั มาตรฐานการศกึ ษาของ กลยุทธท์ ี่ 2 : เสริมสร้าง โรงเรยี น คณุ ธรรม ความสำนึกใน ความเปน็ ไทย และวิถีชีวติ มฐ ที่ 1 (ข้อท่ี 1.1 , 1.2 , 1.3 , 1.4 ) โครง ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง มฐ ที่ 3 (ข้อที่ 3.1 ,3.2 ,3.3 ,3.4 ) พอเพ มฐ ท่ี 1 (ขอ้ ที่ 1.1 , 1.2 ) ด้าน มฐ ที่ 3 (ขอ้ ท่ี 3.1,3.2,3.3,3.4,3.5 ) 10 มฐ ที่ 1 (ข้อที่ 1.1 , 1.2 , 1.3 , 1.4 ) โครง มฐ ท่ี 3 (ขอ้ ที่ 3.1 ,3.2 ,3.3 ,3.4 ) จรยิ ธ มฐ ที่ 1 (ข้อท่ี 1.1,1.2) โครง มฐ ที่ 2 (ข้อท่ี 2.1 , 2.3) มุ่งสศู่ มฐ ที่ 3 (ข้อท่ี 3.1 , 3.2 , 3.3, 3.4,3.5) มฐ ที่ 1 (ขอ้ ที่ 1.1 , 1.2 , 1.3 , 1.4 ) โครง มฐ ท่ี 1 (ข้อที่ 1.1,1.2) เสพต

๔๐ ยละของโครงการ โครงการ เป้าหมาย ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ๒๕๖๖ ๒๕๖๗ งการตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พียงและพระบรมราโชบาย นการศึกษาในหลวงรชั กาลท่ี 80 80 90 100 งการสง่ เสรมิ คุณธรรม ธรรมสำหรบั เด็กปฐมวัย 80 85 90 100 งการสร้างงานสร้างอาชพี 80 80 85 85 ศตวรรษท่ี 21 งการสถานศึกษาสีขาวปลอดยา 100 100 100 100 ติดและอบายมขุ

เปา้ หมายความสำเร็จคดิ เปน็ รอ้ ย กลยุทธ์โรงเรยี น สอดคล้องกับมาตรฐานการศกึ ษาของ โรงเรียน กลยุทธท์ ี่ 3 : พัฒนาครแู ละ มฐ ท่ี 1 (ข้อท่ี 1.1 , 1.2 , 1.3 , 1.4 ) โครง บุคลากรทางการศกึ ษาทง้ั มฐ ที่ ๒ (ขอ้ ที่ ๒.๓ ) คณุ ภ ระบบ มฐ ที่ 1 (ข้อท่ี 1.1 , 1.2) มฐ ที่ 3 (ขอ้ ท่ี 3.1 , 3.2 , 3.3, 3.4,3.5) มฐ ที่ 2 (ข้อท่ี 2.3) โครง มฐ ท่ี 2 (ข้อท่ี 2.1, 2.3, 2.6) สารบ มฐ ที่ 2 (ขอ้ ท่ี 2.3) โครง มฐ ท่ี 2 (ขอ้ ที่ 2.4) มคี ว กลยทุ ธ์ท่ี 4 : สร้างจติ สำนึก มฐ ที่ 1 (ข้อที่ 1.1 , 1.2 , 1.3 , 1.4 ) โครง ในการอนรุ ักษส์ ง่ิ แวดล้อมและ มฐ ที่ 3 (ข้อที่ 3.1 ,3.2 ,3.3 ,3.4 ) นอก พัฒนาสภาพแวดล้อมทาง มฐ ท่ี 1 (ขอ้ ท่ี 1.1 , 1.2) กายภาพและสังคมให้เอือ้ ต่อ มฐ ที่ 3 (ขอ้ ท่ี 3.1 , 3.2 , 3.3, 3.4,3.5) โครง การเรียนร้ขู องผ้เู รยี น ปรับ มฐ ท่ี 2 (ข้อท่ี 2.1 ,2.2, 2.3 ,2.4 2.5 , ความ 2.6) ของน มฐ ที่ 3 (ข้อท่ี 3.1 ,3.2 ,3.3 ,3.4 ) มฐ ที่ 2 (ข้อที่ 2.2., 2.3 , 2.5 , 2.6) มฐ ท่ี 3 (ข้อท่ี 3.2 , 3.3)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook